เดนิ ทางกลบั เมอื งไทย
ในการเดินทางกลับเมืองไทย หลวงปู่กลับมาตามทางเดิม คือจากอินเดีย
ทา่ นโดยสารเรอื จากกลั กตั ตามาขน้ึ ทมี่ ะละแหมง่ ของพมา่ แลว้ กโ็ ดยสารเรอื อกี ตอ่ มา
ข้ึนท่ขี ลุกขลิก ตอ่ จากนนั้ ท่านเดนิ เทา้ กลบั ประเทศไทยมาตามเส้นทางเดมิ เมื่อถงึ
ดา่ นแลว้ ขา้ มแมน่ ำ้� เมยเขา้ มายงั ฝง่ั ไทยตรงดา่ นแมส่ อด จงั หวดั ตาก หลวงปพู่ กั อยทู่ ี่
แมส่ อด พอมกี ำ� ลังแล้วกเ็ ดินธุดงคภ์ าวนาอยู่ในเขตอ�ำเภอสามเงา จังหวดั ตาก แต่
ไมไ่ ด้จ�ำพรรษา
หลวงปู่เลา่ ว่า ชาวบา้ นแถวน้ันเลี้ยงสุนขั ไว้ดมุ าก เม่ือท่านไปบิณฑบาตบางวนั
ถกู สนุ ขั กดั เอา เจา้ ของเขากไ็ มไ่ ลส่ นุ ขั เขาถอื วา่ สนุ ขั ดนุ น้ั ดจี ะไดเ้ ฝา้ บา้ นได้ ทจี่ งั หวดั ตาก
นี้เอง หลวงปู่ถูกสุนัขกัดที่ขาท�ำให้แผลอักเสบเร้ือรัง หลวงปู่ต้องทรมานกับแผลน้ี
อยนู่ าน และเป็นแผลเป็นมาตลอดชวี ิตทา่ น
94
จาริกไปเชยี งตุง เชียงรุ้ง
หลวงปแู่ หวน สจุ ณิ โฺ ณ กบั พระสหจรของทา่ น คอื หลวงปตู่ อ้ื อจลธมโฺ ม เมอื่ สมยั
ทย่ี ังเป็นพระหนุม่ ท่านชอบเทีย่ วธุดงค์แสวงวิเวกไปตามทตี่ ่างๆ ทัง้ ในประเทศและ
นอกประเทศ เทา่ ที่ท่านมีโอกาสและสามารถจะไปไดถ้ งึ จึงกล่าวกันวา่ หลวงปูแ่ หวน
กบั หลวงปตู่ อ้ื ทอ่ งธดุ งคไ์ ปมากทส่ี ดุ ในบรรดาพระธดุ งคท์ ง้ั หมด ถา้ รวมเวลาทห่ี ลวงปู่
ท้งั สององคเ์ ดนิ ธุดงคท์ ้ังหมดกร็ ว่ ม ๕๐ ปี คอ่ นชีวิตบรรพชติ ของทา่ น
หลวงปบู่ อกวา่ การเดนิ ทางในสมยั กอ่ นไมไ่ ดเ้ ปน็ กงั วลหว่ งเรอื่ งรถเรอื่ งเรอื เพราะ
การคมนาคมดว้ ยยานพาหนะสมยั ใหมน่ น้ั ไมม่ ี การไปมาไดส้ ะดวกสบายมอี ยทู่ างเดยี ว
เทา่ นนั้ คอื เดนิ ไปและเวลากลบั กเ็ ดนิ กลบั ครบู าอาจารยบ์ างทา่ นไดพ้ ดู ในเชงิ ขบขนั วา่
การเดนิ ทางของพระธดุ งคใ์ นสมยั กอ่ นใชร้ ถอยู่ ๒ อยา่ ง คอื รถ “มอเตอรข์ า” กบั รถ
ยีห่ อ้ “ออสตีน” เท่าน้นั
หลงั จากออกพรรษาแลว้ (ผเู้ ขยี นประมาณวา่ นา่ จะเปน็ ปี พ.ศ. ๒๔๖๕) ในปลาย
เดอื นตลุ าคม หลวงปแู่ หวนกบั หลวงปตู่ อ้ื ไดจ้ ารกิ ธดุ งคไ์ ปเชยี งตงุ เชยี งรงุ้ ทา่ นออกจาก
เขตไทยทางดา่ นอ�ำเภอแมส่ าย จงั หวดั เชยี งราย ข้ามไปเขตพมา่ ทางฝ่งั พมา่ สมัยน้นั
มปี ระชาชนอาศยั อยไู่ มม่ ากนกั หลวงปเู่ ดนิ ไปตามทางลอ้ ทางเกวยี น ในบางแหง่ กล็ ดั ไป
ตามปา่ ตามเขา ภมู ปิ ระเทศสว่ นใหญท่ ห่ี ลวงปผู่ า่ นไปลว้ นแตเ่ ปน็ ปา่ เขา มตี น้ ไมล้ ำ� ตน้
สงู ใหญป่ กคลุมอยู่ทวั่ ไป
95
หลวงปทู่ ั้งสองพ�ำนักปกั กลดไปเรอื่ ยตามรายทางจนไปถงึ เมอื งเชยี งตุง หลวงปู่
บอกว่า เมอื งเชยี งตุงตั้งอยูใ่ นหบุ เขา มภี ูเขาเปน็ ก�ำแพงธรรมชาตลิ ้อมรอบ พลเมือง
สว่ นมากเปน็ ชาวไทยใหญ่ มพี มา่ อยบู่ า้ ง นอกนั้นเปน็ ชนพน้ื เมืองเผา่ อ่นื ๆ เชื้อสาย
เจา้ นครเชยี งตงุ เลอื่ มใสท่านเจา้ คุณพระอบุ าลคี ุณปู มาจารยม์ าก เชื้อพระวงศผ์ ใู้ หญ่
ยังปฏิบัติธรรมอย่างเคร่งครัด ด้านการศาสนา พระภิกษุสามเณรก็มีการประพฤติ
ปฏิบัตติ ามพระวินัยดี เพราะได้ท่านเจา้ คณุ พระอุบาลีฯ ไปแนะน�ำสงั่ สอนไวเ้ มื่อสมยั
ทที่ ่านไปจ�ำพรรษาอยเู่ ชยี งตุง
พลเมืองเชียงตุงพูดได้สองภาษา คอื ภาษาไทยใหญ่กับภาษาพมา่ ประชาชน
สว่ นใหญม่ อี ธั ยาศยั ไมตรดี ี ชอบการบญุ กศุ ล ดแู ลอปุ ถมั ภพ์ ระภกิ ษสุ ามเณรดี อากาศ
ในฤดหู นาวคอ่ นขา้ งหนาวเยน็ เพราะเปน็ เมอื งทตี่ งั้ อยใู่ นทมี่ ภี เู ขาลอ้ มรอบ การไปเชยี งตงุ
ในครัง้ น้ันหลวงปู่ไมไ่ ด้อย่จู �ำพรรษา
96
จาริกไปแสนหวี ฝฝี ่อ หนองแส
จากเชียงตุง หลวงปู่ได้จาริกขึ้นไปทางเหนือต่อไปอีก ภูมิประเทศเป็นป่าทึบ
มีป่าโปร่งสลับอยู่บ้าง มีธารน้�ำและสัตว์ป่านานาชนิด ในเวลากลางคืนอากาศหนาว
เยน็ มาก เมอ่ื พน้ จากเขตเชยี งตงุ ขนึ้ ไปทางเหนอื แลว้ ผคู้ นจะเปน็ พวกชาวเขาเผา่ ตา่ งๆ
เผ่าที่มีความเจรญิ มากกว่าเผ่าอน่ื ๆ ได้แก่ พวกจนี ฮ่อ
หลวงปไู่ ดจ้ ารกิ ขนึ้ ไปถงึ เมอื งแสนหวี ฝฝี อ่ และ หนองแส เมอื งเหลา่ นเ้ี ปน็ ทอ่ี ยู่
ของพวกจนี ฮอ่ บางแถบทหี่ ลวงปผู่ า่ นไปมแี มน่ ำ�้ โขงไหลผา่ น พนื้ ทเี่ ปน็ ทร่ี าบในหบุ เขา
พอจวนจะเขา้ พรรษาคอื ชว่ งเดอื นพฤษภาคมและมถิ นุ ายน จะมฝี นตกชกุ มาก ไมส่ ะดวก
ท่ีจะพำ� นักในแถบนน้ั หลวงปู่ท้ังสองจึงได้เดนิ ทางกลบั มายงั ประเทศไทย
97
พูดถงึ ท่านเจา้ คณุ พระอบุ าลีฯ
หลวงปู่แหวน สุจิณฺโณ ให้ความเคารพและมีความคุ้นเคยกับท่านเจ้าคุณ
พระอุบาลคี ุณปู มาจารย์ (จันทร์ สริ จิ นฺโท) แห่งวดั บรมนิวาสวรวหิ ารมานาน ต้ังแต่
พ.ศ. ๒๔๖๔ เมอื่ หลวงปมู่ โี อกาสไปกราบรบั ฟงั การอบรมธรรมครงั้ แรก และนบั แตน่ นั้ มา
เวลาทท่ี า่ นเจา้ คณุ ฯ ขนึ้ ไปทางภาคอสิ าน หลวงปแู่ หวนจะหาโอกาสไปกราบและฟงั ธรรม
จากท่านเสมอ เพราะท่านเจ้าคุณพระอุบาลีฯ เป็นพระมหาเถระท่ีมีความสามารถ
ทัง้ ทางปริยตั ิและทางปฏบิ ัติ
ถ้ามีความขัดขอ้ งทางธรรมวนิ ยั เมื่อไปกราบเรยี นถาม ทา่ นจะชี้แจงใหฟ้ ังจน
หายสงสัย โดยท่านจะตอบข้อซักถามน้ันๆ ตามท่ีพระวินัยบัญญัติไว้อย่างชัดเจน
ตัวอย่างครั้งหน่ึง ทางส�ำนักพระราชวังได้นิมนต์พระมหาเถระไปฉันในพระราชวัง
โดยมีสมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชิรญาณวโรรส เปน็ ประธานสงฆ์ เมอ่ื
พระสงฆร์ บั พระราชทานฉันเสรจ็ แล้ว พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั ฯ ซงึ่ ทรงประทบั
สนทนาธรรมกบั พระมหาเถระอยู่ ไดท้ รงปรารภในเชงิ ถามตอนหนงึ่ วา่
“ภกิ ษฉุ นั ของเคย้ี วของฉนั ทเ่ี ปน็ อาหารในเวลาวกิ าล คอื ตง้ั แตต่ ะวนั เทย่ี งแลว้ ไป
จนถงึ อรณุ ของวันใหม่ ถือเป็นอาบตั ิปาจติ ตีย์ ตามสกิ ขาบทที่ ๗ แห่งโภชนวรรคนน้ั
ถา้ เปน็ ภิกษผุ ้ไู ปอยู่ในตา่ งประเทศ จะพงึ กำ� หนดเอาเวลาเท่ียงนน้ั อย่างไร”
98
พระเจา้ อยหู่ วั ฯ ทรงตรสั ถามพระมหาเถระไปทลี ะองค์ ยกเวน้ สมเดจ็ พระมหา-
สมณเจ้าฯ พระมหาเถระถวายพระพรไปคนละอยา่ ง หรือไมก่ ็อ้อมคอ้ มชนิดไม่กล้า
ตดั สนิ ชชี้ ดั ลงไป เมอื่ ถงึ ทา่ นเจา้ คณุ พระอบุ าลฯี พระเจา้ อยหู่ วั ฯ ตรสั ถามวา่ “ทา่ นเจา้ คณุ ฯ
วา่ อย่างไร”
ท่านเจ้าคุณพระอุบาลีฯ ถวายพระพรว่า “ให้ถือเอาเวลาท้องถ่ินที่ตนเข้าไป
อาศยั อย”ู่ พระเจา้ อยู่หัวฯ ทรงผินพระพกั ตรไ์ ปทางสมเด็จพระมหาสมณเจา้ ฯ แล้ว
ตรสั วา่ “เปน็ อยา่ งไร” สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ ฯ ถวายพระพรสน้ั ๆ วา่ “ชอบแกเ่ หต”ุ
พระเจา้ อยหู่ วั ฯ ก็ไม่ไดต้ รัสถามประเด็นน้อี กี ตอ่ ไป จึงยุตลิ งเพยี งนน้ั
99
ปาฏิโมกขห์ ้า
หลวงปู่แหวนเคยเล่าให้ลูกศิษย์ฟังว่า ท่านเจ้าคุณพระอุบาลีคุณูปมาจารย์
(ภายหลงั ไดเ้ ปน็ พระอปุ ชั ฌายข์ องหลวงปแู่ หวนกบั หลวงปตู่ อ้ื เมอื่ ญตั ตเิ ปน็ ธรรมยตุ )
เคยบอกใหห้ ลวงปทู่ อ่ งปาฏโิ มกขโ์ ดยถามวา่ “ทา่ นแหวน ทอ่ งปาฏโิ มกขไ์ ดแ้ ลว้ หรอื ยงั ”
กราบเรยี นทา่ นวา่ “ยงั ทอ่ งไมไ่ ด”้ ทา่ นเจา้ คณุ ฯ บอกวา่ “ตอ้ งทอ่ งปาฏโิ มกขใ์ หไ้ ดน้ ะ”
กราบเรยี นทา่ นตอ่ ไปวา่ “กระผมอายปุ านนแี้ ลว้ ความจำ� อะไรไมค่ อ่ ยดี กระผมจะรกั ษา
ปาฏโิ มกข์ทงั้ หา้ ก็พอ”
ท่านเจา้ คณุ ฯ ถามว่า “ปาฏิโมกขท์ ้ังหา้ คอื อะไร”
กราบเรียนท่านวา่ “ตากเ็ ป็นปาฏโิ มกขอ์ ันหนึ่ง หูกเ็ ปน็ ปาฏโิ มกขอ์ นั หนงึ่ จมูก
กเ็ ปน็ ปาฏโิ มกขอ์ นั หนงึ่ ลน้ิ กเ็ ปน็ ปาฏโิ มกขอ์ นั หนง่ึ และ กายกเ็ ปน็ ปาฏโิ มกขอ์ นั หนง่ึ
ตา หู จมกู ลิ้น กาย ทั้งหา้ นีแ้ หละเป็นปาฏโิ มกข”์
ท่านเจ้าคุณฯ พูดว่า “เออ ถูกละ นักบวชเราถ้าปฏิบัติอินทรีย์ท้ังห้าให้เป็น
ปาฏโิ มกขไ์ ด้ ผนู้ น้ั กจ็ ะเจรญิ ในพระธรรมวนิ ยั ของพระพทุ ธเจา้ ถา้ รกั ษาปาฏโิ มกขท์ ง้ั หา้
ไดแ้ ล้ว ไมต่ อ้ งท่องปาฏโิ มกขก์ ไ็ ด้”
ดงั นน้ั หลวงปแู่ หวน สจุ ณิ โฺ ณ ไมไ่ ดท้ อ่ งปาฏโิ มกขก์ เ็ พราะเหตนุ ี้ แตห่ ลวงปเู่ คย
เรยี นมลู กจั จายนม์ ากอ่ น เมอ่ื ยกวนิ ยั ขอ้ ใดมา ทา่ นจงึ วา่ ไดอ้ ยา่ งแมน่ ยำ� ทงั้ ภาษาบาลี
และภาษาไทย
100
เลา่ เรอื่ งไมส้ ีฟนั
หลวงปู่แหวนเลา่ เร่อื งไม้สฟี นั พระใหล้ กู ศษิ ย์ฟงั ดงั นี้
ในสมัยท่ีสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ก�ำลังนิพนธ์
(เขยี นหนงั สอื ) วนิ ยั มขุ อยู่ พระองคอ์ ธบิ ายถงึ สกิ ขาบททวี่ า่ ดว้ ยไมส้ ฟี นั จงึ เกดิ สงสยั วา่
จะเปน็ ไมช้ นดิ ใด มลี กั ษณะเปน็ อยา่ งไร ทรงรบั สงั่ ถามพระเถระทงั้ หลาย ตา่ งกก็ ราบทลู
ไปคนละอยา่ งไม่ตรงกนั จะเอาเปน็ ข้อยตุ ไิ มไ่ ด้ ยงั ไมไ่ ดค้ �ำอธิบายเป็นท่พี อพระทัย
จึงให้ไปนิมนต์ท่านเจ้าคุณพระอุบาลีคุณูปมาจารย์จากวัดบรมนิวาส มาเฝ้า
แลว้ ตรสั ถามวา่ “ทนตฺ โปนา ไมส้ ีฟันน้ัน ท่านเจ้าคุณฯ เคยเหน็ ไหมเป็นอยา่ งไร”
ทา่ นเจา้ คณุ พระอบุ าลฯี กราบทลู วา่ “เคยเหน็ เคยใชอ้ ยทู่ างภาคอสิ าน พระเถระ
ในสายพระอาจารยม์ นั่ ใชก้ นั อยทู่ วั่ ไป ทำ� จากไมส้ องอยา่ ง คอื ทำ� จากไมโ้ กทา หรอื คนทา
กบั ชนดิ ดที �ำจากไมจ้ นั ทนห์ อม ดา้ นหนง่ึ ทบุ ใหเ้ ปน็ ฝอยละเอยี ดใชส้ ฟี นั อกี ดา้ นหนงึ่
เหลาใหแ้ หลมใชจ้ มิ้ ฟัน ถ้าตอ้ งการขูดลนิ้ ก็ฉีกออกเปน็ ชิ้นบางๆ ใชข้ ดู ลิ้นได้ ถา้ เปน็
ไมโ้ กทา เวลาเคี้ยวจะมีรสขมนิดหน่อย ปอ้ งกนั กล่ินปากไดด้ ี ขบั เสมหะไดด้ ว้ ย”
สมเดจ็ ฯ รบั สง่ั ใหท้ า่ นเจา้ คณุ ฯ หามาใหท้ อดพระเนตร ทา่ นเจา้ คณุ ฯ จงึ สง่ั ขนึ้ ไป
ทางจังหวดั อบุ ลราชธานี ใหท้ �ำไม้สีฟนั จากไมจ้ ันทนห์ อมและไมโ้ กทาส่งลงไปใหท้ า่ น
ทีว่ ัดบรมนิวาส กรุงเทพฯ แล้วท่านก็น�ำไปทูลถวายสมเดจ็ ฯ ตอ่ ไป
เม่ือสมเด็จฯ ได้ทอดพระเนตรและทรงทดลองใช้ดูแล้ว จึงตรัสชมกับทา่ น
เจา้ คุณพระอบุ าลีฯ ว่า “พระทางอิสานช่างเข้าใจพระวินยั ดีแท”้
101
นิมนตท์ ่านเจ้าคุณพระอุบาลีฯ มาอยูเ่ ชยี งใหม่
ทา่ นเจา้ คณุ พระอบุ าลคี ณุ ปู มาจารยเ์ คยไปจำ� พรรษาทเ่ี ชยี งตงุ ไดไ้ ปแสดงธรรม
โปรดเจ้าผู้ครองนครเชียงตุงจนเล่ือมใสถวายตนเป็นศิษย์อุปัฏฐาก เป็นเหตุให้ทาง
ราชส�ำนกั นครเชยี งตุงประพฤตธิ รรมกนั โดยท่ัวหนา้ แมป้ ัจจบุ นั เชือ้ วงศ์นครเชียงตงุ
เจา้ นายชนั้ ผใู้ หญก่ ย็ งั คงปฏบิ ตั ธิ รรมกนั อยู่ ในครง้ั นน้ั นอกจากทา่ นเจา้ คณุ พระอบุ าล-ี
คุณปู มาจารย์ จะได้โปรดเจา้ นายวงศน์ ครเชยี งตงุ แลว้ ทา่ นยงั ไดป้ รบั ปรงุ การปฏิบัติ
พระวนิ ยั ของพระสงฆใ์ นเชยี งตงุ ใหด้ ขี น้ึ หลายอยา่ งตามคำ� ขอรอ้ งของเจา้ ผคู้ รองนคร
เชยี งตุง
เมอ่ื ทา่ นเจา้ คุณพระอบุ าลฯี กลบั จากเชียงตงุ แลว้ ท่านไดข้ น้ึ ไปพักภาวนาอย่ทู ่ี
ดอยสเุ ทพ จงั หวดั เชยี งใหม่ ประจวบกบั สมยั นนั้ วดั เจดยี ห์ ลวง ในตวั เมอื งเชยี งใหม่
ก�ำลังทรุดโทรม หาพระผเู้ ป็นหลกั ไมไ่ ด้ ประชาชนกเ็ หินหา่ งจากวดั เพราะพระภกิ ษุ
สามเณรประพฤตติ นไมเ่ หมาะสม
ทางฝา่ ยบา้ นเมอื งมเี จา้ แกว้ นวรตั น์ เจา้ ผคู้ รองนครเชยี งใหม่ พรอ้ มดว้ ยเจา้ พระยา-
มขุ มนตรี (อวบ เปาโรหิตย)์ สมหุ เทศาภบิ าลมณฑลพายพั จึงไดป้ รึกษากนั ว่าจะหา
พระเถระผใู้ หญท่ ่ีไหนเพอื่ จะได้นิมนต์มาอยวู่ ดั เจดยี ์หลวง เพ่อื จะได้ขอให้ทา่ นชว่ ย
ปรับปรงุ วัดและพระภิกษุสามเณรให้เข้ารูปเขา้ รอยข้ึน
102
ทางฝา่ ยบา้ นเมอื งเหน็ พอ้ งกนั วา่ สมควรจะอาราธนานมิ นตท์ า่ นเจา้ คณุ พระอบุ าล-ี
คุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิรจิ นฺโท) วัดบรมนวิ าส กรุงเทพฯ มาอยู่ จึงได้เตรยี มการ
มอบหมายใหผ้ ู้เดินทางไปนมิ นต์
ประจวบกับขณะน้ันได้ทราบข่าวว่า ท่านเจ้าคุณพระอุบาลีฯ พักวิเวกอยู่ท่ี
ดอยสุเทพ จึงได้พากนั ไปกราบและเรียนใหท้ ราบถงึ วตั ถุประสงค์ พร้อมทัง้ นิมนต์
ให้ท่านมาพ�ำนักจ�ำพรรษาที่วัดเจดีย์หลวง เพ่ือจะได้ปรับปรุงวัดให้เรียบร้อย และ
เรียกศรทั ธาของประชาชนใหก้ ลบั คืนมา
แตก่ ารนมิ นตค์ รงั้ นน้ั เปน็ การนมิ นตท์ า่ นแบบไมเ่ ปน็ ทางการ ทำ� นองเกรน่ิ ใหท้ า่ น
รบั ทราบ และทา่ นเจา้ คณุ ฯ กย็ งั ไมไ่ ดต้ อบรบั แตป่ ระการใด เพยี งบอกวา่ ทา่ นจะขอรบั
ไว้พจิ ารณา ต่อเมอื่ กลบั ถึงกรงุ เทพฯ แลว้ จะพจิ ารณาอีกคร้ัง
103
ทา่ นเจ้าคุณพระอบุ าลฯี รับนมิ นต์
เมอ่ื ทา่ นเจา้ คณุ พระอบุ าลคี ณุ ปู มาจารย์ พกั ภาวนาอยดู่ อยสเุ ทพพอสมควรแลว้
กเ็ ดินทางกลบั กรงุ เทพฯ
ประมาณเดอื นมถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๔๗๐ ทางเชยี งใหมโ่ ดยเจา้ แกว้ นวรตั นไ์ ดเ้ ดนิ ทาง
ลงไปนมิ นตท์ า่ นเจา้ คณุ พระอบุ าลฯี อยา่ งเปน็ ทางการดว้ ยตนเอง การตดิ ตอ่ นมิ นตจ์ งึ
ส�ำเร็จด้วยดี
ในการเดนิ ทางไปเชยี งใหม่ ทา่ นเจา้ คณุ พระอบุ าลฯี ไดเ้ ลอื กผทู้ จ่ี ะตดิ ตามไปกบั
ทา่ นอย่างพถิ พี ิถัน เพราะค่าใชจ้ า่ ยในการเดนิ ทางน้ันสงู มาก ในช่วงน้นั หลวงปู่ม่นั
ภูริทตฺโต ได้เดินทางเข้ากรุงเทพฯ มคี วามประสงคจ์ ะปลีกวเิ วกแสวงหาโมกขธรรม
ไปตามล�ำพงั องคเ์ ดยี ว และได้มอบหมายใหห้ ลวงปสู่ งิ ห์ ขนตฺ ยาคโม ปกครองดูแล
คณะสงฆภ์ าคอสิ านแทนทา่ น ทา่ นเจา้ คณุ พระอบุ าลคี ณุ ปู มาจารย์ จงึ ไดข้ อใหห้ ลวงปมู่ น่ั
ไปพำ� นกั จ�ำพรรษาที่เชยี งใหมด่ ้วย และร่วมเดนิ ทางในคร้ังน้ี ศิษยอ์ กี ท่านหน่งึ ท่ไี ด้
รบั คดั เลอื กใหร้ ว่ มเดนิ ทางไดแ้ ก่ หลวงปแู่ หวน สจุ ณิ โฺ ณ ซงึ่ ทา่ นมคี วามยนิ ดอี ยา่ งยงิ่
โดยไมค่ าดคดิ มากอ่ นวา่ จะไดร้ บั ความไวว้ างใจจากครบู าอาจารยม์ ากถงึ ขนาดนน้ั
หลวงปู่แหวนบอกว่า การน่ังรถไฟไปเชียงใหม่ในสมัยนั้นไม่ได้สะดวกสบาย
เหมอื นสมยั น้ี ตอ้ งใชเ้ วลานาน แตก่ ไ็ มม่ ยี านพาหนะหรอื วธิ เี ดนิ ทางอยา่ งอน่ื ทจี่ ะสะดวก
สบายไปกว่านนั้ อีกแล้ว
104
จดั การปรับปรุงวัดเจดยี ห์ ลวง
การไปจำ� พรรษาอยวู่ ดั เจดยี ห์ ลวงของทา่ นเจา้ คณุ พระอบุ าลคี ณุ ปู มาจารยค์ รง้ั นนั้
ท่านไดเ้ ทศนาสัง่ สอนอบรมพระภกิ ษสุ ามเณร อบุ าสกอบุ าสกิ า รวมทง้ั น�ำพระภกิ ษุ
สามเณรทำ� ความสะอาดและปรบั ปรงุ บรเิ วณวดั จนดสู ะอาดเรยี บรอ้ ยดเู จรญิ หเู จรญิ ตา
นอกจากนี้ เวลากลางคนื ทา่ นกใ็ หก้ ารอบรมธรรมทกุ คนื ทำ� ใหไ้ ดผ้ ลดขี น้ึ มาอยา่ ง
รวดเร็ว คือพระภิกษุสามเณรประพฤติอยู่กับร่องกับรอย วัดดูสะอาดเป็นระเบียบ
เรยี บรอ้ ย อบุ าสกอบุ าสกิ าและประชาชนกม็ าทำ� บญุ ฟงั ธรรมกนั มากขนึ้ สามารถเรยี ก
ศรทั ธากลับมาไดต้ ามความประสงค์
เมอ่ื ออกพรรษาแลว้ ทา่ นเจา้ คณุ ฯ กพ็ าพระเณรออกวเิ วกตามเขตอำ� เภอใกลเ้ คยี ง
บางครง้ั ในฤดแู ลง้ นอกพรรษา ทา่ นกล็ งไปทำ� ธรุ ะทกี่ รงุ เทพฯ พอจวนจะถงึ วนั ปวารณา
เขา้ พรรษา ทา่ นกก็ ลบั ขนึ้ มาจำ� พรรษาทเี่ ชยี งใหม่ วดั เจดยี ห์ ลวงในสมยั ของทา่ นเจา้ คณุ
พระอุบาลีคุณูปมาจารย์จึงได้รับการสนับสนุนจากประชาชนเช่นที่เคยเป็นมาแล้ว
ในอดีต
หลวงปแู่ หวนกอ็ ยดู่ แู ลชว่ ยสนองงานทา่ นเจา้ คณุ ฯ ตามกำ� ลงั บางครงั้ ทา่ นกต็ าม
หลวงป่มู ั่นออกแสวงวิเวกตามอำ� เภอนอกๆ ตามโอกาส
105
ญตั ตเิ ปน็ ธรรมยุต
ในปี พ.ศ. ๒๔๗๐ นเี้ อง ทา่ นเจา้ คณุ พระอบุ าลคี ณุ ปู มาจารย์ ไดพ้ จิ ารณาเหน็ วา่
หลวงปู่แหวนมีความตั้งใจในการประพฤติปฏิบัติ มีความวิริยะอุตสาหะปรารภ
ความเพียรสม่�ำเสมอ ไม่ท้อถอย มีข้อวัตรปฏิบัติดีเหมาะสมตามสมณสารูป
มอี ปุ ัชฌายวตั รและอาจารยิ วตั รดเี สมอตน้ เสมอปลาย มีอัธยาศัยไมข่ นึ้ ไม่ลง และมี
ความคนุ้ เคยกันมานาน
วันหน่ึง ทา่ นเจ้าคณุ พระอุบาลฯี ไดพ้ ูดกบั หลวงปูแ่ หวนว่า “อย่ดู ว้ ยกนั กน็ าน
มาแลว้ ควรจะไดญ้ ตั ตเิ สยี เพอื่ จะไดเ้ ขา้ รว่ มสงั ฆกรรมกนั ได้ ไมต่ อ้ งคอยบอกปารสิ ทุ ธิ
ในวนั อโุ บสถเหมือนเช่นทุกวันน”ี้
ครง้ั แรกหลวงปกู่ ราบเรยี นทา่ นเจา้ คณุ ฯ วา่ “ขอเวลาปรกึ ษาเพอื่ นคอื หลวงปตู่ อ้ื
ดูกอ่ น” ในช่วงน้ันหลวงปตู่ ้ือยงั ทอ่ งธดุ งคอ์ ยู่ตามล�ำพัง ยังไม่ไดข้ น้ึ ไปเชียงใหม่
แตด่ ว้ ยเหตผุ ลของทา่ นเจ้าคณุ พระอบุ าลฯี ทอ่ี ธิบายให้ฟงั ในขณะนน้ั ทา่ นจึง
ตัดสินใจญัตติเป็นพระธรรมยุตท่ีพัทธสีมาวัดเจดีย์หลวงนั่นเอง โดยมีพระอุบาลี-
คุณูปมาจารย์ (จนั ทร์ สิริจนฺโท) เป็นพระอุปชั ฌาย์ มีพระครูศรีพิศาลสารคุณ เปน็
พระกรรมวาจาจารย์ และพระครนู พสี พี ศิ าลคณุ (ทอง โฆสโิ ต) เปน็ พระอนสุ าวนาจารย์
106
เหตทุ ีห่ ลวงปแู่ หวนยังไมญ่ ัตติในครงั้ แรก
การทห่ี ลวงปแู่ หวนยงั ไมย่ อมญตั ตเิ ปน็ พระธรรมยตุ ในครงั้ แรก โดยจะรอปรกึ ษา
กบั หลวงปตู่ อื้ อจลธมโฺ ม กอ่ นนนั้ เพราะถา้ ทา่ นตดั สนิ ใจไปคนเดยี ว ภายหลงั อาจถกู
เพอื่ นตอ่ วา่ เอาไดว้ า่ ทำ� อะไรไปแลว้ ไมป่ รกึ ษากนั เพราะหลวงปตู่ อื้ ทา่ นเปน็ สหธรรมกิ
ที่ร่วมท่องธุดงค์ทั้งในและนอกประเทศด้วยกันเกือบจะทุกแห่ง เม่ือมีเร่ืองส�ำคัญท่ี
ตอ้ งตดั สินใจ จึงตอ้ งปรึกษากนั ใหด้ เี สยี กอ่ น
อีกอย่างหนึ่ง ขณะนั้นหลวงปู่แหวนเองก็อยู่ในขั้นพระผู้ใหญ่พอสมควรแล้ว
เพราะทา่ นมพี รรษา ๒๐ พระทมี่ พี รรษามากขนาดนนั้ จะตดั สนิ ใจทำ� อะไรตอ้ งมคี วาม
รอบคอบ แต่ด้วยความเคารพในท่านเจ้าคุณพระอุบาลีฯ รวมทั้งด้วยเหตุด้วยผล
เมอ่ื ทา่ นเจา้ คณุ ฯ เอย่ ปากใหโ้ อกาส หลวงปจู่ งึ ตกลงญตั ตเิ ปน็ พระธรรมยตุ โดยไมร่ อ
หลวงปตู่ อ้ื ภายหลงั เมอ่ื หลวงปตู่ อ้ื มาถงึ เชยี งใหมแ่ ลว้ ทา่ นกไ็ ดญ้ ตั ตเิ ปน็ พระธรรมยตุ
ท่วี ัดเจดียห์ ลวงเชน่ เดียวกนั
ในสมยั นน้ั พระฝา่ ยมหานกิ ายทม่ี อี ายพุ รรษามากทย่ี อมตนเปน็ ศษิ ยป์ ฏบิ ตั ธิ รรม
กบั หลวงปมู่ นั่ ภรู ทิ ตโฺ ต ไดญ้ ตั ตเิ ปน็ พระธรรมยตุ กม็ าก และทห่ี ลวงปมู่ นั่ ทา่ นบอกวา่
ไม่ต้องญัตติก็มีหลายองค์
107
การเทีย่ วธุดงค์ในภาคเหนอื
หลวงปแู่ หวนกบั หลวงปตู่ อื้ ทา่ นถกู กบั อากาศทางภาคเหนอื เหมอื นกนั ซง่ึ กลา่ ว
ได้วา่ อากาศทางภาคเหนือเปน็ สปั ปายะสำ� หรับทา่ น
ในการบำ� เพญ็ ภาวนาชว่ งทอี่ ยทู่ างภาคเหนอื นนั้ หลวงปไู่ ดจ้ ารกิ ไปตามปา่ ตามเขา
แถวจงั หวัดเชยี งราย พะเยา ลำ� ปาง เชยี งใหม่ เปน็ สว่ นมาก หลวงปสู่ ามารถเลา่ ถงึ
ภมู ปิ ระเทศของแตล่ ะทอ้ งที่ในภาคเหนอื ตอนบนได้อย่างละเอียด
ส่วนทางภาคเหนอื ตอนลา่ ง ไดแ้ ก่ ตาก กำ� แพงเพชร อตุ รดติ ถ์ แพร่ น่าน นั้น
หลวงปเู่ คยเทยี่ วธดุ งค์บา้ งเปน็ ครัง้ เป็นคราว ไมเ่ หมอื น ๔ จังหวัดทกี่ ลา่ วมา ซ่ึงท่าน
จารกิ ไปหลายๆ คร้งั บางแหง่ หลวงปกู่ ็อยพู่ ักจำ� พรรษา บางแหง่ ก็พักบำ� เพ็ญเพียร
ภาวนาเฉพาะในฤดูแล้ง แหง่ ละ ๓ วนั บ้าง ๗ วันบ้าง ๑๕ วนั บ้าง หรอื ๑ เดือนบา้ ง
การจาริกธุดงค์ของหลวงปู่นั้นต้องพบกับอุปสรรคนานาประการ ซ่ึงหลวงปู่
กส็ ามารถผา่ นพ้นไปได้ด้วยพลงั จติ ทเ่ี ข้มแขง็ มุ่งม่นั และด้วยปัญญาบารมีของทา่ น
ซง่ึ ศิษย์รนุ่ หลงั ไดถ้ อื เปน็ แบบอยา่ งในการปฏิบตั ิจนบังเกดิ ผลสำ� เร็จในทางธรรมเปน็
จ�ำนวนมาก
108
ธดุ งคจ์ ากเชียงรายไปลำ� ปาง
ครง้ั หนึง่ หลวงปูแ่ หวนออกธดุ งคอ์ งค์เดียว เดนิ ทางจากเชียงรายมงุ่ ไปลำ� ปาง
หลวงป่เู ดินทางมาถงึ พะเยา (สมยั นนั้ เปน็ อ�ำเภอข้ึนอย่กู ับจงั หวัดเชียงราย) พักที่วดั
พระเจา้ ตนหลวง ๓-๔ วัน เพ่ือพกั ผ่อนใหม้ กี ำ� ลงั
ช่วงที่หลวงปู่ออกจากพะเยาจะไปล�ำปางก็มีรถลากไม้จะไปเส้นทางนั้นพอดี
พวกรถไดน้ มิ นตห์ ลวงปขู่ นึ้ รถไปดว้ ย ขณะนน้ั เปน็ ชว่ งเดอื น ๗ (มถิ นุ ายน) เขา้ หนา้ ฝน
มฝี นตกชุก รถออกไปถึงแถวอำ� เภองาวก็เกดิ ติดหล่มขึ้นไมไ่ ด้ พวกคนรถนิมนตใ์ ห้
หลวงปู่พกั อย่กู ับพวกเขากอ่ น ให้แกไ้ ขเอารถขึน้ จากหล่มได้คอ่ ยเดินทางต่อไป
หลวงปกู่ ลา่ วขอบใจพวกเขา แลว้ บอกวา่ จะคอ่ ยๆ เดนิ ลว่ งหนา้ ไปกอ่ น จะไปพกั
หมูบ่ ้านขา้ งหนา้
ขณะท่ีหลวงป่เู ดนิ ทางน้ัน มฝี นตกพร�ำๆ ตลอดเวลา พอตกเย็นกถ็ งึ หม่บู ้าน
แหง่ หนง่ึ เขา้ ไปอาศยั พกั ทศ่ี าลาใกลห้ มบู่ า้ น วนั รงุ่ ขนึ้ กอ็ อกบณิ ฑบาต ฉนั เสรจ็ กอ็ อก
เดินทางต่อไป
สมยั นน้ั ถนนระหวา่ งพะเยา-ลำ� ปาง เปน็ ทางรถลากไม้ ในฤดฝู น รถจะหยดุ ลากไม้
เพราะตดิ หลม่ ลากไมไ้ มไ่ ด้ ดงั นน้ั เสน้ ทางจงึ เดนิ ลำ� บากมาก ตอ้ งผา่ นลำ� ธาร ผา่ นซอกเขา
และปา่ ดงดิบ มีทากดูดเลือดอยูท่ ว่ั ไป
109
พกั ค้างคืนที่ศาลเจา้ พอ่ ประตูผา
หลวงปู่เดินทางมาถึงศาลเจ้าพ่อประตูผาเมื่อเวลาใกล้ค่�ำพอดี จึงอาศัยนอนท่ี
ศาลเจ้าพอ่ นั้นเอง ศาลเจา้ พ่อประตูผาในสมยั นนั้ เขาสร้างเป็นตัวเรือนไม้ขนาดใหญ่
พอทค่ี นจะขน้ึ ไปนอนได้
หลวงปู่ใช้ผ้าอาบปัดฝุ่นและใบไม้ที่พื้นออก แล้วเอาผ้าอาบปูบนพ้ืนกระดาน
กางกลดและจดั บรขิ ารเรียบร้อยแล้ว กอ็ อกไปสรงน�้ำท่ลี �ำธารแถวใกล้ๆ นั้น ซึ่งมี
อยู่ทั่วไปในฤดฝู น เวลากลางคนื หลวงปบู่ อกว่าเงียบสงดั ดี ทา่ นใช้ผา้ สังฆาฏิหนุน
ศรี ษะตา่ งหมอนเวลานอน เมอ่ื หยดุ พกั พอหายเหนอ่ื ยแลว้ หลวงปกู่ ไ็ หวพ้ ระสวดมนต์
แผเ่ มตตาใหเ้ จา้ ทเี่ จา้ ทางและสรรพสตั ว์ แลว้ เดนิ จงกรมบา้ ง นง่ั ภาวนาบา้ ง สลบั กนั ไป
หลวงปูเ่ ลา่ ว่า เวลากลางคืนพวกเสอื มารอ้ งแถวใกลๆ้ ที่ท่านพกั เสียงเป๊บๆ
ขานรบั กัน ฟังเสยี งแต่ละตวั ไม่ใช่เลก็ ๆ สามารถกนิ วัวได้อยา่ งสบาย เสอื ร้องรับกัน
เปน็ ทอดๆ ประเดยี๋ วตวั นน้ั รอ้ ง ประเดยี๋ วตวั น้ี รอ้ งเหมอื นคนกหู่ ากนั อยไู่ มไ่ กลจาก
ที่ท่านพกั พอตกดกึ อากาศหนาวเยน็ มาก ทา่ นตอ้ งเดินจงกรมและน่งั ภาวนาท้งั คืน
110
จับไข้ระหวา่ งเดินทาง
พอรุ่งสว่างได้อรุณ หลวงปู่เก็บบริขารแล้วออกเดินทางต่อไป ตกบ่ายรู้สึก
ออ่ นเพลยี มาก หนกั ศรี ษะคลา้ ยจะเปน็ ไข้ รวบรวมกำ� ลงั เดนิ ตอ่ ไป จะพกั กไ็ มไ่ ดเ้ พราะ
อย่กู ลางปา่ เขาไมม่ หี มบู่ า้ นเลย เดนิ ไปไดป้ ระมาณ ๒ ช่วั โมง รู้สกึ อ่อนเพลยี มาก
อาการไขเ้ รมิ่ ปรากฏชดั ขารสู้ กึ วา่ จะกา้ วตอ่ ไปไมไ่ หว ออ่ นไปหมด จงึ แวะเขา้ ใตร้ ม่ ไม้
ข้างทาง วางกลด วางบาตร แลว้ ล้มตัวนอนหลบั โดยไมร่ สู้ ึกตัวเพราะพษิ ไข้
ชว่ งเวลาที่หลับไปนน้ั นานเทา่ ไรก็ไม่รู้ มาร้สู ึกตวั เอากต็ อ่ เม่อื ได้ยินเสียงดังอ้ๆู
ของลมพดั ยอดใบไม้ เสยี งฟา้ คะนอง ฟา้ แลบแปลบปลาบอยทู่ ว่ั ไป มองไปบนทอ้ งฟา้
มีเมฆด�ำทะมึนเต็มท้องฟ้า ลมก็พัดกระโชกแรงข้ึน เสียงค�ำรามของฟ้าก็ร้องถี่ขึ้น
ดูทุกสิ่งทกุ อยา่ งมแี ต่บีบรดั เข้ามาทุกที อาการไข้ก็ยงั ไมส่ ร่าง ฝนก็เริ่มลงเม็ดห่างๆ
จะกางกลดกส็ ลู้ มพดั ไมไ่ หว ไมร่ วู้ า่ จะไปหลบฝนอยทู่ ไ่ี หนได้ ดเู หมอื นจะหมดหนทาง
แก้ไขเอาทีเดียว
111
ขอให้ฝนเลี่ยงหา่ ง
เม่ือหลวงป่เู หน็ ว่าไมม่ ที างท่ีจะหลบหลกี ฝนได้แน่แลว้ จึงไดร้ วบรวมกำ� ลังกาย
ลกุ ขน้ึ นงั่ สมาธิ ตงั้ สจั จาธษิ ฐานอา้ งเอาคณุ พระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์ อา้ งถงึ บญุ บารมี
ที่ไดบ้ �ำเพญ็ ตนดว้ ยดีมาตัง้ แต่บวช ว่า
“ขา้ พเจา้ บวชอทุ ศิ ตนตอ่ พระพทุ ธ ตอ่ พระธรรม ตอ่ พระสงฆ์ วนั นขี้ า้ พเจา้ เดนิ ทางมา
เพอ่ื จะไปลำ� ปาง เกดิ อาการไขห้ มดกำ� ลงั ทจ่ี ะไปขา้ งหนา้ ถา้ บญุ บารมขี องขา้ พเจา้ มอี ยู่
พอทีจ่ ะได้บ�ำเพญ็ พรหมจรรยเ์ พื่อทำ� ท่ีสุดแหง่ ทุกขแ์ ล้ว ขอฝนอยา่ ไดต้ กลงมาตรงท่ี
ข้าพเจา้ อยู่น้เี ลย”
แลว้ หลวงปกู่ แ็ ผเ่ มตตาตอ่ เทพาอารกั ษ์ เจา้ ทเี่ จา้ ทาง อธษิ ฐานบอกกลา่ วแกเ่ ขาวา่
“ขา้ แตเ่ ทพารกั ษผ์ ศู้ กั ดส์ิ ทิ ธิ์ เจา้ ทเ่ี จา้ ทาง ตลอดจนนาค ครฑุ ผมู้ อี ำ� นาจทงั้ หลายกด็ ี
วนั นข้ี า้ พเจา้ เดนิ ทางมาจะไปลำ� ปาง มาปว่ ยอยกู่ ลางปา่ หมดกำ� ลงั ทจ่ี ะไปขา้ งหนา้ ขอให้
ทา่ นทง้ั หลายอาศยั ความเอน็ ดขู า้ พเจา้ ขอไดโ้ ปรดบนั ดาลดว้ ยอำ� นาจฤทธข์ิ องตนๆ ใหฝ้ น
ซง่ึ กำ� ลงั ตกมาน้ี ไดเ้ วน้ ตรงทขี่ า้ พเจา้ อยตู่ รงนี้ ขอใหเ้ ปลย่ี นทศิ ทางไปทางอน่ื การทจี่ ะ
ห้ามฝนไมใ่ ห้ตกนั้นมิใช่ฐานะ แต่ขออย่าได้ตกลงมาตรงทข่ี า้ พเจา้ อยู่ ขอให้ผ่านไป
ทางอ่นื ”
112
เป็นท่นี า่ อศั จรรย์
เมอ่ื หลวงปอู่ ธษิ ฐานเสรจ็ แลว้ ทำ� จติ ใหแ้ นว่ แนแ่ ผเ่ มตตาแกส่ รรพสตั วท์ ว่ั จกั รวาล
ไมม่ ปี ระมาณ แลว้ ทา่ นกน็ งั่ หลบั ตาทำ� สมาธสิ งบนง่ิ เปน็ ทน่ี า่ อศั จรรย์ ขณะทฝ่ี นกำ� ลงั
ลงเมด็ ถโี่ ดยลำ� ดบั นน้ั ไดเ้ กดิ มลี มพดั มาอยา่ งแรง ตน้ ไมล้ เู่ อนไปตามทศิ ทางลมดว้ ย
ความแรงของลมที่พดั มานั้นสามารถทำ� ให้ฝนเปล่ยี นทศิ ทางไปโดยฉับพลัน
ฝนตกหา่ งจากจุดทหี่ ลวงปูน่ ั่งอยอู่ อกไปในรัศมี ๑ เส้น เวน้ เฉพาะทีๆ่ หลวงปู่
อยู่เท่าน้ัน วันนั้นฝนตกอยู่นานพอสมควร พอฝนหายแล้ว อาการไข้ก็ยังไม่สร่าง
หลวงปจู่ งึ ลม้ ตวั นอนตอ่ ไปโดยไมไ่ ดก้ างกลด ทา่ นมารสู้ กึ ตวั อกี ทกี เ็ ปน็ เวลากลางคนื
แลว้ รู้สกึ ว่าเนอ้ื ตวั เปียกชุม่ หมด สว่ นหน่งึ เปน็ เพราะยุงป่ารุมกดั และอีกส่วนหนึ่ง
เพราะเหงอื่ ออก
หลวงปู่ไมไ่ ด้สนใจกับเรื่องเน้อื ตวั รแู้ ต่ว่าสรา่ งไข้แล้ว รสู้ ึกวา่ ตวั เบา คอแห้ง
กระหายน�ำ้ จึงลกุ ข้ึนเอากาไปตักน�้ำในลำ� ธารใกล้ๆ ใช้ธรรมกรก (กระบอกกรองน้ำ� )
กรองนำ้� ใสก่ าเตม็ แลว้ กก็ ลับมาทีเ่ ดิม น่งั ภาวนาท�ำสมาธิจนรุ่งเช้า
กอ่ นออกเดนิ ทาง หลวงปู่ได้ทำ� ใจใหส้ งบ แผ่เมตตาไปยงั สรรพสตั วท์ ้งั หลาย
การเดินทางในวันนัน้ มคี วามสะดวกปลอดภยั ไมม่ ีอปุ สรรคอนั ตรายใดๆ
113
ขอ้ ดีของการเดินธุดงคค์ นเดยี ว
ทบี่ อกวา่ หลวงปแู่ หวนกบั หลวงปตู่ อ้ื ทา่ นจะออกทอ่ งธดุ งคไ์ ปไหนๆ ดว้ ยกนั นน้ั
ไม่ได้หมายความว่าท่านจะเดินด้วยกันพักด้วยกันตลอด หากแต่ไปด้วยกันบ้าง
แยกกนั บ้าง ๓ วัน ๕ วนั ๒ สปั ดาห์ หรือ ๑ เดือน มาพบกนั ทีหนึ่ง หรอื บางครัง้
กพ็ กั ปกั กลดอยใู่ กลๆ้ กนั แลว้ กต็ า่ งองคต์ า่ งแยกกนั ไป แตท่ า่ นกต็ ดิ ตอ่ ถงึ กนั อยเู่ สมอ
ในช่วงท่ีธดุ งค์มาล�ำปางน้ี หลวงปู่ทงั้ สององค์แยกทางกนั แตม่ าพบกนั ทล่ี �ำปาง แลว้
หลวงปู่แหวนธดุ งค์ข้ึนไปเชียงใหม่ และหลวงป่ตู ื้อแยกไปแสวงวิเวกแถบอ�ำเภอเถนิ
หวังจะไปพบกันท่ีเชียงใหม่
หลวงปูแ่ หวน ทา่ นเล่าถึงข้อดีในการเดินทางองคเ์ ดยี ววา่
“การเดินทางคนเดียวนนั้ ร้สู ึกสะดวกสบายหายกังวล ไม่เหมอื นไปกนั เป็นหมู่
เปน็ คณะ มแี ตเ่ รื่องกังวล ในทบี่ างแห่งเพื่อนๆ จะไป เราอยากอยู่ เราจะไป เพือ่ นๆ
จะอยู่ ไม่ค่อยจะพรอ้ มเพรียงกนั สไู้ ปคนเดียวไม่ได้ อยากไปก็ไป อยากอย่กู อ็ ยู่
ไม่มเี คร่ืองวิตกกงั วล ไม่ตอ้ งพดู จากบั ใครๆ เดินทางคนเดยี ว เวลาคับขันจิตกเ็ ป็น
สมาธิได้ดี สติสมั ปชัญญะเปน็ เพื่อนสองเสมอในกาลเช่นนน้ั เดินไปภาวนาไปเชน่ น้ี
บางคร้งั จติ สงบอยูไ่ ด้นาน ความวอกแวกแสไ่ ปรับอารมณภ์ ายนอกตามนิสัยของจติ
ไมค่ ่อยมี เพราะเหตุทอ่ี นั ตรายมอี ยู่รอบดา้ น ชีวิตจึงฝากเปน็ ฝากตายอยูก่ ับสติ
การเดนิ ทางในท่ีๆ มอี นั ตรายเชน่ นน้ั เปรยี บเหมือนการเข้าสู่สงครามทางทหาร
ถา้ ไม่ค่อยระมดั ระวงั สตสิ ัมปชญั ญะไมม่ ี ไม่ช้าทหารผู้นั้นจะตอ้ งถกู ข้าศึกท�ำร้ายเอา
อย่างแนน่ อน”
114
การบำ� เพญ็ ภาวนาอยูใ่ นทมี่ อี นั ตราย
หลวงปู่เลา่ ถงึ การบำ� เพญ็ ภาวนาอยูใ่ นสถานท่ๆี มอี นั ตราย เชน่ มสี ตั ว์ มีเสอื
มชี า้ ง มีหมี หรอื งู อยู่ใกลๆ้ ว่าในสถานท่ีเชน่ นน้ั แหละสตมิ ันตน่ื อยทู่ ุกเม่ือ ทว่ี ่าสติ
มนั ตนื่ เพราะมนั กลวั อาจารยเ์ สอื อาจารยช์ า้ ง อาจารยง์ ู อาจารยห์ มี จะมาทำ� อนั ตราย
มันจงึ ตืน่ ตวั อยูเ่ สมอ
หลวงปบู่ อกวา่ คำ� วา่ “ตนื่ ” ในทน่ี ้ี มไิ ดห้ มายความวา่ ตนื่ กลวั แบบกลวั สตั วก์ ลวั เสอื
มนั จะมาทำ� อันตรายเอา แตค่ วามหมายวา่ ต่ืนอยู่ด้วยธรรม เช่น เราเจริญธรรมะขอ้
มรณานสุ สติ จติ มนั จะคน้ คดิ หาอบุ ายทางปญั ญาอยเู่ ฉพาะเรอื่ งนน้ั ๆ ไมส่ ง่ ออกไปรบั
อารมณ์ภายนอกอยา่ งอยใู่ นทธ่ี รรมดาท่วั ไป
เวลาจติ สงบเมอื่ อยใู่ นสถานทๆี่ มอี นั ตราย ความสงบจะตงั้ อยไู่ ดน้ าน อบุ ายการ
พจิ ารณากแ็ ยบคาย แมข้ ณะเดนิ จงกรม เวลาจติ รวมกส็ ามารถยนื อยไู่ ดโ้ ดยไมล่ ม้ หรอื
ซวนเซ อยู่ได้นานเท่าท่จี ติ จะถอนออกจากสมาธิ
เพราะเหตนุ น้ั จติ ในสภาพเชน่ นนั้ จงึ องอาจกลา้ หาญ มกี ำ� ลงั มอี ำ� นาจคมุ้ ครอง
ตัวเองได้ แม้เวลาน้อมจิตแผ่เมตตาต่อสรรพสัตว์ทั้งหลายจึงมีอ�ำนาจโน้มน้าวจิต
ของสัตวใ์ หเ้ กิดมคี วามเมตตาต่อกนั และกนั ได้
115
เรื่องอาหารและการบิณฑบาต
หลวงปแู่ หวนไดพ้ ดู ถงึ เรอ่ื งการบณิ ฑบาตในชว่ งออกธดุ งคว์ า่ ในการเดนิ ทางของ
พระธุดงคน์ ้ัน จะเอาอะไรแนน่ อนกบั การขบฉันนักไม่ได้ ไปในทบ่ี างแหง่ กไ็ ดพ้ อฉนั
ในที่บางแห่งก็ไม่พอ ข้ึนอยู่กับความศรัทธาและความเป็นอยู่ของประชาชนใน
ท้องถิน่ นัน้ ๆ ไปบณิ ฑบาตในบางทบี่ างแหง่ อาจจะได้เฉพาะขา้ วเปล่า บางแห่งอาจจะ
ได้ข้าวกับเกลือ บางแห่งอาจจะได้ข้าวกับพริก บางแห่งอาจจะได้ข้าวกับน้�ำอ้อย
ได้มาอย่างไรก็ฉันอย่างนั้นเพ่ือผ่อนบรรเทาความหิวของธาตุขันธ์ จะฉันเพื่อความ
อมิ่ หน�ำสำ� ราญนน้ั ไม่มี นอกจากจะผ่านเขา้ ไปในบา้ นเมอื งซึ่งนานแสนนาน
หลวงปูเ่ ลา่ ตอ่ ไปวา่ การเดนิ ธุดงค์ไปในที่ตา่ งๆ ไดพ้ บเหน็ ของแปลกๆ ดี เชน่
บางหมู่บา้ นเวลาไปบณิ ฑบาตได้ขา้ วกบั เกลอื กม็ ี ไดข้ ้าวกับผักก็มี ถามพวกชาวบ้าน
เขาวา่ “ไมม่ พี รกิ กนิ หรอื จงึ ใสบ่ าตรเอาขา้ ว เอาเกลอื เอาผกั มาใส่ ไมเ่ หน็ มพี รกิ เลย”
เขาบอกวา่ “ไมม่ ”ี ถามเขาวา่ “เมอื่ ไมม่ ี ทำ� ไมไมป่ ลกู บา้ งละ่ ” เขาตอบวา่ “มนั เปน็ การ
ล�ำบาก”
หลวงปวู่ า่ พวกประชาชนในหมบู่ า้ นปา่ เชน่ นนั้ เขากนิ อยกู่ นั งา่ ยๆ ตามธรรมชาติ
ไมม่ กี ารดดั แปลง พวกท่ีมีข้าวมเี กลือกก็ ินกันไป พวกทีม่ ขี ้าวมีผักก็กินกันไป จะตม้
จะแกงแบบพวกเราน้ันเขาท�ำไม่เป็น พวกพริก มะเขือ หรอื ผกั ต่างๆ ถา้ เขาปลกู แบบ
พวกเรากค็ งกินไมห่ มด เพราะดินเขาดี แต่นีเ่ ขาไมท่ ำ� กัน เขากล่าววา่ ลำ� บาก ยุง่ ยาก
ตอ้ งถากตอ้ งถาง
116
พักนอนในดงเสือ
อกี ครง้ั หนงึ่ หลวงปแู่ หวนเดนิ ธดุ งคจ์ ากพะเยาจะไปลำ� ปางเชน่ กนั ทา่ นเดนิ เลยี บ
กวา๊ นพะเยาไป ตดั ขา้ มดอยหมไู ป เสน้ ทางนน้ั ไมม่ ถี นน เปน็ ทางเดนิ เทา้ ภมู ปิ ระเทศ
แถบนนั้ เป็นปา่ เขา มเี ทอื กเขาสลับซับซ้อน เป็นการเดินทางที่ค่อนข้างลำ� บาก
หลวงปเู่ ดนิ ทางมาองคเ์ ดยี ว จวนเวลาเยน็ กถ็ งึ ศาลาทพ่ี กั กลางปา่ ซงึ่ มผี สู้ รา้ งเอาไว้
สำ� หรบั คนเดนิ ทางจะไดเ้ ขา้ พกั อาศยั คา้ งคนื ได้ เพราะในแถบนน้ั ไมม่ หี มบู่ า้ นใกลเ้ คยี ง
ถ้าถึงเวลาบ่ายใกล้เย็น ผู้ที่เดินทางจะไม่เดินทางต่อไปอีกเพราะกลัวอันตรายจาก
สตั วป์ า่ โดยเฉพาะพวกเสอื กบั หมที มี่ ชี กุ ชมุ ในแถบนน้ั ดว้ ยเหตนุ นั้ จงึ ไดม้ ผี สู้ รา้ งศาลา
ไว้ส�ำหรบั คนเดนิ ทางเพอื่ จะไดอ้ าศัยหลับนอนเมอื่ เดนิ ทางมาถึง
หลวงปเู่ ดนิ ทางมาถงึ ศาลาทพ่ี กั เมอื่ ใกลค้ ำ่� แลว้ จงึ เขา้ ไปพกั ทศี่ าลานนั้ รอบนอก
ศาลามีร้ัวล้อมรอบกันสัตว์ร้าย ภายในมีเตาไฟพร้อมฟืนไว้ให้ด้วยส�ำหรับก่อไฟผิง
ตอนกลางคนื ในปา่ ดงดบิ เชน่ นนั้ แมจ้ ะเปน็ ฤดแู ลง้ แตพ่ อตกกลางคนื อากาศจะหนาว
เยน็ มาก ตอ้ งก่อไฟผงิ พอบรรเทาความหนาวเย็นไดบ้ ้าง
หลวงปู่รีบอาบน้ำ� เม่อื ไปถึง ค�่ำลงก็ไหว้พระสวดมนตแ์ ผ่เมตตา แลว้ นั่งภาวนา
จนดกึ จงึ พกั จำ� วดั เวลากลางคนื ไดย้ นิ เสยี งเสอื รอ้ งอยรู่ อบๆ ศาลาทพ่ี กั หลวงปบู่ อกวา่
พวกเสือนั้นช�ำนาญในการร้องท�ำเสียงเลียนแบบพวกสัตว์ป่าต่างๆ เช่น พวกกวาง
พวกเก้ง ซึ่งเสือสามารถท�ำเสียงเลียนแบบได้เหมือนมาก ดังน้ัน บางครั้งพวกเก้ง
117
เมอ่ื ไดย้ นิ เสยี งเสอื รอ้ งเลยี นแบบ นกึ วา่ เปน็ พวกของตวั หลงเดนิ เขา้ ไปหาแลว้ ถกู เสอื
จับกนิ ไดง้ า่ ยๆ
คืนนั้นพอตกดึกอากาศหนาวเย็นมากจึงก่อไฟท่ีเตาผิง ต้องลุกขึ้นใส่ไฟถึง
สามครั้ง หลวงปู่มาเคล้ิมหลับเอาก็ตอนเกือบสว่างแล้ว ประมาณว่าหลับไปได้สอง
ชั่วโมง เมอ่ื รูส้ ึกตวั ตน่ื ข้นึ มากส็ ว่างแล้ว
118
พบหญงิ ใจบญุ
พอรงุ่ เชา้ ได้ยนิ เสยี งคนพูดคยุ กัน หลวงปมู่ องลงไปขา้ งลา่ ง เหน็ พวกชาวบ้าน
หาบของมา ๒-๓ คน กำ� ลงั นง่ั พกั คยุ กนั อยู่ หลวงปเู่ ดนิ ลงไปถามไดค้ วามวา่ พวกเขา
จะไปพะเยา แลว้ ถามเสน้ ทางทห่ี ลวงปจู่ ะไปขา้ งหนา้ วา่ มหี มบู่ า้ นไหม ไดร้ บั คำ� ตอบวา่
มีหมู่บ้านหนึ่งห่างจากตรงนั้นไปราวสามชั่วโมงอยู่ทางซ้ายมือ เมื่อได้รับค�ำบอกเล่า
เชน่ นนั้ หลวงปจู่ งึ เกบ็ บรขิ ารแลว้ ออกเดนิ ทางหมายจะไปบณิ ฑบาตฉนั ทห่ี มบู่ า้ นขา้ งหนา้
หลวงปเู่ ดนิ ไปจนเหนอ่ื ยออ่ นกไ็ มพ่ บหมบู่ า้ นดงั กลา่ ว เวลากส็ ายมากแลว้ รสู้ กึ หวิ
และเหนอื่ ยเพลยี ทา่ นเดนิ ตอ่ ไปพกั ใหญก่ พ็ บหญงิ สามคนหาบของสวนทางมา จงึ ถามวา่
“จากนไ้ี ปถงึ หมบู่ า้ นขา้ งหนา้ จะตอ้ งเดนิ ไปอกี ไกลเทา่ ไร” ไดร้ บั คำ� ตอบวา่ “จะตอ้ งเดนิ
ถงึ เย็นจึงจะถงึ ” หลวงปบู่ อกวา่ “เม่ือเช้าพบพวกหาบ เขาบอกว่าหมบู่ ้านขา้ งหนา้ เดิน
สามชว่ั โมงถงึ นเี่ ดนิ มาจนสายขนาดนแี้ ลว้ กย็ งั ไมพ่ บหมบู่ า้ นดงั กลา่ ว” ไดร้ บั คำ� บอกวา่
“หมบู่ า้ นดังกล่าวนั้น หลวงปู่ผา่ นมาแลว้ ”
หญงิ ทั้งสามถามวา่ “พระคณุ เจ้าฉันจงั หนั แล้วหรือยัง” หลวงป่จู ึงบอกว่า “ยัง
ไม่ไดฉ้ นั ครัง้ แรกกะวา่ จะไปบิณฑบาตฉนั ทีห่ มบู่ ้านดงั กล่าว แตก่ วา่ จะไปถงึ หมู่บา้ น
ตอ่ ไปกค็ งจะเยน็ วนั นเ้ี หน็ จะไมไ่ ดฉ้ นั แน”่ หญงิ ทงั้ สามจงึ กลา่ ววา่ “ถา้ เชน่ นนั้ พวกดฉิ นั
ขอนมิ นตพ์ ระคณุ เจา้ ฉนั จงั หนั กอ่ น พวกดฉิ นั มขี า้ วมาดว้ ย วนั นเ้ี ปน็ บญุ ของพวกดฉิ นั
นมิ นตท์ า่ นฉนั ใหเ้ ตม็ ท่ี ไมต่ อ้ งหว่ งพวกดฉิ นั เพราะพวกเราจะกลบั บา้ นอยไู่ มเ่ ปน็ ไร”
วา่ แล้วพวกเธอรีบจัดอาหารมาใสบ่ าตร มขี ้าวเหนียวกบั น้ำ� ออ้ ยงบ หลวงป่รู บั
อาหารแล้วกล็ งมือฉัน ท่านฉันได้เยอะเพราะร้สู ึกหวิ มาก ฉนั เสรจ็ กอ็ นุโมทนาใหพ้ ร
พวกเธอท้งั สามคนดูมสี ีหนา้ รา่ เรงิ ดใี จท่ีได้ท�ำบุญระหว่างเดนิ ทาง
เมอ่ื ใหพ้ รเสรจ็ แลว้ หลวงปจู่ งึ กลา่ วอำ� ลาหญงิ ผใู้ จบญุ ทงั้ สามแลว้ เดนิ ทางตอ่ ไป
119
อาศยั พักวัดประจำ� หมู่บา้ น
หลวงปเู่ ดนิ ทางไปเรอื่ ยๆ พอตกเยน็ กถ็ งึ หมบู่ า้ นตามคำ� บอกเลา่ ของหญงิ ใจบญุ
ทง้ั สามนน้ั ในหมบู่ า้ นนนั้ มวี ดั อยู่ หลวงปจู่ งึ เขา้ ไปขอพกั คา้ งคนื ปรากฏวา่ ทา่ นเจา้ อาวาส
น้ันมีอธั ยาศัยใหก้ ารตอ้ นรับอย่างดี
ทา่ นเจา้ อาวาสถามวา่ “เม่ือคืนนี้นอนท่ีไหน” หลวงปู่เรียนท่านไปวา่ “นอนพกั
อยทู่ ีศ่ าลากลางป่า” ทา่ นเจา้ อาวาสแสดงทา่ ทางตื่นเต้น กลา่ วว่า “ศาลากลางปา่ น้นั
อยา่ วา่ แตพ่ กั คนเดยี วเลย ใหผ้ มไปพกั สกั รอ้ ยคนกไ็ มก่ ลา้ พกั ” แลว้ ทา่ นกถ็ ามตอ่ ไปวา่
“เมอ่ื คนื นเ้ี ปน็ อยา่ งไรบา้ ง แมวปา่ มนั ไมม่ าเยยี่ มบา้ งหรอื ” หลวงปตู่ อบทา่ นวา่ “ไดย้ นิ
เสียงมันร้องอยเู่ หมอื นกัน แต่ไมเ่ ห็นมนั เขา้ มาใกล้ มนั คงหากนิ ของมนั ตามประสา
สตั ว์ปา่ ”
หลวงปพู่ กั อยทู่ วี่ ดั นนั้ สองวนั พอมกี ำ� ลงั ดแี ลว้ จงึ บอกลาทา่ นเจา้ อาวาส แลว้ ออก
เดนิ ทางตอ่ ไป
120
จ�ำพรรษาทีแ่ ม่ฮอ่ งสอน
หลวงปู่แหวน สุจิณฺโณ เคยจ�ำพรรษาอยู่ที่ถ�้ำเหนือธารน�้ำไหลท่ีแม่ฮ่องสอน
อยู่ ๑ พรรษา แตใ่ นบนั ทกึ ไมไ่ ดร้ ะบสุ ถานท่แี ละปี พ.ศ. ในบนั ทึกระบุว่า “ถำ้� น้อี ยู่
ทางทศิ ตะวนั ตกเฉยี งเหนอื ของตวั เมอื งแมฮ่ อ่ งสอน เปน็ ถำ้� ไมใ่ หญน่ กั อยใู่ กลธ้ ารนำ�้ ที่
ไหลมาจากภเู ขา ธารนำ้� สายน้ี ปจั จบุ นั ทางจงั หวดั กน้ั เปน็ เขอื่ นทำ� เปน็ คลองสง่ นำ�้ เขา้ มา
ยงั ตัวเมืองเพือ่ ใชเ้ ปน็ แหล่งผลิตนำ�้ ประปาของจังหวัดแมฮ่ อ่ งสอน”
บนั ทกึ ในสว่ นของหลวงปแู่ หวนบอกวา่ “การจำ� พรรษาอยทู่ ถ่ี ำ้� ดงั กลา่ ว ทา่ นอยู่
องคเ์ ดยี ว ตอนแรกทท่ี า่ นไปอยู่ มชี าวไรท่ ำ� ไรอ่ ยใู่ กลๆ้ บรเิ วณนนั้ ๓-๔ หลงั คาเรอื น
พอไดอ้ าศยั บณิ ฑบาต แตอ่ ยไู่ ปหลายวนั เขา้ เมอ่ื มคี นรวู้ า่ มพี ระธดุ งคม์ าอยจู่ ำ� พรรษา
ในถ้�ำ ก็มีประชาชนน�ำอาหารมาถวายกันมากมายทุกวัน ส่วนมากประชาชนถิ่นน้ัน
เป็นคนเช้ือสายไทยใหญ่ มคี นไทยที่เป็นคนเมอื งบ้างไมม่ ากนัก”
ในสมยั กอ่ น แมฮ่ ่องสอนเปน็ เมอื งปดิ ไปไดอ้ ย่างเดยี วคือเดนิ เทา้ ไม่มีทางรถ
ไม่มีสนามบินเช่นปัจจุบัน สมัยก่อนเป็นเมืองท่ีทุรกันดารมาก ไม่มีใครอยากไป
บรรดาข้าราชการที่ท�ำผิดมักถูกสั่งย้ายให้ไปอยู่แม่ฮ่องสอน เป็นการลงโทษที่ถือว่า
หนักทเี ดยี ว การเดินทางจากแมฮ่ ่องสอนสูโ่ ลกภายนอกคอื มาเชียงใหม่ เส้นทางเดนิ
ทใี่ กลท้ สี่ ดุ ลดั ทสี่ ดุ นน้ั ตอ้ งเดนิ ผา่ นปา่ ผา่ นเขาทสี่ ลบั ซบั ซอ้ นมาทางอำ� เภอปาย เขา้ อำ� เภอ
แม่รมิ จังหวัดเชยี งใหม่ แลว้ ผ่านป่าผา่ นเขาเขา้ ตัวเมอื งเชียงใหม่ ถือเปน็ ทางท่ีเสย่ี ง
อันตรายดว้ ยไข้ปา่ และสัตวร์ ้าย เชน่ ชา้ ง เสือ หมี และงพู ษิ มอี ยชู่ ุกชมุ
121
ขอปนั พรจากพระ
หลวงป่แู หวน ท่านเลา่ ถงึ การมาถวายอาหารของประชาชนชาวแมฮ่ อ่ งสอนดังนี้
การมาถวายอาหารของพวกชาวไทยแม่ฮ่องสอนน้ัน เขาจะมากันแต่เช้าตรู่
พอสวา่ ง เขาจะมาน่ังกนั เต็มอยูห่ นา้ ถ้ำ� ส่ิงท่ีเขานำ� มาถวายนอกจากอาหารแล้ว กม็ ี
เทียนไข เมอ่ื เขามาพร้อมกันแลว้ เขาก็ถวายอาหาร ถวายเทียนไข พระก็ใหพ้ ร คือ
ยะถา สัพพี ใหเ้ ขาเสรจ็ แลว้ พวกเขากล็ ากลบั ไป แตถ่ า้ ยังไมป่ ันพร พวกเขาก็จะยงั
ไม่กลบั จนกวา่ พระปันพรเสร็จ พวกเขาจึงจะกลับ
หลวงปบู่ อกวา่ เรอื่ งปนั พรหรอื ใหพ้ ร นี่ พวกเขาถอื กนั มาก ถา้ เขาถวายของพระแลว้
แมเ้ พยี งเล็กนอ้ ย เขาตอ้ งขอพรทันที ไมเ่ ชน่ นนั้ เขาไม่ไป เขาถือวา่ ยังไมไ่ ด้บุญ
หลวงปู่เห็นวา่ ชาวบา้ นมากันมากเป็นเร่อื งวุน่ วาย จึงบอกพวกเขาว่า วนั ต่อไป
ไมต่ อ้ งมา ทา่ นจะเดนิ ไปบณิ ฑบาตทบี่ า้ นเขาเอง แตพ่ วกเขาไมย่ อม เขาเคยมาอยา่ งไร
เคยท�ำอย่างไรกท็ ำ� อยา่ งนั้น มากนั อยา่ งนนั้ ตามศรัทธาของเขา
หลวงปจู่ ำ� ตอ้ งอนโุ ลมตามเพราะเขามศี รทั ธาเชอื่ ถอื กนั มาอยา่ งนน้ั พวกเขาทำ� ไป
ก็ไมไ่ ดผ้ ิดข้อธรรมอะไร เปน็ การทำ� บุญทำ� กุศลดว้ ยศรัทธา จึงอนโุ ลมตามเขา
122
ขนุ้ ตวั เล็กแตอ่ ันตราย
ตอนทห่ี ลวงปแู่ หวนทา่ นไปอยใู่ นถำ�้ ทจี่ งั หวดั แมฮ่ อ่ งสอนใหมๆ่ มแี มลงชนดิ หนงึ่
ตวั เลก็ ๆ ปีกลาย ตวั สเี หลือง มารบกวนกดั ท่านอย่เู สมอ แมลงชนิดนีก้ ัดตรงไหน
กเ็ ป็นช้�ำเลอื ดและกลายเปน็ แผล กวา่ แผลจะหายบางทีต้ังสามสะเกด็ หมายความวา่
พอแผลแหง้ กม็ สี ะเกด็ เปน็ แผน่ แขง็ ปดิ แผลอยู่ เมอื่ สะเกด็ หลดุ ออกไปกเ็ หน็ แผลเปน็
เนอ้ื แดงอยอู่ กี แลว้ กค็ อ่ ยๆ แหง้ กลายเปน็ สะเกด็ ปดิ แผลอยอู่ กี เปน็ เชน่ นถี้ งึ ๓ ครง้ั
แผลจงึ จะหาย
วันหนึ่งเมื่อชาวบ้านข้ึนมาถวายอาหาร พวกเขาถามหลวงปู่ว่า “ท่านอยู่ท่ีน่ี
ขนุ้ ไมก่ ดั หรอื ” หลวงปบู่ อกเขาวา่ “มตี วั อะไรกไ็ มร่ ตู้ วั เลก็ ๆ กดั แลว้ เปน็ แผล ตวั อยา่ งนนั้
เขาเรยี กกนั วา่ อะไร” ชาวบา้ นบอกวา่ “ตวั นน้ั แหละทเ่ี ขาเรยี กวา่ ขนุ้ ” หลวงปถู่ ามเขาวา่
“จะป้องกนั ไม่ใหม้ นั กัดได้อยา่ งไร” เขาบอกวา่ “วิธปี อ้ งกนั ใหก้ อ่ ไฟสมุ ไฟใหม้ ีควนั
อยเู่ สมอ เมอื่ มนั ไดก้ ลน่ิ ควนั ไฟแลว้ มนั จะหนี ไมม่ าอกี ” หลวงปทู่ ำ� ตามคำ� แนะนำ� ของ
ชาวบา้ นกไ็ ดผ้ ล อนั ตรายจากตวั ขนุ้ กไ็ มม่ อี กี เลย การบำ� เพญ็ ภาวนาจงึ ทำ� ไดด้ ี ไมม่ แี มลง
อนั ตรายมารบกวน
หลวงปพู่ ดู ถงึ ขนุ้ วา่ “ตวั ขนุ้ นร้ี า้ ยมาก คนทแ่ี พพ้ ษิ มนั เมอ่ื ถกู กดั แลว้ จะเกดิ เปน็
แผลพพุ อง ถงึ แม้จะหายแลว้ ก็ยังมแี ผลเป็นอยู่ ถ้าถูกกดั มากๆ จะเห็นแผลเป็นลาย
อยตู่ ามตวั ตามแขน”
123
กลับไปเชียงใหมก่ ับท่านพระครู
เมอ่ื ออกพรรษานั้นแล้ว พระผใู้ หญใ่ นแมฮ่ ่องสอน คอื ท่านพระครอู รยิ มงคล
ซ่งึ มีเช้ือสายเป็นไทยใหญ่ได้มาชวนหลวงปู่แหวนใหไ้ ปเชียงใหมด่ ้วย
ท่านพระครูฯ กับหลวงปู่แหวน มีความสนิทสนมกันพอสมควร ท่านเรียก
หลวงปแู่ หวนวา่ “ครนู อ้ ย” สว่ นหลวงปกู่ เ็ รยี กทา่ นพระครวู า่ “สา่ หลง” ทา่ นพระครอู รยิ -
มงคล ไดร้ บั ใบบอกจากเชยี งใหมว่ า่ ใหไ้ ปเชยี งใหมเ่ พอ่ื ตอ้ นรบั เสดจ็ ฯ พระเจา้ อยหู่ วั ฯ
ทจ่ี ะเสด็จขึ้นไปประพาสเชียงใหม่
หลวงปู่เล่าว่า ท่านยังไม่อยากจะลงไปเชียงใหม่ในตอนน้ัน ครั้งแรกได้ตอบ
บา่ ยเบย่ี งไป บอกวา่ ทา่ นกำ� ลงั เปน็ ไขห้ วดั เดนิ ทางไปดว้ ยไมไ่ ด้ แตท่ า่ นพระครฯู ไมย่ อม
รบเรา้ ให้ไปด้วยใหไ้ ด้ หลวงปูฯ่ จงึ จำ� ยอมรว่ มเดนิ ทางไปดว้ ย
ทา่ นพระครฯู หลวงปู่ และคณะ ออกเดนิ ทางจากแมฮ่ อ่ งสอนเดนิ ลดั ปา่ ขา้ มเขา
มายังอำ� เภอปาย หยดุ พักเอากำ� ลังท่ีปาย ๓ วัน แล้วออกเดินทางตอ่ ไปอำ� เภอแม่ริม
จงั หวดั เชยี งใหม่ แลว้ เดนิ ทางเขา้ ตวั จงั หวดั เชยี งใหม่ จากอำ� เภอปาย จงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน
มาถึงตวั จังหวัดเชียงใหม่ ใชเ้ วลาเดนิ เทา้ ๔ วัน
เมอ่ื ทา่ นพระครอู รยิ มงคลทำ� กจิ ธรุ ะในเชยี งใหมเ่ สรจ็ กม็ าชวนใหห้ ลวงปแู่ หวน
รว่ มเดนิ ทางกลับไปแม่ฮอ่ งสอนด้วยกันอีก
124
หลวงปูย่ งั ไม่อยากจะกลับไป ขณะที่คดิ หาทางบ่ายเบีย่ งอยู่นั้น บงั เอญิ ไข้หวัด
ทท่ี า่ นเป็นมาจากแม่ฮอ่ งสอนยังไม่หาย กลบั มอี าการมากขน้ึ และไอมากขนึ้ เมอ่ื ท่าน
พระครฯู มาชวน ทา่ นจงึ ตอบปฏิเสธ ขออยพู่ กั รกั ษาอาการไข้ท่ีเชียงใหม่กอ่ น
ท่านพระครูฯ หรือท่านส่าหลง จึงต้องกลับไปพร้อมคณะของท่านโดยไม่มี
หลวงปแู่ หวนไปดว้ ย สว่ นหลวงปแู่ หวน ท่านก็ยงั คงพ�ำนกั อย่ทู ่เี ชยี งใหมต่ ่อไป และ
ตงั้ แตน่ นั้ มา ทา่ นไม่ไดก้ ลับไปท่ีแมฮ่ อ่ งสอนอกี เลย
125
พระเชยี งใหม่กนิ ข้าวเยน็ พระแมฮ่ ่องสอนกินขา้ วดึก
หลวงปู่แหวน สุจิณฺโณ ได้เล่าถึงเร่ืองท่ีพระในแม่ฮ่องสอนกับพระเชียงใหม่
ในสมยั นน้ั ตา่ งโจมตกี ลา่ วหาซง่ึ กนั และกนั เกยี่ วกบั การปฏบิ ตั ติ ามพระธรรมวนิ ยั ดงั น้ี
สมยั นนั้ พระแมฮ่ อ่ งสอนมกั จะกลา่ วโทษพระทางเชยี งใหมว่ า่ พระเชยี งใหมก่ นิ
ข้าวเยน็ หลวงปูท่ ่านว่า “พระไทยใหญ่แมฮ่ ่องสอนสมยั น้ันไมไ่ ดก้ ินข้าวเย็น แต่กนิ
ขา้ วร้อนกลางดึก กลา่ วคือ พระไทยใหญแ่ ม่ฮอ่ งสอนสมยั นน้ั พอไดเ้ วลาตีหนง่ึ คือ
๐๑.๐๐ น. พวกพระจะตามเทยี นท�ำอาหารกินกนั อา้ งว่าเปน็ วันเหมอ่ แล้ว”
หลวงปแู่ หวนเคยโต้เถียงกับพระแม่ฮ่องสอนมาครงั้ หนึ่งในเร่ืองน้ี โดยหลวงปู่
ยกประเด็นว่า “ตุ๊เจ้าเชียงใหม่กินข้าวเวลาเย็น เจ้าบุ๊นแม่ฮ่องสอนกินข้าววันเหม่อ
เวลา ๐๑.๐๐ น. มนั แปลกกนั ที่ตรงไหน วันเหม่อไมใ่ ชว่ นั ใหม่ ถา้ เป็นวนั ใหม่ตาม
พระวนิ ยั กต็ อ้ งสวา่ งแลว้ จงึ นบั ไดว้ า่ เปน็ วนั ใหม่ แตน่ ก่ี นิ ขา้ ววนั เหมอ่ ๐๑.๐๐ น. กบั
กนิ ขา้ วเยน็ เวลา ๑๗-๑๘-๑๙ น. นน้ั ทง้ั สองไมแ่ ตกตา่ งอะไรกนั เลยในทางพระวนิ ยั ”
หลวงปบู่ อกวา่ ทา่ นเพยี งเสยี งเดยี วเถยี งสู้เขาไม่ได้ เห็นว่าพดู ไปก็ไมเ่ ปน็ ผล
กเ็ ลยตอ้ งปล่อยเลยตามเลยไป
126
ขอ้ สังเกตเกย่ี วกบั พระไทยใหญ่แมฮ่ อ่ งสอน
หลวงปู่แหวนท่านพูดถึงพระไทยใหญ่ท่ีแม่ฮ่องสอนที่ท่านพบเห็นในสมัยนั้น
อีกเรอ่ื งหนึ่ง พระไทยใหญ่ในแม่ฮ่องสอนสมยั นน้ั เม่อื ถึงวนั อุโบสถเขาไมท่ ำ� อโุ บสถ
สวดปาฏิโมกข์เหมือนพระไทยท่ัวไป แต่เขาจะประชุมกันในอุโบสถแล้วต่างก็บอก
ปาริสทุ ธิเท่าน้นั
มีข้อแปลกอยู่อีกอย่าง คือเวลาสนทนาธรรมกัน มักพูดธรรมะช้ันโลกุตรจิต
โลกุตรมรรค โลกตุ รผล เช่นเดยี วกนั กับพระพมา่ ธรรมะเหล่าน้ีตา่ งก็จ�ำเอามาจาก
“แผนท”ี่ น่นั เอง เวลาสนทนาธรรมมกั เกดิ การถกเถยี งกันจนหนา้ ดำ� หนา้ แดง เพราะ
ความเหน็ ในข้อธรรมไมเ่ หมอื นกนั
หลวงปู่ให้อรรถาธิบายว่า ปัญญาที่เกิดจากการจ�ำแผนท่ีกับปัญญาท่ีเกิดจาก
การเรยี นตามภมู ปิ ระเทศน้ันไม่เหมอื นกนั ปัญญาทไ่ี ดจ้ ากการเรยี นตามแผนที่ คอื
การศกึ ษาเลา่ เรยี นจากตำ� รบั ตำ� ราอยา่ งเดยี ว ความจำ� ความเขา้ ใจ การตคี วาม อาจไม่
ตรงตอ่ ความเป็นจริงของธรรมะ สว่ นปัญญาทีเ่ กดิ จากการเรยี นตามภูมปิ ระเทศ คอื
จากการปฏบิ ตั ภิ าวนานน้ั เมอ่ื ทกุ คนทำ� ใหเ้ กดิ ใหม้ ขี น้ึ ในจติ ใจของตนแลว้ ตา่ งกห็ มด
ความสงสยั ในธรรมะนั้นๆ ไม่มขี อ้ โต้แยง้ ไม่มกี ารถกเถยี งกันและกนั อีกต่อไป
การทจี่ ะปฏบิ ตั ใิ หถ้ งึ โลกตุ รธรรมนนั้ ไมใ่ ชข่ องงา่ ย ไมเ่ หมอื นจำ� เอาตามแบบจาก
ต�ำราแลว้ เอามาพูดคุยกันอวดกนั
127
ศลี สมาธิ ปญั ญา นน้ั ตอ้ งปฏบิ ตั ทิ างดา้ นจติ ใจใหเ้ ปน็ ผรู้ เู้ องเหน็ เองดว้ ยตนของ
ตนเอง เรมิ่ แต่มอี ินทรียสงั วรขึน้ ไป เพราะบรรดากเิ ลสนอ้ ยใหญเ่ กิดทางอินทรยี เ์ รา
นค้ี อื ทางตา ทางหู ทางจมกู ทางลน้ิ ทางกาย ทางใจ ความชว่ั กด็ ี ความดกี ด็ ี เกดิ จาก
ทวารเหล่าน้ี
เม่ือความช่ัวเกดิ ต้องมีสตริ ู้เท่าทนั และป้องกันไมใ่ หเ้ กิด ละออกจากจิตจากใจ
ของเราน้ี เอาจิตเอาใจของเรานลี้ ะ เอาจติ เอาใจของเรานปี้ ล่อย เอาจติ เอาใจของเราน้ี
ปล่อยวางจากความชั่วท้ังส้ิน เม่ือปล่อยวางได้ ความชั่วทั้งที่เป็นส่วนหยาบที่เกิด
จากกายและวาจา ทั้งท่ีเป็นส่วนละเอียดที่เกิดจากใจก็ไม่มี ส่วนที่มันละเอียดเป็น
อนสุ ยั นอนเนอ่ื งอยนู่ นั่ แหละสำ� คญั ละมนั ปลอ่ ยวางมนั ไมไ่ ดง้ า่ ยๆ มนั มกั ไมแ่ สดงตวั
มนั เกบ็ ตัวของมนั ในส่วนลึกของจิตใจ
ถ้าปฏิบัติตนให้เปน็ ผมู้ ศี ลี มสี มาธิ เปน็ มรรคเครอ่ื งดำ� เนินไปส่ปู ัญญา ทำ� ศลี
ทำ� สมาธิ ทำ� ปัญญา ของตนใหเ้ ป็นเอกมรรค เครื่องด�ำเนนิ เป็นอันเดียวกนั นน่ั แหละ
จึงจะสามารถมองเห็นสว่ นละเอยี ดทีเ่ ป็นอนุสัยของกิเลสได้
เมอื่ ศลี สมาธิ ปญั ญา เปน็ เอกมรรคแลว้ เชน่ นี้ จติ ทเ่ี ปน็ สว่ นละเอยี ดทที่ รงตวั อยู่
จะเรยี กวา่ จติ มอี ทิ ธบิ าท หรอื มโี พชฌงค์ หรอื มพี ละ หรอื จติ มมี รรค กเ็ รยี กไดท้ ง้ั นนั้
เพราะธรรมเหลา่ น้ีเกดิ ข้ึนมาสง่ เสรมิ ซง่ึ กันและกันในขณะจติ ทเี่ ปน็ ไปกับธรรม
เมื่อจิตตกสู่กระแสแห่งธรรมแล้ว โลกุตรธรรมอันเป็นส่วนมรรคก็ดี อันเป็น
สว่ นผลก็ดี ต้องปฏิบัติจติ ใจของตนใหเ้ กิดใหเ้ ขา้ ถึงธรรมเสยี กอ่ น จงึ จะพดู ไดด้ ้วย
ความอาจหาญ แนใ่ จ อธบิ ายก็อธบิ ายดว้ ยความอาจหาญแนใ่ จ
128
โยมบดิ ามาขอลา
หลวงปแู่ หวนเลา่ วา่ ในปที ที่ า่ นจำ� พรรษาอยทู่ แ่ี มฮ่ อ่ งสอนนนั้ วนั หนงึ่ ขณะทกี่ ำ� ลงั
ท�ำความเพียรอยู่น้ัน นิมิตไปว่าได้เห็นโยมบิดาสวมเส้ือผ้าใหม่ท้ังชุดเข้ามาหาท่าน
หลวงปูจ่ ึงถอยจิตออกมาพจิ ารณาดูวา่ จะมีอะไรเกิดขึ้น กเ็ กดิ ความรูว้ ่า ถา้ เหน็ คนใส่
เสอื้ ผา้ ใหม่ กห็ มายความวา่ เขานา่ จะตาย และโยมบดิ าของทา่ นกน็ า่ จะสน้ิ อายขุ ยั แลว้ มา
ให้หลวงป่เู ห็นในนมิ ิตเพื่อเปน็ การบอกลา
หลวงปไู่ ดส้ ำ� รวมจติ ตงั้ สจั จาธษิ ฐาน รวบรวมบญุ กศุ ลทท่ี า่ นบำ� เพญ็ มาทงั้ หมด
อทุ ศิ ตรงใหก้ บั โยมบดิ า ทนั ใดนน้ั ปรากฏมแี สงพงุ่ ตรงมาทางทที่ า่ นนง่ั อยแู่ ลว้ ลอยมา
อยเู่ สมอยอดไม้ แลว้ ลอยตำ่� ลงมาทพ่ี น้ื เบอ้ื งหนา้ ของทา่ น กลายเปน็ ภาพของโยมบดิ า
น่งั ประนมมืออยู่ พรอ้ มกับกลา่ วว่า “โยมพอ่ จะมาลา” หลวงปู่กำ� หนดจติ ถามไปวา่
“โยมพ่อตายแล้วหรอื แลว้ โยมพอ่ จะไปไหน” ภาพโยมพ่อช้ีมอื ไปทางประเทศพม่า
เม่ือหลวงปู่แน่ใจว่าโยมบิดาของท่านส้ินแล้ว ท่านก็ก�ำหนดจิตอุทิศบุญกุศลให้อีก
ครัง้ หน่ึง ภาพน้นั กห็ ายไป
อยตู่ อ่ มาอีกวนั หนึง่ เมือ่ หลวงปู่เขา้ ทีภ่ าวนาแลว้ ทา่ นไดอ้ ธิษฐานสง่ จติ ไปถึง
โยมมารดา กป็ รากฏเปน็ ภาพโยมมารดามาในนมิ ติ และกลา่ ววา่ “ลกู ไมต่ อ้ งหว่ งแมห่ รอก
แม่อยู่สขุ สบายดี” โยมมารดาช้ีใหด้ ูทีอ่ ยู่ ปรากฏวา่ เปน็ ทอ่ี ยู่อนั นา่ รน่ื รมย์
ตง้ั แตน่ น้ั มา หลวงปไู่ มเ่ คยคดิ เปน็ หว่ งโยมทง้ั สองเลย เพราะทา่ นทงั้ สองมคี ตทิ ่ี
เปน็ สุขแลว้
129
ไปเฝา้ พยาบาลพระอุบาลฯี
ในช่วงปี พ.ศ. ๒๔๗๔ ขณะทีห่ ลวงปแู่ หวนจาริกภาวนาอย่ใู นปา่ เขตจังหวัด
เชยี งใหม่ ไดข้ า่ วการอาพาธของทา่ นเจา้ คณุ พระอบุ าลคี ณุ ปู มาจารย์ (จนั ทร์ สริ จิ นโฺ ท)
ที่วัดบรมนวิ าส กรุงเทพฯ
จากการบอกเลา่ ของครูบาอาจารยบ์ อกวา่ ทา่ นเจา้ คณุ พระอบุ าลฯี ทา่ นประสบ
อบุ ัติเหตเุ มือ่ ขน้ึ ธรรมาสนเ์ ทศน์ ขาของทา่ นไปขดั กบั พนกั ของธรรมาสน์ กระดูกขา
ของทา่ นเลยหกั แตท่ า่ นไมแ่ สดงอาการเจบ็ ปวดใหเ้ หน็ ยงั คงแสดงธรรมไปตามปกติ
จนจบ แลว้ ทา่ นกล็ กุ ขนึ้ ไมไ่ ด้ ทกุ คนจงึ รวู้ า่ ทา่ นขาหกั แตส่ ามารถขม่ เวทนาโดยไมแ่ สดง
อาการเจบ็ ปวดใหใ้ ครรู้เลย
เม่ือหลวงปู่แหวนทราบเร่ือง ในฐานะที่เป็นศิษย์ท่านจึงประสงค์จะเดินทางลง
มากรุงเทพฯ เพื่อเยี่ยมอาการและถวายการอุปัฏฐากรับใช้ ตามบันทึกในประวัติ
หลวงปู่แหวนบอกว่า ชว่ งนนั้ หลวงปมู่ ่นั อย่ทู ี่จังหวัดอตุ รดติ ถ์ จงึ ลงมากราบเรยี นให้
หลวงปมู่ ั่นทราบเรอื่ ง แล้วท่านกเ็ ดนิ ทางเขา้ กรงุ เทพฯ ตอ่ ไป
130
กรรมฐานแมว กรรมฐานอ่งึ
หลวงปู่แหวนได้พักอยู่ในกรุงเทพฯ เพ่ือพยาบาลท่านเจ้าคุณพระอุบาลี-
คณุ ูปมาจารย์ นาน ๑ เดอื น เหน็ อาการท่านดีข้ึนมากแล้ว จึงกราบลาพระอาจารย์
กลับเชียงใหม่
หลวงปแู่ หวนพบวา่ การอยใู่ นกรงุ เทพฯ ไมส่ ะดวกสำ� หรบั ทา่ น ดว้ ยมเี หตขุ ดั ขอ้ ง
ในเรอื่ งอาหารการบณิ ฑบาต เนอื่ งจากหลวงปเู่ ปน็ พระตา่ งถน่ิ บณิ ฑบาตไดไ้ มพ่ อฉนั
เพราะญาติโยมส่วนมากจะตักบาตรเฉพาะพระท่ีเป็นเจ้าประจ�ำ พระจรจึงประสบ
ปญั หามาก
หลวงปู่บอกว่า พระกรรมฐานอย่างท่าน พอมาอยู่กรุงเทพฯ ต้องกลายเป็น
กรรมฐานแมวบ้าง เปน็ กรรมฐานอง่ึ บา้ ง คือวันไหนได้อาหารน้อยไม่พอฉัน กเ็ ปน็
กรรมฐานแมว คอื คอ่ ยๆ เลยี คอ่ ยๆ ดม กลวั อาหารจะเปอ้ื นรมิ ฝปี ากเหมอื นกบั แมว
ถ้าวันไหนบิณฑบาตไมไ่ ด้อาหารก็ต้องอด กลายเป็นกรรมฐานอง่ึ ไป
หลวงปเู่ ลา่ แบบตดิ ตลกวา่ “ทก่ี ลา่ วนเี้ ปน็ คำ� อปุ มาเปรยี บเทยี บ ไมไ่ ดห้ มายความวา่
แมวหรืออึ่งอ่างปฏิบัติกรรมฐาน เพราะสัตว์ทั้งหลายเว้นจากมนุษย์แล้วเป็นอันไม่มี
โอกาสไดป้ ฏบิ ตั ธิ รรม เพราะวบิ ากของสตั วเ์ หลา่ นนั้ ไมอ่ ำ� นวยใหป้ ฏบิ ตั ธิ รรมกรรมฐาน
ได”้
131
หลวงปบู่ อกวา่ ตามปกตพิ ระกรรมฐานทา่ นไมถ่ อื เรอื่ งการอดอาหารวา่ เปน็ อปุ สรรค
สำ� คญั นกั ทา่ นบอกวา่ นกั ปฏบิ ตั กิ รรมฐานเมอื่ ถงึ คราวจำ� เปน็ ตอ้ งฝกึ ทรมานตน จำ� ตอ้ ง
อดตอ้ งงดอาหารเสยี บา้ งเปน็ บางครง้ั บางคราวเพอ่ื กำ� ราบปราบปรามนวิ รณธ์ รรมตา่ งๆ
ที่เกิดข้ึนแก่จิตที่คอยเสาะแสวงหาอารมณ์มาใส่ตน มาทับถมตน ท�ำให้เกิดความ
หนักหน่วงถ่วงจิตมืดมิดปิดปัญญาจนไม่เห็นอรรถเห็นธรรม ผู้ปฏิบัติเพื่ออรรถ
เพอื่ ธรรม จำ� ตอ้ งเปน็ กรรมฐานแมว กรรมฐานอง่ึ อยา่ งนใ้ี นบางกาลบางสมยั ไมใ่ ชแ่ มว
ไมใ่ ชอ่ ึ่งมาปฏบิ ัติกรรมฐานอย่างท่ีเขา้ ใจ
ในสามภพก�ำเนิดสี่นี้ จะมีการปฏิบัติธรรมกรรมฐานได้เฉพาะมนุษย์เท่านั้น
นอกจากมนุษยแ์ ล้ว นอกนน้ั เปน็ หมดโอกาสเพราะวบิ ากกรรมของตน
132
ร่วมกับหลวงปู่ขาวไปกราบหลวงปู่มั่น
หลงั จากหลวงปแู่ หวนลงไปพยาบาลทา่ นเจา้ คณุ อบุ าลคี ณุ ปู มาจารย์ ทว่ี ดั บรม-
นวิ าสวรวหิ าร กรงุ เทพฯ ในครง้ั นน้ั พอใกลจ้ ะเขา้ พรรษา จงึ ไดก้ ราบลาทา่ นเจา้ คณุ ฯ
กลับเชียงใหมเ่ พือ่ หาท่ีพักจำ� พรรษา
เมอื่ หลวงปเู่ ดนิ ทางมาถงึ ถำ้� แกง่ หลวง กไ็ ดพ้ บหลวงปขู่ าว อนาลโย ศษิ ยอ์ าวโุ ส
อีกองค์หนึ่งของหลวงปู่ม่ัน หลวงปู่แหวนกับหลวงปู่ขาวจึงได้ร่วมเดินทางไปกราบ
หลวงปมู่ นั่ ทป่ี า่ เมย่ี งหว้ ยทราย อำ� เภอพรา้ ว จงั หวดั เชยี งใหม่ ทปี่ า่ เมย่ี งหว้ ยทรายนเี้ อง
พระอาจารย์ใหญ่คือหลวงปู่ม่ัน ไดเ้ มตตาแสดงธรรมสงั่ สอนย้ำ� อบุ ายแนวปฏิบัตแิ ก่
ลูกศิษยท์ ุกวัน
หลวงปู่แหวนบอกว่า “การแสดงธรรมของพระอาจารยแ์ ตล่ ะครงั้ ใชเ้ วลาไมน่ าน
แตธ่ รรมทท่ี า่ นแสดงออกนน้ั เปน็ ธรรมปฏบิ ตั ลิ ว้ นๆ ละเอยี ดไปตามขน้ั ตอนของสารธรรม
ทำ� ใหผ้ ไู้ ดฟ้ งั หายสงสยั ในขอ้ ปฏบิ ตั ขิ องตนๆ ทก่ี ำ� ลงั ดำ� เนนิ อยู่ ทำ� ใหเ้ กดิ ความมงุ่ มนั่
มานะพยายามประกอบความเพียรกันอย่างเต็มความสามารถ การได้ฟังธรรมจาก
ครูอาจารย์แต่ละคร้ังเหมือนกับได้เพิ่มพลังธรรมะเข้าไปอีก ดังน้ัน ในด้านภาวนา
ตา่ งองคต์ า่ งกเ็ รง่ ความเพยี รกนั อยา่ งไมท่ อ้ ถอยเตม็ ความสามารถของตน อยา่ งไมข่ าด
วรรคตอนทง้ั กลางวนั และกลางคนื เวน้ เฉพาะเวลาหลบั เทา่ นน้ั ดว้ ยเหตนุ สี้ ตสิ มั ปชญั ญะ
จึงมีก�ำลังอย่เู สมอ เป็นการประกอบชาครยิ านโุ ยคโดยแท้
133
การอย่รู ว่ มกบั พระอาจารย์ใหญ่ในคราวนัน้ จงึ เป็นสัปปายะหลายอยา่ ง คือ
บคุ คลสปั ปายะ เพราะสหธรรมกิ ล้วนเป็นผู้ปฏิบัติธรรมด้วยกนั
เสนาสนะสปั ปายะ เพราะเปน็ ปา่ เขาลำ� เนาไพร บรรยากาศสงบ วเิ วกวงั เวง อากาศ
เยือกเยน็ ชาวบา้ นก็ไมม่ ารบกวน
อาหารสปั ปายะ เพราะมพี อฉนั เพอื่ ยงั อตั ภาพใหเ้ ปน็ ไปได้ ไมบ่ รบิ รู ณ์ แตไ่ มถ่ งึ
ขนั้ ขาดแคลน
ธรรมสัปปายะ เพราะพระอาจารย์ผู้แสดงธรรมท่านก็ย�้ำลงในธรรมปฏิบัติ
ในสารธรรมอนั เปน็ วมิ ตุ ตธิ รรม วโิ มกขธรรม ชจ้ี ดุ อนั ควรละ และบอกจดุ อนั ควรเจรญิ
ยงิ่ ใกลว้ นั เขา้ พรรษา ทา่ นไดแ้ สดงทางปฏบิ ตั ยิ ำ�้ ลงเปน็ จดุ ๆ เปน็ ขน้ั ตอนตามการเจรญิ
มรรคปญั ญาโดยเฉพาะ”
134
ไปหาท่ีพกั จำ� พรรษากับหลวงปู่ขาว
พอใกลจ้ ะเขา้ พรรษา พระอาจารยใ์ หญค่ อื หลวงปมู่ นั่ ภรู ทิ ตโฺ ต บอกใหล้ กู ศษิ ย์
ลูกหาแยกย้ายกันไปหาที่จ�ำพรรษากันเอง จะมาจ�ำพรรษารวมอยู่ด้วยกันท่ีป่าเม่ียง
ห้วยทรายทง้ั หมดไมไ่ ด้ เพราะจะเป็นภาระหนกั แก่ชาวบ้านเขา
ในสมยั น้ัน ป่าเมี่ยงหว้ ยทรายมบี ้านอยู่ ๕-๖ หลังคาเรอื น ชาวบ้านอาศัยการ
ทำ� สวนเมย่ี งและหาของปา่ มาขายเปน็ หลกั ในการทำ� มาหาเลยี้ งชพี การเขา้ ออกหมบู่ า้ น
แตล่ ะครงั้ กล็ ำ� บากเพราะทางเปน็ หว้ ยเปน็ ปา่ เขา ลำ� บากทงั้ คนทง้ั สตั วท์ ใี่ ชใ้ นการตา่ งของ
(ล�ำเลยี งขนของ)
เมือ่ พระอาจารยใ์ หญ่บอกเช่นน้ัน หลวงปู่แหวนกับหลวงปู่ขาวได้ปรกึ ษากนั ว่า
จะไปจ�ำพรรษาที่ป่าเม่ียงขุนปั๋ง เพราะสถานท่ีนั้นเหมาะสมในการบ�ำเพ็ญภาวนา
เนื่องจากภูมิประเทศเป็นป่าเขา มีหมู่บ้านพออาศัยโคจรบิณฑบาตได้ บรรยากาศ
เงียบสงบเยือกเย็น ไกลจากเสียงและผู้คนไปรบกวน การไปมาก็ไม่ล�ำบากมากนัก
ถา้ จะมาหาอาจารย์ใหญต่ อนออกพรรษาแลว้ กเ็ ดินทางลดั เลาะตามปา่ เขามา ใชเ้ วลา
ประมาณ ๔-๕ ชวั่ โมงเท่าน้นั ก็จะมาถึงที่อยูข่ องพระอาจารยใ์ หญ่ได้
เมื่อหลวงปู่แหวนกับหลวงปู่ขาวปรึกษากันเป็นท่ีเรียบร้อยแล้ว จึงจัดบริขาร
เข้าไปกราบลาพระอาจารย์ใหญ่ แล้วออกเดินทางผ่านมาทางแม่ปั๋ง ไปทุ่งบวกข้าว
เดินเข้าป่าลัดไปตามทางที่ไปยังป่าเม่ียงขุนปั๋ง ทางบางแห่งต้องข้ามห้วยหลายสาย
บางแห่งกข็ ้ึนเขาไป กวา่ จะถึงปา่ เมีย่ งขนุ ปง๋ั ก็ใชเ้ วลาเดนิ ทาง ๔-๕ ชว่ั โมง
135
จ�ำพรรษาทปี่ ่าเมีย่ งขุนปง๋ั
เมอ่ื หลวงปแู่ หวนกบั หลวงปขู่ าวไปถงึ ปา่ เมยี่ งขนุ ปง๋ั สถานทๆ่ี กำ� หนดจะจำ� พรรษา
แลว้ ตา่ งองคต์ า่ งกเ็ ลอื กหาทอ่ี ยตู่ ามความพอใจ แลว้ พวกชาวบา้ นกช็ ว่ ยกนั ปลกู สรา้ งกฏุ ิ
ท่พี ักเปน็ การชวั่ คราวใหพ้ ออาศัยกนั แดดกันฝนได้
อากาศบรเิ วณนน้ั มคี วามชน้ื สงู เพราะพน้ื ทอ่ี ยใู่ นซอกเขา มภี เู ขาลอ้ มรอบทกุ ดา้ น
เหมอื นอยู่ในก้นกระทะ เวลาฝนตก น้ำ� จะไหลมาจากภเู ขาทกุ ทศิ ทาง สบง จีวร และ
บรขิ ารตา่ งๆ เวลาเปยี กมกั แหง้ ชา้ เนอ่ื งจากแสงแดดสอ่ งเขา้ ไมถ่ งึ ปา่ ไมโ้ ดยรอบเปน็
ปา่ ดงดบิ มไี มใ้ หญน่ อ้ ยนานาพรรณ และมสี ตั วป์ า่ นานาชนดิ สง่ เสยี งรอ้ งไมข่ าดระยะ
ท้งั กลางวัน กลางคนื เปน็ การเตอื นสตขิ องผู้บำ� เพญ็ ธรรมใหต้ น่ื ตวั อยเู่ สมอ
ในช่วงพรรษานั้น หลวงปู่ทั้งสององค์ต่างก็ตั้งใจเร่งความเพียรกันอย่างเต็มที่
โดยไมย่ อมปลอ่ ยเวลาใหเ้ ปลา่ ประโยชน์ ความกา้ วหนา้ ทางดา้ นจติ ภาวนากเ็ ปน็ ไปโดย
ราบรน่ื การพจิ ารณาธรรมกไ็ ดอ้ บุ ายแปลกๆ ดี มคี วามละเอยี ดสขุ มุ ไปตามขนั้ ตอนของ
สมาธิและปญั ญาท่ีขดุ ค้นขน้ึ มา ถ้ามกี ารขัดข้องบ้าง ทงั้ สององคต์ า่ งกช็ ว่ ยกันแกไ้ ข
ให้ผ่านพ้นไปได้ด้วยดี
หลวงปแู่ หวนทา่ นวา่ “ถงึ อยา่ งนน้ั กต็ าม บรรดาสรรพกเิ ลสทงั้ หลายทมี่ นั นอนอยู่
ในขนั ธสนั ดานมานานในสงั สารวฏั มคี วามเปน็ อเนกนนั้ เมอ่ื มนั เหน็ วา่ เราเอาจรงิ เอาจงั
ตอ่ มนั มนั กเ็ อาจริงกับเราเชน่ เดยี วกนั
136
เนื่องจากสภาพของจิตใจของคนเราน้ันเคยถูกอาสวกิเลสครอบครองอยู่นาน
หลายภพหลายชาติ เม่ือมาถูกความเพียรเร่งเร้าเข้าจึงดูเหมือนจะก้าวหน้าไปด้วยดี
แต่ถ้าความเพียรลดหย่อนอ่อนก�ำลังลงเม่ือใด เมื่อนั้นจิตใจเป็นโอนอ่อนผ่อนเข้า
หากิเลสาสวะทันทีตามวิสัยของจิตท่ีมีหน้าที่รับอารมณ์ ซ่ึงยังขาดสติปัญญาเป็น
เพือ่ นสอง”
หลวงปแู่ หวนเล่าต่อไปว่า “การทจี่ ะผกู ให้มนั อยู่ในปจั จุบนั ดว้ ยการภาวนานน้ั
แสนยาก ถา้ เรารกุ หนา้ ดว้ ยความเพยี ร มนั กท็ ำ� เปน็ ออ่ นกำ� ลงั ถอยเขา้ ไปสภู่ ายในเปน็ ท่ี
ก�ำบงั ยึดเปน็ ฐานสงบนง่ิ อยู่ ดูเหมอื นไม่มอี ะไรจะเปน็ อันตราย เหมือนท้องทะเลอนั
ราบเรียบในเวลาปราศจากลมและคล่นื ฉะนั้น”
จงึ กลา่ วไดว้ า่ ตอ้ งมชี นั้ เชงิ ในการรกุ การรบั การถอย ตามกระบวนศกึ ของศตั รู
ผู้เชี่ยวชาญในเชิงการรบ
137
อยา่ ทมิ่ แทงกนั ด้วยหอกดว้ ยดาบ
เมอ่ื ออกพรรษาแลว้ หลวงปมู่ นั่ พระอาจารยใ์ หญ่ พรอ้ มดว้ ยพระอาจารยพ์ ร สมุ โน
ไดต้ ามมาสมทบหลวงปู่แหวน หลวงปขู่ าว ที่ป่าเมี่ยงขนุ ป๋งั ทีห่ ลวงปู่ท้งั สององคพ์ ัก
จ�ำพรรษาอยู่ ต่อมาหลวงป่เู ทสก์ เทสรํสี กบั พระอาจารยอ์ ่อนสี สเุ มโธ กต็ ามขึ้นไป
สมทบอกี เมอ่ื เหน็ วา่ มพี ระไปอยดู่ ว้ ยกนั หลายรปู เกรงวา่ จะเปน็ ภาระหนกั แกช่ าวบา้ น
หลวงปมู่ ัน่ จงึ ใหห้ าทางแยกย้ายกันออกไปวิเวกบรเิ วณทไี่ มไ่ กลกนั นกั จะมารวมกัน
เฉพาะวนั อโุ บสถเพอ่ื ฟงั สวดปาฏโิ มกข์ แลว้ รบั การอบรมจากพระอาจารยใ์ หญ่ เสรจ็ แลว้
ก็แยกยา้ ยกันกลบั ไปท่ีอย่ขู องแตล่ ะองค์
เมื่อใกล้จะเข้าพรรษาต่อไป หลวงปู่แหวนกับหลวงปู่ขาวได้กราบเรียนพระ
อาจารย์ใหญ่ขอกลับออกมาจ�ำพรรษาท่ีดอยน้�ำมัว หรือดอยนะโม หรือฮ่องนะโม
(ชอ่ื สถานทเี่ ดยี วกนั ) และเมอ่ื พระอาจารยพ์ ร สมุ โน ทราบเรอ่ื ง กข็ อตามไปจำ� พรรษาดว้ ย
รวมเป็น ๓ องค์ เมอื่ เขา้ ไปกราบลา หลวงปมู่ ัน่ ไดพ้ ดู เตอื นสตศิ ษิ ย์ทั้งสามว่า “เออ
ไปแล้วอย่าไปทม่ิ แทงกันด้วยหอกด้วยดาบนะ”
หลวงปทู่ ง้ั สามไมค่ อ่ ยเขา้ ใจความหมายของคำ� เตอื นนน้ั และไดก้ ราบลาเดนิ ทาง
มาดอยนำ้� มวั บา้ นทงุ่ บวกขา้ ว ซง่ึ เปน็ เทอื กเขาเดยี วกนั กบั ดอยแมป่ ง๋ั อยไู่ มห่ า่ งกนั นกั
อยทู่ างตะวันออก ไปมาหากันได้สบาย ใชเ้ วลาเดินทางประมาณ ๒๐ นาทเี ท่านน้ั
ส่วนพระอาจารย์ใหญ่มั่นกับลูกศิษย์องค์อ่ืนๆ คงอยู่จ�ำพรรษาท่ีป่าเมี่ยงขุนปั๋งน้ัน
โดยพระอาจารย์ใหญพ่ กั อยใู่ กลถ้ ำ�้ ฤๅษี ซึ่งชาวบ้านไดส้ รา้ งกุฏชิ ัว่ คราวถวาย
138
เกดิ เหตขุ ัดเคอื งใจกนั
การอยู่จ�ำพรรษาที่ดอยนะโม (น�้ำมัว) ของหลวงปู่แหวน หลวงปู่ขาว และ
หลวงป่พู ร สมุ โน เปน็ ไปด้วยความเรียบร้อย การภาวนาไม่มีอปุ สรรค จติ ก้าวหน้าดี
เกดิ อุบายธรรมแปลกๆ หลายอยา่ ง
มเี หตกุ ารณอ์ ยวู่ นั หนงึ่ ขณะทห่ี ลวงปแู่ หวนกำ� ลงั เดนิ จงกรมอยู่ หลวงปขู่ าวเดนิ
ถอื ไมก้ วาดตรงเขา้ ไปหา เมอื่ ถงึ ทางเดนิ จงกรม หลวงปขู่ าวกล็ งมอื กวาดเรอื่ ยไปตาม
ทางจงกรม กวาดไปจนถงึ ตรงทหี่ ลวงปแู่ หวนเดนิ อยู่ กย็ งั กวาดไปกวาดมาอยทู่ เ่ี ทา้ ของ
หลวงปแู่ หวนน่ันเอง เสร็จแลว้ หลวงปขู่ าวกเ็ ดนิ ออกไปโดยไมพ่ ูดไม่จา
ครงั้ แรกหลวงปแู่ หวนนกึ ขดั เคอื งใจอยเู่ หมอื นกนั ทถี่ กู รบกวน ทา่ นไดค้ ดิ ทบทวน
ดวู า่ หลวงปขู่ าวทำ� เชน่ นน้ั เพราะเหตใุ ด จงึ นกึ ไดว้ า่ เมอื่ สกั ครทู่ ผ่ี า่ นมา ขณะทห่ี ลวงปขู่ าว
นงั่ สมาธอิ ยู่ ทา่ นใชไ้ มก้ วาดๆ บรเิ วณ คงสง่ เสยี งดงั รบกวนการนง่ั สมาธขิ องหลวงปขู่ าว
ดว้ ยเหตนุ ้ี หลวงปขู่ าวจึงได้มาเตอื น ความขดั เคอื งใจกห็ ายไป ท�ำใหท้ ่านระมัดระวัง
ยงิ่ ขึ้น
เหตุการณ์คร้ังที่สอง เม่ือออกพรรษาแล้ว มีโยมน�ำผา้ มาถวายเพื่อให้ตัดเย็บ
เปน็ จวี ร เมอ่ื ลงมอื เทา่ นน้ั หลวงปทู่ ง้ั สามองคเ์ กดิ ความเหน็ ไมต่ รงกนั องคห์ นง่ึ เหน็ วา่
ควรตัดขนาดเทา่ นน้ั อกี องคว์ า่ เท่านจ้ี งึ จะพอดี ก็เกดิ การโตแ้ ยง้ กนั ขนึ้ กลายเป็นการ
โตเ้ ถียงเพอื่ เอาแพ้เอาชนะกัน แมไ้ ม่มเี หตุรุนแรง แต่ก็หงดุ หงดิ ใจต่อกันพอสมควร
139
โดนหลวงปมู่ ่นั เทศน์อย่างหนัก
หลังออกพรรษาน้ันเอง แคว่น (ก�ำนัน) มี ขึน้ มาหาท่ดี อยนะโม กราบเรยี นวา่
เขาจะไปทำ� ธรุ ะทป่ี า่ เมยี่ งขนุ ปง๋ั หลวงปแู่ หวนกบั หลวงปขู่ าวจงึ บอกวา่ “ขากลบั ใหแ้ วะ
นมิ นต์ และรบั “ครบู าใหญข่ องเรา” ลงมาดว้ ย” เมอ่ื แควน่ มขี นึ้ ไปนมิ นตพ์ ระอาจารยใ์ หญ่
ท่านไม่ขัดข้อง ท่านเก็บบริขารเสร็จ แคว่นมีก็สะพายบาตรรับท่านเดินทางออกมา
พรอ้ มกัน
เม่ือพระอาจารย์ใหญ่มาถึงดอยนะโมแล้ว ลูกศิษย์ต่างเข้าไปกราบนมัสการ
ตอนนนั้ ยงั ไมม่ อี ะไรเกดิ ขน้ึ ตกเยน็ หลงั จากทำ� กจิ วตั รเสรจ็ แลว้ หลวงปมู่ นั่ กแ็ สดงธรรม
ให้การอบรมศิษย์ตามปกติ
การแสดงธรรมในชว่ งแรกกไ็ มม่ อี ะไรผดิ แปลก พอแสดงไปไดส้ กั พกั เสยี งของ
ทา่ นเรม่ิ หนกั แน่นจรงิ จงั มากขึน้ เน้ือธรรมเตม็ ไปดว้ ยไมค้ ้อนทีป่ ระเคนตอกยำ�้ ลงไป
ท่ีหัวใจของศิษย์ ท่านกล่าวถึงหมู่คณะท่ีขัดแย้งกันว่ารังแต่จะถึงกาลวิบัติ ไม่ยัง
หมคู่ ณะใหเ้ จรญิ ไมย่ งั หมคู่ ณะใหม้ นั่ คงถาวร ไมย่ งั หมคู่ ณะใหต้ ง้ั อยไู่ ดน้ าน แลว้ ทา่ น
ก็แสดงอานิสงสข์ องความสามัคคใี นหมู่คณะเพราะมีทิฏฐิสามญั ญตารว่ มกัน จบลง
ดว้ ยการชจ้ี ดุ ทที่ ำ� ใหเ้ กดิ ความขดั แยง้ ในหมคู่ ณะ คอื การถอื เอาแตค่ วามคดิ ของตวั เอง
เปน็ ใหญ่ ไมเ่ คารพความรคู้ วามเหน็ ของผู้อ่นื
140
หลวงปแู่ หวนทา่ นวา่ “เป็นอนั วา่ เทศน์ของท่านอาจารยก์ ณั ฑ์น้ัน ท่านต้งั ภาษิต
เอาไวต้ ง้ั แตส่ ามเดอื นทแ่ี ลว้ มากอ่ นเขา้ พรรษาวา่ ใหร้ ะวงั อยา่ ไปทมิ่ แทงกนั ดว้ ยหอก
ด้วยดาบ ค�ำเทศน์จึงมาอธิบายเอาตอนออกพรรษาแล้วน้ีเอง”
เมอ่ื หลวงปมู่ นั่ ทา่ นแสดงธรรมจบลง ทา่ นกพ็ ดู คยุ กบั ศษิ ยเ์ ปน็ ธรรมดาเหมอื นกบั
ไมม่ อี ะไรเกดิ ข้ึน พดู คุยถามโนน่ ถามน่ี เมือ่ หลวงปู่แหวน หลวงปขู่ าว หลวงปพู่ ร
หายจากอาการสลบเพราะถูกตีด้วยธรรมาวุธแล้ว ก็เข้าไปกราบสารภาพผิด ซ่ึง
หลวงป่มู นั่ กไ็ มไ่ ด้แสดงอาการผดิ สังเกตใดๆ ออกมา
อบุ ายการแสดงธรรมกด็ ี การวางตัวก็ดี การพูดจาปราศรัยก็ดี เป็นกสุ โลบาย
เฉพาะองคข์ องหลวงปมู่ น่ั ยากทศี่ ษิ ยท์ งั้ หลายจะสงั เกตตดิ ตามไดท้ นั ซงึ่ จะหาผปู้ ฏบิ ตั ิ
ไดอ้ ยา่ งองคท์ า่ นนั้นยากแท้
141
จ�ำพรรษาทถี่ ำ้� เชยี งดาว
เหตกุ ารณใ์ นตอนนนี้ า่ จะอยใู่ นชว่ งปี พ.ศ. ๒๔๗๑ ตามหลกั ฐานทผ่ี เู้ ขยี นมี คอื
หลวงปมู่ นั่ ภรู ทิ ตโฺ ต ไปพกั บำ� เพญ็ อยทู่ เ่ี สนาสนะปา่ บา้ นปง (ตอ่ มาคอื วดั อรญั ญวเิ วก
ต.อนิ ทขิล อ.แมแ่ ตง จ.เชยี งใหม่) เม่อื ปลายปี พ.ศ. ๒๔๗๐ ท่านพกั อยู่ระยะหนึง่
ไม่ได้จ�ำพรรษา พอออกจากบ้านปง หลวงปู่ม่ันและสานุศิษย์ได้ไปจ�ำพรรษาท่ี
ถ�้ำเชยี งดาว กค็ อื ในปี พ.ศ. ๒๔๗๑ น่ันเอง ส่วนชอ่ื วดั อรัญญวเิ วกน้ี หลวงปมู่ น่ั
กเ็ ปน็ ผ้ตู ัง้ ชือ่ รวมทงั้ หลวงปู่มั่นเป็นเจ้าสำ� นักองคแ์ รกของวดั นีด้ ว้ ย (เจา้ อาวาสองค์
ปจั จบุ นั คือ หลวงพ่อเปล่ียน ปญฺาปทีโป)
พดู ถงึ ปา่ เทอื กเขาเชยี งดาวนน้ั ถอื เปน็ รมณยี สถานสำ� หรบั นกั ปฏบิ ตั ธิ รรม ดงั ท่ี
หลวงปู่ม่ันได้บอกกับบรรดาศิษย์ว่า สถานที่ในแถบนี้เป็นมงคลส�ำหรับผู้ปฏิบัติ
ทางสภาพภมู ปิ ระเทศ ทเ่ี ชยี งดาว จงั หวดั เชยี งใหม่ มภี เู ขาสลบั ซบั ซอ้ น มถี ำ้� หลายแหง่
มีความสงบ ป่าไม้หนาทึบ และในประสบการณ์ของพระธุดงค์บอกว่ามีเทวดามาก
จงึ เหมาะตอ่ การบ�ำเพญ็ ภาวนายิ่ง
การไปอยทู่ ีถ่ �ำ้ เชียงดาวในคร้ังแรกมีด้วยกัน ๓ รปู คือ หลวงป่มู น่ั ภรู ิทตฺโต
หลวงปูแ่ หวน สุจณิ โฺ ณ และหลวงปู่ตื้อ อจลธมฺโม มีตาผ้าขาวคำ� อา้ ย (ตอ่ มาคอื
หลวงป่คู �ำอ้าย) ตดิ ตามมาคอยอุปฏั ฐาก
142
ทั้งสามองค์ไม่ได้พักอยู่ในท่ีเดียวกัน พระอาจารย์ใหญ่อยู่ภายในถ้�ำหลวง
หลวงปู่ตื้ออยู่ถำ�้ ปากเปียง และหลวงปู่แหวนขน้ึ ไปจ�ำพรรษาทีต่ น้ ธารน�้ำไหล
ในวันปกติ พระจะมาฉันรวมกันที่ถ�้ำเชียงดาวซ่ึงอยู่ด้านล่าง คนละถ้�ำกับท่ี
หลวงปมู่ นั่ พกั เมอ่ื เสรจ็ กจิ แลว้ แตล่ ะองคก์ แ็ ยกยา้ ยกลบั ไปบำ� เพญ็ เพยี รยงั ทข่ี องตน
สำ� หรับวันพระ ๘ ค�ำ่ และ ๑๕ ค่ำ� พระทงั้ หมดจะมาประชมุ ฟงั ธรรม ทำ� อโุ บสถ
บอกปาริสทุ ธิ เสร็จแลว้ กแ็ ยกย้ายกนั ไป ไมไ่ ดอ้ ยคู่ ลกุ คลีรวมกนั ตา่ งองคต์ า่ งเรง่
บำ� เพญ็ เพียรอยา่ งเต็มที่
143