The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือวิทย์ป.2 เล่ม1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jakkapan.wa, 2022-05-10 03:25:37

คู่มือวิทย์ป.2 เล่ม1

คู่มือวิทย์ป.2 เล่ม1

คู่มอื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หน่วยที่ 1 การเรยี นรู้สิ่งต่าง ๆ รอบตวั 14

แนวการจัดการเรยี นรู้ (60 นาที) ในการตรวจสอบความรู้ ครูเพียง
รับฟังเหตุผลของนักเรียนและยังไม่
ขนั้ ตรวจสอบความรู้ (15 นาที) เฉลยคาตอบใด ๆ แต่ชักชวนให้
นักเรียนไปหาคาตอบด้วยตนเองจาก
1. ครูตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียนเก่ียวกับการจาแนกประเภท การอ่านเน้ือเรือ่ ง
โดยให้นักเรียนเล่มเกม “ฉันควรอยู่ที่ใด” ครูจัดเตรียมสิ่งของต่าง ๆ
เช่น ของเล่น ของใช้หลาย ๆ ชนิด ที่นักเรียนคุ้นเคย และตะกร้า ข้อเสนอแนะเพ่ิมเติม
จากนั้นให้นักเรียนแต่ละกลุ่มแข่งกันแบ่งกลุ่มส่ิงของลงในตะกร้า
และนาเสนอวา่ กลุ่มตนเองจัดแบ่งสิ่งของได้เป็นกีก่ ลมุ่ ใช้วิธีการใด 1. ในกรณี ท่ีครูสามารถเตรียมส่ือชุด
ในการแบ่งสิ่งของ โดยครูจะจัดอันดับกลุ่มท่ีถูกต้องรวดเร็ว 3 เดียวกันได้จานวนเพียงพอกับทุกกลุ่ม สามารถ
อันดบั ให้นักเรียนทุกกลุ่มแข่งกันแบ่งกลุ่มสิ่งของและ
นาเสนอได้
ขน้ั ฝึกทกั ษะจากการอ่าน (30 นาที)
2. ในกรณี ที่ไม่สามารถเตรียมสื่อชุด
2. นักเรียนอ่านชื่อเรื่อง และคาถามในคิดก่อนอ่าน ในหนังสือเรียน เดียวกันได้จานวนเพียงพอกับทุกกลุ่ม อาจให้
หน้า 4 แลว้ ร่วมกันอภิปรายในกลุ่มเพื่อหาคาตอบตามความเข้าใจ นักเรียนทั้งห้องร่วมกันแบ่งกลุ่มสิ่งของ หรือให้
ของกลุ่ม ครูบันทึกคาตอบของนักเรียนบนกระดานเพื่อใช้ ตัวแทนนักเรียนออกมาแบ่งกลุ่มส่ิงของ และ
เปรยี บเทียบกบั คาตอบภายหลังการอา่ นเนอื้ เรือ่ ง นาเสนอ ส่วนนักเรียนท่ีเหลือร่วมกันแสดง
ความคิดเห็นว่าเห็นด้วยกับวิธีท่ีเพ่ือนใช้ในการ
3. นักเรียนอ่านคาสาคัญ ท้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (หาก จัดกลุม่ สงิ่ ของหรอื ไม่ อยา่ งไร
นักเรียนอ่านไม่ได้ ครูควรสอนอ่านให้ถูกต้อง) จากนั้นครูชักชวน
ใหน้ ักเรียนอธิบายความหมายของคาสาคัญจากเน้ือเรื่องทจี่ ะอ่าน นักเรียนอาจไม่สามารถตอบ
คาถามหรืออภิปรายได้ตามแนว
4. นักเรียนอ่านเน้ือเรื่องในหนังสือเรียนหน้า 4 โดยครูฝึกทักษะการ คาตอบ ครูควรให้เวลานักเรียนคิด
อ่านตามวิธีการอ่านท่ีเหมาะสมกับความสามารถของนักเรียน ครูใช้ อย่างเหมาะสม รอคอยอย่างอดทน
คาถามเพื่อตรวจสอบความเขา้ ใจจากการอ่าน โดยใช้คาถามดงั นี้ แ ล ะ รับ ฟั งแ น ว ค ว าม คิ ด ข อ ง
4.1 ข้าวตูสังเกตเห็นอะไรบ้าง (ผัก ผลไม้ อาหารทะเล เน้ือสัตว์ นกั เรียน
สัตว์เล้ยี ง และอาหารสัตว์)
4.2 ตลาดแห่งน้ีจัดแบ่งกลุ่มสินค้าอย่างไร (ตลาดแห่งนี้จัด
แบง่ กลุม่ สนิ คา้ โดยใชป้ ระเภทของสินค้าเป็นเกณฑ์)
4.3 เกณฑ์ คืออะไร (เกณฑ์ คือ ส่ิงที่กาหนดขึ้นจากลักษณะของ
สิง่ ต่าง ๆ เพ่ือใช้ในการจดั แบ่งกลุม่ ส่ิงเหล่าน้นั )
4.4 การจัดแบ่งสินค้าเป็นประเภท มีประโยชน์อย่างไร (ทาให้
ตลาดมีความเป็นระเบียบ รู้ว่าอะไรอยู่ท่ีไหน จึงสามารถเดิน
เลอื กซอื้ สนิ ค้าได้ง่าย)
4.5 แมซ่ ื้อไรทะเลไปทาอะไร (เป็นอาหารสาหรบั ปลาทอง)
4.6 ไรทะเลมีลักษณะอย่างไร (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของ
ตนเอง)

ฉบบั ปรับปรงุ เดือนกรกฎาคม 2562 สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

15 คูม่ ือครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หน่วยที่ 1 การเรยี นรูส้ งิ่ ต่าง ๆ รอบตัว

ขนั้ สรปุ จากการอ่าน (15 นาที) การเตรยี มตวั ล่วงหน้าสาหรบั ครู
เพอื่ จัดการเรียนร้ใู นครงั้ ถัดไป
5. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพ่ือให้ได้ข้อสรุปว่าในตลาดมีการ
จัดแบ่งสินค้าโดยใช้ประเภทของสินค้าเป็นเกณฑ์ ทาให้ตลาดมี ในคร้ังถัดไป นักเรียนจะได้ทา
ความเป็นระเบยี บและเลือกซอื้ สินค้าไดง้ า่ ย กิจกรรมที่ 1.1 สังเกตสิ่งต่าง ๆ ได้
อย่างไร ซ่ึงจะมีการฝึกทักษะการสังเกต
6. นักเรียนตอบคาถามจากเร่ืองท่ีอ่านในรู้หรือยัง ในแบบบันทึก โดยใช้แว่นขยายเป็นเครื่องมือช่วยในการ
กิจกรรมหน้า 6 สังเกต ครูควรเตรียม ส่ิงของต่าง ๆ ท่ีอยู่
ใกล้ตวั นักเรียน เช่น ถัว่ ลิสงอบแห้งท้ังฝัก
7. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพ่ือเปรียบเทียบคาตอบของ หรือขนมขบเคี้ยว มาเพื่อให้นักเรียน
นักเรียนในรู้หรือยัง กับคาตอบที่เคยตอบและบันทึกไว้ในคิดก่อน ทบทวนทักษะการสังเกตโดยใช้ประสาท
อ่าน จากนั้นให้นักเรียนฝึกเขียนคาว่า เกณฑ์ ในเขียนเป็น ใน สัมผัส และในการทากิจกรรมครูควร
แบบบันทึกกจิ กรรมหน้า 6 เตรียมแว่นขยายให้เพียงพอกับจานวน
กลุ่มของนักเรียน นอกจากน้ีครูต้อง
8. ครูชักชวนนักเรียนตอบคาถามท้ายเรื่องที่อ่าน คือ ไรทะเลเป็น เตรียมสิ่งมีชีวิต เช่น ไรแดง หรือไรทะเล
สัตว์ที่มีขนาดเล็กมาก หากต้องการสังเกตลักษณะของไรทะเล หรือมดท่ียังมีชีวิตอยู่ เพื่อให้นักเรียน
อย่างละเอียด จะทาได้อย่างไร ครูบันทึกคาตอบของนักเรียนบน สังเกต
กระดานโดยยังไม่เฉลยคาตอบ แต่ชักชวนให้นักเรียนหาคาตอบ
จากการทากจิ กรรม

⎯ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ฉบบั ปรับปรงุ เดอื นกรกฎาคม 2562

คู่มือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 1 การเรยี นรู้สง่ิ ต่าง ๆ รอบตวั 16

แนวคาตอบในแบบบนั ทกึ กจิ กรรม

เป็นระเบียบ มคี วาม
เดินเลือกซื้อสนิ ค้าไดง้ ่าย

เกณฑ์
เกณฑ์

ฉบบั ปรบั ปรงุ เดอื นกรกฎาคม 2562 สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

17 คู่มือครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 1 การเรียนรู้ส่ิงต่าง ๆ รอบตัว

กจิ กรรมท่ี 1.1 สงั เกตส่ิงตา่ ง ๆ ไดอ้ ย่างไร

กิจกรรมนี้นักเรียนจะได้ฝึกทักษะการสังเกต โดย
สังเกตลักษณะของสิ่งต่าง ๆ โดยใช้ตาเปล่า และใช้แว่น
ขยาย เพอื่ เปรยี บเทียบข้อมลู ทไี่ ดจ้ ากการสังเกต

เวลา 2 ชั่วโมง
จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

ฝกึ ทกั ษะการสงั เกตโดยใช้แว่นขยายเป็นเครื่องมือชว่ ยใน
การสงั เกต

วัสดุ อปุ กรณ์สาหรับทากจิ กรรม

สงิ่ ทคี่ รตู อ้ งเตรียม/หอ้ ง

หลอดหยด 1 หลอด

ส่ิงทคี่ รูต้องเตรยี ม/กลมุ่ 2 อนั ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

แว่นขยาย

สิ่งที่ครตู ้องเตรยี ม/คน S1 การสังเกต
S8 การลงความเหน็ จากข้อมูล
1. ไรทะเล หรือไรแดง หรอื มด 1 ตวั S13 การตคี วามหมายข้อมูลและลงขอ้ สรปุ

2. จานสีสีขาว หรือ กลอ่ งพลาสติกใส 1 ใบ

(หมายเหตุ: การเลือกมดมาใช้ในกิจกรรม ควรใช้มดท่ไี มม่ พี ิษ เช่น ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21

มดดา มดน้าตาล มดเหม็น มดละเอียด ครูควรนามดใส่ในกล่อง C4 การส่อื สาร
C5 ความรว่ มมือ
พลาสติกใสขนาดเล็กกอ่ นแจกใหน้ กั เรียน เพื่อไมใ่ ห้นักเรยี นสัมผัส

มดและป้องกันมดกัด และนาไปปล่อยหลังการทากิจกรรม และ ส่อื การเรยี นรู้และแหลง่ เรียนรู้

ควรสอบถามเร่ืองการแพ้มดของนักเรียน ในกรณีมีคนท่ีแพ้มด 1. หนงั สือเรยี น ป.2 เลม่ 1 หน้า 5-6
2. แบบบันทึกกจิ กรรม ป.2 เล่ม 1 หนา้ 7-10
ต้องไม่ใหส้ มั ผัสกบั มดเด็ดขาด)

⎯ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฉบับปรับปรงุ เดอื นกรกฎาคม 2562

คูม่ อื ครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หน่วยที่ 1 การเรยี นร้สู ิง่ ต่าง ๆ รอบตวั 18

แนวการจัดการเรียนรู้ ในการทบทวนความรู้พื้นฐาน
คุณครูควรให้เวลานักเรียนคิดอย่าง
1. ครูทบทวนความรู้พื้นฐานเก่ียวกับทักษะการสังเกตของนักเรยี น โดยอาจนา เห ม าะ ส ม รอ ค อ ย อ ย่ างอ ด ท น
ถ่วั ลิสงอบแห้งท้ังฝัก หรอื ขนมขบเคี้ยว มาให้นักเรยี นสังเกตโดยใชป้ ระสาท นักเรียนต้องตอบคาถามเหล่านี้ได้
สัมผัสทั้งห้า และครูทบทวนความรู้โดยใช้แนวคาถามในการอภิปราย ถูกต้อง หากตอบไม่ได้หรือลืมครูต้อง
ดงั ตอ่ ไปนี้ ใหค้ วามรู้ท่ถี ูกตอ้ งทนั ที
1.1 ส่ิงท่ีนกั เรยี นสังเกตคอื อะไร (ถัว่ ลิสง)
1.2 ถั่วลิสงมีลักษณะอย่างไร (นักเรียนตอบข้อมูลลักษณะของถ่ัวลิสงตาม
ความเป็นจริงเช่น รูปร่าง สี กล่ิน ผวิ สัมผัส เสยี ง รสชาติ)
1.3 นักเรียนสังเกตลักษณะของถั่วลิงสงได้อย่างไร (สังเกตโดยการดู การ
ดม การสมั ผัส การชมิ การฟงั เสียง)
1.4 ข้อมูลเก่ียวกับรูปร่าง นักเรียนใช้ประสาทสัมผัสใดในการสังเกต (การ
ด)ู
1.5 ข้อมูลเกย่ี วกับสี นกั เรยี นใชป้ ระสาทสมั ผัสใดในการสงั เกต (การด)ู
1.6 ขอ้ มูลเกี่ยวกับกลิ่น นักเรยี นใช้ประสาทสัมผัสใดในการสังเกต (การดม
กล่ิน)
1.7 ข้อมูลเก่ียวกับผิวของฝักถั่วลิสงนักเรียนใช้ประสาทสัมผัสใดในการ
สงั เกต (การสัมผัส)
1.8 ข้อมูลเก่ยี วกบั เสียง นักเรยี นใช้ประสาทสัมผสั ใดในการสังเกต (การฟัง
เสยี ง)
1.9 ข้อมูลเกี่ยวกับรสชาติ นักเรียนใช้ประสาทสัมผัสใดในการสังเกต (การ
ชมิ รส)
1.10 การสังเกตถ่ัวลิสงโดยใช้ประสาทสัมผัสต่าง ๆ ทาให้ได้ข้อมูลของ
ถ่ัวลิสงเป็นอย่างไร (นักเรียนตอบตามข้อมูลที่ได้จากการสังเกต เช่น
รูปร่างของฝักถ่ัวยาวรี สีเหลืองอ่อน มีกล่ิน เปลือกแข็ง ขรุขระ
ผวิ สมั ผัสสากมือ เขย่าแลว้ มีเสยี ง เมล็ดมรี สชาติ และมคี วามมนั )

2. ครูเช่ือมโยงความรู้พ้ืนฐานของนักเรียนไปสู่กิจกรรมที่ 1.1 โดยใช้คาถามว่า
ถ้าสิ่งท่ีเราต้องการสังเกตมีขนาดเล็กกว่าถั่วลิสงมาก เราจะสังเกตด้วยวิธีใด
จงึ จะไดข้ อ้ มูลทต่ี อ้ งการ

3. นักเรียนอ่านช่ือกิจกรรม และ ทาเป็นคิดเป็น โดยร่วมกันอภิปรายเพื่อ
ตรวจสอบความเข้าใจจดุ ประสงค์ในการทากจิ กรรม โดยใช้คาถามดังนี้
3.1 กิจกรรมน้ีนักเรียนจะได้เรียนเรื่องอะไร (การใช้แว่นขยายช่วยในการ
สังเกต)

ฉบบั ปรับปรุง เดอื นกรกฎาคม 2562 สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

19 ค่มู ือครูรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หน่วยที่ 1 การเรยี นร้สู งิ่ ต่าง ๆ รอบตัว

3.2 นักเรียนจะได้เรียนรู้เรื่องน้ีด้วยวิธีใด (การสังเกตส่ิงต่าง ๆ โดยใช้ ขอ้ เสนอแนะเพมิ่ เติม
แวน่ ขยาย)
ครูเลือกเตรียมตัวอย่างส่ิงมีชีวิต 1 ชนิด
3.3 เม่ือเรียนแล้วนักเรียนจะทาอะไรได้ (รู้จักวิธี และมีทักษะการใช้ โดยแต่ละชนดิ มวี ธิ ีการเตรยี มได้ ดงั น้ี
แวน่ ขยายช่วยในการสงั เกต และบรรยายลักษณะของส่งิ ท่สี งั เกตได้)
- ไรทะเล ไรแดง หรือ ลูกน้าให้ใช้
4. นักเรียนบันทึกจุดประสงค์ลงในแบบบันทึกกิจกรรม หน้า 7 และอ่านส่ิงที่ หลอดหยดดูดใส่ลงในจานสี ให้มนี ้าอย่ใู นหลุม
ต้องใช้ในการทากิจกรรม ครูควรเลือกส่ิงที่นามาให้นักเรียนสังเกตซึ่ง จานสี เพือ่ ให้ส่ิงมีชวี ิตที่เลอื กยังมีชีวิตอยู่ และ
สามารถหาได้ง่าย เช่น ไรทะเล หรือไรแดง หรือมด หรืออาจใช้ลูกน้าก็ได้ เป็นการจากัดพ้ืนที่ (ในกรณีใช้ลูกน้า ครูควร
ซึ่งครูควรแนะนาให้นักเรียนรู้จักส่ิงท่ีครูนามาให้สังเกต นอกจากนี้ครูควร แนะนานักเรียนว่าลูกน้าเป็นตัวอ่อนของยุง
แนะนาและสาธติ วิธีการใชแ้ วน่ ขยาย ซึ่งเป็นพาหะของโรค เราควรทาใหบ้ ริเวณต่าง
ๆ ให้ไมเ่ ปน็ แหล่งทอ่ี ย่ขู องลูกนา้ )
5. นักเรียนอ่านทาอย่างไรทีละข้อ โดยครูใช้วิธีฝึกอ่านที่เหมาะสมกับ
ความสามารถของนักเรียน จากน้ันครูตรวจสอบความเข้าใจว่าจะทา - มด ให้ใส่ในกล่องพลาสติกใสขนาด
กิจกรรมอย่างไร จนนักเรยี นเขา้ ใจลาดบั การทากจิ กรรม โดยใช้คาถามดงั นี้ เล็กปิดด้วยพลาสติกใส และเจาะรูเล็ก ๆ ที่
5.1 อันดับแรกนักเรียนต้องสังเกตสิ่งมีชีวิตอย่างไร (สังเกตสิ่งมีชีวิตด้วย พลาสติกใส เพ่ือให้ภายในกล่องมีอากาศ
ตาเปลา่ แลว้ บันทึกผล) เพียงพอตอ่ การหายใจของมด
5.2 นักเรยี นบันทกึ ผลอยา่ งไร (วาดรูป)
5.3 เม่ือบันทึกผลแล้ว ต้องทาอะไรต่อ (สังเกตสิ่งมีชีวิตน้ันอีกคร้ัง โดยใช้ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และ
แว่นขยาย) ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ทนี่ ักเรยี นจะได้
5.4 การใช้แว่นขยายสังเกตส่ิงต่าง ๆ ทาได้อย่างไร (นักเรียนตอบตาม
ประสบการณ์ ซึง่ ครูอาจให้นักเรียนออกมาสาธติ วิธีการที่ถูกต้องโดยให้ ฝึกจากการทากิจกรรม
สังเกตตวั หนังสอื ทมี่ ีขนาดเล็ก)
5.5 เมื่อสังเกตดว้ ยแว่นขยายแล้วตอ้ งทาอะไร (วาดรปู สิง่ ท่สี ังเกตได้) S1 การสังเกตส่ิงมชี ีวติ ท่เี ลอื ก
5.6 เม่ือวาดรูปสิ่งท่ีสังเกตท้ัง 2 ครั้งแล้ว ต้องทาอะไร (นารูปท่ีวาดมา S8, C4 อภิปรายประโยชน์ของการใช้
เปรียบเทียบกัน) แวน่ ขยาย
5.7 นักเรียนเปรียบเทียบรูปวาดในเรื่องใดบ้าง (ขนาด สี รูปร่าง C5 เปรียบเทียบรูปที่วาด
ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย และอ่ืน ๆ)
5.8 นักเรียนต้องอภิปรายเกี่ยวกับเร่ืองใด (ประโยชน์ของการใช้แว่นขยาย
ในการสังเกตลักษณะของส่ิงต่าง ๆ)

6. เม่ือนักเรียนเข้าใจวิธีการทากิจกรรมในทาอย่างไรแล้ว ครูแจกวัสดุ
อปุ กรณ์ และให้นกั เรยี นเรม่ิ ปฏิบัติตามขน้ั ตอน

7. หลังจากทากิจกรรมแล้ว ให้นักเรียนคืนตัวอย่างส่ิงมีชีวิตให้ครูเพื่อนาไป
ปลอ่ ย จากนัน้ ครูนาอภิปรายผลการทากิจกรรม โดยใชค้ าถามดังน้ี
7.1 ส่ิงมีชีวิตที่เลือกมลี ักษณะอย่างไรเม่ือสังเกตด้วยตาเปลา่ (นักเรียนตอบ
ตามลักษณะของสิ่งมีชีวิตทสี่ งั เกตได้ เช่น

⎯ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ฉบับปรับปรุง เดือนกรกฎาคม 2562

คมู่ ือครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 1 การเรียนรสู้ ่งิ ต่าง ๆ รอบตัว 20

- ไรทะเล รูปรา่ งยาว ตัวสีแดง มีตา 2 ขา้ ง มขี าจานวนมาก มหี าง นั ก เรี ย น อ า จ ไ ม่ ส า ม า ร ถ ต อ บ
- ลูกน้า รูปร่างยาว ลาตัวสีเทา มีจุดสีดาที่หัว ลาตัวมีขน ลาตัวเป็น ค า ถ า ม ห รื อ อ ภิ ป ร า ย ได้ ต า ม แ น ว
คาตอบ ครูควรให้เวลานักเรียนคิด
ปล้อง อย่างเหมาะสม รอคอยอย่างอดทน
- มด ลาตัวสีดา (ขึ้นอยู่กับมดท่ีนักเรียนสังเกต) มีหัวกลม ตาสีดา และรับฟงั แนวความคิดของนักเรียน

ลาตัวปอ่ งกลม มีหนวด 2 ข้าง มีขา 6 ขา)
7.2 การสังเกตโดยใช้แว่นขยายได้ข้อมูลใดบ้าง (นักเรียนตอบตามลักษณะ

ท่สี ังเกตได้ เช่น
- ไรทะเล รูปร่างยาว ยาวกว่าการสงั เกตด้วยตาเปล่า ตัวสีแดง มีตา

2 ขา้ งสีดา อยู่บนก้านตาท่ีต่อมาทางด้านข้างหัว ที่หัวมีหนวดเส้น
เล็ก 2 เส้น เส้นใหญ่ 2 เส้น ลาตัวเป็นปล้อง มีขาจานวนมากที่
ปลายขามีขนเส้นเล็ก ๆ จานวนมาก มีหางทปี่ ลายหางแยกเป็น 2
แฉก แต่ละแฉกมขี น บางตัวมีถงุ สีดาทีบ่ ริเวณหาง
- ลกู น้า ลาตวั สีเทา รูปรา่ งยาว ยาวกวา่ สังเกตดว้ ยตาเปล่า ส่วนหัว
มีขนาดใหญ่กว่าลาตัว มีตาเป็นจุดสีดา ที่หัวและลาตัวเป็นปล้อง
แต่ละปลอ้ งมีขนยาว หางแยกเป็น 2 แฉก
- มด ลาตัวสีดา (ขึ้นอยู่กับมดที่นักเรียนสังเกต) มีขนาดใหญ่กว่า
สังเกตด้วยตาเปล่า มีหัวกลม มีปากเป็นฟัน 2 ซ่ี โค้งเข้าหากัน มี
หนวด 2 ข้าง มีลักษณะเป็นปล้องเล็ก ๆ ต่อกัน ลาตัวป่องกลมท่ี
สว่ นทอ้ งเป็นปลอ้ ง มีขน มีขา 6 ขา ที่ขามขี น)
8. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนตอบหรือซักถามในส่ิงทอ่ี ยากรูเ้ พม่ิ เติมเกี่ยวกับการ
สงั เกตส่ิงต่าง ๆ โดยใช้แว่นขยาย จากนั้นรว่ มกนั อภิปรายและลงข้อสรุปว่า
เราสามารถสังเกตส่ิงต่าง ๆ ได้โดยใช้ประสาทสัมผัส และสามารถใช้แว่น
ขยายช่วยในการสังเกตเพ่ือให้ได้ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ท่ีชัดเจน ละเอียด
มากยง่ิ ขึ้น (S13)
9. นักเรยี นร่วมกนั อภิปรายเพื่อตอบคาถามใน ฉันรูอ้ ะไร โดยครูอาจใชค้ าถาม
เพมิ่ เติมในการอภิปรายเพ่ือให้ได้แนวคาตอบที่ถูกต้อง
10.นกั เรยี นรว่ มกันสรปุ ส่ิงที่ไดเ้ รียนรู้ในกจิ กรรมน้ี จากนน้ั นักเรยี นอ่าน สงิ่ ท่ีได้
เรยี นรู้ และเปรียบเทียบกบั ข้อสรุปของตนเอง
11.ครูกระตุ้นให้นักเรียนฝึกตั้งคาถามเกี่ยวกับเรื่องที่สงสัยหรืออยากรู้เพิ่มเติม
ใน อยากรู้อีกว่า จากนั้นครูอาจสุ่มนักเรียน 2 -3 คน นาเสนอคาถามของ
ตนเองหน้าช้ันเรียน และให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับคาถามท่ี
นาเสนอ

ฉบบั ปรบั ปรุง เดอื นกรกฎาคม 2562 สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

21 คมู่ ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หนว่ ยที่ 1 การเรียนรู้สง่ิ ต่าง ๆ รอบตัว

12. ครูนาอภิปรายเพ่ือให้นักเรียนทบทวนว่าได้ฝึกทักษะกระบวนการทาง การเตรียมตวั ลว่ งหนา้ สาหรบั ครู
วทิ ยาศาสตร์และทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 อะไรบา้ งในขั้นตอนใด เพอ่ื จดั การเรียนร้ใู นครง้ั ถัดไป

13. หลังจากทากิจกรรมครูสามารถให้นักเรียนสังเกตลักษณะของไรทะเล ในคร้ังถัดไป นักเรียนจะได้ทา
ไรแดง หรอื มด เพม่ิ เติมไดจ้ ากวีดิทัศน์หรือภาพถ่าย กิจกรรมท่ี 1.2 จาแนกประเภทสิ่งต่าง ๆ
ได้อย่างไร โดยให้นักเรียนสังเกตลักษณะ
ของส่ิงต่าง ๆ ในบัตรภาพ และจาแนก
ประเภทส่ิงต่าง ๆ เหลา่ น้ันโดยใช้เกณฑ์ท่ี
กาหนดข้ึน ครูควรเตรียมบัตรภาพ โดย
การดาวน์โหลดไฟล์ภาพจาก QR Code
ในหนังสือเรยี น หน้า 7 นามาพิมพส์ ี และ
จัดเป็นชุดบัตรภาพ เพ่ือให้นักเรียนแต่ละ
กลุม่ ใช้สาหรบั ทากิจกรรม

⎯ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ฉบบั ปรับปรงุ เดือนกรกฎาคม 2562

คมู่ อื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 1 การเรียนรสู้ ง่ิ ตา่ ง ๆ รอบตัว 22

แนวคาตอบในแบบบันทึกกจิ กรรม

การสังเกต

แวน่ ขยาย

ไรทะเล

ไรทะเล

ฉบบั ปรบั ปรุง เดอื นกรกฎาคม 2562 สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

23 คมู่ ือครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หน่วยที่ 1 การเรยี นรูส้ ิ่งต่าง ๆ รอบตัว



สี และรปู รา่ ง


ขนาด และรายละเอยี ดของสว่ นตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย

ชดั เจน และละเอียด

⎯ สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ฉบับปรับปรุง เดอื นกรกฎาคม 2562

ค่มู อื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หน่วยที่ 1 การเรยี นรูส้ ง่ิ ตา่ ง ๆ รอบตัว 24

สแี ละรูปร่างของไรทะเล
ขนาดและรายละเอยี ดของส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย

ชัดเจน และ ละเอยี ด

สงั เกตลกั ษณะของส่ิงตา่ ง ๆ
ชัดเจน และ ละเอียด

ฉบบั ปรบั ปรุง เดอื นกรกฎาคม 2562 สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

25 คมู่ ือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หนว่ ยที่ 1 การเรยี นรู้สิง่ ต่าง ๆ รอบตัว
คาถามของนักเรียนทต่ี ั้งตามความอยากรขู้ องตนเอง

⎯ สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ฉบบั ปรับปรุง เดอื นกรกฎาคม 2562

คู่มือครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 1 การเรียนรู้ส่ิงต่าง ๆ รอบตวั 26

แนวการประเมินการเรียนรู้

การประเมนิ การเรยี นรู้ของนกั เรยี นทาได้ ดงั นี้
1. ประเมินความรู้เดิมจากการอภิปรายในชัน้ เรียน
2. ประเมินการเรียนรูจ้ ากคาตอบของนักเรยี นระหวา่ งการจดั การเรยี นรแู้ ละจากแบบบนั ทึกกจิ กรรม
3. ประเมินทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 จากการทากจิ กรรมของนกั เรยี น

การประเมนิ จากการทากจิ กรรมท่ี 1.1 สงั เกตสิง่ ต่าง ๆ ไดอ้ ย่างไร

ระดับคะแนน 1 คะแนน หมายถึง ควรปรับปรงุ
3 คะแนน หมายถึง ดี 2 คะแนน หมายถงึ พอใช้

รหัส ส่งิ ท่ีประเมนิ ระดับคะแนน

ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
S1 การสงั เกต
S8 การลงความเหน็ จากขอ้ มูล
S13 การตคี วามหมายข้อมลู และลงข้อสรุป
ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21
C4 การส่ือสาร
C5 ความร่วมมือ

รวมคะแนน

ฉบบั ปรบั ปรุง เดอื นกรกฎาคม 2562 สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

27 คมู่ ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 1 การเรยี นรูส้ ิง่ ต่าง ๆ รอบตัว

ตาราง แสดงการวเิ คราะห์ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ตามระดบั ความสามารถของนักเรียน

โดยอาจใช้เกณฑก์ ารประเมนิ ดงั นี้

ทักษะกระบวนการ รายการประเมนิ ดี (3) ระดบั ความสามารถ ควรปรับปรงุ (1)
ทางวิทยาศาสตร์ พอใช้ (2)

S1 การสงั เกต ก า ร บ ร ร ย า ย สามารถใช้ประสาทสัมผัส สามารถใช้ประสาทสัมผัสและ สามารถใช้ประสาทสัมผัส

รายละเอียดของส่ิงที่ แ ล ะ แ ว่ น ข ย า ย เ ก็ บ แว่นขยายเก็บรายละเอียด แ ล ะ แ ว่ น ข ย า ย เ ก็ บ

สงั เกต รายละเอียดข้อมูลของสิ่งท่ี ข้อมูลของส่ิงท่ีสังเกตได้ จาก รายละเอยี ดข้อมูลของส่ิงท่ี

สังเกตได้ด้วยตนเอง โดย การชี้แนะของครูหรือผู้อ่ืน สังเกตได้เพียงบางส่วน

ไม่เพมิ่ ความคิดเหน็ ห รือ มี ก าร เพิ่ ม เติ ม ค ว าม แมว้ ่าจะไดร้ ับคาชี้แนะจาก

คดิ เหน็ ครหู รอื ผูอ้ นื่

S8 การลงความ การลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็นจาก

เหน็ จากข้อมูล ข้อมูลว่าการสังเกตสิ่ง ข้อมูลได้ว่าการสังเกตส่ิง ข้อมูลได้ว่าการสังเกตส่ิงต่าง ข้อมูลได้ว่าการสังเกตส่ิง

ต่าง ๆ โดยใช้แว่นขยาย ต่าง ๆ โดยใช้แว่นขยายทา ๆ โดยใช้แว่นขยายทาให้ได้ ต่าง ๆ โดยใช้แว่นขยายทา

ทาให้ได้ข้อมูลที่ชัดเจน ให้ได้ข้อมูลที่ชัดเจนและ ข้อมูลที่ชัดเจนและละเอียด ให้ได้ข้อมูลท่ีแตกต่างจาก

และละเอียดกว่าการ ละเอียดกวา่ การสังเกตโดย กวา่ การสังเกตโดยใช้ตาเปล่า การสังเกตโดยใช้ตาเปล่า

สงั เกตโดยใชต้ าเปลา่ ใช้ตาเปล่าได้อย่างถูกต้อง ได้อย่างถูกต้องและชัดเจน แต่ไม่สามารถบอกได้ว่า

และชดั เจน ได้ดว้ ยตนเอง จากการชี้แนะของครูหรือ แตกต่างอย่างไร แม้ว่าจะ

ผูอ้ ืน่ ได้รับคาช้ีแนะจากครูหรือ

ผ้อู ื่น

S13 การตีความ การตีความหมายข้อมูล ส าม ารถ ตี ค วาม ห ม าย สามารถตีความหมายข้อมูล ส าม ารถ ตี ค ว าม ห ม าย

หมายข้อมูล จากการสังเกตและการ ข้อมูลจากการสังเกตและ จาก ก ารสั งเก ต แ ล ะก าร ข้อมูลจากการสังเกตและ

และลง อภิปรายได้ว่า ลักษณะ ก า ร อ ภิ ป ร า ย ไ ด้ ว่ า อภิปรายได้ว่า ลักษณะของ แ ล ะ ก า ร อ ภิ ป ร า ย ได้

ข้อสรุป ของส่ิงมีชีวิตเม่ือสังเกต ลักษณะของส่ิงมีชีวิตเม่ือ ส่ิงมีชีวิตเมื่อสังเกตด้วยตา ลักษณะของสิ่งมีชีวิตเมื่อ

ด้วยตาเปล่าและใช้แว่น สังเกตด้วยตาเปล่าและใช้ เป ล่าและใช้แว่น ขยายมี สังเกตด้วยตาเปล่าและใช้

ขยายมีลักษณะบางอยา่ ง แ ว่ น ข ย า ย มี ลั ก ษ ณ ะ ลักษณะบางอย่างเหมือนกัน แว่นขยายได้เพียงบางส่วน

เหมือนกันและลักษณะ บางอย่างเหมือนกันและ แ ล ะ ลั ก ษ ณ ะ บ า งอ ย่ า ง แ ล ะ ล ง ข้ อ ส รุ ป ได้ ไ ม่

บางอย่างแตกต่างกัน ลักษณะบางอย่างแตกต่าง แตกต่างกัน และลงข้อสรุป สมบูรณ์แม้ว่าจะได้รับคา

และลงข้อสรุปได้ว่าการ กัน และลงข้อสรุปได้ว่า ได้ว่าการสังเกตส่ิงต่าง ๆ ชี้แนะจากครูหรอื ผู้อนื่

สังเกตส่ิงต่าง ๆ โดยใช้ การสังเกตสิ่งต่าง ๆ โดยใช้ โดยใช้แว่นขยายทาให้ได้

แว่นขยายทาให้ได้ข้อมูล แว่นขยายทาให้ได้ข้อมูลท่ี ข้อมูลท่ีชัดเจนและละเอียด

ท่ีชัดเจนและละเอียด ชัดเจนและละเอียดกว่า กว่าการสังเกตด้วยตาเปล่า

กว่าการสังเกตด้วยตา การสังเกตด้วยตาเปล่าได้ จากการชี้แนะของครูหรือ

เปล่า ดว้ ยตนเอง ผ้อู ่นื

⎯ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ฉบับปรบั ปรงุ เดือนกรกฎาคม 2562

ค่มู อื ครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 1 การเรียนรสู้ ่งิ ตา่ ง ๆ รอบตัว 28

ตาราง แสดงการวิเคราะห์ทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 ตามระดับความสามารถของนกั เรยี น
โดยอาจใช้เกณฑก์ ารประเมนิ ดังน้ี

ทกั ษะแห่ง รายการประเมนิ ระดบั ความสามารถ
ศตวรรษที่ 21
C4 การสื่อสาร ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรับปรุง (1)

C5 ความ การนาเสนอข้อมูล นาเสนอข้อมูลจากการ นาเสนอข้อมูลจากการสังเกต นาเสนอข้อมูลจากการ
รว่ มมือ
จ า ก ก า ร สั ง เ ก ต สังเกตลักษณะของสิ่ง ลักษณ ะของสิ่งต่าง ๆ ใน สังเกตลักษณ ะของส่ิง

ลกั ษณะของสิ่งต่าง ๆ ต่าง ๆ ในรูปแบบของ รูปแบบของรูปวาดให้ผู้อ่ืน ต่าง ๆ ในรูปแบบของ

ในรูปแบบของรปู วาด รูปวาดให้ผู้อ่ืนเข้าใจได้ เข้าใจได้อย่างถูกต้อง และ รูปวาดให้ผู้อ่ืนเข้าใจได้

ให้ผอู้ ่นื เขา้ ใจ อ ย่ า ง ถู ก ต้ อ ง แ ล ะ รวดเร็วจากการช้ีแนะของครู เพียงบางส่วน แม้ว่าจะ

รวดเร็วได้ดว้ ยตนเอง หรอื ผู้อ่นื ได้ รั บ ค า ชี้ แ น ะ จ า ก ค รู

หรือผู้อื่น

การทางานร่วมกับผู้อื่ สามารถทางานร่วมกับ สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ สามารถทางานร่วมกับ

และการแสดงความ ผู้อื่นได้ดี มีส่วนร่วมใน มีส่วนร่วมในการแสดงความ ผู้อื่น ได้บ้าง แต่ไม่ค่อย

คิ ด เห็ น เกี่ ย ว กั บ การแสดงความคิดเห็น คิดเห็นเก่ียวกับประโยชน์ของ แ ส ด ง ค ว า ม คิ ด เห็ น

ประโยชน์ของการใช้ เกี่ยวกับประโยชน์ของ การใช้แว่นขยายในการสังเกต เกี่ยวกับประโยชน์ของ

แ ว่ น ข ย า ย ใน ก า ร การใช้แว่นขยายในการ สงิ่ ต่าง ๆ รวมท้ังยอมรับความ การใช้แว่นขยายในการ

สั ง เก ต สิ่ ง ต่ า ง ๆ สังเกตส่ิงต่าง ๆ รวมทั้ง คิ ด เห็ น ขอ งผู้ อ่ืน เป็ น บ าง สังเกตสิ่งต่าง ๆ และไม่

รวมท้ังยอมรับความ ยอมรับความคิดเห็นของ ช่วงเวลาของการทากิจกรรม รว ม ท้ั งย อ ม รับ ค วาม

คิดเห็นของผอู้ น่ื ผู้อื่นตลอดช่วงเวลาของ คิดเห็นของผอู้ ่นื

การทากิจกรรม

ฉบบั ปรบั ปรุง เดือนกรกฎาคม 2562 สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

29 ค่มู อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 1 | หน่วยท่ี 1 การเรยี นร้สู ิ่งต่าง ๆ รอบตวั

กจิ กรรมที่ 1.2 จาแนกประเภทสิ่งต่าง ๆ ได้อย่างไร

กิจกรรมนี้นักเรียนจะได้ฝึกการสังเกตลักษณะของ
ส่ิงต่าง ๆ และกาหนดเกณฑ์ เพ่ือจาแนกประเภทสิ่งต่าง ๆ
ออกเป็นกลุม่

เวลา 3 ชวั่ โมง
จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

ฝึกทักษะการจาแนกประเภทของสิง่ ตา่ ง ๆ โดยระบุ
เกณฑ์ในการจาแนก

วัสดุ อุปกรณส์ าหรับทากจิ กรรม

สิ่งทค่ี รูต้องเตรยี ม/กลุ่ม

1. บตั รภาพส่ิงตา่ ง ๆ 1 ชุด
2. แผน่ พลาสติกลกู ฟูก 1 แผ่น
3. เทปใส 1 ม้วน

ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

S1 การสงั เกต
S4 การจาแนกประเภท
S8 การลงความเหน็ จากข้อมูล
S13 การตคี วามหมายข้อมูลและลงขอ้ สรุป

ทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21

C4 การส่ือสาร
C5 ความร่วมมือ

สื่อการเรยี นรูแ้ ละแหล่งการเรียนรู้

1. หนังสือเรียน ป.2 เลม่ 1 หน้า 7-8

2. แบบบันทกึ กจิ กรรม ป.2 เลม่ 1 หน้า 11-15

⎯ สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฉบับปรุง เดอื นกรกฎาคม 2562

คูม่ ือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 1 | หนว่ ยที่ 1 การเรยี นรู้ส่งิ ตา่ ง ๆ รอบตวั 30

แนวการจดั การเรียนรู้ ในการทบทวนความรู้พ้ืนฐาน
คุณครูควรให้เวลานักเรียนคิดอย่าง
1. ครูตรวจสอบความรู้เดิมเกี่ยวกบั ทักษะการจาแนกประเภทของนักเรยี น โดย เห ม าะส ม รอคอยอย่างอดท น
อาจแบ่งนักเรียนในห้องเรียนออกเป็นกลุ่มโดยใช้คาส่ังต่าง ๆ 2-3 คาสั่ง นักเรียนต้องตอบคาถามเหล่าน้ีได้
เพ่อื ให้นักเรยี นแบ่งกลุ่มตามความเหมาะสมของหอ้ งเรียน ครจู ดจานวนกลุ่ม ถูกต้อง หากตอบไม่ได้หรือลืมครู
และนกั เรียนแตล่ ะกลุม่ ในการแบง่ แต่ละครง้ั ไว้บนกระดาน เชน่ ต้องให้ความรู้ท่ถี ูกตอ้ งทันที
1.1 ให้นกั เรียนเพศเดยี วกนั อยดู่ ว้ ยกัน (จะแบ่งนักเรียนได้ 2 กล่มุ คอื
เพศหญงิ และเพศชาย)
1.2 ให้นักเรียนที่ถนัดมือซ้ายอยู่ด้วยกัน ถนัดมือขวาอยู่ด้วยกัน (จะแบ่ง
นกั เรยี นได้ 2 กลมุ่ คอื ถนดั มอื ซ้ายและถนัดมือขวา)
1.3 ให้นักเรียนท่ีมีลักย้ิมอยู่ด้วยกัน ที่ไม่มีลักย้ิมอยู่ด้วยกัน (จะแบ่ง
นกั เรยี นได้ 2 กลมุ่ คอื มลี กั ยม้ิ และไมม่ ลี กั ย้มิ )
1.4 ให้นักเรียนหยิบสีไม้สีท่ีชอบขึ้นมาคนละ 1 แท่ง แล้วให้คนที่ชอบสี
เดียวกันอยู่ด้วยกัน (จะแบ่งนักเรียนได้จานวนกลุ่มเท่ากับจานวนสีที่
นักเรียนเลอื ก)

2. หลังจากใช้คาส่ังในการแบ่งกลุ่มนักเรียนแล้ว ครูให้ความหมายของคาว่า
เกณฑ์ โดยใช้คาถาม ดังนี้
2.1 การแบ่งกลุ่มนักเรียนครใู ช้คาสั่งอะไรบา้ ง (เพศ มอื ข้างทถ่ี นัด การมีลัก
ย้ิม สขี องสไี มท้ ช่ี อบ)
2.2 การใชค้ าส่ังของครูสามารถแบง่ นักเรียนออกเป็นกลุ่มได้หรือไม่ (ได)้
2.3 คาสั่งท่ีแตกต่างกันทาให้ผลการแบ่งกลุ่มนักเรียนเหมือนหรือแตกต่าง
กนั (แตกตา่ งกัน)
2.4 ถ้าผลการแบ่งกลุ่มของนักเรียนแตกต่างกัน เป็นเพราะเหตุใด (เพราะ
ใช้คาสัง่ ในการแบง่ กลมุ่ แตกต่างกัน)
2.5 รู้หรือไม่ว่าสิ่งกาหนดมาเพ่ือแบ่งกลุ่มสิ่งต่าง ๆ ในทางวิทยาศาสตร์
เรยี กว่าอะไร (เกณฑ)์
2.6 ครูใช้เกณฑ์ใดบ้างในการแบ่งกลุ่มนักเรียน (เพศ มือข้างที่ถนัด การมี
ลกั ย้มิ สีของสีไมท้ ีช่ อบ)

3. ครูเช่ือมโยงความรู้เดิมของนักเรียนไปสู่กิจกรรมท่ี 1.2 โดยใช้คาถามว่า เรา
จะใช้เกณฑอ์ ะไรบ้างในการแบ่งสง่ิ ของออกเป็นกลมุ่

4. นักเรียนอ่านชื่อกิจกรรม และ ทาเป็นคิดเป็น โดยร่วมกันอภิปรายเพื่อ
ตรวจสอบความเขา้ ใจจุดประสงค์ในการทากจิ กรรม โดยใช้คาถามดังน้ี
4.1 กจิ กรรมนี้นักเรยี นจะไดเ้ รียนเรอ่ื งอะไร (ทักษะการจาแนกประเภท)

ฉบับปรับปรุง เดอื นกรกฎาคม 2562 สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

31 ค่มู ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 1 การเรียนรูส้ ิ่งต่าง ๆ รอบตวั

4.2 นกั เรียนจะได้เรียนรเู้ รื่องนด้ี ว้ ยวธิ ใี ด (สังเกตลกั ษณะของสิ่งตา่ ง ๆ และ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละ
กาหนดเกณฑใ์ นการจาแนกสงิ่ ตา่ ง ๆ ออกเป็นกลมุ่ ) ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ทน่ี ักเรยี นจะได้

4.3 เมื่อเรียนแล้วนักเรียนจะทาอะไรได้ (กาหนดเกณฑ์จากข้อมูลที่ได้จาก ฝึกจากการทากจิ กรรม
การสังเกตลักษณะของส่ิงต่าง ๆ และจาแนกประเภทสิ่งต่าง ๆ ตาม
เกณฑท์ ี่กาหนดได้) S1 สังเกตจานวนและลกั ษณะ
S4, C5 อภปิ ราย กาหนดเกณฑ์ และ
5. นักเรยี นบันทึกจุดประสงค์ลงในแบบบันทึกกิจกรรม หน้า 11 และ อ่านสิ่งที่ จาแนกประเภทสิ่งต่าง ๆ ในบัตรภาพ
ต้องใช้ในการทากิจกรรม ครูควรเตรียมบัตรภาพส่ิงต่าง ๆ โดยดาวน์โหลด ตามเกณฑท์ ่ีกาหนด
ไฟลภ์ าพจากการสแกน QR Code ในหนังสอื เรยี นหนา้ 7 นามาพมิ พส์ ี หรือ C4 นาเสนอผลการจาแนกประเภท
พมิ พ์บัตรภาพจากคู่มือครู จากน้ันนามาจัดเป็นชุดบัตรภาพ เพื่อให้นักเรียน S8, C4 อภปิ รายเปรียบเทยี บผลการ
แต่ละกลมุ่ ใชส้ าหรบั ทากจิ กรรม จาแนกประเภท

6. อ่านทาอย่างไรทีละข้อ ครูฝึกทักษะการอ่านโดยใช้วิธีฝึกอ่านทเ่ี หมาะสมกับ
ความสามารถของนักเรียน จากน้ันครูตรวจสอบความเข้าใจว่าจะทา
กจิ กรรมอย่างไร จนนักเรยี นเขา้ ใจลาดับการทากิจกรรม โดยใช้คาถามดังน้ี
6.1 นักเรียนต้องสังเกตส่ิงใด (สังเกตจานวน และลักษณะอ่ืน ๆ ของ
ส่ิงตา่ ง ๆ ในบตั รภาพ)
6.2 เม่ือสังเกตบัตรภาพแล้ว ต้องทาอะไรต่อ (บันทึกผล และกาหนด
เกณฑ์)
6.3 กาหนดเกณฑ์อย่างไร (กาหนดเกณฑ์โดยเลือกจากลักษณะของส่ิงที่
สังเกตวา่ มลี ักษณะใดบ้าง)
6.4 จานวนเกณฑ์ที่เลอื กมกี ่ีเกณฑ์ (1 เกณฑ)์
6.5 เมื่อกาหนดเกณฑ์แล้วต้องทาอะไร (จาแนกส่ิงต่าง ๆ ในบัตรภาพ
ออกเปน็ กลุม่ ตามเกณฑท์ กี่ าหนดข้ึน)
6.6 เมอ่ื จาแนกส่งิ ต่าง ๆ ในบัตรภาพแลว้ ต้องทาอะไรต่อ (นาเสนอผลการ
จาแนกประเภท)
6.7 การนาเสนอผลการจาแนกประเภทนักเรียนต้องบอกเกณฑ์แก่เพ่ือน
หรือไม่ เพราะเหตุใด (ไม่ต้องบอกเกณฑ์ เพราะต้องการให้เพื่อนฝึก
การระบุเกณฑ)์
6.8 เมื่อนาเสนอเสร็จแล้ว นักเรียนต้องทาอะไร (อภิปรายเปรียบเทียบผล
การจาแนกประเภทส่ิงต่าง ๆ กับกลุ่มอื่น ๆ ท่ีใช้เกณฑ์เดียวกัน และที่
ใชเ้ กณฑแ์ ตกตา่ งกัน)

7. เม่ือนักเรียนเข้าใจวิธีการทากิจกรรมในทาอย่างไรแล้ว ครูแจกวัสดุอุปกรณ์
และให้นักเรียนเร่ิมปฏิบัติตามขั้นตอน เมื่อนักเรียนจาแนกประเภทได้แล้ว

⎯ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ฉบับปรงุ เดอื นกรกฎาคม 2562

คมู่ ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หนว่ ยที่ 1 การเรยี นรูส้ ่ิงต่าง ๆ รอบตัว 32

ให้นักเรียนติดบัตรภาพของส่ิงต่าง ๆ ลงบนแผ่นพลาสติกลูกฟูก โดย นักเรียนอาจไม่สามารถตอบ
แบ่งกลุ่มต่าง ๆ ให้เหน็ ชดั เจน เพอื่ ใชส้ าหรับการนาเสนอผลงาน คาถามหรืออภิปรายได้ตามแนว
8. หลังจากทากิจกรรมแล้ว ครูนาอภิปรายผลการทากิจกรรม โดยใช้คาถาม คาตอบ ครูควรให้เวลานักเรียน
ดังนี้ คดิ อย่างเหมาะสม รอคอยอย่าง
8.1 เมื่อสังเกตสิ่งต่าง ๆ ในบัตรภาพแล้ว นักเรียนสังเกตเห็นลักษณะ อดทน และรับฟังแนวความคิด
ของนักเรียน
ใดบา้ ง (นกั เรียนตอบตามผลท่บี นั ทกึ จากการสงั เกต)
8.2 การจาแนกประเภทส่ิงต่าง ๆ ของนักเรียนใช้เกณฑ์ใดบ้าง (นักเรียน

ตอบตามข้อมูลจริง เช่น ประเภท (ผักและผลไม้) สี รูปร่าง จานวน
ซึ่งต้องเป็นส่ิงที่สังเกตได้จากบัตรภาพเท่าน้ัน ไม่ควรเป็นสิ่งที่เกิดจาก
ประสบการณเ์ ดิม เช่น รสชาติ)
8.3 เม่ือกาหนดเกณฑ์แล้ว นักเรียนจาแนกประเภทได้อย่างไร ให้
ยกตัวอย่าง (จาแนกโดยจัดให้ส่ิงท่ีมีลักษณะเหมือนกันตามเกณฑ์อยู่
กลุ่มเดียวกัน และแยกสิ่งท่ีมีลักษณะแตกต่างกันตามเกณฑ์อยู่อีกกลุ่ม
เช่น ถ้าใช้รูปร่างเป็นเกณฑ์ จะจัดให้ส่ิงที่มีรูปร่างเหมือนกันอยู่กลุ่ม
เดียวกัน รปู ร่างที่แตกต่างกนั อยตู่ า่ งกลุ่มกัน)
8.4 การจาแนกประเภทส่ิงต่าง ๆ ในบัตรภาพของนักเรียนใช้เกณฑ์ใด
เหมือนกนั บา้ ง (นักเรยี นตอบจากข้อมูลจริง)
8.5 เมื่อใช้เกณฑ์เดียวกันผลการจาแนกเหมือนหรือแตกต่างกัน อย่างไร
(ผลการจาแนกเหมือนกัน จะได้จานวนกลุ่มเท่ากัน และภาพส่ิงต่าง ๆ
อาจเหมือน หรือแตกต่างกันข้ึนอยู่กับความละเอียดในการสังเกตของ
นักเรียน)
8.6 การจาแนกประเภทส่ิงต่าง ๆ ในบัตรภาพของนักเรียนใช้เกณฑ์ใด
แตกตา่ งกันบา้ ง (นักเรียนตอบจากขอ้ มูลจรงิ )
- ในกรณีที่นักเรียนท้ังห้องกาหนดเกณฑ์เหมือนกัน ครูนาอภิปราย

เพ่ิมเติมว่าจากส่ิงที่สังเกตยังมีลักษณะอะไรอีกบ้างท่ีสามารถ
นามากาหนดเป็นเกณฑ์ได้ และถ้าใช้เกณฑ์น้ันจะแบ่งกลุ่ม
สิ่งต่าง ๆ ในบัตรภาพไดอ้ ย่างไร
8.7 เมอื่ ใช้เกณฑ์แตกต่างกันผลการจาแนกเหมือนหรอื แตกต่างกนั อย่างไร
(ผลการจาแนกแตกต่างกัน จะได้จานวนกลุ่ม จานวนบัตรภาพในกลุ่ม
และบตั รภาพสิ่งตา่ ง ๆ ในกลุม่ แตกต่างกนั )
8.8 การจาแนกสิ่งต่าง ๆ ออกเป็นกลุ่มมีประโยชน์อย่างไร (ทาให้ง่ายต่อ
การจัดเก็บและการนามาใช้งาน)

ฉบับปรบั ปรุง เดือนกรกฎาคม 2562 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

33 คมู่ อื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 1 การเรยี นรูส้ ง่ิ ต่าง ๆ รอบตัว

9. ครูเปิดโอกาสใหน้ ักเรียนตอบหรอื ซักถามในสิ่งทอ่ี ยากรู้เพ่ิมเติมเกี่ยวกับการ การเตรียมตัวลว่ งหน้าสาหรบั ครู
จาแนกประเภท จากน้ันร่วมกันอภิปรายและลงข้อสรุปว่าเราสามารถ เพอื่ จดั การเรียนรู้ในครง้ั ถัดไป
จาแนกประเภทส่ิงต่าง ๆ ออกเป็นกลุ่มได้ โดยการนาข้อมูลที่เหมือนกัน
และอตกต่างกันของส่ิงที่สังเกตมากาหนดเกณฑ์ แล้วจาแนกประเภทตาม ในครั้งถัดไป นักเรียนจะได้เรียน
เกณฑ์ท่ีกาหนด โดยจัดให้สิ่งของท่ีเหมือนกันอยู่กลุ่มเดียวกัน หรือส่ิงของที่ เร่ืองที่ 2 การสืบเสาะหาความรู้ทาง
แตกต่างกันอยู่คนละกลุ่ม ซึ่งถ้าเกณฑ์เปล่ียนไปผลการจาแนกประเภทก็จะ วิทยาศาสตร์ ครูอาจเตรียมผักตาม
เปลย่ี นไปดว้ ย (S13) ท้ องถ่ิน ที่ นั กเรียน รู้จัก เช่น ค ะน้ า
ผักกาดขาว กะหล่าปลี ที่มีรอยหนอนกัด
10. นกั เรยี นร่วมกนั อภิปรายเพื่อตอบคาถามใน ฉนั รูอ้ ะไร โดยครูอาจใช้ กิน มาใช้ในการอภิปรายว่าเราสามารถ
คาถามเพม่ิ เตมิ ในการอภปิ รายเพอื่ ใหไ้ ด้แนวคาตอบทถ่ี ูกต้อง รับประทานผกั เหลา่ น้ีไดห้ รอื ไม่ อย่างไร

11. นกั เรียนรว่ มกันสรุปส่ิงท่ีไดเ้ รียนรใู้ นกิจกรรมน้ี จากนั้นนกั เรยี นอา่ น ส่ิงท่ี
ได้เรียนรู้เกยี่ วกับการจาแนกประเภท และเปรยี บเทียบกบั ขอ้ สรุปของ
ตนเอง

12. ครูกระตนุ้ ให้นกั เรยี นฝึกตั้งคาถามเกี่ยวกับเรอ่ื งท่ีสงสยั หรืออยากรู้เพม่ิ เติม
ใน อยากรู้อีกวา่ จากน้ันครูอาจสุ่มนักเรียน 2 -3 คน นาเสนอคาถามของ
ตนเองหน้าชั้นเรียน และให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับคาถามท่ี
นาเสนอ

13. ครูนาอภิปรายเพื่อให้นักเรียนทบทวนว่าได้ฝึกทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์และทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 อะไรบ้างและในขนั้ ตอนใดบ้าง

14. นักเรียนร่วมกันอ่านรู้อะไรในเรื่องน้ี ในหนังสือเรียน หน้า 9 ครูนาอภิปราย
เพื่อนาไปสู่ข้อสรุปเก่ียวกับส่ิงที่ได้เรียนรู้ในเรื่องน้ี จากนั้นครูกระตุ้นให้
นักเรียนตอบคาถามในช่วงท้ายของเน้ือเร่ือง ซึ่งเป็นคาถามเพ่ือเชื่อมโยง
ไปส่กู ารเรียนเนือ้ หาในบทถัดไป ดังน้ี “ในการรวบรวมข้อมูล นอกจากการ
สังเกตแล้ว ยังทาได้อย่างไรอีกบ้าง” นักเรียนสามารถตอบตามความ
เข้าใจของตนเอง โดยจะหาคาตอบไดจ้ ากการเรยี นในเร่อื งต่อไป

⎯ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ฉบับปรุง เดือนกรกฎาคม 2562

คู่มอื ครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หนว่ ยที่ 1 การเรียนรสู้ ิง่ ตา่ ง ๆ รอบตวั 34

บตั รภาพสิ่งตา่ ง ๆ ทใ่ี ช้ในกิจกรรมท่ี 1.2 จาแนกประเภทสิง่ ตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งไร

หวั ผักกาดขาว แตงโม กะหลา่ ดอก

มังคดุ สาลี่ กระทอ้ น

แอปเ ิปล

ฉบับปรับปรงุ เดอื นกรกฎาคม 2562 สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

35 คมู่ อื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หน่วยที่ 1 การเรยี นรู้สงิ่ ต่าง ๆ รอบตัว

ส้ม กล้วยหอม มะละกอ

มะนาว แอปเปิลเขียว แตงกวา

มะเ ืขอยาว

⎯ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ฉบับปรุง เดอื นกรกฎาคม 2562

คู่มือครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 1 | หน่วยที่ 1 การเรยี นร้สู ่ิงตา่ ง ๆ รอบตัว 36

มะเขือเปราะ กะหล่าปลี มะเขอื เทศ

แครอท หอมใหญ่ พริก

ฉบบั ปรบั ปรุง เดือนกรกฎาคม 2562 สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

37 คู่มอื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 1 | หน่วยที่ 1 การเรียนรสู้ ิง่ ตา่ ง ๆ รอบตัว

แนวคาตอบในแบบบันทึกกิจกรรม

การจาแนกประเภท

ระบเุ กณฑ์

ผลการสังเกตขึ้นอยูก่ บั การทากิจกรรมของนกั เรยี น เชน่

ประเภท รูปรา่ ง
(ผกั /ผลไม้) สี

2 ผกั ขาว ยาวรี

1 ผลไม้ เขยี ว กลม

1 ผกั ขาว กลม

4 ผลไม้ มว่ ง กลม

3 ผลไม้ เหลอื ง กลม

⎯ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ฉบบั ปรุง เดอื นกรกฎาคม 2562

คู่มอื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 1 | หนว่ ยท่ี 1 การเรียนร้สู ง่ิ ตา่ ง ๆ รอบตัว 38

ประเภท สี รูปร่าง

(ผกั /ผลไม้) กลม
กลม
2 ผลไม้ เหลอื ง กลม
ยาว รี
2 ผลไม้ สม้ ยาว รี
กลม
1 ผลไม้ สม้ กลม

3 ผลไม้ เหลือง

2 ผลไม้ สม้

1 ผกั เขยี ว

1 ผลไม้ เขยี ว

3 ผกั เขยี ว ยาว รี
3 ผกั ม่วง ยาว รี
3 ผกั เขียว, ขาว กลม
1 ผกั เขยี ว กลม
3 ผกั แดง กลม
2 ผกั สม้ ยาว รี
4 ผกั สม้ กลม

4 ผกั แดง ยาว

ฉบบั ปรบั ปรงุ เดอื นกรกฎาคม 2562 สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

39 คมู่ ือครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 1 การเรียนรู้สงิ่ ต่าง ๆ รอบตวั

จานวน การบันทกึ ผลขนึ้ อยู่กบั เกณฑท์ ีน่ กั เรียนกาหนด เชน่
4

1 มีจานวนเทา่ กบั 1 แตงโม กะหลา่ ดอก ส้ม
2 มจี านวนเท่ากับ 2 มะนาว แอปเปิลเขียว
3 มีจานวนเทา่ กบั 3 กะหล่าปลี
4 มีจานวนเท่ากบั 4
หัวผกั กาดขาว กระทอ้ น
แอปเปิล มะละกอ แครอท

สาลี่ แตงกวา มะเขือยาว
มะเขือเปราะ กล้วยหอม
มะเขือเทศ

มังคดุ หอมใหญ่ พริก

⎯ สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฉบบั ปรงุ เดอื นกรกฎาคม 2562

คู่มือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หน่วยที่ 1 การเรียนรู้สงิ่ ต่าง ๆ รอบตัว 40

ความเหมือน ความแตกต่าง
เกณฑ์

คาตอบขึน้ อยู่กบั ผลการทากิจกรรมของนักเรยี น เชน่ จานวน ประเภท
(ผกั /ผลไม้) สี รูปร่าง

เหมอื นกนั

แตกตา่ งกัน

หมายเหตุ: เม่อื ใชเ้ กณฑ์เหมอื นกนั อาจพบว่าผลการจาแนกของนกั เรียนอาจแตกตา่ งกัน ซง่ึ ขึน้ อยกู่ ับ
ความละเอยี ดในการจาแนก เช่น ใชส้ ีเปน็ เกณฑ์ นักเรียนอาจแยกจานวนสีได้แตกต่างกนั

ฉบบั ปรบั ปรงุ เดอื นกรกฎาคม 2562 สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

41 คู่มือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 1 การเรยี นร้สู งิ่ ต่าง ๆ รอบตัว

จาแนก

ความเหมือน ความแตกต่าง
จานวน สี รปู รา่ ง ประเภท เหมือนกัน

แตกต่างกนั

หมายเหตุ: เมอื่ ใชเ้ กณฑเ์ หมอื นกนั อาจพบว่าผลการจาแนกของนกั เรียนอาจแตกตา่ งกนั ซึ่งขึ้นอย่กู ับ

ความละเอยี ดในการจาแนก เช่น ใช้สเี ป็นเกณฑ์ นักเรยี นอาจแยกจานวนสไี ดแ้ ตกตา่ งกัน

เกณฑ์
เกณฑ์ เปลี่ยนไป

คาถามของนกั เรยี นที่ตั้งตามความอยากรู้ของตนเอง

⎯ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ฉบับปรุง เดอื นกรกฎาคม 2562

คูม่ อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 1 การเรยี นรสู้ ิง่ ตา่ ง ๆ รอบตวั 42

แนวการประเมินการเรียนรู้

การประเมินการเรียนร้ขู องนกั เรียนทาได้ ดังนี้
1. ประเมินความรู้เดิมจากการอภิปรายในชั้นเรยี น
2. ประเมนิ การเรยี นรู้จากคาตอบของนกั เรียนระหว่างการจดั การเรยี นรู้และจากแบบบันทึกกิจกรรม
3. ประเมินทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 จากการทากจิ กรรมของนักเรยี น

การประเมนิ จากการทากิจกรรมท่ี 1.2 จาแนกประเภทสงิ่ ตา่ ง ๆ ได้อยา่ งไร

ระดับคะแนน 1 คะแนน หมายถึง ควรปรับปรงุ
3 คะแนน หมายถึง ดี 2 คะแนน หมายถงึ พอใช้

รหสั สงิ่ ทปี่ ระเมิน ระดับคะแนน

ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
S1 การสังเกต
S4 การจาแนกประเภท
S8 การลงความเห็นจากข้อมลู
S13 การตีความหมายขอ้ มูลและลงขอ้ สรุป
ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21
C4 การสอื่ สาร
C5 ความรว่ มมือ

รวมคะแนน

ฉบับปรับปรุง เดอื นกรกฎาคม 2562 สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

43 คู่มอื ครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หน่วยที่ 1 การเรยี นรูส้ ่ิงตา่ ง ๆ รอบตัว

ตาราง แสดงการวิเคราะห์ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ตามระดับความสามารถของนกั เรียน

โดยอาจใชเ้ กณฑ์การประเมิน ดงั น้ี

ทักษะกระบวนการ รายการประเมนิ ดี (3) ระดับความสามารถ ควรปรับปรงุ (1)
ทางวิทยาศาสตร์ พอใช้ (2)

S1 การสงั เกต ก า ร บ ร ร ย า ย ส าม า ร ถ ใช้ ป ร ะ ส า ท สามารถใช้ประสาทสัมผัส สามารถใช้ประสาทสัมผัส

ร า ย ล ะ เอี ย ด ข อ ง สัมผัสเก็บรายละเอียด เก็บรายละเอียดของข้อมูล เก็บรายละเอียดของข้อมูล

ข้อมูลลักษณะของสิ่ง ของข้อมูลลักษณะของ ลักษณะของส่ิงต่าง ๆ ใน ลักษณะของสิ่งต่าง ๆ ใน

ตา่ ง ๆ ในบตั รภาพ สิ่งต่าง ๆ ในบัตรภาพได้ บัตรภาพได้ จากการช้ีแนะ บั ต ร ภ า พ ได้ เพี ย งบ า ง

ด้วยตนเอง โดยไม่เพ่ิม ของครูหรือผู้อ่ืน หรือมีการ ลักษณะ แม้ว่าจะได้รับคา

ความคดิ เห็น เพ่ิมเติมความคิดเห็น ชี้แนะจากครหู รอื ผอู้ ืน่

S4 การจาแนก การกาห นดเกณ ฑ์ สามารถกาหนดเกณฑ์ สามารถกาหนดเกณฑ์และ สามารถจาแนกประเภทส่ิง
ประเภท
และจาแนกประเภท แล ะจาแน ก ป ระเภ ท จาแนกประเภทสิ่งต่าง ๆ ต่ า ง ๆ ใ น บั ต ร ภ า พ

สง่ิ ต่าง ๆ ในบตั รภาพ สิ่งต่าง ๆ ในบัตรภาพ ในบัตรภาพออกเป็นกลุ่มได้ ออกเป็ น กลุ่ม ได้ แต่ไม่
ออกเป็นกลุ่มได้ถูกต้อง ถูกต้องตามเกณฑ์ที่กาหนด สามารถบอกเกณฑ์ในการ
ออก เป็ น ก ลุ่ม ตาม ตามเกณฑ์ที่กาหนด ได้ ได้ จากการชี้แนะของครู จาแนกได้แม้ว่าจะได้รับคา

เกณฑ์ท่กี าหนด ด้วยตนเอง หรือผอู้ ่ืน ช้แี นะจากครูหรือผู้อืน่

S8 การลงความ การลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็นจาก
เหน็ จากข้อมลู
ข้ อ มู ล ไ ด้ ว่ า ก า ร ข้อมูลได้อย่างถูกต้อง ข้อมูลได้อย่างถูกต้อง จาก ข้อมูลได้ว่าการจาแนก

จาแนกประเภทต้องมี ดว้ ยตนเองว่าการจาแนก การชี้แนะของครูหรือผู้อื่น ประเภทต้องมีการกาหนด

การกาห นดเกณ ฑ์ ป ร ะ เภ ท ต้ อ ง มี ก า ร ว่าการจาแนกประเภทต้อง เกณฑ์ แต่ไม่สามารถบอก

แ ล ะ ถ้ า เ ก ณ ฑ์ กาหนดเกณ ฑ์และถ้า มีการกาหนดเกณฑ์และถ้า ได้ว่าถ้าเกณฑ์เปลี่ยนไปผล

เป ล่ี ย น ไป ผ ล ก า ร เกณฑ์เปล่ียนไปผลการ เกณ ฑ์ เปลี่ยนไปผลการ การจาแนกประเภทก็จะ

จาแนกประเภทก็จะ จาแ น ก ป ระเภ ท ก็ จ ะ จ า แ น ก ป ร ะ เภ ท ก็ จ ะ เปลี่ยนไปแม้ว่าจะได้รับคา

เปลย่ี นไป เปลยี่ นไป เปลยี่ นไป ชแี้ นะจากครหู รือผู้อ่ืน

⎯ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฉบบั ปรุง เดือนกรกฎาคม 2562

คมู่ อื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 1 | หน่วยท่ี 1 การเรยี นรสู้ ่ิงต่าง ๆ รอบตัว 44

ทักษะกระบวนการ รายการประเมิน ดี (3) ระดบั ความสามารถ ควรปรบั ปรงุ (1)
ทางวิทยาศาสตร์ พอใช้ (2)

S13 การตคี วาม ก ารตี ค ว าม ห ม าย สามารถตีความหมาย สามารถตีความหมายข้อมูล ส าม ารถ ตี ค ว าม ห ม าย

หมายขอ้ มลู และลง ข้อมูลจากการสังเกต ข้อมูลจากการสังเกต จากการสังเกต และน า ข้อมูลจากการสังเกต และ

ขอ้ สรุป และนาข้อมูลท่ีได้มา และน าข้อมู ลที่ ได้ ม า ข้อมูลที่ได้มากาหนดเกณฑ์ นาข้อมูลที่ได้มากาหนด

กาหนดเกณฑ์ และ ก า ห น ด เก ณ ฑ์ แ ล ะ และจาแนกประเภทสิ่งต่าง เก ณ ฑ์ แ ล ะ จ า แ น ก

จ า แ น ก ป ร ะ เภ ท จาแนกประเภทส่ิงต่าง ๆ ๆ ตามเกณฑ์ท่ีกาหนดได้ ประเภทสิ่งต่าง ๆ ตาม

ส่ิงต่าง ๆ ตามเกณฑ์ ตามเกณฑ์ที่กาหนดได้ และลงข้อสรุปได้ถูกต้อง เกณฑ์ที่กาหนดได้บางส่วน

ที่กาหนดได้ และลง และลงข้อสรุปได้ถูกต้อง จากการช้ีแนะของครูหรือ แ ล ะ ล ง ข้ อ ส รุ ป ไ ด้ ไ ม่

ข้ อ ส รุ ป ได้ ว่ า ก า ร ดว้ ยตนเองว่าการจาแนก ผู้อ่ืนว่าการจาแนกประเภท สม บู รณ์ ว่าการจาแน ก

จาแนกประเภทต้อง ประเภทต้องพิจารณา ต้องพิจารณาความเหมือน ป ระเภ ท ต้อ งพิ จารณ า

พิ จ า ร ณ า ค ว า ม ความเหมือนหรือความ หรือความแตกต่างของส่ิง ความเหมือนหรือความ

เห มื อ น ห รือ ค ว าม แตกต่างของส่ิงต่าง ๆ ต่าง ๆ เพ่ือกาหนดเกณฑ์ใน แตกต่างของสิ่งต่าง ๆ เพื่อ

แตกต่างของสิ่งต่าง ๆ เพ่ือกาหนดเกณฑ์ในการ การจาแนกประเภท ซ่ึงผล ก า ห น ด เก ณ ฑ์ ใน ก า ร

เพื่อกาหนดเกณฑ์ใน จาแนกประเภท ซ่ึงผล จากการจาแนกประเภท จาแนกประเภท ซึ่งผลจาก

การจาแนกประเภท จากการจาแนกประเภท ขึ้นอยกู่ บั เกณฑท์ ี่กาหนด การจาแนกประเภทข้ึนอยู่

ซ่ึงผลจากการจาแนก ขน้ึ อยู่กบั เกณฑ์ท่ีกาหนด กับเกณฑ์ที่กาหนดแม้ว่า

ประเภ ท ข้ึน อยู่กับ จะได้รับคาชี้แนะจากครู

เกณฑ์ทีก่ าหนด หรือผอู้ น่ื

ฉบบั ปรับปรงุ เดือนกรกฎาคม 2562 สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

45 ค่มู ือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 1 | หน่วยท่ี 1 การเรยี นรสู้ งิ่ ต่าง ๆ รอบตวั

ตาราง แสดงการวเิ คราะห์ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ตามระดับความสามารถของนกั เรียน
โดยอาจใช้เกณฑก์ ารประเมิน ดงั นี้

ทกั ษะแห่ง รายการประเมิน ดี (3) ระดบั ความสามารถ ควรปรับปรุง (1)
ศตวรรษท่ี 21 พอใช้ (2)
C4 การส่ือสาร
การนาเสนอข้อมลู สามารถนาเสนอข้อมลู สามารถนาเสนอขอ้ มูลจาก สามารถนาเสนอข้อมูล
C5 ความรว่ ม
มือ จากการจาแนก จากการจาแนกประเภท การจาแนกประเภทใหผ้ ู้อืน่ จากการจาแนกประเภท

ประเภทให้ผอู้ ื่น ให้ผู้อน่ื เขา้ ใจได้อยา่ ง เข้าใจได้อย่างถกู ต้อง และ ให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่าง

เขา้ ใจ ถูกต้อง และรวดเร็วด้วย รวดเร็ว จากการช้ีแนะของครู ถู ก ต้ อ ง แ ต่ ต้ อ ง ใ ช้

ตนเอง หรือผู้อน่ื เวลานาน โดยต้องอาศัย

คาชแ้ี นะจากครหู รือผอู้ นื่

การทางานร่วมกับ สามารถทางานร่วมกับ สามารถทางานร่วมกับผู้อ่ืนใน สามารถทางานร่วมกับ

ผู้อ่ืนในการสังเกต ผู้อื่นในการสังเกต และ การสังเกต และการแสดง ผู้อ่ืนในการสังเกต และ

และการแสดงความ การแสดงความคิดเห็น ความ คิด เห็ น เพื่ อ ก าห น ด การแสดงความคิดเห็น

คิดเห็นเพื่อกาหนด เพ่ือกาหนดเกณฑ์ในการ เกณฑ์ในการจาแนกประเภท เพื่อกาหนดเกณฑ์ในการ

เกณฑ์ในการจาแนก จาแนกประเภทสิ่งต่าง ๆ สงิ่ ต่าง ๆ ในบัตรภาพออกเป็น จาแนกประเภทสิ่งต่าง ๆ

ประเภทส่ิงต่าง ๆ ในบัตรภาพออกเป็นกลุ่ม กลุ่ม รวมท้ังยอมรับฟังความ ในบัตรภาพออกเป็นกลุ่ม

ใ น บั ต ร ภ า พ รวมท้ังยอมรับฟังความ คิดเห็นของผู้อ่ืนบางช่วงเวลา ได้ในบางช่วงของการทา

อ อ ก เ ป็ น ก ลุ่ ม คิดเห็น ของผู้อ่ืน ต้ังแต่ ท่ที ากิจกรรม กิจกรรม แต่ไม่ค่อยสนใจ

รวมทั้งยอมรับฟัง เรม่ิ ตน้ จนสาเรจ็ ความคดิ เห็นของผอู้ นื่

ค ว า ม คิ ด เห็ น ข อ ง

ผู้อนื่

⎯ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฉบับปรงุ เดือนกรกฎาคม 2562

คูม่ อื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 1 การเรียนร้สู ่ิงต่าง ๆ รอบตวั 46

เรื่องท่ี 2 การสืบเสาะหาความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์

ใน เรื่ อ ง น้ี นั ก เรี ย น จ ะ ได้ เรี ย น รู้ เก่ี ย ว กั บ
การรวบรวมข้อมูล ซ่ึงเป็นส่วนหน่ึงของการสืบเสาะหา
ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เพื่อหาคาตอบที่สงสัย หรือ
แก้ปัญหาท่ีเกิดข้ึน โดยเราสามารถสืบค้นและรวบรวม
ข้อมูลทีเ่ ก่ียวข้องด้วยวิธีการตา่ ง ๆ จากแหล่งขอ้ มลู หลาย
แหล่งทีเ่ ช่ือถอื ได้

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ สอ่ื การเรียนรู้และแหลง่ เรียนรู้

รวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ ในการตอบคาถามผ่าน 1. หนงั สอื เรยี น ป. 2 เลม่ 1 หนา้ 10-16
กระบวนการสืบเสาะหาความร้ทู างวทิ ยาศาสตร์ 2. แบบบันทึกกิจกรรม ป.2 เล่ม 1 หน้า 16-23

เวลา 4 ชวั่ โมง

วัสดุ อุปกรณ์สาหรบั ทากจิ กรรม

กระดาษ แวน่ ขยาย ดินสอ สไี ม้

ฉบับปรบั ปรงุ เดือนกรกฎาคม 2562 สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

47 คู่มอื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 1 | หน่วยท่ี 1 การเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ รอบตวั

แนวการจัดการเรียนรู้ (60 นาที)

ข้ันตรวจสอบความรู้ (10 นาที)

1. ครูตรวจสอบความรู้เดิมเก่ียวกับกระบวนการแก้ปัญหา และการหา ใน ก าร ต ร ว จ ส อ บ ค ว า ม รู้
คาตอบในสง่ิ ทสี่ งสัย ดว้ ยกระบวนการสืบเสาะความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ท่ี ครูเพียงรับฟังเหตุผลของนักเรียน
ได้เรียนรู้มาแล้วในชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โดยชักชวนนักเรียนพูดคุย และยังไม่เฉลยคาตอบใด ๆ แต่
เก่ียวกับปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดข้ึนในชีวิตประจาวันและวิธีการแก้ปัญหา ชักชวนให้นักเรยี นไปหาคาตอบด้วย
ต่าง ๆ แบบง่าย ๆ จากประสบการณ์ที่นักเรียนได้พบโดยตรง เช่น ตนเองจากการอ่านเนอื้ เรอื่ ง
ดินสอหายไป เราจะมีวิธีการสืบเสาะตามหาให้พบไดอ้ ย่างไร

2. ครูเช่ือมโยงความรู้เดิมของนักเรียนสู่การเรียนเร่ืองการสืบเสาะหา
ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ โดยใช้คาถามว่า ถ้าเราต้องการหาคาตอบใน
เรอื่ งใดเรื่องหนง่ึ เราควรมวี ิธกี าร หรือตอ้ งทาอยา่ งไรบ้าง

ขน้ั ฝึกทกั ษะจากการอา่ น (40 นาท)ี

3. นักเรียนอ่าน ชื่อเรื่อง และคาถามใน คิดก่อนอ่าน ในหนังสือเรียน ข้อเสนอแนะเพ่มิ เติม
หนา้ 10 แลว้ ร่วมกนั อภิปรายในกล่มุ เพ่อื หาแนวคาตอบตามความเขา้ ใจ
ของกลุ่ม ครูบันทึกคาตอบของนักเรียนบนกระดานเพ่ือใช้เปรียบเทียบ ค รู ส า ม า ร ถ ห า ผั ก ค ะ น้ า
คาตอบภายหลังการอ่านเน้อื เรอ่ื ง ห รื อ ผั ก ต า ม ท้ อ ง ถิ่ น เช่ น
ผั ก ก าด ข าว ก ะ ห ล่ าป ลี ท่ี
4. นักเรียนอ่านคาสาคัญ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (หากนักเรียน นักเรียนรู้จัก โดยอาจจะหาผักท่ี
อ่านไม่ได้ ครูควรสอนอ่านให้ถูกต้อง) จากนั้นครูชักชวนให้นักเรียน มี ห น อ น เจ าะ แ ล้ ว ช่ ว ย กั น
อธบิ ายความหมายของคาสาคญั จากเนือ้ เรือ่ งท่จี ะอ่าน อภิ ป รายกับ เราส าม ารถว่า
รับประทานผักเหล่าน้ีได้หรือไม่
5. นักเรียนอ่านเน้ือเร่ืองในหนังสือเรียนหน้า 10-11 โดยครูฝึกทักษะการ อย่างไร
อ่านตามวิธีการอ่านท่ีเหมาะสมกับความสามารถของนักเรียน ครูใช้
คาถามเพ่ือตรวจสอบความเข้าใจในการอา่ น โดยใช้คาถามดงั น้ี
ย่อหน้าที่ 1
5.1 โดยท่ัวไปแล้ว ใบคะน้าท่ีนักเรียนเคยเห็นมีลักษณะอย่างไร
(นักเรียนตอบตามประสบการณ์เดมิ เชน่ มีสีเขียว ใบมขี นาดใหญ่)
5.2 จากภาพในหนังสือเรียนใบคะน้ามีลักษณะอย่างไร (นักเรียนตอบ
ตามลักษณะทสี่ งั เกตได้ เชน่ คะนา้ มลี าตน้ มีใบสเี ขยี วและมีรูทใี่ บ)
5.3 ข้าวตูเลือกคะน้า โดยใช้ข้อมูลใดบ้างในการตัดสินใจ (สังเกตด้วย
ตนเอง สอบถามคนขาย สอบถามแม)่

⎯ สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฉบบั ปรุง เดอื นกรกฎาคม 2562

คมู่ ือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หน่วยที่ 1 การเรียนรสู้ ิง่ ตา่ ง ๆ รอบตวั 48

ย่อหนา้ ที่ 2 นั ก เ รี ย น อ า จ ไ ม่ ส า ม า ร ถ ต อ บ
5.4 ใน เรื่องน้ี มีการรวบรวมข้อมูลเพื่ อใช้ในการตอบ คาถาม คาถามหรืออภิปรายได้ตามแนว
คาตอบ ครูควรให้เวลานักเรียนคิด
ที่อยากรู้ อย่างไรบ้าง (มีการรวบรวมข้อมูลจากหลายแหล่ง เช่น อย่างเหมาะสม รอคอยอย่างอดทน
สังเกตด้วยตนเอง สอบถามจากผู้รู้ เปรียบเทียบกับความรู้เดิมของ แ ล ะ รั บ ฟั งแ น ว ค ว าม คิ ด ข อ ง
ตนเอง) นักเรียน
5.5 คาตอบที่ได้จากการหาข้อมูลในเรื่องนี้คืออะไร และสาคัญอย่างไร
(ใบคะน้ามีรูเพราะหนอนเจาะกิน แต่เราสามารถนาไปประกอบ
อาหารได้ หากล้างให้สะอาด เพราะปลอดจากสารกาจัดศัตรพู ชื )
ขนั้ สรปุ จากการอ่าน (10 นาท)ี

6. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพ่ือให้ได้ข้อสรุปว่า การหาข้อมูลและ
ก า ร ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ล เป็ น ส่ ว น ห น่ึ ง ข อ ง ก า ร สื บ เส า ะ ห า ค ว า ม รู้ ท า ง
วิทยาศาสตร์เพื่อหาคาตอบของส่ิงที่สงสัย หรือแก้ปัญหาที่เกิดข้ึน โดย
เราสามารถสืบค้นและรวบรวมข้อมูลท่ีเก่ียวข้องโดยใช้หลายวิธีจาก
แหล่งข้อมลู หลาย ๆ แหลง่ เชน่ การสงั เกต การสอบถาม

7. นักเรียนตอบคาถามจากเรื่องท่ีอ่านใน รู้หรือยัง ในแบบบันทึกกิจกรรม
หนา้ 16

8. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อเปรียบเทียบคาตอบของนักเรียนในรู้
หรือยัง กับคาตอบที่เคยตอบใน คิดก่อนอ่าน ซ่ึงครูบันทึกไว้บนกระดาน
จากนั้นให้นักเรียนฝึกเขียนคาว่า การรวบรวมข้อมูล ในเขียนเป็นใน
แบบบนั ทกึ กิจกรรมหนา้ 16

9. ครูชักชวนนักเรียนลองตอบคาถามท้ายเร่ืองท่ีอ่านว่านอกจากการ
สังเกตและสอบถามจากผู้รู้แล้ว เราสามารถรวบรวมข้อมูลได้ด้วยวิธีใด
อกี บ้าง ครูบันทึกคาตอบของนักเรยี นบนกระดานโดยยังไมเ่ ฉลยคาตอบ
แตช่ ักชวนใหน้ ักเรยี นหาคาตอบจากการทากจิ กรรม

ฉบบั ปรบั ปรุง เดอื นกรกฎาคม 2562 สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

⎯

49 คู่มือครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 1 | หน่วยท่ี 1 การเรียนรู้สง่ิ ตา่ ง ๆ รอบตวั

แนวคาตอบในแบบบนั ทกึ กิจกรรม

สังเกตด้วยตนเอง สอบถามผู้รู้ แล้วรวบรวมข้อมูลเพื่อวิเคราะห์หา
คาตอบ ซึง่ เปน็ ส่วนหนึง่ ของการสบื เสาะหาความรทู้ างวิทยาศาสตร์

การรวบรวมข้อมูล
การรวบรวมขอ้ มูล

⎯ สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ฉบบั ปรุง เดือนกรกฎาคม 2562

คู่มือครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 1 | หนว่ ยที่ 1 การเรียนรูส้ งิ่ ตา่ ง ๆ รอบตัว 50

กจิ กรรมที่ 2 รวมรวมข้อมลู เพอ่ื หาคาตอบไดอ้ ย่างไร

กิจกรรมนี้นักเรียนจะได้รวบรวมข้อมูล เพ่ือหา
คาตอบของส่ิงที่สงสยั หรอื แก้ปัญหาทีเ่ กิดขึ้น โดยระบุและ
ใชว้ ิธกี ารรวบรวมข้อมูลท่ีเกย่ี วข้องซง่ึ ใช้วิธีการหลายวธิ จี าก
แหล่งข้อมูลต่าง ๆ เช่น การสังเกต การสอบถาม การ
สืบค้นขอ้ มูล

เวลา 3 ช่วั โมง

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้

รวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ ในการตอบคาถามผา่ น
กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์

วัสดุ อุปกรณ์สาหรับทากจิ กรรม

สงิ่ ท่คี รูตอ้ งเตรยี ม/กลุ่ม

แวน่ ขยาย 1 อนั

ส่งิ ท่คี รตู อ้ งเตรยี ม/คน ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21

กระดาษ A4 1 แผ่น C2 การคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ
C3 การแกป้ ัญหา
สิง่ ทนี่ ักเรยี นต้องเตรียม/กลมุ่ C4 การส่ือสาร
C5 ความร่วมมอื
สีไม้ 1 ชุด C6 การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร

ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ส่อื การเรียนร้แู ละแหลง่ เรียนรู้

S1 การสงั เกต 1. หนงั สือเรียน ป.2 เล่ม 1 หนา้ 12-15
S8 การลงความเห็นจากข้อมูล 2. แบบบันทกึ กจิ กรรม ป.2 เล่ม 1 หน้า 17-22
S13 การตีความหมายข้อมูลและลงขอ้ สรุป

ฉบับปรับปรงุ เดือนกรกฎาคม 2562 สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

51 คูม่ ือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 1 | หน่วยที่ 1 การเรยี นร้สู งิ่ ตา่ ง ๆ รอบตวั

แนวการจดั การเรยี นรู้ ในการตรวจสอบความรู้ ครูเพียง
รับฟังเหตุผลของนักเรียนและยังไม่
1. ครูตรวจสอบความรู้เดิมเก่ียวกับกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ทาง เฉลยคาตอบ ใด ๆ แต่ชักชวนให้
วิทยาศาสตร์ โดยครูและนักเรียนร่วมสนทนาเกี่ยวกับการหาคาตอบในสิ่งท่ี นักเรียน ไปหาคาตอบท่ีถูกต้องจาก
สงสัยท่ีนักเรียนเคยพบในชีวิตประจาวนั เช่น สงสัยว่าดอกบัวบานได้เพราะ กิจกรรมต่าง ๆ ในบทเรียนน้ี
เหตุใด และเราจะหาคาตอบได้อย่างไร (นักเรียนสังเกตดอกบัวทุกวัน แล้ว
จดบันทึก สอบถามผู้รู้ ค้นคว้าจากอินเทอร์เน็ ต และอื่น ๆ ตาม
ที่นกั เรียนสามารถทาได้)

2. ครูเช่อื มโยงความรู้เดิมของนักเรียนไปสู่การทากิจกรรมท่ี 2 โดยใช้คาถามว่า
ถ้ามีสถานการณ์อ่ืน ๆ เช่น ถ้ามีของหายแล้วอยากรู้ว่าใครเป็นคนหยิบไป
นักเรียนจะมีวิธีการหาคาตอบในส่ิงที่สงสัยได้อย่างไร (นักเรียนตอบตาม
ความเข้าใจ ครูบันทึกคาตอบของนักเรียนบนกระดาน แล้วชักชวนให้ไปหา
คาตอบจากการทากจิ กรรมท่ี 2)

3. นักเรียนอ่าน ช่ือกิจกรรม และ ทาเป็นคิดเป็น ร่วมกันอภิปรายเพื่อ
ตรวจสอบความเขา้ ใจจดุ ประสงค์ในการทากจิ กรรม โดยใช้คาถามดังนี้
3.1 กิจกรรมนี้นักเรียนจะได้เรียนเรื่องอะไร (การรวบรวมข้อมูลเพื่อหา
คาตอบ ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์)
3.2 นักเรยี นจะได้เรียนรู้เรือ่ งนี้ด้วยวธิ ีใด (การสังเกต รวบรวมข้อมูลเพ่ือหา
คาตอบ)
3.3 เมื่อเรียนแล้วนักเรียนจะทาอะไรได้ (สามารถหาข้อมูลและรวบรวม
ข้อมูลในแบบต่างๆ เพ่ือตอบคาถามที่สงสัยผ่านกระบวนการ
สืบเสาะหาความร้ทู างวิทยาศาสตร์)

4. นักเรียนบันทึกจุดประสงค์ลงในแบบบันทึกกิจกรรม หน้า 17 และ
อ่าน สิ่งท่ีต้องใช้ ในการทากิจกรรม จากน้ันครูนาวัสดุอุปกรณ์มาแสดงให้
นักเรยี นดทู ลี ะอย่าง

5. นักเรียนอ่าน ทาอย่างไร ข้อ 1-2 โดยครูใช้วธิ ีฝึกทักษะการอ่านท่ีเหมาะสม
กับความสามารถของนักเรียน จากนั้นครูตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับ
ลาดบั ขัน้ ตอนการทากิจกรรม โดยใชค้ าถามดังน้ี
5.1 นักเรยี นตอ้ งทาส่งิ ใดเปน็ ลาดับแรก (อา่ นเร่ืองปลาย่างหายไปไหน)
5.2 นักเรียนอ่านเรื่องแล้วต้องทาอะไร (ระบุปัญหาจากเร่ืองที่อ่านและ
บนั ทกึ ผล)

6. เมอื่ นักเรยี นเข้าใจวธิ กี ารทากิจกรรมในทาอยา่ งไร ข้อ 1-2 แลว้ ครใู ห้
นักเรียนเริ่มปฏบิ ัติตามขน้ั ตอน

⎯ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฉบับปรุง เดอื นกรกฎาคม 2562

คูม่ ือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หนว่ ยที่ 1 การเรยี นรู้สิ่งต่าง ๆ รอบตัว 52

7. หลังจากอ่านเนื้อเร่ืองปลาย่างหายไปไหนแล้ว ครูนาอภิปรายโดยใช้คาถาม ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละ
ดังนี้ ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ทนี่ ักเรียนจะได้
7.1 เรือ่ งนเี้ กิดข้ึนที่ไหน (ตลาด)
7.2 เกดิ เหตกุ ารณอ์ ะไรขนึ้ ในตลาด (ปลาย่างของแม่ค้าหายไป) ฝึกจากการทากิจกรรม
7.3 แมค่ า้ รหู้ รอื ไมว่ ่าใครขโมยปลายา่ งไป (แมค่ ้าไมร่ ้)ู S1 สงั เกตลกั ษณะรอยตีนสัตว์ และ
7.4 แม่ค้าให้ข้อมูลอะไรบ้าง (แม่คา้ เห็นบางอยา่ งมหี าง และกระโดดได้)
7.5 นอกจากข้อมูลท่ีแม่ค้าบอก ข้าวตูเห็นอะไรเพ่ิมเติมอีก (เห็นร่องรอย รวบรวมขอ้ มลู รอยตีนสตั ว์จากแหล่ง
บางอยา่ งบนพน้ื ) ต่าง ๆ
7.6 จากเร่อื งท่อี า่ น ปญั หาคอื อะไร (ใครเปน็ คนเอาปลายา่ งของแม่คา้ ไป) S8 ระบุปัญหา การลงความเห็นว่าใคร
เปน็ ผ้ขู โมย
8. นักเรียนอ่าน ทาอย่างไร ต่อใน ข้อ 3-7 จากนั้นครูตรวจสอบความเข้าใจ C2 วิเคราะห์หาผู้ขโมย เปรียบเทียบและ
เกี่ยวกบั ลาดับขน้ั ตอนการทากจิ กรรม โดยใช้คาถามดงั นี้ แลกเปล่ียนคาตอบอยา่ งมเี หตผุ ล
8.1 นักเรยี นตอ้ งทาส่งิ ใดบ้าง (รวบรวมขอ้ มูล และสืบค้นขอ้ มูลเพ่ิมเตมิ ) C3 แกป้ ญั หาจากปัญหาท่รี ะบุ
8.2 นักเรียนรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเร่ืองอะไร (สัตว์ท่ีมีหาง สัตว์ท่ีกระโดด C4 อภิปรายเปรยี บเทียบคาตอบ
ได้ สัตว์ทกี่ ินปลาเปน็ อาหาร และรอ่ งรอยของสตั ว์ท่ปี รากฏในรปู ) C5 รว่ มกนั อภิปราย
8.3 นักเรียนมีวิธีการรวบรวมข้อมูลอย่างไร (คาตอบอาจหลากหลายตาม C6 ใช้เทคโนโลยสี บื ค้นข้อมลู
สถานการณ์ในห้องเรียน เช่น นาสัตว์มาปั๊มรอยตีน เดินตามรอยเท้า
สตั ว์ ซึ่งครูอาจแนะนาว่ามีวิธกี ารท่ีง่ายและสะดวกกว่า เช่น การหารูป ข้อเสนอแนะเพิม่ เติม
รอยตีนสัตว์จากอินเทอร์เน็ตมาเปรียบเทียบกับร่องรอยท่ีปรากฏบน
พื้น และตอ้ งระบขุ ้อมลู และแหลง่ ทม่ี าของข้อมลู ) 1. ครูสามารถหาข้อมูลต่าง ๆ ที่
8.4 เม่ือรวบรวมข้อมูลแล้วนักเรียนต้องทาอะไร (อภิปรายเพื่อหาคาตอบ เก่ี ย ว ข้ อ ง เพิ่ ม เติ ม ได้ เช่ น
พร้อมระบเุ หตผุ ล และบันทกึ ผล) รอยตีนสัตว์แบบต่าง ๆ ลักษณะ
8.5 เมื่อได้คาตอบแล้วนักเรียนต้องทาอะไร (นาเสนอคาตอบ เพ่ือ ที่อยู่อาศัย อาหารท่ีสัตว์แต่ละ
เปรียบเทียบ และลงความเห็นจากคาตอบของเพ่ือนในแต่ละกลุ่มว่า ชนดิ กนิ ภาพสัตว์แบบตา่ ง ๆ
คาตอบของกลุ่มใดนา่ จะถูกต้องที่สดุ พร้อมระบุหลักฐาน)
2. ค รู ค ว ร ชั ก ช ว น นั ก เรี ย น ให้
9. เมอื่ นักเรยี นเขา้ ใจวิธกี ารทากิจกรรมในทาอยา่ งไร ข้อ 3-7 แล้ว ครูให้ อภิปรายเกี่ยวกับหลักฐานหรือ
นักเรยี นลงมือปฏิบตั ิตามข้นั ตอน ขอ้ มลู หลาย ๆ แบบ

10. หลังจากทากิจกรรมแล้ว ครูนาอภิปรายผลการทากิจกรรม โดยใช้คาถาม
ดังน้ี
10.1นักเรียนรวบรวมข้อมูลอะไรได้บ้าง (นักเรียนตอบตามข้อมูลจริง
เช่น ข้อมูลของสัตว์ที่มีหาง กระโดดได้ กินปลาเป็นอาหาร และ
รอ่ งรอยของสัตว์ท่ปี รากฏในรปู )
10.2 นักเรียนใช้วิธีการใดบ้างเพ่ือให้ได้ข้อมูลเหล่าน้ันมา (สังเกต สอบถาม
สืบค้นขอ้ มูลจากแหลง่ ต่าง ๆ)

ฉบับปรบั ปรุง เดอื นกรกฎาคม 2562 สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

53 ค่มู ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หน่วยที่ 1 การเรียนรสู้ ิง่ ต่าง ๆ รอบตวั

10.3 ข้อมูลท่ีรวบรวมได้เพียงพอหรือไม่ท่ีจะนามาลงความเห็นว่าใครขโมย ข้อเสนอแนะเพมิ่ เติม
ปลาย่าง (นักเรียนตอบตามขอ้ มูลจริง)
นักเรียนสามารถสรุปคาตอบ
10.4 คาตอบจากการลงความเห็นของสมาชิกในกลุ่มเหมือนหรือแตกต่าง ได้ ห ล า ก ห ล า ย ไม่ จ า เป็ น ต้ อ ง
จากกล่มุ อืน่ ๆ หรอื ไม่ อย่างไร (นักเรยี นตอบตามขอ้ มูลจรงิ ) เหมอื นกนั โดยครอู าจนาสรปุ ให้
นักเรียนว่า แมว้ ่าเราจะไดข้ ้อมูล
10.5 ถ้าต้องตอบคาถามให้ถูกต้องชัดเจนว่าใครขโมยปลาย่าง ต้องมีข้อมูล ชุดเดียวกัน หรือเหมือนกัน แต่
เพิ่มเติมอะไรอีกหรือไม่ และจะรวบรวมข้อมูลเหล่าน้ันได้อย่างไร คาตอบที่ได้อาจจะไม่เหมือนกัน
(นักเรียนตอบตามข้อมูลจริง เช่น สอบถามข้อมูลเร่ืองเสียง รูปร่าง ซึ่งเป็นเร่ืองปกติที่เราพบเห็นได้
เพิม่ เติมจากคนทีอ่ ยใู่ นเหตกุ ารณ์ ดูภาพจากกลอ้ งวงจรปดิ ) ในชวี ติ ประจาวนั

11. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามในส่ิงที่อยากรู้เพ่ิมเติมเกี่ยวกับการ
รวบรวมข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อนาไปสู่คาตอบท่ีต้องการ จากน้ัน
รว่ มกันอภปิ รายและลงขอ้ สรุปวา่ การรวบรวมข้อมูลเป็นส่วนหนึ่งของการ
สืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์เพื่อหาคาตอบของสิ่งที่สงสัย หรือ
แก้ปัญหาท่ีเกิดข้ึน โดยเราสามารถสืบค้นและรวบรวมข้อมูลที่เก่ียวข้อง
โดยใชห้ ลายวธิ ีจากแหลง่ ขอ้ มูลหลาย ๆ แหลง่ ท่เี ชือ่ ถือได้ (S13)

12. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพ่ือตอบคาถามใน ฉันรู้อะไร โดยครูอาจใช้
คาถามเพิ่มเติมเพ่อื ให้ได้แนวคาตอบทถ่ี ูกต้อง

13. นักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งท่ีได้เรียนรู้ในกิจกรรมนี้ จากน้ันนักเรียนอ่าน
สิ่งท่ีได้เรียนรู้เก่ียวกับการรวบรวมข้อมูลเพ่ือหาคาตอบ และ
เปรียบเทยี บกับข้อสรุปของตนเอง

14. ครกู ระตุน้ ให้นกั เรยี นฝึกตัง้ คาถามเกี่ยวกับเรือ่ งที่สงสัยหรืออยากรเู้ พิม่ เติม
ใน อยากรู้อีกว่า ครูอาจสุ่มนักเรียน 2-3 คน นาเสนอคาถามของตนเอง
หน้าชนั้ เรียน จากนนั้ รว่ มกันอภิปรายเก่ียวกบั คาถามท่ีเพือ่ นนาเสนอ

15. ครูนาอภิปรายเพื่อให้นักเรียนทบทวนว่าได้ฝึกทักษะกระบวนการทาง
วทิ ยาศาสตร์และทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 อะไรบ้างและในข้ันตอนใดบ้าง
แลว้ บนั ทึกลงในหนงั สือเรียน หนา้ 15

16. นักเรียนร่วมทากิจกรรม ชวนคิด ในหนังสือเรียน หน้า 15 และอภิปราย
ร่วมกันเก่ียวกับการนาความรู้ในการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
โดยเฉพาะการเก็บรวบรวมข้อมูล ประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ เช่น
การหาบุคคลท่ตี อ้ งการหรือที่เรยี กวา่ พิสูจนอ์ ตั ลกั ษณบ์ ุคคล

17. นักเรียนร่วมกันอ่านรู้อะไรในเร่ืองน้ี ในหนังสือเรียน หน้า 16 ครูนา
อภิปรายเพ่ือนาไปสู่ข้อสรุปเก่ียวกับสิ่งท่ีได้เรียนรู้ในเรื่องนี้ จากนั้นครู
กระตุ้นให้นักเรียนตอบคาถามในช่วงท้ายของเน้ือเรื่อง ซ่ึงเป็นคาถามเพื่อ
เช่ือมโยงไปสู่การเรียนเนื้อหาในบทถัดไป ดังน้ี “ถ้าเราสงสัยและอยากรู้

⎯ สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ฉบบั ปรุง เดือนกรกฎาคม 2562

คูม่ ือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หน่วยที่ 1 การเรยี นรู้ส่งิ ตา่ ง ๆ รอบตวั 54

คาตอบว่าวสั ดุรอบตวั เรามีสมบัติอะไรและมีประโยชน์อยา่ งไรบ้าง เราจะมี การเตรียมตวั ลว่ งหน้าสาหรบั ครู
วธิ ีในการรวบรวมข้อมลู เพ่ือหาคาตอบน้ไี ด้อย่างไรบ้าง” นักเรียนสามารถ เพอ่ื จัดการเรียนรใู้ นครงั้ ถดั ไป
ตอบตามความเข้าใจของตนเอง โดยจะหาคาตอบได้จากการเรียนในเรื่อง
ต่อไป ในคร้ังถัดไป นักเรียนจะได้เรียน
หน่วยที่ 2 บทที่ 1 สมบัติการดูดซับน้า
ของวัสดุและการใช้ประโยชน์จากวัสดุ
โดยครูเตรียมตัวอย่างวัตถุต่าง ๆ เช่น
ตุ๊กตาผ้า ช้อนพลาสติก แก้วน้า หนังสือ
ลูกบอลยาง สาหรับใช้ในการทบทวน
ความรพู้ ื้นฐานเกีย่ วกับวสั ดแุ ละวตั ถุ

ฉบับปรับปรงุ เดอื นกรกฎาคม 2562 สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

55 คมู่ อื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หน่วยที่ 1 การเรยี นรสู้ ่ิงต่าง ๆ รอบตวั

แนวคาตอบในแบบบันทึกกจิ กรรม

ตอบคาถาม รวบรวมข้อมลู
สืบเสาะ

ใครขโมยปลาย่าง

รอยตีนสัตว์ เพราะรอยตนี ของสัตวแ์ ต่ละชนิดจะมีลักษณะเฉพาะทาให้
เราสามารถนามาใช้ระบุชนิดของส่ิงมีชีวิตท่ีอยู่ในบริเวณที่ปลาย่าง
หายไป

ประเภทของอาหารท่ีกิน เพราะจากข้อมูลสัตว์ท่ีเอาปลาย่างไปน่าจะ
เป็นสัตว์ทกี่ นิ เน้อื เพราะปลาย่างเป็นเนอ้ื ปลา

ลกั ษณะต่าง ๆ ของร่างกาย เช่น แม่ค้าเห็นว่ามีหางยาว นอกจากนี้ยัง
มีข้อสังเกตเก่ียวกับลักษณะการเคลื่อนท่ีของสิ่งมีชีวิตน้ันด้วย เช่น
กระโดดสงู

⎯ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ฉบบั ปรงุ เดอื นกรกฎาคม 2562

คู่มือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หน่วยที่ 1 การเรียนรู้สง่ิ ตา่ ง ๆ รอบตวั 56

ส่ิงที่นักเรียนสืบค้นได้จริง เช่น รอย อ้างอิงจากประสบการณ์เดิม
ตีนสัตว์ มีลักษณะคล้ายกับสิ่งมีชีวิต ของนักเรยี น
หลายชนิด
รอยตนี สัตวใ์ นภาพ เช่น นก แมว การสบื ค้นจากหนงั สอื
สนุ ัข

สัตว์ทีก่ นิ เนอ้ื เป็นอาหาร สอบถามจากเพอื่ น

ตอบตามข้อสรุปของกลุม่ ตนเอง เชน่ สนุ ัข นก หรอื แมว
ตอบตามขอ้ สรุปของตนเอง เชน่ สุนัข เพราะกนิ เนื้อ กระโดดได้ และมีหางยาว

ฉบับปรบั ปรุง เดอื นกรกฎาคม 2562 สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

57 คูม่ ือครูรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 1 | หน่วยที่ 1 การเรียนร้สู ่ิงตา่ ง ๆ รอบตัว

ตอบตามผลจากการทากจิ กรรม อาจจะเหมอื นหรือแตกต่างกันก็ได้ แต่ควร
ให้เหตุผล เช่น กลุ่มตนเองตอบแมว โดยให้เหตผุ ลว่า แมวชอบกินปลาย่าง
ส่วนกลมุ่ เพ่ือนตอบสนุ ัข โดยใหเ้ หตผุ ลว่า สุนขั กระโดดไดส้ งู และหางยาว
ตอบตามผลจากการทากิจกรรม อาจจะเหมือนหรอื แตกต่างกันก็ได้ แต่ควร
ให้เหตุผล เช่น กลุ่มตนเองตอบแมว โดยให้เหตผุ ลว่า แมวชอบกินปลาย่าง
สว่ นกลมุ่ เพอื่ นตอบสุนขั โดยใหเ้ หตผุ ลว่า สุนขั กระโดดไดส้ งู และหางยาว

คาตอบอาจแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับหลักฐานที่นามา
สนบั สนนุ ซึง่ นกั เรยี นคิดว่าน่าจะถูกต้องที่สุด

⎯ สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฉบบั ปรุง เดือนกรกฎาคม 2562

คมู่ อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 1 | หนว่ ยที่ 1 การเรียนร้สู ิ่งต่าง ๆ รอบตัว 58

ขอ้ มลู

✓✓
✓ ตอบตามความคิดของนกั เรียน

เหมือน/แตกตา่ ง ขอ้ มลู
เหมอื น/แตกต่าง
เหมอื น/แตกต่าง
ข้อมูล

ฉบบั ปรบั ปรงุ เดอื นกรกฎาคม 2562 สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

59 คูม่ อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 1 การเรียนรู้ส่งิ ตา่ ง ๆ รอบตัว

✓✓





การสังเกตภ าพ ใน หนังสือเรียน การสืบค้น ข้อมูลเพ่ิมเติม
การสอบถามครูและผู้รู้ รวมทง้ั การพดู คยุ กบั เพ่อื นเพอ่ื ลงข้อสรุป

หาคาตอบ
สืบเสาะหาความรู้

⎯ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ฉบบั ปรงุ เดือนกรกฎาคม 2562

คู่มือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 1 | หนว่ ยที่ 1 การเรียนรูส้ ่งิ ต่าง ๆ รอบตวั 60

คาตอบ
ข้อมลู

แหลง่ ข้อมูล

สอ่ื สาร

คาถามของนกั เรียนท่ตี ้ังตามความอยากร้ขู องตนเอง

ฉบบั ปรับปรงุ เดอื นกรกฎาคม 2562 สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

61 คู่มือครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 1 การเรยี นรูส้ ิ่งต่าง ๆ รอบตวั

นักเรียนตอบตามความคิดของตนเอง ครูควรเน้นให้เห็นว่าบุคคลแต่ละคนมี
ความแตกต่าง มีลักษณะท่ีจาเพาะ ที่เราสามารถสังเกตได้หลายจุด เช่น
ใบหน้า ดวงตา หรือแม้กระท่ังนิ้วมือ มนุษย์มลี ายนว้ิ มอื ท่ีเปน็ เอกลักษณ์ของ
แตล่ ะบุคคล ดังนัน้ เราจงึ นามาจาแนกความแตกต่างของแต่ละบคุ คลได้

⎯ สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฉบับปรงุ เดอื นกรกฎาคม 2562

คูม่ ือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 1 | หน่วยที่ 1 การเรยี นรสู้ ่งิ ตา่ ง ๆ รอบตัว 62

แนวการประเมินการเรียนรู้

การประเมนิ การเรยี นรู้ของนกั เรยี นทาได้ ดังน้ี
1. ประเมินความรู้เดิมจากการอภปิ รายในชัน้ เรยี น
2. ประเมินการเรียนรจู้ ากคาตอบของนกั เรยี นระหวา่ งการจัดการเรียนรแู้ ละจากแบบบันทึกกจิ กรรม
3. ประเมินทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 จากการทากจิ กรรมของนกั เรยี น

การประเมนิ จากการทากจิ กรรมท่ี 2 รวบรวมข้อมลู เพอื่ หาคาตอบไดอ้ ย่างไร

ระดับคะแนน 1 คะแนน หมายถึง ควรปรับปรงุ
3 คะแนน หมายถึง ดี 2 คะแนน หมายถึง พอใช้

รหัส ส่งิ ท่ปี ระเมนิ ระดับคะแนน

ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
S1 การสงั เกต
S8 การลงความเห็นจากขอ้ มูล
S13 การตีความหมายขอ้ มูลและลงขอ้ สรปุ
ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21
C2 การคิดอยา่ งมวี ิจารณญาณ
C3 การแกป้ ัญหา
C4 การส่อื สาร
C5 ความรว่ มมอื
C6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร

รวมคะแนน

ฉบบั ปรบั ปรงุ เดอื นกรกฎาคม 2562 สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

63 คมู่ ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 1 | หน่วยท่ี 1 การเรียนร้สู ่ิงต่าง ๆ รอบตัว

ตาราง แสดงการวิเคราะหท์ ักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ตามระดับความสามารถของนกั เรียน

โดยอาจใช้เกณฑก์ ารประเมิน ดังนี้

ทักษะกระบวนการ รายการประเมนิ ระดับความสามารถ
ทางวิทยาศาสตร์
ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรับปรงุ (1)

S1 การสงั เกต ก า ร บ ร ร ย า ย สามารถใช้ประสาทสัมผัส สามารถใช้ประสาทสัมผัส สามารถใช้ประสาท

ร า ย ล ะ เอี ย ด ข อ ง เก็บรายละเอียดของข้อมูลที่ เก็บรายละเอียดของข้อมูล สัมผสั เก็บรายละเอียด

ข้อมูลที่รวบรวมได้ใน ใช้ในการห าคาตอบ ของ ท่ีใช้ในการหาคาตอบของ ของข้อมูลท่ีใช้ในการ

กจิ กรรม ปั ญ ห า ใ น กิ จ ก ร ร ม ไ ด้ ปั ญ ห า ใน กิ จ ก ร ร ม ได้ หาคาตอบของปัญหา

หลากหลายวิธีด้วยตนเอง หลากหลายวิธี จากการ ในกิจกรรมเพียงวิธี

โดยไม่เพ่ิมความคดิ เหน็ ชแี้ นะของครูหรือผอู้ ื่น หรือ เดี ย ว แ ม้ ว่ า จ ะ ได้

มกี ารเพม่ิ เติมความคดิ เห็น รับคาชี้แนะจากครู

หรอื ผู้อ่นื

S8 การลงความ การลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็น

เหน็ จากข้อมูล ข้อมูลว่าส่ิงมีชีวิตท่ี ขอ้ มลู ได้วา่ ส่งิ มีชีวติ ที่นาปลา ข้อมูลได้ว่าสิ่งมีชีวิตท่ีนา จ า ก ข้ อ มู ล ไ ด้ ว่ า

น า ป ล า ย่ างไป คื อ ย่างไปคืออะไร โดยใช้ข้อมูล ปลาย่างไปคืออะไร โดย ส่ิงมีชีวิตที่นาปลาย่าง

อะไร โดยใช้เหตุผล ที่ได้จากการรวบรวมโดย ใช้ ข้ อ มู ล ที่ ได้ จ าก ก าร ไปคืออะไร แต่ไม่ได้ใช้

และข้อมูลท่ีได้จาก วิธีการต่าง ๆ และบอกเหตุ รวบรวมโดยวิธีการต่าง ๆ ข้อมูลและไม่สามารถ

การรวบรวม ผลได้ด้วยตนเอง และบอกเหตุผลได้ จาก บอกเหตุผลได้แม้ว่า

การชี้แนะของครหู รอื ผ้อู ่ืน จะได้รับคาช้ีแนะจาก

ครหู รือผู้อนื่

S13 การตีความ ก ารตี ค ว าม ห ม าย สามารถตีความหมายข้อมูล สามารถตีความห มาย สามารถตีความหมาย

หมายข้อมลู และลง ข้อมูลที่ได้จากการ ที่ได้จากการรวบรวมโดยวิธี ข้ อ มู ล ท่ี ไ ด้ จ า ก ก า ร ข้อมูล ท่ีได้จากการ

ข้อสรปุ รวบรวมโดยวิธีต่าง ๆ ต่ า ง ๆ แ ล ะ อ ภิ ป ร า ย รวบ รวมโดยวิธีต่าง ๆ รวบรวมโดยวิธีต่าง ๆ

แ ล ะ อ ภิ ป ร า ย เปรียบเทียบกับผู้อื่น และ และอภิปรายเปรียบเทียบ และนามาลงข้อสรุป

เปรียบเทียบกับผู้อ่ืน นามาลงข้อสรุปและบอกเหตุ กับผู้อ่ืน และนามาล ง ผลได้ว่าสิ่งมีชีวิตท่ีนา

และนามาลงข้อสรุป ผลได้ว่าส่ิงมีชีวิตท่ีนาปลา ข้อสรปุ และบอกเหตุผลได้ ปลาย่างไปคืออะไร

และบอกเหตุผลได้ว่า ยา่ งไปคอื อะไรได้ดว้ ยตนเอง ว่าสิ่งมีชีวิตที่นาปลาย่าง แ ต่ ไ ม่ มี ก า ร

สิง่ มีชวี ิตท่ีนาปลาย่าง ไปคืออะไรจากการช้ีแนะ เปรียบเทียบกับกลุ่ม

ไปคอื อะไร ของครหู รือผู้อื่น อ่ืน ๆ และไม่สามารถ

บอกเหตุผลได้ แม้ว่า

จะได้รับคาชี้แนะจาก

ครูหรือผูอ้ นื่

⎯ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ฉบับปรุง เดือนกรกฎาคม 2562


Click to View FlipBook Version