ตดั ใจขาดจากญาติโยม
ช่วงที่หลวงปู่แหวนพักอยู่วัดบ้านเกิดตลอด ๑ เดือนนั้น ท่านค่อนข้างรู้สึก
รำ� คาญใจทญี่ าตพิ น่ี อ้ งชาวบา้ นไปมาหาสรู่ บกวนจนไมค่ อ่ ยจะมเี วลาทำ� สมาธสิ งบใจได้
สะดวก ทำ� ใหม้ หี ว่ งพะวกั พะวง หลวงปรู่ ำ� พงึ วา่ “อนั ตวั เรานก้ี ไ็ ดเ้ ลอื กทางดำ� เนนิ เพศ
สมณะ เจริญตามรอยบาทพระพุทธเจา้ กระท�ำตนเปน็ อนาคาริก คือไมม่ ีบ้านเรือน
อยู่อาศัย ชอบวิเวกอยู่ตามป่าตามเขา อยู่โคนต้นไม้ ถึงเวลาแล้วท่ีจะตัดขาดจาก
ญาตโิ ยมชาวบา้ นให้เดด็ ขาดเพื่อออกแสวงหาวิมตุ ติสขุ ทางหลดุ พ้นจากความทกุ ข์”
เม่ือคิดดังน้ีแล้ว ท่านก็บอกลาญาติโยมชาวบา้ นเพื่อจะออกกรรมฐานไปตาม
ทางของตน แต่ญาติโยมทั้งหลายต่างทัดทานเอาไว้ ด้วยเห็นว่าเป็นพระธุดงค์มีแต่
ความยากล�ำบาก ต้องอดๆ อยากๆ อย่แู ตใ่ นป่า นอนตามโคนไม้และในปา่ เต็มไป
ด้วยสัตว์ร้ายอาจท�ำอันตรายเอาได้ ขอให้อยู่กับวัดต่อไปเถิด แต่หลวงปู่ไม่ยอม
ไดเ้ ทศนาธรรมสง่ั สอนชแ้ี จงแสดงเหตผุ ลจนญาตโิ ยมใจออ่ น ไมอ่ าจทดั ทานได้ ไดแ้ ต่
อนุโมทนาสาธดุ ว้ ย
หลวงปู่แหวนจึงเริ่มออกธุดงค์อย่างแท้จริงตั้งแต่บัดน้ัน เป็นการจากบ้านเกิด
ไปยาวนาน ไม่มใี ครไดข้ ่าวคราวตลอดระยะเวลา ๕๐ กว่าปี และเพิ่งจะมาไดย้ นิ
ข่าวหลวงป่แู หวนอีกที ก็ประมาณปลายปี ๒๕๑๔ เมอื่ หนังสือพิมพ์น�ำประวัติและ
อภินหิ ารหลวงปูแ่ หวน พระวิปสั สนาจารยผ์ เู้ ฒ่าแห่งวดั ดอยแมป่ งั๋ จังหวดั เชียงใหม่
ออกเผยแพร่
44
กลับไปหาพระอาจารยใ์ หญ่
เมอ่ื หลวงปตู่ ดั สนิ ใจเดด็ ขาดแลว้ วนั รงุ่ ขน้ึ หลงั จากกลบั จากบณิ ฑบาต และฉนั
เสร็จแล้ว ก็รีบจัดบริขารจำ� เปน็ ใส่ลงในบาตร สะพายบาตร แบกกลด สะพายยา่ ม
มือข้างหน่ึงถือกาน�้ำ แล้วออกเดินทางจากวัดโพธ์ิชัย บ้านนาโป่ง มุ่งกลับไปหา
พระอาจารยใ์ หญม่ น่ั ทดี่ งมะไฟ บา้ นค้อ จังหวดั อดุ รธานี อกี คร้งั หนง่ึ
เมื่อกลับไปถึงส�ำนักของพระอาจารย์แล้ว ท่านได้พบเพื่อนสหธรรมิกท่ีเข้ามา
ขออบรมอยกู่ บั พระอาจารยอ์ กี หลายทา่ นดว้ ยกนั ในการเขา้ มาอยอู่ บรมกบั หลวงปมู่ นั่
ในชว่ งแรกนี้ ทา่ นไมไ่ ด้เขา้ อปุ ฏั ฐากใกลช้ ดิ เพราะเป็นผมู้ าใหม่ ยงั ไมร่ จู้ กั ธรรมเนยี ม
ข้อวัตร อกี ประการหนึง่ หลวงปูม่ น่ั ท่านไม่ใหใ้ ครเขา้ ไปอยู่ใกล้ท่านง่ายๆ
ในการทเี่ ขา้ มาอยรู่ บั การอบรมจากหลวงปมู่ น่ั นนั้ เมอื่ ทา่ นแนะนำ� ในขอ้ ปฏบิ ตั แิ ลว้
บรรดาศิษย์ก็ต้องแยกย้ายกันไปหาท่ีวิเวกเพ่ือบ�ำเพ็ญสมาธิภาวนาตามสถานที่ท่ี
เหมาะสมแกจ่ รติ นสิ ยั ของตน ตา่ งองคต์ า่ งไปฝกึ บำ� เพญ็ เพยี รเอาเอง เมอ่ื ถงึ วนั อโุ บสถ
จงึ เขา้ มารวมกนั ทำ� อโุ บสถ ฟงั สวดพระปาฏโิ มกข์ และรบั การอบรมจากพระอาจารยใ์ หญ่
อกี ครงั้ หน่ึง
ในเวลาเชน่ นี้ ศษิ ยร์ ปู ใดมปี ญั หาตดิ ขดั ในการภาวนาอยา่ งไร กก็ ราบเรยี นถาม
ทา่ นได้ ซง่ึ ทา่ นเองกต็ อบอธบิ ายใหฟ้ งั จนเขา้ ใจขนั้ ตอนและวธิ ปี ฏบิ ตั จิ นชดั เจน จงึ เปน็
โอกาสท่ีวิเศษสุดที่บรรดาศิษย์ท้ังหลายจะได้ฟังธรรมอบรมแยกแยะต้ังแต่สมาธิ
ขัน้ ต�่ำไปหาปัญญาขั้นสูง ทำ� ใหเ้ พลดิ เพลนิ ไปกับกระแสธรรมทที่ า่ นแสดงออก
ลกู ศิษย์ลกู หาคนใดมภี มู ปิ ฏิบตั ิอยู่ในขนั้ ใดก็ไดป้ ญั ญากา้ วไป
45
ใหต้ ั้งใจภาวนา อยา่ ได้ประมาท
หลงั จากท่หี ลวงปูม่ นั่ แสดงธรรมแล้ว บรรดาศิษย์ก็จะกลับไปที่อยู่ของตนโดย
ไมโ่ อเ้ อช้ กั ชา้ นอกจากหลวงปมู่ น่ั แลว้ พระผมู้ าใหมย่ งั ไดอ้ าจารยซ์ ง่ึ เปน็ ศษิ ยร์ นุ่ ใหญ่
คอยชว่ ยแนะน�ำชี้ทางตกั เตือนส่งั สอนและแนะน�ำกันไป
ในบางครง้ั หลวงปมู่ น่ั จะบอกใหศ้ ษิ ยร์ ปู นน้ั ไปอยใู่ นสถานทเ่ี ชน่ นนั้ รปู นไี้ ปอยู่
ในสถานทเี่ ชน่ น้ี ซงึ่ แตล่ ะแหง่ ทท่ี า่ นบอกใหไ้ ปอยลู่ ว้ นแตเ่ ปน็ ทที่ ม่ี อี นั ตรายอยรู่ อบดา้ น
เชน่ อาจเปน็ ทเี่ สอื มนั อยู่ เสอื มนั ผา่ นไปมา เปน็ ตน้ หลวงปมู่ น่ั จะยำ�้ ตอ่ ศษิ ยผ์ ไู้ ปอยใู่ นที่
เชน่ นน้ั วา่ “ใหต้ ง้ั ใจภาวนา อยา่ ไดป้ ระมาท ใหม้ สี ตอิ ยทู่ กุ เมอื่ จงอยา่ เหน็ แกก่ ารพกั ผอ่ น
หลบั นอนให้มากนัก”
หลวงปแู่ หวนเลา่ ใหศ้ ษิ ยฟ์ งั วา่ “การไปภาวนาอยใู่ นทอ่ี นั ตรายเชน่ นนั้ ทำ� ใหจ้ ติ
รวมตวั ไดเ้ รว็ สตกิ ม็ น่ั คงประจำ� อริ ยิ าบถ มสี ตเิ ปน็ เพอื่ นในการเคลอ่ื นไหวไปมา เพราะ
ในทอี่ นั ตรายอยเู่ ฉพาะหนา้ เชน่ นนั้ สตสิ มั ปชญั ญะจะตอ้ งเปน็ เพอื่ นดว้ ยเสมอ การทำ�
ความเพยี รกเ็ อาจรงิ เอาจงั การพกั ผอ่ นหลบั นอนกน็ อ้ ย จะมบี า้ งกเ็ พยี งเพอื่ บำ� บดั ความ
ออ่ นเพลยี ของธาตขุ ันธ์
การปรารภความเพยี รเปน็ ไปตดิ ตอ่ ทง้ั กลางวนั กลางคนื ไมก่ ำ� หนดเวลาเปน็ นาที
เปน็ ชวั่ โมง ถา้ วนั ไหนธาตขุ นั ธไ์ มแ่ ปรปรวน จติ สงบดี กจ็ ะนง่ั หรอื เดนิ จงกรมไปตลอดคนื
ความออ่ นเพลียก็ไมป่ รากฏ”
46
เวลาเจบ็ ไขต้ ้องเร่งภาวนา
หลวงปแู่ หวน สจุ ณิ โฺ ณ เลา่ ใหบ้ รรดาศษิ ยฟ์ งั วา่ ในการอยภู่ าวนากบั พระอาจารยใ์ หญ่
ในช่วงนน้ั รสู้ ึกวา่ จิตเปน็ สมาธแิ ละกา้ วหนา้ เปน็ อย่างดี ทำ� ให้ท่านเกิดความมน่ั ใจว่า
เรม่ิ ปฏบิ ัตไิ ปในแนวทางท่ที ่านปรารถนาแล้ว
อุปสรรคของการภาวนาที่ส�ำคัญในตอนน้ัน คือเวลาบ�ำเพ็ญภาวนาอยู่ในป่า
ในเขาเช่นน้นั พระเณรมกั จะเปน็ ไข้ปา่ เป็นแตล่ ะครงั้ ก็หลายวันเพราะไม่มียารกั ษา
เมอื่ จบั ไขเ้ ขา้ ตอ้ งอาศยั กำ� ลงั จติ เปน็ เครอ่ื งบรรเทา กลา่ วคอื เวลาเจบ็ ไขก้ ต็ อ้ งเรง่ ภาวนา
ขนึ้ ตามกนั พจิ ารณาจนกวา่ ไขจ้ ะสรา่ งหรอื หายไป แตส่ ว่ นมากการเจบ็ ไขจ้ ะไมห่ ายขาด
เปน็ แตเ่ ว้นระยะการจับไขอ้ อกไป เชน่ สามวนั บา้ ง หา้ วนั บา้ ง แลว้ กก็ ลับจับไข้อกี
เปน็ อาการของไข้ป่าชนดิ เรอื้ รัง
สำ� หรบั พระธดุ งคผ์ มู้ งุ่ มน่ั คน้ หาสจั ธรรมอยา่ งแทจ้ รงิ แลว้ ทา่ นจะไมท่ อ้ แท้ จะยอม
ตายถวายชวี ติ ถ้าไขไ้ ม่หายก็ตาย ชาตนิ ้ีไม่สำ� เรจ็ กไ็ ปภาวนาต่อในชาตติ ่อไป
47
การเปน็ พระคนละนกิ าย
ปญั หาประการหนง่ึ ทห่ี ลวงปแู่ หวน สจุ ณิ โฺ ณ ทา่ นรสู้ กึ ไมค่ อ่ ยสะดวกใจนกั ไดแ้ ก่
การเปน็ พระในสงั กดั คนละนกิ าย เพราะในสมยั นนั้ ทา่ นยงั เปน็ พระในคณะมหานกิ าย
ยังไม่ได้เปลีย่ นญัตตเิ ปน็ คณะธรรมยุตกิ นิกาย
เมอ่ื ถงึ วนั อโุ บสถ หลวงปแู่ หวนและพระมหานกิ ายองคอ์ นื่ ๆ ไมส่ ามารถรว่ มทำ�
สังฆกรรมฟงั สวดปาฏิโมกข์ได้ ตอ้ งออกไปใหพ้ ้นเขตทก่ี �ำหนด ตอ่ เมือ่ พธิ ีเสรจ็ แล้ว
บรรดาศิษย์ท่ีเป็นพระมหานิกายจึงได้รับอนุญาตให้เข้ามาบอกปาริสุทธิ ต่อจากนั้น
หลวงปมู่ น่ั จงึ แสดงธรรมอบรมอบุ ายการแกจ้ ติ ทขี่ ดั ขอ้ งเวลาภาวนา แนะนำ� วธิ พี จิ ารณา
หรือคำ� บริกรรมสำ� หรบั ผู้เขา้ มาปฏบิ ตั ิใหม่แลว้ แต่เหตุการณ์
บรรดาศษิ ยม์ หานกิ ายทไ่ี ปอบรมภาวนาอยกู่ บั หลวงปมู่ น่ั ในสมยั นน้ั มอี ยหู่ ลายรปู
ดว้ ยกนั เมอ่ื อยไู่ ปนานพอสมควรและเหน็ ความไมส่ ะดวกดงั กลา่ วมาแลว้ จงึ ไปกราบเรยี น
ขออนญุ าตญตั ตเิ ปน็ พระธรรมยตุ บางรปู หลวงปมู่ นั่ ทา่ นกอ็ นญุ าต และบางรปู ทา่ นก็
ไมอ่ นุญาต สำ� หรบั พระท่หี ลวงปู่ม่นั ไมอ่ นุญาตให้เปลย่ี นนิกายนน้ั ท่านให้เหตผุ ลวา่
“ถา้ พากนั มาญตั ตเิ ปน็ พระธรรมยตุ เสยี หมดแลว้ ในฝา่ ยมหานกิ ายจะมใี ครแนะนำ�
ในการปฏิบัติ มรรคผลไม่ได้ขึ้นอยู่กับนิกาย แต่มรรคผลขึ้นอยู่กับการปฏิบัติดี
ปฏิบัติชอบ ตามธรรมวนิ ัยท่ีพระพุทธเจ้าได้ทรงแนะน�ำสั่งสอนไว้แลว้ พระองคส์ อน
ใหล้ ะเว้นในส่งิ ท่คี วรละเว้น เจริญในส่ิงทค่ี วรเจรญิ นแ่ี หละคือทางด�ำเนินไปสู่มรรค
ผลนพิ พาน”
48
บรรดาศษิ ยฝ์ า่ ยมหานกิ ายทห่ี ลวงปมู่ นั่ ทา่ นไมอ่ นญุ าตใหญ้ ตั ตนิ น้ั ตอ่ มาภายหลงั
ศิษย์เหล่าน้ันก็ได้ไปแนะน�ำส่ังสอนลูกศิษย์ลูกหาในสายของท่าน จนสามารถขยาย
วงการปฏบิ ัตอิ อกไปได้อยา่ งกว้างขวาง มีลูกศษิ ย์ลูกหาสบื ต่อกันมาจนถึงปจั จุบัน
ศษิ ยม์ หานกิ ายรนุ่ แรกไดแ้ ก่ พระอาจารยท์ องรตั น์ กนตฺ สโี ล วดั ปา่ บา้ นคมุ้ ตำ� บล
โคกสวา่ ง อำ� เภอสำ� โรง จงั หวดั อบุ ลราชธานี ทา่ นไดม้ รณภาพเมอื่ วนั ท่ี ๒๑ กนั ยายน
พ.ศ. ๒๔๙๙ สริ ิรวมอายุได้ ๖๘ ปี พรรษา ๔๒ หลวงปูช่ า สุภทโฺ ท ไดก้ ล่าว
ว่า “พระอาจารย์ทองรัตน์ เปน็ ผูอ้ ยอู่ ยา่ งผอ่ งแผ้วจนกระทั่งวาระสดุ ท้าย เมื่อท่าน
มรณภาพ ท่านมีสมบัตใิ นยา่ มคือมดี โกนเพียงเล่มเดยี วเทา่ นน้ั ” หลวงปู่ชา สุภทโฺ ท
แห่งวัดหนองปา่ พง อำ� เภอวารนิ ชำ� ราบ จงั หวดั อบุ ลราชธานี ก็เป็นศิษยม์ หานิกายทีม่ ี
ชอ่ื เสียงอกี องคใ์ นรุน่ รองลงมา
และตอ่ มาภายหลงั เมอื่ หลวงปมู่ นั่ ไปพำ� นกั ในภาคเหนอื ศษิ ยม์ หานกิ ายของทา่ น
ทีม่ ีช่ือเสยี ง กไ็ ด้แก่ หลวงปคู่ ำ� แสน คุณาลงกฺ โร วัดดอนมูล (สันโคง้ ใหม)่ อ�ำเภอ
สนั กำ� แพง จงั หวดั เชยี งใหม่ และหลวงปคู่ ำ� ปนั สภุ ทโฺ ท วดั สนั โปง่ อำ� เภอแมร่ มิ จงั หวดั
เชียงใหม่ เป็นตน้
49
คำ� แนะน�ำและอบุ ายแก้ไขจิตจากครอู าจารย์
หลวงปแู่ หวน สจุ ณิ โฺ ณ เลา่ ถงึ วา่ “การออกปฏบิ ตั ใิ นสมยั แรกๆ ทย่ี งั ไมร่ จู้ กั ภาวนานนั้
เวลาอยู่ในปา่ โดยเฉพาะในเวลากลางคนื มกั จะเกดิ ความระแวงไปในเร่อื งทไ่ี ร้สาระ
ตา่ งๆ ตามแตจ่ ติ มนั จะปรงุ ขนึ้ มา สว่ นมากมกั จะเปน็ เรอื่ งหลอกตวั เองทง้ั สนิ้ ตามความ
เคยชนิ ของจติ ทเี่ คยเปน็ อสิ ระมาตลอดโดยไมม่ ขี อบเขต ไมม่ เี ครอ่ื งกนั้ ไมม่ สี งิ่ ควบคมุ ”
หลวงปเู่ ลา่ ตอ่ ไปวา่ “ครน้ั มาปฏบิ ตั เิ ขา้ ในระยะแรกกร็ สู้ กึ ดมื่ ดำ่� ดี แตพ่ อเอาเขา้ จรงิ ๆ
จิตกลับฟุ้งปรุงไปเป็นอดีตอนาคต ไม่ได้คิดพิจารณาในเรื่องปัจจุบันนัก” หลวงปู่
บอกวา่ “การอยใู่ กลค้ รบู าอาจารยจ์ งึ ใหป้ ระโยชนอ์ ยา่ งมากทสี่ ดุ เพราะครอู าจารยค์ อย
ใหค้ ำ� แนะนำ� แกไ้ ขพรอ้ มทง้ั อบุ ายในการแกจ้ ติ ในเวลาฟงุ้ ซา่ น อบุ ายการขม่ จติ ในเวลา
เกดิ ความทะนงตน ประกอบกบั การไดร้ บั คำ� สงั่ ใหไ้ ปอยใู่ นทต่ี า่ งๆ ทแี่ วดลอ้ มไปดว้ ย
อนั ตราย ทำ� ใหไ้ ดอ้ าศยั อาจารยเ์ สอื บา้ ง อาจารยช์ า้ งบา้ ง เปน็ ผขู้ ม่ ขจู่ ติ นอกจากนก้ี าร
เรง่ ประกอบความเพยี รใหเ้ ปน็ ไปอยา่ งตดิ ตอ่ ไมข่ าดวรรคตอน ทง้ั กลางวนั และกลางคนื
จติ กค็ อ่ ยรวมตวั อยใู่ นความควบคมุ ของสติ รวมตวั เขา้ สสู่ มาธิ ความเยอื กเยน็ ในดา้ น
จติ ใจเรม่ิ ปรากฏผลใหป้ ระจกั ษ์ ทำ� ใหเ้ กดิ ความมน่ั ใจในขอ้ ปฏบิ ตั ขิ องตนทไี่ ดด้ ำ� เนนิ
มาว่าไม่ผดิ ทาง”
หลวงปแู่ หวน สจุ ณิ โฺ ณ เลา่ ถงึ ความรสู้ กึ ในจติ จากการปฏบิ ตั ภิ าวนาในชว่ งแรกนวี้ า่
“เมอ่ื เกดิ ความสงบ ตวั ของจติ เรมิ่ ปรากฏเปน็ ผลของการปฏบิ ตั คิ วามเพยี รทเี่ คยฝกึ ทำ�
มาโดยตลอด พอจติ สงบลง ความเพยี รกเ็ รง่ ขนึ้ ตามสว่ น เปน็ เครอ่ื งบำ� รงุ สง่ เสรมิ สมาธิ
ปัญญาไปในขณะเดยี วกัน เม่อื ศรทั ธามกี �ำลัง วริ ิยะมีก�ำลงั สติมีกำ� ลัง สมาธิมีกำ� ลัง
ปญั ญามกี ำ� ลงั ตา่ งกส็ ง่ เสรมิ ซงึ่ กนั และกนั ตงั้ แตส่ มาธขิ น้ั ตำ�่ ไปถงึ ปญั ญาขน้ั สงู ความสขุ
ทางด้านจติ ใจเริ่มปรากฏเปน็ ผลให้ชื่นชม ไม่เสียแรงทไี่ ด้พยายามต้ังใจปฏบิ ัตมิ า”
50
สติสัมปชัญญะตอ้ งต่นื อยูเ่ สมอ
หลวงป่แู หวน สุจณิ โฺ ณ เล่าถึงการปฏิบัตทิ างจติ วา่
“เปน็ ของทล่ี ะเอยี ดออ่ นมาก สตสิ มั ปชญั ญะตอ้ งตนื่ อยเู่ สมอ ไมเ่ ชน่ นนั้ จะตาม
ไมท่ ันจติ
จติ เปน็ ธรรมชาตชิ อบคดิ ชอบปรงุ ชอบแสส่ า่ ยไปหาอารมณจ์ ากทใี่ กลท้ ไ่ี กล ไมม่ ี
ขอบเขต ถ้าอยู่ในทีช่ ุมชน อารมณ์ทีเ่ ขา้ มานั้นสว่ นมากจะเขา้ มาทางตาบา้ ง ทางหบู า้ ง
จมกู บา้ ง ลน้ิ บา้ ง กายบา้ ง การตอ้ นรบั อารมณข์ องจติ มกั จะนำ� มาแบก มาหาบ มาหาม
มาทับมาถมตัวเอง การทจ่ี ะสลดั ตัดวางนน้ั ไม่ค่อยปรากฏ เพราะเหตนุ ั้นจงึ ทำ� ให้เรา
เป็นทุกขไ์ ปกบั อารมณน์ ั้นๆ เป็นสขุ ไปกับอารมณ์น้นั ๆ เปน็ ความเพลดิ เพลนิ ไปกบั
อารมณน์ น้ั ๆ ทง้ั นก้ี เ็ พราะขาดการพจิ ารณาของจติ นนั่ เอง จติ ทไ่ี มม่ สี ตเิ ปน็ พเี่ ลยี้ งคอย
ควบคมุ คอยแนะนำ� มกั จะไปแบก ไปหาบ ไปหาม เอาทกุ สง่ิ ทกุ อยา่ งมาทบั มาถมตนเอง
ใหเ้ กดิ ทกุ ข์ ถงึ กบั บางคนตอี กชกตนเหน็ ทกุ สงิ่ ทกุ อยา่ งไมน่ า่ รน่ื รมย์ กลายเปน็ พษิ เปน็
ภยั ไปกม็ าก
สว่ นอารมณข์ องนกั ปฏบิ ตั ผิ อู้ ยใู่ นปา่ นนั้ มกั เกดิ ขน้ึ กบั จติ ทช่ี อบปรงุ แตง่ เปน็ อดตี
เปน็ อนาคต ซงึ่ อารมณป์ ระเภทนที้ ำ� ลายนกั ปฏบิ ตั มิ ามากตอ่ มากแลว้ เพราะไมร่ เู้ ทา่ ทนั
กลมายาของจติ เหตเุ พราะขาดสตปิ ญั ญานนั่ เอง ดงั นนั้ การปฏบิ ตั จิ ติ ภาวนาจำ� เปน็ ตอ้ ง
ตนื่ อยเู่ สมอ อารมณต์ า่ งๆ ทผ่ี า่ นเขา้ ออกตามทวารตา่ งๆ นน้ั ตอ้ งไดร้ บั การใครค่ รวญ
พิจารณาจากสติสมั ปชญั ญะเสียกอ่ นทกุ คร้ัง”
51
การพจิ ารณาปัจจัย ๔ ก่อนบรโิ ภคใชส้ อย
นอกจากการเปน็ ผมู้ สี ตปิ ระจำ� อริ ยิ าบถตามทกี่ ลา่ วมาแลว้ หลวงปแู่ หวน สจุ ณิ โฺ ณ
ไดบ้ อกวา่ การบริโภคปจั จยั ๔ ก็ตอ้ งพิจารณาโดยอบุ ายทกุ คร้ัง
หลวงปใู่ หค้ ำ� อธบิ ายเรอื่ งนวี้ า่ “การพจิ ารณาปจั จยั ๔ กอ่ นการบรโิ ภคใชส้ อยนน้ั
เป็นอุบายขม่ ความทะเยอทะยานอยากของจิตไดด้ ี บางครั้งกเ็ กิดความแยบคายเปน็
อบุ ายของปญั ญาได้ ดงั นนั้ การภาวนากค็ อื การมสี ตสิ มั ปชญั ญะคอยตกั เตอื นตนเอง
อยเู่ สมอ ไมใ่ หเ้ กดิ ความประมาท ความมวั เมา มอี นิ ทรยี สงั วรละเวน้ บาปอกศุ ลแมเ้ พยี ง
เลก็ นอ้ ย จำ� ตอ้ งอาศยั ความหมน่ั ความพยายามทางกาย ทางวาจา ทางใจ ของตน จงึ จะ
รกั ษาตนใหอ้ ยรู่ อดปลอดภัยในธรรมของพระพทุ ธเจ้าได้
ตอ้ งกระทำ� ใหม้ าก เจรญิ ใหม้ าก ใหเ้ ปน็ ไปอยา่ งตอ่ เนอื่ งตดิ ตอ่ กนั ไมข่ าดวรรค
ขาดตอน”
52
การแยกยา้ ยกันไปบ�ำเพญ็ ภาวนา
เมอื่ ลกู ศษิ ยล์ กู หาไดร้ บั อบุ ายธรรมจากหลวงปมู่ นั่ แลว้ ตา่ งกแ็ ยกยา้ ยกนั ออกไป
บำ� เพญ็ เพยี รดจู ิตใจของตนเอง
หลวงปู่แหวน สุจิณฺโณ ได้เล่าถึงเรื่องน้ีว่า “เม่ือได้รับอุบายจากครูอาจารย์
แนะน�ำแล้ว ก็แยกย้ายกันไปท�ำความเพียร เลือกหาที่เหมาะแก่จริตนิสัยของตน
บางท่านที่เด็ดเดี่ยวก็มักจะไปเพียงองค์เดียว ที่ยังไม่มีความกล้าพอก็มักไปกัน
๒ องคบ์ ้าง ๓ องคบ์ ้าง สถานทไ่ี ปสว่ นมากมักเป็นปา่ ชา้ ปา่ ชัฏ ซงึ่ มีถำ้� มีหน้าผา
พอเป็นท่อี ย่อู าศยั หลบฝนหลบแดดหลบลมในคราวจ�ำเป็น
ในระยะแรกจะไปอยู่ไม่ไกลจากครอู าจารยน์ กั ประมาณวา่ พอเดินมาฟังธรรม
มาท�ำอโุ บสถในวนั อุโบสถ เว้นเสียแตม่ ีอาจารยซ์ ึง่ เปน็ ศษิ ย์ร่นุ พี่ควบคมุ ไปน่ันแหละ
จงึ ไปไดไ้ กล เวลาตดิ ขดั ดา้ นการภาวนากต็ อ้ งอาศยั อาจารยผ์ คู้ วบคมุ นนั่ เองเปน็ ผแู้ นะนำ�
แตถ่ งึ อยา่ งนนั้ นานๆ ครง้ั ถา้ เปน็ ไปไดต้ อ้ งพยายามหาโอกาสไปฟงั ธรรมจากหลวงปมู่ น่ั
อยูเ่ สมอ
การจ�ำพรรษาร่วมกันกับหลวงปู่มั่น ก็นานๆ จึงจะได้จ�ำร่วมกับท่านครั้งหนงึ่
สว่ นมากบรรดาพระทเี่ ปน็ ลกู ศษิ ยล์ กู หามกั จะแยกกนั อยู่ เพราะการอยรู่ ว่ มกนั มากๆ
มักจะเป็นภาระเครอื่ งกังวลหรือไม่ก็ความวุ่นวาย”
53
จารกิ ไปฝั่งซ้ายแม่น�้ำโขง
หลวงปแู่ หวน สจุ ณิ โฺ ณ กบั หลวงปตู่ อ้ื อจลธมโฺ ม ไดร้ ว่ มกนั จารกิ ธดุ งคไ์ ปฝง่ั ซา้ ย
แม่น�้ำโขงทางฝั่งของประเทศลาว หลวงปู่ท้ังสองเริ่มเดินทางไปทางอ�ำเภอเชียงคาน
จังหวัดเลย แลว้ ขา้ มแม่นำ้� โขงขนึ้ ไปฝง่ั ลาว แลว้ เดินข้ามปา่ ขา้ มเขาไปเร่อื ยๆ เม่ือถงึ
ตอนเยน็ กป็ กั กลดคา้ งคนื ตามทีท่ เ่ี หน็ วา่ เหมาะสม
ทางฝง่ั ลาวในสมยั นน้ั ปา่ สว่ นมากเปน็ ปา่ ดงดบิ ตน้ ไมใ้ หญล่ ำ� ตน้ สงู แตข่ า้ งลา่ ง
โปรง่ เดนิ ได้สะดวก ถา้ หมดป่าสูง บางแห่งก็เป็นปา่ รกชัฏ ซึ่งตอ้ งเดินมดุ ไปตามเส้น
ทางชา้ ง เพราะชา้ งปา่ จะมที างเดนิ ประจำ� ของพวกมนั ชา้ งปา่ แตล่ ะโขลงมจี ำ� นวนหลาย
สิบเชือก ทางเดินของมันจึงเตียนราบพอท่ีจะให้พระธุดงค์ได้อาศัยเดินทางไปได้
หลวงปแู่ หวนกบั หลวงปตู่ อื้ เดนิ ไปไดส้ ามวนั จงึ ขา้ มแมน่ ำ�้ กง แมน่ ำ�้ นบี้ างแหง่ ไหลผา่ น
ทร่ี าบ ชาวบา้ นใชเ้ ป็นทเี่ พาะปลกู และท�ำไร่ท�ำนา เมื่อถึงเวลาคำ่� หลวงปู่กป็ ักกลดพัก
ในป่าทีไ่ ม่ห่างไกลจากหมบู่ ้านนกั พออาศัยบณิ ฑบาตในตอนเช้าได้
วนั หนงึ่ หลวงปทู่ ง้ั สององคเ์ ดนิ ไปพบหมบู่ า้ นแหง่ หนงึ่ ตอนตะวนั จวนจะหมดแสง
อยู่แล้ว จึงจัดการหาท่ีพักปักกลดเพื่อค้างคืน พอกางกลดเสร็จนั่งพักไม่ทันหาย
เหนอ่ื ย กเ็ หน็ พวกชาวบา้ นเปน็ หญงิ ลว้ นเดนิ มาเปน็ แถวสบิ กวา่ คน แตล่ ะคนมขี นั ขา้ ว
กระตบิ๊ ข้าว แสดงทา่ ทางจะเอามาถวายพระ เมื่อมาถึงกว็ างขันวางกระต๊ิบขา้ วลงตรง
หน้าพระ แล้วต่างกพ็ ดู ว่า “งอจา้ วเหนยี ว งอจา้ วเหนยี ว”
54
พอจะเข้าใจเจตนาของพวกเขาวา่ เอาข้าวมาถวาย แตน่ อกจากนั้นไมท่ ราบวา่
พวกเธอพดู วา่ อะไร หลวงปแู่ สดงทา่ ทางใหร้ วู้ า่ ไมร่ คู้ ำ� กนั ใหไ้ ปบอกพวกผชู้ ายมาพดู กนั
พวกหล่อนเข้าใจจึงพากันกลับ สักครู่ก็มีพวกผู้ชายมากันหลายคน พวกเขาพูดว่า
“นมิ นตเ์ จา้ ปนุ๊ ฉันขา้ วก่อน ท่านเดนิ ทางมาไกลคงหวิ นมิ นตฉ์ นั ใหอ้ ม่ิ เสียกอ่ น”
หลวงปบู่ อกพวกเขาวา่ “ไมเ่ ปน็ ไรหรอก เอาขา้ วกลบั ไปก่อน ขอเฉพาะนำ�้ รอ้ น
ก็พอ พรงุ่ น้เี ช้าค่อยเอาข้าวมาใหม่” หลวงปู่บอกวา่ “พวกเขาก็เขา้ ใจและทำ� ตามค�ำที่
เราบอก ชาวบา้ นเหลา่ นีไ้ มร่ ู้วา่ เปน็ เผ่าไหน เวลาเขาพดู กัน เราฟังภาษาเขาไม่รู้เรื่อง
ทพ่ี วกผชู้ ายพดู กบั พวกเราพอเขา้ ใจ เพราะพวกผชู้ ายเปน็ พวกทมี่ กี ารสงั คม ตดิ ตอ่ กบั
คนภายนอกหลายเผ่า หลายภาษา สว่ นพวกผ้หู ญิงจะอยูเ่ ฉพาะในหมบู่ า้ น จงึ พูดได้
เฉพาะภาษาของตนเอง”
55
การทำ� บิณฑบาตแบบโบราณ
พอรงุ่ เชา้ หลวงปแู่ หวนกบั หลวงปตู่ อื้ กเ็ ขา้ ไปบณิ ฑบาตในหมบู่ า้ น หลวงปเู่ ลา่ วา่
“การไปบณิ ฑบาตกบั พวกชาวบา้ นปา่ เชน่ นน้ั ตอ้ งทำ� การบณิ ฑบาตแบบโบราณ คอื ไปยนื
อยหู่ นา้ บา้ น ทำ� เปน็ ไอกระแอมเพอื่ ใหเ้ จา้ ของบา้ นไดย้ นิ เสยี ง แลว้ จะโผลห่ นา้ ออกมาดู
ถ้าเขารู้ กจ็ ะพากนั เอาขา้ วมาใส่บาตร กต็ อ้ งทำ� ทา่ ทางบอกใหพ้ วกเขารู”้
เมือ่ หลวงปู่ทัง้ สองฉนั เสรจ็ ก็ออกเดนิ ทางตอ่ ไป ถงึ ตอนเยน็ ก็ไปถึงหมู่บา้ นอีก
แหง่ หนงึ่ พอดี ทนี่ ม่ี วี ดั ประจำ� หมบู่ า้ น แตไ่ มม่ พี ระ มเี ณรอยเู่ พยี งรปู เดยี ว เณรแสดง
ความดีใจใหก้ ารตอ้ นรับอยา่ งกระตือรอื ร้น จดั น�้ำใชน้ ้ำ� ฉันมาถวาย เตรียมทนี่ อนให้
และนมิ นตใ์ หพ้ กั อยดู่ ว้ ย เหน็ เณรมอี ธั ยาศยั ดี ทงั้ สององคจ์ งึ ตกลงพกั ทว่ี ดั นนั้ ตามคำ�
นิมนตข์ องเณร
เมอ่ื จดั การตอ้ นรบั เรยี บรอ้ ยแลว้ เณรกห็ ายไปทางหลงั กฏุ ิ แลว้ ไดย้ นิ เสยี งไกร่ อ้ ง
ตีปีกดังพับๆ แล้วเงียบหายไป อีกสักพักก็ได้กล่ินไก่ย่างโชยมา หลวงปู่บอกว่า
ตอนนน้ั กไ็ มไ่ ด้คิดอะไร เณรหายไปร่วมชวั่ โมง กก็ ลบั มาพร้อมกับถาดมขี า้ วเหนียว
ควันกรนุ่ ๆ กับไก่ย่างร้อนๆ ดูย่วั น�ำ้ ลายน่ากินมาวางลงตรงหนา้ เณรยกถาดอาหาร
เขา้ ประเคนพรอ้ มกบั พดู วา่ “นมิ นตค์ รบู าฉนั ขา้ วกอ่ น เดนิ ทางมาเหนอ่ื ย วนั นผี้ มยา่ งไก่
มาอยา่ งดี นมิ นต์ฉันใหอ้ ม่ิ ” หลวงปู่จึงบอกเณรว่า “ไมต่ อ้ งหว่ งหรอกเณร เอากลับ
ไปเถอะ วนั นห้ี มดเวลาฉนั แลว้ ตอนเยน็ ฉนั นำ้� รอ้ นกพ็ อแลว้ ” เณรกม็ ายกถาดอาหาร
กลับไป หลวงปูเ่ ล่าอย่างยม้ิ ๆ วา่ “เณรแกจะเอาไปบังสุกลุ หรืออย่างไรกไ็ มไ่ ดส้ นใจ”
รุ่งขึ้นเชา้ เมอื่ ฉันแลว้ ก็ลาเณรออกเดินทางกนั ตอ่ ไป
56
ม่งุ ตรงไปเมอื งหลวงพระบาง
หลวงปบู่ อกวา่ ภมู ปิ ระเทศทางฝง่ั ซา้ ยแมน่ ำ�้ โขง ซงึ่ เปน็ เขตของประเทศลาวนนั้
เปน็ ทรี่ ม่ รน่ื มปี า่ และภเู ขามาก สตั วป์ า่ มชี กุ ชมุ พวกมนั ไมก่ ลวั คน เวลาหลวงปเู่ ดนิ ทาง
ผ่านไป พวกมันต่างก็หากนิ ตามปกติ เหมอื นไมม่ ใี ครแปลกปลอมผ่านมา พวกมนั
ไม่เห็นตกอกตกใจหรือแสดงท่าระแวดระวังภัยแต่อย่างไร เวลาเช้าจะได้ยินเสียง
พวกลิง ค่าง ชะนี ร้องเสยี งระงมอยทู่ ว่ั ไป
หลวงป่เู ดนิ ทางขึน้ ไปทางเหนือของประเทศ เมืองต่างๆ บนเสน้ ทางน้ันล้วนแต่
เป็นเมืองเล็กเมืองน้อยท้ังน้ัน มีเมืองหลวงพระบางเท่าน้ันท่ีเป็นเมืองใหญ่ หลวงปู่
ทง้ั สองตกลงใจจะเขา้ ไปเมอื งหลวงพระบางเสยี กอ่ นเพราะเปน็ เมอื งทม่ี ชี อื่ เสยี ง ตอ่ จากนนั้
จึงคอ่ ยเดนิ ทางต่อไปสิบสองปันนา สบิ สองจุไท เมื่อถงึ หลวงพระบาง หลวงป่ไู ปพัก
ทว่ี ดั ใต้ หนง่ึ ในสามวดั ในเมอื ง ในเมอื งหลวงพระบางมวี ดั ๓ วดั คอื วดั เหนอื วดั พระบาง
และวดั ใต้ วดั พระบางเปน็ วดั สำ� คญั และเปน็ วดั เกา่ แกค่ บู่ า้ นคเู่ มอื ง เปน็ ทป่ี ระดษิ ฐาน
ของพระบาง พระพทุ ธรปู ศกั ด์ิสิทธป์ิ ระจำ� เมือง
ในเมอื งมผี คู้ นไมม่ ากนกั เมอื งอยใู่ นหบุ เขามภี เู ขาลอ้ มรอบ มที รี่ าบพอไดอ้ าศยั
ปลูกขา้ วและท�ำการเกษตรพอเล้ยี งพลเมอื งได้ ประชาชนทั่วไปมอี ธั ยาศัยดี ไมม่ ีโจร
ผรู้ า้ ย ประชาชนมใี จบญุ สนุ ทานและดเู ครง่ ครดั ตอ่ ศาสนาพอสมควร ทำ� มาหาเลยี้ งชพี
ด้วยการท�ำนาและหาของป่า การค้าขายก็พอมีบ้างไม่มากนัก การเพาะปลูกพืชผล
อยา่ งอน่ื พอมบี า้ งแตไ่ มม่ าก เพราะมพี นื้ ทร่ี าบจำ� กดั ภมู ปิ ระเทศถกู ลอ้ มรอบดว้ ยภเู ขา
57
เดินทางตอ่ ไม่ได้ ต้องกลับประเทศไทย
หลวงปู่แหวนกับหลวงปูต่ อ้ื พกั อยใู่ นเมอื งหลวงพระบางพอสมควรแล้ว กอ็ อก
เดินธุดงค์ต่อไปทางสิบสองปันนา สิบสองจุไท แต่ไปพบด่านทหารฝรั่งเศส พวก
ทหารฝร่ังเศสถามหลวงปู่ทั้งสองว่า “จะไปไหนและมาจากไหน” หลวงปู่บอกเขาว่า
“จะไปสบิ สองปันนา สิบสองจไุ ท และเดินทางมาจากประเทศสยาม” พอรู้ว่ามาจาก
ประเทศสยาม จึงไม่ให้ท่านเดินทางต่อไป ท่านจึงต้องเดินทางกลับลงมาท่ีเมือง
หลวงพระบางอกี คร้งั พกั อย่หู ลวงพระบางสองสามวัน ท่านจงึ ตกลงกันเดนิ ทางกลับ
เมอื งไทย โดยเดนิ ทางลดั ปา่ เขามาตามทางเดมิ ผา่ นเมอื งตา่ งๆ ไดแ้ ก่ เมอื งเลน เมอื งโป
เมอื งแมด เมอื งกาสี
ในระหว่างน้ันมีข่าวว่า เจ้ามหาชีวิตของลาวจะเสด็จฯ ไปยังเมืองเวียงจันทน์
ทางการจงึ ไดเ้ กณฑร์ าษฎรมาแผ้วถางทางผา่ นเมอื งต่างๆ ดังกลา่ ว การเดนิ ทางกลบั
ของหลวงป่จู งึ ไดอ้ าศยั เส้นทางน้เี ดินทางไปยังเวียงจันทน์ เมอ่ื ถึงเวยี งจันทน์ หลวงปู่
ก็เดินเลยี บฝง่ั โขงลอ่ งลงมาและขึ้นฝ่งั ไทยตรงอำ� เภอทา่ ลี่ จงั หวัดเลย
การจาริกไปทางฝั่งซ้ายแม่น�้ำโขงของหลวงปู่ทั้งสององค์ในคราวน้ัน ใช้เวลา
เดินทางทง้ั ไปและกลบั เปน็ เวลาท้ังสนิ้ ๑๔ วนั
58
ภาวนาแถวอำ� เภอท่าล่ี จังหวดั เลย
เมอื่ หลวงปแู่ หวนกบั หลวงปตู่ อื้ กลบั เขา้ ประเทศไทยทางอำ� เภอทา่ ล่ี จงั หวดั เลย
แลว้ ทา่ นไมไ่ ดก้ ลบั ไปวดั โพธชิ์ ยั บา้ นนาโปง่ วดั บา้ นเกดิ ของหลวงปแู่ หวน แตไ่ ดพ้ กั
ภาวนาอยตู่ ามปา่ เขาแถวอำ� เภอทา่ ลน่ี น่ั เอง นอกจากการบำ� เพญ็ ภาวนาแลว้ ยงั เปน็ การ
พักผ่อนร่างกายที่เหน่ือยเพลียจากการเดินทางจาริกไปทางฝั่งลาว เขตอ�ำเภอท่าล่ี
มปี า่ และภเู ขามาก นบั เปน็ สถานทแ่ี หง่ หนง่ึ ทม่ี ภี มู ปิ ระเทศเหมาะแกก่ ารบำ� เพญ็ ภาวนา
เม่ือหลวงปู่แหวนกับหลวงปู่ต้ือแสวงวิเวกบริเวณป่าเขาอ�ำเภอท่าลี่พอสมควร
ร่างกายหายจากการอ่อนเพลียแล้ว ท่านก็ตกลงกันว่าจะแสวงความวิเวกไปทาง
ภาคเหนอื ตอ่ ไป ทางภาคเหนอื เปน็ สถานทท่ี ที่ ง้ั สององคย์ งั ไมเ่ คยไปมากอ่ น จงึ ตกลง
เดนิ ทางมุง่ สู่ภาคเหนือทนั ที
59
จาริกไปภาคเหนือ
ในบนั ทกึ การเดนิ ทางของหลวงปแู่ หวนกบั หลวงปตู่ อื้ ในการจารกิ จากอำ� เภอทา่ ลี่
จังหวดั เลย ไปยงั ภาคเหนอื มีดังต่อไปนี้
“สมยั ก่อนจะไปไหน พาหนะทดี่ ที ี่สุดคอื ขาสองขาของเรานี้เอง เดินไปค�่ำไหน
นอนทนี่ นั่ ไมต่ อ้ งไปหว่ งเดก็ เลก็ ทเ่ี ปน็ ลกู ศษิ ย์ เพราะไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งมี จงึ ไปไดส้ ะดวก
ไปถงึ ไหนเหน็ วา่ รม่ รน่ื เหมาะแกก่ ารภาวนาดกี อ็ ยกู่ นั หลายวนั เพอื่ ภาวนา ทไ่ี หนไมเ่ หมาะ
ก็พกั คืนเดยี ว
ในครงั้ นนั้ เดนิ ออกจากอำ� เภอทา่ ล่ี มาอำ� เภอดา่ นซา้ ย (จงั หวดั เลย) จากดา่ นซา้ ย
ก็เดินเข้าป่าเขาไปอ�ำเภอน�้ำปาด (จังหวัดอุตรดิตถ์) โดยผ่านเขตอ�ำเภอนครไทย
(จังหวดั พิษณโุ ลก) ซง่ึ ภมู ปิ ระเทศเป็นปา่ เขาเกือบทัง้ สิน้ การเดินทางก็เดนิ ไดเ้ ฉพาะ
กลางวนั เทา่ นนั้ เย็นลงตอ้ งหาทพ่ี ักเพราะสตั ว์ปา่ เชน่ ช้าง เสือ ชกุ ชุม ประชาชน
กลวั กนั มาก ไมก่ ลา้ เดนิ คนเดยี ว แมส้ องสามคนกไ็ มก่ ลา้ เดนิ เพราะกลวั พวกสตั วร์ า้ ย
เหลา่ นน้ั บางแหง่ เขาจะสรา้ งทพี่ กั ไวก้ ลางทางสำ� หรบั ผเู้ ดนิ ทางจะไดพ้ กั อาศยั หลบั นอน
ในเวลากลางคืน
หลงั จากนน้ั เดนิ ทางไปอำ� เภอทา่ ปลา จงั หวดั อตุ รดติ ถ์ แลว้ ตดั ไปอำ� เภอเวยี งสา
จงั หวดั นา่ น พน้ื ทด่ี งั กลา่ วแลว้ นเี้ ปน็ ปา่ เปน็ เขาเปน็ สว่ นมาก มหี มบู่ า้ นเปน็ แหง่ ๆ ตามที่
ราบเชงิ เขา บางแห่งก็มหี มู่บ้านชาวเขาต้งั อยพู่ อได้อาศัยบณิ ฑบาต จากจงั หวดั น่าน
เดินทางวกลงมาทางอ�ำเภอสอง อ�ำเภอร้องกวาง จงั หวัดแพร่”
60
ขอบณิ ฑบาตขา้ วจากชาวเขาเผ่าเย้า
บนั ทกึ การเดินทางของหลวงปูแ่ หวนกบั หลวงปู่ตือ้ มตี ่อไปน้ี
วนั หน่งึ ขณะเดนิ ทางมาด้วยความอ่อนเพลียกลางป่าเขา เพราะยังไม่ได้ฉนั ข้าว
ขณะท่เี ดนิ ทางมานัน้ เผอิญไปพบเอาหมบู่ ้านชาวเย้าเขา้ แห่งหน่งึ จงึ เข้าไปบิณฑบาต
เดนิ ไปไมพ่ บใครเลยเนอ่ื งจากออกไปทำ� ไรห่ มด จวนจะเปน็ บา้ นสดุ ทา้ ยอยแู่ ลว้ พอดมี ี
ชายคนหนงึ่ โผลอ่ อกมาจากบา้ น จงึ พดู กบั เขาวา่ “สหาย เรายงั ไมไ่ ดก้ นิ ขา้ ว ขอขา้ วเรา
กนิ บา้ ง” เยา้ คนนน้ั ตอบวา่ “ขา้ วเฮามนี อ้ ย เฮาบห่ อ้ื เฮาเอาไวก้ นิ๋ เอาไวข้ าย ขา้ วสกุ เฮากม็ ี
เฮาบห่ ้ือ เฮาเอาไว้ก๋นิ ขา้ วสารเฮากม็ ี เฮาเอาไวข้ าย เฮาบห่ ือ้ ”
เขาพดู ออกมาจากใจจรงิ ของเขา ตรงๆ ตามภาษาซอื่ ๆ ของเขา พวกเหลา่ นไ้ี มม่ ี
มายาสาไถยอะไร พวกเขามคี วามในใจอยา่ งไรกพ็ ดู ออกมาอยา่ งนนั้ เขาไมค่ ดิ วา่ มนั จะ
ไปกระทบใจใคร หรือจะไปทำ� ความไม่พอใจให้ใคร แม้จะไปท�ำความผิดหวังใหใ้ คร
เขากไ็ มค่ ดิ เพราะความซอ่ื ของเขา
เยา้ คนนน้ั นอกจากแกจะพดู วา่ “เฮาบห่ อ้ื ” แลว้ ตาของแกยงั จอ้ งมองไปทบ่ี าตร
ของพระทย่ี งั วา่ งเปลา่ นน้ั อกี แลว้ แกกพ็ ดู ขน้ึ วา่ “หมอ้ นน้ั ขายฮอื้ เฮา เฮาเอาไวต้ ม้ ขา้ ว”
เมื่อถูกชายชาวเยา้ พดู ขอซ้อื บาตรเช่นนน้ั ท�ำให้เกอื บกลั้นหวั เราะไวไ้ ม่อยู่ ทำ� เอาลมื
หวิ ขา้ วไปชวั่ ขณะหนง่ึ จงึ บอกกบั แกวา่ “ไมไ่ ด้ เราขายใหไ้ มไ่ ด้ เมอื่ ไปถงึ บา้ นถงึ เมอื ง
เราใช้บาตรใบน้แี หละใสข่ า้ ว”
61
พบหญงิ เยา้ ใจอารี
เมอื่ หลวงปเู่ หน็ วา่ การบณิ ฑบาตครง้ั นน้ั ไมม่ หี วงั แลว้ จงึ เดนิ ทางตอ่ ไป ระหวา่ งทาง
ได้พบหญิงชาวเย้าผู้หน่ึง จงึ ออกปากขอบณิ ฑบาตขา้ วอกี คราวนไี้ มต่ อ้ งบิณฑบาต
แต่พูดขอเอาทีเดียวว่า “สหาย เต็มทีแล้ว เรายังไม่กินข้าว เอาข้าวให้เรากินบ้าง”
หญงิ ชาวเยา้ ตอบวา่ “คอยเฮากำ� เนอ้ ” แลว้ รบี เดนิ เขา้ ไปในบา้ น ครหู่ นง่ึ เดนิ ถอื ขนั ขา้ ว
ออกมาพรอ้ มกับพดู วา่ “ขา้ วมีมอ๊ กอี้” แลว้ ก็เทขา้ วใสใ่ นบาตรจนหมดขัน
เม่อื ได้ขา้ วจากหญงิ ทม่ี ีใจอารีแล้ว จึงหาทเี่ หมาะเพื่อฉันข้าวต่อไป การฉันข้าว
วันน้ันก็ไม่มีพิธีรีตองอะไร เพียงเอาน�้ำเทใส่ข้าวแล้วก็ฉันเท่านั้น เพราะไม่มีกับ
อยา่ งอื่น
ขา้ วชาวเขานัน้ เป็นขา้ วไร่ เขามีวิธหี ุงพเิ ศษ เม่ือหุงสุกแล้วมกี ล่ินหอม รสหวาน
นมิ่ ดี แม้พวกชาวเขาเอง เวลากนิ ข้าวก็ไม่มอี ะไรมาก มีพรกิ มีเกลือก็กินกับพรกิ กบั
เกลือไป ถ้าไม่มีก็กินกับน�้ำ ถ้าวันไหนได้เนื้อมาก็เอามาย่างไฟแล้วกินกับข้าวอย่าง
เอรด็ อรอ่ ย จะตม้ จะแกงเหมอื นพวกเรานน้ั ท�ำไม่เปน็
พวกนอี้ ยงู่ า่ ยกนิ งา่ ยตามเผา่ ของพวกเขา เผา่ ไหนสบู ฝน่ิ หลงั อาหารกม็ กี ารสบู ฝน่ิ
แถมนอนสูบกนั อยา่ งสบายอารมณ์
62
พบพระชาวเหนือผูม้ ีเมตตาจติ
หลังจากฉันข้าวท่ีหญิงชาวเย้าถวายแล้ว หลวงปู่แหวนกับหลวงปู่ต้ือก็ออก
เดนิ ทางต่อไป บนั ทึกกลา่ วต่อไปวา่
เมือ่ ฉันเสร็จแล้วจึงออกเดนิ ทาง จากหมู่บา้ นชาวเย้ามาถงึ พืน้ ทีร่ าบเป็นหม่บู ้าน
ของคนเมอื ง เดนิ ไปพบกบั พระองคห์ นงึ่ ถามถงึ ทางทจ่ี ะไปขา้ งหนา้ วา่ ยงั อกี ไกลเทา่ ไร
ท่านตอบว่า “ผากข้าวตอน” ก็ไม่เข้าใจภาษาของท่าน แต่เพราะความมีเมตตาจิต
ของทา่ น ท่านจงึ ชวนพักอยู่กับทา่ นก่อน เมื่อหายเหน่ือยแล้วคอ่ ยเดนิ ทางตอ่ ไป
พระท่านพดู วา่ “นิมนตพ์ กั อยกู่ บั ผมกอ่ น ผมจะไม่ใหเ้ ดอื ดรอ้ นอันใด ขา้ วน้�ำ
โภชนาหารกด็ ี เสนาสนะท่นี ่ังอันใดกด็ ี ผมจะจัดการท้ังหมด เปน็ ธุระของผมเอง”
พระทา่ นยงั บอกอกี วา่ “ผมเคยไปเทย่ี วทางใตม้ า เขาตอ้ นรบั ผมอยา่ งดี ตอนนนั้ ผมยงั
ไม่รู้จักธรรมเนียม แต่เด๋ียวน้ีผมรู้แล้ว นิมนต์พักให้สบายก่อน มีก�ำลังแล้วค่อย
เดินทางตอ่ ไป”
หลวงปทู่ งั้ สองจงึ ตกลงพกั ฉลองศรทั ธาความปรารถนาดขี องพระองคน์ น้ั ๓ วนั
63
แยกทางกบั หลวงปู่ตอ้ื
เมอ่ื พกั มกี ำ� ลงั แลว้ อำ� ลาทา่ นผมู้ ใี จอารเี ดนิ ทางตอ่ ไป รงุ่ เชา้ พอฉนั เสรจ็ จงึ ออก
เดินทาง เวลาประมาณเพล จึงถึงหมู่บ้านอีกแห่งหนึ่งท่ีต้องการไป จึงรู้เอาค�ำว่า
“ผากขา้ วตอน” กค็ อื ระยะทางเดนิ ไปกนิ ขา้ วกลางวนั ขา้ งหนา้ ทนั เพราะระยะทางจาก
วดั ท่พี กั ถงึ หม่บู ้านน้ี เดนิ ไปกินข้าวข้างหน้าได้
เดินทางมาถึงแพร่ พักอยู่ ๒ วนั จึงเดินทางตอ่ ไปอำ� เภอสงู เมน่ อำ� เภอเด่นชัย
บา้ นบนิ่ แลว้ เดนิ ทางตามทางรถไฟไปอกี ๔ วนั หลงั จากนนั้ ตอ้ งเดนิ ทางขา้ มเขาไปอกี
ขณะทเี่ ดนิ ทางขา้ มเขาไปนนั้ ระหวา่ งทางพบกบั พวกจนี ฮอ่ และไดเ้ ดนิ ทางตอ่ ไปจนถงึ
ลำ� ปาง จงึ แยกกนั กบั หลวงปตู่ อื้ หลงั จากนน้ั หลวงปแู่ หวนจงึ เดนิ ทางไปยงั เชยี งใหม่
แต่เพียงองค์เดียว
ทางดา้ นหลวงปตู่ อ้ื ทา่ นแยกไปทางอำ� เภอเถนิ หลงั จากนน้ั จงึ ไปพบกนั เพอื่ กราบ
หลวงปมู่ น่ั ทวี่ ดั เจดยี ห์ ลวง ในเมอื งเชยี งใหม่ หลวงปแู่ หวนกบั หลวงปตู่ อื้ ไดแ้ ปรญตั ติ
เปน็ พระธรรมยตุ ณ วดั เจดียห์ ลวง นั้นในเวลาต่อมา
64
บำ� เพ็ญภาวนาทภ่ี เู ขาควาย ฝั่งประเทศลาว
ในบนั ทกึ การทอ่ งธดุ งคข์ องหลวงปแู่ หวน สจุ ณิ โฺ ณ ไมไ่ ดร้ ะบวุ นั เดอื นปขี องการ
เดินทาง รวมทง้ั ไม่ไดบ้ อกดว้ ยว่าหลวงปู่ท่านไปองค์เดียวหรอื มีพระองคอ์ ่ืนไปดว้ ย
จากคำ� บอกเลา่ ของครบู าอาจารย์บอกวา่ ส่วนใหญห่ ลวงปแู่ หวนกบั หลวงปู่ตอ้ื
ท่านจะไปดว้ ยกนั แตไ่ ม่ได้หมายความวา่ จะเกาะติดไปดว้ ยกันตลอด บางชว่ งท่านก็
แยกกนั บางชว่ งกพ็ กั ดว้ ยกนั หรอื หลายๆ วนั จงึ จะพบกนั ทหี นง่ึ แตจ่ ะไปในแถบถน่ิ
เดยี วกัน นัดพบกันเป็นท่ๆี ไป
ในบนั ทกึ สว่ นการเดนิ ทางของหลวงปแู่ หวน มดี งั น้ี หลงั จากเลกิ เรยี นดา้ นปรยิ ตั ิ
ท่อี ุบลฯ แล้ว ออกปฏิบตั กิ รรมฐานจาริกไปฝ่งั ซา้ ยของแม่น�ำ้ โขง คร้ังที่ ๒ ไปคราวน้ี
ออกจากประเทศไทยขา้ มโขงไป ผ่านเมอื งเวยี งจนั ทนต์ ัดเข้าดงอีกแหง่ หนง่ึ เรยี กวา่
ดงเมือง พน้ จากดงเมือง ข้ามแมน่ ้�ำงึมไป ไปส่ดู งดบิ ของภูเขาควาย
ปา่ บรเิ วณนนั้ เปน็ ปา่ ดงดบิ มถี ำ�้ มเี หวอยทู่ วั่ ไป บนหลงั เขามลี านหนิ กวา้ ง ซง่ึ ถอื กนั
ในหมนู่ กั ปฏบิ ตั วิ า่ ภเู ขาควาย เปน็ สถานทเี่ หมาะสมสำ� หรบั นกั ปฏบิ ตั ธิ รรมทต่ี อ้ งการ
สถานทส่ี งบสงดั ปราศจากการพลกุ พลา่ น วเิ วกวงั เวงไปดว้ ยสตั วป์ า่ นานาชนดิ ดงั นน้ั
การบำ� เพญ็ ภาวนาอยแู่ ถวภเู ขาควาย เวลาทำ� ความเพยี รจติ จงึ สงบงา่ ย เมอ่ื ภาวนาอยไู่ ป
หลายวัน จติ คุน้ กบั สถานที่แล้ว กย็ า้ ยไปแห่งใหมต่ ่อไป ทัง้ นเ้ี พื่อเปน็ การปลกุ จติ
ปลุกประสาท ปลุกสติ ให้ตื่นตวั อยู่เสมอ ไมเ่ ช่นนัน้ มักเกิดความประมาท
65
เมอื่ คนุ้ กบั สถานทแี่ ลว้ ทำ� ความเพยี รไมด่ เี ทา่ ทค่ี วร การเปลย่ี นสถานทแี่ ตล่ ะแหง่
สิง่ แวดลอ้ มไมเ่ หมอื นกนั จึงท�ำให้เกิดความระมัดระวัง เป็นการสรา้ งสตสิ มั ปชัญญะ
เรง่ ความเพยี รไปในตวั ดงั นน้ั ผปู้ ฏบิ ตั ติ อ้ งรจู้ กั สงั เกตความเปลย่ี นแปลงของสงิ่ แวดลอ้ ม
เลอื กหาสถานทๆี่ มเี คร่ืองเตือนสติอยู่เปน็ ประจ�ำ
ด้วยเหตุน้เี อง หลวงปู่มัน่ ท่านจึงบอกศษิ ยใ์ หอ้ ยใู่ นที่ๆ มีอันตราย เพื่อจะได้
ไมป่ ระมาท ในการทำ� ความเพยี รตอ้ งมสี ตอิ ยเู่ สมอ การไปอยใู่ นทๆ่ี อนั ตราย ความเปน็
ความตายจึงฝากไว้กบั สติ
66
ชาวบา้ นชอบใส่บาตรขา้ วกบั นำ้� ตาล
พอออกจากภเู ขาควายแลว้ วนั หนง่ึ หลวงปแู่ หวนไดไ้ ปพกั ทห่ี มบู่ า้ นนาสอง เปน็
หมู่บ้านทใ่ี หญ่พอควร หลวงปู่เล่าวา่ พวกชาวบ้านถิ่นนัน้ มแี ปลกอยู่อยา่ งหนึง่ คือ
เวลาเห็นพระไปบิณฑบาตร พวกเขาจะปา่ วร้องกนั มาใส่บาตรวา่ “มาเนอ้ มาใสบ่ าตร
ญาธรรมมาแลว้ หานำ�้ ออ้ ยนำ�้ ตาลมาใสบ่ าตร ญาธรรมทา่ นชอบของหวาน” เมอื่ ไดย้ นิ
คนป่าวรอ้ งประกาศเช่นนนั้ ต่างก็เอาของมาใสบ่ าตรจนเตม็
หลวงปวู่ า่ “พวกนเี้ หมอื นกบั พวกไทยใหญ่ ถา้ เหน็ พระไปบณิ ฑบาต เขากจ็ ะใส่
บาตรด้วยน้ำ� อ้อยน�ำ้ ตาลกบั ข้าวเชน่ กัน พวกเขาถือว่า เจา้ บนุ๊ ไมก่ นิ เนื้อสัตว์ กนิ แต่
ของหวาน แตอ่ ยา่ งไรกต็ าม การฉนั ขา้ วกบั นำ้� ออ้ ยนำ้� ตาลนนั้ วนั สองวนั แรกกฉ็ นั ไดด้ ี
แตว่ นั ที่สามทีส่ ่รี ู้สกึ เบอื่ ”
67
พบเน้ือคูต่ ามค�ำท�ำนายของหมอดู
ในสมัยท่ีหลวงปู่แหวน สุจิณฺโณ เรียนมูลกัจจายน์อยู่ท่ีจังหวัดอุบลฯ น้ัน
เคยมีหมอดทู �ำนายเกีย่ วกับเนอ้ื คูข่ องทา่ นวา่ จะอยู่ทางทิศนนั้ ๆ รูปรา่ งสนั ทัด ผวิ เนือ้
ขาวเหลอื ง ใบหนา้ รปู โพธิ์ กไ็ มท่ ราบวา่ หลวงปจู่ ะใสใ่ จกบั คำ� ทำ� นายนนั้ หรอื ไมเ่ พยี งใด
หรือว่าเพียงแต่ดหู มอไปแบบสนุกๆ กต็ าม แตค่ �ำทำ� นายนัน้ ก็ปรากฏขึน้ จริง
วนั หนงึ่ ตอนใกลค้ ำ�่ หลวงปไู่ ปสรงนำ�้ ทฝี่ ง่ั แมน่ ำ้� งมึ กพ็ บหญงิ สองคนแมล่ กู กำ� ลงั
ถ่อเรือมาตามล�ำน�้ำมาถึงบริเวณที่พระก�ำลังอาบน�้ำอยู่ หญิงสาวช�ำเลืองตามองทาง
พระหนุ่ม สายตาเกดิ ประสานกันเข้าพอดี
ในบนั ทกึ เลา่ ไวว้ า่ “เมอื่ สายตาของทง้ั สองฝา่ ยประสานกนั เขา้ กม็ อี านภุ าพลกึ ลบั
และรนุ แรงพอที่จะตรึงคนท้ังสองฝ่ายใหต้ ะลึงไปได้ ระหว่างเดินกลับทพ่ี ัก ในใจยัง
คิดถงึ หญิงงามน้ันอยู”่
เมอ่ื หลวงปกู่ ลบั ถงึ ทพ่ี กั กห็ วนระลกึ ถงึ คำ� ทำ� นายของหมอดู พจิ ารณาดแู ลว้ กน็ า่
จะเป็นจริง “หญิงที่เราพบเห็นเม่ือตอนเย็น ก็มีรูปร่างหน้าตาเหมือนกับค�ำท�ำนาย
ของหมอ เหน็ จะเป็นแมห่ ญงิ คนน้ีแน่”
68
ต้องตัดสนิ ใจ
คนื นน้ั หลวงปูย่ ังครุ่นคิดถึงแม่สาวงามที่สายตาประสานกันเมอ่ื ตอนเยน็
“...เห็นจะเป็นแม่หญิงคนนี้แน่ เพราะเมื่อเราเห็นเป็นครั้งแรกก็ทำ� ให้เรามีจิต
ปรวนแปรแล้ว...”
ในคนื นน้ั หลวงปคู่ ดิ สบั สนวา้ วนุ่ พอสมควร คดิ ถงึ คำ� ทำ� นายของหมอดู คดิ ถงึ
แมส่ าวงามนยั น์ตาคมผู้นนั้ คดิ ถงึ ความตงั้ ใจในการออกบำ� เพ็ญภาวนา ท่ีส�ำคญั คือ
ค�ำสัญญาท่ีให้ไว้กบั โยมแม่และโยมยายทีบ่ อกว่า “บวชแล้วจะตอ้ งตายในผา้ เหลือง”
จิตหวนคิดถึงหลวงปู่มั่นท่ีเคยอบรมสั่งสอนเม่ือตอนฝึกหัดภาวนาท่ีฝั่งไทย คิดถึง
ค�ำเตือนและอบุ ายธรรมท่ีท่านเคยสอน พลัน “เราตอ้ งรบี กลบั เมอื งไทย”
วนั รงุ่ ขนึ้ สองแมล่ กู ไดน้ ำ� ขา้ ว หมากพลู บหุ ร่ี มาถวายแตเ่ ชา้ ตรกู่ อ่ นใครอน่ื ทงั้ หมด
ทง้ั สองคนชว่ ยกันมวนบุหรี่ จบี พลู สายตาของหญงิ สาวคอยช�ำเลอื งมองไปทางพระ
ถึงเวลาบิณฑบาต หลวงปู่ก็ออกบิณฑบาตตามปกติ ไม่ได้แสดงอาการอะไรให้ผิด
สงั เกต
พอฉันเสรจ็ พวกญาตโิ ยมท่ีน�ำอาหารมาถวายต่างลากลับ หลวงปกู่ ็เก็บบริขาร
บอกลาเพื่อนพระและเจา้ ส�ำนกั แล้วข้ามโขงกลบั ฝัง่ ไทย
69
มาพบหลวงปมู่ ่นั โดยไม่คาดคิด
ทา่ นผอู้ า่ นจะสงั เกตเหน็ วา่ พระธดุ งคท์ า่ นไปไหนมาไหนไดร้ วดเรว็ “ประดจุ ดงั
นกบิน” เพราะท่านไม่มสี มบตั ิท่จี ะต้องหอบหว้ิ และห่วงใย มแี ตบ่ ริขารที่จำ� เปน็ และ
ใส่ลงในบาตร มีกลดธดุ งค์ กาน้�ำ และเครอ่ื งกรองน�ำ้ เทา่ น้นั ทา่ นจงึ อยงู่ ่าย มางา่ ย
ไปง่าย แม้ชวี ติ ทา่ นก็สละแลว้
หลวงปไู่ ดอ้ าศยั เรอื ขา้ มจากทา่ เดอ่ื มาขน้ึ ทหี่ นองคายฝง่ั ไทย เดนิ ขน้ึ เหนอื ไปตาม
ลำ� นำ�้ โขง ไปถงึ อำ� เภอศรเี ชยี งใหม่ (จงั หวดั หนองคาย) ไปพกั อบรมตนอยทู่ พ่ี ระบาท
เนนิ กุ่ม หนิ หมากเป้ง
ทีพ่ ระบาทเนนิ กมุ่ หนิ หมากเปง้ น้ันเอง หลวงปู่แหวนกไ็ ด้พบกับหลวงปูม่ ั่น
ภรู ิทตฺโต พระอาจารย์ใหญ่ อย่างไมค่ ิดไม่ฝนั ทำ� ใหท้ า่ นดีใจมาก ความมน่ั ใจว่าจะ
สามารถครองผา้ เหลอื งไปจนตายดมู คี วามเปน็ จรงิ ขนึ้ มา ในชว่ งนน้ั หลวงปมู่ นั่ ทา่ นได้
ปลีกตัวออกจากหมคู่ ณะมาภาวนาอยู่บรเิ วณน้ันอยตู่ ามล�ำพงั องค์เดียว
จากบันทึกในส่วนของหลวงปแู่ หวน บอกไว้วา่
“เม่ือได้พบกับอาจารย์อีกจึงดีใจมาก การพักอบรมตนอยู่กับหลวงปู่มั่นก่อน
เขา้ พรรษา ทำ� ใหจ้ ติ ใจคอ่ ยสงบตวั ลง ไมฟ่ งุ้ ซา่ นเหมอื นกอ่ น แตภ่ าพของหญงิ งามนนั้
ยังปรากฏขึน้ เป็นคร้ังคราว แตเ่ ม่อื เร่งภาวนาเข้า ภาพนน้ั กส็ งบลง”
70
ยิ่งเร่งความเพียร กิเลสกย็ ่งิ เอาจริง
หลวงปู่แหวน สุจิณฺโณ ได้ใช้ความพยายามตัดความคิดนึกเร่ืองผู้หญิงออก
จากใจ ดงั ต่อไปนี้
“หลงั จากเขา้ พรรษาแลว้ ตงั้ ใจปรารภความเพยี รอยา่ งเตม็ ท่ี การเรง่ ความเพยี ร
ในระยะแรก จติ กย็ งั ไมม่ อี ะไรวนุ่ วาย คงสงบตวั ไดง้ า่ ย มอี บุ ายทางปญั ญาพอสมควร
เมอื่ เราเรง่ ความเพยี รหนกั เขา้ เอาจรงิ เอาจงั เขา้ กเิ ลสมนั กเ็ อาจรงิ เอาจงั กบั เราเหมอื นกนั
คอื แทนท่จี ติ จะดำ� เนนิ ไปตามที่เราต้องการ กลับพลิกกลบั ไปหานางงามทบ่ี ้านนาสอง
ฝง่ั แม่น้�ำงมึ นัน้ อกี
ทีแรกเราได้พยายามปราบด้วยอุบายต่างๆ แต่ไม่ส�ำเร็จ ยิ่งเร่งความเพียรดู
เหมอื นเอาเชอ้ื ไฟไปใส่ ยงิ่ กำ� เรบิ หนกั เขา้ ไปอกี เผลอไมไ่ ดเ้ ปน็ ตอ้ งไปหาหญงิ นน้ั ทนั ที
บางครง้ั มนั หนอี อกไปซง่ึ ๆ หนา้ คอื ขณะคดิ อบุ ายการพจิ ารณาอยนู่ นั่ เอง มนั กว็ ง่ิ ออก
ไปหาหญิงนั้นเอาซึง่ ๆ หนา้ กนั ทีเดยี ว”
71
ใชอ้ ุบายทรมานตนก็ยงั ไมเ่ ป็นผล
หลวงปแู่ หวน สุจิณฺโณ ตอ้ งเปล่ียนมาใช้อบุ ายการทรมานตน ดงั นี้
อุบายการปฏบิ ัตวิ ิธตี า่ งๆ ทน่ี �ำมาใชใ้ นการทรมานจิตในครัง้ นน้ั เชน่ เวน้ การ
นอนเสีย มอี ริ ยิ าบถนัง่ ยืน เดิน ท�ำอย่เู ช่นน้ันอยู่หลายวนั หลายคนื คอยจบั ดจู ติ ว่า
มนั คลายความรกั ในหญงิ นั้นแล้วหรอื ยัง ปรากฏว่าไม่ไดผ้ ล จิตยงั คงวิง่ ออกไปหา
หญงิ งามอยเู่ ชน่ เคย เผลอสตไิ มไ่ ด้ ตอ่ มาเพม่ิ ไมน่ ง่ั ไมน่ อน มแี ตย่ นื กบั เดนิ ทำ� ความเพยี ร
อยู่อย่างนจ้ี ติ มันกไ็ ม่ยอม มันคงไปตามเรอื่ งตามราวของมนั เช่นเคย
สรปุ วา่ หลวงปู่ทรมานตวั ด้วยงดเว้นการนง่ั กับ นอน ไม่ยอมให้ส่วนกน้ และ
สว่ นหลงั แตะพืน้ ยงั คงเหลือแค่อริ ิยาบถสอง คอื ยนื กับ เดิน แต่กย็ ังไมส่ ามารถ
ทรมานจิตใหเ้ ชือ่ งลงได้
72
งดเวน้ อาหารและพิจารณากาย
คราวนเ้ี ปลย่ี นวธิ ใี หม่ เปลย่ี นเปน็ อดอาหาร ไมฉ่ นั อาหารเลย เวน้ ไวแ้ ตน่ ำ�้ อบุ าย
การพจิ ารณากเ็ ปลยี่ นใหม่ คราวนเ้ี พง่ เอากายของหญงิ นนั้ เปน็ เปา้ หมายในการพจิ ารณา
กายคตาสติ โดยแยกยกขน้ึ พจิ ารณาทลี ะอยา่ งๆ ในอาการ ๓๒ ขน้ึ โดยอนโุ ลม ปฏโิ ลม
(พจิ ารณาทบทวนกลบั ไปกลับมา)
พจิ ารณาเทยี บเขา้ มาหากายของตน พจิ ารณาใหเ้ หน็ ถงึ ความเปน็ จรงิ วา่ อวยั วะ
อยา่ งน้ันๆ ของตนกม็ ี ท�ำไมจะตอ้ งไปรัก ไปหลง ไปคดิ ถึง เพง่ พิจารณาทลี ะสว่ นๆ
พิจารณาอยอู่ ยา่ งนั้นทง้ั กลางวนั กลางคนื ทุกอิริยาบถ (ทั้งยนื เดิน นัง่ นอน)
การพิจารณาจนละเอียดอย่างไร ขึ้นอยู่กับอุบายความแยบคายของปัญญาที่
เกิดขน้ึ แตล่ ะช่วงขณะ ตอนหนงึ่ การพจิ ารณามาถึงหนังได้ความวา่ คนเราหลงกันอยู่
ทห่ี นงั หนงั เปน็ เครอ่ื งปกปดิ สง่ิ ทไ่ี มน่ า่ ดไู ว้ ถา้ ถลกหนงั ออก อวยั วะทกุ สว่ นกห็ าสว่ นท่ี
นา่ ดไู มไ่ ดเ้ ลย เพง่ พนิ จิ อยจู่ นเหน็ ถงึ ความเนา่ เปอ่ื ยผพุ งั สลายไป ไมม่ สี ว่ นไหนทจ่ี ะถอื
ไดว้ า่ เปน็ ของมนั่ คง เมอ่ื พจิ ารณามาถงึ มตู ร (ปสั สาวะ) และกรสี (อจุ จาระ หรอื คถู )
ของหญงิ นน้ั ตงั้ คำ� ถามขน้ึ วา่ “หญงิ นน้ั งามนา่ รกั มตู รและกรสี ของหญงิ นก้ี นิ ไดไ้ หม”
จติ ตอบวา่ “ไมไ่ ด้” จงึ ยกถามอีกวา่ “เม่ือกนิ ไม่ได้ อันไหนท่วี า่ งาม อนั ไหนทวี่ า่ ดี”
เมอื่ พจิ ารณามาถงึ อาการทงั้ สอง ยกเปน็ อบุ ายขนึ้ ถามจติ เชน่ นน้ั จติ เมอื่ ถกู ปญั ญา
ฟอกหนักเขา้ เช่นน้นั ก็จนดว้ ยเหตผุ ลของปัญญา ยอมออ่ นตัวลง จนดว้ ยความจริง
และอุบายของปัญญา ในขณะนน้ั จิตซึ่งเคยโลดโผนโลดแล่นไปอยา่ งไมม่ ีจดุ หมาย
มากอ่ น พลันกก็ ลับยอมรบั ตามความเปน็ จรงิ ยอมตวั อยา่ งนักโทษผูส้ �ำนึกผิด ยอม
สารภาพถึงการกระท�ำของตนแต่โดยดี
73
การทดสอบเพอื่ ความแนใ่ จ
นบั แตว่ นิ าทที ก่ี ารพจิ ารณาไดย้ ตุ ลิ ง จติ ยอมตามเหตผุ ลของปญั ญาแลว้ เพอ่ื เปน็
การทดสอบวา่ จติ ยอมแลว้ ไดส้ ง่ จติ ออกไปหาหญงิ นนั้ อกี หลายครง้ั จติ ยงั คงสงบตวั
ไมย่ อมออกไป ความกำ� เรบิ ความทรนงตวั ความโลดโผนของจติ จงึ ถงึ ความสงบลง
ตงั้ แตบ่ ดั นนั้ มา ไมก่ ำ� เรบิ อกี ตอ่ ไป จติ ยงั คงทรงอยู่ เหน็ ตามสภาพความเปน็ จรงิ ของ
ธรรมอยทู่ ุกเมื่อ
การอดอาหารและอุบายท�ำความเพียรของหลวงปู่ในคร้ังนั้นจึงได้ผลตามความ
มงุ่ หมาย สามารถปราบปรามทรมานจติ ใหห้ ายพยศได้ ความมน่ั ใจตอ่ ธรรมและความ
ม่ันใจทจี่ ะบวชตลอดชวี ติ มีความมั่นคงไมโ่ ยกเยกคลอนแคลนอีกตอ่ ไป
74
จ�ำพรรษาท่พี ระบาทบวั บก
หลวงปแู่ หวน สจุ ณิ โฺ ณ เคยไปจำ� พรรษาอยทู่ ี่พระบาทบวั บก อยู่ในเขตอำ� เภอ
บา้ นผอื จงั หวดั อุดรธานี ในสมัยท่ีหลวงปูแ่ หวนไปจำ� พรรษาอยนู่ น้ั ยงั เป็นปา่ ไมม่ ีวัด
ได้เคยมีพระจากวัดบ้านพยายามไปอยู่หลายครั้ง แต่อยู่ไม่ได้ เพราะไม่มีความ
กล้าหาญพอ
การอยู่จ�ำพรรษาที่พระบาทบัวบกปนี น้ั มพี ระอยู่ ๓ รูป กบั ตาผา้ ขาว ๑ คน
พระก็มีพระอาจารย์บุญ พระอาจารยค์ ำ� และหลวงป่แู หวน ทา่ นพระอาจารย์บญุ เปน็
หัวหน้าคณะ
เม่ือออกพรรษาแล้ว พระอาจารย์บุญได้พาไปพักอยู่อีกแห่งหน่ึง เรียกว่า
พระบาทหอนาง หรอื อกี ชอื่ เรยี กวา่ พระบาทนางอษุ า อยคู่ นละฟากเขากนั กบั พระบาท
บัวบก เป็นป่าดงดบิ เหมือนกัน บรรยากาศเงยี บสงดั วงั เวง
75
จ�ำพรรษากบั หลวงป่มู ั่นท่นี าหมีนายูง
หลวงปู่แหวนเคยจ�ำพรรษาอยกู่ บั หลวงปมู่ ั่น ภูริทตฺโต ในปา่ ท่ีเรยี กว่า นาหมี
นายงู ในเขตอำ� เภอนำ�้ โสม จงั หวดั อดุ รธานี บรเิ วณนาหมนี ายงู น้ี เปน็ ปา่ รกชฏั ชกุ ชมุ
ไปด้วยสตั วป์ ่าไข้ป่า พ้นื ที่เปน็ ที่ราบอยูต่ ิดภูเขา เลยี บเลาะไปตามลำ� น้ำ� โขง
ความจรงิ แลว้ พน้ื ทนี่ เี้ หมาะแกก่ ารเพาะปลกู แตไ่ มม่ ใี ครกลา้ เขา้ ไปจบั จอง เพราะ
หวาดกลวั ความเจบ็ ไขแ้ ละกลวั อนั ตรายตา่ งๆ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ อนั ตรายจากสง่ิ ลกึ ลบั
ที่ไม่เห็นตวั
ตามความเชอ่ื ถอื ของชาวบา้ นซง่ึ เชอื่ ถอื สบื ตอ่ กนั มานานวา่ ถา้ ใครขนื เขา้ ไปตดั ไม้
ในปา่ บรเิ วณนน้ั จะตอ้ งถกู ผปี า่ ทำ� อนั ตรายเอาทำ� ใหเ้ ปน็ ไปตา่ งๆ บางรายถงึ กบั ตายกม็ ี
ดังนน้ั ชาวบา้ นจงึ ไม่กลา้ เขา้ ไปในบริเวณน้ัน
ในพรรษานน้ั หลวงปูแ่ หวนไดร้ ่วมจ�ำพรรษาอยกู่ ับหลวงปูม่ ัน่ โดยมีตาผา้ ขาว
คอยอปุ ัฏฐากอยู่ดว้ ย ๑ คน การปรารภความเพียรในพรรษานนั้ เปน็ ไปอย่างเต็มที่
เพราะมีครอู าจารย์ คือ หลวงปมู่ นั่ คอยควบคมุ แนะน�ำและให้อบุ ายจิตภาวนาโดย
ใกล้ชดิ
76
เปรตที่นาหมีนายูง
ระหวา่ งอยทู่ นี่ าหมนี ายงู วนั หนงึ่ พระอาจารยใ์ หญพ่ ดู วา่ “ทถ่ี ำ้� ใกลฝ้ ง่ั โขงนน้ั มี
เจา้ ของเขาอย”ู่ จงึ บอกหลวงปแู่ หวนใหไ้ ปลองพดู กบั เขาดู เผอื่ จะเปน็ บญุ เคยชว่ ยเหลอื
กนั มา
หลวงปู่แหวนจึงได้พักบริเวณใกล้ถ�้ำนั้น สองคืนผ่านไปก็ไม่มีอะไรเกิดขึ้น
นอกจากเสยี งสตั วป์ า่ ท่อี อกหากินเวลากลางคนื พอคืนที่สาม ขณะนงั่ ภาวนาอยูก่ ม็ ี
รา่ งกำ� ยำ� ใหญโ่ ตมายนื นอกถำ�้ ทา่ นเพง่ แผเ่ มตตาไปใหร้ า่ งนน้ั กย็ นื เฉย ไมแ่ สดงกริ ยิ า
อาการรบั ร้อู ะไรเลย อยสู่ กั พักกห็ ายไป
วนั ตอ่ มากม็ าอกี เขา้ มายนื สงบอยอู่ ยา่ งนนั้ หลวงปกู่ แ็ ผเ่ มตตาเจาะจงใหเ้ ขาอยา่ ง
ทีเ่ คยทำ� คราวน้ีเขาแสดงความยินดี จงึ กำ� หนดจติ ถามเขาวา่ “เคยท�ำกรรมอะไรมา”
ไดค้ ำ� ตอบวา่ “ตอนเปน็ มนษุ ย์ เขาเปน็ นกั เลงไกช่ น เทยี่ วตไี กอ่ ยา่ งโชกโชน ตายแลว้
จงึ มาเปน็ เปรตอย่บู รเิ วณถ�ำ้ นี”้
หลวงปกู่ ำ� หนดจติ ถามไปวา่ “ทำ� ไมไมส่ ละถำ�้ ไปทอี่ นื่ ” ไดค้ วามวา่ “เขาหวงสถานที่
เพราะปา่ บรเิ วณนนั้ ไมม่ ใี ครกลา้ เขา้ ไปตดั ตน้ ไม้ เพราะเขาสำ� แดงเดชใหค้ นกลวั บอ่ ยๆ
คนจงึ เอาไก่ เอาหวั หมู เอาเหลา้ มาเซน่ ไหวอ้ ยเู่ นอื งๆ เขามอี าหารจากการเซน่ ไหวน้ น้ั
จงึ ไม่ยอมไปจากที่นัน้ ”
77
หลวงปู่พยายามแผเ่ มตตาชแี้ นะ แต่เขาไม่ยอมหนไี ป เปน็ อนั วา่ หลวงปแู่ หวน
ไปทรมานเปรตเจา้ ของถ�้ำไมส่ ำ� เรจ็ จึงไดก้ ราบเรียนใหห้ ลวงปมู่ ่ันทราบ
ภายหลงั หลวงปมู่ นั่ ทา่ นไดม้ าแผเ่ มตตาใหเ้ ขา แลว้ บอกใหเ้ ขายา้ ยไปหาทอ่ี ยใู่ หม่
ปรากฏว่าคืนที่เขาเคลื่อนย้ายท่ีอยู่น้ัน เวลาดึกสงัด ขณะท่ีหลวงปู่มั่นน่ังสมาธิ
แผ่เมตตาให้ เขาได้ยา้ ยทีอ่ อกไป เกิดเสยี งสะเทือนไปท้ังปา่
พอรงุ่ เชา้ ชาวบา้ นมาถามวา่ “เมอื่ คนื ไดย้ นิ เสยี งอะไรดงั มาก” หลวงปมู่ นั่ ไมต่ อบ
เพยี งแตห่ วั เราะ แลว้ พดู กบั ชาวบา้ นวา่ “ใครจะเอาไรเ่ อานากเ็ อาเสยี เจา้ ของเขายา้ ยไปอยู่
ทอ่ี ่นื แล้ว”
ตอ่ มาไม่นาน พื้นทบี่ ริเวณนั้นจงึ กลายเป็นไรน่ าแต่น้ันมา ทีใ่ ดประชาชนเขา้ ไป
จบั จองไมไ่ ด้ เขากน็ มิ นตพ์ ระกรรมฐานเขา้ ไปอยกู่ อ่ น แลว้ พวกชาวบา้ นจงึ ตามเขา้ ไป
บกุ เบกิ จบั จองเอาทหี ลงั เพราะทใี่ ดทเี่ จา้ ของทด่ี รุ า้ ย เมอื่ มพี ระกรรมฐานเขา้ ไปแผเ่ มตตา
ใหแ้ ลว้ ประชาชนเข้าไปท�ำไร่ท�ำนากไ็ มม่ ีอนั ตรายตอ่ ไป
78
การเรม่ิ ตน้ พจิ ารณากาย
การแนะนำ� ใหศ้ ษิ ยป์ ฏบิ ตั ภิ าวนานนั้ หลวงปมู่ น่ั ทา่ นยำ�้ เสมอวา่ “...จะใชบ้ ทพทุ โธ
เปน็ บทบรกิ รรมสำ� หรบั ผกู จติ กไ็ ด้ เมอื่ จติ สงบลงเปน็ สมาธแิ ลว้ ใหว้ างบทบรกิ รรมเสยี
แล้วพิจารณากาย ต่อไป...”
ในการพจิ ารณากายน้นั หลวงปมู่ ่นั ทา่ นสอนดงั นี้
“...ในการพจิ ารณากาย เรมิ่ แรกใหพ้ จิ ารณาเพยี งสว่ นใดสว่ นหนง่ึ ทเ่ี ราสามารถท่ี
จะเพง่ พจิ ารณาไดอ้ ยา่ งสะดวกในอาการ ๓๒ เมอื่ พจิ ารณาจนเกดิ ความชดั เจน กลบั ไป
กลบั มา หรือท่ีเรียกวา่ โดย อนุโลม ปฏโิ ลม จนหายสงสัยในจุดทพ่ี ิจารณานั้นแลว้
จึงค่อยเปล่ยี นเป็นจุดอืน่ ต่อไป อย่าพจิ ารณาเปน็ วงกวา้ งทั้งรา่ งกาย เพราะปัญญายัง
ไมแ่ กก่ ลา้ ถา้ พจิ ารณาพรอ้ มกนั ทเี ดยี วทง้ั รา่ งกาย ความชดั เจนจะไมป่ รากฏ ตอ้ งคอ่ ย
เปน็ คอ่ ยไป เมอื่ พจิ ารณาจนเกดิ ความชำ� นาญแลว้ ถา้ เราเพง่ ปญั ญาลงไปจดุ ใดจดุ หนง่ึ
ความชัดเจนจากจุดอื่นๆ กจ็ ะปรากฏเป็นนยั เดยี วกัน
เมอ่ื พิจารณาพอสมควรแลว้ ใหน้ อ้ มจิตเข้าพกั อยู่ในความสงบ เม่อื พกั อยใู่ น
ความสงบพอสมควรแลว้ ใหย้ อ้ นกลบั ออกมาพจิ ารณารา่ งกายอกี ใหเ้ จรญิ อยอู่ ยา่ งน้ี
จึงจะเจริญทางด้านปฏิบัติ เมื่อจิตมีความช�ำนาญเพียงพอแล้ว ค�ำบริกรรมพุทโธ
ก็ไม่จ�ำเป็น เพียงก�ำหนดจิตก็จะสงบเขา้ สสู่ มาธิไดท้ ันท.ี ..”
79
อย่าสง่ จิตออกนอกกาย
อุบายธรรมของหลวงปมู่ นั่ ในการปฏบิ ัติภาวนา มีตอ่ ไปดงั น้ี
“...ผปู้ ฏบิ ตั จิ ติ ภาวนา ถา้ สง่ จติ ออกไปภายนอกจากรา่ งกายแลว้ เปน็ อนั ผดิ มรรค
ภาวนา เพราะบรรดาพระธรรมค�ำส่ังสอนของพระพุทธเจ้าท่ีพระองค์ได้ทรงส่ังสอน
ประกาศพระศาสนาอยตู่ ลอดพระชนม์ชพี ของพระองค์น้ัน แนวการปฏิบัตไิ ม่พ้นจาก
กาย ดงั นนั้ กายจงึ เปน็ สนามรบ กายจงึ เปน็ ยทุ ธภมู ทิ ป่ี ญั ญาจะตอ้ งคน้ เพอ่ื ทำ� ลายกเิ ลส
และกองทกุ ข์ ซง่ึ จติ ของเราทำ� เปน็ ธนาคารเกบ็ สะสมไวภ้ ายใน หอบไว้ หาบไว้ หวงไว้
จนนบั ภพนับชาตไิ ม่ได้
สัตว์ทัง้ หลายไมว่ ่าชนิดใดในสงั สารวฏั น้ี ลว้ นแต่ตดิ อย่กู ับกายนที้ ้งั สน้ิ ทำ� บุญ
ทำ� บาปกเ็ พราะกายอนั น้ี มคี วามรกั มคี วามชงั มคี วามหวง มคี วามแหน กเ็ พราะกาย
อนั น้ี เราสรา้ งทรพั ยส์ มบตั ขิ นึ้ มากเ็ พราะกายอนั นี้ เราประพฤตผิ ดิ ศลี ประพฤตผิ ดิ ธรรม
ก็เพราะกายอันนี้
ในการบวชพระ พระอุปชั ฌาย์ท่จี ะให้ผา้ กาสายะแก่กลุ บตุ รผู้เข้ามาขอบรรพชา
อุปสมบท ก็สอนให้พิจารณาผม ขน เล็บ ฟนั หนัง ซง่ึ เป็นสว่ นหนงึ่ ของร่างกาย
เปน็ ส่วนทีเ่ หน็ ไดโ้ ดยงา่ ย...”
80
กายเป็นทง้ั เหตเุ ป็นทัง้ ผล
เหตุทตี่ อ้ งพจิ ารณากายในการปฏบิ ตั ิภาวนาน้ัน หลวงป่มู น่ั ท่านสอนตอ่ ไปวา่
“...กายนี้จึงเป็นทัง้ เหตุและเปน็ ทัง้ ผล มรรคผลจะเกดิ ขึ้นกต็ ้องเกดิ ขึ้นจากกาย
น้แี หละ กายนี้เปน็ เหตุ กายนีเ้ ปน็ ผล เอากายน้แี หละเป็นมรรคเครอ่ื งด�ำเนนิ ของจติ
เหมอื นกบั แพทยท์ ง้ั หลาย จะรกั ษาเยยี วยาคนปว่ ยได้ ตอ้ งเรยี นรา่ งกายนใี้ หเ้ ขา้ ใจถงึ
กลไกทกุ สว่ นจงึ จะสามารถรกั ษาคนไขไ้ ด้ ไมว่ า่ ทง้ั อดตี อนาคต และปจั จบุ นั วงการแพทย์
จะทง้ิ รา่ งกายไม่ได้ ถ้าวิชาแพทยท์ ิง้ การศกึ ษาระบบกลไกของรา่ งกายเสียแล้ว ก็เปน็
อนั ศกึ ษาผดิ วชิ าการแพทยท์ างสรรี วทิ ยา นกั ปฏบิ ตั ธิ รรม ถา้ จะทงิ้ การพจิ ารณารา่ งกาย
เสียแลว้ จะเอาอะไรมาเป็นเครอ่ื งดำ� เนินมรรคปญั ญา
รา่ งกายทป่ี ระกอบขน้ึ ดว้ ยสว่ นทเ่ี ปน็ รปู และสว่ นทเี่ ปน็ นาม ถา้ ผปู้ ฏบิ ตั ไิ มพ่ จิ ารณา
ใหเ้ หน็ แจง้ ดว้ ยปญั ญาอนั ชอบแลว้ คำ� วา่ นพิ พทิ า วริ าคะ นน้ั จะไมเ่ บอื่ หนา่ ย คลายกำ� หนดั
อะไร นโิ รธ ซง่ึ เปน็ ตวั ปญั ญา จะไปดบั ทกุ ขท์ ไ่ี หนเพราะเราไมเ่ หน็ ทกุ ข์ ทดี่ บั ของทกุ ข์
กไ็ มร่ ูไ้ ม่เห็น
พระพทุ ธเจา้ จะตรสั รเู้ ปน็ พระพทุ ธเจา้ ได้ พระองคต์ อ้ งพจิ ารณากายนเี้ ปน็ เครอื่ ง
ดำ� เนนิ มรรคปญั ญา เพราะในอทุ านธรรม บทวา่ อเนกชาตสิ สํ ารํ เปน็ ตน้ นนั้ พระองค์
ได้ประจักษ์อย่างแน่นอนว่า การเกิดนั้นเป็นทุกข์อยู่ร่�ำไป พระองค์หักกงกรรมคือ
81
อวชิ ชาเสยี ความเกดิ ของพระองคจ์ งึ ไมม่ ตี อ่ ไป กงกรรมคอื อวชิ ชามนั อยทู่ ไ่ี หน ถา้ มนั
ไม่อยใู่ นจติ ของเรา จติ ของมันอยู่ที่ไหน จิตมันกค็ อื หนง่ึ ในห้าของปญั จขนั ธอ์ นั เปน็
ส่วนหนงึ่ ของนามนนั่ เอง
ผูป้ ฏบิ ตั ิตอ้ งใคร่ครวญพจิ ารณาอยา่ งนี้ จงึ จะไดช้ ื่อว่าด�ำเนินตามมรรคภาวนา
ไมม่ อี ารมณ์อยา่ งอน่ื นอกจากกายนีท้ จ่ี ะด�ำเนินมรรคภาวนาให้เกดิ ปัญญาข้นึ ได.้ ..”
82
หลวงปมู่ น่ั ไมค่ ่อยอธิบายธรรมะให้พสิ ดาร
หลวงปแู่ หวนเล่าถงึ การสอนธรรมะของหลวงปมู่ ่นั
“หลวงป่มู ัน่ น้นั เวลาแนะนำ� สั่งสอนศิษย์ ทา่ นไมค่ ่อยอธบิ ายธรรมะให้พสิ ดาร
มากนกั หลวงปมู่ น่ั ทา่ นใหเ้ หตผุ ลวา่ ถา้ อธบิ ายไปมาก ผปู้ ฏบิ ตั มิ กั ไปตดิ คำ� พดู กลาย
เปน็ สญั ญา ตอ้ งปฏบิ ตั ใิ หร้ ใู้ หเ้ กดิ แกจ่ ติ ใจของตนเองจงึ จะรไู้ ดว้ า่ คำ� วา่ ทกุ ข์ นน้ั เปน็
อยา่ งไร คำ� วา่ สขุ นนั้ เปน็ อยา่ งไร คำ� วา่ พทุ ธะ ธรรมะ สงั ฆะ นนั้ มคี วามหมายเปน็ อยา่ งไร
สมาธอิ ยา่ งหยาบเปน็ อยา่ งไร สมาธอิ ยา่ งละเอยี ดเปน็ อยา่ งไร ปญั ญาทเี่ กดิ จากสญั ญา
เปน็ อยา่ งไร ปญั ญาทเี่ กดิ จากการภาวนาเปน็ อยา่ งไร เหลา่ น้ี ผปู้ ฏบิ ตั ติ อ้ งทำ� ใหเ้ กดิ ให้
มขี น้ึ ในตน จึงจะรู้
ถา้ มวั ถอื เอาแตค่ ำ� อธบิ ายของครอู าจารยแ์ ลว้ จติ กจ็ ะคดิ อยใู่ นสญั ญา ไมก่ า้ วหนา้
ในการภาวนา เพราะเหตนุ นั้ หลวงปมู่ น่ั จงึ ไมอ่ ธบิ ายใหพ้ สิ ดารมากมาย ทา่ นเพยี งแนะ
ใหร้ ทู้ างแลว้ ตอ้ งทำ� เอง เมอ่ื เกดิ ความขดั ขอ้ ง จงึ มารบั คำ� แนะนำ� อกี ครงั้ หนงึ่ การปฏบิ ตั ิ
เช่นนเ้ี ป็นผลดีแก่ศษิ ย์ผู้มุ่งปฏบิ ัติเพอ่ื อรรถเพ่อื ธรรมอย่างแทจ้ ริง”
83
หลวงปู่มนั่ ทา่ นท�ำตนให้เปน็ ตวั อย่าง
ในการบำ� เพญ็ สมาธภิ าวนาของหลวงปแู่ หวน เมอ่ื ครงั้ จำ� พรรษาอยกู่ บั หลวงปมู่ นั่
ทน่ี าหมนี ายงู ในปนี นั้ ทา่ นจงึ ไดเ้ รง่ ความเพยี รอยา่ งสมำ่� เสมอ ทำ� ใหไ้ ดร้ บั ความเยอื กเยน็
ทางดา้ นจติ ใจมากเปน็ พเิ ศษ ทงั้ นเ้ี พราะความเพยี รเปน็ ไปอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง โดยมหี ลวงปมู่ น่ั
เปน็ ตวั อยา่ งในการเรง่ ทำ� ความเพยี ร ไมว่ า่ ทา่ นจะอยใู่ นอริ ยิ าบถใดๆ ตอ้ งอยดู่ ว้ ยภาวนา
ทง้ั สนิ้ เกยี่ วกบั เรอ่ื งภาวนาน้ี หลวงปมู่ น่ั ทา่ นยำ้� เตอื นเสมอไมใ่ หศ้ ษิ ยป์ ระมาทโดยละ
ความเพียร
หลวงปแู่ หวนยำ้� ว่า “เราอยู่ร่วมกับท่าน ตอ้ งเอาองค์ทา่ นเปน็ ตัวอย่าง ถึงแม้จะ
ท�ำไม่ไดอ้ ยา่ งทา่ น แต่ก็เปน็ ศษิ ยท์ ่มี ีครู มีแบบแผน มีแบบอยา่ ง มีตวั อย่างในทาง
ดำ� เนนิ ”
84
เดินทางเข้ากรุงเทพฯ คร้งั แรก
ครงั้ นนั้ อยใู่ นปี พ.ศ. ๒๔๖๔ หลวงปแู่ หวน สจุ ณิ โฺ ณ ตดั สนิ ใจเดนิ ทางเขา้ กรงุ เทพฯ
นับเปน็ ครงั้ แรกในชวี ติ ของทา่ น
หลวงปู่เดินทางจากจังหวัดอุดรธานีมายังจังหวัดนครราชสีมาด้วยเท้า ผ่าน
หมบู่ า้ นนอ้ ยใหญ่มาโดยล�ำดบั ในสมยั นั้น ประชาชนส่วนมากยงั สับสนระหวา่ งการ
นับถือผีกับการนับถือพระไตรสรณคมน์ ทุกหมู่บ้านท่ีหลวงปู่ผา่ นไปพบ จะมีศาล
เทพารักษ์ซึ่งเรียกตามภาษาท้องถ่นิ ว่า ศาลปู่ตา ประจำ� อย่เู ป็นส่วนมาก ในปีหนง่ึ ๆ
จะต้องมีการเซน่ ไหว้ประจ�ำปกี ันครั้งหน่งึ ซงึ่ จะทำ� เป็นงานใหญ่ นอกจากนีย้ ังมกี าร
กราบไหวเ้ ฉพาะรายอกี เปน็ ตน้ วา่ มใี ครเจบ็ ปว่ ย หรอื ววั ควายหายหรอื ลม้ ตาย ชาวบา้ น
กจ็ ะไปบวงสรวงเซ่นไหวศ้ าลปตู่ ากัน ศาลปตู่ ามักตงั้ อยู่ชายป่าใกลห้ ม่บู ้าน ชาวบ้าน
ต่างกเ็ กรงกลัวไมก่ ล้าเขา้ ไปในปา่ แถวนน้ั กลัวผีปตู่ าเลน่ งานเอา
หลวงปู่แหวน เช่นเดียวกับพระธุดงค์ทั้งหลาย ชอบไปอาศัยพักปักกลดตาม
ดงปตู่ านนั่ เอง หลวงปบู่ อกวา่ เปน็ การดอี ยา่ งหนง่ึ เวลาเขา้ ไปพกั อยใู่ นดงเชน่ นน้ั ผคู้ น
กไ็ มร่ บกวน จงึ สบายใจในอริ ยิ าบถ เวลาภาวนากส็ งบดี ขอ้ ดอี กี อยา่ งหนงึ่ กค็ อื เมอื่ พวก
ชาวบา้ นเห็นว่าพระเข้าไปอยใู่ นดงปตู่ าโดยไมม่ ีอนั ตรายใดๆ พวกเขากอ็ ศั จรรย์และ
เลอื่ มใส จงึ เป็นโอกาสทพ่ี ระจะได้แนะน�ำใหเ้ ขาร้จู ักไตรสรณคมน์ และรู้จักรักษาศีล
ต่อไป
85
แตบ่ างแหง่ เมอ่ื หลวงปเู่ ขา้ ไปพกั ในดงปตู่ า พวกชาวบา้ นไมพ่ อใจทจ่ี ะใหพ้ กั กม็ ี
พวกชาวบ้านเขากลัววา่ เมือ่ พระเขา้ ไปพัก พวกผจี ะออกมาทำ� อันตรายแกช่ าวบ้านได้
ในทเี่ ชน่ นน้ั หลวงปจู่ ะตอ้ งชแี้ จงใหช้ าวบา้ นเขา้ ใจเหตผุ ล รวมทงั้ หาทางพสิ จู นใ์ หเ้ หน็ วา่
ภตู ผีปศี าจไมอ่ าจทำ� อะไรได้ ถ้าเรายดึ มนั่ ในพระรัตนตรยั
หลวงปู่บอกวา่ ในหมู่บ้านต่างๆ สว่ นมากมวี ดั ต้งั อยู่ แต่พระคงไม่ได้สอนให้
ชาวบา้ นมคี วามเขา้ ใจทถ่ี กู ตอ้ ง มหิ นำ� ซำ้� พระสงฆบ์ างทย่ี งั ทำ� การนบั ถอื เซน่ สรวงภตู ผี
ปีศาจก็มี พระในท้องถ่ินจึงไม่สามารถเป็นท่ีพ่ึงในทางจิตวิญญาณให้แก่ชาวบ้านได้
เม่ือพระในทอ้ งถิน่ ไมไ่ ด้สอนชาวบ้าน พวกเขาจึงนบั ถอื ผีอย่างเอาจรงิ เอาจงั ไปดว้ ย
86
ถึงนครราชสีมา บณิ ฑบาตไมพ่ อฉนั
เม่ือหลวงปู่แหวนเดินทางเข้าเขตจังหวัดนครราชสีมา ก็ประสบกับปัญหาการ
บณิ ฑบาต กลา่ วคอื บางแหง่ เวลาไปบณิ ฑบาต ไดเ้ พยี งขา้ วเปลา่ กม็ ี ไดข้ า้ วกบั พรกิ กม็ ี
ได้ขา้ วกบั มะเขอื ก็มี หลวงปูเ่ ลา่ ว่า “เมอ่ื ไดม้ าอย่างไรก็ฉนั ไปอย่างนนั้ ฉันไปตามมี
ตามได้ เพราะการเลยี้ งชวี ติ ของพระเราเนอ่ื งดว้ ยผอู้ น่ื จงึ ตอ้ งทำ� ตวั ใหเ้ ปน็ ผเู้ ลยี้ งงา่ ย
ไมค่ วรทำ� ตวั ใหม้ วั เมามกั มากในอาหารจนเกนิ เลย จะทำ� ใหเ้ กดิ ความลำ� บากแกต่ นเอง
สว่ นมากชาวบ้านเขามเี ขาบริโภคกันอย่างไร เขากจ็ ะใสบ่ าตรมาอย่างนัน้
พระผู้เป็นทักขิไณยบุคคลจึงไม่ควรลืมปฏิสังขาโยในเวลาบริโภคอาหาร หรือ
ปจั จยั สที่ ท่ี ายกเขาถวายมาดว้ ยศรทั ธา ไมเ่ ชน่ นน้ั อาจจะทำ� ศรทั ธาใหเ้ สอ่ื ม ตนเองกจ็ ะ
ประสบกบั ความยงุ่ ยากเดอื ดรอ้ นเพราะปจั จยั สที่ หี่ าไมไ่ ดต้ ามตอ้ งการหรอื ถกู อธั ยาศยั
ซ่ึงเป็นเรื่องท่ีไม่ถูกต้องตามความประสงค์ของนักบวชเราผู้ด�ำรงชีวิตด้วยความเป็น
ผอู้ ยงู่ า่ ย ทพ่ี ระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ กด็ ี พระอรยิ สาวกทงั้ หลายกด็ ี ทา่ นไดด้ ำ� เนนิ มาเปน็
ตัวอย่างแล้วในอดีตกาล”
87
เขา้ กราบท่านเจ้าคณุ พระอุบาลีฯ
เมอ่ื หลวงปเู่ ดินทางเขา้ ไปถึงตวั จังหวดั นครราชสมี าแลว้ ท่านได้โดยสารรถไฟ
เขา้ กรุงเทพฯ (สมยั น้ันทางรถไฟสายอสิ านเพิง่ มีไปถึงจังหวดั นครราชสมี าเท่าน้ัน)
เม่ือหลวงปู่เข้าไปกราบท่านเจ้าคุณพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ และท่านเจ้าคุณฯ
ทราบวา่ หลวงปเู่ ปน็ ศษิ ยข์ องหลวงปมู่ นั่ ภรู ทิ ตโฺ ต ทา่ นเจา้ คณุ ฯ กย็ นิ ดใี หก้ ารตอ้ นรบั
ดว้ ยความเมตตายง่ิ ทา่ นเจา้ คณุ พระอบุ าลฯี ถามถงึ หลวงปมู่ น่ั วา่ ปจั จบุ นั นอ้ี ยทู่ ไี่ หน
และเป็นอย่างไร เพราะท่านไมไ่ ด้พบกันเปน็ เวลานาน
หลวงปู่แหวนกราบเรียนให้ทา่ นเจ้าคณุ ฯ ทราบเรอื่ งทกุ อยา่ ง เมื่อทา่ นเจา้ คณุ
พระอุบาลีฯ กล่าวปฏิสันถารพอสมควรแล้ว ท่านได้ให้หลวงปู่ไปพักท่ีกุฏิหลังหนึ่ง
และหลวงปู่มักหาโอกาสเขา้ ไปกราบสนทนากับท่านเจา้ คุณฯ ทกุ วันเม่ือท่านเจ้าคณุ ฯ
ว่างจากแขก หรอื วา่ งจากธุระการงานของทา่ น ทา่ นจะเลา่ ถึงความสมั พันธเ์ กีย่ วขอ้ ง
กบั หลวงปมู่ นั่ ใหฟ้ งั พรอ้ มกบั สรรเสรญิ ความเดด็ เดย่ี วในธรรมปฏบิ ตั ขิ องหลวงปมู่ นั่
หลวงปู่แหวนได้พักอยู่วัดบรมนิวาสหลายวัน จึงมีโอกาสได้ฟังธรรมจากท่าน
เจา้ คณุ พระอบุ าลฯี มโี อกาสไดก้ ราบเรยี นถามปญั หาขอ้ สงสยั ในดา้ นธรรมปฏบิ ตั บิ า้ ง
ในทางดา้ นพระวนิ ยั บา้ ง ทา่ นเจา้ คณุ พระอบุ าลฯี ไดอ้ ธบิ ายขอ้ สงสยั ของหลวงปไู่ ดอ้ ยา่ ง
ชดั เจน ดทู า่ นมีความปราดเปร่อื งสมกบั กติ ติศัพท์ท่ีเล่าลือกนั จรงิ ๆ
88
บางวนั โอกาสดี ทา่ นเจา้ คณุ ฯ จะเลา่ ถงึ สภาพพระพทุ ธศาสนาในประเทศอนิ เดยี บา้ ง
ในประเทศพมา่ บา้ ง ในเชียงตุงบ้าง ท�ำให้หลวงป่ไู ดร้ บั ร้เู รือ่ งแปลกๆ จากต่างแดนที่
ไมเ่ คยไดร้ มู้ ากอ่ นในชวี ติ หลวงปใู่ หค้ วามสนใจมาก หลวงปแู่ หวนไดก้ ราบเรยี นถาม
ท่านเจา้ คณุ ฯ ถงึ เสน้ ทางท่จี ะไปยงั ประเทศพมา่ และเชยี งตงุ ซ่ึงท่านเจ้าคุณฯ ได้เล่า
อธบิ ายโดยละเอยี ด จากเหตกุ ารณท์ ไี่ ดย้ นิ ไดฟ้ งั เรอ่ื งราวในตา่ งแดนครงั้ นเ้ี อง ทดี่ ลใจ
ใหห้ ลวงปูแ่ หวนไดจ้ ารกิ ไปประเทศอนิ เดีย พม่า เชียงตุง ในปี พ.ศ. ๒๔๖๔ นั้นเอง
รวมท้งั ในปตี ่อๆ มาดว้ ย
จากทคี่ รบู าอาจารยเ์ ลา่ ใหฟ้ งั วา่ หลวงปแู่ หวน กบั หลวงปตู่ อื้ อจลธมโฺ ม ทา่ นธดุ งค์
คไู่ ปตา่ งแดนดว้ ยกนั โดยตลอด ทา่ นไปหลายประเทศ จนกลา่ วไดว้ า่ หลวงปทู่ งั้ สององค์
ได้จาริกธุดงค์ทั้งในและนอกประเทศไปมากกว่าพระธุดงค์องค์ใดๆ เท่าที่ทราบกัน
จากการลงมากรงุ เทพฯ ของหลวงปใู่ นครงั้ นน้ั ทำ� ใหท้ า่ นมคี วามสมั พนั ธก์ บั ทา่ นเจา้ คณุ
พระอบุ าลคี ณุ ปู มาจารยเ์ ปน็ อยา่ งดจี นตลอดอายขุ ยั ของทา่ น และหลวงปแู่ หวนใหค้ วาม
เคารพทา่ นเจา้ พระคุณอุบาลฯี ในฐานะเป็นพระอาจารย์อีกทา่ นหนึ่ง
89
จารกิ เข้าไปในประเทศพม่า
ในปี พ.ศ. ๒๔๖๔ นนั้ เอง หลวงปู่แหวน สุจิณโฺ ณ กบั หลวงปูต่ อ้ื อจลธมฺโม
ไดจ้ าริกไปในประเทศพมา่ เลยเขา้ ไปถึงประเทศอินเดีย
หลวงป่แู หวนไดเ้ ล่าถึงการเดินทางวา่ เดินทางออกจากประเทศไทยไปทางดา่ น
แมส่ อด จงั หวดั ตาก ขา้ มแมน่ ำ้� เมยไปขนึ้ ทางฝง่ั พมา่ ทดี่ า่ นศลุ กากรพมา่ หลวงปเู่ ขา้ ไป
ถามเจ้าหน้าที่พม่าถึงการเดินทางเข้าประเทศ แต่พูดกันไม่เข้าใจ เจ้าหน้าที่บอกว่า
“เกก๊ ซะมะซบิ ”ู ซง่ึ หมายถงึ วา่ ไมเ่ ปน็ ไร คอื เขายอมใหห้ ลวงปทู่ ง้ั สองเดนิ เขา้ ประเทศ
เขาได้
หลวงปเู่ ดินทางผ่านป่าเขาไปถงึ เมอื งชอ่ื ขลกุ ขลกิ พกั อยู่ ๑ คนื พอรุ่งเชา้ ออก
บณิ ฑบาต ฉนั เสร็จไปที่ทา่ เรือ ได้โดยสารเรอื ไปมะละแหม่ง เรอื ไปถึงมะละแหมง่
ประมาณ ๐๗.๐๐ น. วันรุ่งข้นึ แลว้ หลวงปโู่ ดยสารเรอื ขา้ มฟากไปขน้ึ ทางเมาะตะมะ
ทเี่ มาะตะมะมดี อยอยลู่ กู หนง่ึ เรยี กวา่ ดอยศรกี ตุ ระ มเี จดยี อ์ ยบู่ นยอดดอย ประชาชน
ข้ึนไปนมัสการกันมากไม่ได้ขาด เม่ือขึ้นไปบนยอดดอยจะมองเห็นทิวทัศน์เมือง
เมาะตะมะเกอื บทงั้ หมด สำ� หรบั เมอื งมะละแหมง่ นนั้ เปน็ เมอื งทา่ เรอื เชน่ เดยี วกบั เมอื ง
สมทุ รปราการของเรา หลวงปวู่ า่ อยา่ งน้ัน
90
การบิณฑบาตในพมา่
หลวงปเู่ ลา่ ถงึ การบณิ ฑบาตในพมา่ ดงั ตอ่ ไปน้ี เมอื งพมา่ มพี ระมาก แตบ่ ณิ ฑบาต
ได้ไมพ่ อฉัน การใสบ่ าตรในเมอื งพม่าน้ัน ผู้ที่จะใส่บาตรไม่ไดอ้ อกมาจากบา้ นมาใส่
ตามถนนเหมอื นบา้ นเรา ผทู้ จ่ี ะใสบ่ าตร เขาเตรยี มอาหารใสบ่ าตรไวบ้ นบา้ น พระตอ้ ง
ขน้ึ ไปรบั บาตรกนั บนบ้าน ทีแรกหลวงปไู่ ม่รธู้ รรมเนยี ม จึงบิณฑบาตไมไ่ ดฉ้ ัน
วันต่อมามีพระไทยใหญ่รูปหนึ่งสังเกตเห็น จึงเข้ามาถามหลวงปู่ว่า “เจ้าบุ๊น
ไดส้ ะปซิ อมไหม” หลวงปตู่ อบวา่ “ไมไ่ ดเ้ ลย” พระรปู นนั้ จงึ บอกวา่ “ตามผมมา ผมจะ
พาไป”
หลวงปจู่ ึงไดเ้ ดินตามพระไทยใหญร่ ูปนน้ั ไป พอถึงบ้านทจ่ี ะใส่บาตร พระท่าน
กพ็ าข้นึ ไปบนบา้ น จงึ ร้วู ่าเขาใส่บาตรกนั อยู่บนบา้ น อาหารทีใ่ สบ่ าตรก็ไมม่ ีอะไรมาก
มีข้าว ๑ ชอ้ น กับแกงถั่ว ๑ ชอ้ น เดนิ ไปบิณฑบาต ๑๐ หลงั คาเรอื น กไ็ ด้ข้าวยังไม่
พอฉัน ต้องเดินไปไกล บางวันเดินไปไกลมาก เม่ือหิวข้ึนมาและเห็นปลอดคน
กห็ ยุดฉนั เสยี กอ่ น แลว้ จงึ บิณฑบาตต่ออกี
สว่ นนำ�้ ดมื่ นนั้ ของเขามมี าก เขาทำ� กอ๊ กนำ้� สาธารณะไวท้ วั่ ไปตามถนน ทา่ นกไ็ ด้
อาศัยน�ำ้ จากกอ๊ กเหล่านัน้ หลวงปู่บอกวา่ “การปฏิบัติธรรมอยูเ่ มืองพม่า ถา้ จะอยู่
เอามรรคเอาผลกันแลว้ อยูไ่ มไ่ ด้ เพราะอาหารไม่พอ”
ทีเ่ มาะตะมะ หลวงปู่ได้พบพระเขมรรปู หนึ่งซ่ึงมาอยู่พม่าหลายปี ท่านบอกกบั
หลวงปู่ว่า “บิณฑบาตที่นี่เต็มที เดินบิณฑบาตจนอ่อนใจ บางวันได้ข้าวไม่พอฉัน
สู้เมืองไทยไม่ได้ บิณฑบาตมาฉันแล้วยังมีเหลือให้สัตว์เลี้ยงได้กินอิ่มอีกหลายตัว
แตท่ น่ี ่ีจะทำ� อย่างนั้นไม่ได้ แมจ้ ะเลีย้ งตนเองก็เกอื บเอาตัวเองไม่รอด”
91
พูดถงึ พระพม่า
หลวงปพู่ ดู ถงึ พระพมา่ ทที่ า่ นพบเหน็ วา่ พระพมา่ เวลาสนทนากนั มกั พดู กนั ดว้ ย
โลกตุ รจติ โลกตุ รมรรค โลกตุ รผล ซง่ึ จำ� เอาแผนทจี่ ากพระอภธิ รรมนน่ั เองเอามาพดู จา
สนทนากนั เพราะในเมอื งเขาจะสอนแผนทกี่ นั สอนอภธิ รรมกนั ฉะนนั้ เวลาพระเขา
สนทนากนั จงึ มกั พดู แตธ่ รรมะชนั้ โลกตุ ระ ซงึ่ กเ็ พยี งแตจ่ ำ� ตำ� รามาพดู เทา่ นนั้ สว่ นจติ นน้ั
จะเป็นโลกตุ ระหรอื ไมน่ น้ั เป็นอีกเรื่องหน่ึง
หลวงปู่บอกว่า “พระเหล่านั้นเขาเรียนรู้แต่แผนที่ ไม่ได้สอนให้ไปศึกษาดู
ภมู ปิ ระเทศเหมือนกบั พระกรรมฐานเรา”
92
เดินทางเขา้ ประเทศอนิ เดยี
หลวงปแู่ หวนกบั หลวงปตู่ อื้ พกั อยทู่ ด่ี อยศรกี ตุ ระ เมอื งเมาะตะมะ พอสมควรแลว้
กล็ งเรอื ขา้ มฟากกลบั มาเมอื งมะละแหมง่ พกั ทมี่ ะละแหมง่ ๓ วนั แลว้ โดยสารเรอื ไป
กัลกัตตา ประเทศอินเดยี ขนึ้ รถไฟไปเมืองพาราณสี แล้วไปนมัสการสังเวชนียสถาน
และปชู นยี สถานทสี่ �ำคัญต่างๆ
จากการบอกเลา่ ของหลวงพอ่ เปลย่ี น ปญฺาปทีโป บอกวา่ หลวงปู่แหวน กับ
หลวงปตู่ อื้ ท่านเดินทางไปเนปาล อยูท่ างเหนือของอนิ เดยี และทางใต้น้นั ท่านไดล้ ง
เรือสำ� เภาขา้ มไปทเ่ี กาะศรีลังกาดว้ ย
หลวงปบู่ อกวา่ การทอ่ งเทย่ี วอยอู่ นิ เดยี นานไมไ่ ด้ เพราะมปี ญั หาเนอื่ งดว้ ยอาหาร
และการบิณฑบาต จงึ ตอ้ งเดินทางกลบั มาจ�ำพรรษาในเมืองไทย
93