The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือวิทย์ป.2 เล่ม1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jakkapan.wa, 2022-05-10 03:25:37

คู่มือวิทย์ป.2 เล่ม1

คู่มือวิทย์ป.2 เล่ม1

คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 2 วสั ดแุ ละการใช้ประโยชน์ 114

แนวคาตอบในแบบบันทกึ กิจกรรม

กระดาษเหลือใช้ กาว

กระดาษจะแขง็ จนสามารถทาเป็นรูปทรงต่าง ๆ ได้

ฉบบั ปรบั ปรุง เดือนกรกฎาคม 2562 สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

115 คู่มือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 2 วสั ดุและการใช้ประโยชน์

กิจกรรมท่ี 2 สมบตั ิของวสั ดกุ อ่ น
และหลงั ผสมกนั เป็นอย่างไร

กิจกรรมนีนักเรียนจะได้สังเกตลักษณะของกระดาษ
เหลือใช้และกาวก่อนนามาผสมกัน จากนันจึงนากระดาษ
เหลือใช้มาฉีก แช่นา ผสมกับกาว เพื่อทาเปเปอร์มาเช่หรือ
กระดาษอัดกาว แล้วเปรียบเทียบลักษณะของเปเปอร์มาเช่
ทไ่ี ดก้ บั วัสดุก่อนผสม

เวลา 3 ชว่ั โมง

จุดประสงค์การเรียนรู้

สงั เกตและเปรียบเทียบสมบตั ิของวัสดุก่อนและ
หลงั ผสมกัน

ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ส่อื การเรียนรู้และแหล่งเรียนรู้ หน้า 32-34
หนา้ 45-48
S1 การสงั เกต 1. หนังสอื เรียน ป.2 เล่ม 1
S8 การลงความเหน็ จากข้อมูล 2. แบบบันทึกกิจกรรม ป.2 เล่ม 1
S13 การตีความหมายข้อมลู และลงขอ้ สรุป

ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21

C4 การสือ่ สาร
C5 ความรว่ มมือ

 สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฉบับปรบั ปรงุ เดอื นกรกฎาคม 2562

คู่มอื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หนว่ ยที่ 2 วัสดแุ ละการใช้ประโยชน์ 116

แนวการจดั การเรียนรู้ ในการทบทวนความรู้พืนฐาน
คุณครูควรให้เวลานักเรียนคิดอย่าง
1. ครตู รวจสอบความรเู้ ดมิ เกยี่ วกบั สมบตั ิของวสั ดทุ ี่ไดจ้ ากการนาวัสดุมา เ ห ม า ะ ส ม ร อ ค อ ย อ ย่ า ง อ ด ท น
ผสมกัน โดยครูนากระดาษเหลอื ใช้ที่แชน่ าไวป้ ระมาณ 1 คืนและบีบ นักเรียนต้องตอบคาถามเหล่านีได้
นาออกจากกระดาษจนหมาด มาให้นักเรียนสังเกตและร่วมกัน ถูกต้อง หากตอบไม่ได้หรือลืมครูต้อง
อภปิ รายโดยใช้คาถามดังตอ่ ไปนี ใหค้ วามรูท้ ่ถี ูกตอ้ งทันที
- ถ้านากระดาษเหลือใช้ที่แช่นามาแล้ว 1 คืนมาผสมกับกาว
จะเกิดการเปล่ียนแปลงหรือไม่ อย่างไร (นักเรียนตอบตาม ข้อเสนอแนะเพม่ิ เติม
ความเขา้ ใจของตนเอง) นากระดาษที่แชน่ า 1 ชวั่ โมงขึนจากนา โดย
บีบนาออกให้หมาด เพื่อให้สามารถผสมกับ
2. ครูเชื่อมโยงความรู้เดิมของนักเรียนเข้าสู่กิจกรรมที่ 2 โดยอธิบาย กาวไดไ้ มเ่ หลวจนเกินไป
เพ่ิมเติมว่าวัตถุบางอย่างทามาจากวัสดุชนิดเดียว แต่วัตถุบางอย่าง
อาจทามาจากวัสดุหลายชนิด นักเรียนคิดว่าเม่ือนาวัสดุหลายชนิด
ผสมกันจะทาให้สมบัติของวสั ดหุ ลังผสมกันเปน็ อยา่ งไร

3. นกั เรยี นอา่ นชอ่ื กิจกรรม และ ทาเป็นคิดเปน็ จากนันนักเรียนและครู
ร่วมกันอภิปรายเพ่ือตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับจุดประสงค์ในการ
ทากิจกรรม โดยครใู ชค้ าถาม ดังนี
3.1 กิจกรรมนีนักเรียนจะได้เรียนรู้เร่ืองอะไร (สมบัติของวัสดุก่อน
และหลังผสม)
3.2 นักเรียนจะได้เรียนรู้เรื่องนีด้วยวิธีใด (การสังเกตสมบัติของ
วัสดกุ ่อนผสมและหลงั ผสม)
3.3 เม่ือเรียนแล้วนักเรียนจะทาอะไรได้ (เปรียบเทียบสมบัติบาง
ประการของวัสดกุ อ่ นและหลังผสม)

4. นักเรยี นบนั ทกึ จดุ ประสงคล์ งในแบบบนั ทึกกิจกรรม หนา้ 45
5. นักเรียนอ่านสิ่งที่ต้องใช้ในการทากิจกรรม ถ้านักเรียนไม่รู้จักวัสดุ

อุปกรณ์บางอย่าง เช่น กาวลาเทกซ์หรือกาวแป้งเปียก ครูควรนาส่ิง
นนั มาแสดงใหด้ ู ครคู วรทบทวนวิธีใชอ้ ปุ กรณ์ เชน่ หลอดหยด
6. นักเรียนอ่านทาอย่างไรทีละข้อ โดยครูใช้วิธีฝึกทักษะการอ่านที่
เหมาะสมกับความสามารถของนักเรียน จากนันครูตรวจสอบความ
เข้าใจและขันตอนการทากิจกรรม โดยให้นักเรียนดูแบบบันทึก
กิจกรรมควบคู่ไปด้วยจนนักเรียนเข้าใจลาดับการทากิจกรรม ครูใช้
คาถามเพ่ือตรวจสอบความเข้าใจของนักเรยี นดังนี
6.1 เริ่มทากิจกรรมอย่างไร (สังเกตลักษณะของกระดาษและกาว

บันทึกผลในแบบบันทึกหน้า 45 นักเรียนนากระดาษมาฉีก
เป็นชินเล็ก ๆ เพื่อสังเกตความยากง่ายในการฉีกและการดูด
ซับนาของกระดาษ บันทึกผลในแบบบันทึกหน้า 45 จากนัน
นากระดาษทฉ่ี ีกไปแชน่ าไวป้ ระมาณ 1 ช่ัวโมง)
6.2 ต้องทาอย่างไรต่อ (นากระดาษที่แช่นาแล้วมาผสมกับกาว และ
ทาเป็นแผ่นบนจานกระเบือง และคาดคะเนความยากงา่ ยในการ
ฉีกและการดูดซับนาของกระดาษหลังอัดกาว จากนันทา

ฉบบั ปรับปรุง เดอื นกรกฎาคม 2562 สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

117 คูม่ ือครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 2 วสั ดุและการใช้ประโยชน์

กิจกรรมเพ่ือตรวจสอบการคาดคะเน บันทึกผลในแบบบันทึก ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละ
หน้า 46 เปรียบเทียบสมบัติของกระดาษก่อนและหลังอัดกาว ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ทีน่ กั เรยี นจะได้
และนาเสนอ)
6.3 การทดสอบสมบัติการดูดซับนาของกระดาษก่อนอัดกาวและ ฝกึ จากการทากิจกรรม
กระดาษอัดกาวควรควบคุมอะไรให้เหมือนกัน (กระดาษทัง 2
ชนิดตอ้ งมีขนาดและความหนาเท่ากนั หรอื ใกล้เคียงกนั ) S1 การสังเกตสมบัตขิ องวสั ดุกอ่ นผสมและ
6.4 ถา้ ตอ้ งการทราบสมบตั กิ ารดูดซับนาของกระดาษทัง 2 ชนิดทา หลงั ผสม
ไดอ้ ย่างไร (หยดนาลงบนกระดาษทัง 2 ชนดิ แลว้ สงั เกต)
6.5 นักเรียนต้องหยดนาลงบนกระดาษทัง 2 ชนิดอย่างไร (ค่อย ๆ S8 การลงความเหน็ จากข้อมูลว่าสมบัตขิ อง
หยดนาสใี ห้มีขนาดหยดหรือปรมิ าณนาสที อี่ อกมาเท่า ๆ กนั ) วัสดกุ อ่ นผสมแตกตา่ งจากหลงั ผสม
6.6 การหยดนาลงบนกระดาษทัง 2 ชนิด ควรหยดจานวนกี่หยด
(จานวนหยดของนาขึนอยู่กับการตกลงกันของสมาชิกในกลุ่มซึ่ง S13 การตคี วามหมายข้อมูลและลง
จานวนหยดนาท่ีหยดลงบนกระดาษทัง 2 ชนิดอาจเท่ากันทัง 2 ข้อสรปุ เกย่ี วกับสมบัติของวสั ดุกอ่ น
ชนิด หรือนักเรียนอาจหยดนาลงบนกระดาษทัง 2 ชนิด ผสมและวสั ดหุ ลังผสม
จนกระทั่งสงั เกตเหน็ การเปลย่ี นแปลงทเี่ กิดขึนหลงั จากหยดนา)
7. เมื่อนักเรยี นเข้าใจวิธกี ารทากิจกรรมในทาอยา่ งไรแลว้ ครูแจกวัสดุ C4 การสอ่ื สารใหผ้ ู้อ่นื เข้าใจเก่ียวกบั
อปุ กรณ์ และใหน้ ักเรยี นเร่ิมปฏิบตั ิกิจกรรมตามขนั ตอน ดงั ตอ่ ไปนี สมบตั ิของวสั ดกุ ่อนผสมและหลงั ผสม
7.1 สังเกตลักษณะของกระดาษและกาว
7.2 ช่วยกันฉีกกระดาษเป็นชินเล็ก ๆ โดยสังเกตความยากง่ายในการ C5 ความรว่ มมือในการตรวจสอบสมบตั ิ
ฉกี กระดาษ บนั ทึกผล จากนันหยดนาลงบนกระดาษ สงั เกตการ ของวสั ดุ ก่อนผสมและหลงั ผสม
ดูดซับนาของวัสดุก่อนผสม บันทึกผล ครูควรมีชุดปฐมพยาบาล
เบืองตน้ ในกรณีท่ีนกั เรยี นเกดิ บาดแผลจากการฉีกกระดาษ นักเรียนอาจไม่สามารถตอบคาถาม
7.3 นากระดาษท่ีฉีกเป็นชินเล็ก ๆ แช่นาประมาณ 1 ช่ัวโมง หรืออาจ หรอื อภิปรายได้ตามแนวคาตอบ ครูควรให้
มอบหมายให้นักเรียนทาในช่วงเช้าก่อนเข้าเรียน และคาดคะเน เวลานักเรียนคิดอย่างเหมาะสม รอคอย
ว่าสมบัติของกระดาษก่อนและหลังอัดกาวเหมือนหรือแตกต่างกัน อย่างอดทน และรับฟังแนวความคิดของ
อย่างไร นักเรยี น
7.4 จากนันนากระดาษท่ีแช่นาแล้วมาบีบให้หมาดแล้วผสมกับกาว
และแผ่เป็นแผ่นบนจานกระเบือง วางไว้ให้แห้ง แล้วคาดคะเน
ความยากงา่ ยในการฉกี และการดูดซบั นาของกระดาษหลังอดั กาว
7.5 นากระดาษผสมกาวท่ีแห้งแล้ว มาแบ่งคร่ึงเพื่อทดสอบความยาก
งา่ ยในการฉกี และการดูดซบั นา บันทกึ ผล
7.6 เปรียบเทียบสมบัติของกระดาษท่ีผสมกาวกับกระดาษท่ียังไม่ได้
ผสมกาว
8. หลังจากทากิจกรรมแล้ว ครูนาอภิปรายผลการทากิจกรรม โดยใช้
คาถามดงั ต่อไปนี
8.1 กระดาษก่อนและหลังอัดกาวมีสมบัติเหมือนหรือแตกต่างกัน
อย่างไร (แตกต่างกัน กระดาษก่อนอัดกาว ฉีกได้ง่ายและดูดซับ
นาได้ ส่วนกระดาษหลังอดั กาว ฉกี ได้ยากและไมด่ ูดซับนา)

 สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฉบบั ปรบั ปรุง เดอื นกรกฎาคม 2562

คู่มอื ครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หน่วยที่ 2 วสั ดุและการใช้ประโยชน์ 118

8.2 เพราะเหตุใดกระดาษหลังอัดกาวจึงมีสมบัติแตกต่างจากกระดาษ การเตรยี มตัวล่วงหน้าสาหรับครู
ก่อนอัดกาว (เพราะมีกาวผสมอยู่ จึงทาให้กระดาษอัดกาวเหนียว เพอ่ื จดั การเรียนรูใ้ นครงั้ ถดั ไป
และไมด่ ดู ซบั นา)
ในครังถัดไป นักเรียนจะได้ทา
8.3 กระดาษอัดกาวทามาจากวสั ดใุ ดบ้าง (กระดาษเหลอื ใช้ กาว นา) เร่ืองที่ 3 การใช้ประโยชน์จากวัสดุ ซึ่ง
8.4 จากกิจกรรมนีนักเรยี นค้นพบอะไรบ้างเกี่ยวกบั สมบตั ิของวัสดุท่ีได้ จะมีเนือหาเก่ียวกับการเลือกใช้วัสดุมา
ทาเป็นวัตถุและการนาวัสดุที่ใช้แล้วมา
จากการนาวสั ดมุ าผสมกัน (จากกจิ กรรมนพี บว่ากระดาษที่ยงั ไม่ได้ ใช้ประโยชน์อีกครัง สิ่งที่ครูต้องเตรียม
ผสมกาวจะฉีกได้ง่ายและดูดซับนาได้ดี ส่วนกระดาษท่ีผสมกาว มีดังนี
หรือวัสดุที่ผสมกันแล้ว ไม่สามารถฉีกได้หรือฉีกได้ยากและไม่ดูด
ซบั นา) 1. กล่องดินสอท่ที ามาจากผ้า
8.5 สรุปกิจกรรมนีได้อย่างไร (วัสดุบางชนิดสามารถนามาผสมกัน 2. ก ล่ อ ง ดิ น ส อ ท่ี ท า ม า จ า ก
แล้วทาให้ได้วัสดุที่ได้หลังผสมมีสมบัติแตกต่างจากสมบัติของวสั ดุ
กอ่ นผสม) พลาสตกิ
9. ครอู าจยกตวั อย่างวสั ดุอืน่ ท่ีนอกเหนอื จากกจิ กรรมทีน่ ักเรียนทา เช่น
แป้งผสมนาตาลและนากะทิใช้ทาขนมไทย ปูนปลาสเตอร์ผสมเยื่อ
กระดาษใช้ทากระปุกออมสิน ปูนซีเมนต์ผสมหิน ทราย และนาใช้
ทาคอนกรีต แป้งมันผสมกับนาทากาวแป้งเปียก แกรไฟต์ผสมกับ
ดนิ ใช้ทาไสด้ นิ สอ เป็นต้น
10. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายและลงข้อสรุปว่าวัสดุตังแต่ 2 ชนิด
เมอ่ื นามาผสมกนั แล้วทาให้ได้วสั ดุใหม่ที่มีสมบัติแตกต่างไปจากสมบัติ
ของวสั ดเุ ดมิ (S13)
11. นักเรียนร่วมกันอภิปรายคาตอบใน ฉันรู้อะไร โดยครูอาจใช้คาถาม
เพมิ่ เติมในการอภปิ รายเพ่ือใหไ้ ด้แนวคาตอบท่ีถกู ต้อง
12. นักเรียนสรุปส่ิงท่ีได้เรียนรู้ในกิจกรรมนี จากนันครูให้นักเรียนอ่าน
สิ่งทีไ่ ด้เรยี นรู้ และเปรียบเทยี บกบั ขอ้ สรปุ ของตนเอง
13. ครูกระตุ้นให้นักเรียนฝึกตังคาถามเกี่ยวกับเร่ืองท่ีสงสัยหรืออยากรู้
เพม่ิ เตมิ ใน อยากรอู้ ีกวา่ จากนันครูอาจสุม่ นักเรียน 2-3 คน นาเสนอ
คาถามของตนเองหน้าชันเรียน และให้นักเรียนร่วมกันอภิปราย
เก่ยี วกบั คาถามทนี่ าเสนอ
14. ครนู าอภปิ รายเพื่อให้นักเรียนทบทวนว่าไดฝ้ ึกทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตรแ์ ละทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 อะไรบา้ งในขนั ตอนใด
15. นักเรียนร่วมกันอ่านรู้อะไรในเรื่องน้ี ในหนังสือเรียน หน้า 35 ครูนา
อภิปรายเพื่อนาไปสู่ข้อสรปุ เกี่ยวกับสิ่งที่ไดเ้ รียนรู้ในเร่ืองนี จากนนั ครู
กระตุ้นให้นักเรียนตอบคาถามในช่วงท้ายของเนอื เรื่อง ซึ่งเป็นคาถาม
เพือ่ เช่ือมโยงไปสกู่ ารเรยี นเนือหาในบทต่อไป ดงั นี “ถา้ มวี สั ดทุ ใ่ี ช้แลว้
จะนากลับมาใช้ได้อีกหรือไม่” นักเรียนสามารถตอบตามความเข้าใจ
ของตนเอง ซง่ึ จะหาคาตอบไดจ้ ากการเรยี นในบทเรยี นตอ่ ไป

ฉบับปรับปรงุ เดอื นกรกฎาคม 2562 สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

119 คมู่ ือครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หนว่ ยที่ 2 วัสดุและการใช้ประโยชน์

แนวคาตอบในแบบบนั ทึกกจิ กรรม

สังเกต เปรยี บเทียบ

ลักษณะที่สงั เกตไดข้ ้ึนอยู่กับกระดาษท่นี กั เรยี นนามาทา
กิจกรรม เชน่ ถ้ากระดาษจากกลอ่ งนมจะมลี กั ษณะเปน็ แผ่นบาง ๆ สีนา้ ตาล
หรือสขี าว

กาวลาเทกซ์ มีสขี าวขุ่น คล้ายน้านมหรือน้ายาง เหนยี ว ๆ หนืด ๆ
ถ้าเป็น กาวแป้งเปยี กจะใส ไมม่ สี ี เหนียว ๆ หนืด ๆ





 สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ฉบบั ปรบั ปรุง เดอื นกรกฎาคม 2562

คู่มอื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 1 | หนว่ ยท่ี 2 วสั ดุและการใชป้ ระโยชน์ 120








หมายเหตุ ผลการสังเกตอาจแตกตา่ งกันขน้ึ อยกู่ บั ความหนาของกระดาษอดั กาวทีน่ กั เรียนทา

ฉบับปรบั ปรุง เดือนกรกฎาคม 2562 สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

121 คมู่ ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 2 วัสดแุ ละการใช้ประโยชน์

ฉกี ไดง้ ่าย แตกต่างกัน
ดูดซับนา้
ฉีกไดย้ าก
ไมด่ ูดซับน้า

ฉกี ได้งา่ ย ดูดซับน้า
เชื่อมตดิ

แตกต่าง

 สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ฉบบั ปรับปรุง เดอื นกรกฎาคม 2562

คู่มือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หนว่ ยที่ 2 วสั ดุและการใช้ประโยชน์ 122

ผสมกนั
แตกตา่ ง
วสั ดุ

ครกู ระตนุ้ ใหน้ กั เรยี นฝกึ ตง้ั คาถามเก่ียวกับเรอ่ื งทีส่ งสัย
หรืออยากรูเ้ พิ่มเติมหรือส่งิ ทีย่ ังไม่เข้าใจจากการทากจิ กรรมในห้องเรยี น

ฉบับปรับปรงุ เดือนกรกฎาคม 2562 สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

123 คู่มือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 1 | หนว่ ยที่ 2 วัสดุและการใช้ประโยชน์

แนวการประเมินการเรียนรู้

การประเมินการเรียนรู้ของนักเรยี นทาได้ ดังนี
1. ประเมนิ ความร้เู ดิมจากกิจกรรมสารวจความรกู้ ่อนเรยี นการอภิปรายในชันเรียน
2. ประเมินการเรียนร้จู ากคาตอบของนกั เรยี นระหวา่ งการจดั การเรียนรู้และจากแบบบันทึกกจิ กรรม
3. ประเมนิ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 จากการทากจิ กรรมของนักเรียน

การประเมินจากการทากิจกรรมท่ี 2 สมบัติของวัสดกุ ่อนและหลังผสมกนั เปน็ อย่างไร

ระดบั คะแนน 1 คะแนน หมายถงึ ควรปรับปรงุ
3 คะแนน หมายถึง ดี 2 คะแนน หมายถึง พอใช้

รหัส ส่ิงทีป่ ระเมิน ระดบั คะแนน

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
S1 การสงั เกต
S8 การลงความเห็นจากขอ้ มูล
S13 การตคี วามหมายข้อมลู และลงขอ้ สรุป
ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21
C4 การส่ือสาร
C5 ความร่วมมือ

 สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฉบับปรบั ปรงุ เดือนกรกฎาคม 2562

คู่มอื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 1 | หนว่ ยท่ี 2 วสั ดุและการใชป้ ระโยชน์ 124

ตาราง แสดงการวเิ คราะห์ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ตามระดบั ความสามารถของนกั เรียน

โดยอาจใช้เกณฑก์ ารประเมิน ดงั นี

ทกั ษะกระบวนการ รายการประเมนิ ดี (3) ระดบั ความสามารถ ควรปรับปรุง (1)
ทางวิทยาศาสตร์ พอใช้ (2)

S1 การสงั เกต ก า ร บ ร ร ย า ย ใช้ประสาทสัมผัสเก็บ ใช้ประสาทสัมผัส เก็บ ใช้ประสาทสัมผัส เก็บ

ร า ย ล ะ เ อี ย ด รายละเอียดข้อมูลและ รายละเอียดข้อมูลและ รายละเอียดข้อมูลและ

เก่ียวกับสมบัติของ บรรยายเกี่ยวกับความ บรรยายเก่ียวกับความ บรรยายเกี่ยวกับความ

วัสดุก่อนและหลัง ยากง่ายในการฉีกและ ยากง่ายในการฉีกและการ ยากง่ายในการฉีกและ

ผสม โดยบรรยาย ก า ร ดู ด ซั บ น า ข อ ง ดูดซับนาของกระดาษ ก า ร ดู ด ซั บ น า ข อ ง

ความยากง่ายใน กระดาษก่อนอัดกาวและ ก่อนอัดกาวและกระดาษ กระดาษก่อนอัดกาวและ

การฉีกและการดูด กระดาษหลังอัดกาวจาก หลังอัดกาวจากการหยด กระดาษหลังอัดกาวจาก

ซับนาของกระดาษ ก า ร ห ย ด น า ล ง บ น น า ล ง บ น ก ร ะ ด า ษ ไ ด้ ก า ร ห ย ด น า ล ง บ น

ก่อนอัดกาว และ กระดาษได้ถูกต้องด้วย ถูกต้องจากการชีแนะของ กระดาษ ไ ด้เ พีย ง บ า ง

กระดาษห ลั ง อั ด ตนเอง โดยไม่เพิ่มเติม ครหู รอื ผู้อนื่ ลักษณะแม้ว่าจะได้รับคา

กาวจากการหยดนา ความคิดเหน็ ชแี นะจากครูหรือผู้อืน่

ลงบนกระดาษ

S8 การลงความเหน็ การลงความเห็น สามารถลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็นจาก

จากข้อมูล จากข้อมูลวา่ วสั ดุ ข้อมลู ไดว้ า่ วสั ดบุ างชนดิ ข้อมลู ได้ว่าวสั ดบุ างชนิด ขอ้ มลู ได้ว่าวสั ดบุ างชนิด

บางชนิดสามารถ สามารถนามาผสมกัน สามารถนามาผสมกันแลว้ สามารถนามาผสมกัน

นามาผสมกนั แลว้ แลว้ ทาให้ได้วสั ดุที่ได้มี ทาใหไ้ ดว้ สั ดุที่ได้มสี มบัติ แลว้ ทาให้ได้วสั ดุท่ีได้มี

ทาใหไ้ ด้วัสดุท่ีได้มี สมบัตแิ ตกตา่ งไปจาก แตกตา่ งไปจากสมบัตขิ อง สมบัติแตกตา่ งไปจาก

สมบตั แิ ตกตา่ งไป สมบัติของวัสดุกอ่ นผสม วัสดุกอ่ นผสมได้ถูกต้อง สมบัติของวัสดุก่อนผสม

จากสมบัติของวสั ดุ ไดถ้ ูกตอ้ งด้วยตนเอง จากการชแี นะของครูหรือ ไดเ้ พยี งบางสว่ น แมว้ า่

กอ่ นผสม ผู้อ่นื จะได้รบั คาชีแนะจากครู

หรอื ผู้อนื่

S13 การตี การตีความหมาย สามารถตีความหมาย สามารถตีความหมาย สามารถตีความหมาย
ความหมายข้อมูล
และลงข้อสรุป ข้ อ มู ล แ ล ะ ล ง ข้อมูลและลงข้อสรุปให้ ข้อมูลและลงข้อสรุปให้ได้ ข้อมูลและลงข้อสรุปให้ได้

ข้อสรุปให้ได้ว่าวัสดุ ไ ด้ ว่ า วั ส ดุ บ า ง ช นิ ด ว่าวัสดุบางชนิดสามารถ ว่าวัสดุบางชนิดสามารถ

บางชนิดสามารถ สามารถนามาผสมกัน นามาผสมกันแล้วทาให้ได้ นามาผสมกันแลว้ ทาให้ได้

นามาผสมกันแล้ว แล้วทาให้ได้วัสดุท่ีได้มี วัสดุท่ีได้มีสมบัติแตกต่าง วัสดุที่ได้มีสมบัติแตกต่าง

ทาให้ได้วัสดุที่ได้มี สมบัติแตกต่างไปจาก ไปจากสมบัติของวัสดุ ไปจากสมบัติของวัสดุ

สมบัติแตกต่างไป สมบัติของวัสดุก่อนผสม ก่อนผสมได้ถูกต้องจาก ก่อนผสมได้เพียงบางส่วน

จากสมบัติของวัสดุ ไดถ้ กู ต้องดว้ ยตนเอง การชีแนะของครหู รือผู้อื่น แม้ว่าจะได้รับคาชีแนะ

กอ่ นผสม จากครูหรอื ผอู้ นื่

ฉบบั ปรบั ปรุง เดือนกรกฎาคม 2562 สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

125 คูม่ ือครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 2 วัสดแุ ละการใช้ประโยชน์

ตาราง แสดงการวเิ คราะห์ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ตามระดับความสามารถของนกั เรยี น
โดยอาจใชเ้ กณฑก์ ารประเมิน ดังนี

ทกั ษะแห่ง รายการประเมนิ ระดับความสามารถ
ศตวรรษท่ี 21
ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรบั ปรงุ (1)
C4 การส่ือสาร สามารถนาเสนอข้อมูล
การนาเสนอขอ้ มูลจาก สามารถนาเสนอขอ้ มลู จาก สามารถนาเสนอข้อมลู จากการสังเกตและ
อภิปรายเกยี่ วกบั สมบัติ
การสังเกตและ การสงั เกตและอภิปราย จากการสังเกตและ ของวสั ดุก่อนและหลัง
ผสม โดยใช้คาพูด
อภปิ รายเก่ยี วกับสมบัติ เก่ียวกบั สมบัตขิ องวสั ดุ อภปิ รายเกยี่ วกับสมบัติ รปู ภาพ หรอื เขยี น
บรรยาย หรอื มกี าร
ของวสั ดุก่อนและหลัง ก่อนและหลังผสม โดยใช้ ของวสั ดกุ ่อนและหลัง ยกตัวอย่าง เพอื่ ให้ผอู้ ่นื
เข้าใจได้เพยี งบางส่วน
ผสม โดยใช้คาพูด คาพดู รปู ภาพ หรือเขยี น ผสม โดยใช้คาพดู แม้ว่าจะไดร้ บั คาชแี นะ
จากครูหรือผู้อื่น
รปู ภาพ หรือเขียน บรรยาย หรอื มีการ รูปภาพ หรอื เขียน

บรรยาย หรือมีการ ยกตวั อยา่ งเพ่อื ให้ผอู้ ่นื บรรยาย หรอื มกี าร

ยกตวั อย่างเพ่ือให้ผู้อืน่ เขา้ ใจได้ดว้ ยตนเอง ยกตัวอยา่ งเพื่อใหผ้ อู้ น่ื

เขา้ ใจ เขา้ ใจได้ โดยอาศัยการ

ชีแนะจากครหู รือผอู้ ่นื

C5 ความรว่ ม การทางานร่วมกบั ผู้อน่ื สามารถทางานร่วมกบั สามารถทางานรว่ มกบั สามารถทางานร่วมกับ
มอื ผู้อน่ื ในการสงั เกต การ ผอู้ ่ืนได้เพียงบางเวลาท่ี
ในการสงั เกต การ ผู้อ่ืนในการสังเกต การ นาเสนอ และการแสดง ทากจิ กรรม ทงั นีตอ้ ง
ความคิดเหน็ เพอ่ื ได้รบั การกระตนุ้ จากครู
นาเสนอ และการแสดง นาเสนอ และการแสดง บรรยายสมบัติของวัสดุ หรอื ผ้อู ่ืน
ก่อนและหลังผสม
ความคิดเห็นเพื่อ ความคดิ เหน็ เพอื่ บรรยาย รวมทงั ยอมรับความ
คิดเห็นของผู้อ่ืน เป็น
บรรยายสมบตั ิของวสั ดุ สมบตั ิของวัสดกุ อ่ นและ บางชว่ งเวลาท่ีทา
กิจกรรม
กอ่ นและหลงั ผสม หลังผสม รวมทงั ยอมรบั

รวมทังยอมรับความ ความคดิ เห็นของผู้อืน่

คดิ เหน็ ของผู้อืน่ ตังแต่เรม่ิ ต้นจนสาเรจ็

 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ฉบบั ปรับปรงุ เดอื นกรกฎาคม 2562

คู่มอื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หนว่ ยที่ 2 วัสดุและการใช้ประโยชน์ 126

เรือ่ งท่ี 3 การใชป้ ระโยชน์จากวสั ดุ

เรอื่ งน้นี ักเรียนจะได้เรยี นรู้เก่ียวกับการใชป้ ระโยชน์จาก
วัสดุ โดยการสังเกตและเปรียบเทียบสมบัติบางประการของ
วัสดุท่ีนามาทาวัตถุเพ่ือใช้งานตามต้องการ นอกจากนี้ยังได้
สารวจวัสดุที่ใช้แล้วและบอกแนวทางการนาวัสดุกลับมาใช้ใหม่
โดยการนาวัสดทุ ่ใี ช้แลว้ มาทาเปน็ ของเลน่ หรือของใช้

จุดประสงค์การเรยี นรู้

1. เปรยี บเทยี บสมบัติบางประการของวสั ดุเพ่ือนามาทา
วัตถุตามความต้องการ

2. สารวจวัสดทุ ี่ใชแ้ ล้วและบอกแนวทางการนาวสั ดุ
กลบั มาใชใ้ หม่

3. ออกแบบและประดิษฐข์ องเล่นหรอื ของใช้จากวสั ดทุ ีใ่ ช้
แล้ว

เวลา 5 ชั่วโมง สื่อการเรยี นรู้และแหลง่ เรียนรู้

วัสดุ อุปกรณ์สาหรบั ทากจิ กรรม 1. หนังสอื เรียน ป.2 เลม่ 1 หน้า 36-49

สง่ิ ของทีใ่ ช้แล้ว กระดาษสี สเี มจกิ สนี า้ จานสี 2. แบบบันทกึ กิจกรรม ป.2 เล่ม 1 หนา้ 49-61
พกู่ ัน กาว กรรไกร ไมบ้ รรทดั

ฉบบั ปรับปรงุ เดือนกรกฎาคม 2562 สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

127 คมู่ อื ครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 1 | หน่วยที่ 2 วสั ดุและการใช้ประโยชน์

แนวการจัดการเรยี นรู้ (60 นาท)ี

ขน้ั ตรวจสอบความรู้ (5 นาที)

1. ตรวจสอบความรู้พื้นฐานเกยี่ วกับการใชป้ ระโยชน์จากวัสดุและ ในการตรวจสอบความรู้ ครูเพียง
การนาวัสดุกลับมาใช้ใหม่ โดยครูนากล่องดินสอที่ทาจากผ้า รับฟังเหตุผลของนักเรียนและยังไม่
และกล่องดินสอที่ทาจากพลาสติกมาให้นักเรียนสังเกต และ เฉลยคาตอบใด ๆ แต่ชักชวนให้
นาอภปิ รายโดยใช้คาถาม ดังนี้ นักเรียนไปหาคาตอบด้วยตนเองจาก
1.1 กล่องดินสอแต่ละช้ินทามาจากวัสดุอะไร (ผ้าและ การอา่ นเนอื้ เรอ่ื ง
พลาสตกิ )
1.2 เพราะเหตุใดกล่องดินสอท้ัง 2 ช้ินน้ีจึงทามาจากวัสดุที่
แตกต่างกัน (นักเรียนตอบตามความคิดเห็นของตนเอง
เช่น กล่องดินสอผ้ายืดได้ทาให้สามารถบรรจุดินสอได้
หลายแท่ง ส่วนกล่องดินสอพลาสติกมีความแข็งป้องกัน
ดินสอไส้แตกหกั ได้)
1.3 กล่องดินสอท้ัง 2 ช้ินนี้ใช้ประโยชน์ได้เหมือนหรือ
แตกต่างกันอย่างไร (นักเรียนตอบตามความคิดเห็นของ
ตนเอง เช่น ใช้ประโยชน์ได้เหมือนกันคือใช้ใส่ดินสอได้
เหมอื นกัน)
1.4 ถ้ากล่องดินสอที่ใช้อยู่เก่าแล้วและไม่สามารถนามาใช้ได้
นกั เรียนจะนาวสั ดุใดบ้างมาทากล่องดนิ สอกล่องใหม่หรือ
อุปกรณ์ใส่เคร่ืองเขียน (นักเรียนตอบตามความคิดเห็น
ของตนเอง เช่น กลอ่ งขนม กลอ่ งคกุ กี้ ถุงผา้ กางเกงเก่า)

2. ครูเช่ือมโยงความรู้พื้นฐานของนักเรียนสู่การเรียนเร่ืองการใช้
ประโยชน์จากวัสดุโดยใช้คาถามว่า นอกจากกล่องดินสอที่
สามารถทามาจากวัสดหุ รอื สิง่ ของท่ใี ช้แล้วไดน้ ้ัน ยังมีวัสดุจาก
ส่งิ ของใดอีกบ้างท่ีสามารถนามาใช้ใหม่ได้ และเพราะเหตุใดจึง
เลอื กใชว้ สั ดุน้ัน ๆ ครชู ักชวนนกั เรยี นหาคาตอบจากการอ่าน
เรื่องการใชป้ ระโยชน์จากวัสดุ

ขั้นฝึกทกั ษะจากการอ่าน (40 นาที)

3. นกั เรยี นอ่านช่อื เรื่องและคดิ ก่อนอา่ น ในหนงั สือเรยี นหน้า 36
แล้วร่วมกันอภิปรายในกลุม่ เพอ่ื หาแนวคาตอบตามความเข้าใจ
ของกลุ่ม ครูสุ่มนักเรียนเสนอคาตอบและบันทึกคาตอบของ
นักเรียนบนกระดานเพื่อใช้เปรียบเทียบคาตอบหลังการอ่าน
เรอื่ ง

4. นักเรียนอ่านคาสาคัญ ท้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (หาก
นักเรียนอ่านไม่ได้ ครูควรสอนอ่านให้ถูกต้อง) จากน้ันครู

 สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ฉบับปรบั ปรุง เดือนกรกฎาคม 2562

คู่มอื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 1 | หนว่ ยที่ 2 วัสดุและการใช้ประโยชน์ 128

ชักชวนให้นักเรียนหาความหมายของคาสาคัญจากเน้ือเรื่องที่ นั ก เ รี ย น อ า จ ไ ม่ ส า ม า ร ถ ต อ บ
จะอา่ น ค า ถ า ม ห รื อ อ ภิ ป ร า ย ไ ด้ ต า ม แ น ว
5. นักเรียนอ่านเน้ือเร่ืองในหนังสือเรียนหน้า 36-37 โดยครูฝึก คาตอบ ครูควรให้เวลานักเรียนคิด
ทักษะการอ่านตามวิธีการอ่านท่ีเหมาะสมกับความสามารถ อย่างเหมาะสม รอคอยอย่างอดทน
ของนักเรียน ครูใช้คาถามเพื่อตรวจสอบความเข้าใจจากการ และรบั ฟงั แนวความคดิ ของนักเรยี น
อา่ น ดังน้ี
ยอ่ หนา้ ท่ี 1 การเตรียมตวั ลว่ งหน้าสาหรบั ครู
5.1 จักรยานคันน้ีทามาจากวัสดุอะไรบ้าง (โลหะและยาง) เพ่อื จดั การเรยี นรใู้ นครงั้ ถัดไป
5.2 ส่วนใดของจักรยานที่ทาจากโลหะ เพราะเหตุใด (ตัว
ในคร้ังถัดไป นักเรียนจะได้ทา
รถจักรยานและซี่ล้อรถ เพราะโลหะเป็นวัสดุที่แข็งแรง กจิ กรรมที่ 3.1 เลือกวัสดุมาใชป้ ระโยชน์ได้
ทนทาน) อย่างไร ซึ่งจะมีการสังเกตรูปวัตถุแต่ละ
5.3 สว่ นใดของจักรยานทที่ ามาจากยางบา้ ง เพราะเหตุใด (ยาง ชนิด แล้วร่วมอภิปรายเหตุผลที่เลือกวัสดุ
ของรถจักรยานและมือจับ เพราะยางช่วยให้รถจักรยาน เพ่ือทาวัตถุแต่ละชนิด ขั้นนาเข้าสู่กิจกรรม
ยดึ เกาะถนนไดด้ ี และสว่ นมือจบั ทาให้จับได้ถนัดมือไม่ลื่น) ครูควรเตรียมรูปภาพหรือวัตถุจริง เพ่ือให้
ย่อหนา้ ท่ี 2 นักเรยี นสงั เกต
5.4 เขาจะช่วยครอบครัวประหยัดได้อย่างไร (ช่วยโดยการนา
วัสดุทีใ่ ชแ้ ล้วกลับมาใชใ้ หม่ให้เกิดประโยชน์) ข้ันสอนครูอาจเตรียมรูปวัตถุต่าง ๆ
5.5 การนาวสั ดมุ าใช้ซ้าทาได้อย่างไร (ทาไดโ้ ดยใช้วัสดุนน้ั มาใช้ และข้อความการเลือกใช้วัสดุ เพื่อให้
ซ้า ๆ จนกว่าจะใช้ไม่ได้ หรือนาวัสดุกลับมาใช้ใหม่ได้โดย นักเรียนจบั คู่วัตถกุ ับการเลอื กใช้วัสดเุ พื่อทา
เปลี่ยนรปู แบบการใช้งาน) วัตถสุ าหรับใชง้ าน
5.6 การใช้ซ้า (Reuse) มีประโยชน์อย่างไร (เป็นการใช้วัสดุ
อยา่ งคมุ้ คา่ ชว่ ยประหยดั และลดปรมิ าณขยะ)

ข้ันสรุปจากการอ่าน (15 นาที)

6. นักเรียนร่วมกันสรุปเร่ืองท่ีอ่านซ่ึงควรสรุปได้ว่าวัตถุชิ้นหน่ึง
อาจประกอบจากวสั ดุหลาย ๆ ชนดิ ซงึ่ วสั ดุแตล่ ะชนดิ มีสมบัติ
ทเ่ี หมาะสมกับการใช้งาน นอกจากการใชป้ ระโยชน์จากวัสดุให้
เหมาะสมแล้ว นักเรียนยังสามารถนาวัสดุท่ีใช้แล้วกลับมาใช้
ใหมใ่ ห้เกดิ ประโยชนแ์ ละคุ้มค่าทีส่ ุด

7. นักเรียนตอบคาถามใน รู้หรือยัง ในแบบบันทึกกิจกรรม
หน้า 49

8. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพ่ือเปรียบเทียบคาตอบของ
นักเรียนในรู้หรือยังกับคาตอบที่เคยตอบและบันทึกไว้ในคิด
ก่อนอ่าน จากานั้นให้นักเรียนฝึกเขียนคาว่า การใช้ซ้า
ในเขียนเป็น ในแบบบันทกึ กจิ กรรมหน้า 49

9. นกั เรยี นตอบคาถามท้ายเรอื่ งที่อ่าน ดงั น้ี

ฉบบั ปรบั ปรงุ เดือนกรกฎาคม 2562 สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

129 ค่มู ือครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 2 วสั ดแุ ละการใชป้ ระโยชน์

9.1 นักเรียนจะมีวิธีการเลือกวัสดุเพ่ือทาวัตถุสาหรับใช้งาน
ตามตอ้ งการได้อย่างไร

9.2 นักเรียนจะนาวัสดุที่ใช้แล้วมาทาเป็นของเล่นของใช้ใหม่
ได้อย่างไร
ครบู ันทึกคาตอบของนักเรียนบนกระดาน โดยยงั ไม่เฉลย

คาตอบแต่ชักชวนให้นักเรียนหาคาตอบจากการทากิจกรรม
ตอ่ ไป

 สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฉบบั ปรบั ปรุง เดอื นกรกฎาคม 2562

คู่มอื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 1 | หน่วยที่ 2 วัสดแุ ละการใช้ประโยชน์ 130

แนวคาตอบในแบบบันทึกกจิ กรรม

ยาง
ยาง โลหะ

โลหะ


นากางเกงยีนสต์ ัวเกา่ มาทาเปน็ กระเป๋า หรือนาขวดพลาสตกิ ทใี่ ช้แลว้
มาทากระถางต้นไม้หรือกลอ่ งดนิ สอ

การใช้ซา้
การใชซ้ ้า

ฉบบั ปรบั ปรุง เดือนกรกฎาคม 2562 สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

131 คมู่ อื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 2 วัสดแุ ละการใชป้ ระโยชน์

กิจกรรมที่ 3.1 เลอื กวสั ดมุ าใช้
ประโยชน์ได้อย่างไร

กิจกรรมน้ีนักเรียนจะได้เปรียบเทียบสมบัติ
บางประการของวัสดุจากสงิ่ ของท่ีใช้แล้ว เพื่อนามา
ทาวัตถุใช้งานตามความต้องการ

เวลา 2 ชว่ั โมง

จุดประสงค์การเรียนรู้

เปรียบเทียบสมบตั ิบางประการของวสั ดุ
เพื่อนามาทาวัตถตุ ามต้องการ

ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ สอ่ื การเรียนรู้และแหล่งเรียนรู้

S1 การสงั เกต 1. หนงั สือเรยี น ป.2 เล่ม 1 หนา้ 38-40
S8 การลงความเห็นจากข้อมูล 2. แบบบันทึกกิจกรรม ป.2 เลม่ 1 หน้า 50-53
S13 การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรปุ

ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21

C2 การคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ
C4 การสือ่ สาร
C5 ความรว่ มมอื

 สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ฉบบั ปรับปรุง เดอื นกรกฎาคม 2562

คู่มือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 2 วัสดแุ ละการใช้ประโยชน์ 132

แนวการจัดการเรยี นรู้ ในการทบทวนความรู้พ้ืนฐาน
คุณครูควรให้เวลานักเรียนคิดอย่าง
1. ทบทวนความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเลือกวัสดุมาใช้ประโยชน์ เ ห ม า ะ ส ม ร อ ค อ ย อ ย่ า ง อ ด ท น
เพอื่ ใช้งานตามตอ้ งการ โดยครใู ห้นกั เรยี นสังเกตวตั ถุชนิดหนึ่ง นักเรียนต้องตอบคาถามเหล่าน้ีได้
เชน่ แก้วนา้ แปรงลบกระดาน หรอื ปากกาเขยี นกระดาน แล้ว ถูกต้อง หากตอบไม่ได้หรือลืมครูต้อง
ถามคาถามดังน้ี ให้ความรู้ทถ่ี ูกตอ้ งทันที
1.1 วัตถุช้ินนี้ทามาจากวัสดุอะไร (นักเรียนตอบตามความ
เข้าใจ) ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
1.2 เพราะอะไรวัตถุช้ินน้ีจึงทามาจากวัสดุดังกล่าว (นักเรียน และทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 ท่ี
ตอบตามความเข้าใจ)
นกั เรยี นจะไดฝ้ ึกจากการทากิจกรรม
2. ครูใช้คาถามเพื่อเช่ือมโยงความรู้พ้ืนฐานของนักเรียนเข้าสู่
กิจกรรมที่ 3.1 โดยอธิบายเพ่ิมเติมว่าวัตถุบางอย่างทามาจาก S8 การลงความเหน็ จากข้อมูลสมบตั ขิ องวสั ดุ
วัสดุชนิดเดียว แต่วัตถุบางอย่างอาจทามาจากวัสดุหลายชนิด แตล่ ะชนดิ
และเพราะเหตุใดเราจึงเลือกใช้วัสดุมาทาเป็นวัตถุได้แตกต่าง
กนั เรามาเรยี นรู้จากการทากิจกรรม C2 การคดิ อย่างมีวิจารณญาณในการเลือกวสั ดุ
มาทาเปน็ วตั ถตุ ่าง ๆ
3. นักเรียนอ่านชื่อกิจกรรม และ ทาเป็นคิดเป็น ครูและนักเรียน
ร่วมกันอภิปรายเพ่ือตรวจสอบความเข้าใจจุดประสงค์ในการ C4 การสอื่ สารนาเสนอการเลือกวสั ดมุ าทาเปน็
ทากิจกรรม โดยครใู ช้คาถามดงั น้ี วตั ถตุ า่ ง ๆ พร้อมเหตผุ ล
3.1 กิจกรรมน้ีนักเรียนจะได้เรียนรู้เร่ืองอะไร (วิธีการเลือก
วสั ดมุ าใชป้ ระโยชน์ตามตอ้ งการ)
3.2 นักเรียนจะได้เรียนรู้เร่ืองน้ีด้วยวิธีใด (เปรียบเทียบสมบัติ
บางประการของวัสดุ)
3.3 เมือ่ เรียนรู้แลว้ นกั เรยี นจะทาอะไรได้ (เลือกวัสดุเพื่อนามา
ทาวัตถุตามตอ้ งการ)

4. นักเรียนบันทกึ จดุ ประสงค์ลงในแบบบนั ทึกกจิ กรรม หนา้ 50
5. นักเรียนอ่านทาอย่างไรทีละข้อ โดยครูใช้วิธีฝึกอ่านท่ี

เหมาะสมกับความสามารถของนักเรียน จากนั้นครูตรวจสอบ
ความเข้าใจเก่ยี วกบั ขั้นตอนการทากจิ กรรมใหน้ ักเรียน โดยให้
นักเรียนดูวิธีการบันทึกผลการทากิจกรรมในแบบบันทึกควบคู่
ไปด้วย จนนักเรียนเข้าใจลาดับการทากิจกรรม โดยใช้คาถาม
ดังนี้
5.1 นักเรียนเริ่มทากิจกรรมนี้อย่างไร (อภิปรายและระบุ

สมบตั ิของผ้า พลาสติก ไม้ ยาง โลหะ แก้ว กระดาษ
และกระดาษผสมกาว จากตัวอย่างวัสดุที่ครูนามาให้
นักเรียนสังเกต ซ่ึงวัสดุชนิดเดียวกันอาจมีสมบัติต่างกัน
เช่น พลาสติกบางชนิดทึบ บางชนิดขุ่น และพลาสติก
บางชนิดใส และบันทึกผลการสังเกตวัสดุแต่ละชนิดใน
แบบบันทกึ หน้า 50-51)

ฉบบั ปรบั ปรุง เดือนกรกฎาคม 2562 สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

133 คมู่ ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หนว่ ยที่ 2 วสั ดแุ ละการใช้ประโยชน์

5.2 ส่ิงที่นักเรียนต้องทาต่อไปคืออะไร (อ่านสถานการณ์ท่ี วัสดุชนดิ เดยี วกนั ทอ่ี าจมสี มบตั ติ ่างกัน เชน่ พลาสตกิ บาง
กาหนด แล้วร่วมกันอภิปรายเพ่ือเปรียบเทียบสมบัติของ ชนดิ ทึบ พลาสตกิ บางชนดิ ข่นุ และพลาสติกบางชนิดใส ดัง
วัสดุ และเลือกวัสดุเพื่อใช้ทาวัตถุตามความต้องการในแต่ ภาพ
ละสถานการณ์ บันทึกผลในแบบบันทึกหน้า 51-52 และ
นาเสนอ) พลาสติกแบบทึบ พลาสตกิ แบบขนุ่ พลาสตกิ แบบใส

6. ครูตรวจสอบจนแน่ใจว่านักเรียนเข้าใจวิธีทากิจกรรมในทา
อย่างไร แล้ว ครูจึงให้นักเรียนเริ่มปฏิบัติตามข้ันตอนของ
กจิ กรรม

7. ครูนาอภิปรายผลการสังเกตสมบัติของวัสดุประเภทต่าง ๆ และ
การทากจิ กรรม โดยใชค้ าถามดังตอ่ ไปน้ี
7.1 จากวัสดุที่นามาให้สังเกตนั้น วัสดุใดดูดซับน้าได้และ
วัสดุใดไม่ดูดซับน้า (วัสดุท่ีดูดซับน้าได้ ได้แก่ ผ้า
กระดาษ และไม้ ส่วนวัสดุท่ีไม่ดูดซับน้า ได้แก่
พลาสตกิ ยาง โลหะ แก้ว และกระดาษผสมกาว)
7.2 วัสดุใดแข็งและวสั ดใุ ดนุ่ม (วัสดุท่ีแข็ง ได้แก่ พลาสตกิ
ไม้ โลหะ แก้ว กระดาษ กระดาษผสมกาว ส่วนวสั ดุท่ี
นุ่ม ไดแ้ ก่ ผ้าและยาง)
7.3 วัสดุใดเหนียวและวัสดุใดไม่เหนียว (วัสดุที่เหนียว
ได้แก่ ผ้า พลาสติก ยาง ส่วนวัสดุที่ไม่เหนียว ได้แก่
ไม้ โลหะ แก้ว กระดาษ และกระดาษผสมกาว)
7.4 วัสดุใดใส วัสดุใดขุ่นและวัสดุใดทึบ (วัสดุใส ได้แก่
แก้ว พลาสติก วัสดุขุ่น ได้แก่ พลาสติก และวัสดุ
ทึบ ได้แก่ พลาสติก ผ้า ไม้ ยาง โลหะ กระดาษ
และกระดาษผสมกาว)
7.5 วัสดุใดที่ยืดหยุ่นและวัสดุใดที่ไม่ยืดหย่นุ (วัสดุท่ียืดหยุน่
ได้แก่ ยาง วัสดุที่ไม่ยืดหยุ่น ได้แก่ พลาสติก ไม้
โลหะ แก้ว กระดาษ และกระดาษผสมกาว)
7.6 วัสดุแต่ละชนิดมีสมบัติเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
(นกั เรยี นตอบตามความเขา้ ใจของตนเอง เชน่ วัสดุบาง
ชนิดมีสมบัติเหมือนกันและบางชนิดแตกต่างกัน เช่น
ผ้าดูดซับน้าได้เหมือนกับกระดาษและไม้ ซึ่งแตกต่าง
จากพลาสติก ยาง โลหะ แก้ว กระดาษผสมกาวที่ไม่
ดูดซับน้า)
7.7 จากสถานการณ์ท่ีกาหนด ข้าวตูต้องการจะทากล่อง
ดินสอที่แข็งแรง กันน้าได้ ควรจะเลือกใช้วัสดุชนิดใด
เพราะวัสดุน้ันมีสมบัติเป็นอย่างไร (นักเรียนตอบได้
ตามความคิดเห็นของตนเอง เช่น พลาสติก ไม้ โลหะ

 สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฉบับปรับปรงุ เดอื นกรกฎาคม 2562

คู่มอื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 1 | หนว่ ยที่ 2 วสั ดแุ ละการใชป้ ระโยชน์ 134

เน่ืองจากวัสดุเหล่านี้มีความแข็งแรง และแข็งเป็นรอย นั ก เ รี ย น อ า จ ไ ม่ ส า ม า ร ถ ต อ บ
ได้ยาก ไมด่ ูดซับนา้ ) ค า ถ า ม ห รื อ อ ภิ ป ร า ย ไ ด้ ต า ม แ น ว
7.8 พ่อของข้าวตูต้องการทาประตูห้องท่ีแข็งแรงและ คาตอบ ครูควรให้เวลานักเรียนคิด
สามารถมองผ่านประตูได้ ควรจะเลือกใช้วัสดุชนิดใด อย่างเหมาะสม รอคอยอย่างอดทน
เพราะวัสดนุ ้ันมสี มบัตเิ ป็นอย่างไร (นักเรียนตอบได้ตาม และรับฟังแนวความคดิ ของนักเรียน
ความคิดเห็นของตนเองโดยนักเรียนอาจเลือกตอบ เช่น
พลาสติกแบบใสหรือแก้ว เนื่องจากพลาสติกแบบใส
หรือแก้วเป็นวัสดุที่มีความแข็ง และใสทาให้สามารถ
มองผา่ นประตูได้)
7.9 แม่ของข้าวตูต้องการตัดชุดกันเป้ือนสาหรับใช้ในครัว
ควรจะเลือกใช้วัสดุชนิดใด เพราะวัสดุน้ันมีสมบัติเป็น
อย่างไร (นักเรียนตอบได้ตามความคิดเห็นของตนเอง
เช่น ผ้า เพราะผ้ามีสมบัติท่ีดูดซับน้าได้ และนุ่ม
สามารถตัดเป็นชุดกันเปื้อนได้ง่าย เม่ือเปื้อนแล้ว
สามารถซักให้สะอาดได้ หรือพลาสตกิ เพราะพลาสติก
มีสมบัติไม่ดูดซับน้าสามารถป้องกันน้าหรือส่ิงสกปรก
กระเด็นเปื้อนเสื้อผ้า ไม่ทาให้เส้ือผ้าและร่างกายเปียก
เป้อื น)
7.10 คุณยายของข้าวตูต้องการถุงมือสาหรับล้างห้องน้า
ควรจะเลือกใช้วัสดุชนิดใด เพราะวัสดุน้ันมีสมบัติเป็น
อย่างไร (นักเรียนตอบได้ตามความคิดเห็นของตนเอง
เชน่ พลาสติกและยาง เพราะมีสมบตั ิไม่ดูดซับน้าทาให้
ป้องกันมือเปียกน้าและเป้ือนน้ายาล้างห้องน้าซึ่งเป็น
อันตรายกับผิวหนังได้นอกจากน้ันพลาสติกและยางมี
สมบัติ เหนียว ยดื หยนุ่ และนุม่ )
7.11 ข้าวตังต้องการทากระปุกออมสินให้เป็นรูปรถยนต์ด้วย
ตนเอง ควรจะเลือกใช้วัสดุชนิดใด เพราะวัสดุน้ันมี
สมบัติเป็นอย่างไร (ควรจะเลือกใช้กระดาษผสมกับกาว
เพ่ือทาเป็นกระปุกออมสินเปเปอร์มาเช่รูปรถยนต์
เพราะเมื่อนากระดาษและกาวผสมกันแล้วทาให้ได้วัสดุ
ที่สามารถปั้นและขึ้นรูปเป็นกระปุกออมสินรูปทรง
ต่าง ๆ ตามต้องการได)้
7.12 การเลือกใช้วัสดุมาทาวัตถุควรพิจารณาจากส่ิงใดบ้าง
(นักเรียนตอบตามข้อมูลจริงในห้องเรียน เช่น พิจารณา
จากสมบัตขิ องวสั ดชุ นดิ นน้ั )
7.13 จากกิจกรรมน้ีนักเรียนค้นพบอะไรบ้างเก่ียวกับการเลือก
วสั ดมุ าใชป้ ระโยชน์ (การนาวัสดุไปใช้ประโยชน์ควรเลือก
วสั ดุทม่ี สี มบตั ิเหมาะสมในการทาวัตถนุ นั้ ๆ )

ฉบบั ปรับปรงุ เดือนกรกฎาคม 2562 สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

135 ค่มู อื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 1 | หนว่ ยท่ี 2 วัสดุและการใชป้ ระโยชน์

7.14 สรุปกิจกรรมนี้ได้อย่างไร (วัสดุแต่ละชนิดมีสมบัติแตกตา่ ง การเตรยี มตัวล่วงหนา้ สาหรับครู
กัน เราสามารถนาวัสดุมาใช้ประโยชน์ได้แตกต่างกันตาม เพื่อจดั การเรยี นร้ใู นครง้ั ถดั ไป
สมบตั ขิ องวัสดุนั้น)
ในครั้งถัดไป นักเรียนจะได้ทา
8. นักเรียนตอบคาถาม ฉันรู้อะไร ครูนาอภิปรายโดยสุ่มนักเรียน กิจกรรม 3.2 วัสดุท่ีใช้แล้วนากลับมาใช้
ตอบคาถามคนละ 1 ข้อ ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพ่ือ ใหม่ได้อย่างไร ซ่ึงจะมีการนาวัสดุท่ีใช้
ตรวจสอบคาตอบหากคาตอบไม่ถูกต้องให้แก้ไขให้ถูกต้องด้วย แลว้ กลับมาใช้ใหม่ โดยประดิษฐ์ของเล่น
สานวนภาษาของนกั เรยี น หรือของใช้ตามท่ีได้ออกแบบไว้ สิ่งท่ีครู
ต้องเตรยี มมีดังน้ี
9. นักเรียนร่วมกันอภิปรายคาตอบใน ฉันรู้อะไร โดยครูอาจใช้
คาถามเพ่มิ เตมิ ในการอภปิ รายเพื่อใหไ้ ด้แนวคาตอบท่ีถูกตอ้ ง 1. อุปกรณ์ท่ีใช้สาหรับประดิษฐ์
ของเล่นของใช้ เช่น กระดาษสี สีเมจกิ
10. ครูสุ่มตัวแทนนักเรียน 1-2 กลุ่ม ออกมานาเสนอผลการทา สีน้า จานสี พู่กัน กาว กรรไกร ไม้
กิจกรรม โดยครูบันทึกผลบนกระดาน จากน้ันครูซักถาม บรรทดั เป็นตน้
นักเรียนที่เหลือว่าได้คาตอบไปในแนวทางเดียวกันหรือไม่
อย่างไร จากน้ันครูเพ่ิมเติมผลการทากิจกรรมท่ียังไม่ครบถ้วน 2. มอบหมายให้นักเรียนสารวจ
ใหม้ คี วามสมบูรณ์ครบถ้วน สิ่ ง ข อ ง เ ค ร่ื อ ง ใ ช้ ที่ ใ ช้แ ล้ว ท่ี พบใน
ห้องเรียนหรือที่บ้านมาก่อนท่ีจะเรียน
11. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั อภิปรายและลงข้อสรุปวา่ วัสดุแต่ละชนิด กจิ กรรมน้ี ประมาณ 1 สปั ดาห์
มีสมบัติแตกต่างกัน เราสามารถนามาใช้ประโยชน์ได้แตกต่าง
กันตามสมบัติของวัสดุน้ัน ๆ การเลือกใช้วัสดุมาทาเป็นวัตถุจึง 3. ส่ือหรือหนังสือเก่ียวกับการ
ต้องคานึงถึงสมบตั ขิ องวัสดทุ เ่ี หมาะสมกบั การใชง้ าน (S13) ประดิษฐ์ของเล่นของใช้ต่าง ๆ สาหรับ
ใหน้ ักเรียนได้ดูเป็นตวั อยา่ ง
12. ครูอาจนาอภิปรายและให้ข้อมูลเพิ่มเติมว่า การเลือกวัสดุมาใช้
ประโยชน์ นอกจากจะต้องคานึงถงึ สมบตั ิของวัสดทุ ่เี หมาะสมกับ
การใช้งานแล้ว ยังต้องคานึงถึงความคุ้มค่าและความปลอดภัย
ต่อสุขภาพ โดยยกตัวอย่างวัสดุอ่ืนที่นอกเหนือจากกิจกรรมที่
นักเรียนทา เช่น จานหรือกล่องท่ีทาจากพลาสติกสามารถ
นามาใช้บรรจุอาหารได้ แต่อาหารนั้นไม่ควรร้อนจนเกินไป
เพราะอาจทาให้พลาสติกหลอมและอาจมีสารเคมีปนเปื้อน
ออกมาทาอันตรายต่อสุขภาพได้ หรือภาชนะที่ทามาจากแก้ว
หรือกระเบ้ืองท่ีมีความแข็งแต่อาจแตกหักได้ง่ายหากทาหล่น
เศษแก้วหรือเศษกระเบ้ืองจะมีคม ซ่ึงก่อให้เกิดอันตรายต่อ
รา่ งกายได้

13. นักเรียนสรุปส่ิงที่ได้เรียนรู้ในกิจกรรมน้ี จากนั้นนักเรียนอ่าน
สิง่ ท่ไี ดเ้ รยี นรู้ และเปรยี บเทยี บกับข้อสรปุ ของตนเอง

14. ครูกระตุ้นให้นักเรียนฝึกตั้งคาถามเกี่ยวกับเรื่องท่ีสงสัยหรือ
อยากรู้เพิ่มเติมใน อยากรู้อีกว่า จากนั้นครูอาจสุ่มนักเรียน 2-3
คน นาเสนอคาถามของตนเองหน้าช้ันเรียน และให้นักเรียน
ร่วมกนั อภิปรายเก่ียวกับคาถามทน่ี าเสนอ

15. ครูนาอภิปรายเพ่ือให้นักเรียน ทบทวนว่าได้ฝึกทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะแห่งศตวรรษที่ 21
อะไรบ้างและในขั้นตอนใดบ้าง

 สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฉบับปรับปรุง เดือนกรกฎาคม 2562

คมู่ ือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หนว่ ยที่ 2 วสั ดุและการใช้ประโยชน์ 136

แนวคาตอบในแบบบนั ทกึ กจิ กรรม

เปรียบเทยี บ
วัตถุ

 


 


 


 








ฉบบั ปรับปรุง เดอื นกรกฎาคม 2562 สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

137 คมู่ อื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 1 | หน่วยท่ี 2 วัสดุและการใช้ประโยชน์

 
 

 
 

 
 






นกั เรียนอาจเลือกคาตอบได้มากกวา่ 1 คาตอบ เช่น พลาสตกิ ไม้ โลหะ
แข็ง ไมด่ ดู ซับน้า

นักเรยี นอาจเลือกคาตอบได้มากกวา่ 1 คาตอบ เช่น พลาสติกแบบใสหรือแก้ว
แข็ง และใสทาใหส้ ามารถมองผา่ นประตไู ด้

 สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฉบับปรับปรุง เดอื นกรกฎาคม 2562

คู่มอื ครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หน่วยที่ 2 วสั ดุและการใชป้ ระโยชน์ 138

นักเรยี นอาจเลือกคาตอบไดม้ ากกวา่ 1 คาตอบ เชน่ ผา้ หรือพลาสติก

ผา้ ดูดซบั นา้ ได้และนุ่ม เป้ือนแล้วสามารถซักได้ หรอื พลาสติกไมด่ ูดซบั นา้ ปอ้ งกันนา้ หรอื ส่งิ สกปรก
กระเดน็ เปื้อนเสื้อผ้า

นักเรยี นอาจเลือกคาตอบไดม้ ากกว่า 1 คาตอบ เชน่ พลาสติกหรือยาง
พลาสตกิ และยางไม่ดูดซับน้า เหนียว ยืดหยุน่ และนุม่

กระดาษผสมกบั กาว
วัสดทุ สี่ ามารถปั้นและขึ้นรูปเปน็ กระปุกออมสินเปน็ รูปต่าง ๆ ตามตอ้ งการได้

ผ้า ไม้ กระดาษ พลาสติก

ยาง โลหะ แก้ว กระดาษผสมกาว

พลาสตกิ ไม้ โลหะ แก้ว กระดาษ กระดาษผสมกาว

ผ้า ยาง

ผา้ พลาสตกิ ยาง

ไม้ โลหะ แกว้ กระดาษ กระดาษผสมกาว

แกว้ พลาสตกิ พลาสตกิ

พลาสติก ผ้า ไม้ ยาง โลหะ กระดาษ กระดาษผสม

กาว ยาง ผ้า พลาสติก

ไม้ โลหะ แกว้ กระดาษ กระดาษผสมกาว

ฉบบั ปรับปรงุ เดอื นกรกฎาคม 2562 สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

139 คมู่ ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 2 วัสดแุ ละการใช้ประโยชน์

สมบตั ิของวสั ดุ

สมบตั ิ

แตกตา่ งกัน ใช้
สมบัติ
ประโยชน์

คาถามของนักเรียนที่ต้งั ตามความอยากรู้ของตนเอง

 สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ฉบับปรบั ปรุง เดอื นกรกฎาคม 2562

คู่มอื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 1 | หน่วยท่ี 2 วัสดแุ ละการใชป้ ระโยชน์ 140

แนวการประเมินการเรียนรู้

การประเมนิ การเรยี นรขู้ องนกั เรียนทาได้ ดงั นี้
1. ประเมินความรู้เดิมจากกจิ กรรมสารวจความรู้ก่อนเรยี นและการอภิปรายในชน้ั เรียน
2. ประเมนิ การเรยี นรู้ระหว่างเรยี นจากคาตอบของนักเรยี นระหวา่ งการจดั การเรยี นรแู้ ละจากแบบบนั ทกึ กจิ กรรม
3. ประเมนิ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 จากการทากจิ กรรมของนกั เรยี น

การประเมินจากการทากิจกรรมท่ี 3.1 เลือกวสั ดมุ าใช้ประโยชน์ได้อย่างไร

ระดบั คะแนน 1 คะแนน หมายถงึ ควรปรับปรุง
3 คะแนน หมายถงึ ดี 2 คะแนน หมายถึง พอใช้

รหัส ส่ิงทปี่ ระเมนิ ระดบั คะแนน

ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
S1 การสังเกต
S8 การลงความเห็นจากข้อมลู
S13 การตคี วามหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ
ทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21
C2 การคดิ อย่างมีวิจารณญาณ
C4 การสื่อสาร
C5 ความรว่ มมอื

ฉบบั ปรบั ปรุง เดือนกรกฎาคม 2562 สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

141 คูม่ อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 1 | หนว่ ยท่ี 2 วัสดุและการใชป้ ระโยชน์

ตาราง แสดงการวิเคราะห์ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ตามระดบั ความสามารถของนกั เรียน

โดยอาจใชเ้ กณฑก์ ารประเมิน ดังน้ี

ทักษะกระบวนการ รายการประเมิน ดี (3) ระดบั ความสามารถ ควรปรบั ปรงุ (1)
ทางวิทยาศาสตร์ พอใช้ (2)

S1 การสงั เกต ก า ร บ ร ร ย า ย ใช้ประสาทสัมผัสเก็บ ใ ช้ ป ร ะ ส า ท สั ม ผั ส เก็บ ใช้ประสาทสัมผัสเก็บ

รายละเอียดเกี่ยวกับ ข้อมูลจากการสังเกต ข้อมูลจากการสังเกตและ ข้อมูลจากการสังเกต

ส ม บั ติ ข อ ง วั ส ดุ ที่ แ ล ะ บ ร ร ย า ย บรรยายรายละเอียดส่ิงที่ แ ล ะ บ ร ร ย า ย

นามาทาเป็นวัตถุเพื่อ รายละเอียดส่ิงที่สังเกต สังเกต เช่น ผ้าเป็นวัสดุที่ รายละเอียดส่ิงที่สังเกต

ใช้งานตามต้องการ เช่น ผ้าเป็นวัสดุท่ีดูด ดูดซับน้าได้ นุ่ม เหนียว เช่น ผ้าเป็นวัสดุท่ีดูด

โดยบรรยายลักษณะ ซับน้าได้ นุ่ม เหนียว ทบึ ไม่ยืดหยุ่น ไมเ้ ปน็ วัสดุ ซับน้าได้ นุ่ม เหนียว

ของวัสดุแต่ละชนิดท่ี ทึบ ไม่ยืดหยุ่น ไม้เป็น ที่ดูดซับน้าได้ แข็ง ไม่ ทึบ ไม่ยืดหยุ่น ไม้เป็น

สามารถสังเกตได้ วสั ดุท่ดี ูดซบั นา้ ได้ แข็ง เหนียว ทึบ ไม่ยืดหยุ่น วัสดุท่ีดูดซับน้าได้ แข็ง

เช่น ดูดซับน้า ไม่ดูด ไ ม่ เ ห นี ย ว ทึ บ ไ ม่ กระดาษเป็นวัสดุที่ดูดซับ ไ ม่ เ ห นี ย ว ทึ บ ไ ม่

ซั บ น้ า แ ข็ ง นุ่ ม ยืดหยุ่น กระดาษเป็น น้าได้ แข็ง ไม่เหนียว ทึบ ยืดหยุ่น กระดาษเป็น

เหนียว ไม่เหนียว ใส วัสดทุ ี่ดูดซับน้าได้ แขง็ ไม่ยืดหยุ่น พลาสติกเป็น วัสดุที่ดูดซับน้าได้ แข็ง

ขุ่น ทึบ ยืดหยุ่น ไม่ ไ ม่ เ ห นี ย ว ทึ บ ไ ม่ วัสดุท่ีไม่ดูดซับน้า แข็ง ไ ม่ เ ห นี ย ว ทึ บ ไ ม่

ยืดหยุ่น ยืดหยุ่น พลาสติกเป็น บางชนิดใส บางชนิดขุ่น ยืดหยุ่น พลาสติกเป็น

วสั ดุที่ไมด่ ดู ซบั น้า แขง็ บางชนิดทึบ ไม่ยืดหยุ่น วัสดุที่ไม่ดูดซับน้า แข็ง

บางชนิดใส บางชนิด ยางเป็นวัสดุที่ไม่ดูดซับน้า บางชนดิ ใส บางชนดิ ขนุ่

ขุ่น บางชนิดทึบ ไม่ นุ่ม เหนียว ทึบ ไม่ บางชนิดทบึ ไม่ยดื หยุ่น

ยดื หยุ่น ยางเปน็ วัสดทุ ี่ ยืดหยุ่น โลหะเป็นวัสดุท่ี ยางเป็นวัสดุที่ไม่ดูดซับ

ไ ม่ ดู ด ซั บ น้ า นุ่ ม ไม่ดูดซับน้า แข็ง ไม่ น้า นุ่ม เหนียว ทึบ

เหนยี ว ทบึ ไมย่ ดื หยุ่น เหนียว ทึบ ไม่ยืดหยุ่น ไม่ยืดหยุ่น โลหะเป็น

โลหะเป็นวัสดุท่ีไม่ดูด แก้วเป็นวัสดุที่ไม่ดูดซับน้า วัสดุที่ไม่ดูดซับน้า แขง็

ซับน้า แข็ง ไม่เหนียว แข็ง ไม่เหนียว ใส ไม่ ไ ม่ เ ห นี ย ว ทึ บ ไ ม่

ทึบ ไม่ยืดหยุ่น แก้ว ยืดหยุ่น กระดาษผสมกาว ยืดหยุ่น แก้วเป็นวัสดุ

เป็นวัสดุที่ไม่ดูดซับน้า เป็นวัสดุที่ไม่ดูดซับน้า ท่ีไม่ดูดซับน้า แข็ง ไม่

แข็ง ไม่เหนียว ใส ไม่ แข็ง ไม่เหนียว ทึบ และ เหนียว ใส ไม่ยืดหยุ่น

ยืดหยุ่น กระดาษผสม ไม่ยืดหยุ่น ได้จากการ กระดาษผสมกาวเป็น

กาวเป็นวัสดุที่ไม่ดูดซับ ช้แี นะของครหู รือผู้อ่ืน วัสดุท่ีไม่ดูดซับน้า แข็ง

น้า แข็ง ไม่เหนียว ไม่เหนียว ทึบ และไม่

ทึบ และไมย่ ดื หยนุ่ ได้ ยืดหยุ่น ได้เพียงบาง

ด้วยตนเอง โดยไม่ ลักษณะ แม้ว่าจะได้

เพมิ่ เตมิ ความคดิ เหน็ รับคาช้ีแนะจากครูหรือ

ผู้อ่นื

S8 ก า ร ล ง การลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็น สามารถลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็น

ค ว า ม เ ห็ น จ า ก ข้อมูลว่าวัสดุแต่ละ จากข้อมูลได้ถูกต้อง ข้อมูลได้ถูกต้องว่าวัสดุแต่ จากข้อมูลได้ถูกต้อง ว่า

ข้อมูล ชนิดมีสมบัติแตกต่าง ว่าวัสดุแต่ละช นิดมี ละชนิดมีสมบัติแตกต่าง วัสดุแต่ละชนิดมีสมบัติ

 สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ฉบบั ปรบั ปรงุ เดือนกรกฎาคม 2562

ค่มู ือครูรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 1 | หนว่ ยท่ี 2 วัสดุและการใช้ประโยชน์ 142

ทกั ษะกระบวนการ รายการประเมิน ดี (3) ระดบั ความสามารถ ควรปรับปรุง (1)
ทางวิทยาศาสตร์ พอใช้ (2)

กั น จึ ง น า ม า ใ ช้ สมบัติแตกต่างกัน จึง กัน จึงนามาใช้ประโยชน์ แตกต่างกัน จงึ นามาใช้

ประโยชน์ได้แตกต่าง นามาใช้ประโยชน์ได้ ไ ด้ แ ต ก ต่ า ง กั น เ ช่ น ประโยชน์ได้แตกต่าง

กันเช่นพลาสติก ไม้ แ ต ก ต่ า ง กั น เ ช่ น พลาสติก ไม้ โลหะ ใช้ทา กัน เช่น พลาสติก ไม้

โลหะ ใช้ทากล่อง พลาสติก ไม้ โลหะ ใช้ กล่องดินสอได้ พลาสติก โลหะ ใชท้ ากล่องดินสอ

ดินสอได้ พลาสติก ท า ก ล่ อ ง ดิ น ส อ ไ ด้ แบบใสหรือแก้วใช้ทาประ ได้ พลาสติกแบบใส

แบบใสหรือแก้วใช้ทา พลาสติกแบบใสหรือ ตู้ห้องท่ีสามารถมองผ่าน หรือแก้วใช้ทาประตู้

ประตู้ห้องที่สามารถ แก้วใช้ทาประตู้ห้องที่ ประตูได้ ผ้าหรือพลาสติก ห้องท่ีสามารถมองผ่าน

มองผ่านประตูได้ ผ้า สามารถมองผ่านประตู ใ ช้ ท า ชุ ด กั น เ ป้ื อ น ป ร ะ ตู ไ ด้ ผ้ า ห รื อ

หรือพลาสติกใช้ทา ได้ ผ้าหรือพลาสติกใช้ พลาสติกหรือยางใช้ทาถุง พลาสติกใช้ทาชุดกัน

ชุ ด กั น เ ปื้ อ น ท า ชุ ด กั น เ ปื้ อ น มือล้างห้องน้าได้ และ เปื้อน พลาสติกหรือ

พลาสติกหรือยางใช้ พลาสติกหรือยางใช้ทา กระดาษผสมกับกาวใช้ทา ยางใช้ทาถุงมือล้า ง

ทาถุงมือล้างห้องน้า ถุงมือล้างห้องน้าได้ กระปุกออมสินให้มีรูปตาม ห้ อ ง น้ า ไ ด้ แ ล ะ

ได้ และกระดาษผสม และกระดาษผสมกับ ต้องการได้ ซ่ึง การนาวัสดุ กระดาษผสมกับกาวใช้

กับกาวใช้ทากระปุก กาวใช้ทากระปุกออม มาทาเป็นวัตถุเพื่อใช้งาน ทากระปุกออมสินให้มี

ออมสินให้มีรูปตาม สินให้มีรูปตามต้องการ ข้ึนอยู่กับสมบัติของวัสดุ รูปตามต้องการได้ ซ่ึง

ต้องการได้ ซึ่ง การ ได้ ซึ่ง การนาวัสดุมา ทั้งนี้โดยได้รับการชี้แนะ การนาวัสดุมาทาเป็น

นาวัสดุมาทาเป็นวัตถุ ทาเป็นวัตถุเพ่ือใช้งาน จากครูหรอื ผู้อน่ื วัตถุเพื่อใช้งานข้ึนอยู่

เพ่ือใช้งานข้ึนอยู่กับ ขึ้นอยู่กับสมบัติของ กบั สมบัตขิ องวสั ดุ เพยี ง

สมบัตขิ องวสั ดุ วสั ดุ ด้วยตนเอง บ า ง ส่ ว น แ ม้ ว่ า จ ะ ไ ด้

รับคาช้ีแนะจากครูหรือ

ผู้อ่นื

S13 การตี ก า ร ตี ค ว า ม ห ม า ย สามารถตีความหมาย สามารถ ตีคว าม ห ม า ย สามารถตีความหมาย

ความหมายข้อมูล ข้อมูลและลงข้อสรุป ข้อมูลและลงข้อสรุป ข้อมูลและลงข้อสรุปได้ ข้อมูลและลงข้อสรุป

และการลงขอ้ สรปุ เกี่ยวกับสมบัติของ เก่ียวกับสมบัติของวัสดุ ถูกต้องเก่ียวกับสมบัติของ เกี่ยวกับสมบัติของวัสดุ

วัสดุที่นามาทาเป็น ท่ีนามาทาเป็นวัตถุเพื่อ วัสดุที่นามาทาเป็นวัตถุ ท่ีนามาทาเป็นวัตถุเพ่ือ

วัตถุเพ่ือใช้งานตาม ใช้งานตามต้องการได้ เพ่ือใช้งานตามต้องการ ใช้งานตามต้องการ ได้

ตอ้ งการ ถกู ตอ้ งด้วยตนเอง ท้ังน้ีโดยอาศัยการช้ีแนะ เพียงบางส่วนแม้ว่าจะ

จากครหู รอื ผู้อ่นื ได้รับ คาช้ีแนะจากครู

หรอื ผู้อ่ืน

ฉบับปรบั ปรงุ เดอื นกรกฎาคม 2562 สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

143 คู่มอื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 2 วัสดแุ ละการใชป้ ระโยชน์

ตาราง แสดงการวิเคราะหท์ ักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ตามระดบั ความสามารถของนกั เรยี น

โดยอาจใชเ้ กณฑ์การประเมนิ ดังน้ี

ทกั ษะแห่ง รายการประเมนิ ระดับความสามารถ
ศตวรรษที่ 21
ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรับปรงุ (1)

C2 การคดิ การคิดโดยใช้เหตุผลที่ สามารถบอกเหตุผลที่ สามารถบอกเหตุผลท่ี สามารถบอกเหตุผลท่ี
อย่างมี หลากหลายเหมาะสมกับ หลากหลายเหมาะสมกับ หลากหลายเหมาะสม หลากหลายเหมาะสมกับ
วิจารณญาณ สถานการณ์ในการบอก สถานการณ์ในการบอก กับสถานการณ์ในการ สถานการณ์ในการบอก

เหตุผลว่าวัสดุแต่ละชนิด เหตุผลว่าวัสดุแต่ละชนิด บอกเหตุผลว่าวัสดุแต่ เหตุผลว่าวัสดุแต่ละชนิด

น า ม า ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ ไ ด้ นามาใช้ประโยชน์ได้ ล ะ ช นิ ด น า ม า ใ ช้ นามาใช้ประโยชน์ได้

แ ต ก ต่ า ง กั น ข้ึ น อ ยู่ กั บ แตกต่างกันข้ึนอยู่ กับ ประโยชน์ได้แตกต่าง แตกต่างกันขึ้นอยู่กับ

สมบัตขิ องวสั ดุนน้ั สมบัติของวัสดุน้ัน ได้ กันขึ้นอยู่กับสมบัติของ สมบัติของวัสดุน้ัน ได้

ด้วยตนเอง วัสดุน้ันทั้งนี้โดยอาศัย เพียงบางส่วน แม้ว่าจะ

การช้ีแนะจากครูหรือ ได้รับคาช้ีแนะจากครู

ผู้อ่นื หรือผอู้ ื่น

C4 การ การนาเสนอข้อมูลจากการ สามารถนาเสนอข้อมูล สามารถนาเสนอข้อมูล สามารถนาเสนอข้อมูล
สอื่ สาร
สั ง เ ก ต แ ล ะ อ ภิ ป ร า ย จ า ก ก า ร สั ง เ ก ต แ ล ะ จากการสังเกตและ จ า ก ก า ร สั ง เ ก ต แ ล ะ

เ ก่ี ย ว กั บ ส ม บั ติ บ า ง อภิปรายเกี่ยวกับสมบัติ อภิปรายเกย่ี วกบั สมบัติ อภิปรายเก่ียวกับสมบัติ

ประการของวัสดุที่นามา บางประการของวัสดุที่ บางประการของวัสดุที่ บางประการของวัสดุที่

ทาวัตถุเพ่ือใช้งานตาม นามาทาวัตถุเพ่ือใช้งาน นามาทาวัตถุเพื่อใช้ นามาทาวัตถุเพื่อใช้งาน

ต้ อ ง ก า ร โ ด ย เ ขี ย น ตามต้องการโดยเขียน งานตามต้องการ โดย ตามต้องการ โดยเขียน

บรรยาย หรือยกตัวอย่าง บรรยาย หรือยกตวั อย่าง เขียนบรรยาย หรือ บรรยาย หรอื ยกตวั อย่าง

เพือ่ ใหผ้ อู้ น่ื เข้าใจ เพ่ือให้ผู้อื่นเข้าใจได้ด้วย ยกตัวอย่างเพ่ือให้ผู้อื่น เพ่อื ให้ผอู้ น่ื เขา้ ใจได้เพียง

ตนเอง เข้าใจได้ โดยอาศัย บางส่วน แม้ว่าจะได้

การชี้แนะจากครูหรือ รับคาชี้แนะจากครูหรือ

ผู้อ่ืน ผู้อืน่

C5 ความ การทางานร่วมกับผู้อื่นใน สามารถทางานร่วมกับ สามารถทางานร่วมกับ สามารถทางานร่วมกับ
รว่ มมือ การสังเกต การนาเสนอ ผู้อ่ืนในการสังเกต การ ผู้อ่ืนในการสังเกต การ ผู้อื่นได้เพียงบางเวลาที่
แ ล ะ ก า ร แ ส ด ง ค ว า ม นาเสนอ และการแสดง นาเสนอ และการแสดง ทากิจกรรม ท้ังน้ีต้อง
คิดเห็นเพ่ือบรรยายสมบัติ ค ว า ม คิ ด เ ห็ น เ พื่ อ ค ว า ม คิ ด เ ห็ น เ พ่ื อ ได้รับการกระตุ้นจากครู
ของวัสดุท่ีนามาทาวัตถุ บรรยายสมบัติของวัสดุที่ บรรยายสมบัติของวัสดุ หรอื ผอู้ ่ืน
เพื่อใช้งานตามต้องการ นามาทาวัตถุสาหรับใช้ ที่นามาทาวัตถุสาหรับ

งานตามต้องการ รวมท้ัง ใช้งานตามต้องการ

 สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ฉบบั ปรบั ปรุง เดือนกรกฎาคม 2562

ค่มู อื ครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 2 วัสดแุ ละการใชป้ ระโยชน์ 144

ทักษะแห่ง รายการประเมนิ ระดบั ความสามารถ

ศตวรรษที่ 21 ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรับปรงุ (1)

ร ว ม ท้ั ง ย อ ม รั บ ค ว า ม ยอมรับความคิดเห็นของ รวมท้ังยอมรับความ

คิดเห็นของผูอ้ ่นื ผู้อ่ืน ตั้งแต่เร่ิมต้นจน คิดเห็นของผู้อื่น เป็น

สาเรจ็ บ า ง ช่ ว ง เ ว ล า ท่ี ท า

กิจกรรม

ฉบับปรับปรงุ เดือนกรกฎาคม 2562 สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

145 คมู่ ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 2 วสั ดุและการใชป้ ระโยชน์

กจิ กรรมท่ี 3.2 วัสดุที่ใช้แล้ว นา
กลบั มาใชใ้ หมไ่ ด้อย่างไร

กิจกรรมน้ีนักเรียนจะได้สารวจส่ิงของที่ไม่ใช้แล้วแต่
ยังใช้ได้อยู่จากที่บ้านหรือท่ีโรงเรียนเพ่ือนาวัสดุจากสิ่งของ
นนั้ กลับมาใชใ้ หม่ โดยประดิษฐ์เปน็ ของเลน่ หรอื ของใช้ตาม
ต้องการ

เวลา 2 ชวั่ โมง

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้

1. สารวจวสั ดุทใี่ ชแ้ ลว้ และบอกแนวทางการนาวสั ดุ
กลบั มาใชใ้ หม่

2. ออกแบบและประดิษฐข์ องเล่นหรือของใชจ้ ากวัสดุ
ท่ีใช้แลว้

ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

S1 การสงั เกต
S13 การตีความหมายข้อมูลและลงขอ้ สรุป

ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 ส่ือการเรียนรู้และแหล่งเรียนรู้ หน้า 41-45
หนา้ 54-61
C1 การสร้างสรรค์ 1. หนงั สอื เรยี น ป.2 เลม่ 1
C2 การคดิ อย่างมวี ิจารณญาณ 2. แบบบนั ทึกกิจกรรม ป.2 เล่ม 1
C4 การส่ือสาร
C5 ความรว่ มมือ

 สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฉบับปรบั ปรุง เดือนกรกฎาคม 2562

คูม่ อื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 1 | หน่วยท่ี 2 วสั ดุและการใชป้ ระโยชน์ 146

แนวการจัดการเรยี นรู้ ในการทบทวนความรู้พื้นฐาน คุณครู
ควรให้เวลานักเรียนคิดอย่างเหมาะสม
1. ครทู บทวนความรู้พนื้ ฐานเก่ียวกับการนาวัสดทุ ่ีใช้แล้วกลบั มาใช้ใหม่ รอคอยอย่างอดทน นักเรียนต้องตอบ
โดยให้นักเรียนสังเกตวัตถุที่ทามาจากวัสดุที่ใช้แล้ว เช่น กล่อง คาถามเหล่านี้ได้ถูกต้อง หากตอบไม่ได้
ดินสอหรือกระถางต้นไม้ท่ีทามาจากขวดน้าอัดลม (ครูอาจใช้บัตร หรอื ลมื ครตู ้องใหค้ วามรู้ทีถ่ กู ต้องทนั ที
ภาพหรอื ของจริง) จากนนั้ ใหน้ กั เรยี นรว่ มกันอภิปรายโดยใช้คาถาม
ดังนี้ การสารวจส่งิ ของที่ใช้แล้วในห้องเรียนหรอื ท่ี
1.1 นักเรียนคิดว่ากล่องดินสอหรือกระถางต้นไม้น้ี ทามาจากวัสดุ บา้ น ครูอาจมอบหมายให้นักเรยี นสารวจ
อะไรบา้ ง (นักเรียนตอบตามความเขา้ ใจ) กอ่ นทากิจกรรมประมาณ 1 สปั ดาห์
1.2 นักเรียนช่วยกันคิดถึงวัสดุที่ใช้แล้วอื่น ๆ ที่สามารถนากลับมา
ใช้ใหมไ่ ด้ (นกั เรยี นตอบตามความเขา้ ใจ)
1.3 นักเรียนคิดว่าการนาวัสดุท่ีใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่น้ันมี
ประโยชน์หรอื ไม่ อย่างไร (นกั เรียนตอบตามความเข้าใจ)

2. ครูเช่ือมโยงความรู้พื้นฐานของนักเรียนเข้าสู่กิจกรรมท่ี 3.2 โดยใช้
คาถามว่านกั เรยี นเคยสงั เกตขยะท่อี ยู่ในถงั หรือไม่ และนักเรียนเคย
คดิ หรือไมว่ า่ ยังมวี สั ดุทสี่ ามารถนากลับมาใช้ประโยชน์ได้ซง่ึ ถูกท้ิงไป
เป็นจานวนมาก หากไดล้ องสารวจขยะก่อนท้งิ จะทาใหเ้ ราตระหนัก
ถึงประโยชน์ของวัสดตุ ่าง ๆ และนากลับมาใชใ้ ห้คุม้ คา่ มากกว่าเดิม

3. นักเรียนอ่านช่ือกิจกรรม และทาเป็นคิดเป็น โดยร่วมกันอภิปราย
เพ่ือตรวจสอบความเข้าใจจุดประสงค์ในการทากิจกรรม โดยใช้
คาถามดังนี้
3.1 กิจกรรมน้ีนักเรียนจะได้เรียนรู้เรื่องอะไร (การนาวัสดุที่ใช้แล้ว
กลับมาใช้ใหม)่
3.2 นักเรียนจะได้เรียนรู้เรื่องนี้ด้วยวิธีใด (สารวจวัสดุท่ีใช้แล้วท่ี
สามารถนากลับมาใชใ้ หมไ่ ด้)
3.3 เม่อื เรียนรู้แล้วนักเรียนจะทาอะไรได้ (บอกแนวทางการนาวัสดุ
ท่ีใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ ออกแบบและประดิษฐ์ของเล่นหรือ
ของใชจ้ ากวัสดทุ ีใ่ ชแ้ ลว้ )

4. นักเรยี นบันทกึ จดุ ประสงคล์ งในแบบบนั ทึกกจิ กรรม หนา้ 54
5. นักเรยี นอา่ นสิ่งที่ต้องใช้ในการทากิจกรรม ครูอาจนาวัสดุ อุปกรณ์

บางอย่าง เชน่ สนี า้ จานสี พกู่ ัน มาแสดงใหด้ ู หรอื ถ้านักเรียนไม่รู้
วิธีการใช้อุปกรณ์ ครูควรแนะนาและสาธิตวิธีการใช้อุปกรณ์
ประกอบด้วย
6. นักเรียนอ่านทาอย่างไรทีละข้อ โดยครูใช้วิธีฝึกอ่านท่ีเหมาะสมกับ
ความสามารถของนักเรียน จากน้ันครูตรวจสอบความเข้าใจ
เ ก่ี ย ว กั บ ขั้ น ต อ น ก า ร ท า กิ จ ก ร ร ม แ ล ะ ใ ห้ นั ก เ รี ย น ดู แ บ บ บั น ทึ ก
กิจกรรมควบคู่ไปด้วย จนนักเรียนเข้าใจลาดับการทากิจกรรม โดย
ครใู ช้คาถามดงั นี้

ฉบบั ปรบั ปรุง เดอื นกรกฎาคม 2562 สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

147 คมู่ ือครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 2 วสั ดุและการใชป้ ระโยชน์

6.1 นักเรียนเริ่มต้นทากิจกรรมอย่างไร (สารวจสิ่งของท่ีใช้แล้วใน ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละ
ห้องเรียนหรือท่ีบ้าน เพ่ือระบุว่ามีวัสดุใดท่ียังสามารถนามาใช้ ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 ท่ีนกั เรยี นจะได้ฝึก
ซ้าได้และบอกสมบัติของวัสดุน้ัน ๆ บันทึกผลในแบบบันทึก
หนา้ 54) จากการทากิจกรรม
S1 การสงั เกตส่ิงของทใ่ี ชแ้ ล้วและยงั
6.2 เม่ือสารวจสิ่งของใช้แล้วนักเรียนต้องทาอย่างไรต่อไป (เลือก
วัสดุจากส่ิงของน้ัน 1 ชนิด แล้วอภิปรายร่วมกันเพ่ือเสนอ สามารถนากลับมาใช้ประโยชนไ์ ด้
วิธีการนาวัสดุนั้นมาทาของเล่นของใช้ชิ้นใหม่ พร้อมท้ังบอก C1 การสร้างสรรค์ของเล่นหรือของใชจ้ าก
เหตุผลท่ีเลือกวัสดนุ ัน้ มาทาของเล่นของใช้ใหม่ จากน้นั จึงระบุ
ส่ิงที่ต้องการประดิษฐ์ ออกแบบ แล้วประดิษฐ์ของเล่นของใช้ วสั ดุทใี่ ช้แลว้
ตามท่ีได้ออกแบบไว้) C2 การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณในการเลือก

7. เมื่อนักเรยี นเขา้ ใจวธิ กี ารทากิจกรรมในทาอยา่ งไรแลว้ ครแู จก วัสดจุ ากสิง่ ของทใ่ี ชแ้ ลว้ มาทาเป็นของ
วสั ดุอุปกรณ์ และใหน้ กั เรียนเร่มิ ปฏิบัติตามขั้นตอนของกจิ กรรม เลน่ หรือของใชช้ ิ้นใหม่
C4 การสอ่ื สารเพ่ือนาเสนอผลงานของ
8. นักเรียนนาเสนอผลงานของตนเอง ครูและนักเรียนร่วมอภิปราย ตนเอง
ผลทไ่ี ดจ้ ากการทากิจกรรม โดยครใู ช้คาถามดังน้ี
8.1 นักเรียนสารวจส่ิงของท่ีใช้แล้วและพบส่ิงของอะไรบ้าง นักเรียนอาจไม่สามารถตอบ
(นักเรียนตอบตามข้อมูลจริง เช่น ขวดพลาสติก แก้วน้า คาถามหรืออภิปรายได้ตามแนว
พลาสตกิ กล่องนม ถุงนม) คาตอบ ครูควรให้เวลานักเรียน
8.2 จากการสารวจสิ่งของท่ีใช้แล้วนั้น มีวัสดุใดบ้างที่สามารถนา คิดอย่างเหมาะสม รอคอยอย่าง
กลับมาใช้ใหม่ได้และวัสดุน้ันมีสมบัติเป็นอย่างไร (นักเรียน อดทน และรับฟังแนวความคิด
ตอบตามขอ้ มูลท่ีไดจ้ ากการสารวจและการสงั เกต เชน่ ขวดน้า ของนักเรยี น
พลาสติกสามารถนามาทาภาชนะบรรจุขนมได้ พลาสติก ไม่
ดูดซับน้า แขง็ )
8.3 เหตุใดจึงเลือกวัสดุท่ีใช้แล้วชนิดนั้นมาทาของเล่นของใช้ช้ิน
ใหม่ (นักเรียนตอบได้ตามความคิดของตนเอง เช่น พลาสติกมี
ความแข็งและไม่ดูดซับน้า นอกจากน้ันยังสามารถตัดตาม
รูปแบบที่ต้องการได้ ทาให้สามารถทานามาทาภาชนะบรรจุ
ขนมและป้องกันขนมไม่ใหเ้ ปยี กนา้ ได้)
8.4 นกั เรยี นเลือกวัสดใุ ดมาประดษิ ฐ์ของเลน่ หรือของใช้ของตนเอง
(นกั เรยี นตอบตามขอ้ มูลจรงิ )
8.5 ผลงานประดิษฐ์ของนักเรียนท่ีทาจากวัสดุที่ใช้แล้วมีประโยชน์
อยา่ งไร (นักเรียนตอบตามข้อมูลจรงิ และเหตุผลของนักเรียน)
8.6 การนาวัสดุที่ใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่มีประโยชน์อย่างไรบ้าง
(นักเรยี นตอบตามข้อมูลจริง เชน่ ลดปรมิ าณขยะ ประหยดั เงิน
เพราะสามารถนาส่ิงของเหลือใช้มาทาให้เกิดประโยชน์มาก
ที่สดุ โดยไม่ต้องซ้อื ของใหม่)
8.7 จากกิจกรรมนี้นกั เรยี นคน้ พบอะไรบ้างเกยี่ วกบั การนาวัสดุที่ใช้
แล้วกลับมาใชใ้ หม่ (จากการทากิจกรรมนี้พบว่าวัสดุบางอย่าง
ที่ใช้แล้วสามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้ และมีประโยชน์เพราะ

 สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฉบบั ปรับปรงุ เดือนกรกฎาคม 2562

คู่มือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 1 | หนว่ ยท่ี 2 วัสดแุ ละการใช้ประโยชน์ 148

เป็นการลดปริมาณขยะ ช่วยให้ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่า ทาให้มี
ความคดิ สรา้ งสรรค์ สรา้ งผลงานของตนเองได)้
8.8 สรุปกิจกรรมนี้ได้อย่างไร (วัสดุบางชนิดที่ผ่านการใช้งานแล้ว
แตย่ งั สามารถนากลบั มาใช้ใหม่ทาให้เกิดประโยชน์และใช้อย่าง
คมุ้ ค่า)
9. ครูและนักเรยี นรว่ มกนั อภปิ รายและลงขอ้ สรุปวา่ วสั ดุแตล่ ะชนิดมี
สมบัติแตกต่างกันซึ่งการเลือกวัสดุมาใช้งานหรือนามาทาเป็นวตั ถุ
ต่าง ๆ ต้องคานึงถึงสมบัติของวัสดุน้ัน ความปลอดภัยและความ
คมุ้ คา่ วัสดบุ างอยา่ งเม่อื ผ่านการใช้งานแลว้ อาจนากลับมาใช้ใหม่
ได้โดยนามาปรับเปลีย่ นรปู แบบการใชง้ าน
10. นักเรียนร่วมกันอภิปรายคาตอบใน ฉันรู้อะไร โดยครูอาจใช้
คาถามเพิ่มเติมในการอภปิ รายเพอ่ื ให้ได้แนวคาตอบทถ่ี ูกตอ้ ง
11. นักเรียนสรุปส่ิงท่ีได้เรียนรู้ในกิจกรรมน้ี จากนั้นนักเรียนอ่าน
ส่งิ ที่ได้เรียนรู้ และเปรยี บเทยี บกับขอ้ สรุปของตนเอง
12. ครกู ระตนุ้ ใหน้ กั เรียนฝึกตั้งคาถามเกี่ยวกับเรื่องท่สี งสยั หรืออยากรู้
เพิ่มเติมใน อยากรู้อีกว่า จากน้ันครูอาจสุ่มนักเรียน 2-3 คน
นาเสนอคาถามของตนเองหน้าช้ันเรียน และให้นักเรียนร่วมกัน
อภิปรายเกยี่ วกบั คาถามทนี่ าเสนอ
13. ครูนาอภิปรายเพ่ือให้นักเรียนทบทวนว่าได้ฝึกทักษะกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์และทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 อะไรบ้างและใน
ขนั้ ตอนใดบา้ ง
14. นักเรียนร่วมกันอ่านรู้อะไรในเรื่องนี้ ในหนังสือเรียน หน้า 44-45
ครูนาอภิปรายเพื่อนาไปสู่ข้อสรุปเก่ียวกับสิ่งท่ีได้เรียนรู้ในเร่ืองน้ี
โดยอาจใชค้ าถามในประเดน็ ตอ่ ไปน้ี
- การเลือกวัสดุมาใช้ต้องคานึงถึงอะไรบ้าง (สมบัติของวัสดุน้ัน
ความปลอดภัยต่อสขุ ภาพ และความคมุ้ คา่ )
- การใช้วัสดุต่าง ๆ ให้คุ้มค่าทาได้ด้วยวิธีการใดได้บ้าง (ทาได้
หลายวธิ ี ทาได้โดยการลดใช้วัสดทุ ่ีทาให้เกิดขยะ การใชว้ สั ดุหรือ
ส่ิงของที่ยังใช้ได้กลับมาใชซ้ ้า ๆ และถ้าวัสดุน้ันไม่สามารถใชซ้ ้าได้
แล้ว อาจนาเข้าสู่กระบวนการแปรรูปแล้วนากลับมาใช้ประโยชน์
อกี คร้งั
จากนั้นครูกระตุ้นให้นักเรียนตอบคาถามในช่วงท้ายของเนื้อ
เร่ือง ซึ่งเป็นคาถามเพ่ือเชื่อมโยงไปสู่การเรียนเน้ือหาในบทถัดไป ดังน้ี
“วสั ดุต่าง ๆ สามารถนามาทาเป็นวัตถุไดต้ ามความเหมาะสมและความ
ต้องการ เช่น ไฟฉาย เป็นอุปกรณ์ที่ให้แสงสว่าง ลองคิดดูสิว่า ไฟฉาย
ทาจากวัสดุใดบ้าง และแสงจากไฟฉายช่วยในการมองเห็นหรือไม่
อย่างไร” นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง และนักเรียน
สามารถหาคาตอบได้จากการเรยี นในบทตอ่ ไป

ฉบบั ปรับปรงุ เดือนกรกฎาคม 2562 สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

149 คมู่ ือครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 2 วสั ดุและการใชป้ ระโยชน์

แนวคาตอบในแบบบันทกึ กจิ กรรม

สารวจ บอก ของใช้
ออกแบบ ของเลน่

ตอบตามสิง่ ที่พบจรงิ ตอบตามความคดิ เหน็ ของตนเอง

 สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฉบับปรับปรงุ เดือนกรกฎาคม 2562

คมู่ ือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 1 | หนว่ ยท่ี 2 วัสดแุ ละการใช้ประโยชน์ 150

ตอบตามความคดิ ของนักเรยี น เช่น พลาสตกิ จากขวดนา้

ทาภาชนะบรรจขุ นม โดยตดั เอาเฉพาะสว่ นกน้ ขวดมาตกแตง่
ขวดพลาสตกิ แข็งและไมด่ ูดซบั นา้ กน้ ขวดสามารถนามาใสข่ นมได้

ทากล่องดินสอ โดยตดั ขวดบริเวณใกลป้ ากขวด แลว้ นาซิปมาเยบ็ ท้งั 2 สว่ น
ขวดพลาสตกิ แข็งและไมด่ ูดซับนา้ สามารถนามาทากลอ่ งดินสอได้

นามาทากระถางตน้ ไม้ โดยชว่ งกลางขวดพลาสตกิ และเจาะรทู ีก่ น้ ขวดเพ่อื ระบายน้า
ขวดพลาสตกิ แขง็ และไม่ดูดซบั น้า ตัดแล้วนามาทากระถางต้นไม้

นามาทาโคมไฟ โดยตัดสว่ นปลายทางปากขวดมาตอ่ กับหลอดไฟและวงจรไฟฟา้
ขวดพลาสติกแข็งใสและไมด่ ูดซับน้า ตดั ตามรปู แบบท่ีตอ้ งการประดษิ ฐ์เปน็ โคมไฟ

ภาชนะบรรจุขนมดดั แปลงจากสว่ นก้นของขวดพลาสตกิ

1. ขวดน้าดื่ม หรอื น้าอัดลม 8 ขวด
2. ไม้บรรทัด 1 อัน
3. กรรไกร 2 อนั
4. กระดาษสีชมพู 3 แผน่
5. กาว 1 กระปุก
6. แทง่ ไม้ 1 แท่ง

ฉบบั ปรับปรงุ เดอื นกรกฎาคม 2562 สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

151 คูม่ อื ครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 1 | หนว่ ยท่ี 2 วสั ดุและการใช้ประโยชน์

ภาพวาดที่นักเรียนต้องการประดิษฐ์จริง ดงั ตวั อย่าง
ก้นขวดพลาสตกิ

กน้ ขวดพลาสติก ขวดพลาสติก
ถ้วยใส่ขนม

นาวัสดุนัน้ มาตัดเปน็ รปู รา่ งตา่ ง ๆ หรือตัดเป็นส่วน ๆ แล้วนามา
ประกอบกนั เปน็ สง่ิ ของตามทอ่ี อกแบบไว้ใช้ซ้าๆ ให้คุ้มคา่ จนกวา่ วสั ดุ
น้นั จะไม่สามารถใช้งานได้อีก โดยไม่ตอ้ งประดิษฐเ์ ป็นสิ่งของอืน่ หรอื นา
วสั ดนุ นั้ มาประดิษฐเ์ ป็นของเล่นของใช้ชิ้นใหม่

 สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ฉบับปรับปรุง เดอื นกรกฎาคม 2562

ค่มู อื ครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หนว่ ยที่ 2 วัสดุและการใชป้ ระโยชน์ 152

เป็นการใชว้ สั ดอุ ยา่ งคุม้ ค่า ประหยัดคา่ ใช้จา่ ย และลดปรมิ าณขยะ

จากกจิ กรรมนีค้ น้ พบว่า ส่งิ ของท่ีใชแ้ ลว้ บางอยา่ งสามารถนากลบั มาใช้
ใหมไ่ ด้โดยนามาประดษิ ฐเ์ ป็นของเล่นหรือของใช้

จากสง่ิ ที่คน้ พบ สรปุ ได้วา่ การนาวัสดุจากส่ิงของทใี่ ช้แลว้ กลับมาใช้ใหม่
สามารถทาได้โดยนามาประดิษฐ์เป็นของเลน่ หรอื ของใชต้ ามทีไ่ ด้ออกแบบไว้

ครกู ระต้นุ ให้นกั เรียนฝกึ ต้ังคาถามเก่ียวกับเร่ืองทีส่ งสัย
หรืออยากรเู้ พ่มิ เติมหรอื สงิ่ ทีย่ งั ไมเ่ ขา้ ใจจากการทากจิ กรรมในหอ้ งเรียน

ฉบับปรบั ปรงุ เดือนกรกฎาคม 2562 สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

153 คมู่ ือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 1 | หน่วยท่ี 2 วัสดุและการใช้ประโยชน์

แนวการประเมินการเรียนรู้

การประเมินการเรียนรขู้ องนกั เรียนทาได้ ดงั นี้
1. ประเมินความรู้เดิมจากกจิ กรรมสารวจความรู้ก่อนเรยี นการอภปิ รายในชน้ั เรียน
2. ประเมนิ การเรยี นรู้ระหวา่ งเรยี นจากคาตอบของนกั เรียนระหวา่ งการจดั การเรียนร้แู ละจากแบบบันทึกกิจกรรม
3. ประเมนิ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 จากการทากิจกรรมของนักเรยี น

การประเมนิ จากการทากิจกรรมที่ 3.2 วสั ดทุ ่ใี ชแ้ ล้ว นากลับมาใช้ใหม่ไดอ้ ยา่ งไร

ระดับคะแนน 1 คะแนน หมายถึง ควรปรับปรุง
3 คะแนน หมายถึง ดี 2 คะแนน หมายถงึ พอใช้

รหสั ส่งิ ทปี่ ระเมนิ ระดับ

ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
S1 การสังเกต
S13 การตคี วามหมายข้อมลู และลงขอ้ สรปุ
ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21
C1 การสร้างสรรค์
C2 การคิดอย่างมีวิจารณญาณ
C4 การสอื่ สาร
C5 ความรว่ มมือ

 สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฉบับปรบั ปรงุ เดอื นกรกฎาคม 2562

คู่มอื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 2 วัสดุและการใช้ประโยชน์ 154

ตาราง แสดงการวิเคราะห์ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรต์ ามระดบั ความสามารถของนกั เรียน

โดยอาจใชเ้ กณฑก์ ารประเมนิ ดังนี้

ทกั ษะกระบวนการ รายการประเมนิ ดี (3) ระดับความสามารถ ควรปรบั ปรงุ (1)
ทางวิทยาศาสตร์ พอใช้ (2)

S1 การสังเกต ก า ร บ ร ร ย า ย สามารถใช้ประสาทสัมผัส สามารถใช้ประสาทสัมผัส ใ ช้ ป ร ะ ส า ท สั มผัส

รายละเอียดจาก สังเกตและบอกลักษณะ สังเกตและบอกลักษณะ สั ง เ ก ต แ ล ะ บ อ ก

ก า ร สั ง เ ก ต และสมบัติของวัสดุท่ีใช้ และสมบัติของวัสดุที่ใช้ ลักษณะและสมบัติ

ลั ก ษ ณ ะ แ ล ะ แ ล้ ว เ พ่ื อ เ ลื อ ก วัสดุน้ัน แ ล้ ว เ พ่ื อ เ ลื อ ก วั ส ดุ น้ั น ของวัสดุที่ใช้แล้วเพ่ือ

สมบัติของวัสดุที่ กลับมาใช้ใหม่ได้อย่าง กลับมาใช้ใหม่ ได้อย่าง เลือกวัสดุนั้นกลับมา

ใช้แล้วเพ่ือเลือก ถูกต้องได้ด้วยตนเอง โดย ถูกต้อง จากการชี้แนะของ ใ ช้ ใ ห ม่ ไ ด้ อ ย่ า ง

วัสดุน้ันกลับมาใช้ ไมเ่ พ่ิมเติมความคิดเหน็ ครหู รอื ผู้อน่ื ถูกต้องได้เพียงบาง

ใหม่ ลักษณะ แม้ว่าจะได้

รั บ ค า ชี้ แ น ะ จ า ก ค รู

หรือผอู้ น่ื

S13 การตี การตีความหมาย สามารถ ตีคว าม ห ม า ย ส า ม า ร ถ ตี ค ว า ม หมาย สามารถตีความหมาย

ความหมายข้อมูล ข้ อ มู ล แ ล ะ ล ง ข้ อ มู ล แ ล ะ ล ง ข้ อ ส รุ ป ข้ อ มู ล แ ล ะ ล ง ข้ อ ส รุ ป ข้อมูลและลงข้อสรุป

และลงข้อสรุป ข้อสรุปเก่ียวกับ เกี่ยวกับการนาวัสดุที่ใช้ เกี่ยวกับการนาวัสดุท่ีใช้ เก่ียวกับการนาวัสดุท่ี

การนาวัสดุท่ีใช้ แล้วกลับมาใช้ใหม่ ซ่ึงอาจ แล้วกลับมาใช้ใหม่ ซ่ึงอาจ ใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่

แ ล้ ว ก ลั บ ม า ใ ช้ ทาได้โดยการใชซ้ ้าหลาย ๆ ทาไดโ้ ดยการใช้ซา้ หลาย ๆ ซ่ึงอาจทาได้โดยการ

ใหม่ ซ่ึงอาจทาได้ ครั้ง หรือเปล่ียนรูปแบบ คร้ัง หรือเปลี่ยนรูปแบบ ใช้ซ้าหลาย ๆ ครั้ง

โ ด ย ก า ร ใ ช้ ซ้ า การใช้งาน โดยเลือกจาก การใช้งาน โดยเลือกจาก หรือเปล่ียนรูปแบบ

หลาย ๆ ครง้ั หรือ ลักษณะและสมบัติของ ลักษณะและสมบัติของ การใชง้ าน โดยเลือก

เปลี่ยนรูปแบบ วัสดุน้ัน เพื่อใช้วัสดุอย่าง วัสดุน้ัน เพื่อใช้วัสดุอย่าง จ า ก ลั ก ษ ณ ะ แ ล ะ

การใช้งาน โดย คุ้ ม ค่ า ช่ ว ย รั ก ษ า คุ้ ม ค่ า ช่ ว ย รั ก ษ า สมบัติของวัสดุน้ัน

เลือกจากลักษณะ สิ่งแวดล้อมได้ด้วยตนเอง สิ่งแวดล้อม โดยอาศัยการ เ พื่ อ ใ ช้ วั ส ดุ อ ย่ า ง

และสมบัติของ โ ด ย ไ ม่ เ พิ่ ม เ ติ ม ค ว า ม ช้แี นะจากครูหรอื ผูอ้ ืน่ คุ้ ม ค่ า ช่ ว ย รั ก ษ า

วัสดุน้ัน เพื่อใช้ คดิ เห็น ส่ิงแวดล้อมได้เพียง

วัสดุอย่างคุ้มค่า บางส่วน แม้ว่าจะได้

ช่ ว ย รั ก ษ า รั บ ค า ช้ี แ น ะ จ า ก ค รู

สงิ่ แวดลอ้ ม หรอื ผอู้ นื่

ฉบับปรบั ปรงุ เดือนกรกฎาคม 2562 สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

155 คมู่ อื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 2 วัสดุและการใชป้ ระโยชน์

ตาราง แสดงการวเิ คราะห์ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ตามระดับความสามารถของนกั เรียน

โดยอาจใช้เกณฑก์ ารประเมิน ดังนี้

ทักษะแห่ง รายการประเมนิ ระดับความสามารถ

ศตวรรษที่ 21 ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรบั ปรงุ (1)

C1 การสร้างสรรค์ การออกแบบ และ สามารถออ ก แบบ สามารถออกแบบ และ สามารถออกแบบ และ

สรา้ งของเล่นของใช้ และสร้างของเล่น สร้างของเล่นของใช้ สร้างของเล่นของใช้

จากวสั ดทุ ใ่ี ชแ้ ลว้ ของใช้จากวัสดุท่ีใช้ จากวัสดุที่ใช้แล้วโดย จากวัสดุท่ีใช้แล้วแต่ไม่

แลว้ ได้ด้วยตนเอง ต้องอาศัยการช้ีแนะ สมบูรณ์ แม้ว่าจะได้

จากครูหรือผอู้ นื่ รับคาชี้แนะจากครูหรือ

ผู้อน่ื

C2 การคดิ อย่างมี ก า ร บ อ ก เ ห ตุ ผ ล ส า ม า ร ถ บ อ ก เ ห ตุ สามารถบอกเหตุผลได้ สามารถบอกเหตุผลได้
วจิ ารณญาณ
และตัดสินใจเลือก ผลได้ว่าวัสดุใดที่ใช้ ว่าวัสดุใดที่ใช้แล้วมา ว่าวัสดุใดที่ใช้แล้วมา

ว่าวัสดุใดที่ใช้แล้ว แล้วมาออกแบบและ ออกแบบและประดิษฐ์ ออกแบบและประดิษฐ์

มาออกแบบและ ประดิษฐ์ของเล่นหรือ ของเล่นหรือของใช้ได้ ของเล่นหรือของใช้ได้

ประดิษฐ์ของเล่น ของใช้ไดด้ ้วยตนเอง โ ด ย ต้ อ ง อ า ศั ย ก า ร แม้ว่าจะได้รับคาช้ีแนะ

หรือของใช้ ชีแ้ นะจากครหู รอื ผู้อนื่ จากครหู รอื ผู้อน่ื

C4 การสอื่ สาร การนาเสนอของ สามารถนาเสนอของ สามารถนาเสนอของ สามารถนาเสนอของ

เล่นและของใช้ท่ี เ ล่ น แ ล ะ ข อ ง ใ ช้ ท่ี เ ล่ น แ ล ะ ข อ ง ใ ช้ ท่ี เ ล่ น แ ล ะ ข อ ง ใ ช้ ที่

ประดิษฐ์จากวัสดุที่ ประดิษฐ์จากวสั ดุท่ีใช้ ประดิษฐ์จากวัสดุที่ใช้ ประดิษฐ์จากวัสดุท่ีใช้

ใ ช้ แ ล้ ว โ ด ย ใ ช้ แล้ว โดยใช้คาพูด แล้ว โ ดยใช้คาพูด แล้ว โ ดยใช้คาพูด

ค า พู ด บ ร ร ย า ย บ ร ร ย า ย เ ห ตุ ผ ล ที่ บรรยายเหตุผลที่เลือก บรรยายเหตุผลท่ีเลือก

เหตุผลที่เลือกวัสดุ เลือกวัสดุชนิดนั้น วัสดุชนิดนั้นเพื่อใ ห้ วัสดุชนิดน้ัน เพ่ือให้

ช นิ ด นั้ น เ พื่ อ ใ ห้ เพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจได้ ผู้อื่นเข้าใจได้โดยอาศัย ผู้อื่นเข้าใจได้ เพียง

ผู้อืน่ เข้าใจ ด้วยตนเอง การชี้แนะจากครูหรือ บางส่วน แม้ว่าจะได้

ผอู้ ่ืน รับคาชีแ้ นะจากครูหรือ

ผู้อืน่

C5 ความร่วมมือ การทางานร่วมกับ ทางานร่วมกบั ผู้อื่นใน ทางานร่วมกับผู้อ่ืนใน สามารถทางานร่วมกับ
ผู้อ่ืนในการสังเกต ก า ร สั ง เ ก ต ก า ร ก า ร สั ง เ ก ต ก า ร ผอู้ ื่น ในการสังเกต การ
การนาเสนอการ นาเสนอการเลือก นาเสนอการเลือกวัสดุ นาเสนอการเลือกวัสดุ
เ ลื อ ก วั ส ดุ ก า ร วัสดุ การออกแบบ ก า ร อ อ ก แ บ บ แ ล ะ ก า ร อ อ ก แ บ บ แ ล ะ
อ อ ก แ บ บ แ ล ะ และประดิษฐ์ของเล่น ประดิษฐ์ของเล่นหรือ ประดิษฐ์ของเล่นหรือ
ประดิษฐ์ของเล่น หรือของใช้จากวัตถุที่ ข อ ง ใ ช้ จ า ก วั ต ถุ ที่ ข อ ง ใ ช้ จ า ก วั ต ถุ ท่ี

 สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ฉบับปรบั ปรงุ เดอื นกรกฎาคม 2562

คมู่ ือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หน่วยที่ 2 วสั ดุและการใช้ประโยชน์ 156

ทกั ษะแห่ง รายการประเมนิ ระดับความสามารถ
ศตวรรษที่ 21
ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรับปรุง (1)

หรือของใช้จากวัตถุ ร่วมมือกันเลือก และ ร่วมมือกันเลือก และ ร่วมมือกันเลือก และ

ที่ร่วมมือกันเลือก ก า ร แ ส ด ง ค ว า ม การแสดงความคิดเห็น การแสดงความคิดเห็น
และการแสดงความ คิดเห็นเพ่ือบรรยาย เพื่อบรรยายสมบัติของ เพื่อบรรยายสมบัติของ
คิดเห็นเพื่อบรรยาย ส ม บั ติ ข อ ง วั ส ดุ ที่ วัสดุท่ีนามาทาวัตถุเพ่ือ วัสดุท่ีนามาทาวัตถุเพ่ือ
สมบัติของวัสดุท่ี นามาทาวัตถุเพื่อใช้ ใช้งานตามต้องการ ใช้งานตามต้องการ

นามาทาวัตถุเพ่ือใช้ ง า น ต า ม ต้ อ ง ก า ร รวมท้ังยอมรับความ รวมทั้งยอมรับความ

งานตามต้องการ รวมท้ังยอมรับความ คิดเห็นของผู้อ่ืน บาง คิดเห็นของผู้อื่น ได้

ร ว ม ท้ั ง ย อ ม รั บ คิ ด เ ห็ น ข อ ง ผู้ อ่ื น ช่วงเวลาทท่ี ากิจกรรม เพียงบางเวลาท่ี ทา

ความคิดเห็นของ ตั้ ง แ ต่ เ ริ่ ม ต้ น จ น กิ จ ก ร ร ม ท้ั ง น้ี ต้ อ ง

ผู้อ่ืน สาเร็จ อาศัยการกระตุ้นจาก

ครหู รอื ผูอ้ น่ื

ฉบบั ปรบั ปรุง เดอื นกรกฎาคม 2562 สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

157 คู่มอื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 1 | หน่วยท่ี 2 วัสดแุ ละการใช้ประโยชน์

กิจกรรมทา้ ยบทที่ 1 สมบตั ิการดูดซบั นา้ ของวสั ดแุ ละ

การใช้ประโยชน์จากวสั ดุ (2 ชั่วโมง)

1. นกั เรียนวาดรูปหรือเขียนสรุปส่ิงที่ได้เรียนรู้จากบทนี้เกี่ยวกับ
สมบัติการดดู ซับน้าของวัสดแุ ละการใช้ประโยชน์จากวสั ดุ ใน
แบบบันทึกกิจกรรม หน้า 58

2. นักเรียนตรวจสอบการสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ของตนเองโดย
เปรียบเทียบกับเนื้อหาในหัวข้อ รู้อะไรในบทนี้ ในหนังสือ
เรยี น หน้า 46

3. นักเรียนกลับไปตรวจสอบคาตอบของตนเองในสารวจ
ความรู้ก่อนเรียน ในแบบบันทึกกิจกรรม หน้า 32-34 อีก
คร้ัง ถ้าคาตอบของนักเรียนไม่ถูกต้องให้ขีดเส้นทับข้อความ
เหล่านั้น แล้วแก้ไขให้ถูกต้อง หรืออาจแก้ไขคาตอบด้วย
ปากกาทม่ี ีสีต่างจากเดิม นอกจากนค้ี รอู าจนาคาถามในรูปนา
บทในหนังสือเรียน หน้า 20 มาร่วมกันอภิปรายคาตอบอีก
คร้ัง ดังน้ี “การเลือกวัสดุมาใช้ประโยชน์พิจารณาจาก
อะไรบ้าง” ครูและนักเรียนร่วมกัน อภิปรายแนวทางการ
ตอบคาถาม เช่น การเลือกวัสดุมาใช้ประโยชน์ควรพิจารณา
จากสมบัติของวัสดุนั้นให้เหมาะสมกับความต้องการและการ
ใช้งาน ซึ่งสมบัติของวัสดุชนิดต่าง ๆ มีทั้งเหมือนและ
แตกต่างกัน นอกจากน้ียังต้องคานึงถึงความคุ้มค่าและ
ปลอดภยั ดว้ ย

4. นักเรียนทา แบบฝึกหัดท้ายบทท่ี 1 สมบัติการดูดซับน้า
ของวสั ดแุ ละการใชป้ ระโยชน์จากวสั ดุ นาเสนอคาตอบหน้า
ชั้นเรียน ถ้าคาตอบยังไม่ถูกต้องครูควรนาอภิปรายหรือให้
สถานการณ์เพ่ิมเตมิ เพ่ือแกไ้ ขแนวคดิ คลาดเคลือ่ นให้ถูกต้อง

5. นักเรียนร่วมกันทากิจกรรม ร่วมคิดร่วมทา โดยทาโปสเตอร์
เชิญชวนให้เพื่อน ๆ ผู้ปกครอง ทุกคนในชุมชน ช่วยกันคัด
แยกขยะก่อนท้ิงเพื่อใช้ประโยชน์จากสิ่งของเครื่องใช้อย่าง
คุม้ คา่

6. นักเรียนอ่านและอภิปรายเน้ือเรื่องในหัวข้อวิทย์ใกล้ตัว ใน
หนังสือเรียน หน้า 49 โดยครูกระตุ้นให้นักเรียนเห็น
ความสาคัญของความรู้จากสิ่งที่ได้เรียนรู้ในหน่วยน้ี ว่า
สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้อย่างไรบ้าง
ดังน้ี
6.1 คอนกรีตเปน็ วสั ดุท่ีมสี ว่ นผสมของวสั ดุอะไร (ปนู ซีเมนต์
ทราย หิน และน้า)

 สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ฉบับปรบั ปรงุ เดือนกรกฎาคม 2562

คมู่ อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หน่วยที่ 2 วสั ดแุ ละการใชป้ ระโยชน์ 158

6.2 เพราะเหตุใดจงึ มีการปรับเปล่ียนส่วนผสมคอนกรีต
(เพ่ือใหเ้ หมาะสมกับการใช้งานและทาใหร้ ะบายน้าลงสู่
พน้ื ดินด้านลา่ งได้รวดเรว็ )

7. นักเรียนร่วมกันตอบคาถามสาคัญประจาหน่วยอีกครั้งดังนี้
“การเลือกวัสดุมาใช้ประโยชน์พิจารณาจากอะไรบ้าง” ถ้า
คาตอบยังไม่ถูกต้อง ให้นักเรียนอภิปรายร่วมกันเพื่อให้ได้
คาตอบทถี่ ูกต้อง

ฉบับปรับปรุง เดอื นกรกฎาคม 2562 สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

159 ค่มู ือครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 1 | หนว่ ยท่ี 2 วัสดแุ ละการใชป้ ระโยชน์

สรุปผลการเรยี นรู้ของตนเอง

รูปหรอื ข้อความสรุปสิ่งท่ีได้เรียนรจู้ ากบทน้ีตามความเขา้ ใจของนกั เรียน

 สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ฉบบั ปรับปรุง เดอื นกรกฎาคม 2562

คูม่ ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 2 วัสดแุ ละการใช้ประโยชน์ 160

แนวคาตอบในแบบฝึกหดั ท้ายบท

ถ้าต้องการทารองเทา้ ทก่ี ันน้าได้ ควรเลอื กวัสดุประเภท
พลาสตกิ หรอื ยาง เพราะพลาสติกและยางนา้ ซึมผา่ นไมไ่ ด้

 เพราะลาต้นของกล้วยเป็นวัสดุทล่ี อย
นา้ ได้ และเปน็ อาหารสัตว์น้าได้

เพราะโฟมเป็นวัสดุท่ีลอยนา้ ได้
แตท่ าใหเ้ กดิ ขยะในนา้ เน่ืองจากโฟม
 ไมส่ ลายตวั หรอื เนา่ เปื่อยและไม่ใชอ่ าหารของสตั ว์น้า

เพราะกระดาษเปน็ วัสดุที่ดดู ซบั น้า ถ้านาไปทา

 กระทงจะเปียกยยุ่ และในท่ีสุดจะจมลงในน้า

เพราะพลาสติกเป็นวัสดุทลี่ อยนา้ ไดแ้ ตไ่ ม่

 สลายตัวหรือไมเ่ น่าเปื่อยและไม่ใชอ่ าหาร
ของสัตว์นา้ ทาให้เกิดขยะในนา้ ได้

ฉบบั ปรบั ปรงุ เดือนกรกฎาคม 2562 สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

161 คูม่ อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 1 | หนว่ ยที่ 2 วสั ดแุ ละการใช้ประโยชน์

C
เปน็ วัสดุทีน่ มุ่ ดดู ซับน้าไดด้ ี สามารถดดู ซบั ของเสียทีเ่ ด็กขบั ถา่ ย
ออกมาไวท้ ่ผี ้าอ้อม ป้องกนั ไมใ่ หข้ องเสียไหลเลอะเทอะออกมา
นอกจากนั้นวัสดุ C ยงั นุ่มและรอ้ นชา้ ทาใหส้ วมใส่สบายไมร่ อ้ น


ปนู ปลาสเตอรม์ ีลกั ษณะเป็นผง เม่ือนามาผสมกบั นา้ แล้วทาให้ปูน
ปลาสเตอรเ์ ปล่ยี นเปน็ ของเหลว สามารถทาเป็นรูปทรงต่าง ๆ ไดโ้ ดยเท
ปนู ปลาสเตอร์ลงในแม่พิมพ์ เมื่อปล่อยท้งิ ไว้ระยะเวลาหน่ึงปูนปลาสเตอร์
จะแข็งตัวและมรี ูปทรงตามแม่พมิ พ์

 สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ฉบบั ปรับปรงุ เดอื นกรกฎาคม 2562

คมู่ อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 1 | หน่วยท่ี 2 วัสดแุ ละการใช้ประโยชน์ 162


นาขวดนมพลาสติกมาตัดและทาเป็นช้นั วางเอกสาร กระถางตน้ ไม้
กล่องดนิ สอ

ฉบบั ปรับปรงุ เดอื นกรกฎาคม 2562 สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

163 คมู่ ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 | แบบทดสอบท้ายเล่ม

แนวคาตอบในแบบทดสอบท้ายเล่ม

⎯ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฉบับปรับปรุง เดอื นกรกฎาคม 2562


Click to View FlipBook Version