The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

สังคมศึกษา

สังคมศึกษา

142

กจิ กรรมทา ยบทที่ 3 เศรษฐศาสตร

กิจกรรมที่ 1 ใหผ ูเรียนตอบคําถามตอ ไปนี้ เพอ่ื เสรมิ ความรจู ากในหนังสอื เรียน โดยถามจากผรู ู
1.1 ใหผเู รยี นศึกษาคน ควาเร่อื ง สถานการณเ ศรษฐกจิ ไทยปจ จบุ นั เปน อยา งไร มจี ุดออ น จดุ แข็ง

อยา งไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
...................................................................................................

1.2 เพื่อปอ งกนั ถูกเอาเปรียบการใชสนิ คาหรือรบั บริการทา นมวี ธิ ปี องกันหรอื แกไ ขอยา งไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.....................................................................................

กิจกรรมท่ี 2 ถา ผูเรียนเปน ผูผลิตในระบบเศรษฐกจิ ทา นคดิ วา ทา นจะผลติ อะไรในชมุ ชนท่ีคาดวา
จะมีผลกาํ ไรเพียงพอตอการดําเนินชวี ิต และจะใชป จ จยั การผลิตและกระบวนการผลติ อยางไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................

กจิ กรรมที่ 3 ใหผเู รยี นตอบคําถามตอไปนี้
3.1 เศรษฐศาสตร หมายถึง วิชาทวี่ า ดว ยการศกึ ษาอะไร มคี วามสาํ คญั อยา งไร

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
...................................................................................................

143

3.2 ความตอ งการ (Wants) ในวชิ าเศรษฐศาสตรห มายถึงอะไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
...................................................................................................

3.3 คุณธรรมของผผู ลิตมอี ะไรบา ง
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
...................................................................................................

3.4 ระบบเศรษฐกจิ แบบผสมหมายถงึ อะไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
...............................................................................................

กจิ กรรมที่ 4 จงเลอื กคําตอบที่ถูกที่สุดเพยี งคําตอบเดยี ว

1. วชิ าเศรษฐศาสตรส วนใหญเปนเรอ่ื งเก่ยี วกับส่ิงใด

ก. การผลิตสนิ คา ข. การใหบ รกิ าร

ค. การใชท รัพยากร ง. การทาํ มาหากนิ ในชวี ติ ประจาํ วัน

2. การแขงขันทางการคา จะกอใหเ กิดผลดที างเศรษฐกจิ อยางไรบา ง
ก. พอคาจะไดกาํ ไรจากการขายสนิ คา
ข. ปอ งกนั ไมใหรฐั บาลเขา ไปควบคมุ ในกจิ การคา
ค. ชว ยปองกนั การคากําไรเกินควร
ง. ประชาชนใชส นิ คา มากข้ึน

144

3. ขอ ใดท่แี สดงวา ผูบ รโิ ภคนาํ วชิ าเศรษฐศาสตรมาใชในชวี ิตประจําวนั
ก. ซอื้ สนิ คาเฉพาะท่ีจาํ เปนและราคาไมแ พง
ข. กกั ตนุ สินคา เม่อื รวู าจะขนึ้ ราคา
ค. เลือกซอื้ สนิ คาท่ีถกู ที่สดุ
ง. ซอ้ื สินคาจากการโฆษณา

4. ขอใดอธบิ ายความหมายของ “ระบบเศรษฐกจิ ” ไดถ ูกตอ งมากทสี่ ดุ
ก. สงั คมที่มแี นวปฏบิ ตั ิทางเศรษฐกจิ ภายใตรูปแบบเดยี วกัน
ข. สงั คมทอ่ี นุญาตใหเ อกชนเปนเจาของปจจยั การผลติ
ค. สงั คมทใ่ี ชกลไกของราคาเขา มาแกไ ขปญหาเศรษฐกจิ
ง. สงั คมที่มกี ารผลิตภายใตก ารควบคุมของรฐั บาล

5. ประเทศไทยตอ งกูเงนิ จากสถาบันการเงนิ ระหวางประเทศ เพอื่ มาแกไ ขสภาวะเศรษฐกจิ จาก

สถาบนั การเงนิ ในขอใด

ก. โอเปค (OPEC) ข. ไอ เอ็ม เอฟ (IMF)

ค. อีซี (EC) ง. อาเซยี น (ASEAN)

กิจกรรมที่ 5 ใหผ เู รยี นพดู คุยกับเพ่ือนและสรุปสาระสาํ คัญของการศึกษาเอกสารเร่ืองประชาคมเศรษฐกจิ
อาเซียนในแบบบันทึกที่กําหนด

แบบบันทกึ

1. ใหสรุปความสาํ คญั ของประเทศไทยท่ไี ดร ับจากการเปนประเทศสมาชกิ ประชาคม
เศรษฐกจิ อาเซียน

......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
2. กิจกรรมทางเศรษฐกิจใดบางที่ประเทศตอ งเขารว มกับประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี น
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................

145

3. ใหอธบิ ายถึงประโยชนที่ประเทศไทยจะไดร บั จากการเปน สมาชิกประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น 1 ขอ
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................

146

บทที่ 4
การเมืองการปกครอง

สาระสําคญั

รัฐธรรมนูญเปนหัวใจสําคัญของระบอบประชาธิปไตย กลาวคือ เปนกฎหมายสูงสุด วาดวยการจัด
ระเบียบการปกครองโดยยึดมั่นหลักการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข
มรี ปู แบบการปกครองแบบอาํ นาจอธปิ ไตย ซ่ึงเปน อาํ นาจสงู สดุ ในการปกครองประชาชนและการใชอาํ นาจตอง
เปนไปตามรัฐธรรมนูญ โดยมบี ทบญั ญตั ิกฎหมายรองรบั ประชาชนจงึ ตองมีหนาที่ปฏิบตั ติ นตอบานเมืองตามท่ี
กําหนดไวใ นกฎหมายรฐั ธรรมนญู

ผลการเรยี นรทู ่คี าดหวงั

1. อธิบายสาระสําคญั ของรฐั ธรรมนญู และการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย
ทรงเปนประมุข

2. ตระหนักในปญ หาการไมปฏบิ ัติตามกฎหมาย
3. มีสว นรว มสง เสรมิ และสนบั สนุนทางการเมอื งการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
อันมพี ระมหากษตั ริยทรงเปนประมุข

ขอบขายเนือ้ หา

เรอื่ งท่ี 1 การเมืองการปกครองท่ีใชอยใู นปจจุบันของประเทศไทย
1.1 การปกครองในระบอบประชาธิปไตย
1.2 รฐั ธรรมนูญของไทย
1.3 กฎหมายและหนาทขี่ องพลเมอื ง

เรอ่ื งท่ี 2 เปรยี บเทยี บรปู แบบทางการเมอื งการปกครองระบอบประชาธิปไตยและระบอบอ่ืน ๆ

147

เร่อื งท่ี 1 การเมอื งการปกครองท่ใี ชอยูในปจ จุบนั ของประเทศไทย

ประเทศไทยไดยึดหลักการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข
มีรัฐธรรมนูญการปกครองแผนดินมาตั้งแตพุทธศักราช 2475 จนถึงรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
พทุ ธศักราช 2550 เปน แนวทางสําคัญตลอดมา

1.1 การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย
การปกครองในระบอบประชาธิปไตย หมายถึง การปกครองท่ีประชาชนมีอํานาจสูงสุดหรือแบง

การปกครองของประชาชนโดยประชาชนและเพ่ือประชาชน อันมีพระมหากษัตริยเปนประมุขและทรงอยู
ใตร ฐั ธรรมนูญ

หลักการสําคัญของการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย
เปาหมายของการปกครองระบอบประชาธิปไตยเพื่อจัดระเบียบการอยูรวมกันของผูคนใน

ลักษณะทเี่ อื้ออาํ นวยประโยชนตอ ประชาชนทกุ คนในรฐั ใหความคมุ ครองสิทธแิ ละเสรีภาพอยา งเสมอภาคและ
ยุตธิ รรม มหี ลักการสําคัญ ดงั น้ี

1. มีรัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุดท่ีใชในการปกครองประเทศ ซึ่งไดกําหนดความสัมพันธ
ระหวางสถาบันการเมือง การปกครองและประชาชน รวมถึงสิทธเิ สรีภาพและหนา ที่ของประชาชนทุกคน

2. มีอํานาจสูงสุดในการปกครอง คือ อํานาจอธิปไตย ประกอบดวย อํานาจนิติบัญญัติ อํานาจ
บริหารและอํานาจตุลาการในระบอบประชาธิปไตย ประชาชนมีอํานาจสูงสุดในการปกครองประเทศและ
การใชอาํ นาจตองเปนไปตามรัฐธรรมนูญที่กําหนด

3. การปกครองระบอบประชาธิปไตยใหถือวาเสียงขางมากหรือเหตุผลของคนสวนใหญเปนมติ
ท่ีตอ งยอมรบั

4. มคี วามเสมอภาค โดยประชาชนทกุ คนมีสิทธิเทาเทียมกนั ในทกุ ๆ ดาน เพราะทุกคนอยูภายใต
การปกครองของรฐั ธรรมนญู ฉบบั เดยี วกนั

รูปแบบของการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย
รูปแบบของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย แบงอํานาจในการบริหารประเทศออกเปน

3 สวน รวมเรยี กวา “อาํ นาจอธิปไตย” ประกอบดวย
1. อํานาจนิติบัญญัติ พระมหากษัตริยทรงเปนผูใชพระราชอํานาจนิติบัญญัติผานทางรัฐสภา

ซงึ่ เปนอํานาจที่ใชใ นการตรากฎหมาย ควบคุมการบริหาราชการแผนดินของฝายบริหารและกําหนดนโยบาย
ใหฝายบริหารปฏิบัติ สถาบันทางการเมืองที่เก่ียวของกับอํานาจนิติบัญญัติ ไดแก รัฐสภา ประกอบดวย
สภาผูแทนราษฎรและวุฒิสภา และใหถือวารัฐสภาเปนตัวแทนของประชาชนทั้งประเทศและเปนผูรักษา
ผลประโยชนของประชาชน

2. อํานาจบริหาร พระมหากษัตริยทรงเปนผูใชพระราชอํานาจบริหารผานทางรัฐบาลหรือ
คณะรฐั มนตรี มหี นาทใ่ี นการวางนโยบาย กําหนดเปา หมายดาํ เนินกิจการตาง ๆ ของรัฐ เพื่อบําบัดทุกขบํารุง
สุขของประชาชน ดว ยเหตุน้ีอาํ นาจบริหารจงึ มีความสําคัญตอ ระบบการปกครองของรฐั

148

3. อํานาจตุลาการ พระมหากษัตริยท รงเปน ผูใ ชพระราชอํานาจตุลาการฝายทางศาล มีอํานาจ
หนา ที่รกั ษาความยุตธิ รรมตามทกี่ ฎหมายกาํ หนด รกั ษาเสรีภาพของบุคคล ปองกนั และแกไขมิใหบุคคลลวงล้ํา
เสรภี าพตอ กัน ตลอดจนคอยควบคมุ มิใหเ จา หนา ทขี่ องรฐั ใชอ ํานาจเกินขอบเขต

การกําหนดใหมีการแยกใชอํานาจอธิปไตย 3 สวน และมีสถาบัน รัฐสภา รัฐบาลและศาล
คอยรบั ผดิ ชอบเฉพาะสว น ท้ังนเ้ี ปนไปตามหลกั การประชาธปิ ไตยทไ่ี มตอ งการใหมกี ารรวบอาํ นาจ แตตอ งใหม ี
การถวงดุลอํานาจซึ่งกันและกัน เปนการปองกันมิใหเกิดการใชอํานาจแบบเผด็จการ ยกตัวอยางเชน ถาให
คณะรัฐมนตรใี ชอํานาจนติ ิบัญญัติและอํานาจบริหาร คณะรัฐมนตรีก็อาจจะออกกฎหมายที่ไมสอดคลองกับ
ความตองการของประชาชน และเม่ือนํากฎหมายนั้นมาบังคับใชก็จะไมเกิดประโยชนตอทุกฝายโดยเฉพาะ
ประชาชน ดังนน้ั การบริหารประเทศไทยท้ัง 3 สถาบันจึงเปนหลักประกันการคานอํานาจซ่ึงกันและกันและ
ประการสําคัญเปนการปอ งกนั การใชอํานาจเผด็จการ

ความสมั พนั ธร ะหวางรฐั บาลกบั ประชาชนในระบอบประชาธิปไตย
ดังไดกลาวแลววา การปกครองแบบประชาธิปไตย ประชาชนเปนผูมีอํานาจสูงสุด มีสิทธิเสรีภาพ

และหนา ทต่ี ามกฎหมายกําหนด ท่ีสําคัญคอื ประชาชนเลือกผูแทนราษฎรซ่ึงสังกัดพรรคการเมืองและรัฐบาล
มาจากผแู ทนราษฎรตามทก่ี ําหนดไวใ นกฎหมายรัฐธรรมนญู ดงั นั้น รัฐบาลกับประชาชนจึงมีความเก่ียวพันกัน
ตลอดเวลา กลาวคอื รฐั บาลก็มีหนาที่ออกกฎหมายบรหิ ารประเทศตามเจตนารมณข องประชาชน จงึ ตอ งอาศัย
ความสัมพันธกับประชาชนอยางใกลชิด เชน คอยสํารวจตรวจสอบปญหาและความตองการของประชาชน
อยเู สมอและตอ งปฏบิ ัติตอประชาชนอยา งเสมอภาคกนั ทกุ คน ขณะเดียวกันประชาชนก็ตองประพฤตปิ ฏิบตั ติ น
ตอบา นเมืองตามท่กี าํ หนดไวในกฎหมายรัฐธรรมนูญเหมือนกัน จงึ อาจกลา วไดวา ความสมั พนั ธระหวา งรัฐบาล
กบั ประชาชนในระบอบประชาธิปไตย จึงเปน ไปในลักษณะการปกครองทตี่ อ งพ่งึ พาอาศยั ซง่ึ กนั และกนั

การใชอ ํานาจอธิปไตยของประชาชนตามระบอบประชาธิปไตย
อาํ นาจอธิปไตยเปนอํานาจสูงสุดในการปกครองประเทศตามระบอบประชาธิปไตย ประชาชน

สามารถใชอ ํานาจอธปิ ไตยของตนได 2 วธิ ี คอื
1. โดยทางตรง หมายถงึ การใชอ ํานาจอธิปไตยดว ยตนเองโดยตรง จะใชไ ดกบั รฐั เล็ก ๆ ท่มี ี

ประชากรไมม าก

149

2. โดยทางออ ม หมายถึง การใชอํานาจอธิปไตยโดยผานผูแทนของประชาชน เน่ืองจากจํานวน
ของประชากรในประเทศมีมาก ไมส ามารถใหทุกคนใชอํานาจอธิปไตยไดดวยตนเอง จึงตองมีการเลือกผูแทน
ของประชาชนไปใชอํานาจอธิปไตยในการปกครองประชาชน ปจจุบันมีหลายประเทศทั่วโลกท่ีใชวิธีนี้รวมท้ัง
ประเทศไทยดว ย

ขอดีของการปกครองระบอบประชาธิปไตย
1. ประชาชนมสี ทิ ธิเสรีภาพในการดาํ รงชวี ติ ในทุก ๆ ดา น ทงั้ การเมอื งการปกครอง การประกอบ

อาชีพ สทิ ธิในทด่ี นิ ครอบครองทรพั ยส ิน การนบั ถือศาสนาและอน่ื ๆ โดยไมละเมดิ กฎหมาย
2. ประชาชนทุกคนมีสิทธเิ สรีภาพในดานตาง ๆ อยางเทาเทยี มกนั ไมวาจะร่ํารวย ยากจน รา งกาย

สมบูรณหรอื พิการเพราะทุกคนตองปฏิบัตติ ามกฎหมายเชน เดียวกนั
3. ประชาชนมีความกระตือรือรนในการประกอบอาชีพ เพราะสามารถประกอบอาชีพตาม

ความตอ งการของตน ทําใหเ ศรษฐกจิ ของประเทศสามารถพัฒนาไปสูค วามเจริญได
4. รฐั บาลไมส ามารถผูกขาดอาํ นาจได เนอื่ งจากประชาชนเปน ผคู ัดเลอื กรฐั บาลและหากไมพอใจ

ยังสามารถถอดถอนรัฐบาลได ดังนั้นรัฐบาลจึงตองมีความสามารถในการบริหารราชการแผนดินและมี
จรยิ ธรรมในการทํางาน

5. มีความรุนแรงระหวางประชาชนและรัฐบาลในระดับนอย เนื่องจากกฎหมายใหอํานาจ
ประชาชนในการคัดเลือกรัฐบาลและการชุมนุมเรียกรองโดยสันติวิธี มีการเจรจาอยางมีเหตุผล อีกท้ังมี
หนว ยงานท่รี องรับกรณพี พิ าทระหวา งรัฐและเอกชน เชน ศาลปกครอง เปน ตน

6. ในกรณีทม่ี ปี ญ หาตอ งแกไขจะตองใหความสําคัญกับเสียงสวนใหญแ ละเคารพเสียงสวนนอ ย

150

1.2 รฐั ธรรมนูญของไทย
รัฐธรรมนูญ หมายถึง กฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศท่ีออกโดยฝายนิติบัญญัติ คือ

รัฐสภา ซึ่งมีบทบัญญัติกําหนดหลักการสําคัญตางๆ เชน รูปแบบการปกครอง การใชอํานาจอธิปไตย
ความสมั พนั ธระหวางสถาบนั การปกครอง ตลอดจนสิทธิเสรภี าพและหนาทีข่ องประชาชน

ความสาํ คัญของรฐั ธรรมนูญ
รัฐธรรมนูญเปนกฎหมายหลักท่ีสําคัญท่ีสุด มีรูปแบบการปกครองในระบอบประชาธิปไตย

ทเ่ี รียกวา อํานาจอธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษัตริยเปน ประมุข ปกครองในระบบรัฐสภา การบริหารประเทศหรือ
การออกกฎหมายยอมตอ งดําเนินการภายในกรอบของบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญ บทบัญญัติแหงกฎหมายใด
ถาขดั แยงกบั รฐั ธรรมนญู ยอ มไมม ผี ลบังคบั ใช

ประเภทของรัฐธรรมนญู
1. รัฐธรรมนูญลายลกั ษณอักษร เปนรฐั ธรรมนูญที่เขียนไวเปนลายลักษณอักษรท่ีชัดเจน ดังเชน

รัฐธรรมนูญของประเทศไทยและประเทศสหรฐั อเมริกา
2. รัฐธรรมนูญจารีตประเพณี เปนรัฐธรรมนูญท่ีไมไดเขียนไวเปนลายลักษณอักษรอยางชัดเจน

ครบถวนในเอกสารฉบับเดียวและไมไดบัญญัติไวในรูปของกฎหมาย เชน ขนบธรรมเนียมประเพณีในการ
ปกครองตา ง ๆ ประเทศอังกฤษเปน ประเทศหนงึ่ ท่ีมีรัฐธรรมนูญประเภทน้ี

วิวฒั นาการรัฐธรรมนญู ของประเทศไทย

นับต้ังแตประเทศไทยไดมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย ตั้งแต
พทุ ธศกั ราช 2475 มาเปน การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุขจนถึงปจจุบัน
มีการเปล่ียนแปลงแกไ ขและประเทศใชร ฐั ธรรมนูญและรัฐธรรมนญู การปกครองแลวรวม 18 ฉบับ ทั้งนี้เพ่ือให
เหมาะสม สอดคลองกับสถานการณในประเทศในแตละยุคสมัย อยางไรก็ตามรัฐธรรมนูญท่ีมีมาทุกฉบับมี
หลกั การสาํ คญั เหมอื นกันคือ ยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข
และแตละฉบับจะสะทอนใหเห็นถึงรูปแบบและวิธีการของการปกครองของประเทศเปนอยา งดี สาํ หรับ

151

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2550 ฉบบั ที่ 18 โดยรฐั ธรรมนูญฉบบั นไี้ ดยึดตามแนวทางและ
แกไขจดุ ออนของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 เพื่อใหประชาชนไดรับประโยชนจาก
รัฐธรรมนญู นีร้ วม 4 ประการ คอื

1. คุมครอง สง เสริม ขยายสทิ ธิและเสรีภาพของประชาชนอยางเต็มท่ี
2. ลดการผกู ขาดอาํ นาจรฐั และเพ่ิมอํานาจประชาชน
3. การเมืองมคี วามโปรงใส มคี ุณธรรมและจริยธรรม
4. องคกรตรวจสอบมีความอสิ ระ เขม แข็งและทาํ งานอยา งมีประสทิ ธิภาพ
รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ประกาศใชเม่ือวันท่ี 24 สิงหาคม 2550
ประกอบดวยหมวดตาง ๆ ดังน้ี
หมวดท่ี 1 บททั่วไป มาตรา 1 - 7
หมวดที่ 2 พระมหากษัตริย มาตรา 8 - 25
หมวดท่ี 3 สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย มาตรา 26 - 69
หมวดท่ี 4 หนา ท่ีของชนชาวไทย มาตรา 70 - 74
หมวดที่ 5 แนวนโยบายพื้นฐานแหง รัฐ มาตรา 75 - 87
หมวดที่ 6 รฐั สภา มาตรา 87 - 162
หมวดท่ี 7 การมีสวนรวมทางการเมืองโดยตรงของประชาชน มาตรา 163 - 165
หมวดที่ 8 การเงนิ การคลังและงบประมาณ มาตรา 166 - 170
หมวดที่ 9 คณะรฐั มนตรี มาตรา 171 - 196
หมวดท่ี 10 ศาล มาตรา 197 - 228
หมวดท่ี 11 องคกรตามรฐั ธรรมนูญ มาตรา 229 - 258
หมวดที่ 12 การตรวจสอบการใชอํานาจรัฐ มาตรา 259 - 278
หมวดท่ี 13 จริยธรรมของผดู าํ รงตาํ แหนงทางการเมอื งและเจาหนา ท่ขี องรฐั

มาตรา 279 - 280
หมวดท่ี 14 การปกครองสวนทอ งถิ่น มาตรา 281 - 290
หมวดท่ี 15 การแกไ ขเพมิ่ เตมิ รัฐธรรมนูญ มาตรา 291

บทเฉพาะกาล มาตรา 292 - 309

1.3 กฎหมายและหนา ทขี่ องพลเมือง
กฎหมาย คือ ขอบังคับทง้ั หลายของรัฐหรือประเทศที่ใชบังคับความประพฤติของบุคคล ซ่ึงผูใด

จะฝาฝนไมปฏิบัติตามจะตองมีความผิดและตองถูกลงโทษ กฎหมายจึงมีความสําคัญตอบทบาทของทุก ๆ
สงั คม ทั้งในดานใหค วามคุม ครองและถกู ลงโทษตามเหตุการณ

152

ความสําคญั ของกฎหมาย แยกไดเปน 2 ประการหลกั คือ
1. กฎหมายเปรียบเสมือนเปนเคร่ืองมือบริหารประเทศโดยตรง เชน กฎหมายรัฐธรรมนูญ

เปนหลักเกณฑสําคัญในการวางรูปแบบโครงสรางและกลไกการบริหารงาน และกฎหมายปกครอง
เปน กฎหมายที่จัดระเบียบการปกครองประเทศหรือการบรหิ ารรัฐ เปนตน

2. กฎหมายเปนเครื่องมือในการรักษาความสงบเรียบรอยในสังคมใหสมาชิกในสังคม สามารถ
อยูรวมกันไดดวยความสงบสุข เชน กฎหมายอาญา กฎหมายแรงงาน กฎหมายคุมครองผูบริโภค เปนตน
ซึ่งกฎหมายเหลานีน้ อกจากจะมงุ เนนใหป ระโยชนส ุขแกประชาชนแลว ยงั ปอ งกนั การกระทาํ ท่ีเปนผลราย มิให
มีการรงั แก เอาเปรยี บซึง่ กันและกนั ผูทก่ี อใหเกิดผลภยั กระทาํ การไมด ีถอื วา กระทําตนไมถกู ตองตามกฎหมาย
ตองถกู ลงโทษ เพือ่ มิใหผ อู ืน่ เอาเย่ียงอยา งและเพื่อความสงบสุขของคนสว นใหญในสังคม

กฎหมายเปน ขอบงั คบั ทปี่ ระชาชนตองปฏบิ ัติตาม ผูใดจะฝาฝนไมปฏิบัติตามไมได กฎหมายจึงมี
ความเกี่ยวของกับการดําเนินชีวิตของมนุษยตั้งแตเกิดจนตาย ดังนั้น ประชาชนจึงมีความจําเปนตองรูและ
เขา ใจถึงประโยชนของกฎหมาย ดงั นี้

1. ไดร จู กั ระวังตน ไมพลาดพลัง้ กระทาํ ความผิดอันเน่อื งมาจากไมร ูกฎหมาย
2. รจู ักการปองกันไมใ หผ ูอ ่นื เอาเปรียบและถูกโกงโดยไมร ูก ฎหมาย
3. เหน็ ประโยชนในการประกอบอาชีพ เพราะหากมีความรูในหลักกฎหมายท่ีเก่ียวของกับการ
ประกอบอาชพี ของตน ยอ มจะปองกนั ความผิดพลาดอันเนื่องมาจากความไมรูกฎหมายได
4. เปนประโยชนในทางการเมอื งการปกครอง เชน เมื่อประชาชนรูในสทิ ธิ หนา ที่ ตลอดจนปฏิบตั ิตน
ตามหนาทอ่ี ยา งครบถวนก็จะทาํ ใหส ังคมสงบสุข ปราศจากความเดอื ดรอน บา นเมืองก็จะสงบสขุ ดว ย
ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข มีรัฐธรรมนูญ
เปนกฎหมายสูงสุดของประเทศ หนาที่ท่ีสําคัญของประชาชนทุกคนคือ ตองประพฤติปฏิบัติตนใหถูกตองตาม
ขอบังคับของกฎหมายและตองมีความเคารพยําเกรงตอกฎหมาย หลีกเล่ียงการกระทําที่ละเมิดขอบังคับของ
กฎหมาย เพ่ือใหสังคมไทยเปนสังคมท่ีปกครองโดยกฎหมายอยางแทจริง ดังนั้นการปกครองในระบอบ
ประชาธปิ ไตยจึงมคี วามสําคญั ตอ การดํารงชีวิตของประชาชนชาวไทยและตระหนกั ถึงคุณคา ของประชาธิปไตย
ซ่ึงกลา วโดยสรุปได ดังน้ี

153

ประชาชนชาวไทยทุกคนเปนสมาชิกในสังคมประชาธิปไตย จึงตองมีคุณลักษณะประจําตัวและ
พงึ ปฏบิ ตั ิในสง่ิ ตอไปนี้

1. คิดและปฏบิ ัติดวยความเปนประชาธิปไตย
2. ตระหนักวาตนเปน สวนหน่ึงของสังคมดวยการมีสวนรว มในกจิ การตา ง ๆ และเมอ่ื มีปญหาควร
ชว ยกนั แกไ ขดว ยการใชเหตุผลและยอมฟงความคดิ เหน็ ของผูอ นื่
3. เปน ผนู ําและผูต ามท่ีดีของสังคม ตามบทบาทและหนาท่ีของตน
4. ยดึ ม่ันในวัฒนธรรม จารตี ประเพณแี ละพัฒนาตนเองและสังคมอยเู สมอ
คณุ คาของประชาธิปไตย
1. คุณคาทางการเมืองการปกครอง เชน ประชาชนสามารถเลือกบุคคลท่ีเปนตัวแทนปกครอง
ตวั เองไดดว ยการใชส ทิ ธิลงคะแนนเสียงเลอื กผแู ทนราษฎร
2. คณุ คาทางเศรษฐกิจ เชน มีสิทธเิ สรภี าพในการซือ้ ขายจากการผลิต การบริการ โดยไดรับการ
คุมครองจากรัฐอยา งเปน ธรรม
3. คณุ คา ทางสงั คม เชน ไดรบั ความคุมครองจากรฐั ทงั้ ชีวติ และทรัพยส นิ ภายใตกฎหมายเทาเทยี มกัน
การปกครองระบอบประชาธิปไตยเปนลักษณะการปกครองเพื่อความสงบสุขของประชาชน
โดยแทจรงิ การดําเนนิ ชวี ติ ของบคุ คลจะเปนไปอยา งสงบสขุ ไดน้ัน ตองมีความเขาใจ ตระหนักถึงความสําคัญ
และเหน็ คุณคาของประชาธปิ ไตยเปนแนวทางดําเนนิ ชวี ิตประจําวัน

154

กจิ กรรมเร่ืองที่ 1 การเมืองการปกครอง

ใหนกั ศึกษาเลอื กคาํ ตอบขอทถ่ี กู ตอ งที่สดุ เพียงขอ เดียวในขอคําถามดงั ตอ ไปน้ี
1.การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยแบบรฐั สภาเปด โอกาสใหฝายบริหารควบคมุ

ฝา ยนิติบญั ญัติไดด ว ยวธิ ใี ด
ก. ยบุ รฐั สภา
ข. ลงมติไมไววางใจ
ค. ยบุ สภาผูแทนราษฎร
ง. แตง ตัง้ วุฒิสมาชิกใหม
2. บทบาทและหนา ท่ขี องรัฐสภาคือขอ ใด
ก. ออกกฎหมายควบคมุ รัฐบาลและประชาชน
ข. ยบั ยง้ั กฎหมายและอภิปรายลงมติไมไววางใจ
ค. ถวายคําแนะนําแกพระมหากษตั รยิ ในการตรากฎหมายฉบับตาง ๆ
ง. ออกกฎหมายและควบคมุ การบรหิ ารราชการแผน ดินของราชการ
3. คําวา “อาํ นาจอธิปไตย” ตามที่บญั ญัติไวใ นกฎหมายรฐั ธรรมนูญหมายความวา อยา งไร
ก. อํานาจสงู สุดของรัฐสภาในการรา งกฎหมาย
ข. อํานาจสูงสุดของประชาชนในการบรหิ ารประเทศ
ค. อํานาจสูงสดุ ของฝา ยบรหิ ารในการปกครองประเทศ
ง. อํานาจสงู สุดของคณะรฐั มนตรใี นการบริหารประเทศ
4. หัวใจสําคัญของระบบการปกครองแบบประชาธิปไตยคอื ขอ ใด
ก. ประชาชน
ข. การเลอื กตั้ง
ค. รัฐธรรมนญู
ง. พรรคการเมอื ง
5. การจดั ระเบยี บสงั คมเกีย่ วขอ งกับสถาบนั ใดมากทสี่ ุด
ก. สถาบนั ศาสนา
ข. สถาบันการศึกษา
ค. สถาบนั ครอบครัว
ง. สถาบนั การปกครอง

155

6. ขอใดคืออาํ นาจของรฐั สภา
ก. ศาล
ข. บริหาร
ค. ตุลาการ
ง. นิติบญั ญตั ิ

7. การปกครองแบบรฐั สภา ผูทด่ี ํารงตาํ แหนงหัวหนารัฐบาลคอื ใคร
ก. องคมนตรี
ข. นายกรัฐมนตรี
ค. ประธานวุฒิสภา
ง. ประธานรัฐสภา

8. ผูทีม่ ีหนา ทใี่ ชอาํ นาจในการบริหารคอื ใคร
ก. นายกรัฐมนตรี
ข. คณะรัฐมนตรี
ค. ประธานวุฒสิ ภา
ง. ประธานรัฐสภา

9. ผทู ีม่ ีหนา ทีต่ ราพระราชบัญญัติคือใคร
ก. คณะรฐั มนตรี
ข. นายกรฐั มนตรี
ค. สภาผแู ทนราษฎร
ง. พระมหากษตั รยิ 

10. การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยผทู ีม่ อี ํานาจสูงสดุ คอื ใคร
ก. พระมหากษัตริย
ข. นายกรัฐมนตรี
ค. ผูบ ญั ชาการเหลาทพั
ง. ประชาชนชาวไทย

11. วัฒนธรรมในการทํางานแบบใดทจ่ี ะสงเสริมใหม คี วามเจรญิ กา วหนาของการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตยเพิ่มมากขน้ึ
ก. การทํางานคนเดียว
ข. การทาํ งานเปน ทีม
ค. การทาํ งานตามที่ตนถนัด
ง. การทํางานกบั คนที่ชอบพอกัน

156

12. รัฐธรรมนูญจะประกอบไปดวยสว นตาง ๆ หลายสวน สวนใดท่ีมีผลโดยตรงตอ อํานาจอธิปไตยของ
ประชาชน
ก. หมวดทัว่ ไป
ข. หมวดหนา ท่ีของปวงชน
ค. หมวดแนวนโยบายพนื้ ฐานแหง รฐั
ง. หมวดสทิ ธิและเสรภี าพของประชาชนชาวไทย

13. สทิ ธขิ องปวงชนตามกฎหมายรัฐธรรมนูญในการมสี วนรว มทางการเมอื งระดับทองถิ่นคอื ขอใด
ก. การเลือกตงั้ สมัชชาแหง ชาติ
ข. การเลอื กตง้ั สมาชิกวฒุ สิ ภา
ค. การเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแ ทนราษฎร
ง. การเลือกต้ังผวู า ราชการกรงุ เทพมหานคร

14. สิทธเิ สมอภาคทางกฎหมาย หมายถึงอะไร
ก. ประชาชนทุกคนมสี ิทธ์ิออกกฎหมายเหมือนกัน
ข. ประชาชนทุกคนมสี ิทธิ์รับรกู ฎหมายโดยเทาเทยี มกัน
ค. ประชาชนทกุ คนมีสทิ ธิไ์ ดร บั สวสั ดิการจากรัฐโดยเทา เทยี มกนั
ง. ประชาชนทกุ คนมสี ทิ ธไ์ิ ดร ับการคมุ ครองตามกฎหมายโดยเทาเทยี มกนั

15. เพราะเหตใุ ดจึงตองมีการจํากดั สิทธขิ องประชาชนใหอยูภายใตกฎหมาย
ก. เพ่อื รกั ษาความมัน่ คงของชาติ
ข. เพือ่ รักษาความสงบสุขของบา นเมอื ง
ค. เพื่อปองกันไมใ หเกดิ การละเมดิ สทิ ธิซงึ่ กันและกัน
ง. ถูกทุกขอ

16. กฎหมายจราจรทางบกไดเพิ่มโทษสงู แกผฝู า ฝน ในลักษณะใด
ก. เมาสรุ า
ข. ขับรถฝา ไฟแดง
ค. ขบั รถโดยประมาท
ง. ขบั รถโดยไมม ีใบอนุญาตขบั ข่ี

17. สทิ ธิเสรภี าพถูกควบคุมโดยขอ ใด
ก. รัฐบาล
ข. จริยธรรม
ค. กฎหมาย
ง. เจา หนาที่ตํารวจ

157

18. ใครคือบคุ คลไดรับความคุมครองสิทธแิ ละเสรภี าพจากรฐั
ก. ประชาชน
ข. ขา ราชการ
ค. เด็กและคนชรา
ง. ถูกทกุ ขอ

19. ตามรัฐธรรมนญู ประชาชนไมม ีสิทธใิ นดา นใด
ก. การนับถอื ศาสนา
ข. การวารายผูอนื่
ค. การประกอบอาชพี
ง. การเลือกทอ่ี ยูอาศยั

20. ตามรัฐธรรมนญู ของไทยสิทธิในดานใดของมนุษยจะไดรบั การปกปอ งเปน พิเศษ
ก. สิทธสิ วนบุคคล
ข. การเมอื งการปกครอง
ค. สิทธิดา นการพดู ในท่ีสาธารณะ
ง. สทิ ธดิ านการถือครองทรพั ยสิน

กจิ กรรมเร่ืองที่ 2

ใหนักศึกษาตอบคาํ ถามโดยอธบิ ายใหเขาใจดงั น้ี
1. เพราะเหตุใดระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยจึงถือวา เหมาะสมทีส่ ุดในปจ จบุ ัน
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
........................................................................
2. รัฐธรรมนญู กาํ หนดใหป ระชาชนมีสว นรวมในทางการเมืองอยางไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.....................................................................................

158

3. รัฐธรรมนูญที่เปนลายลักษณอักษร มีลักษณะแตกตางกับรัฐธรรมนูญที่ไมเปนลายลักษณอักษร
อยางไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
....................................................................................................

เรื่องท่ี 2 เปรียบเทียบรปู แบบทางการเมอื งการปกครองระบอบประชาธิปไตยและระบอบอน่ื ๆ

ระบอบการเมืองการปกครอง หมายถึง การจัดระบบใหคนสวนใหญในสังคมสามารถดําเนินชีวิต
อยูรวมกันไดอยางมีระเบียบแบบแผน มีความสัมพันธกันอันกอใหเกิดขอตกลงอันดีงามรวมกัน บังเกิด
ความผาสุกและความสามัคคีในสังคม ซึง่ แบงออกเปน 2 รปู แบบ คือ

1. ระบอบการเมอื งการปกครองแบบประชาธปิ ไตย
2. ระบอบการเมืองการปกครองแบบมีประธานาธบิ ดีเปนประมขุ
ระบอบการเมอื งการปกครองแบบประชาธิปไตย
ประชาธิปไตยเปน ระบบการปกครองทปี่ ระเทศสว นใหญใ นโลกนิยมใชเ ปนหลกั ในการจัดการปกครอง
และบริหารประเทศ รวมท้งั ประเทศไทยซง่ึ ใชม านานกวา 70 ปแ ลว การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยเกิดจาก
ความศรัทธาในคุณคาของความเปนมนุษยและเช่ือวาคนเราสามารถปกครองประเทศได จึงกําหนดให
ประชาชนเปนเจาของอํานาจในการปกครอง ซ่ึงถือวาการเมือง การปกครองมาจากมวลชน รูปแบบการ
ปกครองแบบประชาธปิ ไตย แบง ออกเปน 2 ประเภท คือ
1. ระบอบประชาธิปไตยแบบมีพระมหากษัตริยเปนประมุข รัฐธรรมนูญและการปกครองของไทย
ทุกฉบับกําหนดไวอยางชัดแจงวา เทิดทูนพระมหากษัตริยเปนสถาบันสูงสุด ดํารงอยูในฐานะอันเปนที่เคารพ
สกั การะผูใดจะละเมิดมิได รัฐธรรมนูญกําหนดวา ผูใดจะกลาวหาหรือฟองรองพระมหากษัตริยในทางใด ๆ
มิได พระราชอํานาจของพระมหากษัตริยจึงมีกําหนดไวในรัฐธรรมนูญ โดยปกติรัฐธรรมนูญกําหนดให
พระมหากษตั รยิ เ ปนผูใ ชอ าํ นาจอธปิ ไตย ซ่งึ เปน ของประชาชนโดยใชอํานาจนิติบัญญัติผานทางรัฐสภา อํานาจ
บริหารผานทางคณะรัฐมนตรีและอํานาจตุลาการผานทางศาล การกําหนดเชนนี้หมายความวา อํานาจตาง ๆ
จะใชในพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริยซึ่งในความเปนจริง อํานาจเหลานี้มีองคกรเปนผูใช ฉะนั้น
การท่ีบัญญัติวาพระมหากษัตริยเปนผูใชอํานาจนิตบิ ัญญัติ อํานาจบริหารและอาํ นาจตุลาการผานทางองคกร
ตาง ๆ น้ันจึงเปน การเฉลมิ พระเกียรติ แตอ าํ นาจที่แทจริงอยูที่องคกรที่เปนผูพิจารณานําขึ้นทูลเกลาฯ ถวาย
เพ่ือพระมหากษตั รยิ ทรงลงพระปรมาภิไธย

159

อยางไรก็ตาม แมก ระทงั่ พระมหากษตั รยิ ใ นระบอบรัฐธรรมนูญ จะไดร บั การเชิดชูใหอยเู หนอื การเมอื ง
และกําหนดใหมผี ูรับสนองพระบรมราชโองการในการปฏบิ ัติการทางการปกครองทุกอยา ง แตพระมหากษัตริย
กท็ รงมีพระราชอาํ นาจบางประการท่ีไดร บั การรับรองโดยรัฐธรรมนูญและเปนพระราชอํานาจที่ทรงใชไดตาม
พระราชอธั ยาศัยจรงิ ๆ ไดแ ก การตง้ั คณะองคมนตรี การพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ เปน ตน

พระราชอาํ นาจท่ีสง ผลกระทบตอการเมืองการปกครองอยา งแทจรงิ คอื พระราชอํานาจในการยับยั้ง
รา งพระราชบญั ญัติ ในกรณีท่ีพระมหากษัตริยทรงไมเห็นดวยกับรางพระราชบัญญัติที่ผานการเห็นชอบของ
รัฐสภามาแลว และนายกรัฐมนตรนี ําขึน้ ทลู เกลาฯ ถวายเพื่อพระมหากษตั ริยทรงลงพระปรมาภิไธยประกาศใช
ก็อาจใชพระราชอาํ นาจยับยั้งเสียก็ได ซึ่งรัฐสภาจะตองนํารางพระราชบัญญัติที่ถูกยับย้ังนั้นไปพิจารณาใหม
แตใ นทางปฏบิ ตั ไิ มปรากฏวา พระมหากษัตริยทรงใช พระราชอาํ นาจน้ี

2. ระบอบประชาธปิ ไตยแบบมีประธานาธิบดีเปนประมุข ระบบน้ีไดถูกสรางข้ึนมานานกวา 200 ป
แลว โดยมีประเทศสหรัฐอเมริกาเปนแมแบบ ซึ่งมีบทบาทสําคัญทางการเมือง คือ ประธานาธิบดี จะเปน
ทั้งผูนําทางการเมืองและเปนผูนําประเทศ ประธานาธิบดีมาจากการเลือกตั้งของประชาชนทั่วประเทศ
โดยผานคณะผูเลือกต้ัง สวนสมาชิกวุฒิสภาจะมาจากการเลือกตั้งของประชาชนแตละมลรัฐและ
สมาชกิ สภาผแู ทนราษฎรมาจากการเลือกต้ังของประชาชนในแตละเขตเลือกตั้ง มีการบริหารประเทศโดยมี
รองประธานาธบิ ดแี ละรฐั มนตรีรวม

160

ปจ จบุ ันมีระบอบการเมอื งการปกครองแบบประชาธิปไตยแบบมีประธานาธิบดีเปนประมุข เรียกวา
ระบบก่ึงประธานาธิบดี ซ่ึงมีมาเม่ือประมาณ 40 ปน้ี โดยมีประเทศฝร่ังเศสเปนแมแบบ ระบบนี้ประชาชน
จะเปนผเู ลอื กตงั้ ประธานาธบิ ดแี ละผแู ทนราษฎรโดยตรง แตการเลือกวุฒิสภาจะเลือกโดยสมาชิกสภาผูแทน
ราษฎร สมาชิกสภาจังหวัดและผูแทนสภาเทศบาลจะเปนผูเลือกแทนประชาชน ประธานาธิบดีจะเปนท้ัง
ประมขุ และผูนําประเทศที่สําคัญท่ีสุด แตจะไมมีตําแหนงรองประธานาธิบดี จะมีนายกรัฐมนตรีเปนผูจัดตั้ง
คณะรฐั มนตรี โดยมคี วามเหน็ ชอบและไววางใจจาก สภาผูแทนราษฎรและสภาผูแทนราษฎรน้ีมีอํานาจปลด
นายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีได แตนายกรัฐมนตรีไมมีสิทธิ์ยุบสภา ผูมีอํานาจยุบสภา คือ ประธานาธิบดีและ
คณะรัฐมนตรีสามารถเสนอรางกฎหมายไดเ หมอื นระบบรัฐสภาโดยทวั่ ไป

ระบอบการเมอื งการปกครองแบบเผดจ็ การ
การปกครองแบบเผด็จการ เปนระบบการเมืองที่รวมอํานาจแบบเบ็ดเสร็จไวที่ผูนําคนเดียวหรือ
คณะเดียวใหอํานาจการตัดสินใจที่รัฐ การปกครองและการบริหารประเทศใหความสําคัญกับรัฐมากกวา
ประชาชน รวมท้ังประโยชนที่รัฐจะไดรับ ประชาชนเปรียบเสมือนเปนสวนประกอบ ของรัฐเทาน้ัน และท่ี
สําคัญรัฐจะตอ งสงู สุดและถกู ตอ งเสมอ การปกครองแบบเผด็จการ แบงออกเปน 2 รูปแบบ คือ แบบอํานาจ
นิยมและแบบเบด็ เสรจ็ นยิ ม
เผด็จการแบบอํานาจนิยม หมายถึง การใหอํานาจแกผูปกครองประเทศเปนสําคัญ ประชาชนไมมี
สว นรว มและรับรูความเปนไปของบานเมือง จะรูก็ตอเมื่อผูนําหรือคณะผูปกครองประเทศมีความตองการให
รับรูเ ทา นน้ั โดยถือวา เร่อื งการเมืองเปนเร่อื งเฉพาะของผูป กครองประเทศเทานั้น ประชาชนจะเขาไปเกี่ยวของ
ไดในกรณีที่ผูปกครองตองการสรางความชอบธรรมในบางเรื่องและบางสถานการณ แตก็เปนไปโดยจํากัด
ประชาชนตอ งอยูใตก ารปกครองและจะตองฟง คาํ สั่งอยา งเครง ครัด แตประชาชนจะไดรับสิทธิเสรีภาพในการ
นับถือศาสนา สําหรับเรือ่ งทางเศรษฐกิจและสังคมทั่วไป ผูปกครองท่ีมักจะเปดโอกาสใหประชาชนไดดําเนิน
กจิ การตาง ๆ ไดอยา งเต็มท่ี แตตอ งระมดั ระวังไมใ หก ระทบอํานาจของผปู กครอง
ลักษณะการปกครองแบบอํานาจนิยม
1. อํานาจทางการเมืองเปนของผูนํา มุงหมายที่จะควบคุมสิทธิเสรีภาพของทางการปกครองของ
ประชาชนเปน สําคญั
2. การบริหารประเทศดําเนินไปอยางมีเอกภาพ รวมอํานาจไวที่รัฐบาลกลาง ประชาชนไมมีสวนรวม
ในการปกครองประเทศ
3. ประชาชนตอ งปฏิบตั ิตามคําสง่ั ของผนู ําอยางเครง ครัดและตอ งไมดําเนนิ การใด ๆ ทขี่ ดั ขวางนโยบาย
ของผนู าํ
4. ควบคมุ ประชาชนดวยวิธีการลงโทษอยา งรุนแรงแตกม็ กี ารใชก ระบวนการยุติธรรมอยูบาง
5. ลักษณะการปกครองแบบนี้ปจจุบันยังใชกันอยูหลายประการ ท้ังในทวีปอเมริกาใต แอฟริกาและ
เอเชยี

161

เผด็จการแบบเบด็ เสรจ็ นิยม หมายถงึ รฐั บาลจะใชอํานาจอยา งเต็มท่ี ควบคุมกิจกรรมทัง้ ดานการเมอื ง
เศรษฐกจิ และสังคมของประชาชนทุกคน แสดงใหเ หน็ ถึงประชาชนไมมสี ิทธเิ สรภี าพอันใด ระบบเผด็จการแบบนี้
ยังแบง รูปแบบออกไดอ กี 2 รปู แบบ คือ

1. ระบบเผดจ็ การแบบเบด็ เสร็จนิยมของพวกฟาสซสิ ต รูปแบบของระบบนีจ้ ะเหน็ การใชอ าํ นาจ
รฐั ควบคมุ กิจกรรมตาง ๆ ของประชาชนอยางทวั่ ถึง นโยบายสง เสริมชาตินิยมเปนไปอยา งรนุ แรงและสรา งความ
แข็งแกรง เพือ่ แสดงถงึ ความยิ่งใหญข องชาติ

2. ระบบเผด็จการแบบเบ็ดเสร็จนิยมคือการปกครองแบบคอมมิวนิสต รูปแบบของระบบเนน
การใชอํานาจรัฐควบคุมกิจกรรมตาง ๆ ของประชาชนอยางท่ัวถึง คลายกับพวกฟาสซิสตแตจะเชิดชูชนชั้น
กรรมาชีพและทําลายลางชนชน้ั อน่ื ๆ ใหห มดสนิ้ รวมทัง้ ชนชน้ั อื่น ๆ ทุกสังคมทั่วโลก เปาหมายตองการใหมี
สงั คมโลก มีการปกครองแบบคอมมวิ นิสต

ลกั ษณะการปกครองแบบเผด็จการเบ็ดเสรจ็ นยิ ม

1. สรา งศรัทธาใหป ระชาชนยึดมน่ั ในระบบการปกครองและผูนําอยา งมั่นคงและตอ เน่ืองตลอดไป
2. ควบคุมการดําเนินกจิ กรรมตา ง ๆ ของประชาชนทั้งดานการเมือง เศรษฐกิจและสังคม ประชาชน
ไมมสี ิทธิเสรีภาพใด ๆ ทัง้ ส้ิน
3. ประชาชนตองเชื่อฟง คาํ สง่ั ของผูน ําอยางเครงครดั จะโตแ ยง ไมได
4. มีการลงโทษอยางรนุ แรง
5. รฐั บาลมอี ํานาจอยา งเต็มท่ี กจิ การในดานการเมอื ง เศรษฐกิจ สังคม ศาสนา วัฒนธรรม
และการศกึ ษาจะตอ งอยูภายใตก ารควบคุมของรัฐ
6. มีการโฆษณาชวนเชอ่ื และอบรมประชาชนในรปู แบบตา ง ๆ
7. ลักษณะการปกครองแบบนี้ ปจจุบันยังใชกันอยูหลายประเทศ เชน โซเวียตรัสเซีย สาธารณรัฐ
ประชาชนจีน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เขมร เวียดนามและเยอรมนี เปนตน แตสังคมในโลก
ปจ จุบัน การแขงขันเศรษฐกิจสูงสงผลใหประเทศตาง ๆ เหลาน้ีพยายามผอนคลายกฎเกณฑลงมีความเปน
ประชาธิปไตยเพม่ิ ขึน้ เพ่ือใหม ีความสามารถในทางเศรษฐกจิ

162

เปรียบเทยี บขอดี ขอ เสยี ของการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยและการปกครองระบอบเผด็จการ

ขอ ดขี องการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย ขอ ดีของการปกครองระบอบเผด็จการ

1. ประชาชนทกุ คนมคี วามเทา เทยี มกัน 1. รัฐบาลมคี วามเขม แขง็
ในดา นกฎหมาย 2. รฐั บาลมคี วามมั่นคงเปน ปกแผน
3. การตดั สินใจในกจิ การตาง ๆ เปนไปอยา ง
2. ประชาชนทกุ คนมีสทิ ธิเสรภี าพในทกุ ๆ ดา น
เพราะทกุ คนตอ งปฏบิ ตั ติ ามกฎหมาย รวดเรว็
เชนเดยี วกนั

3. รฐั บาลไมส ามารถผกู ขาดอาํ นาจไดเ นือ่ งจาก
ประชาชนเปน ผคู ดั เลอื กรฐั บาลและหากไม
พอใจยงั สามารถถอดถอนรฐั บาลได

4. การแกไขปญ หาตา ง ๆ ยดึ ถือแนวทางสนั ตวิ ธิ ีมี
การเจรจาอยา งมเี หตผุ ลและมหี นว ยงานรองรบั
กรณีพพิ าทระหวางรฐั และเอกชน
เชน ศาลปกครอง

ขอ เสยี ของการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย ขอเสยี ของการปกครองระบอบเผดจ็ การ

1. การแกไ ขบา นเมืองบางครง้ั มคี วามลา ชา 1. ประชาชนไมม สี ว นรว มในการปกครอง
เนอื่ งจากมกี ระบวนการหลายขัน้ ตอนทต่ี อง 2. ไมค ํานงึ ถงึ ความตองการของประชาชน
ผานความเห็นชอบซง่ึ บางคร้ังอาจแกไ ขได 3. รฐั บาลและประชาชนไมมคี วามสมั พันธก ัน
ไมทันเวลา
อยา งใกลช ดิ
2. ในบางประเทศประชาชนสว นใหญยงั ขาด 4. ประชาชนไมไ ดรบั ความเปนธรรมเทาทค่ี วร
ความรใู นดา นการเมอื งการปกครอง 5. ผูนําอาจใชอํานาจเพื่อประโยชนส ว นตน
ในกรณีคดั เลอื กผแู ทนบรหิ ารอาจไมเ หมาะสม
จะสง ผลกระทบตอ รฐั บาลได และพวกพองได
6. การบรหิ ารประเทศอยทู ี่ผูน าํ หรอื คณะเพยี ง
3. ในการเลอื กตง้ั แตล ะครงั้ จาํ เปน ตอ งใชเ งนิ เปน
จาํ นวนมากดงั นั้นประเทศยากจนจงึ เหน็ วา เปน กลมุ เดยี ว การตดั สินใจ การแกไ ขปญ หาอาจ
การเสยี เงินโดยไมก อ ใหเ กดิ ประโยชนแ ละควร ผดิ พลาดไดงา ย
นําเงนิ ไปใชใ นการพฒั นาประเทศสง เสริมให 7. ประชาชนไมม ีอสิ ระในการประกอบอาชพี
ประชาชนมงี านทาํ หรือชว ยเหลือประชาชน อยางเตม็ ทส่ี ง ผลใหค วามเปนอยขู อง
ทยี่ ากจน ประชาชนไมค อ ยดแี ละอาจทําใหไ มม คี วามสขุ

163

กจิ กรรมที่ 3

ใหนกั ศกึ ษาตอบคาํ ถามตอ ไปน้ี โดยอธบิ ายใหเ ขา ใจและไดใ จความทส่ี มบรู ณ
1. รูปแบบการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยแบบมพี ระมหากษตั ริยเ ปน ประมขุ รฐั ธรรมนญู
การปกครองของไทยทกุ ฉบบั กาํ หนดสาระไวอ ยา งไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.....................................................................................
2. การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยระบบประธานาธิบดีมลี กั ษณะการปกครองอยา งไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.....................................................................................
3. การปกครองระบอบประชาธิปไตยของทุกประเทศจะมีรปู แบบการปกครองแตกตางกัน
แตห ลกั การใหญ ๆ จะมีเหมือนกันคืออะไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
......................................................................................
4. ใหน กั ศึกษาบอกขอ ดีและขอ เสยี ของการปกครองระบอบประชาธิปไตยและการปกครองระบอบ
เผดจ็ การ
ขอดี ของการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย
1. ..........................................................................................................................
2. ..........................................................................................................................
3. ..........................................................................................................................

164

ขอ เสยี ของการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย
1. ..........................................................................................................................
2. ..........................................................................................................................
3. ..........................................................................................................................

ขอ ดี ของการปกครองระบอบเผดจ็ การ
1. ..........................................................................................................................
2. ..........................................................................................................................
3. ..........................................................................................................................

ขอ เสยี ของการปกครองระบอบเผดจ็ การ
1. ..........................................................................................................................
2. ..........................................................................................................................
3. ..........................................................................................................................

กจิ กรรมที่ 4

ใหน ักศกึ ษาเลือกคาํ ตอบท่ถี กู ตอ งทสี่ ดุ เพยี งขอ เดยี วในขอ คาํ ถามตอ ไปน้ี
1. หนา ท่ขี องคนไทยทตี่ อ งดํารงความเปน ไทย คอื ขอใด

ก. การปอ งกนั ประเทศ
ข. เคารพสทิ ธเิ สรีภาพของผูอนื่
ค. การรับราชการทหารและเสยี ภาษอี ากร
ง. ดํารงไวซ งึ่ ชาติ ศาสนาและพระมหากษตั ริย
2. ขอ ใดไมใ ชสทิ ธขิ องประชาชนชาวไทยทก่ี ฎหมายรฐั ธรรมนญู บัญญัติไว
ก. สทิ ธใิ นทรพั ยส นิ
ข. สิทธทิ างการเมอื ง
ค. สิทธเิ สนอเรอ่ื งราวรองทกุ ข
ง. สิทธิทจี่ ะไดร ับสวสั ดกิ ารเมอื่ สงู อายุ
3. ประชาชนทุกคนมสี ทิ ธแิ ละเสรีภาพเพยี งใด
ก. ไมมีขอบเขตจาํ กดั
ข. มีจาํ กัดโดยอาํ นาจของผปู กครอง
ค. มีจาํ กดั โดยขอ บญั ญตั ขิ องกฎหมาย
ง. มีจํากดั ตามฐานะของแตล ะบุคคล

165

4. พฤตกิ รรมในขอ ใดทแ่ี สดงวาประชาชนยงั ไมต ระหนกั ถงึ สทิ ธแิ ละหนาที่ของตนเอง
ตามระบอบประชาธปิ ไตย
ก. ลงุ บญุ มี ฟงขา วสารการเมอื งจากวทิ ยกุ อ นนอนทกุ คืน
ข. นายออ น รวมเดินขบวนประทว งนโยบายปรบั คาจา งแรงงาน
ค. สมหญงิ เขียนบทความลงหนงั สอื พมิ พเ สนอวธิ ีแกป ญ หายาเสพติด
ง. สมชาย ไมไ ปลงคะแนนเลอื กตงั้ สมาชิกสภาผแู ทนราษฎรเพราะไมว าง

5. เพราะเหตใุ ดการปกครองแบบประชาธปิ ไตยจงึ ไดร บั ความนยิ มมากกวา การปกครอง
แบบอนื่
ก. พระมหากษตั ริยท รงเปนประมุข
ข. มกี ารจดั ตง้ั พรรคการเมอื งไดหลายพรรค
ค. มกี ารเลอื กตง้ั ผนู าํ ฝา ยบรหิ ารเขา ไปปกครองประเทศ
ง. ประชาชนมโี อกาสทจี่ ะเขาไปมสี ว นรวมในการปกครอง

6. ความมีอสิ ระในการกระทาํ ของบคุ คลโดยไมขดั ตอกฎหมายคืออะไร
ก. สิทธิ
ข. หนาที่
ค. อํานาจ
ง. เสรภี าพ

7. ลกั ษณะการสง เสรมิ การปกครองแบบประชาธปิ ไตยทีด่ ีคือขอ ใด
ก. เปด โอกาสใหป ระชาชนแสดงออก
ข. ใหก ารศกึ ษาแกป ระชาชนอยา งเต็มท่ี
ค. ใหม กี ารเลือกตงั้ สม่ําเสมอเปน ประจาํ
ง. สงเสรมิ รายไดป ระชาชนอยา งตอเนอ่ื ง

8. นกั ศึกษาคดิ วาการเมอื งเปน เรือ่ งของใคร
ก. คณะรฐั มนตรี
ข. รัฐสภาเทานน้ั
ค. ประชาชนทุกคน
ง. พรรคการเมอื งเทาน้ัน

9. ขอความใดกลาวถกู ตอ ง
ก. ประเทศจนี และลาวมรี ะบบการปกครองแตกตา งกนั
ข. ประเทศรสั เซยี กบั จนี มรี ะบบการปกครองแตกตางกนั
ค. ประเทศไทยและประเทศองั กฤษมรี ะบอบการปกครองเหมือนกัน
ง. ประเทศอังกฤษและประเทศสหรฐั อเมริกามรี ะบบการปกครองแตกตา งกนั

166

10. ขอ ใดเปน เรอื่ งทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช (รัชกาลท่ี 9)
ทรงใหค วามชว ยเหลอื ประชาชนมากทสี่ ดุ
ก. สนบั สนุนใหม ีอาชพี
ข. ใหท นุ การศึกษาเด็กยากจน
ค. ใหย ารกั ษาโรค ชวยเหลือผปู ว ย
ง. แสวงหาแหลง นา้ํ เพือ่ การเกษตร

167

แนวเฉลยกิจกรรม บทท่ี 1 ภูมิศาสตรกายภาพทวปี เอเชีย

กิจกรรมที่ 1.1 ลักษณะทางภูมิศาสตรกายภาพของประเทศในทวปี เอเชยี
1) ใหผเู รยี นอธบิ ายจุดเดนของลกั ษณะภมู ปิ ระเทศในทวปี เอเชยี ท้งั 5 เขต
1. เขตท่ีราบตาํ่ ตอนเหนอื สว นใหญอยใู นเขตโครงสรางแบบหินเกา มีลักษณะภูมิประเทศเปนท่ีราบ

ขนาดใหญ มีแมน้ําออบ แมน้ําเยนิเซ และแมนํ้าลีนาไหลผาน แตไมคอยมีผูคนอาศัยอยู เพราะเน่ืองจากมี
ภูมิอากาศหนาวเยน็ มากและทําการเพาะปลูกไมไ ด

2. เขตที่ราบลุมแมนํ้า มีลักษณะภูมิประเทศเปนที่ราบและมักมีดินอุดมสมบูรณ เหมาะแก
การเพาะปลูก สวนใหญอยูท างเอเชียตะวันออก เอเชยี ใต และเอเชียตะวนั ออกเฉียงเหนือ ไดแก ที่ราบลุม
ฮวงโห แยงซี จีน สินธุ คงคา พรหมบตุ ร ในประเทศปากีสถาน อินเดยี และบงั กลาเทศ ที่ราบลุมแมน้ําไทกริส
ยูเฟรทีส ในประเทศอิรัก ท่ีราบลุมแมนํ้าโขงตอนลาง ในประเทศกัมพูชาและเวียดนาม ท่ีราบลุมแมน้ําแดง
ในประเทศเวียดนาม ท่ีราบลุมแมน้ําเจาพระยา ในประเทศไทย ที่ราบลุมแมนํ้าสาละวินตอนลาง ท่ีราบลุม
แมน าํ้ อิระวดี ในประเทศสาธารณรัฐแหงสหภาพพมา

3. เขตเทอื กเขาสูง เปน เขตเทือกเขาหินใหม เทอื กเขาสูงเหลานสี้ วนใหญเปนเทอื กเขาทแ่ี ยกตัวไปจาก
จุดรวมทีเ่ รยี กวา ปามีรนอต ตอนกลางประกอบไปดวยที่ราบสูง มีเทือกเขาที่แยกไปทางทิศตะวันออก ไดแก
เทอื กเขาหิมาลัย เทอื กเขาอาระกันโยมา และเทือกเขาท่ีมีแนวตอเนื่องลงมาทางใต มีบางสวนท่ีจมหายไปใน
ทะเล และบางสว นโผลข ้ึนมาเปน เกาะ ในมหาสมทุ รอนิ เดยี และมหาสมทุ รแปซิฟก ถัดจากเทอื กเขาหิมาลยั ขน้ึ ไป
ทางเหนือ มเี ทอื กเขาท่ีแยกไปทางตะวนั ออก ไดแก เทอื กเขาคุนลนุ เทอื กเขาอัลตินตัก เทือกเขานานชาน และ
แนวทแี่ ยกไปทางทิศตะวันออกเฉยี งเหนือ ไดแก เทือกเขาเทียนชาน เทือกเขาอัลไต ฯลฯ เทือกเขาท่ีแยกไป
ทางทศิ ตะวันตก แยกเปนแนวเหนือและแนวใต แนวเหนอื ไดแ ก เทือกเขาฮินดูกูช เทอื กเขาเอลบูชร สวนแนว
ใต ไดแ ก เทอื กเขาสุไลมาน เทอื กเขาซากรอส

4. เขตที่ราบสูงตอนกลางทวีป เปนท่ีราบสูงอยูระหวางเทือกเขาที่หินใหม ไดแก ที่ราบสูงทิเบต
ซงึ่ เปนทร่ี าบสูงขนาดใหญและสงู ทส่ี ุดในโลก ท่รี าบสูงยนู นาน ทางใตข องประเทศจีน และทีร่ าบสูงท่ีมีลกั ษณะ
เหมอื นแอง ช่อื ตากลามากนั ซง่ึ อยรู ะหวา งเทือกเขาเทยี นชานกับเทอื กเขาคุนลุน แตอยูสูงกวาระดับน้ําทะเล
มาก และมีอากาศแหงแลง เปน เขตทะเลทราย

5. เขตท่รี าบสงู ตอนใตและตะวนั ตกเฉยี งใต เปนท่รี าบสูงตอนใต และตะวันตกเฉียงใต ไดแก ทีร่ าบสูง
ขนาดใหญทางตอนใตของทวีปเอเชีย ซึ่งมีความสูงไมมากเทากับท่ีราบสูงทางตอนกลางของทวีป ท่ีราบสูง
ดังกลาว ไดแก ที่ราบสูงเดคคาน ในประเทศอินเดีย ที่ราบสูงอิหราน ในประเทศอิหราน และอัฟกานิสถาน
ท่รี าบสงู อนาโตเลีย ในประเทศตรุ กีและทรี่ าบสูงอาหรบั ในประเทศซาอุดีอาระเบยี

2) ภมู อิ ากาศแบบใดที่มีหมิ ะปกคลมุ ตลอดป และพืชพรรณทีป่ ลกู เปน ประเภทใด
ภูมอิ ากาศแบบทุนดรา (ขัว้ โลก) พชื พรรณธรรมชาติเปนพวกตะไครนา้ํ และมอสส

168

กิจกรรมท่ี 1.2 การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู ศิ าสตรก ายภาพ

1) ใหผูเรียนอธิบายวาการเกิดแผนดินไหวอยางรุนแรงจะสงผลกระทบตอประชากรและสิ่งแวดลอม
อยา งไรบาง

- ประชาชนไดรบั ความเดือดรอน อาจถึงขั้นเสียชีวติ หรือบาดเจบ็ สาหสั ขาดท่ีอยูอ าศัย
- ประชาชนปว ยเปนโรคจิตเวช ซ่งึ เกิดขน้ึ กับเหยื่อภยั พิบตั ทิ กุ ชนดิ
- อาคารและสิ่งกอ สรา งตา ง ๆ เสยี หาย
- อาชีพการใหบ รกิ าร เชน คา ขาย ฯลฯ
2) ใหบ อกความแตกตางและผลกระทบท่เี กิดตอ ประชากรและสิ่งแวดลอมของพายุฝนฟาคะนอง พายุ
หมุนเขตรอน และพายุทอรน าโด

1. พายุฝนฟาคะนอง มีลักษณะเปนลมพัดยอนไปมา หรือพัดเคล่ือนตัวไปในทิศทางเดียวกัน
อาจเกิดจากพายุทอ่ี อนตัวและลดความรุนแรงของลมลง หากสภาพแวดลอมตางๆ เหมาะสม กจ็ ะเกิดฝนตก

ผลกระทบ คือ อาจจะถกู ฟา ผา เกดิ นํา้ ทวมขงั
2. พายหุ มุนเขตรอนตา ง ๆ เชน เฮอรริเคน ไตฝุน และไซโคลน ซึ่งลวนเปนพายุหมุนขนาดใหญ
เชนเดยี วกัน จะเร่มิ ตนกอตัวในทะเล หากเกดิ เหนือเสน ศูนยส ตู ร จะมที ิศทางการหมุนทวนเขม็ นาฬิกา และหาก
เกดิ ใตเ สน ศนู ยส ูตรจะหมุนตามเขม็ นาฬกิ า โดยมีช่อื ตางกันตามสถานท่เี กดิ
ผลกระทบ คือ ฝนตกชุก นํ้าทวม ประชาชนอาจไดรับบาดเจ็บหรือเสียชีวิต อาคารบานเรือน
ทรพั ยสนิ และสาธารณูปโภคตา ง ๆ เสียหาย ถา พายุมคี วามเรว็ สงู ก็จะทําใหส ง่ิ กอ สรา งและอาคารบา นเรือนพัง
เสยี หาย ราบเปน หนากลอง
3. พายทุ อรน าโด เปนช่ือเรียกพายุหมนุ ทเี่ กดิ ในทวีปอเมรกิ า มขี นาดเนอื้ ทเี่ ล็กหรือเสน ผา ศูนยก ลาง
นอ ย แตหมุนดวยความเร็วสงู หรอื ความเรว็ ที่จดุ ศูนยกลางสงู มากกวา พายหุ มุนอ่นื ๆ กอความเสียหายไดร ุนแรง
ในบริเวณทพ่ี ดั ผาน เกดิ ไดท ้ังบนบกและในทะเล
ผลกระทบ คือ ประชาชนอาจไดรบั บาดเจ็บหรือเสยี ชีวิต สง่ิ กอ สรางและอาคารบา นเรอื นพงั เสยี หาย
ราบเปนหนากลอง
3) คลืน่ สนึ ามิสงผลกระทบตอส่งิ แวดลอ มมากมายหลายอยา งในความคิดเหน็ ของผูเรียนผลกระทบดานใด
ทีเ่ สียหายมากท่ีสุด พรอมใหเหตุผลประกอบ
ผลกระทบตอชีวิตของประชากรและทรพั ยส นิ ท่ีอยูอ าศยั เพราะเมือ่ เกดิ เหตุการณแลว ประชาชนจะรสู ึก
กลวั วา จะเกดิ เหตุการณแ บบน้ีอีกในอนาคต ทําใหเกิดวิตกจรติ การสูญเสยี ชวี ติ ของญาติมิตร ครอบครวั ภูมทิ ัศน
ในการประกอบอาชพี เปลย่ี นแปลงไปเพราะทกุ อยางโดนกวาดตอ นลงทะเลไปในเวลาฉับพลนั เปน การสญู เสยี ครง้ั
ยง่ิ ใหญ ดังน้ันผูท ี่อาศัยอยใู นบรเิ วณนี้ จงึ มคี วามวิตกจรติ อยูตลอดเวลา

กิจกรรมที่ 1.3 วธิ ีใชเ คร่อื งมอื ทางภูมิศาสตร
1) ถา ตองการทราบระยะทางจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนง่ึ ผเู รยี นจะใชเ ครือ่ งมอื ทางภมู ิศาสตรชนดิ ใด
แผนท่ี

169

2) ภาพถา ยจากดาวเทียม มปี ระโยชนใ นดานใดบาง
ใหข อ มูลพื้นผวิ ของเปลือกโลก ทาํ ใหเ ห็นภาพรวมของการใชพื้นที่ และการเปล่ียนแปลงตาง ๆ ตามที่

ปรากฏบนพ้นื โลก ซง่ึ เหมาะแกก ารศกึ ษาทรพั ยากรผวิ ดนิ เชน ปาไม การใชประโยชนจากดิน หิน และแร
3) แผนท่ี มีประโยชนใ นดา นใดบาง
1. ดา นการเมืองการปกครอง เพ่ือใชศ ึกษาสภาพทางภมู ิศาสตรและนํามาวางแผนดําเนินการ เตรียมรับ

หรือแกไ ขสถานการณที่เกดิ ขน้ึ ได
2. ดานการทหาร ในการพจิ ารณาวางแผนทางยุทธศาสตรข องทหาร ตองหาขอ มลู หรือขาวสารที่เก่ียวกับ

สภาพภมู ิศาสตร และตําแหนง ทางสิ่งแวดลอม
3. ดานเศรษฐกจิ และสังคม ดา นเศรษฐกิจ ใชงานในการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง ชาติ

ใชเ ปนขอ มูลพื้นฐานเพือ่ ใหทราบทาํ เลทต่ี ้ังสภาพทางกายภาพ แหลงทรัพยากร
4. ดา นสงั คม สภาพแวดลอ มทางสังคมมกี ารเปลย่ี นแปลงอยเู สมอ การศกึ ษาสภาพการเปลี่ยนแปลงตอง

อาศัยแผนทเ่ี ปน สําคัญ และอาจชว ยใหก ารดาํ เนนิ การวางแผนพฒั นาสงั คมเปน ไปในแนวทางทถี่ กู ตอง
5. ดา นการเรยี นการสอน แผนท่เี ปนตัวสง เสรมิ กระตนุ ความสนใจ และกอ ใหเ กิดความเขา ใจในบทเรยี นดี

ขึน้ ใชเ ปนแหลง ขอ มลู ทงั้ ทางดา นกายภาพ ภมู ภิ าค
6. ดานสง เสรมิ การทอ งเท่ยี ว แผนที่มีความจําเปน ตอ นักทอ งเทยี่ วในอันท่จี ะทาํ ใหรูจ กั สถานทท่ี องเทยี่ ว

ไดง า ย สะดวกในการวางแผนการเดนิ ทางหรือเลอื กสถานท่ีทอ งเที่ยวตามความเหมาะสม
4) ถาตองการทราบวาประเทศไทยอยูพกิ ดั ภูมศิ าสตรท เี่ ทาไหร ผูเรียนจะใชเ ครอื่ งมือทางภูมศิ าสตรชนดิ ใด

ไดบ า ง
แผนที่ และลกู โลก

กิจกรรมท่ี 1.4 สภาพภูมศิ าสตรกายภาพของไทยท่ีสงผลตอทรัพยากรตาง ๆ และสง่ิ แวดลอม
1) ใหผูเ รียนอธบิ ายวาสภาพภมู ศิ าสตรข องประเทศไทย ทง้ั 6 เขต มีอะไรบาง และแตละเขตสวนมาก

ประกอบอาชพี อะไร
1. เขตภูเขาและหุบเขาทางภาคเหนือ ลักษณะภมู ปิ ระเทศเปนภูเขาและเทือกเขา จะทอดยาวในแนว

หรือใตสลับกับท่ีราบหุบเขา โดยมีท่ีราบหุบเขาแคบ ๆ ขนานกันไป อันเปนตนกําเนิดของแมนํ้าลําคลอง
หลายสาย ทาํ ใหเกดิ ทรี่ าบลมุ แมน ํ้า ซึง่ อยูร ะหวางหบุ เขาอันอุดมสมบรู ณไปดวยทรพั ยากรธรรมชาติ ภมู อิ ากาศ
คลา ยคลึงกบั ภมู ิอากาศทางตอนใตข องเขตอบอุน ของประเทศทมี่ ี 4 ฤดู ประกอบอาชีพเพาะปลูก เล้ียงสตั ว และ
ทาํ เหมอื งแร

2. เขตเทือกเขาทางภาคตะวนั ตก ลักษณะภูมิประเทศเปนพ้ืนท่ีแคบ ๆ ทอดยาวขนานกับพรมแดน
ประเทศพมา สว นใหญเปนภูเขา มแี หลงทรัพยากรแรธ าตุ และปา ไมข องประเทศ มีปรมิ าณฝนเฉลี่ยตา่ํ กวา
ทุกภาค ประชากรสว นใหญอยูในเขตท่รี าบลุมแมนํา้ และชายฝง ลักษณะภูมิอากาศ โดยท่ัวไปมีความแหงแลง
มากกวาในภาคอ่ืน ๆ ประกอบอาชีพปลูกพืชไรและการประมง

170

3. เขตที่ราบของภาคกลาง ลกั ษณะภูมิประเทศสว นใหญเปนทร่ี าบลมุ แมน้ําอันกวางใหญ มีลักษณะเอียงลาด
จากเหนอื ลงมาใต เปนที่ราบทม่ี คี วามอุดมสมบรู ณม ากท่สี ุดเพราะเกิดการทับถมของตะกอน ประกอบอาชีพ
การเกษตร (ทํานา)

4. เขตภูเขาและท่ีราบบรเิ วณชายฝง ทะเลตะวันออก ลกั ษณะภมู ิประเทศเปนเทือกเขาสูงและที่ราบ
ซ่ึงสวนใหญเปนทีร่ าบลกู ฟกู และมแี มนํา้ ทีไ่ หลลงสอู าวไทย แมน ้ําในภาคตะวันออกสวนมากเปน แมน า้ํ สายสนั้ ๆ
ซง่ึ ไดพ ดั พาเอาดินตะกอนมาทง้ิ ไว จนเกดิ เปนทร่ี าบแคบ ๆ ตามทีล่ มุ ลักษณะชายฝง และมีลักษณะภูมิประเทศ
เปนเกาะ อาว และแหลม ลักษณะภูมิอากาศมีลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตจาก อาวไทย จึงทําใหมีฝนตกชุก
หนาแนน บางพน้ื ทีป่ ระกอบอาชีพการประมง ทําสวนผลไม ปจ จบุ นั มีการทําสวนยางพารา

5. เขตที่ราบสูงภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ลักษณะภูมิประเทศเปนท่ีราบสูงขนาดต่ําทางบริเวณ
ตะวนั ตกของภาคจะมภี เู ขาสูง ทางบริเวณตอนกลางของภาคมีลกั ษณะเปนแองกระทะ มีแมน้ําชีและแมน้ํามูล
ไหลผา น ยังมีทีร่ าบโลงอยูหลายแหง โดยมแี นวทวิ เขาภพู านทอดโคง ยาวคอนไปทางตะวันออกเฉียงเหนือของ
ภาค ถดั เลยจากแนวทวิ เขาภพู านไปทางเหนอื มแี องทรดุ ตา่ํ ของแผนดิน
ประกอบอาชีพทาํ นา การประมงน้ําจืด

6. เขตคาบสมทุ รภาคใต ลกั ษณะภูมิประเทศเปนคาบสมทุ รยืน่ ไปในทะเล มเี ทือกเขาทอดยาวในแนว
เหนอื ใต ทเ่ี ปน แหลงทับถมของแรดีบกุ บริเวณชายฝง ทะเล ทั้งสองดา นของภาคใตเปนท่ีราบมีประชากรอาศัย
อยูหนาแนน ภาคใตไดรับอิทธิพลความชื้นจากทะเลทั้งสองดาน มีฝนตกชุกตลอดป และมีปริมาณฝนเฉล่ียสูง
ประกอบอาชพี ยางพารา ปาลม นาํ้ มนั การประมง

2) ผเู รียนคดิ วา ประเทศไทยมที รัพยากรอะไรท่มี ากท่ีสดุ บอกมา 5 ชนดิ แตล ะชนดิ สงผลตอ การ
ดําเนินชวี ิตของประชากรอยา งไรบาง

ปา ไม ประชากรประกอบอาชพี ทาํ เฟอรน ิเจอร ทาํ ของปาขาย
แรด บี กุ ประชากรประกอบอาชพี อตุ สาหกรรมเหมืองแร
ลกิ ไนต ประชากรประกอบอาชีพ อตุ สาหกรรมเหมืองแร
พลอย ประชากรประกอบอาชพี การเจยี รนัยพลอย
ทรัพยากรสตั วน ้ํา ประชากรประกอบอาชีพ การประมง
กิจกรรมที่ 1.5 ความสาํ คญั ของการดํารงชวี ติ ใหส อดคลองกบั ทรพั ยากรในประเทศ
1) ใหผ เู รียนอธบิ ายวาในภาคเหนือของไทยประชากรจะอาศัยอยูหนาแนนในบริเวณใดบาง พรอมให
เหตุผล และสวนมากจะประกอบอาชพี อะไร
ประชากรสวนใหญอาศัยอยหู นาแนน ตามท่รี าบลมุ แมนํ้า ประกอบอาชพี ทํานา ทําไร
2) ผูเรยี นคิดวาภาคใดของไทย ทส่ี ามารถสรา งรายไดจ ากการทอ งเที่ยวมากที่สดุ พรอมใหเหตุผลและ
สถานทที่ อ งเทยี่ วดงั กลาวคืออะไรบาง พรอมยกตัวอยา ง
ภาคใตแ ละภาคตะวนั ออก เพราะมีชายฝง ทะเลทีง่ ดงาม มีเกาะแกงมากมาย มกี ารบริการท่ปี ระทบั ใจ
ภาคเหนอื มปี า ไม มีวฒั นธรรมดัง้ เดมิ คอื จังหวัดเชยี งใหม เชยี งราย

171

3) ปจ จัยใดทที่ าํ ใหม ปี ระชากรอพยพเขามาอาศัยอยูใ นภาคตะวันออกมากข้นึ
การเจริญเติบโตของเขตอุตสาหกรรมมาบตาพุด และทาเรือนํ้าลึกเพ่ือขนสงลงทะเลและมีแหลง

ทอ งเท่ียวอันงดงาม
4) ทวปี ใดท่ีกลา วกนั วาเปน ทวปี “แหลงอารยธรรม” เพราะเหตใุ ดจงึ กลาวเชนน้นั
ทวปี เอเชียเพราะเปน ดินแดนทค่ี วามเจรญิ เกดิ ขึน้ กอนทวีปอื่นๆ ประชากรรจู กั และตง้ั ถน่ิ ฐานกันมากอ น

อารยธรรมทสี่ ําคญั ๆ คอื อารยธรรมจีน อินเดยี ขอม
5) ในทวีปเอเชยี ประชากรจะอาศยั อยูกันหนาแนนบรเิ วณใดบา ง เพราะเหตุใด
รมิ ชายฝง ทะเลและท่ีราบลุมแมน ํ้าตาง ๆ เชน ลุมแมนํ้าเจาพระยา ลุมแมนํ้าแยงซีเกียง ลุมแมนํ้าแดง

และลุมแมนํ้าคงคา และในเกาะบางเกาะท่ีมีดินอุดมสมบูรณ เชน เกาะของประเทศฟลิปปนส อินโดนีเซีย
และญป่ี นุ

แนวเฉลยกจิ กรรม บทท่ี 2 ประวตั ศิ าสตรท วปี เอเชยี

คาํ ชีแ้ จง ใหผ ูเรยี นเขียนเครือ่ งหมายถูก () หนา ขอ ความทถี่ ูกและเขยี นเคร่ืองหมายผิด ()
หนาขอความท่ีผิด
.............. 1. ประเทศจีนเปนประเทศในแถบภูมภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกที่มีพน้ื ที่ใหญท ี่สุดในโลก
............ 2. ประเทศอินเดียเปน ประเทศประชาธิปไตยทม่ี ีประชากรมากท่ีสุดในโลก
............ 3. กษัตริยพมาท่ีสามารถรวบรวมประเทศใหเปนปกแผนเดียวกันไดสําเร็จเปนครั้งแรก

คือ พระเจาอโนรธา กษัตริยเมอื งพยู
............ 4. พระเจา ตะเบง็ ชะเวต้ี กษตั รยิ พมา ทสี่ ามารถตีกรงุ ศรอี ยุธยาแตกในป พ.ศ. 2112
............ 5. ประเทศอนิ โดนเี ซียเปนประเทศท่เี ปนหมูเกาะทใี่ หญท ส่ี ดุ ในโลก
............ 6. สงครามเจ็ดป (Seven Years’ War) เปน สงครามทเี่ กดิ ขน้ึ ในฟลิปปน สจนทาํ ใหญีป่ ุนเกิด

การสูญเสียมากท่สี ุด
............ 7. ประเทศญป่ี ุนไดช่อื วา “ดินแดนแหงพระอาทิตยอุทยั ”
............ 8. ยุคศกั ดินา หมายถงึ ยคุ ทจี่ กั รพรรดเิ ปน ใหญที่สดุ ในญีป่ นุ
............ 9. การทิ้งระเบดิ ท่ีเมืองฮิโรชิมาและนางาซากิ ทําใหญีป่ ุนตองยอมแพสงครามโลกคร้ังท่ี 1
............ 10. ญ่ปี ุนเปนประเทศหนง่ึ ท่ีตอตา นสหรฐั เมรกิ าสงกองกาํ ลงั ทหารไปสูรบในอริ กั
............ 11. ประเทศสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนจนี มีการลงทุนในประเทศไทยเปน อนั ดบั 2

รองจากญป่ี นุ
............ 12. กลุม ICS เปนกลมุ ชนช้นั กรรมกรที่องั กฤษคัดเลอื กใหท ํางานในอนิ เดยี และพมา
............ 13. ประเทศไทยตกเปน อาณานิคมของชาติตะวนั ตกและทาํ ใหเสยี ดนิ แดนไปถึง 14 ครัง้
............ 14. สงครามเดียนเบยี นฟูเปนสงครามทีป่ ระเทศไทยรวมมือกับฝรงั่ เศสขบั ไลจีนฮอออกจาก

เวียดนามจนสาํ เร็จ

172

............ 15. สงครามเยน็ ทาํ ใหเ กิดการแบง สถานภาพกลุมประเทศเปน 3 กลุม ไดแก กลมุ ประเทศ
มหาอํานาจ กลุม ประเทศกําลงั พัฒนา และกลุมประเทศดอ ยพฒั นา

เฉลยกิจกรรมทายบท

.... …. 1. …. …. 2. …. …. 3. …. …. 4.
…. …. 5 . .... …. 6. …. …. 7. .... …. 8.
.... …. 9. …. …. 10. …. …. 11. .... …. 12.
…. …. 13. …. …. 14. .... …. 15.

แนวเฉลยกจิ กรรม บทที่ 3 เศรษฐศาสตร

กจิ กรรมที่ 3.1 เศรษฐศาสตร หมายถงึ วชิ าทว่ี าดว ยการศกึ ษาอะไร มคี วามสําคัญอยา งไร
เศรษฐศาสตร หมายถงึ การเลอื กใชทรพั ยากรทมี่ ีจาํ กัดและหายากในการผลิตสินคาและบริการใหมี

ประสทิ ธิภาพมากทีส่ ุด ซึ่งรวมถึงการกระจายสินคาและบริการเพ่ือใหความเปนธรรมและความอยูดีกินดีของ
ประชาชนท้งั ในปจจุบนั และอนาคต

กิจกรรมท่ี 3.2 ความตอ งการ (Wants) ในวิชาเศรษฐศาสตรหมายถงึ อะไร
ความตอ งการ (Wants) ในวชิ าเศรษฐศาสตร หมายถึง ความปรารถนาทจ่ี ะไดส ิง่ ตา ง ๆ มาบริโภค

เพอ่ื ตอบสนองความจําเปนในการดาํ รงชวี ิตและเพ่อื อํานวยความสะดวกตาง ๆ

กิจกรรมท่ี 3.3 คณุ ธรรมของผูผลิตมีอะไรบา ง
คุณธรรมของผผู ลิตมี ดงั น้ี
1. ความขยัน เปนความพยายามมุมานะท่ีจะประกอบการในการผลิตและบริการใหประสบผลสําเร็จ

อยางไมยอทอตอปญ หาอุปสรรค
2. ความซ่ือสัตย โดยเฉพาะซื่อสัตยตอผูบริโภค เชน ไมคากําไรเกินควร ไมโฆษณาสินคาเกินความ

เปนจริง ไมป ลอมปนสินคา ไมผ ลิตสินคาทไ่ี มไดคณุ ภาพ หรอื สนิ คา ทผี่ ดิ กฎหมาย
3. ความรบั ผดิ ชอบ ในการผลติ สินคา และบริการเพ่อื สนองตอความตองการของผูบริโภค รับผิดชอบ

ตอ ความเสียหายอนั เกดิ จากการผลิตและบริการ
4. พัฒนาคุณภาพสนิ คา ใหเปน สนิ คา และบริการเปนที่พงึ พอใจของผบู รโิ ภค
5. ดูแลสังคม แบง สว นกาํ ไรทไี่ ดรับคืนสูสังคม เชน ทํากิจกรรมเพ่ือสวนรวม ชวยเหลือผูดอยโอกาส

ในรูปแบบตาง ๆ

กิจกรรมท่ี 3.4 ระบบเศรษฐกจิ แบบผสมหมายถึงอะไร
ระบบเศรษฐกิจแบบผสม หมายถึง ระบบเศรษฐกิจท่ีเกิดข้ึนจากปญหาและขอบกพรองของระบบ

เศรษฐกิจแบบเสรีนิยมและสังคมนิยม โดยมีกลไกราคาเปนตัวกําหนด มีการวางแผนจากรัฐบาลสวนกลาง
บางสว นใหเ อกชนตดั สนิ ใจดําเนินกจิ กรรมเอง

173

กจิ กรรมท่ี 4 จงเลอื กคาํ ตอบทถี่ กู ท่สี ุดเพียงคําตอบเดยี ว

1. ง 2. ค 3. ก 4. ค 5. ข

แนวเฉลยกจิ กรรม บทท่ี 4 การเมอื งการปกครอง

กจิ กรรมท่ี 1
1. ค 2. ก 3. ข 4. ก 5. ง 6. ง 7. ข 8. ข 9. ง 10. ง
11. ข 12. ง 13. ง 14. ง 15. ง 16. ก 17. ค 18. ง 19. ข 20. ก

กิจกรรมที่ 2
1. เพราะเหตใุ ดระบอบการปกครองแบบประชาธปิ ไตยจึงถอื วาเหมาะสมทีส่ ดุ ในปจจุบนั
แนวตอบ
เปนระบอบการปกครองที่ยอมรับสิทธิเสรีภาพและความเสมอภาคของประชาชน เปดโอกาสให

ประชาชนทุกคนมีสวนรวมในการใชอํานาจปกครองประเทศอยางท่ัวถึงและมีกลไกท่ีมีประสิทธิภาพในการ
ปอ งกนั การผกู ขาดอาํ นาจทางการเมืองของคนกลุมใดกลุมหน่ึง

2. รฐั ธรรมนญู กาํ หนดใหป ระชาชนมีสว นรวมในทางการเมืองอยา งไร
แนวตอบ
ใหประชาชนกําหนดนโยบายการตัดสินใจทางการเมือง การวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมและ
การเมือง รวมถงึ การตรวจสอบการใชอ าํ นาจของรฐั
3. รัฐธรรมนญู ที่เปน ลายลักษณอักษร มีลักษณะแตกตางกับรัฐธรรมนูญท่ีไมเปนลายลักษณอักษร
อยางไร
แนวตอบ
รัฐธรรมนูญที่เปนลายลักษณอักษร เปนรัฐธรรมนูญที่รวบรวมกฎหมายการปกครองประเทศไวใน
เอกสารฉบับเดยี ว สวนรฐั ธรรมนญู ทีไ่ มเ ปน ลายลักษณอกั ษร มลี กั ษณะเปน รฐั ธรรมนูญที่อาศัยจารีตประเพณี
ทป่ี ฏบิ ตั ิสบื ตอกันมาเปน กฎหมาย
กิจกรรมที่ 3
1. รปู แบบการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยแบบมีพระมหากษัตรยิ เปนประมุข รฐั ธรรมนญู การ
ปกครองของไทยทกุ ฉบบั กาํ หนดสาระไวอยา งไร
แนวตอบ
พระมหากษตั ริยดํารงอยูในฐานะอันเปน ทีเ่ คารพสักการะ ผูใดจะละเมดิ และกลาวหาหรอื ฟองรอง
ในทางใดๆ มไิ ด

174

2. การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย ระบบประธานาธิบดี มีลกั ษณะการปกครองอยางไร

แนวตอบ

ผูที่มีบทบาทสําคัญทางการเมือง คือ ประธานาธิบดี เปนท้ังผูนําทางการเมืองและเปนผูนําประเทศ

มาจากการเลือกตั้งของประชาชน บริหารประเทศรวมกับรองประธานาธิบดีและคณะรัฐมนตรี มีประเทศ

สหรฐั อเมริกาเปน แมแ บบ

3. การปกครองระบอบประชาธิปไตยของทุกประเทศ จะมีรูปแบบการปกครองแตกตางกัน

แตห ลักการใหญ ๆ จะมเี หมอื นกันคืออะไร

แนวตอบ

ประชาชนปกครองตนเอง โดยประชาชนทุกคนมสี ทิ ธเิ สรภี าพและความเสมอภาคภายใตก ฎหมาย

ซ่งึ บญั ญตั ขิ ้นึ ตามเสยี งสวนใหญข องประชาชน

4. ใหบอกขอ ดี ขอเสีย ของการปกครองระบอบประชาธิปไตยและการปกครองระบอบเผดจ็ การ

แนวตอบ

ขอดี ขอ ดี

ของการปกครองระบอบประชาธิปไตย ของการปกครองระบอบเผดจ็ การ

1. ประชาชนทกุ คนมีความเทาเทียมกนั 1. รัฐบาลมคี วามเขมแขง็

ในดานกฎหมาย 2. รัฐบาลมีความม่นั คงเปนปกแผน

2. ประชาชนทกุ คนตอ งปฏบิ ตั ิตามกฎหมาย 3. การตดั สนิ ใจในกจิ การตา งๆ เปนไป

และมสี ทิ ธเิ สรภี าพในทกุ ๆ ดา น อยา งรวดเร็ว อาจเกิดการผิดพลาด

3. การแกไขปญ หาตางๆ ยดึ ถอื แนวทาง ไดง าย

สันตวิ ธิ ี มีการเจรจาอยา งมเี หตผุ ล

ฟงเสยี งขา งมาก

ขอ เสีย ขอ เสีย

ของการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย ของการปกครองระบอบเผดจ็ การ

1. การแกไ ขบา นเมอื ง บางเรอื่ งอาจมีความ 1. ประชาชนไมมสี ิทธิเขา รวมในการ

ลา ชาหลายข้นั ตอน ปกครอง

2. ประชาชนสวนใหญย งั ขาดความรใู นดา น 2. ไมค ํานงึ ถงึ ความตอ งการของ

การบริหารประเทศ ประชาชน

3. ประชาชนขาดความสขุ รฐั บาลและ

ประชาชนไมม ีความสมั พันธก นั อยา ง

ใกลชิด

กิจกรรมท่ี 4

1. ง 2. ก 3. ค 4. ง 5. ง

6. ง 7. ก 8. ง 9. ค 10. ง

175

บรรณานุกรม

กรมวชิ าการ กระทรวงศกึ ษาธิการ. คูมอื การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนประวตั ิศาสตร ประวตั ศิ าสตร

ไทย :จะเรยี นการสอนกนั อยางไร. กรงุ เทพฯ : กระทรวงศกึ ษาธกิ าร.

การรวมตัวทางเศรษฐกจิ ของอาเซยี น เอกสารเผยแพรอ อนไลน กรมอาเซยี น กระทรวง
การตางประเทศ (ออนไลน) . เขา ถึงไดจ าก www.mfa.go.th/asean/asean_web/docs/
asean_economy.doc

การศกึ ษาทางไกล. สถาบนั . กรมการศึกษานอกโรงเรียน. ชดุ การเรยี นทางไกล ระดบั มธั ยมศึกษตอนตน
หมวดวิชาพัฒนาสงั คมและชุมชน. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พค ุรสุ ภาลาดพราว, 2546.

การศึกษานอกโรงเรยี น, กรม. ชุดการเรียนทางไกล หมวดวชิ าพัฒนาสงั คมและชมุ ชน ระดับมธั ยมศกึ ษา
ตอนตน. พฤษภาคม 2540.

โกเมน จริ ฐั กลุ , รศ.ดร.และเสรี ลีลาลัย, รศ. หนังสอื เรียน ส.504 สงั คมศกึ ษา
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5. กรงุ เทพฯ : ไทยวฒั นาพานชิ จาํ กดั .

ขอ มูลทวั่ ไปของอาเชยี น. (ออนไลน) . เขา ถึงไดจาก : http://www.mfa.go.th/web/1694.php เวบ็ ไซต
กองอาเชยี น กระทรวงตา งประเทศ

คิม ไชยแสนสุข, รศ.และศนั สนยี  วรรณาวกูร. ชุดปฏิรปู การเรียนรหู ลกั สูตรการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พ.ศ.
2544 กลุมสาระการเรยี นรู สวนศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชวงช้นั ท่ี 4 สาระ 3 เศรษฐศาสตร.
กรุงเทพฯ : สํานกั พมิ พป ระสานมติ ร, 2545.

เคน จันทรวงษ สรุปเขมลยุ โจทยค ลังขอสอบสังคม ศาสนาและวัฒนธรรม สํานกั พมิ พ SCIENEC CENTER,
มปป.

เครือขา ยเรารกั พระเจาอยูหวั . 2554. “พระราชกรณยี กจิ ดานการเกษตรและการยกระดับสภาพชีวติ

ความเปนอยูของประชาชน”. (online).

http://www.xn--12co9drbac8a9as5aiidh8iseilnpa.com/

conten/index.php?page=content&type-view&cat=3&id=74 and_%20literature.php.

สืบบคน วนั ที่ 2 กรกฎาคม 2557.

_____________. “พระราชกรณยี กจิ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช

มหาราชดา นการศึกษา”. (online).

http://king.kapook.com/job_duties_international_relations.php. สบื คน วันที่ 2 กรกฎาคม

2557.

_____________. “พระราชกรณยี กจิ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช

มหาราชดานภาษาและวรรณกรรม”. (online).

http://king.kapook.com/job_duties_language_and_%20literature.php.

176

สบื คน วนั ท่ี 2 กรกฎาคม 2557.

เครอื ขายกาญจนาภิเษก. 2557. “พระราชประวตั พิ ระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช

มหาราช”. (online). http://kanchanapisek.or.th/biography/hmk.th.html.

สบื คนวันที่ 2 กรกฎาคม 2557.

ชาญ นพรัตน และสิทธา มีชอบธรรม หมวดวิชาพฒั นาสงั คมและชมุ ชน ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน
ตามหลกั เกณฑแ ละวิธกี ารจดั การศกึ ษานอกโรงเรียน หลักสตู รการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2544
บริษัท ปยมติ ร มัลติมิเดีย จํากัด, 2546.

แชน ปจจสุ านนท, พลเรือตร.ี กรณีพพิ าทระหวา งประเทศไทย ฝร่ังเศส และการรบทป่ี ากนํ้า

เจาพระยา สมยั รศ. 112. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พครุ สุ ภา. 2519.

ถนอม พนั ธมุ ณี. หนังสือเรยี นหลกั สตู รการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พ.ศ. 2544 หมวดวิชาพัฒนาสงั คมและชุมชน
ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน. พิมพคร้งั ท่ี 2. กรุงเทพฯ : เสนาธรรม, มปป.

นายชาตชิ าย มกุ สง. 2556. ขบวนการเสรไี ทย. (online). http://www.kpi.ac.th/wiki/index.php/

ขบวนการเสรไี ทย. สบื คน วนั ท่ี 3 กรกฎาคม 2557.

นชิ า แกวพาณิช. เสริมสาระการเรียนรูพ้นื ฐานสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.3 : สํานักพมิ พ
เดอะบุคส จํากดั , 2551.

“แนวพระราชดาํ ริดานการศึกษา”. (online). http://obec.go.th/sites/obec.go.th/

files/document/attachment/17892/183229.pdf

ประชาคมอาเซยี น (ASEAN Community) เอกสารเผยแพรและสอ่ื ประชาสมั พนั ธ กรมอาเซียน กระทรวง
การตางประเทศ (ออนไลน) . เขาถงึ ไดจ าก : http://www.mfa.go.th/
internet/document/1808.doc)

ประโยชนท ่ไี ทยไดรับจากการเขา รวมกลมุ อาเซียน. (ออนไลน) . เขา ถงึ ไดจาก : http://www.mfa.go.th
หนงั สอื “มารูจกั อาเซยี นกันเถอะโดยกรมอาเซียน กระทรวงการตางประเทศ

ประเวศ วะสี. เศรษฐกิจพอเพียงและประชาสังคม : แนวทางผลิตฟนฟูเศรษฐกิจสงั คม. กรงุ เทพฯ พิมพด ,ี
2544.

ปยพร บญุ เพ็ญ. หลกั เศรษฐศาสตร 3200-0101, 005-110-103. กรุงเทพฯ:
บริษทั บณั ฑติ สาสน จาํ กัด, มปป.

พัชรยี า ฉตั รเท. เอกสาร เรือ่ งคลืน่ สึนามกิ บั ผลกระทบสงิ่ แวดลอ ม
เพญ็ ศรี ดกุ , ศ.ดร. 2539. ความสมั พันธระหวางสยามกบั ฝรงั่ ในคริสตศ ตวรรษที่ 11. กรงุ เทพฯ.

เพ็ญสุรัตน หอมเย็น และคณะ. คมู อื เตรยี มสอบ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ม.1-2-3 : บรษิ ัท ไทเนรมติ กจิ อนิ เตอรโ ปรเกรสซีฟ จาํ กัด, 2537.

เพญ็ สรุ ตั น หอมแยม และคณะ. คูมือเตรียมสอบ สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ม.1-2-3 กรงุ เทพฯ : ไฮเดดพับลชิ ชงิ่ จาํ กดั , “มปป.”

177

ไพฑูรย พงศะบุตร และวนั ชัย ศริ ริ ัตน. หนังสือเรียนสงั คมศึกษา ส.504 สงั คมศึกษา
ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 5. กรงุ เทพมหานคร : บรษิ ัท โรงพิมพไ ทยวัฒนา
พานิชย จํากดั , 2537.

มานติ กติ ตจิ งู จติ และสุรพล เอีย่ มอูทรัพย. กลุม สาระการเรยี นรู สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
ชว งชน้ั ท่ี 3 : แสงจันทรก ารพมิ พ, 2546.

ราชบัณฑิตสถาน. ใตรมพระบารมี จักรนี ฤบดนทิ ร สยามนิ ทราธริ าช. 2547.
รจุ เิ รจ โลหารชุน และคณะ. หนังสือเรียนชุดการศึกษานอกโรงเรยี น (กศน.) หมวดวิชาพัฒนาสงั คมและ

ชมุ ชน. (สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม) ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน. กรุงเทพฯ : ประสานมิตร
(ปมส.), 2549.
วิถีพเี ดีย สารนกุ รมเสรี. มปผ. “พระราชกรณียกิจดา นความมน่ั คงภายในประเทศ”. (online).

http://th.wikipedia.org/wikicite_note_-1. สบื คนวันที่ 2 กรกฎาคม 2557.
วไิ ล ทรงโฉม, หมวดวิชาพัฒนาสงั คมและชมุ ชน ระดับมัธยมศึกษาตอนตน การศกึ ษานอกโรงเรยี น :

บรษิ ัท สามเจรญิ พาณิชย (กรุงเทพฯ) จาํ กดั , 2546.
ศิริพร ดาบเพชร คมคาย มากบวั และประจกั ษ แปะ สกลุ . ประวตั ศิ าสตรไ ทย ม.4-ม.6.

พิมพคร้ังท่ี 1. กรุงเทพฯ : อกั ษรเจรญิ ทศั น
สมนกึ ปฏปิ ทานนท และคณะ. คูมอื เตรียมสอบสังคมศึกษา ชวงช้ันที่ 3 (ม.1-ม.3) กรุงเทพฯ : ภมู บิ ัณฑติ การ

พิมพ, 2537.
สมสวย เห็นงาม และคณะ. ติวเขม กอ นสอบ สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ชว งช้ันที่ 3 : บริษทั ฐานบณั ฑิต จาํ กัด กรุงเทพฯ, 2537.
สารานุกรมไทยสาํ หรับเยาวชน โดยพระราชประสงคใ นพระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั . ไทยกับ

สงครามโลกครั้งท่ี สอง. (online).http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/

book.php”book=4&chap=9&page=t4-9-infodetail06.htmel สืบคน วนั ท่ี 3 กรกฎาคม

2557.

สํานักขา วเจา พระยา. “พระราชกรณยี กจิ ดานการศาสนา”. (online). 2553.

http://www.chaoprayanews.com สบื คน วันที่ 2 กรกฎาคม 2557.

สํานักงานการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. ประวัติศาสตร ชัน้ มธั ยมศึกษาปท ่ี 3.

กรงุ เทพฯ : สกสค ลาดพรา ว. 2555.

_____________. ประวตั ิศาสตร เลม 1 ประวัติศาสตรไทย ชน้ั มธั ยมศึกษาปท่ี 4-6. พมิ พครัง้ ท่ี 1.

กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ สกสค ลาดพราว.

_____________. เอกสารการสอนชดุ ประวตั ิศาสตรไ ทย. พมิ พค รัง้ ที่ 5. นนทบุรี :

มหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช.

178

สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช , มหาวทิ ยาลัย. เอกสารการสอนชุดประวัติศาสตรไ ทย. พิมพครงั้ ท่ี 8.

นนทบุรี : มหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช. 2552.

_____________. เอกสารการสอนชุดประวตั ศิ าสตรสงั คมและการเมืองไทย. พิมพค รั้งท่ี 30.

นนทบุรี : มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช. 2551.

สพุ ิชฌาย สวสั ดริ าษฎร และกลุ ธดิ า รตั นโกศล. หมวดวชิ าพัฒนาสังคมและชุมชน ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน :
บรษิ ทั สาํ นักพิมพ ลองไลฟ เอ็ด จาํ กดั นนทบุร,ี 2549.

อภนิ นั ท จันตะนี และชัยยศ ผลวฒั นา. ระบบเศรษฐกจิ ไทยและการสหกรณ. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ พิทกั ษ
อกั ษร, 2538.
อภนิ ันท จันตะน.ี เอกสารคาํ สอนเศรษฐศาสตรม หภาค 1. ภาควิชาเศรษฐศาสตร

คณะวทิ ยาการจัดการ สถาบันราชภัฏพระนครศรอี ยุธยา. กรงุ เทพฯ :
สํานักพมิ พ พทิ ักษอักษร, 2538.
เอกสาร “ประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี น” ฉบบั ประชาชน โดยกรมเจรจาการคา ระหวา งประเทศ
กระทรวงพาณิชย.
http://earthquake.usgs.gov/
http://www.thaigoodview.com
http://www.vcharkarn,com/varticle/33610
http://www.bloggang.com
http://www.thaipr.net
http://www.thai.cri.cn
http://www.thaigoodview.com
http://th.wikipedia.org
http://rirs3.royin.go.th/dictionvary,asp
http://www.thaigoodview.com/node/76621
http://www.mwit.ac.th

179

คณะผูจ ดั ทาํ

ทปี่ รกึ ษา บุญเรอื ง เลขาธิการ กศน.
อิ่มสุวรรณ รองเลขาธิการ กศน.
1. นายประเสรฐิ จําป รองเลขาธิการ กศน.
2. ดร.ชยั ยศ แกวไทรฮะ ทีป่ รกึ ษาดา นการพฒั นาหลกั สตู ร กศน.
3. นายวชั รนิ ทร ตัณฑวฑุ โฒ ผอู าํ นวยการกลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน
4. ดร.ทองอยู
5. นางรักขณา

ผเู ขยี นและเรยี บเรียง

1. นางสาวสดุ ใจ บุตรอากาศ สถาบัน กศน. ภาคเหนือ
2. นางสาวพมิ พาพร อนิ ทจักร สถาบนั กศน. ภาคเหนอื
3. นางดษุ ณี เหลีย่ มพันธุ สถาบัน กศน. ภาคเหนือ
4. นางดวงทพิ ย แกวประเสริฐ สถาบัน กศน. ภาคเหนอื
5. นายนพิ นธ ณ จนั ตา สถาบัน กศน. ภาคเหนือ
6. นางอุบลรัตน มีโชค สถาบัน กศน. ภาคเหนอื
7. นางกรรณิการ ยศตอื้ สถาบนั กศน. ภาคเหนือ
8. นางณิชากร เมตาภรณ สถาบนั กศน. ภาคเหนือ

ผบู รรณาธกิ ารและพัฒนาปรบั ปรงุ

1. นางพรทิพย เข็มทอง กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น
2. นางสาวพิมพาพร อนิ ทจักร สถาบัน กศน. ภาคเหนือ
3. นางสาวสุรัตนา บรู ณะวิทย สถาบนั กศน. ภาคตะวันออก
4. นางสาวสปุ รีดา แหลมหลกั สถาบนั กศน. ภาคตะวันออก
5. นางสาวสาลินี สมทบเจรญิ กลุ สถาบัน กศน. ภาคตะวนั ออก
6. นายอุดมศักดิ์ วรรณทวี สํานกั งาน กศน. อ.โขงเจยี ม
7. นายเรืองเวช แสงรตั นา สํานักงาน กศน. ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื
8. นางพัฒนสุดา สอนซือ่ ขาราชการบาํ นาญ
9. นางธัญญาวดี เหลาพาณชิ ย ขาราชการบาํ นาญ
10. นางพรทิพย เขม็ ทอง กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
11. นางสาววรรณพร ปท มานนท กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
12. นายเรอื งเดช แสงวฒั นา สถาบนั กศน. ภาคตะวันนออกเฉียงเหนอื
13. นางมยรุ ี สวุ รรณเจริญ สถาบนั กศน. ภาคใต

180

14. นางสาวสรุ ตั นา บรู ณะวิทย สถาบนั กศน. ภาคตะวนั ออก
15. นางสาววาสนา โกสยี วัฒนา สถาบนั การศึกษาทางไกล
16. นางธญั ญาวดี เหลา พาณิชย ขา ราชการบํานาญ
17. นางพรทพิ ย เขม็ ทอง กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น

ผพู ฒั นาและปรบั ปรงุ ครงั้ ที่ 2 ศึกษานเิ ทศกเชี่ยวชาญ
ขาราชการบาํ นาญ
1. นางสาวสดุ ใจ บุตรอากาศ ครชู ํานาญการพิเศษ
2. นางพรทิพย เขม็ ทอง กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
3. นางบุษบา มาลนิ ีกุล กลุม พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
4. นางพรทิพย พรรณนติ านนท
5. นางสาวกรวรรณ กวีวงษพพิ ัฒน กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
คณะทาํ งาน ม่นั มะโน กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
ศรรี ัตนศิลป กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
1. นายสุรพงษ ปทมานนท กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
2. นายศุภโชค กุลประดิษฐ
3. นางสาววรรณพร เหลอื งจิตวฒั นา กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
4. นางสาวศรญิ ญา กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
5. นางสาวเพชรนิ ทร กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
ผพู ิมพต นฉบบั คะเนสม กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
เหลืองจติ วัฒนา
1. นางปย วดี กวีวงษพ ิพัฒน กลุม พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน
2. นางสาวเพชรินทร ธรรมธษิ า
3. นางสาวกรวรรณ บานชี
4. นางสาวชาลนี ี
5. นางสาวอริศรา

ผอู อกแบบปก

นายศภุ โชค ศรีรัตนศิลป

181

คณะผูจัดทํา

เนอื้ หา เพิม่ เติม เรอื่ ง “พระราชกรณยี กิจของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช
และสมเดจ็ พระนางเจาสริ กิ ติ ิ์ พระบรมราชนิ นี าถ ทส่ี ง ผลตอ การเปลีย่ นแปลงของประเทศไทย”

ท่ปี รกึ ษา สกลุ ประดิษฐ เลขาธิการ กศน.
ทบั สพุ รรณ รองเลขาธกิ าร กศน.
1. นายการณุ จําจด รองเลขาธกิ าร กศน.
2. นายชาญวทิ ย งามเขตต ผอู าํ นวยการกลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น
3. นายสุรพงษ
4. นางศุทธนิ ี

ผูเขยี น เรียบเรยี ง จากการประชุม ครงั้ ที่ 1

1. นายปณณพงศ ทาวอาจ สาํ นกั งาน กศน. จงั หวัดสโุ ขทัย
กศน.อาํ เภอสวรรคโลก จงั หวัดสโุ ขทัย
2. นายจิรพงศ ผลนาค กศน.อาํ เภอบางแกว จังหวดั พทั ลงุ
กศน.อาํ เภอจะนะ จังหวัดสงขลา
3. นายวรวฒุ ิ จริยภคั รดิกร กศน.อาํ เภอคลองหลวง จงั หวัดปทมุ ธานี
กศน.อาํ เภอวังนอย จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา
4. นายรอศกั ดิ์ เหะเหรม็ โรงเรยี นสตรวี ิทยา 2 ในพระอปุ ถมั ภ
สมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี
5. นางสาวประภารสั ม พจนพมิ ล

6. นางสาววนั ทนา จะระ

7. นายรุจน หาเรอื นทรง

ผเู ขยี น เรียบเรยี ง และ บรรณาธกิ าร จากการประชุมคร้งั ท่ี 2

1. นายสันติ อิศรพนั ธุ กศน.อาํ เภอโพธาราม จงั หวดั ราชบุรี

2. นางสาวประภารสั ม์ิ พจนพมิ ล กศน.อาํ เภอคลองหลวง จงั หวดั ปทมุ ธานี

คณะทาํ งาน

1. นายสุรพงษ มัน่ มะโน กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน
กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
2. นายศุภโชค ศรรี ตั นศลิ ป กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
3. นางสาวสลุ าง เพช็ รสวา ง กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
4. นางสาวเบ็ญจวรรณ อาํ ไพศรี

5. นางสาวทิพวรรณ วงศเรือน

6. นางสาวชมพนู ท สังขพ ิชัย



182

คณะผปู รับปรุงขอ มูลเกยี่ วกบั สถาบันพระมหากษัตรยิ  ป พ.ศ. 2560

ทป่ี รึกษา จาํ จด เลขาธกิ าร กศน.
หอมดี ผูตรวจราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
1. นายสุรพงษ ปฏบิ ตั หิ นาทรี่ องเลขาธกิ าร กศน.
2. นายประเสริฐ สุขสเุ ดช ผูอาํ นวยการกลุมพัฒนาการศึกษานอกระบบ
และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
3. นางตรนี ชุ
กศน.เขตมนี บรุ ี กรงุ เทพมหานคร
ผปู รบั ปรุงขอมลู
กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
นางเพญ็ ลดา ชื่นโกมล กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
กลุมพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
คณะทาํ งาน กลุมพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
กลุมพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย
1. นายสุรพงษ มั่นมะโน กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
2. นายศภุ โชค ศรรี ตั นศลิ ป กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย

3. นางสาวเบญ็ จวรรณ อําไพศรี

4. นางเยาวรัตน ปน มณีวงศ

5. นางสาวสุลาง เพ็ชรสวา ง

6. นางสาวทิพวรรณ วงคเ รือน

7. นางสาวนภาพร อมรเดชาวัฒน

8. นางสาวชมพนู ท สงั ขพ ิชยั


Click to View FlipBook Version