The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รูปเล่มงานวิจัย เรื่อง แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในท้องถิ่นโดยใช้โรงเรียนผู้สูงอายุเป็นฐาน

วิจัยแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอาย



คำนำ

โครงการวิจัยเรื่อง “แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในท้องถ่ินโดยใช้โรงเรียน
ผู้สูงอายุเปน็ ฐาน” ในพนื้ ทร่ี ับผิดชอบของสานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 ได้แก่ 1) ตาบลมะเกลือเก่า
อาเภอสูงเนนิ จังหวดั นครราชสมี า 2) ตาบลโนนสาราญ อาเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ 3) เทศบาลตาบลตาจง
อาเภอละหานทราย จังหวัดบุรีรัมย์ 4) ตาบลตะเคียน อาเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ 5) ตาบลบากเรือ
อาเภอมหาชนะชยั จงั หวดั ยโสธร และ 6) เทศบาลตาบลจานแสนไชย อาเภอห้วยทับทัน จังหวัดศรีสะเกษ
จัดทาขึ้นเพื่อศึกษาระดับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในท้องถิ่น ความต้องการในการพัฒนาคุณภาพชีวิต
ผู้สูงอายุในท้องถ่ิน และแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุโดยใช้โรงเรียนผู้สูงอายุเป็นฐาน เพื่อนาไปเป็น
แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวติ ผู้สงู อายใุ ห้กบั โรงเรยี นผู้สงู อายตุ ่างๆ ในการพัฒนาหลักสูตรท่ีเหมาะสมและ
พฒั นาศักยภาพผู้สูงอายใุ นโรงเรยี นผู้สงู อายุได้ ซึ่งเรมิ่ ดาเนินการตงั้ แต่เดอื นตลุ าคม 2563 ถงึ มนี าคม 2565

ผลการดาเนินการโครงการวิจัยฯ ได้รับความร่วมมือจากบุคคลหลายฝ่ายท่ีก่อให้เกิด
ความรู้ บทเรียน และประโยชน์ ทั้งต่อผสู้ ูงอายุ คณะกรรมการบริหารโรงเรียนผู้สูงอายุ เจ้าหน้าท่ีหน่วยงาน
ภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และประชาชนในชุมชน ที่ได้ให้ความร่วมมือในการตอบแบบสารวจ
การถอดบทเรียน และการสนทนากลุ่ม คณะผู้วิจยั ขอขอบคณุ มา ณ ทีน่ ี้

และท้ายนี้ขอขอบคุณ นางยุพิน ใคลพิมาย ผู้อานวยการศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่งจังหวัด
นครราชสมี า อาจารยส์ ริ กิ ร บญุ สงั ข์ และ อาจารย์จันเพญ็ เกตุสาโรง อาจารยโ์ ปรแกรมพัฒนาสังคม คณะมนุษยศาสตร์
และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ที่ปรึกษาโครงการ และขอขอบคุณผู้บริหารองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถ่ินและเจ้าหน้าที่ประสานงานในพื้นที่ศึกษาท้ัง 6 พื้นที่ รวมทั้งคณะกรรมการบริหารโรงเรียน
ผู้สูงอายุและนักเรียนสูงอายุในโรงเรียนผู้สูงอายุในพ้ืนท่ีศึกษาที่อานวยความสะดวกทั้งข้อมูล สถานท่ีและ
การประสานงานในชุมชน รวมทั้งผู้สูงอายุและเครือข่ายในพื้นที่ที่ได้ร่วมปฏิบัติการจนสาเร็จไปได้ และ
ขอขอบคุณเป็นพิเศษสาหรับการสนับสนุนทุนในการดาเนินงานจาก สานักงานคณะกรรมการส่งเสริม
วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรม (สกสว.) เพ่ือให้งานวิจัยช้ินนี้สาเร็จลุล่วงด้วยดี และคาดว่าผลการศึกษานี้
จะเป็นประโยชน์ต่อผูส้ นใจทกุ ทา่ น

กล่มุ การวจิ ยั และการพฒั นาระบบเครือข่าย
สานกั งานส่งเสรมิ และสนับสนนุ วชิ าการ 4
สานักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษย์
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ย์

มีนาคม 2565



บทคดั ยอ่

โครงการวิจัยเรื่อง “แนวทางการพฒั นาคณุ ภาพชีวิตผสู้ ูงอายใุ นทอ้ งถนิ่ โดยใช้โรงเรยี นผูส้ งู อายุเป็นฐาน”
ในพน้ื ทีร่ บั ผิดชอบของสานักงานสง่ เสริมและสนับสนนุ วชิ าการ 4 ได้แก่ 1) ตาบลมะเกลือเก่า อาเภอสูงเนิน
จังหวัดนครราชสีมา 2) ตาบลโนนสาราญ อาเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ 3) เทศบาลตาบลตาจง อาเภอ
ละหานทราย จังหวัดบุรีรัมย์ 4) ตาบลตะเคียน อาเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ 5) ตาบลบากเรือ อาเภอ
มหาชนะชัย จังหวัดยโสธร และ 6) เทศบาลตาบลจานแสนไชย อาเภอห้วยทับทัน จังหวัดศรีสะเกษ
มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในท้องถิ่น เพ่ือศึกษาความต้องการในการพัฒนา
คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในท้องถ่ิน และเพ่ือศึกษาแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุโดยใช้โรงเรียน
ผู้สูงอายุเป็นฐาน การวิจัยครั้งน้ีเป็นการวิจัยประยุกต์ (Applied Research) ศึกษาโดยใช้วิธีวิทยาการวิจัย
แบบผสานวิธี (Mixed-methodology) ซึ่งการศึกษาเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถาม (Questionnaires)
เปน็ แบบสารวจกบั กลมุ่ ผ้สู งู อายุในพ้ืนที่ศึกษา จานวน 600 ตัวอย่าง และการศึกษาเชิงคุณภาพ โดยใช้การ
สนทนากลุ่ม (Focus Group) กับกลุ่มคณะกรรมการบริหารโรงเรียนผู้สูงอายุ และการถอดบทเรียนกับ
ผู้สูงอายุของโรงเรียนผู้สูงอายุในพ้ืนที่ศึกษา ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย
ค่าสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน ขณะท่ีข้อมูลเชิงคณุ ภาพใช้การวเิ คราะห์โดยจาแนกข้อมูลและแบบพรรณนา

ผลการวจิ ยั พบว่า
1. ระดับคณุ ภาพชวี ติ ผ้สู ูงอายุในพ้ืนท่ีศึกษา ได้แก่ ด้านสุขภาพกายอยู่ในระดับดี (ร้อยละ

57.5) คุณภาพชีวิตด้านจิตใจอยู่ในระดับดี (ร้อยละ 57.5) คุณภาพชีวิตด้านสัมพันธภาพทางสังคมอยู่ใน
ระดับดี (ร้อยละ 44.7) และด้านสภาพแวดล้อมอยู่ในระดับดี (ร้อยละ 49.7) ในส่วนการเข้าถึงบริการ
พบว่า ผู้สูงอายุเข้าถึงและได้ใช้บริการมากท่ีสุด คือ การจ่ายเงินเบี้ยยังชีพเป็นรายเดือนอย่างทั่วถึงและ
เป็นธรรม (ร้อยละ 90.7) และการอานวยความสะดวกและความปลอดภัยโดยตรงแก่ผู้สูงอายุ เช่น ราวจับ
ในห้องนา้ ราวทางเดินบนั ได รถเข็นวลิ แชร์ ฯลฯ (ร้อยละ 50.8)

2. ความต้องการของผู้สูงอายุในพื้นท่ีศึกษา ได้แก่ ด้านสุขภาพกาย ผู้สูงอายุต้องการ
บริการดูแลสุขภาพท่ีสะดวกในชุมชน และการดูแลรักษาตนเอง ด้านจิตใจ ผู้สูงอายุต้องการเยี่ยมเยียนให้
กาลังใจ/เคร่ืองอุปโภค-บรโิ ภคคนยากไร้ในชมุ ชน การให้คาแนะนาแนวทางแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของ
คนในชุมชน และต้องการให้ผู้สูงอายุด้อยโอกาสได้เข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมของโรงเรียนผู้สูงอายุ ด้าน
สัมพันธภาพทางสังคม ผู้สูงอายุต้องการมีบทบาทในการบริหารจัดการโรงเรียนผู้สูงอายุ การรวมกลุ่มเป็น
ศูนย์เรียนรู้ต่างๆ เช่น ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ศูนย์เรียนรู้เกษตรอินทรีย์ ศูนย์เรียนรู้ศิลปะพื้นบ้าน
เป็นต้น เพ่ือใหผ้ ู้สูงอายไุ ด้มกี จิ กรรมทาลดความเครียด และยงั สามารถมีรายได้เพิ่มขึ้นดว้ ย เป็นท้งั ช่องทาง
การจาหน่ายสินค้า และการถ่ายทอดภูมิปัญญา-สืบสานศิลปวัฒนธรรมพื้นท่ีด้วย ต้องการเสนอโครงการ
เพื่อขอสนับสนุนงบประมาณจากหน่วยงานภายนอก และการเพิ่มจานวนกลุ่มเป้าหมายของโรงเรียน
ผู้สูงอายุต้ังแต่อายุ 55 ปี ขึ้นไป เพ่ือมาเป็นพี่เลี้ยงดูแลผู้สูงอายุในโรงเรียน ด้านสภาพแวดล้อม ผู้สูงอายุ
ตอ้ งการกิจกรรมของโรงเรียนผู้สูงอายุสัญจร ความรู้เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีให้กับผู้สูงอายุ และช่องทาง
จาหน่ายสินค้าออนไลน์ ส่วนด้านสวัสดิการ ผู้สูงอายุต้องการมากถึงมากที่สุดภายใต้สถานการณ์การแพร่
ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 คือ การเพิ่มขึ้นของเบ้ียยังชีพท่ีเท่ากันทุกช่วงอายุ นั่นคือ 1,000 บาท การ
ส่งเสริมการประกอบอาชีพท่ีบ้านเพ่ือให้ผู้สูงอายุได้มีรายได้เพิ่มขึ้น การบริการด้านสุขภาพในชุมชน การ
บรกิ ารทางสังคมในชมุ ชน ความรเู้ กย่ี วกบั การดูแลสขุ ภาพรวมถึงอาหารและยารกั ษาโรคจากโควิด-19 และ
อุปกรณแ์ ละสง่ิ ของเครอื่ งใช้สาหรับการใชช้ ีวติ รว่ มกับโควิด-19



3. แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุโดยใช้โรงเรียนผู้สูงอายุเป็นฐาน สามารถ
จาแนกกจิ กรรมของโรงเรียนผ้สู งู อายุได้ ดังนี้

ด้านสุขภาพกาย ได้แก่ การมีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ การออกกาลังกาย
รบั ประทานอาหารถกู สขุ ลกั ษณะ การเยี่ยมเยยี นใหก้ าลงั ใจกลมุ่ ผูส้ ูงอายุ ตดิ บ้าน/ตดิ เตียง

ด้านจิตใจ ไดแ้ ก่ กจิ กรรมนนั ทนาการ อาทิ ศลิ ปะ วัฒนธรรม โดยใช้ภูมิปัญญาพื้นบ้าน
กิจกรรมดา้ นดนตรี : ลลี าศ ราวงกลองยาว หมอลากลอน ราบวงสรวง ราวงกงก้าฯ กิจกรรมศิลปะประดิษฐ์
: ดอกไม้จันทน์จากล๊อตเตอร่ี การทาบายศรีจากใบตอง การทาผลิตภัณฑ์จากวัสดุพื้นบ้านกระติ๊บข้าวเหนียว
จากต้นกก ผลิตภัณฑ์ตระไครห้ อมไล่ยงุ

ด้านสัมพนั ธภาพทางสงั คม ได้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน : สนับสนุนงบประมาณ
การเดินทางมาโรงเรียน การซ่อมแซมท่ีอยู่อาศัย สนับสนุนเครื่องอุปโภค-บริโภค โรงเรียน/กศน. :
สนับสนุนวิทยากรด้านภาษา IT ฯ วัด : สนับสนุนสถานที่และการสอนแนวทางการปฏิบัติตนท่ีเหมาะสม
ต่อศาสนา พุทธศาสนาในชีวิตประจาวัน รพ.สต. : การให้คาแนะนาในการรับประทานอาหารที่เหมาะสม
การใชย้ า การปฐมพยาบาล ความรู้เรอ่ื งโรคตดิ ต่อตา่ งๆ และการตรวจสุขภาพผู้สงู อายุ ฯลฯ

ด้านสภาพแวดลอ้ ม ได้แก่ การใช้ IT และ Social network เพอ่ื การส่ือสารและสืบค้น
สง่ เสรมิ การเกษตร : แจกพันธ์ผุ กั /ปลูกผักสวนครวั /ปลูกผกั ปลอดสาร เลีย้ งไสเ้ ดอื น (ทาป๋ยุ หมัก) และการแยกขยะ

ด้านสวัสดิการ ได้แก่ ลงพ้ืนท่ีเยี่ยมผู้สูงอายุในชุมชน โดย อบต. สมาชิกในโรงเรียน
พชอ./พชต. CG นักบรบิ าล นาเครื่องอุปโภค - บริโภค ไปช่วยเหลือผู้สูงอายุที่ยากไร้ในชุมชน กองทุนฌาปนกิจ
สงเคราะหส์ าหรับผู้สงู อายทุ ่เี ปน็ สมาชกิ และผ้สู งู อายดุ ้อยโอกาส

นอกจากการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุผ่านกิจกรรมของโรงเรียนผู้สูงอายุแล้ว ต้องมีแนวคิด
ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุให้เป็นผู้สูงอายุท่ีมีศักยภาพ หรือผู้สูงอายุท่ีมีชีวิตยืนยาว มีสุขภาวะทางกาย
ทางจิตใจ มสี ัมพนั ธภาพทางสังคม และมีสภาพแวดล้อม/ส่ิงแวดล้อมท่ีดีแล้ว ยังต้องมีความพึงพอใจในชีวิต
การเป็นผู้สูงอายุที่ดูแลตนเอง-พึ่งพาตนเอง ทาในส่ิงท่ีปรารถนาได้ตามศักยภาพของตนเอง และทา
ประโยชน์ต่อผู้อ่ืนได้แล้ว ยังต้องเตรียมพร้อมสาหรับการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ท่ีจะเกิดข้ึน การเรียนรู้ตลอดชีวิต
จึงเป็นหนทางหนึ่งที่จะนาไปสู่การเป็นผู้สูงอายุที่มีศักยภาพได้ โดยโรงเรียนผู้สูงอายุเป็นกลไกหนึ่ง
เพ่ือพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุเพื่อให้การศึกษาตลอดชีวิตแก่ผู้สูงอายุด้วย ดังนั้นกิจกรรมที่เหมาะสมของ
โรงเรียนผู้สูงอายุต้องควบคู่กับการพัฒนาการเป็นผู้สูงอายุท่ีมีศักยภาพ ได้แก่ กิจกรรมท่ีผู้สูงอายุต้องรู้
กิจกรรมท่ีผู้สูงอายคุ วร และกจิ กรรมทผ่ี สู้ งู อายอุ ยากรู้ และโรงเรียนผู้สูงอายุต้องกระตุ้นให้ผู้สูงอายุอยากทา
ไปพรอ้ มกันดว้ ย

ขอ้ เสนอแนะจากการวจิ ยั คือ
1. ควรมกี ารถอดบทเรียนกิจกรรมทน่ี ่าสนใจ เพ่ือขยายผลต่อเนอื่ งของกิจกรรม และขยาย

ผลต่อไปยังโรงเรยี นผูส้ ูงอายุใกล้เคียง
2. การขยายผลกจิ กรรมของโรงเรยี นผู้สูงอายุให้ทนั สมัยกับสถานการณข์ องผ้สู ูงอายุในปัจจบุ นั

เชน่ การเรียนรเู้ กย่ี วกับเทคโนโลยี (IT) การดแู ลผู้สงู อายรุ ะยะสุดท้าย
3. การเพม่ิ บทบาทของผสู้ งู อายุโดยการดึงศักยภาพผ้สู งู อายุท่ีเป็นตน้ แบบหรือข้าราชการ

เกษยี ณทม่ี คี วามร้คู วามสามารถมาสนับสนนุ กจิ กรรมเพ่ือใหผ้ ู้สูงอายใุ นโรงเรียนผสู้ งู อายุไดเ้ รยี นร้รู ว่ มกนั
หรอื ให้สมาชิกโรงเรียนผ้สู ูงอายรุ ุน่ พส่ี อนรนุ่ น้อง

4. การยกระดับ ศพอส. และ โรงเรียนผู้สูงอายุ เปน็ ศูนยช์ ว่ ยเหลือสังคมตาบล เพอื่ อานวย
ความสะดวกแกผ่ สู้ ูงอายุทเ่ี ปน็ กลมุ่ เปราะบางใหเ้ ขา้ ถงึ บริการและได้รับการช่วยเหลือให้ครอบคลมุ ทุกมติ ิ
แบบองค์รวม เพ่ือพัฒนาคุณภาพชวี ติ ผู้สงู อายใุ นชมุ ชน



5. การนาทนุ ทางสังคมในชุมชน เช่น กองทนุ ทางสังคม กองทุนสวัสดิการชมุ ชน กองทุน
ออมทรัพย์ มาสนับสนุนกจิ กรรมของโรงเรียนผูส้ ูงอายุได้

6. การนาสิทธแิ ละสวัสดิการผู้สูงอายุตาม พ.ร.บ.ผูส้ งู อายุ 2546 (ฉบบั แก้ไข พ.ศ.2553)
มาเปน็ แนวทางในการจดั ทาหลักสตู รและกจิ กรรมไดห้ ลากหลาย

7. การจัดทาหลักสูตรของโรงเรียนผู้สูงอายุควรคานึงถึงกิจกรรมท่ีผู้สูงอายุต้องรู้ ควรรู้
และอยากรู้ รวมทัง้ กระต้นุ ใหอ้ ยากทา พรอ้ มกับการพฒั นาศกั ยภาพผู้สูงอายุไปด้วย



Abstract

The research project on “Guidelines for improving the quality of life for the
elderly in the local area by using the elderly school as a base” in the responsible areas of
Technical Promotion and Support office 4, including 1) Maklua Kao Sub-district, Sung Noen
District, Nakhon Ratchasima Province 2) Non Samran Subdistrict, Mueang Chaiyaphum
District, Chaiyaphum Province 3) Tajong Subdistrict Municipality, Lahan Sai District Buriram
Province 4) Takhian Subdistrict, Kab Choeng District, Surin Province 5) Bak Ruea Subdistrict,
Chanachai District, Yasothon Province, and 6) Ta Chong Municipality, Huai Thap Than
District, Sisaket Province. Aimed to study the level of quality of life of the elderly in the
local area. The studying is for improve the quality of life of the elderly in the local area
and to study the guidelines for improving the quality of life for the elderly by using a
school for the elderly as a base. This research is an Applied Research; studying by using
integrated research methodology. (Mixed-methodology), which is the quantitative study
by using the questionnaires. This was a survey with the elderly in the study area, total 600
samples. For the qualitative study by using focus group discussions with the School Board
in the elderly school and the transcription of lessons with the elders of the school for the
elderly in the study area. The quantitative data analysis by using percentage, mean, and
standard deviation. The qualitative data were analyzed by classification and descriptive
form.

The results of the research found that;
1. The level of quality of life of the elderly in the study area was at a good

level for physical health (57.5 percent), a good level of mental quality of life (57.5
percent), and a good quality of life in social relations (44.7 percent), and the environment
was at a good level (49.7 percent). As for the access services was found that the elderly
who had access to and used the services the most were thorough and fair monthly
pension payments (90.7%), facilitation and safety for the elderly directly, such as
handrails in the bathroom, handrail wheelchairs, etc. (50.8 percent).

2. The needs of the elderly in the study area include physical health; The
elderly needs convenient health care services in the community and self-care.
Psychologically; the elderly needs to be visited for encouragement/consumables/consumers
for the poor in the community. Giving advice and solutions about the problems of people
in the community and want the disadvantaged for elderly to take part in the activities of
the school for the elderly. Social relations; the elderly wants to has a role in the
management of the senior school, grouping for various learning centers such as the
Sufficiency Economy Learning Center, Organic Agriculture Learning Center, folk art learning
centers, etc. For help the elderly to have activities to reduce the stress and can also earn
more income. It is both a distribution channel for products and the transfer of wisdom -
continuing the arts and culture of the area as well. The propose of the project was ask for



budget support from outside agencies and increasing the number of target groups of
school seniors aged 55 years and over to become the mentors and take care of the
elderly in the schools. Environment; Older people need school activities for elderly
people to roam. Knowledge of using technology for the elderly and online distribution
channels. Welfare section; the most demanding of the elderly under the 2019 coronavirus
epidemic is an increase in the same pension for all ages, that is 1,000 baht. Increased
income Community Health Services social service in the community. Knowledge of health
care, including food and medicine of COVID-19 and equipment and supplies for living with
COVID-19.

3. Guidelines for improving the quality of life for the elderly in the local
area by using the elderly school as a base, the school activities for the elderly can be
classified as follows:

Physical health; including having basic knowledge about health care,
exercise, eating hygienic food, visiting to encourage the elderly group in homebody/bedridden
patient.

Mental health; including recreational activities such as arts and culture by
using folk wisdom. Music activities: dance, long drum dance, Mo Lam Klon, worshiping
dance, Kongka dance, etc. Artificial arts activities: sandalwood flowers from the lottery.
Making baisri from banana leaves. Making products from local materials, glutinous rice
baskets from reeds. Citronella mosquito repellent products.

Social relations; including local government organizations: support budget
for commute to school, home repair, support for consumer-consumables. School / Non-
National Education: Support IT language lecturers. Temples: support places and teaching
practices that are suitable for Buddhism religion in daily life. Subdistrict Health Promotion
Hospital: giving advice on proper diet, drug use, first aid, knowledge of various diseases,
and health checkup for the elderly, etc.

The environment; including the use of IT and social networks for
communication and searching. Agricultural promotion office: distribution of vegetable
seeds/planting vegetables in a kitchen garden/cultivation of pesticide-free vegetables,
raising earthworms (for composting) and separating waste.

Welfare; includes visiting the elderly in the community by Subdistrict
Administrative Organization, members of the school, District Health Board / Subdistrict
Health Board, CG, nurses, bringing consumer and consumer goods to help the poor
elderly in the community. Cremation Fund for elderly members and underprivileged
elderly.

In addition to improve the quality of life for the elderly through activities
of the elderly school must have an idea to improve the quality of life for the elderly to
become a potential elderly person, or elderly people who live longer live, mental health,
having social relationships and having a good environment. There must also be



satisfaction in life. Being an elderly person who takes care of himself - self-reliance, do
what they want according to their own potential and can be helpful for others. They
must also be prepared for changes that will be happen. Lifelong learning is one way that
to become a potential senior citizen. The school for the elderly is a mechanism to
develop the capacity of the elderly to provide lifelong education for the elderly as well.
Therefore, the appropriate activities of the elderly school must be together with the
development of potential elders, such as activities that the elderly must know, activities
that seniors should do and activities that the elderly would like to know. And the elderly
school must encourage the elderly to do the activities too.
Recommendations from the research are;

1. There should be a transcript of interesting activities to expand the continuity of
the activities and extend the effect to nearby elderly schools.

2. Extending the activities of the elderly school for to be up-to-date with the
current situation of the elderly, such as learning about technology (IT), caring for the
elderly in the terminal stages.

3. Increasing the role of the elderly by utilizing the potential of the elderly as a
role model or retired civil servants with knowledge and abilities to support activities for
the elderly in the elderly school to learn together or to let the members of the elderly
school seniors teach younger generations.

4. Upgrading of the Quality of Life Development Center and promote careers for
the elderly and the elderly school to be a social assistance center in the district. To
facilitate the elderly, who are vulnerable groups, to access services and to be assisted to
cover all dimensions in a holistic way and to improve the quality of life of the elderly in
the community.

5. Bringing social capital in the community such as social funds, community
welfare fund, savings fund, can be support the activities of the elderly school.

6. The adoption of rights and welfare for the elderly according to The Elderly Act
2003 (Revised Edition B.E. 2533) has been used as a guideline in the preparation of various
courses and activities.

7. The preparation of the curriculum of the elderly school should take into
account the activities that the elderly must know, should know and want to know, as
well as encourage them to do it, along with developing the potential of the elderly as
well.



บทสรุปผู้บริหาร

จากรายงานสถานการณ์ผู้สูงอายุไทยในปี 2560 ประชากรสูงอายุไทยยังมีปัญหาเรื่องสุขภาพ
ผ้สู งู อายุทอี่ ยู่ในภาวะช่วยตวั เองไมไ่ ด้ (ไม่สามารถประกอบกิจวัตรพื้นฐาน คือ กินอาหารเอง เข้าห้องน้าเอง
แต่งตัวได้เอง) มากถึงร้อยละ 5 โดยเฉพาะผู้สูงอายุวัยปลายที่ไม่สามารถช่วยตัวเองได้ มีมากถึงร้อยละ 19
ของผูส้ ูงอายใุ นวยั เดียวกันน้ี และ 1 ใน 3 ของผูส้ ูงอายไุ ทยมรี ายไดอ้ ยู่ใตเ้ สน้ ความยากจน แสดงว่า ผู้สูงอายุ
มีรายได้หลักจากบุตรลดน้อยลงไปอีก จากร้อยละ 37 ในปี 2557 เหลือเพียงร้อยละ 35 ผู้สูงอายุมีรายได้จาก
การท้างานลดลง จากร้อยละ 35 ในปี 2554 เหลือร้อยละ 31 ในปี 2560 ผู้สูงอายุได้รับเบ้ียยังชีพในปี 2560
มจี ้านวน 8.2 ลา้ นคนซง่ึ เพิ่มข้นึ มากกว่าจา้ นวนผู้ไดร้ ับเบี้ยยังชีพ ในปี 2552 กวา่ 1.5 เทา่ ผ้สู ูงอายุไทยท่ีอยู่
ตามล้าพังคนเดียว มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ จากร้อยละ 6 ในปี 2545 เป็นร้อยละ 11 ในปี 2560
สดั สว่ นผู้สูงอายทุ ีอ่ ยู่ตามลา้ พงั กบั คู่สมรส ได้เพ่มิ สงู ขน้ึ เปน็ รอ้ ยละ 21 ในปี 2560

ผู้สงู อายุที่อยู่ตามล้าพังเหล่านี้อาจจัดอยู่ในกลุ่ม “ประชากรเปราะบาง” ได้ ส้าหรับการมีส่วนร่วม
ในกิจกรรมทางสังคมของผู้สูงอายุไทยปี 2560 ผู้สูงอายุไทยเข้าร่วมในกิจกรรมทางสังคมเป็นจ้านวนมาก
โดยเปน็ สมาชกิ ของชมรมตา่ งๆ มากถึง 7 ล้านคน โรงเรียนผ้สู งู อายเุ พ่ือผูส้ งู อายไุ ด้เรียนรู้ตลอดชีวิต ที่จัดต้ัง
โดยกรมกิจการผู้สูงอายุมีถึง 1,163 แห่ง รับนักเรียนผู้สูงอายุได้มากกว่า 6 หม่ืน 4 พันคน การเข้าร่วมใน
กิจกรรมทางสังคมเหล่าน้ีแสดงว่า ผู้สูงอายุไทยยังมีพลังอยู่มาก ผู้สูงอายุไทยรุ่นใหม่มีการศึกษาสูงขึ้น
ผ้สู ูงอายุวัยตน้ ท่ไี มไ่ ดร้ บั การศกึ ษาเลยมีเพียงรอ้ ยละ 7 เปรียบเทียบกับผูส้ งู อายุวยั ปลายที่ไม่ได้รับการศึกษา
เลยมีมากถึงรอ้ ยละ 22 แสดงวา่ ผสู้ ูงอายรุ ุ่นใหม่มกี ารศึกษาดีขน้ึ ในขณะท่ีประชากรไทยก้าลังสูงวัยขึ้นอย่าง
รวดเรว็ และจา้ นวนผสู้ งู อายกุ ็เพิม่ มากข้นึ อยา่ งมาก ถ้าหากประเทศไทยมีนโยบายและมาตรการต่างๆ ท่ีจะ
ทา้ ให้ผู้สูงอายุไทยยังคงมีพลังและมีคุณค่า ก็จะท้าให้การสูงวัยของประชากรไทยนั้นเป็นโอกาส แทนที่
ผ้สู งู อายจุ า้ นวนมากเหล่านน้ั จะเพิม่ ภาระในการดูแลใหก้ ับปจั เจกบุคคล ครอบครวั สังคมและประเทศชาติ

ดังน้ันแนวคิดพัฒนาผู้สูงอายุให้เป็นผู้ที่มีศักยภาพ (Active Ageing) เป็นแนวคิดที่ถูกน้ามาใช้เพ่ือ
พัฒนาผู้สูงอายุของประเทศโดยเป็นการพัฒนาด้านกาย จิต เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ค่านิยม ปัญญา
และความสุข ทค่ี รอบคลมุ มิตติ ่างๆ หลากหลายแนวทาง (Multi-Criteria Approach) การพัฒนาผู้สูงอายุที่
มุ่งสู่การเป็นผู้ท่ีมีศักยภาพผ่านทุนทางสังคมท่ีมีในชุมชน ได้แก่ โรงเรียนผู้สูงอายุ ผู้วิจัยจึงเล็งเห็น
ความส้าคัญและจัดท้าโครงการวิจัย “แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในท้องถิ่นโดยใช้โรงเรียน
ผสู้ ูงอายเุ ปน็ ฐาน” โดยเนน้ ไปทก่ี จิ กรรมในการพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ผ้สู ูงอายุในท้องถ่ินตามองค์ประกอบของ
องค์การอนามัยโลก (WHO) 4 ด้าน และด้านสวัสดิการสังคมท่ีพึงได้รับตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ 2546
(แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2553) เพื่อประโยชน์ต่อการจัดบริการด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุให้กับ
ภาคส่วนทีเ่ ก่ยี วข้องได้อยา่ งเหมาะสมและสามารถนา้ ไปใชเ้ ปน็ แนวทางในการจัดทา้ นโยบายและแผนพัฒนา
งานด้านคุณภาพชีวิตแก่ผู้สูงอายุในพ้ืนที่ต่อไปในอนาคต พร้อมทั้งเพ่ือให้ได้แผนพัฒนาคุณภาพชีวิตท่ี
เหมาะสมกบั ผู้สูงอายุอยา่ งแท้จรงิ และน้าไปขยายผลไดอ้ ย่าง มปี ระสทิ ธิภาพในชุมชนและสังคมต่อไป

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1)เพื่อศึกษาระดับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในท้องถิ่น 2)เพื่อศึกษา
ความต้องการในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในท้องถ่ิน 3)เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิต
ผู้สูงอายุโดยใช้โรงเรียนผู้สูงอายุเป็นฐาน เป็นการวิจัยประยุกต์ (Applied Research) ศึกษาโดยใช้วิธี
วิทยาการวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed-methodology) ซ่ึงการศึกษาเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถาม
(Questionnaires) เปน็ แบบส้ารวจกบั กลมุ่ ผสู้ งู อายุในพ้นื ที่ศกึ ษา จา้ นวน 600 ตวั อยา่ ง และการศึกษาเชิงคุณภาพ



โดยใช้การสนทนากลุ่ม (Focus Group) กับกลุ่มคณะกรรมการบริหารโรงเรียนผู้สูงอายุ และการถอดบทเรียน
กบั ผู้สูงอายุของโรงเรียนผู้สูงอายุในพ้ืนที่ศึกษา ซ่ึงมีขอบเขตของพ้ืนท่ีได้แก่ 1) ต้าบลมะเกลือเก่า อ้าเภอ
สงู เนิน จังหวัดนครราชสีมา 2) ต้าบลโนนส้าราญ อ้าเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ 3) เทศบาลต้าบลตาจง
อ้าเภอละหานทราย จังหวัดบุรีรัมย์ 4) ต้าบลตะเคียน อ้าเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ 5) ต้าบลบากเรือ
อา้ เภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร และ 6) เทศบาลต้าบลจานแสนไชย อ้าเภอห้วยทับทัน จังหวัดศรีสะเกษ
และการวิจยั น้ไี ดผ้ า่ นการรับรองการพิจารณาจากคณะกรรมการจรยิ ธรรมการวจิ ยั ในมนุษย์ดว้ ยแล้ว

ผลการวจิ ัย พบวา่
1. ระดับคณุ ภาพชวี ติ ผสู้ ูงอายุในพ้ืนท่ีศึกษา ได้แก่ ด้านสุขภาพกายอยู่ในระดับดี (ร้อยละ

57.5) คุณภาพชีวิตด้านจิตใจอยู่ในระดับดี (ร้อยละ 57.5) คุณภาพชีวิตด้านสัมพันธภาพทางสังคมอยู่ใน
ระดับดี (ร้อยละ 44.7) และด้านสภาพแวดล้อมอยู่ในระดับดี (ร้อยละ 49.7) ในส่วนการเข้าถึงบริการ
พบว่า ผู้สูงอายุเข้าถึงและได้ใช้บริการมากที่สุด คือ การจ่ายเงินเบี้ยยังชีพเป็นรายเดือนอย่างทั่วถึงและ
เป็นธรรม (รอ้ ยละ 90.7) และการอา้ นวยความสะดวกและความปลอดภัยโดยตรงแก่ผู้สูงอายุ เช่น ราวจับ
ในหอ้ งน้า ราวทางเดนิ บันได รถเข็นวิลแชร์ ฯลฯ (รอ้ ยละ 50.8)

2. ความต้องการของผู้สูงอายุในพื้นที่ศึกษา ได้แก่ ด้านสุขภาพกาย ผู้สูงอายุต้องการ
บริการดูแลสุขภาพท่ีสะดวกในชุมชน และการดูแลรักษาตนเอง ด้านจิตใจ ผู้สูงอายุต้องการเย่ียมเยียนให้
กา้ ลังใจ/เคร่อื งอปุ โภค-บริโภคคนยากไรใ้ นชมุ ชน การให้ค้าแนะน้าแนวทางแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของ
คนในชุมชน และต้องการให้ผู้สูงอายุด้อยโอกาสได้เข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมของโรงเรียนผู้สูงอายุ ด้าน
สัมพันธภาพทางสังคม ผู้สูงอายุต้องการมีบทบาทในการบริหารจัดการโรงเรียนผู้สูงอายุ การรวมกลุ่มเป็น
ศูนย์เรียนรู้ต่างๆ เช่น ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ศูนย์เรียนรู้เกษตรอินทรีย์ ศูนย์เรียนรู้ศิลปะพ้ืนบ้าน
เป็นต้น เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีกิจกรรมท้าลดความเครียด และยังสามารถมีรายได้เพ่ิมขึ้นด้วย เป็นทั้งช่องทาง
การจ้าหน่ายสินค้า และการถ่ายทอดภูมิปัญญา-สืบสานศิลปวัฒนธรรมพื้นท่ีด้วย ต้องการเสนอโครงการ
เพื่อขอสนับสนุนงบประมาณจากหน่วยงานภายนอก และการเพิ่มจ้านวนกลุ่มเป้าหมายของโรงเรียน
ผู้สูงอายุตั้งแต่อายุ 55 ปี ขึ้นไป เพื่อมาเป็นพ่ีเล้ียงดูแลผู้สูงอายุในโรงเรียน ด้านสภาพแวดล้อม ผู้สูงอายุ
ต้องการกิจกรรมของโรงเรียนผู้สูงอายุสัญจร ความรู้เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีให้กับผู้สูงอายุ และช่องทาง
การจา้ หน่ายสินค้าออนไลน์ ส่วนด้านสวัสดิการ ผู้สูงอายุต้องการมากถึงมากที่สุดภายใต้สถานการณ์
การแพรร่ ะบาดของเช้ือไวรสั โคโรน่า 2019 คือ การเพิ่มขึ้นของเบ้ียยังชีพที่เท่ากันทุกช่วงอายุ นั่นคือ 1,000 บาท
การส่งเสริมการประกอบอาชีพท่ีบ้านเพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีรายได้เพิ่มขึ้น การบริการด้านสุขภาพในชุมชน
การบริการทางสังคมในชุมชน ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพรวมถึงอาหารและยารักษาโรคจากโควิด-19
และอุปกรณแ์ ละส่งิ ของเครอื่ งใช้สา้ หรับการใช้ชีวติ รว่ มกับโควิด-19

3. แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุโดยใช้โรงเรียนผู้สูงอายุเป็นฐาน ตาม
องค์ประกอบขององค์การอนามัยโลก (WHO) และการเข้าถึงสิทธิของผู้สูงอายุตาม พ.ร.บ.ผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546
(ฉบับแก้ไข พ.ศ. 2553) สามารถจา้ แนกกจิ กรรมของโรงเรียนผูส้ งู อายุได้ ดงั นี้

ด้านสขุ ภาพกาย ได้แก่ การมีความรู้เบื้องต้นเก่ียวกับการดูแลสุขภาพ การออกก้าลังกาย
รับประทานอาหารถกู สุขลักษณะ การเย่ียมเยียนให้ก้าลงั ใจกลุ่มผู้สงู อายุ ติดบ้าน/ติดเตียง

ด้านจิตใจ ได้แก่ กิจกรรมนันทนาการ อาทิ ศิลปะ วัฒนธรรม โดยใช้ภูมิปัญญา
พื้นบ้าน กิจกรรมด้านดนตรี : ลีลาศ ร้าวงกลองยาว หมอล้ากลอน ร้าบวงสรวง ร้าวงกงก้าฯ กิจกรรม
ศิลปะประดิษฐ์ : ดอกไม้จันทน์จากล๊อตเตอรี่ การท้าบายศรีจากใบตอง การท้าผลิตภัณฑ์จากวัสดุพื้นบ้าน
กระติ๊บข้าวเหนยี วจากตน้ กก ผลติ ภัณฑ์ตระไครห้ อมไลย่ ุง



ดา้ นสมั พันธภาพทางสังคม ได้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน : สนับสนุนงบประมาณ
การเดินทางมาโรงเรียน การซ่อมแซมที่อยู่อาศัย สนับสนุนเครื่องอุปโภค-บริโภค โรงเรียน/กศน. :
สนับสนุนวิทยากรด้านภาษา IT ฯ วัด : สนับสนุนสถานที่และการสอนแนวทางการปฏิบัติตนที่เหมาะสม
ต่อศาสนา พุทธศาสนาในชีวิตประจ้าวัน รพ.สต. : การให้ค้าแนะน้าในการรับประทานอาหารท่ีเหมาะสม
การใชย้ า การปฐมพยาบาล ความรู้เรอื่ งโรคติดตอ่ ต่างๆ และการตรวจสขุ ภาพผูส้ ูงอายุ ฯลฯ

ด้านสภาพแวดล้อม ไดแ้ ก่ การใช้ IT และ Social network เพอ่ื การส่ือสารและสืบค้น
สง่ เสริมการเกษตร : แจกพนั ธ์ผุ กั /ปลกู ผักสวนครวั /ปลกู ผกั ปลอดสาร เลยี้ งไส้เดอื น (ท้าป๋ยุ หมกั ) และการแยกขยะ

ด้านสวัสดิการ ได้แก่ ลงพ้ืนท่ีเยี่ยมผู้สูงอายุในชุมชน โดย อบต. สมาชิกในโรงเรียน
พชอ./พชต. CG นักบรบิ าล น้าเคร่ืองอุปโภค - บริโภค ไปช่วยเหลือผู้สูงอายุท่ียากไร้ในชุมชน กองทุนฌาปนกิจ
สงเคราะหส์ ้าหรบั ผู้สูงอายุท่เี ปน็ สมาชิกและผสู้ ูงอายุด้อยโอกาส

นอกจากการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุผ่านกิจกรรมของโรงเรียนผู้สูงอายุแล้ว ต้องมีแนวคิด
ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุให้เป็นผู้สูงอายุที่มีศักยภาพ หรือผู้สูงอายุที่มีชีวิตยืนยาว มีสุขภาวะทางกาย
ทางจติ ใจ มีสัมพนั ธภาพทางสงั คม และมสี ภาพแวดล้อม/ส่ิงแวดล้อมที่ดีแล้ว ยังต้องมีความพึงพอใจในชีวิต
การเป็นผู้สูงอายุท่ีดูแลตนเอง-พ่ึงพาตนเอง ท้าในส่ิงที่ปรารถนาได้ตามศักยภาพของตนเอง และท้าประโยชน์
ต่อผู้อ่ืนได้แล้ว ยังต้องเตรียมพร้อมส้าหรับการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ท่ีจะเกิดข้ึน การเรียนรู้ตลอดชีวิตจึงเป็น
หนทางหนึ่งที่จะน้าไปสู่การเป็นผู้สูงอายุที่มีศักยภาพได้ โดยโรงเรียนผู้สูงอายุเป็นกลไกหน่ึงเพื่อพัฒนา
ศักยภาพผู้สูงอายุเพื่อให้การศึกษาตลอดชีวิตแก่ผู้สูงอายุด้วย ดังน้ันกิจกรรมท่ีเหมาะสมของโรงเรียน
ผูส้ งู อายุตอ้ งควบคกู่ บั การพฒั นาการเป็นผู้สงู อายทุ ี่มศี กั ยภาพ ไดแ้ ก่

1. กิจกรรมที่ผสู้ งู อายุต้องรู้ อาทเิ ช่น
1) การเปลี่ยนแปลงในวัยสูงอายุกับการป้องกันและการรักษาสุขภาพ (การเปล่ียนแปลง

ทางร่างกาย จิตใจ และสังคม/การเฝ้าระวัง การป้องกันและการควบคุมโรค/การป้องกันอุบัติเหตุ/การ
ปรบั ปรงุ ส่งิ แวดลอ้ มสา้ หรบั ผสู้ งู อาย)ุ

2) การด้ารงชีวิตแบบสูงวัยที่มีคุณภาพ (การดูแลตนเองยามปกติ/การดูแลตนเองยาม
เจ็บปว่ ยในผูส้ งู อายุ)

3) การออกก้าลังกายในวัยสูงอายุ (การออกก้าลังกายส้าหรับผู้สูงอายุ/ข้อพึงระวังให้
หลกี เล่ียงในการออกกา้ ลงั กาย/ข้อแนะนา้ )

4) อาหารที่เหมาะสมกบั ผ้สู งู อายุ (อาหารทเ่ี ส่ยี งต่อการเกดิ โรคบางชนิด/อาหารกับโรค)
5) การใช้ยาให้ถูกวิธี (ความหมายและประเภทยา/วธิ ีการใช้ยาอย่างถกู ต้องและปลอดภัย)
6) พืชผกั สมันไพรเพ่อื สขุ ภาพ (พืชผกั ทน่ี า่ สนใจ/ผักผลไม้ท่ีควรระวงั ในผู้ป่วยโรคเรอ้ื รัง)
7) การพัฒนาจิตสา้ หรบั ผู้สงู อายุ (การมีสขุ ภาพจิตดี/แนวคิดของการคิดบวก/การท้าสมาธิ)
8) ภาษาอาเซียน (การกลา่ วทกั ทาย/ประโยคภาษาอังกฤษในชีวติ ประจา้ วนั )
9)สทิ ธิส้าหรับผู้สงู อายตุ ามพระราชบัญญัตผิ ู้สงู อายุ พ.ศ.2546 (ฉบบั แกไ้ ข พ.ศ. 2553)
2. กิจกรรมที่ผู้สงู อายคุ วร อาทเิ ช่น
1) ศาสนาในชีวิตประจ้าวัน (แนวทางการปฏิบัติตนท่ีเหมาะสมต่อศาสนา ศาสนวัตถุ
และศาสนสถาน)
2) วัฒนธรรมและภูมิปัญญาพื้นบ้าน (ภูมิปัญญาท้องถิ่น/วิธีการรักษา อนุรักษ์ สืบสาน
และถ่ายทอด)
3) อาสาสมัครกับการมีส่วนร่วมในสังคม (จิตอาสา/บทบาทผู้สูงอายุในฐานะอาสมัคร/
กิจกรรมอาสาสมัครทผ่ี ู้สูงอายุทา้ ได/้ ประโยชน์ทีผ่ สู้ งู อายุได้รบั จาการท้ากจิ กรรมอาสาสมัคร)



4) การเปล่ียนแปลงทางธรรมชาติโลก (ภาวะโลกร้อน/การเปลี่ยนแปลงทางภูมิอากาศ/
ความแห้งแล้ง)

5) ภัยพิบัติทางธรรมชาติและการเตรียมรับมือเมื่อเกิดสถานการณ์ภัยพิบัติ (แนวทางการ
จัดการเพอ่ื ลดและป้องกันผลกระทบจากภัยพิบัติธรรมชาติตอ่ ผ้สู งู อาย)ุ

6) พุทธศาสนาในชีวิตประจ้าวัน (ค้าสั่งสอน/วิธีปฏิบัติตนให้ถูกต้องทางธรรมะ/การปรับ
ใชใ้ นชวี ติ ประจ้าวนั )

7) การใช้ IT และ Social Network เพื่อการส่ือสารและสืบค้น (ความส้าคัญและ
ประโยชน์การใช้ IT และ Social Network เพ่ือการสื่อสาร/หลักการใช้ IT และ Social Network
/Website ท่ีเป็นประโยชน์ต่อผู้สูงอายุ/ข้อควรระวังก่อนและขณะใช้ Social Network/การใช้ Line จาก
สมาร์ทโฟน/หมายเลขโทรศพั ทก์ รณีฉุกเฉนิ )

8) โรคติดต่อตามฤดูกาลและโรคติดต่ออุบัติใหม่(Covid-19) (โรคติดต่อต่างๆ /แนวทาง
ป้องกนั /โรคติดต่อที่ตอ้ งแจ้งความ)

9) การปฐมพยาบาล (ความส้าคัญ/การแจ้งเหตุขอความชว่ ยเหลือ/แนวทางปฏิบัติ)
10) การเสริมสร้างทักษะทางสังคมที่เหมาะสม (ทักษะที่จ้าเป็นในการสร้างและรักษา
สัมพนั ธภาพทด่ี รี ะหวา่ งบคุ คล/หลักปฏิบตั ใิ นการสร้างและการรกั ษาสัมพนั ธภาพในสังคม)
3. กิจกรรมทผ่ี ู้สงู อายอุ ยากรู้ อาทิเชน่
1) ดนตรี เชน่ ลีลาศ, วงกลองยาว, หมอลา้ กลอน, รา้ บวงสรวง, ร้าวงกงก้า
2) ศลิ ปะประดษิ ฐ์ เช่น ดอกไม้จนั ทนจ์ ากล็อตเตอรร่ี การท้าบายศรีจากใบตอง
3) การทา้ ผลติ ภณั ฑ์จากวสั ดุพน้ื บ้าน เชน่ กระตบ๊ิ ขา้ วเหนียวจากต้นกก, ผลติ ภณั ฑต์ ะไคร้
หอมไลย่ งุ ,
4) กฬี า เช่น กฬี าพนื้ บา้ น, กีฬาสรี ะหว่างรนุ่
5) ทักษะวชิ าการ เช่น สภุ าษิต การถา่ ยทอดความรู้จากภมู ิปญั ญา
6) การดูแลผสู้ ูงอายุระยาวและระยะสุดทา้ ย
7) ศาสนพธิ ีและธรรมเนียมปฏบิ ตั ิ เชน่ กฐินเวียน, เพลเวียน
8) กจิ กรรมสัมพนั ธร์ ะหว่างวัย เช่น จูงลกู จงู หลานเข้าวดั
9) การจดั การดา้ นการเงิน
10) ทศั นศกึ ษา

ฏ สารบญั

คานา หนา้
บทคัดยอ่
Abstract ก
บทสรปุ ผ้บู ริหาร ข
สารบัญ จ
สารบัญตาราง ซ
บทที่ 1 บทนา ฏ

ความสาคญั และทม่ี า 1
วัตถปุ ระสงคข์ องการวจิ ัย 1
ขอบเขตโครงการวจิ ัย 6
นยิ ามศพั ท์ 6
ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะไดร้ บั 7
ระยะเวลาในการศกึ ษา 7
บทท่ี 2 แนวคดิ ทฤษฎี และการทบทวนวรรณกรรมท่เี กี่ยวขอ้ ง 7
ความรู้เบือ้ งต้นเกี่ยวกับผู้สูงอายุ 8
ทฤษฎีทีเ่ ก่ียวขอ้ งกบั ผ้สู ูงอายุ 8
การพฒั นาคุณภาพชวี ิตผ้สู ูงอายุ 11
กฎหมายและนโยบายที่เกีย่ วขอ้ งกับการพฒั นาผู้สงู อายุ 13
แนวคดิ การจดั สวสั ดกิ ารสาหรับผ้สู ูงอายุในสงั คมไทย 21
การจดั สวสั ดิการผู้สงู อายใุ นสังคมไทย 25
การพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ผ้สู ูงอายโุ ดยครอบครัวและชุมชนเป็นฐาน 27
การพฒั นาคุณภาพชีวิตผสู้ ูงอายโุ ดยภาคเอกชน 37
การพฒั นาคณุ ภาพชีวิตผู้สงู อายุโดยโรงเรยี นเป็นฐาน 39
งานวิจยั ที่เกยี่ วขอ้ ง 41
กรอบแนวคดิ 46
บทที่ 3 วิธกี ารดาเนนิ การวิจยั 49
วิธกี ารศกึ ษา 51
การคัดเลือกพ้นื ท่ี
การคัดเลอื กกลุ่มตัวอยา่ ง 51
วธิ กี ารเก็บขอ้ มลู
กระบวนการดาเนนิ การวจิ ยั 51
เคร่ืองมือวจิ ยั
การวิเคราะห์ 51

53

54

54

56



สารบญั (ตอ่ )

หนา้

บทท่ี 4 ผลการศึกษา 57
วัตถุประสงคข์ อ้ 1 เพอ่ื ศกึ ษาระดับคณุ ภาพชีวิตของผู้สงู อายใุ นท้องถิน่
ข้อมลู สว่ นบุคคล 57
คณุ ภาพชวี ิตผสู้ ูงอายใุ นท้องถน่ิ 76
วัตถปุ ระสงคข์ อ้ 2 เพื่อศกึ ษาความตอ้ งการในการพฒั นาคุณภาพชีวิตผู้สงู อายุในท้องถนิ่ 96
สรุปการถอดบทเรียนการดาเนินงานของโรงเรียนผู้สูงอายุ 102
กิจกรรมของโรงเรยี นผ้สู งู อายุ จาแนกเปน็ 5 ด้าน 104
วัตถุประสงค์ขอ้ 3 เพื่อศกึ ษาแนวทางการพฒั นาคุณภาพชวี ิตผ้สู งู อายโุ ดยใช้
โรงเรียนผ้สู ูงอายุเป็นฐาน 106
สรุปการสนทนากลุ่ม (Focus Group) 107
113
บทท่ี 5 สรปุ อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 113
สรุป 114
อภิปรายผล 121
ขอ้ เสนอแนะ 122
126
บรรณานุกรม 127
ภาคผนวก 136
137
แบบสารวจเชงิ ปริมาณ
ประเด็นคาถามเชงิ คุณภาพ
คณะทางาน



สารบัญตาราง

หนา้

ตารางที่ 4.1 ข้อมูลพน้ื ฐานของผสู้ ูงอายุ 58
ตารางที่ 4.2 สถานภาพการทางานในปัจจุบนั ของผูส้ ูงอายุ 61
ตารางท่ี 4.3 แหล่งทีม่ าของรายได้หนสี้ นิ ของผู้สูงอายุ 62
ตารางท่ี 4.4 การอยอู่ าศัยของครอบครวั และการเปน็ สมาชิกของโรงเรียนผูส้ งู อายุ 64
ตารางท่ี 4.5 สัมพนั ธภาพในครอบครัว 66
ตารางท่ี 4.6 บคุ คลและเครือขา่ ยท่ใี ห้การช่วยเหลือแก่ผสู้ ูงอายุ 72
ตารางท่ี 4.7 ระดับคณุ ภาพชีวติ โดยรวมและรายด้านของผู้สูงอายุ 77
ตารางที่ 4.8 คณุ ภาพชวี ติ ของผูส้ งู อายุรายด้าน 82
ตารางท่ี 4.9 ความร้เู รอื่ งสิทธิตามพระราชบญั ญตั ผิ ูส้ ูงอายุ พ.ศ. 2546 (แก้ไข พ.ศ. 2553) 88
ตารางท่ี 4.10 การเขา้ ถึงบริการของผสู้ งู อายุ 88
ตารางท่ี 4.11 ระดบั ความต้องการของผู้สงู อายุ 98
ตารางท่ี 4.12 สรุปการถอดบทเรยี นการดาเนนิ งานของโรงเรยี นผู้สงู อายุ 102
ตารางท่ี 4.13 กจิ กรรมของโรงเรยี นผู้สูงอายุ จาแนกออกเป็น 5 ด้าน 104

1

บทที่ 1
บทนา

1. ความสาคัญและทม่ี า
ประเทศไทยได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างถาวร จากนโยบายประชากรและการวางแผน

ครอบครัวท่ีประสบความสาเร็จในอดีต รวมถึงความเจริญก้าวหน้าในการพัฒนาประเทศท้ังด้าน เศรษฐกิจ
และสังคม ส่งผลให้คนไทยมีสุขภาพที่ดีขึ้น มีอายุยืนยาวขึ้น มีการศึกษา ทักษะและความรู้ดีข้ึน ผลสาเร็จ
ดังกล่าวมผี ลให้ภาวะเจริญพันธ์ุและอตั รา ประชากรวัยเดก็ และวยั แรงงานมีแนวโน้มลดลง ขณะท่ีประชากร
ท่ีมอี ายุ 60 ปีขึน้ ไปมแี นวโนม้ เพ่ิมขึ้นเรื่อยๆ จนถึงปี 2573 คนไทยเกือบ 1 ใน 4 จะเป็นประชากรผู้สูงอายุ
จะสง่ ผลกระทบต่อการ พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศชาติ ขณะเดียวกันภาวะพ่ึงพิงของประชากร
วัยแรงงานในการดูแลเด็กและผู้สูงอายุจะเพิ่มสูงข้ึน ผู้สูงอายุมีความต้องการสิ่งอานวยความสะดวกในการ
ดารงชีวิตท่เี หมาะสมกบั ชว่ งวยั และสขุ ภาพมากขึ้น ท้ังด้านสุขภาพ ความเจ็บปุวย อาชีพและรายได้ ซ่ึงเป็น
เหตุผลที่ผู้สูงอายุมีความต้องการและมีความจาเป็นในการรับสวัสดิการสังคมจากรัฐและจากภาคส่วนอ่ืนๆ
เพ่อื คุณภาพชวี ติ ท่ีดีและดารงอยู่ อยา่ งสมศักดศ์ิ รี (สดุ ารัตน์ สดุ สมบรู ณ์, 2557)

ในปี 2560 ประเทศไทยมีประชากรสูงอายุ 60 ปีข้ึนไป 11 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 17 ของ
ประชากรท้ังหมด 65.5 ล้านคน ประเทศไทยกาลังมีผู้สูงอายุสูงข้ึนอย่างเร็วมาก คาดประมาณว่าอีกไม่เกิน
4 ปีข้างหน้าน้ี ประเทศไทยก็จะกลายเป็นสังคมสูงอายุอย่างสมบูรณ์ เม่ือมีสัดส่วนประชากรอายุ 60 ปีขึ้น
ไปสูงขึ้นถึงร้อยละ 20 จานวนประชากรสูงอายุในประเทศไทยเพิ่มมากข้ึนอย่างรวดเร็ว ด้วยเหตุท่ี “คลื่น
ประชากรรุ่นเกิดล้าน” ซ่ึงเกิดในช่วงปี 2506-2526 กาลังเคลื่อนตัวกลายเป็นผู้สูงอายุ อีก 20 ปีข้างหน้า
ประเทศไทยจะมีประชากรสูงอายุมากถึง 20 ล้านคน และที่สาคัญ คือ กลุ่มประชากรสูงอายุวัยปลาย
(อายุ 80 ปีขึ้นไป) จะเพ่ิมขึ้นอย่างมากจาก 1.5 ล้านคนในปี 2560 เป็น 3.5 ล้านคนในอีก 20 ปีข้างหน้า
สถานการณ์ผู้สูงอายุไทยในปี 2560 นี้มีข้อมูลว่า ประชากรสูงอายุไทยยังมีปัญหาเรื่องสุขภาพ ในปี 2560
ผู้สูงอายทุ ่ีอยใู่ นภาวะช่วยตวั เองไมไ่ ด้ (ไม่สามารถประกอบกิจวัตรพื้นฐาน คือ กินอาหารเอง เข้าห้องน้าเอง
แต่งตัวได้เอง) มากถึงร้อยละ 5 โดยเฉพาะผู้สูงอายุวัยปลายท่ีไม่สามารถช่วยตัวเองได้ มีมากถึงร้อยละ 19
ของผู้สูงอายุในวัยเดยี วกันนี้ (มลู นิธสิ ถาบันวจิ ยั และพัฒนาผสู้ งู อายุไทย, สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ.2560)

จากรายงานผู้สูงอายุไทยในรอบหลายปีท่ีผ่านมา ได้แสดงข้อมูลว่า 1 ใน 3 ของผู้สูงอายุไทยมี
รายไดอ้ ยู่ใต้เส้นความยากจน รายงานฉบับปี 2560 นี้ ได้แสดงว่า ผู้สูงอายุมีรายได้หลักจากบุตรลดน้อยลง
ไปอีก จากร้อยละ 37 ในปี 2557 เหลือเพียงร้อยละ 35 ผู้สูงอายุมีรายได้จากการทางานลดลง จากร้อยละ 35
ในปี 2554 เหลือร้อยละ 31 ในปี 2560 ผ้สู งู อายไุ ดร้ บั เบ้ยี ยังชีพในปี 2560 มีจานวน 8.2 ล้านคนซ่ึงเพ่ิมขึ้น
มากกว่าจานวนผู้ได้รับเบ้ียยังชีพ ในปี 2552 กว่า 1.5 เท่า ผู้สูงอายุไทยที่อยู่ตามลาพังคนเดียว มีแนวโน้ม
เพม่ิ สงู ขน้ึ เรอื่ ยๆ จากรอ้ ยละ 6 ในปี 2545 เป็นร้อยละ 11 ในปี 2560 สัดส่วนผู้สูงอายุท่ีอยู่ตามลาพังกับคู่สมรส
ได้เพ่ิมสูงขึ้นเป็นร้อยละ 21 ในปี 2560 ผู้สูงอายุที่อยู่ตามลาพังเหล่านี้อาจจัดอยู่ในกลุ่ม “ประชากร
เปราะบาง” ได้ สาหรบั การมีส่วนรว่ มในกจิ กรรมทางสังคมของผู้สูงอายไุ ทยปี 2560 ผู้สูงอายุไทยเข้าร่วมใน
กิจกรรมทางสังคมเป็นจานวนมาก โดยเป็นสมาชิกของชมรมต่างๆ มากถึง 7 ล้านคน โรงเรียนผู้สูงอายุ
เพื่อผู้สูงอายุได้เรียนรู้ตลอดชีวิต ท่ีจัดตั้งโดยกรมกิจการผู้สูงอายุมีถึง 1,163 แห่ง รับนักเรียนผู้สูงอายุได้
มากกว่า 6 หม่ืน 4 พันคน การเข้าร่วมในกิจกรรมทางสังคมเหล่านี้แสดงว่า ผู้สูงอายุไทยยังมีพลังอยู่มาก
ผู้สูงอายุไทยรุ่นใหม่มีการศึกษาสูงข้ึน ผู้สูงอายุวัยต้นท่ีไม่ได้รับการศึกษาเลยมีเพียงร้อยละ 7 เปรียบเทียบ
กับผู้สูงอายุวัยปลายที่ไม่ได้รับการศึกษาเลยมีมากถึงร้อยละ 22 แสดงว่าผู้สูงอายุรุ่นใหม่มีการศึกษาดีข้ึน
ในขณะท่ีประชากรไทยกาลังสูงวัยขึ้นอย่างรวดเร็ว และจานวนผู้สูงอายุก็เพ่ิมมากขึ้นอย่างมาก ถ้าหาก

2

ประเทศไทยมีนโยบายและมาตรการต่างๆ ที่จะทาให้ผู้สูงอายุไทยยังคงมีพลังและมีคุณค่า ก็จะทาให้การสูงวัย
ของประชากรไทยน้ันเป็นโอกาส แทนที่ผู้สูงอายุจานวนมากเหล่านั้นจะเพิ่มภาระในการดูแลให้กับปัจเจก
บุคคล ครอบครัว สังคมและประเทศชาติ (มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย, สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย
พ.ศ.2560)

จากการประชุมสมชั ชานโยบายรองรับสังคมสูงวยั คร้ังท่ี 1 พ.ศ. 2562 เม่อื วันท่ี 4 กรกฎาคม 2562
มีข้อเสนอ ประกอบดว้ ย

1. ดา้ นเศรษฐกิจ มงุ่ เน้นการนาเสนอเรอ่ื งการออมหลากหลายรูปแบบ ตัวอย่างที่เป็นกาลังเร่ิมเป็น
ท่สี นใจในต่างจังหวดั คือ การออมดว้ ยการปลกู ไม้ยนื ต้น โดยสมชั ชาฯ เสนอให้กระทรวงทรัพยากรฯ รับรอง
สิทธิของผู้ปลูกในการตัด/แปรรูป/จาหน่ายไม้ยืนต้นในพ้ืนท่ีกรรมสิทธ์ิตนเอง และให้กระทรวงการคลัง
รว่ มกับสว่ นอ่นื ๆ จัดตัง้ องค์กรสง่ เสรมิ การปลกู ไม้เพอ่ื การออม โดยรบั รองให้ไม้ดังกล่าวเป็นหลักทรัพย์ในการ
ทาธุรกรรมต่างๆ เชน่ การประกนั ตัว การกยู้ ืม การลงทะเบียนเรยี น ฯลฯ

2. ด้านสังคม เน้นการเสริมสร้างศักยภาพและชมรมผู้สูงอายุ เพราะการรวมกลุ่มเป็นเรื่องสาคัญท่ี
จะทาให้เกิดสุขภาวะ ข้อเสนอคือ การมีพ้ืนท่ีกลางที่เป็นมิตรและเข้าถึงได้สาหรับผู้สูงอายุในทุกพ้ืนที่
เพื่อให้เกิดการทากิจกรรมภายใต้การบริหารงานของผู้สูงอายุเอง หลายหน่วยงานท่ีให้การสนับสนุนอยู่ก็
สามารถสนบั สนนุ ผา่ นพืน้ ท่กี ลางดังกลา่ วเพอ่ื ให้เกดิ การบรู ณาการ

3. ด้านสภาพแวดล้อม ปัจจุบัน ผู้สูงอายุไทยช่วยตัวเองไม่ได้มากถึงร้อยละ 5 ส่วนที่อยู่ลาพังมีสูง
ถึงร้อยละ 11 อยู่กับคู่สมรสมีร้อยละ 21 การเดินทางของผู้สูงอายุไทยเป็นไปอย่างยากลาบาก ต้องพึ่งพิงคนอ่ืน
ทาให้มักต้องอยู่แต่กับบ้าน จึงเสนอว่าให้ขยายโครงการ 1 ตาบล 1 ศูนย์อยู่ดี ซึ่งเป็นงานนาร่องท่ี สสส.
ออกแบบ Universal Design Center ด้วยความร่วมแรงร่วมใจของหลายภาคส่วนออกไปในพื้นที่ต่างๆ
ทว่ั ประเทศ

4. ด้านสุขภาพ เป็นการหารือเพื่อเติมเต็มในส่วนท่ี สปสช. หรือระบบสวัสดิการต่างๆ รองรับไม่ท่ัวถึง
โดยเสนอให้ระดมทรัพยากรทมี่ อี ยู่ในชุมชน เช่น ศาสนสถาน สถาบันการศึกษา หน่วยบริการสุขภาพ เข้ามาช่วย
ดูแลคนในชุมชน สร้างสหกรณ์ออมทรัพย์ ธนาคารเวลา เพ่ือสนับสนุนการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว รวมถึง
การสร้างความรอบรู้ด้านสขุ ภาพผา่ นเครือ่ งมอื อยา่ งสมชั ชาสขุ ภาพพ้ืนท่ี ธรรมนูญสขุ ภาพพืน้ ที่ เปน็ ต้น

จากเวทีสมัชชาดงั กล่าว มนี ักวชิ าการไดใ้ หข้ ้อคดิ เหน็ ทีน่ ่าสนใจ ดงั นี้
1. ศาสตราจารย์กิตติคุณ เทียนฉาย กีระนันทน์ อดีตประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.) และท่ีปรึกษา
กรรมการสนับสนุนการพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาวะรองรับสังคมสูงวัย กล่าวปาฐกถาว่า ขอฝาก
ประเด็นสาคัญ 3 เร่ืองคือ 1) เรื่อง ‘ผู้สูงอายุ’ กับ ‘สังคมสูงวัย’ เป็นคนละเร่ืองกัน ส่ิงท่ีน่ากังวลและควร
พูดให้มากในเชิงนโยบายคือ นโยบายรองรับสังคมสูงวัย ซึ่งเป็นเรื่องใหญ่มาก และทุกองคาพยพของสังคม
ต้องร่วมมือกัน จึงควรขยายการศึกษาและดาเนินการให้ครอบคลุมยิ่งข้ึน เช่น มิติด้านเศรษฐกิจนั้นไม่ใช่
เพียงเรื่องการออม แต่ต้องดูการบริโภค การใช้จ่ายภาครัฐท่ีมีการเปลี่ยนแปลงอย่างสาคัญ เพราะปัจจุบัน
เริ่มใช้จ่ายกับผู้สูงวัยมากกว่าเด็ก 2) ต้องทาความเข้าใจพลวัตการเปลี่ยนแปลงประชากรว่า จุดสาคัญ คือ
ภาวะการตาย นับตั้งแตก่ ารเรม่ิ ทาสามะโนประชากรในปี 2490 ทาให้วิเคราะห์อายุเฉล่ียของคนได้ ในเวลา
นนั้ อายเุ ฉลี่ยอยทู่ ่ี 45-47 ปีเท่าน้ัน แต่ปัจจุบันคนอายุยืนยาวมาก ดังนั้น ปัญหาไม่ใช่เฉพาะอัตราการเกิดที่
ลดลง แต่ส่ิงที่ส่งผลให้เปลี่ยนโครงสร้างประชากรมากคือ การตาย นักประชากรศาสตร์ต้องอธิบายให้คนท่ี
เก่ียวข้องกับเรื่องสังคมสูงวัยเข้าใจ และต้องมีการคานวณอายุเฉล่ียหลังอายุ 60 ปีด้วย 3) ปัจจุบันไทยมี
ประชากรทอ่ี ายุมากกว่า 90 ปีมากข้นึ เร่อื ยๆ ดังนัน้ ในครอบครัวหน่ึงจึงไม่ได้มีผู้สูงวัยแค่ 1 รุ่นแต่มีถึง 2 รุ่น
แลว้ ปญั หาน้ีนา่ หว่ งอย่างยงิ่ การพิจารณาสังคมสูงวัยจงึ ไมใ่ ชพ่ จิ ารณาภาพนิ่งช่วงเดียวแล้วจบ

3

2. นพ.อาพล จินดาวฒั นะ สมาชิกวุฒิสภา อดตี ประธานกรรมาธกิ ารปฏิรปู สงั คมและชมุ ชนฯ สปช.
กล่าวว่า สังคมสงู วยั เป็น 1 ใน 5 ปัจจยั ท่ีทาใหป้ ระเทศไทยอยู่แบบเดมิ ไมไ่ ด้ โดยอีก 4 เร่ืองที่เหลือคือ การ
เปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ พลังงาน อาหารและน้า นวัตกรรมและเทโนโลยี ในเรอื่ งสังคมสูงวัยนั้น ถึงแม้
ขยายการศึกษาและนาเสนอเป็น 4 มิติก็ยังไม่เพียงพอ ภายใต้แบบแผนของสังคมท่ีเปลี่ยนแปลงไป ตัว
สังคมก็มีระบบ โครงสร้าง วิธีคิดท่ีสูงวัยและยากต่อการเท่าทันโลก สิ่งที่อยากจะเน้นคือ ชุมชนยังคงเป็น
ฐานพระเจดียท์ ่ีสาคัญ ปัจจบุ ันมหี ลายชุมชนทเ่ี ปน็ ต้นแบบการเตรียมพร้อมเร่ืองนี้ให้เห็นเป็นรูปธรรม “การ
จัดการเร่ืองสังคมสูงวัยต้องไม่แยกเร่ืองน้ีออกมาตายตัว มันเป็นเรื่องเดียวกับการสร้างชุมชนเข้มแข็งและ
สงั คมเข้มแข็ง โดยควรเนน้ การพฒั นาแบบองคร์ วม เน้นการมีส่วนร่วม ยึดภูมิศาสตร์ที่แตกต่างกัน ใช้ชุมชน
เปน็ ฐาน ไม่ยดึ ติดตารา และทาไปมีความสขุ ไป ทาอยา่ งมีความเพียร ท้ังหมดนี้คือ ศาสตร์พระราชา น่ันเอง
ชุนชนท้องถิ่นซึ่งเป็นฐานของเจดีย์เป็นความหวัง เราต้องทาลงไปข้างล่างให้ได้ แล้วให้ทุกอย่างบูรณาการ
ร่วมกัน”

3. นายเอ็นนู ซ่ือสุวรรณ ประธานกรรมการจัดทายุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความ
เสมอภาคทางสงั คม และกรรมการสุขภาพแห่งชาติ กลา่ ววา่ หวั ขอ้ หนงึ่ ทถ่ี ือวา่ สาคัญมากในยุทธศาสตร์ชาติ
คือ สังคมสูงวัย มีการพูดถึงการดูแลสังคมสูงวัยในเชิงรุกซึ่งไม่ใช่หน้าที่รัฐบาลเท่านั้น ทุกภาคส่วนต้องร่วม
ขับเคล่ือนเน่ืองจากสังคมสูงวัยเป็นเร่ืองของทุกคน ประเด็นท้าทายมีหลายประการ เช่น การออมเงินเพ่ือ
เตรียมการก่อนสูงอายุซึ่งมีน้อยมากเพียง 1 ใน 3 ของประชากรท่ีมีการเตรียมพร้อม ในเบื้องต้นต้องทาให้
ประชากรวัย 40 ปีขึ้นไปตระหนัก รอบรู้ และเตรียมการทุกด้านก่อนชรา ส่วนผู้ท่ีอายุ 60 ปีไปแล้วต้อง
ไดร้ บั การส่งเสรมิ ให้ถา่ ยทอดความรู้ ภมู ปิ ัญหา ประสบการณ์ให้กบั คนร่นุ หลงั สร้างงานท่ีเขายังทาได้เพื่อให้
รู้สึกว่าตนเองมีคุณค่า มีการปรับพ้ืนที่สภาพแวดล้อมให้เหมาะกับคนทุกวัย เพิ่มบทบาทภาคส่วนอื่นๆ
ในการเพม่ิ โอกาส สรา้ งงาน สร้างอาชพี หรอื สร้างนวตั กรรมใหมๆ่

จากแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางสังคมของโลกที่คนเกิดน้อยลงและอายุยืนยาวมากขึ้น
องคก์ ารสหประชาชาตปิ ระเมินสถานการณ์ว่า ปี 2544-2643 จะเป็นศตวรรษแห่งผู้สูงอายุ คือ มีประชากร
อายุ 60 ปีขึ้นไปมากกว่าร้อยละ 10 ของประชากรรวมท่ัวโลก สาหรับประเทศไทยได้เข้าสู่สังคมสูงวัยซ่ึงมี
ประชากรอายุ 60 ปีข้ึนไปจานวน 1 ใน 10 ของประชากรมาตั้งแต่ปี 2548 และจะเข้าสู่ “สังคมสูงวัยโดย
สมบูรณ์” ในอีก 2 ปีข้างหน้าหรือ ปี 2564 โดยจะมีประชากรสูงวัยจานวน 1 ใน 5 ของประชากรทั้งหมด
และภายในปี 2578 ประมาณการว่าประชากรสูงอายุจะเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 30 ของประชากรท้ังประเทศ
(สานกั งานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ, สมัชชานโยบายรองรบั สังคมสงู วยั ครัง้ ท่ี 1 พ.ศ. 2562)

จากคาแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี แถลงต่อ
รัฐสภา วันพฤหัสบดีท่ี 25 กรกฎาคม 2562 โดยหนึ่งในนโยบายได้แสดงให้เห็นว่า รัฐบาลยังได้ให้
ความสาคัญของการพัฒนาคนไทยให้มีความพร้อมในการดารงชีวิตในศตวรรษท่ี 21 เพื่อให้คนไทยใน
อนาคตเป็นพลังขับเคล่ือนการพัฒนาประเทศให้ก้าวไปข้างหน้าอย่างมีแบบแผนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
รฐั บาลไดก้ าหนดนโยบายในการพัฒนาทีม่ งุ่ พัฒนาคนในทกุ มติ ติ ามความเหมาะสมในแต่ละช่วงวัยให้มีความ
สมบูรณ์ เป็นคนดี มีวินัย เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม รวมทั้งการพัฒนาระบบสาธารณสุขและหลักประกัน
ทางสงั คมที่เหมาะสมแกป่ ระชาชนในกลุ่มต่างๆ รวมถึงการพัฒนาสร้างความเข้มแข็งจากฐานรากท่ีเกี่ยวกับ
การสร้างพลงั สงั คม พลงั ชุมชน รวมทั้งสร้างการเรียนรู้ ฝึกอาชีพกลุ่มอิสระในการร่วมขับเคลื่อนและพัฒนา
ประเทศ ผ่านนโยบาย สร้างความเข้มแข็งของชุมชน จากการสร้างพลังในชุมชนโดยส่งเสริมให้เกิดการ
สร้างพลังทางสงั คม ภาคีเครอื ข่าย การรวมตวั ของภาคส่วนต่าง ๆ ในชุมชนมาเปน็ กาลงั ในการพัฒนาเพื่อส่วนรวม
โดยให้ความสาคัญกับการสร้างพลังจิตอาสา สร้างพลังแผ่นดินเพ่ือพัฒนาศักยภาพและสร้างเอกภาพแก่
กลุ่มอาสาสมัครรูปแบบต่าง ๆ การสร้างพลังสร้างสรรค์เพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางสังคมของคนทุกวัย

4

ผ่านการสร้างพื้นที่สร้างสรรค์ในรูปแบบต่าง ๆ และการสร้างพลังภูมิคุ้มกันเพ่ือการใช้ส่ือออนไลน์อย่าง
สร้างสรรค์ และประชาชนมีส่วนร่วมในการเฝูาระวังและเตือนภัย และนโยบาย สร้างเครือข่ายชุมชนที่
เข้มแข็ง เน้นส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนทุกภาคส่วนเข้าร่วมในกระบวนการตัดสินใจกาหนด
นโยบายและมาตรการของภาครัฐ โดยเร่ิมจากการเปิดโอกาสให้ประชาชนสามารถนาเสนอแนวคิดที่เป็น
ประโยชน์ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสวัสดิการในระดับชุมชน เพ่ือเป็นรากฐานของการพัฒนา
ระบอบประชาธิปไตยในบริบทสังคมไทย สอดรับกับนโยบายเร่งด่วน เรื่อง การปรับปรุงระบบสวัสดิการ
และพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยปรับปรุงระบบบัตรสวัสดิการแห่งรัฐและเบี้ยยังชีพของ
ประชาชน อาทิ ผู้สูงอายุและคนพิการที่มีรายได้น้อย ผู้ยากไร้ ผู้ด้อยโอกาส และพิจารณาขยายความ
ครอบคลุมไปยังกลุ่มมารดาตั้งครรภ์ เด็กแรกเกิด และเด็กวัยเรียนที่ครอบครัวมีปัญหาทางเศรษฐกิจ และ
เร่งรัดการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เพื่อลดความเหล่ือมล้าของคุณภาพการบริการในแต่ละระบบ ลดภาระ
การเดินทางไปสถานพยาบาลของประชาชน และลดความแออัดในโรงพยาบาลขนาดใหญ่ พัฒนา
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) ระบบการแพทย์ทางไกล
และภูมิปัญญาแพทย์แผนไทย เพื่อให้ประชาชนที่อยู่ในชุมชนสามารถเข้าถึงหน่วยบริการสาธารณสุขได้
อย่างทั่วถงึ รวดเรว็ และไดร้ ับการบริการอย่างมีคุณภาพ (สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี, คาแถลงนโยบาย
ของคณะรัฐมนตรี พลเอก ประยทุ ธ์ จันทรโ์ อชา นายกรฐั มนตรี แถลงตอ่ รัฐสภา, 2562)

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มีบทบัญญัติที่บรรจุหลักการท่ีเกี่ยวข้องกับ
ผู้สูงอายุ จานวน 2 หมวด ดังน้ี หมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย มาตรา 27 วรรคสาม การเลือก
ปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคล ไม่ว่าด้วยเหตุความแตกต่างในเรื่องถิ่นกาเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ
ความพิการ สภาพทางกายหรือสขุ ภาพ สถานภาพของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม ความเช่ือทางศาสนา
การศึกษาอบรม หรือความคิดเห็นทางการเมืองอันไม่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญหรือเหตุอื่นใด
จะกระทามิได้ วรรคส่ี มาตรการท่ีรัฐกาหนดข้ึนเพื่อขจัดอุปสรรคหรือส่งเสริมให้บุคคลสามารถใช้สิทธิหรือ
เสรีภาพได้เช่นเดียวกับ บุคคลอื่น หรือเพ่ือคุ้มครองความสะดวกให้แก่ เด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ หรือ
ผู้ด้อยโอกาสย่อมไม่ถือว่าเป็นการเลือกปฏิบัติ มาตรา 48 วรรคสอง บุคคลซึ่งมีอายุเกินหกสิบปีและไม่มี
รายได้เพียงพอแก่การยังชีพ และบุคคลผู้ยากไร้ย่อมมีสิทธิ ได้รับความช่วยเหลือที่เหมาะสมจากรัฐตามท่ี
กฎหมายบัญญัติ หมวด 6 แนวนโยบายแห่งรัฐ มาตรา 71 วรรคสาม รัฐพึงให้ความช่วยเหลือเด็ก เยาวชน
สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ยากไร้ และผู้ด้อยโอกาส ให้สามารถดารงชีพได้อย่างมีคุณภาพ และคุ้มครอง
ปูองกันมิให้บุคคลดังกล่าวถูกใช้ความรุนแรงหรือปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรม รวมตลอดท้ังให้การบาบัด ฟื้นฟู
และเยยี วยาผู้ถูกกระทาการดงั กล่าว

ระบบสวัสดิการท่ีจาเป็นและมีผลต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุเป็นอย่างยิ่ง กรมสุขภาพจิต
(2552) ได้ระบุถึง ความหมายของคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้สูงอายุ คือ การที่ผู้สูงอายุมีสุขภาพร่างกาย จิตใจ
อารมณ์และ สังคม ท่ีมีความสุข การกินดีอยู่ดี มีเศรษฐกิจที่ม่ันคง ไม่มีโรคภัยไข้เจ็บ และมีการดาเนินชีวิต
สภาพความเป็นอยูท่ ี่ดไี ด้อยา่ งเหมาะสม มอี งคป์ ระกอบของผู้สูงอายุ 5 ด้าน ดังน้ี คือ 1) ด้านร่างกาย 2) ด้านจิตใจ
3) ด้านสัมพันธภาพทางสังคม 4) ด้านส่ิงแวดล้อม 5) ด้านความมั่นคงในชีวิต แต่อย่างไรก็ตามยังพบว่า
ปัญหาของผู้สูงอายุที่สาคัญ คือ ปัญหาทางด้านสุขภาพกาย ปัญหา ทางด้านเศรษฐกิจ การดูแลอุปการะ
เลย้ี งดู รายไดไ้ ม่เพียงพอสาหรบั การเลี้ยงชีพ อาจจะไม่มีท่ีอยู่อาศัยทาให้ได้รับความลาบาก ปัญหาทางด้าน
ความรู้ ผู้สูงอายุไม่มีโอกาสได้รับความรู้เพ่ือการพัฒนาตนเองให้เหมาะสมกับวัย ปัญหาทางด้านจิตใจท่ี
ผู้สูงอายุจะไม่ได้รับความเอาใจใส่ทาให้รู้สึกว้าเหว่ อ้างว้าง และปัญหาเกี่ยวกับครอบครัว ซึ่งโรงเรียน
ผู้สูงอายุเป็นอีกสถานที่ที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุโดยการมีส่วนร่วมจากทุกภาค ส่วนเข้ามาร่วม
ขบั เคล่อื นควบคู่ไปกับมาตรการอื่นๆ ของรัฐ เพ่ือให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลอย่างท่ัวถึง ซ่ึงผู้มีบทบาทสาคัญ

5

ได้แก่ สมาชิกในครอบครัว ชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจาตาบล วัด และท้องถ่ิน โดยเฉพาะ
องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลทีม่ ีภารกจิ โดยตรงในการดูแลผู้สูงอายุรวมท้ังส่งเสริมสนับสนุนและแสวงหาความ
ร่วมมือจากภาคีเครือข่ายเพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีพื้นท่ีในการเข้าร่วมกิจกรรมกับชุมชน ไม่ว่าจะเป็นการพบปะ
พูดคุย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ การถ่ายทอดภูมิปัญญา หรือ การพัฒนาตนเองในด้านต่างๆ ซึ่งเป็นการยกระดับ
การจัดสวัสดิการสาหรับผู้สูงอายุในชุมชน เพื่อให้ผู้สูงอายุมองเห็นคุณค่าและความสาคัญของตนเองและ
ชมุ ชน ใหป้ ระจกั ษ์ในศักยภาพและพลังของผู้สูงอายุ ส่งผลให้ผู้สูงอายุใช้ชีวิตอย่างมีคุณค่า มีศักดิ์ศรี และมี
ความสุข มคี ุณภาพชีวิตท่ดี ี

แนวคิดพัฒนาผู้สูงอายุให้เป็นผู้ที่มีศักยภาพ (Active Ageing) เป็นแนวคิดท่ีถูกนามาใช้เพ่ือพัฒนา
ผู้สูงอายุของประเทศโดยเป็นการพัฒนาด้านกาย จิต เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ค่านิยม ปัญญา และ
ความสขุ ทคี่ รอบคลุมมิตติ ่างๆ หลากหลายแนวทาง (Multi-Criteria Approach) การพัฒนาผู้สูงอายุที่มุ่งสู่
การเป็นผู้ท่ีมีศักยภาพน้ี แนวคิดต่างๆ หลายแนวคิด หน่ึงในน้ันคือแนวคิดการศึกษาตลอดชีวิต (Lifelong
Education) ซ่ึงหมายถึง “กระบวนการท่ีมีผลต่อการเรียนรู้ ครอบคลุมการศึกษาในระบบการศึกษา นอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัย เพ่ือให้บุคคลได้พัฒนาตนให้ทันการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาต่อไปให้เต็ม
ศักยภาพ โดยบุคคลน้ันจะต้องมีแรงจูงใจที่จะศึกษาหาความรู้ด้วยตนเอง การศึกษาตลอดชีวิตเป็นผลรวม
ของการศึกษาทกุ ประเภทท่บี คุ คลได้รบั ต้ังแต่เกิดจนตาย เป็นการจดั การเรยี นรู้ท่ีสามารถให้ผู้เรียนพึ่งตนเอง
ได้ตามวถิ ีของตน อันส่งผลไปส่กู ารเกดิ สังคมแห่งการเรียนรู้” (ศศิพัฒน์ ยอดเพชร, ภาวนา พัฒนศรี และธนิกานต์
ศักดาพร, 2560) การให้การศึกษาตลอดชีวิตแก่ผู้สูงอายุสามารถกระทาได้หลายวิธีการ โดยโรงเรียน
ผู้สูงอายุนับเป็นวิธีการหนึ่งท่ีถูกนามาใช้อย่างแพร่หลายในปัจจุบัน วัตถุประสงค์หลักของโรงเรียนผู้สูงอายุ
คือ เพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ของผู้สูงอายุ แต่ในการดาเนินงานจริง มีโรงเรียนผู้สูงอายุจานวนมากไม่ได้ยึด
วัตถุประสงค์หรือแนวคิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต แต่จัดต้ังโรงเรียนเพ่ือแก้ไขปัญหาต่างๆ ของผู้สูงอายุ เช่น
ความว้าเหว่ ภาวการณ์เจ็บปุวย บางแห่งจัดต้ังโรงเรียนโดยมุ่งเน้น “สนุกอย่างเดียว” จัดกิจกรรมให้เกิด
ความสนุกสนาน ให้ข้อมูลข่าวสารบ้างเล็กน้อย อย่างไรก็ตาม พบแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงในทางท่ีดีข้ึน
กล่าวคือ โรงเรียนผู้สูงอายุหลายแห่งที่เริ่มต้นจากความสนุก ได้ปรับปรุงแบบกิจกรรมตามตัวอย่างที่ดีของ
โรงเรียนผู้สูงอายุอ่ืนๆ โดยเสริมความรู้และทักษะที่จาเป็นด้วย ดังน้ัน จึงอาจกล่าวได้ว่า โรงเรียนผู้สูงเป็น
กิจกรรมการเรียนรู้ตามอัธยาศัยนอกระบบโรงเรียน ท่ีจัดขึ้นเพื่อพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุภายใต้บริบทและ
ทรัพยากรทางสังคมของแต่ละชุมชน (สถาบันพระปกเกล้า, บริการท้องถ่ินเพ่ือการเปลี่ยนแปลงที่ดีสาหรับ
ผ้สู งู อาย,ุ 2560)

จากผลการสารวจประชากรสูงอายุในประเทศไทย พ.ศ.2560 ว่า ประเทศไทยใกล้เข้าสู่สังคมผู้สูงวัย
อย่างสมบูรณ์ ผู้สูงอายุหรือผู้มีอายุ 60 ปีข้ึนไป มีจานวนเพ่ิมข้ึนอย่างรวดเร็วและต่อเน่ือง โดยในปี 2537
คดิ เปน็ รอ้ ยละ 6.8 ของประชากรทั้งประเทศ และเพิ่มขนึ้ เปน็ ร้อยละ 16.7 ในปี 2560 เมื่อพิจารณาถึงสิทธิ
การรักษาของผู้สูงอายุหรือสวัสดิการค่ารักษาพยาบาลในปัจจุบัน (ไม่รวม ไม่ทราบว่า/ไม่มีสวัสดิการฯ)
พบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ ร้อยละ 99.2 มีสวัสดิการค่ารักษาพยาบาลหลัก มีเพียงร้อยละ 0.8 เท่าน้ันที่ไม่มี
สวัสดิการค่ารักษาพยาบาล สาหรับสวัสดิการค่ารักษาพยาบาลหลักของผู้สูงอายุส่วนใหญ่ ร้อยละ 83.2
เป็นสวัสดิการจากภาครัฐ คอื ประกันสุขภาพถ้วนหน้า (บัตรทอง) รองลงมา คือ ข้าราชการหรือข้าราชการ
บานาญ ประกันสังคม/กองทุนเงินทดแทน รัฐวิสาหกิจ และอ่ืนๆ (ร้อยละ 13.0, 1.6, 1.5, 0.7 ตามลาดับ)
สาหรับลักษณะการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุพิจารณาจากการที่ผู้สูงอ ายุอาศัยอยู่ร่วมกันกับสมาชิกอื่นๆ
ในครอบครัว พบว่า สัดส่วนของผู้สูงอายุที่อยู่คนเดียวตามลาพังในครัวเรือนมีแนวโน้มเพิ่มข้ึน โดยในปี 2537
มีผู้สูงอายุท่ีอยู่คนเดียว ร้อยละ 3.6 และเพ่ิมข้ึนเป็นร้อยละ 6.3, 7.7, 8.6, 8.7 ในปี 2545 2550 2554
และ 2557 ตามลาดับ ผลสารวจปี 2560 มีผู้สูงอายุอยู่คนเดียวตามลาพังในครัวเรือนมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น

6

เป็นร้อยละ 10.8 และผู้สูงอายุท่ีอาศัยอยู่กับสมาชิกอ่ืนๆ ในครัวเรือน เช่น อยู่กับคู่สมรส บุตร/พ่ี/น้อง/
ญาติ ผดู้ ูแลฯ มรี อ้ ยละ 89.2 (สานักงานสถิติแหง่ ชาต,ิ การสารวจประชากร 2560)

จากเหตุและผลทั้งหมดข้างต้นสานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 จึงสนใจศึกษาเก่ียวกับ
แนวทางการพัฒนาคณุ ภาพชีวิตผ้สู ูงอายใุ นท้องถนิ่ โดยใชโ้ รงเรยี นผสู้ งู อายุเปน็ ฐาน โดยเน้น ไปท่ีกิจกรรมใน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในท้องถิ่นตามองค์ประกอบขององค์การอนามัยโลก (WHO) 4 ด้าน และ
ด้านสวัสดิการสังคมท่ีพึงได้รับตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ 2546 (แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2553) โดยหวังว่า
การศึกษาน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อการจัดบริการด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุให้กับภาคส่วน
ทเี่ กย่ี วขอ้ งไดอ้ ย่างเหมาะสมและสามารถนาไปใช้เป็นแนวทางในการจัดทานโยบายและแผนพัฒนางานด้าน
คุณภาพชีวิตแก่ผู้สูงอายุในพ้ืนที่ต่อไปในอนาคต พร้อมทั้งเพ่ือให้ได้แผนพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เหมาะสมกับ
ผู้สูงอายอุ ยา่ งแทจ้ รงิ และนาไปขยายผลไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพในชุมชนและสังคมตอ่ ไป

2. วตั ถุประสงคข์ องการวิจัย
1) เพอื่ ศกึ ษาระดับคุณภาพชีวติ ของผ้สู งู อายุในท้องถิน่
2) เพอื่ ศกึ ษาความต้องการในการพฒั นาคุณภาพชีวิตผสู้ ูงอายใุ นท้องถิ่น
3) เพอ่ื ศกึ ษาแนวทางการพัฒนาคุณภาพชวี ิตผสู้ ูงอายโุ ดยใช้โรงเรยี นผู้สงู อายุเปน็ ฐาน

3. ขอบเขตโครงการวิจัย
ขอบเขตพ้ืนที่
1) พ้ืนท่ีทม่ี ีการดาเนนิ งานของโรงเรยี นผ้สู ูงอายุ
2) พน้ื ทที่ ด่ี าเนนิ โครงการสรา้ งเสรมิ ชุมชนเขม้ แข็งปี 2564 หรือพื้นท่ีท่ีดาเนินการ Social Lab ปี 2563

ในพ้นื ท่รี บั ผิดชอบของสานักงานส่งเสรมิ และสนบั สนุนวิชาการ 4 ได้แก่
- ตาบลมะเกลือเก่า อาเภอสงู เนิน จงั หวัดนครราชสมี า
- ตาบลโนนสาราญ อาเภอเมืองชยั ภมู ิ จังหวัดชยั ภมู ิ
- เทศบาลตาบลตาจง อาเภอละหานทราย จงั หวดั บุรีรัมย์
- ตาบลตะเคียน อาเภอกาบเชงิ จงั หวัดสรุ นิ ทร์
- เทศบาลตาบลจานแสนไชย อาเภอหว้ ยทับทนั จงั หวดั ศรสี ะเกษ
- ตาบลบากเรอื อาเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร

ขอบเขตเนือ้ หา
เนื้อหาในการศึกษาจะครอบคลุมเรื่องแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในท้องถิ่น โดยใช้
โรงเรียนผู้สูงอายุ องค์ประกอบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักองค์การอนามัยโลก (WHO) และศึกษา
วรรณกรรมท่ีเกยี่ วขอ้ งเกยี่ วกบั การพฒั นาคุณภาพชวี ติ ผู้สูงอายโุ ดยใช้โรงเรยี นผ้สู ูงอายุ
ขอบเขตประชากร
ประชากรและกลุ่มตัวอย่างทใี่ ช้ในครัง้ นี้ ประกอบด้วย

1) ประชากรในการเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ กลุ่มผู้สูงอายุทั้งเป็นสมาชิกและไม่เป็นสมาชิก
ของโรงเรยี นผสู้ งู อายุในพน้ื ท่ีศกึ ษา

2) ประชากรในการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ ได้แก่ กลุ่มตัวแทนภาครัฐ ผู้นาชุมชน คณะกรรมการ
ของโรงเรียนผู้สูงอายุ ผู้นาท้องถ่ิน/เจ้าหน้าท่ี อปท. ตัวแทนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล พัฒนาสังคม
และความมัน่ คงของมนุษยจ์ งั หวัด ผู้นาทอ้ งถน่ิ และตัวแทนภาคีเครือขา่ ยภาคเอกชน(ถา้ มี)

7

3) กลุ่มประชาชนทั่วไปในพื้นที่ที่เข้าร่วมเวทีคืนข้อมูลและถอดบทเรียน ได้แก่ ผู้มีส่วนร่วมหรือเคย
เข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียนผสู้ ูงอายุอย่างสม่าเสมอ เปน็ ผทู้ ม่ี ีบทบาทสาคญั ในการทากิจกรรมของโรงเรียน
ผ้สู งู อายุ เปน็ ต้น

4. นยิ ามศัพท์
การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ หมายถึง การเปล่ียนแปลงเพ่ือให้ชีวิตของผู้สูงอายุมีคุณภาพ

สามารถทาประโยชน์ให้แกส่ ังคมและครอบครัวได้ โดยผู้สูงอายุต้องมีการเตรียมพร้อมเพ่ือให้ตนเองมีคุณค่า
และเปน็ ที่ยอมรบั ของบคุ คลทว่ั ไปได้ (บุษยมาส สินธุประมา (2539, หนา้ 537-538))

คุณภาพชีวิต หมายถึง องค์ประกอบและลักษณะต่างๆ ท่ีแสดงถึงสภาพของชีวิตท่ีดารงอยู่ด้วยดี
เป็นสว่ นรว่ มที่เก้ือกูลซึ่งกันและกันกับสังคมและธรรมชาติแวดล้อม พร้อมท้ังสามารถพัฒนาตัวเองให้เจริญ
งอกงามสู่ความสันติสุขและอสิ รภาพทส่ี มบรู ณ์ (ทวีรัสมิ ธนาคม (2532: 212 -215))

ผู้สูงอายุในท้องถิ่น หมายถึง ผู้สูงอายุตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 หมายความว่า
บคุ คลซงึ่ มอี ายุเกนิ กวา่ หกสิบปบี รบิ ูรณข์ ึ้นไป และมสี ญั ชาตไิ ทยในพ้นื ทีศ่ กึ ษา

โรงเรียนผู้สูงอายุ หมายถึง การจัดการศึกษาอีกรูปแบบหน่ึงที่ต้องการให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจ
ในเรื่องท่ีมีความสาคัญต่อการดาเนินชีวิต เกิดจากแนวคิดท่ีตระหนักถึงคุณค่า ความสาคัญและพลังของ
ผู้สูงอายุ โดยการสร้างพ้ืนท่ีส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ บนพ้ืนฐานการมีส่วนร่วมของ
ชุมชนท้องถ่ิน และภาคีเครือข่าย การเกิดขึ้นของโรงเรียนผู้สูงอายุยังสอดคล้องกับแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ
ฉบับท่ี 2 (พ.ศ. 2545 – 2564) ฉบับปรับปรุง คร้ังท่ี 1 (พ.ศ. 2552) และพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546
ข้อเสนอเชิงนโยบายในเวทีการประชุมสมัชชาผู้สูงอายุระดับชาติ ปี 2553 และ 2556 และแผนระดับชาติ
หลายฉบับท่ีให้ความสาคัญกับการศึกษาเรียนรู้ตลอดชีวิต การพัฒนาศักยภาพของบุคคลอย่างต่อเนื่อง
การมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม และการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารท่ีเป็นประโยชน์ (คู่มือโรงเรียนผู้สูงอายุ :
กรมกิจการผสู้ ูงอาย,ุ 2560)

5. ประโยชนท์ ค่ี าดว่าจะได้รับ
1) เกิดแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในท้องถิ่น โดยใช้โรงเรียนผู้สูงอายุเป็นฐานในการ

ดูแลผู้สูงอายใุ นชุมชน
2) ผู้บริหาร คณะกรรมการและสมาชิกโรงเรียนผู้สูงอายุในท้องถิ่นสามารถเพิ่มเติม/ปรับปรุง

กิจกรรม/โครงการตามความตอ้ งการของผสู้ ูงอายใุ นชมุ ชนได้
3) ท้องถิ่นใกล้เคียงสามารถนาแนวทางไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตและดูแลผู้สูงอายุ

ของชมุ ชนตนเองได้

6. ระยะเวลาในการศกึ ษา
ตุลาคม 2563 – มีนาคม 2565

8

บทท่ี 2
แนวคดิ ทฤษฎี และการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวขอ้ ง

การศึกษาโครงการวิจัย “แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในท้องถ่ิน โดยใช้โรงเรียน
ผู้สูงอายุเป็นฐาน”ได้มีการศึกษา แนวคิด ทฤษฎี และการทบทวนวรรณกรรม ที่เก่ียวข้องเพื่อสังเคราะห์
เปน็ กรอบแนวคดิ ในการวจิ ัย โดยมแี นวคิด ทฤษฎี ดังต่อไปน้ี

1. ความรเู้ บอ้ื งต้นเกีย่ วกบั ผู้สงู อายุ
2. ทฤษฎีทเี่ ก่ียวขอ้ งกบั ผู้สงู อายุ
3. การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สงู อายุ
4. กฎหมายและนโยบายท่เี กยี่ วข้องกบั การพฒั นาผู้สูงอายุ
5. แนวคิดการจัดสวสั ดิการสาหรบั ผู้สงู อายใุ นสงั คมไทย
6. การจดั สวัสดิการผู้สูงอายใุ นสังคมไทย
7. การพัฒนาคณุ ภาพชีวิตผสู้ งู อายุโดยครอบครัวและชุมชนเปน็ ฐาน
8. การพฒั นาคุณภาพชีวติ ผูส้ ูงอายโุ ดยภาคเอกชน/ภาคธุรกิจ
9. การพฒั นาคณุ ภาพชีวิตผสู้ ูงอายุโดยโรงเรยี นเป็นฐาน
10. งานวจิ ยั ทเ่ี กี่ยวข้อง

1. ความรูเ้ บ้อื งตน้ เกี่ยวกบั ผ้สู ูงอายุ
1.1 สถานการณผ์ ู้สงู อายขุ องประเทศไทย
จากสถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2562 (กรมกิจการผู้สูงอายุ, 2562) สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจ

และสังคมแห่งชาติ ได้คาดประมาณว่า เมื่อกลางปี 2562 ประเทศไทยมีประชากรสัญชาติไทยและ
ไม่ใช่สัญชาติไทย แต่มีชื่ออยู่ในทะเบียนเป็นจานวน 66.4 ล้านคน และจานวนคนท่ีไม่ใช่สัญชาติไทย และไม่มี
ช่ืออยู่ในทะเบียนว่ามีอยู่ประมาณ 2.9 ล้านคน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นแรงงานข้ามชาติจากประเทศเพื่อนบ้าน
(เมียนมา กัมพูชา และลาว)

ดังนั้น ในปี 2562 มีประชากรอาศัยอยู่ในประเทศไทย รวมทง้ั หมดประมาณ 69.3 ล้านคน ในระยะเวลา 20 ปี
ที่ผ่านมานี้ ประชากรไทย (ไม่รวมแรงงานข้ามชาติ) เพ่ิมข้ึนด้วยอัตราท่ีช้ามาก คือ เพิ่มไม่ถึงร้อยละ 0.5 ต่อปี
ต่างกับในอดีตเม่ือครึ่งศตวรรษก่อน ประชากรไทยเพิ่มข้ึนด้วยอัตราที่สูงมาก คือ เพิ่มด้วยอัตราเฉล่ีย
ท่ีสูงกว่าร้อยละ 3 ต่อปี ประเทศไทยมีประชากรครบจานวน 60 ล้านคนเม่ือเดือนพฤศจิกายน 2539
นบั จนถึงปี 2562 เป็นเวลานานถึง 23 ปี แต่ประชากรไทยยังคงมจี านวนอยูท่ ห่ี ลัก 60 ล้านคน

กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย จะประกาศจานวนราษฎร ณ วันท่ี 31 ธันวาคมของแต่ละปี
ประกาศน้ีมีข้อมูลจานวนราษฎร รวมทั้งประเทศแยกเป็นเพศชาย – หญิง แยกตามจังหวัดต่างๆ รวมท้ัง
ประกาศจานวน คนเกดิ คนตาย ที่จดทะเบียนในปนี ้ันๆ ตามประกาศของกระทรวงมหาดไทย

เม่ือสิ้นปี 2562 ประเทศไทยมีประชากรรวม ทั้งสิ้น 66,558,935 คน เป็นชาย 32,605,100 คน
และหญิง 33,953,835 คน ในปี 2562 จานวนเด็กเกิดที่จดทะเบียน 618,193 คน และมีคนตายท่ีจดทะเบียน
506,211 คน

ในขณะทจี่ านวนคนเกิดในแต่ละปีได้ลดลงอย่างมาก จานวนคนตายในแต่ละปีก็ได้เพิ่มขึ้นอย่างมาก
เชน่ กัน ปี 2562 นับเป็นปีแรกท่ีจานวนคนตายในประเทศไทย เพิ่มข้ึนถึงหลัก 5 แสนคน ในช่วงที่มีเด็กเกิด
ปลี ะเกนิ กว่าล้านคน (ปี 2506 – 2526) มีการตายท่ีจดทะเบยี นเพียงปีละ 2 แสนกว่าคนเทา่ นน้ั ในปี 2514

9

มีเด็กเกิดเป็นจานวนสูงสุด คือ 1.2 ล้านคน มีคนตายเพียง 2 แสน 3 หม่ืนคน การท่ีมีคนไทยตาย
เป็นจานวนเพิ่มข้ึนทุกปีน้ันเป็นเร่ืองปกติ เพราะเม่ือประชากรไทยมีอายุสูงข้ึน มีจานวนและสัดส่วน
ของประชากรสูงอายเุ พ่มิ สงู ข้นึ ทาให้มีคนตายเพ่ิมจานวนขน้ึ

ในระยะ 2-3 ปีที่ผ่านมาน้ีจานวนเด็กเกิดได้ลดลงอย่างมาก และรวดเร็ว เม่ือปี 2560 จานวนเด็ก
เกิดในประเทศไทย ยังอยู่ที่หลัก 7 แสนคน ย่ิงถ้าเปรียบเทียบกับจานวนเด็กเกิดในช่วงระหว่างปี 2506 – 2526
ท่ีมีเด็กเกิด ปีละมากกว่าล้านคน (เด็กท่ีเกิดในช่วง 20 ปีน้ีเรียกว่า “ประชากรรุ่นเกิดล้าน”) ก็ย่ิงจะเห็น
การลดลงของ “ภาวะเจริญพันธุ์” ของคนไทยได้อย่างชัดเจน เด็กเกิด 6 แสนคนในปี 2562 เป็นจานวน
เพียงคร่ึงเดียว ของจานวนเด็กเกิดในปี 2514 ซึ่งเป็นสถิติจานวนเกิดรายปีสูงสุดในประวัติศาสตร์ไทย ในปี 2514
จานวนเด็กเกิดที่จดทะเบียน = 1,221,228 คน

ในระยะ 2-3 ปีท่ีผ่านมานี้ช่องว่างระหว่างจานวนคนเกิดและคนตาย แคบลงอย่างมาก ในปี 2562
คนเกิดมากกวา่ คนตายเพยี ง 1 แสน 1 หมนื่ คน หรือเทา่ กบั ร้อยละ 0.2 ของ ประชากรท้งั หมดเท่าน้นั

ปี 2562 เปรียบเทยี บกบั เมอ่ื 50 ปกี ่อน ปี 2512
เกดิ 618,193 คน เกดิ 1,133,526 คน
เฉล่ียคนเกิดวนั ละ 1,694 คน เฉลีย่ คนเกดิ วันละ 3,106 คน

ตาย 506,211 คน ตาย 243,444 คน
เฉลีย่ คนตายวันละ 1,387 คน เฉลีย่ คนตายวันละ 667 คน
เกิดมากกว่าตาย 111,982 คน เกิดมากกว่าตาย 890,082 คน

เฉลีย่ คนเกดิ มากกว่าคนตาย เฉลย่ี คนเกดิ มากกว่าคนตาย
วันละ 307 คน วนั ละ 2,439 คน

ในรอบครึ่งศตวรรษที่ผ่านมา ประชากรไทยได้เปล่ียนแปลงไปอย่างมาก ขนาดของประชากรไทย
ได้ขยายใหญ่ขึ้น ประมาณสองเท่าตัวและโครงสร้างอายุของประชากรเปล่ียนจาก “ประชากรเยาว์วัย”
มาเป็น “ประชากรสูงอายุ” อัตราเกิดของประชากรไทยที่ลดลงตั้งแต่ทศวรรษท่ี 2510 ทาให้สัดส่วนของ
ประชากรวัยเยาว์ลดลง ประกอบกับการท่ีคนไทยมีอายุยืนยาวทาให้สัดส่วนของประชากรสูงอายุเพิ่มสูงข้ึน
ประเทศไทย ซ่ึงเคยมีประชากรเด็ก คิดเป็นสัดส่วน มากถึงเกือบคร่ึงหนึ่งของประชากรทั้งหมดเม่ือ 50 ปี
ก่อน กลับกลายเปน็ ประชากรท่มี ีเดก็ เพยี งไมถ่ ึง 1 ใน 5 ใน ปจั จุบัน ในปี 2562 เป็นปีแรกในประวัติศาสตร์
ทปี่ ระเทศไทย มีจานวนผ้สู งู อายุ (อายุ 60 ปีขน้ึ ไป) มากกวา่ เด็ก (อายุต่ากว่า 15 ปี)

ในปี 2582 คาดประมาณว่าประเทศไทยจะมีประชากร 65.2 ล้านคน ในจานวนนี้จะเป็นประชากรชาย
31.1 ล้านคน และประชากรหญิง 34.1 ล้านคน คิดเป็นอัตราส่วนเพศเท่ากับมีประชากรชาย 91 คน
ต่อประชากรหญิง 100 คน

1.2 ความหมายของผู้สูงอายุ
ผู้สูงอายหุ รือบางคนเรยี กวา่ ผสู้ ูงวยั เปน็ คาที่บ่งบอกถึงตัวเลขของอายุว่ามีอายุมาก โดยนิยมนับตามอายุ

ตั้งแต่แรกเกิด (Chronological age) หรือท่ัวไปเรียกว่าคนแก่หรือคนชรา โดยพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน
พ.ศ. 2542 ให้ความหมายของคาว่าคนแก่ คือ มีอายุมากหรืออยู่ในวัยชราและให้ความหมายของคาว่าชรา
คือ แก่ดว้ ยอายชุ ารุดทรุดโทรม นอกจากนั้นยงั มีการเรียก ผสู้ ูงอายุว่าราษฎรอาวโุ ส (Senior citizen)

องค์การอนามัยโลก (World Health Organization, Ref. code: 25605817030033IMW 10 WHO)
และองค์การสหประชาชาติ (United Nations, UN) ใช้คาในภาษาอังกฤษของผู้สูงอายุว่า Older person or
elderly person

10

องค์การอนามัยโลกยังไม่มีการให้นิยามผู้สูงอายุโดยมีเหตุผลว่าประเทศต่างๆทั่วโลกมีการนิยามผู้สูงอายุ
ต่างกัน ทั้งนิยามตามอายุเกิด ตามสังคม (Social) วัฒนธรรม (Culture) และสภาพร่างกาย (Functional
markers) เช่น ในประเทศที่เจริญแล้วมักจัดผู้สูงอายุนับจากอายุ 65 ปีขึ้นไปหรือบาง ประเทศอาจนิยาม
ผู้สูงอายุตามอายุกาหนดให้เกษียณงาน (อายุ 50 หรือ 60 หรือ 65 ปี) หรือนิยาม ตามสภาพของร่างกาย
โดยผู้หญงิ สงู อายอุ ยใู่ นช่วง 45 - 55 ปีส่วนชายสงู อายอุ ยู่ในช่วง 55 - 75 ปี

องคก์ ารสหประชาชาติไดใ้ ห้นยิ ามว่า "ผู้สูงอายุ" คือประชากรทั้ง เพศชายและเพศหญิง ซ่ึงมีอายุมากกว่า
60 ปีข้นึ ไป (60+) โดยเป็นการนิยามนับตัง้ แตอ่ ายุเกดิ

สาหรับประเทศไทย "ผู้สูงอายุ" ตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 หมายความว่า บุคคลซึ่งมีอายุ
เกินกวา่ หกสบิ ปบี รบิ รู ณข์ ้นึ ไปและมสี ัญชาติไทย

ประเทศสหรฐั อเมรกิ ากาหนดอายุ 65 ปี ถ้า เป็นเกณฑด์ ้านร่างกาย (Physiology Aging) จะแสดงถึงอาการ
เสื่อมสลายทางทางสรีรวิทยาท่ีแตกต่าง กันในวัยสูงอายุอวัยวะต่างๆ ในร่างกาย เช่น ฟันหลุด ผิวหนังเห่ียวย่น
สายตาฝูาฟาง หากพิจารณาจาก การเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจ (Psychological Aging) เป็นการเปลี่ยนแปลง
ด้านอารมณ์ทีม่ กั ซึมเศรา้ ระส่าระส่าย ตกใจงา่ ย รวมถึงการสร้างสรรค์ ความจา และสติปัญญาท่ีลดลง ถ้าหาก
พิจารณาจากเกณฑ์ บทบาททางสังคม (Sociological Aging) จะแสดงถึงบทบาททางสังคมท่ีเปลี่ยนแปลง
เช่น ความสามารถในการประกอบอาชีพลดลง เป็นวัยที่ต้องการการพักผ่อน หรือบทบาทในครอบครัวจากผู้นา
กลับกลายเป็นผู้ตาม (ภาวณิ ี วรประดษิ ฐ, 2555 : ออนไลน)์

กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข ได้ให้นิยามของผู้สูงอายุไว้ว่า ผู้สูงอายุ คือบุคคลท่ีมีอายุมากกว่า
60 ปี ข้ึนไป ตาม พ.ร.บ. ผู้สูงอายุแห่งชาติ พ.ศ. 2540 มีการแบ่งเกณฑ์ ผู้สูงอายุตามสภาพของการมีอายุ
ท่ีเพ่ิมข้ึนในลักษณะของการแบ่งช่วงอายุของประเทศไทย ดังน้ี 1) ผู้สูงอายุ (Elderly) คือ อายุระหว่าง 60 - 69 ปี
2) คนชรา (Old) คอื อายรุ ะหว่าง 70 - 79 ปี และ 3) คนชรามาก (Very Old) คอื อายุต้ังแต่ 80 ปี (กรมสุขภาพจิต,
2558)

พระราชบัญญัตผิ ้สู งู อายุพ.ศ. 2546 กาหนดว่า บุคคลท่ีมีอายุ 60 ปีบริบูรณ์เป็นผู้สูงอายุ เกณฑ์น้ีต่างจาก
ในประเทศท่ีพัฒนาแล้ว ซ่ึงกาหนดเอาผู้มีอาย 65 ปีข้ึนไป ประเทศไทยแบ่งผู้สูงอายุ ออกเป็น 3 กลุ่ม คือ
1) ผู้สงู อายุวยั ต้น (อายุ 60 - 69 ปี) 2) ผูส้ ูงอายวุ ยั กลาง (อายุ 70 - 79 ปี) และ 3) ผู้สงู อายวุ ัยปลาย (อายุ 80 ปี ข้นึ ไป)

1.3 ความสาคัญของผสู้ งู อายุ
ประเทศไทยได้ให้ความสาคัญกับผู้สูงอายุมาตลอดและมีกฎหมายไทยทีบัญญัติเก่ียวกับผู้สูงอายุ

มีท้ังที่เป็นบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญและในพระราชบัญญัติ ซ่ึงรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534
ได้บัญญัติเกย่ี วกบั ผสู้ ูงอายมุ าตรา 81 กาหนดภารกิจให้รัฐพึงชว่ ยเหลอื หรอื สงเคราะหผ์ ู้สงู อายุอย่างจรงิ จงั

รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ได้บัญญัติเกี่ยวกับผู้สูงอายุในมาตรา 54 ของ
รฐั ธรรมนญู ปี พ.ศ. 2540 นับเป็นบทบัญญตั แิ รกของกฎหมายไทยที่กล่าวถงึ ผสู้ งู อายุ โดยกล่าวถึงผู้ซึ่งมีอายุ
เกิน 60 ปี บริบูรณ์และไม่มีรายได้เพียงพอแก่การยังชีพ ให้มีสิทธิได้รับความช่วยเหลือจากรัฐ ท้ังนี้บทบัญญัติ
ดังกลา่ วได้รบั รูว้ าผูท้ ีมีอายุเกิน 60 ปี เป็นผูท้ ี่พน้ จากวัยทางานแล้ว เมอื่ ผ้ซู ึ่งมีอายุเกนิ 60 ปี ไม่ได้รับการจ้างงาน
ก็อาจประสบความยากลาบากในการยังชีพได้

มาตรา 54 ของรัฐธรรมนูญปี พ.ศ. 2540 น้ีเป็นบทบัญญัติแรกของกฎหมายไทยท่ีพยายามตอบสนอง
ความตอ้ งการ หรอื ความจาเปน็ ของผ้สู งู อายุอย่างเฉพาะเจาะจงความช่วยเหลอื ที่รฐั อาจให้แก่ผู้สูงอายุท่ีไม่มี
รายได้เพียงพอแก่การยังชีพนั้น อาจเป็นได้ทั้งการให้เป็นเงินช่วยเหลือการจัดหางานที่เหมาะสมกับกาลัง
ของผูส้ งู อายุ

11

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มีบทบัญญัติตามมาตรา 53 บุคคลซึ่งมีอายุเกิน
60 ปบี รบิ ูรณแ์ ละรายไดไ้ มเ่ พียงพอแก่การยังชีพ มีสิทธิได้รับสวัสดิการ สิ่งอานวยความสะดวกอันเป็นสาธารณะ
อย่างสมศักดิ์ศรีและความช่วยเหลือที่เหมาะสมจากรัฐ และมาตรา 80 รัฐต้องดาเนินการตามแนวนโยบาย
ด้านสังคม การสาธารณสุขการศึกษาและวัฒนธรรม คุ้มครองและพัฒนาเด็กและเยาวชน สนับสนุนการอบรม
เล้ียงดูและใหก้ ารศึกษาปฐมวัยส่งเสริมความเสมอภาค ของหญิงและชายเสริมสร้างและพัฒนาความเป็นปึกแผน
ของสถาบันครอบครัวและชุมชน รวมทง้ั ต้องสงเคราะห์และจัดสวัสดิการให้แก่ผู้สูงอายุผู้ยากไร้ผู้พิการหรือ
ทุพพลภาพและผู้อยู่ในสภาวะยากลาบากให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึนและพ่ึงพาตนเองได้พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ
พ.ศ. 2546 สาระสาคญั ของพระราชบญั ญัติมี 2 ประการ คือ

1. การกาหนดให้มีคณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติทาหน้าท่ีกาหนดนโยบายและแผนหลักเกี่ยวกับ
การคุ้มครองการส่งเสริมและการสนับสนุน สถานภาพบทบาทและกิจกรรมของผู้สูงอายุ และให้กระทรวง
การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์เป็นหน่วยงานหลักที่ดูแล รับผิดชอบการจัดทาแนวทางปฏิบัติตาม
แผนผ้สู ูงอายุแห่งชาตขิ องหนว่ ยงานที่เกย่ี วข้อง

2. การกาหนดให้ผู้สูงอายุมีสิทธิได้รับการคุ้มครองการส่งเสริมและการสนับสนุนในด้านต่างๆ เช่น
การบริการทางการแพทย์และการสาธารณสุขที่จัดให้ผู้สูงอายุเป็นกรณีพิเศษด้วยความสะดวกและรวดเร็ว
การบริการการศึกษาการศาสนา และการให้ข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ต่อการดาเนินชีวิตการประกอบ
อาชพี หรือฝึกอาชีพท่ีเหมาะสม การท่ีประเทศไทยกาลังก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ในอนาคตอันใกล้น้ี
จานวนของผู้สูงอายุในแต่ละครัวเรือนจะมีมากกว่าคนวัยทางาน ทาให้มีความจาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องพัฒนา
ผสู้ งู อายุให้สามารถพึ่งพาตนเองได้และพ้นจากสภาพการเป็นภาระของสังคมหรือคนในครอบครัว ภารกิจนี้
เป็นหน้าทข่ี องทกุ ภาคส่วนทมี บี ทบาทในด้านการจ้างงานหรือการสร้างรายได้ มิใช่หน้าที่ของรัฐบาลเท่าน้ัน
(ธญั ญารตั น์ ฉายแสง, 2558 : ออนไลน์)

2. ทฤษฎีท่ีเกย่ี วขอ้ งกบั ผู้สงู อายุ
นักทฤษฎีผู้สูงอายุได้พิจารณากระบวนการแก่ของบุคคลว่า เป็นกระบวนการที่เช่ือมโยงสัมพันธ์ทั้ง

แนวตัง้ และแนวนอน ในแนวตั้งให้พจิ ารณาวา่ ร่างกายของบุคคลมีหลายระดับนับต้ังแต่โมเลกุลเซลล์บุคคล
กลุ่มคน และสังคมส่วนแนวนอนให้พิจารณาว่า บุคคลมีคุณลักษณะ 3 ประการ คือ เป็นอยู่ (Being) พฤติกรรม
(Behaving) และการกลายมาเปน็ (Becoming) ดงั ปรากฏการณข์ องความสงู อายุหรอื กระบวนการแก่เกิดจากปัจจัย
หลายประการไม่สามารถอธิบายได้ด้วยทฤษฎีใดทฤษฎีหนึ่ง ทฤษฎีท่ีอธิบายถึงการสูงอายุน้ันอาจแบ่งได้เป็น
3 ทฤษฎี ดงั ตอ่ ไปนี้ (อรนษิ ฐ์ แสงทองสขุ , 2562 : ออนไลน์)

1) ทฤษฎีทางชีววิทยา ได้อธิบายถึงกระบวนการทางสรีรวิทยาและการเปลี่ยนแปลงของโครงสร้าง
ของอวัยวะต่างๆ ของทงั้ การสญู เสยี ความสามารถในการต้านทานโรค พบว่า ในทุกระดับของชีววิทยาตั้งแต่
เซลลเ์ นอื้ เยอ่ื อวัยวะ ระบบอวัยวะจะตอ้ งมกี ารเสื่อมและมีการตายเกิดขึน้

2) ทฤษฎีทางจิตวิทยา เป็นทฤษฎีท่ีเช่ือว่าการเปลี่ยนแปลงบุคลิกภาพและพฤติกรรมของผู้สูงอายุน้ัน
เปน็ การพัฒนาและปรับตัวเก่ียวกับสติปัญญา ความนึกคิด ความจา และการรับรู้ แรงจูงใจ รวมทง้ั สงั คมทีอ่ ย่อู าศัย
และประสบการณ์ในอดีตของแตล่ ะบคุ คลจะผลกั ดันให้มีบุคลิกแตกต่างกันไป และมนุษย์จะมีช่วงการเปลี่ยนแปลง
คอื ช่วงตอ่ ของชีวิต ซ่งึ ลว้ นแตเ่ ป็นภาวะวิกฤต การที่บุคคลสามารถผ่านช่วงวิกฤตในชีวิตแต่ละระยะได้ดีเพียงใด
ก็จะส่งผลถงึ การพฒั นาบคุ ลิกภาพในอนาคต คอื การเป็นผูส้ ูงอายดุ ว้ ย

3) ทฤษฎีทางสังคมวิทยา เป็นทฤษฎีท่ีพยายามอธิบายสาเหตุที่ทาให้ผู้สูงอายุมีสถานะทางสังคม
ท่เี ปลีย่ นไป เพราะมนษุ ยจ์ ะต้องมีการพัฒนาในแต่ละบุคคลและสิ่งแวดล้อมจะมีผลต่อการปรับตัว ทฤษฎีน้ี

12

เช่อื ว่าถา้ สังคมเปล่ียนแปลงอยา่ งรวดเร็วจะทาให้สถานะของผู้สูงอายุเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทฤษฎีทางสังคม
แบ่งออกได้ดงั ต่อไปน้ี

3.1 ทฤษฎีไร้ภาระผูกพัน อธิบายว่า การละบทบาททางสังคม ซ่ึงจะเป็นผลดีต่อทั้งสองฝุาย
คือได้ให้คนในวัยหนุ่มสาวท่ีมีความรู้ความสามารถเข้ามาทาหน้าที่ สาหรับผู้สูงอายุเองก็จะได้เตรียมตัวรับ
กับความเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดขึ้น เป็นกระบวนการต่อเน่ืองและหลีกเล่ียงไม่ได้ และความแตกต่างในบุคลิกภาพ
ไมใ่ ชส่ ่ิงทส่ี าคัญ

3.2 ทฤษฎกี ิจกรรม กล่าวถงึ การมคี วามสัมพนั ธ์ทางบวกระหว่างบคุ คล การมีปฏสิ มั พันธ์การมีส่วนร่วม
กจิ กรรมในสงั คม และความพงึ พอใจในชีวิต เม่ือบุคคลมีอายุมากขึ้น สถานะทางสังคมจะลดลง บทบาทเก่า
จะถูกถอดถอนตัวออกไป ดังน้ันผู้สูงอายุควรมีกิจกรรมต่อเน่ืองจากวัยท่ีผ่านมาควรพอใจในการร่วมกิจกรรม
สนใจและรว่ มเป็นสมาชกิ ในกจิ กรรมตา่ งๆ กิจกรรมเป็นส่ิงสาคัญ สาหรับผู้สูงอายุทาให้มีสุขภาพดีทั้งใจและกาย
กจิ กรรมจึงมีความสาคญั ตอ่ ความพึงพอใจ ในชีวิตของผูส้ ูงอายุ

3.3 ทฤษฎีความต่อเน่ือง ได้มาจากการนาทฤษฎีไร้ภาระผูกพันและทฤษฎีกิจกรรมมาวิเคราะห์
รว่ มกัน เพ่อื หาข้อสรุปใหม่เปน็ ทฤษฎคี วามต่อเน่อื งทสี่ ามารถอธิบายชวี ิตที่แท้จริงของผู้สูงอายุได้ คือ การที่
ผู้สูงอายุจะมีความสุขในบันปลายชีวิตได้นั้นขึ้นอยู่กับบุคลิกภาพ และรูปแบบการดาเนินชีวิตเดิมของ
ผู้สูงอายุเช่น ผู้สูงอายุท่ีเคยมีบทบาทในสังคมจะมีความสุข เมื่อได้ร่วมกิจกรรมเหมือนในวัยหนุ่มสาว และ
ผู้สงู อายุที่ไม่ชอบการเขา้ รว่ มสังคมมากอ่ นก็จะมคี วามสขุ ในการแยกตวั เองในวยั สงู อายุ

ในขณะท่ี Beadle-Brown, J., Murphy, G., and DiTerlizzi, M. (2008 : 380) ได้นาเสนอการแบ่ง
คุณภาพชีวิตควบคไู่ ปกับการกาหนดตัวชว้ี ัดเปน็ 8 ดา้ น ดังน้ี

1) คณุ ภาพชวี ติ ด้านการรวมกลุ่มทางสังคม (Social Inclusion) การรวมกลุ่มทางสังคมจะเก่ียวข้อง
กับความเปน็ อนั หนง่ึ อนั เดยี วกนั ของกลุ่มทางสงั คมการมีส่วนร่วมในกลุ่มทางสังคม สภาพแวดล้อมของท่ีอยู่
อาศัยที่มีอิทธิพลต่อการรวมกลุ่มทางสังคม บทบาทในการดาเนินชีวิต (เช่น วิถีทางการดาเนินชีวิต พฤติกรรม
การปรบั เปลี่ยนวถิ กี ารดาเนินชีวิตเพื่อความเหมาะสม รวมถึงพฤติกรรมท่ีก่อให้เกิดปัญหาต่อวิถีการดาเนินชีวิต)
การช่วยเหลือ สนับสนุนต่างๆ (เช่น ความพึงพอใจในการบริการทางสังคม การยอบรับทางสังคม และสถานภาพ
ทางสังคม)

2) คุณภาพชีวิตด้านความเป็นอยู่ทางกายภาพ (Physical Well-being) ด้านความเป็นอยู่ทางกายภาพ
หมายถงึ ลกั ษณะทางสุขภาพ ซ่ึงจะเก่ียวข้องกับความปลอดภัยการมีสุขภาพดี การมีเวลาพักผ่อนหย่อนใจ
กิจกรรมในชีวิตประจาวัน กิจกรรมสันทนาการต่าง ๆ อาหารและโภชนาการ ความสามารถในการเคล่ือนไหว
ของร่างกาย และการดูแลสุขภาพ ซ่ึงสอดคล้องกับงานวิจัยของ Batista Vitorino and Martins da Silva
(2010: 3) ที่ค้นพบว่ากิจกรรมทางกายภาพและการเคล่ือนไหวอาจเป็นองค์ประกอบสาคัญที่ทาให้มี
คุณภาพชีวิตท่ีดขี องผู้สงู อายุ และทาใหผ้ สู้ ูงอายุมีความพึงพอใจอีกด้วย

3) คณุ ภาพชวี ติ ดา้ นความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล (Interpersonal Relations) ด้านความสัมพันธ์ระหว่าง
บุคคลจะเกี่ยวข้องกับปฏิสัมพันธ์ทางสังคมและการมีมิตรภาพ เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลภายใต้
บรบิ ทสถานท่ีทางานหรือบรบิ ทครอบครัว นอกจากน้ี ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลยังเกี่ยวข้องกับภาวะ
ความโดดเดี่ยวเดยี วดาย การสนับสนุน ช่วยเหลือจากเครือข่ายทางสังคม ความใกลช้ ิดสนิทสนมและความรัก

4) คุณภาพชีวติ ดา้ นปจั จัยทีม่ อี ิทธิพลต่อความเปน็ อยู่ที่ดี (Material Well-being) ด้านปัจจัยท่ีมีอิทธิพล
ต่อความเป็นอยู่ท่ีดีจะเกี่ยวข้องกับปัจจัยต่างๆ ดังนี้ อาชีพการงาน สภาพทางการเงิน การเป็นเจ้าของ
(สังหาริมทรัพย์และอสังหาริมทรัพย์) ความปลอดภัย สถานภาพทางเศรษฐกิจ ลักษณะท่ีอยู่อาศัยและ
การคมนาคมขนสง่

13

5) คุณภาพชีวิตด้านลักษณะทางอารมณ์ (Emotional Well-Being) ด้านลักษณะทางอารมณ์
จะเก่ียวข้องกบั ความพึงพอใจในการงานอาชพี ทอ่ี ยูอ่ าศัยการชว่ ยเหลือสนับสนุน ความพึง พอใจในกลุ่มทางสังคม
ของตนเอง นอกจากนี้ ด้านลักษณะทางอารมณ์ยังเก่ียวข้องกับสุขภาพจิต มโนภาพแห่งตน การไร้ความเครียด
และความสขุ ในการดาเนินชีวิต

6) คุณภาพชีวิตด้านความสามารถในการตัดสินใจด้วยตนเอง (Self-Determination) ด้านความสามารถ
ในการตดั สินใจได้ดว้ ยตนเองจะเกี่ยวข้องกบั ความมอี ิสรภาพในการตดั สินใจ การควบคุมตนเอง การกาหนด
ทิศทางการดาเนินชีวิตด้วยตนเอง อิทธิพลของที่อยู่อาศัยท่ีมีผลต่อความสามารถในการตัดสินใจการสนับสนุน
ช่วยเหลอื ด้วยคาพดู และการแกต้ า่ งเพ่อื ตนเอง

7) คุณภาพชีวิตด้านการพัฒนาตนเอง (Personal Development) ด้านการพัฒนาตนเองจะเกี่ยวข้อง
กับเรื่องของการศึกษาและทักษะในการปฏิบัติตน ความสามารถส่วนตัว การบรรลุส่ิงที่ปรารถนาความก้าวหน้า
และพัฒนาการในดา้ นต่างๆ

8) คณุ ภาพชีวิตด้านสิทธเิ สรภี าพ (Rights) ดา้ นสทิ ธเิ สรีภาพจะเกี่ยวข้องกับการเคารพในสิทธิส่วนบุคคล
สิทธิมนุษยชน สิทธิในความเป็นพลเมือง (เช่น การมีสิทธิเลือกตั้ง) ความรับผิดชอบในฐานะความเป็น
พลเมอื งและกจิ กรรมต่างๆ ซึ่งเก่ียวข้องกับชุมชนหรอื รัฐบาล

3. การพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตผู้สงู อายุ
3.1 ความหมาย ความสาคญั ของการพฒั นาคณุ ภาพชวี ิต
ความหมายของการพัฒนาคณุ ภาพชีวติ
การพัฒนาคุณภาพชีวิต เป็นการสร้างรากฐานของระดับการดารงชีวิตของคนให้ดีข้ึน โดยการให้

ความรู้ การฝกึ ด้านคณุ ธรรม การสง่ เสริมสุขภาพอนามัยการประกอบอาชีพรวมกันอยู่ร่วมกันในสังคมอย่าง
มคี วามสขุ ในประเทศไทยไดม้ กี ารสรา้ งเกณฑม์ าตรฐานของคณุ ภาพชีวติ เปูาหมายหลกั ในการ “พัฒนาคุณภาพชีวิต”
คือการให้มีความสามารถในการ “พ่ึงพาตนเอง” จุดเร่ิมต้นของการพัฒนาคุณภาพชีวิต คือเร่ิมจากการพัฒนา
“ตนเอง” ซงึ่ เป็นหนว่ ยยอ่ ยของสังคม (คนงึ นิจ อนุโรจน์, 2561 : ออนไลน์)

การพฒั นาคณุ ภาพชีวิตถือว่าเป็นสิ่งท่ีควรกระทา เพราะปัญหาคุณภาพชีวิตของมนุษย์ ส่วนใหญ่ก็
มีสาเหตุมาจากมนุษย์นน่ั เอง เชน่ ปัญหาจานวนประชากรมากเกินพอดี ปญั หาสง่ิ แวดล้อม ปัญหาทางสังคม
รวมถึงคา่ นยิ มต่างๆ ของสงั คม การพฒั นาคุณภาพชีวิต มี 4 ด้าน คือ (อัฐฉญา แพทย์ศาสตร์ และพัชรินทร์
รจุ ิรานกุ ลู , 2560 : ออนไลน์ อ้างถึงใน พัชราณี กจิ ชมพ)ู

1) การพัฒนาคณุ ภาพชีวติ เปน็ เร่ืองของระดบั การมีชีวิตทด่ี มี คี วามสขุ ความพึงพอใจในชวี ิตจะครอบคลุม
ไปถึงเร่ืองสุขภาพมาตรฐานการดารงชีวิต คุณภาพที่อยู่อาศัย ความพึงพอใจใน หน้าที่การงาน ซึ่งรวมส่ิงเหล่าน้ี
ไวใ้ นนิยามและเกณฑ์ของคณุ ภาพชีวติ

2) แนวคิดในเรือ่ งการพฒั นาสงั คม มี 3 ประเด็นหลกั ท่ีต้องดาเนินการ คือ
2.1 การขจัดความยากจน โดยใชน้ ิยามความยากจนทร่ี ฐั บาลประเทศต่างๆ ใช้คือ รายได้ของครัวเรือน

หรือบุคคลทต่ี ่ากวา่ เส้นยากจน ตวั บง่ ชอ้ี น่ื ๆ เชน่ การได้รับแคลอรี่ต่า อายุขัย และการไม่รู้หนังสือ ซึ่งถ้าเป็นเช่นนี้
ประชากรหนึ่งในสามของภาคเอเชยี แปซิฟคิ จดั อยู่ในกลุ่มผยู้ ากจนทแี่ ท้จริง

2.2 การกระจายความเป็นธรรม เร่ืองน้ีเกี่ยวข้องกับผู้ด้อยโอกาสเช่นกัน คือ สตรี เยาวชน คนพิการ
ผสู้ ูงอายุ กล่มุ ชาติพันธท์ ่ีเป็นคนกลุ่มน้อย คนเหล่านี้ไม่ได้รับโอกาสและไม่สามารถเข้าถึงบริการต่างๆ ท่ีสามารถ
นามาปรบั ปรงุ คณุ ภาพชีวิตได้

2.3 การมีส่วนร่วมของประชาชนสว่ นใหญใ่ นภูมภิ าคนไี้ ม่สามารถยกระดบั คุณภาพชีวิตของตนเองได้
เพราะถกู กดี กนั จากกระบวนการตัดสนิ ใจ และการควบคมุ สถานการณท์ ง้ั ดา้ นครอบครวั ชุมชน และองค์กรต่างๆ

14

3) แนวคิดเรื่องการพัฒนามนุษย์ แนวคิดเร่ืองการพัฒนามนุษย์เป็นทางเลือกหนึ่งของแนวคิดที่ท้าทาย
การพัฒนาท่ีผิดพลาด ซ่ึงเน้นด้านเศรษฐกิจและการใช้เศรษฐกิจเป็นตัวบ่งช้ีความสาเร็จของการพัฒนา
อย่างเดียว แนวคิดในการพัฒนามนุษย์ โดยมีมนุษย์เป็นศูนย์กลางของการพัฒนาและการพัฒนามนุษย์
แบบย่ังยืน ล้วนเป็นประเด็นที่ท้าทายและถูกกาหนดไว้เป็นเปูาหมายของการพัฒนาสังคมในการประชุมสุดยอด
เพ่อื การพัฒนาสงั คม

4) แนวคิดเร่ืองความมั่นคงของชีวิตมนุษย์ แนวคิดน้ี ได้ถูกเสนอข้ึนมาโดยสหประชาชาติถือเป็นส่วน
หนง่ึ ของดัชนี ในการพจิ ารณาการพัฒนามนุษย์ได้นาแนวคดิ นม้ี าเสนอเป็นความม่ันคงของชวี ติ มนษุ ย์ทว่ั โลก

ความสาคัญของการพัฒนาคณุ ภาพชีวติ
คุณภาพชีวิตของปัจเจกบุคคลมีความสาคัญต่อทั้งตนเองและต่อสังคม โดยมีเหตุผลสนับสนุน
(เกรยี งศกั ดิ์ เจรญิ วงศ์ศักด,์ิ 2548) ดังน้ี
1) คนท่ีมคี ุณภาพชวี ติ จะใช้ชีวิตในทางทดี่ ี ไม่ก่อใหเ้ กิดปัญหาท้ังต่อตนเองและผู้อ่นื
2) คนที่มคี ณุ ภาพชวี ิตจะปรับปรุงตนเอง สังคม และสง่ิ แวดล้อมอย่างสร้างสรรค์
3) คนท่ีมีคณุ ภาพชวี ิตจะใชส้ ตปิ ญั ญา เหตผุ ล และสนั ติในการแก้ไขปัญหา
4) คนท่มี ีคณุ ภาพชีวิตจะยอมรับในคุณค่าของตนเอง ผู้อ่ืน และส่ิงแวดล้อม จึงทาให้อยู่ร่วมกับคนอื่น
และส่ิงแวดลอ้ มอย่างราบรืน่ และปราศจากอคติ
5) คนท่ีมคี ณุ ภาพชีวติ จะทาใหเ้ กดิ ความสงบสุขในครอบครัว สังคม และทาให้ครอบครัวและสังคม
เจริญก้าวหน้า มีความมัน่ คง ปลอดภัย และเป็นระเบียบเรียบรอ้ ย
การพัฒนาคุณภาพชีวิต (อนรรฆ อิสเฮาะ, 2562 : ออนไลน์) มีความสาคัญเป็นอย่างมาก เพื่อให้
ประชาชนสามารถพัฒนาตนเองและสังคมไปสู่เปูาหมายที่พึงปรารถนา ทั้งในส่วนบุคคลครอบครัว ชุมชน
จึงต้องมีการพัฒนาในด้านร่างกายและจิตใจเพื่อให้มีแนวคิดเจตคติท่ีดีรู้จักการบริหารตนเองการเอื้ออาทร
ต่อบุคคลอ่ืน มีอาชีพและรายได้ที่พอเพียงต่อการดารงชีวิต มีคุณธรรม ศีลธรรม ถ้าหากปฏิบัติได้เช่นนี้
เท่ากบั เปน็ การยกระดับทัง้ ตนเองและสังคม ทาให้มีคณุ ค่า มีความเจริญงอกงาม ปัญหาต่างๆ ในสังคมลดน้อยลง
เช่น ปัญหาครอบครัว ปัญหาอาชญากรรม ปัญหามลภาวะเป็นพิษ เป็นต้น ประเทศต่างๆ จึงพยายาม
อย่างเต็มที่ในการพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพชีวิตของประชาชนให้มี 2 คุณภาพชีวิตที่สูงข้ึน เพื่อช่วยให้
สมาชกิ ทกุ คนในสังคมกินดอี ยู่ดี มคี วามสุขสมบูรณ์ประโยชนข์ องการพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ มีดังนี้
1) การพัฒนาคุณภาพชีวิตช่วยทาให้บุคคลสามารถดาเนินชีวิติอยู่ในสังคมโดยมีแนวทางในการ
ดารงชีวิตท่ีดขี นึ้ ซงึ่ ส่งผลให้สังคมมคี วามสงบสขุ ไปด้วย
2) การพัฒนาคุณภาพชีวิต กระตุ้นให้บุคคลและสังคมเกิดความกระตือรือร้นคิดที่จะปรับปรุงตนเอง
สงั คมและส่งิ แวดลอ้ มใหด้ ขี น้ึ อยูเ่ สมอ
3) การพัฒนาคุณภาพชีวิตทาให้บุคคลรู้จักใช้ปัญญา มีเหตุผล มีคุณธรรม จริยธรรม หลักการบริหาร
เพอ่ื มาแกไ้ ขปัญหาตา่ งๆ ที่เกดิ ขนึ้ กับตนเองและสังคม
4) การพัฒนาคุณภาพชีวิต ทาให้บุคคลและสังคมอยู่ร่วมกันด้วยความสมานฉันท์ช่วยลดปัญหา
ความขดั แย้งและปัญหาสังคม
5) การพัฒนาคุณภาพชีวิตทาให้บุคคลและสังคมที่มีความรู้ความเข้าใจอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
เกิดความร่วมมือร่วมใจในการส่งเสริมศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีและค่านิยมที่ดีงามให้เกิดขึ้นในสังคม
ดังจะเห็นได้ว่าหากคนมีคุณภาพชีวิตท่ีดีได้รับการส่งเสริมสนับสนุนให้มีคุณภาพท่ีดีย่อมนาไปสู่การพัฒนา
ประเทศชาติให้เจรญิ รุดหนา้ ก้าวไกลขน้ึ

15

3.2 องคป์ ระกอบการพัฒนาคุณภาพชวี ิต
องค์การสหประชาชาติ มีแนวคดิ การพัฒนาคุณภาพชีวติ 9 องค์ประกอบ คือ
1) ด้านสขุ ภาพ
2) ดา้ นการบรโิ ภคอาหาร
3) ดา้ นการศึกษา
4) ด้านอาชีพและสภาพของท่ีทางาน
5) ด้านบา้ นเรอื นทอ่ี ยู่อาศัย
6) ด้านหลักประกนั ทางสงั คม
7) ด้านเคร่ืองนุง่ ห่ม
8) ด้านสถานท่ีพกั ผ่อนและเวลาพกั ผ่อน
9) ดา้ นสทิ ธิมนุษยชน
โดยกล่าวเพิ่มเติมว่า สุขภาพเป็นองค์ประกอบหลักและองค์ประกอบแรกที่มีความสาคัญมาก สามารถ

ชี้บอกคณุ ภาพชวี ิตได้อยา่ งดี การบริโภคอาหารต้องครบถ้วน ถกู สุขลกั ษณะ ได้รับการศึกษาตามเกณฑ์อายุ
อาร์ ซี ซาร์มา (Sharma) ผู้เชี่ยวชาญของยูเนสโก (Unesco) กล่าวถึง องค์ประกอบของคุณภาพ

ชีวิต ไว้ 5 ประการ คือ (ศิริ ฮามสุโพธิ,์ 2536)
1) มาตรฐานการครองชีพ (Standard of Living) หมายถึง มาตรฐานความเป็นอยู่ในชีวิตประจาวัน

ของประชากร เก่ียวข้องกับรายได้ต่อบุคคล สุขภาพ การศึกษา ท่ีอยู่อาศัย และการสังคมสงเคราะห์ ส่ิงต่างๆ นี้
เป็นส่วนสาคัญทาให้มาตรฐานการครองชีพของมนษุ ยเ์ ปล่ียนแปลงได้

2) การเปลยี่ นแปลงของประชากร (Population Dynamics) หมายถึง การเปล่ียนแปลงประชากร
อันมีผลมาจากการเกิด การตาย และการย้ายท่ีอยู่อาศัย มีผลให้ประชากรเปล่ียนแปลงไปในทิศทางที่เพิ่ม
จานวนหรือลดลง การเปลี่ยนแปลงประชากรมีผลกระทบต่อสถานการณ์หลายด้าน ท้ังทางด้านเศรษฐกิจ
สงั คม ตลอดจนการจดั บริการสาธารณปู โภคปจั จัยต่างๆ ลว้ นมผี ลต่อคณุ ภาพชวี ิต

3) ระบบสังคมและวัฒนธรรม (Socio – Cultural Factors) มนุษย์เม่ือรวมกันมากจาเป็นต้องมี
ระบบ มีกฎเกณฑ์ที่เรียกว่า รูปแบบการปกครอง กฎหมาย และมีแนวปฏิบัติอันเกิดจากความเชื่อและ
ศรทั ธาในลักษณะเดียวกัน เพอ่ื ให้การดารงชีวติ รว่ มกันมคี วามสงบสุข ซ่ึงจะนาไปส่กู ารมคี ุณภาพชวี ติ ที่ดี

4) กระบวนการพัฒนา (Process of Development) การพัฒนาเป็นกระบวนการพัฒนาท่ีก่อให้เกิด
การเปล่ียนแปลงในทางท่ีดีขึ้น โดยจะต้องกระทาอย่างต่อเน่ืองกันและสัมพันธ์กับปัจจัยทางสังคม สภาพแวดล้อม
และทรัพยากร ด้านคุณภาพชีวิตท้ังระดับบุคล ครอบครัว ชุมชน และประเทศน้ัน ประชากรแต่ละกลุ่ม
จะตอ้ งมีการพฒั นาอยูเ่ สมอ เพอ่ื ใหบ้ รรลถุ ึงเปาู หมายการมีคณุ ภาพชวี ติ ทดี่ ี

5) ทรัพยากร (Resources) เป็นองค์ประกอบท่ีสาคัญอีกประการหน่ึง ประเทศท่ีมีทรัพยากรธรรมชาติ
ทส่ี มบูรณจ์ ะมที รัพยากรมนษุ ย์ที่มีคณุ ภาพพจน์ มีผลทาใหม้ าตรฐานการดารงชวี ิตอยใู่ นระดบั สูง ประเทศใด
มีสภาพตรงกันข้ามก็จะมีมาตรฐานในการดารงชีวิตอยู่ในระดับต่า ดังน้ัน ทรัพยากรจึงเป็นเคร่ืองกาหนด
ลักษณะประเทศท่ีร่ารวยและประเทศทยี่ ากจนได้

16

จากองค์ประกอบของคณุ ภาพชวี ิตดังกลา่ ว สามารถนามาเป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตได้เป็น
2 แนวทาง ดังนี้

แนวทางหลักท่ี 1 การพัฒนา “เชงิ รกุ ” มี 2 แนวทางยอ่ ย
1) ปรับปรุงประสิทธิภาพการพัฒนา ท้ังด้านทรัพยากรมนุษย์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และ
ทรพั ยากรธรรมชาติ เพื่อให้มีการใชป้ ระโยชน์อยา่ งเตม็ ที่
2) ปรับปรุงโครงสร้างการผลิตและการบริการ เพื่อลดต้นทุนสร้างการผลิต ซึ่งจะสามารถแข่งขัน
ในตลาดโลกได้ดยี ง่ิ ขึ้น
แนวทางหลักท่ี 2 การพัฒนา “เชิงแก้ไขปัญหาในอดีต” มี 1 แนวทางย่อย คือ การกระจายความเจริญ
และการสร้างความเป็นธรรม เพ่ือให้กลุ่มคนท่ีด้อยโอกาสทางเศรษฐกิจและสังคมได้รับประโยชน์จากการ
พัฒนามากขนึ้
3.3 เครือ่ งมือชวี้ ดั คณุ ภาพชีวติ
องคก์ ารอนามยั โลกชุดยอ่ ฉบับภาษาไทย เป็นเคร่ืองมือช้ีวัดการระดับคุณภาพชีวิตตามแนวคิดของ
Power, Bullinger and WHOQOL Group (2002) อ้างถึงใน เครื่องชี้วัดคุณภาพชีวิตขององค์การอนามัยโลก
ชุดย่อ ฉบับภาษาไทย (WHOQOL – BREF – THAI) โดยเคร่ืองมือวัดคุณภาพชีวิต WHOQOL– BREF–THAI
ประกอบด้วยข้อคาถาม 2 ชนิดคือ แบบภาวะวิสัย (Perceived objective) และอัตวิสัย 20 (self-report
subjective) จะประกอบด้วยองคป์ ระกอบของคณุ ภาพชีวิต 3 ด้าน คือ ด้านรา่ งกาย (physical domain) ด้านจิตใจ
(psychological domain) ด้านความสัมพันธ์ทางทางสังคม (social relationships) และด้านสิ่งแวดล้อม
(environment)
องคก์ ารสหประชาชาติ (United Nations, 2009:1-5) ไดเร่ิมโครงการพัฒนาดัชนีการพัฒนามนุษย์
(Human Development Index: HDI) โดยมีแนวคิดในการวัดคุณภาพชีวิต หรือ ความอยู่ดีมีสุข ว่าไม่ควร
เน้นในการใหความสาคัญในเชิงปริมาณเพียงอย่างเดียว เช่น รายไดหรือผลผลิต เป็นต้น แต่ควรวัดด้วย
ตวั ชว้ี ัดทางสังคมท่ีเป็นปจั จยั พืน้ ฐานในการพัฒนามนุษย์ทคี่ วรประกอบด้วย 4 ด้าน ไดแก (1) การมีชีวิตท่ียืนยาว
(2) ความรู้ (3) มาตรฐานความเปน็ อยู่ และ (4) ดัชนีความกา้ วหนา้ ของคน
โครงการพัฒนาแหงสหประชาชาติ (United Nations Development Programmed ( UNDP
2003, อ้างถึงใน กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์, 2548: 10 - 11) ประจาประเทศ
ไทยไดจดั พมิ พร์ ายงานการพัฒนาคนของประเทศไทยข้นึ มา โดยในรายงานฉบับน้ี UNDP ไดจัดสร้าง “ดัชนี
ความก้าวหน้าของคน” (Human Achievement Index-HAI) ข้ึน โดยพัฒนามาจาก “ดัชนีความขัดสน”
(Human Deprivation Index-HDI) วัตถุประสงคของ UNDP ในการพัฒนาดัชนี ความก้าวหนาของคน
เพ่ือใช้แสดงความกา้ วหน้าของการพัฒนาคนมากกว่าท่ีจะพิจารณาในเรื่องความขัดสน น่ันคือ เป็นการมอง
ภาพของผลการพัฒนาในเชงิ บวกมากกว่าจะมุ่งเน้นที่ความขาดแคลนขัดสน โดยดัชนีความก้าวหน้าของคน
มีลักษณะเป็นหลายด้านและมีนัยเชิงนโยบาย ดัชนีความก้าวหน้าของคน มีการวัดใน 8 ด้าน คือ (1) ด้านสุขภาพ
(2) ด้านการศึกษา (3) ดา้ นการทางาน (4) ด้านรายได (5) ด้านทอ่ี ยู่อาศยั และสภาพแวดล้อม (6) ด้านชีวิตครอบครัว
และชุมชน (7) ดา้ นการคมนาคมและการสอ่ื สาร และ (8) ดา้ นการมีส่วนรว่ ม
โครงการกาหนดดัชนีคุณภาพชีวิตของไทย กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์
(2548) ในฐานะท่ีเป็นหน่วยงานหลักทางด้านสังคม มีหน้าที่นาเสนอสถานการณ์คุณภาพชีวิตของคนไทย
เพ่ือให้หน่วยงานที่เก่ียวข้องใช้ในการกาหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ แผนงาน โครงการ และการดาเนินการต่างๆ
ในการส่งเสริมคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน แต่เน่ืองจากท่ีผ่านมา มีชุดข้อมูลท่ีสะท้อนคุณภาพ
ชีวิตของคนไทยอยู่หลายชุด ซึ่งหน่วยงานหลายแห่งได้จัดทาขึ้นและ เรียกชื่อต่างๆ กันไป ดังนั้น กระทรวง
การพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จึงได้ดาเนินการศึกษา ทบทวน รวบรวมข้อมูลเก่ียวกับตัวบ่งชี้

17

คณุ ภาพชีวิต เพอ่ื จัดทาดัชนคี ุณภาพชวี ิตให้เหมาะสมกับสถานการณปัจจุบัน สาหรับเป็นเคร่ืองมือวัดระดับ
คุณภาพชีวิตของคนไทย ซ่ึงประกอบด้วย 11 ด้าน คือ (1) ด้านสุขภาพ (2) ด้านการศึกษา (3) ด้านที่อยู่อาศัย
(4) ดานส่งิ แวดล้อม (5) ดา้ นรายได้ (6) ดา้ นการทางาน (7) ดา้ นจริยธรรม (8) ดานครอบครัว (9) ดา้ นความปลอดภัย
(10) ดา้ นการคมนาคมและการสื่อสาร และ (11) ด้านการมสี ว่ นรว่ ม

ตัวช้ีวัดความอยู่ดีมีสุขของคนไทย สศช. (2545, อ้างถึงใน กระทรวงการพัฒนาสังคมและความ
มั่นคงของมนุษย, 2548: 9-10) ไดกาหนดแนวคิดในการประเมินการพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
ขนึ้ มา โดยเรียกแนวคิดน้ีว่า “ความอยู่ดีมีสุขของคนไทย” ความหมายของแนวคิดนี้ สศช. ระบุว่าหมายถึง
การมีสุขภาพที่ดีทั้งร่างกายและจิตใจ มีความรู้ มีงานทาท่ีท่ัวถึง มีรายได้ เพียงพอต่อการดารงชีพ มีครอบครัว
ที่อบอุ่นมั่นคง อยู่ในสภาพแวดล้อมท่ีดีและอยู่ภายใตระบบ บริหารจัดการท่ีดีของภาครัฐ โดย สศช.
กาหนดสว่ นประกอบของความอยูดีมสี ขุ ไว 7 ด้าน คอื (1) ดา้ นสุขภาพอนามัย (2) ด้านความรู้ (3) ด้านชีวิต
การทางาน (4) ด้านรายได้และการกระจายรายได้ (5) ด้านชีวิตครอบครัว (6) ด้านสภาพแวดล้อม และ
(7) ดา้ นการบรหิ ารจัดการทด่ี ี (ณิศาภทั ร ม่วงคา, 2559)

สุวฒั น์ มหัตนิรันดร์กุล (2540: 54) ได้แปลและพัฒนาเครื่องช้ีวัดคุณภาพชีวิตชุดย่อฉบับภาษาไทย
(WHOQOL- BREF- THAI, 1997) จากเครื่องชี้วัดคุณภาพชีวิตชุดย่อขององค์การอนามัยโลกฉบับ
ภาษาอังกฤษ แบง่ เปน็ 4 ดา้ น (อรนิษฐ์ แสงทองสุข, 2562 : ออนไลน์) คอื

1) ด้านสุขภาพกาย (Physical domain) คือ การรับรู้สภาพทางร่างกายของบุคคล ซึ่งมีผลต่อ
ชวี ิตประจาวนั เช่น การรบั รู้สภาพความสมบรู ณ์แข็งแรงของรา่ งกาย การรบั รถู้ งึ ความรู้สกึ สบาย ไม่มีความเจ็บปวด
การรับรู้ถึงความสามารถที่จะจัดการกับความเจ็บปวดของร่างกายได้ การรับรู้ถึงพละกาลังในการดาเนิน
ชีวติ ประจัน การรบั รเู้ ร่อื งการนอนหลบั และการพกั ผอ่ น ซึ่งการรบั รู้เหลา่ น้ีมีผลต่อการดาเนินชีวิตประจาวัน
การรับรู้ท่ีเป็นอิสระไม่ต้องพาผู้อ่ืน การรับรู้ในความสามารถในการเคลื่อนไหวของตน สามารถไปไหนมา
ไหนด้วยตนเองโดยไม่ต้องพ่ึงพาผู้อื่น การรับรู้ถึงความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวันการรับรู้ถึง
ความสามารถในการทางาน การรับรู้ว่าตนไม่ต้องพึ่งพายาต่างๆ หรือการรักษาทางการแพทย์อื่นๆ เป็นต้น
มี 7 ตัวช้ีวัด ได้แก่ (1) ความเจ็บปวดและความไม่สบาย (2) กาลังวังชาและความเหน่ือยล้า (3) การนอน
หลับพักผ่อน (4) การเคลื่อนไหว (5) การดาเนินชีวิตประจาวัน (6) การใช้ยาหรือการรักษา และ (7) ความสามารถ
ในการทางาน

2) ด้านจิตใจ (Physical domain) คือ การรับรู้สภาพทางจิตใจของตนเอง เช่น การรับรู้ความรู้สึก
ทางบวกที่บุคคลมีต่อตนเอง การรับรู้ภาพลักษณ์ของตนเอง การรับรู้ถึงความรู้สึกภาคภูมิใจในตนเองการ
รับรู้ถึงความม่ันใจในตนเองการรับรู้ถึงความคิด ความจา สมาธิและการตัดสินใจ และความสามารถในการ
เรียนรู้เร่ืองราวต่างๆ ของตนที่มีผลต่อการดาเนินชีวิต เช่น การรับรู้ถึงเร่ืองของความเช่ือด้านจิตวิญญาณ
ศาสนา การให้ความหมายของชีวิตและความเชื่ออื่นๆ ที่มีผลในทางที่ดีต่อการดาเนินชีวิต มีผลต่อการ
เอาชนะอุปสรรครับรู้ถึงความสามารถในการจัดการกับความเศร้ากังวลและส้ินหวัง เป็นต้น มี 6 ตัวช้ีวัด
ได้แก่ (1) ความรู้สึกในด้านดี (2) การคิดการเรียนรู้ ความจาและสมาธิ (3) การนับถือตนเอง (4) ภาพลักษณ์
และรูปร่าง (5) ความรู้สึกในทางท่ไี มด่ ี และ (6) จติ วญิ ญาณ ศาสนาและความเช่อื สว่ นบุคคล

3) ด้านสัมพันธภาพทางสังคม (Social relationships) คือ การรับรู้เรื่องความสัมพันธ์ของตนเอง
กับบุคคลอ่ืน การรับรู้ถึงการท่ีได้รับความช่วยเหลือจากบุคคลอื่นในสังคม การรับรู้ว่าตนได้ เป็นผู้ให้
ความชว่ ยเหลือบุคคลอ่ืนในสงั คมด้วย รวมถงึ การรับรู้ในอารมณ์ทางเพศ หรือการมีเพศสมั พันธ์ มี 3 ตัวช้ีวัด
ได้แก่ (1) สัมพันธภาพทางสงั คม (2) การชว่ ยเหลือสนับสนุนทางสงั คม และ (3) กจิ กรรมทางเพศ

4) ดา้ นสงิ่ แวดล้อม (Environment) คือ การรับรู้เก่ียวกับสิ่งแวดล้อมท่ีมีผลต่อการดาเนินชีวิต เช่น
การรับรวู้ า่ ตนเองมชี ีวิตอยู่อย่างอิสระ ไม่ถูกกักขัง มีความปลอดภัย มีความมั่นคงในชีวิต มีท่ีอยู่อาศัยท่ีเอ้ือ

18

ต่อสุขภาพ การรับรู้ว่าได้อยู่ในส่ิงแวดล้อมทางกายภาพที่ดีปราศจากมลพิษต่างๆ การคมนาคมสะดวก
มีแหล่งประโยชน์ด้านการเงิน การบริการทางสุขภาพและสังคมสงเคราะห์ การรับรู้ว่าตนเองมีโอกาสท่ีจะได้รับ
ข่าวสารหรือฝึกฝนทักษะต่างๆ การรับรู้ว่าตนได้มีกิจกรรมสันทนาการและมีกิจกรรมในเวลาว่าง เป็นต้น
มี 8 ตัวช้ีวัด ได้แก่ (1) ความปลอดภัยทางด้านร่างกายและความม่ันคงในชีวิต (2) สภาพแวดล้อมของบ้าน
(3) แหล่งการเงิน (4) การดูแลสุขภาพและบริการทางสังคม (5) การรับรู้ข้อมูลข่าวสารและทักษะใหม่ (6) การมี
สว่ นร่วมมีโอกาสพักผ่อนหย่อนใจและมีเวลาวา่ ง (7) สภาพแวดล้อม และ (8) การคมนาคม

3.4 ความหมาย ความสาคัญของการพฒั นาคุณภาพชีวิตผู้สงู อายุ
ความหมายของการพัฒนาคุณภาพชีวติ ผูส้ งู อายุ
การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ (บุษยมาส สินธุประมา, 2539) ได้อธิบายว่า เพ่ือให้ชีวิตของ

ผู้สูงอายุมีคุณภาพ สามารถทาประโยชน์ให้แก่สังคมและครอบครัวได้ ผู้สูงอายุจะต้องมีการเตรียม
สถานการณ์ไว้เพอื่ ให้ตนเองมคี ุณค่าและเปน็ ทย่ี อมรบั ของบุคคลทั่วไปในด้านตา่ งๆ ดังต่อไปน้ี

1) ด้านรายได้ จะต้องร้จู กั เก็บออมตงั้ แต่วัยหน่มุ สาวเพื่อไว้ใช้ในยามชรา และทาประกัน สวัสดิการ
สงั คมไวด้ ้วย

2) ที่อยู่อาศัยต้องเป็นส่วนตัวสงบเงียบ บรรยากาศธรรมชาติ มีเคร่ืองมือเครื่องใช้ท่ีจาเป็นสะอาด
ปลอดภยั ลกู หลานสามารถไปเย่ยี มเยียนดแู ลไดส้ ะดวก และสมา่ เสมอ

3) การเจ็บปุวย ต้องดูแลรักษาร่างกายอย่างสม่าเสมอ พักผ่อนให้เพียงพอ ออกกาลังกายเป็น
ประจาตามสมควร และเลือกรับประทานอาหารที่มีคุณค่าปริมาณพอดี รวมท้ัง ควรรู้จักกับสถานพยาบาลต่างๆ
ไว้ยามปกติและยามฉุกเฉนิ

4) การใชเ้ วลา ต้องเตรยี มตวั เตรียมใจยอมรบั สภาพการณใ์ นชีวิต ควรจะหางานอดเิ รกหรือกจิ กรรมต่างๆ
ทาเพื่อประโยชน์ต่อตนเองและผู้อื่น เช่น การอ่านเขียนหนังสือ ทาบุญทาทาน ออกกาลังกาย การรดน้า
ต้นไม้ และเก็บกวาดบา้ น เป็นต้น

5) การปรับตัว ต้องรู้จักตนเอง และเข้าใจเด็กวัยลูกหลาน เพ่ือจะทาให้การอยู่ร่วมกันระหว่าง
ผู้สูงอายแุ ละลูกหลานเปน็ ไปอย่างปกติสุข

6) ดา้ นธรรมะและสมาธิ ควรเตรียมตัวเตรียมใจท่ีจะยอมรับความเจริญและความเสื่อมของสังขาร
และสรรพส่งิ รอบตัว ฝึกจิตให้เข้มแข็งขึ้น ทาจิตให้ปล่อยว่าง และกล้าเผชิญต่อทุกสิ่ง เพ่ือนามาซ่ึงความสุข
สงบแกต่ นเองและครอบครวั

ความสาคัญของการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ผสู้ ูงอายุ
ประเทศไทยเป็นสังคมผู้สูงอายุจากความก้าวหน้าด้านการแพทย์และความสาเร็จด้านสาธารณสุข
ของประเทศไทย ทาให้อัตราการเกิดน้อยลง ประชากรมีอายุยืนยาวมากขึ้น ในขณะท่ีแนวโน้ม ผู้สูงอายุอยู่
คนเดียวหรืออยู่ลาพังเพิ่มมากขึ้น โดยพบว่าผู้สูงอายุอยู่คนเดียวเพิ่มเท่าตัวซึ่งมีผลต่อการให้การดูแล
ผู้สงู อายุทง้ั ด้านรา่ งกายและจิตใจ ประเทศไทยมีเปูาหมายให้ประชาชนมีอายุยืนยาว และมีคุณภาพชีวิตท่ีดี
การพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ผสู้ งู อายเุ ปน็ ส่งิ สาคญั เน่ืองจากสถานการณ์ผ้สู ูงอายุที่เพ่ิมขึ้นและผู้สูงอายุในกลุ่มติดสังคม
เป็นผู้สูงอายุท่ีพบเป็นส่วนใหญ่ การให้ความสาคัญกับผู้สูงอายุในกลุ่มติดสังคม จึงเป็นสิ่งที่จาเป็น เพ่ือการ
ชะลอความเสอื่ มของผู้สูงอายุไปสู่กลุ่มติดบ้านและกลุ่มติดเตียง ขณะเดียวกันก็เป็นการพัฒนา ฟ้ืนฟู ให้สามารถ
ดารงชีวติ ได้มคี ุณภาพชีวติ ท่ีดีข้ึนทั้งทางด้าน รา่ งกาย จติ ใจ สัมพันธภาพทางสังคมและส่ิงแวดล้อม ปัจจุบัน
มีการรวมกลุ่มของผู้สูงอายุที่เรียกว่า “โรงเรียนผู้สูงอายุ” เป็นการรวมกลุ่มของผู้สูงอายุในการจัดกิจกรรม
ทสี่ ง่ เสรมิ การเรียนรตู้ ลอดชวี ติ การพฒั นาทกั ษะสู่คณุ ภาพชวี ิตที่ดี (พชั ราภรณ์ พัฒนะ, 2560)

19

3.5 ปรชั ญา หลักการพฒั นาคุณภาพชีวติ ผู้สงู อายุ
ผู้สงู อายไุ ม่ใช่บุคคลด้อยโอกาสหรือเป็นภาระต่อสังคม แต่สามารถมีส่วนร่วมเป็นพลังพัฒนาสังคม

จึงควรได้รับการส่งเสริมและเกื้อกูลจากครอบครัว ชุมชน และรัฐ ให้ดารงชีวิตอยู่อย่างมีคุณค่า มีศักด์ิศรี
และคงไว้ซึ่งภาวะสุขภาพและความเปน็ อยู่ที่ดใี ห้นานท่ีสุด ขณะเดียวกันผู้สูงอายุที่ประสบความทุกข์ยากต้องได้รับ
การเกอ้ื กลู จากครอบครวั ชมุ ชน สังคม และรฐั อย่างทว่ั ถงึ และเปน็ ธรรม

การสรา้ งหลักประกนั ในวัยสงู อายุเป็นกระบวนการสร้างความมั่นคงให้แก่สังคม โดยการมีส่วนร่วม
จากผู้มสี ว่ นเกย่ี วข้องทกุ ภาคส่วน ได้แก่

1) ประชากรชว่ ยตนเอง
2) ครอบครวั ดแู ล
3) ชุมชนช่วยเก้ือกูล
4) สงั คม รฐั สนบั สนนุ
โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ควรมีการบูรณาการให้เหมาะสมกับสถานการณ์อย่างต่อเน่ือง
เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีทั้งกายและจิตใจ ด้วยการดารงชีวิตอย่างมีคุณค่า มีศักด์ิศรี
พึ่งตนเองได้และมหี ลักประกนั ทมี่ นั่ คง (ฉมานันท์ แกว้ อนิ ต๊ะ, 2554 : ออนไลน์)
3.6 องค์ประกอบคุณภาพชวี ิต
องค์การอนามัยโลก ได้แบ่งองค์ประกอบของคุณภาพชีวิตไว้ 6 ด้าน คือ ด้าน ร่างกาย ด้านจิตใจ
ดา้ นระดบั ความเป็นอสิ ระของบคุ คล ด้านความสัมพันธท์ างสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านความเช่ือส่วนบุคคล
ต่อมาในปี ค.ศ.1995 ทีมพัฒนาคุณภาพชีวิตขององค์การอนามัยโลก ได้จัดองค์ประกอบใหม่โดยรวม
องค์ประกอบบางด้านเข้าด้วยกัน คือ ด้านร่างกายกับ ด้านระดับความเป็นอิสระส่วนบุคคล และด้านจิตใจ
กบั ดา้ นความเช่อื สว่ นบุคคล จึงเหลือเพยี ง 4 ด้าน ดังน้ี (ชมุ พร ฉา่ แสง และคณะ, 2555)
1) ด้านร่างกาย (Physical) คือ การรับรู้สภาพทางด้านร่างกายของบุคคลซึงมีผลต่อชีวิตประจาวัน
ได้แก่ การรับรู้สภาพความสมบูรณ์แข็งแรงของร่างกาย การรับรู้ถึงความรู้สึกสุขสบาย ไม่มีความเจ็บปวด
การรับรู้ถึงความสามารถท่ีจะจัดการกับความเจ็บปวดทางด้านร่างกาย การรักษาทางการแพทย์ การรับรู้
พละกาลังในการดาเนนิ ชวี ิตประจาวัน การพักผ่อนนอนหลับ การปฏบิ ัตกิ จิ วัตรประจาวันและการทางาน
2) ด้านจิตใจ (Psychological) คือ การรับรู้สภาพทางจิตใจของตนเอง ได้แก่ การ รับรู้ความรู้สึก
ทางบวกที่บุคคลมีต่อตนเอง การรับรู้ภาพลักษณ์ของตนเอง ความรู้สึกภาคภูมิใจใน ตนเอง ความมั่นใจในตนเอง
การรับรู้ถึงความคิด ความจา สมาธิ การตัดสินใจ ความสามารถจัดการ กับความเศร้า ความกังวล การรับรู้
ถึงความเช่ือด้านจิตวิญญาณ ศาสนา การให้ความหมายของชีวิต และความเช่ืออ่ืนๆ ที่มีผลต่อการดาเนินชีวิต
และการเอาชนะอปุ สรรคตา่ งๆ ที่เกิดข้นึ
3) ด้านความสัมพันธ์ทางสังคม (Social Relationship) คือ การรับรู้ด้าน ความสัมพันธ์ของตนเอง
กบั บคุ คลอนื่ การรับรูถ้ งึ การได้รับความช่วยเหลอื จากบุคคลอ่ืนในสงั คม การรบั รวู้ ่าตนได้เป็นผู้ให้ความช่วยเหลือ
บุคคลอ่นื ในสงั คมด้วย รวมท้ังการรบั รใู้ นเรืองอารมณ์ทาง เพศหรอื การมเี พศสัมพันธ์
4) ดา้ นส่งิ แวดลอ้ ม (Environment) คือ การรับรู้เกี่ยวกับส่ิงแวดล้อมทีมีผลต่อการดาเนินชีวิต เช่น
การรับรู้ว่าตนมีชีวิตอยู่อย่างอิสระ ไม่ถูกกักขัง มีความปลอดภัยและมั่นคงในชีวิต การรับรู้ว่าได้อยู่ใน
ส่ิงแวดล้อมทางกายภาพท่ีดี การคมนาคมสะดวก มีแหล่งประโยชน์ด้านการเงิน มีสถานบริการสุขภาพ สถาน
บริการทางสังคม การรับรู้ว่าตนมีโอกาสได้รับข่าวสาร ได้มี กิจกรรมสันทนาการและมีกิจกรรมในเวลาว่าง
เป็นตน้
เฟอร์รานส์ และ พาวเวอร์ส(อิ่มทิพย์ อนิศดา, 2555;อ้างอิงจาก Ferran; & Power. 1992) ได้
วเิ คราะห์ปจั จัยขององค์ประกอบคุณภาพชวี ติ จึงไดส้ รุปองค์ประกอบของคุณภาพชีวิตเป็น 4 องคป์ ระกอบ คือ

20

1) ด้านสขุ ภาพและหนา้ ที่ ประกอบดว้ ย สุขภาพของตนเอง ความเครียด การดูแล สุขภาพ การพึ่งตนเอง
ทางร่างกาย เพศสัมพันธ์ ความรับผิดชอบต่อครอบครัว การบาเพ็ญประโยชน์ การทากิจกรรมในยามว่าง
ความสามารถในการเดินทาง การสรา้ งความสุขในวัยสูงอายุ และอายุยืน

2) ด้านสังคมและเศรษฐกิจ ประกอบด้วย มาตรฐานการดารงชีวิต การพึ่งพาตนเอง ด้านการเงิน
ทีพ่ ักอาศยั การทางาน เพื่อนบา้ น สภาพการณ์ของบ้านเมือง การไดร้ ับการสนับสนนุ ทางจิตใจ การศึกษา

3) ด้านจิตใจและวิญญาณ ประกอบด้วย ความพอใจในชีวิต ความสุขทั่วไป ความพอใจ ในตนเอง
จุดม่งุ หมายในชวี ติ ความสงบสุขของจติ ใจ ความศรัทธาในศาสนา รูปรา่ งหนา้ ตาของตน

4) ดา้ นครอบครัว ประกอบด้วย ความสุขในครอบครัว ภาวะสุขของสมาชิกในครอบครัว บุตร และ
ความสัมพันธก์ บั ผ้สู มรส

Campbell (1976: 117 - 124) ได้กาหนดองคป์ ระกอบคณุ ภาพชีวติ เป็น 3 ดา้ น ดงั นี้
1) ด้านกายภาพ ประกอบดว้ ย ปัจจัยด้านมลภาวะ ความหนาแน่นของประชากรและสภาพท่ีอยู่อาศยั
2) ดา้ นสังคม ประกอบด้วย ปจั จยั ดา้ นการศึกษา สขุ ภาพอนามัย และความหนาแน่นของครอบครวั
3) ดา้ นจิตวทิ ยา ประกอบด้วย ปจั จยั ดา้ นความพึงพอใจ ความสาเร็จ ความผิดหวังและความขับข้องใจ
ในชวี ติ
ทวีรสั มิ ธนาคม (2532: 212 -215) ได้ให้ความหมายคุณภาพชีวิต คือ คุณสมบัติของชีวิตที่เป็นอยู่ดี
หมายถึง องค์ประกอบและลักษณะต่างๆ ที่แสดงถึงสภาพของชีวิตท่ีดารงอยู่ ด้วยดีเป็นส่วนร่วมท่ีเกื้อกูล
ซ่ึงกันและกันกับสังคมและธรรมชาติแวดล้อม พร้อมท้ังสามารถพัฒนาตัวเองให้เจริญงอกงามสู่ความสันติ
สขุ และอิสรภาพที่สมบรู ณ์ (จักรพงษ์ เกเยน็ , 2554 : ออนไลน์) เชน่
1) มีสขุ ภาพดี มีพลานามัย
2) พึง่ ตนเองได้ในทางเศรษฐกิจ เชน่ มอี าชพี ท่ปี ระกอบโดยประหยัดและสุจริตมี เงนิ พอใชแ้ ละใช้เงนิ เปน็
3) มอี าหารทีม่ ีคุณค่า มกี นิ และกนิ เป็น
4) มีที่อยู่อาศัยและท่ีทางานที่เหมาะสม ไม่แออัด สะอาด สะดวกสบายต่อการดาเนินชีวิตการทางาน
และการเดนิ ทาง
5) มคี วามปลอดภยั ทง้ั ใจกาย เชน่ ปราศจากโจรผรู้ ้ายและอบายมขุ
6) มธี รรมชาติแวดล้อมที่เกือ้ กูล รนื่ รมย์ สวยงาม ดินน้าอากาศบรสิ ุทธ์ิไร้มลพิษ
7) มคี วามสัมพนั ธใ์ นครอบครัวทเ่ี ปน็ สุข ทง้ั อบอนุ่ และรม่ เย็น
8) มสี งั คมที่มสี วัสดกิ ารและบริการดี อานวยสทิ ธเิ สรีภาพ ความเสมอภาคและ ไมตรีสงเคราะห์
9) มีสังคมที่มีระเบียบวินัย มีขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม และกฎหมายที่เป็นธรรม และ
เอือ้ ตอ่ การพัฒนาชวี ิตและสังคม
10) อยู่ร่วมและทางานร่วมกับผู้อื่นได้ดี เอ้ือเฟ้ือ มีน้าใจและกรุณา ยุธรรม ผูกมิตรและขวนขวาย
ทากจิ ท่ีเปน็ ประโยชน์
11) มเี วลาวา่ งเป็นของตนเอง และรู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ในการเสวย ความรื่นรมย์บันเทิงที่ดี
ชืน่ ชมซาบซง้ึ ในสงิ่ สุนทรีและในการพัฒนาตนเองยิ่งข้ึนไปในด้านต่างๆ
12) มีการศึกษา รู้เข้าใจเท่าทันเหตุการณ์ มีประสบการณ์ที่เป็นฐานของการ ดาเนินชีวิตและตัดสินใจ
อย่างฉลาด
13) มีวิจารณญาณ รจู้ กั คิดรู้จกั แกป้ ัญหา ดาเนนิ ชีวติ ดว้ ยปัญญา มีกุศลวิธที ่จี ะแกไ้ ขคลายทุกข์ได้
14) มีจิตใจท่ีพัฒนากอปรด้วยคุณธรรมและจริยธรรมและประพฤติดีงามสุจริตทั้ง กายวาจา ใจ ม่ันใจ
คุณค่าแหง่ ชวี ิตของตน

21

15) มีสขุ ภาพจิตดี มีความมั่นคงทางจิต มีเจตคติดีงาม จิตใจปลอดโปร่ง เบิกบานผ่องใสเป็นสุข มองโลก
และชีวติ ตามความเป็นจรงิ

4. กฎหมายและนโยบายทเ่ี กย่ี วข้องกับการพัฒนาผูส้ ูงอายุ
4.1 กฎหมายเกย่ี วข้องกับการพฒั นาผสู้ งู อายุ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2564 บทบัญญัติท่ีบรรจุหลักการท่ีเก่ียวข้องกับ

ผู้สูงอายุ จานวน 2 หมวด ดังนี้ หมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย มาตรา 27 วรรคสาม การ
เลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคล ไม่ว่าด้วยเหตุความแตกต่างในเรื่องถิ่นกาเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ
อายุ ความพิการ สภาพทางกายหรือสขุ ภาพ สถานภาพของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม ความเชื่อ
ทางศาสนา การศึกษาอบรม หรอื ความคิดเห็นทางการเมืองอันไม่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญหรือเหตุ
อ่นื ใด จะกระทามไิ ด้ วรรคส่ี มาตรการท่ีรัฐกาหนดข้นึ เพอื่ ขจัดอุปสรรคหรอื ส่งเสรมิ ใหบ้ คุ คลสามารถใช้สิทธิ
หรือเสรีภาพได้เช่นเดียวกับบุคคลอื่น หรือเพื่อคุ้มครองความสะดวกให้แก่ เด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ
หรือผู้ด้อยโอกาสย่อมไม่ถือว่าเป็นการเลือกปฏิบัติ มาตรา 48 วรรคสอง บุคคลซ่ึงมีอายุเกินหกสิบปีและไม่
มีรายได้เพียงพอแก่การยังชีพ และบุคคลผู้ยากไร้ย่อมมีสิทธิ ได้รับความช่วยเหลือที่เหมาะสมจากรัฐตามท่ี
กฎหมายบัญญัติ หมวด 6 แนวนโยบายแห่งรัฐ มาตรา 71 วรรคสาม รัฐพึงให้ความช่วยเหลือเด็ก เยาวชน
สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ยากไร้ และผู้ด้อยโอกาส ให้สามารถดารงชีพได้อย่างมีคุณภาพ และคุ้มครอง
ปูองกันมิให้บุคคลดังกล่าวถูกใช้ความรุนแรงหรือปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรม รวมตลอดทั้งให้การบาบัด ฟื้นฟู
และเยียวยาผู้ถูกกระทาการดังกล่าว

4.1.1 ยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ. 2561 - 2580 (ฉบับเสนอสภานติ ิบัญญตั ิแห่งชาติ)
ประเด็นยุทธศาสตร์ชาติ : เพ่ือให้ประเทศไทยสามารถยกระดับการพัฒนาให้บรรลุตามวิสัยทัศน์

“ประเทศไทยมีความม่ันคง ม่ังคั่ง ย่ังยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง”และเปูาหมายการพัฒนาประเทศข้างต้น จึงจาเป็นต้องกาหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ
ระยะยาวจานวน 6 ยุทธศาสตร์ โดยมียุทธศาสตร์ที่เก่ียวข้อง กับการขับเคล่ือนงานด้านผู้สูงอายุจานวน
2 ยุทธศาสตร์ ได้แก่

1) ยทุ ธศาสตร์ชาติด้านการพฒั นาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์
มีเปูาหมายการพัฒนาท่ีสาคัญเพ่ือพัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง

และมีคุณภาพ โดยคนไทยมีความพร้อมท้งั กาย ใจ สติปัญญา มีพัฒนาการท่ีดีรอบด้านและมีสุขภาวะที่ดีใน
ทกุ ช่วงวัย มีจิตสาธารณะ รับผดิ ชอบต่อสงั คมและผูอ้ ่ืน มัธยสั ถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวินัย รักษาศีลธรรม
และเป็นพลเมืองดีของชาติ มีหลักคิดท่ีถูกต้อง มีทักษะที่จาเป็นในศตวรรษที่ 21 มีทักษะส่ือสารภาษาอังกฤษ
และภาษาที่ 3 และอนุรักษภ์ าษาทอ้ งถิ่น มีนิสัย รักการเรยี นรแู้ ละการพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต
สกู่ ารเป็นคนไทยท่ีมที กั ษะสงู เป็นนวตั กร นักคดิ ผ้ปู ระกอบการ เกษตรกรยุคใหม่ และอ่ืนๆ โดยมีสัมมาชีพ
ตามความถนัดของตนเอง

2) ยทุ ธศาสตร์ชาตดิ า้ นการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
มเี ปาู หมายการพัฒนาที่สาคัญที่ให้ความสาคัญการดึงเอาพลังของภาคส่วนต่างๆ ทั้งภาคเอกชน

ประชาสงั คม ชุมชนท้องถน่ิ มาร่วมขบั เคลื่อน โดยการสนบั สนนุ การรวมตัวของประชาชนในการร่วมคิดร่วม
ทาเพื่อสว่ นรวม การกระจาย อานาจและความรับผิดชอบไปสู่กลไกบริหารราชการแผ่นดินในระดับท้องถ่ิน
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนในการ จัดการตนเอง และการเตรียมความพร้อมของประชากรไทย
ท้ังในมิติสุขภาพ เศรษฐกิจ สังคม และสภาพแวดล้อมให้เป็น ประชากรที่มีคุณภาพสามารถพ่ึงตนเอง

22

และทาประโยชน์แก่ครอบครัว ชุมชน และสังคมให้นานท่ีสุด โดยรัฐให้หลักประกัน การเข้าถึงบริการ
และสวสั ดกิ ารท่มี ีคณุ ภาพอยา่ งเปน็ ธรรมและทัว่ ถึง

4.1.2 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564)
หลักการพัฒนาประเทศที่สาคัญในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ยึดหลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพียง” “การพัฒนาท่ียั่งยืน” และ “คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา” ที่ต่อเน่ืองจากแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 9 - 11
และยึดหลักการ เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ลดความเหล่ือมล้าและขับเคลื่อนการเจริญเติบโตจากการเพ่ิม
ผลิตภาพการผลิตบนฐาน การใช้ภูมิปัญญาและนวัตกรรม ยุทธศาสตร์ในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 มียุทธศาสตร์
ที่เกี่ยวขอ้ งกบั งานดา้ นผสู้ งู อายุ จานวน 2 ยุทธศาสตร์ ดังนี้

1) การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ แนวทางการพัฒนาสาคัญ ประกอบด้วย
(1) ปรับเปลี่ยนค่านิยมคนไทยให้มีคุณธรรม จริยธรรม มีวินัย จิตสาธารณะ และพฤติกรรมที่พึงประสงค์
(2) พัฒนาศักยภาพ คนให้มีทักษะ ความรู้ และความสามารถในการดารงชีวิต อย่างมีคุณค่า (3) ยกระดับคุณภาพ
การศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต (4) ลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพและให้ทุกภาคส่วน คานึงถึงผลกระทบ
ต่อสุขภาพ (5) เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการระบบสุขภาพ ภาครัฐและปรับระบบการเงินการคลัง
ด้านสุขภาพ (6) พัฒนาระบบการดูแลและสร้างสภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสมกับสังคมสูงวัย (7) ผลักดัน
ใหส้ ถาบันทางสังคม มีสว่ นร่วมพัฒนาประเทศอย่างเขม้ แขง็

2) ยุทธศาสตร์การสร้างความเป็นธรรมและลดความเหล่ือมล้าในสังคม แนวทางการพัฒนา
สาคญั ประกอบด้วย (1) การเพ่ิมโอกาสให้กับกลุ่มเปูาหมายประชากรร้อยละ 40 ที่มีรายได้ต่าสุด สามารถ
เข้าถึงบริการที่มีคุณภาพของรัฐและมีอาชีพ (2) การกระจายการให้บริการภาครัฐท้ังด้านการศึกษา สาธารณสุข
และสวสั ดิการที่มีคณุ ภาพให้ครอบคลุมและทัว่ ถงึ (3) เสริมสร้างศักยภาพชุมชน การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน
และการสร้าง ความเข้มแข็งการเงินฐานรากตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือให้ชุมชนสามารถ
พง่ึ พาตนเองได้ มสี ิทธิ ในการจดั การทนุ ท่ดี ินและทรพั ยากรภายในชมุ ชน

4.1.3 แผนผสู้ ูงอายแุ ห่งชาติ ฉบบั ที่ 2 (พ.ศ. 2545 - 2564) ฉบับปรับปรุง คร้ังที่ 1 พ.ศ. 2552
แผนผู้สูงอายุแห่งชาติถือเป็นแผนยุทธศาสตร์หลักในการดาเนินงานด้านผู้สูงอายุ ในช่วง

พ.ศ. 2545 - 2564 ซ่งึ คณะรัฐมนตรีได้มีมติอนุมัติเม่ือวันที่ 27 เมษายน 2553 โดยแผนดังกล่าวได้ให้ความสาคัญต่อ
“วงจรชวี ติ ” โดยมี วิสัยทัศน์ “ผูส้ ูงวัยเป็นหลักชัยของสงั คม” ประกอบด้วยยุทธศาสตร์ 5 ยุทธศาสตร์ ซ่ึงมี
สาระสาคัญดังน้ี

ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยุทธศาสตร์ด้านการเตรียมความพร้อมของประชากรเพ่ือวัยสูงอายุท่ีมี
คณุ ภาพ ประกอบด้วย 3 มาตรการ คือ (1) หลักประกันด้านรายได้เพื่อวัยสูงอายุ (2) การให้การศึกษาและ
การเรียนรตู้ ลอดชีวติ (3) การปลูกจติ สานกึ ใหค้ นในสงั คมตระหนกั ถงึ คุณคา่ และศักดิ์ศรีของผสู้ งู อายุ

ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการส่งเสริมและพัฒนาผู้สูงอายุ ประกอบด้วย 6 มาตรการ คือ (1)
ส่งเสริมสุขภาพ ปูองกันการเจ็บปุวย และดูแลตนเองเบ้ืองต้น (2) ส่งเสริมการรวมกลุ่มและสร้างความเข้มแข็ง
ขององค์กรผู้สูงอายุ (3) ส่งเสริมด้านการทางานและการหารายได้ของผู้สูงอายุ (4) สนับสนุนผู้สูงอายุท่ีมี
ศักยภาพ (5) ส่งเสริมสนับสนุนส่ือ ทุกประเภทให้มีรายการเพื่อผู้สูงอายุและสนับสนุนให้ผู้สูงอายุได้รับ
ความรู้และสามารถเข้าถึงข่าวสารและสื่อ (6) ส่งเสริม และสนับสนุนให้ผู้สูงอายุมีท่ีอยู่อาศัยและสภาพแวดล้อม
ทเี่ หมาะสม

ยุทธศาสตร์ท่ี 3 ยุทธศาสตร์ด้านระบบคุ้มครองทางสังคมสาหรับผู้สูงอายุ ประกอบด้วย
4 มาตรการ คือ (1) คุ้มครอง ด้านรายได้ (2) หลกั ประกนั ด้านสขุ ภาพ (3) ด้านครอบครัว ผู้ดูแล และการคุ้มครอง
(4) ระบบบริการและเครอื ขา่ ย การเก้อื หนุน

23

ยุทธศาสตร์ท่ี 4 ยุทธศาสตร์ด้านการบริหารจัดการเพ่ือการพัฒนางานด้านผู้สูงอายุอย่างบูรณาการ
ระดับชาติ และการพัฒนาบุคลากรด้านผู้สูงอายุ ประกอบด้วย 2 มาตรการ คือ (1) การบริหารจัดการเพื่อการพัฒนางาน
ดา้ นผู้สงู อายุอยา่ งบูรณาการระดบั ชาติ (2) ส่งเสรมิ และสนับสนนุ การพัฒนาบคุ ลากรดา้ นผสู้ ูงอายุ

ยุทธศาสตร์ที่ 5 ยุทธศาสตร์ด้านการประมวล พัฒนา และเผยแพร่องค์ความรู้ด้านผู้สูงอายุ
และการติดตาม ประเมินผลการดาเนินการตามแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ประกอบด้วย 3 มาตรการ คือ (1)
สนับสนุนและส่งเสริมการวิจัย และพัฒนาองค์ความรู้ด้านผู้สูงอายุสาหรับการกาหนดนโยบายและการ
พัฒนาการบริการ หรือการดาเนินการที่เป็นประโยชน์ แก่ผู้สูงอายุ (2) ดาเนินการให้มีการติดตามประเมินผล
การดาเนินงานตามแผนผู้สูงอายุแห่งชาติท่ีมีมาตรฐานอย่างต่อเนื่อง (3) พัฒนาระบบข้อมูลทางด้านผู้สูงอายุ
ใหถ้ ูกต้องและทนั สมยั โดยมรี ะบบฐานขอ้ มูลทส่ี าคัญดา้ นผสู้ งู อายุทงี่ ่ายตอ่ การ เขา้ ถงึ และสบื ค้น

4.1.4 พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2553 และแก้ไขเพิ่มเติม
ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2560

เหตุผลความจาเป็นในการตรากฎหมายฉบับนี้ เพื่อให้การดาเนินงานเก่ียวกับการคุ้มครอง
การส่งเสริม และการสนับสนุนต่อสิทธิและประโยชน์ของผู้สูงอายุเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และให้ผู้สูงอายุ
มสี ิทธไิ ดร้ ับความชว่ ยเหลือจากรัฐ โดยสรปุ สาระสาคญั ได้ ดงั นี้

1) นยิ ามผู้สูงอายุ หมายถงึ บุคคลซ่ึงมอี ายเุ กนิ หกสบิ ปบี ริบรู ณ์ขนึ้ ไป และมสี ญั ชาติไทย
2) ให้มีคณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ (มาตรา 4) เป็นกลไกระดับชาติ เพื่อกาหนดนโยบาย
และแผนหลักแนวทางปฏิบัติ ตลอดจนประสานงาน ติดตาม และประเมินผลเก่ียวกับการคุ้มครองการส่งเสริม
และการสนับสนุนสถานภาพ บทบาท และกิจกรรมของผสู้ งู อายุ
3) สิทธผิ ู้สงู อายุ (มาตรา 11) ผูส้ ูงอายมุ ีสิทธไิ ด้รบั การคมุ้ ครอง การส่งเสรมิ และการสนับสนนุ

(1) การบรกิ ารทางการแพทย์และการสาธารณสุขที่จดั ไว้โดยให้ความสะดวกและรวดเร็วแก่
ผสู้ ูงอายุเปน็ กรณีพเิ ศษ

(2) การศกึ ษา การศาสนา และข้อมูลขา่ วสารทเ่ี ปน็ ประโยชนต์ อ่ การดาเนนิ ชีวิต
(3) การประกอบอาชพี หรือฝกึ อาชีพทีเ่ หมาะสม
(4) การพัฒนาตนเองและการมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม การรวมกลุ่มในลักษณะ
เครือข่ายหรอื ชมุ ชน
(5) การอานวยความสะดวกและความปลอดภัยโดยตรงแกผ่ สู้ ูงอายุในอาคาร สถานท่ี ยานพาหนะ
หรอื การบรกิ าร สาธารณะอน่ื
(6) การช่วยเหลอื ดา้ นค่าโดยสารยานพาหนะตามความเหมาะสม
(7) การยกเว้นค่าเข้าชมสถานทข่ี องรัฐ
(8) การช่วยเหลือผู้สูงอายุซึ่งได้รับอันตรายจากการถูกทารุณกรรมหรือถูกแสวงหาประโยชน์
โดยมชิ อบด้วยกฎหมายหรอื ถูกทอดท้ิง
(9) การใหค้ าแนะนา ปรกึ ษาดาเนนิ การอน่ื ที่เกย่ี วขอ้ งในทางคดีหรอื ในทางการแก้ไขปัญหา
ครอบครวั
(10) การจดั ท่ีพักอาศัย อาหารและเครอ่ื งน่งุ หม่ ใหต้ ามความจาเป็นอย่างทวั่ ถงึ
(11) การจา่ ยเงินเบี้ยยังชพี เปน็ รายเดือนอย่างทว่ั ถึงและเป็นธรรม
(12) การสงเคราะหใ์ นการจดั การศพตามประเพณี
(13) การอน่ื ตามที่คณะกรรมการประกาศกาหนด

24

4.2 นโยบายทเี่ กย่ี วข้องกบั การพฒั นาผสู้ ูงอายุ
1) คณะรัฐมนตรีได้มีมติเม่ือวันท่ี 8 พฤศจิกายน 2559 เห็นชอบมาตรการรองรับสังคมผู้สูงอายุ 4

มาตรการ ดังน้ี
(1) การจา้ งงานผู้สูงอายุ เพ่ือสร้างหลักประกัน/ความมนั่ คงในเรอื่ งรายได้ของผู้สูงอายุให้สามารถ

เล้ียงดู ตนเองได้ยาวนานขึ้น
(2) การสร้างท่ีพักอาศัยสาหรับผู้สูงอายุ ส่งเสริมให้มีการสร้างที่พักอาศัยทั้งในรูปแบบมีความ

เหมาะสม และมีสิง่ อานวยความสะดวกเปน็ การเฉพาะให้กับผสู้ งู อายุ
(3) สินเชือ่ ที่อยู่อาศัยสาหรบั ผูส้ ูงอายุ (Reverse mortgage) เป็นการให้เงินกู้แก่ผู้สูงอายุที่มีอายุ

60 ปี ข้ึนไป แต่ไม่เกิน 80 ปี ผู้สูงอายุท่ีไม่ได้เป็นข้าราชการบานาญไม่มีเงินสารองเพียงพอต่อการใช้ชีวิต
และไม่มีลูกหลานไว้คอยดูแล มีวงเงินกู้ไม่เกินรายละ 10 ล้านบาท ใช้ท่ีอยู่อาศัยที่ปลอดภาระหนี้ของ
ผ้สู งู อายเุ ป็นหลักประกนั 20 มาตรการขบั เคล่อื นระเบยี บวาระแหง่ ชาติ เร่อื ง สังคมสูงอายุ (ฉบบั ปรบั ปรุง)

(4) การบูรณาการระบบบาเหน็จบานาญ มาตรการนี้จะให้มีการจัดตั้งคณะกรรมการนโยบาย
บาเหน็จ บานาญแห่งชาติ ท่ีมีนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน ทาหน้าท่ีในการกาหนดนโยบายและทิศทางการ
พัฒนา และกากบั ดแู ลระบบบาเหนจ็ บานาญของประเทศและจัดต้งั กองทุนบาเหน็จบานาญแห่งชาติ (กบช.)

2) มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม 2560 มีนโยบายให้ดาเนินการมาตรการให้เงิน
ช่วยเหลือ เพ่ือการยังชีพแก่ผู้สูงอายุที่มีรายได้น้อย ตามโครงการลงทะเบียนเพ่ือสวัสดิการแห่งรัฐ โดยกาหนด
แหล่งที่มาของเงิน เป็น 2 ส่วน คือ เงินภาษีสรรพสามิตในส่วนของสินค้าสุราและยาสูบ ในอัตราร้อยละ 2
แตไ่ มเ่ กนิ 4,000 ล้านบาทต่อปี และจากการบริจาคเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ โดยจะนาส่งเงินดังกล่าวเข้ากองทุน
ผู้สูงอายุ และส่งต่อให้ผู้สูงอายุท่ีมีรายได้น้อย ตามโครงการลงทะเบียนเพ่ือสวัสดิการแห่งรัฐ โดยผ่าน
บตั รสวสั ดกิ ารแหง่ รัฐ

3) มตคิ ณะรฐั มนตรี เมอ่ื วันท่ี 4 ธนั วาคม 2561 มีมติดงั น้ี
(1) เห็นชอบในหลักการมาตรการขับเคลื่อนระเบียบวาระแห่งชาติ เรื่อง สังคมสูงอายุ และให้

หน่วยงานรับผิดชอบดาเนินงานด้านผู้สูงอายุนาไปสู่การปฏิบัติต่อไป ตามท่ีกระทรวงการพัฒนาสังคม
และความมั่นคงของมนุษย์เสนอ และให้กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ และ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับความเห็นของกระทรวง การต่างประเทศ กระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม
กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงยุติธรรม สานักงบประมาณ สานักงาน
คณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และคณะกรรมการปฏิรูปประเทศ ด้านสังคม รวมทั้งข้อสังเกต
ของกระทรวงการคลัง กระทรวงคมนาคม และกระทรวงมหาดไทย ไปพิจารณาดาเนินการ ในส่วนที่เกี่ยวข้อง
ต่อไปดว้ ย

(2) ให้กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ร่วมกับกระทรวงศึกษาธิการ และ
หน่วยงาน ที่เก่ียวข้อง พิจารณาความเป็นไปได้ในการนาพ้ืนที่ของโรงเรียนขนาดเล็ก ซึ่งมีจานวนนักเรียน
น้อยและอาจถูกยุบรวมมาใช้ประโยชน์ในการจัดตั้งเป็นศูนย์การเรียนรู้และดูแลผู้สูงอายุ ของกระทรวง
การพฒั นาสังคมและความมน่ั คงของมนุษย์ ตามความเหมาะสมในแต่ละพืน้ ท่ี โดยดาเนนิ การให้เปน็ ไปตามกฎหมาย
ระเบียบ และมติคณะรัฐมนตรที เี่ กีย่ วข้อง อย่างเคร่งครดั

4.3 ภาคเอกชนกบั การพัฒนาคุณภาพชวี ิตผู้สงู อายุ
SCG ELDERCARE SOLUTION
บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จากัด (มหาชน) ได้ศึกษาองค์ความรู้ร่วมกับผู้ชานาญการด้านผู้สูงอายุ

ในศาสตร์แขนงต่างๆ ท้ังด้านพฤติกรรม สรีรศาสตร์ กายศาสตร์ แพทยศาสตร์ สถาปัตยกรรมศาสตร์ และ
วิศวกรรมศาสตร์ นามาวิเคราะห์และสังเคราะห์อย่างบูรณาการ เพ่ือให้เป็นองค์ความรู้เชิงลึกในด้านที่อยู่

25

อาศัยท่ีเหมาะสมสาหรับผู้สูงอายุ นาไปสู่การพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ได้มาตรฐาน และบริการด้านที่อยู่อาศัย
รวมทงั้ บคุ ลากรที่มคี วามเข้าใจเกยี่ วกับผู้สงู อายอุ ยา่ งแทจ้ ริง

SCG Eldercare Solution มุง่ เนน้ ให้บริการในเร่อื งการเตรียมห้องน้าสาหรับผู้สงู อายุซึ่งเป็นบรเิ วณทพี่ บวา่
ผู้สูงอายุหกล้มหรือเกิดอุบัติเหตุมากท่ีสุดและมีแผนท่ีจะพัฒนาสินค้าและบริการพื้นท่ีอ่ืนๆ ในบ้านต่อไปอีก
โดยใช้หลักการท่ีว่า “การเตรียมที่อยู่อาศัยสาหรับผู้สูงอายุ เพื่อความปลอดภัย สะดวกสบายและสุขภาวะ
ท่ียืนยาว” โดยคานึงถึงความปลอดภัย ความสะดวกสบาย และการส่งเสริมสุขภาวะที่ดี ในการอยู่อาศัยที่จะทา
ให้ผู้สูงอายุได้ใช้ชีวิตร่วมกับทุกคนในบ้านและสังคมอย่างมีความสุขและแบ่งกลุ่มผู้สูงอายุเป็น 3 ระดับ
ตามลกั ษณะทางกายภาพและสมรรถนะรา่ งกายในการดาเนนิ กิจกรรมต่างๆ (บรษิ ัท คดิ เรอ่ื งอยู่ จากัด, 2559) ดงั น้ี

1) ผู้สูงอายุกลุ่มสีเขียว คือผู้สูงอายุท่ีสามารถใช้ชีวิต หรือทากิจกรรมทั้งในบ้าน และนอกบ้านได้
ตามปกติ แต่มคี วามเสีย่ งทีจ่ ะเกิดปัญหาทางด้านสุขภาวะในอนาคตหากไมป่ ูองกนั และดาเนนิ ชวี ติ ให้ถูกต้อง

2) ผู้สูงอายุกลุ่มสีเหลือง คือ ผู้สูงอายุที่เริ่มมีการเสื่อมถอยของร่างกาย หรือมีปัญหาด้านสุขภาพ
บ้างเล็กน้อย แต่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ อาจต้องการอุปกรณ์ หรือผู้ช่วยเหลือในบางกิจกรรม การทา
กิจกรรมภายนอกบ้านต้องได้รบั การดูแลจากคนในครอบครัวมากข้นึ

3) ผู้สูงอายุกลุ่มสีส้ม คือ ผู้สูงอายุที่มีปัญหาด้านสุขภาพ การใช้ชีวิตประจาวันมีความสะดวกน้อยลง
ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ในบางกิจกรรม ต้องพึ่งพาอุปกรณ์และผู้ดูแลเป็นส่วนใหญ่ และมักใช้ชีวิตอยู่
ในบา้ น โดยหลกั การออกแบบเบอื้ งต้น ควรคานงึ ถงึ “การป้องกันและลดอบุ ัติเหตุที่อาจจะเกิดขึ้น” “การทาให้
สามารถใช้ชีวิตประจาวันได้ง่ายและสะดวกขึ้น” “การส่งเสริมสุขภาวะที่ดี” ซ่ึงเป็นสิ่งท่ีสาคัญที่จะช่วย
ใหผ้ สู้ ูงอายุสามารถอาศัยรว่ มกับทกุ คนในบา้ นได้อย่างมีความสุข หากมีที่พักอาศัยเดิมอยู่แล้วอาจไม่จาเป็นต้อง
ปรับปรุงบ้านท้ังหลังเพราะพฤติกรรมการใช้ชีวิตของผู้สูงอายุจะคุ้นเคยกับการใช้พ้ืนที่เดิมๆ เช่นห้องนอน
ระเบียงหน้าบ้านเป็นต้น เราจึงควรเลือกปรับเปล่ียนพื้นที่ตามพฤติกรรมในการใช้ชีวิตของผู้สูงอายุให้ปลอดภัย
ใช้งานได้งา่ ยและสะดวกมากยิง่ ขน้ึ โดยท่ีไม่ต้องสนิ้ เปลืองค่าใช้จา่ ยมาก

5. แนวคดิ การจัดสวัสดิการสาหรับผูส้ งู อายุในสงั คมไทย
5.1 แนวคดิ รัฐสวสั ดกิ าร (Welfare State)
เป็นแนวคิดที่สังคมไทยลอกเลียนแบบมาใช้ในการจัดสวัสดิการให้กับกลุ่มผู้ด้อยโอกาสทางสังคม

รวมท้ังผู้สูงอายุ โดยนาแนวคิดมาจากประเทศอังกฤษและประเทศสหรัฐอเมริกา ภายใต้ความเช่ือของ
รฐั บาลไทยที่วา่ สังคมไทยเป็นสังคมระบอบเสรีนิยมประชาธิปไตยเช่นเดียวกับประเทศมหาอานาจ การจัด
สวสั ดกิ ารจงึ เป็น เรื่องของปัจเจกบุคคล ครอบครัวและชุมชนท่ีต้องรับผิดชอบเอง ระบบเสรีนิยมท่ีใช้กลไก
ตลาด(Marketing System) มากาหนด รัฐจะเขา้ มาจัดการเฉพาะกลมุ่ ผูส้ งู อายทุ ่ไี ม่มผี ู้ดูแล ช่วยเหลือตัวเอง
ไม่ได้เท่านั้น รูปแบบสวัสดิการท่ีปรากฏต่อบริการผู้สูงอายุจึงเป็นแบบเก็บตก (Residual Model)บริการท่ี
จัดให้กับผู้สูงอายุจึงเป็นการจัดให้ตามความจาเป็น (Needs) พ้ืนฐาน เพ่ือให้ผู้สูงอายุดารงชีวิตอยู่ในสังคม
ได้ในระดับหน่ึงเท่านั้น ขณะเดียวกันรัฐก็รับแนวคิดรัฐสวัสดิการของประเทศสหรัฐอเมริกาท่ีว่า รัฐมีหน้าที่
ดูแลรับผิดชอบการจัดสวัสดิการให้กับประชาชนทุกคน ดังจะเห็นได้จากกฎหมายรัฐธรรมนูญไทย ปี 2540
ปฏิญญาว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ความขัดแย้งของแนวคิดรัฐสวัสดิการท่ีสาคัญคือ รัฐจะรับผิดชอบสวัสดิการ
เฉพาะกลุม่ ผ้สู ูงอายทุ ่ีดอ้ ยโอกาส กลุม่ ชายขอบหรอื ผู้สูงอายุทกุ คนทรี่ ฐั ตอ้ งดแู ล

รูปแบบบริการแบบเก็บตก (Residual Model) มีอิทธิพลต่อการจัดบริการสวัสดิการผู้สูงอายุ
โดยเริ่มจาก ปี พ.ศ. 2486 ที่รัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม ได้จัดตั้งสถานสงเคราะห์คนชราขึ้นเป็น
คร้ังแรก ที่บางแค กรุงเทพฯ ภายใต้นโยบายการสร้างชาติของรัฐ บริการที่รัฐจัดให้จึงเป็นแบบประชาสงเคราะห์
(Public Assistance) โดยใช้แนวคิดการจัดบริการสังคมลักษณะสถาบันของรัฐ (Institional Model)

26

ท่ีให้กองสวัสดิการสงเคราะห์ กรมประชาสงเคราะห์ทาหน้าที่ดูแล จัดบริการสวัสดิการสงเคราะห์ผู้สูงอายุ
บริการท่ีสะท้อนแนวคดิ ทีช่ ดั เจน เชน่ บรกิ ารสงั คมในชุมชน สถานสงเคราะห์ เบีย้ ยังชีพ

5.2 แนวคิดการลดการพ่ึงพาบริการของรัฐ (Deinstitution Approaches)
เมื่อแนวโน้มประชากรวัยสูงอายุเพิ่มขึ้น จากจานวน 1.21 ล้านคนในปี 2503 เป็น 4.02 ล้านในปี

2541 และคาดว่าจะเพ่ิมเป็น 10.78 ล้านคน ในปี 2563 (สุทธิชัย จิตะพันธุ์กุล 2541:1) รวมท้ังอายุขัย
เฉล่ียเมื่อแรกเกิดของหญิงเพิ่มข้ึนจาก 71.1 ในปี 2539 เป็น 74.9 ในปี 2541 และอายุขัยเฉลี่ยของชาย
เพ่ิมขึ้นจาก 66.6 ปี เป็น 69.9 ปี ซ่งึ สูงกว่าอายุขัยเฉลี่ยเมื่อแรกเกิดของประชาชนคือ หญิง 68 ปี และชาย
64 ปี (สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2542) ซึ่งสถานการณ์ดังกล่าว
ส่งผลให้แนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมตามแนวคิดรัฐสวัสดิการ ไม่สามารถตอบสนองความต้องการของ
ผู้สงู อายไุ ด้ทง้ั หมด บริการท่จี ดั ไม่เพยี งพอ และเกิดความไม่เป็นธรรมกับผู้สูงอายุรวมท้ังไม่สามารถกระจาย
บรกิ ารไดอ้ ยา่ งทว่ั ถึง

รัฐเริ่มนาแนวคิดการลดการพึ่งพาบริการจากรัฐ (Deinstitutional Approaches) มาใช้ โดยรัฐ
จะจัดบริการที่จาเป็นให้กับผู้สูงอายุในครอบครัว ชุมชน โดยผู้สูงอายุไม่ต้องเข้ามาอยู่ในสถานสงเคราะห์
ลักษณะบรกิ ารทีร่ ัฐนามาใช้ได้แก่ บรกิ ารเบย้ี ยังชพี ตอ่ คนเดือนละ 200 บาท และเพ่ิมเป็นเดือนละ 300 บาทต่อคน
ช่วง 6 เดอื นจากโครงการมยิ าซาวาปี 2542 ซ่ึงบรกิ ารดังกลา่ วจะช่วยลดค่าใช้จ่ายในการดูแลผู้สูงอายุลงมา
จากการเข้าอยู่ในสถานสงเคราะห์ของผู้สูงอายุเท่ากับ 28,200 บาทต่อปี มาเหลือเพียง 2,400 บาทต่อคน
ตอ่ ปี ในการบริการเบี้ยยังชีพผู้สงู อายุ

แนวคิดการจัดบริการของสถานสงเคราะห์และเบ้ียยังชีพ รัฐได้นาแนวคิดสวัสดิการสังคมตะวันตก
มาใช้ โดยเน้นการให้บริการเชิงปัจเจกบุคคล (Individual) แบบให้เปล่า (Public Assistance) มาโดยตลอด
ดงั จะเห็นได้จากการใช้แบบ mean-test หาคุณสมบัติของผู้ที่จะได้รับการช่วยเหลือจากรัฐ โดยรัฐเรียกคน
กลุ่มนี้ว่าเป็น “ผู้สูงอายุที่ยากไร้ ไม่มีผู้ดูแล” ซึ่งในความเป็นจริงผู้สูอายุส่วนใหญ่ยังอยู่กับครอบครัว เครือญาติ
และชุมชนได้ แม้ว่าจะไม่รับบริการจากรัฐ แนวคิดดังกล่าวจึงอาจะไม่สอดคล้องกับวัฒนธรรมไทยในประเด็น
ที่วา่ “ผสู้ งู อายเุ ป็นผ้ทู ีม่ ีคุณค่าของครอบครวั และสงั คม”

5.3 แนวคิดครอบครัวและชมุ ชนเปน็ ฐาน (Family and Community-Based)
ถือเป็นส่วนหนึ่งของแนวคิดการลดการพ่ึงพาบริการจากรัฐ (Deinstitutional Approaches)

ท่ีน่าสนใจได้แก่ การจัดต้ังศูนย์สงเคราะห์ราษฎรประจาหมู่บ้าน จากเปูาหมายการตั้งศูนย์ภายในปี 2534
จานวน 3,282 แห่ง เพิ่มขึ้นเป็น 67,884 ศูนย์ ในปี 2541 (ธัญญา สนิทวงศ์ ณ อยุธยา อ้างใน กองการ
สงเคราะหเ์ อกชน, 2541) กิจกรรมหนึง่ ของศูนย์สงเคราะหฯ์ คือ การคัดเลือกผู้สูงอายุท่ีควรได้รับเบี้ยยังชีพ
ซึ่งผลการศึกษาของธัญญา สนิทวงศ์ ณ อยุธยา พบว่า ร้อยละ 50.5 ของกิจกรรมศูนย์เป็นการจัดเร่ืองเบ้ียยังชีพ
รวมท้ังพาผูส้ ูงอายุไปเปิดบญั ชแี ละไดร้ บั เงนิ ได้ ปัจจุบันศนู ยส์ งเคราะหร์ าษฎรประจาหมบู่ า้ นถูกถ่ายโอนงาน
ไปอยูใ่ นความรบั ผิดชอบของสานักงานปลดั กระทรวง กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม และสวัสดิการ
และคุ้มครองแรงงานจังหวัดเป็นผู้ดูแลแทนประชาสงเคราะห์จังหวัด จากลักษณะดังกล่าวเป็นการสะท้อน
ให้รูว้ ่ารฐั ไมไ่ ดค้ านึงถึงการมีสว่ นรว่ มของคนในชมุ ชนตามแนวคดิ ชุมชนเป็นฐานแต่อย่างใด

5.4 แนวคิดการจัดสวัสดกิ ารแบบรวมในชุมชน (Collective Welfare)
เกิดขึ้นจากความต้องการความสนใจ และการสร้างความมั่นคงในชีวิตของผู้สูงอายุเองคือ กองทุน

ฌาปนกิจสงเคราะห์ในหมู่บ้าน เป็นกองทุนสวัสดิการรวมของหมู่บ้านเป็นกลุ่มที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ เป็น
การรวมกลุ่มของคนทุกกลุ่ม ทุกเพศ ทุกวัย ที่ต้องการช่วยเหลือคนในหมู่บ้านเม่ือตาย โดยการเก็บคนละ 10
หรือ 20 บาท และมอบให้ญาติผู้ตายทันที ผู้สูงอายุถือว่าเป็นการทาบุญ ช่วยเหลือเก้ือกูลซ่ึงกันและกัน
ขณะที่กลุ่ม/สมาคมฌาปนกิจสงเคราะห์ที่รัฐมอบให้กองความมั่นคงทางสังคม กรมประชาสงเคราะห์เป็น

27

ผู้ดูแลจะให้ความสาคัญกับการดาเนินตามพระราชบัญญัติฌาปนกิจสงเคราะห์ พ.ศ.2541 ควบคุมการโกงเงิน
และผลประโยชน์ท่ีสมาชิกฌาปนกิจสงเคราะห์จะได้รับ ซึ่งผู้สูงอายุและสมาชิกส่วนใหญ่มองว่า การเป็น
สมาชกิ ของสมาคมฌาปนกิจสงเคราะห์จะเปน็ ภาระในการจา่ ยเงนิ แนวคดิ การจัดสวัสดิการแบรวมในชุมชน
(Collective Welfare) ของไทยก็คือ อุดมการณ์ของกลุ่มเฟเบียน (Fabian) จะเชื่อในระบบคอมูน (Commune)
รวมโดยทุกคนจะต้องนาผลผลิตมารวมไว้ส่วนกลาง และจะมีการจัดสรรทรัพยากรให้กับทุกคนในสังคม
อย่างเท่าเทียมกันทุกด้าน แต่กองทุนฌาปนกิจสงเคราะห์ในหมู่บ้านจะเป็นการต้ังโดยกาหนดวัตถุประสงค์
เป็นหลักประกันความม่ันคงทางสังคมกับผู้สูงอายุเม่ือตายเท่านั้น (คีรีบูน จงวุฒิเวศย์, รูปแบบและวิธีการ
ท่เี หมาะสมในการจดั สวสั ดิการสังคมโดยองค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น, 2553)

6. การจัดสวัสดกิ ารผสู้ ูงอายุในสงั คมไทย
รปู แบบระบบสวสั ดกิ ารผสู้ งู อายุในประเทศไทย
ระบบสวัสดิการสาหรับผู้สูงอายุไทยที่มีอยู่ในปัจจุบัน จาแนกตามประเภทบริการ 3 ประเภท

(ศศิพฒั น์ ยอดเพชร, 2549) สรปุ ได้ดงั น้ี
ประเภท 1 การประกันสงั คม (Social Insurance)
เป็นการสร้างหลักประกันความม่ันคงในการดารงชีวิตและคุ้มครองลูกจ้าง ปัญหาการขาดรายได้

เมื่อเกษียณอายุการทางาน สภาพสังคมท่ีเปลี่ยนแปลงไปทาให้ผู้สูงอายุได้รับการเกื้อหนุนจากครอบครัว
น้อยลง ปัญหาสุขภาพท่ีเรื้อรังส่งผลให้ตัวเลขค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลสูง (สานักงานคณะกรรมการ
พฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ 2548) เหล่าน้ีลว้ นเป็นปัญหาทางเศรษฐกจิ ท่ีผู้สงู อายตุ ้องเผชิญและ
อาจรนุ แรงมากยง่ิ ขึ้น หากไม่มกี ารวางแผนเพ่ือแกไ้ ขและปูองกันปัญหา การสร้างหลักประกันทางเศรษฐกิจ
จึงมีความสาคัญและจาเป็นอย่างย่ิงการออมเพ่ือเกษียณอายุ มีความจาเป็นในสังคมไทย เนื่องจากสัดส่วน
ของประชากรผ้สู งู อายุสงู ข้นึ มีอัตราการพงึ่ พงิ ของผู้สูงอายุ (สัดส่วนของจานวนผู้สูงอายุต่อประชากรวัยแรงงาน)
สูงขน้ึ การเก้อื หนุนจากครอบครัวอาจลดลง การออมจงึ มคี วามสาคัญสาหรับวยั เกษียณ ปัญหาของการออม
เพ่ือเกษยี ณอายุ คือ การออมครวั เรอื นต่าระหว่างปี พ.ศ. 2536-2546 การออมภาคครัวเรือนของไทยลดลง
อย่างต่อเน่ือง และส่วนใหญ่เป็นการออมแบบบัญชีออมทรัพย์ จึงควรพัฒนาและ ส่งเสริมรูปแบบการออม
แบบผูกพนั ในระยะยาวเพ่ิมมากขึน้ นอกจากน้ยี ังมีปัญหาเร่อื งเสถยี รภาพของกองทุนประกันสังคม เนื่องจาก
ระบบกองทุนเป็นการจ่ายเงินเข้ากองทุนโดยผู้ท่ีอยู่ในวัยทางานและรัฐจ่ายเงินออกให้ผู้เกษียณอายุ โดยที่
รฐั บาลไมม่ ีการเกบ็ สะสมเพ่อื เปน็ กองทนุ ดงั นน้ั เม่อื สัดสว่ นและจานวนผู้สูงอายุสูงข้ึน การจ่ายผลประโยชน์
ให้กับผูเ้ กษยี ณจึงเพมิ่ ข้ึน คาดว่าปี พ.ศ. 2590 จะมีสถานะเงินสะสมติดลบ ปัญหาสุดท้ายของการออมเพ่ือ
เกษียณอายุ คือ ผู้สูงอายุท่ีไม่มีหลักประกันรายได้ เช่น แรงงานนอกระบบ โดยเฉพาะแรงงานภาคเกษตร
และแรงงานท่ีมีรายได้ต่า ไม่มีระบบการออมเพ่ือเกษียณรองรับและไม่สามารถเข้าถึงการออมได้ (มูลนิธิ
สถาบันวจิ ยั เพอื่ การพัฒนาประเทศไทย, 2551)

1) Pillar Zero ระบบเบยี้ ยังชีพ เปน็ ระบบประกันท่ีไมต่ อ้ งจา่ ยสมทบ(Noncontribution pillar)
2) Pillar I ระบบบาเหน็จ/บานาญข้าราชการ เป็นค่าตอบแทนท่ีข้าราชการปฏิบัติหน้าท่ีมานาน
หรอื เกษยี ณอายุราชการ และกองทนุ ประกนั สงั คมรวมทงั้ ระบบประกันสังคมกรณีชราภาพ เป็นกองทุนท่ีให้
ความคุ้มครองลกู จ้างที่ประกนั ตนในกรณวี า่ งงาน เจบ็ ปุวย คลอดบุตร เสียชีวิต รวมทั้งชราภาพ เม่ือทางาน
มาอายคุ รบ 55 ปี โดยเงินบานาญชราภาพจ่ายเป็นรายเดือนตลอดชีวิต มีเกณฑ์ในการคานวณตามระเบียบ
ที่กาหนดและเงนิ บาเหน็จชราภาพจา่ ยเป็นเงนิ กอ้ นครงั้ เดยี ว

28

3) Pillar II กองทุนบาเหน็จบานาญข้าราชการ (กบข.) เป็นการส่งเสริมการออมของข้าราชการ
เพื่อวัยเกษียณอายุราชการ ให้กับข้าราชการที่สมัครใจเป็นสมาชิก และกองทุนบาเหน็จบานาญชาติ เป็น
กองทุนภาคบังคับท่ีกาหนดเงินสะสมแน่นอน ที่อยู่ระหว่างดาเนินการ ผลการประชุมสมัชชาผู้สูงอายุ
ระดับชาติปี 2551 (คณะกรรมการจัดเวทีสมัชชาผู้สูงอายุปี 2551 และกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคง
ของมนษุ ย์, 2551) ไดเ้ สนอระบบบานาญแหง่ ชาตเิ พอ่ื การพัฒนาตอ่ ไป จดุ ออ่ นของกองทุนนี้ คือ มุ่งส่งเสริม
การออมเฉพาะแรงงานในระบบเทา่ น้นั ไมไ่ ด้แกไ้ ขแรงงานนอกระบบหรือผ้ดู อ้ ยโอกาส

4) Pillar III กองทุนสารองเล้ียงชีพ กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ (RMF) กองทุนรวมหุ้นระยะยาว
(LTF) หรือระบบการออมผา่ นบรษิ ทั ประกันแบบเงินไดป้ ระจา

5) Pillar IV ระบบประกนั สุขภาพถ้วนหน้า ท่ีรัฐรับผิดชอบค่าบริการด้านสุขภาพอย่างครอบคลุม
ทกุ คน ตามเกณฑ์และขอบเขตทกี่ าหนด

อยา่ งไรกต็ ามผลการศึกษาของสถาบนั วิจัยเพ่ือการพฒั นาประเทศไทย
(วรวรรณ ชาญด้วยวิทย์ และคณะ, 2551) พบว่าระบบหลักประกันสุขภาพด้านรายได้สาหรับผู้สูงอายุ
ในประเทศไทยยังไม่เปน็ หลายช้ัน (multi-pillar) อยา่ งถ้วนหนา้ โดยมี 2 ลักษณะคอื

1) แบบเปน็ ระบบและมกี ฎหมายรองรบั ไดแ้ ก่ ระบบบาเหนจ็ บานาญข้าราชการ กองทุนบาเหน็จ
บานาญข้าราชการ กองทุนประกันสังคม กองทุนครูใหญ่และครูโรงเรียนเอกชน กองทุนสารองเล้ียงชีพ
กองทุนรวมเพ่ือการเลยี้ งชีพ กองทนุ หนุ้ ระยะยาว บรษิ ัทประกนั ชีวติ และระบบเบ้ียยังชพี ผสู้ ูงอายุ

2) แบบไมเ่ ป็นทางการเปน็ ระบบสวสั ดกิ ารภาคประชาชน เชน่ กลมุ่ สจั จะวันละบาท อาเภอจะนะ
จังหวัดสงขลา ข้อดีคือ ชุมชนรับรู้ปัญหาท่ีแท้จริง ผู้สูงอายุที่มีความเดือดร้อนจริงจึงได้รับความช่วยเหลือ
ตามความต้องการ ข้อด้อยคือ หากชุมชนไม่เข้มแข็งและผู้นาไม่มีคุณธรรม ระบบนี้ก็อาจไม่เกิดขึ้นหรือ
เกดิ ขนึ้ แตไ่ ม่ประสบความสาเร็จ

1.1) ระบบบานาญแห่งชาติ เป็นระบบที่การประชุมสมัชชาผู้สูงอายุเมื่อวันที่ 8 เมษายน 2551
เสนอตอ่ รฐั บาล เนื่องจากปัจจุบันระบบบานาญในประเทศไทย เป็นระบบบานาญพ้ืนฐานอาชีพ ครอบคลุม
บุคคลบางกลุ่มเท่านั้น เช่น สมาชิกกองทุนประกันสังคม ลูกจ้างเอกชน ครูเอกชน พนักงานรัฐวิสาหกิจ
ข้าราชการส่วนท้องถ่ินและส่วนกลาง ซึ่งยังมีประชาชนมากกว่า 30 ล้านคน ที่ยังไม่มีหลักประกันรายได้
ในยามสูงอายุ (วรวรรณ ชาญด้วยวิทย์ และคณะ, 2551) จึงควรจัดระบบบานาญสาหรับบุคคลกลุ่มน้ี ซ่ึง
การจัดการกับระบบท่ีใหญ่เช่นนี้ รัฐบาลควรเข้ามาดาเนินการ ระบบบานาญเพ่ือผู้สูงอายุไทยไม่ใช่การให้
เงินเปล่าๆ แต่ให้ทุกคนมีโอกาสเป็นสมาชิกร่วมออม ผู้ที่อายุน้อยอยู่ในระบบนาน ก็จะจ่ายน้อย และเงินบานาญ
ทีจ่ ะได้รบั ก็ขึ้นอยูก่ บั ระยะเวลาท่อี ยใู่ นระบบ ระบบบานาญแห่งชาติอาจดาเนินการใน 2 ลักษณะ แบบแรก
ผู้รับบานาญไม่ต้องสมทบร่วม เป็นระบบการให้เบี้ยยังชีพที่ขยายไปสู่ผู้สูงอายุทุกคนข้อดีคือ เป็นการต่อยอด
จากระบบเดมิ ทมี่ อี ยู่แล้ว ขอ้ เสยี คอื การไม่ส่งเสริมการออมและเป็นภาระหนักทางงบประมาณของประเทศ
สาหรบั ความเป็นไปไดแ้ ละความย่ังยืนของระบบบานาญแบบน้ียงั ตอ้ งพจิ ารณาอีกมาก แบบท่ีสอง เป็นแบบ
ที่ผู้รับบานาญต้องสมทบร่วมจึงเก่ียวข้องกับการออมและศักยภาพของประเทศในระยะยาว ทั้งนี้ประเด็น
ท่ตี ้องคานึงถึงคอื ฐานอาชีพหรอื ฐานพ้ืนที่ หรือเป็นระบบถ้วนหนา้ ทุกคน หรืออาจเปน็ ระบบเกื้อกูลระหว่าง
รุ่นท่ีคนวัยทางานจ่ายเงินสาหรับช่วยเหลือผู้สูงอายุ ข้อดีของการสร้างระบบบานาญรายอาชีพ คือ
การบริหารจัดการภายในกลุ่มอาชีพทาได้สะดวก แต่จะมีปัญหาการเกิดกองทุนย่อยมากมาย เม่ือมีการ
เปล่ียนอาชีพและไม่ครอบคลุมคนท่ีไม่มีอาชีพ เม่ือเทียบกับกองทุนรายได้พื้นที่ท่ีจะเปิดช่องว่างนี้ได้
แต่กองทุนรายพ้ืนท่ีก็เป็นกองทุนขนาดเล็กท่ีบริหารจัดการให้เกิดผลประโยชน์ได้ยาก อีกทั้งความหลากหลาย
ของกฎกติกาสาหรับพื้นที่ท่ีแตกต่างกันระบบบานาญของประเทศไทยจะพ่ึงพาภาษีรายได้จากประชากร
ที่ทางานในระบบเช่นประเทศที่พัฒนาแล้วไม่ได้ เพราะแรงงานนอกระบบนอกประเทศไทยมีสัดส่วน

29

ท่ีมากกว่าจึงควรมีระบบการออมจากประชาชนวัยทางานทุกคน ระบบบานาญแห่งชาติเป็นทางเลือกใหม่
ของการคลังเพ่ือสังคม ที่ภาครัฐสนับสนุนงบประมาณผ่านองค์กรภาคประชาชนเป็นการใช้จุดแข็งของภาครัฐ
ในการกากับดูแลด้วยระเบียบ และจุดแข็งของภาคประชาคมคือ การอยู่ในพ้ืนท่ีรับทราบข้อมูลที่แท้จริง
ของประชาชน และต้นทุนในการบริหารจัดการต่า ท้ังน้ีต้องเสริมศักยภาพขององค์กรในชุมชน เช่น การจัดเก็บ
ข้อมูล ระบบการทาบัญชี รวมท้ังการบริหารเงิน แนวทางการบริหารกองทุนบานาญแห่งชาติ รัฐควรจัดตั้ง
กองทุนเป็นองค์กรใหม่และเปน็ นิติบุคคลมีระเบียบชัดเจน มีผู้บริหารกองทุนมืออาชีพและดาเนินงานอย่างโปร่งใส
ภาครัฐควรสนับสนุนงบประมาณ 1 ใน 3 ของบานาญแต่ละปี (วรวรรณ ชาญด้วยวิทย์ และคณะ, 2551)
หากผู้รับบานาญร่วมออมร้อยละ 3 และภาครัฐสมทบอีกร้อยละ 3 จะทาให้กองทุนมีปริมาณสูงในส่วนของ
การออม ผู้รับผิดชอบการออมคือ องค์กรที่ประชาชนทางานอยู่ สาหรับแรงงานนอกระบบอาจมีระบบการ
ออมผา่ นองคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ เพราะเขา้ ถงึ ประชาชนอย่างครอบคลุมศักยภาพในการติดตามมีประสิทธิภาพ
มากกว่าส่วนกลาง การบริหารกองทุนตามแนวทางดังกล่าวมีความเป็นไปได้สูงกว่าและถูกกว่าการบริหาร
โดยส่วนกลาง ท้ังนี้ยังจาเป็นต้องศึกษาในรายละเอียดต่อไป (วรวรรณ ชาญด้วยวิทย์ และคณะ, 2551)
ประเด็นหน่ึงที่ควรคานึงถึงคือ ศักยภาพการออมของประชาชน การศึกษาของรศ.ดร.ศุภวัฒนากร วงศ์ธนวุส
(มลู นธิ สิ าธารณสขุ แห่งชาติ, 2550) พบว่าประชาชนกลุ่มวัยแรงงานร้อยละ 60 รู้ว่าไม่มีความม่ันคงทางเศรษฐกิจ
เม่ือเข้าสู่วัยสูงอายุ เห็นด้วยท่ีจะเป็นสมาชิกกองทุน และมีศักยภาพการออมเพ่ืออนาคต โดยร้อยละ 77
มีความพร้อมที่จะจ่ายเงินเข้ากองทุน แต่ขาดการกระตุ้นจากภาครัฐ จะเห็นว่าโดยภาพรวม ระบบบานาญ
แหง่ ชาตมิ ีความเปน็ ไปได้ทางสังคมและทางเศรษฐกิจ แต่ความเปน็ ไปไดท้ างการเมอื งยงั ไม่แน่นอน

1.2) กองทุนบาเหน็จบานาญข้าราชการ (กบข.) เป็นการส่งเสริมการออมของข้าราชการ
เพื่อวัยเกษียณอายุราชการ ให้กับข้าราชการที่สมัครใจเป็นสมาชิก และกองทุนบาเหน็จบานาญแห่งชาติ
เป็นกองทุนภาคบังคับท่ีกาหนดเงินสะสมแน่นอน ท่ีอยู่ระหว่างดาเนินการ ผลการประชุมสมัชชาผู้สูงอายุ
ระดับชาติปี 2551 (คณะกรรมการจัดเวทีสมัชชาผู้สูงอายุปี 2551 และกระทรวงการพัฒนาสังคมและ
ความมั่นคงของมนษุ ย์, 2551) ไดเ้ สนอระบบบานาญแห่งชาติเพ่ือการพัฒนาว่าจุดอ่อนของกองทุนน้ีคือ มุ่งส่งเสริม
การออมเฉพาะแรงงานในระบบเท่าน้ัน ไม่ไดแ้ ก้ไขแรงงานยอกระบบหรือผู้ด้อยโอกาส

1.3) กองทุนผู้สูงอายุ กองทุนผู้สูงอายุจัดต้ังตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 โดยมี
วัตถุประสงค์เพื่อให้เป็นกองทุนค่าใช้จ่ายเก่ียวกับการคุ้มครอง ส่งเสริม และสนับสนุนผู้สูงอายุในปี 2548
ซงึ่ เป็นปีแรกของการดาเนินงาน กองทุนผู้สูงอายุได้รับงบประมาณเริ่มต้นในการดาเนินงานจานวน 30 ล้านบาท
และได้รับเพ่ิมเติมในปีต่อๆ มาตามลาดับ สาหรับปี 2552 รัฐบาลได้ดาเนินการขยายวงเงินการกู้ยืม
รายบุคคลจาก 15,000 บาทต่อราย เป็น 30,000 บาทต่อราย และมีเงินงบประมาณจานวน 80 ล้านบาท
และให้การสนับสนุนเงินทุนสาหรับการกู้ยืมประกอบอาชีพของผู้สูงอายุเป็นรายบุคคลจานวน 3,138 ราย
คิดเป็นจานวนเงิน 51,082,208 บาท และสนับสนุนเป็นรายกลุ่มจานวน 22 กลุ่ม คิดเป็นจานวนเงิน
2,071,000 บาท นอกจากนไ้ี ดใ้ หก้ ารสนับสนุนโครงการสง่ เสริมกิจกรรมผู้สูงอายุจานวน 193 โครงการ คิดเป็น
จานวนเงิน 27,523,924 บาท

ท้ังนี้การสนับสนุนการกู้ยืมเงินทุนประกอบอาชีพรายบุคคลของกองทุนผู้สูงอายุในปี 2552
ส่วนใหญ่เป็นการกู้ยืมไปเพ่ือประกอบอาชีพเกษตรกรรม ได้แก่ ทานา ทาไร่ ทาสวน จานวน 1,102 ราย
ค้าขาย (ของชา เสื้อผ้า ของเล่น เบ็ตเตล็ด) จานวน 939 ราย ปศุสัตว์จานวน 823 ราย การบริการรับจ้าง
จานวน 177 ราย และงานหัตกรรม งานฝีมือ รวมทั้งการสนับสนุนการกู้ยืมเงินทุนประเภทโครงการ ส่วนใหญ่
เป็นการกู้ยืมเพอ่ื ดาเนินโครงการเกีย่ วกับการส่งเสริมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุด้วยการฝึกอบรมจานวน 87 โครงการ
รองลงมาไดแ้ ก่ โครงการเก่ยี วกับการดูแลสุขภาพและการออกกาลังกายจานวน 58 โครงการ และโครงการ
เกี่ยวกบั การอนุรักษ์วัฒนธรรมและภมู ปิ ัญญาจานวน 28 โครงการ

30

1.4) กองทุนสารองเล้ียงชีพ การส่งเสริมการออมเพื่อให้ลูกจ้างมีเงินใช้หลักเกษียณอายุการ
ทางานเป็นการจัดสวัสดิการอีกรูปแบบหนึ่ง ที่จัดให้กับประชาชนต้ังแต่ก่อนเข้าวัยสูงอายุ เป็นระบบ
สวัสดิการท่ีมีผลระยะยาวเม่ือเข้าสู่วัยสูงอายุ เป็นสวัสดิการสาคัญท่ีนายจ้างจัดให้แก่ลูกจ้างที่สมัครใจเข้าร่วม
เป็นสมาชิก จัดตั้งข้ึนตามพระราชบัญญัติกองทุนสารองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 ท่ีมีหน่วยงานของรัฐ คือ
สานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ทาหน้าท่ีกากับดู แลในฐานะนายทะเบียน
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานกระทรวงแรงงานได้ส่งเสริมให้สถานประกอบการจัดระบบสวัสดิการนี้
ให้แกล่ กู จา้ ง นอกจากนีย้ ังสง่ เสริมใหผ้ ูใ้ ชแ้ รงงานจัดต้ัง “กองทนุ เพ่ือผู้ใช้แรงงาน” ในลักษณะสหกรณ์ออมทรัพย์
เพื่อให้ผู้ใช้แรงงานกู้ยืมในอัตราดอกเบี้ยต่า เป็นการแก้ไขการกู้ยืมเงินนอกระบบ หรือการไม่มีหลักทรัพย์
ค้าประกันในการกู้ยืมจากธนาคารพาณิชย์ กองทุนนี้เป็นกองทุสนหมุนเวียนตามพระราชบัญญัติเงินคงคลัง
พ.ศ. 2491 สาหรับการปลูกฝังการใช้จ่ายเงินอย่างเหมาะสม ปูองกันการเป็นหน้ี กรมสวัสดิการฯ ได้จัด
อบรมวทิ ยากรหลกั สตู รการขบั เคล่อื นแนวคิดเศรษฐกจิ พอเพียงในกลุ่มผใู้ ช้แรงงาน เพื่อให้ผ้ทู ่ีผ่านการอบรม
มีความรคู้ วามเขา้ ใจทีถ่ ูกตอ้ งเกี่ยวกบั แนวคิดเศรษฐกจิ พอเพยี ง และถา่ ยทอดความร้สู ผู่ ้ใู ชแ้ รงงานทุกระดับได้

1.5) กองทุนการออมแหง่ ชาติ กองทนุ การออมแห่งชาติ (กอช.) เป็นหน่วยงานของรัฐ และมี
ฐานะเป็นนิติบุคคลที่ไม่เป็นส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ มีวัตถุประสงค์เพ่ือส่งเสริมการออมทรัพย์ของ
สมาชกิ และเพื่อเปน็ หลักประกนั การจ่ายบานาญและ ใหป้ ระโยชนต์ อบแทนแกส่ มาชกิ เมื่อสน้ิ สมาชิกภาพ

ผมู้ ีสิทธิเปน็ สมาชิก กอช. จะต้องเปน็ บคุ คลสญั ชาติไทยที่มีอายุ 15 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป แต่ไม่เกิน
60 ปบี รบิ รู ณ์ และไม่เปน็ ผ้ปู ระกนั ตนตามกฎหมายว่าด้วยประกันสังคมซ่งึ ส่งเงินเพ่อื ได้รับประโยชน์ทดแทน
กรณีชราภาพ สมาชิกกองทุนบาเหน็จบานาญขา้ ราชการ กองทนุ บาเหน็จบานาญข้าราชการกรุงเทพมหานคร
กองทุนบาเหน็จบานาญข้าราชการส่วนท้องถิ่น กองทุนสารองเล้ียงชีพ กองทุนสงเคราะห์ตามกฎหมายว่า
ดว้ ยโรงเรียนเอกชน หรอื สมาชิก กองทนุ อืน่ หรอื อยใู่ นระบบบานาญอน่ื ตามทจี่ ะกาหนดโดยกฎกระทรวง

ประเภท 2 การช่วยเหลอื สาธารณะ (Public Assistance)
เป็นการสงเคราะห์แบบให้เปล่าสาหรับผู้ท่ีต้องการความช่วยเหลือ เพราะช่วยเหลือตนเองไม่ได้
ดอ้ ยโอกาสทางสงั คมและไรท้ พ่ี ง่ึ รูปแบบของสวสั ดกิ ารท่มี ี คอื
2.1) เบย้ี ยงั ชพี ผ้สู งู อายุ

การจา่ ยเงนิ สงเคราะหเ์ บีย้ ยงั ชพี ผูส้ งู อายุ เปน็ ภารกจิ ทีไ่ ด้มกี ารถา่ ยโอนจากกรมพัฒนาสังคม
และสวัสดิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ ให้กรมส่งเสริมการปกครองส่วน
ท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย รับไปดาเนินการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2545 โดยเทศบาล องค์การบริหารส่วนตาบล
ทาหน้าท่ีหลักในการจัดทาทะเบียน ตรวจสอบคุณสมบัติผู้สูงอายุ และจ่ายเบี้ยยังชีพให้แก่ผู้สูงอายุ ซึ่งเงิน
เบย้ี ยงั ชพี ผู้สงู อายเุ ป็นเงนิ ชว่ ยเหลือเพ่ือการยงั ชีพ จานวนคนละ 500 บาท ตอ่ 1 เดอื น โดยเปน็ ผสู้ ูงอายุท่ีมี
ฐานะยากจน ถูกทอดทง้ิ หรอื ขาดผู้ดูแลต่อมาในปี พ.ศ.2552 รัฐบาลไทยได้ริเริ่มนโยบายสร้างหลักประกัน
ด้านรายได้ให้แก่ผู้สูงอายุ ซ่ึงได้เริ่มดาเนินการต้ังแต่เดือนเมษายน 2552 โดยครอบคลุมผู้สูงอายุท่ีไม่มี
หลักประกันทางด้านรายได้จากรัฐบาล ซึ่งได้จัดสรรเบี้ยยังชีพแก่ผู้สูงอายุท่ีมีอายุ 60 ปีขึ้นไปท่ีมาแสดง
ความจานงขอข้ึนทะเบียนเพื่อขอรับการสงเคราะห์เบ้ียยังชีพดังนั้นในเดือนเมษายน พ.ศ. 2552 ประเทศไทย
จึงได้ดาเนินการจ่ายเบี้ยยังชีพให้แก่ผู้สูงอายุอย่างถ้วนหน้า คนละ 500 บาทต่อเดือน ส่งผลให้จากเดิมท่ีมี
ผู้สูงอายุท่ีได้รับเบ้ียยังชีพในปี พ.ศ. 2552 จานวน 1,828,456 คน คิดเป็นงบประมาณ 10,970,736,000 บาท
ได้เพ่ิมเป็นจานวน 5,652,893 คน ที่ได้รับเบ้ียยังชีพหรือคิดเป็นประมาณกว่าร้อยละ 80 ของจานวน
ผู้สูงอายทุ ่ัวประเทศไทย

31

2.2) กองทนุ ดแู ลผู้สูงอายุท่ขี าดทีพ่ งึ่
โดยสานักส่งเสรมิ และพทิ ักษผ์ สู้ งู อายุเปน็ โครงการทีด่ าเนนิ การเพื่อช่วยเหลือผู้สูงอายุที่ขาด

ท่ีพ่ึงใน 3 ด้าน ได้แก่ การให้ความช่วยเหลือผู้สูงอายุกรณีเดือดร้อนจากการถูกทารุณกรรม ถูกแสวงหา
ประโยชน์โดยมิชอบด้วยกฎหมาย และถูกทอดท้ิง (รายละ 500 บาท อ้างอิงจากเอกสารเผยแพร่ปี 2549)
การสนับสนนุ การจัดการงานศพผสู้ งู อายทุ ี่มฐี านะยากจน (รายละ 2,000 บาท) และการช่วยเหลือผู้สูงอายุที่
ประสบปัญหาความเดือดร้อนเร่ืองที่พักอาศัย อาหาร และเคร่ืองนุ่งห่ม (รายละ 2,000 บาท) (สานัก
ส่งเสริมและพิทกั ษผ์ ู้สูงอายุ, 2549)

ประเภท 3 การบริการสงั คม (Social Services)
เป็นระบบบริการท่ีตอบสนองความต้องการข้ันพ้ืนฐานของประชาชน ประกอบด้วยบริการด้านต่างๆ
ดงั น้ี
3.1 ด้านสขุ ภาพอนามยั ประกอบดว้ ย

3.1.1) หลักประกันสุขภาพถว้ นหนา้ ถอื เป็น “สิทธิ” ข้ันพ้ืนฐานของประชาชนท่ีรัฐมอบให้
เพื่อเปน็ การสร้างหลกั ประกันให้ประชาชนทกุ คน สามารถเข้าถึงบริการทางด้านสุขภาพได้ตามความจาเป็น
โดยขอบขา่ ยใหบ้ ริการครอบคลุมดา้ นการตรวจสุขภาพ การรักษาพยาบาล และการส่งเสริมสุขภาพและปูองกันโรค
ดาเนินงานโดยสานักงานหลกั ประกนั สุขภาพแห่งชาติ(สปสช.) ในปี พ.ศ. 2549 เพอื่ ให้ประชาชนในทุกพ้ืนที่
ได้รับหลักประกันสุขภาพที่เหมาะสมกับความต้องการในแต่ละท้องถ่ิน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้รับ
การสนับสนุนให้เป็นผู้ดาเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพที่เกี่ยวกับการสร้างเสริม
สุขภาพ การปูองกันโรค และการฟ้ืนฟูสมรรถภาพท่ีจาเป็นต่อสุขภาพและการดารงชีวิตระดับท้องถ่ิน
โดยสานกั งานหลักประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสขุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคง
ของมนุษย์ กระทรวงมหาดไทย สมาคมองค์การบริหารส่วนจังหวัดแห่งประเทศไทย สมาคมสันนิบาตเทศบาล
แห่งประเทศไทย และสมาคมองค์การบริหารส่วนตาบลแห่งประเทศไทย ร่วมมือกันให้การสนับสนุนองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น (คือ องค์การบริหารส่วนตาบลหรือเทศบาล) ได้บริหารจัดการระบบ หลักประกัน
สขุ ภาพอย่างเหมาะสมและมีประสทิ ธิภาพ(สานกั งานหลักประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ, 2550) บริการเชิงรุกของ
สปสช. รูปแบบหน่ึง คือ การจัดสรรงบประมาณให้ “กองทุนตาบล” เพื่อให้ผู้สูงอายุรวมตัวกันในลักษณะ
ชมรมขอทุนสนบั สนุนไปทาโครงการสร้างเสรมิ สุขภาพและปอู งกนั โรค

3.1.2) การดแู ลสุขภาพผสู้ ูงอายุที่บ้าน (Home Health Care)
กรมอนามัย กระทรวงสาธารสุข ได้ดาเนินงานให้การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้านโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุท่ีมีภาวะเจ็บปุวยเร้ือรังให้มีสุขภาพดีและมีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีเปูาหมาย
เพอ่ื สง่ เสรมิ ให้มีระบบบริการดแู ลสขุ ภาพผู้สงู อายุระยะยาวโดยชุมชนและท้องถ่ิน ซ่ึงได้เริ่มดาเนินโครงการ
ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2548 เป็นต้นมาในปี พ.ศ. 2552 กรมอนามัยได้ดาเนินการให้ศูนย์อนามัยเขตท่ี 1-12
ดาเนินการคัดเลือกตาบลต้นแบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุท่ีบ้าน จานวนศูนย์อนามัยละ 1 ตาบล เพื่อเป็น
พ้ืนที่ตน้ แบบนาร่องร่วมกับสานักงานสาธารณสุขจังหวัด โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้มีรูปแบบการดาเนินการ
ดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว จานวน 12 รูปแบบจาก 12 เขต โดยครอบคลุมการดูแลผู้สูงอายุ 3 กลุ่ม ได้แก่
กลุม่ ผสู้ งู อายทุ ีช่ ่วยเหลือตนเองได้ กลุ่มผู้สูงอายุที่ช่วยเหลือตนเองได้บ้าง และกลุ่มผู้สูงอายุที่ปุวยและช่วยเหลือ
ตนเองไม่ได้ พกิ าร/ทพุ พลภาพ(ติดเตยี ง) ซง่ึ พ้ืนท่ีตาบลนาร่องทั้ง 12 แหง่ ได้มีการจดั กิจกรรม/โครงการที่เหมาะสม
กบั กลมุ่ ผูส้ ูงอายุ อาทิ กิจกรรมส่งเสริมสขุ ภาพเฉพาะโรคให้แกผ่ ้สู ูงอายุ กิจกรรมดูแลผู้สงู อายุท่ีบา้ นโดยอาสาสมัคร
ดูแลผูส้ งู อายุ เป็นตน้

32

3.1.3) อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ (อผส.) กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์
โดยสานักส่งเสริมและพิทักษ์ผู้สูงอายุ ได้ริเร่ิมดาเนินโครงการอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน ตั้งแต่ปี พ.ศ.
2545 มีวัตถุประสงค์เพ่ือสร้างและขยายระบบการดูแล และการคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้สูงอายุ และมี
เปูาหมายเพ่ือให้ผู้สูงอายุโดยเฉพาะผู้สูงอายุที่ขาดผู้ดูแลและประสบปัญหาทางสังคม ได้รับการดูแลโดย
อาสาสมคั รดูแลผสู้ ูงอายอุ ยา่ งท่วั ถึง และสามารถเขา้ ถึงบริการของรัฐ ขณะเดียวกันก็ยังคงใช้ชีวิตอยู่ร่วมกับ
ครอบครัวในชมุ ชมของตนเองไดอ้ ยา่ งมคี ณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ี ท้ังนี้ในวันที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2550 คณะรัฐมนตรี
ได้มมี ิติเหน็ ชอบใหข้ ยายผลการดาเนนิ โครงการอาสาสมคั รดูแลผูส้ ูงอายทุ บี่ ้านให้ครอบคลุมพ้ืนท่ีทั่วประเทศ
ภายในปี พ.ศ.2556 จากการดาเนินการขยายผลอย่างต่อเน่ืองตามมติคณะรัฐมนตรี ในปี พ.ศ.2552 ได้มี
อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุเพิ่มข้ึนเป็นจานวน 9,894 คน จาก 75 จังหวัด ได้ให้การดูแลผู้สูงอายุ ได้จานวน
91,794 คน

3.2 ดา้ นทอ่ี ยู่อาศัย
การสงเคราะห์ที่อยู่อาศัยและการดูแล เป็นบริการในสถานสงเคราะห์สาหรับผู้สูงอายุ

ท่ีครอบคลุมความจาเป็นด้านปัจจัย 4 รวมทั้งบริการด้านการรักษาพยาบาล กายภาพบาบัด ศาสนกิจ
งานอดิเรก นันทนาการ กิจกรมส่งเสริมประเพณีและวัฒนธรรมปัจจุบันมีสถานสงเคราะห์ของรัฐ 21 แห่ง
ให้บริการได้ 3,000 คน ในจานวนนี้มี 13 แห่งท่ีกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ได้ถ่ายโอน
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินที่มีความพร้อมเป็นผู้รับผิดชอบ และอีก 8 แห่ง จัดเป็นศูนย์สาธิตสังกัด
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ปัญหาของบริการในสถานสงเคราะห์คือขาดแคลน
บุคลากรท่ีเช่ียวชาญเฉพาะด้าน (สถาบันวิจัยเพ่ือการพัฒนาประเทศไทย, 2549) นอกจากน้ี เกณฑ์ในการ
รบั ผู้สูงอายเุ ข้ารับบรกิ ารกาหนดให้เปน็ ผู้ทีย่ งั ช่วยเหลอื ตนเองได้ จงึ ขดั กับแนวคิดท่ีควรช่วยเหลือผู้ที่มีภาวะ
พ่ึงพา และไม่มีอัตรากาลังของเจ้าหน้าท่ีเพ่ือรองรับผู้สูงอายุท่ีอยู่นานจนช่วยเหลือตนเองไม่ได้ และแม้ว่า
การดูแลจะครอบคลุมทัง้ สขุ ภาพกายและสขุ ภาพจติ ผูส้ ูงอายุท่ีอาศัยอยู่ในสถานสงเคราะห์เป็นเวลานานจะ
รู้สึกเหงา คิดถึงลูกหลาน บางรายกลับไปอยู่บ้าน บางรายมีอาการซึมเศร้า โครงการวัยทองนิเวศน์ท่ีเชียงใหม่
สวางคนิวาสทบี่ รกิ ารที่อยูอ่ าศยั ใหผ้ ู้สงู อายุ พบว่า มผี สู้ ูงอายหุ ลายคนทอ่ี ยไู่ ด้ไม่นาน ต้องย้ายที่อยู่ บ้างก็ย้าย
กลับไปอยู่บ้านเพราะน้อยใจลูกหลาน บางคนก็คิดถึงลูกหลาน ซ่ึงผลการศึกษาความต้องการหลักประกัน
ทางสังคมสาหรับผู้สูงอายุของสานักงานปลัดกระทรวงแรงงาน พบว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่อยากอยู่กับ
ครอบครวั (สถาบันวจิ ัยเพ่ือการพฒั นาประเทศไทย, 2549) ดังน้ัน แผนระยะยาวสาหรับผู้สูงอายุ จึงควรมุ่ง
ขยายบริการในรูปศูนย์บริการหน่วยสงเคราะห์เคลื่อนท่ี และจากัดจานวนสถานสงเคราะห์ไว้เท่าท่ีจาเป็น
(ศศิพัฒน์ ยอดเพชร, 2549)

การส่งเสริมให้มีการจัดสภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสมสาหรับผู้สูงอายุในชุมชน สานักส่งเสริม
และพิทักษ์ผู้สูงอายุ โดยความร่วมมือกับคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้ดาเนินการ
ศึกษาและสารวจข้อมูลพ้ืนท่ีนาร่องในจังหวัดเชียงใหม่ จานวน 2 ตาบล ได้แก่เทศบาลตาบลแม่เหียะ
อาเภอเมือง และเทศบาลตาบลหนองตองพัฒนา อาเภอหางดง เพื่อเตรียมดาเนินการโครงการพัฒนารูปแบบ
การจดั สภาพแวดล้อมท่เี หมาะสมสาหรับผสู้ ูงอายุในชุมชน โดยได้มีการจัดทาสื่อเพ่ือการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์
เรื่องบ้านและชุมชนสาหรับผู้สูงอายุในชนบทภาคเหนือที่ประกอบด้วยแนวคิดและบทเรียนท่ีเกี่ยวข้องกับ
การออกแบบและแนวปฏบิ ัติการจดั สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและปลอดภยั สาหรับผู้สูงอายุ และไดม้ กี ารเผยแพร่
ส่ือดงั กลา่ วให้แกห่ น่วยงานในชุมชนท่ีเกี่ยวขอ้ ง เพื่อสร้างความ ตระหนักถึงประโยชน์ของการจัดสภาพแวดล้อม
ท่เี หมาะสมและปลอดภัยสาหรบั ผ้สู งู อายุ

33

ในปี พ.ศ. 2552 สานักสง่ เสริมและพิทักษ์ผู้สูงอายุได้ดาเนินการจัดโครงการค่ายความสัมพันธ์
คนสองวัย(ผู้สูงอายุและเยาวชน) ณ เทศบาลตาบลหนองตองพัฒนา จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อให้เห็น
ความสาคัญและความจาเป็นของการจัดสภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสม และเป็นมิตรกับผู้สูงอายุ รวมทั้งการ
ผลิตสือ่ วีดีทศั น์เรอื่ งหมู่บา้ นตน้ แบบการดแู ลและการจัดสภาพแวดลอ้ มสาหรบั ผู้สงู อายุ

3.3 ดา้ นการมงี านทาและการมรี ายได้
3.3.1 กองทุนสวัสดิการชุมชนสาหรับผู้สูงอายุ สืบเน่ืองจากนโยบายของรัฐบาลในปี พ.ศ. 2550

โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (นายไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม) ได้มี
การแต่งตั้งคณะกรรมการสนับสนุนการจัดสวัสดิการชุมชนท้องถิ่นระดับชาติ และคณะอนุกรรมการ
สวัสดกิ ารชมุ ชนทอ้ งถิน่ ระดบั จงั หวัดในทุกจังหวัดข้นึ โดยรฐั บาลได้มกี ารจัดสรรงบประมาณให้ชุมชนในการ
ดาเนินงานด้านการจัดสวัสดิการแก่คนภายในชุมชนในรูปแบบของเงินกองทุนสวัสดิการท่ีครอบคลุมต้ังแต่
เกิด แก่ เจ็บ ตาย ซึง่ ในการดาเนินงานใหเ้ ป็นไปตามข้อตกลงหรือกฎระเบียบของแต่ละกองทุนท่ีมุ่งเน้นการ
ฟ้ืนฟูระบบการดูแลและการเกื้อหนุนซ่ึงกันและกันระหว่างคนภายในชุมชนเดียวกัน ทาให้เกิดเครือข่าย
สวัสดิการชุมชนท้ังในระดับจังหวัดและระดับชาติ ซึ่งในเวลาต่อมาได้มีบทบาทสาคัญในการสนับสนุนให้มี
การขยายการจัดต้ังกองทุนสวัสดิการชุมชนดังกล่าวในพ้ืนที่ใหม่เพิ่มเติม รวมทั้งมีการพัฒนาประสิทธิภาพ
การดาเนินงานของกองทุนสวัสดิการชุมชนในพ้ืนท่ีเดิม ในรัฐบาลปัจจุบัน (นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ) เม่ือวันท่ี
15 มกราคม 2552 รัฐบาลยังคงให้การสนับสนุนนโยบายการจัดสวัสดิการชุมชน โดยได้ให้การสนับสนุน
งบประมาณแก่กองทุนสวัสดิการชุมชนในหลักการ 1 : 1 : 1 (ชุมชน : องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน : รัฐบาล)
และได้มีการแต่งต้ังคณะกรรมการส่งเสริมพัฒนาการจัดสวัสดิการชุมชนระดับชาติที่มีนายกรัฐมนตรี
เป็นประธาน และในระดับจังหวัดได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการสนับสนุนการขับเคลื่อนสวัสดิการชุมชน
จังหวดั ทมี่ ีผ้วู ่าราชการจงั หวัดเป็นประธาน มีผูน้ าองคก์ รสวสั ดกิ ารชุมชนเป็นรองประธาน และมีผู้นากองทุน
สวัสดิการชุมชนเป็นเลขานุการร่วมกับสานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัด มีหน้าท่ี
เอื้ออานวยและประสานการดาเนินงานร่วมกับองค์กรภาคประชาชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ในการดาเนินการจัดสวัสดิการชุมชนในพ้ืนที่ให้ครอบคลุมและสามารถตอบสนองความต้องการของคน
ในชุมชนได้อยา่ งแท้จรงิ

ในปี พ.ศ. 2552 รฐั บาลไดใ้ หก้ ารสนับสนนุ งบประมาณแก่กองทุนสวัสดิการชุมชนท่ัวประเทศ
โดยครอบคลุมกองทุน จานวน 2,990 กองทุน ในพ้ืนท่ี 21,795 หมู่บ้าน เป็นกองทุนในพ้ืนท่ีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
จานวน 974 กองทุน (ร้อยละ 32.6) รองลงมาคือ ภาคเหนือ จานวน 619 กองทุน (ร้อยละ 20.7) ภาคใต้
จานวน 512 กองทุน (รอ้ ยละ 17.1) รวมจานวนสมาชิกกองทุนจากทุกภาค 1,044,318 คน มีเงินกองทุนที่เป็น
เงินออมจากสมาชิกชุมชน รวมจานวน 617.72 ล้านบาท (ร้อยละ 73) เงินสมทบจากรัฐบาลที่ดาเนินการ
ผ่านสถานพัฒนาองค์กรชุมชน (พอช.) จานวน 163.67 ล้านบาท (ร้อยละ 20) เงินสมทบจากองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น 35.77 ลา้ นบาท (รอ้ ยละ 4) และจากแหล่งอน่ื ๆ จานวน 23.17 ล้านบาท (รอ้ ยละ 3)

สาหรบั ในปี พ.ศ. 2552 มีสมาชิกท่ีได้รับประโยชน์จากกองทุนสวัสดิการโดยตรงแล้ว จานวน
17,331 คน (สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน : 2553) (เป็นสมาชิกทั่วไป 14,863 คน เป็นเด็ก, ผู้สูงอายุ,
ผูพ้ กิ ารและผู้ด้อยโอกาส จานวน 2,468 คน)

3.4 ด้านการบรกิ ารสงั คมและนันทนาการ ประกอบดว้ ย
3.4.1 ชมรมผสู้ ูงอายุ รปู แบบบริการทางสังคมสาหรับผู้สูงอายุที่มีการพัฒนาข้ึนอย่างมากใน

ปจั จุบนั ชมรมผู้สงู อายเุ ปน็ การรวมกลุ่มกนั ทางสังคมของผู้สูงอายุท่ีมีความสนใจและมีอุดมการณ์ร่วมกันใน
การท่จี ะพัฒนาคุณภาพชวี ติ ของผ้สู งู อายุ โดยเฉพาะการสร้างคุณภาพท้งั ทางกาย จติ และสังคม เพ่ือให้ชีวิต
มีคุณค่าและมีคุณประโยชน์ท้ังแก่ตนเองครอบครัวและสังคม โดยมีสภาผู้สูงอายุและกระทรวงสาธารณสุข

34

เป็นผู้สนับสนุน แต่ผู้บริการจัดการและดาเนินการหลักคือกลุ่มผู้สูงอายุเอง การดาเนินงานของชมรม
ผู้สูงอายุในลักษณะเครือข่าย ทาให้งานด้านผู้สูงอายุเข้มแข็งมากขึ้น ดังเช่น โครงการพันธมิตรเครือข่าย
ผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ (Age Net) ที่เปน็ เครือขา่ ยทเี่ ข้มแขง็

3.4.2 ศูนย์อเนกประสงค์สาหรับผู้สูงอายุ สานักส่งเสริมและพิทักษ์ผู้สูงอายุ ได้ริเริ่มดาเนิน
โครงการศนู ย์อเนกประสงค์สาหรบั ผูส้ ูงอายใุ นชมุ ชนในลักษณะของโครงการนาร่องในพื้นที่ 7 จังหวัด ได้แก่
เชียงใหม่ พิษณุโลก ขอนแก่น สกลนคร พัทลุง ชลบุรี และเพชรบุรี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ศูนย์อเนกประสงค์
เป็นสถานที่หรือศูนย์กลางสาหรับจัดกิจกรรมต่างๆอย่างหลากหลายสาหรับผู้สูงอายุและบุคคลทุกวัยภายใน
ชุมชน โดยมีกระบวนการสร้างความรู้ความ เข้าใจเรื่องศูนย์อเนกประสงค์ฯ ให้แก่ผู้สูงอายุ รวมท้ังคนใน
ชุมชน และมีการบริหารจัดการศูนย์ฯ โดยคนในชุมชน สาหรับกิจกรรมภายในศูนย์อเนกประสงค์ฯจะ
มุง่ เนน้ ให้มกี ารจัดกิจกรรมทีส่ ร้างเสริมและขยายโอกาสให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้ และได้รับการพัฒนาทักษะ
ดา้ นตา่ งๆ มีการส่งเสรมิ ใหผ้ ู้สูงอายเุ ข้ามามสี ว่ นร่วมกจิ กรรมตา่ งๆภายในชุมชน โดยกจิ กรรมต่างๆเหล่านี้จะ
เป็นเคร่ืองมอื ในการช่วยใหผ้ สู้ ูงอายไุ ดม้ ีโอกาสในการพัฒนาตนเองทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม
และภมู ิปัญญา

ในปี พ.ศ. 2552 ได้มีการประเมินผลการดาเนินโครงการศูนย์อเนกประสงค์สาหรับผู้สูงอายุ
ในชมุ ชน ได้รว่ มกับสานักส่งเสริมและฝึกอบรมมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาผล
การดาเนินงานของศูนย์อเนกประสงค์ฯ ปัจจัยท่ีมีผลต่อการดาเนินงาน และการเปรียบเทียบผลการดาเนินงาน
ศูนย์อเนกประสงค์ฯ ทั้ง 9 แห่ง รวมทั้งแนวทางในการดาเนินงานของศูนย์อเนกประสงค์ฯ ในอนาคต ซ่ึงพบว่า
การดาเนินงานศูนย์อเนกประสงค์สาหรับผู้สูงอายุในชุมชนเป็นแนวคิดใหม่ที่มีความเหมาะสม และควรสนับสนุน
ให้มีการขยายผลการจัดตั้งเพิ่ม โดยให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นเจ้าภาพหลักในการดูแลและ
ดาเนินการซึ่งมีกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ร่วมกับกระทรวงมหาดไทยทาหน้าที่
สนับสนุนความรู้ทางวิชาการ การให้คาแนะนาในเร่ืองการบริหารจัดการกล่าวได้ว่าศูนย์อเนกประสงค์
สาหรับผู้สูงอายุในชุมชนที่มีการจัดตั้งข้ึนสามารถเอ้ือประโยชน์ให้แก่ผู้สูงอายุในแต่ละชุมชนในการเข้าม
าทากิจกรรมรว่ มกันในระหวา่ งเวลากลางวันได้ชุมชนละประมาณ 800 - 1,000 คน นอกจากน้ียังได้จัดให้มี
การสัมมนาเผยแพร่แนวคิด และรูปแบบการจัดตั้งศูนย์อเนกประสงค์สาหรับผู้สูงอายุในชุมชน จานวน
4 ภาค ให้แก่หนว่ ยงานทีเ่ ก่ียวข้อง อาทิ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินสานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคง
ของมนุษย์จังหวัด ศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุชมรม มูลนิธิ เป็นต้น ซ่ึงมีจานวนผู้เข้าร่วม
การสมั มนารวมทง้ั จานวนทงั้ สิ้น 575 คน จาก 502 องคก์ ร

3.5 การดาเนนิ งานการจัดสวัสดกิ ารสังคมสาหรบั ผู้สูงอายขุ องกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
1) ศนู ย์พฒั นาการจดั สวัสดิการสังคมผู้สูงอายุ กรมพฒั นาสงั คมและสวัสดิการ ได้ดาเนินการ

จัดต้ังศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมสาหรับผู้สูงอายุ เพื่อให้บริการช่วยเหลือผู้สูงอายุในลักษณะของ
สถานสงเคราะห์สาหรับผู้สูงอายุที่ขาดท่ีพึ่งถูกทอดท้ิง ไม่มีผู้ดูแล หรือไม่สามารถใช้ชีวิตอยู่ร่วมกับครอบครัว
ของตนเองได้ โดยปัจจุบันมีศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมสาหรับผู้สูงอายุ จานวน 12 แห่ง ในทุกภาค
ทั่วประเทศ ไดแ้ ก่

- ศูนยพ์ ฒั นาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สงู อายุบา้ นบางแค กรงุ เทพมหานคร
- ศนู ยพ์ ัฒนาการจดั สวสั ดกิ ารสงั คมผู้สงู อายบุ ้านบางละมุง จงั หวัดชลบรุ ี
- ศูนย์พัฒนาการจัดสวสั ดิการสงั คมผ้สู ูงอายุบ้านธรรมปกรณ์ จงั หวัดเชียงใหม่
- ศูนยพ์ ัฒนาการจดั สวัสดกิ ารสังคมผู้สูงอายุผ้สู งู อายบุ า้ นทกั ษิณ จงั หวดั ยะลา
- ศนู ย์พฒั นาการจัดสวัสดกิ ารสงั คมผสู้ งู อายุวาสนะเวสมฯ์ จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา
- ศูนยพ์ ัฒนาการจดั สวัสดกิ ารสังคมผสู้ งู อายุบ้านภูเก็ต จังหวดั ภูเก็ต

35

- ศนู ยพ์ ฒั นาการจัดสวสั ดิการสงั คมผู้สงู อายุบา้ นบรุ ีรัมย์ จังหวดั บรุ ีรมั ย์
- ศูนยพ์ ัฒนาการจดั สวัสดกิ ารสังคมผู้สูงอายุจังหวดั ปทุมธานี จงั หวดั ปทมุ ธานี
- ศนู ยพ์ ัฒนาการจัดสวัสดกิ ารสังคมผูส้ ูงอายจุ งั หวัดลาปาง จังหวดั ลาปาง
- ศนู ย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสงั คมผ้สู งู อายนุ ครพนม จังหวัดนครพนม
- ศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดกิ ารสังคมผู้สงู อายสุ งขลา จังหวัดสงขลา
- ศูนยพ์ ฒั นาการจดั สวสั ดกิ ารสงั คมผสู้ งู อายขุ อนแก่น จงั หวดั ขอนแกน่
โดยศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุทั้ง 12 แห่ง มีขีดความสามารถในการรับ
ผู้สูงอายุเข้าพานักอาศัยได้ จานวนประมาณ 1,500 คน โดยในปี พ.ศ. 2552 มีจานวนผู้สูงอายุ 1,213 คน
ทไ่ี ด้รบั การดูแลจากศนู ย์พัฒนาการจดั สวัสดกิ ารสงั คมทงั้ 12 แห่ง
2) ศูนย์บริการทางสังคมผู้สูงอายุ (Day Centre) เนื่องจากปัจจุบันมีจานวนประชากร
ผู้สูงอายุมากขึ้น ประกอบกับการสงเคราะห์ ภายในสถานสงเคราะห์มีค่าใช้จ่ายสูงมาก มีความจากัดด้าน
บุคลากรดูแลผ้สู ูงอายุ และไมไ่ ดร้ บั อตั รากาลังเพ่ิม รวมทั้งหลักการดูแลผู้สูงอายุท่ีดีท่ีสุด คือ การให้ผู้สูงอายุได้อยู่
ร่วมกับครอบครัวอย่างมีความสุขในบั้นปลายชีวิต ไม่ใช่การแยกผู้สูงอายุจากครอบครัว จากหลักการและ
เหตผุ ลดังกล่าว กรมพัฒนาสงั คมและสวสั ดิการ จงึ จัดใหม้ บี ริการทางสังคมสาหรับผู้สงู อายโุ ดยให้บริการ ดงั นี้
- บริการภายในศนู ย์ ได้แก่ สขุ ภาพอนามยั กายภาพบาบดั สังคมสงเคราะห์กจิ กรรมเสริม
รายได้ กิจกรรมนันทนาการ กจิ กรรมเสรมิ ความรู้ และศาสนกจิ บริการหน่วยเคล่ือนท่ี เปน็ ต้น
- บริการบ้านพักฉุกเฉิน เป็นบริการช่วยเหลือผู้สูงอายุที่ประสบปัญหาความเดือดร้อน
เฉพาะหน้า โดยรับเข้าพักในบ้านพักฉุกเฉิน และให้บริการในด้านปัจจัย 4 สังคมสงเคราะห์ หรือส่งไปรับ
การช่วยเหลอื จากหนว่ ยงานอื่น การจดั ตัง้ ศูนยบ์ รกิ ารบางแหง่ เป็นส่วนหนง่ึ ของสถานสงเคราะห์ และในบาง
แห่งจดั ตง้ั เป็นเฉพาะศูนย์บริการเพียงอยา่ งเดียว
3) บริการหน่วยเคลื่อนที่ เป็นบริการท่ีจัดขึ้นเพื่อออกเยี่ยมเยียนผู้สูงอายุที่อยู่ตามบ้าน
นาข้อมูลข่าวสารบริการไปเผยแพร่การให้บริการในด้านคาแนะนา และการรักษาพยาบาลเล็กๆ น้อยๆ
โดยหน่วยเคล่ือนที่จะประกอบด้วย นักสังคมสงเคราะห์และเจ้าหน้าที่พยาบาล ดาเนินการโดยหน่วยงาน
ส่วนกลาง กรงุ เทพ มหานคร ศูนย์บริการผ้สู งู อายแุ ละสถานสงเคราะห์คนชราต่างๆ
4) การสงเคราะห์เคร่ืองอุปโภค บริโภค เครื่องช่วยความพิการ และอ่ืนๆ การสงเคราะห์
เคร่ืองอุปโภค บริโภค เคร่ืองช่วยความพิการ และอื่นๆ ตามสภาพปัญหาและความต้องการของผู้สูงอายุ
โดยมีนักสังคมสงเคราะห์เป็นผู้ให้บริการตามความเหมาะสม รวมท้ังติดต่อประสานงานหน่วยงานอื่น
ทเี่ ก่ียวขอ้ ง ร่วมใหค้ วามช่วยเหลือต่อไป
5) การจัดอบรมผู้ดแู ลผ้สู ูงอายุ โครงการจัดอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุ โดยเข้ารับการฝึกอบรม
ในหน่วยงานสังกัดกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ ตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการกาหนดไว้ และ
ประสานงานให้นายจ้างทมี่ ีความประสงคต์ ้องการต่อไป
การจัดสวสั ดิการสาหรบั ผสู้ งู อายุ จากมลู นธิ ิสถาบนั วิจัยและพฒั นาผูส้ งู อายไุ ทย (มส.ผส.) โดย
พญ.ลดั ดา ดาริการเลศิ ผ้จู ดั การแผนงานวิจัยเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้สูงอายุ (4 มิติ สู่คุณภาพชีวิต
ผู้สูงวัยในชุมชน, 2554) กล่าวว่าการสร้างคุณภาพชีวิตให้แก่ผู้สูงอายุควรประกอบด้วย 4 มิติ คือ มิติการ
ดูแลระยะยาวผู้สูงวัยกลุ่มพึ่งพิง มิติการสร้างงานอาชีพและรายได้แก่ผู้สูงวัย มิติการปรับสภาพแวดล้อม
ใหเ้ ปน็ มติ รกับผสู้ ูงวยั และมติ ิการเตรยี มความพรอ้ มสูว่ ยั สงู อายุ
1) มติ กิ ารดแู ลระยะยาวผู้สูงวัยกลุ่มพึ่งพิงคือมิติด้านสุขภาพทั้งทางกายภาพและจิตใจของผู้สูงวัย
ซึ่งภาวะโดยธรรมชาติจะแตกต่างกันในแต่ละช่วงวัยของผู้สูงอายุและต้องการได้รั บการดูแลท่ีต่างกัน
ประกอบดว้ ย


Click to View FlipBook Version