36
1.1 ผูส้ ูงอายุวยั ต้น (60-69 ปี) คือกลมุ่ ทมี่ ักเห็นกนั ทว่ั ไปสามารถไปไหนมาไหนไดจ้ านวนไม่น้อย
ยังทางานได้และทางานอยู่ มีกิจกรรมทางสังคมช่วยเหลือตัวเองได้ในกิจกรรมพื้นฐานประจาวันและไม่ต้องการ
ความช่วยเหลอื ในการดูแล
1.2 ผู้สงู อายุวัยกลาง (70-79 ปี) คือกลุ่มที่มักเร่ิมมีปัญหาสุขภาพ เริ่มออกจากบ้านไม่ค่อยได้
จานวนไม่น้อยมีโรคประจาตัวแต่ยังคงช่วยเหลือตัวเองได้ในบางระดับมีภาวะพ่ึงพิงบ้างต้องการความช่วยเหลือ
ในการทากิจกรรมพืน้ ฐานประจาวันบางอยา่ ง
1.3 ผสู้ งู อายวุ ัยปลาย (80ปีขึ้นไป) คือกลุ่มท่ีมักมีปัญหาสุขภาพรุนแรง ออกไปไหนไม่ได้อยู่
แต่ในบ้าน นอนติดเตียงช่วยเหลือตัวเองในการทากิจกรรมพ้ืนฐานประจาวันไม่ได้ เป็นกลุ่มที่มีพ่ึงพิง
ต้องการการดแู ลอย่างใกลช้ ิดเปน็ พิเศษ
หลักการ คอื ทาอย่างไรให้ผู้สูงอายุวัยต้นมีภาวะสุขภาพที่ดี ไม่ต้องพ่ึงพิงคนอื่นของวัยนี้ให้
นานท่ีสุดเท่าท่ีจะทาได้ แม้ว่าวัยจะเลยไปเป็นวัยกลางหรือปลายแล้วก็ตาม สาหรับผู้สูงอายุวัยกลางเร่ิมมี
ปัญหาสุขภาพพยายามพ้ืนฟใู ห้กลับมาวยั ตน้ ให้มากท่ีสุด หากฟ้ืนไม่ได้อย่างน้อยให้รักษาภาวะนั้นให้ทรงตัว
นานทีส่ ดุ เทา่ ทีจ่ ะทาไดไ้ มใ่ ห้ตกไปมีอาการวัยปลาย และสว่ นผสู้ ูงอายวุ ยั ปลายเน้นการดูแลให้มีคุณภาพชีวิต
ที่ดีท่ีสุดพยายามฟื้นฟูให้เขาสามารถช่วยเหลือตัวเองได้ให้มากที่สุด ที่สาคัญ สุขภาพจะมาพร้อมจิตใจ
พออายุเยอะขึน้ โดยธรรมชาติจะมีภาวะเหงาว้าเหว่ต้องการมีส่วนร่วมทางสังคมมีกิจกรรมทางสังคม ฉะน้ัน
การส่งเสรมิ สุขภาพกายตอ้ งให้ความสาคญั ดา้ นสุขภาพใจไปพร้อมกันด้วยโดยในบรรดาผ้สู ูงวัยท้ัง 3 กลุ่มน้ัน
กลุ่มพ่งึ พิงคอื ความเร่งด่วนที่สุดท่จี ะต้องไดร้ ับการดูแล และต้องเปน็ การดแู ลระยะยาวซง่ึ ต่อเน่ืองจากกลมุ่ อนื่ ด้วย
2) มิติการสรา้ งงาน อาชพี และรายได้แก่ผู้สูงวัย คือ มิติทางเศรษฐกิจและสังคม การมีชีวิตอยู่
ต้องใช้เงินระดับหน่ึง โดยเฉพาะชีวิตท่ีมีคุณภาพผู้สูงอายุก็เช่นกันสังคมไทยวางผู้สูงอายุไว้ในตาแหน่ง
“คนไม่ทางานแล้ว”ขณะที่ต้องมีค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพด้านต่างๆ อายุยืนมากขึ้นการออมก็มีไม่มาก
ทีเ่ พยี งพอโดยรวมไม่มหี ลักประกันดา้ นการเงนิ ชดั เจน
หลักการ คือ ให้ผู้สูงอายุกลุ่มที่ยังทางานได้ มีงานทาตามศักยภาพด้านต่างๆ ของเขา โดยดู
เรอ่ื งข้อจากดั ทางกายภาพประกอบดว้ ย สง่ เสรมิ สนับสนุนให้ช่องทางการมีงานมีอาชีพและรายได้ ส่วนกลุ่ม
ที่ไม่สามารถทางานได้ควรได้รับสวัสดิการจากรัฐและชุมชนที่เหมาะสมกับการมีคุณภาพชีวิตขึ้นพ้ืนฐาน
เป็นอย่างน้อยและปูองกันการเพ่ิมของปัญหาน้ีในอนาคตด้วยการสร้างระบบการออมตั้งแต่วัยก่อนสูงอายุ
เพอ่ื เมื่อถึงวัยสูงอายุจะไดม้ หี ลักประกนั ด้านการเงินท่เี พยี งพอกับการมคี ุณภาพชีวิตท่ีดี
3) มิติการปรับสภาพแวดล้อมให้เป็นมิตรกับผู้สูงวัย คือ มิติท่ีอยู่อาศัยและสิ่งแวดล้อม
ท่เี หมาะสมกับขอ้ จากัดด้านกายภาพและจิตใจตามวัย เป็นเร่ืองยังไม่ค่อยได้รับการใส่ใจและให้ความสาคัญ
อยา่ งจรงิ จงั โดยในสังคมไทยท่ีผ่านมาการมีสภาพแวดล้อมไม่เหมาะสมกับการใช้ชีวิตยังมีผลทาให้ผู้สูงอายุ
จานวนมากเลือกที่จะอยู่แต่ในบ้านด้วยเกรงใจไม่อยากเป็นภาระลูกหลานทาให้ขาดปฏิสัมพันธ์กับสังคม
นานวนั เข้ากส็ ง่ ผลดา้ นจติ ใจ พลอยทาให้เห่ียวเฉาฉุนเฉียวง่าย สมองไม่ค่อยได้ใช้งานเกิดอาการสมองเสื่อมง่าย
ส่งผลต่อสุขภาพกายตามมาอีกมิตินี้สัมพันธ์ใกล้ชิดกับมิติสุขภาพและเศรษฐกิจการเงินของผู้สูงอายุและ
ครอบครัวเพราะการอาศัยอยู่ในบ้านหรือสภาพแวดล้อมท่ีไม่เหมาะสมจะทาให้เกิดความเส่ียงต่อการเกิด
อุบัติเหตุหกล้มจนบาดเจ็บรุนแรงกระท่ังเสียชีวิตแก่ผู้สูงวัยได้มากกว่าคนวัยอ่ืนด้วยเหตุผลข้อ จากัด
ทางกายภาพตามวยั
หลักการ คือ ทาให้คนเข้าใจและตระหนักว่าเร่ืองน้ีสาคัญและจาเป็น ท่ีสามารถทาได้จริงใน
ราคาที่ไม่จาเป็นต้องสูงเสมอไปอย่างที่คนมักเข้าใจผิดด้านกฎหมายต้องมีการกาหนดให้อาคารสถานท่ี
สาธารณะที่จะสร้างข้ึนใหม่ต้องมีการออกแบบให้เป็นมิตรกับผู้สูงวัยชัดเจนพร้อมกับมีมาตรการจูงใจให้
อาคารเกา่ ก่อนหน้าการบงั คับใชก้ ฎหมายดาเนนิ การการปรบั ปรุงให้มากทสี่ ดุ
37
4) มติ ิการเตรียมความพร้อมสู่วัยสูงอายุ คือ มิติการสร้างหลักประกันว่าจะมีสุขภาพ การเงิน
การงาน และทอ่ี ยอู่ าศัยสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับวัยเม่ือก้าวเข้าสู่วัยสูงอายุ ด้วยการ “คิดวางแผนและ
เตรียมความพร้อม” เรม่ิ ต้น “ออม” ทง้ั สามดา้ นตงั้ แต่วยั กอ่ นสงู อายปุ ระกอบด้วย
4.1 การออมด้านสุขภาพ คือ การดูแลสุขภาพให้ดีอย่างสม่าเสมอ มีการออกกาลังกาย
บริโภคอาหารท่ีเหมาะสมครบถ้วนเพียงพอกับความต้องการของร่างกายลดพฤติกรรมเส่ียงต่อสุขภาพควร
เริม่ อยา่ งตอ่ เนือ่ งต้งั แตว่ ยั เดก็
4.2 การออมด้านสุขภาพยังรวมถึงการออมด้านสุขภาพใจและสังคมหมายถึงการสั่งสมเครือข่าย
ทางสังคมที่จะช่วยดูแลในวัยสูงอายุด้วย เป็นการ สั่งสมความสัมพันธ์ท่ีดีกับสมาชิกในครอบครัวหมู่ญาติมิตร
และผู้ร่วมงานตลอดจนสมาชิกในชุมชน อันเป็นการส่ังสมที่ไม่มีรูปแบบชัดเจนใช้เวลาแตกต่างกันไปตามบริบท
พ้ืนท่ีและต้องทาอย่างต่อเนอื่ ง
4.3 การออมเงิน คือ การสร้างหลักประกนั ทางการเงินให้เพยี งพอกับการมีคุณภาพชวี ติ ท่ดี ี
ในวยั สงู อายุควรเรม่ิ อยา่ งต่อเนอ่ื งต้งั แต่วันเรมิ่ มรี ายได้
4.4 การออมด้านที่อยู่อาศัยและสภาพแวดล้อม คือ การเตรียมความพร้อมเรื่องบ้านและ
ชุมชนที่จะอาศัยอยใู่ นอนาคต ซง่ึ ควรเริ่มตงั้ แตว่ ันท่ีคิดจะมีบ้านจะเลอื กบ้านแบบไหนในชุมชนแบบไหนควร
นาเรื่องความเหมาะสมกับวยั สงู อายมุ าประกอบการคิดและตัดสนิ ใจดว้ ย ซ่ึงมิตินเี้ ปน็ มิติเชิงรุกต้ังบนแนวคิด
“ป้องกันดีกวา่ แกไ้ ข” ส่งผลให้มปี ระสิทธิผลมากทีส่ ุดดว้ ยต้นทุนทตี่ ่าท่ีสดุ หลักการ คอื ส่งเสริมสนับสนุนให้
มกี ารเตรียมความพร้อมท้งั สามด้านกับคนทกุ กลมุ่ ทมี่ อี ายุกอ่ นวัยสงู อายุทั้งกลุ่มเด็กวัยรุ่นวัยแรงงานจนก่อน
อายุ 60 ปีแต่ด้วยเน้ือหาที่กว้างมีรายละเอียดมากและซับซ้อนพอสมควรมีตัวช่วยท่ีจะทาให้กลุ่มเปูาหมาย
เข้าใจ เห็นภาพ และนาไปปฏิบัติได้ง่าย ซ่ึงคือการทาหลักสูตรเตรียมความพร้อมสู่วัยสูงอายุท่ีเหมาะสมมี
สัดส่วนของหลักวิชาการ และภูมิปัญญาท้องถ่ิน บริบทพ้ืนที่สามารถนาไปทาได้จริง และอาจจาเป็นต้องมี
วิทยากรในการช่วยอธิบาย แนะนาการใช้หลักสูตรน้ันให้มีความเข้าใจตรงกัน เพื่อให้เกิดการนาไปใช้จริง
อย่างมีประสิทธิผลในแต่ละพ้ืนท่ี (สานกั งานสง่ เสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 5, 2555)
7. การพัฒนาคุณภาพชีวติ ผสู้ งู อายุโดยครอบครวั และชุมชนเป็นฐาน
7.1 แนวคดิ ครอบครวั และชุมชนเปน็ ฐาน (Family and Community-based)
ความเช่ือของแนวคิดน้ีคือครอบครัวมีศักยภาพท่ีสามารถดูแลสมาชิกในครอบครัวได้ กระบวนการ
ทางานของนักสังคมสงเคราะห์ คือ กระตุ้นให้ครอบครัวได้ตระหนักในบทบาทหน้าที่ของครอบครัวที่มีต่อ
สมาชิก โดยใช้บริการหรือกิจกรรมทางเลือกทั้งในบ้านและนอกบ้านท่ีเหมาะสมกับเด็กและเยาวชนกระทา
ความผิด นอกจากน้ีจะต้องนาแนวคิดเรื่องการใช้ชุมชนเป็นฐาน (Community – based) เข้ามาร่วมด้วย
เพราะในกรณีท่ีครอบครัวไม่พร้อมก็อาจพิจารณาจากองค์กรชุมชนหรือกลุ่มต่างๆ มาทาหน้าท่ีสนับสนุน
บรกิ ารใหก้ ับเดก็ และ เยาวชน แบบแผนการใชค้ รอบครัวเปน็ ฐาน มีดงั นี้
1) นักสังคมสงเคราะห์ควรให้ครอบครัวได้ตระหนักในคุณค่าและศักยภาพของสมาชิกในครอบครัว
และส่ิงแวดล้อมของครอบครัว ไดแ้ ก่ เพ่อื นบา้ น ชุมชน องคก์ รตา่ ง ๆ ซง่ึ สมาชกิ ของครอบครัวคนใดคนหนึ่ง
อาจเป็นผู้มีประสบการณ์ที่จะสามารถจัดการกับปัญหาที่เกิดข้ึนในครอบครัวได้ ซ่ึงจะช่วยให้การแก้ไข
ปัญหาของเด็กและเยาวชนกระทาผิดได้อยา่ งตรงจดุ และนาไปสู่การปรับเปลย่ี นพฤตกิ รรมทเ่ี หมาะสมได้
2) การเน้นให้สมาชิกในครอบครัวมีส่วนในการรับรู้ ทาความเข้าใจกับปัญหา กิจกรรมและบริการต่างๆ
ที่จะจัดให้สมาชิกในครอบครัว ซึ่งจะเป็นการช่วยให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกันและคิดร่วมกันอันจะนาไปสู่
ทางออกของปัญหาได้
38
3) การปรับบทบาทหน้าที่ของนักสังคมสงเคราะห์จากผู้จัดการ ผู้ให้บริการมาเป็นผู้กระตุ้น ผู้ให้
การศกึ ษา ผู้อานวยความสะดวก การจัดบริการเชิงปูองกัน และพัฒนาศักยภาพของสมาชิกในครอบครัวให้
ทาหนา้ ทดี่ แู ลเดก็ และเยาวชนได้มากข้นึ แทนการปล่อยและละเลยเด็กและเยาวชน
ส่วนหน่ึงของสาระสาคัญได้กล่าวถึง ความสัมพันธ์ของสมาชิกในครอบครัวมีส่วนสาคัญต่อการดูแล
ผู้สูงอายุในครอบครัวให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี โดยเฉพาะผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขอนามัย และการสนับสนุนทาง
สังคมของครอบครัว และเครือญาติถือเป็นการช่วยเหลือให้ผู้สูงอายุได้ใช้ชีวิตอยู่ในครอบครัวและชุมชน
อยา่ งมคี วามสุข โดยเฉพาะการสนับสนนุ ดา้ นอารมณแ์ ละจติ ใจ (นริ นาม)
7.2 รูปแบบการพฒั นาคณุ ภาพชีวิตผสู้ งู อายุ
ครอบครวั และชุมชนต่างก็เป็นส่วนประกอบซึ่งกันและอย่างมิอาจแยกออกจากกันได้ ส่วนประกอบ
ทั้ง 2 น้ี ล้วนมีหน้าที่เอ้ือประโยชน์เก้ือกูลต่อกันในการพัฒนาให้ชุมชนเจริญก้าวหน้า การพัฒนาคุณภาพ
ชีวติ ผู้สูงอายุ จงึ ควรครอบคลุมทง้ั 2 สว่ น (อภนิ ันท์ สนน้อย, ปยิ าภรณ์ ศริ ิภานมุ าศ, สรุ ชยั ปยิ านกุ ลู , 2559
: ออนไลน์) ไดแ้ ก่
1) การจัดต้ังองค์กรชุมชน : กลุ่มคนในชุมชนที่มีระบบการบริหารจัดการ โดยมีสมาชิกของชุมชน
จัดต้ังข้ึนเพื่อดาเนินการร่วมกัน พัฒนาให้เกิดประโยชน์ในการประกอบอาชีพ พัฒนาอาชีพเพิ่มรายได้พัฒนา
ทอ่ี ยู่ อาศยั และส่งิ แวดล้อม หรือพัฒนาคุณภาพชีวติ ความเปน็ อยู่ของสมาชิกในกล่มุ ทุกชว่ งวยั ได้อยา่ งครอบคลุม
2) หน่วยงานภาครัฐควรเป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลักในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ :
จัดสวัสดิการ กิจกรรมเพ่ือสุขภาพ ดูแลความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน จัดสภาพแวดล้อมให้
เหมาะสมส่งเสริมศักยภาพผู้สูงอายุ อบรมให้ความรู้ จัดส่ิงอานวยความสะดวก จัดบริการสาธารณะ
สง่ เสริมการมสี ว่ นรว่ มในชมุ ชน
7.3 ปัญหาอปุ สรรคและแนวทางแก้ไข
ปญั หาอปุ สรรค
ปัจจัยท่สี ่งผลใหเ้ กิดปญั หาอุปสรรคในการพัฒนาคุณภาพชวี ติ ผู้สงู อายุ คอื การเปลี่ยนแปลงของโลก
ต่อผู้สูงอายุนั้นเกิดข้ึนจากการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของสังคมในปัจจุบันท่ีมีการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยี
สารสนเทศอย่างรวดเร็วส่งผลให้เทคโนโลยี สารสนเทศน้ันส่งผลกระทบอย่างมากต่อการใช้ชีวิตกับสังคม
โลกที่กาลังก้าวสูก่ ารเป็นสังคมผูส้ งู อายุ ส่งผลให้เกดิ ผลกระทบต่อผู้สูงอายใุ นการดารงชีวติ ในปัจจบุ ัน
แนวทางแก้ไข
การให้ครอบครัว ชุมชน หรือหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องให้ความรู้ ความเข้าใจและประโยชน์ท่ีถูกต้องใน
การใช้เทคโนโลยีต่างๆ ให้กับผสู้ ูงอายุ เพอื่ ใหเ้ กดิ จดุ เร่ิมต้นในการเรียนรู้ที่ดีให้กับผู้สูงอายุ โดยให้ผู้สูงอายุมี
ทักษะและความสามารถ ในการนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้เสริมสร้างสุขภาพให้แข็งแรง มีความ
กระฉับกระเฉงในการดาเนินชีวิตประจาวัน มีความสัมพันธ์ที่ดีและมีส่วนร่วมทากิจกรรมกับคนใน
ครอบครัว ชุมชน ซ่งึ จะทาให้ผู้สูงอายุเกิดการยอมรับสงิ่ ใหม่ๆ ทีจ่ ะมีการผลติ /พฒั นาในอนาคตต่อไป
7.4 แนวโนม้ และทศิ ทางการพฒั นาคุณภาพชวี ติ ผู้สงู อายุโดยครอบครวั และชุมชน
การรับมือกับสังคมสูงวัยอย่างเต็มรูปแบบของประเทศไทยในอนาคตอันใกล้น้ี (Complete Aged
Society) เป็นประเด็นท้าทายที่ทุกภาคส่วนของสังคมจะต้องให้ความสาคัญและร่วมมือกันขับเคล่ือน
ไปพร้อมๆ กัน รวมไปจนถึงการเตรียมความพร้อมในระดับบุคคล และการเตรียมความพร้อมเชิงระบบ
เพ่ือรองรับสังคมสงู วัย (เอสซจี ี, ม.ป.ป. : ออนไลน์) โดยมปี ระเด็นท่ีควรพิจารณาดังน้ี
1) พัฒนาระบบดูแลผสู้ ูงอายรุ ะยะยาว
โดยจัดบริการที่ครอบคลุมบริการด้านการดูแลระยะกลาง ระยะยาว และระยะสุดท้ายภายใต้
ระบบบรกิ ารสุขภาพสาหรับผู้สูงอายุ ท่ีเป็นบริการท้ังในสถานพยาบาล เชื่อมต่อถึงการให้บริการที่บ้านของ
39
ผู้สูงอายุและการให้บริการในชุมชน โดยให้ความสาคัญกับการส่งเสริมให้ชุมชนท้องถ่ินเป็นฐานในการดูแล
สนับสนุนให้มีการเพิ่มขีดความสามารถในการดูแลโดยครอบครัว (Home Health Care) ทั้งในภาวะ
ปกติและภาวะฉุกเฉิน โดยให้ความสาคัญการพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวท้ังในเขตเมือง และ
ชนบท
2) การพฒั นาบคุ ลากรดา้ นผูส้ ูงอายุ เพ่อื รองรบั การดูแลผู้สงู อายุระยะยาว
การเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วของจานวนผู้สูงอายุ และการเปลี่ยนผ่านสู่สังคมสูงวัยอย่างเต็มรูปแบบ
จึงเป็นความจาเป็นที่จะต้องมีการพัฒนาบุคลากรเพื่อทาหน้าท่ีให้การดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ทั้งบุคลากร
สายอาชีพ ก่ึงอาชีพและอาสาสมัคร โดยกาหนดให้มีหลักสูตรมาตรฐานในการฝึกอบรม ทั้งหลักสูตรระยะส้ัน
ที่เป็นการให้ความรู้และทักษะพ้ืนฐาน และหลักสูตรระยะยาวท่ีเน้นความเป็นมืออาชีพในการทาหน้าท่ี
ใหก้ ารดูแล ขณะเดียวกันควรมีการจัดอบรมให้ความรู้แก่สมาชิกครอบครัวของผู้สูงอายุด้วย เพื่อให้สมาชิก
ในครอบครัวผู้สูงอายุมีความรู้และทักษะในการร่วมทาหน้าที่ให้การดูแลผู้สูงอายุอย่างถูกต้องเหมาะสม
นอกจากน้ีควรมีการส่งเสริมภาพลักษณ์และสร้างแรงจูงใจในการจ้างงานและประกอบอาชีพด้านผู้ดูแล
รวมไปถึงการให้ทุนการศกึ ษาแกค่ นในพื้นทเี่ พ่ือใหก้ ลับมาทางานในชุมชนของตนเองในอนาคต
3) การเพ่ิมขีดความสามารถและบทบาทขององค์กรบริหารท้องถิ่นในการดูแลคุณภาพชีวิต
ผ้สู งู อายุ
โดยส่งเสริมความรู้ ทักษะในการดาเนินงานด้านผู้สูงอายุบนแนวคิด “ร่วมคิด ร่วมทา” มีการ
แลกเปล่ียนเรียนรู้ ในการกาหนดนโยบาย และแนวทางในการดาเนินงานเพื่อรองรับสังคมสูงวัย ระหว่าง
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น โดยการเชื่อมโยงจตุพลัง “ท้องถ่ิน ท้องที่ องค์กรชุมชน และ
หน่วยงานของรัฐในชุมชน” ให้ร่วมกันขับเคล่ือนงานเพื่อดูแลคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ โดยสนับสนุนให้มี
ระเบียบปฏิบัติทเ่ี ออ้ื ต่อการดาเนนิ งานขององค์กรท้องถน่ิ ในการจัดสวัสดิการและดูแลคณุ ภาพชวี ิตผ้สู ูงอายุ
8. การพัฒนาคุณภาพชวี ิตผูส้ ูงอายุโดยภาคเอกชน
8.1 แนวคดิ การพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตผู้สูงอายุ
การพัฒนาอยา่ งยงั่ ยนื 2562 : ประเดน็ ความยั่งยืนด้านเศรษฐกิจ ภายใต้ การพัฒนาผลิตภัณฑ์
ด้วยนวตั กรรมและเทคโนโลยดี จิ ทิ ัล
บรษิ ัท ปนู ซเี มนตไ์ ทย จากัด (มหาชน) เกี่ยวขอ้ งกับการผลติ สนิ ค้า บริการ และโซลูชัน เพื่อส่งมอบ
คุณภาพชีวิตท่ีดีให้แก่สังคม ครอบคลุมกว้างขวาง ต้ังแต่กิจกรรม เกี่ยวกับสิ่งปลูกสร้างอาคาร ท่ีพักอาศัย
วสั ดุก่อสร้าง และอุปกรณ์ต่างๆ รวมถึงวัสดุทางพอลิเมอร์ พลาสติก กระดาษ บรรจุภัณฑ์ ตลอดจน บรรจุภัณฑ์
ที่ใช้กับภาคอุตสาหกรรม ภาคธุรกิจ ภาคครัวเรือน และชีวิตประจาวันของผู้คน การดาเนินงานจึงสัมพันธ์
กับผู้คนหลากหลาย และการใช้ทรัพยากรธรรมชาติตลอดห่วงโซ่คุณค่า ตั้งแต่ต้นน้าถึงปลายน้า เอสซีจี
จึงมุ่งมั่นดาเนินงานด้วยความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม พร้อมสร้างนวัตกรรมและความร่วมมือ
กับผู้มีส่วนได้เสีย ทุกกลุ่มและทุกภาคส่วนของสังคม และนามาตรฐานที่เป็นสากลมาประยุกต์ใช้ เพื่อสร้าง
คณุ ค่าท่ยี ง่ั ยนื แกส่ ังคมไทยและภมู ภิ าค
เอสซีจีมุ่งมั่นสู่การเป็นผู้นาด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีพร้อมมอบคุณค่าแก่สังคมผ่านสินค้า
บริการ และโซลูชั่นใหม่ๆ เช่น DoCare Protect ระบบบ้านอัจฉริยะที่ช่วยดูแลความปลอดภัยและสุขภาพ
ของผ้สู งู อายุ ANGEL โซลชู ่ันเพมิ่ ประสิทธิภาพการจัดการคลังสนิ คา้ Fortina เทคโนโลยีนาโนเซลลูโลสเพ่ือ
พฒั นาบรรจุภัณฑ์กระดาษประสทิ ธภิ าพสูง
40
8.2 รูปแบบการพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ผ้สู ูงอายุ
การเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยดี ิจทิ ัลเข้ามามีบทบาทอย่างมากในการดาเนินชีวิตประจาวันและการ
ทาธุรกิจ จึงเป็นโอกาสในการสร้างสินค้า บริการ และโซลูชั่นใหม่ๆ ท่ีสร้างมูลค่าเพ่ิมให้กับเอสซีจี เพื่อ
ตอบสนองตอ่ ความเปลยี่ นแปลงดังกล่าว โดยใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลเป็นตัวขับเคลื่อนสาคัญ ปี 2562
เอสซจี ีพฒั นาผลิตภัณฑ์ที่นา่ สนใจ โดยมีผลติ ภัณฑ์ท่เี ก่ยี วกบั การพฒั นาคุณภาพชีวิตผูส้ ูงอายุ คอื
DoCare Protect ระบบบ้านอจั ฉริยะดแู ลความปลอดภัยและสขุ ภาพ ดว้ ยความมุ่งม่ันท่ีจะพัฒนา
คุณภาพชีวิต รวมทั้งสุขภาพและความปลอดภัยของผู้สูงอายุและผู้ท่ีต้องได้รับการดูแลพิเศษ เอสซีจีจึง
พัฒนานวัตกรรมระบบ DoCareProtect ท่ีช่วยดูแลตลอด 24 ช่ัวโมง ด้วยอุปกรณ์ IoT เซ็นเซอร์ไร้สาย
ตรวจจับความเคล่ือนไหวและความผิดปกติ เช่น การหกล้มในห้องน้าห้องนอน มีปุมกดขอความช่วยเหลือ
ทัง้ แบบติดต้งั ตามจุดและแบบพกพา ระบบบันทึกข้อมูลสขุ ภาพ เช่น ระดับน้าตาล ความดันโลหิต อุณหภูมิ
ระบบวิเคราะห์คณุ ภาพการนอนbและกิจกรรมการใช้ชีวิตประจาวัน สามารถส่งข้อมูลผ่านระบบออนไลน์สู่
ศูนย์การแพทย์ท่ีดูแล ขอคาปรึกษาจากแพทย์ เพื่อการช่วยเหลือเบ้ืองต้น หรือขอความช่วยเหลือในกรณี
ฉุกเฉิน ระบบ DoCare Protect จึงช่วยให้ลูกหลานสามารถติดตามความปลอดภัยของผู้สูงอายุท่ีอาจต้อง
อยู่บ้านตามลาพัง ซึ่งมีแนวโน้มจะสูงข้ึนตามความเปล่ียนแปลงของโครงสร้างประชากรท่ีกาลังเข้าสู่สังคม
ผู้สูงวัย (Aging Society) ปี 2562 เร่ิมให้บริการแก่บุคคลท่ัวไปโครงการอสังหาริมทรัพย์ โรงพยาบาลใน
พนื้ ที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล เช่น โรงพยาบาลสมิติเวชได้ใช้ระบบ DoCare Protect สาหรับลูกค้า
กลุ่ม Post-Stroke หลังออกจากโรงพยาบาลกลับบ้าน ในอนาคตเอสซีจีมีแผนขยายพ้ืนท่ีให้บริการสู่
ต่างจังหวัด และเพ่ิมเติมรูปแบบการบริการอื่นๆ เช่น การติดตามดูแลโดยพยาบาลวิชาชีพ หรือคนใน
ครอบครวั
8.3 ปญั หาอุปสรรคและแนวทางแกไ้ ข
ปัญหาอุปสรรค
สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) ท่ีระบุว่า คนไทยมีอายุขัยคาดการณ์ตามช่วงเวลา
เพิ่มขน้ึ 4.4 เดอื นต่อปี และดว้ ยการพฒั นาทางเทคโนโลยี ทาใหม้ ีความเป็นไปไดว้ า่ คนไทยท่ีเกิดใน ปี 2559
เป็นต้นไป จะมีอายุยืนเฉล่ียถึง 80 - 98 ปี หรือเกือบ 100 ปี ด้วยจานวนผู้สูงอายุที่เพ่ิมข้ึน อีกท้ังยังมีอายุยืน
ข้ึน แต่อัตราการเกิดลดลงนี้ ส่งผลให้ประชากรวัยทางานลดลง ผลิตภาพแรงงานต่าลง อีกท้ังยังทาให้
พฤตกิ รรมผู้บริโภคเปล่ียนแปลงไปตามโครงสร้างประชากรอกี ด้วย
แนวทางแกไ้ ข
บริษัท ปูนซีเมนต์ไทย จากัด (มหาชน) ได้นาเทคโนโลยี หุ่นยนต์ หรือออโตเมช่ัน (Automation)
เข้ามาทดแทนแรงงานทีห่ ายไป ซ่ึงถ้าสามารถปรับตัวได้เร็วจะย่ิงดี เน่ืองจากเทคโนโลยี หุ่นยนต์ หรือออโตเมชั่น
มีประโยชนอ์ ยา่ งมาก ทัง้ ช่วยใหก้ ารทางานง่ายขนึ้ เร็วข้ึน ปลอดภัยขึ้น ท่ีสาคัญคือ ช่วยปรับแต่งสินค้าและ
บริการได้ตามความต้องการของลูกค้า เช่น การใช้ “หุ่นยนต์ไซบอท (CiBot)” ของธุรกิจเคมิคอลส์ ที่นอกจาก
จะช่วยให้กระบวนการวางแผนซ่อมบารุงในโรงงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น ได้ข้อมูลท่ีละเอียดแม่นยา และ
รวดเรว็ กว่าเดิมถึง 7 เท่า ยังสามารถทางานได้ 24 ช่วั โมง และทาให้มีความปลอดภยั เพิ่มขึ้นร้อยละ 4 - 5 ต่อปี
8.4 แนวโนม้ และทิศทางการพฒั นาคุณภาพชีวติ ผสู้ ูงอายุ
บริษัท ปูนซีเมนต์ไทย จากัด (มหาชน) เป็นหน่ึงองค์กรท่ีเล็งเห็นถึงทิศทางท่ีจะเกิดข้ึนในอนาคตน้ี
จึงได้เตรียมพร้อม เพ่ือตอบรับเทรนด์โลกท่ีคานึงถึงความต้องการของลูกค้าสูงอายุ (Global Ageless Society)
คือ โซลูช่ันจากเอสซีจี สาหรับผู้สูงอายุ บริษัทฯ คิดค้นนวัตกรรมท่ีช่วยดูแลผู้สูงอายุแบบท่ีเขาสามารถ
ดูแลตัวเองได้ โดยคานึงถึงพฤติกรรมและความต้องการที่ หลากหลาย ตลอดจนความสามารถในการจ่าย
เชน่ “SCG Eldercare Solution” ที่มีสนิ ค้าและบริการครบวงจรสาหรับห้องนอนหรือห้องน้าของผู้สูงอายุ
41
เช่น สุขภัณฑ์ท่ีใช้งานง่าย พื้นลดแรงกระแทก ราวจับทางเดิน หรือไฟอัตโนมัติที่ขอบเตียง ท่ีช่วยปูองกัน
อุบัติเหตุการล่ืนล้มได้อีกด้วย รวมถึง “DoCare Protect” ซึ่งเป็นโซลูช่ันที่ช่วยดูแลความปลอดภัยของ
ผู้สูงอายุด้วยการเตือนเม่ือเกิดความผิดปกติในห้องน้าหรือการกดปุมขอความช่วยเหลือ อีกทั้งยังช่วยเก็บ
ข้อมูลสุขภาพ ทาให้ผู้สูงอายุดูแลตัวเองในเชิงปูองกัน ทั้งยังปรึกษากับแพทย์จากท่ีบ้านในเบ้ืองต้น ทาให้
ลดตน้ ทนุ การเดนิ ทางไปโรงพยาบาลได้ (บริษัท ปนู ซเี มนต์ไทย จากัด (มหาชน), 2562 : ออนไลน์)
9. การพัฒนาคุณภาพชวี ิตผ้สู ูงอายโุ ดยใชโ้ รงเรียนเปน็ ฐาน
9.1 แนวคิดเกี่ยวกับโรงเรียนผสู้ ูงอายุ
1) ท่ีมา
โรงเรียนผู้สูงอายุเป็นการจัดการศึกษาอีกรูปแบบหนึ่งที่ต้องการให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจ
ในเรื่องที่มีความสาคัญต่อการดาเนินชีวิต เกิดจากแนวคิดท่ีตระหนักถึงคุณค่า ความสาคัญและพลังของ
ผู้สูงอายุ โดยการสร้างพื้นที่ส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ บนพ้ืนฐานการมีส่วนร่วมของ
ชุมชนท้องถน่ิ และภาคีเครอื ขา่ ย การเกิดขน้ึ ของโรงเรียนผู้สูงอายุยังสอดคล้องกับแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับท่ี
2 (พ.ศ. 2545 - 2564) ฉบับปรับปรุง คร้ังที่ 1 (พ.ศ. 2552) และพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546
ข้อเสนอเชิงนโยบายในเวทีการประชุมสมัชชาผู้สูงอายุระดับชาติ ปี 2553 และ 2556 และแผนระดับชาติ
หลายฉบบั ทใ่ี หค้ วามสาคัญกบั การศกึ ษาเรียนรู้ตลอดชวี ิต การพัฒนาศักยภาพของบุคคลอย่างต่อเนื่อง การ
มสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรมทางสังคม และการเขา้ ถงึ ข้อมลู ข่าวสารท่เี ป็นประโยชน์
กรมกิจการผู้สูงอายุ ได้จัดทาคู่มือการดาเนินงานโรงเรียนผู้สูงอายุ โดยสังเคราะห์รูปแบบการ
ดาเนินงานของโรงเรียนผู้สูงอายุ เพ่ือเป็นแนวทางสาหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรผู้สูงอายุ
ตลอดจนหน่วยงานที่สนใจจัดต้ังโรงเรียนผู้สูงอายุ ได้ศึกษาและนาไปปรับให้เหมาะสมกับบริบทของพ้ืนที่
โดยหวังเป็นอย่างย่ิงว่าจะมีการขยายผลในการจัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุในพ้ืนที่อ่ืนๆ ทั่วประเทศ ซึ่งจะ
ก่อใหเ้ กิดประโยชน์สงู สุดต่อผสู้ ูงอายุไทย (กรมกิจการผ้สู งู อาย,ุ 2560)
2) โรงเรียนผู้สูงอายุคอื อะไร
โรงเรียนผู้สูงอายุเป็นรูปแบบหนึ่งในการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตการจัดการศึกษา การพัฒนา
ทักษะเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ และกิจกรรมของโรงเรียนผู้สูงอายุ จะเป็นเรื่องที่ผู้สูงอายุสนใจ
และมีความสาคัญต่อการดาเนินชีวิต ช่วยเพิ่มพูนความรู้ทักษะชีวิตท่ีจาเป็น โดยวิทยากรจิตอาสาหรือจาก
หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องขณะเดียวกันก็เป็นพื้นท่ีท่ีผู้สูงอายุ จะได้แสดงศักยภาพ โดยการถ่ายทอดภูมิความรู้
ประสบการณท์ ี่ส่งั สมแก่บุคคลอนื่ เพ่ือสบื สาน ภูมปิ ญั ญาให้คงคุณค่าคกู่ ับชุมชน
โรงเรียนผู้สูงอายุหลายแห่งตั้งข้ึนโดยใช้อาคารเรียนเก่าของโรงเรียนท่ีเลิกกิจการหรือต้ังอยู่ใน
ชมรมผสู้ งู อายุ ภายในวดั บางแห่งใช้บ้านของผูร้ ิเร่ิมก่อตง้ั เป็นสถานท่ีดาเนินการการจัดต้ังโรงเรียนผู้สูงอายุ
ในระยะแรก อาจเป็นเพียงการรวมกลุ่มพบปะพูดคุยกัน แล้วจึงค่อยๆ มีรูปแบบชัดเจนข้ึน มีกิจกรรม
ท่ีหลากหลายตามความต้องการของผู้สูงอายุ หรืออาจเป็นการขยายกิจกรรมจากที่มีการดาเนินการอยู่แล้ว
เช่น ศูนย์บริการทางสังคม แบบมีส่วนร่วม (ศาลาสร้างสุข) ศูนย์สามวัย ธนาคารความดีเป็นต้น โรงเรียน
ผสู้ ูงอายุ สามารถมีรูปแบบและกิจกรรมที่หลากหลาย ทั้งน้ีขึ้นอยู่กับบริบทของพื้นท่ี ความต้องการของผู้สูงอายุ
การจัดกิจกรรมของโรงเรียนผู้สูงอายุจะกาหนดตารางกิจกรรมในแต่ละสัปดาห์ ไว้ชัดเจน ระยะเวลาเปิด
เรียนอาจเป็นตลอดปีหรือเปิดเป็นช่วงเวลาตามหลักสูตรท่ีจัดอบรม ส่วนใหญ่จะจัดกิจกรรมสัปดาห์ละ 1 วัน
(กรมกิจการผูส้ งู อาย,ุ 2560)
42
3) กรอบแนวคดิ โรงเรียนผสู้ ูงอายุ
โรงเรียนผู้สูงอายุ ดาเนินการภายใต้แนวคิดการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิตของผู้สูงอายุ
ท่มี ีศกั ยภาพ เพื่อให้ผู้สูงอายุได้เรียนรู้ พัฒนาทักษะในการดูแลตนเอง ซ่ึงจะนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิต
ผสู้ ูงอายุ โดยอยบู่ นพน้ื ฐานแนวคิดท่ีว่า “ผู้สูงอายุมีคุณค่า และมีศักยภาพ ควรได้รับการส่งเสริม สนับสนุน
ใหม้ ีส่วนร่วมทาประโยชน์ให้สังคม และส่งเสริมการเรียนรู้ให้ผู้สูงอายุโดยเช่ือมโยงกับประสบการณ์ของผู้สูงอายุ
สาระการเรียนรู้ จะต้องทาให้ผู้สูงอายุสามารถนาไปใช้ได้จริงในชีวิตปัจจุบัน เพิ่มโอกาสในการรวมกลุ่ม
ในลกั ษณะเครอื ขา่ ยหรอื ชุมชน” การดาเนินงานโรงเรียนผู้สูงอายุแบบมีส่วนร่วม โดยทุกภาคส่วน “ร่วมคิด
ร่วมทา ร่วมสร้าง” และมสี ่วนร่วมในการดาเนนิ งาน การจดั การเรียนร้ใู หผ้ ูส้ ูงอายุเพื่อให้ผู้สูงอายุ มีความสุข
เกิดทกั ษะในการดูแลตนเอง มคี ุณภาพชีวติ ทดี่ ี (กรมกิจการผสู้ งู อายุ, 2560)
4) การจดั ต้ังโรงเรียนผูส้ ูงอายุมีแนวทางการดาเนนิ การ ดงั นี้
4.1) การดาเนนิ งานโรงเรียนผสู้ ูงอายุ
โรงเรียนผู้สูงอายุ เป็นรูปแบบหนึ่งในการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต การจัดการศึกษา
การพัฒนาทักษะเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ และกิจกรรมของโรงเรียนผู้สูงอายุจะเป็นเร่ืองท่ีผู้สูงอายุ
สนใจและมีความสาคัญต่อการดาเนินชีวิต ช่วยเพิ่มพูนความรู้ ทักษะชีวิตท่ีจาเป็น โดยวิทยากรจิตอาสา
หรือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องขณะเดียวกันก็เป็นพื้นที่ที่ผู้สูงอายุจะได้แสดงศักยภาพ โดยการถ่ายทอดภูมิ
ความรู้ประสบการณ์ ทีส่ ่งั สมแกบ่ ุคคลอนื่ เพื่อสืบสานภมู ปิ ัญญาให้คงคณุ คา่ คกู่ ับชมุ ชน
โรงเรียนผู้สูงอายุหลายแห่งต้ังขึ้นโดยใช้อาคารเรียนเก่าของโรงเรียนท่ีเลิกกิจการหรือ
ต้ังอยู่ในชมรมผสู้ ูงอายุ ภายในวัด บางแห่งใชบ้ ้านของผู้ริเริ่มก่อต้ังเป็นสถานที่ดาเนินการการจัดตั้งโรงเรียน
ผู้สูงอายุในระยะแรก อาจเป็นเพียงการรวมกลุ่มพบปะพูดคุยกัน แล้วจึงค่อยๆ มีรูปแบบชัดเจนขึ้น มี
กิจกรรมที่ลากหลายตามความต้องการของผู้สูงอายุ หรืออาจเป็นการขยายกิจกรรมจากท่ีมีการดาเนินการ
อยู่แล้ว เช่น ศูนย์บริการทางสังคมแบบมีส่วนร่วม (ศาลาสร้างสุข) ศูนย์สามวัย ธนาคารความดี เป็นต้น
โรงเรยี นผสู้ งู อายสุ ามารถมรี ูปแบบและกจิ กรรมทหี่ ลากหลาย ทั้งน้ี ขึ้นอยู่กับบริบทของพ้ืนที่ ความต้องการ
ของผู้สูงอายุ การจัดกิจกรรมของโรงเรียนผู้สูงอายุ จะกาหนดตารางกิจกรรมในแต่ละสัปดาห์ไว้ชัดเจน
ระยะเวลาเปิดเรียนอาจเป็นตลอดปีหรือเปิดเป็นช่วงเวลาตามหลักสูตรที่จัดบรม ส่วนใหญ่จะจัดกิจกรรม
สปั ดาห์ละ 1 วัน (กรมกิจการผู้สงู อาย,ุ 2560)
4.2) วตั ถุประสงค์ของโรงเรยี น
- เพ่ือสง่ เสริมการพัฒนาคุณภาพชวี ติ และการจัดการเรยี นรู้ตลอดชวี ิตของผู้สงู อายุ
- เพื่อสง่ เสรมิ การพัฒนาตนเอง การดแู ล คมุ้ ครอง และพทิ ักษ์สิทธิผสู้ งู อายุ
- เพื่อเสรมิ สรา้ งสขุ ภาพทดี่ ีของผู้สงู อายทุ ้ังด้านรา่ งกายและจติ ใจ
- เพอื่ สง่ เสริมใหผ้ สู้ ูงอายุสร้างสรรคป์ ระโยชน์แก่ชุมชนและสงั คม
- เพอ่ื เสรมิ สรา้ งศักยภาพ คุณคา่ ภูมิปัญญาผสู้ งู อายใุ หเ้ ปน็ ท่ีประจักษ์และยอมรบั
- เพื่อส่งเสริมภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถ่ินให้ดารงสบื ทอดต่อไป
4.3) ประโยชน์ที่ผ้สู ูงอายุได้รับจากโรงเรยี นผูส้ งู อายุ
1. ด้านสุขภาพร่างกาย ทาให้มีสุขภาพแข็งแรง กระฉับกระเฉง ลดความเสี่ยงจากการเจ็บปุวย
ลดระยะเวลาการพ่งึ พาผู้อนื่ อายยุ นื
2. ดา้ นจิตใจ ช่วยให้คลายเหงา จติ ใจกระชุ่มกระชวย สดชื่น รู้สึกภาคภูมิใจและตระหนัก
ในคุณค่า ความสามารถของตนเอง มมี ุมมองเชิงบวกตอ่ ตนเอง
3. ด้านสังคม มีความสัมพันธ์ที่ดีกับคนวัยเดียวกันและคนต่างวัย ได้รับการยอมรับในฐานะ
สมาชกิ ของกลุ่ม
43
4. ดา้ นจิตปญั ญา รู้เท่าทันและเข้าใจสิ่งต่าง ๆ ท่ีเกิดขึ้น สามารถปรับตัวและดาเนินชีวิต
ได้อย่างเหมาะสมตามวยั
5. ด้านเศรษฐกิจ เรียนรู้ทักษะทางด้านอาชีพ สามารถนาไปประกอบอาชีพสร้างงาน สร้างรายได้
ช่วยเหลอื ตนเองตอ่ ไป
4.4) ประโยชน์ต่อชมุ ชนและสังคม
1. โรงเรยี นผู้สงู อายเุ ปน็ พ้นื ท่ีเรียนรแู้ ละถา่ ยทอดประสบการณ์ ภูมิปญั ญาและวัฒนธรรม
ท้องถิ่น ให้ดารงสืบทอดเป็นเอกลกั ษณ์ของชุมชน
2. โรงเรียนผ้สู งู อายเุ ปน็ “เวท”ี ทเี่ ปิดโอกาสใหผ้ สู้ ูงอายุมสี ว่ นรว่ มในการทาประโยชน์ต่อชุมชน
และสงั คม รวมท้งั อาจเป็นแรงผลักดนั ใหเ้ ขา้ รว่ มเป็นอาสาสมัครในชมุ ชน
5) แนวทางการดาเนนิ งานโรงเรยี นผู้สูงอายุ
5.1) ข้นั ตอนการดาเนินงาน
- ประชุมประชาคมเพื่อสร้างความเขา้ ใจและความรว่ มมือจากพ้ืนท่ี
- คดั เลือก และแตง่ ตั้งคณะทางานขับเคล่ือนการดาเนินงานโรงเรียนผู้สงู อายุ
- จดั ทาแผนข้ันตอนในการดาเนินงาน
- จดั ต้งั โรงเรยี นผ้สู ูงอายุ
- ขับเคลอ่ื นการดาเนินงาน
- ตดิ ตามและประเมนิ ผลการดาเนนิ งาน
5.2) โครงสรา้ งโรงเรยี นผสู้ งู อายุ
การขบั เคล่ือนการดาเนินงานโรงเรียนผู้สูงอายใุ ห้มีประสทิ ธิภาพ ควรมีองคป์ ระกอบดังน้ี
- ที่ปรึกษาโรงเรียนผู้สูงอายุ การต้ังที่ปรึกษาของโรงเรียนผู้สูงอายุเป็นกลยุทธ์
ในการสร้างการมีส่วนร่วมจากภาคส่วนอ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง ให้มีส่วนร่วมในการรับรู้การดาเนินงานของโรงเรียน
และเป็น “ใบเบิกทาง” ให้แก่การดาเนินงานของโรงเรียนผู้สูงอายุ ซ่ึงมีผลต่อการสร้างความน่าเชื่อถือในการทางาน
และถือเป็นการสร้างพันธมิตรในการทางานช้ันเย่ียม ที่ปรึกษาของโรงเรียนผู้สูงอายุ อาจเป็นฝุายสงฆ์
ฝุายฆราวาส เช่น นายอาเภอ ผู้บริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน นักวิชาการหรือข้าราชการเกษียณ
เป็นตน้
- ครใู หญ่ หรือประธาน หรอื ผู้อานวยการโรงเรียนผู้สูงอายุ องค์ประกอบนี้ เป็นส่วน
สาคัญมากและถือเป็น “หัวใจ” ของการขับเคล่ือนงาน ผู้ที่จะทาหน้าท่ีเป็นครูใหญ่ หรือประธาน หรือ
ผู้อานวยการโรงเรียนผู้สูงอายุ ส่วนใหญ่เป็นแกนนาที่เป็นผู้ริเริ่มงานของโรงเรียนผู้สูงอายุในแต่ละพ้ืนที่
ที่ได้รับการยอมรับและศรัทธาจากกลุ่มผู้สูงอายุด้วยกัน เป็นผู้มีบทบาทสาคัญในการประสานงานและ
รังสรรค์กิจกรรมตา่ ง ๆ ของโรงเรยี น
- คณะกรรมการและแกนนาร่วมขับเคลื่อน ถือเป็นอีกหนึ่งเง่ือนไขของความสาเร็จ
เพราะกลไกหลักในการเคล่ือนงานของโรงเรียนผู้สูงอายุ การกาหนดจานวนคณะกรรมการหรือแกนนา
ร่วมขับเคลอ่ื นขน้ึ อย่กู บั การแบ่งหนา้ ที่ หรอื แบ่งงานภายในโรงเรียนผู้สูงอายแุ ตล่ ะแหง่
- ทีมวิทยากรจิตอาสา เป็นเอกลักษณ์ท่ีโดดเด่นประการหนึ่งของโรงเรียนผู้สูงอายุ
เพราะใช้ทุนทางสังคมและวัฒนธรรมที่มีเป็นตัวต้ังขับเคลื่อน ทาให้กิจกรรมต่างๆ ของโรงเรียนดาเนินไป
ตามวัตถปุ ระสงค์ที่ตงั้ ไว้ เชน่ วทิ ยากรจากสมาชิกกลุ่มผู้สูงอายุด้วยกัน ข้าราชการบานาญ พระสงฆ์ รวมถึง
การขอความอนเุ คราะห์วิทยากรจิตอาสาจากหนว่ ยงาน องคก์ รต่างๆ ท้ังในลักษณะเครือข่ายทางสังคม เช่น
กศน. ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงาน ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร รพ.สต. โรงพยาบาล
สานกั งานพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ย์ในแต่ละจังหวดั องคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น เปน็ ตน้
44
5.3) การบรหิ ารจัดการ ด้วยหลัก 5 ก ประกอบด้วย
- กลุ่ม ต้องสร้างการรวมกลุ่มของผู้สูงอายุให้เกิดข้ึน ทั้งที่เป็นกลุ่มแกนนา
คณะทางาน และกลุ่มสมาชิก หรือกลุ่มนักเรียนผู้สูงอายุ ซึ่งเป็นเปูาหมายของการทางาน ในข้ันน้ีอาจมีกลยุทธ์
ในการสร้างความเป็นกลุ่มก้อนได้หลายวิธี เช่น การเปิดรับสมัครสมาชิกหรือนักเรียนผู้สูงอายุ การต่อยอด
จากกลุ่มเดิมที่เคยมีอยู่ในชุมชน เช่น ชมรมผู้สูงอายุ การสร้างสัญลักษณ์ของความเป็นกลุ่มสมาชิก อาทิ
มีสัญลกั ษณโ์ รงเรยี นผู้สงู อายุ มเี สอ้ื สญั ลกั ษณข์ องนกั เรียนผู้สูงอายุ เปน็ ตน้
- กรรมการ ถือเป็นตัวแทนของสมาชิกกลุ่มที่จะทาหน้าท่ีในการบริหารจัดการ
กลุ่มให้การทางานประสบความสาเร็จ ท้ังนี้ควรสร้างกระบวนการคัดเลือกผู้ท่ีจะทาหน้าท่ีดังกล่าว แบ่งหน้าท่ี
ความรับผิดชอบ ช่วยกันขับเคลื่อนการทางานให้ประสบความสาเร็จ เป็นการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วม
ให้การบริหารจัดการโรงเรียนผสู้ ูงอายุมีประสทิ ธภิ าพ
- กติกาหรือข้อตกลงร่วมกัน ต้องเกิดจากความเห็นพ้องต้องกันของสมาชิกใน
โรงเรียนผู้สูงอายุ เหมือนเป็นสัญญาใจท่ีมีต่อกันว่าจะร่วมกันยึดถือและปฏิบัติตาม ซ่ึงจะเป็นแนวทางที่ทา
ให้การดาเนินงานของโรงเรียนผู้สูงอายุมีทิศทางการทางานที่ชัดเจน แม้ว่าเปล่ียนแปลงคณะกรรมการชุด
ใหมจ่ ะยังคงมีแนวทางการทางานเดมิ ใหเ้ หน็ และพฒั นาต่อยอดได้
- กิจกรรม ในระยะเร่ิมแรกอาจเน้นไปท่ีการสร้างกิจกรรมในการแก้ไขปัญหาง่ายๆ
ไม่ซับซ้อน เช่น การจัดให้มาพบปะกันทุกเดือน มีกิจกรรมร้องเพลง กิจกรรมนันทนาการรูปแบบอ่ืนๆ
กิจกรรมถ่ายทอดภูมิปัญญาให้กับเด็กและเยาวชนหรือการรวมกลุ่ม ออกกาลังกาย เม่ือมีประสบการณ์มากข้ึน
จึงเคลื่อนไปสู่การทากิจกรรมท่ีตอบสนองปัญหาและความต้องการท่ีมีความซับซ้อนมากขึ้น เช่น การบูรณาการ
โรงเรียนผ้สู งู อายเุ ข้ากับการทางานของ “ธนาคารความดี”
- กองทนุ การขับเคลื่อนงานของโรงเรยี นผสู้ งู อายใุ หเ้ ป็นไปอย่างม่ันคงจาเป็นต้องเรียนรู้
วธิ กี ารหางบประมาณเพอ่ื การดาเนนิ งานด้วยตนเอง วิธีการหางบประมาณเข้ากองทุนของกลุ่ม อาจจาแนก
ได้เป็น การสร้างกองทุนของตนเองการเก็บค่าสมาชิก การขอรับบริจาคจากผู้มีจิตศรัทธา การจาหน่าย
ผลิตภัณฑ์ของกลุ่ม การเขียนโครงการเพ่ือเสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากหน่วยงาน แหล่งทุนต่างๆ
เช่น สานักงานกองทุนสนับสนุน การสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) กองทุนผู้สูงอายุ กองทุนสุขภาพตาบล
สานักงานพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด เป็นต้น อย่างไรก็ตาม งบประมาณไม่ใช่หัวใจของ
การขับเคล่ือนงานได้เท่ากับการมีจิตอาสาหรือจิตสาธารณะที่จะสร้างสรรค์สวัสดิการทางสังคมในการดูแล
ผ้สู งู อายุ
6) ปจั จัยแหง่ ความสาเร็จ
6.1) มผี นู้ าการเปลี่ยนแปลง ที่ทุ่มเท เสียสละ และมีความมุ่งมั่นท่ีจะสร้างสรรค์กิจกรรม
ของโรงเรียนผู้สูงอายุ เป็นปัจจัยหน่ึงที่สาคัญของความสาเร็จในการดาเนินงานของโรงเรียนผู้สูงอายุ
โดยเฉพาะผู้นาการเปลี่ยนแปลงที่เป็นผู้สูงอายุ หรือผู้นาทางด้านจิตใจ เช่น พระภิกษุ เพราะมีผลโดยตรง
ต่อการสร้างศรัทธาให้เกิดขึ้นท้ังแก่ผู้สูงอายุท่ีเป็นสมาชิกของโรงเรียน หน่วยงาน และองค์กรต่างๆ ซ่ึงเป็น
ทม่ี าของความร่วมมือและการสนบั สนุนการดาเนนิ งานของโรงเรียน
6.2) มีเป้าหมายชัดเจนและมีการจัดกิจกรรมอย่างต่อเน่ือง การกาหนดเปูาหมายที่ชัดเจน
ถือเป็นการกาหนดทิศทางการทางานที่สร้างความเข้าใจร่วมกันในหมู่คณะกรรมการหรือแกนนา จะเป็นพลัง
ที่เข้มแข็งในการทางานร่วมกันและการจัดให้มีกิจกรรมอย่างต่อเน่ืองเป็นประจา ถือเป็นกลไกในการเชื่อมร้อย
ความเป็นกลุ่ม และความเป็นชุมชนของผู้สูงอายุให้เกิดขึ้น ซึ่งส่งผลให้เกิดความร่วมมือร่วมใจ ในการขับเคล่ือน
งานโรงเรียนผูส้ ูงอายใุ หบ้ รรลผุ ล
45
6.3) มีส่วนรว่ ม การมีสว่ นร่วมจะทาให้เกิดความผูกพันและความรู้สึกเป็นเจ้าของร่วมกัน
กลไกท่ีทาให้สมาชิกมีส่วนร่วมท้ังที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ เช่น การประชุมประจาเดือน การสร้างเวที
ในการพดู คยุ แลกเปลี่ยนความคดิ เหน็ การรว่ มกันดาเนินงาน
6.4) มเี ครอื ขา่ ยทางสังคมท่ีเข้มแข็ง การสร้างเครือข่ายทางสังคมท่ีเข้มแข็ง อาจพิจารณาได้
2 ระดับ คือ การสร้างเครือข่ายทางสังคมภายในกลุ่มหรือในหมู่สมาชิกของโรงเรียนผู้สูงอายุด้วยกัน เช่น
ในรูปแบบคณะกรรมการ หรือการมีตัวแทนในแต่ละหมู่บ้าน และการให้ความสาคัญกับการสร้างเครือข่าย
กบั หน่วยงาน องคก์ รภายนอก เพ่ือประสานพลงั ในการทางานรว่ มกนั
6.5) มีการเรียนรู้และพัฒนาการดาเนินงานอย่างต่อเนื่อง โดยการทบทวนตนเองและ
สรปุ บทเรียนในการทางานเป็นระยะ เรียนรจู้ ุดแข็ง จุดออ่ น ข้อทค่ี วรพฒั นาให้ดีข้นึ และนามาพัฒนากระบวนการ
ทางานอย่างตอ่ เนื่อง
6.6) มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหนุนเสริม การสนับสนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
เชน่ งบประมาณ บคุ ลากร สถานที่ การประสานเครือข่าย เปน็ อีกหน่ึงปัจจัยท่ีสาคัญที่จะผลักดันให้การเคล่ือนงาน
ของโรงเรียนผสู้ งู อายเุ กดิ ขน้ึ ได้ และดาเนนิ การไปอยา่ งราบร่ืน
7) ถ้าเปน็ การดาเนนิ งานแบบต่อเนื่อง สามารถขอรับการสนับสนนุ งบประมาณไดจ้ ากหนว่ ยงานใด
หากประสงคท์ ่ีจะขอรับการสนับสนุนงบประมาณ สามารถเขียนโครงการเพ่ือเสนอขอรับการสนับสนุน
งบประมาณจากหน่วยงาน แหล่งทุนต่าง ๆ เช่น สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.),
กองทนุ ผ้สู งู อายุ , กองทนุ สขุ ภาพตาบล และสานกั งานหลักประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ เปน็ ต้น
9.2 แนวคดิ การพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตผู้สูงอายุ
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School - Based Management : SBM) เป็นแนวคิดในการ
บริหารโรงเรียนทร่ี เิ รม่ิ ในประเทศสหรัฐอเมริกา ซ่ึงไดร้ บั อิทธิพลจากกระแสการบริหารแนวใหม่ในทางธุรกิจ
ที่เน้นความพึงพอใจของผู้รับบริการและผลักดันให้มีการกระจายอานาจไปสู่หน่วยปฏิบัติให้มากท่ีสุด
ในทางการศึกษาได้มีกระแสการปฏิรูปการศึกษา โดยเน้นกลยุทธ์การกระจายอานาจในการตัดสินใจในการ
บรหิ ารและการจดั การศกึ ษาไปยงั สถานศึกษาและให้ผู้มีส่วนเก่ียวข้องได้ ซ่ึงได้แก่ ผู้ปกครอง ครูผู้สอน และ
ชมุ ชนมีสว่ นร่วมในการจดั การศกึ ษา (สานักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา, 2560 : ออนไลน์)
9.3 รูปแบบการพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ผสู้ ูงอายุ
จาการศึกษาพบว่า มีรูปแบบที่สาคัญอย่างน้อย 4 รูปแบบ (สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา,
2560 : ออนไลน์) ได้แก่
1) รูปแบบท่ีมีผู้บริหารโรงเรียนเป็นหลัก (Administration Control SBM) ผู้บริหาร เป็นประธาน
คณะกรรมการ ส่วนกรรมการอ่ืนๆ ได้จากการเลือกต้ังหรือคัดเลือกจากกลุ่มผู้ปกครอง ครู และชุมชน คณะกรรมการ
มบี ทบาทให้คาปรึกษา แต่อานาจการตัดสนิ ใจยังคงอยู่ท่ผี ู้บรหิ ารโรงเรยี น
2) รูปแบบที่มีครูเป็นหลัก (Professional Control SBM) เกิดจากแนวคิดท่ีว่า ครูเป็นผู้ใกล้ชิด
นักเรียนมากที่สุด ย่อมรู้ปัญหาได้ดีกว่าและสามารถแก้ปัญหาได้ตรงจุด ตัวแทนคณะครูจะมีสัดส่วนมาก
ทส่ี ดุ ในคณะกรรมการโรงเรยี น ผู้บริหารยังเป็นประธานคณะกรรมการโรงเรียน บทบาทของคณะกรรมการ
โรงเรียนเปน็ คณะกรรมการบรหิ าร
3) รูปแบบท่ีชุมชนมีบทบาทหลัก (Community Control SBM) แนวคิดสาคัญ คือ การจัดการ
ศกึ ษาควรตอบสนองความต้องการและค่านิยมของผู้ปกครองและชุมชนมากท่ีสุด ตัวแทนของผู้ปกครองและชุมชน
จึงมีสัดส่วนในคณะกรรมการโรงเรียนมากที่สุด ตัวแทนผู้ปกครองและชุมชน เป็นประธานคณะกรรมการ
โดยมีผู้บริหารโรงเรียนเป็นกรรมการและเลขานุการ บทบาท หน้าท่ีของคณะกรรมการโรงเรียนเป็น
คณะกรรมการบริหาร
46
4) รูปแบบที่ครูและชุมชนมีบทบาทหลัก (Professional Community Control SBM) แนวคิด
เร่ืองนี้เช่ือว่า ท้ังครูและผู้ปกครองต่างมีความสาคัญในการจัดการศึกษาให้แก่เด็ก เน่ืองจากทั้ง 2 กลุ่มต่าง
อยู่ใกล้ชิดนักเรียนมากที่สุด รับรู้ปัญหาและความต้องการได้ดีที่สุด สัดส่วนของครูและ ผู้ปกครอง (ชุมชน) ใน
คณะกรรมการโรงเรียนจะมีเท่าๆ กันแต่มากกว่าตัวแทนกลุ่มอื่นๆ ผู้บริหาร โรงเรียนเป็นประธาน บทบาทหน้าท่ี
ของคณะกรรมการโรงเรียนเป็นคณะกรรมการบรหิ าร
9.4 ปญั หาอปุ สรรคและแนวทางแกไ้ ข
ปญั หาอปุ สรรค
โรงเรยี นผสู้ งู อายเุ กิดขนึ้ จากสถานการณ์ทางสังคมในปัจจุบันที่มีจานวนผู้สูงอายุเพ่ิมมากขึ้น เห็นได้
จากการเผยแพรภ่ าพของโรงเรยี นผ้สู ูงอายุในส่อื สังคมออนไลน์รวมท้ังนโยบายของหน่วยงานภาครัฐ ในช่วงปี 2562
จึงทาให้มีโรงเรียนผู้สูงอายุเกิดขึ้นจานวนมากในสังคมไทย แต่ผู้สอนไม่เพียงพอ อีกท้ัง ผู้สอนขาดทักษะ
ในการดึงดูดความสนใจของนักเรียนสูงอายุ
แนวทางแก้ไข
การดาเนินการโรงเรียนผู้สูงอายุในแต่ละพ้ืนท่ีย่อมเกิดปัญหาต่างกัน ดังนั้น แนวทางในการแก้ไข
ปัญหาที่น่าจะเป็นประโยชน์และนาไปปรับใช้ได้ทุกพื้นท่ี คือ การที่ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องและ/หรือ
ดาเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ไม่ว่าจะเป็น ภาครัฐภาคเอกชน ชมรม กลุ่มต่างๆ ในชุมชน
เขา้ มามีสว่ นร่วมในการบูรณาการการทางานร่วมกัน เช่น ภาครัฐอาจจะร่วมกับภาคเอกชน โดยเปิดโอกาส
ให้ภาคเอกชนมาสอนหรืออบรมภายในโรงเรียนผู้สูงอายุ หรือจ้างภาคเอกชนเข้ามาช่วยดาเนินการสอนหรือ
จัดกิจกรรมภายในโรงเรยี นผู้สงู อายุ เปน็ ต้น
9.5 แนวโนม้ และทิศทางการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตผูส้ งู อายุ
การดาเนินงานเก่ียวกับผู้สูงอายุของประเทศไทย พบว่าแม้ประเทศไทยจะเร่ิมต้น ดูแลและพัฒนา
ผู้สูงอายุช้ากว่าในต่างประเทศ แต่ก็มีระบบการดูแลและพัฒนาผู้สูงอายุ รวมทั้งฐานข้อมูลผู้สูงอายุมาก
พอสมควร แต่ผู้สูงอายุท่ีเข้ามาในโรงเรียนยังยึดติดหรือไม่ยึดติดกับคาว่า “โรงเรียน” ที่ต้องมีกฎและระเบียบ
ทาใหไ้ มส่ ามารถแสดงออกได้อย่างเต็มที่ ทัง้ นี้ โรงเรยี นผู้สูงอายุจึงต้องนาผู้สูงอายุให้ก้าวผ่านคาว่า “โรงเรียน”
ให้ได้ เพื่อให้ผู้สูงอายุแสดงความรู้สึกออกมาได้ชัดเจน ซ่ึงจะทาให้โรงเรียนผู้สูงอายุสามารถรู้ความต้องการ
ทแ่ี ทจ้ ริง และสามารถหาแนวทางทด่ี ีและเหมาะสมในการพฒั นาคุณภาพชวี ิตให้ผสู้ งู อายุได้
10. งานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง
10.1 งานวิจยั ภายในประเทศ
ปล้ืมใจ ไพจิตร (2558) ได้ศึกษาคุณภาพในการดารงชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดสุราษฎร์ธานี พบว่า
ระดับคุณภาพในการดารงชีวิตของผู้สูงอายุในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับคุณภาพดี ได้แก่ ด้านสัมพันธภาพ
ทางสังคม ด้านจิตใจ ด้านร่างกาย และด้านสิ่งแวดล้อม ผลเปรียบเทียบ คุณภาพในการดารงชีวิตของผู้สูงอายุ
จาแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า เพศ อายุ วุฒิการศึกษา แหล่งท่ีมาของรายได้หลักและรายได้เฉล่ีย
ต่อเดอื นแตกตา่ ง ทาให้คณุ ภาพในการดารงชวี ิตของผู้สงู อายตุ า่ งกนั อย่างมนี ยั สาคัญทางสถิติ 0.05
ลภัสรดา วลยั กมลลาศ (2556) ได้ทาการศึกษาวิจัยเร่ือง การเตรียมความพร้อมเพ่ือรองรับสังคม
ผู้สูงอายุขององค์การบริหารส่วนตาบลปากบาง อาเภอเทพา จังหวัดสงขลา ผลการวิจัย พบว่า องค์การ
บริหารส่วนตาบลปากบาง สามารถปฏิบัติงานได้ตามตัวชี้วัดขั้นพื้นฐานและตามมาตรฐานผู้สูงอายุ ท้ัง 6 ด้าน
ในส่วนของการดาเนนิ งานตามตวั ชว้ี ดั ขน้ั พฒั นา ซ่งึ เป็นตัวชี้วัดที่มีความสาคัญและเป็นภารกิจในการพัฒนา
ยกระดับการใหบ้ รกิ าร หรือสวัสดิการที่สูงขึ้น หรือก้าวหน้ามากกว่ามาตรฐานตัวชี้วัดขั้นพื้นฐาน และกาหนดให้มี
การจัดทาหรือเลือกกระทาตามศักยภาพท่ีสามารถทาได้ แต่ก็พบว่ายังไม่สามารถดาเนินงานตามมาตรฐาน
47
ตัวช้ีวัดขั้นพัฒนาได้ทุกตัวชี้วัด ดังน้ัน การดูแลผู้สูงอายุเหล่านี้จึงไม่ใช่เป็นการดาเนินงานของหน่วยงาน
เพียงหนว่ ยงานเดยี วแตต่ อ้ งมีการร่วมมือกันทุกภาคส่วนในพื้นที่ เพื่อให้การเตรียมความพร้อมในการก้าวสู่สังคม
ผสู้ งู อายขุ ององคก์ ารบริหารสว่ นตาบลปากบางให้ประสบผลสาเรจ็ ไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพต่อไป
สุทธิพงศ์ บุญผดุง (2554) ได้ทาวิจัยเรื่อง การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในท้องถิ่น โดยใช้
โรงเรียนเป็นฐาน ตามหลกั เศรษฐกิจพอเพียง (ระยะที่ 1) โดยมีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพ่ือศึกษาระดับคุณภาพชีวิต
ผู้สูงอายุ 2) เพ่ือวิเคราะห์ปัจจัยท่ีเก่ียวข้องกับคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ 3) เพ่ือกาหนดแนวทางการพัฒนา
คุณภาพชวี ติ ผู้สงู อายโุ ดยใช้โรงเรียนเป็นฐานตามหลักเศรษฐกจิ พอเพียงของผสู้ ูงอายุ กล่มุ ตวั อย่างที่ใช้ในการวิจัย
คือ ผ้สู ูงอายทุ อี่ าศัยในชุมชนสุเหร่าลาแขก จานวน 83 คน เคร่ืองมือท่ีใช้ ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบวัดคุณภาพ
ชีวติ สาหรับผสู้ ูงอายุ 6 ดา้ น ได้แก่ ดา้ นสภาพอารมณ์ทีด่ ี ดา้ นความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ด้านสภาพความเป็นอยู่ท่ีดี
ด้านสภาพร่างกายที่ดี ด้านการรวมกลุ่มทางสังคม และด้านการตัดสินใจด้วยตนเอง ซ่ึงมีความเที่ยงตรง
ด้านเนอื้ หา และมีความเช่อื ม่นั ทนี่ าไปใชไ้ ด้ การวิเคราะห์ขอ้ มลู ใชค้ า่ ความถ่ีในการบรรยายลักษณะของกลุ่ม
ตัวอย่าง ศึกษาระดับคณุ ภาพชีวิตผู้สูงอายุโดยใช้ค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์
ปัจจัยท่ีเกีย่ วข้องกบั คณุ ภาพชีวติ ผ้สู งู อายุเป็นรายด้าน โดยการวิเคราะห์องค์ประกอบ และกาหนดแนวทาง
ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุโดยใช้หลักการมีส่วนร่วมของผู้บริหาร และครูตามแนวคิดของโรงเรียน
เป็นฐาน และแนวคิดตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ผลการวิจัย พบว่า 1) ระดับคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในภาพรวม
อยู่ในระดับค่อนข้างมาก โดยด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเป็นอันดับแรก รองลงมา คือ ด้านการรวมกลุ่ม
ทางสงั คม ด้านสภาพอารมณท์ ด่ี ี และดา้ นสภาพรา่ งกายที่ดี ตามลาดับ ในขณะที่ด้านสภาพความเป็นอยู่ที่ดี
และด้านการตัดสินใจด้วยตนเองมีระดับคุณภาพชีวิตในระดับปานกลาง 2) ปัจจัยท่ีเกี่ยวข้องกับคุณภาพชีวิต
พบว่า ด้านสภาพอารมณ์ท่ีดี มีปัจจัยที่เก่ียวข้องได้แก่ ปัจจัยด้านความว้าเหว่ อ้างว้าง และปัจจัยด้านความสุขกาย
สบายใจ ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล มีปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ปัจจัยด้านปฏิสัมพันธ์ในครอบครัว
มิตรสหายและเพ่ือนบ้าน ด้านการรวมกลุ่มทางสังคมมีปัจจัยท่ีเก่ียวข้อง ได้แก่ปัจจัยด้านการอุทิศและ
การได้รับการยอมรับจากชุมชน ด้านสภาพความเป็นอยู่ที่ดี มีปัจจัยท่ีเก่ียวข้อง ได้แก่ ปัจจัยด้านการดารงชีพ
และปจั จัยดา้ นรายรบั รายจ่าย คณุ ภาพชีวติ ด้านสภาพร่างกายที่ดี มีปัจจัยท่ีเก่ียวข้อง ได้แก่ ปัจจัยด้านการ
ใสใ่ จเรอ่ื งสขุ ภาพ และปจั จยั ดา้ นการบริโภคท่ดี ี และสุดท้ายด้านการตัดสินใจดว้ ยตนเอง มีปัจจัยท่ีเกี่ยวข้อง
ไดแ้ ก่ ปจั จัยดา้ นความเปน็ อสิ ระทางความคิด และปัจจยั การเลือกทาในส่ิงท่ีต้องการ 3) แนวทางการพัฒนา
คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ โดยใช้โรงเรียนเป็นฐานตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ผ่านความเห็นชอบจาก
ผ้ทู รงคุณวุฒิซึง่ สามารถนาไปทดลองใช้ และศึกษาผลการใชก้ ับผู้สงู อายุในท้องถิ่นในงายวิจัยระยะท่ี 2 ต่อไป
วไิ ลพร ขาวงษ,์ จตพุ ร หนสู วสั ดิ์, วรารัตน์ ประทานวรปัญญา และจิดาภา ศิริปัญญา (2554) ได้ศึกษา
ปจั จัยที่มีความสัมพันธก์ ับคณุ ภาพชีวติ ของผู้สงู อายุ พบว่า กล่มุ ตัวอยา่ งมีคะแนนคุณภาพชีวิตโดยรวมอยู่ใน
ระดับปานกลางคิดเป็นรอ้ ยละ 66.1 เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ทุกองค์ประกอบมีคะแนนคุณภาพชีวิตอยู่
ในระดับปานกลาง โดยด้านร่างกาย คิดเป็นร้อยละ 75.7 ด้านจิตใจร้อยละ 53.7 ด้านสัมพันธภาพทางสังคม
ร้อยละ 66.0 และด้านส่งิ แวดล้อม รอ้ ยละ 62.6 ตามลาดับและพบวา่ ปัจจยั ด้านเพศ อายุ สถานภาพสมรส
ระดับการศึกษารายได้และฐานะการเงิน มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับคุณภาพชีวิตของ
ผสู้ งู อายุ
ธารนิ สขุ อนันต์, สุภาวัลย์ จาริยะศิลป์, ทัศนันท์ ทุมมานนท์ และปิยรัตน์ จิตรภักดี (2554) ได้ศึกษา
คุณภาพชวี ติ ผูส้ ูงอายุในเขตเทศบาลเมอื งบา้ นสวนจงั หวดั ชลบรุ ี พบวา่ คณุ ภาพชวี ติ ของผู้สงู อายุในภาพรวม
อยู่ในระดับปานกลาง โดยผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีคุณภาพชีวิตระดับปานกลาง ร้อยละ 64.2 รองลงมา
เป็นระดับดีร้อยละ 24.8 และระดับไม่ดีร้อยละ 11.0 เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ
ที่ระดับปานกลาง ได้แก่ ด้านร่างกาย สภาพแวดล้อม และจิตใจ ตามลาดับ 25.06 และ 21.15 ส่วนที่อยู่
48
ในระดับดี คือ ด้านความสัมพันธ์ทางสังคม ผลการเปรียบเทียบค่าเฉล่ียคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ จาแนกตามปัจจัย
ส่วนบุคคลพบว่า คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p < 0.05) ในปัจจัย
ตอ่ ไปน้ี คอื เพศอายุ, ระดับการศึกษา, อาชพี , รายได,้ การเปน็ สมาชิกกลุ่มทางสังคม
วรเวศม์ สุวรรณระดา และคณะ (2553) ได้ทาการวิจัยเร่ือง ระบบการดูแลระยะยาวเพื่อเสริมสร้าง
ความม่ันคงเพื่อวัยสูงอายุ โดยมุ่งศึกษากลุ่มผู้สูงอายุในเขตเมือง มีเป็นการศึกษาสถานการณ์ปัจจุบัน
เกี่ยวกับความต้องการระบบการดูแลผู้สูงอายุ ศึกษาโครงสร้างและจัดวางระบบการดูแลระยะยาว และ
เสริมสร้างความม่ันคงสาหรบั กลุ่มผ้สู ูงอายรุ ายได้ปานกลางข้ึนไป ผลการศึกษาสรุปได้ว่าลักษณะของปัญหา
ความม่ันคงของผู้สูงอายุท่ีต้องพ่ึงพิงผู้อ่ืนมากในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวันด้วยตนเอง หรือต้องใช้อุปกรณ์ช่วย
อย่างใดอย่างหนึง่ รวมถึงการมีระดบั การพึง่ พาผู้อ่นื นอ้ ยในทง้ั 2 อย่าง แต่ต้องอาศัยอยู่ตามลาพังหรืออาศัย
อยู่กับคู่สมรสเท่าน้ันพบว่าในเขตกรุงเทพและปริมณฑลยังคงเป็นพื้นท่ีท่ีผู้สูงอายุต้องเผชิญกับภาวะเสี่ยง
มากทส่ี ุดอยู่ร้อยละ 33.2 ส่วนในภาพรวมของประเทศมีตัวเลขที่สูงไม่แตกต่างกันนัก จากข้อมูลปัญหาความม่ันคง
เหล่าน้ีสะท้อนว่า ประเทศไทยมีความจาเป็นที่จะต้องสร้างระบบการดูแลระยาวสาหรับผู้สูงอายุท้ังในด้านสุขภาพ
การสนับสนุน การดาเนินกิจวัตรประจาวัน และการบริหารจัดการทรัพย์สินเพื่อให้สามารถรองรับ
กล่มุ ผสู้ ูงอายทุ ี่มภี าวะเส่ยี ง ในสว่ นปัญหาของผู้ใหบ้ ริการดแู ลระยะยาวแก่ผู้สูงอายุคือ ไม่มีหน่วยงานของรัฐ
เข้ามาดูแลหรือจัดระบบการให้บริการอย่างเป็นมาตรฐาน และยังมีบุคลากรทางวิชาชีพในสายงานไม่เพียงพอ
ความสอดคล้องของการจัดบริการและความต้องการบริการดูแลระยะยาว พบประเด็นที่น่าสนใจ คือ ความต้องการ
ในพ้ืนท่ีกับการมีบริการ ไม่ระบุว่ามีสถานบริบาลผู้สูงอายุและศูนย์จัดส่งผู้ดูแลอยู่ในพ้ืนที่ ความยินดีจ่าย
กับราคาสถานบริการ พบว่าค่าบริการของสถานบริการนอกครัวเรือนเฉลี่ยต่อเดือนนั้น ในแต่ละภาค
จานวนเงินค่อนข้างสูง เม่ือนาไปเช่ือมโยงกับความยินดีจ่ายค่าบริการให้กับสถานบริการผู้สูงอายุแต่ละประเภท
หากผูส้ งู อายุน้ันมีความจาเป็นตอ้ งใช้บรกิ ารสถานบริการนอกครัวเรือน พบว่าผู้สูงอายุในแต่ละภูมิภาคยินดี
จ่ายเงินค่าบริการในลักษณะเดียวกันคือน้อยกว่าค่าบริการจริงที่เกิดข้ึน ความสามารถในการแบกภาระค่าใช้จ่าย
เนื่องจากอัตราค่าบริการของการจ้างผู้ดูแลจากศูนย์จัดส่งน้อยกว่าอัตราค่าบริการของสถานบริบาล ทาให้
ภาพรวมของท้ังประเทศ มีสัดส่วนของผู้สูงอายุที่สามารถจ่ายค่าจ้างผู้ดูแล มากกว่าสัดส่วนของผู้ที่สามารถ
จ่ายค่าบริการในสถานบรกิ ารเดือน
10.2 งานวิจัยต่างประเทศ
Thomopoulou, I., Thomopoulou, D., and Koutsouki, D. (2010) (พมิ พอ์ พชิ ยา อินทรโ์ สภา, ม.ป.ป.)
ได้ศึกษาและวิจัยเก่ียวกับ ความแตกต่างคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุและความโดดเดี่ยวหรือความว้าเหว่
ของผู้สูงอายุ โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาความแตกต่างในเรื่องคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ จาแนกตามช่วง
ของอายุ และเพื่อศึกษาความโดดเดี่ยวหรือความว้าเหว่ของผู้สูงอายุ จาแนกตามช่วงของอายุกลุ่มตัวอย่างที่ใช้
ในการวิจัย ได้แก่ ผู้สูงอายุชาวกรีกจานวน 180 คน ท่ีมีช่วงอายุต้ังแต่ 60 ปี ถึง 93 ปี เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัย
ประกอบดว้ ยแบบสอบถามเกี่ยวกับข้อมลู พ้ืนฐานแบบวัดคุณภาพชีวิต ซ่ึงแบ่งเป็น 4 ด้าน ได้แก่ ด้านสุขภาพ
รา่ งกาย ด้านสังคมและเศรษฐกิจ ด้านจิตใจ และดา้ นครอบครัว โดยแบบวัดคุณภาพชีวิตดังกล่าวมีมาตรวัด
เป็น 6 ระดับ ตั้งแต่สาคัญ น้อยท่ีสุดจนถึงสาคัญมากท่ีสุด โดยอยู่บนฐานแนวคิดของลิเกิร์ท โดยแบบวัด
คุณภาพชีวติ มีค่าความเชอ่ื มั่น รายดา้ นตามสตู รสัมประสิทธแ์ิ อลฟุาของครอนบัค ตัง้ แต่ 0.749-0.881 ส่วนแบบวัด
ความโดดเดี่ยวหรอื ความวา้ เหว่มีมาตรวัดเป็น 4 ระดับต้ังแต่ตลอดเวลา จนถึงไม่เคยเกิดข้ึนตามแนวคิดของ
ลิเกิร์ทมีค่าความเชอื่ ม่นั ตามสตู รสมั ประสิทธ์ิแอลฟาุ ของครอนบัคเท่ากับ 0.8 ผลการศึกษาพบว่า 1) ผู้สูงอายุที่
เป็นกลุ่มตัวอย่างเป็น เพศชาย 120 คน และเป็นเพศหญิง 60 คนสามารถจาแนกเป็นช่วงอายุผู้สูงอายุได้
เป็นอายุ 60 - 74 ปี จานวน 100 คน และช่วงอายุตั้งแต่ 75 ปีข้ึนไป จานวน 80 คน สถานภาพสมรส
จานวน 118 คน หย่าร้าง 9 คน และเป็นม่าย 53 คน 2) ระดับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุเพศชายสูงกว่า
49
ผู้สูงอายเุ พศหญิง 3) ระดับคุณภาพชวี ิตของผู้สูงอายุท่ีมีอายุ 60 - 74 ปีสูงกว่า ผู้สูงอายุที่มีอายุต้ังแต่ 75 ปี
ข้ึนไป4) ระดับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุท่ีมีสมรสสูงกว่าผู้สูงอายุที่หย่าร้าง แต่ผู้สูงอายุที่หย่าร้างมีระดับ
คณุ ภาพชวี ติ สงู กว่าผู้สูงอายุที่เป็นสถานภาพเป็นหม้าย 5) ระดับความโดดเด่ียวหรือความว้าเหว่ของผู้สูงอายุเพศ
หญงิ สงู กว่าผู้สูงอายเุ พศชาย 6) ผู้สงู อายุท่มี ีสถานภาพสมรสซง่ึ มกี ารติดตอ่ ลูกหลานจะมีความโดดเดี่ยวหรือ
ความว้าเหว่น้อยกว่าผู้สูงอายุที่มีสถานภาพหย่าร้างและผู้สูงอายุที่มีสถานภาพเป็นหม้าย นอกจากนี้ยังพบอีกว่า
ผู้สูงอายุเพศหญิงท่ีมีสถานภาพเป็นม่ายจะมีเจ็บปวดทางจิตใจในเร่ืองความโดดเด่ียวหรือว้าเหว่จาการสูญเสีย
คนที่รกั อย่างเห็นไดช้ ดั
Chen, J., Murayama, S., and Kamibeppu, K. (2010) (วรรณวิภา ไตลังคะ, ม.ป.ป.) ได้ศึกษาเกี่ยวกับ
ปัจจัยที่มคี วามเกยี่ วขอ้ งกบั ความพงึ พอใจของผู้สูงอายุของคนจีนที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป จานวน 356 คน
ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความพึงพอใจผู้สูงอายุเพศชาย ได้แก่ อายุ การไม่เจ็บไข้ได้ปุวย การมี
สถานะทางการเงินทีด่ กี ารไมข่ ัดแย้งกับผ้อู นื่ การมลี กู หลานเป็นเพอ่ื น และประสิทธิภาพของตนเอง ในขณะ
ท่ปี ัจจัยทเี่ กยี่ วข้องกับความพึงพอใจในชีวิตของผู้สูงอายุเพศหญิง ได้แก่ การไม่เจ็บไข้ได้ปุวย การไม่ขัดแย้ง
กับผ้อู น่ื การมีบทบาทในสงั คม การทากจิ กรรมส่วนตวั และกิจกรรมกลุม่
Mangahas (1977) (พระมหาวิชัย ต๊ิบกันเงิน, 2557) ศึกษาคุณภาพชีวิตใน ฟิลิปปินส์ เพ่ือประเมิน
ความก้าวหน้าในการพัฒนาประเทศ พบว่าดัชนีช้ีวัดคุณภาพชีวิต ประกอบด้วย 9 องค์ประกอบ ดังน้ี คือ
การมสี ขุ ภาพและโภชนาการ การศึกษา รายไดแ้ ละการบรโิ ภค การมีงานทา ทรัพยากรธรรมชาติ ที่อยู่อาศัย
และสิ่งแวดลอ้ ม ความปลอดภัยและความยุติธรรม ค่านยิ มทางการเมือง และการเลื่อนช้นั ทางสังคม
Davis (1977) (พระมหาวิชัย ติ๊บกันเงิน, 2557) และคณะ ศึกษาการอยู่ดีมีสุขของ ประชาชน
ในทวีปยุโรป 7 ประเทศ คือ เบลเยี่ยม เดนมาร์ก ฝร่ังเศส เยอรมัน อังกฤษ ไอร์แลนด์ และเนเธอร์แลนด์
โดยใช้กลุ่มตัวอย่างประเทศละ 2,000 คน เพื่อศึกษาว่า ประชาชนในประเทศ ต่างๆ ท่ีมีเพศ อายุ ท่ีอยู่อาศัย
รายได้ มีความพึงพอใจในคุณภาพชีวิตของตนแบ่งออกเป็น 3 ด้าน ได้แก่ ด้านสุขภาพ อนามัย ด้านที่อยู่อาศัย
และด้านความพอใจในชีวติ
11. กรอบแนวคดิ
องค์การอนามัยโลก (WHO) ได้กล่าวถึงการมีคุณภาพชีวิตท่ีดีของผู้สูงอายุ ควรประกอบด้วย สุขภาพ
(Health) การมสี ่วนรว่ ม (Participation) และความมั่นคง (Security) (Active Aging a Framework, 2002:19)
ในปี ค.ศ.1995 ทีมพัฒนาคุณภาพชีวิตขององค์การอนามัยโลก ได้จัดองค์ประกอบใหม่โดยรวม
องคป์ ระกอบบางด้านเข้าด้วยกัน จึงมีองค์ประกอบคุณภาพชีวิตเพียง 4 ด้าน ดังนี้ 1) ด้านร่างกาย 2) ด้านจิตใจ
3) ด้านความสัมพันธท์ างสงั คม 4) ด้านส่งิ แวดล้อม (WHO QOL Group, 1996 อ้างถึงในสุภา แก้วบริสุทธิ,
2547: 12-12)
50
โดยคณะผ้วู ิจัยไดน้ ามาประยุกตใ์ ชใ้ นการเขียนกรอบแนวคดิ ดงั น้ี
51
บทที่ 3
วิธดี าเนนิ การวจิ ัย
1. วธิ ีการศึกษา
การวจิ ัยครง้ั นีเ้ ปน็ การวิจยั ประยกุ ต์ (Applied Research) ศึกษาโดยใชว้ ธิ ีวิทยาการวิจัยแบบผสาน
วิธี (Mixed-methodology) โดยมีการศึกษาทั้งเชิงปริมาณ การศึกษาเชิงคุณภาพ และนาเสนอข้อมูลแบบ
พรรณนา
2. การคดั เลือกพื้นท่ี
1) พ้ืนที่ทีม่ ีการดาเนินงานของโรงเรยี นผ้สู ูงอายุ
2) พื้นท่ที ีด่ าเนินโครงการสรา้ งเสริมชุมชนเข้มแขง็ ปี 2564 หรือพื้นท่ีทด่ี าเนนิ การ Social Lab
ปี 2563 ในพืน้ ท่รี บั ผิดชอบของสานักงานสง่ เสรมิ และสนับสนุนวชิ าการ 4 ไดแ้ ก่
- ตาบลมะเกลือเก่า อาเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสมี า
- ตาบลโนนสาราญ อาเภอเมอื งชยั ภมู ิ จงั หวัดชัยภูมิ
- เทศบาลตาบลตาจง อาเภอละหานทราย จังหวดั บุรีรมั ย์
- ตาบลตะเคียน อาเภอกาบเชิง จังหวดั สรุ นิ ทร์
- เทศบาลตาบลจานแสนไชย อาเภอห้วยทับทนั จังหวัดศรีสะเกษ
- ตาบลบากเรอื อาเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร
3. การคดั เลอื กกลุ่มตวั อย่าง
3.1 ประชากรในการศึกษาเชิงปรมิ าณ
1) กลมุ่ ผู้สงู อายุในการเกบ็ ข้อมูลเชงิ ปรมิ าณ จานวน 600 คน (6 พ้ืนที่)
- ผู้สงู อายุ 60 ปีข้นึ ไปในชมุ ชนท่ศี กึ ษา
- สามารถพดู คยุ ส่อื สารไดโ้ ดยใช้ภาษาไทย
- เป็นผยู้ ินดใี ห้ความร่วมมือในการศึกษาครั้งนี้
2) ขนาดกลมุ่ ตัวอย่าง มีเกณฑก์ ารคัดเลอื กกลมุ่ ตวั อย่าง ดงั น้ี
ข้ันท่ี 1 จานวนผู้สูงอายุ ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2564 ระบบสถิติทางการทะเบียน
https://stat.bora.dopa.go.th ของกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย
ข้นั ที่ 2 ขอ้ มูลผสู้ ูงอายใุ นพื้นท่ีรับผิดชอบของสานกั งานส่งเสรมิ และสนับสนุนวิชาการ 4
จานวน 6 จังหวัด ไดแ้ ก่ จงั หวัดนครราชสีมา จงั หวัดชัยภูมิ จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดสุรินทร์ จังหวัดศรีสะเกษ และ
จังหวัดยโสธร ซ่งึ มีจานวนประชากรผ้สู ูงอายุรวมทง้ั สิ้น 8,936 คน โดยแยกเปน็ รายพนื้ ท่ี ดงั นี้
ลาดับ ตาบล พ้นื ที่ จงั หวดั จานวน (คน) รวม
อาเภอ หญงิ ชาย
1 มะเกลอื เกา่ สูงเนิน นครราชสีมา 1,086 1,251 2,337
2 โนนสาราญ เมืองชยั ภมู ิ ชยั ภูมิ 671 827 1,498
3 เทศบาลตาบลตาจง ละหานทราย บรุ ีรมั ย์ 1,102 1,236 2,338
4 ตะเคียน กาบเชิง สุรนิ ทร์ 337 401 738
5 เทศบาลตาบลจานแสนไชย หว้ ยทับทนั ศรีสะเกษ 481 593 1,074
6 บากเรือ มหาชนะชยั ยโสธร 420 531 951
รวม 4,097 4,839 8,936
(ทีม่ า : ระบบสถติ ิทางการทะเบยี น https://stat.bora.dopa.go.th (ข้อมูล ณ วนั ที่ 31 กรกฎาคม 2564)
52
ขั้นที่ 3 กาหนดกลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ศึกษาโดยการใช้ตารางสาเร็จรูปของ Taro Yamane
(Yamane,1967) สาหรับการประมาณสัดส่วนท่ีระดับความเช่ือม่ัน 95% และความคลาดเคล่ือนไม่เกิน
±5% ของจานวนผสู้ ูงอายุรวมทงั้ 6 พื้นที่ โดยมสี ูตรการคานวณ ดังนี้
n 1 N 2
Ne
โดย n = ขนาดตัวอย่างทีค่ านวณได้
N = จานวนประชากรทั้งหมดในพื้นที่ศึกษา
e = ค่าความคลาดเคลอื่ นที่ยอมรบั ได้
แทนค่า n = 8,936
1 + 8,936(0.05)2
= 8,936
1 + 8,936(0.0025)
= 8,936
1 + 22.34
= 8,936
23.34
= 382.8620 หรือ 383 ราย
หมายเหตุ : เพิ่มจานวนกลุ่มตัวอย่าง 20% กรณีแบบสอบถามไม่สมบูรณ์ อาสาสมัครไม่สมัครใจตอบ
คาถาม หรือตอบข้อเดียวทุกคาถาม ซึ่งจะได้กลุ่มตัวอย่างท้ังส้ิน 383+20% = 459.6 หรือประมาณ 460
กลุ่มตัวอย่าง และเน่ืองจากกลุ่มตัวอย่างเป็นกลุ่มผู้สูงอายุจึงขอใช้กลุ่มตัวอย่างที่เป็นช่วงผู้สูงอายุวัยต้น
(60-69 ปี)เพ่ิมขึ้นอีก 140 กลุ่มตัวอย่าง ซ่ึงจะรวมกลุ่มตัวอย่างท่ีเป็นข้อมูลเชิงปริมาณท้ังสิ้น 600 กลุ่ม
ตวั อยา่ ง k d
ข้ันท่ี 4 ในการวิจัยครั้งน้ีคณะผู้วิจัยกาหนดกลุ่มตัวอย่างตามกรอบที่ขอรับการ
สนับสนนุ จากกองทุนสง่ เสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (ววน.) ของสานักงานคณะกรรมการส่งเสริม
วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวตั กรรม (สกสว.) ดังน้ี
1) วธิ ีการสมุ่ ตวั อยา่ งในการศึกษาเชิงปริมาณ เพ่อื ให้เกดิ การกระจายตัวอย่างยุติธรรม
ผู้ศกึ ษาจึงกาหนดสุ่มตวั อยา่ งแบบแบ่งชนั้ (Stratified Sampling) โดยมขี นาดตัวอย่างจานวน 600 คน
- จาแนกประชากรออกเป็นกลุม่ ๆ จานวน 6 กล่มุ ตามจงั หวดั ที่รบั ผิดชอบของ
สานักงานส่งเสริมและสนบั สนุนวิชาการ 4
- ใช้การสุ่มแบบง่าย (Simple Random Sampling) เพ่ือสุ่มตัวอย่างจาก
ผู้สงู อายุแต่ละพน้ื ทศี่ ึกษาตามขนาดกลุ่มตัวอยา่ ง
- ตารางการส่มุ ตัวอย่างแบบแบ่งชน้ั
53
รายการ จานวนผู้สูงอายุในพน้ื ที่ศึกษาท้ังหมด จานวน 8,936 คน ยโสธร
นครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรมั ย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ 951
จานวน 2,337 1,498 2,338 738 1,074
ประชากร 600 x 951
สูงอายุแต่ 600 x 2,337 600 x1,498 600 x2,338 600 x 738 600 x1,074
พื้นท่ี (คน) 8,936 8,936 8,936 8,936 8,936 8,936
จานวนขนาด = 63.85
ของกลุ่ม = 156.91 = 100.58 = 156.98 = 49.55 = 72.11 ห รื อ 6 4
ตัวอยา่ งในแต่ หรือ 157คน หรือ 100คน หรอื 157คน หรือ 50 คน หรือ 72 คน คน
ละพ้นื ท่ีศึกษา
(จากขนาด
กลมุ่ ตวั อยา่ ง
ทั้งหมด 600
คน)
3.2 ประชากรในการศึกษาเชงิ คณุ ภาพ
การคัดเลือกผู้เข้าร่วมสนทนากลุ่ม (Focus Group) โดยเลือกผู้ท่ีมีส่วนร่วมในการพัฒนา
คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในพ้ืนท่ี ได้แก่ กลุ่มตัวแทนภาครัฐ ผู้นาชุมชน คณะกรรมการบริหารของโรงเรียน
ผูส้ งู อายุ ผ้นู าทอ้ งถน่ิ /เจา้ หน้าท่ี อปท. ตวั แทนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล ผู้นาท้องที่ ตัวแทนผู้สูงอายุ
ของโรงเรียนผู้สูงอายุ และตวั แทนภาคเี ครือขา่ ยภาคเอกชน(ถ้ามี)
4. วธิ ีการเก็บขอ้ มูล
4.1 การเกบ็ ขอ้ มูลเชิงปริมาณ ใช้แบบสารวจในการเก็บข้อมูลกับผู้สูงอายุในชุมชนศึกษา จานวน
6 ตาบล และจา้ งบุคคลภายนอกในพ้นื ท่เี ปน็ ผู้ดาเนนิ การ โดยกาหนดคุณลกั ษณะผู้สงู อายุ ดังน้ี
- ผสู้ งู อายุ 60 ปีข้นึ ไปในชุมชนที่ศึกษา
- สามารถพดู คยุ ส่ือสารได้โดยใชภ้ าษาไทย
- เปน็ ผ้ยู ินดีให้ความรว่ มมอื ในการศึกษาครัง้ นี้
4.2 การเกบ็ ขอ้ มูลเชงิ คณุ ภาพ ใช้การจัดประชมุ ดงั นี้
- การสนทนากลุ่ม (Focus Group) กับคณะกรรมการบรหิ ารของโรงเรยี นผสู้ งู อายุ
- การถอดบทเรยี นการดาเนินงานของโรงเรียนผู้สูงอายุ กับกลุ่มนักเรียนโรงเรียนผู้สูงอายุ
ในพน้ื ที่
54
5. กระบวนการดาเนนิ การวจิ ยั
1) เสนอโครงร่างงานวิจัยของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ไปยังกองทุน
ส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กองทุน ววน.) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของสานักงาน
คณะกรรมการส่งเสรมิ วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.)
2) กองทนุ สง่ เสรมิ วิทยาศาสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรม สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์
วจิ ยั และนวัตกรรม (สกสว.) แจ้งการจัดสรรงบประมาณประเภท Function-based Research Fund ของ
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ย์
3) ขออนุมัติหลักการโครงการด้านการวิจัยท่ีได้รับการสนับสนุนจากกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์
วิจัยและนวัตกรรม ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของสานักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและ
ความม่ันคงของมนุษย์
4) กระทรวง พม. แจ้งอนุมตั ิหลักการโครงการวจิ ัยของสานักงานส่งเสรมิ และสนับสนุนวิชาการ 1-11
5) ศึกษาแนวคิด ทฤษฎีเก่ียวกับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ เพ่ือให้ทราบถึง หลักการ แนวทาง
ความสาคัญ และการนามาประยุกต์ใช้ในงานวิจัยน้ี โดยการทบทวนเอกสาร วารสาร หนังสือ ตารา และ
งานวิจัยตา่ งๆ
6) ประสานที่ปรึกษาโครงการเพื่อประชุมหารือเพื่อสร้างความเข้าใจโครงการศึกษาวิจัยร่วมกับที่
ปรกึ ษาโครงการและวางแผนการดาเนินงานวิจัย
7) ขอรับการอนุมัติจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช
มงคลธัญบรุ ี
8) ประสานผู้รับผิดชอบหลักของโรงเรียนผู้สูงอายุ ท้ังหมด 6 พื้นท่ี เพ่ือนัดประชุมเพ่ือชี้แจง
โครงการวิจัยแก่หน่วยงานที่เกย่ี วข้องกับโรงเรยี นผู้สงู อายุในพ้ืนท่ี
9) ประสานที่ปรึกษาโครงการประชมุ หารือเพื่อสร้างแบบสอบถามเชิงปริมาณร่วมกบั ท่ีปรึกษาโครงการ
10) จดั ประชมุ ถอดบทเรยี นการดาเนินงานของโรงเรยี นผสู้ งู อายุในพ้ืนที่ศึกษา
11) ปรับปรุงแบบสอบถามและลงพืน้ ท่ี try out แบบสอบถาม และปรับปรงุ แบบสอบถาม
12) อธิบาย สร้างความเข้าใจและชี้แจงแบบสอบถามเชิงปริมาณให้กับผู้ว่าจ้างในการเก็บแบบ
ข้อมูลในพ้ืนที่ และประสานผู้ว่าจ้างดาเนินการเก็บข้อมูล จานวน 600 ชุด พร้อมท้ังประสาน ผู้ว่าจ้างใน
การประมวลผลข้อมูล
13) จดั ประชมุ เชงิ ปฏิบัติการเกบ็ ข้อมลู เชงิ คุณภาพ โดยใช้การสนทนากลุ่มย่อย (Focus Group ใน
พนื้ ท่ีศึกษา
14) จัดประชุมหารอื เพอ่ื วเิ คราะห์ขอ้ มลู เชงิ ปรมิ าณและขอ้ มลู เชิงคุณภาพ
15) ประชมุ เพ่อื ยกรา่ งผลการศึกษารว่ มกับท่ีปรกึ ษาโครงการ
16) ประสานการจัดเวทีวิพากษ์การนาเสนอผลการศกึ ษา
17) จัดเวทคี นื ขอ้ มลู ให้แก่ชมุ ชนในพืน้ ทีศ่ กึ ษา 6 จังหวัด
6. เคร่อื งมือวิจยั
6.1) เคร่ืองมือเชิงปริมาณ แบบสารวจได้สร้างขึ้นตามข้อมูลที่ได้จากการหารือร่วมกับที่ปรึกษา
ในช่วงระยะแรก รวมทั้งการศึกษาจากเอกสารวิชาการต่างๆ นอกจากน้ันยังได้ประยุกต์แบบการวัดต่างๆ
มาใช้ในการเก็บข้อมูล ได้แก่ เคร่ืองมือในการวิจัยประยุกต์ใช้จากโครงการวิจัยคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ
ทเี่ ข้าโรงเรยี นผู้สูงอายุ จงั หวัดสระบุร(ี นางพัชราภรณ์ พฒั นะ, 2560) และเครอ่ื งมอื ในการวจิ ัยประยกุ ต์จาก
55
โครงการขบั เคลอื่ นระบบบรกิ ารอย่างบรู ณาการเพอ่ื สิทธิและสุขภาวะของผู้สูงอายุในระดับชุมชน (ศศิพัฒน์
ยอดเพชร และคณะ, 2553) เครอื่ งมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในครั้งนี้ คือ แบบสารวจ ประกอบด้วย
5 ส่วน ดังน้ี
ส่วนท่ี 1 ข้อมูลทวั่ ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม เปน็ คาถามชนิดเลือกตอบ
สว่ นที่ 2 ปจั จัยสนับสนนุ ทางสงั คมของผสู้ งู อายุ ดังน้ี
สัมพันธภาพในครอบครัว เป็นคาถามเก่ียวกับชนิดเลือกตอบในระดับการ
ปฏิบตั ิประจาวนั
เครอื ขา่ ยทางสังคมและการเก้ือกูล
- เป็นการสนับสนุนจากเครือข่าย ที่ถามเกี่ยวกับการได้รับความ
ชว่ ยเหลือจากผู้อนื่ อย่างไร
- เปน็ คาถามเกี่ยวกบั ความตอ้ งการของผ้สู ูงอายุตามประเด็น
เปน็ แบบวัดมาตรสว่ นประมาณค่า 6 ระดับ คือ ไมต่ อ้ งการ นอ้ ยทีส่ ดุ นอ้ ย ปานกลาง มาก และมากท่สี ดุ
ส่วนที่ 3 คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ ผู้วิจัยใช้แบบสอบถามคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุของ
องค์การอนามัยโลกชุดย่อฉบับภาษาไทย WHOQOL-BREF-THAI จานวน 24 ข้อ ซึ่งค่าความเชื่อม่ันของ
เคร่ืองมือโดยมีค่าความเช่ือม่ัน (Reliability) 0.8406 มีความตรง (Validity) 0.6515 โดยเทียบกับแบบวัด
WHOQOL-100 ฉบับภาษาไทยที่ WHO ยอมรับอย่างเป็นทางการ ซ่ึงมีองค์ประกอบของคุณภาพชีวิต 4 ด้าน
ดงั นี้ 1) ด้านร่างกาย คือ การรับรู้สภาพทางด้านร่างกายของบุคคล ซ่ึงมีผลต่อชีวิตประจาวัน 2) ด้านจิตใจ
คอื การรบั รสู้ ภาพทางจิตใจของตนเอง 3) ด้านความสัมพันธ์ทางสังคม คือ การรับรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมท่ีมี
ผลต่อการดาเนินชีวิต เปน็ มาตราส่วนประมาณคา่ (Rating Scale) ชนิด 5 ระดบั คอื
ไมเ่ ลย หมายถงึ ทา่ นไมม่ ีความพึงพอใจเลย
เลก็ นอ้ ย หมายถงึ ทา่ นมคี วามพึงพอใจเลก็ น้อย
ปานกลาง หมายถึง ท่านมีความพงึ พอใจปานกลาง
มาก หมายถึง ท่านมีความพงึ พอใจมาก
มากทส่ี ุด หมายถึง ท่านมคี วามพงึ พอใจมากทสี่ ุด
ส่วนท่ี 4 การเข้าถึงสิทธิต่างๆ ของผู้สูงอายุ เป็นคาถามชนิดเลือกตอบ เกี่ยวกับสิทธิ
ผสู้ งู อายุ การเข้าถงึ บรกิ าร และการประสบปัญหาในการใชบ้ รกิ าร
ส่วนที่ 5 ความต้องการของผู้สูงอายุ และความคาดหวังต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ เป็น
คาถามแสดงความคิดเห็นความต้องการและความคาดหวัง จานวน 5 ด้าน ได้แก่ ด้านสุขภาพ ด้านจิตใจ
ด้านสงั คม ดา้ นสภาพแวดล้อม และดา้ นความมนั่ คง/สวัสดิการ
6.2) เครื่องมือในการสนทนากลุ่ม การสนทนากลุ่ม แบ่งระยะเวลาออกเป็น 2 ช่วงเวลา โดยแบบ
สนทนาได้จัดทาข้นึ ตามวตั ถุประสงคข์ องการเกบ็ ข้อมูลแต่ละช่วงดังน้ี
ชว่ งระยะเวลาที่ 1 เพื่อศกึ ษาระดับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในท้องถิ่น และนาข้อมูลบางส่วนมา
เป็นแนวทางในการศึกษาเชิงปริมาณ และสนทนากลุ่มเก่ียวกับการกลไกในการดาเนินงานของโรงเรียน
ผสู้ งู อายุ
ช่วงระยะเวลาที่ 2 แนวทางสนทนากลุ่มเพ่ิมประเดน็ ดา้ นบทบาทและการมีสว่ นรว่ มกิจกรรมทาง
สังคมผู้สงู อายใุ นพ้ืนที่ และการถอดบทเรยี นการดาเนนิ งานท่ผี า่ นมาของโรงเรียนผู้สูงอายุ
56
7. การวิเคราะห์
การวเิ คราะห์ขอ้ มลู เชิงปริมาณ โดยการใช้โปรแกรมสาเร็จรูปและใช้สถิติในการวิเคราะห์ และการ
วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพจะเป็นการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content Analysis) พรรณนารายละเอียด
ตคี วาม โดยวิธกี ารสัมภาษณเ์ ชงิ ลึก และการค้นหาเอกสารที่เกยี่ วข้อง ดังนี้
1) ใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบ่ียงเบน
มาตรฐาน และนาเสนอข้อมลู ในรูปแบบตาราง Max - Min แ บ่ ง ค่ า เ ฉ ล่ี ย ข อ ง
2) การกาหนดค่าของระดับของคา่ เฉลย่ี โดยใช้สูตร I
ระดบั คะแนนทม่ี ี 5 ระดบั ดังน้ี
1.00 - 1.80 หมายถึง ความคิดเห็นหรือความตอ้ งการในระดบั น้อยที่สดุ
1.81 - 2.60 หมายถึง ความคิดเห็นหรือความต้องการในระดับน้อย
2.61 - 3.40 หมายถงึ ความคิดเห็นหรือความตอ้ งการในระดบั ปานกลาง
3.41 - 4.20 หมายถึง ความคิดเหน็ หรือความต้องการในระดบั มาก
4.21 - 5.00 หมายถึง ความคิดเห็นหรอื ความตอ้ งการในระดบั มากทสี่ ดุ
3) แบบวัดระดับคุณภาพชีวิต wHOQOL-26 ข้อคาถาม มีคาถามที่มีความหมายเชิงบวก 25 ข้อ
และขอ้ คาถามท่มี ีความหมายเชิงลบ 1 ขอ้ คอื ข้อ 12 โดยมีการให้คะแนนคาถาม ดังนี้
ขอ้ คาถามเชงิ บวก ขอ้ คาถามเชงิ ลบ
ตอบ คะแนน ตอบ คะแนน
ไม่เคย 1 ไม่เคย 5
เล็กนอ้ ย 4
เล็กน้อย 2 ปานกลาง 3
มาก 2
ปานกลาง 3 มากทส่ี ดุ 1
มาก 4
มากทส่ี ุด 5
การแปลผลระดบั คะแนนคุณภาพชีวิตแยกตามองค์ประกอบ
องค์ประกอบ ระดบั คะแนนคณุ ภาพชวี ิต
คณุ ภาพชีวิตท่ีไม่ดี คณุ ภาพชีวิตกลาง คณุ ภาพชีวติ ทด่ี ี
ด้านสุขภาพกาย (ข้อ 1,2,3,4,5,6,7) 7-16 17-26 27-35
ด้านจิตใจ (ขอ้ 8,9,10,11,12,13) 6-14 15-22 23-30
ด้านสัมพันธภาพทางสังคม (ข้อ 14,15,16,17) 3-7 8-11 12-15
ด้านส่งิ แวดล้อม(ข้อ 18,19,20,21,22,23,24,25) 8-18 19-29 30-40
คณุ ภาพชวี ิตโดยรวม 26-60 61-95 96-130
8. จรยิ ธรรมในการวิจยั
โครงการวจิ ัยแนวทางการพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ผสู้ งู อายใุ นท้องโดยใช้โรงเรียนผู้สูงอายุเป็นฐาน ได้ผ่าน
การรับรองการพิจารณาจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
วันที่รับรอง 11 พฤศจิกายน 2564 วันหมดอายุ 10 พฤศจิกายน 2565 (COA No.07 : RMUTT_REC
No.Full 07/64)
57
บทท่ี 4
ผลการศึกษา
ผลการศึกษาเร่ือง แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในท้องถิ่นโดยใช้โรงเรียน
ผู้สูงอายุเป็นฐาน ผู้วิจัยได้ดาเนินการสารวจข้อมูลเชิงปริมาณได้ดาเนินการสารวจข้อมูลเชิงเอกสาร
ของหน่วยงานที่ดาเนินการเกี่ยวกับบริการสวัสดิการสาหรับผู้สูงอายุในพ้ืนที่ศึกษา ข้อมูลเก่ียวกับ
ข้อมูลท่ัวไปของบุคคล ระดับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในท้องถ่ิน และความต้องการในการพัฒนา
คุณภาพชวี ติ ผ้สู ูงอายใุ นทอ้ งถนิ่ โดยดาเนินการเก็บแบบสอบสารวจ จานวน 600 ชุด นอกจากน้ียังได้
มีการดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพท่ีประกอบด้วย การก่อเกิด กิจกรรมของโรงเรียน
ผู้สูงอายุ การบริหารจัดการ ผู้สนับสนุน ปัญหาอุปสรรค และความสาเร็จในการดาเนินงานของ
โรงเรียนผู้สูงอายุ รวมทง้ั แนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในท้องถิ่นโดยใช้โรงเรียนผู้สูงอายุ
ซง่ึ ข้อมูลทน่ี าเสนอประกอบด้วย
4.1 วตั ถุประสงค์ข้อ 1 เพื่อศึกษาระดับคุณภาพชีวิตของผ้สู ูงอายใุ นท้องถน่ิ
4.2 วัตถปุ ระสงคข์ ้อ 2 เพือ่ ศกึ ษาความต้องการในการพฒั นาคุณภาพชีวติ ผูส้ ูงอายุในท้องถิ่น
4.3 วัตถปุ ระสงคข์ อ้ 3 เพื่อศึกษาแนวทางการพฒั นาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุโดยใช้โรงเรียน
ผู้สูงอายุเป็นฐาน
4.1 วตั ถุประสงค์ข้อ 1 เพ่อื ศึกษาระดับคณุ ภาพชวี ิตของผู้สูงอายใุ นท้องถ่นิ
4.1.1 ข้อมูลส่วนบุคคล
1) ขอ้ มลู พ้ืนฐานของผสู้ งู อายุ ประกอบดว้ ย เพศ อายุ สถานภาพ ศาสนา ระดับ
การศกึ ษา และความพิการ ตามตารางที่ 4.1 โดยผลการศึกษา ดังนี้
ภาพรวมผู้สูงอายุส่วนใหญ่ เป็นเพศหญิง ร้อยละ 61.2 มากกว่า เพศชาย ท่ีมีเพียง
ร้อยละ 38.8 เม่ือพิจารณารายจังหวัดท้ัง 6 จังหวัด พบว่า ผู้ตอบแบบสารวจส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง
มากกว่ารอ้ ยละ 50
เม่ือจาแนกอายุของผู้สูงอายุตามกลุ่มวัยในภาพรวม พบว่า ร้อยละ 59.7 เป็นกลุ่ม
ผู้สูงอายุวัยต้น (อายุ 60-69 ปี) ร้อยละ 30.0 เป็นกลุ่มผู้สูงอายุวัยกลาง (อายุ 70-79 ปี) และร้อยละ
10.3 เปน็ กลุ่มผสู้ ูงอายวุ ัยปลาย (อายุ 80 ปขี น้ึ ไป) และเมือ่ พิจารณาช่วงอายุรายจังหวัด พบว่า ท้ัง 6 จังหวัด
มีผูต้ อบแบบสารวจส่วนใหญ่อยูใ่ นช่วงอายุวัยต้น (60-69 ป)ี มากกว่าร้อยละ 50
ส่วนสถานภาพสมรสของผสู้ ูงอายุในภาพรวม พบว่าร้อยละ 65.0 สมรสและยังอาศัย
อยู่กับคู่สมรส ร้อยละ 27.0 เป็นหม้าย ร้อยละ 5.0 เป็นโสด ร้อยละ 1.8 หย่าร้าง/แยกทางกัน และ
เคยสมรสแต่ไมท่ ราบสถานะ รอ้ ยละ 1.2 และเม่ือพิจารณารายจังหวัด พบว่า ผู้ตอบแบบสารวจท้ัง 6 จังหวัด
มีสถานะสมรสแล้ว ร้อยละ 50 ขึ้นไป แต่จังหวัดยโสธรและจังหวัดศรีสะเกษที่ผู้ตอบแบบสารวจ
มีสถานะเป็นหมา้ ยใกลเ้ คียงกับสถานะสมรส
สาหรับศาสนาภาพรวม พบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ ร้อยละ 99.3 นับถือศาสนาพุทธ
โดยร้อยละ 0.7 นบั ถอื ศาสนาคริสต์ ซงึ่ พบในจงั หวัดนครราชสมี า จงั หวัดชัยภมู ิ และจังหวัดยโสธร
ภาพรวมด้านการศึกษา พบว่า ร้อยละ 74.3 ผู้สูงอายุจบการศึกษาระดับประถมศึกษา
รองลงมา ร้อยละ 13.0 ไมไ่ ดร้ ับการศกึ ษา อ่ืนๆ ร้อยละ 7.2 จบมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า
รอ้ ยละ 2.5 จบมธั ยมศึกษาตอนต้นรอ้ ยละ 1.8 และมีผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ร้อยละ 1.2 เมื่อ
พิจารณารายจังหวัด พบว่า เกือบจังหวัดผู้ตอบแบบสารวจจบชั้นประถมศึกษา มากกว่าร้อยละ 50
ยกเว้นจงั หวดั ศรสี ะเกษ ท่มี รี ้อยละ 48.6
ข้อมูลพนื้ ฐาน ภาพรวม บุรรี ัมย์ ตา
ข้อมูลพ้ืนฐ
จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ นครราชสมี า
(N=600) (N=157)
จานวน รอ้ ยละ
เพศ - หญิง 367 61.2 96 61.1 (N=157)
61 38.9
- ชาย 233 38.8 103 65.6 95 60.5
31 19.7 62 39.5
อายุ - 60-69 ปี 358 59.7 23 14.6 96 61.1
111 70.7 49 31.2
- 70-79 ปี 180 30.0 36 22.9 12 7.6
- 80 ปขี ้ึนไป 62 10.3 3 1.9 86 54.8
6 3.8 42 26.8
สถานภาพสมรส 1 0.6 19 12.1
- สมรส 390 65.0 4 2.5
- หม้าย 162 27.0 157 100.0 6 3.8
- โสด 30 5.0 --
- หยา่ ร้าง/ 11 1.8 155 98.7
แยก 2 1.3
- เคยสมรส 7 1.2
แต่ไมท่ ราบ
สถานะ
ศาสนา
- พทุ ธ 596 99.3
- ครสิ ต์ 4 0.7
ารางท่ี 4.1 สุรนิ ทร์ ยโสธร ศรีสะเกษ
ฐานของผู้สูงอายุ
จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ
ชยั ภูมิ (N=50) (N=64) (N=72)
จานวน ร้อยละ
(N=100)
62 62.0 30 60.0 44 68.8 40 55.6
38 38.0 20 40.0 20 31.3 32 44.4
60 60.0 26 52.0 34 53.1 39 54.2
35 35.0 19 38.0 27 42.2 19 26.4
5 5.0 5 10.0 3 4.7 14 19.4
58
84 84.0 36 72.0 36 56.3 37 51.4
13 13.0 14 28.0 26 40.6 31 43.1
3 3.0 - - 2 3.1 3 4.2
- - - - - - 1 1.4
--------
99 99.0 50 100.0 63 98.4 72 100.0
1 1.0 - - 1 1.6 -
ข้อมลู พ้นื ฐาน ภาพรวม บุรีรมั ย์ ตารางท่ี 4.1
จานวน ร้อยละ ขอ้ มูลพ้นื ฐานขอ
ระดบั การศกึ ษา (N= 600) จานวน รอ้ ยละ
-ไม่ได้เรยี นหนงั สอื (N=157) นครราชสีมา
-จบประถมศกึ ษา 78 13.0
-จบมธั ยมศึกษาตอนต้น 446 74.3 14 8.9 จานวน ร้อยละ
-จบมัธยมศึกษาตอน 11 1.8 130 82.8 (N=157)
ปลาย 4 2.5
-จบปริญญาตรี 15 2.5 26 16.6
-อน่ื ๆ 3 1.9 126 80.3
ไม่พกิ าร 7 1.2 3 1.9
พิการ 43 7.2 3 1.9
555 92.5 3 1.9 1 0.6
- ทางการมองเหน็ 45 7.5 148 94.3
- ทางการ 15 33.3 9 5.7 1 0.6
เคล่อื นไหว 30 66.7 1 0.6 --
8 5.1 145 92.4
12 7.6
6 3.8
6 3.8
(ตอ่ ) สรุ นิ ทร์ ยโสธร ศรสี ะเกษ
องผู้สงู อายุ
จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ
ชัยภมู ิ (N=50) (N=64) (N=72)
ะ จานวน รอ้ ยละ
(N=100)
1 1.0 1 2.0 - - 36 50.0
57 57.0 40 80.0 58 90.6 35 48.6
1 1.0 2 4.0 1 1.6 - -
7 7.0 - - 3 4.7 1 1.4
- - 2 4.0 1 1.6 - - 59
34 34.0 5 10.0 1 1.6 - -
93 93.0 40 80.0 60 93.8 69 95.8
7 7.0 10 20.0 4 6.2 3 4.2
- - 5 10.0 1 1.6 2 2.8
7 7.0 5 10.0 3 4.6 1 1.4
60
2) สถานภาพการทางาน รายได้ และหน้สี นิ ของผู้สงู อายุ
การสารวจสถานภาพการทางานของผ้สู ูงอายุภาพรวม พบว่า ร้อยละ 51.5 ผู้สูงอายุ
ไม่ได้ทางาน แล้วร้อยละ 48.5 ยังคงทางานเชิงเศรษฐกิจ เม่ือพิจารณาแยกรายจังหวัดท้ัง 6 จังหวัด
พบวา่ ผสู้ งู อายทุ กุ จังหวดั ไมไ่ ด้ทางานมากกวา่ ร้อยละ 40
ภาพรวมของการทางานเชิงเศรษฐกิจ พบว่า ร้อยละ 30.3 เป็นเกษตรกร รองลงมา
รอ้ ยละ 11.5 รบั จา้ งท่ัวไป และ ร้อยละ 3.8 ทาธรุ กิจสว่ นตัว เม่อื พจิ ารณาแยกรายจังหวัด พบว่า การ
ทางานเชิงเศรษฐกิจของผู้ตอบแบบสารวจเป็นไปในทิศทางเดียวกับภาพรวม คือ เป็นเกษตรกร
รบั จ้างทัว่ ไป และธรุ กิจส่วนตัว (ตารางที่ 4.2)
ภาพรวมของการทางานด้านสังคม พบว่า ร้อยละ 10.2 จาแนกเป็นทั้งที่ได้รับ
ค่าตอบแทนและไม่ได้รับค่าตอบแทน โดยร้อยละ 6.2 จะได้รับค่าตอบแทน ร้อยละ 4.0 ไม่ได้รับ
ค่าตอบแทน โดยส่วนใหญ่ผู้ตอบแบบสารวจจะทางานเชิงสังคมท่ีได้รับค่าตอบแทน(อสม./กรรมการ
เลือกตั้ง/ส.อบต.) เม่ือพิจารณารายจังหวัด พบว่า จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดบุรีรัมย์
และจังหวัดยโสธร ท่ีผู้ตอบแบบสารวจทางานเชิงสังคมท่ีได้รับค่าตอบแทน ร้อยละ 7.6 ร้อยละ 6.0
ร้อยละ 5.7 และร้อยละ 9.4 ตามลาดับ สาหรับจังหวัดสุรินทร์และจังหวัดศรีสะเกษที่ผู้ตอบแบบ
สารวจทางานเชิงสังคมแบบไม่ไดร้ ับคา่ ตอบแทน รอ้ ยละ 12.0 และร้อยละ 9.7 ตามลาดับ (ตารางท่ี 4.2)
แหล่งท่มี าของรายไดห้ ลักผู้สูงอายุภาพรวมส่วนใหญ่ ร้อยละ 67.7 มาจากเบ้ียยังชีพ
ผสู้ งู อายุ รองลงมา คือ รอ้ ยละ 19.2 มาจากการทางานของผู้สูงอายุ โดยมาจากเบ้ียยังชีพผู้สูงอายุกับ
เบี้ยยังชพี คนพกิ าร ร้อยละ 7.40 เม่ือพิจารณารายจังหวัด พบวา่ แหลง่ ทม่ี าของรายได้หลักมาจากเบยี้ ยังชพี
ผสู้ งู อายุ การทางาน ซ่งึ เป็นไปในทิศทางเดียวกับภาพรวมของผู้ตอบแบบสารวจ (ตารางท่ี 4.3)
สาหรบั การมหี นส้ี ินภาพรวม พบวา่ ส่วนใหญ่ผู้สูงอายุ ร้อยละ 56.8 ไม่มีหนี้สิน และ
รอ้ ยละ 43.17 มหี น้สี นิ เม่ือพิจารณารายจังหวดั พบว่า จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดศรีสะเกษ
ผู้ตอบแบบสารวจส่วนใหญ่ไม่มีหน้ีสินมากกว่าร้อยละ 60 และจังหวัดท่ีผู้ตอบแบบสารวจส่วนใหญ่มี
หนีส้ นิ มากกวา่ ร้อยละ คอื จงั หวดั บุรีรัมย์ จงั หวัดสรุ นิ ทร์ และจังหวดั ยโสธร
หน้ีสินท่ีผู้ตอบแบบสารวจส่วนใหญ่มีหนี้ คือ หนี้สินในระบบ ได้แก่ ธ.ก.ส., กองทุน
หมบู่ า้ น, สหกรณ์, กล่มุ สจั จะหมบู่ ้าน, กลุ่มออมทรพั ย)์ เปน็ ต้น(ตารางท่ี 4.3)
จากข้อมูลเชิงปริมาณสอดคล้องกับข้อมูลเชิงคุณภาพ พบว่า สังคมไทยในปัจจุบันน้ีส่วนมาก
ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชนที่เกี่ยวข้องกับทาธุรกรรมทางการเงินของหมู่บ้าน อาทิเช่น
การทผี่ ้สู ูงอายุยังมีหนสี้ นิ อยู่ โดยมีหน้ีสนิ เกอื บร้อยละ 50 ของกลุ่มตัวอย่าง เป็นหน้ีสินในระบบ ได้แก่
ธ.ก.ส., กองทุนหมูบ้าน, สหกรณ์, กลุ่มออมทรัพย์, กลุ่มสัจจะออมทรัพย์ ถึงร้อยละ 99.7 อันเนื่องมาจาก
ผู้สูงอายุยังมีรายได้ส่วนใหญ่มาจากเบ้ียยังชีพผู้สูงอายุ และจากการทางาน ประกอบกับสถานการณ์
การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ท่ีส่งผลให้สมาชิกท่ีต้องหารายได้เข้าครอบครัวบาง
ครอบครวั ตอ้ งกลับมาอยู่บ้าน อันเนื่องจากการถูกเลิกจ้างบ้าง การพักรักษาตัวจากโรคติดต่อบ้าง เม่ือครอบครัว
ประสบปัญหาผู้สูงอายุสว่ นใหญ่ที่ยังคงอาศัยอยูก่ ับคสู่ มรส บุตรและหลานจึงทาใหเ้ กิดการกู้เงิน/การหยิบยืมเงิน
จากกล่มุ /องค์กรในชมุ ชน เพ่อื นามาเปน็ ค่าใช้จ่ายในครอบครัว
ตารางที่
สถานภาพการทางานในป
สถานภาพการทางานปจั จบุ ัน ภาพรวม บุรรี ัมย์ นครร
จานวน (N= ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน
- ไมไ่ ด้ทางาน (N=157) (N=157
- ทางานเชงิ เศรษฐกจิ 600)
- เก่ยี วกบั ราชการ(ราชการบานาญ) 85 54.1 76
- เกษตรกร 309 51.5
- รับจ้างทวั่ ไป 291 48.5 72 45.9 81
- งานบรกิ าร 5 0.8 2 1.3 1
- ธรุ กิจสว่ นตวั
- อน่ื ๆ (ค้าขาย/ค้าขายอยูก่ ับบา้ น/จบั ปลา 179 29.9 47 30.0 31
69 11.5 19 12.1 39
ลงตาข่าย/เลย้ี งปลา/เลย้ี งไก/่ ทาขนมขาย/ 1 0.2 1 0.6 -
จักสาน) 23 3.8 3 1.9 8
14 2.3 - -2
- ทางานเชิงสังคม
61 10.2 15 9.6 12
- ไดร้ บั คา่ ตอบแทน (อสม./กรรมการ 37 6.2 9 5.7 12
เลือกตัง้ /อบต.)
24 4.0 6 3.9 -
- ไมไ่ ดร้ บั ค่าตอบแทน (อพปร./กรรมการ
หมู่บ้าน/สวสั ดกิ ารชมุ ชน/กรรมการร้านคา้
ชุมชน/ประธาน/รองประธานชุมชน/
เลขานุการชมรมผู้สงู อาย/ุ ประธานกลุ่มสตรี
พัฒนาตาบล)
4.2
ปัจจุบนั ของผสู้ งู อายุ
ราชสมี า ชยั ภมู ิ สรุ นิ ทร์ ยโสธร ศรีสะเกษ
น ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ
7) (N=100) (N=50) (N=64) (N=72)
48.4 41 41.0 22 44.0 28 43.8 57 79.2
51.6 59 59.0 28 56.0 36 56.3 15 20.8
0.6 - - - - 1 1.6 1 1.4
19.8 43 43.0 27 54.0 30 46.9 1 1.4 61
24.8 2 2.0 - - 2 3.1 7 9.7
- - -------
5.1 3 3.0 1 2.0 2 3.1 6 8.3
1.3 11 11.0 - - 1 1.6 - -
7.6 6 6.0 8 16.0 11 17.2 9 12.5
7.6 6 6.0 2 4.0 6 9.4 2 2.8
- - - 6 12.0 5 7.8 7 9.7
ตารางท่ี
แหล่งที่มารายไดห้ ลกั และ
แหล่งทมี่ ารายได้หลัก ภาพรวม บรุ รี มั ย์ นครราชสมี า
จานวน รอ้ ยละ
- การทางาน (N= 600) จานวน ร้อยละ จานวน ร้อย
- คสู่ มรส 115 19.2 (N=157) (N=157)
- บุตร
- พี่ น้อง ญาติ 2 0.3 44 28.0 32 20
- เบ้ยี ยงั ชพี ผูส้ ูงอายุ 26 4.3 -- --
- บาเหน็จ/บานาญ 1 0.2 2 1.3 5 3.
ข้าราชการ 406 67.7 1 0.6 --
- เบ้ียยังชพี ผู้สูงอาย+ุ เบ้ยี ยัง 5 0.9 99 54.8 107 68
ชีพผู้พกิ าร 45 7.4 2 1.2 1 0.
9 14.1 12 7.
หน้ีสนิ 341 56.8
- ไมม่ หี น้สี ิน 259 43.2 60 38.2 107 68
- มีหน้ีสิน 257 42.9 97 61.8 50 31
- ในระบบ (ธ.ก.ส., กองทนุ 97 61.8 49 31
หมู่บ้าน, สหกรณ์,กลุ่มสัจจะ 2 0.3
หมบู่ ้าน,กล่มุ ออมทรพั ย์) -- 1 0.
- นอกระบบ
4.3
ะหนีส้ ินของผสู้ ูงอายุ
า ชัยภมู ิ สรุ นิ ทร์ ยโสธร ศรสี ะเกษ
ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
(N=100) (N=50) (N=64) (N=72)
0.4 31 31.0 - - 7 11.0 1 1.4
- 2 2.0 - - - - - -
.2 16 16.0 1 2.0 2 3.2 - -
- - -------
8.2 44 44.0 39 78.0 50 78.1 67 93.0
.6 - - - - 1 1.6 1 1.4
.6 7 7.0 10 20.0 4 6.2 3 4.2 62
8.2 62 62.0 17 34.0 30 46.9 64 88.9
1.8 38 38.0 33 66.0 34 53.1 8 11.1
1.2 38 38.0 33 66.0 33 51.5 8 11.1
.6 - - - - 1 1.6 - -
63
3) การอาศัยอย่รู ว่ มกันของคนในครอบครัวของผูส้ ูงอายุและการเปน็ สมาชิกของ
โรงเรยี นผู้สูงอายุ
การสารวจการอยู่อาศัยของคนในครอบครัวของผู้สูงอายุภาพรวม พบว่า ร้อยละ 37.8
อาศัยอยู่กับคู่สมรสและบุตรหลาน รองลงมา คือ ร้อยละ 31.2 อาศัยอยู่กับบุตร/หลาน ร้อยละ 20.3 ร้อยละ
7.7 และรอ้ ยละ 3.0 อาศยั อยู่กบั ค่สู มรส อาศัยอย่คู นเดียว และอาศยั อย่กู บั ญาติ ตามลาดบั
เม่ือพิจารณาแยกรายจังหวัดของการอยู่อาศัยของครอบครัวผู้ตอบแบบสารวจ พบว่า
จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดสุรินทร์ และจังหวัดยโสธร ผู้ตอบแบบสารวจจะ
อาศัยอยู่กบั คู่สมรสและบุตรหลาน อาศยั อยกู่ บั บตุ รหลาน และอาศยั อย่กู บั ค่สู มรส สาหรับจังหวัดศรีสะเกษ
ผู้ตอบแบบสารวจอาศยั อยูก่ บั คูส่ มรสและบตุ รหลาน อาศัยอยู่กบั บุตรหลาน และอาศัยอยูค่ นเดยี ว
เมื่อพิจารณาการเป็นสมาชิกของโรงเรียนผู้สูงอายุภาพรวม พบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ ร้อยละ
79.7 ไม่ได้เป็นสมาชิกของโรงเรียนผู้สูงอายุ และร้อยละ 20.3 เป็นสมาชิกโรงเรียนผู้สูงอายุ และเมื่อแยก
รายจังหวัด พบว่า จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดยโสธร และจังหวัดศรีสะเกษ
ผู้ตอบแบบสารวจส่วนใหญ่ไม่เป็นสมาชิกโรงเรียนผู้สูงอายุ โดยมีมากกว่าร้อยละ 60 และมีเพียงจังหวัด
สุรินทร์ที่ผูต้ อบแบบสารวจสว่ นใหญเ่ ป็นสมาชิกของโรงเรยี นผสู้ งู อายถุ ึงรอ้ ยละ 82.0 (ตารางท่ี 4.4)
ตารางท่ี
การอยู่อาศัยของครอบครวั ผู้สงู อายุแ
อยูอ่ าศัยร่วมกับ ภาพรวม บรุ ีรมั ย์ นครราชส
- อยคู่ นเดยี ว จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร
- อยกู่ ับบุตร/หลาน (N= 600) (N=157) (N=157)
- อยูก่ ับคสู่ มรส
- อยู่กบั คสู่ มรสและบตุ ร 46 7.7 12 7.6 13
หลาน 187 31.2 45 28.7 57
- อยกู่ บั ญาติ 122 20.3 29 18.5 38
227 37.8 69 43.9 42
สมาชกิ โรงเรยี นผสู้ งู อายุ
- ไม่เปน็ สมาชิก 18 3.0 2 1.3 7
- เปน็ สมาชกิ
478 79.7 146 93.0 153
122 20.3 11 7.0 4
4.4
และเปน็ สมาชิกโรงเรยี นผูส้ ูงอายุ
สีมา ชยั ภมู ิ สรุ นิ ทร์ ยโสธร ศรีสะเกษ
ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
(N=100) (N=50) จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ
(N=64) (N=72)
8.3 7 7.0 4 8.0
36.3 16 16.0 12 24.0 4 63 6 8.3
24.2 32 32.0 9 18.0 28 43.8 29 40.3
26.7 44 44.0 24 48.0 12 18.8 2 2.8
18 28.1 30 41.7
4.5 1 1.0 1 2.0 2 3.1 5 6.9 64
97.5 63 63.0 9 18.0 48 75.0 59 81.9
2.5 37 37.0 41 82.0 16 25.0 13 18.1
65
จากขอ้ มูลเชิงคณุ ภาพมีรายละเอยี ดเพม่ิ เติมว่า ผู้สูงอายุกลุ่มวัยต้น (60-69 ปี) ท่ีมีสุขภาพ
แข็งแรง ยังพอช่วยเหลือตัวเองได้ก็ยังคงทางานอยู่ เช่น การทาสวน ไร่นา การรับจ้างทั่วไป ซึ่งเป็นอาชีพ
เกษตรกรรมที่เป็นอาชีพหลักและเป็นอาชีพด้ังเดิมอยู่แล้วในสังคมชนบทของไทย โดยมีแหล่งที่มารายได้
หลักของผู้สูงอายุมาจากเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ รองลงมาคือ รายได้จากการทางาน ทาให้ผู้สูงอายุมีรายได้ช่วย
บตุ รหลานเพ่ือเปน็ ค่าใชจ้ ่ายในครอบครัวอีกทางหนึ่ง ซึ่งผูส้ ูงอายสุ ว่ นใหญย่ งั คงอาศัยอยู่กบั ค่สู มรสและบตุ รหลาน
และยงั คงพบผสู้ งู อายุบางส่วนที่ยงั ทางานเชงิ สังคมอ่ืนท่ีสามารถช่วยชุมชนได้ เช่น การเป็นอาสาสมัครต่างๆ
แสดงให้เหน็ ถงึ บทบาทของผู้สูงอายุทเ่ี ปน็ ผู้ให้กับครอบครัวและชุมชน ตามสถานภาพทางสังคมและสภาวะ
ร่างกายทยี่ งั เอือ้ อานวย
จากขอ้ มูลเชิงปริมาณสอดคล้องกับขอ้ มูลเชิงคุณภาพ พบว่า ผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรมของ
โรงเรียนผูส้ ูงอายุเพยี งรอ้ ยละ 20.3 แต่เลอื กโอกาสในการเข้ารว่ มกจิ กรรมของหมู่บา้ นท่เี กี่ยวข้องกับเร่ือง
การทาธุรกรรมทางการเงิน โดยพิจารณาได้จากมีผู้สูงอายุเกือบครึ่งหนึ่ง (ร้อยละ 43.2) มีหนี้สิน และเป็น
หนี้สินในระบบ(ธ.ก.ส./กองทุนหมู่บ้าน/สหกรณ์/กลุ่มออมทรัพย์/กลุ่มสัจจะ) ถึงร้อยละ 42.9 จึงส่งผลให้
ผู้สงู อายุไม่สนใจการเข้ารว่ มเปน็ สมาชกิ /กิจกรรมของโรงเรยี นผสู้ งู อายุ ซึ่งการเข้าร่วมกิจกรรมเหล่าน้ันจะมี
ผู้สูงอายุสนใจเฉพาะในช่วงแรก และเร่ิมลดจานวนลงเรื่อยๆ เน่ืองจากผู้สูงอายุมีภารกิจทั้งในเรื่องกา ร
ประกอบอาชีพตามฤดูกาล (การทานา/ทาไร่/ทาสวน) หรือต้องดูแลหลาน/เหลน ทาให้ไม่สามารถเข้าร่วม
กิจกรรมได้ ดังนั้น ในการจัดกิจกรรมหรือการประชาสัมพันธ์ให้ผู้สูงอายุได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารให้ได้ผลมาก
ทส่ี ดุ จงึ ตอ้ งคานงึ ชว่ งเวลาหลังจากภารกิจหน้าท่ีของผู้สูงอายุส่วนใหญ่ หรือในวันเวลาที่ผู้สูงอายุมารวมตัว
กันในการทากิจกรรมทางศาสนา หรอื วนั รับเบี้ยยังชพี ผู้สงู อายุ
4) สมั พันธภาพในครอบครวั ของผสู้ ูงอายุ
พิจารณาจากพฤติกรรมของสมาชิกในครอบครัวปฏิบัติต่อกันในภาพรวม ร้อยละ 88.2
สมาชิกในครอบครัวช่วยเหลือกันเมื่อใครคนใดคนหน่ึงในครอบครัวเดือดร้อน เป็นพฤติกรรมท่ีสมาชิกใน
ครอบครัวทาอยู่เป็นประจา และร้อยละ 87.0 มีความไว้วางใจซ่ึงกันและกัน ซึ่งมีการแสดงออกมากกว่า
พฤติกรรมอื่นๆ และจะสังเกตได้ว่าการแสดงออกของพฤติกรรมทุกประเภทมีค่ามากกว่าร้อยละ 70 ขึ้นไป
เมอื่ พิจารณาแยกรายจังหวัด พบวา่
เทศบาลตาบลตาจง อาเภอละหานทราย จังหวัดบุรีรัมย์ ผู้ตอบแบบสารวจส่วนใหญ่
ร้อยละ 91.1 สมาชิกในครอบครัวไว้วางใจซ่ึงกันและกัน และสนใจเอาใจใส่ซ่ึงกันและกัน รองลงมา คือ ร้อยละ
90.4 สมาชิกในครอบครัวช่วยเหลือกันเมื่อใครคนใดคนหน่ึงในครอบครัวเดือดร้อนและพูดจาถ้อยทีถ้อย
อาศัยกนั โดยเปน็ พฤติกรรมทสี่ มาชกิ ในครอบครัวทาอยู่เปน็ ประจา
ตาบลมะเกลือเก่า อาเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา ผู้ตอบแบบสารวจส่วนใหญ่ ร้อยละ
86.0 สมาชิกในครอบครัวไว้วางใจซึ่งกันและกัน รองลงมา คือ ร้อยละ 84.7 สมาชิกในครอบครัว
ปรึกษาหารือกันเมื่อมีปัญหาเกิดข้ึน/หรือก่อนตัดสินใจใดๆ โดยเป็นพฤติกรรมที่สมาชิกในครอบครัวทาอยู่
เป็นประจา
ตาบลโนนสาราญ อาเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ ผู้ตอบแบบสารวจส่วนใหญ่ ร้อยละ
93.0 สมาชิกในครอบครัวช่วยเหลือกันเม่ือใครคนใดคนหนึ่งในครอบครัวเดือดร้อน รองลงมา คือ ร้อยละ
87.0 มีความไว้วางใจซ่งึ กนั และกันและปรึกษาหารือกันเม่ือมีปัญหาเกิดข้ึน/หรือก่อนตัดสินใจใดๆ โดยเป็น
พฤตกิ รรมทสี่ มาชกิ ในครอบครวั ทาอยู่เป็นประจา
ตาบลตะเคยี น อาเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ ผู้ตอบแบบสารวจส่วนใหญ่ ร้อยละ 94.0
สมาชิกในครอบครัวช่วยเหลือกันเม่ือใครคนใดคนหนึ่งในครอบครัวเดือดร้อนและสนใจเอาใจใส่ซ่ึงกันและกัน
66
รองลงมา คอื ร้อยละ 92.0 สมาชิกในครอบครวั ไว้วางใจซ่ึงกนั และกัน ปรึกษาหารือกันเม่ือมีปัญหาเกิดข้ึน/
หรือก่อนตัดสินใจใดๆ พูดจาถ้อยทีถ้อยอาศัยกัน และแสดงความรักและความห่วงใยกันเสมอ ซึ่งเป็น
พฤตกิ รรมที่สมาชิกในครอบครวั ทาอยู่เปน็ ประจา
ตาบลบากเรือ อาเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร ผู้ตอบแบบสารวจส่วนใหญ่ ร้อยละ
92.2 สมาชิกในครอบครัวช่วยเหลือกันเมื่อใครคนใดคนหนึ่งในครอบครัวเดือดร้อน รองลงมา ร้อยละ 85.9
ไว้วางใจซ่ึงกันและกัน ปรึกษาหารือกันเมื่อมีปัญหาเกิดขึ้น/หรือก่อนตัดสินใจใดๆ และรับฟังคาตักเตือนของกัน
และกัน ซึ่งเป็นพฤตกิ รรมทส่ี มาชิกในครอบครวั ทาอยู่เปน็ ประจา
เทศบาลตาบลจานแสนไชย อาเภอห้วยทับทัน จังหวัดศรีสะเกษ ผู้ตอบแบบสารวจ
ส่วนใหญ่ ร้อยละ 87.5 สมาชกิ ในครอบครัวใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่ในบ้านร่วมกัน รองมาร้อยละ 86.1 สมาชิก
ในครอบครัวมีความสนใจเอาใจใส่ซ่ึงกันและกัน รับฟังคาตักเตือนของกันและกัน และแสดงความรักและ
ความห่วงใยกันเสมอ โดยเป็นพฤตกิ รรมท่ีสมาชิกในครอบครวั ทาอยู่เป็นประจา (ตารางท่ี 4.5)
ตารางที่ 4.5
สมั พันธภาพคนในครอบครัว
รอ้ ยละระดับการปฏิบัติ
สัมพันธภาพคนในครอบครัว ภาพรวม(N=600) x S.D.
ทาเปน็ ทานานๆ ไมเ่ คย
ประจา ครงั้ ทาเลย
- ชว่ ยเหลอื กันเมอ่ื ใครคนใดคนหนง่ึ เดือดร้อน 88.2 8.7 3.2 1.85 0.437
- ไว้วางใจซง่ึ กนั และกนั 87.0 9.3 3.7 1.83 0.461
- ปรึกษาหารือกันเม่อื มปี ญั หาเกดิ ข้นึ /หรอื ก่อนตัดสินใจใดๆ 86.7 10.0 3.3 1.83 0.454
- สนใจเอาใจใสซ่ ง่ึ กนั และกัน 85.8 11.3 2.8 1.83 0.445
- พูดจาถอ้ ยทถี ้อยอาศยั กนั 84.5 12.3 3.2 1.81 0.464
- รับฟงั คาตักเตอื นของกันและกนั 83.8 13.0 3.2 1.81 0.469
- แสดงความรกั และความหว่ งใยกันเสมอ 83.5 13.2 3.3 1.80 0.475
- ใช้เวลาสว่ นใหญอ่ ยู่ในบ้านรว่ มกัน 81.2 15.3 3.5 1.78 0.494
- ต่างก็มสี ่วนร่วมในการแสดงความคดิ เห็นตา่ งๆ 81.2 16.0 2.8 1.78 0.476
- สามารถพดู ความลับให้กนั ฟังได้ 78.8 16.5 4.7 1.74 0.534
ภาพรวม 1.81 0.412
ตารางท่ี 4.5
สัมพันธภาพคนใน
เทศบาลตาบลตาจง
จังหวัดบ
สัมพนั ธภาพคนในครอบครวั ร้อยละระดับการปฏบิ ตั (ิ N=
ทาเป็น ทานานๆ ไม
ประจา ครง้ั ทา
- ชว่ ยเหลอื กันเมอื่ ใครคนใดคนหน่งึ เดือดร้อน 90.4 3.8 5
- ไวว้ างใจซงึ่ กนั และกนั 91.1 3.8 5
- ปรกึ ษาหารือกันเมือ่ มีปญั หาเกิดข้นึ /หรือกอ่ นตัดสินใจใดๆ 89.8 5.1 5
- สนใจเอาใจใส่ซงึ่ กันและกัน 91.1 4.5 4
- พดู จาถอ้ ยทีถอ้ ยอาศยั กัน 90.4 5.1 4
- รับฟงั คาตกั เตือนของกนั และกนั 87.3 7.6 5
- แสดงความรกั และความหว่ งใยกันเสมอ 83.4 10.8 5
- ใช้เวลาส่วนใหญ่อย่ใู นบา้ นร่วมกนั 87.9 6.4 5
- ต่างก็มสี ว่ นร่วมในการแสดงความคดิ เหน็ ตา่ งๆ 86.6 8.9 4
- สามารถพูดความลับให้กนั ฟังได้ 84.7 10.2 5
5 (ตอ่ )
นครอบครัว
อาเภอละหานทราย ตาบลมะเกลือเก่า อาเภอสูงเนนิ จังหวดั นครราชสมี า
บุรรี ัมย์
=157) S.D. รอ้ ยละระดับการปฏิบัต(ิ N=157) x S.D.
ม่เคย x
ทาเป็น ทานานๆ ไม่เคย 1.82 0.431
าเลย ประจา ครั้ง ทาเลย 1.82 0.491
84.1 14.0 1.9 1.82 0.464
5.7 1.85 0.496 86.0 9.6 4.5 1.77 0.465
84.7 12.1 3.2 1.73 0.514
5.1 1.86 0.473 79.0 19.1 1.9 1.73 0.498
75.8 21.0 3.2 1.78 0.475
5.1 1.85 0.483 75.8 21.7 2.5 1.66 0.513 67
80.3 17.2 2.5 1.69 0.502
4.5 1.87 0.454 68.2 29.9 1.9 1.64 0.601
71.3 26.8 1.9
4.5 1.86 0.459 70.1 23.6 6.4
5.1 1.82 0.500
5.7 1.78 0.538
5.7 1.82 0.513
4.5 1.82 0.487
5.1 1.80 0.516
ตารางที่ 4.5
สัมพนั ธภาพคนใน
ตาบลโนนสาราญ อาเภ
สัมพันธภาพคนในครอบครวั ร้อยละระดับการปฏบิ ัต
- ช่วยเหลอื กันเมอ่ื ใครคนใดคนหนง่ึ เดอื ดร้อน ทาเป็น ทานานๆ ครงั้
- ไวว้ างใจซงึ่ กันและกนั ประจา
- ปรกึ ษาหารือกนั เมอ่ื มปี ัญหาเกิดขึ้น/หรอื กอ่ นตัดสนิ ใจใดๆ
- สนใจเอาใจใส่ซง่ึ กันและกนั 93.0 4.0
- พดู จาถอ้ ยทถี อ้ ยอาศยั กนั
- รบั ฟังคาตกั เตอื นของกันและกัน 87.0 10.0
- แสดงความรักและความหว่ งใยกันเสมอ
- ใช้เวลาสว่ นใหญ่อยู่ในบ้านร่วมกัน 87.0 10.0
- ตา่ งก็มสี ว่ นร่วมในการแสดงความคดิ เหน็ ต่างๆ
- สามารถพูดความลับใหก้ นั ฟังได้ 85.0 12.0
86.0 11.0
85.0 12.0
85.0 12.0
84.0 12.0
86.0 11.0
86.0 10.0
5 (ตอ่ )
นครอบครัว
ภอเมืองชัยภมู ิ จังหวัดชัยภมู ิ ตาบลตะเคยี น อาเภอกาบเชิง จังหวดั สรุ ินทร์
ต(ิ N=100) S.D. รอ้ ยละระดับการปฏิบตั (ิ N=50) S.D.
x ทาเป็น x
ประจา
ไมเ่ คยทาเลย ทานานๆ ครง้ั ไมเ่ คยทาเลย
3.0 1.90 0.389 94.0 4.0 2.0 1.92 0.340
3.0 1.84 0.443 92.0 6.0 2.0 1.90 0.364
3.0 1.84 0.443 92.0 6.0 2.0 1.90 0.364 68
3.0 1.82 0.458 94.0 4.0 2.0 1.92 0.340
3.0 1.83 0.451 92.0 6.0 2.0 1.90 0.364
3.0 1.82 0.458 90.0 8.0 2.0 1.88 0.385
3.0 1.82 0.458 92.0 6.0 2.0 1.90 0.364
4.0 1.80 0.492 82.0 14.0 4.0 1.78 0.507
3.0 1.83 0.451 86.0 12.0 2.0 1.84 0.422
4.0 1.82 0.479 88.0 10.0 2.0 1.86 0.405
ตารางที่ 4.5
สัมพันธภาพคนใน
ตาบลบากเรือ อาเภอมหา
สมั พนั ธภาพคนในครอบครัว ร้อยละระดบั การปฏิบัต(ิ N=64
- ชว่ ยเหลอื กนั เมื่อใครคนใดคนหนึง่ เดือดรอ้ น ทาเปน็ ทานานๆ ครง้ั ไม่เ
- ไวว้ างใจซง่ึ กนั และกนั ประจา ทาเ
- ปรกึ ษาหารอื กันเม่ือมีปญั หาเกดิ ขนึ้ /หรือกอ่ นตดั สินใจใดๆ
- สนใจเอาใจใสซ่ ง่ึ กนั และกนั 92.2 6.3 1.
- พูดจาถอ้ ยทถี อ้ ยอาศัยกนั
- รับฟังคาตักเตอื นของกนั และกัน 85.9 12.5 1.
- แสดงความรักและความห่วงใยกันเสมอ
- ใช้เวลาส่วนใหญ่อย่ใู นบา้ นร่วมกัน 85.9 12.5 1.
- ตา่ งกม็ สี ่วนรว่ มในการแสดงความคดิ เหน็ ต่างๆ
- สามารถพูดความลับให้กันฟังได้ 84.4 14.1 1.
82.8 15.6 1.
85.9 12.5 1.
79.7 18.8 1.
84.4 12.5 3.
81.3 17.2 1.
71.9 25.0 3.
5 (ต่อ)
นครอบครวั
าชนะชัย จังหวดั ยโสธร เทศบาลตาบลจานแสนไชย อาเภอห้วยทับทนั
จงั หวัดศรีสะเกษ
4) S.D. รอ้ ยละระดบั การปฏบิ ัต(ิ N=72) S.D.
เคย x
ทาเปน็ ไม่เคย x
ประจา ทาเลย
เลย ทานานๆ คร้งั
.6 1.91 0.344 77.8 19.4 2.8 1.75 0.496
.6 1.84 0.407 77.8 19.4 2.8 1.75 0.496
.6 1.84 0.407 80.6 16.7 2.8 1.78 0.481 69
.6 1.83 0.420 86.1 11.1 2.8 1.83 0.444
.6 1.81 0.432 84.7 12.5 2.8 1.82 0.454
.6 1.84 0.407 86.1 11.1 2.8 1.83 0.444
.6 1.78 0.453 86.1 11.1 2.8 1.83 0.444
.1 1.81 0.467 87.5 11.1 1.4 1.86 0.387
.6 1.80 0.443 80.6 16.7 2.8 1.78 0.481
.1 1.69 0.531 75.0 20.8 4.2 1.71 0.542
70
5) ประเภทความชว่ ยเหลอื ทไี่ ด้รบั การสนบั สนนุ จากเครอื ข่าย
การสนับสนุนให้ความช่วยเหลือจากเครือญาติภาพรวม พบว่า ผู้ตอบแบบสารวจส่วนใหญ่
ร้อยละ 47.0 เคยได้รับการช่วยเหลือจากเครือญาติโดยเม่ือพิจารณาชนิดของความช่วยเหลือ ร้อยละ 32.2
จะให้คาปรึกษาแนะนา ร้อยละ 30.8 ให้กาลังใจ เมื่อพิจารณาแยกรายจังหวัด พบว่า จังหวัดบุรีรัมย์ และ
จังหวัดนครราชสีมา ส่วนใหญ่ได้รับจากช่วยเหลือจากเครือญาติถึงร้อยละ 89.8 และร้อยละ 52.9 ตามลาดับ
สาหรบั จังหวดั ชยั ภูมิ จังหวดั สุรินทร์ จังหวัดยโสธร และจังหวัดศรีสะเกษ ส่วนใหญ่ไม่ได้รับความช่วยเหลือ
จากเครือญาติน้อยกว่ารอ้ ยละ 37.0
การสนับสนุนให้ความช่วยเหลือจากเพ่ือน/เพ่ือนบ้านภาพรวม พบว่า ผู้ตอบแบบสารวจ
สว่ นใหญ่จะได้รับความช่วยเหลือจากเพื่อนบ้านมากกว่าเพื่อ โดยการช่วยเหลือจากเพื่อนบ้านร้อยละ 88.2
เม่ือพิจารณาเป็นชนิดความช่วยเหลือ ร้อยละ 60.3 จะให้กาลังใจ รองลงมา ร้อยละ 53.3 จะให้คาปรึกษา
แนะนา และผูส้ ูงอายุร้อยละ 44.0 เคยได้รับการช่วยเหลือจากเพ่ือน โดยพิจารณาเป็นชนิดความช่วยเหลือ
ร้อยละ 32.5 จะเป็นการให้กาลังใจ เมื่อพิจารณาแยกรายจังหวัด พบว่า ทุกจังหวัดท่ีศึกษาส่วนใหญ่ได้รับ
ความช่วยเหลือจากเพอื่ นบ้านมากกวา่ รอ้ ยละ 50 โดยพิจารณาเป็นชนิดความช่วยเหลือมากกว่าร้อยละ 60
จะเป็นการให้กาลังใจและการให้คาปรึกษา/แนะนา ได้แก่ จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดนครราชสีมา จังหวัด
ชัยภูมิ จังหวัดสุรินทร์ สาหรับจังหวัดยโสธรส่วนใหญ่ให้ความช่วยเหลือด้านสิ่งของ/เงิน ร้อยละ 46.9 และ
จังหวัดศรสี ะเกษสว่ นใหญใ่ หค้ วามช่วยเหลือดา้ นข้อมลู /ขา่ วสาร รอ้ ยละ 37.5
การสนับสนุนให้ความช่วยเหลือจากนักวิชาชีพต่างๆ ภาพรวม พบว่า ผู้ตอบแบบสารวจ
ส่วนใหญ่ ร้อยละ 90.5 เคยได้รับการช่วยเหลือจาก อสม. รองลงมาร้อยละ 75.2 จากเจ้าหน้าที่ รพ.สต.
ร้อยละ 52.8 จากหมอ ซึ่งความช่วยเหลือท่ีได้รับจะเป็นการให้คาปรึกษาแนะนา ให้ข้อมูลข่าวสาร ให้
กาลงั ใจและสิง่ ของ/เงนิ ตามลาดบั เม่ือพิจารณาแยกรายจังหวัด พบว่า
เทศบาลตาบลตาจง อาเภอละหานทราย จังหวัดบุรีรัมย์ ผู้ตอบแบบสารวจส่วนใหญ่ ร้อยละ
93.6 เคยได้รับการช่วยเหลือจาก อสม. โดยชนิดความช่วยเหลือที่ได้รับจะเป็นการให้คาปรึกษาแนะนา
ใหข้ ้อมูลขา่ วสาร การใหก้ าลงั ใจและสิ่งของ/เงนิ ตามลาดบั สาหรับการได้รับการช่วยเหลือรองลงมาร้อยละ
87.3 เคยได้รับการช่วยเหลือจากพยาบาล และร้อยละ 86.0 เคยได้รับการช่วยเหลือจากนักพัฒนาชุมชน
ตามลาดบั
ตาบลมะเกลือเก่า อาเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ ร้อยละ
87.3 เคยได้รับการช่วยเหลือจาก อสม. ซึ่งชนิดความช่วยเหลือท่ีได้รับจะเป็นข้อมูลข่าวสาร การให้
คาปรกึ ษา/แนะนา ใหก้ าลังใจและสิง่ ของ/เงิน ตามลาดับ และเคยได้รับการช่วยเหลือรองมาจาก เจ้าหน้าที่
รพ.สต. คิดเปน็ ร้อยละ 85.4 และรอ้ ยละ 60.5 เคยได้รับการชว่ ยเหลอื จากแพทย์/หมอ ตามลาดับ
ตาบลโนนสาราญ อาเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ มีผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เคยได้รับ
การชว่ ยเหลอื จาก อสม. คดิ เป็นรอ้ ยละ 99.0 ซ่ึงชนดิ ความช่วยเหลือทไ่ี ด้รับจะเป็นการให้คาปรึกษาแนะนา
การให้กาลังใจ การให้ข้อมูลข่าวสาร และส่ิงของ/เงิน ตามลาดับ และเคยได้รับการช่วยเหลือรองมาจาก
เจา้ หน้าท่ี รพ.สต. คิดเปน็ รอ้ ยละ 85.0 เคยได้รับการช่วยเหลือจากพยาบาล คิดเปน็ ร้อยละ 54.0
ตาบลตะเคียน อาเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ มีผู้ตอบแบบสารวจส่วนใหญ่เคยได้รับการ
ช่วยเหลือจาก อสม. คิดเป็นร้อยละ 100 ซ่ึงมีชนิดความช่วยเหลือท่ีได้รับจะเป็นการให้คาปรึกษาแนะนา
ให้ข้อมูลข่าวสาร การให้กาลังใจและสิ่งของ/เงิน ตามลาดับ สาหรับนักวิชาชีพท่ีให้ความช่วยเหลือรองมา
คือ นักพัฒนาชุมชน และเจ้าหน้าท่ี รพ.สต. คิดเปน็ ร้อยละ 88.0 และ 86.0 ตามลาดับ
71
ตาบลบากเรือ อาเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร มีผู้ตอบแบบสารวจส่วนใหญ่เคยได้รับการ
ช่วยเหลือจาก อสม. คิดเป็นร้อยละ 90.6 โดยความช่วยเหลือท่ีได้รับจะเป็นข้อมูลข่าวสาร การให้คาปรึกษา
แนะนา การให้กาลังใจและสิ่งของ/เงิน ตามลาดับ ส่วนนักวิชาชีพท่ีให้ความช่วยเหลือรองมาคือ เจ้าหนาที่
รพ.สต และแพทย์/หมอ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 70.3 และ 29.7 ตามลาดับ
เทศบาลตาบลจานแสนไชย อาเภอหว้ ยทับทนั จงั หวัดศรสี ะเกษ มีผู้ตอบแบบสารวจส่วนใหญ่
เคยได้รับการช่วยเหลือจาก อสม. คิดเป็นร้อยละ 72.2 และมีชนิดให้ความช่วยเหลือจะเป็นข้อมูลข่าวสาร
การให้คาปรึกษา/แนะนา และการให้กาลังใจ ตามลาดับ และผู้ท่ีเคยให้ความช่วยเหลือรองลงมา คือ
เจ้าหน้าที่ รพ.สต คิดเปน็ รอ้ ยละ 25.0
การสนับสนุนให้ความช่วยเหลือจากหน่วยงาน/องค์กรภาพรวม พบว่า ส่วนใหญ่ ร้อยละ 91.7
ได้รับความช่วยเหลือจาก อบต./เทศบาล ร้อยละ 48.8 วัด/โบสถ์ โดยเมื่อพิจารณาชนิดของความช่วยเหลือ
ของ อบต./เทศบาล ร้อยละ 37.3 ให้คาปรึกษาแนะนา ร้อยละ 25.5 ให้ความช่วยเหลือเป็นสิ่งของ/เงิน
และในสว่ นของวัด/โบสถ์ ร้อยละ 16.8 จะให้กาลังใจ เมื่อพจิ ารณาแยกรายจังหวัด พบว่า
เทศบาลตาบลตาจง อาเภอละหานทราย จังหวัดบุรีรัมย์ มีผู้ตอบแบบสารวจส่วนใหญ่ ร้อยละ
98.7 เคยได้รับการช่วยเหลือจาก อบต./เทศบาล รองลงมาคือ วัด/โบสถ์ คิดเป็นร้อยละ 70.7 และ
โรงพยาบาล คิดเป็นร้อยละ 65.4 และเม่ือพิจารณาชนิดการให้ความช่วยเหลือจาก อบต./เทศบาล จะเป็น
การใหค้ าปรกึ ษา/แนะนา ขอ้ มูลขา่ วสาร การให้กาลงั ใจ และส่งิ ของ/เงนิ
ตาบลมะเกลือเก่า อาเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา มีผู้ตอบแบบสารวจส่วนใหญ่ ร้อยละ
79.0 เคยได้รับจาก อบต./เทศบาล รองลงมาคือ โรงพยาบาล และวัด/โบสถ์ คิดเป็นร้อยละ 54.8 และ
33.8 และเมื่อพิจารณาชนิดความช่วยเหลือของ อบต./เทศบาล ท่ีได้รับจะเป็นการให้ข้อมูลข่าวสาร การให้
ส่งิ ของ/เงนิ การให้คาปรกึ ษา/แนะนา และให้กาลังใจ
ตาบลโนนสาราญ อาเภอเมืองชยั ภมู ิ จังหวัดชัยภูมิ มีผู้ตอบแบบสารวจส่วนใหญ่ ร้อยละ 100
เคยไดร้ ับการช่วยเหลือจาก อบต./เทศบาล ซึ่งชนิดความช่วยเหลือท่ีได้รับจะเป็นการให้คาปรึกษา/แนะนา
การให้ข้อมูลข่าวสาร ให้กาลังใจและส่ิงของ/เงิน ส่วนหน่วยงาน/องค์กรท่ีเคยได้รับการช่วยเหลือรองลงมา
คือ วัด/โบสถ์ และโรงพยาบาล คดิ เปน็ รอ้ ยละ 84.0 และ 46.0 ตามลาดบั
ตาบลตะเคียน อาเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ มีผู้ตอบแบบสารวจส่วนใหญ่ ร้อยละ 92.0
เคยได้รับการช่วยเหลือจาก อบต./เทศบาล ซึ่งชนิดความช่วยเหลือท่ีได้รับจะเป็นการให้ข้อมูลข่าวสาร
ให้คาปรึกษา/แนะนา สิ่งของ/เงินและการให้กาลังใจ ส่วนหน่วยงาน/องค์กรท่ีเคยได้รับการช่วยเหลือ
รองลงมา คือ โรงพยาบาล และวดั /โบสถ์ คดิ เป็นร้อยละ 52.0 และ 50.0 ตามลาดบั
ตาบลบากเรือ อาเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร มีผู้ตอบแบบสารวจส่วนใหญ่ร้อยละ 96.3
เคยได้รับการช่วยเหลือจาก อบต./เทศบาล โดยเป็นหน่วยงาน/องค์กรเดียวที่ผู้สูงอายุส่วนใหญ่เคยได้รับ
การช่วยเหลือมากกว่าร้อยละ 50 และมีชนิดความช่วยเหลือท่ีได้รับจะเป็นการให้ข้อมูลข่าวสาร การให้
คาปรึกษา/แนะนา สิ่งของ/เงินและการให้กาลังใจ สาหรับหน่วยงาน/องค์กรอ่ืนๆ น้ันมีผู้ตอบแบบสารวจ
ได้รบั การชว่ ยเหลอื น้อยกว่ารอ้ ยละ 33.0
เทศบาลตาบลจานแสนไชย อาเภอหว้ ยทบั ทัน จงั หวัดศรสี ะเกษ มีผู้ตอบแบบสารวจส่วนใหญ่
เคยได้รับการช่วยเหลือมากกว่าร้อยละ 10.0 ได้แก่ อบต./เทศบาล คิดเป็นร้อยละ 87.5 และมีชนิดความ
ช่วยเหลือท่ีได้รับจะเป็นการให้ข้อมูลข่าวสาร ส่ิงของ/เงิน การให้กาลังใจและการให้คาปรึกษา/แนะนา
ตามลาดับ สาหรับหนว่ ยงาน/องค์กรอนื่ ๆ นั้นมีผตู้ อบแบบสารวจได้รบั การช่วยเหลอื นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 6.0
72
ตารางที่ 4.6
บคุ คลและเครือข่ายทีใ่ ห้ความช่วยเหลือแก่ผู้สูงอายุ
ชนิดของความชว่ ยเหลือภาพรวม รอ้ ยละ
ประเภทของเครอื ขา่ ย (N= 600) ข้อมูล ไมไ่ ดร้ บั ไดร้ ับ
ข่าวสาร
ปรกึ ษา/ กาลงั ใจ ส่งิ ของ/
แนะนา เงนิ
1.สมาชกิ ในครอบครัว
1.1 ค่สู มรส (สามี/ภรรยา) 18.1 19.2 13.8 12.7 36.2 63.8
1.2 บตุ ร (คู่สมรสของบุตร) 15.9 21.0 19.9 11.0 32.2 67.8
1.3 หลาน (คูส่ มรสของหลาน) 8.8 17.3 6.1 5.5 62.3 37.7
2.เครือญาติ 15.9 15.3 5.4 10.4 53.0 47.0
3.เพ่ือน/เพ่อื นบ้าน
3.1 เพ่ือน 14.9 16.7 3.3 9.1 56.0 44.0
3.2 เพื่อนบา้ น 25.1 28.4 13.2 21.5 11.8 88.2
4.นกั วิชาชพี
4.1 แพทย์/หมอ 28.9 11.7 1.2 11.0 47.2 52.8
4.1 พยาบาล 25.6 12.8 0.5 12.6 48.5 51.5
4.3 เจา้ หนา้ ท่ี รพ.สต. 33.7 18.8 2.5 20.2 24.8 75.2
4.4 นักพฒั นาชุมชน 19.3 7.9 2.4 10.7 59.7 40.3
4.5 นกั สังคมสงเคราะห์ 12.7 5.2 0.7 8.9 72.5 27.5
4.6 อสม. 32.8 22.8 5.9 29.0 9.5 90.5
4.7 อผส. 2.9 0.9 0.2 4.2 91.8 8.2
5.หน่วยงาน/องค์กร
5.1 อบต./เทศบาล 37.3 23.8 25.5 5.1 8.3 91.7
5.2 หนว่ ยงาน/กระทรวง พม. 4.2 3.1 1.5 6.4 84.8 15.2
5.3 โรงพยาบาล 27.4 7.9 0.6 11.8 52.3 47.7
5.4 สถาบันการศึกษา 4.9 1.4 0.1 6.1 87.5 12.5
5.5 มูลนธิ /ิ สมาคม 9.2 4.1 0.2 7.7 78.8 21.2
5.6 วัด/โบสถ์/มสั ยิด 15.8 16.8 2.4 13.8 51.2 48.8
ตารางที่ 4.6
บุคคลในเครือขา่ ยที่ใหค้ วาม
เทศบาลตาบลตาจง อาเภอละหานทราย จังหวดั
ประเภทของเครือข่าย ชนิดของความชว่ ยเหลือ ร้อยละ (N=157) ไมไ่ ด
ปรึกษา/แนะนา กาลงั ใจ ส่ิงของ/เงนิ ขอ้ มลู ขา่ วสาร
1.สมาชิกในครอบครวั 70.7 69.4 59.2 66.2 30
1.1 คสู่ มรส (สามี/ภรรยา)
1.2 บตุ ร (คู่สมรสของบตุ ร) 64.3 65.6 51.6 54.1 31
1.3 หลาน (คูส่ มรสของหลาน) 33.1 36.3 10.2 27.4 61
2.เครอื ญาติ 88.5 52.9 14.6 62.4 10
3.เพอื่ น/เพอื่ นบ้าน 56.7 43.9 5.7 43.9 42
3.1 เพ่ือน
3.2 เพื่อนบา้ น 89.2 67.5 19.1 70.7 8
4.นักวชิ าชีพ 80.9 31.8 5.1 38.9 17
4.1 แพทย/์ หมอ 86.6 40.8 0.6 47.8 12
4.1 พยาบาล 79.0 33.1 0.6 42.7 19
4.3 เจา้ หนา้ ท่ี รพ.สต. 84.7 26.3 7.6 47.8 14
4.4 นกั พฒั นาชุมชน 76.4 30.6 1.3 39.5 21
4.5 นกั สงั คมสงเคราะห์ 93.0 52.2 16.6 63.7 6
4.6 อสม.
4.7 อผส. 5.1 2.5 1.3 5.1 93
5.หน่วยงาน/องคก์ ร 96.2 56.7 49.7 79.0 1
5.1 อบต./เทศบาล
5.2 หนว่ ยงาน/กระทรวง พม. 5.1 1.3 - 4.5 93
31.2 34
5.3 โรงพยาบาล 65.6 15.3 1.9
5.4 สถาบันการศกึ ษา 17.8 5.7 0.6 11.5 80
5.5 มลู นิธิ/สมาคม 57.3 26.1 0.6 31.8 41
68.2 33.1 1.9 36.9 29
5.6 วดั /โบสถ์/มสั ยดิ
6 (ต่อ)
มช่วยเหลอื แก่ผู้สูงอายุ
บรุ รี ัมย์ ตาบลมะเกลือเกา่ อาเภอสูงเนนิ จังหวัดนครราชสีมา
ดร้ ับ ไดร้ บั ชนิดของความช่วยเหลือ รอ้ ยละ (N=157) ไม่ไดร้ บั ไดร้ ับ
ปรกึ ษา/แนะนา กาลังใจ สิ่งของ/เงนิ ข้อมูลข่าวสาร
0.6 69.4 35.7 44.6 31.8 12.7 40.8 59.2
1.8 68.2 33.8 49.7 53.5 12.7 31.2 68.8
1.1 38.9 17.2 40.8 16.6 4.5 55.4 44.6
0.2 89.8 23.6 44.6 14.6 7.0 47.1 52.9
2.0 58.0 26.8 35.7 7.6 4.5 56.1 43.9 73
8.9 91.1 39.5 64.3 35.7 17.8 12.7 87.3
7.8 82.2 47.1 30.6 0.6 4.5 39.5 60.5
2.1 87.39 33.8 26.8 - 3.8 52.9 47.1
9.7 80.3 68.2 43.9 2.5 29.9 14.6 85.4
4.0 86.0 0.6 0.6 - 1.3 97.5 2.5
1.7 78.3 - 100.0 -
6.4 93.6 - -- 55.4 12.7 87.3
51.6 48.4 12.7
3.6 6.4 - 100.0 -
- --
1.3 98.7 29.9 26.8 36.3 53.5 21.0 79.0
3.6 6.4 - 0.6 - - 99.4 0.6
4.6 65.4 46.5 21.7 - 8.3 45.2 54.8
0.9 19.1 - -- 0.6 99.4 0.6
1.4 58.6 - -- - 100.0 -
9.3 70.7 10.8 20.4 10.8 13.4 66.2 33.8
ตารางที่ 4.6
บุคคลในเครอื ข่ายที่ใหค้ วาม
ตาบลโนนสาราญ อาเภอเมอื งชัยภูมิ จังหวดั ชัย
ประเภทของเครอื ขา่ ย ชนดิ ของความชว่ ยเหลือ รอ้ ยละ (N=100) ไมไ่ ด
ปรึกษา/แนะนา กาลังใจ ส่งิ ของ/เงิน ขอ้ มูลขา่ วสาร
1.สมาชกิ ในครอบครวั 69.0 82.0 52.0 51.0 16
1.1 คู่สมรส (สามี/ภรรยา)
1.2 บุตร (คู่สมรสของบตุ ร) 31.0 63.0 51.0 28.0 36
1.3 หลาน (คูส่ มรสของหลาน) 3.0 36.0 4.0 3.0 63
2.เครอื ญาติ 3.0 5.0 1.0 7.0 88
3.เพื่อน/เพอื่ นบา้ น 7.0 29.0 - - 64
3.1 เพอื่ น
3.2 เพอื่ นบ้าน 56.0 80.0 27.0 61.0 1.
4.นกั วิชาชีพ 41.0 2.0 1.0 3.0 58
4.1 แพทย/์ หมอ 16.0 46
4.1 พยาบาล 54.0 16.0 4.0 47.0 15
4.3 เจา้ หน้าที่ รพ.สต.
4.4 นกั พฒั นาชมุ ชน 84.0 49.0 22.0 - 62
4.5 นักสังคมสงเคราะห์ 1.0 98
38.0 1.0 - 61.0 1.
4.6 อสม.
2.0 1.0 1.0
89.0 63.0 20.0
4.7 อผส. 1.0 - - - 99
5.หน่วยงาน/องค์กร 62.0 -
35.0 62
5.1 อบต./เทศบาล 85.0 48.0 47.0 8.0 54
5.2 หนว่ ยงาน/กระทรวง พม. 35.0 31.0 11.0 - 93
1.0 99
5.3 โรงพยาบาล 45.0 8.0 2.0 47.0 16
5.4 สถาบนั การศกึ ษา 6.0 1.0 -
5.5 มลู นธิ ิ/สมาคม - --
5.6 วดั /โบสถ/์ มสั ยดิ 47.0 84.0 6.0
6 (ตอ่ )
มช่วยเหลือแกผ่ สู้ ูงอายุ
ยภูมิ ตาบลตะเคยี น อาเภอกาบเชิง จังหวัดสุรนิ ทร์
ดร้ ับ ไดร้ ับ ชนดิ ของความช่วยเหลอื ร้อยละ (N=50) ไมไ่ ด้รับ ได้รับ
ปรกึ ษา/แนะนา กาลังใจ สิง่ ของ/เงนิ ข้อมูลขา่ วสาร
6.0 84.0 60.0 54.0 42.0 44.0 30.0 70.0
6.0 64.0 48.0 64.0 60.0 44.0 20.0 80.0
3.0 37.0 10.0 30.0 10.0 4.0 56.0 44.0
8.0 12.0 24.0 34.0 4.0 14.0 64.0 36.0
4.0 36.0 40.0 44.0 20.0 24.0 38.0 62.0 74
.0 99.0 64.0 78.0 46.0 48.0 2.0 98.0
8.0 42.0 46.0 24.0 2.0 40.0 44.0 56.0
38.0 50.0 50.0
6.0 54.0 38.0 20.0 - 56.0 14.0 86.0
50.0 12.0 88.0
5.0 85.0 72.0 44.0 2.0 36.0 50.0 50.0
62.0 - 100.0
2.0 38.0 52.0 42.0 20.0
26.0 60.0 40.0
8.0 2.0 18.0 12.0 6.0
.0 99.0 76.0 52.0 8.0
9.0 1.0 20.0 4.0 -
- 100.0 56.0 44.0 52.0 60.0 8.0 92.0
2.0 38.0 8.0 2.0 10.0 30.0 52.0 48.0
4.0 46.0 22.0 8.0 - 44.0 48.0 52.0
3.0 7.0 10.0 2.0 - 36.0 56.0 44.0
9.0 1.0 6.0 2.0 2.0 32.0 58.0 42.0
6.0 84.0 8.0 26.0 2.0 30.0 50.0 50.0
ตารางท่ี 4.6
บคุ คลในเครอื ขา่ ยทีใ่ ห้ความ
ตาบลบากเรือ อาเภอมหาชนะชยั จังหวัดยโสธร
ประเภทของเครือขา่ ย ชนิดของความช่วยเหลอื ร้อยละ (N=64) ไม่ไดร้ ับ
ปรึกษา/แนะนา กาลงั ใจ สิ่งของ/เงนิ ขอ้ มูลขา่ วสาร
1.สมาชิกในครอบครัว 45.3 37.5 21.9 15.6 46.9
1.1 ค่สู มรส (สาม/ี ภรรยา)
1.2 บตุ ร (คสู่ มรสของบตุ ร) 28.1 39.1 57.8 12.5 26.6
1.3 หลาน (คูส่ มรสของหลาน) 15.6 26.6 18.8 10.9 53.1
2.เครือญาติ 1.6 9.4 18.8 - 75.0
3.เพ่ือน/เพ่ือนบา้ น 20.3 23.4 10.9 21.9 56.3
3.1 เพื่อน
3.2 เพอื่ นบา้ น 31.3 37.5 46.9 37.5 6.3
4.นกั วชิ าชีพ 14.1 - - 17.2 70.3
4.1 แพทย/์ หมอ 20.3 76.6
4.1 พยาบาล 6.3 1.6 - 56.3 29.7
4.3 เจา้ หนา้ ที่ รพ.สต. 18.8 73.4
4.4 นกั พัฒนาชมุ ชน 31.3 18.8 1.6 17.2 78.1
4.5 นักสงั คมสงเคราะห์ 68.8 9.4
7.8 1.6 4.7
4.6 อสม.
3.1 - 1.6
45.3 28.1 4.7
4.7 อผส. 3.1 - - 17.2 79.7
5.หนว่ ยงาน/องค์กร 32.8 9.4 21.9 75.0 3.1
5.1 อบต./เทศบาล
5.2 หนว่ ยงาน/กระทรวง พม. 1.6 - 1.6 23.4 7.5
5.3 โรงพยาบาล 14.1 -- 20.3 67.2
5.4 สถาบนั การศึกษา - -- 20.3 79.7
5.5 มูลนธิ /ิ สมาคม - -- 20.3 79.7
21.9 68.8
5.6 วัด/โบสถ/์ มสั ยดิ 1.6 10.9 -