The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รูปเล่มงานวิจัย เรื่อง แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในท้องถิ่นโดยใช้โรงเรียนผู้สูงอายุเป็นฐาน

วิจัยแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอาย

6 (ต่อ)
มชว่ ยเหลอื แกผ่ สู้ ูงอายุ

เทศบาลตาบลจานแสนไชย อาเภอหว้ ยทบั ทนั จงั หวัดศรีสะเกษ

ได้รับ ชนิดของความชว่ ยเหลือ รอ้ ยละ (N=72) ไม่ไดร้ บั ไดร้ ับ
ปรกึ ษา/แนะนา กาลงั ใจ ส่ิงของ/เงนิ ขอ้ มลู ข่าวสาร

53.1 31.9 34.7 30.6 20.8 61.1 38.9

73.4 43.1 54.2 54.2 22.2 43.1 56.9
46.9 2.8 6.9 6.9 - 91.7 8.3
25.0 1.4 5.6 5.6 4.2 83.3 16.7

43.8 2.8 5.6 - 5.6 87.5 12.5 75
93.8 13.9 16.7 2.8 37.5 43.1 56.9

29.7 2.8 - - 4.2 94.4 5.6
2.8 95.8 4.2
23.4 1.4 - - 8.3 75.0 25.0
- 94.4 5.6
70.3 18.1 13.9 - 1.4 98.6 1.4
52.8 27.8 72.2
26.6 4.2 4.2 1.4
2.8 94.4 5.6
21.9 - --

90.6 36.1 26.4 -

20.3 2.8 1.4 -

96.9 15.3 16.7 18.1 81.9 12.5 87.5

25 - -- 1.4 97.2 2.8
32.8 2.8 -- - 94.4 5.6

20.3 1.4 -- - 97.2 2.8
20.3 2.8 -- - 98.6 1.4
31.2 1.4 -- - 97.2 2.8

76

4.1.2 คุณภาพชวี ิตผูส้ งู อายใุ นทอ้ งถิ่น
1) ระดับคณุ ภาพชวี ิตโดยรวม

ระดับคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุท่ีตอบแบบสารวจภาพรวม พบว่า ส่วนใหญ่ร้อยละ 57.7
มีคณุ ภาพชวี ิตโดยรวมอยใู่ นระดับดี ร้อยละ 40.5 อยู่ในระดับปานกลาง และร้อยละ 1.8 อยู่ในระดับไม่ดี
เม่ือพิจารณาตามองค์ประกอบในการวัดคุณภาพชีวิต พบว่า ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพกายและ
ดา้ นจติ ใจดีท่ีสุด รองลงมา คอื คุณภาพชีวิตด้านสิ่งแวดล้อม และด้านสัมพันธภาพทางสังคม โดยมีคุณภาพ
ชวี ิตดังกล่าวในระดับดี ร้อยละ 57.0, 49.7, 41.7 ตามลาดับ อย่างไรก็ตามมีผู้สูงอายุที่คุณภาพชีวิตระดับ
ปานกลางมากกว่าคุณภาพชีวิตระดับดี ได้แก่ คุณภาพชีวิตด้านสัมพันธภาพทางสังคม ที่มีร้อยละ 49.8
(ดังตาราง 4.7) เมอื่ พิจารณารายจงั หวัด พบว่า

เทศบาลตาบลตาจง อาเภอละหานทราย จังหวัดบุรีรัมย์ มีผู้สูงอายุส่วนใหญ่ร้อยละ
64.3 มีคณุ ภาพชีวิตโดยรวมอยใู่ นระดับดี ร้อยละ 33.2 อยู่ในระดบั ปานกลาง และร้อยละ 2.5 อยู่ในระดับ
ไม่ดี เมื่อพิจารณาตามองค์ประกอบในการวัดคุณภาพชีวิต พบว่า ผู้สูงอายุมีส่วนใหญ่คุณภาพชีวิตด้าน
สัมพันธภาพทางสังคมและด้านสภาพแวดลอ้ มในระดับดี คิดเป็นร้อยละ 72.0 และ 64.3 ตามลาดับ สาหรับ
คุณภาพชวี ิตด้านสขุ ภาพกาย และดา้ นจิตใจ อยใู่ นระดับปานกลาง รอ้ ยละ 64.3 (ดังตาราง 4.7)

ตาบลมะเกลือเก่า อาเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา มีผู้สูงอายุส่วนใหญ่ร้อยละ 50.3
มคี ุณภาพชวี ติ โดยรวมอย่ใู นระดบั ปานกลาง ร้อยละ 48.4 อยู่ในระดับดี และ ร้อยละ 1.3 อยู่ในระดับไม่ดี
เม่ือพิจารณาตามองค์ประกอบในการวัดคุณภาพชีวิต พบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพ
กายและด้านจิตใจ อยู่ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ 57.3 สาหรับสัมพันธภาพทางสังคมและด้าน
สภาพแวดล้อมอย่ใู นระดบั ปานกลาง คิดเปน็ ร้อยละ 49.7 และ 60.5 ตามลาดบั (ดงั ตาราง 4.7)

ตาบลโนนสาราญ อาเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ มีผู้สูงอายุส่วนใหญ่ร้อยละ 59.0
มีคุณภาพชีวิตโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง และร้อยละ 41.0 อยู่ในระดับดี เม่ือพิจารณาตาม
องค์ประกอบในการวัดคุณภาพชีวิต พบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพกายและด้านจิตใจ
อยู่ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ 60.0 สาหรับคุณภาพชีวิตด้านสัมพันธภาพทางสังคมและด้านสภาพแวดล้อม
อยใู่ นระดบั ปานกลาง คิดเป็นรอ้ ยละ 55.0 และ รอ้ ยละ 80.0 ตามลาดับ (ดงั ตาราง 4.7 (ต่อ))

ตาบลตะเคียน อาเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ มีผู้สูงอายุส่วนใหญ่ร้อยละ 80.0
มีคุณภาพชีวิตโดยรวมอย่ใู นระดบั ดี และร้อยละ 20.0 อยใู่ นระดบั ปานกลาง เม่ือพิจารณาตามองค์ประกอบ
ในการวัดคุณภาพชีวติ พบวา่ ผสู้ ูงอายุส่วนใหญ่มคี ุณภาพชวี ติ ดา้ นสุขภาพกายอยูใ่ นระดับปานกลาง คิดเป็น
ร้อยละ 84.0 สาหรับคุณภาพชีวิตด้านจิตใจ ด้านสัมพันธภาพทางสังคมและด้านสภาพแวดล้อมอยู่ในระดับดี
คดิ เปน็ ร้อยละ 84.0, 68.0 และ 82.0 ตามลาดบั (ดังตาราง 4.7 (ต่อ))

ตาบลบากเรือ อาเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร มีผู้สูงอายุส่วนใหญ่ร้อยละ 70.3
มคี ณุ ภาพชวี ติ โดยรวมอยู่ในระดับดี ร้อยละ 28.10 อยู่ในระดับปานกลาง และร้อยละ 1.6 อยู่ในระดับไม่ดี
เมื่อพิจารณาตามองค์ประกอบในการวัดคุณภาพชีวิต พบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีคุณภาพชีวิตอยู่ในระดับดี
ทง้ั ทางด้านสขุ ภาพกาย ดา้ นจิตใจ ด้านสมั พันธภาพทางสงั คมและด้านสภาพแวดล้อม คิดเป็นร้อยละ 73.4,
73.4, 64.1 และ 67.2 ตามลาดบั (ดงั ตาราง 4.7 (ตอ่ ))

เทศบาลตาบลจานแสนไชย อาเภอห้วยทับทัน จังหวัดศรีสะเกษ มีผู้สูงอายุส่วนใหญ่
ร้อยละ 56.9 มีคุณภาพชีวิตโดยรวมอยู่ในระดับดี ร้อยละ 41.70 อยู่ในระดับปานกลาง และร้อยละ 1.40
อยู่ในระดับไม่ดี เมื่อพิจารณาตามองค์ประกอบในการวัดคุณภาพชีวิต พบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีคุณภาพ
ชีวิตอยู่ในระดับดีด้านสุขภาพกาย ด้านจิตใจและด้านสภาพแวดล้อม คิดเป็นร้อยละ 72.20, 72.20 และ
55.60 สาหรับคุณภาพชีวิตด้านสัมพันธภาพทางสังคมอยู่ในระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 59.70
(ดังตาราง 4.7 (ต่อ))

คุณภาพชีวติ ภาพรวม ต
ระดบั คณุ ภาพชีวติ โดยรวมแล

เทศบาลตาบ

ระดบั คณุ ภาพชีวติ (N= 600) ระดบั
ไม่ดี
ไม่ดี ปานกลาง ดี
จานวน รอ้ ย
จานวน รอ้ ย จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ ละ

ละ 4 2.5

คุณภาพชีวิต 11 1.8 243 40.5 346 57.7
โดยรวม
10 1.7 248 41.3 342 57.0 5 3.20
*ด้านสขุ ภาพกาย 10 1.7 248 41.3 342 57.0 5 3.20
51 8.5 299 49.8 250 41.7 5 3.20
*ดา้ นจิตใจ
13 2.2 289 48.2 298 49.7 3 1.90
*ด้านสัมพันธภาพ
ทางสังคม
*ด้านสภาพแวดลอ้ ม

ตารางที่ 4.7

ละรายดา้ นของผสู้ ูงอายุ

บลตาจง อาเภอละหานทราย ตาบลมะเกลอื เก่า อาเภอสูงเนนิ

จงั หวัดบุรรี มั ย์ จงั หวดั นครราชสมี า

บคุณภาพชวี ิต(N=157) ระดบั คุณภาพชวี ิต(N=157)

ปานกลาง ดี ไม่ดี ปานกลาง ดี

จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ย จานวน ร้อย จานวน ร้อย

ละ ละ ละ

52 33.20 101 64.30 2 1.30 79 50.30 76 48.40

101 64.30 51 32.50 3 1.90 64 40.80 90 57.30 77
101 64.30 51 32.50 3 1.90 64 40.80 90 57.30
39 24.80 113 72 17. 10.80 78 49.70 62 39.50

53 33.80 101 64.30 7 4.50 95 60.50 55 35.0

ตารางท่ี 4.7

ระดบั คณุ ภาพชีวติ โดยรวมแล

คณุ ภาพชีวิต ตาบลโนนสาราญ อาเภอเมอื ง จงั หวัดชยั ภูม

คุณภาพชวี ติ โดยรวม ระดบั คุณภาพชวี ติ (N=100)
*ดา้ นสุขภาพกาย
*ด้านจติ ใจ ระดับไมด่ ี ระดับปานกลาง ร
*ด้านสัมพนั ธภาพทางสงั คม
*ดา้ นสภาพแวดลอ้ ม จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน

- - 59 59 41

1 1 39 39 60

1 1 39 39 60

6 6 55 55 39

2 2 80 80 18

คณุ ภาพชวี ิต ตารางที่ 4.7
ระดับคุณภาพชวี ติ โดยรวมแล
คุณภาพชีวิตโดยรวม
*ด้านสุขภาพกาย ตาบลบากเรือ อาเภอมหาชนะชยั จังหวัดยโส
*ดา้ นจิตใจ
*ด้านสัมพันธภาพทางสังคม ระดบั คุณภาพชีวติ (N=64)
*ดา้ นสภาพแวดลอ้ ม
ระดบั ไม่ดี ระดบั ปานกลาง ร

จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน

1 1.60 18 28.10 45

- - 17 26.60 47

- - 17 26.60 47

1 1.6 22 34.30 41

- - 21 32.80 43

7(ตอ่ )

ละรายด้านของผสู้ งู อายุ

มิ ตาบลตะเคียน อาเภอกาบเชงิ จงั หวดั สุรนิ ทร์

ระดับคุณภาพชวี ติ (N=50)

ระดับดี ระดับไม่ดี ระดับปานกลาง ระดับดี

น รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ

41 - - 10 20 40 80

60 8 16 42 84 - -

60 - - 8 16 42 84

39 3 6 13 26 34 68

18 - - 9 18 41 82

78

7 (ต่อ)

ละรายด้านของผู้สูงอายุ

สธร เทศบาลตาบลจานแสนไชย อาเภอห้วยทบั ทัน

จังหวดั ศรสี ะเกษ

ระดับคุณภาพชีวติ (N=72)

ระดบั ดี ระดบั ไมด่ ี ระดับปานกลาง ระดับดี

น รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ

70.30 1 1.40 30 41.70 41 56.90

73.40 1 1.40 19 26.40 52 72.20

73.40 1 1.40 19 26.40 52 72.20

64.10 19 26.40 43 59.70 10 13.90

67.20 1 1.40 31 43.10 40 55.60

79

2) ระดบั คณุ ภาพชวี ติ ผสู้ ูงอายุรายดา้ น
ระดบั คุณภาพชีวติ ผ้สู ูงอายรุ ายด้านตามหลักขององค์การอนามัยโลก จานวน 4 ด้าน

ประกอบด้วย ด้านสุขภาพกาย ด้านจิตใจ ด้านสัมพันธภาพทางสังคม และด้านสภาพแวดล้อม มีผล
การศึกษาตามตารางท่ี 4.8 ดงั นี้

2.1 ดา้ นสขุ ภาพกาย
ภาพรวม พบว่า ผู้สูงอายุที่ตอบแบบสารวจส่วนใหญม่ ีความสามารถในการทาสง่ิ ตา่ งๆ

ในแต่ละวันได้ เช่น รับประทานอาหารเอง การดูแลความสะอาดของตนเองได้ ( x = 3.76) รองลงมาคือ
ความพอใจในการไปไหนมาไหนด้วยตนเองได้ ( x = 3.66) และรู้สึกพึงพอใจที่สามารถทาอะไรๆ ผ่านไปได้
เชน่ การลุก การเดนิ การน่ัง การว่ิง การเดนิ เปน็ ต้น ( x = 3.62)

เทศบาลตาบลตาจง อาเภอละหานทราย จังหวัดบุรีรัมย์ พบว่า ผู้สูงอายุที่ตอบ
แบบสารวจส่วนใหญ่มีความสามารถทาสิ่งต่างๆ ในแต่ละวันได้ ( x = 3.54) รองลงมาคือ ความพอพึงใจใน
การนอนหลับพักผ่อน ( x = 3.46) และรู้สึกพึงพอใจกับความสามารถไปไหนมาไหนด้วยตนเอง เช่นการ
เดนิ ทาง การทากิจวัตรประจาวนั เป็นต้น ( x = 3.34)

ตาบลมะเกลือเก่า อาเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา พบว่า ผู้สูงอายุที่ตอบ
แบบสารวจส่วนใหญ่พึงพอใจต่อความสามารถในการทาส่ิงต่างๆ ในแต่ละวันได้ เช่น รับประทานอาหารเองได้
การดูแลความสะอาดของตนเองได้ ( x = 3.91) รองลงมาคือ รู้สึกพึงพอใจท่ีสามารถทาอะไรๆ ผ่านไปได้
( x = 3.83) และรู้สึกพอใจท่ีสามารถไปไหนมาไหนด้วยตนเองได้ ( x = 3.80)

ตาบลโนนสาราญ อาเภอเมืองชัยภูมิ จังหวดั ชัยภมู ิ พบว่า ผสู้ ูงอายุที่ตอบแบบ
สารวจส่วนใหญ่รู้สึกว่าสามารถทาในส่ิงต่างๆ ในแต่ละได้ เช่น รับประทานอาหารเองได้ การดูแลความ
สะอาดของตนเองได้ ( x = 3.68) รองลงมาคือ พอใจที่สามารถทาอะไรๆ ผ่านไปได้ ( x = 3.64) และพึงพอใจ
ในความสามารถไปไหนมาไหนดว้ ยตนเองได้ ( x = 3.63)

ตาบลตะเคียน อาเภอกาบเชงิ จังหวดั สรุ ินทร์ พบวา่ ผสู้ งู อายทุ ่ตี อบแบบสารวจ
ส่วนใหญ่พึงพอใจในความสามารถไปไหนมาไหนด้วยตนเองได้ ( x = 4.12) รองลงมาคือ รู้สึกพอใจที่
สามารถทาอะไรๆ ผ่านไปได้ ( x = 4.06) และความสามารถในการทาส่ิงต่างๆ ในแต่ละวันได้ เช่น
รบั ประทานอาหารเองได้ การดูแลความสะอาดของตนเองได้ ( x = 4.02)

ตาบลบากเรือ อาเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร พบว่า ผู้สูงอายุท่ีตอบแบบ
สารวจส่วนใหญ่พอใจในความสามารถทาสิ่งต่างๆ ในแต่ละวัน เช่น การรับประทานอาหารเอง การดูแล
ความสะอาดของตนเองได้ เป็นต้น( x = 3.95) รองลงมา คือ ความพอใจไปไหนมาไหนด้วยตนเองได้
( x = 3.66) และความพอใจในการนอนหลบั พกั ผอ่ น ( x = 3.64)

เทศบาลตาบลจานแสนไชย อาเภอห้วยทับทัน จังหวัดศรีสะเกษ พบว่า
ผู้สงู อายทุ ีต่ อบแบบสารวจส่วนใหญ่พอใจในการนอนหลับพักผ่อนได้ดี( x = 3.97) รองลงมาคือ รู้สึกพอใจท่ี
สามารถทาอะไรๆ ผา่ นไปได้( x = 3.82) และรูส้ ึกพอใจในการไปไหนมาไหนดว้ ยตนเองได(้ x = 3.74)

2.2 ดา้ นจิตใจ
ภาพรวม พบวา่ ผสู้ งู อายุที่ตอบแบบสารวจส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในชีวิต ( x =3.81)

เช่น รู้สึกสดช่ืนแจ่มใส และภาคภูมิใจในตนเอง รองลงมาคือ ความพึงพอใจในตนเอง ( x = 3.63) การเห็น
คุณค่าของตนเอง เช่น มีความเช่ือม่ันในตนเอง มีความพยายามชนะอุปสรรค การยอมรับความเป็นจริง
และรู้สกึ ว่าชวี ติ มคี วามหมาย ( x = 3.47)

เทศบาลตาบลตาจง อาเภอละหานทราย จังหวัดบุรีรัมย์ พบว่า ผู้สูงอายุท่ีตอบ
แบบสารวจส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในชีวิต เช่น รู้สึกสดชื่นแจ่มใส และภาคภูมิใจในตนเอง ( x = 3.75)

80

รองลงมาคือ รู้สึกว่าชีวิตมีความหมาย เช่น การอธิษฐานขอพรส่ิงศักด์ิสิทธิ์หรือการดูดวงโชคชะตา( x = 3.68)
และมีความพึงพอใจในตนเอง การเห็นคุณค่าของตนเอง เช่น มีความเช่ือมั่นในตนเอง มีความพยายามชนะ
อุปสรรค การยอมรับความเป็นจรงิ ( x = 3.66)

ตาบลมะเกลือเก่า อาเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา พบว่า ผู้สูงอายุท่ีตอบ
แบบสารวจส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในชีวิต เช่น รู้สึกสดชื่นแจ่มใส และภาคภูมิใจในตนเอง ( x = 3.82)
รองลงมาคือ มคี วามรสู้ ึกไมห่ ดหู่ ไม่สิน้ หวัง ไม่วิตกกังวล ( x = 3.67) และมีความพึงพอใจในตนเอง การเห็น
คณุ คา่ ของตนเอง เชน่ มคี วามเชื่อมั่นในตนเอง มคี วามพยายามชนะอุปสรรค และการยอมรับความเป็นจริง
( x = 3.61)

ตาบลโนนสาราญ อาเภอเมอื งชัยภูมิ จังหวดั ชัยภูมิ พบวา่ ผู้สงู อายุที่ตอบแบบ
สารวจส่วนใหญม่ คี วามรู้สึกไม่หดหู่ ไม่สิ้นหวัง ไม่วิตกกังวล ( x = 4.06) รองลงมาคือ ความพึงพอใจในชีวิต
เชน่ รสู้ กึ สดช่นื แจม่ ใส และภาคภูมิใจในตนเอง ( x = 3.59) และความพึงพอใจในตนเอง การเห็นคุณค่าของ
ตนเอง เช่น มคี วามเชอ่ื มนั่ ในตนเอง มคี วามพยายามชนะอุปสรรค การยอมรับความเปน็ จริง ( x = 3.55)

ตาบลตะเคยี น อาเภอกาบเชงิ จังหวัดสรุ ินทร์ พบว่า ผสู้ ูงอายุทต่ี อบแบบสารวจ
ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในชีวิต เช่น รู้สึกสดชื่นแจ่มใส และภาคภูมิใจในตนเอง( x = 4.18) รองลงมาคือ
มีความรู้สึกไม่หดหู่ ไม่สิ้นหวัง ไม่วิตกกังวล ( x = 3.96) และความพึงพอใจในตนเอง การเห็นคุณค่าของ
ตนเอง เช่น มีความเชือ่ ม่ันในตนเอง มีความพยายามชนะอปุ สรรค การยอมรบั ความเป็นจริง ( x = 3.94)

ตาบลบากเรือ อาเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร พบว่า ผู้สูงอายุที่ตอบแบบ
สารวจส่วนใหญ่ยอมรับรูปร่างหน้าตาของตนเอง( x = 3.98) รองลงมาคือ มีความรู้สึกไม่หดหู่ ไม่สิ้นหวัง
ไมว่ ิตกกงั วล ( x = 3.92) และมีความพึงพอใจในชีวติ เชน่ รสู้ ึกสดช่นื แจ่มใส และภาคภมู ใิ จในตนเอง ( x = 3.91)

เทศบาลตาบลจานแสนไชย อาเภอห้วยทับทัน จังหวัดศรีสะเกษ พบว่า
ผสู้ งู อายุทตี่ อบแบบสารวจส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในชีวิต เช่น รู้สึกสดช่ืนแจ่มใส และภาคภูมิใจในตนเอง
( x = 3.90) รองลงมาคือ การยอมรับรูปร่างหน้าตาของตนเอง ( x = 3.81) และมสี มาธใิ นการทางาน ( x = 3.65)

2.3 ด้านสัมพันธภาพทางสังคม
ภาพรวม พบว่า ผู้สูงอายุท่ีตอบแบบสารวจส่วนใหญ่มีความพอใจกับการได้รับ

การช่วยเหลอื จากเพือ่ น( x = 3.80) รองลงมาคือ มีความพอใจต่อการได้ช่วยเหลือคนอ่ืน ( x = 3.79) และ
มคี วามพอใจตอ่ การผูกมิตรหรือเข้ากบั คนอื่น ( x = 3.78)

เทศบาลตาบลตาจง อาเภอละหานทราย จังหวัดบุรีรัมย์ พบว่า ผู้สูงอายุท่ีตอบ
แบบสารวจส่วนใหญ่มีความพอใจกับการได้รับการช่วยเหลือจากเพ่ือนและพอใจต่อการได้ช่วยเหลือคนอื่น
( x = 4.17) รองลงมาคอื พงึ พอใจตอ่ การผูกมิตรหรือเขา้ กับคนอืน่ ( x = 4.06)

ตาบลมะเกลือเก่า อาเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา พบว่า ผู้สูงอายุท่ีตอบ
แบบสารวจส่วนใหญ่มีความพอใจต่อการผูกมิตรหรือเข้ากับคนอื่นและการได้ช่วยเหลือคนอ่ืน ( x = 3.48)
รองลงมาคือ ความพอใจกับการได้รับการชว่ ยเหลือจากเพื่อน ( x = 3.43)

ตาบลโนนสาราญ อาเภอเมอื งชยั ภมู ิ จงั หวัดชัยภูมิ พบวา่ ผู้สงู อายุที่ตอบแบบ
สารวจสว่ นใหญ่มีความพอใจกับการได้รับการช่วยเหลือจากเพ่ือน( x = 3.76) รองลงมาคือ พึงพอใจต่อการ
ไดช้ ่วยเหลอื คนอนื่ ( x = 3.75) และพอใจต่อการผูกมติ รหรอื เขา้ กับคนอ่นื ( x = 3.73)

ตาบลตะเคียน อาเภอกาบเชงิ จงั หวัดสุรินทร์ พบว่า ผสู้ งู อายุท่ีตอบแบบสารวจ
ส่วนใหญ่มีความพอใจกับการได้รับการช่วยเหลือจากเพื่อนและพอใจต่อการได้ช่วยเหลือคนอื่น( x = 3.78)
และมคี วามพอใจตอ่ การผกู มิตรหรือเขา้ กบั คนอน่ื ( x = 3.76)

81

ตาบลบากเรือ อาเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร พบว่า ผู้สูงอายุท่ีตอบแบบ
สารวจส่วนใหญ่พอใจต่อการผูกมิตรหรือเข้ากับคนอ่ืน( x = 4.05) รองลงมาคือ พึงพอใจกับการได้รับการ
ชว่ ยเหลอื จากเพื่อน( x = 4.03) และพอใจตอ่ การได้ช่วยเหลือคนอ่นื ( x = 3.97)

เทศบาลตาบลจานแสนไชย อาเภอห้วยทับทัน จังหวัดศรีสะเกษ พบว่า
ผู้สูงอายุท่ีตอบแบบสารวจส่วนใหญ่มีความพอใจต่อการผูกมิตรหรือเข้ากับคนอ่ืน ( x = 3.68) รองลงมาคือ
ความพอใจกบั การได้รบั การช่วยเหลอื จากเพื่อน ( x = 3.61) และพอใจต่อการได้ชว่ ยเหลือคนอื่น ( x = 3.54)

2.4 ดา้ นสภาพแวดลอ้ ม
ภาพรวม พบว่า ผู้สูงอายุท่ีตอบแบบสารวจส่วนใหญ่มีความพอใจต่อสภาพ

บ้านเรือนท่ีอยู่อาศัย ( x = 3.66) รองลงมาคือ มีความรู้สึกพอใจว่าชีวิตมีความม่ันคงปลอดภัย ( x = 3.65)
และร้สู ึกพงึ พอใจทไี่ ด้ร้ขู ่าวสารท่จี าเปน็ ในแตล่ ะวัน เช่น หอกระจายขา่ ว วิทยุ ทีวี เปน็ ต้น ( x = 3.59)

เทศบาลตาบลตาจง อาเภอละหานทราย จังหวัดบุรีรัมย์ พบว่า ผู้สูงอายุท่ีตอบ
แบบสารวจส่วนใหญ่รู้สึกพอใจว่าชีวิตมีความม่ันคงปลอดภัย ( x = 3.82) รองลงมาคือ รู้สึกพึงพอใจที่ได้รู้
ข่าวสารท่ีจาเป็นในแต่ละวัน เช่น หอกระจายข่าว วิทยุ ทีวี เป็นต้น ( x = 3.71) และมีความพอใจกับการ
เดนิ ทางไปทตี่ ่างๆ ( x = 3.66)

ตาบลมะเกลือเก่า อาเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา พบว่า ผู้สูงอายุท่ีตอบ
แบบสารวจสว่ นใหญ่พอใจกับสภาพบ้านเรือนที่อยู่อาศัย ( x = 3.64) รองลงมาคือ รู้สึกพอใจว่าชีวิตมีความ
มน่ั คงปลอดภัยกบั พอใจกบั สภาพแวดล้อมที่ดีตอ่ สุขภาพ ( x = 3.49) และความพอใจในการเข้าไปใช้บริการ
สาธารณสขุ ใกลบ้ ้านได้สะดวก ( x = 3.25)

ตาบลโนนสาราญ อาเภอเมอื งชัยภูมิ จงั หวดั ชยั ภูมิ พบว่า ผู้สูงอายุที่ตอบแบบ
สารวจส่วนใหญ่พอใจต่อการรับรู้ข่าวสารที่จาเป็นในแต่ละวัน( x = 3.30) รองลงมาคือ พอใจกับ
สภาพแวดล้อมที่ดตี ่อสขุ ภาพ( x = 3.22) พอใจตอ่ สภาพบ้านเรือนที่อยู่อาศยั ( x = 3.20)

ตาบลตะเคียน อาเภอกาบเชงิ จังหวดั สรุ ินทร์ พบวา่ ผู้สงู อายุทตี่ อบแบบสารวจ
ส่วนใหญพ่ อใจต่อสภาพบา้ นเรอื นทอ่ี ยอู่ าศัย( x = 4.06) รองลงมาคือ พอใจกับการรับรู้ข่าวสารท่ีจาเป็นใน
แต่ละวัน เช่น หอกระจายข่าว ทีวี วิทยุ ( x = 3.88) และรู้สึกว่าชีวิตมีความม่ันคงและปลอดภัยในชุมชน
( x = 3.84)

ตาบลบากเรือ อาเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร พบว่า ผู้สูงอายุท่ีตอบแบบ
สารวจส่วนใหญพ่ อใจต่อการรบั รู้ข่าวสารท่ีจาเป็นในแตล่ ะวัน( x = 4.16) รองลงมาคือ มีความรู้สึกพอใจต่อ
สภาพแวดล้อมท่ีดีต่อสขุ ภาพ( x = 4.08) และพอใจกับสภาพบ้านเรอื นท่อี ย่อู าศัย( x = 3.98)

เทศบาลตาบลจานแสนไชย อาเภอห้วยทับทัน จังหวัดศรีสะเกษ พบว่า
ผสู้ งู อายทุ ี่ตอบแบบสารวจส่วนใหญร่ สู้ ึกพอใจวา่ ชีวิตมีความมั่นคงปลอดภัย ( x = 3.94) รองลงมาคือ พอใจ
กับสภาพบา้ นเรือนทอี่ ย่อู าศัย( x = 3.88) และรู้สึกพึงพอใจท่ีได้รู้ข่าวสารท่ีจาเป็นในแต่ละวัน เช่น หอกระจายข่าว
วิทยุ ทีวี เปน็ ต้น ( x = 3.82)

82

ตารางท่ี 4.8

คุณภาพชวี ติ ของผู้สูงอายุรายด้าน

ระดับคุณภาพชีวติ รอ้ ยละ

คณุ ภาพชวี ติ ผสู้ งู อายุ (N= 600) x S.D.

ไม่เคย เลก็ น้อย ปาน มาก มาก
กลาง ท่สี ดุ

ด้านสุขภาพกาย 4.2 17.7 52.5 23.0 2.7 3.02 0.825
0.3 3.7 27.5 57.0 11.5 3.76 0.713
- การเจ็บปวดทาใหไ้ ม่สามารถทาในสิง่ ทตี่ อ้ งการได้ - 6.5 32.3 54.3 6.8 3.62 0.710
- ความสามารถในการทาสิ่งตา่ งๆ ในแตล่ ะวัน 0.8 5.7 30.5 53.3 9.7 3.65 0.764
- ความพอใจในการนอนหลับพกั ผอ่ น 0.3 5.7 31.8 52.3 9.8 3.66 0.746
- ความรู้สกึ พอใจทส่ี ามารถทาอะไรๆ ผ่านไปได้ 3.0 24.5 49.2 21.7 1.7 2.95 0.804
- ความสามารถไปไหนมาไหนดว้ ยตนเอง 0.8 10.0 48.7 38.5 2.0 3.31 0.710
- ความจาเป็นต้องไปรบั การรกั ษาพยาบาล
- ความพอใจกับความสามารถในการทางาน

ดา้ นจิตใจ - 0.8 29.5 57.3 12.3 3.81 0.646
0.2 6.2 43.7 47.3 2.7 3.46 0.660
- ความรู้สึกพอใจในชวี ติ 0.2 3.8 36.3 52.3 7.3 3.63 0.684
- การมีสมาธใิ นการทางาน 4.5 11.0 37.8 40.0 6.7 3.33 0.920
- ความรู้สึกพอใจในตนเอง 17.8 33.2 24.8 15.3 8.8 3.36 1.194
- การยอมรบั รปู ร่างหน้าตาของตวั เอง 1.5 8.7 40.7 40.2 9.0 3.47 0.833
- ความรสู้ ึกไมด่ ี หดหู่ ส้นิ หวัง วติ กกงั วล
- ความรสู้ ึกวา่ ชีวิตมคี วามหมาย

ด้านสัมพันธภาพทางสังคม 0.2 2.3 54.0 30.2 13.3 3.78 0.704
0.2 2.5 53.3 29.5 14.5 3.80 0.717
- ความพอใจต่อการผกู มติ รหรือเขา้ กับคนอนื่ 0.2 3.0 50.7 30.3 15.8 3.79 0.744
- ความพอใจกบั การชว่ ยเหลือจากเพอ่ื น 28.0 19.0 25.5 19.2 8.3 2.61 1.298
ความพอใจต่อการไดช้ ่วยเหลอื คนอ่นื
- ความพอใจในชวี ติ ทางเพศ

ด้านสภาพแวดล้อม 0.5 2.8 34.8 55.3 6.5 3.65 0.668
0.5 4.3 35.0 49.0 11.2 3.66 0.752
- ความรู้สกึ ว่าชวี ติ มคี วามมน่ั คงปลอดภัย 1.3 11.8 61.8 22.7 2.3 3.13 0.690
- ความพอใจกบั สภาพบ้านเรือน 1.3 12.2 49.5 32.2 4.8 3.27 0.786
- การมีเงนิ พอใช้จ่ายตามความจาเปน็ 0.3 5.3 36.7 50.0 7.7 3.59 0.723
- ความพอใจท่สี ามารถไปใช้บรกิ ารสาธารณสุข 1.8 7.5 49.0 38.2 3.5 3.34 0.745
- การรบั รเู้ รอื่ งราวข่าวสารทจี่ าเปน็ ในแต่ละวัน 0.2 2.3 45.7 45.2 6.7 3.56 0.661
- การมีโอกาสไดพ้ กั ผอ่ นคลายเครยี ด 1.7 15.5 46.2 33.2 3.5 3.21 0.806
- สภาพแวดลอ้ มทดี่ ตี ่อสขุ ภาพ
- ความพอใจกับการเดินทาง

คณุ ภาพชีวติ ผูส้ งู อายุ ตารางที่ 4.8
คณุ ภาพชวี ติ ของผู้ส
ด้านสขุ ภาพกาย
- การเจ็บปวดทาให้ไม่สามารถทาในสิง่ ทตี่ ้องการได้ เทศบาลตาบลตาจง อาเภอละหานทราย
- ความสามารถในการทาสิง่ ต่างๆ ในแตล่ ะวัน
- ความพอใจในการนอนหลบั พกั ผอ่ น ระดับคณุ ภาพชีวติ รอ้ ยละ (N=157)
- ความรสู้ ึกพอใจทสี่ ามารถทาอะไรๆ ผา่ นไปได้
- ความสามารถไปไหนมาไหนด้วยตนเอง ไมเ่ คย เล็กนอ้ ย ปานกลาง มาก มากที่ส
- ความจาเปน็ ตอ้ งไปรับการรักษาพยาบาล
- ความพอใจกบั ความสามารถในการทางาน 3.2 16.6 47.8 29.3 3.2
ดา้ นจติ ใจ - 3.8 47.1 40.8 8.3
- ความรูส้ กึ พอใจในชวี ติ - 17.2 24.8 52.9 5.1
- การมีสมาธิในการทางาน 1.3 8.9 51.0 35.0 3.8
- ความรู้สึกพอใจในตนเอง 0.6 6.4 54.1 35.7 3.2
- การยอมรับรูปรา่ งหนา้ ตาของตวั เอง 1.3 14.0 58.0 25.5 1.3
- ความร้สู กึ ไมด่ ี หดหู่ ส้นิ หวัง วิตกกังวล 0.6 10.2 57.3 29.9 1.9
- ความร้สู ึกว่าชวี ติ มีความหมาย
ด้านสมั พนั ธภาพทางสงั คม - 1.3 34.4 52.9 11.5
- ความพอใจตอ่ การผกู มิตรหรอื เขา้ กับคนอ่นื 0.6 10.8 38.2 47.8 2.5
- ความพอใจกบั การชว่ ยเหลอื จากเพือ่ น 0.6 1.3 36.9 54.1 7.0
- ความพอใจต่อการไดช้ ว่ ยเหลอื คนอน่ื 12.7 15.3 36.3 31.2 4.5
- ความพอใจในชวี ติ ทางเพศ 0.6 8.9 27.4 31.8 31.2
ดา้ นสภาพแวดล้อม 0.6 9.6 24.2 52.9 12.7
- ความรสู้ กึ ว่าชวี ติ มีความมน่ั คงปลอดภยั
- ความพอใจกบั สภาพบ้านเรือน - 1.3 17.2 56.1 25.5
- การมีเงนิ พอใช้จา่ ยตามความจาเปน็ 0.6 0.6 12.7 52.9 33.1
- ความพอใจท่สี ามารถไปใช้บรกิ ารสาธารณสุข 0.6 0.6 14.6 49.7 34.4
- การรับรเู้ ร่อื งราวข่าวสารที่จาเป็นในแตล่ ะวนั 19.1 6.4 24.2 24.2 26.1
- การมโี อกาสได้พกั ผอ่ นคลายเครยี ด
- สภาพแวดลอ้ มทดี่ ตี อ่ สขุ ภาพ 0.6 3.8 20.4 63.1 12.1
- ความพอใจกบั การเดนิ ทาง 1.9 6.4 33.1 45.9 12.7
2.5 14.6 59.9 20.4 2.5
2.5 3.8 47.1 38.2 8.3
1.3 1.9 29.9 58.0 8.9
1.3 3.8 40.1 47.8 7.0
0.6 3.2 48.4 42.7 5.1
0.6 3.8 33.8 52.2 9.6

8 (ต่อ) ตาบลมะเกลอื เกา่ อาเภอสูงเนนิ จงั หวัดนครราชสมี า
สูงอายรุ ายดา้ น
ระดับคุณภาพชีวิต ร้อยละ (N=157) x S.D.
จงั หวดั บุรรี ัมย์
ไมเ่ คย เล็กนอ้ ย ปานกลาง มาก มากที่สุด
x S.D.

สุด

3.13 0.838 3.2 14.0 58.0 23.6 1.3 3.06 0.745
3.54 0.703 - 0.6 24.2 58.6 16.6 3.91 0.654
3.46 0.836 - 4.5 43.9 44.6 7.0 3.54 0.693
3.31 0.741 - 3.2 26.8 54.1 15.9 3.83 0.727
3.34 0.677 - 4.5 26.8 52.9 15.9 3.80 0.755
3.11 0.698 6.4 15.9 46.5 29.9 1.3 3.04 0.876
3.22 0.676 1.3 10.8 56.1 30.6 1.3 3.20 0.693

5 3.75 0.669 - 0.6 33.8 48.4 17.2 3.82 0.712 83
3.41 0.742 - 4.5 58.6 35.7 1.3 3.34 0.583
3.66 0.657 - 3.8 34.4 58.6 3.2 3.61 0.617
2.99 1.077 4.5 3.2 46.5 40.8 5.1 3.39 0.822

2 2.16 0.990 21.0 35.7 32.5 10.8 - 3.67 0.929
7 3.68 0.841 3.8 15.9 49.0 29.9 1.3 3.09 0.812

5 4.06 0.691 0.6 5.1 49.7 35.0 9.6 3.48 0.764
1 4.17 0.718 - 5.7 51.0 37.6 5.7 3.43 0.691
4 4.17 0.741 - 5.7 49.0 36.3 8.9 3.48 0.739
1 3.32 1.423 10.2 28.0 31.2 26.1 4.5 2.87 1.057

1 3.82 0.712 - 1.9 51.0 43.3 3.8 3.49 0.606
7 3.61 0.860 - 4.5 35.7 51.0 8.9 3.64 0.707

3.06 0.745 1.3 9.6 65.6 22.3 1.3 3.13 0.638
3.46 0.805 1.3 10.8 49.7 37.6 0.6 3.25 0.706
3.71 0.708 - 14.6 49.0 34.4 1.9 3.24 0.717
3.55 0.737 4.5 13.4 52.9 28.0 1.3 3.08 0.800
3.48 0.676 - 3.2 47.8 45.9 3.2 3.49 0.616
3.66 0.730 2.5 20.4 48.4 28.7 - 3.03 0.771

คณุ ภาพชีวิตผู้สูงอายุ 6.4ตารางท่ี 4
คณุ ภาพชวี ิตของผสู้
ด้านสขุ ภาพกาย
- การเจบ็ ปวดทาใหไ้ มส่ ามารถทาในส่ิงทตี่ ้องการได้ ตาบลโนนสาราญ อาเภอเมอื งชยั ภูมิ จ
- ความสามารถในการทาสงิ่ ตา่ งๆ ในแตล่ ะวนั
- ความพอใจในการนอนหลบั พกั ผอ่ น ระดับคุณภาพชวี ิต ร้อยละ (N=100)
- ความรู้สกึ พอใจท่ีสามารถทาอะไรๆ ผา่ นไปได้
- ความสามารถไปไหนมาไหนดว้ ยตนเอง ไมเ่ คย เล็กน้อย ปานกลาง มาก มากท่สี
- ความจาเปน็ ต้องไปรับการรักษาพยาบาล
- ความพอใจกบั ความสามารถในการทางาน - 5.0 72.0 17.0 6.0
ด้านจติ ใจ 1.0 4.0 22.0 72.0 1.0
- ความรสู้ ึกพอใจในชวี ติ - 2.0 37.0 61.0 -
- การมสี มาธใิ นการทางาน 1.0 4.0 27.0 66.0 2.0
- ความรูส้ กึ พอใจในตนเอง 1.0 4.0 27.0 67.0 1.0
- การยอมรับรูปรา่ งหนา้ ตาของตวั เอง 1.0 21.0 66.0 9.0 3.0
- ความรู้สกึ ไม่ดี หดหู่ ส้ินหวงั วิตกกงั วล 1.0 9.0 46.0 44.0 -
- ความรูส้ กึ วา่ ชวี ิตมีความหมาย
ด้านสัมพันธภาพทางสงั คม - 1.0 39.0 60.0 -
- ความพอใจต่อการผูกมิตรหรือเขา้ กบั คนอ่ืน - 3.0 43.0 54.0 -
- ความพอใจกบั การชว่ ยเหลอื จากเพอื่ น - 1.0 43.0 56.0 -
- ความพอใจตอ่ การไดช้ ว่ ยเหลอื คนอน่ื - 24.0 51.0 25.0 -
- ความพอใจในชวี ิตทางเพศ 32.0 44.0 22.0 2.0 -
ด้านสภาพแวดล้อม - 2.0 64.0 34.0 -
- ความรูส้ ึกว่าชวี ติ มคี วามมั่นคงปลอดภยั
- ความพอใจกบั สภาพบา้ นเรอื น -- 29.0 69.0 2.0
- การมเี งินพอใช้จ่ายตามความจาเปน็ --
- ความพอใจท่ีสามารถไปใชบ้ ริการสาธารณสขุ - 1.0 26.0 72.0 2.0
- การรับรู้เร่ืองราวข่าวสารท่จี าเปน็ ในแตล่ ะวัน 41.0 22.0
- การมโี อกาสได้พกั ผ่อนคลายเครียด 25.0 72.0 2.0
- สภาพแวดลอ้ มทด่ี ตี ่อสุขภาพ
- ความพอใจกบั การเดนิ ทาง 29.0 8.0 -

1.0 7.0 64.0 28.0 -
- 3.0 74.0 23.0 -
- 13.0 76.0 11.0 -
- 6.0 79.0 15.0 -
- 3.0 64.0 33.0 -
- 10.0 83.0 7.0 -
- 1.0 76.0 23.0 -
- 23.0 74.0 3.0 -

4.8 (ตอ่ ) ตาบลตะเคยี น อาเภอกาบเชงิ จงั หวัดสรุ นิ ทร์
สูงอายุรายด้าน
ระดับคณุ ภาพชีวิต ร้อยละ (N=50) x S.D.
จังหวัดชยั ภมู ิ
ไม่เคย เลก็ น้อย ปานกลาง มาก มากทส่ี ดุ
x S.D.

สดุ

3.24 0.638 4.0 16.0 48.0 28.0 4.0 3.12 0.872
3.68 0.618 - 8.0 6.0 62.0 24.0 4.02 0.795
3.59 0.534 - 2.0 28.0 54.0 16.0 3.84 0.710
3.64 0.644 - - 16.0 62.0 22.0 4.06 0.620
3.63 0.630 - - 10.0 68.0 22.0 4.12 0.558
2.92 0.677 2.0 28.0 42.0 26.0 2.0 2.98 0.845
3.33 0.682 - 4.0 34.0 56.0 6.0 3.64 0.663

3.59 0.514 - - 6.0 70.0 24.0 4.18 0.523 84
3.51 0.559 - - 36.0 58.0 6.0 3.70 0.580
3.55 0.520 - 2.0 18.0 64.0 16.0 3.94 0.652
3.01 0.703 - 6.0 54.0 38.0 2.0 3.36 0.631
4.06 0.789 34.0 40.0 14.0 12.0 - 3.96 0.989
3.32 0.510 2.0 4.0 26.0 56.0 12.0 3.72 0.809

3.73 0.489 - 2.0 26.0 66.0 6.0 3.76 0.591
3.76 0.474 - 4.0 24.0 62.0 10.0 3.78 0.679
3.75 0.500 - 6.0 22.0 60.0 12.0 3.78 0.737
2.04 1.014 6.0 36.0 32.0 24.0 2.0 2.80 0.948

3.19 0.598 - 2.0 18.0 74.0 6.0 3.84 0.548
3.20 0.471 - 4.0 12.0 58.0 26.0 4.06 0.740
2.98 0.492 - 8.0 50.0 38.0 4.0 3.38 0.697
3.09 0.452 - - 22.0 74.0 4.0 3.82 0.482
3.30 0.522 - - 18.0 76.0 6.0 3.88 0.480
2.97 0.413 4.0 4.0 20.0 72.0 - 3.60 0.756
3.22 0.440 - 4.0 22.0 68.0 6.0 3.76 0.625
2.80 0.471 - 4.0 32.0 58.0 6.0 3.66 0.658

คณุ ภาพชีวติ ผู้สงู อายุ ตารางท่ี 4.8
คุณภาพชีวติ ของผ้สู
ด้านสขุ ภาพกาย
- การเจบ็ ปวดทาให้ไมส่ ามารถทาในสิง่ ท่ีตอ้ งการได้ ตาบลบากเรอื อาเภอมหาชนะชยั จังห
- ความสามารถในการทาสง่ิ ต่างๆ ในแตล่ ะวนั
- ความพอใจในการนอนหลับพกั ผอ่ น ระดับคุณภาพชวี ิต รอ้ ยละ (N=64)
- ความรู้สึกพอใจที่สามารถทาอะไรๆ ผา่ นไปได้
- ความสามารถไปไหนมาไหนดว้ ยตนเอง ไม่เคย เลก็ น้อย ปานกลาง มาก มากท่สี
- ความจาเปน็ ตอ้ งไปรับการรกั ษาพยาบาล
- ความพอใจกบั ความสามารถในการทางาน 18.8 23.4 43.8 12.5 1.6
ด้านจิตใจ - 3.1 23.4 50.0 23.4
- ความร้สู ึกพอใจในชวี ติ - 1.6 42.2 46.9 9.4
- การมสี มาธใิ นการทางาน 1.6 9.4 31.3 45.3 12.5
- ความรสู้ กึ พอใจในตนเอง - 10.9 29.7 42.2 17.2
- การยอมรับรูปรา่ งหนา้ ตาของตัวเอง 4.7 29.7 39.1 23.4 3.1
- ความรู้สึกไมด่ ี หดหู่ สิน้ หวัง วติ กกงั วล - 14.1 42.2 40.6 3.1
- ความรู้สึกว่าชวี ิตมีความหมาย
ดา้ นสัมพนั ธภาพทางสงั คม -- 29.7 50.0 20.3
- ความพอใจต่อการผูกมติ รหรอื เขา้ กับคนอ่นื - 6.3 51.6 35.9 6.3
- ความพอใจกบั การชว่ ยเหลอื จากเพ่ือน - 1.6 39.1 29.7 29.7
- ความพอใจต่อการได้ช่วยเหลอื คนอ่นื - 4.7 23.4 40.6 31.3
- ความพอใจในชวี ติ ทางเพศ 34.4 35.9 20.3 6.3 3.1
ดา้ นสภาพแวดลอ้ ม 1.6 4.7 35.9 21.9 35.9
- ความรูส้ กึ วา่ ชวี ติ มีความมนั่ คงปลอดภยั
- ความพอใจกบั สภาพบ้านเรือน - 1.6 18.8 53.1 26.6
- การมีเงนิ พอใช้จ่ายตามความจาเปน็ - 1.6 18.8 54.7 25.0
- ความพอใจทส่ี ามารถไปใช้บริการสาธารณสุข -- 28.1 46.9 25.0
- การรับร้เู รื่องราวขา่ วสารท่ีจาเป็นในแตล่ ะวนั 26.6 20.3 28.1 23.4 1.6
- การมีโอกาสไดพ้ ักผอ่ นคลายเครียด
- สภาพแวดล้อมทด่ี ีต่อสขุ ภาพ -- 26.6 65.6 7.8
- ความพอใจกบั การเดินทาง - 1.6 20.3 56.3 21.9
3.1 12.5 67.2 14.1 3.1
1.6 15.6 35.9 26.6 20.3
- 1.6 17.2 45.3 35.9
- 4.7 56.3 28.1 10.9
-- 25.0 42.2 32.8
4.7 6.3 43.8 40.6 4.7

8 (ตอ่ ) เทศบาลตาบลจานแสนไชย อาเภอหว้ ยทบั ทนั จงั หวัดศรีสะเกษ
สูงอายรุ ายดา้ น
ระดบั คุณภาพชีวิต ร้อยละ (N=72) x S.D.
หวดั ยโสธร
ไมเ่ คย เล็กน้อย ปานกลาง มาก มากทสี่ ุด
x S.D.

สดุ

2.55 0.991 1.4 41.7 34.7 22.2 - 2.78 0.809

4 3.95 0.774 1.4 6.9 18.1 70.8 2.8 3.67 0.712

3.64 0.675 - 1.4 11.1 76.4 11.1 3.97 0.530

5 3.58 0.887 1.4 6.9 8.3 75.0 8.3 3.82 0.738

2 3.66 0.895 - 8.3 18.1 65.3 8.3 3.74 0.731

2.91 0.921 1.4 63.9 26.4 8.3 - 2.42 0.666

3.33 0.757 1.4 9.7 33.3 52.8 2.8 3.46 0.768

3 3.91 0.706 - 1.4 12.5 80.6 5.6 3.90 0.479 85
3.42 0.708 - 5.3 22.2 65.3 4.2 3.65 0.695

7 3.88 0.864 - 16.7 40.3 41.7 1.4 3.28 0.755
3 3.98 0.864 - 9.7 5.6 79.2 5.6 3.81 0.685

3.92 1.044 2.8 58.3 18.1 18.1 2.8 3.40 0.914
9 3.86 1.021 - 6.9 40.3 48.6 4.2 3.50 0.692

6 4.05 0.722 - 2.8 30.6 62.5 4.2 3.68 0.601
0 4.03 0.712 - 2.8 37.5 55.6 4.2 3.61 0.618
0 3.97 0.734 - 5.6 38.9 51.4 4.2 3.54 0.670

2.53 1.168 84.7 9.7 4.2 1.4 - 1.22 0.587

3.81 0.560 1.4 - 9.7 80.6 8.3 3.94 0.554

9 3.98 0.701 - 4.2 12.5 75.0 8.3 3.88 0.604

3.02 0.724 - 11.1 41.7 41.7 5.6 3.42 0.765

3 3.48 1.039 1.4 47.2 44.4 6.9 - 2.57 0.646

9 4.16 0.761 - 2.8 16.7 76.4 4.2 3.82 0.539

9 3.45 0.754 - 4.2 26.4 68.1 1.4 3.67 0.581

8 4.08 0.762 - 1.4 27.8 66.7 4.2 3.74 0.556

3.34 0.859 2.8 36.1 41.7 19.4 - 2.78 0.791

86

3) คณุ ภาพชวี ิตด้านการจัดสวสั ดกิ ารสงั คม
ระดับคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุด้านการจัดสวัสดิการสังคม ผู้วิจัยได้ให้คานิยาม

การจัดสวัสดกิ ารสงั คม หมายถงึ บริการที่ผูส้ งู อายจุ ะไดร้ ับสิทธติ ามพระราชบญั ญัติผ้สู งู อายุ พ.ศ. 2546
(แก้ไข พ.ศ. 2553) ดังน้ี

3.1) การเข้าถึงสทิ ธิและบรกิ ารของผ้สู ูงอายุ
ภาพรวม การสอบถามถึงการรับรเู้ ก่ียวกบั สทิ ธติ ามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 (แก้ไข พ.ศ. 2553)
พบว่า ผู้สูงอายุกว่าร้อยละ 63.0 ไม่รู้สิทธิตามพระราชบัญญัตินี้ มีเพียงร้อยละ 37.0 รู้สิทธิเก่ียวกับ
พระราชบัญญัตินี้ (ตารางที่ 4.9) เมื่อสอบถามการเข้าถึงสิทธิต่างๆ ของผู้สูงอายุ พบว่า สิทธิและบริการที่
ผู้สูงอายุไม่รู้มากท่ีสุดร้อยละ 32.2 คือ สิทธิในการเข้าชมอุทยานต่างๆ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย รองลงมา ร้อยละ
32.0 ไม่รู้เร่ืองสิทธิในการให้คาแนะนาปรึกษา หรือการดาเนินการอื่นที่เกี่ยวข้องในทางคดีหรือใน
ทางการแก้ไขปัญหาครอบครัว เช่น การให้คาปรึกษาจากยุติธรรมจังหวัด ฯลฯ และรอ้ ยละ 31.3 ไม่รวู้ ่ามี
บริการทางดว่ นสาหรบั ผู้สูงอายุในโรงพยาบาล ในส่วนของการเข้าถึงบริการ พบว่า ผู้สูงอายุเข้าถึงและได้
ใช้บรกิ ารมากทส่ี ุด คอื การจ่ายเงินเบ้ียยังชีพเป็นรายเดือนอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม (ร้อยละ 90.7) และ
การอานวยความสะดวกและความปลอดภัยโดยตรงแก่ผู้สูงอายุ เช่น ราวจับในห้องน้า ราวทางเดินบันได
รถเข็นวิลแชร์ ฯลฯ (รอ้ ยละ 50.8) (ตารางท่ี 4.10)

เทศบาลตาบลตาจง อาเภอละหานทราย จังหวัดบุรีรัมย์ พบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่
ร้อยละ 88.5 ไม่รู้สิทธิตามพระราชบัญญัติน้ี มีเพียงร้อยละ 11.5 รู้สิทธิเกี่ยวกับพระราชบัญญัติน้ี (ตารางท่ี 4.9)
เมื่อสอบถามการเข้าถึงสิทธิต่างๆ ของผู้สูงอายุ พบว่า สิทธิและบริการที่ผู้สูงอายุไม่รู้มากที่สุดร้อยละ
52.2 เรื่องรถประจาทางของรัฐลดค่าโดยสารให้และไม่เสียค่าเข้าชมอุทยานแห่งชาติ อุทยาน
ประวัติศาสตร์ สวนสัตว์ รองลงมา คือ การบริการทางด่วนสาหรับผู้สูงอายุในโรงพยาบาล คิดเป็นร้อยละ
37.6 และร้อยละ 35.7 ไม่ทราบวา่ มกี ารช่วยเหลอื ผู้สูงอายุที่ได้รับอันตรายจากการถูกทาร้ายร่างกาย จิตใจ
หรือถูกทอดทิ้ง ในส่วนของการเข้าถึงบริการ พบว่า ผู้สูงอายุเข้าถึงและได้ใช้บริการมากท่ีสุด คือ การจ่ายเงิน
เบี้ยยังชีพเป็นรายเดือนอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม (ร้อยละ 86.0) และการพัฒนาตนเองและการมีส่วนร่วม
ในกิจการทางสังคม (รอ้ ยละ 50.3) (ตารางที่ 4.10)

ตาบลมะเกลอื เกา่ อาเภอสูงเนนิ จังหวัดนครราชสีมา พบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่
ร้อยละ 61.8 ไม่รู้สิทธิตามพระราชบัญญัตินี้ และร้อยละ 38.2 รู้สิทธิเก่ียวกับพระราชบัญญัตินี้ (ตารางท่ี 4.9)
เมอ่ื สอบถามการเข้าถึงสิทธิต่างๆ ของผู้สูงอายุ พบว่า สิทธิและบริการที่ผู้สูงอายุไม่รู้มากที่สุดร้อยละ
30.6 เรื่องการจัดหาที่พักอาศัย ยานพาหนะ เครื่องนุ่งห่ม เช่น สถานสงเคราะห์ต่างๆ รองลงมา คือ
การให้คาแนะนาปรึกษาหรือการดาเนินการอื่นที่เกี่ยวข้องในทางคดีหรือในทางการแก้ไขปัญหาครอบครัว
คิดเป็นร้อยละ 28.7 และร้อยละ 21.7 ไม่ทราบว่ามีการช่วยเหลือผู้สูงอายุที่ได้รับอันตรายจากการถูกทา
ร้ายรา่ งกาย จติ ใจ หรอื ถกู ทอดท้ิง ในส่วนของการเข้าถึงบริการ พบว่า ผู้สูงอายุเข้าถึงและได้ใช้บริการมาก
ที่สุด คือ การจ่ายเงินเบี้ยยังชีพเป็นรายเดือนอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม (ร้อยละ 87.9) และการพัฒนา
ตนเองและการมีส่วนร่วมในกิจการทางสังคม (ร้อยละ 49.0) (ตารางที่ 4.10)

ตาบลโนนสาราญ อาเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ พบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่
ร้อยละ 58.0 รู้สิทธิตามพระราชบัญญัติน้ี และร้อยละ 42.0 ไม่รู้สิทธิเกี่ยวกับพระราชบัญญัติน้ี (ตารางที่ 4.9)
เมอ่ื สอบถามการเข้าถึงสิทธิต่างๆ ของผู้สูงอายุ พบว่า สิทธิและบริการที่ผู้สูงอายุไม่รู้มากที่สุดร้อยละ
39.0 เร่ืองบริการทางด่วนสาหรับผู้สูงอายุในโรงพยาบาล รองลงมา คือ การใหค้ าแนะนาปรึกษาหรือการ
ดาเนินการอ่ืนที่เกี่ยวข้องในทางคดีหรือในทางการแก้ไขปัญหาครอบครัว คิดเป็นร้อยละ 37.0 และร้อยละ
35.0 ไม่ทราบว่ามีการช่วยเหลือผู้สูงอายุท่ีได้รับอันตรายจากการถูกทาร้ายร่างกาย จิตใจ หรือถูกทอดท้ิง

87

ในส่วนของการเข้าถึงบริการ พบว่า ผู้สูงอายุเข้าถึงและได้ใช้บริการมากที่สุด คือ การจ่ายเงินเบี้ยยังชีพ
เป็นรายเดือนอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม (ร้อยละ 98.0) การดูแลระยะยาวสาหรับผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะ
พึ่งพิง เช่น การดูแล LTC ของ รพ.สต. และการสงเคราะห์ในการจัดการศพตามประเพณี คิดเป็นร้อยละ
71.0 และร้อยละ 65.0 ตามลาดับ (ตารางท่ี 4.10)

ตาบลตะเคยี น อาเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ พบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ ร้อยละ
54.0 รสู้ ิทธิตามพระราชบัญญัตินี้ และรอ้ ยละ 46.0 ไมร่ สู้ ิทธิเกยี่ วกบั พระราชบัญญัตินี้ (ตารางที่ 4.9) เมื่อสอบถาม
การเขา้ ถึงสิทธติ า่ งๆ ของผสู้ ูงอายุ พบวา่ สทิ ธแิ ละบรกิ ารทีผ่ สู้ งู อายไุ มร่ มู้ ากท่สี ุดรอ้ ยละ 18.0 เรอ่ื งรถประจาทาง
ของรัฐลดค่าโดยสารให้ รองลงมา คือ ไม่เสียค่าเข้าชมอุทยานแห่งชาติ อุทยานประวัติศาสตร์ สวนสัตว์
คิดเป็นร้อยละ 14.0 และร้อยละ 12.0 ไม่ทราบว่ามีการช่วยเหลือผู้สูงอายุที่ได้รับอันตรายจากการถูกทาร้าย
รา่ งกาย จิตใจ หรอื ถูกทอดท้ิงและการให้คาแนะนาปรึกษาหรือการดาเนินการอื่นที่เกี่ยวข้องในทางคดีหรือ
ในทางการแก้ไขปัญหาครอบครัว ในส่วนของการเข้าถึงบริการ พบว่า ผู้สูงอายุเข้าถึงและได้ใช้บริการมากท่ีสุด
คือ การจ่ายเงินเบี้ยยังชีพเป็นรายเดือนอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม (ร้อยละ 98.0) และการพัฒนาตนเอง
และการมีส่วนร่วมในกิจการทางสังคม (ร้อยละ 96.0) (ตารางท่ี 4.10)

ตาบลบากเรือ อาเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร พบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ ร้อยละ
71.0 รู้สทิ ธิตามพระราชบญั ญัตนิ ี้ และรอ้ ยละ 28.1 ไมร่ สู้ ิทธิเกย่ี วกับพระราชบัญญัติน้ี (ตารางที่ 4.9) เมื่อสอบถาม
การเข้าถึงสิทธิต่างๆ ของผู้สูงอายุ พบว่า สิทธิและบริการท่ีผู้สูงอายุไม่รู้มากที่สุดร้อยละ 12.5 เร่ืองไม่เสีย
ค่าเข้าชมอุทยานแห่งชาติ อุทยานประวัติศาสตร์ สวนสัตว์ ในส่วนของการเข้าถึงบริการ พบว่า ผู้สูงอายุ
เข้าถงึ และไดใ้ ชบ้ ริการมากท่ีสุด คือ การจ่ายเงินเบี้ยยังชีพเป็นรายเดือนอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม (ร้อยละ 87.5)
และการอานวยความสะดวกและความปลอดภัยโดยตรงแก่ผู้สูงอายุ เช่น ราวจับในห้องน้า ราวทางเดินบันได
รถเข็นวิลแชร์ ฯลฯ (ร้อยละ 65.6) (ตารางท่ี 4.10)

เทศบาลตาบลจานแสนไชย อาเภอห้วยทับทัน จังหวัดศรีสะเกษ พบว่า
ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ ร้อยละ 81.9 ไม่รู้สิทธิตามพระราชบัญญัตินี้ และมีเพียงร้อยละ 18.1 รู้สิทธิเกี่ยวกับ
พระราชบัญญัติน้ี (ตารางที่ 4.9) เมื่อสอบถามการเข้าถึงสิทธิต่างๆ ของผู้สูงอายุ พบว่า สิทธิและบริการที่
ผู้สูงอายุไม่รู้มากท่ีสุดร้อยละ 91.7 เรื่องบริการทางด่วนสาหรับผู้สูงอายุในโรงพยาบาล รองลงมา คือ
การให้คาแนะนาปรึกษาหรือการดาเนินการอ่ืนที่เกี่ยวข้องในทางคดีหรือในทางการแก้ไขปัญหาครอบครัว
คิดเป็นร้อยละ 70.8 และร้อยละ 69.4 ไม่ทราบว่ามีการช่วยเหลือผู้สูงอายุท่ีได้รับอันตรายจากการถูกทาร้าย
ร่างกาย จติ ใจ หรอื ถูกทอดท้งิ ในส่วนของการเขา้ ถงึ บรกิ าร พบวา่ ผ้สู ูงอายุเขา้ ถงึ และได้ใช้บริการมากท่ีสุด
คือ การจ่ายเงินเบี้ยยังชีพเป็นรายเดือนอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม (ร้อยละ 94.4) และการอานวยความสะดวก
และความปลอดภัยโดยตรงแก่ผู้สูงอายุ เช่น ราวจับในห้องน้า ราวทางเดินบันได รถเข็นวิลแชร์ ฯลฯ ร้อยละ
72.2 (ตารางที่ 4.10)

ตารางท่ี

ความรู้เร่ืองสิทธติ ามพระราชบัญญัติผสู้ งู

ระดับความรู้ ภาพรวม ทต.ตาจง ต.มะเกลือเก
เรือ่ งสิทธิ
อ.ละหานทราย อ.สงู เนนิ
ไม่รู้
รู้ จ.บรุ รี มั ย์ จ.นครราชส

จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน

(N=600) (N=157) (N=157)

378 63.0 139 88.5 97

222 37.0 18 11.5 60

ตารางท่ี 4
การเข้าถงึ บรกิ ารข

การเขา้ ถึงบริการของผสู้ ูงอายุ ภาพรวม

(1) การบริการทางการแพทย์และการสาธารณสขุ ที่จดั ไว้ โดยใหค้ วามสะดวกและรวดเรว็ แก่ ผูส้ งู อายเุ ป
(2) การศึกษา การศาสนา และข้อมูลข่าวสาร
(3) การประกอบอาชีพหรือการฝึกอาชีพท่ีเหมาะสม
(4) การพัฒนาตนเองและการมีส่วนร่วมในกิจการทางสังคม
(5) การอานวยความสะดวกและความปลอดภัยโดยตรงแก่ผู้สูงอายุ เช่น ราวจับในห้องน้า ราวทางเ
(6) การช่วยเหลือด้านค่าโดยสารยานพาหนะตามความเหมาะสม เช่น ลดค่าโดยสาร หรือบรกิ ารฟรี
(7) การยกเว้นค่าเข้าชมสถานท่ีของรัฐ เช่น อุทยาน พิพิธภัณฑ์ สวนนา้ ฯลฯ
(8) การช่วยเหลือผู้สูงอายุซ่ึงได้รับอันตรายจากการถูกทาร้ายร่างกาย จิตใจ หรือถูกทอดท้ิง
(9) การให้คาแนะนาปรึกษาหรือการดาเนินการอื่นที่เก่ียวข้องในทางคดีหรือในทางการแก้ไขปัญหาค
(10) การจัดหาท่ีพักอาศัย ยานพาหนะ เครื่องนุ่งห่ม เช่น สถานสงเคราะหต์ า่ งๆ
(11) การจ่ายเงินเบ้ียยังชีพเป็นรายเดือนอย่างท่ัวถึงและเป็นธรรม
(12) การสงเคราะห์ในการจัดการศพตามประเพณี
(13) การดูแลระยะยาวสาหรับผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพ่ึงพิงรวมถึงข้อมูลระบบสวัสดิการเพิ่มเติมสาหร

ของ รพ.สต. ฯลฯ

4.9

งอายุ พ.ศ.2546 (แก้ไข พ.ศ.2553)

ก่า ต.โนนสาราญ ต.ตะเคียน ต.บากเรอื ทต.จานแสนไชย
อ.มหาชนะชัย อ.ห้วยทับทนั
อ.เมอื ง จ.ชยั ภมู ิ อ.กาบเชิง จ.สรุ ินทร์ จ.ศรีสะเกษ
จ.ยโสธร
ีมา จานวน รอ้ ยละ
จานวน รอ้ ยละ (N=72)
รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ (N=64)
59 81.9
(N=100) (N=50) 18 28.1 13 18.1
46 71.9
61.8 42 42.0 23 46.0

38.2 58 58.0 27 54.0

4.10 รอ้ ยละ (N=600) x S.D. 88
ของผูส้ ูงอายุ
ไมร่ ูว้ า่ มีบรกิ าร ไมเ่ คย/รู้ เคย/รู้
ป็นกรณพี เิ ศษ (ชอ่ งทางพิเศษ)
31.3 34.2 34.5 2.03 0.811
เดินบันได รถเข็นวิลแชร์ ฯลฯ
17.8 40.2 42.0 2.24 0.735
ครอบครัว
18.0 45.3 36.7 2.19 0.716
รับผ้สู ูงอายุ เช่น การดแู ล LTC
16.8 37.7 45.5 2.29 0.736

10.8 38.3 50.8 2.40 0.676

27.7 51.7 20.7 1.93 0.696

32.2 43.0 24.8 1.93 0.752

30.7 60.2 9.2 1.79 0.594

32.0 54.7 13.3 1.81 0.647

27.5 47.0 25.5 1.98 0.728

1.2 8.2 90.7 2.90 0.343

16.0 50.5 33.5 2.17 0.686

17.0 50.3 32.7 2.16 0.688

ตารางท่ี 4.1
การเขา้ ถึงบริการข

ทต.ตาจ

การเข้าถึงบรกิ ารของผู้สูงอายุ รอ้ ย

1)บริการทางด่วนสาหรบั ผสู้ ูงอายใุ นโรงพยาบาล ไม่รู้ว่ามี
2)การศึกษา การศาสนา และข้อมูลข่าวสาร บริการ
3)บริการฝึกอาชีพ 37.6
4)การพัฒนาตนเองและการมีส่วนร่วมในกิจการทางสังคม 26.8
5)บริกาอานวนความสะดวกในสถานที่ของรัฐ 26.8
6)รถประจาทางของรัฐลดค่าโดยสารให้ 23.6
7)ไม่เสียค่าเข้าชมอุทยานแห่งชาติ อุทยานประวัติศาสตร์ สวนสัตว์ 24.2
8)การช่วยเหลือผู้สูงอายุซ่ึงได้รับอันตรายจากการถูกทาร้ายร่างกาย จิตใจ หรือถูกทอดท้ิง 52.2
9)การให้คาแนะนาปรึกษาหรือการดาเนินการอื่นที่เก่ียวข้องในทางคดีหรือในทางการแก้ไข 52.2
ปัญหาครอบครัว 35.7
10)การจัดหาท่ีพักอาศัย ยานพาหนะ เครื่องนุ่งห่ม เช่น สถานสงเคราะห์ตา่ งๆ 33.1
11)การจ่ายเงินเบี้ยยังชีพเป็นรายเดือนอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม
12)การสงเคราะห์ในการจัดการศพตามประเพณี 28.7
13)การดูแลระยะยาวสาหรับผู้สูงอายุท่ีอยู่ในภาวะพ่ึงพิงเชน่ การดแู ล LTC ของ รพ.สต. ฯลฯ 1.9
23.6
35.0

10 (ต่อ) ต.มะเกลอื เก่า อ.สงู เนิน ต.โนนสาราญ อ.เมอื ง 89
ของผู้สงู อายุ จ.นครราชสีมา จ.ชยั ภมู ิ

จง อ.ละหานทราย รอ้ ยละ (N=157) ร้อยละ (N=100)
จ.บรุ ีรัมย์
ไม่รวู้ า่ มี ไม่เคย/รู้ เคย/รู้ ไมร่ ูว้ ่ามี ไมเ่ คย/รู้ เคย/รู้
ยละ (N=157) บริการ บริการ

ไม่เคย/รู้ เคย/รู้ 13.4 38.9 47.8 39.0 44.0 17.0
10.8 43.3 45.9 8.0 63.0 29.0
36.3 26.1 12.1 51.6 36.3 5.0 70.0 25.0
44.6 28.7 8.3 42.7 49.0 5.0 72.0 23.0
42.0 31.2 4.5 52.9 42.7 4.0 59.0 37.0
26.1 50.3 8.3 66.9 24.8 20.0 57.0 23.0
28.0 47.8 12.1 58.6 29.3 28.0 41.0 31.0
42.7 5.1 21.7 72.0 6.4 35.0 45.0 20.0
34.4 13.4 28.7 63.7 7.6 37.0 49.0 14.0
58.0 6.4
61.1 5.7

50.3 21.0 30.6 51.0 18.5 30.0 38.0 32.0
12.1 86.0 1.9 10.2 87.9 1.0 1.0 98.0
71.3 5.1 11.5 47.1 41.4 1.0 34.0 65.0
59.9 5.1 18.5 56.1 25.5 - 29.0 71.0

ตารางที่ 4.1
การเขา้ ถงึ บรกิ ารข

ต.ตะเ

การเข้าถึงบรกิ ารของผ้สู ูงอายุ ร้อย

1)บรกิ ารทางดว่ นสาหรบั ผสู้ งู อายุในโรงพยาบาล ไมร่ ูว้ า่ มี
2)การศึกษา การศาสนา และข้อมูลข่าวสาร บริการ
3)บริการฝึกอาชีพ 4.0
4)การพัฒนาตนเองและการมีส่วนร่วมในกิจการทางสังคม 6.0
5)บริกาอานวนความสะดวกในสถานท่ีของรัฐ 2.0
6)รถประจาทางของรัฐลดค่าโดยสารให้ 2.0
7)ไม่เสียค่าเข้าชมอุทยานแห่งชาติ อุทยานประวัติศาสตร์ สวนสัตว์ 2.0
8)การช่วยเหลือผู้สูงอายุซ่ึงได้รับอันตรายจากการถูกทาร้ายร่างกาย จิตใจ หรือถูกทอดทิ้ง 18.0
9)การให้คาแนะนาปรึกษาหรือการดาเนินการอื่นท่ีเก่ียวข้องในทางคดีหรือในทางการแก้ไข 14.0
ปัญหาครอบครัว 12.0
10)การจัดหาท่ีพักอาศัย ยานพาหนะ เครื่องนุ่งห่ม เชน่ สถานสงเคราะหต์ า่ งๆ 12.0
11)การจ่ายเงินเบ้ียยังชีพเป็นรายเดือนอย่างท่ัวถึงและเป็นธรรม
12)การสงเคราะห์ในการจัดการศพตามประเพณี 10.0
13)การดูแลระยะยาวสาหรับผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิงเช่น การดูแล LTC ของ รพ.สต. ฯลฯ -
8.0
8.0

10 (ตอ่ ) ต.บากเรือ อ.มหาชนะชัย ทต.จานแสนไชย 90
ของผสู้ งู อายุ จ.ยโสธร อ.หว้ ยทบั ทนั จ.ศรสี ะเกษ

เคยี น อ.กาบเชิง ร้อยละ (N=64) รอ้ ยละ (N=72)
จ.สุรนิ ทร์
ไมร่ ู้วา่ มี ไม่เคย/รู้ เคย/รู้ ไม่รวู้ า่ มี ไมเ่ คย/รู้ เคย/รู้
ยละ (N=50) บรกิ าร บรกิ าร

ไม่เคย/รู้ เคย/รู้ 1.6 46.9 51.6 91.7 2.8 5.6
1.6 34.4 64.1 50.0 19.4 30.6
22.0 74.0 1.6 45.3 53.1 55.6 26.4 18.1
8.0 86.0 - 43.8 56.3 62.5 23.6 13.9
14.0 84.0 - 34.4 65.6 20.8 6.9 72.2
2.0 96.0 4.7 57.8 37.5 52.8 29.2 18.1
34.0 64.0 12.5 45.3 42.2 68.1 15.3 16.7
46.0 36.0 4.7 85.9 9.4 69.4 22.2 8.3
62.0 24.0 1.6 73.4 25.0 70.8 20.8 8.3
82.0 6.0
42.0 46.0

26.0 64.0 1.6 67.2 31.3 50.0 40.3 9.7

2.0 98.0 - 12.5 87.5 - 5.6 94.4

36.0 56.0 3.1 50.0 46.9 45.8 47.2 6.9

30.0 62.0 - 39.1 60.9 19.4 70.8 9.7

91

3.2) การจดั สวัสดิการสังคม
จากการสารวจข้อมูลเชิงเอกสารในส่วนของคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในท้องถ่ิน

สาหรับการจัดสวสั ดิการสังคมทจี่ ดั โดยภาครัฐในพ้นื ที่ ประกอบด้วย
ด้านหลักประกันด้านการเงิน (Social Insurance)
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น (สปสช.) จัดขึ้นตาม พ.ร.บ. หลักประกัน

สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 ภายใต้สังกัดกระทรวงสาธารณสุข โดยมีภารกิจหลักในการบริหารจัดการ
เงนิ กองทนุ หลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด รวมทั้งพัฒนาระบบบริการสาธารณสุข
เพื่อใหป้ ระชาชนเข้าถึงบรกิ ารทมี่ ีคุณภาพ ไดม้ าตรฐาน สาหรับในระดับท้องถ่ินโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
ตาบลจะเปน็ ผรู้ ับผดิ ชอบกองทุนดังกลา่ ว กองทุนหลักประกันสุขภาพ จะได้รับการจัดสรรงบประมาณจาก
ภาครัฐ และร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอ่ืนๆ ภายในตาบล เช่น องค์การบริหารส่วนตาบล กองทุน
สวัสดิการชุมชน เป็นต้น เพ่ือดาเนินกิจกรรมเก่ียวกับการส่งเสริมสุขภาพอนามัยภายในชุมชน โดยการ
พิจารณาและจัดสรรงบประมาณเป็นหน้าที่ของคณะกรรมการกองทุนฯ ประกอบด้วย การตรวจสุขภาพ
ประจาปี การตรวจคัดกรองโรคสาคัญ เช่น โรคโควิด-19 อบรมให้ความรู้ด้านสุขภาพ สนับสนุนกายอุปกรณ์
ทจ่ี าเป็นสาหรับการดารงชีวติ สาหรบั ผู้พิการและผสู้ งู อายุ เช่น ไม้เท้า รถเข็น ท่ีนอน การออกกาลังกายเพ่ือ
สง่ เสรมิ สุขภาพ และพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้สูงอายุ แต่ยังพบว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่ไม่สามารถเข้าถึงกองทุน
ดงั กลา่ วไดเ้ นอ่ื งจากขาดการประชาสัมพันธ์อย่างท่ัวถึง และผู้ท่ีได้รับสวัสดิการจะกระจุกตัวอยู่เพียงเฉพาะ
บางกล่มุ เทา่ น้ัน

ด้านการชว่ ยเหลือสาธารณะ (Public Assistance)
- การจ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ปัจจุบันรัฐบาลก็ได้
ใหเ้ บ้ียยงั ชพี ผสู้ งู อายเุ ปน็ แบบข้นั บนั ได คอื ผู้สูงอายุทีม่ ีอายุ 60-69 ปี ได้รับเงินเดือนละ 600 บาท ผู้สูงอายุ
ทมี่ ีอายุ 70-79 ปี ได้รับเงินเดือนละ 700 บาท และผู้สูงอายุท่ีมีอายุ 80-89 ปี ได้รับเงินเดือนละ 800 บาท
และ ผูส้ งู อายทุ ี่มอี ายุ 90 ปขี ้ึนไปได้รบั เงนิ เดอื นละ 1,000 บาท จากการสัมภาษณ์ผู้สูงอายุส่วนใหญ่บอกว่า
เบี้ยยังชีพดังกล่าวยังไม่เพียงพอต่อการดารงชีวิตโดยเฉพาะอย่างย่ิงในด้านค่ารักษาพยาบาล ค่าพาหนะ
เดนิ ทาง
- การปรับปรุงและซ่อมแซมที่อยู่อาศัยผู้สูงอายุท่ีประสบปัญหาความเดือดร้อน
โดยย่ืนเร่ืองที่สานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด การมอบเงินสร้างบ้านผู้สูงอายุจาก
โครงการเทิดไทย การสร้างบ้านผู้ยากไร้จากสภากาชาด หรือบ้านม่ันคงของ พอช. อย่างไรก็ตามพบว่า
ผู้สูงอายุที่ประสบความเดือนร้อนส่วนใหญ่ยังไม่ได้รับสวัสดิการดังกล่าว เน่ืองจากจานวนผู้ประสบความ
เดือนร้อนมีเปน็ จานวนมากในขณะที่งบประมาณทจี่ ัดสรรใหม้ ีจานวนจากดั
- การช่วยเหลือผู้สูงอายุท่ีประสบปัญหาความเดือดร้อนก็จะเป็นเงินสงเคราะห์
ครอบครัวผู้มีรายได้น้อยและไร้ท่ีพึ่ง ในรูปของเงินสงเคราะห์ครอบครัว รายละไม่เกิน 3,000 บาท สิ่งของ
เครื่องใช้ ให้แก่ผู้สูงอายุท่ีเดือดร้อน ฉุกเฉิน นอกจากนั้น ผู้สูงอายุยังได้รับกายอุปกรณ์ต่างๆ เช่น รถโยก
รถเข็น ไมเ้ ท้า เป็นต้น โดยจัดสรรใหก้ บั ผสู้ งู อายุที่จาเป็นกอ่ น หลังจากผู้สูงอายหุ ายปุวย หรือเสียชีวิต จึงมอบให้
ผู้สูงอายุคนต่อไป อย่างไรก็ตามการช่วยเหลือดังกล่าวยังไม่ครอบคลุมผู้สูงอายุที่ประสบปัญหาโดยตรง
เนอ่ื งจากเปน็ เงินท่ใี หส้ าหรับครัวเรือนทมี่ รี ายไดร้ ายและไร้ที่พง่ึ ซงึ่ อาจจะไม่ใช่ผ้สู งู อายุท้งั หมด
- โครงการช่วยเหลือผู้ประสบภัย เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยรวมถึงผู้สูงอายุในชุมชน
เช่น ผู้สูงอายุท่ีได้รับความเดือดร้อนจากปัญหาน้าท่วม ปัญหาวาตภัย เป็นต้น รับผิดชอบโดยสานักปลัด
องค์การบริหารส่วนตาบล ข้ึนอยกู่ บั งบประมาณขอ อปท.

92

- ในด้านการสงเคราะห์/ช่วยเหลือต่างๆในชุมชนนั้น ทางองค์การบริหารส่วนตาบล
และท้องถ่ินอาเภอต่างได้มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อเป็นการสงเคราะห์และให้ความช่วยเหลือ
กับกลุ่มเปูาหมายในพื้นที่ตาบลไม่ว่าจะเป็นผู้ยากไร้ คนพิการ ผู้สูงอายุ รวมไปถึงกลุ่มเด็กและเยาวชนในตาบล
ซ่ึงกิจกรรมท่ไี ดด้ าเนินการไปแลว้ อาทิ กจิ กรรมสร้างบา้ น/ซอ่ มแซมบา้ นผ้สู ูงอายุท่ียากไร้ กิจกรรมการมอบ
ถุงยังชีพแก่ผู้สูงอายุท่ียากไร้ การมอบเบี้ยยังชีพแก่ผู้สูงอายุ และการมอบเบี้ยยังชีพแก่คนพิการ การมอบผ้าห่ม
กันหนาวแกผ่ สู้ ูงอายุที่ได้รับความเดือดร้อน เปน็ ตน้ แตอ่ ย่างไรก็ตามยังไม่ครอบคลุมผู้สูงอายทุ ั้งหมดในตาบล

- สานักงานพฒั นาสงั คมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัด ได้มอบเงินสงเคราะห์
การจดั การงานศพตามประเพณี จานวน 3,000 บาท อย่างไรก็ตามในทางปฏิบัติการอนุมัติงบประมาณของ
ภาครัฐจะดาเนินการกอ่ นล่วงหน้าโดยใช้อัตราการตายเฉลยี่ จงึ ทาใหไ้ ม่สอดคล้องกับจานวนศพในปีปัจจุบัน
กล่าวคือ ไม่เพียงพอ ทาให้ครอบครัวของผู้เสียชีวิตจะต้องรองบประมาณในปีถัดไป ทาให้เกิดความล่าช้า
ของการได้มาซ่ึงคา่ จดั การศพตามประเพณี

ดา้ นการบริการสังคม (Social Services)
1) ด้านสขุ ภาพและอนามยั
- งานสง่ เสริมสขุ ภาพ สานกั การสาธารณสขุ และสง่ิ แวดล้อม องค์กรปกครองส่วน
ท้องถ่ินมีหน้าท่ีรับผิดชอบเกี่ยวกับการส่งเสริมและสนับสนุนทางด้านวิชาการ โดยการศึกษา ค้นคว้า
วิเคราะห์ วิจัย กาหนดมาตรฐานและแผนการดาเนินงานควบคุม กากับการเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ
การสาธารณสุขมูลฐาน ให้บรรลุตามเปูาประสงค์ของกลุ่มงานและปฏิบัติงานอ่ืนใดตามผู้บังคับบัญชา
มอบหมาย โดยแบ่งงานภายในส่วนของกลุ่มงาน ดังน้ี งานส่งเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัย มีหน้าท่ีรับผิดชอบ
เกยี่ วกบั การวางแผนและดาเนินการด้านส่งเสริมสุขภาพทุกกลุ่มวัย ได้แก่ แม่และเด็ก วัยเรียนและเยาวชน
วัยทางาน วยั ผู้สูงอายุ รวมถงึ การโภชนาการ การส่งเสริมการออกกาลังกายเพื่อสุขภาพ อนามัยชุมชน การ
วางแผนครอบครัว สุขศึกษาและปฏิบัติงานอ่ืนๆ ท่ีผู้บังคับบัญชามอบหมาย และงานสนับสนุนสุขภาพภาค
ประชาชน มหี น้าที่รบั ผิดชอบเกี่ยวกบั การวางแผนพฒั นารปู แบบและดาเนินงานสาธารณสขุ มลู ฐาน รวมถึง
พัฒนาศักยภาพ นิเทศ ติดตาม ส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมขององค์กรชุมชน อาสาสมัคร
สาธารณสุข องค์กรภาคเอกชนและประชาชนในการจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ ปูองกันโรคและการดูแล
สุขภาพด้วยตนเอง ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการให้บริการด้านการแพทย์แผนไทย ยาแผนไทยและ
ผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรและงานอ่ืนๆที่ผู้บังคับบัญชามอบหมาย อย่างไรก็ตามพบว่าเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน
ด้านผู้สูงอายุมีจานวนไม่เพียงพอ กล่าวคือ กรอบและตัวเจ้าหน้าท่ีแยกกันชัดเจน แต่การปฏิบัติงานไม่
ชัดเจนตอ้ งชว่ ยกันทางาน เช่น นักพฒั นาชุมชนต้องมีช่วยงานนกั สงั คมสงเคราะห์ เปน็ ตน้
- มกี ารจดั ทากระบวนการ/ขน้ั ตอน การดาเนินงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ โดย
จาแนกประเภทผสู้ งู อายเุ พ่อื วางแผนการดูแลผู้สูงอายุแบบองค์รวม ได้แก่ กลุ่มติดสังคม กลุ่มติดบ้าน และ
กลุ่มติดเตียง โดยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจาตาบล เชน่
- โครงการส่งเสริมสนับสนุนอุปกรณ์กีฬาสาหรับชุมชน มีวัตถุประสงค์เพ่ือให้
ประชาชนมีการออกกาลงั กายอย่างสม่าเสมอและมีอุปกรณ์กีฬาเพยี งพอ ดาเนินการในพื้นท่ีเปูาหมายชุมชน
ในเขตตาบล ซึ่งผู้สูงอายุส่วนใหญ่มาออกกาลังกายและใช้อุปกรณ์กีฬาดังกล่าว ดาเนินการโดยงานพัฒนา
ชุมชน สานกั ปลดั เทศบาลตาบล แตอ่ ย่างไรกต็ ามโครงการดงั กล่าวยังไม่ครอบคลมุ ทุกตาบล
- โครงการหน่วยบริการ (EMS) เคลื่อนที่กรณีฉุกเฉิน มีวัตถุประสงค์เพื่อบริการ
รักษาพยาบาลเบอื้ งต้นให้แก่ประชาชนและผู้สูงอายุในชุมชน และประชาชนได้รับบริการรักษา ทั่วถึง ก่อน
ไปรบั การรักษาในสถานพยาบาลหลกั ตอ่ ไป ดาเนนิ การโดยงานสาธารณสขุ สานักปลัดเทศบาลตาบล

93

ท้ังน้ี พบว่า ผู้นาหรือนายกเทศมนตรีตาบล ให้การสนับสนุนการดาเนินงานด้านผู้สูงอายุในระดับที่ดี โดยบรรจุ
นโยบายด้านการจัดสวัสดิการขึ้นโดยเฉพาะไว้ในแผนฯ และข้อบัญญัติเทศบาลฯ พร้อมทั้งเน้นการจัด
สวัสดิการในกลุ่มเปูาหมายผู้สูงอายุ ซ่ึงมีโครงการที่ทากิจกรรมเพื่อผู้สูงอายุทุกปีงบประมาณ นอกจากน้ี
เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานด้านผู้สูงอายุของเทศบาลฯ ปฏิบัติงานอย่างรับผิดชอบจริงจัง สามารถทางาน
เชอื่ มโยงกับภาคประชาชนได้อย่างดี โดยเฉพาะการประสานงานกับภาครัฐที่เก่ียวข้องกับการจัดสวัสดิการ
ผูส้ ูงอายุ แตอ่ ย่างไรกต็ ามโครงการดังกล่าวยังไม่ครอบคลมุ ทุกตาบล

- โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ มีวัตถุประสงค์เพ่ือให้ผู้สูงอายุสามารถดูแล
สุขภาพตนเองในเบ้ืองต้น โดยจัดกิจกรรมนันทนาการและส่งเสริมสุขภาพสาหรับผู้สูงอายุ โครงการออก
กาลังกายแอโรบคิ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ประชาชนรวมถึงผู้สูงอายุได้ ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ ทาให้มี
สุขภาพแข็งแรง รับผิดชอบโดยสานักปลัดองค์การบริหารส่วนตาบล ดาเนินการโดยสานักปลัดองค์การ
บริหารส่วนตาบล อย่างไรก็ตามผู้สูงอายุส่วนใหญ่ยังไม่ได้เข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมดังกล่าวเน่ืองจากติดบ้าน
และมีปัญหาในเร่ืองการเดินทางมาเข้าร่วมกิจกรรม นอกจากน้ีบางส่วนยังมีปัญหาทางสุขภาพทาให้เป็น
อุปสรรคตอ่ การเขา้ รว่ มกจิ กรรม

- โครงการเสริมสร้างศักยภาพและพัฒนาอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน
(อสม.) มีวัตถุประสงค์เพื่อให้การดาเนินงานของ อสม. มีประสิทธิภาพมากขึ้น รับผิดชอบโดยสานักปลัด
องค์การบริหารส่วนตาบล โดย อสม. มีกจิ กรรมหลักในการให้บริการตรวจดูแลสุขภาพ การเย่ียมผู้สูงอายุถึงบ้าน
ให้คาแนะนาในเบ้ืองต้น การส่งต่อผู้ปุวย และประสานงานกับหน่วยงานที่เก่ียวข้อง เป็นต้น แต่อย่างไรก็ตาม
โครงการดังกลา่ วยงั ไม่ครอบคลุมทุกตาบล

- การตรวจสุขภาพประจาปี การตรวจสุขภาพให้แก่ประชาชนในชุมชนปีละ 1
ครง้ั จากแพทย์ พยาบาล เจา้ หนา้ ทข่ี องโรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพประจาตาบล โดยได้รับงบประมาณจาก
องค์การบริหารส่วนตาบล และกองทุนหลักประกันสุขภาพ การตรวจคัดกรองโรคสาคัญ เป็นการตรวจหา
โรคทเ่ี กิดขึ้นกับผู้สูงอายุส่วนมากของชุมชน ได้แก่ โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ให้แก่กลุ่มเปูาหมายท่ีมี
ความเส่ียงกับการเกิดโรคดังกล่าว โดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) เป็นประจา ซ่ึงได้รับ
จากการสนับสนนุ ดา้ นความร้แู ละงบประมาณจากของโรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพประจาตาบล

- การเยี่ยมผู้สูงอายุตามบ้าน เป็นการเข้าไปช่วยเหลือด้านสุขภาพกาย-ใจ ให้แก่
ผู้ปุวย ผู้พิการ และผู้สูงอายุของชุมชนตามบ้านเรือนเป็นประจา โดยเฉพาะในกลุ่มท่ีต้องการการดูแลเร่ือง
สุขภาพเปน็ พเิ ศษ ซงึ่ จะเป็นการให้ความรู้ คาแนะนาที่เก่ียวข้องกับสุขภาพอนามัย การพูดคุยสอบถามสาระทุกข์
ดูแลความเป็นอยู่ท่ัวไป เป็นต้น โดยเป็นหน้าท่ีของอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) ซ่ึงได้รับ
จากการสนับสนุนด้านความรู้และงบประมาณจากของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจาตา บลและชมรม
ผสู้ ูงอายุ

- การเฝูาระวังโรคติดต่อในชุมชน เป็นการควบคุมดูแลการเกิดโรคภายในชุมชน
โดยเฉพาะโรคตดิ ตอ่ ท่ีจะแพร่ระบาดได้อยา่ งรวดเร็ว เชน่ โรคไข้เลือดออก โรคอหิวาตกโรค เป็นต้น รวมทั้ง
การเฝูาระวังสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 โดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจา
หมู่บ้าน (อสม.) เป็นประจา ซ่ึงได้รับจากการสนับสนุนด้านความรู้และงบประมาณจากของโรงพยาบาล
สง่ เสรมิ สขุ ภาพประจาตาบล

- การฟ้ืนฟูสภาพรา่ งกายแก่ผูป้ วุ ยและผูพ้ กิ าร เป็นการเข้าไปช่วยในเร่ืองของการ
ให้คาแนะนาเกี่ยวสุขภาพ การให้คาแนะนาที่เกี่ยวข้องกับการทากายภาพบาบัด การทากายภาพบาบัด
ให้แก่ผู้ปุวยและผู้พิการ ซึ่งส่วนมากจะเป็นผู้สูงอายุ โดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) ซึ่งได้รับ
จากการสนับสนุนด้านความรูแ้ ละงบประมาณจากของโรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพประจาตาบล

94

- การสนับสนุนอุปกรณ์ที่จาเป็นในการดารงชีวิต เป็นการให้อุปกรณ์ท่ีจาเป็นใน
การดาเนินชีวิตให้แก่ผู้พิการและผู้สูงอายุท่ีด้อยโอกาส โดยการสารวจของอาสาสมัครสาธารณสุขประจา
หม่บู ้าน (อสม.) และแจง้ ข้อมูลแกโ่ รงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจาตาบลและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
เพือ่ จัดหาอุปกรณท์ ่ีเหมาะสมตอ่ ไป แต่จากการสัมภาษณ์ผู้สูงอายุพบว่าผู้สูงอายุบางส่วนยังมีความต้องการ
สนบั สนุนอปุ กรณ์ท่ีจาเปน็ ต่อการดารงชีวิตเพิ่มเติมอีก เช่น แว่นตา รถเข็น นอกจากน้ียังพบว่าผู้สูงอายุใน
ตาบลส่วนใหญ่ยังคงมสี ุขภาพท่ีแข็งแรงสามารถช่วยเหลือตนเองได้ และยังประกอบอาชีพหาเล้ียงตนเองได้

- การดูแลผู้สงู อายุกรณีขาดแคลนค่ารกั ษาพยาบาล ในกรณีน้ีทางองค์การบริหาร
ส่วนตาบล ไดม้ ีการประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการช่วยเหลือผู้สูงอายุในกรณีค่ารักษาพยาบาลสาหรับ
ผสู้ งู อายุท่ีไม่มรี ายได้ ไม่มผี ้ดู ูแล และขาดแคลนคา่ รักษาพยาบาล ซ่ึงทางองค์การบริหารส่วนตาบลและผู้นา
ชุมชนจะเปน็ ผ้รู ับผิดชอบหลักในการที่จะแสวงหาทรพั ยากรเพอื่ ให้การช่วยเหลอื ผู้สูงอายุ

- การตรวจคัดกรองโรคต้อกระจก เปน็ การคดั กรองผูด้ ้อยโอกาส หรือผู้สูงอายุที่มี
ปัญหาด้านสายตา เพ่ือเข้าร่วมทาการรักษาต้อกระจกในโครงการต้อกระจก สปสช. โดยองค์กรปกครอง
ส่วนทอ้ งถ่นิ โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพประจาตาบล ซง่ึ ไดร้ ับการสนบั สนนุ จากโรงพยาบาลประจาอาเภอ

- การเพ่ิมช่องทางด่วนสาหรับผู้สูงอายุในโรงพยาบาล เป็นการให้ผู้สูงอายุท่ีไป
รักษาพยาบาลที่โรงพยาบาลได้รับบริการที่รวดเร็ว ให้ทันต่อความต้องการของผู้สูงอายุ ซ่ึงเป็นการ
จัดบริการโดยโรงพยาบาลประจาอาเภอ จากการสัมภาษณ์ผู้สูงอายุ พบว่า ทางโรงพยาบาลจะนัดผู้สูงอายุ
มาตรวจรกั ษาในวนั และเวลาพรอ้ มกนั ทาให้จานวนผู้ปุวยที่เป็นผู้สูงอายุในวันและเวลาตรวจดังกล่าวมีเป็น
จานวนมาก ต้องใชร้ ะยะเวลาตรวจรกั ษาทนี่ าน ทาให้ผู้สูงอายุรู้สึกว่าไม่ได้รับสวัสดิการช่องทางด่วนสาหรับ
ผูส้ ูงอายุในโรงพยาบาลดังกล่าวเท่าทคี่ วร หรือโรงพยาบาลบางแห่งใหบ้ ริการกลุ่มผู้สงู อายุที่มีอายุ 70 ปขี น้ึ ไป

- สาหรับปัญหาการบริการด้านสุขภาพอนามัยน้ัน พบว่า ภายใต้สถานการณ์
การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 เจ้าหน้าที่ อสม. ที่ลงพื้นท่ีในชุมชนเพื่อมาตรวจสุขภาพผู้สูงอายุแล้ว
ยงั มบี รกิ ารนายามาใหถ้ งึ บ้านดว้ ยสาหรบั ผสู้ ูงอายุที่ตอ้ งรบั ยาเป็นประจา

2) ดา้ นการศึกษา
- ศูนยก์ ารศกึ ษานอกโรงเรียน เปดิ โอกาสดา้ นการศกึ ษาให้แกป่ ระชาชนในตาบล
โดยมีหลกั สตู รตั้งแต่ระดับประถมศึกษา จนกระทั่งถึงระดับมัธยมปลาย อีกท้ังยังมีการจัดฝึกอาชีพระยะสั้น
ให้แก่ผู้ท่ีสนใจ ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนอาเภอ มีกิจกรรมที่ได้จัดให้แก่ชุมชน ดังน้ี โครงการจัด
การศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ (วิชาชีพระยะสั้น) จัดข้ึนเพื่อให้ประชาชนและผู้ที่สนใจได้มีอาชีพได้รับ
การศึกษาเพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถ มีทักษะในการประกอบอาชีพ สามารถสร้างรายได้ให้กับ
ครอบครัว ชุมชน สามารถพง่ึ ตนเองได้
- หอกระจายข่าวประจาหมู่บ้าน เป็นการประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารที่สาคัญ
และน่าสนใจใหแ้ ก่ประชนในชมุ ชนไดร้ ับทราบในทุกหมบู่ ้าน โดยจะมีท่ีทาการอยทู่ ่ีทาการผู้ใหญ่บา้ น
- การศึกษาแลกเปล่ียนเรียนรู้ เป็นการจัดทัศนศึกษาให้แก่ผู้สูงอายุในช่วง
เทศกาลวันสงกรานต์ เพื่อเปิดโอกาสในการแลกเปล่ียนความรู้กับหน่วยงานอื่น โดยได้รับการสนับสนุน
งบประมาณจากองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่นและชมรมผู้สูงอายุ จากการสมั ภาษณ์เจา้ หน้าท่ีองค์การบริหาร
สว่ นตาบลและกรรมการชมรมผู้สูงอายุ
- ส่งเสริมให้ความรู้เรื่องเกษตรแบบผสมผสาน โดย อปท. ในด้านการศึกษาน้ัน
ผู้สูงอายุในชุมชนต้องการให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจัดบริการด้านการศึกษาท่ีตอบสนองความต้องการของ
ผู้สูงอายุให้ได้มากท่สี ุด โดยตอ้ งเปน็ บรกิ ารทผี่ ูส้ ูงอายนุ นั้ เสนอแนวทางร่วมดว้ ย ซง่ึ ในการศึกษารว่ มกันครง้ั นี้

95

ผู้สูงอายุได้เสนอบริการการศึกษาและการฝึกอาชีพสาหรับครอบครัวผู้สูงอายุ จะเป็นอาชีพท่ีผู้สูงอายุ
สามารถทาไดอ้ ยู่ในครอบครัวซงึ่ จะได้มีท้ังอาชีพ รายได้ และยังได้พักอาศัยอยู่กับครอบครัวอย่างมีความสุข
อีกดว้ ย

3) ดา้ นที่อยู่อาศัย
- การย่ืนเร่ืองซ่อมแซมบ้านเป็นส่วนของ อปท./สนง.พมจ./สภากาชาด/ พอช.
หรอื หนว่ ยงานท่เี กีย่ วขอ้ ง โดยสว่ นใหญ่ผู้สูงอายุยังไม่ได้เข้ามาใช้บริการเนื่องจากจะมอบฉันทะให้ญาติหรือ
สมาชิกของครอบครัวมาดาเนินเรื่องแทน การซ่อม/สร้างบ้านของผู้สูงอายุโดย อปท. หรือกาชาดอาเภอ/
จงั หวัด
4) ด้านการมีงานทาและมรี ายได้
- มีการรวมกลุ่มสาหรับประกอบอาชีพ การร่วมกลุ่มของแต่ละหมู่บ้าน ซ่ึงจะทา
การฝึกอาชีพ ร่วมประกอบอาชีพในกลุ่มผู้ท่ีสนใจและผู้เป็นสมาชิก โดยทางกลุ่มจะจัดสรรรายได้และผลกาไร
จากการจาหน่วยสินค้าให้เพ่ือให้ผู้สูงอายุมีเงินในการช่วยเหลือจุนเจือครอบครัวของตนเองได้ซ่ึงได้รับการ
สนับสนุนจากกลุ่มอาชีพต่างๆ และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน การส่งเสริมกลุ่มอาชีพเกี่ยวกับการเกษตร
เช่น พ้ืนท่ีทาการเกษตร การเพาะเห็ด การทาขนม อาหาร การจักสาน(กระติ๊บข้าวเหนียวจากต้นกก)
เยบ็ ผ้า ไม้กวาดทางมะพรา้ ว
- การส่งเสริมให้ผู้สูงอายุเป็นวิทยากร ในพื้นที่ชุมชน เช่น การถ่ายทอดภูมิปัญญา
การทาขนมไทย อาหารไทย ให้กับเด็กและเยาวชน หรือการเป็นวิทยากรให้กับชุมชนใกล้เคียง โดยองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น นอกจากนี้ยังมีการส่งเสริมการแสดงฝีมือผู้สูงอายุ เช่น การทากลองยาว ดนตรีไทย
ซออู้ อาหารไทยพื้นบ้าน อปท. จะสนับสนุนงบประมาณเพื่อท่ีจะถ่ายทอดภูมิปัญญาให้กับเด็กเยาวชนในชุมชน
ซงึ่ จะประสานกบั โรงเรยี นในตาบล
5) ดา้ นนันทนาการ
- สาหรับผู้สูงอายุแล้วการพักผ่อนหย่อนใจ อาจทาได้หลากหลายวิธี ท้ังการเข้าวัด
ฟงั ธรรม การมีส่วนร่วมกับครอบครัว เช่น การปลูกผักสวนครัว และทากับข้าวร่วมกันกับลูกหลาน เป็นต้น
ซึ่งนอกเหนือจากนี้ ผู้สูงอายุยังต้องการให้มีแกนนาที่จะสามารถนาพาผู้สูงอายุทากิจกรรมด้านต่าง ท่ีเกิด
ประโยชน์มากย่ิงข้ึน เช่น การถ่ายทอดความรู้เป็นภูมิปัญญาชาวบ้าน และการสืบสานวัฒนธรรมดั้งเดิมให้
คงไวไ้ ด้อกี ทางหน่งึ
- นอกจากนี้บริการการพักผ่อนหย่อนใจ เช่น การทัศนศึกษา การแสดงออกในงาน
ประเพณีนั้น ผู้สูงอายุมีความเห็นว่าควรมีการตั้งงบประมาณในการสร้างสวนสุขภาพตาบลให้กับคนในชุมชน
และตาบลได้พักผ่อนหย่อนใจ และควรมีการจัดตั้งเป็นกลุ่มออกกาลังกายสาหรับผู้สูงอายุ เพื่อให้เกิดการ
กระตนุ้ ใหค้ นในชุมชนและผู้สูงอายุเหน็ ความสาคญั ของสขุ ภาพอนามัยและการออกกาลังกายมากข้ึน
- อย่างไรก็ตามการเดินทางมาร่วมกิจกรรมของผู้สูงอายุทาได้ลาบาก เนื่องจาก
สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 ไมใ่ ห้มกี ารรวมกลุ่มทากจิ กรรมต่างๆ
- โรงเรียนผู้สูงอายุบางโรงเรียนมีการดาเนินการ ได้แก่ กีฬาสีของผู้สูงอายุ
รบั ผิดชอบโดยกองสวสั ดกิ ารสังคมของ อปท.
- มีการดาเนินโครงการจดั การแข่งขันกีฬาในเขตหมู่บา้ นและตาบลมีวัตถุประสงค์
เพ่ือส่งเสริมกิจกรรมด้านกีฬาโดยการจัดการแข่งขันกีฬาแต่ละหมู่บ้านและตาบล ทาให้คนในชุมชนรวมถึง
ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการทากิจกรรมร่วมกัน เกิดความสามัคคี และมีสุขภาพแข็งแรง เช่น ราไม้พลอง เปตอง
กอลฟ์ คนจน เป็นตน้

96

- องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จัดกิจกรรมประเพณีการรดน้าดาหัวผู้สูงอายุ
ในวันสงกรานต์หรือวันผู้สูงอายุ และจัดการประกวดพ่อดีเด่นและแม่ดีเด่นในวันแม่และวันพ่อแห่งชาติ
เป็นประจาทุกปี การส่งเสริมผู้สูงอายุเป็นวิทยากร เป็นการส่งเสริมให้ผู้สูงอายุถ่ายทอดภูมิปัญญาของตน
ให้กับบุตรหลานและคนในชุมชน โดยพัฒนาชุมชนอาเภอ ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน (กศน.) แต่อย่างไรก็ตาม
โครงการดังกลา่ วยงั ไมค่ รอบคลุมทกุ ตาบล

- ผู้สูงอายุส่วนใหญ่มักเข้าวัด ฟังธรรมในวันพระ หรือช่วงวันสาคัญทางศาสนา
เป็นประจาอยู่แลว้ ซ่ึงมกั จะพาลกู หลานเขา้ วัดด้วยเพื่อเป็นการเผยแพร่วัฒนธรรม และส่งเสริมพุทธศาสนา
ใหแ้ ก่เยาวชนไปพรอ้ มๆ กนั มีการแสดงในงานประเพณี เปน็ การสืบทอดประเพณที สี่ าคัญโดยกลุ่มผู้สูงอายุ
ก็จะเข้ามามสี ่วนร่วม โดยการฝึกสอนบุตรหลานให้สืบทอดประเพณี ต่างๆ เช่น การทาขวัญนาค การรดน้า
ดาหัวผู้สูงอายุ ประเพณีลอยกระทง สงกรานต์ ตักบาตรเทโว กิจกรรมทางศาสนา การสวดมนต์ นั่งสมาธิ
ประเพณีโบราณท้องถิน่ (ประเพณมี อญ) เปน็ ตน้

6) ดา้ นกระบวนการยุตธิ รรม
- ในชุมชนคุ้มครองผู้บริโภคโดยการเชิญจังหวัด/อาเภอมาอบรมให้ความรู้ด้าน
อาหาร เครือข่าย อสม. ตรวจความสะอาดร้านค้า ผักสด เน้นความปลอดภัยต่อสุขภาพ โดยมีการตรวจ
อาหารสด ปลี ะ 1 คร้ัง นอกจากนี้ยังมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล และ
อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) ดูแลรณรงค์เกี่ยวกับการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม ลดการใช้
สารเคมีในการเกษตร และการตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร(Clean food Good test) มีการตรวจ
ความสะอาด โดยโรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตาบล ร่วมกับผู้นาชมชน จะนาน้ายาตรวจความสะอาด ไม่ว่า
จะเป็นตลาดชุมชน ตรวจฟอมารีน สารบอแรกซ์ จะตรวจประมาณ 2 ครั้ง/3 เดือน โรงพยาบาลส่งเสริม
สุขภาพตาบล และอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) จัดโครงการเจาะเลือดหาสารเคมีใน
ร่างกาย สานักงานสาธารณสุขอาเภอ และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล จัดโครงการการตรวจ
มาตรฐาน GMP ในอาหาร
- มีการรับเร่ืองร้องทุกข์ของผู้สูงอายุ ส่วนมากก็จะแจ้งที่ อสม. หรือ ส่วนเร่ือง
ของการคุม้ ครองผบู้ รโิ ภคในชุมชนจะมีคณะกรรมการดูแลแต่ละหมู่บ้าน เช่น มีศูนย์คุ้มครองผู้บริโภคอมรม
ให้ความรกู้ ารบริโภคอาหาร อย่างไรให้ปลอดภัยตอ่ สขุ ภาพ
7) ด้านบริการสังคมท่ัวไป
- เม่อื ผสู้ ูงอายใุ นชมุ ชนเจ็บปุวย จะมีรถฉกุ เฉินเคลือ่ นท่ี 1669 รถผู้นาชุมชน หรือ
เช่าในบางคร้ัง บริการรับ-ส่งผู้สูงอายุในการรักษาพยาบาล มีการจัดบริการสาหรับผู้สูงอายุในชุมชนโดย
อปท. เป็นผู้รบั ผดิ ชอบในการจัดรถบรกิ ารและค่าใชจ้ ่ายสาหรับค่าน้ามนั และบรกิ ารรบั -สง่ ของ อปพร.

4.2 วตั ถุประสงคข์ อ้ 2 เพ่ือศึกษาความตอ้ งการในการพฒั นาคุณภาพชวี ิตผ้สู ูงอายใุ นทอ้ งถิ่น
จากตารางท่ี 4.11 เปน็ การศึกษาระดับความต้องการของผู้สูงอายใุ นท้องถน่ิ รายละเอียด ดังน้ี
ภาพรวม จากการศึกษาถึงความต้องการของผู้สูงอายุด้านต่างๆ ไม่ว่าจะด้านสวัสดิการ

ผสู้ ูงอายุ ด้านรายได้ ด้านการเขา้ ถงึ บรกิ าร ฯลฯ จะเห็นได้วา่ ความตอ้ งการสวสั ดิการ (เบี้ยยังชีพ) มีค่าเฉล่ีย
สูงที่สุด ( x = 4.26) โดยร้อยละ 56.3 มีความต้องการมากที่สุด รองลงมาคือ ด้านรายได้ มีค่าเฉล่ีย ( x = 4.10)
ระดับความต้องการมากท่ีสุด ร้อยละ 41.8 และมีความต้องการด้านการเข้าถึงบริการด้านสุขภาพ ค่าเฉล่ีย
สงู ท่สี ุด ( x = 3.92) โดยร้อยละ 44.8 มคี วามต้องการระดับมาก

97

เทศบาลตาบลตาจง อาเภอละหานทราย จังหวัดบุรีรัมย์ พบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่
มีความต้องการสวัสดิการ (เบ้ียยังชีพ) มีค่าเฉล่ียสูงที่สุด ( x = 4.61) โดยร้อยละ 70.1 มีความต้องการมากที่สุด
รองลงมาคือ ด้านรายได้ มีค่าเฉล่ีย ( x = 4.39) ระดับความต้องการมากที่สุด ร้อยละ 53.5 และมีความต้องการ
ด้านการเข้าถงึ บรกิ ารสังคม ค่าเฉล่ียสงู ที่สดุ ( x = 4.01) โดยร้อยละ 61.1 มคี วามตอ้ งการระดับมาก

ตาบลมะเกลือเก่า อาเภอสูงเนิน จงั หวัดนครราชสมี า พบว่า ผู้สงู อายุส่วนใหญ่มีความต้องการ
สวัสดิการ (เบ้ียยังชีพ) มีค่าเฉล่ียสูงท่ีสุด ( x = 4.36) โดยร้อยละ 50.3 มีความต้องการมากที่สุด รองลงมา
คือ ด้านรายได้ มีค่าเฉลี่ย ( x = 4.20) ความต้องการระดับมาก ร้อยละ 47.8 และมีความต้องการด้านอาหาร
และยารักษาโรค ค่าเฉลีย่ สงู ท่สี ดุ ( x = 3.64) โดยร้อยละ 43.9 มคี วามต้องการระดบั มาก

ตาบลโนนสาราญ อาเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ พบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีความต้องการ
สวัสดิการ (เบี้ยยังชีพ) มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด ( x = 4.87) โดยร้อยละ 91.0 มีความต้องการมากท่ีสุด รองลงมา
คือ การเข้าถึงบริการด้านสุขภาพ มีค่าเฉลี่ย ( x = 4.62) ระดับความต้องการมากที่สุด ร้อยละ 72.0 และ
มีความต้องการด้านการเข้าถึงบริการสังคม ค่าเฉลี่ยสูงที่สุด ( x = 4.54) โดยร้อยละ 66.0 มีความต้องการ
ระดับมาก

ตาบลตะเคียน อาเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ พบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีความต้องการ
สวัสดกิ าร (เบีย้ ยงั ชีพ) มีค่าเฉล่ียสูงที่สุด ( x = 4.20) โดยร้อยละ 46.0 มีความต้องการระดับมาก รองลงมา
คือ การเข้าถงึ บรกิ ารด้านสุขภาพ มคี า่ เฉลี่ย ( x = 3.90) ความต้องการระดับมาก ร้อยละ 58.0 และมีความต้องการ
ด้านรายได้ด้านอาหาร/ยารักษาโรค ค่าเฉลี่ยสูงที่สุด ( x = 3.82) โดยร้อยละ 38.0 มีความต้องการระดับ
ปานกลาง และร้อยละ 66.0 ความตอ้ งการระดบั มาก ตามลาดบั

ตาบลบากเรือ อาเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร พบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีความต้องการ
สวัสดิการ (เบ้ียยังชีพ) มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด ( x = 4.38) โดยร้อยละ 57.8 มีความต้องการมากที่สุด รองลงมา
คือ ด้านรายได้ มีค่าเฉลี่ย ( x = 4.28) ระดับความต้องการมากท่ีสุด ร้อยละ 46.9 และมีความต้องการ
ด้านการเขา้ ถึงบรกิ ารดา้ นสุขภาพ ค่าเฉลยี่ สงู ท่สี ุด ( x = 4.06) โดยร้อยละ 37.5 มคี วามตอ้ งการระดับมากท่สี ดุ

เทศบาลตาบลจานแสนไชย อาเภอห้วยทับทัน จังหวัดศรีสะเกษ พบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่
มีความต้องการเข้าถึงบริการด้านสุขภาพ มีค่าเฉล่ียสูงท่ีสุด ( x = 3.63) โดยร้อยละ 68.1 มีความต้องการ
ระดับมาก รองลงมาคือ ด้านอาหารและยารักษาโรค มีค่าเฉลี่ย ( x = 3.57) ความต้องการระดับมาก ร้อยละ
59.7 และมีความต้องการดา้ นการเข้าถงึ บรกิ ารสังคม ค่าเฉลี่ยสูงที่สุด ( x =3.56) โดยร้อยละ 68.1 มีความต้องการ
ระดบั มาก

98

ตารางท่ี 4.11
ระดับความต้องการของผู้สูงอายุ

ความตอ้ งการ ไม่ ระดับความต้องการ (N = 600) x S.D.
ตอ้ งการ
นอ้ ย นอ้ ย ปาน มาก มาก 4.26 1.023
-ดา้ นสวัสดิการผสู้ ูงอายุ เชน่ เบี้ยยงั ชีพ 0.5 ทีส่ ุด กลาง ทีส่ ุด 4.10 0.929
-ดา้ นรายได้ 0.2 3.92 0.913
-ด้านการเข้าถงึ บรกิ ารทางสงั คม เช่น 0.2 0.5 7.8 11.2 23.6 56.3
ศูนย์ผูส้ ูงอายุ 0.3 4.8 20.3 32.5 41.8 0.946
-ดา้ นการเขา้ ถึงบรกิ ารดา้ นสุขภาพ เชน่ 0.5 1.2 5.7 20.5 44.8 27.7
คลินกิ สขุ ภาพ 0.805
-ด้านความรู้ทเี่ กยี่ วกบั การดูแลสุขภาพ 0.2 1.3 5.8 20.3 45.2 26.8 3.89 0.907
-ด้านอาหารและยารกั ษาโรค 1.3 0.978
-ด้านอุปกรณ์ สิง่ ของและเคร่อื งใช้ 1.7 0.3 4.2 31.2 47.2 17.0 3.76 0.972
-ด้านจิตใจและอารมณ์ 0.7 0.2 4.5 32.8 43.7 17.5 3.70 1.019
-ดา้ นข้อมลู ขา่ วสารท่เี ก่ียวกับอาชพี 1.5 0.3 8.7 36.7 37.0 15.7 3.54 1.171
-ดา้ นทีอ่ ยอู่ าศัย 3.5 1.5 14.7 43.8 26.3 13.0 3.33 1.008
-ด้านเสอื้ ผ้าเครือ่ งนงุ่ หม่ 2.7 2.0 16.0 39.0 30.7 10.8 3.28 0.910
-ดา้ นการทากิจวตั รประจาวนั 1.3 2.2 14.7 40.0 23.2 16.5 3.27 1.195
-ด้านอาชพี 3.3 1.7 11.0 44.2 31.7 8.8 3.27 0.651
รวม 0.7 11.8 52.7 23.7 9.8 3.26
4.7 20.7 37.2 21.0 13.2 3.07

3.59

ตารางท่ี 4.1
ระดบั ความต้องการ

เทศบาลตาบลตาจง อาเภอละหานทราย จงั หวดั บุรรี ัมย

ความต้องการ ไม่ ระดับความต้องการ (N =157) x
ต้องการ
-ดา้ นรายได้ น้อย น้อย ปาน มาก มาก
-ด้านอาชพี ทสี่ ุด กลาง ทส่ี ุด
-ด้านการทากจิ วัตรประจาวนั
-ด้านอปุ กรณ์ สงิ่ ของและ - - 11.3 11.5 33.8 53.5 4.39 0
เคร่ืองใช้
-ดา้ นทีอ่ ย่อู าศัย 5.1 11.5 30.6 39.5 11.5 1.9 2.46 1
-ด้านเส้อื ผา้ เคร่อื งนงุ่ ห่ม
-ด้านอาหารและยารักษาโรค - 0.6 8.9 67.5 18.5 4.5 3.17 0
-ดา้ นข้อมลู ข่าวสารทเี่ กี่ยวกบั
อาชีพ - - 3.8 30.6 45.9 19.7 3.82 0
-ดา้ นความร้ทู เ่ี กยี่ วกับการดูแล
สขุ ภาพ 1.9 1.9 14.0 36.3 28.7 17.2 3.39 1
-ด้านการเขา้ ถึงบริการดา้ น 8.3 0.6 12.1 28.7 43.3 7.0 3.51 0
สขุ ภาพ เช่น คลนิ กิ สขุ ภาพ - - 1.9 30.6 50.3 17.2 3.83 0
-ด้านการเขา้ ถึงบรกิ ารทางสงั คม 1.9 2.5 10.2 35.0 41.4 8.9 3.38 1
เชน่ ศูนย์ผสู้ งู อายุ
-ดา้ นสวัสดกิ ารผสู้ งู อายุ เชน่ - - 1.9 22.9 59.9 15.3 3.89 0
เบ้ียยงั ชพี
-ดา้ นจติ ใจและอารมณ์ - - 3.2 15.9 59.9 21.0 3.99 0

- - 2.5 15.3 61.1 21.0 4.01 0

0.6 - 0.6 5.7 22.9 70.1 4.61 0

- 1.3 20.4 40.1 24.8 13.4 3.29 0

11 (ตอ่ )
รของผู้สูงอายุ

ย์ ตาบลมะเกลือเกา่ อาเภอสูงเนนิ จังหวดั นครราชสมี า S.D.
ระดับความต้องการ (N =157)
S.D. ไม่ 0.723
น้อย น้อย ปาน มาก มาก x 1.313
ตอ้ งการ ท่ีสุด กลาง ท่ีสุด 1.140
0.740 - - 1.3 14.0 47.8 36.9 4.20 1.252
1.065 6.4
0.672 3.8 1.3 16.6 31.8 25.5 18.5 3.24
0.791 5.7
0.6 13.4 38.2 28.7 15.3 3.33

0.6 8.3 22.3 42.0 21.0 3.57

1.102 8.3 2.5 8.9 26.8 33.8 19.7 3.34 1.399 99
0903 8.3 0.6 12.1 28.7 43.3 7.0 3.19 1.256
0.727 5.1 0.6 4.5 25.5 43.9 20.4 3.64 1.178
1.003 3.2 1.3 21.0 30.6 31.2 12.7 3.24 1.150

0.670 0.6 1.3 9.6 36.3 34.4 17.8 3.56 0.976

0.707 0.6 4.5 13.4 26.8 37.6 17.2 3.48 1.101

0.684 1.3 4.5 13.4 26.1 35.0 19.7 3.48 1.158

0.723 - - 1.9 10.8 36.9 50.3 4.36 0.751

0.981 1.3 3.8 10.8 36.3 31.2 16.6 3.42 1.087

ตารางที่ 4.1
ระดบั ความต้องการ

ความตอ้ งการ ไม่ ตาบลโนนสาราญ อาเภอเมอื ง จังหวดั ชัยภูมิ 0
ต้องการ ระดบั ความต้องการ (N =100) 1
-ด้านรายได้ 0
-ด้านอาชพี - นอ้ ย นอ้ ย ปาน มาก มาก x 0
-ดา้ นการทากจิ วัตรประจาวนั - ท่ีสดุ กลาง ทสี่ ุด
-ดา้ นอปุ กรณ์ สิ่งของและ - - - 17.0 20.0 63.0 4.46 0
เครอ่ื งใช้ - 6.0 9.0 32.0 28.0 25.0 3.57 0
-ดา้ นท่อี ยู่อาศยั - 1.0 56.0 32.0 11.0 3.53 0
-ด้านเส้อื ผา้ เครอ่ื งน่งุ หม่ - - - 57.0 24.0 19.0 3.62 0
-ดา้ นอาหารและยารกั ษาโรค -
-ดา้ นขอ้ มูลขา่ วสารทเี่ ก่ียวกบั - - - 55.0 18.0 27.0 3.72 0
อาชพี - 7.0 1.0 55.0 22.0 15.0 3.37
-ด้านความรูท้ ่ีเกยี่ วกบั การดแู ล - - 58.0 25.0 17.0 3.59 0
สขุ ภาพ - 5.0 5.0 51.0 28.0 14.0 3.44
-ด้านการเข้าถงึ บรกิ ารดา้ น 0
สขุ ภาพ เช่น คลนิ กิ สขุ ภาพ - - - 46.0 31.0 23.0 3.77
-ด้านการเข้าถงึ บรกิ ารทางสังคม 0
เช่น ศูนย์ผสู้ งู อายุ - - - 10.0 18.0 72.0 4.62
-ดา้ นสวัสดกิ ารผสู้ งู อายุ เชน่ 0
เบ้ยี ยงั ชีพ - - - 12.0 22.0 66.0 4.54
-ด้านจติ ใจและอารมณ์
- - - 4.0 5.0 91.0 4.87

- - 65.0 21.0 14.0 3.49

11 (ตอ่ ) ตาบลตะเคียน อาเภอกาบเชิง จังหวดั สุรนิ ทร์ S.D.
รของผู้สูงอายุ ระดบั ความต้องการ (N =50)
0.962
S.D. ไม่ น้อย นอ้ ย ปาน มาก มาก x 0.907
ทสี่ ุด กลาง ทส่ี ดุ 0.974
ตอ้ งการ - 6.0 38.0 24.0 32.0 3.82 0.862
0.771 -
1.139 - - 14.0 42.0 30.0 14.0 3.44
0.703 -
0.789 - 2.0 14.0 28.0 42.0 14.0 3.52

2.0 10.0 28.0 52.0 8.0 3.54

0.866 8.0 - 18.0 42.0 26.0 6.0 2.96 1.195

0.991 2.0 - 16.0 42.0 38.0 2.0 3.20 0.881 100

0.767 - - 8.0 14.0 66.0 12.0 3.82 0.748

0.935 - 2.0 10.0 38.0 38.0 12.0 3.48 0.909

0.802 - - 8.0 18.0 64.0 10.0 3.76 0.744

0.663 - - 4.0 20.0 58.0 18.0 3.90 0.735

0.702 - - 8.0 24.0 52.0 16.0 3.76 0.822

0.442 - - 2.0 14.0 46.0 38.0 4.20 0.756

0.732 - - 10.0 36.0 42.0 12.0 3.56 0.837

ตารางท่ี 4.1
ระดบั ความต้องการ

ตาบลบากเรือ อาเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร

ความต้องการ ไม่ ระดับความต้องการ (N =64) x
ตอ้ งการ
-ดา้ นรายได้ นอ้ ย น้อย ปาน มาก มาก
-ดา้ นอาชพี ทสี่ ุด กลาง ท่ีสุด
-ดา้ นการทากิจวตั รประจาวนั
-ดา้ นอุปกรณ์ สิง่ ของและ - - - 18.8 34.4 46.9 4.28 0
เครือ่ งใช้
-ด้านทอ่ี ยอู่ าศยั 1.6 - 3.1 48.4 23.4 23.4 3.63 0
-ดา้ นเสื้อผา้ เครื่องนุง่ หม่
-ด้านอาหารและยารักษาโรค 3.1 - 1.6 59.4 20.3 15.6 3.41 0
-ดา้ นขอ้ มลู ขา่ วสารทเ่ี กย่ี วกบั
อาชีพ - - 3.1 46.9 40.6 9.4 3.56 0
-ด้านความรู้ทเี่ กี่ยวกับการดูแล
สุขภาพ - - 21.9 56.3 10.9 10.9 3.11 0
-ด้านการเขา้ ถงึ บรกิ ารดา้ น - - 18.8 51.6 20.3 9.4 3.20 0
สุขภาพ เชน่ คลนิ ิกสุขภาพ - - 7.8 40.6 20.3 31.3 3.75 0
-ดา้ นการเข้าถงึ บริการทางสังคม - - 6.3 48.4 28.1 17.2 3.56 0
เช่น ศูนยผ์ สู้ ูงอายุ
-ด้านสวัสดิการผสู้ งู อายุ เชน่ - - - 35.9 32.8 31.3 3.95 0
เบย้ี ยงั ชพี
-ด้านจติ ใจและอารมณ์ - - - 31.3 31.3 37.5 4.06 0

- - - 29.7 35.9 34.4 4.05 0

1.6 - - 14.1 26.6 57.8 4.38 0

1.6 - 14.1 34.4 32.8 17.2 3.48 1

11 (ตอ่ )
รของผู้สงู อายุ

เทศบาลตาบลจานแสนไชย อาเภอหว้ ยทับทนั จังหวัดศรีสะเกษ
ระดบั ความต้องการ (N =72)

S.D. ไม่ นอ้ ย น้อย ปาน มาก มาก x S.D.

ตอ้ งการ ทส่ี ุด กลาง ท่สี ุด
0.766 1.4 2.8 30.6 47.2 18.1 - 2.75 0.826
0.984 1.4 2.8 44.4 37.5 13.9 - 2.60 0.816
0.988 - 1.4 37.5 58.3 2.8 - 2.63 0.568
0.710 1.4 36.1 50.0 11.1 1.4 - 2.74 0.769

0.875 1.4 8.3 40.3 40.3 4.2 5.6 2.54 0.963

0.858 - - 2.0 63.9 8.3 2.8 2.89 0.662 101

0.992 - - 11.1 25.0 59.7 4.2 3.57 0.747

0.852 1.4 - 50.0 41.7 6.9 - 2.53 0.691

0.825 - - 4.2 22.2 70.8 2.8 3.72 0.587

0.833 - - 8.3 22.2 68.1 1.4 3.63 0.659

0.805 1.4 1.4 8.3 19.4 68.1 1.4 3.56 0.837

0.917 1.4 4.2 58.3 29.2 4.2 2.8 2.39 0.815

1.039 1.4 1.4 34.7 52.8 9.7 - 2.68 0.728

ตารางที่ 4

สรุปการถอดบทเรยี นการดาเนิน

ประเด็น ทต.ตาจง ต.มะเกลอื เกา่ ต.โนนสาร
อ.ละหานทราย
1. ปญั หาอปุ สรรค อ.สงู เนนิ อ.เมอื ง จ.ช
จ.บุรรี ัมย์
จ.นครราชสีมา
-ผสู้ ูงอายุมคี วามรสู้ กึ กลัว
ไม่กลา้ แสดงออก - เกดิ Covid-19 -เกดิ Covid-19
-เกิด Covid-19
- ยังไม่มีการสอนเร่อื ง IT

2. ความสาเรจ็ 1.ครอบครัวสนบั สนุน 1.การมสี ่วนร่วม 1.ความมีนา้ ใจ
2.ความสามคั คี 2.รับฟังคาแนะนาของ 2.การมสี ่วนร่วม
3.การมีส่วนรวมในการ เพอ่ื น 3.ความคดิ สร้างส
ชว่ ยเหลือซง่ึ กนั และกัน 3.มกี ารต่อยอดผลิตภณั ฑ์ 4.รักใครป่ รองดอ
(กิจกรรมเยีย่ มยามถามไถ)่ ตะไคร้หอมไลย่ งุ่ 5.ความสามารถ
4.การดูแลผสู้ ูงอายุใน 6.ผู้นา
ชมุ ชน 7.ความสามคั คี
5.ต่อยอดอาชีพ วงกลอง 8.การเอ้ือเฟือ้ เผ
ยาว
6.ความผกู พนั กับความ
ชานาญ/ฝมี อื (วงกลอง
ยาว)
7.จติ อาสา
-เพลงจิตอาสา
8.ในการดแู ลสุขภาพของ
ผู้สงู อายุรว่ มแรงรว่ มใจ/
มงุ่ ม่นั
9.สรา้ งแยกขยะในชมุ ชน

4.12 ต.บากเรอื ทต.จานแสนไชย 102
นงานของโรงเรยี นผ้สู ูงอายุ อ.มหาชนะชัย อ.หว้ ยทับทนั
ราญ ต.ตะเคยี น
ชัยภมู ิ อ.กาบเชิง จ.สุรินทร์ จ.ยโสธร จ.ศรีสะเกษ

-เกิด Covid-19 -เกดิ Covid-19 -เกิด Covid-19
-กิจกรรมเฉพาะผสู้ ูงอายุ
1.ครอบครวั สนบั สนุน 1.การมสี ว่ นรว่ ม ม.4 และ ม.20 ที่
2.ท้องถิ่น มวี ิสัยทศั น์และ 2.ความสนใจ.ความใส่ใจ รับผดิ ชอบโดย รพ.สต.
สรรค์ การบริหารที่ดี 3.มมุ มองของทอ้ งถน่ิ จานแสนไชย
อง 3.มีส่วนรว่ มร่วมกนั 4.แบ่งปันความรแู้ กก่ นั
4.ปรึกษาหารอื 1.ผูส้ ูงอายุทีเ่ ขา้ ร่วม
มวี ิสัยทศั น์ กจิ กรรมเป็นผสู้ งู อายุทีอ่ ยู่
5.มคี วามรว่ มมอื ตามลาพงั และโสด
ผื่อแผ่ 6.อยากพบปะเพอื่ น 2.ผู้สูงอายตุ อ้ งการพบปะ
แลกเปลย่ี นความรู้ เพื่อนเพ่อื คลายเหงา
7.จติ อาสา 3.สามารถดึงผสู้ งู อายทุ ่ี
8.ความผูกพนั รกั ใคร่กลม ตดิ บ้านออกมานอกบา้ น
เกลยี ว ได้

ประเด็น ทต.ตาจง ต.มะเกลอื เกา่ ต.โนนสาร

3. ความต้องการ อ.ละหานทราย อ.สูงเนนิ อ.เมือง จ.ช

จ.บรุ รี ัมย์ จ.นครราชสมี า

1.ตอ้ งการใหม้ ีการตรวจ 1.การมีส่วนรว่ ม 1.ระดบั นโยบาย
สุขภาพก่อนทากจิ กรรม
2.มพี ระมาเทศน์ 2.รบั ฟงั คาแนะนาของ เบ้ยี ยงั ชีพผ้สู ูงอา
3.ศกึ ษาดูงาน (โรงเรยี น
ผู้สงู อายุพนื้ ทีอ่ ่ืน) เพือ่ นๆ (เพ่มิ ขึ้นจาก 600
4.กิจกรรมที่เพิ่มรายได้
ใหแ้ กผ่ ู้สูงอายุ 3.กจิ กรรมรุน่ ท1่ี พบรนุ่ ที่2 หรือเทา่ กนั ท้งั หม

4.เปิดโรงเรียน เดอื นละ 2 ชว่ งอาย)ุ

ครั้ง (ต้นเดอื น/ปลาย 2.เปลีย่ นเป็นเรีย

เดือน) 3.ตอ้ งการอปุ กร

5.เครือ่ งแบบนกั เรียน (ร่นุ ดนตรี เพื่อตงั้ กล

1 มี ,รนุ่ 2 ไม่มี) 4.มีกิจกรรมพบป

6.ความต่อเนอ่ื ง/ความถ่ี ร่นุ

ของกจิ กรรม 5.มีการถา่ ยทอด

7.กิจกรรมท่เี พิ่มรายได้ ตอ่ รนุ่

ใหแ้ ก่ผ้สู ูงอายุ 6.กิจกรรมท่ีเพ่ิม

ใหแ้ ก่ผ้สู งู อายุ

4. แนวทางการพัฒนา หลกั สตู ร แบง่ เป็น -ผบู้ ริหารท้องถ่ิน/ผ้นู า -ควรมีการปรับป
โรงเรยี นผู้สงู อายุ -วชิ าชวี ติ 50% สนบั สนุน หลักสตู รตามสถ
-วิชาชีพ 30% -เครือขา่ ยในชุมชนต้อง ในพืน้ ท่ี
-นันทนาการ 20% สนับสนนุ
-ครอบคลุมทุกหมู่บ้านใน
ตาบล
-ไมค่ วรเกนิ 100 คน
-ความต่อเนือ่ งของ
กจิ กรรม

ราญ ต.ตะเคียน ต.บากเรือ ทต.จานแสนไชย
ชัยภูมิ อ.กาบเชงิ จ.สรุ นิ ทร์
อ.มหาชนะชยั อ.หว้ ยทับทนั
ยการเพ่ิม 1.ชุดฟอร์ม
ายุ 2.ศึกษาดงู าน จ.ยโสธร จ.ศรีสะเกษ
0 บาท 3.ดอกไมจ้ นั ทนจ์ ากลอ๊
มดไมแ่ บง่ ตเตอรี่ 1.กิจกรรมรุ่นพ่ีพบปะร่นุ 1.เปิดเรยี น เดอื นละ 2
4.กจิ กรรมในนามโรงเรียน นอ้ ง ครั้ง โดยไมต่ รงกับวนั พระ
ยนวันพธุ ผสู้ ูงอายุ 2.เครอ่ื งแบบ (สีเสื้อแบง่ 2.ทัศนศกึ ษา
รณเ์ ครื่อง 5.กจิ กรรมที่เพ่ิมรายได้ ตามรนุ่ ) 3.กจิ กรรมต่อเนือ่ ง
ล่มุ ให้แกผ่ สู้ งู อายุ 3.รุ่น 2 (หมุนเวียน) 4.สถานที่
ปะรุ่นตอ่ 4.ตรวจสุขภาพ -มีรถรับส่ง
5.ศกึ ษาดูงาน 5.สมาชกิ โรงเรียนมที กุ หมู่ 103
ดดนตรรี ุ่น -เกีย่ วกบั วัด,ทาบญุ ไหว้ (ประมาณรุ่นละ 40-50
พระ คน)
6.กจิ กรรมทเี่ พิ่มรายได้ 6.มีชุดนักเรยี น
ให้แกผ่ ู้สงู อายุ 7.มีกจิ กรรมเพ่ิมศักยภาพ
จากความชานาญของ
มรายได้ ผ้สู ูงอายุ เชน่ เซงิ้ บง้ั ไฟ
8.กิจกรรมทเี่ พ่ิมรายได้
ปรงุ -ไม่ควรเกิน 100 คน -ความตอ่ เนื่องของ ใหแ้ กผ่ สู้ ูงอายุ
ถานการณ์ -งบประมาณสนบั สนนุ กิจกรรม
ตอ่ เนอื่ ง -การบูรณาการดาเนนิ งาน
-กจิ กรรมเดิมต่อเนื่อง ของ รพ.สต. และ อปท.
-สถานที่ และหนว่ ยงานที่เก่ยี วขอ้ ง
ในพน้ื ท่ี
-ความตอ่ เนอื่ งของ
กจิ กรรม

ตารางที่ 4
กจิ กรรมของโรงเรียนผ้สู งู อายุ จา

ดา้ น จงั หวดั นครราชสีมา จงั หวัดชัยภมู ิ จงั หวัดบุรีรัมย
1. ด้านสุขภาพกาย
 สง่ เสรมิ อาชีพ : ทาขนม  ด้านวิชาการ : เรียนภาษา-  เคารพธงชาติ
2. ด้านจติ ใจ กลว้ ยฉาบ กะหรป่ี ั๊บ นางเลด็ อังกฤษ ภาษาอาเซียน  ออกกาลังกาย : เต
ถักกระเป๋าพลาสตกิ เทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์) บกิ

 นันทนาการ : เต้นบาสโลบ ค ว า ม รู้ เ กี่ ย ว กั บ ศ า ส น า ราวงชาวบา้ น
ยางยืด เปตอง ตีกอล์ฟมะเขือ วฒั นธรรม วิปิสนา-กรรมฐาน  สอนความจา (โดย
 ออกกาลงั กาย : ราไม้พอง พร้อมท่าประกอบ หัว จ
ตารางกา้ วช่อง

 ออกกาลังกาย : รากลอง แอโรบิก ราวงย้อนยุค  ดา้ นสขุ ภาพ : มีกา
 กฬี า : ตกี อล์ฟ เตะปบี แนะนาการออกกาลังก
ยาว นวด

 ตรวจสขุ ภาพ  ส่งเสริมอาชีพ : ไม้กวาด การกินอาหาร
 นวัตกรรมสุขภาพ (วัสดุ สบู่ ดอกไมจ้ นั ทน์ ลูกประคบ  สง่ เสรมิ อาชีพ : ทาแ

เหลอื ใช้/วัสดทุ หี่ าไดใ้ นชมุ ชน) จักสานจากไม้ไผ่ หมู ขนมถ่ัวแปบ นา้ ยา

 ด้านวิชาการ : เรียน จาน ลูกประคบ

เกีย่ วกบั ศาสนา (ฟังธรรมะ)

 ศกึ ษาดูงานตา่ งๆ  ศกึ ษาดูงาน/ทัศนศึกษา  ศกึ ษาดงู าน/ทศั นศ

- ชมรมผู้สงู อายุ - เข่ือนขนุ ด่าน (ตามรอย

- ไหวพ้ ระตา่ งจังหวัด โครงการพระราชดาริ

(จ.พระนครศรีอยธุ ยา) เศรษฐกิจพอเพยี ง)

- พิพิธภัณฑ์ประวัตศิ าสตร์ - เขือ่ นจฬุ าภรณ์ (สถานท่ี

จ.ระยอง/พิพิธภัณฑ์ไม้กลาย กล่ันเหล้า)

เป็นหิน - รพ.อภัยภูเบศ(ต้นสมนุ ไพร)

 ด้านวิชาการ : เรียน  ด้านวิชาการ : ความรู้เกี่ยว

เกี่ยวกบั ศาสนา (ฟังธรรมะ) กับศาสนา วัฒนธรรม วิปิสนา



4.13
าแนกออกเป็น 5 ด้าน ดังน้ี

กจิ กรรม

ย์ จังหวดั สุรินทร์ จงั หวัดยโสธร จังหวดั ศรีสะเกษ

 ด้านวิชาการ : สิทธิ-  ออกกาลังกาย : เต้นแอโร  ออกกาลงั กาย
 ตรวจสขุ ภาพ
ต้นแอโร ประโยชนข์ องผ้สู ูงอายุ บกิ
 ออกกาลังกาย : ราไม้พอง ราวง
 สง่ เสริมอาชีพ-สรา้ งรายได้ :
กายบริหาร บาสโลป  ด้านวิชาการ : เรียนภาษา- การนวดฝ่าเท้า ทาน้ายาล้าง

ยใช้เพลง  ส่งเสริมอาชีพ : ทาดอกไม้- อังกฤษ การดูแลสุขภาพ จาน
จมูก หู) จันทน์ ทาไม้ กวาด น้ายา เรียนเกี่ยวกับศาสนา (ฟัง  นนั ทนาการ : มอญซอ่ นผา้
าร ล้างจาน จักสาน ลูกประคบ ธรรมะ) การเกษตร เทคโนโลยี รอ้ งเพลง ราวง ปั่นจักรยาน
กาย , สมนุ ไพร ไข่เคม็ ขนมปการัญเจก กฎหมายสาหรับผู้สูงอายุ  ด้านวิชาการ : เรียน
ยาหม่องพมิ เสนนา้ ฯ  ส่งเสริมอาชีพ : ร้อยมาลัย เกี่ยวกับศาสนา (ฟังธรรมะ)
104
แหนม ข้าวตอก ขนมเทียน เพาะ- การดแู ลสขุ ภาพ
าลา้ ง ถัว่ งอก พานบายศรี ห่อข้าวต้ม
 ตรวจสุขภาพ (เน้นเรื่อง

การกนิ อาหาร)

ศกึ ษา  ศึกษาดงู าน/ทศั นศึกษา  ศกึ ษาดูงานต่างๆ  ศึกษาดูงาน/ทัศนศึกษา
 ดา้ นวิชาการ : เรียนเก่ียวกบั  ด้านวิชาการ : เรียน  ด้านวิชาการ : เรียน

ศาสนา (ฟังธรรมะ) เกี่ยวกบั ศาสนา (ฟังธรรมะ) เก่ียวกับศาสนา (ฟงั ธรรมะ)

ดา้ น จังหวดั นครราชสีมา จงั หวัดชัยภมู ิ จังหวดั บุรีร

3. ด้านสัมพนั ธภาพ  พบปะ/พูดคุย/แลกเปล่ียน  พบปะ/พูดคุย/แลกเปล่ียน  พบปะ/พูดคุย/แ
ทางสงั คม ความรู/้ รับฟังปัญหาและหา ความรู้/รับฟังปัญหาและหา ความรู้/รับฟังปัญ
แนวทางแกไ้ ขรว่ มกัน แนวทางแก้ไขรว่ มกนั แนวทางแก้ไขรว่ มก
 มี ก า ร ร ว ม ก ลุ่ ม ท า
กิจกรรม หลังจบการเรียนใน

โรงเรียน

4. ดา้ น  ปลูกผกั ปลอดสาร 100 ไร่  ปลกู ผกั สวนครวั  ปลูกผักสวนคร
สภาพแวดล้อม  เล้ยี งไสเ้ ดือน  ทาปุ๋ยหมกั
 ทาปุ๋ยหมัก
5. ดา้ นสวัสดกิ าร
 ลงพ้ืนท่ีเยี่ยมผู้สูงอายุใน  ลงพื้นท่ีเย่ียมผู้สูงอายุใน  ลงพ้ืนท่ีเยี่ยมผ

ชุมชน โดย อบต. สมาชิกใน ชุมชน โดย อบต. ครูพ่ีเล้ียง ชุมชน โดย อบต.

โรงเรียน CG นักบริบาล และ ส ม า ชิ ก ใ น โ ร ง เ รี ย น CG โรงเรียน พชอ./

ให้ความช่วยเหลอื ตา่ งๆ นกั บริบาล นักบรบิ าล
 นาเครอื่ งอุปโภค - บริโภค

ไปช่วยเหลือผู้สูงอายุท่ียากไร้

ในชมุ ชน

กจิ กรรม

รัมย์ จังหวดั สุรนิ ทร์ จงั หวดั ยโสธร จงั หวดั ศรีสะเกษ

แลกเปล่ียน  พบปะ/พดู คยุ /แลกเปล่ยี น  พบปะ/พูดคุย/แลกเปล่ียน  พบปะ/พูดคุย/แลกเปลี่ยน

ญหาและหา ความร/ู้ รบั ฟังปญั หาและหา ความรู้/รับฟังปัญหาและหา ความรู้/รับฟังปัญหาและหา

กนั แนวทางแก้ไขรว่ มกนั แนวทางแกไ้ ขร่วมกัน แนวทางแกไ้ ขรว่ มกัน

 เกิดการรวมกลุ่มในการ  มี ก า ร ร ว ม ก ลุ่ ม ท า

สร้างกจิ กรรม ทาใหเ้ กิดความ กิจกรรม หลังจบการเรียนใน

สามัคคี เช่น กฐินผู้สูงอายุ โรงเรียน

เพลสัญจร

รัว  การแยกขยะ จ.สุรนิ ทร์  แจกพันธุ์ผัก/ปลูกผัก-  ปลูกผกั สวนครวั 105
 ปลูกผักสวนครวั
สวนครวั

ผู้สูงอายุใน  ลงพน้ื ท่ีเย่ียมผสู้ งู อายใุ น  อบต.บากเรอื ให้ความ  กองทนุ ฌาปนกิจ -
สมาชิกใน ชุมชน โดย อบต. สมาชกิ ใน ช่วยเหลอื และประสาน สงเคราะห์
/พชต. CG โรงเรยี น พชอ./พชต. CG  ลงพื้นที่เย่ียมผู้สูงอายุใน
ช่วยเหลอื เรอ่ื งการจดั การศพ ชุมชน โดย อบต. สมาชิกใน
นกั บริบาล  กองทนุ ฌาปนกิจ
สงเคราะห์ โรงเรยี น
 นาเคร่อื งอุปโภค - บริโภค

ไปช่วยเหลือผู้สูงอายุท่ียากไร้
ในชมุ ชน

106

จากขอ้ มูลเชิงปรมิ าณท่ีไดจ้ ากการสนทนากบั ผู้สูงอายุในพ้ืนท่ี กล่าวคือ ผู้สูงอายุมีความต้องการ
และให้ความสนใจในประเด็นสวัสดิการเรื่องเบี้ยยังชีพและรายได้มากกว่าสวัสดิการด้านอ่ืน โดยความต้องการ
สวัสดิการในด้านอ่ืนๆ อาทิเช่น การเข้าถึงบริการด้านสุขภาพ การเข้าถึงบริการด้านสังคม ข้อมูลข่าวสาร
ปัจจัย 4 จะเป็นประเด็นรองลงไป อันเน่ืองจากผู้สูงอายุส่วนใหญ่เป็นกลุ่มผู้สูงอายุวัยต้น (60-69 ปี) ซ่ึงมี
ความคิดเห็นว่าจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา2019 ในปัจจุบันมีการยกระดับความ
รุนแรงตามสายพันธุ์ต่างๆ แพร่กระจายเร็ว โดยยังไม่มียารักษาให้หายขาดได้ มีแค่วัคซีนที่คอยป้องกัน
เท่านน้ั ประกอบกับเมื่อเราทางานยิ่งต้องป้องกันตัวเองและคนในครอบครัวมากข้ึน ไม่รู้ว่าอนาคตข้างหน้า
เราจะป้องกันไดม้ ากนอ้ ยแคไ่ หน เมอื่ รายได้ส่วนใหญ่ของผู้สูงอายุมาจากเบ้ียยังชีพผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุมองว่า
หากมีการเพิม่ เบ้ยี ยังชพี ใหก้ บั ผูส้ งู อายุแบบเท่ากนั ทุกช่วงอายุ(มากกว่า 600 บาท) จะเพ่ิมรายได้ให้ผู้สูงอายุ
ได้นามาใชจ้ ่ายเพื่อปอ้ งกนั ตนเองและครอบครัวได้อีกทางหนงึ่

จากข้อมูลเชิงปริมาณสอดคล้องกับข้อมูลเชิงคุณภาพ พบว่า ผู้สูงอายุท่ีตอบแบบสารวจ
ส่วนใหญ่ต้องการมากที่สุด ได้แก่ สวัสดิการผู้สูงอายุ(เบ้ียยังชีพ) และต้องการมีรายได้เพ่ิมขึ้น และผู้ตอบ
แบบสารวจต้องการในระดับมาก ได้แก่ การเข้าถึงบริการด้านสุขภาพ ต้องการความรู้ท่ีเกี่ยวกับการดูแล
สุขภาพ ต้องการอาหารและยารักษาโรค และอุปกรณ์ส่ิงของเคร่ืองใช้ในการประกอบอาชีพ ซึ่งสอดคล้อง
กับความต้องการของผู้สูงอายุในโรงเรียนผู้สูงอายุท่ีต้องการมีกิจกรรมท่ีเพ่ิมรายได้ และการตรวจสุขภาพ
ก่อนการทากิจกรรมของโรงเรียนผู้สูงอายุ สาหรับการจัดสวัสดิการสังคมสาหรับผู้สูงอายุในพ้ืนที่ยังมี
หน่วยงานในพื้นท่ี อาทิเช่น อปท., รพ.สต., สนง.พมจ., พอช., หรือกาชาด ท่ียังคงดาเนินการให้บริการ
สวัสดิการสังคมในชุมชน เชน่ การซ่อมแซม/สร้างบา้ นของผ้สู งู อายุ/ผ้พู ิการ การสงเคราะห์ผู้สูงอายุในภาวะ
ยากลาบาก การตรวจเบาหวาน-ความดันของผู้สูงอายุโดย อสม. การบริการรับ-ส่งผู้สูงอายุ(1669) การส่งเสริม
อาชีพ เช่น การทากระติ๊บข้าวเหนียวจากต้นกก, วงดนตรีกลองยาว, วิทยากรจากการถ่ายทอดภูมิปัญญา
เป็นต้น

4.3 วัตถุประสงค์ข้อ 3 เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาคณุ ภาพชีวิตผู้สูงอายุโดยใชโ้ รงเรียนผูส้ ูงอายุเป็นฐาน
การศึกษาครั้งนี้ผู้วิจัยใช้การสนทนากลุ่มเพ่ือหาแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุโดยใช้

โรงเรียนผู้สูงอายุเป็นฐาน ประกอบด้วย 1) คณะกรรมการบริหารของโรงเรียนผู้สูงอายุ 2) หน่วยงานที่
เกีย่ วขอ้ ง 3) ผู้สูงอายทุ ี่เข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรยี นผู้สูงอายุ โดยประเดน็ ในการสนทนากลมุ่ ได้แก่

1. ความเปน็ มาของโรงเรียนผู้สงู อายุ
2. กิจกรรมของโรงเรียนผสู้ ูงอายุ
3. หน่วยงาน/ผู้ทีเ่ ข้ามามสี ่วนเก่ียวขอ้ งในโรงเรียน
4. ขนั้ ตอน/กระบวนการ (การบรหิ ารจัดการ,งบประมาณ)

5. ปัญหาอุปสรรค/ข้อจากัด

6. ความภาคภูมใิ จ/ส่งิ ทท่ี าใหป้ ระสบความสาเร็จ
7. การพัฒนาต่อ/ตอ้ งการ

สรปุ การสนทนาก

ประเดน็ คาถาม ตาบลมะเกลือเกา่ ตาบลโนนสาราญ เทศบาลตาบลตา
1. ความเปน็ มา
อาเภอสูงเนนิ อาเภอเมืองชัยภูมิ อาเภอละหานทร

จงั หวดั นครราชสีมา จงั หวัดชยั ภูมิ จังหวดั บุรีรัมย

 ปี 2549 อบต.มะเกลือเก่า  ปี 2560 ดาเนนิ การ ดังน้ี  ก่อน ปี 2560 ม

ได้สนับสนุนและส่งเสริมให้ - สานักงานพัฒนาสังคม ผู้สูงอายุ แต่ปัจจุบันก

ผู้สูงอายุมาทากิจกรรมร่วมกัน และความม่ันคงของมนุษย์ ชมรมฌาปนกจิ
เช่น อบรมเก่ียวกับสุขภาพ จังหวัด (พมจ.) ชัยภูมิ ได้จัด  ปี 2560 สานักงาน

นันทนาการ กองทุนฌาปนกิจ ประชุมแนวทางการจัดตั้ง สังคมและความม่ัน

และ รพ.สต.ได้พาไปจดทะเบียน โร งเ รี ยนผู้ สูงอายุ ร่ วม กับ มนุษย์จังหวัด (พมจ.)

ชมรมผู้สงู อายุ หน่วยงานในท้องถ่ิน โดยมี มีหนังสือและคู่มือในก

 ก่อนปี 2553 กล่มุ อาสายา อบต.โนนสาราญ เข้าร่วม โรงเรยี นผสู้ งู อายุ มายงั
 ปี 2560 ดาเนนิ กา
ใจ โดยการดูแลของ รพ.สต. ประชมุ ด้วย

และ สปสช. ลงพ้ืนท่ีดูแล - หลังจากประชุม อบต. - เทศบ าลตาบ
ผู้สูงอายุและผู้พิการในหมู่บ้าน โนนสาราญ ประสานไปยังภาคี ประชุมกับผู้นาชมุ ชนให
โดยไม่มีงบประมาณ (ปัจจุบัน เครือข่าย เพ่ือสร้างความเขา้ ใจ ในการจัดตั้งโรงเรียนผ
ใช้งบประมาณจากเงินกองทุน และทาให้เห็นถึงความสาคัญ โดยเชิญสานักงาน
ในการจดั ตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุ จังหวัดมาให้ความรู้ แ
สุขภาพตาบล)
 ปี 2561 อบต.มะเกลือเก่า  ปี 2561 ดาเนินการ ดังน้ี ครใู หญข่ องโรงเรยี น

และ รพ.สต. ได้เข้าอบรม - ทดลองเปิดโรงเรียน - ประชุมคัดเลือ

การจดั ตง้ั โรงเรยี นผู้สูงอายุของ ผู้สูงอายุ “โรงเรียนดอกลาดวน” แต่งตั้งคณะกรรมการ

กระทรวง พม. และดาเนินการ โดยใช้วัดเป็นสถานทเ่ี รยี น โรงเรียนผู้สูงอายุ (จากห

ตอ่ ดังน้ี - ประชาสัมพันธ์รับสมัคร ต่ างๆ เป็ นคณะกร

- อ บ ต . ม ะ เ ก ลื อ เ ก่ า นักเรียนโรงเรียนผู้สูงอายุผ่าน ที่ปรึกษา และนักเรียน

ประชาสมั พนั ธ์รบั สมัครนกั เรียน ผู้นาชุมชน ผู้สูงอายุ เป็นคณะกร

- แต่งต้ังคณะกรรมการภายใน - ประชุมคัดเลือกและแต่งต้ัง โรงเรียน

โรงเรียนผู้สูงอายุ (จากหน่วยงาน คณะกรรมการภายในโรงเรียน  ปี 2560 – 2561
ต่ างๆ เป็ นคณะกรรมการท่ี ผ้สู ูงอายุ (จากหน่วยงานต่างๆ เป็น “โรงเรียนผ้สู งู อายตุ าบล
ปรึกษา และนักเรียนโรงเรียน ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร - ทต.ตาจง ร่วมกับ

กลมุ่ (Focus Group)

จังหวัด

าจง ตาบลตะเคียน ตาบลบากเรอื เทศบาลตาบลจานแสนไชย

ราย อาเภอกาบเชงิ อาเภอมหาชนะชัย อาเภอหว้ ยทบั ทัน

ย์ จงั หวัดสุรินทร์ จงั หวดั ยโสธร จงั หวดั ศรีสะเกษ

มีชมรม  ระหว่างปี 2560 - 2561  ปี 2 5 6 1 ส า นั ก ง า น  ปี 2561 ดาเนินการดังน้ี

ลายเป็น ท่านเจ้าอาวาสวัดบ้านตะเคียน พัฒนาสังคมและความม่ันคง - ศูนย์อนามัยในจังหวัด

ได้ทางานวิจัยเก่ียวกับผู้สูงอายุ ของมนุษย์จังหวัด (พมจ.) อุบลราชธานี เข้ามาสารวจ

นพัฒนา แล ะ ส นใจ จั ดต้ั งโ ร งเ รี ย น ยโสธร มีหนังสือและคู่มือใน สุขภาพของผู้สูงอายุ และให้

นคงของ ผู้สูงอายุ เพ่ือดาเนินกิจกรรม การจัดต้ังโรงเรียนผู้สูงอายุ ความรู้เกี่ยวกับผู้สูงอายุ โดย

บุรีรัมย์ ต่างๆ ให้กับผู้สูงอายุในชุมชน มายงั หน่วยงานในทอ้ งถน่ิ ได้เชิญเฉพาะผู้สูงอายุมา
การจัดต้ัง เช่น หลักสูตรเกี่ยวกับสุขภาพ  ปี 2561 ดาเนินการ ดังน้ี พูดคุย/แลกเปลย่ี นความคดิ

ทต.ตาจง อาหาร การสง่ เสรมิ อาชีพ และ - อบต.บากเรือ ได้รับการ - เจ้าหน้าที่ รพ.สต. ได้

าร ดงั น้ี กิจกรรมนนั ทนาการ สนับสนุนงบประมาณในการ กล่าวถึงความสาคัญ ความ
ลตาจ ง  ปี 2561 ดาเนนิ การ ดังน้ี จดั ตัง้ ศนู ยพ์ ัฒนาคุณภาพชวี ิต จาเป็น และแนวทางในการ
ห้ความรู้ - ผู้ น า ชุ ม ช น ไ ด้ เ ส น อ และส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ จัดตั้งโรงเรยี นผสู้ งู อายุ
ผู้สูงอายุ แนวความคิดของท่านเจ้า (ศพอส.) จานวน 1,000,000 บาท  ปี 2562 ดาเนินการดงั น้ี 107

อัยการ อาวาสวัดบ้านตะเคียนในเวที - ประชาสมั พันธร์ ับสมัคร - จัดต้ัง “โรงเรียนชมรม

และเลือก ประชมุ ของกรมการปกครอง นักเรียนผา่ นผนู้ าชมุ ชน ลงพ้ืนท่ี ผู้สงู อายุตาบลจานแสนไชย”

- อบต.ตะเคียน ได้ร่วมมือ แต่ละบ้าน - ประชาสัมพันธ์รับสมัคร

อกแล ะ กับวัดบ้านตะเคียน จัดตั้ง  ปี 2562 (เดือนตุลาคม ผ่านการประชุมสามัญประจาปี

รภายใน “ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและ 2562) ของหมู่บา้ น
หน่วยงาน ส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ (ศพอส.) - จดั ตง้ั “โรงเรยี นศาสตร์ - ประชุมคัดเลือกและ
รรมการ ตาบลตะเคียน” โดยใช้ศาลา ผสู้ ูงอายตุ าบลบากเรอื ” แต่งตั้งคณะกรรมการภายใน
นโรงเรียน การเปรียญวัดสันติวิเวก เป็น - ประชุมคัดเลือกและ โรงเรียนผู้สูงอายุ (จากหน่วยงาน
แต่งตั้งคณะกรรมการภายใน ต่ างๆ เป็ นคณะกรรมการ
รรมการ สถานที่ดาเนินการ
- อบ ต . ต ะ เ คี ย น แ ล ะ โรงเรียนผู้สูงอายุ เป็นคณะ- ท่ีปรึกษา และนักเรียนโรงเรียน
1 จัดตั้ง ประชาชน ประชาสัมพันธ์ กรรมการท่ีปรึกษา และ ผู้สูงอายุ เป็นคณะกรรมการ
ลตาจง” รับสมัครนักเรยี น นักเรียนโรงเรียนผู้สูงอายุ โรงเรยี น
บคณะ - - แต่งต้ังคณะกรรมการภายใน เป็นคณะกรรมการโรงเรียน

สรุปการสนทนาก

ประเดน็ คาถาม ตาบลมะเกลือเกา่ ตาบลโนนสาราญ เทศบาลตาบลตา

อาเภอสงู เนิน อาเภอเมอื งชยั ภมู ิ อาเภอละหานทร

จังหวัดนครราชสีมา จังหวดั ชัยภมู ิ จังหวัดบุรีรมั ย

ผู้สูงอายุ เป็นคณะกรรมการ ที่ปรึกษา และนักเรียนโรงเรียน กรรมการภายในโร

โรงเรยี น ผู้สูงอายุ เป็นคณะกรรมการ ผู้สูงอายุ กาหนดหล

- อ บ ต . ม ะ เ ก ลื อ เ ก่ า โรงเรียน ไ ด้ แ ก่ ห ลั ก สู ต ร เ ก

ร่วมกับคณะกรรมการโรงเรียน - คณะกรรมการภายใน สุขภาพ การส่งเสริม

ผู้สูงอายุกาหนดและพัฒนา โร งเรี ย นผู้ สู งอา ยุ ร่วม กัน นนั ทนาการ ฯ

หลักสูตร ได้แก่ วิชาเกี่ยวกับ กาหนดหลักสูตร โดยเน้น - จบหลักสูตรมีกา

ศาสนา สุขภาพ นันทนาการ วิชาการให้ครอบคลุมทั้งด้าน ใบประกาศนียบัตร โด

และการสง่ เสรมิ อาชพี วิชา กา ร ด้ า นจิ ต ใ จ ด้ า น เทศบาลตาบลตาจง

- จบหลักสูตรมีการมอบ สุขภาพ ด้านส่งเสริมอาชีพ

ใบประกาศนียบัตร โดยเลขา- และนนั ทนาการ (ทศั นศกึ ษา)

ธกิ าร สปสช. - จบหลักสูตรมีการมอบ

ใบประกาศนียบัตร

2. หน่วยงาน/ผทู้ ี่ - คณะกรรมการภายใน - คณะกรรมการภายใน - คณะกรรมการ
เข้ามามีส่วน โ ร ง เ รี ย น ผู้ สู ง อ า ยุ โรงเรียนผู้สูงอายุ ประกอบด้วย โรงเรียนผู้สูงอายุ ประก
เกย่ี วข้องใน ประกอบด้วย ผู้แทน สธ. ผู้แทน เจ้ าหน้ าท่ี อ บ ต . ก า นั น / เจ้ าหน้ าท่ี อบต. ก
โรงเรยี น ก ษ . ก ศ น . ผู้ อ า น ว ย ก า ร ผู้ใหญ่บ้าน รพ.สต. เจ้าอาวาส ผู้ใหญ่บ้าน รพ.สต. ผู้อา
โรงเรียน ประธานชมรมผู้สูงอายุ วัด ตารวจ กศน. เกษตรตาบล โรงเรียน เจ้าอาวาสว
ผู้นาชมุ ชน ผู้แทนแต่ละหมู่บ้าน พมจ. และบริษัท CP เป็น พมจ. เป็นคณะกรร
และ ศพอส. คณะกรรมการท่ีปรึกษา และ ปรึกษา และนักเรียนโ
นกั เรียนโรงเรียนผู้สูงอายุ เป็น ผู้สูงอายุ เป็นคณะกร
- CG (Care Giver) : ลง


Click to View FlipBook Version