The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

อนุสรณ์งานประชุมเพลิงสรีระสังขาร หลวงปู่ลี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-03-07 21:46:05

อนุสรณ์งานประชุมเพลิงสรีระสังขาร หลวงปู่ลี

อนุสรณ์งานประชุมเพลิงสรีระสังขาร หลวงปู่ลี

Keywords: อนุสรณ์งานประชุมเพลิงสรีระสังขาร หลวงปู่ลี

อนุสรณ์งานประชมุ เพลิงสรรี ะสังขาร

หลวงปู่ลี กสุ ลธโร
สิรอิ ายุ ๙๖ ปี ๖๙ พรรษา

ณ เมรุช่ัวคราว บริเวณหนา้ ศาลาใหญ่

วัดป่าเกษรศีลคุณธรรมเจดยี ์ (ภผู าแดง) จงั หวัดอดุ รธานี

วันอาทติ ย์ท่ี ๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๑

น้อมบชู าเปน็ นจิ นริ ันดร์

การเกดิ ขน้ึ ตง้ั อยู่ และการดบั ไปนน้ั เปน็ เรอ่ื งธรรมดาๆ แหง่ สงั ขารทง้ั ปวง ไมว่ า่ จะเปน็ อะไรกแ็ ลว้ แต่
เมื่อถงึ เวลาไป หมดกต็ ้องหมด ถงึ เวลาดับกต็ อ้ งดับ ไมม่ ีผ้ใู ดสามารถร้งั ไวไ้ ด้ แต่ทวา่ การดับลงแหง่
สงั ขารของพระสาวกผูร้ ู้ยิ่งเห็นจริงนน้ั หาใช่เปน็ ความธรรมดาไม่ ด้วยเหตวุ า่ ดวงประทปี ธรรมอันวสิ ุทธิ์
ท่คี อยส่องแสงน�ำทางใหแ้ ก่เหล่าดวงใจของพุทธบริษทั ไดด้ ับมอดลงไปอกี ดวงแลว้ จะเหลือสักอกี กีด่ วง
ที่ยงั คงใหแ้ สงสวา่ งส่องใจพวกเรา คดิ แลว้ น่าใจหาย ความมืดมดิ เริ่มมกี ำ� ลงั

หลวงปู่ลี กุสลธโร องค์ท่านคือดวงประทีปธรรมดวงใหญ่ที่คอยส่องทางส่องใจน�ำพาพุทธบริษัท
ให้รู้จักถูกผิดดีชั่ว น้ปี ฏิปทา นั่นไมใ่ ช่ น้ีคำ� สอนของพ่อแม่ครูอาจารย์ น่ันไมใ่ ช ่ เป็นการรับไมธ้ รรมต่อ
จากมอื องคพ์ อ่ แมค่ รอู าจารยห์ ลวงตามหาบวั โดยตรง สบื สมั มาปฏบิ ตั ใิ นยคุ ปจั จบุ นั กอ่ ประโยชนแ์ กว่ งศ์
พระกรรมฐานอย่างกวา้ งใหญ่ บัดนี้ประทีปธรรมวิสุทธิ์ดวงใหญ่นั้นไดด้ ับลงอย่างสนทิ แล้ว เหลือเพียง
ปฏปิ ทาธรรมทีท่ ิ้งไวเ้ ปน็ รอ่ งรอยใหพ้ วกเราไดก้ า้ วเดนิ ตาม

คณะศษิ ยานศุ ษิ ยข์ อกราบนอ้ มถวายดวงใจเปน็ อามสิ เพอื่ บชู าซง่ึ วสิ ทุ ธธิ รรมองคห์ ลวงปลู่ ี กสุ ลธโร
ตราบนจิ นริ ันดร์

คณะศษิ ยานุศิษย์
๑๑ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๖๑

สารบัญ

ชวี ประวตั ิ



พระธรรมเทศนา

๑๘๗

ปลงสังขาร

๒๑๑





ชีวประวัติ

เศรษฐธี รรม ผกู้ า้ วตามธรรมเดนิ ตามครู
ทา่ นมีนามว่า หลวงป่ลู ี กุสลธโร

มอี ัธยาศัยเยือกเย็น ส�ำรวมในธรรม บอกแตส่ าระ
ยนิ ดใี นรสวเิ วก ไมต่ ดิ ถิน่ และตระกลู
รกั เคารพเทิดธรรมบชู าครไู ว้เหนอื เกล้า

เพ่อื รกั ษาไว้ซง่ึ ปฏปิ ทาพระธดุ งคกรรมฐาน
ก่อประโยชน์แก่พระศาสนาและพุทธบริษทั สบื ไป

หลวงปลู่ ี กุสลธโร 1

ชาติ
กำ� เนดิ

เกิดเดอื นสิบเพง็

ปี พ.ศ. ๒๔๖๕
เป็นปจี อบ้อ

โยมแม่เว่าสู่ฟัง

หลวงปู่ลี กุสลธโร
2 ผทู้ รงไวซ้ ่งึ ความฉลาด

หลวงปู่ลี กสุ ลธโร มีนามเดิม
ว่า ลี ทองค�ำ ภายหลังได้
เปล่ยี นมาใช้นามสกุล ชาลีเชยี งพิณ
ตามบดิ าบญุ ธรรม ทา่ นถอื กำ� เนดิ เมอ่ื
ร่งุ อรุณของวันขน้ึ ๑๕ ค�่ำ เดอื น ๑๐
ปีจอ เป็นประเพณีวันบุญข้าวสาก
ของชาวอสี าน (บญุ ฉลากภตั ) ตรงกบั
วนั องั คารท่ี ๕ กนั ยายน พ.ศ. ๒๔๖๕
ณ บ้านเก่า ตำ� บลบ้านเกา่ อ�ำเภอ
ดา่ นซา้ ย จังหวดั เลย
“เกดิ เดอื นสบิ เพง็ ปี พ.ศ. ๒๔๖๕
เปน็ ปจี อบอ้ โยมแมเ่ วา่ สฟู่ งั ” ทา่ นวา่
บดิ าชอื่ นายอดู ทองคำ� (๒๔๒๘-
๒๕๑๘) เปน็ คนเชอ้ื สายญวน มอี าชพี
เป็นช่างทอง มารดาชื่อ นางโพธิ์
เปน็ คนอำ� เภอด่านซา้ ย จังหวดั เลย
มีบุตรด้วยกันจ�ำนวน ๓ คน
ไดแ้ ก่
๑. นางวันดี เพ็งลี (ถึงแกก่ รรม)
๒. หลวงปู่มี ปมตุ โต
(๒๔๖๓-๒๕๕๑)
๓. หลวงปลู่ ี กสุ ลธโร


หลวงปู่ลี กุสลธโร 3

ตอ่ มาบดิ ามารดาไดห้ ย่ารา้ งกนั เน่ืองจากบดิ าเป็นนักเลง นายอดู ทองค�ำ บิดา
สรุ า ตา่ งกไ็ ดแ้ ตง่ งานมคี รอบครวั ใหมด่ ว้ ยกนั ทง้ั สองฝา่ ย นายอดู นางโพธ์ิ ชาลีเชยี งพณิ มารดา
ผเู้ ปน็ บดิ าไดแ้ ตง่ งานใหมก่ บั นางหมอ่ น ทองคำ� พากนั ทำ� มาหากนิ
ตง้ั ถน่ิ ฐานท่บี ้านวดั ทงุ่ ธงชัย อำ� เภอหล่มเก่า จงั หวดั เพชรบูรณ์
สว่ นนางโพธผ์ิ ูเ้ ป็นมารดา ได้พาลูกๆ ย้ายถิ่นฐานมาประกอบ
อาชีพอาศัยที่หมู่บ้านหนองบัวบาน ต�ำบลหนองบัวบาน
อ�ำเภอหนองววั ซอ จงั หวัดอดุ รธานี ในปี พ.ศ. ๒๔๖๗ และได้
แตง่ งานใหมก่ บั นายบนุ่ ชาลเี ชยี งพณิ โดยมบี ตุ รธดิ ากบั สามใี หม่
จำ� นวน ๖ คน ดงั น้ี
๑. นายบัวคำ� ชาลีเชยี งพิณ
๒. นางบวั ฮอง ชาลเี ชยี งพณิ
๓. ไม่ทราบช่อื (ทารกเพศหญิง เสียชีวติ หลังคลอด)
๔. นายอนิ ทร์กอง ชาลีเชียงพณิ
๕. นางสาวบวั ทอง ชาลีเชยี งพณิ
๖. นางบญุ กอ่ ง ชาลเี ชยี งพิณ (ภายหลงั ไดใ้ ช้นามสกุล
ศรีบุญเรอื ง ของสามี)

4 ผทู้ รงไวซ้ ง่ึ ความฉลาด นายบุ่น ชาลเี ชียงพณิ บดิ าบญุ ธรรม

หลวงปู่มี (เกลา้ ) ปมตุ โต พ่ชี าย

หลวงปลู่ ี กุสลธโร 5

หนองบวั บาน
บัวบานดว้ ยแสง
แห่งธรรม

ชาวหนองบวั บาน
รูปใดท่เี ปน็ ลูกศิษย์ของ

หลวงปอู่ อ่ น ญาณสริ ิ

ทา่ นผู้นัน้ ก็เปน็ ลูกศษิ ย์

หลวงปู่ชอบ ฐานสโม

เพราะท่านทั้งสอง
เกย่ี วเนื่องกันดว้ ยเหตุนี้

6 ผ้ทู รงไวซ้ ่ึงความฉลาด

ปี พ.ศ. ๒๔๖๒ จงั หวัดเลยเกดิ ความแหง้ แลง้
แผไ่ ปทว่ั เกอื บทง้ั จงั หวดั ตดิ ตอ่ กนั เปน็ เวลานาน

ราว๗ ปี ประชาชนผู้คนได้รับความเดอื ดรอ้ นเปน็

อยา่ งมาก เปน็ เหตใุ หม้ ปี ระชาชนกลมุ่ หนงึ่ นำ� โดย ๔ สกลุ ใหญ่ คอื สกลุ
เวชบรรพต สกลุ มจี นิ ดา สกลุ ยอดครี ี และสกลุ ศรบี ญุ เรอื ง ไดช้ กั ชวนกนั
อพยพมาจากบา้ นโคกมน บา้ นผานอ้ ย อำ� เภอวงั สะพงุ จงั หวดั เลย เดนิ ทาง
มงุ่ หนา้ มาทางจงั หวดั อดุ รธานี เพอื่ แสวงหาทที่ ำ� กนิ แหง่ ใหม่ กอ่ นจะถงึ เมอื ง
อดุ รนนั้ ไดพ้ บหนองนำ�้ ธรรมชาตทิ มี่ คี วามอดุ มสมบรู ณม์ ากแหง่ หนงึ่ และ
มีดอกบัวท่ีสวยงามเกิดขึ้นตามธรรมชาติในหนองน�้ำนั้นเป็นจ�ำนวนมาก
เปน็ ทพ่ี อใจของทกุ ๆ คน จงึ ไดป้ รกึ ษากนั วา่ บรเิ วณทอ้ งถนิ่ แถบนม้ี คี วาม
เหมาะสมสำ� หรบั การประกอบอาชพี ทำ� มาหากนิ ที่ดนิ ก็สมบรู ณ์ ท้ังมนี �ำ้
ไวใ้ หไ้ ดใ้ ชส้ อยไมแ่ หง้ แลง้ เหมอื นทเ่ี ดมิ พวกเราควรจบั จองทดี่ นิ และอาศยั
อยกู่ นิ กนั ตรงบรเิ วณแถบนี้ เหตนุ จ้ี งึ อาศยั สภาพภมู ปิ ระเทศเปน็ ชอ่ื หมบู่ า้ น
แห่งใหม่ว่า หมู่บา้ นหนองบวั บาน จากน้ันก็ไดม้ ีผูค้ นทยอยอพยพตามมา
จบั จองทด่ี นิ เพอื่ ประกอบอาชพี ทำ� มาหากนิ มากขน้ึ ตามลำ� ดบั จนกลายเปน็
หมบู่ ้านใหญ่ขนึ้ มา
แตเ่ ดมิ นน้ั บรเิ วณทอ้ งถนิ่ น้ี มพี ระกรรมฐานทมี่ คี ณุ ธรรมสงู รปู สำ� คญั
ไดเ้ ทย่ี วบำ� เพญ็ ภาวนาเผยแผศ่ าสนา เปน็ ทพ่ี งึ่ ทอี่ บอนุ่ ใจแกพ่ นี่ อ้ งประชาชน
ญาตโิ ยม ชอื่ ของทา่ น คอื พระอาจารยบ์ ญุ ปญั ญาวโุ ธ (๒๔๒๙-๒๔๗๓)
ทา่ นเปน็ ชาวจงั หวดั อบุ ลราชธานี เปน็ พระกรรมฐานทม่ี อี ายพุ รรษาออ่ นกวา่
หลวงปใู่ หญม่ นั่ ภรู ทิ ตั โต ไมก่ พี่ รรษา ชาวบา้ นจงึ มคี วามเคารพเลอื่ มใสใน
ศาสนา และรู้จักขนบธรรมเนียมประเพณีของพระกรรมฐานเป็นอย่างดี
ส�ำนกั กรรมฐานท่ีเกิดข้นึ ในยุคของทา่ น เชน่ วดั ป่าชา้ บา้ นหนองบัวบาน
(หรอื วดั ปา่ ขนั ธเสมาราม) วัดปา่ บุญญานุสิทธิ์ วัดป่าหนองวัวซอ (วัดป่า
บุญญานุสรณ์) เป็นต้น ท่านพระอาจารย์บุญรูปนี้ยังเป็นอาจารย์ของ
หลวงปบู่ ญุ มา ฐติ เปโม และ หลวงปหู่ ลยุ จนั ทสาโร และเคยใหก้ ารอบรม
ภาวนาแก่หลวงปูช่ อบ ฐานสโม และหลวงป่ขู าว อนาลโย ในสมยั ท่ที ่าน
ทัง้ สองยังมีอายุพรรษาตน้ ๆ

หลวงป่ลู ี กุสลธโร 7

และอกี ประการหนงึ่ คอื ดว้ ยความทหี่ มบู่ า้ นหนองบวั บานแหง่ นต้ี ง้ั อยบู่ นเสน้ ทางเชอ่ื มระหวา่ งจงั หวดั
สกลนครและจงั หวดั อดุ รธานไี ปยงั จงั หวดั เลย ซง่ึ เปน็ จงั หวดั ทม่ี ปี า่ มเี ขามาก เหมาะตอ่ การแสวงหาวเิ วก
ภาวนา พระกรรมฐานสมยั ก่อนจงึ มกั จะไปมาผา่ นเส้นทางนี้เสมอ หมู่บา้ นหนองบัวบานจึงเปรยี บเสมอื น
ศูนยก์ ลางของพระธุดงคกรรมฐานในสมยั น้ัน

แต่ก่อนน้ันเขตอ�ำเภอหนองวัวซอมีหมู่บ้านไม่มากนัก หลวงปู่ใหญ่มั่นก็เคยมาพักภาวนาอยู่ใน
แถบนเ้ี ชน่ กนั เชน่ คราวทกี่ ลบั มาจากจงั หวดั เชยี งใหมต่ ามคำ� อาราธนานมิ นตข์ องทา่ นเจา้ คณุ พระธรรมเจดยี ์
เพอ่ื มาจำ� พรรษาทวี่ ดั ปา่ โนนนเิ วศน์ จงั หวดั อดุ รธานี พอถงึ ฤดแู ลง้ ทา่ นจะออกมาพกั ภาวนาทบ่ี า้ นหมากหญา้
(อ�ำเภอหนองวัวซอ) บ้านหนองนำ�้ เคม็ (วัดปา่ โพธ์ชิ ัย อำ� เภอเมือง) เปน็ ตน้

หลวงตาพระมหาบวั ได้เมตตาเลา่ ถงึ สภาพในสมัยกอ่ นของทอ้ งถน่ิ แถบนั้นวา่

“แถวน้ันไม่มีบ้านผู้บ้านคนนะ หนองวัวซอที่มีเป็นบ้านทุกวันนี้ก็ย้ายมาจาก
อบุ ลฯ มาอยนู่  ่ี หนองบวั บานกม็ าจากทางจงั หวดั เลย ยา้ ยมาเมอื่ เรว็ ๆ นนี้ ะ ทเี่ ขา
เรยี กหนองววั ซอๆ ไม่ใชอ่ ะไรนะ เป็นววั ป่าไม่ใชว่ วั บ้าน มนั มารอกนั อยู่ จะลง
กินน้ำ� ในหนองนั่นนะ่  แต่ทางนเี้ ขาเรยี กมันซอๆ กค็ อื จอ่ รออยอู่ ย่างน้ันเพือ่ จะลง
มันมากตอ่ มาก เป็นวัวป่าทั้งนัน้ ไมใ่ ช่วัวบ้าน ท่ีว่าหนองวัวซอๆ แต่ก่อนเปน็
ปา่ ววั ววั แดงเตม็ ไปหมดนน้ั  เพราะไมม่ บี า้ นผบู้ า้ นคนเลย แถวนนั้ จะมบี า้ นทไ่ี หน ไมม่ ี
หนองแวงฮกี ไ็ มม่ ี บา้ นหมากหญา้ ดวู า่ ยา้ ยไปอยกู่ อ่ นเขากม็ เี ทา่ นน้ั มบี า้ นหมากหญา้
แล้วก็บ้านหนองขุ่น นอกนั้นไม่เห็นมีบ้านอะไร หนองแซงอะไรเหล่านี้ไม่มี
บ้านคนไม่มี หนองบัวบานก็ไม่มี หนองวัวซอก็ไม่มี พวกนี้ย้ายมาจากอุบลฯ
บา้ นโนนทนั เหลา่ นยี้ า้ ยมาจากอบุ ลฯ แตก่ อ่ นเปน็ ดงเปน็ ปา่ ทง้ั นนั้ สตั วช์ มุ เดย๋ี วนี้
มีแต่ปา่ คน”

ดงั ทก่ี ลา่ วไวแ้ ลว้ ขา้ งตน้ วา่ ชาวบา้ นโคกมน บา้ นผานอ้ ย อำ� เภอวงั สะพงุ กบั ชาวบา้ นหนองบวั บาน นน้ั
เปน็ ญาติโดยทางสายเลอื ดกัน ข้อนเี้ อง หลวงปู่ชอบ ฐานสโม ซงึ่ เป็นชาวโคกมน ครน้ั ออกบวชแลว้
กม็ ักจะแวะพกั ภาวนาเพื่อโปรดญาตขิ องท่านอยเู่ สมอๆ เมอ่ื มโี อกาสอ�ำนวย และในบางปีกไ็ ด้จำ� พรรษา
ที่วดั ปา่ ชา้ บ้านหนองบวั บาน ศกึ ษาอยกู่ ับทา่ นพระอาจารย์บุญ เพอ่ื โปรดโยมมารดาท่ีไดอ้ อกบวชเป็นชี

8 ผู้ทรงไวซ้ ึ่งความฉลาด

หลวงปู่ออ่ น ญาณสริ ิ ณ วัดแห่งนี้ด้วย ในปีนั้นมีครูบาอาจารย์หลายรูปร่วม
หลวงปู่ชอบ ฐานสโม จำ� พรรษาอยดู่ ว้ ยกนั เชน่ หลวงปชู่ อบ ฐานสโม หลวงปหู่ ลยุ
จนั ทสาโร หลวงปขู่ าว อนาลโย เปน็ ตน้ ทำ� ให้ผคู้ นหันมา
สนใจในเร่ืองการภาวนามากขึ้น หากจะพูดว่าชาวบ้าน
หนองบัวบานนั้นมีนิสัยการภาวนามา ก็เนื่องจากว่า
หลวงปชู่ อบ ฐานสโม เปน็ ผวู้ างรากฐานไวก้ ไ็ มน่ ่าจะผิด
หลวงปู่ลีเล่าว่า “หลวงปชู่ อบ หลวงป่ขู าว มาก่อน
จากหัน่ มากะหลวงปู่อุ่น (ธมั มธโร) หลวงปถู่ ิร (ฐติ ธัมโม)
คอ่ ยมาเป็นอาจารย์เดือน”
สำ� หรบั หลวงปมู่ ี ปมตุ โต และ หลวงปลู่ ี กสุ ลธโร นนั้
โยมมารดาของท่านได้พาอพยพมาอาศัยอยู่ท่ีหมู่บ้าน
หนองบวั บานในปี พ.ศ. ๒๔๖๗ หลงั การกอ่ ตงั้ หมบู่ า้ นราว
๕ ปี ตั้งแต่คราวท่านทง้ั สองยงั เปน็ เดก็ อายุของหลวงป่มู ี
ได้ ๕ ขวบ สว่ นหลวงปลู่ ไี ด้ ๒​ขวบ จะเรยี กวา่ ทงั้ สองเปน็
คนบา้ นหนองบวั บานกไ็ ด้
ตอ่ มาในปี พ.ศ. ๒๔๙๖ ทา่ นเจา้ คณุ พระธรรมเจดยี ์ (จมู
พนั ธโุ ล) กไ็ ด้มีบญั ชาใหห้ ลวงปู่ออ่ น ญาณสริ ิ มาสร้างวดั
เพ่ือโปรดชาวบ้านหนองบัวบานขึ้นอีกแห่ง ช่ือว่า
วัดป่านิโครธาราม นับเป็นบุญของประชาชนกลุ่มน้ีท่ีได้
ใกล้ชิดพระกรรมฐานมาตลอด ส่งผลให้เวลาต่อมาได้มี
ลูกหลานชาวหนองบัวบานมีศรัทธาออกบวชปฏิบัติ
ภาวนาสืบๆ กันมามิได้ขาด เป็นเหตุให้มีคนกล่าวกันว่า
ชาวหนองบัวบานรูปใดท่ีเป็นลูกศิษย์ของหลวงปู่อ่อน
ญาณสริ ิ ทา่ นผนู้ น้ั กเ็ ปน็ ลกู ศษิ ยห์ ลวงปชู่ อบ ฐานสโม เพราะ
ท่านทั้งสองเกี่ยวเนื่องกันด้วยเหตุน้ี ลูกหลานชาวบ้าน
หนองบัวบานท่ีได้กลายมาเป็นครูบาอาจารย์ผู้ทรงคุณให้
เหลา่ พทุ ธบรษิ ัทได้กราบไหวเ้ ปน็ ท่ีชื่นตาช่ืนใจ เชน่

หลวงปู่ลี กสุ ลธโร 9

หลวงพ่อบวั คำ� มหาวโี ร วดั ป่าสมั มานสุ รณ์ จงั หวดั เลย
หลวงป่ลู ี กสุ ลธโร วัดภูผาแดง จังหวดั อุดรธานี
หลวงพอ่ คำ� ผอง กสุ ลธโร วดั ปา่ ผาแด่น จังหวัดเชียงใหม่
หลวงพ่อประสทิ ธ์ิ ปุญญมากโร วดั ปา่ หมใู่ หม่ จงั หวัดเชียงใหม่
หลวงปู่บัวทอง กนั ตปทุโม วดั ปา่ สัมมานสุ รณ์ จงั หวัดเลย
หลวงพ่อจันทรเ์ รยี น คุณวโร วดั ถ�้ำสหาย จังหวดั อดุ รธานี
หลวงพ่อสมศรี อตั ตสริ ิ วดั ปา่ เวฬุวนาราม จงั หวัดเลย
หลวงพอ่ บุญรอด อธปิ ญุ โญ วดั ถ�้ำไทรทอง จังหวดั กาฬสินธุ์
หลวงปูม่ ี (เกล้า) ปมุตโต วดั ถ�้ำเกยี จังหวัดอุดรธานี
หลวงปกู่ องมี (ริน) ปยิ สีโล วดั ปา่ สัมมานสุ รณ์ จังหวัดเลย
หลวงพอ่ ชำ� นาญ ชุตปิ ัญโญ วดั ปา่ ศริ ิรงุ่ เรอื ง จังหวัดเลย เป็นตน้
นับวา่ เหล่าดอกบวั (ครูบาอาจารย)์ แห่งหมบู่ า้ นหนองบวั บาน ได้ผลดิ อก
บานสะพรง่ั อยา่ งงดงามยงิ่ ดว้ ยแสงแหง่ พระธรรมคำ� สอนของพระสมั มาสมั พทุ ธเจา้
โดยแท้ นับวา่ เปน็ เร่อื งท่ีเกิดขึ้นไดบ้ นโลกนโ้ี ดยยาก

10 ผู้ทรงไว้ซึ่งความฉลาด

หลวงป่ลู ี กสุ ลธโร 11

ชวี ิต
ฆราวาส

แตง่ งานแล้ว

โอย๊ มันทุกขห์ ลาย
ใจมนั กะเลย

มีแต่คดิ อยากสิหนี

หลวงปู่ลี กสุ ลธโร
12 ผู้ทรงไว้ซ่งึ ความฉลาด

จบการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๓ เม่ืออายุได้ ๑๒ ปี
ที่โรงเรียนวัดบ้านหนองบัวบาน ท่านเป็นคนความจ�ำดี ขยัน
หม่ันเพียร ผลการเรียนสามารถสอบได้ตามเกณฑ์ปกติ ไมเ่ ปน็ ที่
หนักอกหนักใจของครูบาอาจารย์ผู้สอน อุปนิสัยส่วนตัวเป็น
คนซอ่ื สตั ย์ พดู นอ้ ย ไมช่ อบเอกิ เกรกิ เฮฮา เปน็ คนมจี ติ ใจเมตตา
โอบออ้ มอารี ไม่ทะเลาะเบาะแว้งกบั ผ้ใู ด
เนื่องจากมารดาของท่านร่างกายไม่ค่อยแข็งแรง เจ็บป่วย
อยู่บอ่ ยๆ เม่อื จบการศกึ ษาภาคบงั คับแลว้ ทา่ นจงึ สนใจศึกษายา
สมนุ ไพรพนื้ บา้ นเพอ่ื รกั ษามารดาและคนอนื่ ๆ ในเวลาเจบ็ ไขไ้ ดป้ ว่ ย
โดยศกึ ษาตวั ยาและจดจำ� ตำ� รบั ยาจากพระ ครบู าอาจารย์ ผเู้ ฒา่ ผแู้ ก่
ในหมบู่ า้ น เวลาเขา้ ปา่ กม็ กั จะเขา้ ไปหาสมนุ ไพรนำ� มาเกบ็ ไวส้ ำ� หรบั
ปรุงเป็นยาเสมอ
อายไุ ด้ ๒๕ ปี หลวงปลู่ ไี ดแ้ ตง่ งานกบั นางสาวชาตรี ยอดครี ี
ซงึ่ มีอายุอ่อนกวา่ ท่าน ๕ ปี โดยผูใ้ หญ่เปน็ ฝา่ ยจัดการใหท้ งั้ หมด
ไม่ไดเ้ ป็นความประสงคข์ องทา่ นแตป่ ระการใด ตวั ทา่ นเองกข็ ัด
ความประสงคข์ องผใู้ หญไ่ มไ่ ด้ จงึ ตอ้ งยอมตกลงตามนนั้ ทา่ นอาศยั
อยู่กินฉันสามีภรรยากับฝ่ายหญิง มีบุตร ๑ คน เป็นเพศชาย
แตเ่ สียชีวิตหลังคลอดได้ไม่นานนัก
หลวงปเู่ ลา่ วา่ “ผเู้ ฒา่ หาใหเ้ ดะ๊ เมยี เจา้ ของวา่ สบิ เ่ อา บแ่ ตง่
กำ� ลงั เฮด็ นาอยู่ เดอื น ๗ แลว้ เจา้ ของบไ่ ดเ้ กย่ี วอหิ ยงั แตง่ งานแลว้
โอย๊ มนั ทกุ ขห์ ลาย มนั เกดิ โรค มนั เปน็ โรคไปเอาครอบครวั นน่ั นะ่
บ่ซ�ำบายจกั เทือ มันปว่ ย บแ่ ม่นเจ้าของ กะแมน่ ผ้อู ่นื เปน็ ใจมนั
กะเลยมแี ตค่ ดิ อยากสหิ นี ฮว่ ย ขน่ั บห่ นอี อกบวช ตายแลว้ ปา่ นน”้ี

หลวงป่ลู ี กุสลธโร 13

กัลยาณมติ ร

บัวค�ำ
เฮาคืออยากไดแ้ ท้

พระนพิ พานเน่ีย

หลวงป่ลู ี กสุ ลธโร
14 ผูท้ รงไวซ้ งึ่ ความฉลาด

สมัยเป็นฆราวาส หลวงปู่ลีมีเพ่ือนสนิทมากอยู่คนหน่ึง ช่ือว่า
บัวค�ำ ทงั้ สองคนมีทนี่ าอย่ตู ดิ กัน ดว้ ยอธั ยาศยั ที่คล้ายกัน
หลายอยา่ ง เชน่ ไมค่ อ่ ยชอบคนหมมู่ าก เอาจรงิ เอาจงั กบั การงาน เปน็ คน
ไม่ส�ำมะเลกเกเร และที่ส�ำคัญ ท่านท้ังสองต่างเป็นผู้มีความสนใจใน
พระพทุ ธศาสนาเหมอื นกัน
บวั คำ� นน้ั มอี ายอุ อ่ นกวา่ สองปี เคยบวชเณรมากอ่ น ๔ พรรษา จากนนั้
ก็สึกออกมาช่วยครอบครัวทำ� งานประกอบอาชีพ ตอ่ มาได้แตง่ งานอย่กู ิน
กับภรรยา มธี ิดาอยู่ ๑ คน
วันหนึ่ง ท่านกับบัวค�ำผู้เป็นเพื่อนได้น�ำควายไปเล้ียงกินหญ้าท่ี
หว้ ยกดุ คลา้ วนั นนั้ ทงั้ สองไดพ้ ดู คยุ กนั เกย่ี วกบั เรอื่ งคณุ ธรรมในพระพทุ ธ-
ศาสนา ฝ่ายบัวค�ำซง่ึ เคยผ่านการบวชเณรมากอ่ นน้ัน เปน็ ผู้พรรณนาถึง
คณุ ธรรมในพระพทุ ธศาสนาประเภทตา่ งๆ ตง้ั แตค่ ณุ ของศลี คณุ ของสมาธิ
คณุ ของปญั ญา คณุ ของความวมิ ตุ ตหิ ลดุ พน้ และสดุ ทา้ ยคอื คณุ ของพระ
นพิ พาน เท่าที่ตนจะมคี วามสามารถพูดใหห้ ลวงปลู่ ฟี ังได้ ฝา่ ยหลวงปลู่ ี
ซงึ่ ขณะนน้ั ยงั เปน็ ฆราวาส พอไดย้ นิ คำ� วา่ “พระนพิ พาน” เทา่ นน้ั เปน็ เหตุ
ให้สะดุดใจอย่างแรง ท่านว่ามีความยินดีกับค�ำว่าพระนิพพานเป็นที่สุด
เมอ่ื ไดย้ นิ เขา้ กเ็ กดิ ทง้ั ปตี ิ เกดิ ทงั้ ความยนิ ดอี มิ่ เอม และเกดิ ความอยากจะ
ไดพ้ ระนพิ พานเปน็ กำ� ลงั จนบอกไมถ่ กู ในตอนสดุ ทา้ ยของการสนทนากนั
ในวนั นน้ั หลวงปลู่ ไี ดก้ ลา่ วกบั บวั คำ� เพอ่ื นของทา่ นวา่ “บวั คำ� เฮาคอื อยาก
ไดแ้ ท้ พระนิพพานเน่ยี ”
พอดใี นระยะนน้ั มพี ระกรรมฐานลกู ศษิ ยข์ องหลวงปใู่ หญม่ นั่ รปู หนง่ึ
ชอื่ ของทา่ นคอื พระอาจารยเ์ ดอื น ไดเ้ ดนิ ทางมาพกั ภาวนาทปี่ า่ ชา้ เผาศพ
บา้ นหนองบวั บาน หลวงปลู่ แี ละเพอื่ นๆ มนี ายบวั คำ� นายบวั ทอง และเพอ่ื น
อกี ๖ คน รวมกนั เปน็ ๙ ชวี ติ ไดช้ กั ชวนกนั ไปฟงั ธรรมของพระอาจารยเ์ ดอื น
พรอ้ มกนั นนั้ กไ็ ดป้ ฏบิ ตั ภิ าวนาควบคไู่ ปดว้ ย จนทำ� ใหท้ า่ นเกดิ ศรทั ธาอยาก
ออกบวชภาวนาอยา่ งจรงิ จงั แตก่ ย็ งั ตดิ ในปญั หาขอ้ ทว่ี า่ ยงั มคี รอบครวั อยู่
เกรงวา่ ญาตพิ นี่ อ้ งทง้ั สองฝา่ ยจะไม่เห็นดีด้วย

หลวงปู่ลี กสุ ลธโร 15

16 ผู้ทรงไว้ซ่งึ ความฉลาด

หลวงปเู่ ลา่ วา่
“ใจมนั มีแต่อยากสิหนี แตส่ ิเฮ็ดจังใด๋ หม่พู ี่น้องสบิ ผ่ ิดใจกนั เปน็ พี่น้อง
(ญาต)ิ กนั เดะ๊ กบั ผหู้ ญงิ นน่ั นะ่ แตก่ กี้ ะเปน็ เพอื่ นกนั เปน็ หมกู่ นั กบั พชี่ ายเขานะ่
ชอ่ื ว่า กองมี (หลวงปู่กองมี ปิยสีโล) มแี ตค่ ิดวา่ เฮ็ดจังใดผ๋ ู้เฒ่าสบิ ผ่ ดิ ใจกัน
ตกลงใจวา่ เข้าบวช ดี บ่ผิด
พอดอี าจารยเ์ ดอื นมา เพน่ิ พกั อยปู่ า่ ชา้ เปน็ วดั ปา่ ชา้ เผาผี หลวงปชู่ อบเพนิ่
ไปเฮ็ดไว้ต้ังแต่ก่อน กะเลยพากันไปฟังเทศนเ์ พน่ิ ไปกับหมู่ เพิ่นกะให้ภาวนา
พทุ โธ เพนิ่ กะสอนพทุ โธ เอาพทุ โธเดอ้ ผใู้ ดก๋ ะเอาพทุ โธ ฮว่ ย เดนิ จงกรมเกง่ แทๆ้
ไผกะดาย เดินจงกรมน�ำกนั ตง้ั ๘-๙ คนพูน่ น่ะ
เจ้าของกะภาวนาแหล่ว มื้อใดว๋ า่ ง กะไปวัดแหล่ว ไปหาเพ่นิ ไปภาวนา
น�ำเพิ่น กะภาวนาเป็นแต่เป็นโยมพู่นแล้ว อยู่นา กะเฮ็ดทางจงกรมไว้
เฮด็ งานแล้วกะเดินละ่ ทีน้ี เดนิ อยูซ่ ูมือ้ อ้ยุ ภาวนามันเกดิ แสงสว่าง อศั จรรย์
แสงสว่างล่ะ นั่งกะลงเร็ว ฮว่ ย น่งั จนตลอดแจ้งกะมบี างเทอื นิมิตกะเคยเกิด
เคยเกดิ กะมีคนมาตายใส่ (ตรงหน้า) อยู่จงั ซนั่ คนมาไคอ่ ึ่งล่ึง (ขน้ึ อืด) จังซน่ั
กะมี เรื่องอสุภะนีห่ ลาย เปน็ เชอ้ื มาแตพ่ ู่นแลว้ จ�ำบ่ลืม”

หลวงปู่ลี กสุ ลธโร 17

หลวงพอ่ บัวคำ� มหาวโี ร

18 ผู้ทรงไวซ้ ึ่งความฉลาด

สังเขปประวตั ิ

หลวงพอ่ บัวคำ� มหาวีโร

ท่านเป็นผูส้ นใจในธรรมฝา่ ยปฏบิ ตั ติ ลอดมา
ครง้ั อยู่ครองเรือน เมอ่ื มคี รูบาอาจารยเ์ ขา้ มาพกั ทีป่ า่ ช้าบ้านหนองบัวบาน
ท่านมกั จะชวนเพ่อื นๆ เขา้ ไปรับใช้และขอฟังธรรมจากครบู าอาจารยอ์ ยู่เสมอๆ

บัวคำ� จันทรงค์ เกิดเม่อื วันท่ี ท่านเป็นคนต้ังใจจริง เมื่อท่านได้รับฟัง
๒ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๔๖๗ ปชี วด พระธรรมเทศนาจากครบู าอาจารยแ์ ลว้ เมอ่ื มเี วลา
เปน็ บตุ รคนท่ี ๒ ในบรรดาพ่นี อ้ งทง้ั หมด ๓ คน วา่ งจากการงานตามท้องไร่ท้องนา ท่านจะภาวนา
ของนายจอ้ ย นางชม จนั ทรงค์ สมยั เดก็ บดิ าไดน้ ำ� มีการเดินจงกรมและนั่งสมาธิที่กระท่อมปลายนา
ไปฝากบรรพชาเปน็ สามเณรกบั ทา่ นพระอาจารยพ์ วง เสมอๆ จนเกิดผลเปน็ ที่นา่ พอใจ ศรัทธาจงึ เพ่ิม
ณ ปา่ ชา้ บา้ นหนองบวั บาน (วดั ขนั ธเสมาราม) ทา่ น มากขน้ึ เป็นลำ� ดับ อย่มู าวันหนึง่ ทา่ นต้องการทจี่ ะ
บวชเปน็ เณรอยู่ ๔ ปี จงึ ไดส้ กึ ออกมาประกอบอาชพี ออกบวชเปน็ กำ� ลงั ทา่ นเพยี รขออนญุ าตจากภรรยา
ช่วยบิดามารดาอยู่พอสมควร จึงได้มีครอบครัว เป็นเวลา ๒ ปี ผ้เู ป็นภรรยาจึงอนุญาตยนิ ยอม
อย่กู ินกบั ภรรยา มีธิดา ๑ คน ประจวบกับระยะน้ันจะมีงานถวายเพลิงศพ
ทา่ นเป็นผสู้ นใจในธรรมฝา่ ยปฏบิ ตั ิตลอดมา หลวงปู่ใหญ่มั่น ภูริทัตโต ณ วัดป่าสุทธาวาส
คร้ังอยู่ครองเรือน เม่ือมีครูบาอาจารย์เข้ามาพัก จังหวัดสกลนคร ครูบาอาจารย์ได้แนะน�ำให้ท่าน
ที่ป่าช้าบ้านหนองบัวบาน ท่านมักจะชวนเพื่อนๆ เดินทางไปร่วมงานนี้เพื่อจะได้บวชบูชาพระคุณ
เข้าไปรับใช้และขอฟังธรรมจากครูบาอาจารย์อยู่ ทา่ นเห็นดีด้วย จึงได้ออกเดินทางไปกับคณะของ
เสมอๆ จติ ใจทมี่ เี ชอื้ แหง่ คณุ งามความดเี ปน็ ทนุ เดมิ ครบู าอาจารย์ ครงั้ นนั้ มที า่ นพระอาจารยล์ ี กสุ ลธโร
อยแู่ ลว้ เมอื่ ไดร้ บั การอบรมอยบู่ อ่ ยๆ วาสนาทเี่ คย ไดร้ ว่ มเดนิ ทางไปบวชในงานเดยี วกนั นดี้ ว้ ย ขณะนน้ั
สร้างสมมาจึงงอกงามขึ้น อายุของท่านอาจารย์บัวคำ� ได้ ๒๗ ปี

หลวงปู่ลี กุสลธโร 19

อปุ สมบท จิตใจที่มเี ช้ือแห่งคณุ งามความดี
เปน็ ทุนเดิมอย่แู ลว้
เมอ่ื วนั ที่ ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๔๙๓ ณ
อุโบสถวัดศรีโพนเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัด เมื่อไดร้ ับการอบรมอยู่บอ่ ยๆ
สกลนคร มที า่ นเจา้ คณุ พระธรรมเจดยี ์ (จมู พนั ธโุ ล) วาสนาที่เคยสรา้ งสมมาจึงงอกงามขึ้น
เปน็ พระอปุ ชั ฌาย์ หลวงปอู่ อ่ น ญาณสริ ิ เปน็ พระ
กรรมวาจาจารย์ หลวงปู่ฝั้น อาจาโร เป็นพระ
อนุสาวนาจารย์
ปฏปิ ทานบั แตว่ นั บรรพชาอปุ สมบทเปน็ ตน้ มา
ทา่ นเปน็ ผตู้ งั้ อกตงั้ ใจรบั การอบรมธรรมฝา่ ยปฏบิ ตั ิ
อยา่ งมไิ ดย้ อ่ ทอ้ เปน็ ผขู้ ยนั อดทน พดู นอ้ ย ทำ� มาก
และมีเมตตาต่อเพ่ือนสพรหมจารีย์ ต้ังตนอยู่ใน
โอวาทค�ำส่ังสอนของครูบาอาจารย์ด้วยดีเสมอมา
จนเปน็ ทเี่ บาใจไวใ้ จของครบู าอาจารยแ์ ละหมคู่ ณะ
ครูบาอาจารย์ที่เคยให้การอบรมแก่ท่าน ดังเช่น
หลวงปู่อ่อน ญาณสิริ หลวงปู่ชอบ ฐานสโม
ทา่ นอาจารยพ์ ระมหาบวั ญาณสมั ปนั โน หลวงปบู่ วั
สิริปุณโณ เปน็ ต้น
โดยเฉพาะ หลวงปชู่ อบ ฐานสโม ถอื วา่ เปน็
ครูบาอาจารย์ที่ท่านพระอาจารย์บัวค�ำติดตามไป
เกอื บทกุ หนทกุ แหง่ สดุ ทา้ ยหลวงปชู่ อบเหน็ ควรให้
ทา่ นเปน็ เจา้ อาวาสวดั ปา่ สมั มานสุ รณ์ บา้ นโคกมน
จงั หวดั เลย

20 ผู้ทรงไว้ซง่ึ ความฉลาด

ตอนทท่ี ่านจะหมดลมหายใจนน้ั มรณภาพ
ทา่ นไดบ้ อกว่า
ปี พ.ศ. ๒๕๒๔ ทา่ นพระอาจารยบ์ ัวคำ� ได้
“เอาเราไปยังกุฏิของเรา” กลับมาจ�ำพรรษาที่บ้านโคกมน เพื่อพักฟื้นจาก
พระตอบวา่ อาการอาพาธด้วยโรคไข้ป่ามาลาเรียท่ีติดตัวท่าน
มาจากเขาตะกุ จังหวัดฉะเชงิ เทรา คณะศษิ ย์ได้
“ตอนนีห้ ลวงพ่อกอ็ ยู่บนกุฏิ น�ำท่านไปรักษาตัวที่โรงพยาบาลสงฆ์ กรุงเทพฯ
ของหลวงพอ่ แลว้ ครบั ” อาการไม่ดขี ึน้ มแี ต่ทรดุ หมอบอกวา่ ไมม่ ีทางหาย
ท่านได้ยินดงั นั้นแลว้ หลวงปูช่ อบได้ตามลงไปดถู งึ กรงุ เทพฯ และได้รับ
สักพักก็หยุดสงบดับไปเลย ตัวท่านกลับมายังจังหวัดเลย ตอนท่ีท่านจะหมด
ลมหายใจน้ัน ท่านได้บอกว่า “เอาเราไปยังกุฏิ
ของเรา” พระตอบวา่ “ตอนนหี้ ลวงพอ่ กอ็ ยบู่ นกฏุ ิ
ของหลวงพ่อแล้วครับ” ท่านได้ยินดังน้ันแล้ว
สกั พักกห็ ยดุ สงบดบั ไปเลย
ทา่ นมรณภาพเมื่อวนั ที่ ๑ กุมภาพนั ธ์ พ.ศ.
๒๕๒๕ สิรอิ ายไุ ด้ ๕๘ ปี ๓๒ พรรษา

หลวงปลู่ ี กสุ ลธโร 21

อปุ นสิ ัย

บารมขี องเฮา

กะเฮด็ มาแหล่ว
จังคอ่ ยไดบ้ วช

หากบ่มีบารมี
บม่ วี าสนา
มนั บไ่ ดบ้ วชดอก

หลวงปลู่ ี กุสลธโร
22 ผทู้ รงไวซ้ ึง่ ความฉลาด

โดยปกติแล้ว บุคคลผู้มีความเล่ือมใสในพระศาสนา และมีใจน้อมไปในบรรพชาอุปสมบท
ประพฤติตนอยู่ในธรรมวินัยของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ปรารถนาเพื่อความพ้นจากทุกข์ใน
วัฏสงสารน้ี มใิ ช่วา่ จะมไี ด้กันอย่างง่ายๆ หรอื จะมีขึน้ ไดอ้ ยา่ งลอยๆ แต่จะมีขน้ึ ไดด้ ้วยเพราะท่านผู้น้นั
จะตอ้ งอบรมสรา้ งสมเหตุคอื คุณงามความดีประเภทต่างๆ จนมากพอ วาสนาบารมีจงึ จะสามารถเกดิ ขนึ้
ในใจของท่านผนู้ ้ันได้
ในเรื่องน้ี หลวงตาพระมหาบวั ได้อธบิ ายไว้ว่า
“คำ� ว่า อปุ นิสัย น้ี คอื เชอื้ แหง่ คณุ งามความดีอันส�ำคญั ทอี่ ยูภ่ ายในใจ อุปนสิ ยั ฝังแลว้ ทีจ่ ะส�ำเรจ็
มรรคผลนพิ พานมอี ยเู่ ตม็ ทแี่ ลว้ เปน็ แตเ่ พยี งยงั ไมเ่ บกิ กวา้ งใหธ้ รรมชาตนิ แี้ สดงตวั ออก พอเราสรา้ งเหตุ
คอื คณุ งามความดมี กี ารภาวนาเปน็ ตน้ ขน้ึ มารองรบั สง่ิ ทเ่ี คยสงั่ สมมาทเ่ี รยี กวา่ อปุ นสิ ยั นก้ี จ็ ะแสดงตวั ออกมา
ทนั ที
อปุ นสิ ยั นจี้ ะเกดิ ขนึ้ มาไดด้ ว้ ยจากการใหท้ าน การรกั ษาศลี การเจรญิ เมตตาภาวนา และคณุ งามความดี
ประเภทตา่ งๆ ท้ังหลายน่ันแหละเปน็ เครือ่ งหนุน หนุนเข้าไปๆ มากเข้าๆ หนุนขนึ้ สงู ข้นึ พอเต็มท่ีแลว้
มองดอู ะไรๆ ทไ่ี หนๆ กจ็ ะเปน็ เครอ่ื งสรา้ งความกงั วลไปหมด เปน็ เหตสุ รา้ งความวนุ่ วายไปหมด นน่ั กเ็ พราะ
อำ� นาจแหง่ บญุ แหง่ กศุ ลความดพี อแลว้ จงึ ทำ� ใหเ้ หน็ เปน็ อยา่ งนน้ั มองดอู ะไรๆ ดวู นุ่ วาย ดยู งุ่ ไปหมดทกุ อยา่ ง
ดคู บั แคบตบี ตนั ไปหมด ไมย่ งุ่ แตท่ างทจ่ี ะออกปฏบิ ตั ธิ รรมเพอื่ ความพน้ ทกุ ขโ์ ดยถา่ ยเดยี วนนั่ ละ่ ออกเลย
นนั่ อย่างนนั้ ล่ะนะ นี่อุปนิสยั มันแกแ่ ล้ว มันจะแก่อยา่ งน้นั ไดก้ ็มาจากการสรา้ งคณุ งามความดีเร่ือยๆ มา
นแี่ หละ สรา้ งไมห่ ยดุ ไมถ่ อย สรา้ งไปๆ เพม่ิ เขา้ ไปๆ พอมนั พอแลว้ กอ็ ยา่ งนน้ั แหละ จะตดั มาบม่ หรอื ไมต่ ดั
มาบม่ มนั กจ็ ะสกุ หลดุ จากขว้ั ได้อยา่ งผลไม้ นี่ถึงเวลาแล้วมนั ก็จะหลุดหกั ออกจากขัว้ ไป ออกบวชไป
ภาวนาไป บรรลธุ รรมป๋งึ ”
หลวงปลู่ กี เ็ ชน่ เดยี วกนั ทา่ นไดส้ รา้ งสมคณุ งามความดมี า ปรารถนาเพอ่ื เปน็ พระสาวกรปู ใดรปู หนง่ึ
ขององคส์ มเดจ็ พระสัมมาสมั พทุ ธเจา้ ท่านได้เลา่ ไวว้ า่
“บารมขี องเฮากะเฮด็ มาแหลว่ จงั คอ่ ยไดบ้ วช หากบม่ บี ารมี บม่ วี าสนา มนั บไ่ ดบ้ วชดอก พระพทุ ธเจา้
เพน่ิ วางศาสนาไว้ กว็ างไวใ้ หผ้ มู้ อี ปุ นสิ ยั เดะ๊ เพน่ิ เหน็ หมดแลว้ ยคุ นน้ั ไดท้ อนี้ ยคุ นไ้ี ดท้ อนน้ั เพนิ่ มญี าณ
เพนิ่ เล็งเห็นหมดแลว้ ”

หลวงปูล่ ี กสุ ลธโร 23

พระพุทธเจา้
เป็นแบบอยา่ ง

ทรงท�ำประโยชน์

ให้แกโ่ ลกในความเปน็
พระเจ้าแผน่ ดนิ นน้ั
ผลมีจำ� กดั
ไม่สามารถทำ� ประโยชน์
แก่โลกได้มากมาย
ทว่ั ไตรโลกธาตุเหมือน

ความเปน็ ศาสดาเลย

24 ผูท้ รงไวซ้ ่งึ ความฉลาด

เจ้าชายสทิ ธตั ถราชกมุ ารเสดจ็ ออกผนวช ทรงเสยี สละทกุ สง่ิ ทกุ อยา่ งโดยทรงตดั ความ
ห่วงใยอาลัยเสียดายทุกประการ กระท่ังประชาชนท้ังหลายที่เห็นแก่ตัวต�ำหนิ
ติเตยี นท่านวา่ พระพทุ ธเจ้าเปน็ คนคบั แคบ เอาตัวรอดเพยี งพระองคเ์ ดียว ดงั น้ีมอี ยู่มากเรือ่ ยมา
แมส้ มยั ปจั จบุ นั กไ็ มอ่ าจปฏเิ สธได้ ความจรงิ พระพทุ ธเจา้ ไมไ่ ดท้ รงคบั แคบตบี ตนั ดงั คำ� กลา่ วหานน้ั เลย
ตรงกนั ข้าม ท่านกลับเปน็ ผูม้ พี ระเมตตาตอ่ สตั วโ์ ลกอย่างหาประมาณมิไดเ้ สยี อีก
โดยล�ำพังพระก�ำลังความสามารถที่ทรงท�ำประโยชน์ให้แก่โลกในความเป็นพระเจา้ แผ่นดินนั้น
ผลมีจ�ำกัด ไม่สามารถท�ำประโยชน์แก่โลกได้มากมายท่ัวไตรโลกธาตุเหมือนความเป็นศาสดาเลย
อยา่ งมากกไ็ ดเ้ พยี งขอบเขตขณั ฑสมี าทพ่ี ระสทิ ธตั ถราชกมุ ารทรงปกครองเทา่ นนั้ ไมเ่ หมอื นความเปน็
ศาสดาสอนโลกทง้ั สาม เชน่ กามภพ รปู ภพ อรปู ภพ ทเ่ี รยี กวา่ ไตรโลกธาตุ พระพทุ ธเจา้ พระองคเ์ ดยี ว
เป็นครสู งั่ สอน
เมอ่ื เสดจ็ ออกทรงผนวช กท็ รงบำ� เพญ็ พระองคอ์ ยา่ งเตม็ พระสตปิ ญั ญา สละตดั ความหว่ งใยอาลยั
เสียดายท้ังสิ้นที่โลกนิยมกัน ก็ต�ำแหน่งพระราชามหากษัตริย์ใครจะไม่ต้องการ ยศถาบรรดาศักด์ิ
ความเป็นพระเจ้าแผน่ ดิน ไพร่ฟา้ ประชาชี บรษิ ทั บรวิ าร พระชนกชนนี พระชายา พระราชโอรส
สมบัติเงินทองข้าวของท้ังแผ่นดิน เป็นของพระเจ้าแผ่นดินทั้งน้ัน สิ่งเหล่านั้นเป็นของที่มีคุณค่า
น่าเทดิ ทนู ดว้ ยความรกั ชอบเหมือนๆ กนั หมด เช่นเดยี วกับสมบตั ิเงนิ ทองข้าวของในบ้านเรอื นเรามี
คณุ คา่ สำ� หรบั เรา เจา้ ชายสทิ ธตั ถราชกมุ ารกย็ อ่ มมบี รษิ ทั บรวิ ารและมสี มบตั เิ งนิ ทองขา้ วของทงั้ แผน่ ดนิ
ซงึ่ เปน็ สง่ิ ทม่ี คี ณุ คา่ มากเชน่ เดยี วกนั แตจ่ ำ� ยอมเสยี สละ เพราะสงิ่ เหลา่ นถ้ี า้ จะเทยี บถงึ ประโยชนต์ อ่
สตั วโ์ ลกทว่ั ทง้ั ไตรภพนแี้ ลว้ เปน็ ประโยชนน์ อ้ ยนดิ เดยี ว จงึ ตอ้ งทรงเสยี สละตดั ความหว่ งใยเสยี ดาย
ทงั้ หลาย
เชน่ เดยี วกบั การออกบวชของหลวงปลู่ ี ถา้ จะมองกนั อยา่ งทโ่ี ลกเขามองนน้ั อาจจะมคี นเขา้ ใจผดิ
ไดว้ า่ หลวงปเู่ ปน็ คนทเ่ี หน็ แกต่ วั มาก ไมส่ นใจวา่ คนอน่ื จะคดิ อยา่ งไร เขาจะเปน็ ทกุ ขย์ ากอยา่ งไรหลงั จาก
ทา่ นออกบวชแลว้ โดยเฉพาะภรรยาของทา่ น แตถ่ า้ พวกเรามองดูตัวอย่างการเสดจ็ ออกผนวชของ
เจ้าชายสิทธัตถะแล้ว จะเห็นได้ว่าการออกบวชของหลวงปู่ลีน้ัน เป็นการเดินตามแบบฉบับของ
พระบรมครูท่ีทรงกระท�ำไว้เป็นแบบอย่างดีแล้ว ท้ังน้ีก็เพราะสาวกบารมีญาณที่หลวงปู่ได้กระท�ำ
บำ� เพญ็ มานน้ั เปน็ อปุ นสิ ยั ทคี่ อยกระตนุ้ เตอื นใหท้ า่ นออกบวชภาวนาเพอื่ ความพน้ ทกุ ขโ์ ดยถา่ ยเดยี ว
ในชาตนิ ้ีเท่านัน้

หลวงปลู่ ี กสุ ลธโร 25

26 ผู้ทรงไว้ซ่งึ ความฉลาด

หลวงป่เู ลา่ ว่า เพ่ือช่วยเตรียมงานถวายเพลิงศพ
“มนั เปน็ โรค จงั วา่ บซ่ ำ� บายจกั เทอื แตง่ งาน หลวงปใู่ หญม่ น่ั ภรู ทิ ตั โต ลว่ งหนา้ กอ่ น
แลว้ จติ มนั คดิ แตส่ หิ นอี อกอยจู่ งั ซน่ั แตก่ ะบอกพอ่ ประมาณ ๑ เดือน ในขณะเดียวกัน
บอกแมอ่ ยดู่ อก ลาเพนิ่ วา่ สไิ ปบวช เพน่ิ กะบว่ า่ อหิ ยงั พระอาจารยเ์ ดอื นกไ็ ดส้ อนหัดขานนาค
กะตามใจแล้ว เพนิ่ วา่ ฝ่ายเมียนก่ี ะหนีเลยแหลว่ ใหก้ บั หลวงพอ่ บวั คำ� และหลวงปลู่ ดี ว้ ย
บเ่ วา่ ลาพ่อเฒ่าแมเ่ ฒ่าแล้วกะเปดิ เลย” หลวงป่เู ล่าว่า
หลังจากท่ีหลวงปู่ได้บอกความประสงค์ “ครองนาค หัดทแี รกกะอาจารย์
ของท่านพร้อมทั้งลาโยมพ่อโยมแม่และพ่อตา เดือนแหล่ว สอนให้ ออกไปจูดศพ
แม่ยายแล้ว พระอาจารย์เดือนได้น�ำคณะออก หลวงปมู่ นั่ กะหลวงปวู่ นั (อตุ ตโม) เปน็
เดินทางจากป่าช้าบ้านหนองบัวบาน จังหวัด ผสู้ อน ไปซ้อมอย่พู นู่ กอ่ นถึงมอ้ื งาน
อดุ รธานี ไปยังวดั ป่าสทุ ธาวาส จังหวัดสกลนคร เปน็ เดือนพู่นแหลว่ ”

หลวงป่ลู ี กสุ ลธโร 27

รว่ มอัญเชญิ สรีระ
หลวงป่ใู หญม่ ัน่

จังใด๋กะตาม

ให้เฮาไดห้ ามศพ
หลวงปู่ใหญ่มั่นให้ได้

หลวงปู่ลี กสุ ลธโร
28 ผูท้ รงไวซ้ งึ่ ความฉลาด

กอ่ นถึงวันถวายเพลิงศพของหลวงปู่ใหญ่ม่ันน้ัน คณะ
กรรมการจัดงานได้อันเชิญสรีระของหลวงปู่ใหญ่ม่ัน
จากศาลาไปสู่เมรุพิเศษที่ได้จัดเตรียมไว้อย่างสวยงาม ผ้าขาวลีกับ
ผา้ ขาวบวั คำ� ไดป้ รกึ ษากนั วา่ จะอยา่ งไรกต็ าม พวกเราจะตอ้ งไดห้ ามศพ
หลวงปใู่ หญม่ นั่ ให้ได้ ในงานนี้ หลวงปบู่ ุญมี ปรปิ ุณโณ และหลวงปู่
เพยี ร วริ โิ ย ซง่ึ ตอนนนั้ ทา่ นทงั้ สองตา่ งเปน็ พระอายพุ รรษายงั ไมม่ าก
ได้อยรู่ ว่ มในงานครั้งประวัติศาสตร์น้ีด้วย

หลวงปบู่ ญุ มี ไดเ้ ลา่ เหตกุ ารณท์ เี่ กดิ ขนึ้ ในระหวา่ งพธิ เี ชญิ สรรี ะ
ของหลวงป่ใู หญม่ นั่ วา่

หลวงปู่บญุ มี ปริปณุ โณ หลวงป่ลู ี กุสลธโร “ชว่ งน้ันอาตมาไปช่วยงาน เปน็ พระหนมุ่ อายพุ รรษา ๓ เป็น
แรงงาน คอื ทำ� สว้ ม ทำ� ปะรำ� ทพ่ี กั สำ� หรบั พระเณรในปา่ สมยั นน้ั บค่ อ่ ย
มกี ุฏิ

ระยะนั้นบ่ฮู้จักกับหลวงปู่ลี แต่มื้อเอาศพหลวงปู่ใหญ่มั่นลง
ไปเมรุ พอฉนั แลว้ กะเคลือ่ นศพ มผี ้าขาว ๒​คน ไปแทรกเขาหาม
ศพหลวงปู่ใหญ่ม่นั เขาดึงออกกะบย่ อมออก ดึงอย่างไรกะบ่ออก
เขาดา่ กะบอ่ อก ไปๆ มาๆ ผา้ ขาวผนู้ น้ั คอื อาจารยล์ ี กบั ทา่ นบวั คำ�
เปน็ หลวงปลู่ ีทกุ มือ้ นี้ แตก่ อ่ นบร่ ้จู กั กัน (หลวงปู่หวั เราะ) เพิน่ อยู่
หนองบวั บาน อาจารยเ์ ดอื นเปน็ อาจารยเ์ พนิ่ พากนั ไปแตห่ นองบวั บาน
ระยะนน้ั เพิ่นอยากบวช พากันไปนอนอยนู่ ายามเก่ยี วขา้ วเดอื น ๑๒
เพราะตอนเพน่ิ บวชเปน็ เดือน ๓​ แล้ว เดือน ๑๒ ท�ำทางจงกรม
อยูน่ าพู่นล่ะ เวา่ กัน ออกพรรษาแลว้ ทำ� ทา่ เขา้ มาบ้านมาไหวแ้ มเ่ ฒ่า
แตง่ ขนั ดอกไมม้ าไหว้ขอขมาแม่เฒา่ เพ่ินจะลาบวช

หลวงปบู่ ุญมี ปริปุณโณ อาจารยล์ เี พน่ิ เวา่ กบั อาจารยบ์ วั คำ� จงั ใดก๋ ะตาม ใหเ้ ฮาไดห้ ามศพ
หลวงปใู่ หญม่ น่ั ใหไ้ ด้ ไดป้ รกึ ษากนั ไวอ้ ยา่ งนน้ั เฮด็ จรงิ ๆ เพนิ่ กะเฮด็
อหิ ลี ต่อมาเมื่อบวชแล้ว อาจารย์เดอื นมอบอาจารยล์ ีให้กับพอ่ แม่-
ครูจารย”์

หลวงป่ลู ี กุสลธโร 29

30 ผู้ทรงไว้ซ่งึ ความฉลาด

มื้อเอาศพหลวงปู่ใหญ่ม่ันลงไปเมรุ พอฉันแล้ว
กะเคล่ือนศพ มผี ้าขาว ๒​ คน ไปแทรกเขาหามศพ
หลวงปใู่ หญม่ น่ั เขาดงึ ออกกะบย่ อมออก ดงึ อยา่ งไร
กะบ่ออก เขาดา่ กะบอ่ อก ไปๆ มาๆ ผ้าขาวผูน้ ้ัน คอื
อาจารย์ลีกับท่านบัวคำ�

บรรดาพระเถระผู้ใหญท่ ีม่ ารว่ มงานถวายเพลิงศพ
หลวงป่ใู หญ่มน่ั ภูริทตั โต วนั ที่ ๓๐ มกราคม ๒๔๙๓

หลวงปู่ลี กสุ ลธโร 31

ออกบวช

วันถวายเพลงิ
หลวงปมู่ ่นั นั้น

เปน็ วนั บวชธรรมลี
วันนน้ั บวชหลายองค์

ธรรมลนี อี้ งคห์ นึง่

ถวายเพลงิ วันน้นั
อุปชั ฌาย์ของเรา
ท่านก็บวชใหเ้ ลย

หลวงตาพระมหาบวั ญาณสมั ปันโน

32 ผทู้ รงไว้ซึง่ ความฉลาด

ทา่ นเข้ารับการอุปสมบทท่ี
วัดศรีโพนเมือง ต�ำบล
ในเมือง อ�ำเภอเมอื ง จังหวดั สกลนคร
เมอื่ วนั ท่ี ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๔๙๓
เวลา ๑๖.๑๒ น. ขณะอายุได้ ๒๙ ปี
พระธรรมเจดีย์ (จมู พันธุโล)
เปน็ พระอปุ ัชฌาย์
หลวงปอู่ ่อน ญาณสริ ิ
เปน็ พระกรรมวาจาจารย์
หลวงปฝู่ ้นั อาจาโร
เป็นพระอนุสาวนาจารย์
ได้รบั ฉายาเป็นภาษามคธว่า
“กสุ ลธโร”
แปลว่า ผทู้ รงไวซ้ ่ึงความฉลาด

หลวงปู่ลี กุสลธโร 33

พอ่ แม่ครูจารย์

ท่านมัน่ ใจว่า

ครอู าจารย์องค์น้ีแหละ

จะสามารถอบรมชี้แนะเรา

ใหพ้ น้ จากกองทุกข์

ทง้ั มวลได้

34 ผทู้ รงไวซ้ งึ่ ความฉลาด

หลวงป่ลู ี กสุ ลธโร 35

หลวงปู่ลีเคยเล่าถึงความผูกพันท่ีมีระหว่างท่านกับ หลวงตาพระมหาบวั ญาณสมั ปนั โน
หลวงตาให้ลูกศิษย์ลูกหาได้ฟังในบางโอกาสว่า หลวงปลู่ ี กุสลธโร
ทา่ นเคยเกิดเปน็ พ่อลูกกันมาหลายภพหลายชาติ เคยเกดิ
เปน็ ศษิ ยอ์ าจารยท์ เี่ คารพผกู พนั กนั มา เคยเกดิ เปน็ ชา้ งทรง
ออกศึกสงครามของหลวงตาสมัยที่ท่านเกิดเป็นกษัตริย์
กู้ชาติ เคยเกิดเป็นสุนัขตัวโปรด และอีกหลายๆ ภพ
หลายๆ ชาตทิ ่ีท่านทงั้ สองไดเ้ กดิ ร่วมชาตกิ นั มา เรียกได้วา่
เกือบจะทุกชาติที่หลวงตาได้เกิดมา จะมีหลวงปู่ลีเกิด
ตดิ ตามมาคู่กบั หลวงตาเสมอ ทัง้ น้ดี ้วยเพราะความเคารพ
รักแบบหมดจิตหมดใจที่หลวงปู่ลีได้มีต่อหลวงตาผู้เป็น
อาจารย์
มาในชาติปัจจุบันน้ี คร้ังแรกท่ีหลวงปู่ลีได้พบกับ
หลวงตาในงานถวายเพลิงศพหลวงปู่ใหญ่ม่ันที่วัดป่า
สทุ ธาวาส เพยี งแคม่ องเหน็ ครงั้ แรกเทา่ นน้ั หวั ใจของทา่ น
ก็เกิดความเคารพรัก หวังจะยอมเป็นยอมตายกับครู
อาจารย์องค์นี้ขึ้นมาทันที ท่านมั่นใจว่าครูอาจารย์องค์
น้ีแหละ จะสามารถอบรมช้ีแนะเราให้พ้นจากกองทุกข์
ทงั้ มวลได้ เพราะความเคารพรกั ทม่ี มี าแตช่ าตไิ หนๆ แลว้
หลวงปลู่ ตี ง้ั ใจเอาไวว้ า่ จะขอมอบกายถวายชวี ติ เปน็ ศษิ ย์
และตดิ ตามศกึ ษาอบรมอยกู่ ับหลวงตาเทา่ นน้ั
หลวงปู่พูดถึงความรู้สึกที่เกิดขึ้นคร้ังแรกท่ีได้พบกับ
หลวงตาวา่ “เห็นแลว้ มักเลย มนั ติดมาแตใ่ ด๋ๆ แล้ว”
แต่ด้วยสภาวธรรมของหลวงตาในระยะนั้นหมุนตัว
เป็นอัตโนมัติทั้งวันท้ังคืน จึงท�ำให้ท่านไม่สามารถท่ีจะ
ใหผ้ ใู้ ดเกย่ี วขอ้ งดว้ ยได้ ในชว่ งนนั้ ทา่ นจงึ หลบหลกี ปลกี ตวั
ออกจากหมคู่ ณะไปแตเ่ พยี งผเู้ ดยี ว แมแ้ ตใ่ นชว่ งเตรยี มงาน
ถวายเพลงิ ศพหลวงปู่ใหญ่มน่ั ท่านก็พักในงานได้แค่เพียง
๔ วันเทา่ นนั้ พอเผาศพแล้วกป็ ลกี ตัวหนีออกไปทันที

36 ผู้ทรงไวซ้ ่ึงความฉลาด

หลวงตาพระมหาบัว ญาณสมั ปนั โน หน้าเมรุหลวงปู่ใหญ่มน่ั ภรู ิทัตโต ณ วัดป่าสทุ ธาวาส จงั หวดั สกลนคร

หลวงตาเล่าว่า เวลานั้น ต้องอยู่คนเดียวกับอารมณ์
“ระยะท่ีพ่อแม่ครูจารย์ม่ันป่วย แห่งธรรมกับกิเลสฟัดกันอยู่บนหัวใจ
มรณภาพ จนกระท่ังถวายเพลิงศพ เทา่ นน้ั ใครยุง่ ไมไ่ ด้ ฟงั สิ ในงานศพ
ทา่ นนน้ั เราจะไมม่ เี วลาเลย จติ มนั หมนุ พ่อแม่ครูจารย์มั่นอยู่เพียง ๔ วัน
เปน็ ธรรมจกั ร อยกู่ บั ใครไมไ่ ด้ ศพทา่ น ขนาดนั้นล่ะ มันอยู่ไม่ได้ มันพุ่งๆ
เอาไว้ท่วี ดั สทุ ธาวาส เรามากราบปบั๊ ๆ ภายในจิต มีแต่จะไปท่าเดียวออก
แลว้ ไปเลย เขา้ ไปอยใู่ นปา่ เขาคนเดยี ว ท่าเดียว นี่ถึงกาลเวลามันจะออก
ทางภูพาน จิตเวลามันก้าวของมัน มันไม่ฟังเสียงอะไร มีแต่ฆ่ากิเลส
กา้ วไมม่ วี นั มคี นื ซดั เขา้ ไปจนสตปิ ญั ญา ตลอดเวลา พองานเสร็จก็โดดเลย
เป็นอัตโนมัติแล้ว หมุนติ้วๆ จากน้ัน พอเผาศพท่านได้ ๔ วัน ขึ้นเขาวัด
ก็เข้ามหาสติมหาปัญญา ย่ิงหมุนยิ่ง ดอยธรรมเจดีย์ ลงจากน้ันก็เปิดลง
ละเอียดยิ่งซึมซาบ อยู่กับใครไม่ได้ อำ� เภอบา้ นผอื เขา้ ศรเี ชยี งใหม่ จงั หวดั
หนองคาย”

หลวงปลู่ ี กสุ ลธโร 37

ด้วยความจ�ำเป็นเช่นน้ี หลวงปู่ลีเมื่ออุปสมบทแล้ว ด้วยความเป็นผู้บวชใหม่
ยังไม่คุ้นเคยกบั หมู่คณะ และไม่รู้จกั ทางไปทางมาสำ� หรับเทีย่ ววิเวก ท�ำใหท้ า่ นตัดสนิ ใจ
กลบั มาพักอยู่ ณ​วัดปา่ ชา้ บ้านหนองบัวบาน อย่รู ะยะหน่ึงก่อน ต่อมาท่านไดเ้ ดินทาง
ไปยังวดั ป่าทรงคุณ อำ� เภอเมอื ง จังหวัดปราจีนบรุ ี เพ่อื ศึกษาอบรมอยกู่ บั หลวงปู่สงิ ห์
ขนั ตยาคโม เพราะไดร้ บั การชกั ชวนจากพระอาจารยบ์ วั ไล (ภายหลงั ไดล้ าสกิ ขา) และทา่ น
กไ็ ดต้ ดั สินใจจำ� พรรษาแรก ณ วดั แห่งน้ี
หลวงปู่ลเี มตตาเลา่ เรือ่ งหลวงป่สู ิงห์ ขันตยาคโม ให้ฟงั ว่า
“๒๔๙๓ จำ� พรรษากบั หลวงปสู่ งิ ห์ พระอาจารยบ์ วั ไลพาไป ไปบณิ ฑบาตอยโู่ คราช
ซะกอ่ นแหลว่ ออกจากหนั่ กะไปปราจนี บรุ ี คำ�่ กะเลยไปกราบหลวงปสู่ งิ ห์ เพน่ิ เลยฝากไว้
นำ� หลวงปสู่ ิงหห์ นั่ มเี ณรไปน�ำนะ เจ้าของกะเลยเขา้ พรรษาอยู่กบั หลวงปู่สงิ ห์ หลวงปู่
สโี ห
โหย เพนิ่ สอนดแี หลว่ ขอ้ วตั รเพนิ่ กะดอี ยเู่ ด๊ เพนิ่ กะเอาปฏปิ ทาครบู าอาจารยน์ ลี่ ะ่ ฉนั
เพน่ิ กะฉนั ในบาตรคอื กนั บไ่ ดฉ้ นั พา (ภาชนะ) หยงั ความจรงิ เพน่ิ ปรารถนาพทุ ธภมู ิ ปรารถนา
เปน็ พระพทุ ธเจา้ พนุ่ นะ สรา้ งโครงกระดกู โอย๊ ตะอยกู่ บั หลวงปมู่ นั่ น่ี ความฮเู้ พนิ่ ของคอ่ ยต๊ิ
คดึ เบงิ่ เด๊ อน่ั อยบู่ า้ นวาอากาศเนยี่ อนั่ หลวงปมู่ นั่ เนยี่ สงิ ห์ เอย๊ พจิ ารณานำ�้ เด๊ กน่ สา่ ง (บอ่ นำ้� )
บอ่ นใดก๋ ะบอ่ อกนะ มอ้ื เซา้ มา กะเออ ใตต้ น้ สะแบงหน่ั นะ กน่ ลงไป ๑๑ เมตร เถงิ่ นำ�้ ละ่ วาซนั่
หมอ่ งนนั่ ละ่ มนี ำ้� กน่ ลงไปเปย๊ี ะถงึ ๑๑ เมตร วาซนั่ นำ้� พงุ่ ขนึ้ เลย ครง่ึ สา่ งขอ่ นสา่ งขน้ึ พนุ่ นะ
ไดใ้ ชเ้ ทา่ สู่มอื้ นแ่ี หลว่ วัดบา้ นวาอากาศ อ�ำเภออากาศ หลวงปู่ตอ่ ไปแมน่ หลวงปสู่ โี ห
ตอ่ ไปกะหยงั หลวงปู่หยงั ล่ะ ลืมช่อื เพ่นิ หลวงตาแก่ อาจารย์สีโห เพนิ่ เปน็ พี่หม่”ู

38 ผ้ทู รงไวซ้ ึ่งความฉลาด

หลวงปู่สงิ ห์ ขันตยาคโม

หลวงปูล่ ี กุสลธโร 39

ประดจุ เงา
เทียมหลวงตา

เหน็ แล้วกม็ กั เลย

มนั ติดมาแต่ใดๆ๋ แลว้

หลวงปูล่ ี กุสลธโร
40 ผทู้ รงไวซ้ ง่ึ ความฉลาด

หลั ง จ า ก อ อ ก พ ร ร ษ า “ออกพรรษา(พ.ศ.๒๔๙๓)
พ.ศ. ๒๔๙๓ ซึ่งเป็น พอ่ ขาวคนบา้ นเต่างอย (อำ� เภอ
พรรษาแรกในชีวิตของนักบวช เตา่ งอย จงั หวดั สกลนคร) แกไป
หลวงปู่ลีได้เดินทางกลับมายัง อยู่น�ำอาจารย์สีโห (เขมโก)
ภาคอีสานเพื่อติดตามขอศึกษา สิกลับมาเย่ียมบ้านทางสกล
อบรมอยู่กับหลวงตาตามที่ เลยได้ขอลาเพ่ินหลวงปู่สิงห์
ตั้งใจไว้แต่แรกนั้น ท่านเล่าถึง กลับมาน�ำพ่อขาว ให้พ่อขาวไป
เหตกุ ารณค์ รง้ั แรกทอ่ี อกตดิ ตาม ส่งทางลดั ไปบา้ นหนองผือ
หลวงตาว่า

หลวงปูล่ ี กุสลธโร 41

“นดั กนั ทแี รกกอ่ นมาเด๊ เดอื น ๑๒ เพง็ วาซนั่ ๖-๗ วนั เพน่ิ พาไปตอ่ ยา่ งไป พนู่ แลว้ อำ� เภอ
นดั กันกอ่ นแล้วเด๊ะ เขาวง (จงั หวัดกาฬสนิ ธ์)ุ ไปบา้ นนาตาหลิว่

เขา้ ไปหนองผอื เพน่ิ ไปวิเวก วาซัน่ เดีย๋ วน้ี สไิ ปบา้ นหว้ ยทรายเด๊ (อำ� เภอคำ� ชะอี จงั หวดั
เพิ่นพักอยู่บ้านกุดไห (อ�ำเภอกุดบาก จังหวัด มกุ ดาหาร) มแี ตย่ า่ งแหล่ว สไิ ด้รถไสนอ้ เพ่ินพา
สกลนคร) ยา่ งเอา บาตรเพน่ิ พายเอง”

เณรพณิ วา่ สขิ อไปนำ� เดยี๋ วเกบ็ หมากเกบ็ พลู หลวงปูล่ ีเลา่ เพิม่ เตมิ ว่า
เอาไปต้อนไปถวายเพน่ิ นำ� ใหร้ อกอ่ น “บาตรเพ่นิ บ่ใหส้ ะพายดอก
พอไปฮอดกดุ ไห โอ้ เพิ่นออกไปแต่เช้าแลว้ พอ่ แมค่ รจู ารยท์ า่ นกำ� หนดทศิ ทางในการออก
วาซน่ั เลยพากนั พกั อยู่กดุ ไหกอ่ น ธดุ งค์ ทศิ นบ้ี อ่ นใดเ๋ ขาฮจู้ กั แลว่ เพนิ่ บพ่ าไปอกี เด๊
เช้าม้ือใหม่มา กะออกติดตามเพิ่นไปทาง เพ่นิ บไ่ ปซำ้� หมอ่ งเกา่
กดุ แฮด ขา้ มโคกภู ยางโลน้ หนองสา่ น ไปทนั เพนิ่ พ่อแม่ครูจารย์เพ่ินย่างไวแท้ๆ ถึงทางโค้ง
อยบู่ า้ นอเี ตงิ่ (บ้านนางเตง่ิ อำ� เภอภพู าน จงั หวดั ตอ้ งแอบแลน่ ตาม ทางโคง้ ๆ ยา่ นเพนิ่ เหลยี วมาเบงิ่
สกลนคร) ไปทนั เพน่ิ อยนู่ ลี่ ะ่ เพน่ิ ปเู ฟอื งพกั อยใู่ น แลนนำ� บซ่ ่นั
ปา่ ผเู้ ดียว

42 ผทู้ รงไวซ้ ่ึงความฉลาด

แหม “ไปทไ่ี หนนพี้ ระเณรแอบตามๆ จมกู เกง่ วา่ งี้
เก่งนะธรรมลี ก็เฉยนะพระ ก็เราไปท่ีไหนมันก็ตามไปจนทันๆ
ติดไปเรอ่ื ย มนั ยงั ไงพระน่ี จมกู หมาสไู้ มไ่ ด้ จมกู พระดกี วา่ หมา
เฉย ขอให้ได้อยู่ด้วยพอใจ น่ันเห็นไหม ไอ้เรา
เม่ือเดินธุดงค์ไปถึงที่ต้องการจะพักแล้ว เป็นผเู้ สียเปรียบ ว่าก็เฉย ขอให้ได้อยดู่ ้วย เป็น
จัดท�ำที่พักแล้ว ค่อยท�ำทางจงกรม บ่ต้องให้ไผ อย่างนนั้ ละธรรมลี ปลงิ สู้ไม่ได้ เราขโมยไปไหน
มาเฮด็ เฮด็ เอง ทำ� ใหพ้ อ่ แมค่ รจู ารยก์ อ่ น มฮี ากไม้ ทา่ นขโมยไปดกั อยขู่ า้ งหนา้ แลว้ แหม เกง่ นะธรรมลี
เครือไม้แถวน้ันก็น�ำมาเป็นไม้กวาดช่ัวคราว ตดิ ไปเร่ือย”
เรามองดบู รเิ วณทพ่ี อจะเดนิ ได้ เรากวาดใบไมอ้ อก “บา้ นยางโล้น ผมก็เคยไปทบ่ี ้านยางโล้นน่ะ
มนั จะเป็นทีส่ ูง ทต่ี �่ำ ขรขุ ระ กะช่างมัน ที่ไมเ่ รยี บ ยางโลน้ อเี ต่งิ (นางเต่งิ ) หนองส่าน แล้วกข็ ึน้ ไป
กะชา่ ง ยา่ งเลย เดินได้โลด เดินจงกรมทั้งวนั ไม่มี ทางคำ� เพมิ่ ไปเทย่ี วแตก่ อ่ นไปทางนนั้ มนั มแี ตเ่ ขา
แดดสอ่ ง ต้นไม้หนา มีแต่ต้นไม้สูง ใบดกหนาทัว่ แต่ดงน่ี ดงเสือน่นั ทีน้เี สือก็ไปกดั ควายของเขา
บริเวณ ขา้ งใตม้ นั แปลนเอ๊ดิ เต๊ิดเด้” พอเจา้ ของไปเจอซากควาย เขากข็ ดั หลาวขดั แหลม
ขณะท่ีหลวงตาพักภาวนาอยู่ที่บ้านยางโล้น (กบั ดกั ) เขาเอาไมไ้ ผม่ าทำ� ทางโนน้ เขาเกง่ มากนะ
หนองสา่ น นางเตงิ่ ในเขตอ�ำเภอภพู าน จงั หวดั เรอื่ งน้ี เรอ่ื งวางกบั ดกั น้ี ทนี เี้ สอื มนั กลบั มากนิ ซาก
สกลนคร น้นั วนั หนงึ่ เสอื ไดเ้ ขา้ มากดั ควายของ ควาย พอมันเดินผ่านสายไยกับดักที่เขาวางไว้น้ี
ชาวบา้ นเอาไปกินเปน็ อาหาร ต่อมาเสอื ตัวนั้นได้ หลาวมันก็พุ่งออกมาเสียบเสือตายเลย ตายอยู่
ถกู กับดกั ของนายพรานฆ่าตาย ชาวบ้านไดม้ าเล่า ตรงนัน่ แหละ เป็นเสอื โครง่ ใหญ่ ต้งั ๗ ศอก ทนี ้ี
เรื่องนี้ให้หลวงตาฟัง ทา่ นเลา่ ว่า เขากห็ ามเสอื มาไวก้ ลางหมบู่ า้ น คนกแ็ หไ่ ปรมุ ดกู นั
ทัง้ หมู่บา้ น หมาทัง้ หมบู่ ้านนีอ่ ย่ไู มไ่ ด้เลย ออกไป
เหา่ อยกู่ ลางทงุ่ นาอกึ ทึกคึกโครมไปหมด มันกลวั
ซากเสอื เลยอยไู่ มไ่ ด้ วนั นน้ั หมาเหา่ อยกู่ ลางทงุ่ นา
ทง้ั วนั เขา้ บา้ นไมไ่ ด้ มนั ไดก้ ลน่ิ เสอื เนยี่ หมามนั กลวั
เขามาเลา่ ใหผ้ มฟังตอนผมไปพกั อยทู่ น่ี ่นั ”

หลวงปู่ลี กสุ ลธโร 43

ความทุกข์ของ
พระกรรมฐาน

พี่นอ้ งทั้งหลายจำ� เอานะ

ถ้าจิตหนกั แนน่ ในธรรม
แล้วจะไมส่ นใจกับอะไร

เรือ่ งความทกุ ข์ความยาก
ลำ� บากอะไรมนั ไม่สนใจเลย

หลวงตาพระมหาบวั ญาณสัมปันโน

44 ผทู้ รงไว้ซ่ึงความฉลาด

ขณะท่พี ัก ณ บา้ นนาตาหลวิ่ อ�ำเภอเขาวง
จังหวัดกาฬสินธุ์ นั้น คณะของหลวงตา
ได้ประสบกับภัยธรรมชาติ คือเกิดฝนตกหนัก
นอกฤดู ท�ำให้พระเณรตา่ งได้รับความทุกข์ความ
ลำ� บากอันเกิดจากฝนตกนอกฤดใู นครัง้ น้นั
หลวงปลู่ ีเลา่ ถึงเหตุการณ์ครั้งนั้นวา่
“เจา้ ของน่ี เพิ่นให้ไปองค์เดียว บิณฑบาต
บ้านโพน พ่อแม่ครูจารยบ์ ณิ ฑบาตบา้ นนาตาหล่วิ
เพิ่นครูบาสีทากับเณรพิณ ไปบ้านหนองผือ
จารยก์ ายนก่ี บั เณรกนั ต์ ไปบา้ นโนนตมู แยกกนั ไป
๔ บา้ นแหลว่ ไปบณิ ฑบาตพอดี มอ้ื หนงึ่ กะฝนตก
โอ๊ย แข่งฝนแหล่ว แขง่ ฝนไป
พ่อแม่ครูจารย์เลยบอกโยมให้ไปลัดเจ้าของ
ไปฉันอยู่ตูบเขา บ้านเขาเฮ็ดตูบไว้ ฉันอยู่นอก
เพนิ่ ฉันอยู่นน่ั เด๊ มันเปยี กหมดเน่ยี เขากะนิมนต์
ฉนั อยนู่ ก่ี ะไดต้ ว้ั วาซนั่ เขาเฮด็ ฮา่ นไว้ ไทบา้ นกะลงั
มาจังหัน
ฉนั แลว้ ผา้ เชด็ อหี ยงั กะบม่ ี บาตรกะฉนั แลว้
กะบ่มผี า้ เช็ด กะพายบาตรไปลา้ งอยู่วัดพุน่ แหล่ว
ฉันแลว้ ๆ กะพายบาตรเปล่ากบั ทอน่นั ต้ัว อาหาร
กะจกออกเหมิดแล้วบ่มีผ้าเช็ดอีหยัง เฮากะเอา
บาตรเปล่าไป”
“กรรมฐานสุม้อื นซ้ี ำ� บายโพด”

หลวงปลู่ ี กุสลธโร 45


Click to View FlipBook Version