The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รูปเล่มงานวิจัย เรื่อง แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในท้องถิ่นโดยใช้โรงเรียนผู้สูงอายุเป็นฐาน

วิจัยแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอาย

กล่มุ (Focus Group)

จงั หวดั

าจง ตาบลตะเคยี น ตาบลบากเรอื เทศบาลตาบลจานแสนไชย

ราย อาเภอกาบเชงิ อาเภอมหาชนะชัย อาเภอหว้ ยทับทนั

ย์ จงั หวัดสรุ ินทร์ จงั หวัดยโสธร จังหวดั ศรีสะเกษ

รงเรียน โรงเรยี นผู้สงู อายุ (จากหน่วยงาน - อบต.บากเรือ ร่วมกับ - ทต.จานแสนไชย ร่วมกับ

ลักสูตร ต่ า ง ๆ เ ป็ น ค ณ ะ - คณะกรรมการภายในโรงเรียน คณะกรรมการภายในโรงเรยี น

กี่ ย ว กั บ กรรมการที่ปรึกษา และนกั เรียน ผู้สูงอายุ กาหนดหลักสูตร ผู้สงู อายุกาหนดหลักสูตร โดย

มอาชีพ โรงเรียนผู้สูงอายุ เป็นคณะ - จากคมู่ ือและกจิ กรรมที่ผ่านมา ป รั บ ห ลั ก สู ต ร ตา มค วา ม

กรรมการโรงเรยี น หลักสตู รการเรียนประกอบดว้ ย ต้ องกา ร ข องผู้ สู งอา ยุ ใ น

ารมอบ - อบต.ตะเคียน กาหนด ความรู้ด้านสุขภาพ การเกษตร โรงเรียน หลักสูตรการเรียน

ดยนายก (ร่าง) กิจจรม และคณะกรรมการ ด้านเทคโนโลยี การส่งเสริม ประกอบด้วย ด้านวิชาการ

โร งเรี ย นผู้ สู งอา ยุ ร่วม กัน อาชีพ ด้านการศึกษา และ ด้ า น สุ ข ภ า พ นั นทนา กา ร

กาหนดและพัฒนาหลักสูตรใน ดา้ นกฎหมายสาหรับผู้สูงอายุ การส่งเสรมิ อาชีพ ฯ

โรงเรยี นผูส้ ูงอายุ ได้แก่ การให้ - จบหลักสูตรมีการมอบ - จบหลกั สูตรมีการ 108

ความรู้เก่ียวกับสิทธิผู้สูงอายุ ใบประกาศนยี บตั ร มอบใบประกาศนียบัตร

การส่งเสริมอาชีพ และการ

สง่ เสริมสขุ ภาพ

- ระยะเวลาในการเรียน

หลั กสู ตรละ 1 ปี หลั งจบ

ห ลั ก สู ต ร มี ก า ร ม อ บ ใ บ

ประกาศนียบัตร

รภายใน - คณะกรรมการภายใน - คณะกรรมการภายใน - คณะกรรมการภายใน

กอบด้วย โรงเรียนผู้สูงอายุ ประกอบด้วย โรงเรียนผสู้ ูงอายุ ประกอบด้วย โรงเรยี นผ้สู ูงอายุ ประกอบด้วย

ก านั น/ ผแู้ ทน สธ. , ผู้แทน กษ. , กศน. , เจ้าหน้าท่ี อบต. กานัน/ เจ้าหน้าท่ี ทต. ผู้นาชุมชน

านวยการ ผู้ อ า น ว ย ก า ร โ ร ง เ รี ย น , ผู้ใหญ่ บ้าน รพ. สต. เจ้ า รพ.สต. เจ้าอาวาสวัด กศน.

วัด และ ประธานชมรมผู้สูงอายุ , ผู้นา อ า ว า ส วั ด ก ศ น . พ ม จ . และพมจ. เป็นคณะกรรมการ

รมการท่ี ชุมชน , ผู้แทนแต่ละหมู่บ้าน และอสม. เป็นคณะกรรมการ ทปี่ รกึ ษา และนักเรยี นโรงเรียน

โรงเรียน และ ศพอส.) ท่ี ป รึ ก ษ า แ ล ะ นั ก เ รี ย น ผู้สูงอายุ เป็นคณะกรรมการ

รรมการ - คณะกรรมการพั ฒนา โ ร ง เ รี ย น ผู้ สู ง อ า ยุ เ ป็ น โรงเรียน

สรปุ การสนทนาก

ประเด็นคาถาม ตาบลมะเกลอื เกา่ ตาบลโนนสาราญ เทศบาลตาบลตา
อาเภอสูงเนิน อาเภอเมืองชัยภมู ิ อาเภอละหานทร

จงั หวดั นครราชสมี า จังหวดั ชัยภมู ิ จังหวัดบุรีรัมย

พ้ืนท่ีดูแลผู้สูงอายุในชุมชนทุก คณะกรรมการโรงเรียน โรงเรยี น

วันองั คาร - CG (Care Giver) : ลง - คณะกรรมการ

- นักบริบาล : ดูแล พนื้ ทดี่ ูแลผ้สู ูงอายใุ นชมุ ชน คุณภาพชีวิตระดับอาเภ

ผู้สูงอายุในชุมชนที่มีอาการ - นักบริบาล : ดูแลผู้สูงอายุ : ดูแลผู้สูงอา

หนกั ในชมุ ชนทม่ี อี าการหนกั ผู้ด้อยโอกาส (กลุ่มเปร

- วทิ ยากร : เจา้ อาวาสวดั และปัญหาอุบตั ิเหตุ

ครู และนักเรียนในโรงเรียน - คณะกรรมการ

ผสู้ ูงอายุ คุณภาพชีวติ ระดับตาบล

ดูแลผสู้ ูงอายุทั้ง 5 มิติ ได

ใจ ปัญญา สังคม และ

รวมท้งั การศึกษา พัฒน

และความเป็นอยู่ ผ้สู ูงอาย

และติดเตียง

- CG (Care Giver) :

ดูแลผู้สงู อายุในชุมชน

- นักบริบาล : ดูแล

ในชุมชนทม่ี ีอาการหนกั

- วิทยากร : รพ.ส

ทต.ตาจง และครู

3. ขั้นตอน/  การบรหิ ารจดั การ  การบริหารจดั การ  การบริหารจดั การ

กระบวนการ - อบต.มะเกลือเก่า - อบต.โนนสาราญ ร่วมกับ - ทต.ตาจง ร่วมก

(การบริหารจัดการ ร่วมกับคณะกรรมการโรงเรียน คณะกรรมการโรงเรียนผู้สูงอายุ กรรมการโรงเรียนผ

,งบประมาณ) ผู้ สู งอา ยุ ใ น ก า ร ก า ห น ด กาหนดและพัฒนาหลักสูตร กาหนดและพัฒนาหลัก

ห ลั กสู ต ร แ ล ะ กิจ กร ร ม ใน ในโรงเรยี นผูส้ งู อายุ โรงเรียนผ้สู งู อายุ

โรงเรียน  งบประมาณ : กองทนุ ตาบล  งบประมาณ : ทต

กลุม่ (Focus Group)

จังหวัด

าจง ตาบลตะเคียน ตาบลบากเรอื เทศบาลตาบลจานแสนไชย

ราย อาเภอกาบเชงิ อาเภอมหาชนะชยั อาเภอหว้ ยทับทนั

ย์ จังหวดั สุรนิ ทร์ จงั หวัดยโสธร จังหวัดศรสี ะเกษ

คุณภาพชีวิตระดับอาเภอ (พชอ.) คณะกรรมการโรงเรียน - วิทยากร : รพ.สต. วัด

รพั ฒนา : ดูแลผู้สูงอายุ และ - วิทยากร : พมจ. และ และคณะกรรมการโรงเรียน

ภอ (พชอ.) ผู้ด้อยโอกาส (กลุ่มเปราะบาง) รพ.สต.

ายุ และ และปัญหาอุบัติเหตุ

ราะบาง) - คณะกรรมการพั ฒนา

คณุ ภาพชีวิตระดบั ตาบล (พชต.) :

รพั ฒนา ดแู ลผสู้ ูงอายุทง้ั 5 มิติ ได้แก่ กาย

ล (พชต.) : ใจ ปัญญา สังคม และอารมณ์

ด้แก่ กาย รวมท้ัง การศึกษา พัฒนาความรู้

ะอารมณ์ และความเป็นอยู่ ผสู้ งู อายุติดบ้าน 109

นาความรู้ และตดิ เตียง

ายุติดบ้าน - CG (Care Giver) : ลงพื้นท่ี

ดูแลผสู้ งู อายใุ นชุมชน

: ลงพื้นท่ี - นกั บริบาล : ดแู ลผูส้ ูงอายุ

ในชมุ ชนทมี่ ีอาการหนัก

ลผู้สูงอายุ - วิทยากร : พมจ. และ

ก สปสช.

ต. กศน.

ร  การบริหารจัดการ  การบริหารจัดการ  การบริหารจดั การ

กับคณะ- - อบต.ตะเคียน กาหนด - อบต.บากเรือ และ - ทต.จานแสนไชย และ

ผู้สูงอายุ (ร่าง) กิจจรม และคณะกรรมการ คณ ะ กร ร ม การ โ ร งเ รี ย น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร โ ร ง เ รี ย น

กสูตรใน โรงเรียนผู้สูงอายุร่วมกันกาหนด ผู้สูงอายุร่วมกันกาหนดและ ผู้สูงอายุร่วมกันกาหนดและ

และพัฒนาหลกั สูตรในโรงเรียน พัฒนาหลักสูตรในโรงเรียน พัฒนาหลักสูตรในโรงเรียน

ต.ตาจง ,  งบประมาณ : อบต.ตะเคยี น , ผูส้ งู อายุ ผู้สูงอายุ

สรปุ การสนทนาก

ประเดน็ คาถาม ตาบลมะเกลอื เก่า ตาบลโนนสาราญ เทศบาลตาบลตา
อาเภอสงู เนนิ อาเภอเมืองชยั ภมู ิ อาเภอละหานทร

จังหวัดนครราชสมี า จงั หวัดชัยภมู ิ จังหวัดบรุ ีรมั ย

- รพ.สต. และผู้สูงอายุใน (สปสช.) และ ผู้สูงอายุเสนอ สปสช. (ผู้สูงอายุในโ

โรงเรียน ลงพ้ืนทเ่ี ยีย่ มผู้สูงอายุ โครงการของบประมาณจาก เป็นผ้เู ขียนของบประมา

โดยได้รับการช่วยเหลือและ หน่วยงานอืน่ จากภายนอก (ผูบ้ รจิ าค

สนับสนุนงบประมาณจาก อบต.

มะเกลอื เกา่

 งบประมาณ : กองสาธารณสุข

และกองสวัสดิการสังคม อบต.

มะเกลอื เกา่

4. ปัญหาอปุ สรรค/  ระยะทางในการเดินทาง  ระยะทางการเดินทางมา  ระยะทางในการเ

ข้อจากัด มาโรงเรยี นของผู้สงู อายุ โรงเรียนของผสู้ ูงอายุไมส่ ะดวก ม า โ ร งเ รี ย น ของ ผู้ ส

 ผสู้ ูงอายุบางคนไม่สามารถ เนอื่ งจากลูก/หลาน ใน ไม่สะดวก เนื่องจากบ

ร่วมกิจกรรมโรงเรียนผู้สูงอายุ ครอบครวั ไปทางานไมส่ ามารถ ผู้สูงอายุอยู่ต่างหมู่บ

เนอ่ื งจากต้องประกอบอาชพี รบั - ส่ง ได้ โรงเรยี น , ลูก/หลานในค

 การดาเนินกจิ กรรมถูก ไปทางาน ไม่สามารถรับ
 โรงเรียนผู้สูงอ
จากดั งบประมาณ

 กิจกรรมภายในโรงเรียน ประมาณเฉพาะการ

ส่วนใหญย่ ังไม่มีผู้มาเนินการตอ่ กิจกรรมในแต่ละครั้ง
 หลักสูตรในการ

ระยะเวลาส้ัน

5. ความภาคภูมิใจ/  ผสู้ ูงอายุในโรงเรยี นมี  ครูพ่ีเล้ียง (เจ้าหน้าท่ี อสม.)  ทาให้ผู้สูงอายุได้ม
สิ่งทท่ี าให้ประสบ สขุ ภาพกายและใจดขี ้นึ
เป็นผู้ดูแลผู้สูงอายุในโรงเรียน พูดคุยและแลกเปล่ียน

ความสาเรจ็  นวัตกรรมสุขภาพ (วัสดุ โดยทาหนา้ ทห่ี ลากหลาย ทาให้ผู้สูงอายุมีสุขภ
เหลือใช้/วสั ดุทหี่ าไดใ้ นชุมชน)  ได้รับความร่วมมือจาก และใจดีขนึ้

กลมุ่ (Focus Group) ตาบลบากเรือ เทศบาลตาบลจานแสนไชย
อาเภอมหาชนะชัย อาเภอห้วยทับทัน
จงั หวัด จงั หวดั ศรีสะเกษ
จังหวัดยโสธร
าจง ตาบลตะเคยี น  งบประมาณ : สปสช. ,
ราย อาเภอกาบเชงิ  งบประมาณ : เสนอโครงการ ทต.จานแสนไชย และกองทุน
ย์ จงั หวดั สุรนิ ทร์ ของบปะมาณจากกรมกิจการ ฌาปนกิจสงเคราะห์
ผู้สูงอายุ กระทรวง พม. และ
โรงเรียน จากภายนอก (ผ้บู ริจาค) และ อบต.บากเรือ และการสมทบ
าณ) และ โรงเรยี นผสู้ ูงอายุสรา้ งผ้าปา่ ใน ทุนจากนักเรียนในโรงเรียน
ค) ชุมชน (ทาให้มงี บประมาณอยู่ ผสู้ งู อายุ

ตลอด) ท้งั นี้ คณะกรรมการใน
โรงเรยี นมกี ารทาบญั ชรี ับ - จ่าย

เดินทาง  การเดนิ ทางมาโรงเรียนของ  การประชาสมั พันธร์ บั สมคั ร  การเดินทางมาโรงเรียน

สู ง อา ยุ ผู้สูงอายุไม่สะดวก เนื่องจาก นักเรียนโรงเรียนผู้สูงอายุ ข อ ง ผู้ สู ง อ า ยุ ไ ม่ ส ะ ด ว ก

บ้านของ บ้ า น ข อ ง ผู้ สู ง อ า ยุ อ ยู่ ต่ า ง ยังไม่ทวั่ ถึง เน่ืองจากบ้านของผู้สูงอายุอยู่ 110

บ้านกับ หมู่บ้านกับโรงเรียน และลูก/  ผู้สูงอายุกลัวการเรียนรู้ ต่างหมู่บ้านกับโรงเรียน และ
ครอบครัว หลานในครอบครัวไปทางาน เกย่ี วกบั วชิ าการ ลู ก / ห ล า น ใ น ค ร อ บ ค รั ว ไ ป

บ - สง่ ได้ ไม่สามารถรับ - ส่ง ได้  สถานการณ์ COVID – 19 ทางานไมส่ ามารถรับ - ส่ง ได้

ายุมีงบ  โรงเรียนผู้สูงอายุไม่มี ทาให้กิจกรรมในโรงเรียน  ขาดงบประมาณ ทาให้

รดาเนิน งบประมาณในการรับ - ส่ง ไมต่ อ่ เนื่อง กจิ กรรมขาดความต่อเน่อื ง

ผสู้ ูงอายุ  คณะกรรมการโรงเรียน

รเรียนมี  ไม่มีงบประมาณในการ ผู้สูงอายุขาดจิตอาสาในการ

สนับสนุนเคร่ืองอุปโภค - บริโภค ดาเนนิ งาน

ในการลงเยย่ี มผู้สูงอายุ  ผู้สูงอายุยังไม่มีแรงจูงใจ

ในการร่วมกิจกรรมกบั โรงเรียน

มาพบปะ  ผสู้ ูงอายุมีสุขภาพกายและ  โ ร ง เ รี ย น ผู้ สู ง อ า ยุ มี  ผู้สูงอายุมีความรู้สึกดี

นความรู้ ใจดขี ึ้น สถานท่ใี นการรวมกลุ่มพูดคุย (ไมร่ ูส้ ึกถกู ทอดทง้ิ )

ภาพกาย  ได้ดแู ล/ชว่ ยเหลือผู้สูงอายุ และแลกเปล่ียนความคิดเห็น  คณะกรรมการโรงเรียน
ระหว่างกัน ทาให้มีสุขภาพ ผูส้ งู อายไุ ด้เขยี นเสนอโครงการ/
ให้มสี ภาพจิตใจท่ีดี

สรปุ การสนทนาก

ประเดน็ คาถาม ตาบลมะเกลอื เก่า ตาบลโนนสาราญ เทศบาลตาบลตา
อาเภอสงู เนนิ
อาเภอเมืองชยั ภมู ิ อาเภอละหานทร
จงั หวัดนครราชสมี า
จังหวัดชัยภมู ิ จงั หวดั บุรีรมั ย
- ยางยืดเหยยี ดกลา้ มเนื้อ
- กา้ นตาล ประชาชนในชมุ ชนอยา่ งดี  ผสู้ งู อายุเกดิ ความร
- ลอก  นักเรียนในโรงเรียนผู้สูงอายุ คุณค่าในตนเอง
- กะลานวดฝา่ เทา้ ได้รวมกลุ่มทากิจกรรม หลังจบ  นาความรู้ทไี่ ด้รบั จาก
- หมอนหลอด การเรยี นในโรงเรียน
- ที่นวดมือ จากถงุ ใส่เม็ด ไปพัฒนาต่อยอด
มะขาม , ถุงใสแ่ ป้งมนั สาปะหลัง  เป็นสถานที่ศึกษาดูงาน  ครอบครัวมีส่วนร
- น้ายาล้างจานจากมะกรดู ของหน่วยงานอื่นๆ ท้ังในและ สนบั สนนุ ในการชว่ ยเห
- น้ายาซักผ้าจากมะละกอ นอกจังหวัด เพื่อดูการบริหาร  ทต.ตาจง และน
- ตะไครไ้ ล่ยุง จัดการของโรงเรียน เชน่ รปู แบบ โรงเรยี นผู้สูงอายุ ลงพื้น
การด าเนินงาน การบริหาร และนาเครอ่ื งอุปโภค -
งบประมาณ การกาหนดหลักสูตร ไปช่วยเหลือผู้สูงอายุท
การแก้ไขปัญหาเรื่องการมา ในชุมชน
โรงเรยี นของผู้สูงอายุ ฯ

6. การพัฒนาต่อ/  เ ชิ ญ ช ว น ผู้ สู ง อ า ยุ วั ย  มีแผนจัดการเรียนการ  การจดั กิจกรรมให
ต้องการ เกษียณมาสมัครเข้าโรงเรียน สอนแบบสัญจร (ลงพ้ืนท่ีตาม สุขภาพกายและใจทดี่ ี
ผู้สูงอายุ เนื่องจากปัจจุบัน  จดั กิจกรรมโรงเรยี น
อบต.มะเกลือเก่า อยากให้ บา้ นนกั เรียนในโรงเรยี น) สัญจร ตามความต้อง
ผู้สูงอายุเป็นผู้เขียนโครงการ  ต้องการให้ผู้สูงอายุเข้ามา
เสนอของบประมาณจาก มี ส่ ว น ร่ ว ม กั บ กิ จ ก ร ร ม ข อ ง ผู้สูงอายุ เพือ่ ลดค่าใชจ้ า่
หน่วยงานต่างๆ เพ่ือจะได้เห็น
ความต้องการท่ีแท้จริงของ โรงเรียน เพื่อให้เกิดความรู้สึก เดนิ ทางมาโรงเรียนให้ผ
ผู้สงู อายุ ซงึ่ ผ้สู งู อายุวัยเกษียณ เป็นเจ้าของโรงเรียนร่วมกัน  เม่ือมีกิจกรรมส
จะมีประสบการณ์ในการเขียน
และพัฒนาให้เกดิ ความย่ังยนื อาชีพ ควรมีเพ่ิมช่องท
 การลงพ้ืนท่ีศึกษาดูงาน จาหน่ายสนิ คา้ ดว้ ย
ต่างๆ ก่อนไปจะกาหนดโจทย์  การส่งเสริมและ

กลุ่ม (Focus Group)

จังหวดั

าจง ตาบลตะเคียน ตาบลบากเรือ เทศบาลตาบลจานแสนไชย

ราย อาเภอกาบเชงิ อาเภอมหาชนะชยั อาเภอหว้ ยทบั ทนั

ย์ จงั หวัดสรุ นิ ทร์ จงั หวัดยโสธร จังหวดั ศรสี ะเกษ

รู้สึกเห็น  เกิดการรวมกลุ่มในการ กายและใจที่ดี แผนงาน เพ่ือขอรับสนับสนุน

สร้างกิจกรรม ทาให้เกิดความ  ผู้สูงอายุในโรงเรียนมี งบประมาณจาก พมจ.ศรีสะเกษ
สัมพันธภาพท่ดี ีกบั ครอบครัว (อย่รู ะหว่างอนมุ ตั ิงบประมาณ)
ากโรงเรียน สามคั คี
 ลดความเหลื่อมลา้ ในสังคม  มีความกระตือรือร้นและ  การช่วยเหลือผู้สูงอายุ

ร่วมและ  ได้รับรู้/ทราบปัญหาความ ความสามัคคี มีส่วนร่วมกับ ด้อยโอกาสในชุมชนให้เข้ามา
หลอื ความเดือดร้อนของคนใน กิจกรรมของโรงเรยี นผสู้ งู อายุ มีส่วนร่วมในกิจกรรมของ
โรงเรยี นผูส้ ูงอายุ
นักเรียน ชุมชน โดยมีผู้รู้ในโรงเรียนให้
 เม่ือสมาชิกกองทุนฌาปนกิจ
นทเี่ ย่ียม ค า แ น ะ น า แ ล ะ ห า แ น ว
(ผู้สูงอายุในโรงเรียน) เสียชีวิต
- บริโภค ทางแกไ้ ขปญั หาให้
ท่ียากไร้  ได้นาความรู้จากโรงเรียน กองทุนฌาปนกิจได้สนับสนุน

ไปพัฒนาตนเอง ทาให้มีคุณภาพ เงินชว่ ยเหลอื 111
 ได้ช่วยเหลือให้ผู้สูงอายุท่ี
ชวี ติ ทดี่ ี เชน่ มอี าชีพเสรมิ ฯ

ร่างกายไม่แข็งแรง มีสุขภาพดีขึ้น

สามารถทากิจกรรมร่วมกับ

โรงเรียนผสู้ งู อายไุ ด้

หผ้ ู้สงู อายุ  การจัดกิจกรรมทาให้  การลงพ้ืนท่ีศึกษาดูงาน  ต่อยอดโครงการส่งเสริม

ผสู้ งู อายมุ สี ุขภาพกายและใจดี ต่างๆ ก่อนไปจะกาหนดโจทย์ สุขภาพกาย (นวด)

นผสู้ งู อายุ  หาแนวทางทาให้โรงเรียน ให้กับนักเรียน เพ่ือหลังจาก  พัฒนาด้านการสร้างอาชีพ

งการของ ผสู้ งู อายุยั่งยนื ศึกษาดูงาน จะได้นาความรู้ท่ี ใหก้ ับผสู้ งู อายุ

ายในการ  ให้ผู้สูงอายุที่มีอายุตั้งแต่ ได้มาตอบโจทย์ที่ต้ังไว้และ  หากมีการจัดต้ังโรงเรียน
ผสู้ งู อายุ 55 ปี ขึ้นไป เข้ามาเตรียม ร่วมกันถอดบทเรียนจาก ผู้สูงอายุประจาตาบล ควร
ส่งเสริม ความพร้อมและเป็นพี่เลี้ยง ศกึ ษาดงู าน เพื่อนามาพฒั นาตอ่ ดาเนินการดังน้ี
 พัฒนากิจกรรมเก่ียวกับ - มีสถานที่ในการจัดตั้งท่ี
ทางการ ดูแลผู้สงู อายุในโรงเรียน
 อบต.ตะเคียน ควรเป็นพี่ การส่งเสริมอาชีพ เพ่ือสร้าง ชดั เจน
ะพัฒนา เลี้ยงในการประสานหน่วยงาน รายได้ใหก้ บั โรงเรียนผู้สูงอายุ - หลักสูตรการเรียนควร

สรุปการสนทนาก

ประเด็นคาถาม ตาบลมะเกลอื เก่า ตาบลโนนสาราญ เทศบาลตาบลตา
อาเภอสูงเนนิ
อาเภอเมืองชยั ภูมิ อาเภอละหานทร
จังหวดั นครราชสีมา
จังหวัดชยั ภูมิ จงั หวัดบุรรี มั ย
โครงการ
ให้กับนักเรียน เพ่ือหลังจาก ความรู้เกี่ยวกับการใช้เท

ศึกษาดูงาน จะได้นาความรู้ท่ี ให้ผู้สูงอายุ เพ่ือให้ม

ได้มาตอบโจทย์ท่ีต้ังไว้และ เทา่ ทันสถานการณ์

ร่วมกันถอดบทเรียนจากศึกษา  หน่วยงานควรหาช

ดงู าน เพื่อนามาพฒั นาตอ่ ในการสนบั สนนุ งบประ
 ต้องการให้นักเรียนที่จบ โรงเรยี นผสู้ ูงอายเุ พ่ิมเต
หลักสูตรแล้ว รวมกลุ่มกันนา  กา ร ก า ห นด ห ล

ความรู้ที่ได้ไปพัฒนาต่อยอด ควรสารวจความต้องก

เช่น จัดต้ังศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจ ผสู้ งู อายกุ ่อน

พอเพียง (บ้านกะพี้) ตลาด

จาหนา่ ยสินคา้ เปน็ ต้น

กลมุ่ (Focus Group)

จงั หวัด

าจง ตาบลตะเคยี น ตาบลบากเรือ เทศบาลตาบลจานแสนไชย

ราย อาเภอกาบเชิง อาเภอมหาชนะชัย อาเภอห้วยทับทนั

ย์ จงั หวดั สรุ ินทร์ จงั หวดั ยโสธร จงั หวดั ศรีสะเกษ

ทคโนโลยี ราชการ ในการจัดกิจกรรม และลดการใช้จ่ายงบประมาณ ให้ครอบคลุม 4 ด้าน ได้แก่

มีความรู้ และแก้ไขปัญหาต่างๆ ใน ของ อบต. ด้านร่างกาย ด้านจิตใจ ด้าน
 การเพิ่มจานวนนักเรียน สังคม และดา้ นสติปัญญา
โรงเรยี น

ช่องทาง  เปดิ โอกาสใหค้ ณะกรรมการ โรงเรยี นผสู้ ูงอายใุ หม้ ากขึ้น - เน้นกิจกรรมเก่ียวกับ

ะมาณให้ โรงเรียนผสู้ ูงอายุมบี ทบาทใน  เพิ่มกิจกรรม /กีฬา ที่ สร้างรายไดใ้ หก้ ับโรงเรยี นและ
ตมิ การบรหิ ารจดั การดว้ ยตนเอง เก่ียวกับการส่งเสริมสุขภาพ ผู้สงู อายุ
ลั ก สู ต ร  ความรู้เร่ืองเทคโนโลยี ผ้สู งู อายุ - จดทะเบียนเป็นองค์กร

การของ ที่ผู้สูงอายุใช้ในชีวิตประจาวัน ในพระบรมราชูปถัมภ์และ 112

เพื่อนาไปประกอบอาชีพ เช่น จัดต้ังเป็นองค์กรสาธารณะ

การจาหนา่ ยสินคา้ ออนไลน์ ประโยชน์

 ให้มีการปรับปรุงอาคาร/

สถานท่ี (ลานกิจกรรม)
 ควรมีงบประมาณในการ

ดาเนนิ การในโรงเรยี นผสู้ ูงอายุ

113

บทที่ 5
สรปุ อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ

สรปุ

โครงการวจิ ัยเร่ือง “แนวทางการพฒั นาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในท้องถิ่นโดยใช้โรงเรียนผู้สูงอายุ
เป็นฐาน” ในพ้ืนท่ีรับผิดชอบของสานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 ได้แก่ 1) ตาบลมะเกลือเก่า
อาเภอสงู เนิน จังหวดั นครราชสีมา 2) ตาบลโนนสาราญ อาเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ 3) เทศบาลตาบลตาจง
อาเภอละหานทราย จังหวัดบุรีรัมย์ 4) ตาบลตะเคียน อาเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ 5) ตาบลบากเรือ อาเภอ
มหาชนะชัย จังหวัดยโสธร และ 6) เทศบาลตาบลจานแสนไชย อาเภอห้วยทับทัน จังหวัดศรีสะเกษ
มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในท้องถิ่น เพ่ือศึกษาความต้องการในการพัฒนา
คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในท้องถ่ิน และเพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุโดยใช้โรงเรียน
ผู้สูงอายุเป็นฐาน การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยประยุกต์ (Applied Research) ศึกษาโดยใช้วิธีวิทยาการวิจัย
แบบผสานวิธี (Mixed-methodology) ซึ่งการศึกษาเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถาม (Questionnaires)
เป็นแบบสารวจกับกลุ่มผู้สูงอายุในพื้นท่ีศึกษา จานวน 600 ตัวอย่าง และการศึกษาเชิงคุณภาพ โดยใช้
การสนทนากลุ่ม (Focus Group) กับกลุ่มคณะกรรมการบริหารโรงเรียนผู้สูงอายุ และการถอดบทเรียนกับ
ผู้สูงอายุของโรงเรียนผู้สูงอายุในพื้นท่ีศึกษา ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย
คา่ สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน ขณะท่ีข้อมลู เชิงคณุ ภาพใชก้ ารวิเคราะหโ์ ดยจาแนกข้อมลู และแบบพรรณนา

ผลการวิจัย พบว่า
1. ระดับคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในพ้ืนที่ศึกษา ได้แก่ ด้านสุขภาพกายอยู่ในระดับดี (ร้อยละ 57.5)

คุณภาพชีวิตด้านจิตใจอยู่ในระดับดี (ร้อยละ 57.5) คุณภาพชีวิตด้านสัมพันธภาพทางสังคมอยู่ในระดับดี
(ร้อยละ 44.7) และด้านสภาพแวดล้อมอยู่ในระดับดี (ร้อยละ 49.7) ในส่วนการเข้าถึงบริการ พบว่า
ผู้สูงอายุเข้าถึงและได้ใช้บริการมากท่ีสุด คือ การจ่ายเงินเบี้ยยังชีพเป็นรายเดือนอย่างทั่วถึงและ
เป็นธรรม (รอ้ ยละ 90.7) และการอานวยความสะดวกและความปลอดภัยโดยตรงแก่ผู้สูงอายุ เช่น ราวจับ
ในห้องน้า ราวทางเดินบนั ได รถเข็นวิลแชร์ ฯลฯ (ร้อยละ 50.8)

2. ความต้องการของผู้สูงอายุในพ้ืนที่ศึกษา ได้แก่ ด้านสุขภาพกาย ผู้สูงอายุต้องการ
บริการดูแลสุขภาพที่สะดวกในชุมชน และการดูแลรักษาตนเอง ด้านจิตใจ ผู้สูงอายุต้องการเย่ียมเยียนให้
กาลงั ใจ/เคร่ืองอปุ โภค-บริโภคคนยากไร้ในชมุ ชน การให้คาแนะนาแนวทางแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของ
คนในชุมชน และต้องการให้ผู้สูงอายุด้อยโอกาสได้เข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมของโรงเรียนผู้สูงอายุ ด้าน
สัมพันธภาพทางสังคม ผู้สูงอายุต้องการมีบทบาทในการบริหารจัดการโรงเรียนผู้สูงอายุ การรวมกลุ่มเป็น
ศูนย์เรียนรู้ต่างๆ เช่น ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ศูนย์เรียนรู้เกษตรอินทรีย์ ศูนย์เรียนรู้ศิลปะพ้ืนบ้าน
เป็นต้น เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีกิจกรรมทาลดความเครียด และยังสามารถมีรายได้เพิ่มขึ้นด้วย เป็นทั้งช่องทาง
การจาหน่ายสินค้า และการถ่ายทอดภูมิปัญญา-สืบสานศิลปวัฒนธรรมพื้นท่ีด้วย ต้องการเสนอโครงการ
เพ่ือขอสนับสนุนงบประมาณจากหน่วยงานภายนอก และการเพ่ิมจานวนกลุ่มเป้าหมายของโรงเรียน
ผู้สูงอายุตั้งแต่อายุ 55 ปี ข้ึนไป เพ่ือมาเป็นพ่ีเลี้ยงดูแลผู้สูงอายุในโรงเรียน ด้านสภาพแวดล้อม ผู้สูงอายุ
ต้องการกิจกรรมของโรงเรียนผู้สูงอายุสัญจร ความรู้เก่ียวกับการใช้เทคโนโลยีให้กับผู้สูงอายุ และช่องทาง
จาหน่ายสินค้าออนไลน์ ส่วนด้านสวัสดิการ ผู้สูงอายุต้องการมากถึงมากที่สุดภายใต้สถานการณ์

114

การแพร่ระบาดของเชือ้ ไวรัสโคโรนา่ 2019 คือ การเพิ่มขึ้นของเบยี้ ยังชีพท่ีเท่ากันทุกช่วงอายุ น่ันคือ 1,000 บาท
การส่งเสริมการประกอบอาชีพที่บ้านเพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีรายได้เพ่ิมขึ้น การบริการด้านสุขภาพในชุมชน
การบรกิ ารทางสงั คมในชุมชน ความรู้เก่ียวกับการดูแลสุขภาพรวมถึงอาหารและยารักษาโรคจากโควิด-19
และอปุ กรณ์และสงิ่ ของเคร่อื งใช้สาหรับการใชช้ วี ติ รว่ มกบั โควิด-19

3. แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุโดยใช้โรงเรียนผู้สูงอายุเป็นฐาน สามารถ
จาแนกเป็นกจิ กรรมของโรงเรียนผ้สู ูงอายุได้ ดงั นี้

ด้านสุขภาพกาย ได้แก่ การมีความรู้เบื้องต้นเก่ียวกับการดูแลสุขภาพ การออกกาลังกาย
รบั ประทานอาหารถูกสุขลักษณะ การเยย่ี มเยยี นใหก้ าลังใจกลุม่ ผสู้ ูงอายุ ตดิ บ้าน/ตดิ เตยี ง

ด้านจิตใจ ไดแ้ ก่ กิจกรรมนันทนาการ อาทิ ศิลปะ วัฒนธรรม โดยใช้ภมู ปิ ัญญาพ้ืนบ้าน
กิจกรรมด้านดนตรี : ลีลาศ ราวงกลองยาว หมอลากลอน ราบวงสรวง ราวงกงก้าฯ กิจกรรมศิลปะ
ประดิษฐ์ : ดอกไมจ้ นั ทนจ์ ากลอ๊ ตเตอรี่ การทาบายศรีจากใบตอง การทาผลติ ภัณฑ์จากวัสดุพ้ืนบ้านกระต๊ิบ
ขา้ วเหนยี วจากตน้ กก ผลิตภณั ฑต์ ระไคร้หอมไลย่ งุ

ด้านสมั พนั ธภาพทางสงั คม ไดแ้ ก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน : สนับสนุนงบประมาณ
การเดินทางมาโรงเรียน การซ่อมแซมที่อยู่อาศัย สนับสนุนเครื่องอุปโภค-บริโภค โรงเรียน/กศน. :
สนับสนุนวิทยากรด้านภาษา IT ฯ วัด : สนับสนุนสถานท่ีและการสอนแนวทางการปฏิบัติตนท่ีเหมาะสม
ต่อศาสนา พุทธศาสนาในชีวิตประจาวัน รพ.สต. : การให้คาแนะนาในการรับประทานอาหารท่ีเหมาะสม
การใช้ยา การปฐมพยาบาล ความรเู้ รอื่ งโรคติดตอ่ ตา่ งๆ และการตรวจสขุ ภาพผู้สูงอายุ ฯลฯ

ด้านสภาพแวดล้อม ได้แก่ การใช้ IT และ Social network เพื่อการส่ือสารและ
สืบค้น ส่งเสริมการเกษตร : แจกพันธุ์ผัก/ปลูกผักสวนครัว/ปลูกผักปลอดสาร เล้ียงไส้เดือน (ทาปุ๋ยหมัก)
และการแยกขยะ

ด้านสวัสดิการ ได้แก่ ลงพื้นที่เยี่ยมผู้สูงอายุในชุมชน โดย อบต. สมาชิกในโรงเรียน
พชอ./พชต. CG นกั บรบิ าล นาเครื่องอุปโภค - บริโภค ไปช่วยเหลือผู้สูงอายุท่ียากไร้ในชุมชน กองทุนฌาปนกิจ
สงเคราะหส์ าหรบั ผู้สงู อายุที่เปน็ สมาชกิ และผ้สู ูงอายดุ อ้ ยโอกาส

อภปิ รายผล

1. ระดับคุณภาพชวี ิตของผู้สงู อายใุ นทอ้ งถิ่น
จากการศึกษาผู้สูงอายุในชุมชน จานวน 600 คน พบว่า ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง เป็นกลุ่ม

ผู้สูงอายุวัยต้น (60-69 ปี) สถานภาพเป็นผู้ที่สมรสแล้ว ระดับการศึกษาช้ันประถมศึกษา ไม่ได้ประกอบ
อาชีพ มีรายได้หลักมาจากเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุและจากการทางาน และยังพบว่าผู้สูงอายุมีหน้ีสินถึงร้อยละ
43.2 โดยการอาศัยอยู่กับคู่สมรสและบุตรหลาน มีความสอดคล้องกับวิไลพร ขาวงษ์และคณะ (2554)
ท่ีศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ พบว่า ผู้สูงอายุในตาบลบางกร่าง อาเภอเมือง
จังหวัดนนทบุรี มีการศึกษาระดับประถมศึกษา ไม่ได้ประกอบอาชีพ มีรายได้น้อย ฐานะทางการเงินพอใช้
ไมเ่ หลือเก็บและพอใชต้ ามอัตภาพ แต่มคี วามแตกตา่ งกนั คือ ถึงแม้วา่ การศึกษาครั้งนี้ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ไม่ได้
ประกอบอาชพี (ร้อยละ 51.5) แต่ยังมผี ู้สงู อายุท่ปี ระกอบอาชพี ถงึ รอ้ ยละ 48.5 นน่ั แสดงใหเ้ ห็นว่า ถึงแม้จะ
มีสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา2019 ก็ยังมีผู้สูงอายุท่ีต้องประกอบอาชีพเพื่อเล้ียงดู
ครอบครวั อยู่

115

สมั พนั ธภาพของคนในครอบครวั ที่พิจารณาจากตัวชี้วัดพฤติกรรมของสมาชิกในครอบครัว
ใน 3 อนั ดบั แรก คอื มกี ารช่วยเหลือกนั เมื่อใครคนใดคนหนงึ่ เดอื ดรอ้ น รอ้ ยละ 88.2 มีความไว้วางใจซ่ึงกัน
และกัน ร้อยละ 87.0 และปรึกษากันเม่ือมีปัญหาเกิดขึ้นหรือก่อนตัดสินใจใดๆ ร้อยละ 86.7 ถือว่า
สัมพันธภาพในครอบครัวอยู่ในระดับดี ประกอบกับในขณะน้ันมีการกลับมาอาศัยอยู่กับครอบครัวมากข้ึน
ซึ่งผลกระทบจากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา2019 ท่ีมีการถูกเลิกจ้างบ้าง การหยุดงานจากการ
ปิดสถานประกอบการบา้ ง

การได้รับแรงสนับสนุนทางสังคม ประกอบด้วย การสนับสนุนจากเพ่ือน ครอบครัว
นักวิชาชีพ และหน่วยงาน/องค์กร พบว่า ผู้สูงอายุได้รับแรงสนับสนุนจาก อบต/เทศบาล มากที่สุดถึงร้อยละ
91.7 รองลงมา คือ อสม. ร้อยละ 90.5 และเพื่อนบ้าน ร้อยละ 88.2 สาหรับประเภทของแรงสนับสนุนที่
ได้รับจาก อบต./เทศบาล คือ ข้อมูล/ข่าวสาร ให้คาปรึกษา/แนะนา สิ่งของ/เงิน กาลังใจ เนื่องจาก
สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา2019 ในขณะน้ัน ส่งผลให้ผู้สูงอายุคาดหวังการได้รับการ
ชว่ ยเหลือจากหน่วยงานในพ้ืนท่ีอันดับแรกคือ ท้องถิ่น รวมถึง อสม. ที่มีหน้าที่สอดส่อง/ดูแล/การป้องกัน/
การเฝา้ ระวังการแพรร่ ะบาดของเชอ้ื ไวรสั โคโรนา2019 ในชุมชนดว้ ย จะสังเกตได้ว่าเครือข่ายท่ีเกี่ยวข้องกับ
สุขภาพของคนในชุมชน(อสม./แพทย์/พยาบาล/เจ้าหน้าท่ี รพ.สต.) จะสนับสนุนด้านการให้คาปรึกษา
ขอ้ มูล/ข่าวสาร ให้กาลังใจ และสิ่งของ/เงนิ ตามลาดับ

คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ มีระดับคุณภาพชีวิตโดยรวมอยู่ในระดับดี ระดับปานกลาง และ
ระดบั ไม่ดี เมอ่ื พจิ ารณารายมิติตามองค์ประกอบในการวัดคุณภาพชีวิต ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพ
กายและด้านจิตใจดีที่สุด รองลงมาคือ คุณภาพชีวิตด้านสภาพแวดล้อม และคุณภาพชีวิตด้านสัมพันธภาพ
ทางสังคม สาหรับการรับรู้รายด้านต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุท่ีมีระดับคุณภาพชีวิตมากท่ีสุด ได้แก่ ด้าน
สุขภาพกาย ผู้สูงอายุมีการรับรู้ความสามารถในการทาสิ่งต่างๆ ในแต่ละวันได้ รองลงมาคือ รู้สึกพอใจใน
การไปไหนมาไหนด้วยตนเองได้และความรู้สึกพอใจที่สามารถทาอะไรๆ ผ่านไปได้ ด้านจิตใจ ผู้สูงอายุมี
ความรสู้ ึกพอใจในชีวิต สดชื่น แจ่มใสและภาคภูมิใจในตนเอง รองลงมาคือ รู้สึกพอใจในตนเอง เห็นคุณค่า
และเชื่อม่ันในตนเอง มีความพยายามที่จะชนะอุปสรรค รวมถึงการยอมรับความจริง และรู้สึกว่าชีวิตมี
ความหมาย ด้านสภาพแวดล้อม ผสู้ งู อายพุ อใจกับสภาพบ้านเรือนท่อี ยู่อาศยั มากทสี่ ุด รองลงมาคือ รู้สึกว่า
ชีวิตมีความมั่นคงปลอดภัย และรู้สึกพึงพอใจท่ีได้รู้ข่าวสารท่ีจาเป็นในแต่ละวัน เช่น หอกระจายข่าว วิทยุ
ทีวี เป็นต้น ด้านสัมพันธภาพทางสังคม ผู้สูงอายุพอใจกับการได้รับการช่วยเหลือจากเพ่ือน รองลงมาคือ
พอใจต่อการได้ช่วยเหลือคนอื่น และพอใจต่อการผูกมิตรหรือเข้ากับคนอื่น มีความสอดคล้องกับเยาวเรศ
แตงจวง (2558) ศึกษาแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ อาเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ พบว่า
ผู้สูงอายุให้ความสาคัญกับทางด้านจิตใจเป็นลาดับแรก ซึ่งส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ชนบทเหมือนกันและ
ทีผ่ ้สู ูงอายุมคี ณุ ภาพชีวิตด้านจิตใจดีท่ีสุดอาจเนื่องมาจากการอยู่กับคู่สมรสและบุตรหลาน ทาให้มีท่ีปรึกษา
และคอยดูแลซงึ่ กนั และกัน

การรับรู้เก่ียวกับสิทธิตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 (แก้ไข พ.ศ. 2553) พบว่า
ผสู้ งู อายุกว่าร้อยละ 63.0 ไม่รู้สิทธิตามพระราชบัญญัติน้ี มีเพียงร้อยละ 37.0 รู้สิทธิเกี่ยวกับพระราชบัญญัตินี้
เม่อื สอบถามการเขา้ ถงึ สทิ ธิต่างๆ ของผูส้ ูงอายุ พบวา่ สิทธิและบริการที่ผู้สูงอายุไม่รู้มากท่ีสุดร้อยละ 32.2
คือ สิทธิในการเข้าชมอุทยานต่างๆ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย รองลงมา ร้อยละ 32.0 ไม่รู้เรื่องสิทธิในการให้
คาแนะนาปรึกษา หรือการดาเนินการอื่นที่เกี่ยวข้องในทางคดีหรือในทางการแก้ไขปัญหาครอบครัว เช่น
การให้คาปรึกษาจากยุติธรรมจังหวัด ฯลฯ และร้อยละ 31.3 ไม่รู้ว่ามีบริการทางด่วนสาหรับผู้สูงอายุ
ในโรงพยาบาล ในส่วนของการเข้าถึงบริการ พบว่า ผู้สูงอายุเข้าถึงและได้ใช้บริการมากท่ีสุด คือ การจ่ายเงิน

116

เบี้ยยังชีพเป็นรายเดือนอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม (ร้อยละ 90.7) และการอานวยความสะดวกและ
ความปลอดภัยโดยตรงแกผ่ สู้ ูงอายุ เชน่ ราวจบั ในหอ้ งน้า ราวทางเดินบนั ได รถเขน็ วลิ แชร์ ฯลฯ (รอ้ ยละ 50.8)

เมื่อพิจารณาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุจากข้อมูลเชิงปริมาณสอดคล้องกับการถอดบทเรียน
การดาเนนิ งานของโรงเรยี นผสู้ งู อายุ สามารถจาแนกคุณภาพชวี ิตของผูส้ งู อายอุ อกเป็น 5 ด้าน ดังน้ี

ดา้ นสขุ ภาพกาย ด้านจติ ใจ ด้านสมั พนั ธภาพ ดา้ น ดา้ นสวสั ดกิ าร

ทางสังคม สภาพแวดลอ้ ม

ภาพรวมระดบั ดี ภาพรวมระดับดี ภาพรวมระดบั ดี ภาพรวมระดบั ดี ภาพรวมส่วนใหญ่
ไมร่ ู้เร่ืองสิทธติ าม พ.ร.บ.
(ระดับ 57.5) (ระดบั 57.5) (ระดบั 44.7) (ระดับ 49.7) ร้อยละ 63 และรบั รสู้ ิทธิ
 สามารถทาสิ่ง  พึงพอใจในชวี ิต  การได้  อยู่กบั สามี/ ร้อยละ 37
 สดชน่ื แจ่มใส  การจัดสวัสดกิ ารสงั คมท่ี
ต่างๆ ได้ดี เปน็  ภมู ใิ จในตนเอง ชว่ ยเหลอื ผู้อ่นื ครอบครัว มใี นพน้ื ท่ี
 เช่ือมัน่ ใน  การไดร้ ับการ  บตุ ร/หลาน
ผู้สูงอายตุ อนตน้  บา้ นเรือน -ด้านหลักประกนั ดา้ น
ตนเอง ช่วยเหลอื การเงิน เชน่ กองทนุ
(60-69 ปี)  ยอมรบั ความ  การผกู มิตรกับ มน่ั คง/ปลอดภยั สปสช., กองทุนสวสั ดิการ
 มีความเปน็  ครอบครวั ชุมชน ฯลฯ
เปน็ จริงได้ ผอู้ ่ืน
อิสระ  ครอบครวั  ครอบครวั มกี าร อบอนุ่ /เก้อื หนนุ -ด้านการช่วยเหลอื
 ชว่ ยเหลือ  การคมนาคม สาธารณะ เช่น เบ้ียยังชีพ
อบอุ่น ปลอดภัย เกอื้ หนุน การซ่อมแซมบา้ น เงิน
ตนเองได้ สะดวก สงเคราะห์ การชว่ ยเหลือ
ชอบทางานด้าน  การรบั รู้ ผปู้ ระสบภยั การจดั การศพ
ตามประเพณี
สงั คม ขา่ วสารได้จาก หอ
-ดา้ นการบรกิ ารสงั คม
กระจายข่าว ผู้นา ได้แก่ การตรวจสขุ ภาพ
ผู้สงู อายุ(ความดัน/
ชมุ ชน และ อสม. เบาหวาน/ฉีดวคั ซีน)
 คา่ ใชจ้ ่ายตาม อปุ กรณ์กีฬา หน่วยบรกิ าร
เคล่อื นท่ี (EMS) การเฝ้า
ความจาเปน็ ไดแ้ ก่ ระวงั โรคตดิ ตอ่ ในชมุ ชน
หอกระจายขา่ ว เรยี น
การกนิ อยแู่ ละยา หนงั สือจาก กศน. ส่งเสริม
การรวมกลุม่ ทาอาชีพ การ
รกั ษาโรค เพียงพอ ตรวจความสะอาด (Clean
 รพ.สต. ไมไ่ กล food Good test)
หมายเลขฉุกเฉิน 1669
จากชุมชน มี ฯลฯ

เจ้าหนา้ ทอ่ี ยดู่ ูแล

ตลอด

117

2. ความตอ้ งการในการพฒั นาคุณภาพชวี ิตผสู้ งู อายใุ นทอ้ งถน่ิ
ข้อมูลเชงิ ปริมาณแสดงให้เห็นระดับความต้องการของผู้สูงอายุส่วนใหญ่อยู่ในระดับมาก โดยมี

ความต้องการใน 3 อันดับแรก คือ ด้านสวัสดิการผู้สูงอายุ (เบ้ียยังชีพ) มีค่าเฉล่ียสูงท่ีสุด ( x =4.26) โดยร้อยละ

56.3 มคี วามตอ้ งการมากทสี่ ดุ รองลงมาคอื ดา้ นรายได้ มีค่าเฉล่ีย ( x = 4.10) ระดับความต้องการมากท่ีสุด

รอ้ ยละ 41.8 และมคี วามตอ้ งการด้านการเขา้ ถึงบริการดา้ นสุขภาพ ค่าเฉล่ียสูงท่ีสุด ( x = 3.92) โดยร้อยละ

44.8 มีความต้องการระดับมาก
เม่ือพิจารณาความต้องการของผู้สูงอายุในชุมชนจากข้อมูลเชิงปริมาณท่ีสอดคล้องกับการ

ถอดบทเรียนการดาเนินงานของโรงเรียนผู้สูงอายุและการสนทนากลุ่มย่อย (Focus Group) ของคณะกรรมการ
บริหารโรงเรยี นผสู้ ูงอายุ จาแนกได้เป็น 5 ดา้ น ดังน้ี

ดา้ นสุขภาพกาย ดา้ นจิตใจ ดา้ นสัมพนั ธภาพ ด้าน ด้านสวัสดกิ าร

ทางสงั คม สภาพแวดลอ้ ม

 การบริการ  การเยย่ี มเยยี น  บทบาทผู้สงู อายุ  กิจกรรมของ ระดับความต้องการ
ดแู ลสขุ ภาพใน ใหก้ าลังใจ/เครื่อง ในการบริหาร โรงเรยี นผู้สงู อายุ มากที่สดุ คือ
ชุมชน อุปโภค-บรโิ ภค จดั การโรงเรียน  เบย้ี ยงั ชพี คือ การ
 การดูแลรักษา คนยากไรใ้ นชุมชน ผูส้ งู อายุด้วยตนเอง สัญจรให้ครอบคลุม ไดร้ บั เบ้ยี ยงั ชีพทเ่ี สมอ
ตนเองจากโรค ไมว่ า่ จะสงู อายุ  การรวมกลุม่ เปน็ ในตาบลนัน้ ๆ ภาค แตต่ อ้ งไม่กระทบ
ตา่ งๆ ทั้งโรค หรือไมส่ งู อายุ ศูนย์เรยี นรู้ตา่ งๆ  ความรเู้ กย่ี วกับ กับผู้สูงอท่ีไดร้ ับอยูแ่ ลว้
ประจาตวั และโรค  การให้ เชน่ ศนู ย์เรยี นรู้ การใช้เทคโนโลยี คือ 1,000 บาท เพ่ือ
วบิ ัตใิ หม่ ภายใต้ คาแนะนา การ เศรษฐกจิ พอเพียง นามาเป็นการใชจ้ ่ายใน
สถานการณ์การ พูดคุยหรือการ ศนู ย์เรียนรเู้ กษตร ให้กบั ผ้สู ูงอายุ เชน่ การดารงชวี ิตในปจั จบุ ัน
แพร่ระบาดของ ปรกึ ษาหาแนว อินทรีย์ ศนู ยเ์ รยี นรู้ เบอรโ์ ทรศัพท์  รายได้ ด้วยผสู้ งู อายุ
เช้อื ไวรสั โคโรนา ทางแก้ไขปัญหา ศลิ ปะพ้นื บา้ น เปน็ ต้องรับภาระเลยี้ งดูคน
2019 ความเดือดร้อนของ ตน้ เพื่อให้ผสู้ งู อายุ ฉกุ เฉนิ การใช้ ในครอบครวั และ
คนในชุมชน จาก ไดม้ ีกจิ กรรมทาลด ภายใต้สถานการณโ์ ควดิ
สถานการณ์ การ ความเครียด และยงั Facebook Line 19 คนในครอบครวั ต้อง
แพร่ระบาดของเชื้อ สามารถมีรายได้ เป็นตน้ กลับมาอยู่ทบ่ี ้านเพ่มิ ขึน้
ไวรสั โคโรนา 2019 เพิ่มขึ้นด้วย เป็นทัง้  ช่องทาง
 การเปิดโอกาส ช่องทางการ จาหน่ายสนิ ค้า ระดับความต้องการ
ให้ผูส้ ูงอายุด้อย จาหนา่ ยสนิ คา้ และ มาก คอื
โอกาสไดเ้ ข้ามามี การถา่ ยทอดภูมิ ออนไลน์ สาหรับ  บรกิ ารทางสงั คม
สว่ นรว่ มใน ปญั ญา-สืบสาน  บริการด้านสุขภาพ
กจิ กรรมของ ศลิ ปวัฒนธรรมพ้ืนที่ ผูส้ งู อายุที่มีอาชีพ  ความรูเ้ กย่ี วกบั การ
โรงเรียนผู้สงู อายุ ด้วย อยแู่ ล้ว หรอื กล่มุ ดแู ลสุขภาพ
 การเสนอ  อาหารและยารักษา
โครงการเพื่อขอ อาชีพทผ่ี สู้ ูงอายุ โรค
สนับสนุน  อุปกรณ์และส่งิ ของ
รวมกลุ่มกันได้ เคร่ืองใช้
งบประมาณจาก

ด้านสขุ ภาพกาย ด้านจติ ใจ 118 ดา้ น ด้านสวัสดิการ
สภาพแวดล้อม
ดา้ นสัมพนั ธภาพ
ทางสังคม

หนว่ ยงานภายนอก
 เพ่มิ จานวน
กล่มุ เปา้ หมายต้งั แต่
อายุ 55 ปี ขึน้ ไป
เพือ่ มาเปน็ พีเ่ ลีย้ ง
ดแู ลผูส้ ูงอายุใน
โรงเรียน

3. แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายโุ ดยใช้โรงเรียนผู้สูงอายุเป็นฐาน
จากผลการศึกษาคร้ังน้ี ผู้วิจัยได้แนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตาม

องค์ประกอบขององค์การอนามัยโลก (WHO) และสิทธิสวัสดิการของผู้สูงอายุ ทั้งด้านร่างกาย ด้านจิตใจ
ด้านสัมพันธภาพทางสังคม ด้านสภาพแวดล้อม และด้านสวัสดิการ เป็นการยกระดับคุณภาพชีวิตท่ีไม่ดี
ไปสู่ระดับคุณภาพชีวิตกลางๆ และยกระดับคุณภาพชีวิตกลางๆ ไปสู่ระดับคุณภาพชีวิตท่ีดีตามลาดับ
สามารถจาแนกออกเป็น 5 ด้าน ดังน้ี

ด้านสุขภาพ ดา้ นจิตใจ ดา้ นสมั พนั ธภาพ ด้าน ด้านสวสั ดกิ าร
กาย ทางสงั คม สภาพแวดลอ้ ม
 กจิ กรรม  ลงพ้นื ท่ีเย่ยี ม
 การมีความรู้ นนั ทนาการ อาทิ  องค์กรปกครอง  การใช้ IT และ ผู้สงู อายุในชุมชน
เบอ้ื งตน้ เก่ียวกบั ศลิ ปะ วฒั นธรรม สว่ นทอ้ งถ่ิน : Social network โดย อบต. สมาชกิ
การดูแลสุขภาพ โดยใชภ้ ูมิปัญญา สนับสนุน เพ่อื การส่อื สารและ ในโรงเรียน พชอ./
 การออก พ้นื บ้าน งบประมาณ การ สืบคน้ พชต. CG นัก
กาลงั กาย  กจิ กรรมดา้ น เดนิ ทางมาโรงเรียน  ส่งเสริม บรบิ าล
 รับประทาน ดนตรี : ลลี าศ รา การซ่อมแซมท่อี ยู่ การเกษตร : แจก  นาเครื่องอุปโภค
อาหารถูก วงกลองยาว หมอ อาศยั สนับสนนุ พันธ์ุผกั /ปลูกผกั - บรโิ ภค ไป
สุขลักษณะ ลากลอน รา เคร่ืองอุปโภค- สวนครัว/ปลูกผกั ช่วยเหลือผสู้ งู อายุ
 การเย่ียม บวงสรวง ราวง บรโิ ภค ปลอดสาร เลยี้ ง ที่ยากไร้ในชุมชน
เยียนใหก้ าลังใจ กงก้า ฯ  โรงเรยี น/กศน. : ไสเ้ ดือน (ทาป๋ยุ  กองทุนฌาปนกิจ
กลุ่มผสู้ ูงอายุ  กจิ กรรม สนับสนนุ วิทยากร หมัก) และการแยก สงเคราะห์ สาหรับ
ติดบ้าน/ติด ศลิ ปะประดิษฐ์ : ดา้ นภาษา IT ฯ ขยะ ผู้สูงอายุที่เปน็
เตียง ดอกไมจ้ นั ทน์  วดั : สนบั สนุน  การซ่อมแซม สมาชกิ และ
จากล๊อตเตอร่ี สถานทแี่ ละการ บ้านผสู้ ูงอายุให้ ผู้สงู อายดุ ้อยโอกาส
การทาบายศรี สอนแนวทางการ เหมาะสมกบั การ
จากใบตอง ปฏบิ ัติตนที่ อยู่อาศยั
เหมาะสมต่อ

119

ด้านสุขภาพ ด้านจิตใจ ดา้ นสัมพันธภาพ ดา้ น ด้านสวัสดกิ าร
กาย ทางสังคม สภาพแวดล้อม

 การทา ศาสนา พุทธ
ผลิตภัณฑจ์ าก ศาสนาใน
วสั ดพุ ้นื บา้ น : ชวี ติ ประจาวนั
กระติ๊บข้าว  รพ.สต. : การให้
เหนียวจากตน้ กก คาแนะนา
ผลติ ภณั ฑต์ ระ ในการรับประทาน
ไครห้ อม อาหารที่เหมาะสม
ไลย่ ุง การใชย้ า การปฐม
พยาบาล ความรู้
เรอื่ งโรคติดต่อ
ตา่ งๆ และการ
ตรวจสุขภาพ
ผู้สงู อายุ ฯลฯ

สบื เนอื่ งจากความต่ืนตัวในการจัดต้ังโรงเรียนผู้สูงอายุ ก่อให้เกิดความแตกต่างท้ังรูปแบบ
และวิธีการดาเนินการของโรงเรียน เป็นการนาผู้สูงอายุมาร่วมทากิจกรรมท้ังให้ความรู้และนันทนาการ
โดยการศกึ ษาครงั้ น้ีต้องการใหโ้ รงเรียนผู้สูงอายุเป็นฐานในการพัฒนาผู้สูงอายุให้เป็นผู้มีศักยภาพที่สามารถ
พึ่งพาตนเองได้นานที่สุด มีความสอดคล้องกับศาสตราจารย์ศศิพัฒน์ ยอดเพชร และคณะ (2560) ท่ีศึกษา
การถอดบทเรียนตัวอย่างที่ดีของโรงเรียนและชมรมผู้สูงอายุที่มีกิจกรรมถ่ายทอดความรู้ พบว่า โรงเรียน
ผ้สู งู อายุเปน็ ลักษณะกจิ กรรมทสี่ ถาบัน หน่วยงานหรือชมุ ชน จัดทาข้ึนเพื่อพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุผ่านการ
ถา่ ยทอดความรอู้ ยา่ งเป็นระบบท่ีผู้สูงอายุเรียนรู้อย่างสนุกสนาน รื่นเริง นักเรียนสูงอายุที่ผ่านจากโรงเรียน
เกิดทักษะด้านการดูแลตนเอง ควบคุมตนเอง และ การพึ่งตนเองได้ในระดับมาก นอกน้ันเป็นทักษะในการ
พัฒนาความสามารถทางกาย จิต สังคม ปัญญา และเศรษฐกิจ ซ่ึงโรงเรียนผู้สูงอายุต้องมีหลักสูตรที่
เหมาะสมสาหรับโรงเรียนผู้สูงอายุ เพื่อแนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในท้องถ่ินควบคู่กับการ
พฒั นาการเป็นผู้สูงอายทุ ่ีมศี ักยภาพ ประกอบด้วย

กจิ กรรมทีผ่ ูส้ ูงอายตุ อ้ งรู้ กิจกรรมทผี่ ้สู ูงอายุควรรู้ กิจกรรมทีผ่ ูส้ ูงอายุอยากรู้

1.การเปลย่ี นแปลงในวัยสงู อายกุ ับ 1.ศาสนาในชวี ติ ประจาวัน (แนว 1.ดนตรี เช่น ลีลาศ, วงกลองยาว
, หมอลากลอน, ราบวงสรวง,
การป้องกันและการรกั ษาสุขภาพ ทางการปฏิบตั ติ นทเ่ี หมาะสมตอ่ ราวงกงก้า
2.ศิลปะประดิษฐ์ เช่น
(การเปล่ียนแปลงทางรา่ งกาย จติ ใจ ศาสนา ศาสนวตั ถแุ ละศาสนสถาน) ดอกไม้จันทนจ์ ากล็อตเตอรร่ี
การทาบายศรจี ากใบตอง
และสังคม/การเฝา้ ระวัง การป้องกัน 2.วฒั นธรรมและภูมปิ ญั ญาพืน้ บา้ น 3.การทาผลิตภัณฑจ์ ากวัสดุ
พ้ืนบา้ น เชน่ กระต๊ิบข้าวเหนียว
และการควบคมุ โรค/การป้องกนั (ภมู ิปญั ญาท้องถ่ิน/วธิ ีการรักษา

อุบัตเิ หต/ุ การปรบั ปรงุ สง่ิ แวดลอ้ ม อนุรกั ษ์ สืบสาน และถ่ายทอด)

สาหรบั ผูส้ งู อาย)ุ 3.อาสาสมัครกับการมสี ่วนรว่ มใน

2.การดารงชีวิตแบบสงู วัยที่มี สงั คม (จิตอาสา/บทบาทผู้สงู อายุใน

120

กจิ กรรมที่ผูส้ ูงอายุตอ้ งรู้ กิจกรรมที่ผสู้ ูงอายุควรรู้ กจิ กรรมท่ผี ู้สูงอายุอยากรู้

คณุ ภาพ (การดแู ลตนเองยามปกติ/ ฐานะอาสมัคร/กจิ กรรมอาสาสมคั รที่ จากต้นกก, ผลิตภัณฑต์ ะไคร้หอม

การดูแลตนเองจามเจ็บป่วยในผสู้ งู อาย)ุ ผู้สูงอายุทาได้/ประโยชนท์ ผี่ สู้ ูงอายุ ไล่ยงุ ,

3.การออกกาลังกายในวัยสูงอายุ ไดร้ บั จาการทากจิ กรรมอาสาสมัคร) 4.กฬี า เช่น กีฬาพน้ื บา้ น, กีฬาสี

(การออกกาลังกายสาหรับผ้สู งู อายุ/ 4.การเปล่ยี นแปลงทางธรรมชาติโลก ระหว่างร่นุ

ขอ้ พงึ ระวังให้หลีกเล่ยี งในการออก (ภาวะโลกรอ้ น/การเปลี่ยนแปลงทาง 5.ทักษะวิชาการ เช่น สภุ าษิต

กาลงั กาย/ขอ้ แนะนา) ภูมิอากาศ/ความแหง้ แลง้ ) การถ่ายทอดความรู้จากภูมิ

4.อาหารทเี่ หมาะสมกับผู้สงู อายุ 5.ภยั พิบัตทิ างธรรมชาติและการ ปัญญา

(อาหารท่เี ส่ียงตอ่ การเกดิ โรคบาง เตรียมรับมือเม่ือเกิดสถานการณ์ภัย 6.การดูแลผู้สงู อายุระยาวและ

ชนิด/อาหารกบั โรค) พบิ ตั ิ (แนวทางการจดั การเพ่ือลดและ ระยะสดุ ท้าย

5.การใชย้ าให้ถูกวธิ ี (ความหมาย ปอ้ งกนั ผลกระทบจากภัยพบิ ัติ 7.ศาสนพิธีและธรรมเนียม

และประเภทยา/วธิ ีการใช้ยาอยา่ ง ธรรมชาตติ อ่ ผสู้ ูงอายุ) ปฏบิ ตั ิ เช่น กฐินเวียน, เพลเวยี น

ถูกต้องและปลอดภยั ) 6.พุทธศาสนาในชวี ิตประจาวัน 8.กจิ กรรมสัมพนั ธ์ระหว่างวัย

6.พชื ผกั สมนั ไพรเพื่อสุขภาพ (คาสั่งสอน/วธิ ีปฏบิ ัตติ นใหถ้ ูกตอ้ งทาง เช่น จงู ลกู จงู หลานเขา้ วดั

(พชื ผักที่นา่ สนใจ/ผักผลไมท้ ่ีควร ธรรมะ/การปรบั ใชใ้ นชีวิตประจาวนั ) 9.การจัดการดา้ นการเงิน

ระวงั ในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง) 7.การใช้ IT และ Social Network 10.ทัศนศึกษา

7.การพฒั นาจติ สาหรับผูส้ ูงอายุ เพอ่ื การสื่อสารและสืบค้น

(การมสี ขุ ภาพจติ ดี/แนวคิดของการ (ความสาคัญและประโยชน์การใช้ IT

คดิ บวก/การทาสมาธ)ิ และ Social Network เพอื่ การ

8.ภาษาอาเซียน (การกลา่ วทักทาย/ ส่ือสาร/หลกั การใช้ IT และ Social

ประโยคภาษาอังกฤษใน Network /Website ทเี่ ป็นประโยชน์

ชีวติ ประจาวัน) ต่อผู้สงู อาย/ุ ขอ้ ควรระวังก่อนและขณะ

9.สิทธสิ าหรบั ผู้สูงอายุตาม ใช้ Social Network/การใช้ Line

พระราชบญั ญตั ิผู้สูงอายุ พ.ศ.2546 จากสมาร์ทโฟน/หมายเลขโทรศพั ท์

(ฉบบั แก้ไข พ.ศ. 2553) กรณีฉุกเฉิน )

8.โรคตดิ ต่อตามฤดูกาลและโรคตดิ ต่อ

อบุ ตั ิใหม่(Covid-19) (โรคตดิ ต่อต่างๆ

/แนวทางปอ้ งกัน/โรคติดต่อที่ต้องแจง้

ความ)

9.การปฐมพยาบาล (ความสาคญั /

การแจ้งเหตุขอความช่วยเหลอื /

แนวทางปฏิบตั )ิ

10.การเสรมิ สรา้ งทักษะทางสงั คมท่ี

เหมาะสม (ทักษะทจ่ี าเป็นในการสร้าง

และรักษาสัมพนั ธภาพทีด่ ีระหว่าง

บุคคล/หลักปฏิบตั ใิ นการสร้างและการ

รกั ษาสมั พันธภาพในสงั คม)

121

ขอ้ เสนอแนะ

1. ขอ้ เสนอแนะจากการวิจัย
1.1 ควรมีการถอดบทเรียนกิจกรรมที่น่าสนใจเพื่อจัดทาคู่มือ และขยายผลต่อเนื่องของ

กิจกรรมไปยังโรงเรียนผู้สูงอายใุ กลเ้ คยี ง และมกี ารตดิ ตามประเมนิ ผล
1.2 การขยายผลกิจกรรมของโรงเรียนผู้สูงอายุให้ทันสมัยกับสถานการณ์ของผู้สูงอายุ

ในปจั จุบัน เช่น การเรียนรู้เก่ียวกบั เทคโนโลยี (IT) การดแู ลผู้สงู อายุระยะสุดท้าย
1.3 การเพิ่มบทบาทของผู้สูงอายุโดยการดึงศักยภาพผู้สูงอายุที่เป็นต้นแบบหรือ

ข้าราชการเกษยี ณที่มีความรคู้ วามสามารถมาสนบั สนนุ กจิ กรรมเพื่อให้ผสู้ ูงอายุในโรงเรียนผู้สูงอายุได้เรียนรู้
รว่ มกัน หรอื ให้สมาชิกโรงเรียนผ้สู งู อายุรนุ่ พส่ี อนรุ่นน้อง

1.4 การยกระดับ ศพอส. และ โรงเรียนผู้สูงอายุ เป็นศูนย์ช่วยเหลือสังคมตาบล เพื่อ
อานวยความสะดวกแก่ผู้สูงอายุที่เป็นกลุ่มเปราะบางให้เข้าถึงบริการและได้รับการช่วยเหลือให้ครอบคลุม
ทุกมติ ิแบบองค์รวม เพอ่ื พฒั นาคุณภาพชวี ิตผสู้ ูงอายใุ นชมุ ชน

1.5 การนาทุนทางสังคม กองทุนทางสังคม กองทุนสวัสดิการชุมชน กองทุนออมทรัพย์
มาสนบั สนนุ กจิ กรรมของโรงเรียนผูส้ งู อายุได้

1.6 นาสิทธิและสวัสดิการผู้สูงอายุตาม พ.ร.บ.ผู้สูงอายุ 2546 (ฉบับแก้ไข พ.ศ.2553)
มาเปน็ แนวทางในการจัดทาหลกั สูตรและกจิ กรรมไดห้ ลากหลาย

1.7 การจัดทาหลักสูตรของโรงเรียนผู้สูงอายุควรคานึงถึงกิจกรรมที่ผู้สูงอายุต้องรู้ ควรรู้
และอยากรู้ รวมทั้งกระตุ้นให้อยากทา พรอ้ มกับการพฒั นาศกั ยภาพผสู้ ูงอายุไปด้วย

2. ข้อเสนอแนะตอ่ กรมกิจการผู้สงู อายุ
1) ควรมีการเสริมพลังเครือข่ายให้กับโรงเรียนผู้สูงอายุ เช่น การสอนและเรียนรู้ร่วมกัน

ระหว่างผสู้ งู อายุกบั ชมุ ชน กระบวนการหาความต้องการของชุมชน โดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วม อาทิเช่น
การประเมินผู้สูงอายุสุขภาพดี(สุขภาพจิต ความเครียด การอยู่ร่วมกันในสังคม การเข้าร่วมโครงการกิจกรรม
เป็นต้น)

2) การสนบั สนนุ งบประมาณในการดาเนนิ กจิ กรรมของโรงเรยี นผสู้ ูงอายอุ ยา่ งตอ่ เนื่อง

3. ขอ้ เสนอแนะสาหรับการวิจยั ครั้งตอ่ ไป
1) ควรมีการศึกษาเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุก่อน และหลังเข้าโรงเรียน

ผู้สูงอายุ ว่าผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตดีข้ึนจากเดิมหรือไม่ และควรเพ่ิมกลุ่มตัวอย่างในการสัมภาษณ์เชิงลึก
เพ่อื ใหไ้ ด้ข้อมูลท่คี รอบคลุมและครบถว้ น

2) ควรมกี ารศึกษาศกั ยภาพผสู้ ูงอายุในการเป็นต้นแบบของโรงเรียนผู้สูงอายุผ่านกิจกรรม
การถ่ายทอด (ครู ก) และมีกจิ กรรมตดิ ตามประเมินผล

122

บรรณานุกรม

กรมการปกครอง. (2564). ระบบสถิติทางการทะเบียน กระทรวงมหาดไทย.
จาก https://stat.bora.dopa.go.th (ข้อมลู ณ วันท่ี 31 กรกฎาคม 2564)

กรมกจิ การผสู้ ูงอาย.ุ (2560). คมู่ อื โรงเรียนผู้สูงอายุ. กรุงเทพมหานคร. หนา้ 2 - 4 , 10 - 13
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (2558). คู่มือ “ความสุข 5 มิติ” สาหรับผู้สูงอายุ (ฉบับปรับปรุง)

(พิมพ์คร้ังท่ี 6). นนทบุรี : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด. หนา้ 1
เกรยี งศกั ด์ิ เจริญวงศศ์ กดั ิ์. (2548). ภาพอนาคตและคุณลักษณะของคนไทยทีพ่ งึ ประสงค์. กรุงเทพมหานคร :

สานักพัฒนาการเรียนร้แู ละมาตรฐานการศกึ ษา สานกั งานคณะกรรมการ การศึกษาแห่งชาติ.
เกอื้ วงศ์บญุ สิน. (2550). เดลินวิ ส.์ จาก http://www.healthcorners.com/2007/news/Read.phpd=5266
คนึงนจิ อนโุ รจน.์ (2561).แนวทางในการพัฒนาตนสกู่ ารพัฒนาคุณภาพชีวติ .จากhttps://www.gotoknow.org/

posts/148813
คีรีบูน จงวุฒิเวศย์. (2553). รูปแบบและวิธีการที่เหมาะสมในการจัดสวัสดิการสังคมโดยองค์กรปกครอง

สว่ นท้องถิน่ สาหรับผสู้ งู อาย.ุ นครปฐม : มหาวิทยาลยั ศิลปากร วิทยาเขตพระราชวงั สนามจนั ทร.์
จักรพงษ์ เกเยน็ . (2554). คุณภาพชีวิตผู้อยอู่ าศัยในชมุ ชนของการเคหะแห่งชาตใิ นเขตกรุงเทพมหานคร :

ศึกษากรณี โครงการเคหะชุมชนทุ่งสองห้อง อาคารแฟลตเช่า. จาก http://libdcms.nida.ac.th/
thesis6/2554/b171227.pdf
ฉมานนั ท์ แกว้ อนิ ต๊ะ. (2554). การนาแผนผสู้ ูงอายุแห่งชาติฉบับที่ 2 (พ.ศ.2545-2564) ฉบบั ปรับปรุง ครัง้ ที่ 1
พ.ศ.2552 ไปปฏิบัติ : กรณีศึกษา อาเภอเวียงสา จังหวัดน่าน. จาก http://libdcms.nida.ac.th/
thesis6/2554/b175409.pdf
ชนะโชค คาวนั . (2553). แนวทางการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตผ้สู ูงอายุขององค์การบริหารสว่ น
ตาบล ปลาปาก จังหวัดนครพนม. รายงานการศกึ ษาอิสระปริญญารฐั ประศาสนศาสตร์
มหาบณั ฑิตสาขาการปกครองทอ้ งถน่ิ วิทยาลยั การปกครองท้องถน่ิ . มหาวิทยาลัยขอนแกน่ . อดั สาเนา.
ชุมพร ฉ่าแสง และคณะ. (2555). ปจั จัยทมี่ ีผลตอ่ คณุ ภาพชวี ิตของบุคลากรฝา่ ยการพยาบาล ศูนย์การแพทย์
สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี จงั หวัดนครนายก (รายงานผลการวิจัย). นครนายก
: มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรว์ ิโรฒ. หน้า 6 -7
ณิศาภทั ร ม่วงคา. (2559). คณุ ภาพชวี ติ ในการทางานของบุคลากร : กรณศี ึกษา เจา้ หน้าทีอ่ าสาสมคั รกภู้ ยั
มูลนิธิมิราเคิล ออฟไลฟ์ในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญาสิริวัฒนาพรรณวดี
(สารนพิ นธ์). มหาวิทยาลัยเกรกิ . หนา้ 19 - 21
ธัญญารตั น์ ฉายแสง. (2558). ชวี ิตทางเศรษฐกิจของผสู้ ูงอายุในท้องถ่ิน : ศึกษากรณีพืน้ ทีต่ าบลวังโตนด
อาเภอนายายอาม จังหวัดจันทบรุ ี (ภาคนพิ นธ์). จันทบุรี : มหาวิทยาลัยราชภัฏราไพพรรณี. จาก
http://www.etheses.rbru.ac.th/pdf-uploads/allfile-187-file01-2016-03-07-14-36-
13.pdf
ธาริน สขุ อนันต,์ สภุ าวลั ย์ จาริยะศลิ ป์, ทัศนันท์ ทุมมานนท์, ปิยรัตน์ จิตรภกั ด.ี (2556). คณุ ภาพชีวติ ผู้สูงอายุ
ในเขตเทศบาลเมืองบ้านสวนจงั หวดั ชลบรุ ี. จาก http://db.hitap.net/articles/1666
นิรนาม.
บญุ ธรรม กจิ ปรีดาบรสิ ทุ ธ.ิ์ (2543). สถติ วิ ิเคราะหเ์ พ่อื การวิจัย. โรงพิมพเ์ รือนแกว้ การพิมพ์
กรุงเทพมหานคร. พิมพ์ครัง้ ท่ี 1 (ต.ค.)

123

บงั อร ธรรมศริ ิ. (2549). ครอบครัวกบั การดูแลผสู้ ูงอายุ. วารสารการเวก ฉบบั นิทรรศการวนั เจา้ ฟา้
วชิ าการ. คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณ์. หนา้ 47-56.

บริษัท คิดเรอื่ งอยู่ จากดั . (2559). การออกแบบทอ่ี ยู่อาศยั เพอ่ื ผู้สงู อายุ. จาก https://thinkofliving.com
ไอเดียตกแต่ง/การออกแบบท่ีอยู่อาศยั เพื่อผสู้ ูงอายุ-298312/

บริษัท ปูนซีเมนต์ไทย จากัด (มหาชน). (2562). รายงานการพัฒนาอย่างย่ังยืน 2562. จาก
https://scc.listedcompany.com/misc/sustainability_report/20200505-scc-sdr-2019-th.pdf

ปลื้มใจ ไพจิตร. (2558). คุณภาพในการดารงชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดสุราษฎร์ธานี. จาก wirapong_tho,
+Journal+editor,+8+บทความวิจยั .pdf

พระมหาวิชัย ต๊ิบกันเงิน. (2557). แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในตาบลวังกระแจะ
อาเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี (วิทยานิพนธ์). กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี. หน้า
14 – 15 , 49 - 50

พัชราภรณ์ พัฒนะ. (2560). คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุท่ีเข้าโรงเรียนผู้สูงอายุ จังหวัดสระบุรี.
กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์. หนา้ 4

พจนา ศรีเจรญิ . (2544). ปัจจยั ที่มีความสัมพันธ์กับคณุ ภาพชีวิตผสู้ ูงอายุในสมาคมข้าราชการนอก
ประจาการในจังหวดั เลย. วทิ ยานิพนธ์สาขาสังคมศาสตรเ์ พื่อการพัฒนา สถาบันราชภัฏเลย. อดั
สาเนา.

พีรเทพ รุ่งคุณากร. (2550). ตามรอยพระบาทประชาราษฎรเ์ ศรษฐกจิ พอเพียง. มหาวทิ ยาลัยราชภัฏ
มหาสารคาม.

พิมพ์อพชิ ยา อินทร์โสภา. (ม.ป.ป.). คุณภาพชวี ติ ของผู้สงู อายุ ในประเทศไทยเขตจงั หวัดสมุทรปราการ. จาก
https://mmm.ru.ac.th/MMM/IS/vlt15-1/6114993658.pdf

ลภัสรดา วลัยกมลลาศ, ศุภวัฒนากร วงศ์ธนวสุ . (2558). การเตรยี มความพรอ้ มเพอื่ รองรบั สังคมผู้สูงอายุ
ขององคก์ ารบริหารสว่ นตาบลปากบาง อ.เทพา จ.สงขลา. จาก http://www.hu.ac.th/conference/
conference2013/Proceedings2013/pdf/Book3/Poster1/218_119-124.pdf

วรรณวภิ า ไตลังคะ. (ม.ป.ป.). รูปแบบการเสรมิ สร้างคณุ ภาพชีวิตทเ่ี หมาะสมสาหรับผ้สู งู อายุ : กรณศี กึ ษา
อาเภอสามโคก จงั หวดั ปทุมธานี. วารสารวิชาการ สถาบันเทคโนโลยีแห่งสวุ รรณภูมิ. หน้า 317

วรเวศม์ สุวรรณระดา และคณะ. (2553). โครงการวิจัยระบบการดูแลระยะยาวเพ่ือเสริมสร้างความมั่นคง
เพอื่ วัยสูงอายุ (พมิ พค์ รัง้ ที่ 1). กรงุ เทพมหานคร : บรษิ ทั ศักดิโสภาการพิมพ์ จากดั . หนา้ ค – ง

วลยั พร นันท์ศุภวฒั น์ และคณะ. (2548). โครงการพัฒนาคุณภาพชวี ิตผ้สู ูงอายุ. คณะพยาบาลศาสตร์
มหาวิทยาลยั มหาสารคาม.

วศิน สริ ิเกยี รติกุล. (2553). พฤติกรรมการมีภมู ิคุ้มกันตนตามแนวปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ของ
นกั เรียนหลกั สูตรประกาศนียบตั รวิชาชพี ช้นั ปีที่ 1 ประเภทวิชาพาณชิ ยกรรม โรงเรียน
เซนตจ์ อหน์ เทคโนโลย.ี วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ วิทยาเขต
ปัตตาน.ี ปีท่ี 21 ฉบบั ท่ี 2 ก.ค. - ธ.ค. 2553 หนา้ 291-312.

วโรทัย โกศลพิศิษฐ์. (2550). มตชิ นรายวนั . ปีท่ี 30 ฉบบั ที่ 10779.
วพิ รรณ ประจวบเหมาะ. (2553). โครงสร้างระบบการตดิ ตามและประเมินผลแผนผ้สู ูงอายุแหง่ ชาติ

ฉบับท่ี 2 (พ.ศ. 2545 - 2564). จุฬาสัมพันธ์ ปที ่ี 53 ฉบับท่ี 9 วนั จนั ทร์ที่ 8 มีนาคม 2553
จาก http://www.research.chula.ac.th/cu_online/2553/vol_9_1.html

124

วิไลพร ขาวงษ์, จตุพร หนูสวัสดิ์, วรารัตน์ ประทานวรปัญญา, จิดาภา ศิริปัญญา. (2554). ปัจจัยท่ีมีความสัมพันธ์
กบั คณุ ภาพชีวิตของผ้สู งู อาย.ุ จาก https://he01.tci-thaijo.org/index.php/JHR/
article/view/4878/4207

วิทยานพิ นธ์สาขาการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ. สาธารณสุขศาสตรมหาบณั ฑติ . มหาวทิ ยาลัยราชภัฏ
อบุ ลราชธาน.ี อดั สาเนา.

ศศพิ ัฒน์ ยอดเพชร. (2548). โครงการดูแลผู้สูงอายุในครอบครวั . กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ศิริ ฮามสุโพธิ์. (2543). ประชากรกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต. กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์

โอเดียนสโตร์. หนา้ 13 - 14
ศริ นิ ชุ ฉายแสง. (2553). ปัจจัยที่มคี วามสัมพนั ธก์ ับคุณภาพชวี ติ ผู้สูงอายุในจังหวัดอานาจเจรญิ .
สมศักด์ิ ดลประสิทธ.ิ์ (ม.ป.ป). เอกสารประกอบการอบรมสมั มนาเรือ่ งการบรหิ ารโดยใช้โรงเรยี น

เป็นฐาน. จาก http://www.moe.go.th/wijai/sbm.htm
สิงหา จันทรยิ ์วงษ.์ (2551). รายงานการวจิ ัยการพัฒนารูปแบบท่ีเหมาะสมสาหรบั คุณภาพชีวิต

ผู้สูงอายุในชนบทโดยใชค้ รอบครวั เปน็ ศูนย์กลาง. สถาบนั วิจยั และพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภฏั
สรุ ินทร.์ อัดสาเนา.
สวุ ดี เบญจวงศ์. (2541). ผู้สูงอายุ คนแกแ่ ละคนชรา: มติ ิทางสงั คมและวัฒนธรรม. มนษุ ย์สังคมสาร.
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏหมูบ่ า้ นจอมบึง. หน้า 54-60.
สุพร คหู า. (2552). แนวทางการปรับปรงุ คุณภาพชวี ติ ผู้สูงอายุของเทศบาลตาบลหนองขาว
อาเภอ ทา่ ม่วง จังหวดั กาญจนบุร.ี รายงานการศึกษาอสิ ระปรญิ ญารฐั ประศาสนศาสตร
มหาบัณฑิต สาขาวชิ าการปกครองท้องถ่ิน วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น. มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ .
อัดสาเนา.
สพุ ตั รา ธารานุกูล. (2544). ปจั จัยท่ีมคี วามสัมพนั ธ์ต่อความพงึ พอใจในชวี ติ ผสู้ งู อายุ. วทิ ยานิพนธ์
มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม.
สุทธิพงศ์ บุญผดุง. (2554). การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในท้องถิ่นโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ตามหลัก
เศรษฐกิจพอเพยี ง (ระยะที่ 1) (รายงานการวจิ ยั ). กรงุ เทพมหานคร : มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สวนสุนันทา
สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 5. (2555). การจัดบริการสวัสดิการสังคมสาหรับผู้สูงอายุใน
ระดับตาบลอย่างมีส่วนร่วม ตาบลโค้งยาง อาเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา ตาบลกุดน้าใส
อาเภอจตั รุ สั จังหวัดชยั ภูมิ ตาบลโคราช อาเภอสูงเนิน จงั หวัดนครราชสีมา. นครราชสีมา. หน้า
34 - 52
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). สรุปผลการประชุมสภาการศึกษาเสวนา (OEC Forum) ครั้งท่ี 17
เร่ือง “การศึกษาสาหรับผู้สูงอายุ”. จาก http://backoffice.onec.go.th/uploaded/
Outstand/OECForum-17.pdf
สานักงาน ก.ค.ศ.. (2561). คุณภาพชีวิตของครูที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพครูใน
โรงเรียนสังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 4 (วิทยานิพนธ์).
กรุงเทพมหานคร : บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยศลิ ปากร. หน้า 11
อนรรฆ อิสเฮาะ. (2562). คุณภาพชีวิตของประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตาบลสะกอม อาเภอเทพา
จังหวัดสงขลา. จาก https://kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2016/12343/2/อนรรฆ%20อิสเฮาะ.
pdf

125

อรนิษฐ์ แสงทองสุข. (2562). การศึกษาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในประเทศไทย กรณี ศึกษา
เขตกรุงเทพมหานคร ปทุมธานี และนนทบุรี (รายงานผลการวิจัย). กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยศรี
ปทุม. หนา้ 12 - 14

อัฐฉญา แพทย์ศาสตร์, และพัชรินทร์ รุจิรานุกูล. (2560). แนวทางการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตด้านจิตใจและด้าน
ความสั มพั นธ์ ทาง สั งคมของผู้ สู งอายุ ในต า บลห้ วงน้ าขาว จั งหวั ดตราด. จาก
http://www.eresearch.rbru.ac.th/showthesis.php?theid=1852&depid=3

อภินันท์ สนน้อย, ปิยาภรณ์ ศิริภานุมาศ, สุรชัย ปิยานุกูล. (2559). รูปแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุใน
จงั หวัดบุรีรมั ย.์ จาก 97132-ไฟลบ์ ทความ-242439-1-10-20170824%20(2).pdf

เอสซีจี. (ม.ป.ป.). ปรับตัวอย่างไร ในวันที่ประเทศไทยกลายเป็นสังคมผู้สูงอายุ อีกหนึ่งทัศนะจาก “เอสซีจี”
ใช้เทคโนโลยเี สรมิ กาลังคน-พฒั นาสนิ ค้าบริการตอบโจทยต์ ลาด. จาก https://www.scg.com/
innovation/ปรับตัวอยา่ งไร-ในวันท/ี่

Batista Vitorino, P. A., and Martins da Silva, F. 2010. Level of Quality of Life in The
Elderly Un ATI-UCB. Educação Física em Revista. 4(3): abstract.

Beadle-Brown, J., Murphy, G., and DiTerlizzi, M. 2008. Quality of Life for the
Camberwell Cohort. Journal of Applied Research in Intellectual Disabilities. 24. 380-390.

126

ภาคผนวก

1. เอกสารรบั รองการพิจารณาจริยธรรมการวิจยั ในมนษุ ย์
2. แบบสารวจเชิงปรมิ าณ
3. ประเดน็ คาถามเชงิ คุณภาพ

127

128
เลขที่แบบสอบถาม

แบบสารวจ

โครงการวจิ ัย “แโนดวยทใชางโ้ รกงาแเรรบพยี บนฒั ผสนู้สาองูคบอณุ าถยภาุเาปมพ็นชฐีวาิตนผ”ู้สงู อายุในท้องถิน่

สานักงานส่งเสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 4

กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ย์

คาช้แี จง
แบบสารวจฉบับนี้ จัดทาขึ้นเพื่อใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลตามโครงการวิจัยเรื่อง “แนวทางการ

พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุโดยใช้โรงเรียนผู้สูงอายุเป็นฐาน” ดาเนนิ การศึกษาโดยสานักงานส่งเสริมและสนับสนุน
วิชาการ 4 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) เพือ่ ศึกษาระดบั คณุ ภาพชีวิต
ของผู้สูงอายุในท้องถ่ิน 2) เพ่ือศึกษาความต้องการในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในท้องถ่ิน และ 3) เพ่ือศึกษาแนวทาง
การพฒั นาคุณภาพชีวิตผสู้ ูงอายุโดยใช้โรงเรียนผสู้ ูงอายุเป็นฐาน ทมี่ อี ายุต้งั แต่ 60 ปีข้ึนไป

ท่านเป็นบุคคลหน่ึงที่คณะผู้วิจัยได้ทาการสุ่มตัวอย่างให้เป็นตัวแทนของประชากรท่ีอยู่ ในพ้ืนที่ชุมชนเข้มแข็ง
คณะผู้วิจัยขอความร่วมมือจากท่านในการตอบแบบสอบถามน้ี ขอความกรุณาจากท่านให้ข้อมูลตามความจริงเพ่ือจะเป็น
ประโยชน์ต่อการศึกษาวิจัย โดยจะเก็บข้อมูลของท่านไว้เป็นความลับจะไม่มีการเปิดเผยข้อมูลรายละเอียดส่วนบุคคลแต่
อยา่ งใด

คณะผูว้ ิจยั ขอขอบคุณลว่ งหนา้ ในความรว่ มมือของทา่ นมา ณ โอกาสน้ี
คณะผ้วู จิ ยั สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4

สว่ นที่ 1 ขอ้ มลู ทั่วไปผู้ตอบแบบสอบถาม

โปรดทาเครือ่ งหมาย  ลงในชอ่ ง  หน้าขอ้ ความหรือเขยี นตอบตามความเป็นจริงเกยี่ วกับตัวท่าน

1. เพศ  (0) ชาย  (1) หญงิ

2. อายุ ………………… ปี

3. สถานภาพสมรส  (2) สมรส
 (4) หยา่ ร้าง/แยกกันอยู่
 (1) โสด
 (3) หม้าย  (6) อืน่ ๆ (ระบ)ุ …………………………..
 (5) เคยสมรสแต่ไม่ทราบสถานภาพ

4. ศาสนา  (1) พทุ ธ  (2) คริสต์  (3) อิสลาม (4) อ่นื ๆ (ระบุ)…………………………..

5. ระดับการศึกษาสูงสดุ (ระดับการศึกษาสูงสุด)  (2) จบประถมศึกษา  (3) จบมัธยมศึกษาตอนต้น
 (5) จบปริญญาตรี  (6) อื่นๆ (ระบุ)...........................
 (1) ไม่ได้รบั การศึกษา
 (4) จบมธั ยมศึกษาตอนปลายหรอื เทียบเท่า

6. ท่านมคี วามพิการหรือไม่และประเภทความพิการ (1.2) ทางการไดย้ นิ หรือส่ือความหมาย
(1.4) ทางจิตใจหรือพฤติกรรม
 (0) ไม่พกิ าร (1.6) ทางการเรียนรู้
 (1) พิการ ประเภทใด (1.8) อ่ืน ๆ (ระบุ)…………………………..

(1.1) ทางการมองเหน็
(1.3) ทางการเคลื่อนไหวหรอื ทางรา่ งกาย
(1.5) ทางสติปัญญา
(1.7) ทางออทิสติก

129

7. อาชีพหลกั ในปจั จุบัน (ตอบไดม้ ากกวา่ 1 ข้อ)

 (0) ไมป่ ระกอบอาชีพ

 (1) ทางานเชงิ เศรษฐกิจ (ได้รบั ค่าตอบแทน)  (2) ทางานเชงิ สงั คม

 (1.1) เก่ียวกับราชการ ระบ.ุ .....................  (2.1) ทางานเชงิ สังคมได้รับค่าตอบแทน

 (1.2) ทางานด้านการเกษตร (อาสาสมัคร/กรรมการฯ) ระบ.ุ .......................

 (1.3) รบั จ้างทัว่ ไป  (2.2) ทางานเชงิ สังคมทไ่ี มไ่ ด้รับค่าตอบแทน

 (1.4) งานบรกิ าร (ประธานชมรมผู้สงู อาย/ุ กรรมการฯ)

 (1.5) ธุรกจิ ส่วนตัว ระบุ.............................................................

 (1.6) อื่นๆ ระบ.ุ ...........................................

8. รายไดห้ ลกั ของทา่ นมาจากแหล่งใดมากท่ีสุด (ตอบเพยี ง 1 ขอ้ )

 (1) การทางาน (.................บาท/เดือน)

 (2) คสู่ มรส (.................บาท/เดือน)

 (3) บุตร (.................บาท/เดือน)

 (4) พี่ น้อง/ญาติ (.................บาท/เดือน)

 (5) เบีย้ ยงั ชพี ผ้สู ูงอายุ (.................บาท/เดือน)

 (6) เบีย้ ยังชีพคนพิการ (.................บาท/เดอื น)

 (7) บาเหนจ็ /บานาญราชการ (.................บาท/เดือน)

 (8) กองทนุ ประกันสงั คม (.................บาท/เดือน)

 (9) ดอกเบ้ีย เงนิ ออม ทรัพยส์ ิน (.................บาท/เดอื น)

 (10) บัตรสวัสดิการแห่งรัฐ (................บาท/เดือน)

 (11) เบ้ยี ยงั ชพี +เบย้ี คนพิการ (.................บาท/เดอื น)

 (12) อนื่ ๆ (ระบุ)..........................................

9. ท่านมีหนี้สินหรือไม่

 (0) ไม่มี  (1) มี จาก........................................................................................................

10. ปจั จุบนั ท่านอาศัยอยู่กบั ใครบา้ ง (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)

(1) อยู่คนเดยี ว (2) อยู่กับบุตร/หลาน รวม........ คน

(3) อยู่กบั คสู่ มรส (4) อยู่กบั คูส่ มรสและบุตรหลาน รวม........ คน

(5) อยู่กับญาติ รวม........ คน (6) อนื่ ๆ ระบ.ุ .............................

11. การเปน็ สมาชิกโรงเรียนผูส้ ูงอายุ

 (0) ไมเ่ ป็นสมาชกิ โรงเรียนผู้สงู อายุ

 (1) เปน็ สมาชิกโรงเรียนผู้สงู อายุ และเขา้ ร่วมกจิ กรรมสม่าเสมอในรอบการดาเนนิ กรรมของโรงเรยี นผ้สู ูงอายุ

130

สว่ นที่ 2 ปจั จัยสนับสนนุ ทางสังคมของผสู้ ูงอายุ

โปรดทาเครอ่ื งหมาย  ลงในชอ่ ง  หน้าข้อความหรือเขยี นตอบตามความเป็นจรงิ เกย่ี วกับตวั ทา่ น
1. สัมพันธภาพในครอบครวั และความช่วยเหลือจากเครือข่าย

ตอนที่ 1 สมั พนั ธภาพในครอบครวั
ในครอบครัวของทา่ น มีการปฏบิ ตั ติ อ่ กันดังต่อไปน้ีหรือไม่

สมั พันธภาพคนในครอบครวั ระดบั การปฏบิ ตั ิ

ทาเป็นประจา ทานานๆครัง้ ไมเ่ คยทาเลย
(2) (1) (0)

(1) แสดงความรักและความห่วงใยกันเสมอ
(2) สนใจเอาใจใสซ่ ง่ึ กนั และกนั
(3) พูดจาถ้อยทีถ้อยอาศัยกนั
(4) ต่างก็มีส่วนร่วมในการแสดงความคดิ เหน็ ต่างๆ
(5) รบั ฟงั คาตักเตือนของกันและกนั
(6) ใชเ้ วลาส่วนใหญ่อย่ใู นบ้านร่วมกนั (ดทู วี ีฟงั วทิ ยุ อ่านหนงั สอื )
(7) สามารถพูดความลบั ให้กนั ฟงั ได้
(8) ไว้วางใจซึ่งกนั และกัน
(9) ปรึกษาหารือกันเม่ือมีปัญหาเกดิ ขึ้น/หรือก่อนตัดสินใจใดๆ
(10) ชว่ ยเหลอื กันเม่ือใครคนใดคนหนึง่ เดอื ดร้อน

เกณฑ์การประเมนิ – ถ้าได้คะแนนสูงกวา่ 10 คะแนน ถือวา่ มสี มั พันธภาพในครอบครัวดี

ตอนที่ 2 เครือข่ายทางสงั คมและการเกอื้ กูล

2. การสนบั สนุนจากเครือข่าย

ในรอบ 1 ปที ี่ผา่ นมา ท่านเคยได้รับความช่วยเหลือจากผู้อน่ื อย่างไรบ้าง

ชนดิ ของความช่วยเหลอื

ประเภทของเครอื ขา่ ย ปรกึ ษา/ กาลังใจ ส่ิงของ ขอ้ มลู ไมไ่ ด้รับ
ขา่ วสาร (4) (0)
แนะนา (1) (2) /เงนิ (3)

(1) สมาชิกในครอบครวั

1.1 คสู่ มรส (สามี/ภรรยา)

1.2 บตุ ร (ค่สู มรสของบตุ ร)

1.3 หลาน(คสู่ มรสของหลาน)

(2) เครอื ญาติ

(3) เพอ่ื น/เพอ่ื นบ้าน

2.1 เพ่ือน

2.2 เพือ่ นบ้าน

(4) นกั วิชาชีพ

4.1 หมอ

4.2 พยาบาล

4.3 เจา้ หนา้ ท่ีอนามยั

4.4 นักพัฒนาชมุ ชน

4.5 นักสังคมสงเคราะห์

4.6 อสม.

4.7 อผส.

4.8 อ่ืนๆ ระบุ.......................

131

ประเภทของเครอื ข่าย ปรกึ ษา/ ชนดิ ของความชว่ ยเหลือ ข้อมลู ไม่ไดร้ ับ
แนะนา (1) ข่าวสาร (4) (0)
(5) หน่วยงาน/องค์กร กาลังใจ สงิ่ ของ
5.1 อบต./เทศบาล (2) /เงิน (3)
5.2 หน่วยงาน/กระทรวง พม.

(ประชาสงเคราะหเ์ ดิม)
5.3 โรงพยาบาล

5.4 สถาบนั การศกึ ษา
5.5 มูลนิธ/ิ สมาคม

5.6 วัด/โบสถ/์ มัสยดิ
5.7 อืน่ ๆ ระบุ..............................

3. ผู้สงู อายุมีความต้องการในเรื่องตอ่ ไปนหี้ รือไม่ ในระดบั ใด ไม่ มาก ตอ้ งการในระดบั นอ้ ย
ต้องการ ทีส่ ุด ทีส่ ดุ
ความต้องการ (5) มาก ปาน น้อย (1)
(0) (4) กลาง (2)
(1) ดา้ นรายได้
(2) ด้านอาชพี (3)
(3) ดา้ นการทากิจวตั รประจาวนั
(4) ดา้ นอปุ กรณ์ ส่งิ ของเคร่อื งใช้
(5) ด้านท่ีอยูอ่ าศยั
(6) ด้านเส้ือผา้ เคร่ืองนงุ่ หม่
(7) ดา้ นอาหาร และยารกั ษาโรค
(8) ดา้ นขอ้ มลู ขา่ วสารท่เี ก่ยี วกบั อาชีพ
(9) ด้านความรู้ที่เกย่ี วกับการดูแลสขุ ภาพ
(10) ด้านการเข้าถงึ บริการสขุ ภาพ เช่น คลินกิ ผสู้ งู อายุ
(11) ดา้ นการเข้าถงึ บรกิ ารทางสังคม เชน่ ศนู ย์ผสู้ ูงอายุ
(12) สวสั ดกิ ารผสู้ ูงอายุ เชน่ เบย้ี ยังชีพ
(13) ด้านจิตใจ และอารมณ์
(14) อน่ื ๆ ระบุ ..............................................................

132

ส่วนที่ 3 คุณภาพชวี ติ ของผสู้ ูงอายุ

คาชแ้ี จง : ขอ้ คาถามตอ่ ไปนี้จะถามถึงประสบการณ์อยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ ของทา่ นในชว่ ง 2 สปั ดาห์ทีผ่ ่านมาใหท้ ่านสารวจตวั
ท่านเองและประเมินเหตุการณห์ รือความพึงพอใจของท่านแลว้ ทาเครอ่ื งหมาย  ในชอ่ งคาตอบที่เหมาะสมและเปน็ จริงกับ
ตัวทา่ นมากท่ีสดุ โดยคาตอบมี 5 ตัวเลอื ก คือ

ไมเ่ ลย หมายถึง ท่านไม่มีความพึงพอใจเลย
เลก็ นอ้ ย หมายถึง ท่านมีความพงึ พอใจเล็กน้อย
ปานกลาง หมายถึง ทา่ นมีความพึงพอใจปานกลาง
มาก หมายถึง ท่านมีความพงึ พอใจมาก
มากทส่ี ุด หมายถงึ ท่านมีความพงึ พอใจมากทสี่ ุด

ระดับความพึงพอใจ

ขอ้ ท่ี ในช่วง 2 สปั ดาห์ท่ผี า่ นมา มาก มาก ปาน เล็กน้อย ไม่เลย
ทสี่ ุด กลาง
คณุ ภาพชีวิตด้านสุขภาพกาย

1 การเจ็บปวดทางร่างกาย เชน่ ปวดหวั ปวด
ท้อง ปวดตามตัว ทาใหท้ ่านไม่สามารถทาใน
สง่ิ ที่ตอ้ งการได้

2 ทา่ นสามารถทาสิง่ ต่างๆ ในแต่ละวันได้ (ท้ัง
เรอ่ื งงานหรือการดาเนนิ ชวี ิตประจาวัน)

3 ทา่ นพอใจกับการนอนหลับของท่าน
4 ท่านรสู้ ึกพอใจทส่ี ามารถทาอะไรใหผ้ ่านไป

ไดใ้ นแต่ละวัน
5 ทา่ นสามารถไปไหนมาไหนดว้ ยตัวเอง
6 ทา่ นจาเป็นตอ้ งไดร้ ับการรักษาพยาบาล

เพอ่ื ที่จะทางานหรอื มีชวี ิตอยูไ่ ดใ้ นแตล่ ะวนั
7 ทา่ นพอใจกับความสามารถในการทางานได้

คณุ ภาพชวี ิตดา้ นจติ ใจ

8 ทา่ นรสู้ ึกพึงพอใจกับชีวติ (เชน่ มคี วามสขุ
ความสงบมีความหวงั )

9 ท่านมีสมาธใิ นการทางานตา่ งๆ
10 ทา่ นร้สู กึ พอใจในตนเอง
11 ทา่ นยอมรบั รูปร่างหน้าตาของตัวเองได้
12 ท่านมีความรู้สึกไม่ดี เช่น รู้สึกเหงา เศร้า

หดหู่ สนิ้ หวัง วติ กกงั วล
13 ทา่ นรสู้ กึ วา่ ชีวติ ทา่ นมีความหมาย

133

ระดบั ความพึงพอใจ

ขอ้ ที่ ในช่วง 2 สปั ดาห์ทผี่ า่ นมา มาก มาก ปาน เลก็ นอ้ ย ไม่เลย
ที่สุด กลาง
คุณภาพชวี ติ ด้านสมั พันธภาพทางสงั คม

14 ทา่ นพอใจต่อการผกู มติ รหรือเข้ากบั คนอ่ืน
ได้

15 ทา่ นพอใจกับการชว่ ยเหลือที่ไดร้ ับจาก
เพื่อนๆ

16 ท่านพอใจต่อการได้ช่วยเหลือคนอ่ืน
17 ท่านพอใจในชวี ติ ทางเพศ เช่น ยงั คง

ตอ้ งการการมีคู่ครองเม่ือตนเองโสด หรอื
เปน็ หมา้ ย

คุณภาพชีวิตดา้ นสภาพแวดล้อม

18 ทา่ นร้สู ึกวา่ ชีวิตมีความมั่นคงปลอดภยั ในแต่
ละวนั

19 ทา่ นพอใจกบั สภาพบ้านเรอื นท่อี ยตู่ อนนี้
20 ท่านมีเงินพอใช้จ่ายตามความจาเป็น
21 ท่านพอใจทจี่ ะสามารถไปใช้บรกิ าร

สาธารณสขุ ไดต้ ามความจาเป็น
22 ท่านได้รู้เร่ืองราวข่าวสารทจ่ี าเปน็ ในชีวติ แต่

ละวัน
23 ทา่ นมโี อกาสท่ไี ด้พักผอ่ นคลายเครยี ด
24 สภาพแวดล้อมดีต่อสุขภาพของทา่ น
25 ทา่ นพอใจกบั การเดนิ ทางไปไหนมาไหนของ

ท่าน(หมายถงึ การคมนาคม)

134

สว่ นที่ 4 การเขา้ ถึงสิทธติ ่างๆ ของผู้สงู อายุ

1. ความรู้เรื่องสิทธิผู้สูงอายุ

รจู้ กั หรือเคยได้ยินเกี่ยวกับ พระราชบญั ญตั ผิ สู้ ูงอายุ (พ.ร.บ. ผูส้ ูงอาย)ุ พ.ศ.2546 (ฉบบั แก้ไข พ.ศ.2553) หรอื ไม่

 (0) ไมร่ ู้ / ไม่เคยได้ยิน  (1) รู้ /เคยไดย้ ิน

2. การเขา้ ถึงบรกิ าร

ผูส้ งู อายุเคยได้ใช้บรกิ ารตามสทิ ธิเหลา่ นี้ หรอื ไม่

ไม่รวู้ ่า ระบปุ ญั หา

สทิ ธทิ ไี่ ด้รับ เคย ไม่เคย มีบริการ ในการใช้

บริการ

(1) การบริการทางการแพทย์และการสาธารณสขุ ที่จดั ไว้ โดยให้

ความสะดวกและรวดเรว็ แก่ ผ้สู งู อายเุ ปน็ กรณีพเิ ศษ (ช่องทาง

พิเศษ)

(2) การศึกษา การศาสนา และข้อมูลข่าวสาร

(3) การประกอบอาชีพหรือการฝึกอาชีพท่ีเหมาะสม

(4) การพัฒนาตนเองและการมีส่วนร่วมในกิจการทางสังคม

(5) การอานวยความสะดวกและความปลอดภัยโดยตรงแก่

ผู้สูงอายุ เช่น ราวจับในห้องนา้ ราวทางเดินบันได รถเข็นวิล

แชร์ ฯลฯ

(6) การช่วยเหลือด้านค่าโดยสารยานพาหนะตามความ

เหมาะสม เช่น ลดค่าโดยสาร หรือบริการฟรี

(7) การยกเว้นค่าเข้าชมสถานท่ีของรัฐ เช่น อุทยาน พิพิธภัณฑ์

สวนนา้ ฯลฯ

(8) การช่วยเหลือผู้สูงอายุซ่ึงได้รับอันตรายจากการถูกทาร้าย

ร่างกาย จิตใจ หรือถูกทอดทิ้ง

(9) การให้คาแนะนาปรึกษาหรือการดาเนินการอื่นที่เก่ียวข้อง

ในทางคดีหรือในทางการแก้ไขปัญหาครอบครัว

(10) การจัดหาที่พักอาศัย ยานพาหนะ เครื่องนุ่งห่ม เช่น สถาน

สงเคราะห์ตา่ งๆ

(11) การจ่ายเงินเบ้ียยังชีพเป็นรายเดือนอย่างท่ัวถึงและเป็น

ธรรม

(12) การสงเคราะห์ในการจัดการศพตามประเพณี

(13) การดูแลระยะยาวสาหรับผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพ่ึงพิงรวมถึง

ข้อมูลระบบสวัสดิการเพิ่มเติมสาหรับผู้สูงอายุ เชน่ การดูแล

LTC ของ รพ.สต. ฯลฯ

135

สว่ นที่ 5 ความตอ้ งการของผสู้ ูงอายุ และความคาดหวงั ตอ่ คณุ ภาพชวี ติ ผสู้ ูงอายุ

1. ด้านสขุ ภาพ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. ดา้ นจติ ใจ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. ดา้ นสงั คม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4. ดา้ นสภาพแวดลอ้ ม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

5. ด้านความมนั่ คง/สวัสดิการ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

(ลงชอื่ )……………………………………………………… (ลงช่ือ)………………………………………………………
(.........................................................) (.........................................................)
ผ้เู กบ็ แบบสารวจ ผ้ตู อบแบบสารวจ

136

แบบสอบถามสนทนากลมุ่ (Focus Group) และการถอดบทเรียน
โครงการวิจยั “แนวทางการพัฒนาคุณภาพชวี ิตผ้สู งู อายุในท้องถนิ่

โดยใช้โรงเรียนผู้สงู อายุเป็นฐาน”
โดย สานักงานส่งเสรมิ และสนับสนนุ วิชาการ 4
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนษุ ย์

*********************************

1. การดาเนนิ งานของโรงเรียนผสู้ งู อายุท่ีผ่านมามโี ครงสรา้ งการดาเนินการเปน็ อยา่ งไร มกี าร
บริหารจดั การในรูปแบบใด และกิจกรรมการดาเนินงานที่ผ่านมามลี กั ษณะอย่างไร และมหี น่วยงานใด
สนับสนุนโครงการ/กิจกรรมของโรงเรยี นผสู้ งู อายบุ ้าง ในการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตผ้สู งู อายใุ นทอ้ งถิน่

2. จากการดาเนินงานของโรงเรียนผู้สูงอายุที่ผ่านมา โรงเรียนผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการดูแล
ชุมชนและคนในชุมชนอย่างไรบ้าง และมีวิธีการและกระบวนการอย่างไร ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต
ผสู้ งู อายใุ นทอ้ งถนิ่

3. ปัจจุบันโรงเรียนผู้สูงอายุมีบทบาทในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ด้านกาย อย่างไรบ้าง
และเพียงพอ/เหมาะสมหรือไม่ หากยังไม่เพียงพอท่านคิดวา่ ต้องเพ่มิ เตมิ อะไรบ้าง

4. ปัจจบุ ันโรงเรยี นผู้สงู อายมุ ีบทบาทในการพัฒนาคุณภาพชวี ิตผูส้ ูงอายุ ดา้ นจิตใจ อย่างไรบ้าง
และเพียงพอ/เหมาะสมหรอื ไม่ หากยงั ไม่เพียงพอท่านคิดว่าตอ้ งเพิ่มเติมอะไรบา้ ง

5. ปัจจุบันโรงเรียนผู้สูงอายุมีบทบาทในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ด้านสังคม อย่างไร
บ้าง และเพยี งพอ/เหมาะสมหรอื ไม่ หากยังไมเ่ พยี งพอท่านคิดวา่ ตอ้ งเพม่ิ เติมอะไรบา้ ง

6. ปัจจุบันโรงเรียนผู้สูงอายุมีบทบาทในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ด้านส่ิงแวดล้อม
อย่างไรบ้าง และเพยี งพอ/เหมาะสมหรอื ไม่ หากยังไม่เพียงพอท่านคิดว่าต้องเพิม่ เติมอะไรบ้าง

7. ปัจจุบันโรงเรียนผู้สูงอายุมีบทบาทในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ด้านสวัสดิการ
อย่างไรบา้ ง และเพียงพอ/เหมาะสมหรอื ไม่ หากยังไมเ่ พียงพอทา่ นคดิ ว่าต้องเพมิ่ เติมอะไรบ้าง

8. จากการดาเนินงานของโรงเรียนผู้สูงอายุท่ีผ่านมา ท่านคิดว่ามีข้อจากัดและปัญหาอุปสรรค
ในการดาเนินงานอย่างไรบ้าง ทงั้ กอ่ นและหลงั ทจี่ ะเกดิ การแพร่ระบาดของเชอ้ื ไวรวั โคโรนา 2019

9. ท่านคิดว่าในการดาเนินงานของโรงเรียนผู้สูงอายุท่ีผ่านมา มีปัจจัยที่ส่งผลต่อความสาเร็จ
อะไรบา้ ง และสาเรจ็ อยา่ งไรเพ่ือพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตผู้สงู อายใุ นท้องถิ่น

10. ท่านคิดว่าในการดาเนินงานของโรงเรียนผู้สูงอายุท่ีผ่านมา มีปัญหาหรือไม่ ถ้ามีจะปัญหา
ดา้ นใดบา้ ง อยา่ งไร และมกี ารแกไ้ ขปัญหาอยา่ งไรบา้ งเพ่อื พฒั นาคณุ ภาพชีวติ ผสู้ งู อายใุ นทอ้ งถิ่น

11. ในมมุ มองของท่าน ท่านคิดว่า แนวทางในการดาเนนิ งานของโรงเรยี นผู้สงู อายุในอนาคต
ควรเปน็ แบบใด และมีกระบวนการวิธกี ารอย่างไร เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวติ ผ้สู ูงอายุในท้องถ่ิน



137

คณะผ้จู ัดทา

ทปี่ รึกษาโครงการ
นางรชธร พูลสิทธิ์ ผู้อานวยการสานกั งานสง่ เสริมและสนับสนุนวิชาการ 4
นางยพุ ิน ใคลพิมาย ผ้อู านวยการศนู ย์คุม้ ครองคนไรท้ พ่ี ่ึงจังหวดั นครราชสมี า
อาจารยส์ ิริกร บญุ สังข์ อาจารย์โปรแกรมพัฒนาสังคม คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราชสมี า
อาจารยจ์ นั ทรเ์ พญ็ เกตุสาโรง อาจารยโ์ ปรแกรมพัฒนาสงั คม คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์
มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า

นักวิจยั หัวหน้ากลุม่ การวจิ ยั และการพฒั นาระบบเครือข่าย
นางสาวขนิษฐา ตรากลาง นกั พฒั นาสังคมปฏิบัตกิ าร
นางสาวชุตภิ า บุตรสนิ ธุ์ เจา้ พนักงานพฒั นาสังคมปฏิบัติงาน
นางธิดาพันธ์ แสนสมบัติ นักพฒั นาสังคม
นางสาวอารยา จา่ โนนสูง พนกั งานบริการ
นางสาวณภทั ร แสวงผล พนกั งานบริการ
นางฉวีวรรณ สังกัดกลาง

ผูส้ นับสนุน
องค์การบริหารสว่ นตาบลมะเกลือเก่า อาเภอสงู เนนิ จังหวัดนครราชสมี า
องค์การบรหิ ารส่วนตาบลโนนสาราญ อาเภอเมืองชัยภูมิ จงั หวดั ชยั ภูมิ
เทศบาลตาบลตาจง อาเภอละหานทราย จังหวัดบรุ รี มั ย์
องค์การบริหารสว่ นตาบลตะเคยี น อาเภอกาบเชงิ จังหวดั สรุ ินทร์
องค์การบริหารส่วนตาบลบากเรอื อาเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร
เทศบาลตาบลจานแสนไชย อาเภอหว้ ยทับทัน จังหวดั ศรีสะเกษ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลจานแสนไชย อาเภอห้วยทบั ทัน จังหวดั ศรสี ะเกษ






Click to View FlipBook Version