๗๖
๒
คำนำ
กระทรวงศึกษาธิการ มีนโยบายในการพัฒนาการจัดการศึกษาระดับปฐมวัยอย่างจริงจัง และต่อเนื่อง
เพื่อให้การศึกษาในระดับนี้มีมาตรฐานเดียวกัน ในปีพ.ศ. ๒๕๖๐ ได้มีการพัฒนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ให้มี
ความสอดคล้องกับสภาพการเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจ สังคม และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
พระราชบญั ญัติการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ และทแ่ี กไ้ ขเพิม่ เตมิ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๔๕ และไดป้ ระกาศใช้หลกั สูตร
การศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ เม่ือวันที่ ๓ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๖๐ เพื่อให้สถานศกึ ษา สถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัย
และหน่วยงานที่เกีย่ วข้อง นำไปใช้เป็นกรอบและทิศทางในการพัฒนาหลกั สูตรสถานศกึ ษาอย่างมีประสิทธิภาพและได้
มาตรฐานตามจุดหมายของหลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ ที่กำหนดเป้าหมายในการพัฒนาเด็กปฐมวัย
ให้มีพัฒนาการด้านร่าง กาย อารมณ์-จิตใจ สังคมและสติปัญญา เป็นคนดี มีวินัย สำนึกความ
เปน็ ไทยและมีความรับผดิ ชอบตอ่ ตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน สงั คม และประเทศชาตใิ นอนาคต
โรงเรียนวัดท่าราบ(วันชัยประชานุกูล)ได้ดำเนินการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยของโรงเรียนวัดท่าราบ
(วันชัยประชานุกูล)ขึ้น โดยใช้หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ เป็นแนวทางในการกำหนดปรัชญา
วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ และสาระการเรียนรู้ที่เหมาะสมและสอดคล้องกับ
บริบทของโรงเรียนวัดท่าราบ(วันชัยประชานุกูล) บริบททางวัฒนธรรม วิถีชีวิตทางสังคมของเด็ก และได้มีการนำ
หลกั สตู รสู่การปฏบิ ัติ โดยได้ทดลองใช้ หลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั โรงเรยี นวดั ทา่ ราบ(วันชยั ประชานุกูล)ในปีการศึกษา
๒๕๖๓ และไดม้ ีการปรบั ปรุงและพัฒนาหลกั สูตรในปีการศึกษา ๒๕๖5 ทางโรงเรียนวดั วัดทา่ ราบ(วนั ชัยประชานุกูล)ได้
มีการปรบั ปรุงและพัฒนาหลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวัย เพ่อื ใชใ้ นการจดั การศกึ ษาใหม้ ีประสทิ ธภิ าพมากย่งิ ขน้ึ
ในการจัดทำหลักสูตรครั้งนี้ ขอขอบคุณผู้บริหาร ที่ให้คำแนะนำปรึกษา และขอบคุณคณะกรรมการผู้จัดทำ
คณะครูปฐมวัย ทไ่ี ดร้ ว่ มมือกันเป็นอย่างดี จนหลักสตู รสถานศึกษาสำเรจ็ ลุลว่ งมา ณ โอกาสน้ี
กลมุ่ บรหิ ารงานวิชาการปฐมวัย
โรงเรยี นวัดทา่ ราบ(วันชัยประชานุกูล)
สารบญั ๓
คำนำ หน้า
ปรัชญาการศกึ ษาปฐมวัย
วสิ ัยทัศน์ ๑
หลกั การ ๔
แนวคดิ การจดั การศึกษาปฐมวยั ๔
หลักสูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั โรงเรยี นวัดทา่ ราบ ๕
๖
- คำขวญั ของโรงเรยี น ๘
- เอกลักษณ์ของโรงเรียน ๙
- อตั ลกั ษณ์ของโรงเรียน ๙
- ปรชั ญาการศึกษาปฐมวัย โรงเรียนวัดท่าราบ ๙
- วิสัยทัศน์การศึกษาปฐมวัย โรงเรยี นวัดท่าราบ ๙
- ภารกิจหรอื พันธกจิ ๙
- เปา้ หมาย ๑๐
- จุดหมาย ๑๐
- พฒั นาการเด็กปฐมวัย ๑๑
- มาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ๑๑
- มาตรฐานคณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์ ตวั บ่งชี้ และสภาพที่พึงประสงค์ ๑๓
- การวเิ คราะห์สาระการเรียนรู้รายปี ๑๔
- โครงสรา้ งหลักสูตรสถานศึกษาระดบั ปฐมวยั ๒๕
- การจดั กจิ กรรมประจำวนั ๗๕
- ตารางกจิ กรรมประจำวนั ๗๕
- สาระการเรียนรู้ ๖
- การจัดประสบการณ์ ๘๗
- การประเมนิ พัฒนาการ ๙๓
- การเชอื่ มต่อการศึกษาปฐมวัยกบั ระดบั ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ ๙๕
- การกำกบั ติดตาม ประเมินรายงาน ๕๘
- คำสง่ั แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารหลกั สูตรสถานศึกษาระดับปฐมวยั ๖๐
- ประกาศอนุญาตใชห้ ลักสตู รสถานศกึ ษาระดับปฐมวัย ในโรงเรียน ๖๑
๖๒
๔
ปรชั ญาการศึกษาปฐมวัย
การศึกษาปฐมวัยเป็นการพัฒนาเด็กตั้งแต่แรกเกิดถึง ๖ ปี บริบูรณ์ อย่างเป็นองค์รวม บนพื้นฐานการอบรม
เลี้ยงดู และส่งเสรมิ กระบวนการเรยี นรู้ท่ีสนองต่อธรรมชาตแิ ละพฒั นาการตามวยั ของเด็กแต่ละคน ใหเ้ ต็มตามศักยภาพ
ภายใต้บริบทสังคมและวัฒนธรรมที่เด็กอาศัยอยู่ ด้วยความรัก ความเอื้ออาทร และความเข้าใจของทุกคน เพื่อสร้าง
รากฐานคุณภาพชีวิต ให้เด็กพัฒนาไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เกิดคุณค่าต่อตนเอง ครอบครัว สังคม และ
ประเทศชาติ
วสิ ยั ทศั น์
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยมุ่งพัฒนาเด็กทุกคน ให้ได้รับการพัฒนาด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และ
สติปัญญา อย่างมีคุณภาพและต่อเนื่อง ได้รับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ อย่างมีความสุขและเหมาะสมตามวัย มี
ทักษะชีวิตและปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นคนดี มีวินัย และสำนึกความเป็นไทย โดยความ
ร่วมมือระหว่างสถานศกึ ษา พ่อแม่ ครอบครวั ชมุ ชน และทุกฝ่ายท่ีเกย่ี วขอ้ งกบั การพัฒนาเดก็
หลกั การ
เด็กทกุ คนมสี ทิ ธทิ ่จี ะได้รับการอบรมเลย้ี งดแู ละการสง่ เสรมิ พัฒนาการ ตามอนุสญั ญาวา่ ด้วยสิทธิเด็ก
ตลอดจนไดร้ บั การจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้อย่างเหมาะสมดว้ ยปฏสิ ัมพันธ์ทีด่ ีระหว่างเด็กกับพ่อแม่ เด็กกบั ผู้สอน
เดก็ กบั ผเู้ ลย้ี งดหู รือผูท้ เี่ กย่ี วข้องกบั การอบรมเลย้ี งดู การพัฒนา และให้การศกึ ษาแก่เดก็ ปฐมวัย เพื่อใหเ้ ด็กมโี อกาส
พัฒนาตนเองตามลำดบั ขั้นของพัฒนาการทกุ ด้าน อยา่ งเปน็ องค์รวม มีคุณภาพและเต็มตามศักยภาพ โดยกำหนด
หลักการ ดงั น้ี
๑. สง่ เสริมกระบวนการเรยี นรูแ้ ละพฒั นาการท่คี รอบคลุมเด็กปฐมวัยทุกคน
๒. ยึดหลักการอบรมเลี้ยงดูและให้การศึกษาที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ โดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
และวิถีชวี ติ ของเดก็ ตามบรบิ ทของชุมชน สงั คมและวัฒนธรรมไทย
๓. ยึดพัฒนาการและการพัฒนาเดก็ โดยองคร์ วม ผ่านการเล่นอยา่ งมีความหมายและมีกิจกรรมท่ีหลากหลาย
ได้ลงมือกระทำในสภาพแวดลอ้ มทเ่ี อื้อต่อการเรียนรู้
เหมาะสมกับวยั และมีการพักผอ่ นเพยี งพอ
๕
๔. จัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้เด็กมีทักษะชีวิต และสามารถปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง เป็นคนดี มีวนิ ยั และมคี วามสขุ
๕. สร้างความรู้ ความเข้าใจ และประสานความร่วมมือในการพัฒนาเด็กระหว่างสถานศึกษากับพ่อแม่
ครอบครวั ชมุ ชน และทุกฝา่ ยท่ีเกย่ี วข้องกบั การพัฒนาเด็กปฐมวัย
แนวคดิ การจดั การศกึ ษาปฐมวยั
หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ ของโรงเรยี นวดั ท่าราบ(วันชัยประชานุกูล)พัฒนาขึ้น
บนแนวคิดหลักสำคัญเกี่ยวกับพัฒนาการเด็กปฐมวัย โดยถือว่าการเล่นของเด็กเป็นหัวใจสำคัญของการจัด
ประสบการณ์การเรียนรู้ ภายใต้การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการทำงานของสมอง ผ่านสื่อที่ต้องเอื้อให้ เด็กเรียนรู้
ผา่ นประสาทสมั ผัสทั้งห้า โดยครูจำเปน็ ตอ้ งเขา้ ใจและยอมรบั ว่าสังคมและวฒั นธรรมที่แวดล้อมตวั เด็กมีอิทธิพลต่อการ
เรียนรู้และการพัฒนาศักยภาพและพัฒนาการของเด็กแต่ละคน ทั้งนี้ หลักสูตรฉบับนี้มีแนวคิดในการจัดการศึกษา
ปฐมวัย ดงั นี้
๑. แนวคิดเกี่ยวกับพัฒนาการเด็ก พัฒนาการของมนุษย์เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
ต่อเนื่องในตัวมนุษย์เริ่มต้ังแตป่ ฏิสนธิไปจนตลอดชีวิต พัฒนาการของเด็กแต่ละคนจะมีลำดับขั้นตอนลักษณะเดียวกัน
แต่อัตราและระยะเวลาในการผ่านข้นั ตอนต่าง ๆ อาจแตกต่างกันได้ขน้ั ตอนแรก ๆ จะเปน็ พ้ืนฐานสำหรบั พัฒนาการข้ัน
ตามด้วย แนวคิดเกี่ยวกับทฤษฎีพัฒนาการด้านร่างกายอธิบายว่า การเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กมีลักษณะ
ต่อเนื่องเป็นลำดับขั้น เด็กจะพัฒนาถึงขั้นใดจะต้องเกิดวุฒิภาวะของความสามารถขั้นนั้นก่อน สำหรับทฤษฎี
พัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ และสงั คมอธบิ ายว่า การอบรมเลี้ยงดูในวัยเด็กส่งผลต่อบุคลิกภาพของเด็กเมื่อเติบโตเป็น
ผู้ใหญ่ ความรักและความอบอุ่นเป็นพื้นฐานของความเชื่อมั่นในตนเอง เด็กที่ได้รับความรักและความอบอุ่นจะมีความ
ไว้วางใจในผ้อู ่ืน เห็นคณุ คา่ ของตนเอง จะมีความเชอื่ มัน่ ในความสามารถของตน ทำงานร่วมกบั ผู้อื่นได้ดี ซ่งึ เปน็ พนื้ ฐาน
สำคัญของความเป็นประชาธิปไตยและความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และทฤษฎีพัฒนาการดา้ นสติปัญญาอธิบายว่า เด็กเกิด
มาพร้อมวฒุ ิภาวะ ซงึ่ จะพัฒนาขึ้นตามอายปุ ระสบการณ์ รวมทัง้ คา่ นยิ มทางสงั คมและสงิ่ แวดล้อมทเ่ี ดก็ ได้รับ
๒. แนวคิดเกี่ยวกับการเล่นของเด็ก การเล่นเปน็ หัวใจสำคัญของการจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ การ
เลน่ อย่างมจี ุดมงุ่ หมายเปน็ เคร่ืองมือการเรียนรู้ข้นั พ้นื ฐานท่ีถอื เป็นองคป์ ระกอบสำคัญในการเรยี นรู้ของเด็ก ขณะที่เด็ก
เล่นจะเกิดการเรียนรู้ไปพรอ้ ม ๆ กันด้วย จากการเล่นเด็กจะมีโอกาสเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกาย ได้ใช้ประสาท
สัมผัสและการรับรู้ผ่อนคลายอารมณ์และแสดงออกถึงตนเอง เรียนรู้ความรู้สึกของผู้อื่น เด็กจะรู้สึกสนุกสนาน
เพลิดเพลิน ได้สังเกต มีโอกาสทำการทดลอง คิดสร้างสรรค์ คิดแก้ปัญหาและค้นพบด้วยตนเอง การเล่นช่วยให้เด็ก
เรียนรู้สิ่งแวดล้อม และช่วยให้เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และส ติปัญญา ดังนั้นเด็กควรมี
โอกาสเลน่ ปฏิสมั พนั ธ์กบั บุคคล สงิ่ แวดล้อมรอบตัวและเลือกกิจกรรมการเลน่ ด้วยตนเอง
๓. แนวคิดเกี่ยวกับการทำงานของสมอง สมองเป็นอวัยวะที่มีความสำคัญที่สุดในร่างกายของคนเรา
เพราะการที่มนุษย์เรียนรู้สิ่งต่างๆ ได้นั้นต้องอาศัยสมองและระบบประสาทเป็นพื้นฐานการรับรู้ รับความรู้สึกจาก
ประสาทสัมผัสทั้งห้า การเชื่อมโยงต่อกันของเซลล์สมองส่วนมากเกิดขึ้นก่อนอายุ ๕ ปี และปฏิสัมพันธ์แรกเร่ิม
ระหว่างเด็กกับผู้ใหญ่ มีผลโดยตรงต่อการสร้างเซลล์สมองและจุดเชื่อมต่อ โดยในช่วงสามปีแรกของชีวิต สมอง
เจริญเติบโตอย่างรวดเร็วมาก มีการสร้างเซลล์สมองและจุดเชื่อมต่อขึ้นมามากมาย มีการสร้างไขมันหรือมันสมองหุ้ม
ล้อมรอบเส้นใยสมองด้วย พอเด็กอายุ ๓ ปี สมองจะมีขนาด ๘๐ % ของสมองผู้ใหญ่ มีเซลล์สมองนับหมื่นล้าน
๖
เซลล์ เซลล์สมองและจุดเชื่อมต่อเหล่านี้ยิ่งได้รับการกระตุ้นมากเท่าใด การเชื่อมต่อกันระหว่างเซลล์สมองยิ่งมีมากขึ้น
และความสามารถทางการคิดยิ่งมีมากขึ้นเท่านั้น ถ้าหากเด็กขาดการกระตุ้นหรือส่งเสริมจากสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม
เซลล์สมองและจดุ เช่ือมต่อที่สร้างขึน้ มาก็จะหายไป เด็กที่ได้รับความเครียดอยู่ตลอดเวลาจะทำให้ขาดความสามารถท่ี
จะเรยี นรู้ อย่างไรก็ตาม สว่ นต่าง ๆ ของสมองเจริญเติบโตและเริม่ มีความสามารถในการทำหนา้ ท่ีในช่วงเวลาตา่ งกัน
จงึ อธบิ ายไดว้ ่าการเรียนรู้ทักษะบางอย่างจะเกดิ ขึ้นได้ดีที่สุดเฉพาะในชว่ งเวลาต่างกนั จึงอธิบายได้ว่าการเรียนรู้ทักษะ
บางอย่างจะเกิดขึ้นได้ดีที่สุดเฉพาะในช่วงเวลาหนึ่งที่เรียกว่า “หน้าต่างของโอกาสการเรียนรู้” ซึ่งเป็นช่วงที่ พ่อแม่
ผ้เู ล้ียงดูและครูสามารถช่วยให้เดก็ เรยี นรูแ้ ละพัฒนาสิ่งนนั้ ๆ ไดด้ ที สี่ ุด เมื่อพน้ ช่วงน้ไี ปแลว้ โอกาสนั้นจะฝึกยากหรือเด็ก
ทำไม่ได้เลย เช่น การเชื่อมโยงวงจรประสาทของการมองเห็นและรับรู้ภาพจะต้องได้รับ การกระตุ้นทำงานตั้งแต่
๓ หรือ ๔ เดือนแรกของชีวิตจึงจะมพี ัฒนาการตามปกติ ช่วงเวลาของการเรียนภาษาคือ อายุ ๓ – ๔ ปีแรกของชีวิต
เดก็ จะพูดไดช้ ดั คล่องและถกู ต้อง โดยการพฒั นาขากการพดู เปน็ คำ ๆ มาพดู เป็นประโยคและเลา่ เร่อื งไดเ้ ป็นต้น
๔. แนวคดิ เกี่ยวกบั สื่อการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ทำให้เด็กเกิดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์ท่ีวางไว้ทำให้
สิ่งที่เป็นนามธรรมเข้าใจยากกลายเป็นรูปธรรมที่เด็กเข้าใจและเรียนรู้ได้ง่าย รวดเร็ว เพลิดเพลิน เกิดการเรียนรู้และ
ค้นพบด้วยตนเอง การใช้สื่อการเรียนรู้ต้องปลอดภัยต่อตัวเด็กและเหมาะสมกับวัย วุฒิภาวะ ความแตกต่างระหว่าง
บคุ คล ความสนใจ และความตอ้ งการของเด็กที่หลากหลาย ส่อื ประกอบการจดั กิจกรรมเพอ่ื พฒั นาเด็กปฐมวัยควรมีทั้ง
ที่เป็นประเภท ๒ มิติ และ หรือ ๓ มิติ ที่เป็นสื่อของจรงิ สื่อธรรมชาติ สื่อที่อยู่ใกล้ตัวเด็ก สื่อสะท้อนวัฒนธรรม
สื่อภูมิปัญญาท้องถิ่นสื่อเพื่อพัฒนาเด็ก ในด้านต่าง ๆ ให้ครบทุกด้าน ทั้งนี้ สื่อต้องเพื่อให้เด็กเรียนรู้ผ่านประสาท
สัมผัสทั้งห้า โดยการจัดการใช้สื่อสำหรับเด็กปฐมวัยต้องเริ่มต้นจากสือ่ ของจริง ของจำลอง ภาพถ่าย ภาพโครงร่าง
และสัญลักษณ์ตามลำดบั
๕. แนวคดิ เกี่ยวกบั สงั คมและวฒั นธรรม เด็กเมื่อเกิดมาจะเป็นส่วนหน่ึงของสังคมและวัฒนธรรม ซึ่ง
ไม่เพียงแต่จะได้รับอิทธิพลจากการปฏิบัติแบบดั้งเดิมตามประเพณี มรดก และความรู้ของบรรพบุรุษ แต่ยังได้รับ
อิทธิพลจากประสบการณ์ ค่านิยมและความเชื่อของบุคคลในครอบครัวและชุมชนของแต่ละที่ด้วย บริบททางสังคม
และวัฒนธรรมท่ีเด็กอาศัยอยูห่ รือแวดลอ้ มตัวเด็กทำให้เด็กแตล่ ะคนแตกตา่ งกันไป ครูจำเป็นตอ้ งเข้าใจและยอมรบั ว่า
สังคมและวัฒนธรรมที่แวดล้อมตัวเด็ก มีอิทธิพลต่อการเรียนรู้ การพัฒนาศักยภาพและพัฒนาการของเด็กแต่ละคน
ครูควรต้องเรียนรู้บริบททางสังคมและวัฒนธรรมของเด็กที่ตนรับผิดชอบ เพื่อช่วยให้เด็ กได้รับการพัฒนา เกิดการ
เรียนรู้และอยู่ในกลุ่มคนที่มาจากพ้ืนฐานเหมือนหรือต่างจากตนได้อย่างราบร่นื มีความสุข เปน็ การเตรยี มเด็กไปสู่สังคม
ในอนาคตกับการอยู่ร่วมกับผู้อื่น การทำงานร่วมกับผู้อื่นที่มีความหลากหลายทางความคิด ความเชื่อและวัฒนธรรม
เช่นความคล้ายคลึงและความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยกับประเทศเพื่อนบ้านเรื่องศาสนา ประเทศพม่า ลาว
กัมพูชาก็จะคล้ายคลึงกับคนไทยในการทำบุญตักบาตร การสวดมนต์ ไหว้พระ การให้ความเคารพพระสงฆ์ การทำบุญ
เลี้ยงพระ การเวียนเทียนเนื่องในวันสำคัญทางศาสนา ประเพณีเข้าพรรษาสำหรับประเทศมาเลเซีย บรูไน อินโดนีเซีย
ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม จึงมีวัฒนธรรมแบบอิสลาม ประเทศฟิลิปปินส์ได้รับอิทธิพลจากคริสต์ศาสนา
ประเทศสงิ คโปรแ์ ละเวยี ดนามนบั ถอื หลายศาสนา โดยนับถือลทั ธิเนียมตามแบบจนี เป็นหลกั เปน็ ตน้
๗
หลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั
สำหรบั เดก็ อายุ ๓-๖ ปี
โรงเรยี นวดั ทา่ ราบ(วนั ชัยประชานกุ ลู )
เอกลกั ษณข์ องโรงเรยี น
กริ ยิ าดี มจี ิตสาธารณะ
อตั ลกั ษณข์ องโรงเรยี น
สะอาด มีวินยั ต้งั ใจเรยี น
๘
ปรชั ญาการศกึ ษาปฐมวยั โรงเรยี นวดั ทา่ ราบ(วนั ชยั ประชานุกลู )
โรงเรียนวัดท่าราบ(วันชัยประชานุกูล)เชื่อว่า เด็กเรียนรู้จากการกระทำ โดยสำรวจผ่านประสบการณ์ตรงจาก
การปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ทั้งในและนอกห้องเรียน โรงเรียนจะส่งเสริมให้เด็กคิดสร้างสรรค์ผ่านงานศิลปะ การเล่าเรื่อง
และการเคลื่อนไหว มีทักษะชีวิตที่เหมาะสมกับวัย ได้เล่น เรียนรู้จากสื่อและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายรูปแบบ ทำให้
เดก็ เกิดความรูส้ กึ ปลอดภยั มีความสุขในสภาพแวดลอ้ มทเ่ี ตม็ ไปดว้ ยความรักและความอบอุน่
วสิ ยั ทศั นก์ ารศกึ ษาระดับปฐมวยั โรงเรยี นวดั ทา่ ราบ(วนั ชยั ประชานุกลู )
ภายในปีพุทธศักราช ๒๕๖7 โรงเรียนวัดท่าราบ(วันชัยประชานุกูล)จะมีบุคลากรที่จัดประสบการณ์ตรง และ
อบรมเลี้ยงดูเด็กอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อพัฒนาเด็กให้สมบูรณ์ตามวัยทั้ง 4 ด้าน มีทักษะชีวิต สามารถดูแลช่วยเหลือ
ตนเองในการปฏิบัตกิ ิจวตั ร และเรียนรู้กิจกรรมประจำวันอย่างมีความสุข โดยเน้นการมีส่วนรว่ มระหว่างบา้ น โรงเรียน
และชมุ ชน
ภารกจิ หรอื พนั ธกจิ
๑. พัฒนาหลักสตู รสถานศึกษาท่ีมุง่ เน้นพัฒนาการเด็กปฐมวยั ทงั้ ๔ ด้าน อยา่ งสมดุล
และเตม็ ศกั ยภาพ
๒. พฒั นาครูและบคุ ลากรด้านการจดั ประสบการณ์ท่สี ่งเสรมิ การเรียนรูผ้ ่านการเลน่
ทีม่ จี ดุ หมายอย่างต่อเน่ือง
๓. สง่ เสรมิ สนับสนุนการจัดสภาพแวดลอ้ ม สื่อ เทคโนโลยแี ละแหลง่ เรียนรู้
ในการพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ให้เหมาะสมและทันกับสถานการณใ์ นปัจจบุ ัน
๔. จดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ที่หลากหลายซงึ่ สอดคล้องกบั พัฒนาการทางสมองของเด็ก
โดยนำหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและแหล่งเรียนรู้ ภมู ิปญั ญาท้องถ่นิ
มาใชเ้ สรมิ สรา้ งพฒั นาการและการเรียนรขู้ องเด็ก
๕. ส่งเสรมิ การมสี ่วนร่วมของผ้ปู กครองและชุมชนในการพฒั นาเด็กปฐมวยั
๙
เปา้ หมาย
๑. เด็กปฐมวยั ทกุ คนได้รบั การพัฒนาด้านรา่ งกาย อารมณ์-จติ ใจ สงั คม และสติปญั ญา
เป็นองคร์ วมอยา่ งสมดุลและมีความสุข
๒. ครมู คี วามรู้ ความเข้าใจ และสามารถจดั ประสบการณ์ท่ีส่งเสรมิ การเรียนรู้ผ่านการเล่น
โดยใช้กระบวนการวางแผน การปฏิบัติ และการทบทวน
๓. มสี ภาพแวดล้อม สื่อ เทคโนโลยี และแหลง่ เรยี นรูท้ เี่ อื้อต่อการสง่ เสริมพัฒนาการ
เดก็ ปฐมวัยอย่างพอเพียง
๔. ผปู้ กครอง ชุมชน และหนว่ ยงานท่เี ก่ียวข้องมสี ว่ นรว่ มในการพัฒนาเด็กปฐมวยั
จุดหมาย
โรงเรยี นวดั ทา่ ราบ(วนั ชัยประชานกุ ูล)มุง่ ให้เด็กมีพัฒนาตามวยั เตม็ ตามศักยภาพ และมคี วามพร้อมในการ
เรยี นร้ตู ่อไป จึงกำหนดจุดหมายสำคญั เม่ือเด็กจบการศึกษาระดบั ปฐมวยั ดงั นี้
๑. ร่างกายเจริญเติบโตตามวัย แขง็ แรง และมีสุขนิสัยทดี่ ี
๒. สุขภาพจิตดี มสี นุ ทรยี ภาพ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรมและจติ ใจท่ีดงี าม
๓. มีทกั ษะชวี ิตและปฏบิ ตั ติ นตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง มวี นิ ยั และอยรู่ ว่ มกบั ผอู้ น่ื ได้
อย่างมีความสขุ
๔. มีทกั ษะการคิด การใช้ภาษาส่ือสาร และการแสวงหาความรู้ไดเ้ หมาะสมกับวยั
๑๐
พฒั นาการเดก็ ปฐมวยั
พัฒนาการเด็กปฐมวัยด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญาแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลง
ที่เกิดขึ้นตามวุฒิภาวะและสภาพแวดล้อมที่เด็กได้รับ พัฒนาการเด็กในแต่ละช่วงวัยอาจเร็วหรือช้าแตกต่างกันไป
ในเด็กแต่ละคน หากผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพัฒนาการเด็ก ก็จะส่งผลดีต่อการพัฒนาเด็ก
ท่ตี นดูแลรบั ผิดชอบทง้ั น้ี พฒั นาการเด็กปฐมวัยอายุ ๓ – ๖ ปี สรุปที่สำคัญ มีดังน้ี
๑. ด้านรา่ งกาย เจรญิ เติบโตรวดเร็วโดยเฉพาะในเรอ่ื งนำ้ หนกั และส่วนสงู กลา้ มเนอ้ื ทใ่ี ช้ การเคล่อื นไหว เชน่
กลา้ มเนือ้ มอื กล้ามเน้ือเทา้ ยังทำงานไมป่ ระสานดพี อโดยเฉพาะกล้ามเนื้อมือ – ตาทำให้เด็กยังไม่สามารถเขียนหนังสือ
ได้ดี เด็กวัยนี้ชอบเคลื่อนไหว ไม่หยุดนิ่ง มีความคล่องแคล่วว่องไวในการเดินการวิ่งและการหยิบจับ สามารถควบคุม
และบังคับการทรงตัวได้ดี เด็กวัยนี้พร้อมที่จะออกกำลังและเคลื่อนไหวในลักษณะต่าง ๆ การสัมผัสหรือการ
ใช้มือมีความละเอียดมากขึ้น การพัฒนากล้ามเนื้อเล็กช้าควรระวังการเกิดการผลักดันให้เด็กใช้กล้ามเนื้อเล็กเร็ว
เกินไปจนทำให้เด็กเกิดความเครียด ทั้งนี้ เด็กปฐมวัยสามารถทำกิจกรรมที่พัฒนากล้ามเนื้อเล็กได้ดีและนานขึ้น
ถ้าเดก็ ไมเ่ ครยี ดหรือกงั วล
๒. ด้านอารมณ์ จิตใจ เป็นวัยเจา้ อารมณ์ เม่อื มอี ารมณ์จะแสดงออกอยา่ งเตม็ ทีไ่ มม่ ีปิดบังซ่อนเร้น แต่จะเกิด
เพียงชั่วครู่แล้วหายไป การที่เด็กเปลี่ยนแปลงอารมณ์ง่ายเพราะมีช่วงความสนใจระยะสั้น เมื่อมีสิ่งใดน่าสนใจก็จะ
เปลี่ยนความสนใจไปตามสิ่งนั้น ๆ เด็กอาจกลัวสัตว์หรือความมืด ความกลัวของเด็กจะเกิดจากจินตนาการ เห็นสัตว์
ประหลาดหรือภูตผีว่าเป็นเรื่องจริงสำหรับตน ความรู้สึกของเด็กจะกลับไปกลับมา บางครั้งต้องการอิสระ บางคร้ัง
ต้องการพง่ึ พิงผู้อืน่ เช่น เดก็ แสดงความต้องการจะทำสิง่ ต่าง ๆ ด้วยตนเองแต่แล้วกลับใหผ้ ู้ใหญ่ทำให้
๓. ดา้ นสังคม เด็กเริม่ สร้างความสัมพนั ธท์ างสงั คมคร้ังแรกในครอบครวั โดยมีปฏิสัมพันธ์กับพ่อแมแ่ ละพนี่ อ้ ง
เมื่อโตขึ้นตอ้ งไปสถานศึกษา เดก็ เรม่ิ เรยี นรู้การติดต่อและการมีสัมพันธ์กับบุคคลนอกครอบครวั โดยเฉพาะอย่างย่ิงเด็ก
ในวัยเดียวกัน เด็กได้เรียนรู้การปรับตัวให้เข้าสังคมกับเด็กอื่นพร้อม ๆ กับรู้จักร่วมมือในการเล่นกับกลุ่มเพื่อน
เจตคติและพฤติกรรมทางสังคมของเด็กจะก่อขึ้นในวยั น้ีและจะฝังแน่นยากทีจ่ ะเปลี่ยนแปลงในวัยตอ่ มา ดังนั้น จึงอาจ
กล่าวไดว้ า่ พฤติกรรมทางสงั คมของเด็กวัยนี้ มี ๒ ลกั ษณะ คือลักษณะแรกน้ัน เป็นความสมั พนั ธ์กับผ้ใู หญ่และลักษณะที่
สองเป็นความสมั พนั ธ์กับเดก็ ในวยั ใกลเ้ คียงกัน
๔. ดา้ นสตปิ ญั ญา ความคิดของเด็กวัยน้มี ีลกั ษณะยึดตนเองเป็นจุดศูนยก์ ลาง ยงั ไมส่ ามารถเขา้ ใจความรู้สึกของ
คนอื่น เด็กมีความคิดเพียงแต่ว่าทุกคนมองสิ่งต่าง ๆ รอบตัว และรู้สึกต่อสิ่งต่าง ๆ เหมือนตนเอง ความคิดของตนเอง
เป็นใหญท่ ส่ี ดุ เมอ่ื อายุ ๓ – ๖ ปี เดก็ สามารถโตต้ อบหรอื มีปฏสิ มั พันธ์กบั วัตถสุ ิ่งของท่ีอยรู่ อบตัวได้ สามารถจำส่งิ ต่าง ๆ
ทไ่ี ดก้ ระทำซำ้ กันบ่อย ๆ ได้ดี เรยี นรู้ส่งิ ตา่ ง ๆได้ดีข้ึนแตย่ ังอาศัยการรับรู้เปน็ สว่ นใหญ่ แกป้ ัญหาการลองผิดลองถูกจาก
๑๑
การรบั รมู้ ากกว่าการใช้เหตุผลความคิดรวบยอดเก่ียวกบั สิ่งตา่ ง ๆ ที่อยู่รอบตวั พฒั นาอย่างรวดเร็วตามอายุท่ีเพิ่มขึ้น ใน
ส่วนของพัฒนาการทางภาษา เด็กวัยนี้เปน็ ระยะเวลาของการพัฒนาภาษาอย่างรวดเร็ว โดยมีการฝกึ ฝนการใช้ภาษาจาก
การทำกิจกรรมต่าง ๆ ในรูปของการพูดคุย การตอบคำถาม การเล่าเรื่อง การเล่านิทานและการทำกิจกรรมต่าง ๆที่
เกี่ยวข้องกับการใช้ภาษาในสถานศึกษา เด็กปฐมวัยสามารถ ใช้ภาษาแทนความคิดของตน และใช้ภาษาในการติดต่อ
สัมพันธ์กับคนอื่นได้ คำพูดของเด็กวัยนี้ อาจทำให้ผู้ใหญ่บางคนเข้าใจว่าเด็กรู้มากแล้วแต่ที่จริงเด็กยังไม่เข้าใจ
ความหมายของคำและเรื่องราวลึกซ้ึงนัก
มาตรฐานคณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัยของโรงเรียนวัดท่าราบ(วันชัยประชานุกูล)ได้กำหนดมาตรฐาน
คณุ ลกั ษณะที่พึงประสงคจ์ ำนวน ๑๒ ขอ้ ที่ครอบคลุมพฒั นาการด้านรา่ งกาย อารมณ์ จติ ใจ สงั คม และสติปัญญา
มาตรฐานคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์เป็นคุณภาพคุณลักษณะที่พึงประสงค์ที่ต้องการให้เกดิ ขึ้นในตัวเด็ก เมื่อจบหลักสูตร
การศึกษาปฐมวัยคุณลักษณะที่พึงประสงค์ที่ระบุไว้ในมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ถือเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับเด็ก
ปฐมวัยทกุ คน ดังนั้นเด็กเมอ่ื จบหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั จากโรงเรียนวดั ท่าราบ(วันชัยประชานกุ ลู )เป็นเด็กที่สามารถ
พัฒนาอย่างมีคุณภาพเท่าเทียมกันได้ตามมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ครอบคลุมในแต่ละพัฒนาการ
ประกอบด้วย
๑. พฒั นาการดา้ นรา่ งกาย ประกอบดว้ ย ๒ มาตรฐาน คือ
มาตรฐานที่ ๑ ร่างกายเจรญิ เติบโตตามวัยและมสี ุขนิสยั ท่ีดี
มาตรฐานที่ ๒ กล้ามเนื้อใหญ่และกลา้ มเน้ือเลก็ แขง็ แรง ใชไ้ ด้อย่างคล่องแคลว่
และประสานสัมพนั ธ์กัน
๒. พฒั นาการด้านอารมณ์ จติ ใจ ประกอบดว้ ย ๓ มาตรฐาน คอื
มาตรฐานที่ ๓ มสี ขุ ภาพจติ ดีและมีความสขุ
มาตรฐานที่ ๔ ช่นื ชมและแสดงออกทางศลิ ปะ ดนตรี และการเคล่ือนไหว
มาตรฐานท่ี ๕ มีคณุ ธรรม จริยธรรมและมจี ิตใจทด่ี งี าม
๓. พฒั นาการดา้ นสงั คม ประกอบดว้ ย ๓ มาตรฐาน คอื
มาตรฐานท่ี ๖ มที ักษะชวี ิตและปฏบิ ัติตนตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
มาตรฐานท่ี ๗ รักธรรมชาติ ส่งิ แวดล้อม วัฒนธรรมและความเปน็ ไทย
มาตรฐานท่ี ๘ อย่รู ่วมกบั ผู้อนื่ ได้อยา่ งมีความสขุ และปฏบิ ัติตนเป็นสมาชิกทด่ี ขี องสงั คม
ในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ
๔. พฒั นาการดา้ นสตปิ ญั ญา ประกอบดว้ ย ๔ มาตรฐาน คอื
มาตรฐานท่ี ๙ ใชภ้ าษาสือ่ สารไดเ้ หมาะสมกับวัย
มาตรฐานที่ ๑๐ มีความสามารถในการคิดที่เป็นพ้ืนฐานในการเรียนรู้
มาตรฐานท่ี ๑๑ มีจนิ ตนาการและความคดิ สร้างสรรค์
มาตรฐานท่ี ๑๒ มีเจตคติท่ดี ีตอ่ การเรยี นรู้และมีความสามารถในการแสวงหาความรู้
ได้เหมาะสมกับวัย
๑๒
มาตรฐานคณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์ ตวั บง่ ชี้ และสภาพทพ่ี งึ ประสงค์
หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยของโรงเรียนวัดท่าราบ(วันชัยประชานุกูล) ได้กำหนดมาตรฐานคุณลักษณะที่พึง
ประสงค์จำนวน ๑๒ ข้อ ๒๙ ตัวบ่งชี้ แต่ละตัวบ่งชี้กำหนดสภาพที่พึงประสงค์ซึ่งถือเป็นพฤติกรรมหรือความสามารถที่
คาดหวังให้เด็กเกิดในแต่ละระดับอายุ ถือเป็นเกณฑ์สำคัญสำหรับการตรวจสอบคุณภาพเด็กและครูต้องนำสภาพที่พงึ
ประสงค์ในแต่ละอายุไปใช้ในการกำหนดสาระการเรียนรู้ การจัดประสบการณ์ กิจกรรมและใช้เป็นเกณฑ์สำคัญ
สำหรับการประเมินพัฒนาการเด็ก มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ และสภาพที่พึงประสงค์ตาม
พัฒนาการแตล่ ะดา้ นของเดก็ ที่จบการศึกษาระดับปฐมวยั ในแต่ละช่วงอายุ มดี ังน้ี
๑. พฒั นาการดา้ นรา่ งกาย ประกอบดว้ ย ๒ มาตรฐาน ๕ ตวั บ่งช้ี ไดแ้ ก่
มาตรฐานที่ ๑ รา่ งกายเจรญิ เตบิ โตตามวยั และมสี ขุ นสิ ยั ทีด่ ี มี ๓ ตวั บง่ ช้ี คอื
ตวั บ่งชท้ี ่ี ๑.๑ นำ้ หนกั และสว่ นสงู ตามเกณฑ์
สภาพท่ีพงึ ประสงค์
อายุ ๓-๔ ปี อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี
นำ้ หนกั และส่วนสูงตามเกณฑ์ของ
นำ้ หนักและสว่ นสงู ตามเกณฑ์ของ นำ้ หนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ของ กรมอนามยั
กรมอนามยั กรมอนามัย
ตวั บง่ ชที้ ่ี ๑.๒ มสี ขุ ภาพอนามัย สขุ นสิ ยั ทด่ี ี
สภาพทพ่ี งึ ประสงค์
อายุ ๓-๔ ปี อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี
รับประทานอาหารท่ีมปี ระโยชน์
ยอมรับประทานอาหารท่ีมีประโยชน์ รับประทานอาหารที่มปี ระโยชนแ์ ละ ไดห้ ลายชนดิ และดื่มนำ้ สะอาด
ได้ด้วยตนเอง
และด่ืมน้ำที่สะอาดเม่ือมีผูช้ แ้ี นะ ด่มื นำ้ สะอาดดว้ ยตนเอง ลา้ งมอื กอ่ นรับประทานอาหาร
และหลงั จากใช้ห้องนำ้ ห้องส้วม
ลา้ งมอื กอ่ นรบั ประทานอาหาร ล้างมอื ก่อนรบั ประทานอาหาร ด้วยตนเอง
และหลงั จากใช้ห้องน้ำห้องส้วม และหลงั จากใชห้ ้องนำ้ ห้องส้วม นอนพักผ่อนเป็นเวลา
เม่อื มผี ู้ชแ้ี นะ ด้วยตนเอง ออกกำลังกายเป็นเวลา
นอนพักผอ่ นเปน็ เวลา นอนพักผ่อนเป็นเวลา
ออกกำลงั กายเป็นเวลา ออกกำลังกายเป็นเวลา
ตวั บ่งชท้ี ี่ ๑.๓ รกั ษาความปลอดภยั ของตนเองและผอู้ น่ื
สภาพที่พงึ ประสงค์
อายุ ๓-๔ ปี อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี
เลน่ ทำกจิ กรรม และปฏบิ ัตติ ่อผู้อ่นื
เล่นและทำกิจกรรมอย่างปลอดภยั เล่นและทำกจิ กรรมอยา่ งปลอดภยั อยา่ งปลอดภัย
เมอ่ื มีผูช้ ี้แนะ ด้วยตนเอง
๑๓
มาตรฐานท่ี ๒ กลา้ มเนอ้ื ใหญ่และกลา้ มเนอื้ เลก็ แขง็ แรง ใชไ้ ดอ้ ยา่ งคลอ่ งแคลว่ และประสานสมั พนั ธก์ ัน
มี ๒ ตวั บง่ ช้ี คอื
ตวั บง่ ชท้ี ี่ ๒.๑ เคลอ่ื นไหวรา่ งกายอยา่ งคลอ่ งแคลว่ ประสานสมั พนั ธแ์ ละทรงตวั ได้
สภาพท่ีพงึ ประสงค์
อายุ ๓-๔ ปี อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี
เดินตามแนวที่กำหนดได้ เดินตอ่ เทา้ ไปข้างหน้าเปน็ เส้นตรงได้ เดินต่อเท้าถอยหลงั เป็นเสน้ ตรงได้
โดยไมต่ ้องกางแขน โดยไมต่ ้องกางแขน
กระโดดสองขา ขึ้นลงอยู่กบั ท่ีได้ กระโดดขาเดียวอยกู่ ับท่ไี ด้โดยไมเ่ สยี กระโดดขาเดยี วไปขา้ งหนา้ ได้อยา่ ง
การทรงตัว ตอ่ เนอ่ื งโดยไมเ่ สียการทรงตัว
ว่ิงแลว้ หยดุ เองได้ วง่ิ หลบหลกี สง่ิ กีดขวางได้ วิง่ หลบหลกี สิง่ กดี ขวางได้
อยา่ งคล่องแคลว่
รบั ลกู บอลโดยใชม้ ือและลำตัวชว่ ย รับลูกบอลโดยใชม้ ือทง้ั สองขา้ ง รับลกู บอลท่ีกระดอนขนึ้ จากพืน้ ได้
ตวั บ่งชท้ี ี่ ๒.๒ ใชม้ อื – ตาประสานสมั พนั ธก์ นั
สภาพท่ีพงึ ประสงค์
อายุ ๓-๔ ปี อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี
ใช้กรรไกรตัดกระดาษตามแนว
ใชก้ รรไกรตดั กระดาษขาดจากกนั ได้ ใชก้ รรไกรตัดกระดาษตามแนว เส้นโคง้ ได้
เขียนรูปสามเหล่ยี มตามแบบได้
โดยใช้มือเดยี ว เสน้ ตรงได้ อยา่ งมีมุมชดั เจน
รอ้ ยวสั ดทุ ่มี รี ูขนาดเส้นผา่ น
เขียนรปู วงกลมตามแบบได้ เขยี นรปู สเ่ี หล่ียมตามแบบได้อย่างมี ศนู ยก์ ลาง ๐.๒๕ ซม.ได้
มมุ ชดั เจน
ร้อยวัสดุที่มรี ขู นาดเสน้ ผา่ น ร้อยวสั ดทุ ่ีมีรขู นาดเส้นผา่ น
ศนู ย์กลาง ๑ ซม.ได้ ศูนยก์ ลาง ๐.๕ ซม.ได้
๒. พฒั นาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจ ประกอบดว้ ย ๓ มาตรฐาน ๗ ตวั บง่ ชี้ ไดแ้ ก่
มาตรฐานท่ี ๓ มสี ขุ ภาพจติ ดแี ละมคี วามสขุ มี ๒ ตวั บง่ ช้ี คอื
ตวั บง่ ชที้ ี่ ๓.๑ แสดงออกทางอารมณ์ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
สภาพทพ่ี งึ ประสงค์
อายุ ๓-๔ ปี อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี
แสดงอารมณ์ ความรสู้ กึ ได้
แสดงอารมณ์ ความร้สู ึกไดเ้ หมาะสม แสดงอารมณ์ ความรูส้ ึกได้ตาม สอดคลอ้ งกับสถานการณ์
อยา่ งเหมาะสม
กับบางสถานการณ์ สถานการณ์
๑๔
ตวั บ่งชที้ ี่ ๓.๒ มคี วามรสู้ กึ ทดี่ ตี อ่ ตนเองและผอู้ นื่
สภาพทพี่ งึ ประสงค์
อายุ ๓-๔ ปี อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี
กลา้ พูดกล้าแสดงออกอย่าง
กลา้ พูดกล้าแสดงออก กล้าพูดกลา้ แสดงออกอยา่ ง เหมาะสมตามสถานการณ์
แสดงความพอใจในผลงาน และ
เหมาะสมบางสถานการณ์ ความสามารถของตนเองและผูอ้ ืน่
แสดงความพอใจในผลงานตนเอง แสดงความพอใจในผลงาน และ
ความสามารถของตนเอง
มาตรฐานที่ ๔ ชนื่ ชมและแสดงออกทางศลิ ปะ ดนตรแี ละการเคลอื่ นไหว มี ๑ ตวั บง่ ช้ี คอื
ตวั บง่ ชที้ ่ี ๔.๑ สนใจ มีความสขุ และแสดงออก ผา่ นงานศลิ ปะ ดนตรแี ละการเคลอ่ื นไหว
สภาพทพ่ี งึ ประสงค์
อายุ ๓-๔ ปี อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี
สนใจ มคี วามสุข และแสดงออก สนใจ มีความสขุ และแสดงออก สนใจ มคี วามสขุ และแสดงออก
ผ่านงานศิลปะ ผ่านงานศลิ ปะ ผ่านงานศลิ ปะ
สนใจ มคี วามสุข และแสดงออก สนใจ มีความสขุ และแสดงออก สนใจ มคี วามสุข และแสดงออก
ผา่ นเสยี งเพลง ดนตรี ผา่ นเสียงเพลง ดนตรี ผา่ นเสยี งเพลง ดนตรี
สนใจ มีความสขุ และแสดงท่าทาง/ สนใจ มีความสขุ และแสดงท่าทาง/ สนใจ มคี วามสุข และแสดงท่าทาง/
เคล่อื นไหวประกอบเพลง จังหวะ เคลอ่ื นไหวประกอบเพลง จงั หวะและ เคลื่อนไหวประกอบเพลง จงั หวะ
และดนตรี ดนตรี และดนตรี
มาตรฐานที่ ๕ มีคุณธรรม จรยิ ธรรมและมจี ติ ใจทดี่ งี าม มี ๔ ตวั บง่ ช้ี คอื
ตวั บง่ ชที้ ่ี ๕.๑ ซอื่ สตั ยส์ จุ รติ สภาพท่พี งึ ประสงค์ อายุ ๕-๖ ปี
อายุ ๔-๕ ปี ขออนุญาตหรือรอคอยเม่อื ต้องการ
อายุ ๓-๔ ปี สงิ่ ของของผู้อน่ื ดว้ ยตนเอง
บอกหรือชีไ้ ดว้ า่ สิง่ ใดเปน็ ของตนเอง ขออนญุ าตหรือรอคอยเม่ือต้องการ
และส่ิงใดเปน็ ของผู้อื่น สิ่งของของผู้อ่ืน เม่ือมีผชู้ แ้ี นะ
ตวั บ่งชที้ ่ี ๕.๒ มคี วามเมตตากรณุ า มนี ำ้ ใจ และชว่ ยเหลอื แบ่งปนั ๑๕
สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ อายุ ๕-๖ ปี
แสดงความรกั เพ่ือน และมีเมตตา
อายุ ๓-๔ ปี อายุ ๔-๕ ปี สัตว์เลี้ยง
ชว่ ยเหลอื และแบง่ ปันผ้อู น่ื ได้
แสดงความรักเพื่อน และมีเมตตา แสดงความรักเพื่อน และมีเมตตา ด้วยตนเอง
สตั ว์เลยี้ ง สัตวเ์ ลยี้ ง
แบง่ ปันผอู้ ่นื ไดเ้ มื่อมีผู้ช้ีแนะ ช่วยเหลอื และแบ่งปนั ผอู้ น่ื ได้
เม่อื มผี ้ชู ีแ้ นะ
ตวั บง่ ชท้ี ี่ ๕.๓ มคี วามเหน็ อกเหน็ ใจผอู้ นื่
สภาพทีพ่ งึ ประสงค์
อายุ ๓-๔ ปี อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี
แสดงสหี น้าหรือทา่ ทางรับรูค้ วามรสู้ กึ แสดงสหี น้าหรือทา่ ทางรับรูค้ วามรูส้ กึ แสดงสหี นา้ หรอื ทา่ ทางรบั รู้
ของผู้อืน่ ของผู้อน่ื ความรู้สกึ ของผู้อื่นอยา่ งสอดคล้อง
กับสถานการณ์
ตวั บง่ ชที้ ี่ ๕.๔ มคี วามรบั ผดิ ชอบ
สภาพท่ีพงึ ประสงค์
อายุ ๓-๔ ปี อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี
ทำงานที่ได้รบั มอบหมายจนสำเรจ็
ทำงานที่ไดร้ บั มอบหมายจนสำเร็จ ทำงานท่ีได้รับมอบหมายจนสำเรจ็ ด้วยตนเอง
เมือ่ มีผชู้ ่วยเหลอื เม่อื มผี ู้ช้ีแนะ
๓. พฒั นาการดา้ นสงั คม ประกอบดว้ ย ๓ มาตรฐาน ๘ ตวั บง่ ชี้ ไดแ้ ก่
มาตรฐานท่ี ๖ มที กั ษะในการดำเนนิ ชวี ติ มี ๓ ตวั บง่ ช้ี คอื
ตวั บง่ ชท้ี ่ี ๖.๑ ชว่ ยเหลอื ตนเองในการปฏบิ ตั ิกจิ วตั รประจำวนั
สภาพทพี่ งึ ประสงค์
อายุ ๓-๔ ปี อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี
แต่งตัวดว้ ยตนเองได้
แตง่ ตัวโดยมีผ้ชู ่วยเหลือ แตง่ ตัวด้วยตนเอง อย่างคล่องแคล่ว
รับประทานอาหารด้ายตนเอง
รับประทานอาหารด้วยตนเอง รบั ประทานอาหารดา้ ยตนเอง อย่างถูกวิธี
ใชแ้ ละทำความสะอาดหลงั ใช้
ใช้ห้องนำ้ ห้องสว้ มโดย ใช้ห้องน้ำหอ้ งสว้ มดว้ ยตนเอง ห้องน้ำห้องส้วมดว้ ยตนเอง
มผี ูช้ ่วยเหลอื
๑๖
ตวั บง่ ชท้ี ่ี ๖.๒ มวี นิ ยั ในตนเอง
สภาพทพ่ี งึ ประสงค์
อายุ ๓-๔ ปี อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี
เกบ็ ของเล่นของใชเ้ ขา้ ท่ี
เกบ็ ของเลน่ ของใชเ้ ขา้ ทเ่ี ม่ือมีผู้ชแ้ี นะ เก็บของเลน่ ของใชเ้ ขา้ ที่ดว้ ยตนเอง อยา่ งเรียบร้อยด้วยตนเอง
เข้าแถวตามลำดับก่อนหลงั ได้
เข้าแถวตามลำดบั ก่อนหลังได้ เข้าแถวตามลำดับก่อนหลงั ได้ ดว้ ยตนเอง
เมอื่ มผี ู้ชแี้ นะ ดว้ ยตนเอง
ตวั บง่ ชท้ี ี่ ๖.๓ ประหยดั และพอเพยี ง
สภาพทพ่ี งึ ประสงค์
อายุ ๓-๔ ปี อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี
ใชส้ ง่ิ ของเครอ่ื งใช้อยา่ งประหยัด
ใช้สง่ิ ของเครอ่ื งใชอ้ ยา่ งประหยัดและ ใชส้ ิ่งของเครื่องใช้อย่างประหยัดและ และพอเพยี งดว้ ยตนเอง
พอเพยี งเม่ือมีผชู้ แ้ี นะ พอเพยี งเม่ือมผี ้ชู ีแ้ นะ
มาตรฐานที่ ๗ รักธรรมชาติ ส่งิ แวดลอ้ ม วฒั นธรรมและความเปน็ ไทย มี ๒ ตวั บง่ ชี้ คอื
ตวั บ่งชที้ ่ี ๗.๑ ดแู ลรักษาธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม
สภาพท่พี งึ ประสงค์
อายุ ๓-๔ ปี อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี
ดูแลรกั ษาธรรมชาติ สิง่ แวดล้อม
มสี ว่ นรว่ มดแู ลรกั ษาธรรมชาติ มสี ว่ นรว่ มดแู ลรักษาธรรมชาติ ดว้ ยตนเอง
ทิง้ ขยะได้ถกู ที่
สิ่งแวดล้อมเม่ือมผี ชู้ ี้แนะ สิ่งแวดล้อมเม่ือมผี ชู้ ้ีแนะ
ทง้ิ ขยะได้ถกู ท่ี ทงิ้ ขยะได้ถกู ที่
ตวั บง่ ชท้ี ่ี ๗.๒ มมี ารยาทตามวฒั นธรรมไทย และรกั ความเปน็ ไทย
สภาพที่พงึ ประสงค์
อายุ ๓-๔ ปี อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี
ปฏิบตั ติ นตามมารยาทไทยได้
ปฏิบตั ติ นตามมารยาทไทยได้ ปฏบิ ตั ิตนตามมารยาทไทยได้ ตามกาลเทศะ
กลา่ วคำขอบคุณและขอโทษ
เมอ่ื มผี ู้ชีแ้ นะ ด้วยตนเอง ด้วยตนเอง
ยนื ตรงและร่วมร้องเพลงชาติไทย
กลา่ วคำขอบคุณและขอโทษ กล่าวคำขอบคุณและขอโทษ และเพลงสรรเสริญพระบารมี
เมอ่ื ผชู้ ้ีแนะ ด้วยตนเอง
หยุดยนื เมอ่ื ได้ยินเพลงชาติไทยและ ยืนตรงเม่อื ได้ยินเพลงชาตไิ ทยและ
เพลงสรรเสริญพระบารมี เพลงสรรเสรญิ พระบารมี
๑๗
มาตรฐานท่ี ๘ อยรู่ ว่ มกบั ผอู้ นื่ ไดอ้ ยา่ งมคี วามสุขและปฏบิ ตั ติ นเปน็ สมาชกิ ทดี่ ีของสงั คมใน
ระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมขุ มี ๓ ตวั บ่งช้ี คอื
ตวั บ่งชที้ ่ี ๘.๑ ยอมรบั ความเหมอื นและความแตกต่างระหวา่ งบคุ คล
สภาพที่พงึ ประสงค์
อายุ ๓-๔ ปี อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี
เล่นและทำกิจกรรมร่วมกบั เด็ก
เล่นและทำกจิ กรรมร่วมกับเด็ก เลน่ และทำกิจกรรมรว่ มกับเด็ก ท่แี ตกตา่ งไปจากตน
ทแี่ ตกตา่ งไปจากตน ทแี่ ตกต่างไปจากตน
ตวั บง่ ชที้ ี่ ๘.๒ มปี ฏสิ มั พนั ธท์ ด่ี กี บั ผอู้ นื่
สภาพท่ีพงึ ประสงค์
อายุ ๓-๔ ปี อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี
เล่นหรอื ทำงานรว่ มกบั เพื่อน
เล่นรว่ มกับเพื่อน เล่นหรือทำงานรว่ มกบั เพื่อน อยา่ งมเี ป้าหมาย
ยิม้ หรือทักทายผใู้ หญห่ รือบุคคล
เป็นกลุ่มได้ ทค่ี นุ้ เคยไดเ้ หมาะสมกับสถานการณ์
ย้ิมหรอื ทักทายผู้ใหญห่ รือบคุ คล ยมิ้ หรือทักทายผใู้ หญห่ รือบคุ คล
ท่ีคนุ้ เคยเม่อื มีผู้ชี้แนะ ทคี่ นุ้ เคยได้ดว้ ยตนเอง
ตวั บ่งชท้ี ี่ ๘.๓ ปฏบิ ตั ติ นเบอื้ งตน้ ในการเปน็ สมาชกิ ทดี่ ขี องสังคม
สภาพท่พี งึ ประสงค์
อายุ ๓-๔ ปี อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี
มีสว่ นรว่ มสรา้ งข้อตกลงและปฏบิ ตั ิ
ปฏบิ ตั ิตามข้อตกลงเมอ่ื มผี ู้ชี้แนะ มีสว่ นร่วมสรา้ งขอ้ ตกลงและปฏิบตั ิ ตามข้อตกลงด้วยตนเอง
ปฏบิ ตั ิตนเป็นผนู้ ำและผตู้ าม
ตามข้อตกลงเม่ือมผี ้ชู ี้แนะ ไดเ้ หมาะสมกับสถานการณ์
ประนีประนอม แก้ไขปญั หา โดย
ปฏบิ ตั ติ นเปน็ ผ้นู ำและผู้ตาม ปฏิบตั ิตนเปน็ ผนู้ ำและผตู้ าม ปราศจากการใชค้ วามรนุ แรง
ดว้ ยตนเอง
เมอื่ มผี ชู้ ้ีแนะ ได้ดว้ ยตนเอง
ยอมรบั การประนปี ระนอม แก้ไข ประนีประนอม แก้ไขปัญหา โดย
ปัญหาเมอื่ มผี ชู้ แ้ี นะ ปราศจากการใชค้ วามรุนแรง
เม่ือมผี ู้ช้แี นะ
๑๘
๔. พฒั นาการดา้ นสตปิ ญั ญา ประกอบดว้ ย ๔ มาตรฐาน ๙ ตวั บง่ ช้ี ไดแ้ ก่
มาตรฐานที่ ๙ ใชภ้ าษาสอ่ื สารไดเ้ หมาะสมกบั วยั มี ๒ ตวั บง่ ชี้ คอื
ตวั บ่งชที้ ่ี ๙.๑ สนทนาโต้ตอบและเลา่ เรอ่ื งใหผ้ อู้ นื่ เขา้ ใจ
สภาพทพ่ี งึ ประสงค์
อายุ ๓-๔ ปี อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี
ฟงั ผ้อู ่ืนพดู จนจบและสนทนาโต้ตอบ
ฟังผู้อ่ืนพูดจนจบและพดู โต้ตอบ ฟงั ผูอ้ ื่นพดู จนจบและสนทนาโต้ตอบ อยา่ งต่อเนื่องเชือ่ มโยงกบั เรือ่ งทฟี่ ัง
เล่าเปน็ เรือ่ งราวตอ่ เนื่องได้
เก่ยี วกบั เรอ่ื งทฟี่ ัง สอดคลอ้ งกบั เร่ืองท่ีฟัง
เลา่ เรือ่ งด้วยประโยคสนั้ ๆ เลา่ เรื่องเป็นประโยคอยา่ งต่อเน่อื ง
ตวั บง่ ชที้ ี่ ๙.๒ อา่ น เขยี นภาพ และสญั ลกั ษณไ์ ด้
สภาพท่ีพงึ ประสงค์
อายุ ๓-๔ ปี อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี
อา่ นภาพและพูดข้อความ อ่านภาพ สัญลักษณ์ คำ พร้อมท้งั ชี้ อ่านภาพ สัญลักษณ์ คำ ด้วยการชี้
ด้วยภาษาของตน หรอื กวาดตามองข้อความตามบรรทัด หรือกวาดตามองจุดเร่ิมตน้ และจดุ
จบของขอ้ ความ
เขียนขีดเขี่ย อย่างมที ิศทาง เขียนคล้ายตัวอักษร เขียนชื่อของตนเอง ตามแบบ เขยี น
ขอ้ ความดว้ ยวิธีทีค่ ดิ ขึ้นเอง
มาตรฐานที่ ๑๐ มีความสามารถในการคดิ ทเี่ ปน็ พนื้ ฐานในการเรยี นรู้ มี ๓ ตวั บง่ ช้ี คอื
ตวั บง่ ชท้ี ่ี ๑๐.๑ มคี วามสามารถในการคดิ รวบยอด
สภาพทีพ่ งึ ประสงค์
อายุ ๓-๔ ปี อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี
บอกลักษณะ ส่วนประกอบ การ
บอกลกั ษณะของสง่ิ ต่างๆจากการ บอกลักษณะ และส่วนประกอบของ เปล่ียนแปลงหรือความสัมพันธ์
ของส่งิ ตา่ งๆจากการสงั เกตโดยใช้
สังเกตโดยใช้ประสาทสมั ผัส ส่ิงต่างๆจากการสงั เกตโดยใช้ ประสาทสัมผัส
จับคหู่ รือเปรยี บเทยี บความแตกตา่ ง
ประสาทสัมผสั หรอื ความเหมือนของสง่ิ ตา่ งๆ โดย
ใช้ลักษณะทีส่ ังเกตพบสอง
จับคหู่ รือเปรยี บเทยี บสิ่งต่างๆ โดย จบั คหู่ รือเปรียบเทียบความแตกตา่ ง ลักษณะข้นึ ไป
ใชล้ ักษณะหรอื หน้าทกี่ ารใชง้ าน หรือความเหมือนของสงิ่ ตา่ งๆ โดย
เพียงลักษณะเดียว ใช้ลกั ษณะที่สังเกตพบเพยี ง
ลกั ษณะเดียว
๑๙
ตวั บง่ ชท้ี ่ี ๑๐.๑ มคี วามสามารถในการคดิ รวบยอด (ตอ่ )
สภาพทพ่ี งึ ประสงค์
อายุ ๓-๔ ปี อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี
จำแนกและจัดกลุ่มส่งิ ต่างๆโดยใช้
คดั แยกส่ิงต่างๆตามลักษณะหรอื จำแนกและจัดกล่มุ ส่ิงตา่ งๆโดยใช้ ตั้งแต่สองลักษณะขึน้ ไปเป็นเกณฑ์
เรียงลำดบั สิง่ ของหรือเหตุการณ์
หนา้ ที่การใช้งาน อย่างน้อยหน่งึ ลักษณะเปน็ เกณฑ์ อยา่ งน้อย ๕ ลำดบั
เรียงลำดบั ส่งิ ของหรอื เหตุการณ์ เรียงลำดบั สิ่งของหรอื เหตุการณ์
อย่างน้อย ๓ ลำดบั อยา่ งน้อย ๔ ลำดับ
ตวั บง่ ชที้ ่ี ๑๐.๒ มคี วามสามารถในการคดิ เชงิ เหตผุ ล
สภาพท่ีพงึ ประสงค์
อายุ ๓-๔ ปี อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี
ระบุผลท่เี กดิ ขน้ึ ในเหตุการณ์หรอื ระบสุ าเหตแุ ละผลท่เี กิดขึน้ อธิบายเช่อื มโยงสาเหตแุ ละ
การกระทำเมื่อมีผชู้ แี้ นะ ในเหตุการณห์ รือการกระทำ
เมื่อมีผูช้ ้ีแนะ ผลทเ่ี กิดขน้ึ ในเหตุการณ์หรือ
คาดเดาหรือคาดคะเนสิ่งท่ี คาดเดาหรอื คาดคะเนส่ิงท่ี การกระทำด้วยตนเอง
อาจจะเกิดขึ้น อาจจะเกิดข้ึนหรือมสี ว่ นร่วม
ในการลงความเหน็ จากข้อมูล คาดเดาหรือคาดคะเนสิง่ ท่ี
อาจจะเกดิ ข้นึ หรือมีส่วนรว่ ม
ในการลงความเห็นจากข้อมลู
อย่างมเี หตุผล
ตวั บง่ ชที้ ่ี ๑๐.๓ มคี วามสามารถในการคดิ แกป้ ัญหาและตดั สนิ ใจ
สภาพที่พงึ ประสงค์
อายุ ๓-๔ ปี อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี
ตดั สินใจในเรื่องงา่ ยๆและยอมรับผล
ตดั สินใจในเร่อื งง่ายๆ ตดั สนิ ใจในเรอ่ื งง่ายๆและเริม่ เรียนรู้ ท่ีเกิดขน้ึ
ระบปุ ญั หาสรา้ งทางเลือก และ
ผลทเ่ี กิดข้นึ เลอื กวิธแี ก้ปญั หา
แก้ปญั หาโดยลองผิดลองถูก ระบปุ ัญหา และ แกป้ ัญหาโดย
ลองผิดลองถกู
๒๐
มาตรฐานท่ี ๑๑ มจี นิ ตนาการและความคดิ สร้างสรรค์ มี ๒ ตวั บง่ ช้ี คอื
ตวั บง่ ชท้ี ่ี ๑๑.๑ ทำงานศลิ ปะตามจนิ ตนาการและความคดิ สร้างสรรค์
สภาพท่พี งึ ประสงค์
อายุ ๓-๔ ปี อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี
สร้างผลงานศลิ ปะเพ่ือส่ือสาร สรา้ งผลงานศลิ ปะเพ่ือส่ือสารความคิด สรา้ งผลงานศิลปะเพื่อส่ือสาร
ความคดิ ความรูส้ ึกของตนเอง ความรสู้ กึ ของตนเองโดยมีการ ความคดิ ความรู้สึก
ดัดแปลงและแปลกใหม่จากเดิม ของตนเองโดยมีการดัดแปลง
หรอื มรี ายละเอยี ดเพ่ิมข้ึน และแปลกใหม่จากเดมิ หรอื
มรี ายละเอยี ดเพิ่มขึ้น
ตวั บง่ ชที้ ่ี ๑๑.๒ แสดงทา่ ทาง/เคลอ่ื นไหวตามจนิ ตนาการอยา่ งสรา้ งสรรค์
สภาพทีพ่ งึ ประสงค์
อายุ ๓-๔ ปี อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี
เคลือ่ นไหวทา่ ทางเพื่อสื่อสาร เคลอ่ื นไหวท่าทางเพอ่ื ส่ือสารความคดิ เคลื่อนไหวท่าทางเพอ่ื ส่ือสาร
ความคิด ความรสู้ ึกของตนเอง ความรสู้ กึ ของตนเองอยา่ งหลากหลาย ความคิด ความร้สู ึกของตนเอง
หรอื แปลกใหม่ อย่างหลากหลายหรือแปลกใหม่
มาตรฐานท่ี ๑๒ มเี จตคติทดี่ ตี อ่ การเรยี นรู้ และมีความสามารถในการแสวงหาความรไู้ ดเ้ หมาะสมกบั วยั
มี ๒ ตวั บง่ ช้ี คอื
ตวั บง่ ชที้ ่ี ๑๒.๑ มเี จตคติทดี่ ตี อ่ การเรยี นรู้
สภาพที่พงึ ประสงค์
อายุ ๓-๔ ปี อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี
สนใจหยบิ หนังสือมาอา่ นและเขยี น
สนใจฟงั หรืออ่านหนงั สือด้วยตนเอง สนใจซกั ถามเก่ยี วกบั สญั ลักษณ์หรอื สือ่ ความคิดด้วยตนเองเป็นประจำ
อย่างต่อเน่ือง
ตวั หนังสือทพี่ บเหน็ กระตือรือร้นในการรว่ มกจิ กรรม
ต้งั แตต่ ้นจนจบ
กระตือรือรน้ ในการเขา้ ร่วมกิจกรรม กระตือรอื รน้ ในการเข้ารว่ มกิจกรรม
ตวั บ่งชท้ี ี่ ๑๒.๒ มคี วามสามารถในการแสวงหาความรู้ ๒๑
สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ อายุ ๕-๖ ปี
คน้ หาคำตอบของข้อสงสยั ต่างๆ
อายุ ๓-๔ ปี อายุ ๔-๕ ปี โดยใช้วิธกี ารท่ีหลากหลาย
ดว้ ยตนเอง
คน้ หาคำตอบของข้อสงสัยตา่ งๆ ค้นหาคำตอบของข้อสงสัยต่างๆ ใช้ประโยคคำถามว่า “เมื่อไร”
“อยา่ งไร” ในการคน้ หาคำตอบ
ตามวิธีการทม่ี ีผูช้ แ้ี นะ ตามวิธกี ารของตนเอง
ใชป้ ระโยคคำถามวา่ “ใคร” ใช้ประโยคคำถามว่า “ท่ีไหน”
“อะไร” ในการคน้ หาคำตอบ “ทำไม” ในการค้นหาคำตอบ
การวเิ คราะหส์ าระ
พัฒนาการ ด้านร่างกาย
มาตรฐานท่ี ๑ ร่างกายเจริญเตบิ โตตามวัยและมสี ุขนิสยั ทดี่ ี
สภาพที่พงึ ประสงค์
ตวั บ่งช้ี ชน้ั อนบุ าล ๑ ชน้ั อนบุ าล ๒
อายุ ๓-๔ ปี อายุ ๔-๕ ปี
๑.๑ นำ้ หนกั และสว่ นสงู ตาม ๑.๑.๑ นำ้ หนักและสว่ นสงู ๑.๑.๑ นำ้ หนกั และสว่ นสงู
เกณฑ์ ตามเกณฑข์ องกรมอนามยั ตามเกณฑ์ของกรมอนามัย
๑.๒ มสี ขุ ภาพอนามยั ๑.๒.๑ ยอมรบั ประทาน ๑.๒.๑ รบั ประทานอาหารทีม่ ี
สขุ นสิ ยั ทดี่ ี อาหารท่มี ีประโยชน์และด่ืม ประโยชน์และดม่ื น้ำสะอาด
นำ้ สะอาดเมื่อมีผ้ชู แ้ี นะ ได้ดว้ ยตนเอง
๒๓
ะการเรยี นรรู้ ายปี
สาระการเรยี นรรู้ ายปี
ชน้ั อนบุ าล ๓ ประสบการณส์ ำคญั สาระท่คี วรเรยี นรู้
อายุ ๕-๖ ปี
๑.๑.๑ นำ้ หนกั และสว่ นสูง ๑.๑.๓ การรกั ษาสขุ ภาพ เรอ่ื งราวเกย่ี วกบั ตวั เดก็
ตามเกณฑ์ของกรมอนามัย อนามยั สว่ นตวั - การรบั ประทานอาหารที่มี
(๑) การปฏิบตั ติ นตาม ประโยชน์
สขุ อนามยั สขุ นิสัยที่ดีใน
กิจวตั รประจำวัน
๑.๒.๑ รบั ประทานอาหารทม่ี ี ๑.๑.๓ การรักษาสขุ ภาพ เรอ่ื งราวเกย่ี วกบั ตวั เดก็
ประโยชนไ์ ดห้ ลายชนิดและ อนามยั สว่ นตวั - อาหารที่มีประโยชนแ์ ละ
ดื่มนำ้ สะอาดไดด้ ว้ ยตนเอง (๑) การปฏบิ ตั ติ นตาม ไมม่ ีประโยชน์
สุขอนามัย สขุ นสิ ยั ทีด่ ีใน - อาหารหลัก ๕ หมู่
กิจวตั รประจำวนั - การรบั ประทานอาหาร
(๒) การประกอบอาหาร - การมีเจตคตทิ ่ีมตี ่อการ
ไทย รับประทานอาหารท่ีมี
ประโยชน์
- มารยาทในการรับ
ประทานอาหาร
ตวั บ่งชี้ ชนั้ อนบุ าล ๑ สภาพที่พงึ ประสงค์
อายุ ๓-๔ ปี
๑.๒ มสี ขุ ภาพอนามยั ชนั้ อนบุ าล ๒
สขุ นสิ ยั ท่ดี ี ๑.๒.๒ ลา้ งมอื กอ่ น อายุ ๔-๕ ปี
รับประทานอาหารและ ๑.๒.๒ ลา้ งมอื ก่อน
หลังจากใช้หอ้ งนำ้ ห้องสว้ ม รบั ประทานอาหารและ
เมอ่ื มผี ้ชู ้ีแนะ หลงั จากใช้หอ้ งน้ำหอ้ งส้วม
ดว้ ยตนเอง
๒๔
สาระการเรยี นรรู้ ายปี
ชน้ั อนบุ าล ๓ ประสบการณส์ ำคญั สาระท่คี วรเรยี นรู้
อายุ ๕-๖ ปี
๑.๑.๓ การรกั ษาสขุ ภาพ เรอ่ื งราวเกยี่ วกับตวั เดก็
๑.๒.๒ ล้างมอื กอ่ น
รับประทานอาหารและ อนามยั สว่ นตวั - อวยั วะตา่ งๆ ของรา่ งกาย
หลงั จากใช้หอ้ งน้ำห้องสว้ ม
ดว้ ยตนเอง (๑) การปฏิบตั ติ นตาม และการรักษาความ
สขุ อนามยั สุขนิสยั ที่ดีใน ปลอดภัย
กจิ วัตรประจำวนั - วิธีระวงั รักษารา่ งกายให้
๑.๑.๔ การรักษาความ สะอาดและมสี ุขอนามยั ท่ีดี
ปลอดภยั
(๑) การปฏิบัตใิ ห้ปลอดภัย
ในกิจวตั รประจำวนั
(๒)การฟังนทิ านเรื่องราว
เหตุการณ์เกยี่ วกบั การ
ปอ้ งกันและรักษาความ
ปลอดภยั
(๓) การชว่ ยเหลอื ตนเองใน
กจิ วัตรประจำวนั
สภาพทีพ่ งึ ประสงค์
ตวั บง่ ช้ี ชนั้ อนบุ าล ๑ ชน้ั อนบุ าล ๒
๑.๒ มสี ขุ ภาพอนามยั อายุ ๓-๔ ปี อายุ ๔-๕ ปี
สขุ นสิ ยั ท่ีดี
๑.๒.๓ นอนพักผอ่ นเปน็ เวลา ๑.๒.๓ นอนพกั ผอ่ นเป็นเวลา
๒๕
สาระการเรยี นรรู้ ายปี
ชนั้ อนบุ าล ๓ ประสบการณส์ ำคัญ สาระทคี่ วรเรยี นรู้
อายุ ๕-๖ ปี
๑.๒.๓ นอนพักผอ่ นเปน็ เวลา ๑.๑.๓ การรักษาสขุ ภาพ เรอื่ งราวเกยี่ วกบั ตวั เดก็
อนามยั สว่ นตวั - ประโยชน์ของการนอน
(๑) การปฏบิ ตั ิตนตาม หลับพกั ผอ่ น
สขุ อนามัย สขุ นิสัยท่ีดีใน
กจิ วตั รประจำวัน
(๕) การเล่นเครอ่ื งเล่น
สนามอย่างอสิ ระ
๑.๑.๕ การตระหนกั รู้
เกย่ี วกบั รา่ งกายตนเอง
(๑)การเคลื่อนไหวโดย
ควบคมุ ตัวเองไปในทศิ ทาง
ระดบั และพืน้ ท่ี
(๒) การเคล่ือนไหวขา้ ม
สง่ิ กีดขวาง
ตวั บ่งชี้ ชน้ั อนบุ าล ๑ สภาพที่พงึ ประสงค์
อายุ ๓-๔ ปี
๑.๒ มสี ขุ ภาพอนามยั ชนั้ อนบุ าล ๒
สขุ นสิ ยั ท่ีดี ๑.๒.๔ ออกกำลังกาย อายุ ๔-๕ ปี
เป็นเวลา ๑.๒.๔ ออกกำลังกาย
เป็นเวลา
๒๖
สาระการเรยี นรรู้ ายปี
ชน้ั อนบุ าล ๓ ประสบการณส์ ำคญั สาระท่ีควรเรยี นรู้
อายุ ๕-๖ ปี
๑.๑.๑ ใชก้ ลา้ มเนอื้ ใหญ่ เรอ่ื งราวเกย่ี วกบั ตวั เดก็
๑.๒.๔ ออกกำลังกาย (๑)การเคลื่อนไหวอยูก่ บั ที่ - ประโยชนข์ องการออก
เป็นเวลา (๒)การเคลื่อนไหวเคล่อื นที่ กำลงั กาย
(๓)การเคล่อื นไหวพร้อม - การเลน่ เคร่ืองเล่นสนาม
วัสดอุ ุปกรณ์ อย่างถูกวิธี
(๔)การเคลื่อนไหวที่ใช้
การประสานสัมพันธ์ของ
การใชก้ ารเน้ือใหญ่
(๕) การเลน่ เครื่องเลน่
สนามอยา่ งอิสระ
๑.๑.๕ การตระหนกั รู้
เกยี่ วกบั รา่ งกายตนเอง
(๑)การเคลื่อนไหวโดย
ควบคุมตัวเองไปในทศิ ทาง
ระดับ และพืน้ ที่
(๒) การเคล่ือนไหวข้าม
ส่ิงกดี ขวาง
ตวั บง่ ชี้ ชนั้ อนบุ าล ๑ สภาพท่พี งึ ประสงค์
อายุ ๓-๔ ปี
๑.๓ รกั ษาความปลอดภยั ชนั้ อนบุ าล ๒
ของตนเองและผอู้ น่ื ๑.๓.๑ เล่นและทำกจิ กรรม อายุ ๔-๕ ปี
อย่างปลอดภัยเม่ือมผี ู้ชีแ้ นะ ๑.๓.๑ เลน่ และทำกจิ กรรม
อยา่ งปลอดภัยดว้ ยตนเอง
๒๗
สาระการเรยี นรรู้ ายปี
ชน้ั อนบุ าล ๓ ประสบการณส์ ำคัญ สาระท่คี วรเรยี นรู้
อายุ ๕-๖ ปี
๑.๑.๔ การรักษาความ ตวั เดก็
๑.๓.๑ เลน่ และทำกจิ กรรม
และปฏิบตั ติ ่อผู้อืน่ อยา่ ง ปลอดภยั - การรักษาความปลอดภยั
ปลอดภยั
(๑) การปฏบิ ัติให้ปลอดภยั ของตนเองและการปฏิบัติ
ในกิจวัตรประจำวัน ตอ่ ผูอ้ น่ื อยา่ งปลอดภยั ใน
(๒) การฟังนิทาน เรื่องราว ชีวิตประจำวัน
เหตกุ ารณ์ เกยี่ วกบั การ - การปฏิบตั ติ นอย่าง
ป้องกันและรักษาความ เหมาะสม เม่ือเจบ็ ป่วย
ปลอดภยั - การระวงั ภยั จากคนแปลก
(๓) การเล่นเคร่ืองเล่น หน้าและอบุ ัตเิ หตตุ า่ งๆ
อย่างปลอดภยั
(๔) การเลน่ บทบาทสมมุติ
เหตุการณต์ า่ งๆ
พฒั นาการ ดา้ นร่างกาย
มาตรฐานที่ ๒ กลา้ มเนื้อใหญ่และกล้ามเน้อื เลก็ แขง็ แรง ใช้ได้อย่างคลอ่ งแคลว่
ตวั บ่งช้ี ชนั้ อนบุ าล ๑ สภาพท่ีพงึ ประสงค์
อายุ ๓-๔ ปี
๒.๑ เคลอื่ นไหวรา่ งกาย ชน้ั อนบุ าล ๒
อยา่ งคลอ่ งแคลว่ ประสาน ๒.๑.๑ เดินตามแนว อายุ ๔-๕ ปี
สมั พนั ธ์ และทรงตวั ได้ ท่ีกำหนดได้ ๒.๑.๑ เดินต่อเทา้ ไปข้างหนา้
เป็นเสน้ ตรงได้ โดยไมต่ อ้ ง
กางแขน
๒.๑.๒ กระโดดสองขา ขึ้นลง ๒.๑.๒ กระโดดขาเดียว
อยกู่ ับทไ่ี ด้ อยกู่ บั ทไ่ี ดโ้ ดยไม่เสีย การ
ทรงตัว
๒๘
สาระการเรยี นรรู้ ายปี
ชนั้ อนบุ าล ๓ ประสบการณส์ ำคัญ สาระทค่ี วรเรยี นรู้
อายุ ๕-๖ ปี
๑.๑.๑ ใชก้ ลา้ มเนอื้ ใหญ่ เรอื่ งราวเกย่ี วกบั ตวั เดก็
๒.๑.๑ เดินตอ่ เท้าถอยหลงั
เปน็ เสน้ ตรงได้ โดยไม่ตอ้ ง (๑) การเคล่ือนไหวอยกู่ ับที่ - สามารถเคลือ่ นไหวโดย
กางแขน
(๒) การเคล่ือนไหวเคล่ือนที่ ควบคุมร่างกายไปใน
(๓) การเคลื่อนไหวพร้อม ทิศทาง ระดับและพน้ื ท่ี
วัสดอุ ปุ กรณ์ ตา่ งๆ
(๔) การเคลื่อนไหวท่ีใช้
ประสานสัมพนั ธข์ องการใช้
กล้ามเน้ือใหญใ่ นการขว้าง
การจบั การโยน การเตะ
(๕)การเล่นเครื่องเล่นสนาม
อิสระ
๒.๑.๒ กระโดดขาเดยี ว ๑.๑.๑ ใชก้ ลา้ มเนอื้ ใหญ่
ไปขา้ งหน้าไดอ้ ย่างต่อเนือ่ ง (๑) การเคล่ือนไหวอยูก่ บั ท่ี
โดยไมเ่ สยี การทรงตวั (๒) การเคลื่อนไหวเคลื่อนที่
ตวั บง่ ช้ี ชน้ั อนบุ าล ๑ สภาพท่ีพงึ ประสงค์
อายุ ๓-๔ ปี
๒.๑ เคลอื่ นไหวรา่ งกาย ชน้ั อนบุ าล ๒
อยา่ งคลอ่ งแคลว่ ประสาน อายุ ๔-๕ ปี
สมั พนั ธ์ และทรงตวั ได้
๒.๑.๓ วง่ิ แลว้ หยดุ ได้ ๒.๑.๓ วง่ิ หลบหลกี สิง่ กีด
ขวางได้
๒๙
สาระการเรยี นรรู้ ายปี
ชนั้ อนบุ าล ๓ ประสบการณส์ ำคญั สาระทีค่ วรเรยี นรู้
อายุ ๕-๖ ปี
(๓) การเคล่ือนไหวพร้อม เรอ่ื งราวเกยี่ วกบั ตวั เดก็
๒.๑.๓ วิ่งหลบหลกี สิ่งกีด วัสดอุ ุปกรณ์ - สามารถเคลอ่ื นไหว
ขวาง ไดอ้ ยา่ งคล่องแคลว่ (๔) การเคล่ือนไหวที่ใช้ รา่ งกายโดยควบคุมใหอ้ ยู่
ประสานสัมพันธ์ของการใช้ กับท่ี
กล้ามเน้อื ใหญใ่ นการขวา้ ง
การจับ การโยน การเตะ เรอ่ื งราวเกย่ี วกบั ตัวเดก็
(๕) การเล่นเครื่องเลน่ - สามารถเคลื่อนไหวโดย
สนามอสิ ระ การควบคมุ รา่ งกายไป
ในทางทิศทาง ระดับและ
๑.๑.๑ ใชก้ ลา้ มเนอ้ื ใหญ่ พื้นท่ีตา่ งๆ
(๒) การเคลื่อนไหว
เคลื่อนท่ี
๑.๑.๕ การตระหนกั รู้
เกย่ี วกบั รา่ งกายตนเอง
(๑) การเคลื่อนไหวโดย
ควบคุมตนเองไปในทิศทาง
ระดบั และพน้ื ที่
(๒) การเคล่ือนไหวข้าม
สิ่งกีดขวาง
ตวั บ่งช้ี ชนั้ อนบุ าล ๑ สภาพท่ีพงึ ประสงค์
อายุ ๓-๔ ปี
๒.๑ เคลอ่ื นไหวรา่ งกาย ชนั้ อนบุ าล ๒
อยา่ งคลอ่ งแคลว่ ประสาน ๒.๑.๔ รบั ลูกบอลโดยใชม้ ือ อายุ ๔-๕ ปี
สมั พนั ธ์ และทรงตวั ได้ และลำตวั ชว่ ย ๒.๑.๔ รบั ลกู บอลโดยใชม้ ือ
ท้งั สองขา้ ง
๓๐
สาระการเรยี นรรู้ ายปี
ชน้ั อนบุ าล ๓ ประสบการณส์ ำคญั สาระทค่ี วรเรยี นรู้
อายุ ๕-๖ ปี
๑.๑.๑ ใชก้ ลา้ มเนอ้ื ใหญ่ เรอ่ื งราวเกย่ี วกบั ตวั เดก็
๒.๑.๔ รบั ลูกบอลทก่ี ระดอน (๒) การเคลื่อนไหว - สามารถเคลอ่ื นไหวโดย
ขน้ึ จากพ้ืนได้ เคล่อื นท่ี การควบคมุ รา่ งกายไป
(๓) การเคลื่อนไหวพร้อม ในทางทิศทาง ระดับและ
วัสดอุ ุปกรณ์ พืน้ ทต่ี ่างๆ
(๔) การเคลื่อนไหวที่ใช้
ประสานสัมพนั ธข์ องการใช้
กลา้ มเนอ้ื ใหญใ่ นการขวา้ ง
การจับ การโยน การเตะ
๑.๑.๕ การตระหนกั รู้
เกยี่ วกับรา่ งกายตนเอง
(๑) การเคล่ือนไหวโดย
ควบคุมตนเองไปในทาง
ทศิ ทาง ระดับ และพื้นที่
สภาพท่ีพงึ ประสงค์
ตวั บ่งชี้ ชนั้ อนบุ าล ๑ ชน้ั อนบุ าล ๒
๒.๒ ใชม้ อื - ตา ประสาน อายุ ๓-๔ ปี อายุ ๔-๕ ปี
สมั พนั ธก์ นั
๒.๒.๑ ใชก้ รรไกรตัดกระดาษ ๒.๒.๑ ใช้กรรไกรตัดกระดาษ
ขาดจากกนั ไดโ้ ดยใช้มอื เดยี ว ตามแนวเส้นตรงได้
๒.๒.๒ เขียนรูปวงกลม ตาม ๒.๒.๒ เขียนรูปสเ่ี หลยี่ ม ตาม
แบบได้ แบบไดอ้ ย่างมมี มุ ชดั เจน
๒.๒.๓ รอ้ ยวัสดทุ ี่มรี ูขนาด ๒.๒.๓ รอ้ ยวัสดทุ ม่ี ีรูขนาด
เส้นผา่ นศนู ยก์ ลาง ๑ เสน้ ผา่ นศูนยก์ ลาง ๐.๕
เซนตเิ มตร ได้ เซนตเิ มตร ได้
๓๑
สาระการเรยี นรรู้ ายปี
ชน้ั อนบุ าล ๓ ประสบการณส์ ำคัญ สาระที่ควรเรยี นรู้
อายุ ๕-๖ ปี
๒.๒.๑ ใช้กรรไกรตัดกระดาษ ๑.๑.๒ การใชก้ ลา้ มเนอ้ื เลก็ เรอ่ื งราวเกย่ี วกบั ตวั เดก็
ตามแนวเส้นโคง้ ได้ (๕) การหยิบจบั การใช้ - การกำกับตนเอง
กรรไกร การฉกี การตัด - การเล่นและทำส่งิ ต่างๆ
การปะ และการร้อยวสั ดุ ดว้ ยตนเอง ตามลำพงั หรือ
กบั ผู้อื่น
๒.๒.๒ เขียนรูปสามเหลีย่ ม ๑.๑.๒ การใชก้ ลา้ มเนอื้ เล็ก เรอ่ื งราวเกย่ี วกบั ตวั เดก็
ตามแบบไดอ้ ยา่ งมมี มุ ชดั เจน (๒) การเขยี นภาพและการ - การกำกบั ตนเอง
เล่นกับสี - การเล่นและทำสงิ่ ต่างๆ
ด้วยตนเอง ตามลำพังหรือ
กบั ผู้อน่ื
๒.๒.๓ ร้อยวัสดุทีม่ ีรขู นาด ๑.๑.๒ การใชก้ ลา้ มเนอื้ เล็ก เรอื่ งราวเกยี่ วกบั ตวั เดก็
เส้นผ่านศนู ยก์ ลาง ๐.๒๕ (๕) การหยิบจับ การใช้ - การกำกบั ตนเอง
เซนติเมตร ได้ กรรไกร การฉกี การตัด - การเลน่ และทำส่งิ ต่างๆ
การปะ และการร้อยวัสดุ ด้วยตนเอง ตามลำพังหรือ
กับผูอ้ ืน่
พฒั นาการ ดา้ นอารมณ์ จิตใจ
มาตรฐานที่ ๓ มีสุขภาพจติ ดีและมีความสุข
สภาพท่ีพงึ ประสงค์
ตวั บง่ ชี้ ชน้ั อนบุ าล ๑ ชน้ั อนบุ าล ๒
อายุ ๓-๔ ปี อายุ ๔-๕ ปี
๓.๑ แสดงออกทางอารมณ์ ๓.๑.๑ แสดงอารมณ์ ๓.๑.๑ แสดงอารมณ์
ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ความรูส้ กึ ได้เหมาะสมกับบาง ความรูส้ กึ ไดต้ ามสถานการณ์
สถานการณ์
๓.๒ มคี วามรสู้ ึกทด่ี ตี อ่ ๓.๒.๑ กลา้ พูดกล้า ๓.๒.๑ กล้าพดู กลา้
แสดงออกอย่างเหมาะสม
ตนเองและผอู้ น่ื แสดงออก บางสถานการณ์
๓๒
สาระการเรยี นรรู้ ายปี
ชน้ั อนบุ าล ๓ ประสบการณส์ ำคัญ สาระทีค่ วรเรยี นรู้
อายุ ๕-๖ ปี
๓.๑.๑ แสดงอารมณ์ ๑.๒.๒ การเลน่ เรอ่ื งราวเกยี่ วกบั ตวั เดก็
ความร้สู กึ ได้สอดคล้องกับ (๑) การเล่นอสิ ระ -การแสดงออกทางอารมณ์
สถานการณ์อยา่ งเหมาะสม (๒) การเล่นรายบคุ คล และความรสู้ ึกอยา่ ง
กลมุ่ ยอ่ ย กลุ่มใหญ่ เหมาะสม
๓.๒.๑ กลา้ พูดกลา้ (๓) การเลน่ ตามมุม
แสดงออกอย่างเหมาะสม ประสบการณ์ เรอื่ งราวเกย่ี วกบั ตวั เดก็
ตามสถานการณ์ (๔) การเลน่ นอกห้องเรยี น - การแสดงความคดิ เหน็ ของ
ตนเองและรบั ฟังความ
๑.๒.๑ สนุ ทรภี าพ ดนตรี คดิ เห็นของผู้อืน่
(๑) การฟังเพลง การร้อง
เพลง และการแสดง
ปฏกิ ิรยิ าโต้ตอบเสยี งดนตรี
(๒) การเลน่ เครื่องเลน่
ดนตรปี ระกอบจงั หวะ
(๓) การเคล่ือนไหวตาม
เสียงเพลง ดนตรี
(๔) การเลน่ บทบาทสมมติ
๑.๒.๓ คณุ ธรรมจรยิ ธรรม
(๓) การรว่ มสนทนาและ
แลกเปล่ียนความคิดเห็นเชิง
จรยิ ธรรม
สภาพที่พงึ ประสงค์
ตวั บง่ ชี้ ชน้ั อนบุ าล ๑ ชน้ั อนบุ าล ๒
อายุ ๓-๔ ปี อายุ ๔-๕ ปี
ตวั บง่ ชี้ ชนั้ อนบุ าล ๑ สภาพทีพ่ งึ ประสงค์
อายุ ๓-๔ ปี
๓.๒ มีความรสู้ กึ ทด่ี ตี อ่ ชน้ั อนบุ าล ๒
ตนเองและผอู้ นื่ ๓.๒.๒ แสดงความพอใจใน อายุ ๔-๕ ปี
ผลงานตนเอง ๓.๒.๒ แสดงความพอใจ
ในผลงานและความสามารถ
ของตนเอง
๓๓
สาระการเรยี นรรู้ ายปี
ชน้ั อนบุ าล ๓ ประสบการณส์ ำคญั สาระทีค่ วรเรยี นรู้
อายุ ๕-๖ ปี
๑.๒.๔ การแสดงออกทาง
อารมณ์
(๑) การพูดสะท้อน
ความรสู้ ึกของตนเอง และ
ผอู้ ืน่
(๒) การเลน่ บทบาทสมมติ
(๓) การเคล่ือนไหวตาม
เสียงเพลง/ดนตรี
(๔) การรอ้ งเพลง
สาระการเรยี นรรู้ ายปี
ชนั้ อนบุ าล ๓ ประสบการณส์ ำคญั สาระทค่ี วรเรยี นรู้
อายุ ๕-๖ ปี
๑.๒.๕ การมอี ตั ลกั ษณ์ เรอื่ งราวเกย่ี วกบั ตวั เดก็
๓.๒.๒แสดงความพอใจใน เฉพาะตนและเชอื่ วา่ ตนเอง - การตระหนกั รู้เกีย่ วกบั
ผลงานและความสามารถ มีความสามารถ ตนเอง
ของตนเองและผอู้ น่ื (๑) การปฏิบตั กิ ิจกรรม
ตา่ ง ๆ ตาม ความสามารถ
ของตนเอง
๑.๒.๖ การเหน็ อกเหน็ ใจ
ผอู้ น่ื
สภาพท่ีพงึ ประสงค์
ตวั บง่ ช้ี ชนั้ อนบุ าล ๑ ชนั้ อนบุ าล ๒
อายุ ๓-๔ ปี อายุ ๔-๕ ปี
พัฒนาการ ด้านอารมณ์ จติ ใจ
มาตรฐานที่ ๔ ชน่ื ชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว
สภาพทพ่ี งึ ประสงค์
ตวั บ่งชี้ ชน้ั อนบุ าล ๑ ชน้ั อนบุ าล ๒
อายุ ๓-๔ ปี อายุ ๔-๕ ปี
๔.๑ สนใจ มคี วามสขุ ๔.๑.๑ สนใจ มคี วามสุข และ ๔.๑.๑ สนใจ มคี วามสขุ และ
และแสดงออก ผา่ นงาน แสดงออกผ่านงานศิลปะ แสดงออกผา่ นงานศิลปะ
ศลิ ปะ ดนตรี และการ
เคลอื่ นไหว
๓๔
สาระการเรยี นรรู้ ายปี
ชน้ั อนบุ าล ๓ ประสบการณส์ ำคัญ สาระทคี่ วรเรยี นรู้
อายุ ๕-๖ ปี
(๑) การแสดงความยนิ ดี
เม่อื ผ้อู ื่นมคี วามสุข เห็นใจ
เม่ือผอู้ น่ื เศร้าหรือเสยี ใจ
และการช่วยเหลอื ปลอบโยน
เมื่อผู้อืน่ ได้รับบาดเจบ็
สาระการเรยี นรรู้ ายปี
ชนั้ อนบุ าล ๓ ประสบการณส์ ำคญั สาระทค่ี วรเรยี นรู้
อายุ ๕-๖ ปี
๔.๑.๑ สนใจ มีความสุข และ ๑.๒.๑ สนุ ทรภี าพ ดนตรี เรอ่ื งราวเกยี่ วกบั ตวั เดก็
แสดงออกผา่ นงานศลิ ปะ (๕) การทำกจิ กรรมศลิ ปะ - ความภูมิใจในตนเอง
การสะท้อนการรับรู้อารมณ์
ตา่ งๆ
(๖) การสรา้ งสรรค์สงิ่ และความร้สู กึ ของตนเอง
สวยงาม และผู้อื่น
๑.๒.๔ การแสดงออกทาง
อารมณ์
(๕) การทำงานศิลปะ
สภาพทพ่ี งึ ประสงค์
ตวั บง่ ชี้ ชนั้ อนบุ าล ๑ ชนั้ อนบุ าล ๒
อายุ ๓-๔ ปี อายุ ๔-๕ ปี
๔.๑.๒ สนใจ มคี วามสขุ และ ๔.๑.๒ สนใจ มคี วามสขุ และ
แสดงออกผา่ นเสยี งเพลง แสดงออกผา่ นเสยี งเพลง
ดนตรี ดนตรี
สภาพทพ่ี งึ ประสงค์
ตวั บ่งช้ี ชน้ั อนบุ าล ๑ ชนั้ อนบุ าล ๒
๔.๑ สนใจ มคี วามสขุ อายุ ๓-๔ ปี อายุ ๔-๕ ปี
และแสดงออก ผา่ นงาน
ศลิ ปะ ดนตรี และการ ๔.๑.๓ สนใจ มคี วามสขุ และ ๔.๑.๓ สนใจ มีความสุข และ
เคลอื่ นไหว
แสดงทา่ ทาง/เคลอ่ื นไหว แสดงท่าทาง/เคลอ่ื นไหว
ประกอบเพลง จงั หวะ และ ประกอบเพลง จงั หวะ และ
ดนตรี ดนตรี
๓๕
สาระการเรยี นรรู้ ายปี
ชน้ั อนบุ าล ๓ ประสบการณส์ ำคัญ สาระท่ีควรเรยี นรู้
อายุ ๕-๖ ปี
๔.๑.๒ สนใจ มคี วามสุขและ ๑.๒.๑สนุ ทรภี าพ ดนตรี เรอื่ งราวเกย่ี วกบั ตวั เดก็
แสดงออกผ่านเสยี งเพลง (๑) การฟังเพลง การรอ้ ง - การเคลอ่ื นไหวร่างกาย
ดนตรี เพลงและการแสดงปฏิกิริยา ประกอบเพลง
โต้ตอบเสยี งดนตรี
ชนั้ อนบุ าล ๓ (๒) การเล่นเครื่องดนตรี
อายุ ๕-๖ ปี ประกอบจังหวะ
๔.๑.๓ สนใจ มคี วามสขุ และ ๑.๒.๔ การแสดงออกทาง
แสดงทา่ ทาง/เคลอ่ื นไหว อารมณ์
ประกอบเพลง จงั หวะ และ (๔) การรอ้ งเพลง
ดนตรี
สาระการเรยี นรรู้ ายปี
ประสบการณส์ ำคัญ สาระท่คี วรเรยี นรู้
๑.๒.๑ สนุ ทรภี าพ ดนตรี เรอื่ งราวเกย่ี วกบั ตวั เดก็
(๓) การเคลื่อนไหวตาม - การกำกบั ตนเองการเล่น
เสยี งเพลง/ดนตรี และทำสงิ่ ตา่ งดว้ ยตนเอง
(๔) การเลน่ บทบาทสมมตุ ิ ตามลำพงั หรือกับผู้อ่นื
๑.๒.๔ การแสดงออกทาง
อารมณ์
(๓) การเคล่ือนไหวตาม
เสียงเพลง/ดนตรี
พัฒนาการ ดา้ นอารมณ์ จติ ใจ
มาตรฐานที่ ๕ มคี ุณธรรม จริยธรรม และมีจิตใจทด่ี งี าม
สภาพทพ่ี งึ ประสงค์
ตวั บ่งช้ี ชนั้ อนบุ าล ๑ ชน้ั อนบุ าล ๒
อายุ ๓-๔ ปี อายุ ๔-๕ ปี
๕.๑ ซอื่ สตั ยส์ จุ รติ ๕.๑.๑ บอกหรอื ช้ไี ดว้ ่าสง่ิ ใด ๕.๑.๑ ขออนุญาต หรือ
เปน็ ของตนเองและส่ิงใดเปน็ รอคอย เมื่อตอ้ งการสิ่งของ
ของผู้อน่ื ของผู้อ่นื เม่ือมผี ู้ช้แี นะ