The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ชีวประวัติ พระจิรปุญฺโญ หลวงปู่พรหม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-07-11 21:56:46

ชีวประวัติ พระจิรปุญฺโญ หลวงปู่พรหม

ชีวประวัติ พระจิรปุญฺโญ หลวงปู่พรหม

Keywords: ชีวประวัติ พระจิรปุญฺโญ หลวงปู่พรหม

ชีวประวัติและพระธรรมเทศนา

พระจริ ปญุ ฺโ หลวงปพู่ รหม

วัดประสทิ ธธิ รรม อ�ำเภอบ้านดุง จงั หวัดอดุ รธานี

อนสุ รณ์พพิ ธิ ภณั ฑ์ฉนั ทกรานุสรณ์
วดั ป่าอัมพโรปญั ญาวนาราม ในพระสงั ฆราชปู ถมั ภ์
สมเดจ็ พระอรยิ วงศาคตญาณ (อมพฺ รมหาเถร) สมเดจ็ พระสังฆราช สกลมหาสงั ฆปรณิ ายก

ชวี ประวตั ิและพระธรรมเทศนา

พระจิรปุญโฺ  หลวงปู่พรหม

เลขมาตรฐานหนังสอื : ๙๗๘-๖๑๖-๔๔๐-๘๐๑-๒
พมิ พค์ รงั้ ท่ี ๑ : สิงหาคม ๒๕๖๐
จ�ำนวนพมิ พ์ : ๕,๐๐๐ เล่ม
จดั พิมพ์โดย : มูลนิธพิ ทุ ธสมนุ ไพรค่แู ผ่นดนิ ไทย ในพระบรมราชูปถมั ภ์


สงวนลิขสิทธ์ิ : ห้ามคดั ลอก ตดั ตอน เปลยี่ นแปลง แก้ไข ปรับปรงุ
ขอ้ ความใดๆ ทงั้ สิ้น หรือน�ำไปพมิ พจ์ �ำหนา่ ย
หากทา่ นใดประสงคจ์ ะพมิ พเ์ พือ่ ใหเ้ ปน็ ธรรมทาน
โปรดตดิ ต่อขออนญุ าตจากทางมูลนิธิพทุ ธสมนุ ไพรค่แู ผน่ ดนิ ไทย
ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ โทร. ๐๘๙-๑๗๒-๔๔๒๘

พมิ พท์ ่ี : บริษัท ศลิ ป์สยามบรรจภุ ัณฑ์และการพมิ พ์ จำ� กดั
๖๑ ถนนเลียบคลองภาษเี จรญิ ฝัง่ เหนอื ซ.เพชรเกษม​๖๙
แขวงหนองแขม เขตหนองแขม กรงุ เทพมหานคร
โทรศพั ท์ ๐­-­­๒๔๔๔-๓๓๕๑-๙ โทรสาร ๐-๒๔๔๔-๐๐๗๘
E-mail: [email protected] www.silpasiam.com

ค�ำปรารภ

เร่ืองการจัดท�ำหนังสือมรดกธรรมยอดโอวาทค�ำสอนของสมณะนักปราชญ์
วสิ ทุ ธเิ ทวา (พระปา่ ) จดั ทำ� ขน้ึ ๓๔ องค์ สมยั กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ ระหวา่ งปี พทุ ธศกั ราช
๒๔๖๐-๒๕๕๔ โอวาทธรรมยอดแห่งค�ำสอนของวิสุทธิบุคคล ท่านแสดงบริสุทธิ์
สมบรู ณไ์ มว่ า่ ยคุ ใดสมยั ใด นำ� ผสู้ นใจพยายามตง้ั ใจปฏบิ ตั ติ าม ยอ่ มกา้ วลว่ งทกุ ขไ์ ปได้
สมความปรารถนา คณะปสาทะศรทั ธาเห็นควรจัดทำ� ข้ึนสงวนรกั ษาไว้ เพ่อื กุลบตุ ร
สุดท้ายภายหลังที่ พิพิธภัณฑ์ฉันทกรานุสรณ์ วัดป่าอัมพโรปัญญาวนาราม บ้าน
หนองกลางดอน ต�ำบลคลองกว่ิ อ�ำเภอบา้ นบึง จังหวดั ชลบุรี ผสู้ นใจกรณุ าเขา้ ไป
ศกึ ษาได้ตามโอกาส เวลาพอดี

ผฉู้ ลาดยึดหลักนักปราชญ์เปน็ แบบฉบับพาดำ� เนนิ ปกครองรกั ษาตน
คณะปสาทะศรทั ธา

ห้ามพิมพเ์ พือ่ จ�ำหนา่ ย สงวนลขิ สทิ ธ์ิ

สารบญั

พระจริ ปุญโฺ  หลวงปู่พรหม ๑

ชวี ประวัติและพระธรรมเทศนา พระจริ ปญุ โฺ  หลวงปพู่ รหม ๓
ชีวประวตั ิ พระจิรปญุ ฺโ หลวงปู่พรหม ๓
(คดั ลอกจากหนงั สอื ถวายเพลงิ ศพพระอาจารยพ์ รหม จิรปุญโฺ ) ๔
- ชาติภูมิ ๑๐
- ชีวติ ในการครองเรอื น ๒๗
- การจารกิ ต่างจงั หวัดเพ่อื แสวงหาวิเวก
- อัฐิท่านไดก้ ลายเป็นพระธาตใุ นเวลาอันส้นั ๓๑
- โอวาทของพระราชนโิ รธรงั สีคัมภีรปญั ญาวศิ ิษฏ์ ๓๓
(พระเทสรํสี หลวงปู่เทสก์) ๓๘
- เร่อื งธรรมเก่ยี วกบั ท่านอาจารย์พรหม จริ ปญุ โฺ 
- พระธรรมเทศนาของท่านอาจารย์พระมหาบวั าณสมฺปนฺโน ๔๑
ชีวประวัติ หลวงปู่พรหม จิรปญุ ฺโญ
(คัดลอกจากหนังสอื หลวงป่พู รหม จิรปุญฺโ)

พระจริ ปุฺโ หลวงปูพรหม

Ç´Ñ »ÃÐÊÔ·¸¸Ô ÃÃÁ ÍÒí àÀͺŒÒ¹´§Ø ¨§Ñ ËÇÑ´ÍشøҹÕ



ชวี ประวตั แิ ละพระธรรมเทศนา

พระจิรปญุ โฺ  หลวงปพู่ รหม

1

พระอาจารยพ์ รหม จริ ปญุ โฺ  เปน็ ศษิ ยผ์ ไู้ ดเ้ คยสดบั ฟงั โอวาทและตดิ ตาม
ทา่ นอาจารยม์ น่ั ภรู ทิ ตั ตมหาเถระ มารปู หนงึ่ ซง่ึ เปน็ ผตู้ ง้ั มนั่ อยใู่ นธดุ งควตั ร
และประกอบดว้ ยคณุ สมบตั ิในสมณคุณเปน็ อันมาก มีศิษยานุศษิ ย์และ
ผู้ใครใ่ นธรรมปฏบิ ตั ิเคารพนบั ถือในท่านเปน็ จำ� นวนไมน่ อ้ ย มีชวี ประวัติ
ควรเป็นทิฏฐานุคติแก่พุทธศาสนิกชนได้รูปหนึ่ง ดังจะเล่าต่อไปน้ี

หมายเหตุผ้เู รยี บเรียง
เนอ้ื หาในสว่ นต่อไปนค้ี ัดลอกจากหนงั สอื พระอาจารย์พรหม จริ ปญุ ฺโ

ซ่ึงแจกในงานถวายเพลิงศพ เมอื่ ปี พ.ศ. ๒๕๑๔

ชวี ประวัติ

พระจริ ปญุ ฺโ หลวงปู่พรหม

ชาติภมู ิ

หลวงปู่พรหม จริ ปญุ ฺโ ท่านมีนามเดิมว่า พรหม สุภาพงษ์ ทา่ นได้ถอื กำ� เนดิ
มาเป็นบุตรคนหัวปีของนายจันทร์ สุภาพงษ์ และนางวันดี สุภาพงษ์ เกิดเม่ือ
วนั องั คาร พ.ศ. ๒๔๓๑ ปขี าล ณ บา้ นตาล ตำ� บลโคกสี อำ� เภอสวา่ งแดนดนิ จงั หวดั
สกลนคร บิดาและมารดาของท่านเป็นชาวนาชาวไร่มาแต่ด้ังเดิมสมัยแต่บรรพบุรุษ
ตระกูลน้ีนับถือพระพุทธศาสนาเป็นชีวิตจิตใจมาหลายชั่วคนแล้ว หลวงปู่พรหม
ทา่ นมีน้องๆ ทีส่ ืบสายใยสายเลือดทางโลกอกี ๓ คน โดยล�ำดับได้ดงั ตอ่ ไปน้ี คอื

หลวงปูพ่ รหม จิรปุญฺโ
นายพิมพา สุภาพงษ์ (ต่อมาได้ออกบวชเป็นบรรพชติ จนตลอดชวี ิต)
นางค�ำแสน สภุ าพงษ์
นางต้อื สุภาพงษ์ (ต่อมาไดอ้ ุทิศชวี ิตบวชเปน็ ชี ไดเ้ จรญิ อยใู่ นธรรมตลอดชวี ิต
เชน่ เดียวกัน)
นบั ตงั้ แตเ่ ยาวว์ ยั ทา่ นไดเ้ ตบิ โตขน้ึ มาทา่ มกลางทอ้ งทงุ่ นาปา่ ดง ทา่ นกไ็ ดแ้ ตอ่ าศยั
ความรู้ความเห็นของชีวิตชนบทเท่านั้นเป็นครูสอน โดยถือว่าเป็นประสบการณ์ชีวิต
ครน้ั เตบิ โตขน้ึ มาเปน็ หนมุ่ ทา่ นกย็ งั คงมคี วามสงสยั มคี วามครนุ่ คดิ อยวู่ า่ “คนเราเกดิ
มาแลว้ นี้ จะแสวงหาความสขุ ทแ่ี ทจ้ รงิ ไดอ้ ยา่ งไร อะไรคอื ความสขุ ความสขุ ทแ่ี ทจ้ รงิ
อยูท่ ไ่ี หน”

3

ชวี ิตในการครองเรอื น

ตง้ั แตบ่ รรลนุ ติ ภิ าวะมา เคยไดก้ ลา่ วอยเู่ สมอๆ วา่ “ความสขุ อยทู่ ไ่ี หน” โดยไมม่ ี
ครูบาอาจารยม์ าแนะแนวความคดิ ใหเ้ ชน่ นนั้ เพยี งแต่ครุ่นคิดอยคู่ นเดยี ว เม่ืออายุ
ย่างเข้า ๒๐ ปี มคี วามคดิ ในด้านนร้ี นุ แรงขน้ึ ว่า เม่อื มคี รอบครวั แลว้ กจ็ ะมคี วามสขุ
เมอ่ื คดิ ตกลงดงั นี้ จงึ ได้แจ้งความจำ� นงต่อบิดามารดา ตลอดถงึ ญาติผ้ใู หญใ่ นสกลุ
ใหท้ ราบวา่ อยากมคี รอบครัวตามประเพณีของโลก เมอ่ื บิดามารดาและญาติผู้ใหญ่
ได้ทราบแล้ว ก็มิได้มีความขัดข้อง จึงพร้อมกันจัดหาหญิงผู้มีสกุลสมควรให้เป็น
ศรีภรรยา ภรรยาคนแรกชอื่ พิมพา เป็นชาวบา้ นดงเย็น ท่านไดย้ ้ายภูมลิ �ำเนาจาก
บา้ นตาลไปอยทู่ บี่ า้ นดงเยน็ กบั ศรภี รรยา ตงั้ หลกั ฐานอยทู่ น่ี น้ั ตลอดมา อยกู่ นิ ดว้ ยกนั มา
มีบุตรได้ ๑ คน พอคลอดออกมา ภรรยาและลูกก็เสียชีวิตด้วยกัน ได้จัดการ
ฌาปนกิจศพภรรยาและลูกเสร็จเรียบร้อยแล้ว อยู่มาพอสมควร ความคิดท่ีว่า
มคี รอบครวั และจะให้เกิดความสขุ น้ัน เป็นอนั ลม้ ละลายหายสญู ไปอีก ตรงกันขา้ ม
เปน็ การเพมิ่ ความทุกข์ให้มีแกต่ นเป็นเทา่ ทวคี ูณเสียอกี

ครน้ั กาลตอ่ มา ความคดิ ที่วา่ ความสขุ อยทู่ ่มี คี รอบครวั กเ็ กดิ ขนึ้ อกี ทา่ นจึงไดม้ ี
ครอบครวั กบั นางกองแพงอกี เปน็ ครง้ั ท่ี ๒ ไดร้ ว่ มสขุ ทกุ ขก์ นั มาเปน็ เวลา ๕ ปี ไมม่ ลี กู
ต่อมาทางประชาชนและทางราชการเห็นดีเห็นชอบ จึงได้แต่งต้ังให้เป็นผู้ใหญ่บ้าน
หมทู่ ี่ ๑ บา้ นดงเยน็ เพราะหลกั ฐานดา้ นความประพฤตแิ ละทรพั ยส์ มบตั พิ อเปน็ ทพ่ี ง่ึ
และตัวอย่างของประชาชนได้เป็นอย่างดี ท่านได้ปกครองประชาราษฎร์โดยหลัก

4

ยตุ ิธรรมเทยี่ งตรง ไมเ่ ป็นไปตามอ�ำนาจอคติ ๔ ประการ คอื ฉันทา โทสา โมหา
และภยาคติ ไมเ่ หน็ แก่สนิ จ้างรางวัล และไมเ่ ขา้ คนผดิ จึงเปน็ ท่ีเคารพนับถือย�ำเกรง
ของประชาชนในถิ่นน้นั มาก เปน็ หัวหนา้ ผูป้ กครองท่ดี ีคนหน่ึง

ในทางสรา้ งหลักฐานส่วนตัว ท่านเป็นคนหมัน่ ขยนั ต่อหนา้ ทก่ี ารงาน เกบ็ เลก็
ผสมนอ้ ย มที ด่ี นิ ปลกู บา้ น ทส่ี วน ทนี่ าหลายแปลง และมโี คกระบอื โคเปน็ รอ้ ยๆ ตวั
กระบอื ไมต่ ำ่� กวา่ ๕๐ นบั วา่ ฐานะพอกนิ พอใชใ้ นยคุ นนั้ นอกจากนนั้ ทา่ นยงั เปน็ หวั หนา้
นำ� หมพู่ อ่ คา้ โคกระบอื ไปจำ� หนา่ ยทางภาคกลาง และเปน็ หวั หนา้ พอ่ คา้ เกวยี น บรรทกุ
หนงั สตั วแ์ ละของปา่ ไปจำ� หนา่ ยทจี่ งั หวดั นครราชสมี า ขากลบั กบ็ รรทกุ ของเทศไปขาย
ทางบ้าน จนปรากฏชื่อเสียงจากประชาชนขนานนามว่า “นายฮ้อยพรหม” ผู้ท่ีเป็น
นายฮอ้ ยนายแถวในสมยั นน้ั ตอ้ งเปน็ คนมที รพั ย์ มคี วามดมี ากกวา่ คนอนื่ ๆ เสยี งนม้ี า
จากประชาชน ไมไ่ ดต้ ัง้ ตวั เอง นบั วา่ เปน็ เกยี รติอนั สงู ส่งซงึ่ ใครๆ ก็กระหยมิ่ อยากได้

ถึงจะได้ทรัพย์สมบัติบริบูรณ์และได้รับเกียรติจากประชาชนมากมายอย่างนั้น
กต็ าม ความนกึ คดิ ครง้ั แรกๆ ทวี่ า่ เมอ่ื มคี รอบครวั มที รพั ยส์ มบตั บิ รบิ รู ณแ์ ลว้ ความสขุ
ก็จะเกิดมีขึ้นมาตามล�ำดับ แต่กลับตรงกันข้ามอีก มีแต่เจ้าทุกข์ล้อมหน้าล้อมหลัง
ท�ำให้เกดิ ความหวาดกลัวต่อภัยอย่างนับไมถ่ ว้ นรอบด้าน เพราะทรัพยส์ มบตั เิ หลา่ นี้
เป็นเหตุให้เกิดความสมหวังและผิดหวังอยู่เสมอ ไม่เที่ยงแท้แน่นอน เป็นธรรมดา
เมอื่ มสี มบัติ วิบัตกิ ็ตอ้ งตามมา ซง่ึ เปน็ วสิ ัยของโลกอย่างนี้ ผไู้ ม่มีอปุ นสิ ยั ในเมอื่
ได้ลาภได้ยศย่อมมัวเมาลุ่มหลงและเพลิดเพลินอยู่ หารู้ว่าความวิบัติเหล่านั้นจะมา
ถึงตนไม่ ส�ำหรับตัวท่านในขณะน้ัน ถึงจะมีความรักความอาลัยในทรัพย์สมบัติ
เหลา่ นน้ั อยู่ กไ็ มม่ วั เมาถงึ กบั ลมื ตวั เอง ยงั ครนุ่ คดิ ทจี่ ะแสวงหาความสขุ ยงิ่ ขนึ้ ไปกวา่ นี้
ตอนนี้คล้ายๆ กับดอกบัวท่ีพ้นน้�ำรอคอยรับแสงจากพระอาทิตย์อยู่ ก็พอดีได้
กลั ยาณมติ รคอื ทา่ นอาจารยส์ าร มาจากจังหวดั อุบลราชธานี ทา่ นเคยเปน็ ลูกศิษย์
ทา่ นอาจารยใ์ หญม่ นั่ ภรู ทิ ตั ตมหาเถระ รปู หนงึ่ เทยี่ วแสวงหาวเิ วก เผยแผพ่ ระธรรม
คำ� สอนแกป่ ระชาชนมาเรื่อยๆ ผา่ นเข้ามาถึงหมู่บา้ นดงเย็นเท่านัน้ ทา่ นผู้มอี ุปนสิ ัย
เบาบาง ผู้เป็นอุบาสกได้ทราบข่าว ก็รีบจัดแจงแต่งเครื่องสักการะออกไปต้อนรับ
ท่านอาจารยส์ าร ซง่ึ ทา่ นพักอยูท่ วี่ เิ วกในปา่ ใกลบ้ ้านดงเยน็ นั้น

5

พอไปถึงได้ถวายสักการะเคารพกราบไหว้ตามวิสัยของสัปบุรุษ ได้รับความ
เมตตากรณุ าจากทา่ นเปน็ อนั ดี เมอ่ื มโี อกาสกเ็ รยี นถามทา่ นอาจารยใ์ นขอ้ ทต่ี อ้ งสงสยั
ที่อัดอั้นมานาน ได้เล่าความจริงท่ีมีในใจของตนออกมาให้ท่านทราบทุกประการว่า
“แตก่ อ่ นกระผมเขา้ ใจวา่ มคี รอบครวั แลว้ จงึ จะมคี วามสขุ ครน้ั มคี รอบครวั แลว้ คน้ หา
ความสขุ เช่นนั้นกไ็ ม่พบอีก กระผมจึงขอเรยี นถามทา่ นอาจารย์วา่ ความสขุ น้ันอยูท่ ่ี
ตรงไหนกนั แน่ กระผมทำ� อยา่ งไรจงึ จะไดป้ ระสบความสขุ ทแ่ี ทจ้ รงิ เชน่ นน้ั ไดใ้ นชวี ติ ”
ทา่ นอาจารยส์ ารใหโ้ อวาทเปน็ คำ� ตอบทถ่ี กู ตอ้ งและจบั ขว้ั หวั ใจของอบุ าสกวา่ “ถา้ อยาก
จะประสบความสขุ ท่ปี รารถนาอยนู่ ้นั ต้องละอารมณค์ อื รักใครพ่ อใจในกามคุณ ๕
คอื ความพอในรปู ในเสียง ในกลนิ่ ในรส ในสมั ผสั อนั เป็นเหยื่อลอ่ ให้ตดิ อย่ใู น
กองทุกขเ์ สยี ให้หมดสนิ้ ไปจากใจ ความสุขทปี่ รารถนาอย่นู น้ั กจ็ ะฉายแสงออกมาให้
ปรากฏเห็นตามสมควรแก่ความเพยี รทีไ่ ด้ทุม่ เทลงไปในทางทถ่ี กู ที่ชอบ”

เมื่อท่านได้รับโอวาทแนะน�ำแนวทางปฏิบัติจากพระอาจารย์สารเช่นนั้นแล้ว
มคี วามเบาใจ ประหนึ่งว่าความสุขท่ีปรารถนาอยแู่ ลว้ น้ันจะได้ประสบอยูใ่ นเร็วๆ น้ี
แตท่ า่ นยงั มคี วามดำ� ริต่อไปอกี ว่า ถา้ เรายงั พวั พันเก่ยี วขอ้ งอย่กู ับครอบครัว ทรพั ย์
สมบัติ เรอื กสวน ไรน่ า มัวเมาอยใู่ นความเปน็ ใหญ่ และในการค้าการขายอยู่เช่นน้ี
นับวันก็จะเหินห่างจากความสุขท่ีเราปรารถนาอยู่ตอนนี้ ท่านตกลงปลงใจท่ีจะสละ
ครอบครวั และทรพั ยส์ มบตั ิออกบวชในพระพุทธศาสนา ก่อนจะบวช ท่านดำ� รติ อ่ ไป
อกี ว่า เราควรจะเอาเยย่ี งอย่างพระเวสสันดรตามท่ีเคยสดบั มาว่า พระเวสสันดรน้นั
ทา่ นไดส้ ละทานทกุ สงิ่ ทกุ อยา่ ง ตลอดถงึ ลกู เมยี เครอื ญาติ ออกบวชบำ� เพญ็ บารมเี พอ่ื
พระโพธญิ าณในเบอื้ งหนา้ ในทสี่ ดุ พระองคก์ ไ็ ดต้ รสั รคู้ วามจรงิ คอื อรยิ สจั ธรรมทง้ั ๔
เป็นศาสดาครูสอนเทวดาและมนษุ ยท์ ัง้ หลาย ผลทง้ั น้ยี ่อมส�ำเรจ็ มาจากการเสียสละ
ของพระองค์ เมื่อความตกลงใจจะออกบวชและสละสมบัติบรรดาท่ีมีอยู่เช่นน้ีแล้ว
ก็ได้นัดประชุมประชาชนในหมู่บ้านว่า ใครต้องการอะไรในวัตถุสมบัติท่ีมีอยู่ เช่น
โค กระบือ เงนิ ทองและเครอ่ื งใช้ต่างๆ ที่มีอยู่ ให้มารบั เอาไป

ในตอนนที้ ่านไดม้ ีศรทั ธาอันแรงกล้า จดั ตั้งกองบุญ ๒๐ กอง เพอ่ื จะบวชนาค
๒๐ นาค แต่เม่ือจะบวชจริงๆ ปรากฏว่าไดน้ าคบวชเพยี ง ๑๒ นาคเทา่ น้นั จะเปน็

6

เพราะเหตผุ ลกลใดไมท่ ราบเคา้ เงอื่ นไขในเรอื่ งนด้ี นี กั ทา่ นไดส้ รา้ งวดั ขนึ้ ๑ วดั พรอ้ มกบั
ทำ� รวั้ วดั ดว้ ยทนุ ทรพั ยข์ องทา่ นเปน็ การเรยี บรอ้ ย ในการตอ่ มาทดี่ นิ ในวดั นนั้ ไดก้ ลาย
เปน็ ทีด่ ินทตี่ ้งั โรงเรยี นประชาบาลบา้ นดงเย็นปัจจบุ นั น้ี เรยี กว่า โรงเรยี นบา้ นดงเยน็
พรหมประชาสรรค์

ต่อจากน้ันท่านก็ได้สละทานวัตถุต่างๆ ตลอดจนข้าวเปลือกในยุ้งในฉางแก่
คนยากจนหรอื แกบ่ คุ คลทส่ี มควรให้ ทา่ นสละอยอู่ ยา่ งนน้ั เปน็ เวลาหลายวนั ยงั เหลอื
ไว้แต่เรือน ๒ หลัง ในกาลต่อมาท่านได้อนุญาตให้นางกองแพงซ่ึงเป็นศรีภรรยา
ของทา่ นออกบวชเปน็ นางชกี อ่ นเปน็ เวลา ๑ ปี และยงั เปน็ ชมี ชี วี ติ อยจู่ นกระทงั่ ทกุ วนั น้ี
เรอื น ๒ หลงั ทย่ี งั เหลอื อยนู่ นั้ หลงั ทหี่ นงึ่ ไปปลกู เปน็ กฏุ ทิ ว่ี ดั ปา่ บา้ นปา่ เปา้ หลงั ทสี่ อง
ไปปลูกเป็นกุฏิที่วัดป่าผดุงธรรม บ้านดงเย็น ปัจจุบันน้ีการเสียสละทานท่ีท่านได้
บ�ำเพ็ญในคราวคร้ังนั้น ยากท่ีบุคคลจะท�ำได้เช่นน้ัน เช่น ได้สละทรัพย์สร้างวัด
สน้ิ เงินไป ๑ ชัง่ ๒ ตำ� ลงึ ๒ บาท เงนิ ช่งั ในครัง้ กระโนน้ คดิ เทียบในปัจจุบนั น้กี เ็ ปน็
จ�ำนวนมากพอดู

เม่อื ทา่ นไดส้ ละสงิ่ ของหมดสิ้นแล้ว ความอาลยั ใยดใี นวตั ถสุ ่งิ ของก็เบาบางลง
พอจะปลีกตัวออกบรรพชาอุปสมบทในทางพระพุทธศาสนาได้แล้ว ท่านก็อ�ำลา
วงศาคณาญาติ มติ รสหาย ลกู บา้ นหลานเมอื ง ออกบรรพชาอปุ สมบทในพระพทุ ธศาสนา
เมอ่ื อายทุ า่ นได้ ๓๗ ปี ณ วดั โพธสิ มภรณ์ จงั หวดั อดุ รธานี โดยมี ทา่ นเจา้ พระคณุ พระธรรม-
เจดยี ์ สมยั เปน็ พระครชู โิ นวาทธำ� รง เปน็ พระอปุ ชั ฌายะ ทา่ นพระครปู ระสาทคณานกุ จิ
เปน็ พระกรรมวาจาจารย์ สว่ นนอ้ งชาย นอ้ งสาว และนอ้ งเขย กอ็ อกบวชดว้ ย เปน็ ผมู้ นั่ คง
ในศาสนาตลอดชวี ติ ทกุ คน

มีข้อที่น่าคิดอยู่อย่าง คือตอนท่านบ�ำเพ็ญทาน ไม่ให้ทานเคร่ืองดักสัตว์และ
เครอ่ื งอปุ กรณแ์ กก่ ารท�ำลายชีวิต เชน่ แห อวน เบ็ด ตะก่วั ซืน ดนิ ประสิว และ
หินปากนก สง่ิ เหลา่ นขี้ นทง้ิ หมด โดยไม่ใหใ้ ครรู้จกั ทที่ ง้ิ ดว้ ย นับวา่ ท่านด�ำเนินตาม
แบบอย่างของบณั ฑิตจรงิ ๆ นา่ อนุโมทนาเปน็ อย่างย่งิ ควรถอื เป็นคตติ ัวอยา่ งไดเ้ ปน็
อย่างดี

7

หลวงปพู่ รหม ทา่ นเปน็ แบบอยา่ งทดี่ งี ามแกพ่ วกเราพทุ ธบรษิ ทั ทกุ ทา่ น การกระทำ�
เช่นนท้ี �ำให้ระลกึ ถึงธรรม ๔ ประการท่อี งค์สมเด็จพระสมั มาสัมพทุ ธเจา้ ตรสั สอนไว้
ดงั น้ี

๑. มจั ฉรยิ ะ บคุ คลที่มีความตระหน่ี ไมท่ ำ� บญุ ใหท้ าน วบิ ากนนั้ บันดาลให้เป็น
คนยากจนขัดสนทรพั ยส์ มบตั ทิ ้งั ปวง

๒. อเวยยาวัจจะ บุคคลท่ีมคี วามไม่ชว่ ย ไม่ขวนขวายในกจิ ท่ีชอบ คอื ไม่ชว่ ย
ขวนขวายในการบุญกุศลของคนอ่ืน และไม่เท่ียวบอกบุญชักชวนคนอ่ืนในการบุญ
และกุศล วิบากน้นั บนั ดาลใหเ้ ปน็ คนไร้ญาติขาดมติ ร

แต่หลวงปู่พรหมท่านเป็นบุคคลที่น่าสรรเสริญ ท่านเป็นผู้มีสติปัญญาใน
ทางธรรม รู้แจ้งในหลกั ธรรมเหลา่ นี้ ท่านจงึ เลอื กคณุ ธรรมในขอ้ ที่ ๓-๔ ดงั นี้

๓. ปรจิ จาคะ บคุ คลทม่ี กี ารบรจิ าคทรพั ยส์ มบตั ขิ องตนใหเ้ ปน็ ประโยชนแ์ กค่ นอน่ื
ไดแ้ ก่ ไม่มีความตระหนเี่ หนียวแนน่ มีความยนิ ดีมงั่ คง่ั สมบรู ณด์ ้วยทรพั ย์สมบตั ิ

๔. เวยยาวัจจะ บคุ คลท่มี ีการช่วยขวนขวายในกจิ อันชอบ คอื ช่วยขวนขวาย
ในการบุญการกุศลของคนอื่นให้มาร่วมบุญกุศล กรรมดีน้ันบันดาลให้เป็นบุคคล
ท่ีสมบรู ณด์ ้วยญาติมิตรสหาย ท้งั ข้าทาสบริวารก็มากมาย

นอกจากการกระทำ� ภายนอกของหลวงปพู่ รหมเปน็ ทปี่ ระจกั ษน์ แ้ี ลว้ สว่ นภายใน
จิตใจของท่านยงั มกี ารกระทำ� ยงั มีจิตใจท่ตี ั้งมนั่ อยา่ งแนว่ แนไ่ มเ่ ปลย่ี นใจคือ

๑. มคี วามเช่อื ในพระตถาคตตงั้ มน่ั ไม่คลอนแคลนไม่สงสยั
๒. มีศีลเป็นศีลทีง่ ดงาม เป็นศีลที่พระอรยิ เจ้าพอใจสรรเสรญิ
๓. มคี วามเลอ่ื มใสในพระสงฆ์ ผ้ปู ฏบิ ตั ดิ ปี ฏบิ ตั ติ รงต่อคำ� สง่ั สอน
๔. มคี วามเหน็ ท่เี ทยี่ งตรง คือเหน็ ถูกตอ้ งตามทำ� นองคลองธรรม

8

เมื่อบุคคลท้ังปวง บัณฑิตท้ังหลายได้กระท�ำให้มีขึ้นแล้ว ท่านเรียกผู้น้ันว่า
เป็นผู้ไม่ยากจน ชวี ิตของผู้นั้นไม่มโี มฆะ ไมเ่ ปล่าจากสารประโยชน์ เปน็ สมบัตขิ อง
ผูม้ ปี ัญญาธรรมโดยแท้

หลวงปู่พรหมเมื่อได้ท�ำการบริจาคทานอันเป็นวัตถุข้าวของเงินทองท่ีมีอยู่
ของท่านจนหมดส้ินแล้ว ท่านก็มิได้อยู่รอช้า เม่ือบอกลาญาติท้ังหลายตลอดถึง
เพอ่ื นฝงู เพอ่ื นบา้ นทกุ คนแลว้ กไ็ ดเ้ ตรยี มตวั ออกเดนิ ทางไปยงั จดุ หมายปลายทาง คอื
วดั โพธสิ มภรณ์ อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั อดุ รธานี เพอ่ื อทุ ศิ ตนถวายชวี ติ แกพ่ ระพทุ ธศาสนา
ปรากฏว่าได้มีน้องชาย น้องสาว และน้องเขยของท่าน ติดตามออกบวชด้วย
เชน่ เดียวกนั

พ.ศ. ๒๔๖๙ ปีเถาะ (โดยประมาณ) เปน็ ปที ี่ทา่ นอุปสมบท เม่ือนบั อายปุ เี กิด
ของทา่ นแลว้ จะตอ้ งเปน็ ปนี แี้ นน่ อนทท่ี า่ นบวช อายขุ องทา่ นได้ ๓๗ ปเี ตม็ โดยมที า่ น
เจ้าคณุ พระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล) สมยั นั้นมีสมณศกั ด์ิเป็นพระครชู ิโนวาทธำ� รง
เป็นพระอุปัชฌาย์ ท่านพระครูประสาทคุณานุกิจ เป็นพระกรรมวาจาจารย์ ได้รับ
ฉายาว่า “จริ ปุญฺโ”

9

การจาริกตา่ งจงั หวดั เพอ่ื แสวงหาวิเวก

เมอื่ ทา่ นไดบ้ รรพชาอปุ สมบทแลว้ ไดเ้ ทยี่ วไปกบั ทา่ นอาจารยส์ ารในเขตจงั หวดั
อบุ ลราชธานี ซงึ่ เดนิ ทางดว้ ยเทา้ เปลา่ ตลอด ไมม่ สี งิ่ อำ� นวยความสะดวกเหมอื นอยา่ ง
ทกุ วนั นี้ จ�ำพรรษาในทต่ี ่างๆ ๓ พรรษา แลว้ ไดล้ าพระอาจารย์กลบั ภมู ลิ ำ� เนาเดมิ
พกั อยทู่ ว่ี ดั ผดงุ ธรรม บา้ นดงเยน็ (วดั ใน) เดยี๋ วนี้ ไดพ้ รอ้ มกบั ชาวบา้ นสรา้ งหอไตรขนึ้
๑ หลงั เพือ่ เปน็ ท่ีเก็บรักษาบรรดาหนงั สอื พระคัมภีรต์ า่ งๆ ไว้ให้เปน็ ท่ปี ลอดภัย

ทา่ นอาจารยพ์ รหมไดเ้ ลา่ ตอ่ ไปใหส้ านศุ ษิ ยฟ์ งั วา่ เมอื่ อปุ สมบทได้ ๓ พรรษาแลว้
จติ กห็ วนกลบั อยากไปสฆู่ ราวาสอกี ในตอนนที้ า่ นไดต้ อ่ ส้กู บั มารกเิ ลสฝา่ ยต่�ำจนเตม็
สตกิ ำ� ลงั ดว้ ยการใชค้ วามเพยี รพยายามอดทนเตม็ ที่ มกี ารทำ� สมาธภิ าวนาและเดนิ จงกรม
เป็นตน้ จนในทส่ี ดุ ท่านกลบั เป็นฝ่ายชนะ

ศษิ ยพ์ ระอาจารยม์ น่ั เกอื บทกุ องค์นน่ั แหละ ทา่ นเอาธรรมะเขา้ ต่อส้อู อกจากภยั
อนั รา้ ยแรงได้ เรอ่ื งกเิ ลสมารทบั จติ ใจน้ี หลวงปพู่ รหม จริ ปญุ โฺ  ทา่ นกเ็ คยถกู กระแส
กิเลสน้ีพัดกระหน�่ำอย่างรุนแรงเช่นเดียวกัน เร่ืองนี้ท่านเคยเล่าให้ลูกศิษย์ลูกหาฟัง
อนั เปน็ อบุ ายธรรมปฏบิ ตั วิ า่ ...ภายหลงั จากทที่ า่ นไดบ้ วชเปน็ พระแลว้ ๓ พรรษา กเ็ กดิ
มคี วามรูส้ ึก (กิเลสภายใน) อยา่ งรุนแรง คิดอยากจะสกึ ออกมาเป็นฆราวาสวสิ ยั อกี
...ทำ� อยา่ งไรๆ กไ็ มห่ ายทจี่ ะนกึ คดิ ตอ้ งเรง่ พยายามสู้ ความคดิ ภายในนน้ั มนั เปน็ กเิ ลส
มารตวั ร้าย สูก้ ันอย่างหนกั

10

อาวธุ ทเ่ี ขา้ ตอ่ สนู้ นั้ ทา่ นไดท้ ำ� สมาธิ เดนิ จงกรม และดว้ ยวธิ ตี า่ งๆ นานา นำ� มาใช้
เปน็ อบุ ายขจดั ขบั ไลอ่ อกไป และดว้ ยความตง้ั ใจจรงิ ของทา่ นนเ้ี อง ในทส่ี ดุ ทา่ นสามารถ
เอาชนะอารมณจ์ ิตท่ีคิดจะสกึ นนั้ ได้ เพราะว่าท่านคดิ อยเู่ สมอว่า... ในชีวิตของท่าน
ไม่เคยแพ้ใคร ท่านไม่เคยท�ำสิ่งใดล้มเหลว แล้วท่านจะมาแพ้ใจตนเองได้อย่างไร
ทา่ นกไ็ ดต้ ดั สนิ ใจมงุ่ หนา้ มาถงึ ขนาดนแี้ ลว้ ทา่ นจะตอ้ งเดนิ ตอ่ ไปจนถงึ ทส่ี ดุ แมจ้ ะตอ้ ง
ฟนั ฝา่ กบั ภยั อนั ตรายใดๆ ทยี่ งิ่ ใหญใ่ นโลกนก้ี ต็ าม ในทส่ี ดุ ทา่ นหลวงปพู่ รหม จริ ปญุ โฺ 
ก็สามารถด�ำเนินเดินตามรอยพระบาทของพระผู้มีพระภาคเจ้าอันเป็นจุดหมาย
ปลายทางของทา่ นไดส้ �ำเร็จ ควา้ ชัยชนะจากคตู่ อ่ ส้คู ือกิเลสมารได้

หลังจากหลวงปู่พรหม จิรปุญฺโ ท่านได้รับธรรมะจากท่านพระอาจารย์สาร
ซงึ่ เปน็ พระอาจารยอ์ งคแ์ รกของทา่ น พอทจี่ ะนำ� ขอ้ วตั รนนั้ ไปปฏบิ ตั แิ กต่ นเองบา้ งแลว้
ท่านจึงได้กราบลาออกเดินธุดงค์แสวงหาวิโมกขธรรมต่อไป ในการออกเดินธุดงค์
หลวงปูพ่ รหม จิรปญุ โฺ  ทา่ นไดน้ ำ� หลานชายคนหนง่ึ ชือ่ “บุญธาตุ” ซ่งึ อายุยงั นอ้ ย
และยังไม่ได้เข้าโรงเรียนไปด้วย ท่านออกธุดงค์จากประเทศไทยเดินบุกป่าฝ่าดง
มงุ่ ไปยงั นครหลวงพระบาง ประเทศลาว การเดนิ ทางไปมคี วามลำ� บากมาก ตอ้ งบกุ ปา่
ฝา่ ดงไปเรอื่ ยจนกวา่ จะถงึ หมบู่ า้ น จงึ จะแขวนกลดเขา้ พกั ผอ่ น เมอ่ื จดั ทใี่ หห้ ลานชาย
นอนจนหลับไปแลว้ ทา่ นกน็ ง่ั บ�ำเพญ็ เพียรภาวนา เดนิ จงกรม รักษาจิต ขจดั กิเลส
ภายในออกจากจติ ใจดว้ ยจติ ใจทเี่ ดด็ เดยี่ วมนั่ คงตอ่ ธรรมคำ� สง่ั สอนของพระพทุ ธเจา้
และครูบาอาจารย์ ท่านได้สละทุ่มเทลงไปเพื่อได้มาซ่ึงธรรมความเป็นจริงให้จงได้
พอรุ่งเชา้ ก็ออกเดินธุดงค์ตอ่ ไป โดยมีหลานชายเลก็ ๆ เดินตามหลังทา่ น บุกป่าฝ่าดง
ปนี ภเู ขาลกู แลว้ ลกู เลา่ บางคราวกเ็ ดนิ เลยี บไปตามชายฝง่ั ของแมน่ ำ�้ โขง เพราะหนทาง
ลำ� บากเปน็ ไปดว้ ยความแรน้ แคน้ บางวนั กพ็ บหมบู่ า้ นพอเปน็ ทโ่ี คจรบณิ ฑบาตประทงั
ความหิวโหยไปวนั หนง่ึ ๆ แตบ่ างวันก็ไมพ่ บหมู่บา้ นและใครๆ เลย อาหารการขบฉัน
และท่หี ลานชายจะกินกไ็ มม่ ี หลานชายก็ร้องไหเ้ พราะทนความหิวไมไ่ หว มเี พียงน้�ำ
พอประทงั ความหิวโหยไปได้เท่านน้ั

ขณะนั้น หลวงปู่พรหม จิรปุญฺโ ท่านยังไม่พบกับหลวงปู่ม่ัน ภูริทตฺโต
พระบรู พาจารยใ์ หญแ่ หง่ ยคุ ทา่ นไดเ้ ลา่ ประสบการณต์ อนเดนิ ธดุ งคก์ รรมฐานสมยั แรกๆ

11

ในประเทศลาวไวด้ งั นว้ี า่ ...ปฏบิ ตั ธิ รรมเพอื่ เอาความดนี น้ั จะตอ้ งอดทน มคี วามพยายาม
อยา่ งสงู สดุ จงึ จะไดม้ าซง่ึ คณุ งามความดี การเดนิ ปา่ หาธรรมะ ตอ้ งตอ่ สทู้ กุ สง่ิ ทกุ อยา่ ง
ที่มนั เกิดขึ้นมา บางวนั ก็ต้องหอบห้ิวสมั ภาระทง้ั หมดนี้ เช่น บาตร กลด กานำ�้ และ
ยังตอ้ งอมุ้ หลานชายไปด้วย ทัง้ นีเ้ พอ่ื จะไดเ้ ดนิ ทางได้เรว็ ทำ� อยู่อย่างน้ีตลอดวนั

แม้วา่ การเดินธดุ งค์จะเต็มไปดว้ ยความทกุ ขย์ ากตลอดทาง แตจ่ ิตใจนน้ั ไม่เคย
ยอมพา่ ยแพแ้ กอ่ ปุ สรรค หลวงปพู่ รหม จริ ปญุ โฺ  ทา่ นเดนิ บา้ งพกั บา้ ง สมั ภาระเตม็ หลงั
และยงั มหี ลานชายอกี คนหนง่ึ ทท่ี า่ นตอ้ งอมุ้ ไวก้ บั อก การเดนิ ธดุ งคข์ องหลวงปพู่ รหม
จริ ปญุ โฺ  ไดม้ าสน้ิ สดุ ลงเมอื่ มาถงึ จดุ หมายปลายทาง คอื นครหลวงพระบาง ประเทศลาว
จากนน้ั ท่านไดอ้ ยพู่ กั เหน่ือยเปน็ เวลาหลายวนั

แตข่ ณะทอ่ี ยพู่ กั ยังนครหลวงพระบางนัน้ ทา่ นเกดิ ล้มป่วย วิบากขันธข์ องท่าน
สร้างความเจบ็ ปวดทรมานจิตใจอย่างรนุ แรง ดงั ทีท่ ่านไดเ้ ลา่ ดังตอ่ ไปนี้ ...เมอ่ื ไปถงึ
ก็เกิดเจ็บป่วยด้วยโรคท้อง (กระเพาะอาหารเป็นพิษ) จนต้องเข้ารับการรักษาที่
โรงพยาบาล รักษาไปนานวันก็ไม่หายจึงต้องออกจากโรงพยาบาลเสีย ต่อมาก็ได้
เขา้ ไปใหพ้ ระภกิ ษรุ ปู หนงึ่ ชอ่ื อาจารยก์ ง้ เปน็ หมอพระอยใู่ นละแวกนน้ั รกั ษา แตอ่ าการ
เจบ็ ปว่ ยกไ็ มท่ เุ ลาลงเลย จงึ คดิ ตดั สนิ ใจวา่ “ตอ่ ไปนเ้ี ราจะไมร่ กั ษาดว้ ยยาอกี จะไมฉ่ นั
ยาขนานใดๆ อกี ตอ่ ไป ถา้ จะเกดิ ลม้ ตายลงไปกถ็ อื เปน็ กรรมเกา่ ของเรา แตถ่ า้ หากเรา
ยังพอจะมีบุญอยู่บ้าง ก็คงจะหายไปเป็นปกติได้” ภายหลังจากท่านตัดสินใจแล้ว
ท่านก็ได้ยตุ ิการใชย้ าหรือฉนั ยารกั ษาโรคทนั ที หนั มาใช้วิธี “รกั ษาดว้ ยธรรมโอสถ”
ทา่ นเจรญิ สมาธฝิ กึ จติ ใจใหเ้ ขม้ แขง็ พจิ ารณาธาตขุ นั ธแ์ ลว้ เพง่ เพยี รรกั ษาดว้ ยอารมณ์
จติ ใจทเี่ ปน็ สมาธทิ รงคณุ ธรรมไวเ้ ฉพาะหนา้ บญุ ญาบารมเี ปน็ เครอ่ื งนำ� หนนุ มวี าสนา
เปน็ ยารกั ษาโรคใหห้ ายจากอาการเจบ็ ปวดทรมาน ซง่ึ ตอ่ มาทา่ นกค็ อ่ ยๆ หายจากอาการ
อาพาธและไดเ้ ดนิ ธดุ งคก์ ลบั มาประเทศไทย นำ� หลานชายมาคนื ใหพ้ อ่ แมข่ องเขาตอ่ ไป

หลวงปู่พรหม จริ ปุญฺโ ทา่ นเปน็ พระภกิ ษสุ งฆ์ท่ีไม่ชอบอยู่กบั ที่ ท่านมคี วาม
มุ่งหมายท่ีจะเดินธุดงค์ใช้ชีวิตอยู่ท่ามกลางป่าดงพงไพรเสียเป็นส่วนใหญ่ ดังน้ัน
เมอื่ ทา่ นกลบั มาถงึ ประเทศไทยแลว้ ทา่ นกไ็ ดอ้ อกเดนิ ธดุ งคกรรมฐานไปทางภาคเหนอื

12

แต่การออกเดินธดุ งค์เพ่ือแสวงวิโมกขธรรมในคราวนี้ ท่านมีพระสหธรรมิกร่วมทาง
ไปดว้ ยองคห์ นึ่ง คอื หลวงปูช่ อบ €านสโม ผู้เปน็ พระเถระผู้อาวโุ สอีกองคห์ นึ่งใน
ปจั จุบนั น้ี

หลวงปพู่ รหม จริ ปญุ โฺ  และหลวงปชู่ อบ €านสโม ทา่ นพระอาจารยท์ งั้ สององคน์ ี้
ตา่ งกเ็ ปน็ เพชรนำ้� เอกเปน็ หวั แหวนอนั ลำ้� คา่ ดว้ ยกนั เมอ่ื ไดโ้ คจรไปในทอี่ นั วเิ วกดว้ ยกนั
ยอ่ มเปน็ ทนี่ า่ สนใจแกป่ ระชาชนในยคุ นนั้ เปน็ อนั มาก ทา่ นไดอ้ อกเดนิ ธดุ งคผ์ า่ นปา่ เขา
ลำ� เนาไพรไปตลอดสายภาคเหนอื แลว้ เขา้ เขตประเทศพมา่ ดว้ ยนสิ ยั เดด็ เดย่ี วอาจหาญ
การเดินธุดงคกรรมฐานของท่านนี้ ท่านไม่พะวงที่อยู่อาศัย ค�่ำไหนก็พักบ�ำเพ็ญ
สมณธรรม สวา่ งแล้วออกเดนิ ธุดงคต์ อ่ ไป จิตใจของทา่ นนั้นมีแตธ่ รรมะ อาหารการ
ขบฉนั กเ็ ป็นไปในลักษณะมกี ็กนิ ไม่มีก็อด ยอมทนเอา ไม่มีการเรียกร้อง ไม่มีการ
สงสารตนเองทเ่ี กดิ ทกุ ขเวทนา เพราะการเดนิ ธดุ งคก์ เ็ พอ่ื ขจดั กเิ ลสภายในใหห้ มดไป
ส้ินไป หลวงปู่พรหมและหลวงปู่ชอบ ท่านมีความตั้งใจในข้อวัตรปฏิบัติธรรมมาก
ท่านมีความแกล้วกล้าชนิดถึงไหนถึงกัน ท่านได้ผ่านเมืองต่างๆ ในประเทศพม่า
จนสามารถพูดภาษาพม่าได้คล่องแคลว่ โดยเฉพาะหลวงปูช่ อบ ท่านพูดภาษาพม่า
ไดค้ ลอ่ งเหมือนเป็นภาษาของท่านเอง

ในระหว่างการเดินทางธุดงคกรรมฐานของท่านน้ี หลวงปู่พรหม จิรปุญฺโ
และหลวงป่ชู อบ €านสโม ได้พักบำ� เพญ็ ธรรมอย่ใู กล้ๆ กบั หมูบ่ ้าน ครน้ั พอรงุ่ เช้า
ท่านก็ออกบิณฑบาตได้อาหารมาพอประมาณ ขณะเดินกลับจากบิณฑบาตนั้น
หลวงปู่พรหมท่านได้ผ่านบริเวณวัดรา้ งแหง่ หนึ่ง ซ่ึงมีพระพุทธรูปเก่าๆ แตกหักพัง
ตกเกล่ือนเต็มไปหมด ทา่ นจงึ นง่ั ลงแลว้ ถวายการสักการะนมัสการ แต่ภายในจิตใจ
ของทา่ นนนั้ ไดร้ ำ� พงึ ขน้ึ วา่ “พระพทุ ธรปู เหลา่ นไ้ี มม่ ใี ครเหลยี วแลและซอ่ มแซมกนั เลย
ทงิ้ ระเกะระกะอยเู่ ตม็ ไปหมด พระพทุ ธรปู เหลา่ นส้ี น้ิ ความศกั ดสิ์ ทิ ธแ์ิ ลว้ ละหรอื อยา่ งไร”
ขณะที่หลวงปู่พรหมท่านก�ำลังร�ำพึงในใจอยู่น้ัน ก็เกิดความอัศจรรย์ข้ึน แผ่นดิน
สะเทือนเล่ือนล่ัน กระด่ิงเก่าๆ ที่แขวนอยู่ชายโบสถ์หลังเก่านั้นถูกแรงสะเทือนดัง
เกรียวกราวข้ึน จนหลวงปู่พรหมต้องเข้ายึดเสาศาลาไว้เพราะกลัวแผ่นดินจะถล่ม

13

หลวงปู่ท่านได้ก�ำหนดรู้ด้วยวาระจิต และเห็นเป็นประจักษ์แก่ตัวของท่านเองว่า
“ความอัศจรรย์คร้ังน้ีมิใช่แผ่นดินไหวแน่ แต่เป็นด้วยพุทธานุภาพของพระพุทธรูป
ทหี่ กั พงั เหลา่ นน้ั ทา่ นแสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความศกั ดส์ิ ทิ ธเ์ิ หลา่ นน้ั มจี รงิ ๆ ไมค่ วรประมาท
ในส่ิงเหล่าน้ี เพราะเป็นวัตถุบูชาช้ันสูง ย่อมมีเทวดาปกปักรักษาอยู่เสมอ” เม่ือ
หลวงปู่พรหม จิรปญุ โฺ  ทา่ นเห็นเหตกุ ารณอ์ นั นา่ อัศจรรย์น้แี ล้ว บงั เกดิ ปีตขิ นพอง
สยองเกลา้ ทา่ นจงึ นงั่ ลงกราบขอขมาลาโทษตอ่ พระพทุ ธรปู เหลา่ นนั้ บดั นหี้ ลวงปพู่ รหม
มคี วามเชอ่ื มน่ั ในพทุ ธานภุ าพขององคส์ มเดจ็ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ เปน็ ทย่ี ง่ิ ทา่ นมคี วาม
มานะพยายามท่จี ะบำ� เพ็ญธรรมข้นั สงู ตอ่ ไปโดยไมห่ ยดุ ย้ัง

หลวงปพู่ รหม จริ ปญุ โฺ  ท่านเปน็ พระผปู้ ฏบิ ัตดิ ี ปฏบิ ัติชอบ และเป็นพระทมี่ ี
นิสัยแก่กล้า พยายามฟันฝ่ากับอุปสรรคท้ังปวงเพ่ือจะขอเอาดวงจิตอันเป็นสมบัติ
ดวงเดยี วของทา่ นพน้ ทุกข์ให้ได้ ก่อนที่ทา่ นจะบวชเข้ามาดำ� เนนิ จติ ออกจากทุกขน์ ้นั
ทา่ นมคี วามตงั้ ใจและเคยปรารภในใจอยทู่ กุ เชา้ -คำ่� วา่ “ทำ� อยา่ งไรหนอ ชวี ติ ของเราน้ี
จะไดพ้ บกบั ความสขุ ทแ่ี ทจ้ รงิ ” ความตง้ั ใจของทา่ นนเ้ี องสามารถนำ� มาเปน็ หลกั ประกนั
ปฏปิ ทาขอ้ วตั รอันบริสุทธใิ์ นเพศพรหมจรรย์

ขณะท่ีอยูป่ ฏบิ ตั ิธรรมกับพระอาจารย์สาร ซึ่งเปน็ ศิษยอ์ งค์หนง่ึ ของหลวงปมู่ ั่น
ภูริทตฺโต น้ัน บ่อยครั้งท่ีท่านพระอาจารย์สารได้เอ่ยปากยกย่องพรรณนาคุณของ
หลวงปู่ม่ันให้หลวงปู่พรหมได้ยิน หลวงปู่พรหมท่านก็มุ่งต่อหลวงปู่มั่นเพ่ือเป็นที่
ฝากเปน็ ฝากตายในชวี ติ แหง่ เพศสมณะ แตก่ อ่ นไดพ้ บหลวงปมู่ นั่ ทา่ นรำ� พงึ กบั ตนเอง
เสมอวา่ กอ่ นทจ่ี ะเขา้ นมสั การพระอาจารยม์ น่ั ผเู้ ลศิ ดว้ ยสตปิ ญั ญานน้ั จำ� เปน็ ทที่ า่ นจะ
ต้องฝกึ ฝนตนเองใหแ้ ขง็ แกร่งแกก่ ล้าเสยี ก่อน เมื่อไดพ้ บได้รับอุบายธรรมใดๆ กจ็ ะ
ไดท้ มุ่ เทกายใจประพฤตปิ ฏบิ ตั ธิ รรม โดยขอเปน็ ชาตสิ ดุ ทา้ ย แมว้ า่ มวี าสนาบารมแี ลว้
ก็คงจะสมหวังดังต้ังใจไว้แน่นอน นอกจากหลวงปู่พรหมจะเป็นผู้มีความอาจหาญ
มั่นคงแล้ว ท่านยังเป็นผู้ปฏิบัติธรรมที่มีสติปัญญาหยั่งรู้ในเหตุการณ์ท่ีมาเกี่ยวข้อง
จนสามารถเอาตัวรอดปลอดภัยได้

14

ความจรงิ แลว้ หลวงปพู่ รหม จริ ปญุ โฺ  ทา่ นมใี จกบั ธรรมะเปน็ เครอื่ งหลอ่ เลยี้ ง
ใหเ้ กดิ ความอบอนุ่ และเยอื กเยน็ ตลอดมา ทา่ นไดส้ ละแลว้ จนหมดสนิ้ ยอมอดยอมทน
ต่อความยากล�ำบากหิวโหยได้อย่างสบาย ก็เพราะท่านมีธรรมะเป็นอารมณ์ของจิต
เมอ่ื หลวงปพู่ รหมทา่ นปลอ่ ยขนั ธไ์ ปสนิ้ แลว้ ความจรงิ กป็ รากฏวา่ “ปรมํ สขุ ”ํ ทา่ นหมด
ความรับผิดชอบโดยส้นิ เชิง

สมัยท่ีหลวงปพู่ รหม จิรปญุ โฺ  ทา่ นเดินธดุ งค์แสวงหาความวเิ วกทางใจอย่ใู น
ดนิ แดนประเทศพมา่ ทา่ นผา่ นจงั หวดั ตา่ งๆ มากมายหลายแหง่ ในวนั หนงึ่ ขณะทที่ า่ น
เขา้ ทเ่ี จรญิ สมณธรรม เม่ือจิตสงบดีแล้ว กป็ รากฏนมิ ิตหมายอันสำ� คญั ขน้ึ ว่า ไดม้ ี
พระภิกษุสงฆ์องค์หน่ึงมาปรากฏกายยืนอยู่ต่อหน้าของท่าน พระภิกษุสงฆ์องค์น้ัน
มีรัศมีกายสีฟ้าและมีแสงที่สวยสดงดงามตาระยิบระยับไปทั่วบริเวณน้ัน ครั้นแล้ว
พระภกิ ษสุ งฆผ์ งู้ ดงามไดเ้ อย่ ขนึ้ กบั ทา่ นวา่ “เราคอื พระอปุ คตุ เธอเคยเปน็ ศษิ ยข์ องเรา
เธอมนี สิ ยั แกก่ ลา้ เอาใหพ้ น้ ทกุ ขน์ ะ” ตอ่ จากนนั้ ภาพของพระภกิ ษสุ งฆน์ น้ั กค็ อ่ ยหายไป
ด้วยเหตุการณ์ครั้งน้ี ท�ำให้หลวงปู่พรหมมีก�ำลังใจที่จะปฏิบัติต่อไปอีกมากมาย
ดงั นน้ั หลวงปพู่ รหมจงึ มงุ่ ปฏบิ ตั ธิ รรมตามเสดจ็ พระพทุ ธเจา้ และพระสาวกเจา้ ทงั้ หลาย
ใหท้ นั ในชาตนิ ี้

หลวงปพู่ รหม จริ ปญุ โฺ  ทา่ นธดุ งคม์ าถงึ ถำ้� อกี แหง่ หนงึ่ อนั เปน็ สถานทส่ี งบระงบั
เหมาะแกก่ ารเจรญิ ภาวนา ถำ�้ นชี้ อ่ื วา่ ถำ�้ นาปู เปน็ บรเิ วณปา่ ไมแ้ ละมสี ตั วป์ า่ อาศยั อยมู่ าก
ชนดิ ดว้ ยกนั มบี า้ นของชาวพมา่ อยู่ ๔ หลงั หลวงปพู่ รหมไดอ้ าศยั บณิ ฑบาตไดอ้ าหาร
มาพอประทงั ตามสมควร นบั ไดว้ า่ มบี ญุ วาสนาตอ่ กนั มากในสมยั นนั้ ไมป่ รากฏชดั วา่
หลวงปไู่ ดอ้ ยบู่ ำ� เพญ็ ธรรม ณ ถำ้� นาปแู หง่ นนี้ านสกั เทา่ ใด แตม่ คี ำ� บอกเลา่ กนั ตอ่ ๆ มาวา่
หลวงปพู่ รหมไดเ้ รง่ ทำ� ความเพยี รอยา่ งชนดิ ทมุ่ เทจติ ใจกนั เลยทเี ดยี ว และการปฏบิ ตั ิ
ธรรมของท่านน้ัน ท�ำจิตใจเลื่อนสู่ภูมิธรรมข้ันละเอียดอ่อน ซึ่งยากท่ีจะอธิบายได้
ณ ท่นี ี้

การปฏบิ ตั ธิ รรมของหลวงปพู่ รหม จริ ปญุ โฺ  ในเขตประเทศพมา่ เมอ่ื ทา่ นเหน็
เปน็ กาลอนั สมควรแล้ว ท่านได้ออกเดนิ ธดุ งคม์ ุ่งมาทางจังหวดั เชียงใหม่ เพอ่ื ด�ำเนนิ

15

ตามเปา้ หมายอนั สำ� คญั แหง่ ชวี ติ คอื จะตอ้ งไปพบกบั หลวงปมู่ นั่ ใหไ้ ด้ ไมว่ า่ ทา่ นจะอยู่
แหง่ หนตำ� บลใดกต็ าม จะตดิ ตามใหจ้ นพบ เพอื่ ขอนมสั การและอยปู่ ฏบิ ตั ธิ รรมกบั ทา่ น
ในท่สี ุดกไ็ ดพ้ บหลวงปู่มน่ั จอมปราชญใ์ นทางธรรม อย่างสมใจ

การเขา้ นมสั การหลวงปมู่ น่ั ในครงั้ แรกพบนน้ั ศษิ ยผ์ เู้ คยไดอ้ ยปู่ ฏบิ ตั ธิ รรมกบั ทา่ น
ได้เลา่ ความในใจท่ีสืบทอดต่อๆ กันมา พอเป็นอบุ ายให้มกี ารสำ� รวมใจขณะเข้าพบ
ครบู าอาจารยว์ า่ ขณะทห่ี ลวงปพู่ รหมมองเหน็ หลวงปมู่ น่ั เปน็ ครง้ั แรก ทา่ นกน็ กึ ประมาท
อยใู่ นใจวา่ “พระองคเ์ ลก็ ๆ อยา่ งนนี้ ะ่ หรอื ทผ่ี คู้ นเขา้ รำ่� ลอื วา่ เกง่ นกั ดแู ลว้ ไมน่ า่ จะเกง่ กาจ
อะไรเลย” ทา่ นเพยี งแตน่ กึ อยใู่ นใจของทา่ นเทา่ นน้ั ครน้ั พอสบโอกาส หลวงปพู่ รหม
ก็เข้านมัสการ ค�ำแรกทีห่ ลวงป่มู ่ันทา่ นกลา่ วขนึ้ ทา่ นถงึ กบั สะดุ้ง เพราะวา่ หลวงปมู่ ่นั
ท่านได้กล่าวท�ำนองท่ีว่า “การด่วนวินิจฉัยความสามารถของคนโดยมองดูแต่เพียง
รา่ งกายเทา่ นนั้ ไมไ่ ด้ จะเปน็ การตง้ั สตอิ ยใู่ นความประมาท” คำ� พดู ของหลวงปมู่ นั่ นเี้ อง
ทำ� ความอศั จรรยใ์ หเ้ กดิ ขนึ้ บงั เกดิ ศรทั ธาอยา่ งแรงกลา้ ทจ่ี ะตอ้ งใหค้ วามเคารพนบั ถอื
นเี้ พยี งแตน่ กึ คดิ ในใจอยเู่ ทา่ นน้ั หลวงปมู่ นั่ กส็ ามารถทายใจถกู เสยี แลว้ หลวงปพู่ รหม
ก็ได้ถวายตัวเปน็ ศิษยต์ งั้ แต่บดั น้ันเป็นตน้ มา

ภายหลงั จากไดอ้ ยปู่ ฏบิ ตั ธิ รรมกบั หลวงปมู่ น่ั แลว้ หลวงปพู่ รหม จริ ปญุ โฺ  ทา่ นได้
สละกำ� ลงั กายและกำ� ลงั ใจทมุ่ เทใหแ้ กก่ ารประพฤตธิ รรมอยา่ งหมดชวี ติ จติ ใจ ดเู หมอื น
วา่ เวลาแห่งการพกั ผอ่ นน้อยมาก นอกจากเวลาแหง่ การปฏบิ ัตธิ รรมเทา่ นน้ั ท่านได้
กำ� หนดจดจ�ำเรยี นรูก้ ฎปฏบิ ตั ิปฏปิ ทาขอ้ วตั รของพระฝา่ ยธุดงคกรรมฐานในสายของ
หลวงปมู่ นั่ ภรู ทิ ตโฺ ต เรมิ่ ตง้ั แตเ่ ทย่ี วบณิ ฑบาตเปน็ วตั ร ครองผา้ สามผนื เปน็ วตั ร เทยี่ ว
ไปตามภเู ขา ถำ้� ปา่ ชา้ โคนไมเ้ ปน็ วตั ร อนั เปน็ สงิ่ ทค่ี ณะศษิ ยท์ ง้ั ปวงกระทำ� อยเู่ ปน็ นจิ

ในปี พ.ศ. ๒๔๘๐ ทา่ นอาจารยพ์ รหมไดอ้ ยกู่ บั ทา่ นอาจารยข์ าว ทวี่ ดั ดอยจอมแจง้
อ�ำเภอแมส่ าย จังหวดั เชียงราย มีหมคู่ ณะอยูด่ ว้ ยกนั ๖ รปู คอื

๑. ทา่ นอาจารยใ์ หญ่ม่ัน ภรู ิทตั ตมหาเถระ
๒. ท่านอาจารย์พรหม จริ ปุญฺโ

16

๓. ทา่ นอาจารยข์ าว อนาลโย
๔. ท่านอาจารย์นู
๕. ท่านอาจารย์ค�ำ
๖. ท่านพระมหาทองสุข สจุ ิตฺโต (พระครอู ดุ มธรรมคณุ )

ในขณะนน้ั ท่านอาจารยข์ าว ได้ ๑๓ พรรษา ท่านอาจารย์พรหมกค็ งมีพรรษา
ไล่เลี่ยกัน ในพรรษานี้ท่านได้ประกอบความเพียรมาก ถือเพียงอิริยาบถ ๓ คือ
ยนื เดิน และนัง่ ไมถ่ ืออริ ิยาบถนอนตลอดไตรมาสสามเดือน สว่ นมากทา่ นถือการ
เดนิ จงกรมเปน็ กจิ วัตรประจำ� วนั เม่อื ออกพรรษาแลว้ ก็ไดเ้ ที่ยวแยกย้ายกนั ไปวเิ วก
ในถนิ่ ตา่ งๆ สว่ นทา่ นอาจารยพ์ รหม จริ ปญุ โฺ  ไดไ้ ปทางเหนอื ถงึ เมอื งโตน่ เมอื งหาง
เขตแคว้นเมืองตุง ท่านได้พักท�ำความเพียรอยู่ที่ถ้�ำปุ้มเป้ ใกล้เขตเมืองนี้ ท่านได้
จำ� พรรษาอยถู่ ำ้� นห้ี นงึ่ พรรษา ไดบ้ ำ� เพญ็ สมณธรรมโดยสะดวกสบายดี ไมม่ กี ารตดิ ขดั
ในทางภาวนาบำ� เพญ็ จติ ใจ

ออกพรรษาแล้ว จึงไดเ้ ดนิ ทางกลับมาพบกับท่านอาจารยข์ าวอีก ท่บี ้านป่าแกง้
ต�ำบลโหล่งขอด อ�ำเภอพร้าว จังหวดั เชยี งใหม่ ได้สนทนาธรรมกันพอสมควรแล้ว
พระอาจารยพ์ รหมกไ็ ดก้ ลา่ วถอ้ ยคำ� ขนึ้ ดว้ ยความเบกิ บานในขณะนน้ั วา่ “ปญั ญาผทู้ ำ�
แสงสวา่ งไดเ้ กดิ ขนึ้ แลว้ จะไปในทศิ านทุ ศิ ใดๆ ไมม่ คี วามหวาดกลวั อกี แลว้ ” ในขณะนน้ั
ท่านได้ถามปรศิ นาปญั หากบั ท่านอาจารย์ขาววา่ “เมือ่ ครูบามรณภาพแลว้ ” จะไปอยู่
ทไ่ี หนนี้ เปน็ ปญั หาทแี่ กย้ ากสำ� หรบั ปถุ ชุ นทวั่ ไป” พระอาจารยข์ าวไดก้ ลา่ วตอบวอ่ งไว
ไมต่ ดิ ขดั และถกู ตอ้ งตามความเปน็ จรงิ แหง่ สจั ธรรมวา่ “อยทู่ ไ่ี หนกไ็ มอ่ ยู่ ไปขา้ งหนา้
ข้างหลังก็ไม่ไป ขึ้นบนก็ไม่ข้ึน ลงข้างล่างก็ไม่ลง ทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันตก
ทิศตะวันออก ก็ไม่ไป ดังนี้” เมื่อพระอาจารย์ขาวได้กล่าวแก้ปัญหานี้จบลงแล้ว
พระอาจารยพ์ รหมกก็ ลา่ วรบั รองวา่ “แนท่ เี ดยี ว” พระอาจารยพ์ รหมไดก้ ลา่ วตอ่ ไปอกี วา่
“เมอื่ ความจรงิ มอี ยดู่ งั น้ี ทำ� ไมครบู าจงึ คดิ ดดุ า่ ตวั ของตวั มากนกั ” ไดร้ บั คำ� ตอบวา่ “ดดุ า่
กด็ ดุ า่ แตล่ ำ� พงั ใจตวั เองเทา่ นนั้ ไมไ่ ดอ้ อกปากออกเสยี งใหก้ ระเทอื นใจผอู้ นื่ ถงึ คราว
เราชนะก็ข่มขี่มันไปอย่างน้ันละ” ตอนนี้แสดงให้เห็นว่าท่านอาจารย์พรหมคงล่วงรู้
ความนึกคดิ ภายในจิตใจของทา่ นอาจารย์ขาวไวเ้ ปน็ การลว่ งหน้าแน่นอนทีเดยี ว

17

อีกตอนหน่ึง ท่านอาจารย์ขาวได้ให้โยมน�ำพระพุทธรูปทองซ่ึงถูกพวกพาลชน
ทำ� ลายพระเศยี ร แขนขากไ็ มม่ ี ถกู ตดั ไปหมด ยงั เหลอื แตแ่ ทน่ กลางองคท์ ำ� เปน็ เกลยี ว
ตอ่ กนั ไว้ ทา่ นจะไปไหนกค็ ิดถงึ มไิ ด้วาย เมือ่ เอาลงจากดอยแลว้ ปรารภจะหาช่าง
มาตอ่ พระเศยี ร แขน ขา ใหเ้ ปน็ องคพ์ ระทสี่ มบรู ณข์ น้ึ มา โยมผมู้ ศี รทั ธารบั อาสาจดั หา
เครอื่ งอุปกรณ์ เชน่ เหลก็ ปนู ทรายมาให้ ยังขาดแตช่ า่ งผูส้ ามารถทำ� ได้ ยงั นึก
ไมเ่ ห็นใคร เห็นแตท่ า่ นอาจารยพ์ รหมเท่านนั้ พอจะมฝี ีมอื ท�ำได้บ้างกระมัง ขณะน้นั
ทา่ นอาจารย์พรหมพกั อยทู่ ่ีป่าเมย่ี ง อำ� เภอแม่สาย ท่านอาจารย์ขาวจงึ ไปหาทา่ นดว้ ย
ตนเอง เมอื่ ไปถงึ แลว้ ไดเ้ ลา่ เรอ่ื งราวใหท้ า่ นอาจารยพ์ รหมฟงั เสรจ็ แลว้ ไดถ้ ามตอ่ ไปวา่
“พอจะบูรณะซอ่ มแซมให้ดีขน้ึ ไดห้ รือไม่” ได้รบี ตอบในทนั ทวี ่า “ไมย่ าก ขอแตใ่ หม้ ี
เครอ่ื งอปุ กรณค์ อื ปนู ซเี มนตเ์ ทา่ นนั้ กท็ ำ� ได”้ จากนนั้ ทา่ นอาจารยท์ ง้ั สองกไ็ ดต้ ดิ ตามกนั
มาจนถงึ ตำ� บลโหลง่ ขอดทไ่ี ดเ้ อาพระพทุ ธรปู มาไวก้ อ่ นแลว้ พอมาถงึ ไดเ้ ครอื่ งอปุ กรณ์
เพยี งพอ ทา่ นก็ลงมือทำ� ทันทจี นเปน็ ท่เี รียบรอ้ ย สมควรแก่การกราบไหว้สกั การบชู า
ของพทุ ธศาสนกิ ชนท่วั ไป เม่อื ท�ำเสร็จแลว้ ทา่ นอาจารยพ์ รหมก็พิจารณาถึงมูลเหตุ
ท่ีเป็นมากไ็ ดท้ ราบทันทวี า่ “พระพุทธรปู องค์นี้ เมื่อเวลาท�ำหล่อแต่อดีตทีผ่ ่านพ้นมา
นานโนน้ พระอาจารยข์ าวไดเ้ ปน็ ชา่ งสบู ลมในเวลาหลอ่ ” พอทา่ นอาจารยเ์ ผยความจรงิ
ออกมาเช่นน้ี ทา่ นอาจารย์ขาวก็พดู รบั รองวา่ “เป็นความจริง เพราะผมจะไปทีไ่ หนๆ
กค็ ดิ ถงึ พระพทุ ธรปู องคน์ อี้ ยเู่ สมอ” เรอื่ งทเ่ี ลา่ มานี้ แสดงวา่ ทา่ นอาจารยพ์ รหมไดล้ ว่ งรู้
เหตกุ ารณใ์ นอดตี เปน็ อนั ดี ซง่ึ เปน็ การยากทคี่ นธรรมดาสามญั จะรไู้ ดอ้ ยา่ งนน้ั นอกจาก
เป็นการเดามากกว่า

ท่านอาจารย์พรหมได้พักอยู่จ�ำพรรษาท่ีต�ำบลโหล่งขอดน้ีหนึ่งพรรษา จากนั้น
ก็พักวิเวกจ�ำพรรษาแห่งละหน่ึงพรรษา คือ บ้านโป่ง ป่าเม่ียง และอ�ำเภอแม่สาย
แลว้ ทา่ นกไ็ ดก้ ลบั มาทางภาคอสี านถน่ิ เดมิ ทา่ นไดบ้ ำ� เพญ็ ประโยชนต์ นและประโยชน์
ใหแ้ ก่ผอู้ ่ืนสมบรู ณ์บรบิ ูรณ์ นับว่าเปน็ ผ้ทู หี่ าได้ยากยงิ่

หลายครั้งที่หลวงปู่พรหมและหลวงปู่ขาว ท่านได้ออกเดินธุดงค์เท่ียววิเวกไป
อยปู่ า่ เขาด้วยกัน ต่างก็ได้ม่งุ มนั่ ท่ีจะศึกษาธรรมปฏบิ ตั ิ ขจัดกเิ ลส ตัณหา อปุ าทาน

18

ออกจากจติ ใจดว้ ยกนั ทงั้ สน้ิ นบั ไดว้ า่ การทไี่ ดฝ้ กึ ฝนอบรมธรรมในภาคเหนอื น้ี ทา่ นได้
พบกบั พระสปุ ฏบิ ตั ผิ เู้ ปน็ คอู่ รรถคธู่ รรมโดยแทจ้ รงิ หลวงปพู่ รหมทา่ นไดถ้ อื ภาคแหง่
การปฏบิ ตั ธิ รรมหกั โหมขน้ั อกุ ฤษฏก์ ใ็ นปี พ.ศ. ๒๔๘๐ นเ้ี อง ครบู าอาจารยผ์ เู้ ปน็ ศษิ ย์
บอกเลา่ ตอ่ กนั มาดังน้ี

เมอ่ื หลวงปพู่ รหมทา่ นไดม้ าอยปู่ ฏบิ ตั ธิ รรมกบั หลวงปมู่ น่ั แลว้ ทา่ นถอื วา่ ตวั ของ
ทา่ นไดม้ าอยใู่ กลค้ รบู าอาจารยผ์ เู้ ลศิ แตกฉานในทางธรรม ดงั นนั้ หลวงปพู่ รหมทา่ นได้
เรง่ ทำ� ความเพยี รอยา่ งเตม็ ที่ คอื ทา่ นไดถ้ อื อริ ยิ าบถ ๓ ประการ ไดแ้ ก่ ยนื เดนิ นง่ั ตลอด
ไตรมาสท่านไม่ยอมนอนให้หลงั แตะพน้ื หรือพิงเลย โดยถอื คติธรรมของหลวงปมู่ น่ั
ว่า “ธรรมอย่ฟู ากตาย ถ้าไม่รอดตายก็ไมเ่ หน็ ธรรม” เพราะการเส่ียงต่อชีวติ จติ ใจ
อันเก่ียวกับความเป็นความตายนั้น ผู้มีจิตใจมุ่งมั่นต่ออรรถธรรมแดนหลุดพ้นเป็น
หลกั ยดึ ของพระผปู้ ฏบิ ตั พิ ระกรรมฐานจรงิ ๆ ฉะนนั้ อปุ สรรคตา่ งๆ ยอ่ มไดพ้ บอยเู่ สมอ
ดงั ครบู าอาจารยห์ ลายๆ องค์ ถา้ แมจ้ ติ ใจไมแ่ นว่ แนม่ นั่ คงจรงิ ๆ กจ็ ะทำ� ไมไ่ ด้ บางคราว
ผู้อดหลับอดนอนมากๆ สูญประสาทเสียจริตไปก็มี บ้างก็เดินชนต้นไม้ใบหญ้าให้
วนุ่ วาย หรอื ไมเ่ วลาออกบณิ ฑบาตเทยี่ วตะครบุ ผคู้ นกม็ เี พราะเดนิ หลบั ใน เกดิ อาการ
ตงึ เครยี ดไมส่ ามารถทรงสตติ นเองได้ อยา่ งไรกต็ าม ครบู าอาจารยท์ า่ นแนะนำ� ใหป้ ฏบิ ตั ิ
เพม่ิ สตกิ ำ� ลงั ใจใหแ้ กก่ ลา้ จรงิ ๆ จงึ จะทำ� ได้ เมอ่ื ถงึ คราวเรง่ ความเพยี รกย็ อ่ มจะไดพ้ บ
ความส�ำเรจ็ โดยไมย่ าก

ปฏปิ ทาของหลวงปพู่ รหมในเรอ่ื งน้ี สมยั แรกพบกบั หลวงปมู่ นั่ ใหมๆ่ ทา่ นกเ็ คย
คดิ ทำ� ความเพยี รเชน่ นเ้ี หมอื นกนั แตถ่ กู หลวงปมู่ น่ั ทา่ นหา้ มไวก้ อ่ น เพราะจะเปน็ การ
หกั โหมเกนิ กำ� ลงั โดยทา่ นแนะใหน้ งั่ สมาธฝิ กึ จติ เสยี กอ่ น ครงั้ เมอื่ กำ� ลงั จติ แกก่ ลา้ แลว้
ท่านมาเร่งท�ำความเพียรอย่างหนักหน่วง ผลประโยชน์จึงบังเกิดแก่หลวงปู่พรหม
ทา่ นสามารถสำ� เรจ็ ธรรมขนั้ สงู ในภาคเหนอื นเ้ี อง อนั ยงั ประโยชนอ์ นั ยงิ่ ใหญแ่ กต่ วั ทา่ น
และหมู่คณะเปน็ อันมาก

สมยั ท่หี ลวงป่พู รหม จิรปุญฺโ ทา่ นเทยี่ ววิเวกอยกู่ ลางปา่ เขา ท่านไดพ้ บกับ
สง่ิ แปลกๆ และอัศจรรยม์ ากมาย แตท่ ่านไม่สามารถเล่าใหล้ ะเอยี ดลงไปได้ ไมว่ า่

19

สถานท่ี เวลา ปีใดๆ ไม่สามารถก�ำหนดช้ีชดั ลงไปได้เลย นอกเสยี จากการประพฤติ
ปฏบิ ัตธิ รรมของท่านเท่านัน้ ท่านเดินธดุ งค์บกุ ป่าฝา่ ดงไปในทต่ี า่ งๆ ทั้งในประเทศ
และนอกประเทศ ทา่ นเดินตลอดวนั ตลอดคืนก็ไม่พบปะบา้ นชอ่ งเรอื นชานของผ้คู น
ในเวลาทตี่ อ้ งผจญทกุ ขเ์ ชน่ นี้ ทา่ นมแี ตค่ วามอดอยากทรมานเสยี มากกวา่ ความอม่ิ กาย
สบายใจ ท่านต้องทนยอมตอ่ ความหวิ โหยออ่ นเพลีย ท้งั นีเ้ พราะหลงทาง ทา่ นตอ้ ง
นอนคา้ งอย่กู ลางป่าเขา

เฉพาะการเดินธุดงค์ในช่วงออกไปทางประเทศพม่าเป็นความยากล�ำบากมาก
เมื่อคราวเดินวเิ วก เพราะทางทไ่ี ปน้นั มีแตส่ ตั วป์ า่ นานาชนิด เช่น พวกเสือและงพู ษิ
ท่ไี มย่ อมกลัวคน บางครงั้ ก็ตอ้ งปลงอนจิ จงั ตอ่ ความทุกขท์ ี่ตอ้ งทรมานสดุ แสนจะทน
และมีชีวิตสืบต่อไปวันข้างหน้า เมื่อนึกปลงในตัวเองแล้วก็ดูเหมือนกับว่าส่ิงต่างๆ
ในร่างกายภายในมนั จะหลดุ สดุ สนิ้ ลงไปพรอ้ มๆ กนั ลมหายใจกเ็ หมือนขาดตอนท่ี
ตอ่ เน่อื งกัน นเ่ี ป็นเครือ่ งถว่ งทรมานกายใจตอนนั้น แต่ในทีส่ ดุ มันก็พอทนอย่ตู อ่ ไป
ไดอ้ กี ตามเหตกุ ารณแ์ ละวนั เวลาผา่ นไป อยเู่ พอื่ ธรรมะ แมไ้ ปกย็ งั มธี รรมะคกู่ บั จติ ใจ
ไมเ่ อนอยี งหว่นั ไหวเลย

หลวงปพู่ รหม จริ ปญุ โฺ  ทา่ นเปน็ พระผปู้ ฏบิ ตั ดิ ปี ฏบิ ตั ชิ อบดว้ ยความเครง่ ครดั
และยังเป็นผู้มีนิสัยเคร่งขรึมและเด็ดเด่ียวย่ิง ท่านได้สละพันธะทางโลกซึ่งท่านเป็น
เจา้ ของทรพั ย์สมบตั ทิ ้งั ปวงทมี่ ีอยู่ ทัง้ ทีม่ ีวิญญาณ (วัว-ควาย) และท่ีไมม่ ีวิญญาณ
มีคา่ นับลา้ นบาทเพอ่ื แจกเปน็ ทานบารมี

การที่ได้บวชเข้ามาในพระบวรพุทธศาสนาก็เพ่ือปลดเปลื้องภาระทางใจ
อนั ประกอบดว้ ยกเิ ลสตณั หาทเี่ ปน็ บอ่ แหง่ กองทกุ ข์ ทา่ นจงึ ดำ� รงชวี ติ ในเพศพรหมจรรย์
อยา่ งเครง่ ครดั ตอ่ พระธรรมวนิ ยั มคี วามสนั โดษเปน็ ทตี่ งั้ ยดึ มน่ั ในพระธรรมคำ� สงั่ สอน
และน�ำมาประพฤติปฏิบัติด้วยชีวิตและจิตใจ ยากท่ีบุคคลท่ัวไปจะเสมอเหมือน
ด้วยความพยายามดังที่กล่าวมานี้ ท่านได้รับค�ำชมเชยจากหลวงปู่ม่ัน ภูริทตฺโต
ต่อหนา้ พระเถระผู้ใหญ่หลายๆ ท่านวา่ “เปน็ ผมู้ คี วามพากเพยี รสงู ย่ิง มีความต้ังใจ
แน่วแน่ ได้ประพฤติปฏิบัติธรรมอย่างเคร่งครัดท่ีสุด เป็นตัวอย่างที่ดีแก่พระภิกษุ
ทัง้ หลายควรเอาเป็นเยี่ยงอย่าง”

20

หลวงปู่พรหม จริ ปุญโฺ  ท่านไดอ้ ยูใ่ กลห้ ลวงปู่มัน่ ภรู ิทตฺโต เป็นเวลานาน
หลายพรรษา ตลอดเวลาทไี่ ดอ้ ยปู่ ฏบิ ตั ธิ รรม ทา่ นมจี ติ ใจทก่ี า้ วหนา้ ทางปฏบิ ตั อิ ยา่ งไม่
หยดุ ยงั้ มคี วามแนใ่ จตนเองมากยง่ิ ขน้ึ ทา่ นไดร้ บั การอบรมโดยสมำ่� เสมอ เวลาบางปี
หลวงป่มู ่นั ภรู ิทตฺโต ได้เมตตาใหอ้ ย่จู �ำพรรษาด้วย นับเป็นโอกาสอนั อุดมของทา่ น
ส่วนบางปีท่านจะปลีกตัวออกไปบ�ำเพ็ญในป่าเพียงล�ำพัง เพราะเป็นนิสัยของท่านท่ี
ไม่ชอบอยู่กับท่ีนานๆ น่ันเอง หลวงปู่พรหม จิรปุญฺโ ท่านเป็นพระอริยเจ้าผู้มี
คำ� พูดนอ้ ย ถอื สนั โดษ มักนอ้ ย ไม่มจี ติ ใจฟุ้งซา่ นกบั สงั คมภายนอก หลวงป่ทู ่าน
ไมป่ ระสงคใ์ หผ้ หู้ นงึ่ ผใู้ ดตอ้ งเดอื ดรอ้ นเปน็ การรบกวนยงุ่ ยาก อนง่ึ ทา่ นกอ็ ยจู่ ำ� พรรษา
ในดงลกึ ยากแกก่ ารเขา้ ถงึ (สมยั นนั้ ) เมอ่ื มคี ณะญาตโิ ยมสอู้ ตุ สา่ หเ์ ดนิ ทางไปจนถงึ
ท่ีพักของท่าน ท่านก็จะพูดจาปราศรัยเพียงประโยคเล็กๆ น้อยๆ พอเป็นท่ีเข้าใจ
ท่านกใ็ ห้รีบกลับทันที

ปี พ.ศ. ๒๔๘๖ เปน็ ปสี ดุ ทา้ ยทห่ี ลวงปพู่ รหม จริ ปญุ โฺ  อำ� ลาภาคเหนอื ทา่ นได้
เดนิ ธดุ งคม์ าทางภาคอสี าน เมอ่ื มาถงึ ภาคอสี านแลว้ กไ็ ดส้ มทบกบั พระอาจารยข์ องทา่ น
ทวี่ ดั สทุ ธาวาส จงั หวดั สกลนคร และได้อยจู่ ำ� พรรษาทน่ี ่ัน ในระหวา่ งทห่ี ลวงป่มู ่นั
ภรู ทิ ตโฺ ต ทา่ นไดไ้ ปอยจู่ ำ� พรรษาทว่ี ดั ภรู ทิ ตั ตถริ าวาส ตำ� บลนาใน อำ� เภอพรรณานคิ ม
จังหวดั สกลนคร

ในระยะหนงึ่ บรรดาพระเถระทงั้ หลายพากนั ไปกราบนมสั การทา่ นอาจารยใ์ หญม่ นั่
ซึ่งมีพระอาจารย์พรหมรวมอยู่ด้วย ได้ฟังโอวาทของท่านอาจารย์ใหญ่ม่ันแล้ว
เฉพาะต่อหน้าพระเถระท้ังหลายที่ร่วมฟังโอวาทด้วยกัน ท่านอาจารย์ใหญ่มั่นถาม
ท่านอาจารย์พรหมขึ้นว่า “ท่านพรหมมาแต่ไกลเป็นอย่างไรบ้าง การพิจารณากาย
การภาวนาก็ดีเป็นอย่างไร” ท่านอาจารย์พรหมเรียนถวายว่า “ไม่มีอกถังกกีแล้ว”
(สิ้นสงสัยแล้ว) ท่านอาจารย์ใหญ่มั่นได้ยกย่องชมเชยท่านอาจารย์พรหมต่อหน้า
พระเถระทัง้ หลายวา่ “ท่านพรหมเป็นผู้มสี ติ ทุกคนควรเอาอย่าง”

ครนั้ กาลตอ่ มา ทา่ นอาจารยพ์ รหมไดก้ ลบั จากการอยใู่ กลช้ ดิ ทา่ นอาจารยใ์ หญม่ นั่
ทห่ี นองผอื นาใน มาอยทู่ บี่ า้ นดงเยน็ อนั เปน็ ถน่ิ เดมิ ไดพ้ าญาตโิ ยมสรา้ งวดั ประสทิ ธธิ รรม
พรอ้ มดว้ ยสรา้ งถาวรวตั ถขุ นึ้ ภายในวดั เปน็ จำ� นวนมาก เชน่ สรา้ งกฎุ วี หิ าร ศาลาการเปรยี ญ

21

บอ่ นำ�้ ภายในวดั และนอกวดั พาญาตโิ ยมทำ� ถนนหนทาง สรา้ งโรงเรยี นประชาบาลบา้ น
ดงเย็น และสร้างสะพานขา้ มล�ำน�้ำสงคราม เป็นสาธารณประโยชน์ไวม้ ากมาย

นอกจากท่านได้สร้างและอยู่จ�ำพรรษาที่วัดประสิทธิธรรม บ้านดงเย็น แล้ว
ท่านยังได้ท�ำประโยชน์แก่ชุมชนใกล้เคียงท้ังทางวัดและทางบ้าน บางปีจ�ำพรรษาที่
วดั บา้ นถอ่ น ตำ� บลโพนสงู สรา้ งโบสถ์ วหิ าร ศาลาการเปรยี ญ กฎุ ี และสะพานขา้ มทงุ่ นา
จากบา้ นไปวดั ยาวประมาณ ๑๑ เสน้ บางปจี ำ� พรรษาทว่ี ดั ตาลนมิ ติ บา้ นตาล ซง่ึ เปน็
มาตุภูมขิ องท่าน สร้างกฎุ ี วิหาร ตอ่ มาสงฆไ์ ดพ้ ากันผกู เป็นพทั ธสีมาใช้ในสงั ฆกรรม
จนกระทง่ั ปจั จบุ นั น้ี นบั วา่ ทา่ นบำ� เพญ็ ประโยชนต์ นและประโยชนค์ นอนื่ ไดส้ มบรู ณย์ ง่ิ
ยากทผ่ี อู้ น่ื จะทำ� ไดเ้ หมอื นอยา่ งทา่ น จงึ เปน็ ทเ่ี คารพกราบไหวบ้ ชู าของผมู้ งุ่ ประโยชนส์ ขุ
โดยท่วั ไป

สรปุ ความในธรรมะของหลวงปูพ่ รหม จิรปญุ โฺ  ไดด้ ังนคี้ ือ

“เราทงั้ หลายเกดิ มาเปน็ มนษุ ยใ์ นชาตหิ นงึ่ และมนษุ ยน์ เี่ องทสี่ ามารถยงั ประโยชน์
ก็ได้เป็นคุณเป็นประโยชน์แก่ตนเองตลอดถึงวงศาคณาญาติกว้างไปไกลถึงสังคม
ชมุ ชนนอ้ ยใหญใ่ หม้ แี ตค่ วามเจรญิ สขุ สถาพร ยง่ิ ไดส้ รา้ งประโยชนใ์ หแ้ กส่ งั คมพลเมอื ง
ดว้ ยแลว้ ยอ่ มนำ� ความเจรญิ รงุ่ เรอื งมาสปู่ ระเทศชาติ บา้ นตา่ งกอ็ ยดู่ มี สี ขุ ทกุ เรอื นชาน
เพราะมนษุ ยม์ สี ตปิ ญั ญามธี รรมะประจำ� จติ ใจดว้ ยกนั กม็ นษุ ยน์ แ้ี หละกระทำ� ขนึ้ ใหเ้ กดิ
คุณเกิดประโยชน์ทง้ั สนิ้

การทำ� ความชว่ั ถา้ มนษุ ยพ์ งึ ปรารถนาใชส้ ตแิ ละปญั ญาเทย่ี วสรา้ งสรรคแ์ ตค่ วาม
ช่ัวรา้ ยป่าเถอ่ื น อนั ประกอบตนเองลดฐานะของจิตใจใหต้ กอยู่กบั ฝ่ายชวั่ ร้าย กม็ ีแต่
เท่ียวเบยี ดเบียนบัน่ ทอนผอู้ น่ื ใหไ้ ด้ความทุกข์เดือดรอ้ น ออกเกะกะระราน เท่ียวฆ่า
ปลน้ ชงิ ทรพั ย์ ทำ� ลายลา้ งใหต้ นเองและวงศาคณาญาติ ลกุ ลามไปในชมุ ชนนอ้ ยใหญ่
ก็จะมีแต่ก่อเวรภัยหาความสุขมิได้ ย่ิงมนุษย์น�ำสติปัญญาท่ีมัวเมาไปด้วยความชั่ว
และสง่ิ เลวร้าย มีนายคอื จอมกิเลสคอยบงการ ก็เอาสติปัญญานั้นแหละเทยี่ วคน้ คิด
สรา้ งอาวธุ ยทุ ธนาแลว้ น�ำมารบราฆา่ ฟันกันตาย ท�ำลายชีวติ และสมบัติซง่ึ กนั และกัน

22

ทำ� ลายลา้ งแมป้ ระเทศชาตบิ า้ นเมอื งใหฉ้ บิ หายลม่ จม ลา้ งผลาญแมก้ ระทงั่ สมณะเณรชี
ให้ไดร้ บั ความเดือดร้อนอย่างทเ่ี ราท่านทั้งหลายมองเหน็ อยใู่ นปจั จบุ ัน เม่อื ยังไม่ตาย
หายจากวิบากของความชวั่ เลวรา้ ยน้ัน กค็ อยไล่ลา้ งผลาญตนเองให้เที่ยวหนซี ุกซ่อน
เหมือนสัตว์ท่ถี ูกนำ้� รอ้ น เลยหาความสขุ มิได้ เป็นนรกบนดนิ ดว้ ยเหตุฉะน”ี้

เพราะฉะนัน้ ธรรมะที่หลวงปูพ่ รหม จิรปุญโฺ  ท่านได้เมตตาประทานใหแ้ ก่
พวกเราทงั้ หลาย กเ็ พอื่ สอนสงั่ ใหพ้ วกเราจงทำ� แตค่ วามดที ม่ี คี ณุ ประโยชน์ จงอยา่ ทำ�
ความชั่ว เพราะรังแต่จะเกิดโทษอันอเนกอนันต์ ท่านให้เรามีสติปัญญา พิจารณา
ตรึกตรอง ให้มที าน มศี ลี มีภาวนา กจ็ ะบังเกิดปัญญาธรรมอนั ล�้ำค่ามหาศาลนนั่ เอง

ที่วัดบ้านดงเย็นสมัยเม่ือหลวงปู่พรหมท่านยังมีชีวิตอยู่ มักจะมีบรรดาท่าน
สาธุชนเดินทางไปกราบนมัสการท่านอยู่เสมอๆ แม้หนทางในสมัยน้ันการคมนาคม
ไมส่ ะดวกอยา่ งเชน่ ปจั จบุ นั น้ี การเขา้ ไปพบเพอื่ นมสั การมใิ ชข่ องงา่ ย ทางกไ็ มด่ ี อกี ทงั้
ยงั เป็นป่าไมอ้ นั หนาแน่น ถงึ กระน้นั ทกุ คนก็ไดพ้ ยายามจนไปถงึ ท่ที า่ นจำ� พรรษาอยู่
อยา่ งน่าสรรเสริญยิง่

จติ ทปี่ กตแิ ลว้ ของหลวงปพู่ รหม จริ ปญุ โฺ  ยอ่ มเปน็ จติ ทอ่ี ศั จรรย์ คอื มคี วามรู้
ความเหน็ อนั ผดิ ไปจากมนษุ ยธ์ รรมดาๆ จะรเู้ หน็ หรอื เขา้ ใจ เมอื่ คณะญาตโิ ยมคนใด
กต็ ามมาถงึ วดั ทท่ี า่ นอยจู่ ำ� พรรษาอยนู่ นั้ ทา่ นจะรวู้ าระจติ ของทกุ ๆ คนทม่ี า ทา่ นสามารถ
ทายใจของทุกคนไดถ้ ูกต้องและแม่นยำ� อย่างเช่น มบี คุ คลท่ีไปท�ำบญุ กับท่าน แต่มี
สิ่งหวังตั้งใจมา ท่านก็จะพูดเตือนสติทันทีเมื่อพบหน้ากันดังน้ี “การท่ีจะท�ำบุญ
ท�ำทานน้ัน ต้องมใี จต้ังมนั่ และใหเ้ กดิ ศรัทธาในบุญกศุ ลทานเสียก่อน ถ้าไม่ศรัทธา
ใจไม่ต้ังมั่นแล้ว อย่าท�ำ จะไม่มีอะไรดีขึ้นเลย” บางคราวจะมีญาติโยมชาย-หญิง
ท่ีเดินทางไปถึง ก็เท่ียวเดิมชมวัดและบริเวณต่างๆ แล้วพูดคุยในลักษณะประจบ
ท�ำบุญเอาหนา้ เอาตากันวา่ ฉันจะต้องมาสรา้ งโน่นมาสรา้ งนี่ จะท�ำอยา่ งนั้นท�ำอย่างน้ี
แตจ่ ติ ใจนนั้ มเี จตนาหวงั ผลหรอื ตง้ั ตวั เองใหเ้ ปน็ ผมู้ สี นทิ ชดิ เชอ้ื กบั ตวั ทา่ น มบี ญุ มคี ณุ
ต่อทา่ นแล้ว ทา่ นมักจะเตอื นว่า “ถา้ ไม่ศรัทธามีเจตนาเป็นอื่น กไ็ ม่ควรจะท�ำ” แต่ถ้า
มีญาติโยมคนใดเข้าไปนมัสการและมีเจตนาดีมองเห็นคุณประโยชน์ท่ีจะเกิดข้ึนโดย

23

สว่ นรวมแลว้ แมย้ งั ไมไ่ ดบ้ อกกลา่ วแกผ่ ใู้ ดเลย หลวงปพู่ รหมกส็ ามารถรดู้ ว้ ยจติ ภายใน
ทา่ นจะอนุโมทนาและกล่าวขน้ึ พอเป็นปฐมดังนีว้ ่า “ทา่ นมีเจตนาดกี ท็ ำ� ไปเถดิ เพราะ
ส่ิงนนั้ เป็นบุญเป็นกุศล”

ขนาดหลบั ท่านยงั รู้

หลวงปู่พรหม จิรปุญฺโ ท่านเป็นพระผู้ปฏิบัติธรรมท่ีควรแก่การเคารพบูชา
แม้ครูบาอาจารย์ในสมัยปัจจุบันก็ยังกล่าวถึงท่านด้วยกิตติคุณอันงดงามอยู่เสมอ
สมยั หลวงปพู่ รหมทา่ นกลบั มาถงึ บา้ นดงเยน็ ทา่ นไดส้ รา้ งความอศั จรรยแ์ กพ่ วกเราให้
ได้เห็นมากมาย เมื่อทา่ นมาอยู่ได้ไมน่ าน กม็ ชี าวบา้ นบวชพระตามทา่ นไปหลายองค์
พวกชาวบา้ นก็เขา้ วัดเข้าวาดีอกดีใจที่มวี ดั ปฏบิ ตั ิเปน็ ของตนเอง

วนั ท่ี ๑๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๑๒ เคา้ แหง่ ปรศิ นาธรรมความเปน็ จรงิ ไดป้ รากฏชดั
ภายในจติ ใจของหลวงปพู่ รหม จริ ปญุ โฺ  เสยี แลว้ ชาวบา้ นชาวดงเยน็ อำ� เภอบา้ นดงุ
จงั หวดั อดุ รธานี จะมใี ครคนไหนรไู้ ดบ้ า้ งวา่ ขณะนตี้ น้ โพธต์ิ น้ ไทรทเี่ คยใหค้ วามสงบสขุ
ร่ืนรมย์แก่พวกเขาทั้งหลาย ก�ำลังจะถูกพายุอันเกิดจากอ�ำนาจพระไตรลักษณ์ คือ
อนจิ จงั ทกุ ขงั อนตั ตา มาโคน่ มาถอนออกไปเสยี จากจติ ใจของพวกเขา กเ็ พราะความ
ไมเ่ ทยี่ งตรง ไมแ่ นน่ อน อยไู่ ปกม็ คี วามไมเ่ ทยี่ ง เปน็ ทกุ ข์ แทจ้ รงิ กเ็ ปน็ ธาตเุ ฉยๆ ไมใ่ ช่
ตวั ตนบคุ คลเราเขา หลวงปพู่ รหม จริ ปญุ โฺ  จงึ สามารถกำ� หนดรชู้ ดั ดว้ ยจติ ใจอนั เปน็
หนึ่งของท่าน โดยได้ปลงสังขาร กลา่ วอ�ำลาชาติ ชรา พยาธิ มรณะ ไมข่ อกลับมา
พบเห็นคลกุ เคลา้ กันอกี ตอ่ ไป

หลวงปพู่ รหม จริ ปญุ โฺ  ทา่ นไดแ้ สดงธรรมปฏบิ ตั อิ นั เปน็ อบุ ายธรรมใหท้ กุ คน
ได้พิจารณานอ้ มนึกถงึ ความตายอยูเ่ สมอๆ จงอย่าไดป้ ระมาท การปฏบิ ัติตนให้เกดิ
สติปัญญาโดยเป็นเคร่ืองมือพิจารณาให้เห็นแก่นแท้ของธรรมะท่ีพระพุทธเจ้าตรัส
สอนโลก พรอ้ มทง้ั ไดช้ แ้ี นะอยใู่ นตวั คอื พระพทุ ธองคท์ รงตรสั สอนโลก ทรงใหว้ นิ จิ ฉยั
ดว้ ยสตปิ ญั ญา มองดคู วามเคลอ่ื นไหวอาการของกเิ ลสทางใจ มอี าการเปน็ ไปทางใดบา้ ง
ในวันหน่งึ ๆ

24

วันที่หลวงปู่พรหม จิรปุญฺโ ท่านจะมรณภาพ ท่านได้เข้าห้องน�้ำตั้งแต่เช้า
ทา่ นปดิ ประตใู สก่ ลอนเงยี บอยู่ จนเวลาทจ่ี ะตอ้ งออกบณิ ฑบาต ผทู้ เี่ ฝา้ รออยหู่ นา้ หอ้ งนำ้�
กน็ ง่ั เฉยๆ ครน้ั จะบมุ่ บา่ มเขา้ ไปกไ็ มก่ ลา้ นง่ั รออยจู่ นกระทงั่ ประตหู อ้ งนำ�้ เปดิ หลวงปู่
ทา่ นโซเซออกมา กอ่ นพน้ ประตทู า่ นลม้ ลงไป พระผอู้ ยู่ใกล้วงิ่ เขา้ ไปรบั แลว้ ประคอง
ทา่ นเข้ามานอนในหอ้ ง วันน้นั แทบไม่ได้ออกบิณฑบาตกนั เลย ต่างกม็ ีหน้าท่ีของตน
คอยรับใชค้ รบู าอาจารย์อยา่ งใกล้ชดิ กอ่ นทีท่ า่ นจะสิน้ ชพี จรของท่านแทบจะไม่เต้น
เพราะทกุ คนคอยตรวจเช็คกนั อย่ตู ลอดเวลา กาลเวลาค่อยๆ ผา่ นไปๆ แตล่ ะวนิ าที
ดเู หมอื นวา่ โลกจะหยดุ นง่ิ คนทอี่ ยใู่ กลๆ้ ทา่ นตา่ งกเ็ พง่ มองดอู าการแทบไมห่ ายใจ เพราะ
ความรสู้ กึ เป็นอยา่ งน้นั จรงิ ๆ ขณะท่ที ่านจะส้นิ ใจ ทา่ นไดร้ วบรวมพลังจิตอนั แก่กล้า
ลมื ตาขนึ้ มามองลกู ศษิ ยท์ ง้ั หลาย มที งั้ พระ สามเณร อบุ าสก อบุ าสกิ า ทกุ คน คลา้ ยกบั
กลา่ วอ�ำลา แล้วทา่ นกย็ กมือข้นึ พนมเหนืออกเพื่อบูชาพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์
จากนน้ั หลวงปพู่ รหม จริ ปญุ โฺ  ไดจ้ ากโลกนไ้ี ป ชพี จรของทา่ นหยดุ เตน้ มอื ทยี่ กขนึ้ พนม
ตกลงขา้ งกาย

บดั น้ี หลวงป่พู รหมได้จากบรรดาลกู ศิษย์ลกู หาทุกคนไปดว้ ยอาการสงบระงับ
จติ เขา้ สแู่ ดนเกษมเมอื่ เวลา ๑๗.๓๐ น. ของวนั ที่ ๑๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๑๒ ดว้ ยโรคชรา
สริ ิอายุได้ ๘๑ ปี พรรษา ๔๓

ในการครั้งน้ี เพ่ือเป็นปฏิการะและกตัญญูกตเวทิตาธรรมในพระคุณของ
ทา่ นอาจารยพ์ รหม จริ ปญุ โฺ  คณะศษิ ยานศุ ษิ ยพ์ รอ้ มดว้ ยทายกทายกิ าทเี่ คารพนบั ถอื
ในทา่ น ไดพ้ รอ้ มกนั เสยี สละกำ� ลงั กาย กำ� ลงั ทรพั ย์ และกำ� ลงั ความคดิ จดั สรา้ งเจดยี ์
บรรจอุ ฐั ธิ าตขุ องทา่ น ซงึ่ หลวงปทู่ า่ นเรมิ่ ขดุ หลมุ วางรากฐานไวก้ อ่ นทท่ี า่ นจะมรณภาพ
เพ่ือเป็นอนุสรณ์แก่อนุชนรุ่นหลังขึ้นท่ีวัดประสิทธิธรรม บ้านดงเย็น ต�ำบลดงเย็น
อำ� เภอบา้ นดงุ จงั หวดั อดุ รธานี สว่ นสงู ๒๐ เมตร เปน็ ทเี่ รยี บรอ้ ยแลว้ สนิ้ ทนุ ทรพั ยไ์ ป
ประมาณสองแสนบาทเศษ

ขา่ วการมรณภาพของพระอรยิ เจา้ แหง่ บา้ นดงเยน็ ไดแ้ พรข่ ยายไปไกล ทกุ คนมแี ต่
ความสลดเสียดายพระผู้ทรงคุณธรรมสูงเช่นหลวงปู่ท่าน ทุกคนเมื่อได้ทราบข่าวน้ี

25

ตา่ งกไ็ ดร้ ำ� พงึ ถงึ พระคณุ ความดคี วามงามของทา่ น เพราะทา่ นเคยอยใู่ หเ้ ปน็ กำ� ลงั ใจแก่
ทกุ ๆ คน อกี ทงั้ ยงั ไดป้ ระสทิ ธธิ รรมะใหแ้ กศ่ ษิ ย์ พระ ฆราวาสทง้ั ชายหญงิ ทหี่ าประมาณ
มิได้

บรรดาคณะศิษย์ชาย-หญิงที่เป็นฆราวาส อันประกอบด้วยชาวกรุงเทพฯ
ชาวเชยี งใหม่ และอกี หลายๆ จงั หวดั ตา่ งกม็ งุ่ หนา้ อตุ สา่ หเ์ ดนิ ทางกนั ไป แมจ้ ะทกุ ขย์ าก
ลำ� บากเพยี งใด ใกลไ้ กลแคไ่ หน จะสน้ิ เปลอื งอยา่ งไร ทกุ คนดเู หมอื นวา่ ไมม่ ใี ครสนใจถงึ
นอกจากขอใหไ้ ดไ้ ปกราบศพแสดงคารวะเปน็ ครง้ั สดุ ทา้ ย ดว้ ยหวั ใจมงุ่ หวงั เคารพและ
ศรทั ธา บา้ นดงเยน็ ทว่ี า่ ไกลแสนไกลอกี ทง้ั กวา้ งใหญไ่ พศาล กก็ ลายเปน็ สถานทค่ี บั แคบ
เสยี แลว้ ในเวลานนั้ นอกจากน้ี นบั วา่ เปน็ โอกาสอนั ดขี องทกุ ๆ คนทม่ี ารว่ มงานสำ� คญั
เพราะพระกรรมฐานในสายของหลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต ได้เดินทางไปร่วมงานเป็น
จำ� นวนมาก

เวลา ๒๒.๐๐ น. (สที่ มุ่ ) ของวนั ท่ี ๖ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๑๔ การถวายเพลงิ ศพได้
เรมิ่ ขนึ้ ณ เมรวุ ดั ประสทิ ธธิ รรม บา้ นดงเยน็ ตำ� บลดงเยน็ อำ� เภอบา้ นดงุ จงั หวดั อดุ รธานี
พระภิกษุ สามเณร แม่ชีผ้าขาว ประชาชนชายหญงิ บดั นี้ดวงจติ ทุกดวงตา่ งเพง่ ไปยงั
สรรี ะทก่ี ำ� ลงั ถกู ไฟลกุ โชตชิ ว่ งคอยวนั ไหมเ้ ปน็ เถา้ ถา่ นไปในทสี่ ดุ สงั ขารนแี้ ม้จะเป็น
เพียงธาตุ แต่หลวงปู่พรหมก็ได้อาศัยสังขารนี้ออกบ�ำเพ็ญธรรมด้วยความกล้าหาญ
เสียสละทุกสิ่งทุกอย่างไม่อาลัยเสียดายเลย ขณะนี้ท่านได้จากไปตามกฎของพระ
ไตรลักษณ์ ไม่มีใครจะเหนี่ยวรัง้ ตา้ นทานไวไ้ ด้สักรายเดียว

ภายหลงั จากถวายเพลงิ ศพทา่ นไปแลว้ ไมน่ านนกั คณะกรรมการวดั ประสทิ ธธิ รรม
ไดน้ ำ� อฐั หิ ลวงปพู่ รหม จริ ปญุ โฺ  สว่ นหนงึ่ นำ� มาบรรจไุ วใ้ นเจดยี จ์ ริ ปญุ โญ ซง่ึ คณะศษิ ย์
ไดร้ ว่ มกนั สรา้ งขนึ้ ถวายเปน็ อนสุ รณค์ ณุ งามความดแี ละแสดงความกตญั ญกู ตเวทติ าคณุ
เจดยี จ์ ริ ปญุ โญน้ี ยงั ไดใ้ ชเ้ ปน็ ทเ่ี กบ็ อฐั บรขิ ารของทา่ นอกี ดว้ ย อฐั บิ างสว่ น บรรดาลกู ศษิ ย์
ลกู หาทง้ั หลายได้รับแจกเพอ่ื น�ำไปสกั การบูชาระลึกถงึ

26

อฐั ทิ า่ นไดก้ ลายเป็นพระธาตใุ นเวลาอันสนั้

อัฐิท่านที่ได้ท�ำการแจกจ่ายแก่ท่านท่ีมาในงานไปไว้เป็นที่ระลึกสักการบูชา
ในทตี่ า่ งๆ มมี ากตอ่ มาก จงึ ไมอ่ าจทราบไดว้ า่ ของทา่ นผใู้ ดไดแ้ ปรสภาพจากเดมิ หรอื
หาไมป่ ระการใดบา้ ง แตเ่ มอ่ื ไมน่ านมานี้ ไดม้ ที า่ นทไ่ี ดร้ บั แจกอฐั ทิ า่ นมาแลว้ อฐั นิ น้ั ได้
กลายเปน็ พระธาตุ ๒ องค์ หลงั จากนน้ั กไ็ ดท้ ราบทางหนงั สอื พมิ พ์ “ศรสี ปั ดาห”์ อกี วา่
อฐั ทิ า่ นไดก้ ลายเปน็ พระธาตแุ ลว้ กม็ ี ทย่ี งั ไมก่ ลายกม็ ซี งึ่ อยผู่ อบอนั เดยี วกนั จงึ ทำ� ใหเ้ กดิ
ความอศั จรรยใ์ นคณุ ธรรมของทา่ นวา่ ทา่ นเปน็ ผบู้ รรลถุ งึ แกน่ ธรรมโดยสมบรู ณแ์ ลว้
ดงั วงปฏบิ ตั เิ คยพากนั คาดหมายทา่ นมาเปน็ เวลานาน แตท่ า่ นมไิ ดพ้ ดู ออกหนา้ ออกตา
เหมอื นทางโลกปฏบิ ตั กิ นั เพราะเปน็ เรอื่ งของธรรม ซงึ่ ผปู้ ฏบิ ตั ธิ รรมจะพงึ สำ� รวมระวงั
ใหอ้ ยใู่ นความพอดี ทา่ นไดพ้ บดวงธรรมอนั ประเสรฐิ สามารถกำ� ชยั ชนะดว้ ยการบรรลุ
ธรรมวเิ ศษ ปลดเปลื้องภาระหมดกิจหมดหนา้ ทไี่ ปแล้วโดยสมบรู ณฯ์

โอวาทครัง้ สดุ ทา้ ยที่หลวงปู่แสดงแกโ่ ยมอปุ ฏั ฐากใกล้ชดิ คนหน่ึง คือ ครชู าย
วงศ์ประชมุ ก่อนท่านมรณภาพ ๒ วัน ดังบทเรยี บเรียงของครูชายดังน้ี

“วนั อาทติ ยท์ ี่ ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๑๒ ไดต้ งั้ ใจไวว้ า่ จะไปธรุ ะทจ่ี งั หวดั สกลนคร
แตม่ ีเหตุบันดาลใจอยากจะไปกราบนมัสการท่านพระอาจารยพ์ รหม จริ ปญุ โฺ  อกี
เพราะในวนั อาทติ ยท์ แี่ ลว้ ขา้ พเจา้ พรอ้ มดว้ ยภรรยาและชา่ งทำ� ฟนั ไปทำ� ฟนั ใหท้ า่ นใหม่
เพราะทา่ นมอี าการปวดฟัน เมอื่ เกดิ สงั หรณ์ในใจเชน่ นี้ จึงได้เปลย่ี นความตั้งใจใหม่

27

ไดช้ วนภรรยาไปนมสั การทา่ นอกี ไปถงึ ดงเยน็ เวลา ๑๒.๓๐ น. ไดจ้ อดรถจกั รยานยนต์
ไวท้ ใี่ ตร้ ม่ มะมว่ ง แลว้ จงึ พากนั ขนึ้ ไปนมสั การทา่ นบนกฎุ ี ปรากฏวา่ ทา่ นไดน้ ง่ั รอคอยอยู่
กอ่ นแลว้ เมอ่ื นมสั การกราบไหวท้ า่ นเสรจ็ แลว้ ทา่ นจงึ ไดพ้ ดู ขนึ้ วา่ “อาตมาไดย้ นิ เสยี ง
เคร่ืองบินว่าแม่นเสียงรถของเจ้า” ว่าแล้ว ท่านก็ลุกขึ้นไปหยิบเอากาน้�ำเพื่อกรอง
นำ้� ทโ่ี อง่ ขา้ พเจา้ ลกุ ขนึ้ ตดิ ตามทา่ นรบั เอากานำ้� จากทา่ นกรองนำ�้ แทนทา่ น แลว้ ทา่ นยงั ไป
ยกเก้าอ้มี าเพ่ือเหยยี บขนึ้ เอาแก้วน�ำ้ อยู่ทกี่ ล่องบนเพดานกุฎีนั้น ข้าพเจ้าจึงมไิ ดร้ อชา้
รบี ไปหยบิ เอาแก้วน้ำ� แทนท่านอกี เมื่อกรองน้�ำล้างแก้วนำ้� เสร็จ จึงได้นำ� มาถวายทา่ น
เมื่อนำ� กานำ้� เข้าไปถวายทา่ น ทา่ นได้บอกวา่ “อาตมาไปเอานำ�้ มาให้พวกเจ้ากนิ ”

เสร็จแล้ว ข้าพเจ้ามานั่งตรงต่อที่ท่านน่ัง ท่านจึงได้เทศนาให้ข้าพเจ้าฟังว่า
“คนเราเกดิ มาทกุ รปู นาม รปู สงั ขารเปน็ ของไมเ่ ทยี่ ง เกดิ ขน้ึ แลว้ ลว้ นตกอยใู่ นกองทกุ ข์
ดว้ ยกนั ทงั้ นน้ั ไมว่ า่ พระราชา มหากษตั รยิ ์ พระยานาหมน่ื คนมง่ั มี เศรษฐแี ละยาจก
ล้วนตกอยใู่ นกองทกุ ขด์ ว้ ยกนั ทงั้ นนั้ มีทางพอจะหลุดพน้ ทุกขไ์ ด้ คือ ทำ� ความเพยี ร
เจริญภาวนา อยา่ สมิ ัวเมาในรปู รา่ งสังขารของตน มัจจุราชมันบ่ไว้หนา้ ผ้ใู ด กอ่ นจะ
ดบั ไป ควรจะสรา้ งความดีเอาไว”้ ทา่ นเทศนาใจความสั้นๆ ดงั น้แี ลว้ จงึ ไดส้ นทนา
กับทา่ นต่อไปอีก

ไดเ้ รยี นถามทา่ นวา่ “ชา่ งทำ� ฟนั มาแตง่ ฟนั ใหแ้ ลว้ รสู้ กึ เปน็ อยา่ งไร” ทา่ นไดต้ อบวา่
“หายเจบ็ แลว้ คอื สไิ ดค้ ณุ ด”ี ขา้ พเจา้ เรยี นถามตอ่ ไปอกี วา่ “ทา่ นอาจารยฉ์ นั ยาทน่ี ำ� มา
ถวายแลว้ เปน็ อยา่ งไร” (ยาทน่ี ำ� มาถวายทา่ นนี้ เอามาจากสตู รผสมยาของคณุ หมออวย
ปรงุ ถวายทา่ นอาจารยใ์ หญข่ าว ถำ้� กลองเพล) ทา่ นไดต้ อบวา่ “ยานไ้ี ดค้ ณุ ดี แตว่ า่ เวลาน้ี
มจั จุราชมันบ่ได้ว่ายาใหแ้ ลว้ ” เม่อื ทา่ นพดู เช่นน้นั ขา้ พเจา้ รูส้ ึกตกใจ จึงไดอ้ าราธนา
นมิ นตท์ า่ นอยตู่ อ่ ไปวา่ “กระผมขอนมิ นตใ์ หห้ ลวงปอู่ ยไู่ ปกอ่ น ถงึ อยา่ งไรกข็ อใหเ้ จดยี ์
ทก่ี ำ� ลงั จะกอ่ สรา้ งนเ้ี สรจ็ เรยี บรอ้ ยเสยี กอ่ น” ทา่ นไดต้ อบขา้ พเจา้ วา่ “ชาย เจา้ มาโงแ่ ท้
เทศนาใหฟ้ ังหยกๆ ยังไมเ่ ข้าใจ”

ได้เวลา ๑๕.๓๐ น. ทา่ นได้ส่ังใหข้ า้ พเจ้ากลับเพราะจะค�่ำแลว้ ข้าพเจ้าไม่รอชา้
เพราะทราบดวี า่ เม่อื ทา่ นส่ังตอ้ งปฏิบัตติ าม ก่อนจะกลับกก็ ราบนมัสการทา่ น ขณะท่ี

28

ก�ำลังกราบนมัสการลาท่านอยู่นั้น ท่านยังได้ย้�ำอีกว่า “ให้พากันเจริญภาวนาท�ำ
ความเพยี รจงึ จะพน้ ทกุ ข”์ จากนนั้ ทา่ นกไ็ ปทำ� กจิ ของทา่ น คอื เดนิ จงกรมบนกฎุ ขี องทา่ น

ตลอดทางท่ีกลับบ้าน ข้าพเจ้าคิดในใจถึงปรากฏการณ์ที่ท่านอาจารย์ปู่เฒ่า
ของเรานผ้ี ิดแปลกไปกวา่ ครง้ั ก่อนๆ มาก เมอื่ ถงึ บา้ นก็ไดแ้ ตเ่ พยี งปรึกษากับภรรยา
เท่าน้ัน ตั้งใจไว้ว่าจ�ำต้องน�ำเร่ืองนี้ไปปรึกษากับท่านอาจารย์ลีและอาจารย์สุภาพดู
แต่เรือ่ งยังไมถ่ งึ ทา่ นอาจารย์ท้งั สอง เหตกุ ารณ์อนั ไมค่ าดฝันกเ็ กดิ ขน้ึ ในตอนเชา้ มดื
วนั ท่ี ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๑๒ มีคนบา้ นดงเยน็ สง่ ข่าววา่ “ท่านอาจารยใ์ หญพ่ รหม
จริ ปญุ ฺโ อาพาธหนัก” ขา้ พเจ้าไม่ได้รอชา้ รบี เขยี นใบลาให้ครใู นโรงเรียนส่งไปทาง
อำ� เภอ ขา้ พเจา้ จงึ ไดช้ กั ชวนแพทยป์ ระจำ� ตำ� บลโพนสงู คอื นายสนุ ทร ราชหงส์ ไปดว้ ย
ถงึ บา้ นดงเยน็ กร็ บี พากนั กราบนมสั การทา่ น ปรากฏวา่ ตอนนน้ั ทา่ นมอี าการสงบ นอนนงิ่
เชน่ กบั คนนอนหลบั ธรรมดา อนามยั ตำ� บลดงเยน็ และนายสนุ ทร ราชหงส์ เอาปรอทวดั
และใหน้ ำ้� เกลอื ตลอดเวลา อาการยงั ไมด่ ขี นึ้ เลย จนกระทง่ั เวลา ๑๓.๓๐ น. ขา้ พเจา้ จงึ
ไดร้ บี เดนิ ทางเขา้ ไปยงั อำ� เภอสวา่ งแดนดนิ เพอ่ื ปรกึ ษาแพทย์ และขอเชญิ ไปตรวจอาการ
ของทา่ นอาจารย์ แตไ่ ดร้ บั คำ� ปฏเิ สธ บอกวา่ ทา่ นเปน็ โรคชราไมม่ ที างแกไ้ ข ขา้ พเจา้ จงึ
ไดไ้ ปรา้ นขายยาและซอ้ื ยาตามทอี่ นามยั ตำ� บลสงั่ จงึ กลบั บา้ นเพอ่ื รบั เอาภรรยาไปดว้ ย
ถึงบ้านดงเยน็ เวลา ๑๗.๑๕ น.

ขณะไปถงึ วดั ประสทิ ธธิ รรม บา้ นดงเยน็ ปรากฏวา่ มพี ระเณร แมช่ ี และญาตโิ ยม
เตม็ กฎุ แี ละใตถ้ นุ กฎุ ี ขา้ พเจา้ จงึ รบี ขน้ึ ไปบนกฎุ กี ราบนมสั การ พระเณรทอี่ ยขู่ า้ งซา้ ยมอื
ไดห้ ลกี ใหข้ า้ พเจา้ ไปถงึ ตวั ทา่ น ขา้ พเจา้ ไดจ้ บั ดชู พี จรขา้ งซา้ ย ปรากฏวา่ ชพี จรออ่ นมาก
แทบไมเ่ ดนิ เลย เลยกลา่ วกบั ทา่ นอาจารยส์ อนทเี่ ฝา้ อยใู่ กลช้ ดิ วา่ “แยแ่ ลว้ ครบั อาจารย์
พวกเราจะทำ� อยา่ งไรตอ่ ไป” พอพดู ขาดคำ� ทา่ นอาจารย์ก็ลมื ตาขนึ้ ตอนนข้ี า้ พเจ้า
ดีใจมาก เพราะเข้าใจวา่ ทา่ นฟื้นขึ้นมา จงึ ได้เรียกท่าน แต่ปรากฏว่าไม่มีเสยี งตอบ
แลว้ ทา่ นกห็ ลบั ตาพรอ้ มกบั ประนมมอื ขนึ้ ถงึ หนา้ อกนมสั การพระรตั นตรยั ชพี จรของ
ท่านก็หยุดเดิน พระคุณท่านหลวงปู่ท่ีเคารพสักการะยิ่งของข้าพเจ้าได้มรณภาพไป
ด้วยอาการอันสงบเยอื กเย็นดว้ ยเวลา ๑๗.๓๐ น. ของวันท่ี ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๑๒

29

เหมือนประทีปดวงใหญ่ท่ีเคยส่องแสงสว่างหนทางแห่งชีวิตแก่ข้าพเจ้า หรือเหมือน
ร่มไมใ้ หญท่ ่ีเคยให้ความรม่ เยน็ เป็นสุขแก่ขา้ พเจ้า บดั นต้ี ้นไมน้ น้ั ไดพ้ ังทลายไปจาก
ข้าพเจ้าเสียแล้ว จะหาที่ไหนได้อีกในชีวิต น้ีแหละ ท่านท้ังหลายที่เป็นเพ่ือนทุกข์
เกดิ แกเ่ จบ็ ตายดว้ ยกนั ผมไดร้ บั ประสบการณอ์ นั ยง่ิ ใหญใ่ นชวี ติ อกี ครง้ั สมกบั คำ� ทที่ า่ น
หลวงปทู่ ล่ี ว่ งไปเตอื นผมไมก่ ว่ี นั เพอื่ ใหพ้ วกเราทยี่ งั ลมุ่ หลงมวั เมาไดร้ แู้ ละเตรยี มตวั ไว้
เพอื่ ไมใ่ หก้ ลวั ตายอยา่ งตวั ทา่ น นบั วา่ ทา่ นไมห่ วน่ั ไหวแลว้ เปรยี บเหมอื นกญุ ชรทฝ่ี กึ
ดีแล้วย่อมไม่พรัน่ ต่อลกู ศรทมี่ าจากทิศตา่ งๆ ในเวลาเขา้ สสู่ งครามฉะนั้น

ดงั นน้ั โอวาทของทา่ นผรู้ กู้ ลา่ วไวว้ า่ มจั จรุ าชไมเ่ วน้ มนษุ ยส์ ตั วโลกทงั้ หลายทเ่ี กดิ
มาบนพนื้ พภิ พนี้ มกี ารแตกดบั ไปทงั้ สน้ิ ทา่ นหลวงปพู่ รหม จริ ปญุ โฺ  ทา่ นเปน็ พระเถระ
ท่ีม่นั คงหนกั แน่นในพระธรรมวนิ ัย ประพฤตพิ รตพรหมจรรย์เนกขมั มภิรตั มวี ัตร
ปฏิบตั ิอันดีงามตามทางอริยมรรค เปน็ วิมุตติหลุดพน้ ถึงแมส้ รีระรา่ งกายจะแตกดบั
เป็นมรดกตกทอดไว้ให้แก่พวกเราช่ัวกาลนาน นับว่าเกิดมาไม่เสียที เพราะท่านได้
ยังประโยชน์ตนและประโยชน์ผู้อื่นให้เต็มเปี่ยมด้วยความไม่ประมาท ถือว่าได้ท�ำ
ประโยชนท์ ัง้ ๓ คือ

๑. อตั ตตั ถจริยา ประพฤตใิ ห้เป็นประโยชนแ์ กต่ น
๒. ญาตตั ถจริยา ประพฤติใหเ้ ปน็ ประโยชนแ์ กห่ มญู่ าติ
๓. โลกตั ถจริยา ประพฤติใหเ้ ป็นประโยชน์แกช่ าวโลกทวั่ ไป
นบั วา่ เจรญิ รอยตามยคุ ลบาทขององคส์ มเดจ็ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ทรงความเปน็
สาวกในพระธรรมวินยั นีส้ มบรู ณ์ทกุ ประการฯ

30

โอวาทของ

พระราชนิโรธรังสีคมั ภรี ปัญญาวิศิษฏ์
(พระเทสรํสี หลวงปู่เทสก)์

วดั หินหมากเป้ง อ�ำเภอศรเี ชียงใหม่ จงั หวดั หนองคาย

มนุษย์คนเราก็เป็นสัตว์ชนิดหน่ึงในจ�ำพวกของสัตว์ท้ังหลายที่มีอยู่ในโลกนี้
พรอ้ มกันนน้ั สตั ว์ทุกๆ ประเภทต่างกเ็ กลียดทุกข์ ด้นิ รนเพ่ือแสวงหาความสขุ ตาม
ปรารถนาของตนๆ แต่ความสขุ ทเ่ี ขาเหล่านั้นตอ้ งการอาจไมเ่ หมือนกัน เพราะความ
แตกต่างในฐานะช้ันภูมิของเขาเหล่านั้นไม่เหมือนกัน ความหวังและความปรารถนา
ทวี่ า่ นนั่ แล มนั เปน็ เครอ่ื งดงึ ดดู ใหเ้ ขาเหลา่ นนั้ รกั โลกนอ้ี นั เตม็ ไปดว้ ยกองทกุ ข์ ใหเ้ ขา
ลมื เสยี จากทกุ ข์เหลา่ น้เี ปน็ พกั ๆ ไป แล้วเขากเ็ ห็นวา่ โลกน้เี ป็นสขุ

ความเสมอภาคของสตั วเ์ หลา่ นนั้ นอกจากจะมคี วามแก่ ความเจบ็ ความตาย แลว้
ยังมีทุกข์มีสุขประจ�ำ มีการหลับการนอน การร้องไห้และหัวเราะเพ่ือแก้กลุ้มก็มี
แกส่ ตั วท์ วั่ ไป ขอ้ สำ� คญั คอื การสบื พนั ธ์ุ เพอ่ื เปน็ มรดกตกทอดมาใหแ้ กค่ นอน่ื สตั วอ์ น่ื
เพ่ือสร้างทุกข์ของโลกนี้ให้เจริญสืบไป หรืออาจเพ่ือเป็นรังเรือนทุกข์ในอนาคตแก่
ตนเองอกี ด้วยก็ได้

สตั วท์ ง้ั หลายเกดิ มาลว้ นแลว้ แตเ่ ลง็ ผดิ เปา้ หมายของตนทง้ั นน้ั โดยเฉพาะคนเรา
แลว้ พลาดมากเปน็ พเิ ศษ คอื มคี วามตอ้ งการไมแ่ นน่ อน ปรารถนาสง่ิ ใด เมอื่ ไดส้ ง่ิ นน้ั มา
ตามปรารถนาแลว้ แทนทจ่ี ะอม่ิ จะพอแกค่ วามตอ้ งการแลว้ แตก่ ย็ งั ไมพ่ ออกี สง่ิ ทไ่ี ดม้ า
กลบั เปน็ ของทไ่ี มจ่ ใุ จไปอกี แลว้ มนั หวิ ไมอ่ ม่ิ อยตู่ ลอดกาลอยา่ งนฉี้ ะนนั้ คนเราจงึ ยงุ่

31

และทกุ ขม์ ากกวา่ สตั วเ์ หลา่ อนื่ เปน็ ไหนๆ ถงึ แมจ้ ะมขี อ้ กฎกตกิ าและระเบยี บบงั คบั อยา่ ง
เฉยี บขาด แตก่ ย็ ากทจี่ ะเอาใหอ้ ยไู่ ด้ พรอ้ มกนั นนั้ สง่ิ ทผ่ี ปู้ ระมาทแลว้ ไมค่ อ่ ยคำ� นงึ ถงึ เลย
คอื ความแกแ่ ละความตายคอ่ ยด้อมๆ ตามหลังมาอยา่ งเงยี บๆ หากมนั ไดโ้ อกาส
เม่อื ไรแลว้ มนั จะตะครุบฟดั เหวย่ี งเอาอยา่ งไม่มปี รานเี ลยทีเดียว

มนษุ ย์เป็นสตั วท์ ่ีฉลาดเฉยี บแหลมกว่าเพอื่ นมาก แต่เปน็ ท่ีนา่ เสียดาย แทนที่
จะน�ำเอาความฉลาดเฉียบแหลมนั้นมาใช้สร้างความสุขความเจริญให้แก่ตนและ
คนอื่น กลับมาสร้างความทุกข์เดือดร้อนให้แก่ตนและคนอื่นสัตว์อื่นไปเสียฉิบ
ส้คู วามแหลมของหนามทเุ รยี นไมไ่ ด้ ซงึ่ มันมไี วเ้ พือ่ ป้องกันตัวเทา่ นัน้ แตใ่ ครอย่าไป
แตะตอ้ งมนั นะ แลว้ กอ็ ยา่ ไปใกล้ต้นมนั เวลามนั หลน่

คนเราเปน็ สตั วร์ า้ ยกวา่ เขาทงั้ หมด เกดิ มาเพอื่ ทำ� ลายโลกแท้ เรม่ิ ตน้ แตส่ บื พนั ธ์ุ
มนษุ ยเ์ พอื่ ใหม้ าตาย เมอื่ เกดิ มามากๆ ตายไมท่ นั กค็ ดิ ทำ� ลายลา้ งผลาญกนั เมอ่ื ใชอ้ าวธุ
ท่ีมีประจ�ำตัวของแต่ละบุคคลท�ำลายกันไม่ทันกับความต้องการ ก็คิดสร้างอาวุธท่ี
รา้ ยแรงประหารกนั ตายทลี ะเปน็ รอ้ ยๆ พนั ๆ ใครวา่ มนษุ ยเ์ กดิ มาสรา้ งโลกใหเ้ จรญิ นน้ั
ไมจ่ รงิ ความจรงิ แล้วจะสรา้ งความเจรญิ ใหเ้ ฉพาะแกต่ วั เองและหมคู่ ณะในวงแคบๆ
ของตนเอง หรือเฉพาะสถานที่ที่ตนต้องการเท่าน้ัน แต่มันไปทำ� ลายบุคคลอื่นและ
สถานท่ีอ่ืนให้เดือดร้อนราบเรียบไปหมด สมัยนี้ผู้ท่ีเกิดมาหาความสุขเพ่ือตนและ
หมู่คณะของตนพอแล้ว คิดอิจฉารษิ ยาคนอน่ื ไมใ่ หเ้ ขามาเกดิ อกี ดว้ ย

คนผเู้ หน็ แกต่ วั มองพทุ ธศาสนาในแงร่ า้ ยวา่ สอนใหค้ นอนื่ อยกู่ บั ที่ ไมก่ า้ วหนา้
พระพทุ ธเจา้ เปน็ ผใู้ หก้ ำ� เนดิ ศาสนา พระองคท์ รงพจิ ารณาเหน็ ความเสอ่ื มโทรมของโลก
โดยพระปัญญาอันชัดแจ้งแล้ว จึงทรงสละความสุขของพระองค์ทุกๆ วิถีทางเพื่อ
ประโยชน์แก่สัตวโลก ทรงอาศัยพระมหากรุณาอันย่ิงใหญ่ แล้วทรงต้ังพระหฤทัย
อนุเคราะหแ์ นะนำ� พร�ำ่ สอนเวไนยสัตวใ์ ห้ปฏบิ ตั เิ ป็นผเู้ สยี สละตามพระบาทยคุ ล

ผู้ไมห่ ลงผิด ปฏบิ ัติติดตามคำ� สอนของพระองคแ์ ลว้ ย่อมไดร้ ับความสุขความ
เจรญิ ทง้ั แก่ตนและบคุ คลอน่ื ไดช้ ือ่ ว่าพระองคเ์ กิดมาเพอื่ ท�ำโลกนใี้ ห้เจริญด้วยสันติ
อนั เป็นทป่ี รารถนาของเหลา่ ประชาสตั ว์โดยแทจ้ ริง

32

เรอื่ งธรรมเกย่ี วกบั

ท่านอาจารย์พรหม จริ ปุญฺโ*

ขา้ พเจา้ ไดร้ ับคำ� ร้องขอจากบรรดาลกู ศษิ ยท์ ้งั หลายใหเ้ ป็นประธาน และใหเ้ อา
โอวาทหรอื บทความไปลงในหนงั สอื พมิ พท์ จี่ ะพมิ พแ์ จกเปน็ ธรรมบรรณาการในพธิ งี าน
ประชมุ เพลงิ ศพ ทา่ นอาจารยพ์ รหม จริ ปญุ โฺ  ซงึ่ เคยเปน็ สหพรหมจรรย์ ประพฤตพิ รต
พรหมจรรย์ ทัง้ เปน็ ลกู ศษิ ยข์ องครบู าอาจารย์องค์เดียวกันมาด้วย เมอ่ื ตวั ข้าฯ ไดร้ บั
คำ� ขอรอ้ งเชน่ นจ้ี งึ จำ� เปน็ ดว้ ยขา้ ฯ ไมเ่ คยแตง่ หนงั สอื อะไรมากอ่ นเลย จำ� เปน็ จำ� ใจแตง่ ดู
ไปกอ่ น

กอ่ นอนื่ ขอเลา่ เรอ่ื งความเปน็ มาของทา่ นอาจารยพ์ รหมทขี่ า้ พเจา้ เคยรมู้ า เพราะ
ทา่ นอาจารย์พรหมองค์นี้ ท่านเปน็ ธรรมคติบคุ คล เปน็ ผูม้ ุ่งแสวงหาความสุขตั้งแต่
สมัยท่านยังเป็นฆราวาสวิสัย เหมือนประวัติขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
สมยั พระองคย์ งั ไมต่ รสั รู้ กอ่ นทรงผนวชและตรสั รู้ พระองคก์ ท็ รงครนุ่ คดิ เพอ่ื แสวงหา
ความสุขอันยอดเย่ียมช้ัน แต่พระองค์ทอดพระเนตรเห็นคนแก่ คนเจ็บ คนตาย
คราวประพาสอทุ ยาน เกดิ ความสลดสงั เวชพระหฤทยั มงุ่ มน่ั ทจ่ี ะแสวงหาทางพน้ จาก
ส่งิ เหล่านน้ั

* ท่านอาจารย์อ่อน ญาณสริ ิ วดั ปา่ นิโครธาราม อุดรธานี ไดส้ ดับมาและเขียนเพือ่ เปน็ ข้อคิดแก่
ผ้ใู คร่สนใจในธรรม

33

ทา่ นอาจารยพ์ รหมองคน์ ก้ี ม็ ลี กั ษณะเชน่ นนั้ ตามทที่ า่ นอาจารยส์ ารซงึ่ เปน็ อาจารย์
สอนธรรมใหแ้ กท่ ่านอาจารย์พรหม ได้เล่าเรือ่ งราวของทา่ นอาจารยพ์ รหมถวายท่าน
อาจารยใ์ หญ่ หลวงพอ่ ม่นั ภูริทตั ตมหาเถระ ได้ทราบ ในสมัยทท่ี ่านพกั อยทู่ ี่วดั ป่า
หนองผอื นาใน ครง้ั นน้ั ขา้ พเจา้ กไ็ ดน้ ั่งคอยเฝ้าปฏิบัติท่านอยู่ ณ ท่นี ้ัน คร้นั ต่อมา
วนั หลงั ขา้ พเจา้ มโี อกาสไดไ้ ปกราบเทา้ ทา่ นอาจารยส์ าร และขอเรยี นใหท้ า่ นเลา่ เรอื่ งของ
ทา่ นอาจารยพ์ รหมสมยั เปน็ ฆราวาสแสวงหาความสขุ อยนู่ น้ั ใหร้ แู้ จง้ ชดั ขนึ้ เพอื่ เปน็ คติ
ตวั อย่างในทางพ้นทุกขบ์ า้ ง

ท่านอาจารย์สารจึงได้เล่าเร่ืองให้ฟังดังนี้ ก่อนท่ีพ่อออกพรหมจะอาราธนาผม
เทศนน์ น้ั พอ่ ออกพรหมไดเ้ ลา่ เรอื่ งความเปน็ มาของตวั ใหท้ า่ นไดท้ ราบวา่ แตเ่ กดิ มากบั
พ่อแม่พอรู้ภาวะเดียงสา ใจมีแต่อยากได้ความสุข จึงได้พากเพียรอุตสาหะช่วย
กจิ การงานของพอ่ แม่ จนโตขนึ้ เปน็ หนมุ่ กย็ งั ไมเ่ หน็ ความสขุ เหน็ แตท่ กุ ขป์ ระจำ� อยเู่ สมอ
จึงพิจารณาลงที่ใจว่ามันชอบอะไร สุขอยู่ที่ไหนหนอ มันอยากได้เมีย นึกว่าจะมี
ความสขุ เมอื่ ไดเ้ มยี แลว้ นกึ วา่ จะเปน็ สขุ หาสขุ กไ็ มเ่ หน็ จนกระทงั่ มลี กู มเี ตา้ มที รพั ยส์ นิ
เงินทอง ข้าวของเรอื กสวนไร่นา เหยา้ บา้ นเรือนชาน ววั ควายลายเขา และเป็นพ่อค้า
นายฮอ้ ย สงิ่ เหลา่ นม้ี คี รบบรบิ รู ณส์ มบรู ณห์ มดทกุ อยา่ ง แตส่ ดุ ทา้ ยกย็ งั ไมพ่ บความสขุ
มีแต่เพิ่มทกุ ขข์ นึ้ ทุกที

ครูบาอาจารย์เคยผ่านมาทางน้ีหลายท่านหลายองค์ ท่านก็แนะน�ำให้ละวาง
อารมณ์ทั้งหลายเสีย จะพ้นทุกข์พ้นภัย จะได้ความสุข มีแต่เทศนาให้ฟังอย่างน้ี
ยงั ไมเ่ ปน็ ทหี่ ายขอ้ ขอ้ งใจเสยี ได้ จงึ ขอโอกาสเรยี นทา่ นอาจารยโ์ ปรดไดเ้ ทศนาอธบิ าย
ในบทว่า “ละใหเ้ กดิ สขุ ” ให้พวกกระผมไดแ้ จ่มแจง้ ดว้ ยเถิด

ตอ่ จากนน้ั ทา่ นอาจารยส์ ารไดท้ ราบความประสงคข์ องผตู้ อ้ งการแลว้ ทา่ นจงึ เตอื น
วา่ ใหต้ ง้ั ใจฟงั ดว้ ยดดี งั นแี้ ลว้ ทา่ นกต็ ง้ั นโม ๓ จบ แลว้ ขน้ึ อเุ ทศคาถาวา่ “ธนปรจิ าโค
ตัณหาปริจาโค ชวี ติ ปรจิ าโค ปตุ ตปริจาโค ภริยาปริจาโคติ”

ตอ่ แตน่ ีไ้ ป จงใหพ้ อ่ ออก แม่ออก ตง้ั ใจฟงั ธรรมเทศนาท่ีพระองคไ์ ดบ้ ำ� เพญ็
ทานบารมมี าดจุ แมน่ ำ�้ ใหญท่ ง้ั หา้ จนไดม้ าตรสั รเู้ ปน็ พระพทุ ธเจา้ ถงึ ทสี่ ดุ นน้ี นั้ พระองค์

34

ก็ไดค้ ิดค้นหาความสขุ ดุจเดียวกนั กับพวกเราเด๋ียวน้ีแหละ ตั้งแตส่ มัยเปน็ สทิ ธัตถ-
ราชกุมาร เสวยพระราชสมบตั ิอยู่ ทา่ นกไ็ ดค้ ้นหาความสขุ อนั จะให้พ้นความแก่ชรา
พยาธิ มรณะ เปน็ อนั ไม่มีทกุ ขท์ ้ังสามอย่างนี้ พระองคเ์ หน็ วา่ เปน็ เพลิงอันใหญห่ ลวง
เผาบคุ คลและสตั วใ์ หพ้ นิ าศฉบิ หายอยไู่ มร่ หู้ ยดุ หยอ่ น นบั วา่ เปน็ มหนั ตทกุ ขม์ หนั ตภยั
อนั ใหญอ่ ยใู่ นโลกน้ี จะมที างใดหนอหลกี หนใี หพ้ น้ ได้ หรอื จะมหี ยกู ยาเวทมนตอ์ ะไร
อยู่ที่ไหนมาแก้ไขให้มันหายได้ดังน้ี ท่านจึงได้นึกเห็นทางบรรพชาทางเดียวเท่านั้น
พอเป็นทางท่ีจะพิจารณาแก้ไขของสามอย่างน้ีได้ดังนี้ ก็เหมือนพ่อออกพรหมได้คิด
หาความสขุ ทง้ั หลายมาแลว้ กย็ งั ไมพ่ บเหน็ ความสขุ จนบดั นี้ กจ็ ะไดอ้ ยา่ งไรเลา่ เพราะ
หาความสุข เดินหาตามตณั หา และหามาตนั ตัวของตวั ไว้ มันก็พอเท่ากับลิงตวั หนง่ึ
ตดิ ตงั ตดิ กบั อยแู่ ลว้ พวกหมไู่ ปหาอบุ ายแกช้ ว่ ยตวั ใด กข็ นึ้ ไปเหยยี บลงใหล้ งิ ตวั ทต่ี ดิ กบั
อยนู่ น้ั เจบ็ เปน็ ทกุ ขถ์ งึ แกค่ วามตายไป อปุ มาอปุ ไมยกเ็ หมอื นกนั นน้ั แหละ เพราะตวั ของ
ตนเองกเ็ ตม็ ไปดว้ ยทกุ ขอ์ ยแู่ ลว้ ดงั ทา่ นผรู้ เู้ ทศนาบอกไวว้ า่ ใจเปรยี บเหมอื นราชกมุ าร
ธาตุท้ังสี่เป็นแมเ่ ลี้ยง ธาตุดนิ เปน็ ผู้ใหอ้ าหาร ธาตนุ �้ำเปรยี บผใู้ หโ้ สรจสรง ใหม้ ีความ
ชุม่ เย็น ชวี ติ ของราชกมุ ารจึงอยไู่ ด้ ธาตไุ ฟให้ความอบอนุ่ ธาตุลมให้พดั วี ซึง่ ท�ำให้
ราชกุมารมีชีวติ เปน็ อยู่ได้ดงั น้ี ใหพ้ วกเราทุกท่านพจิ ารณาดูที

ชวี ติ ของพวกเราท่ีเปน็ อย่ทู กุ วนั นี้ เปน็ อยู่ไดด้ ว้ ยอาศัยธาตุทง้ั สี่เลี้ยงรกั ษาชวี ิต
ใหเ้ ปน็ อยไู่ ดใ้ ชไ่ หม พระพทุ ธองคบ์ อกไวไ้ มผ่ ดิ เลย เรอื่ งธาตทุ งั้ สนี่ อ้ี นั ตรายมนั มมี าก
มีโรคภัยเป็นต้น มันเกิดข้ึนเบียดเบียนตัวมันเองให้แตกสลายท�ำลายย่อยยับไป
เป็นอันว่าพ่อออกพรหมได้รู้ดีเต็มใจอยู่แล้ว เมื่อทุกตัวคนเรามีอยู่เหมือนราชกุมาร
ตอ้ งอาศยั ธาตทุ งั้ สคี่ มุ้ ครองจงึ ไมถ่ งึ แกค่ วามตายนฉี่ นั ใด เรารทู้ กุ ขแ์ ลว้ เราไปหาทกุ ข์
มาเพิ่มเติมเข้าไปอีก ก็เหมอื นกบั ลงิ ท่ีตดิ กบั อยู่ หม่ลู งิ มาชว่ ยก็พากนั ขึน้ เหยียบตวั ท่ี
ตดิ กับ เปน็ การเพม่ิ ทุกขใ์ หแ้ ก่กนั จนถงึ ตาย ดงั ไดอ้ ธิบายมาแล้วนัน้ แหละ

ต่อไปนี้ อาตมาจะได้แสดงตามโอวาทของพระพุทธองค์ท่ีได้ยกอุเทศคาถาไว้
ณ เบอ้ื งตน้ นนั้ วา่ ธนปรจิ าโค ตณั หาปรจิ าโค ชวี ติ ปรจิ าโค ปตุ ตปรจิ าโค ภรยิ าปรจิ าโค
ดงั น้ี

35

ธนปรจิ าโค ทรพั ยท์ ง้ั หลายมเี งนิ ทองขา้ วของบา้ นเรอื นและไรน่ า เปน็ ตน้ เปน็ ของ
มมี าเพอื่ เพม่ิ ทกุ ขข์ องตนทต่ี นมอี ยดู่ ว้ ยขนั ธ์ ๕ อนั เปน็ ตวั ทกุ ขอ์ ยแู่ ลว้ ดงั พอ่ ออกพรหม
ที่ได้เหน็ มาแล้วน้นั จาโค ใหส้ ละใหว้ างออกจากใจของตนเดยี๋ วน้ี ตณั หาปริจาโค
ใหล้ ะใหว้ างตณั หา ความรกั ลกู และเมยี ออกจากใจของตนใหห้ มด ดงั พอ่ ออกพรหมได้
เหน็ แลว้ วา่ มเี มียและมีลกู ได้ของเหล่านีม้ าเป็นการเพ่มิ ทุกข์ของตนเอง ดงั น้ีจงึ ได้ละ
ออกจากใจของตนใหห้ มดเดย๋ี วน้ี ชวี ติ ปรจิ าโค ชวี ติ ความเปน็ อยดู่ ว้ ยลมหายใจ อนั วา่
ลมเปน็ ของไมม่ สี าระแกน่ แขง็ อะไร ทง้ั รา่ งกายของใครเราอนั มคี นละกอ้ นๆ อยู่ มนั เปน็
ของบูดเน่าเป็นปฏิกูลอยู่ทุกส่วน ไม่น่ายินดีเลย ให้ละออกจากใจให้หมดเด๋ียวนี้
ปุตตปริจาโค บตุ รเปน็ ตัวทุกข์ตวั รอ้ นใหญ่ ผไู้ ดผ้ มู้ ดี งั พ่อออกพรหมไดเ้ หน็ มาแลว้
ให้ละจากใจใครเราให้หมดเด๋ยี วน้ี ภริยาปรจิ าโค ภรรยาลกู เมยี และลูกผวั ของใคร
ชายหญิงที่มานั่งฟังเทศน์อยู่เด๋ียวน้ี เป็นทุกข์แก่ผู้ได้ผู้มี ดังพ่อออกพรหมได้เห็น
มาแลว้ ใหล้ ะใหห้ มดเดยี๋ วนี้ จะเปน็ มหากศุ ลบญุ อนั ใหญย่ ง่ิ ดจุ กระแสแมน่ ำ�้ กระแสชล
ไหลลงสมู่ หาสมทุ รทะเล ใหน้ ำ�้ ในมหาสมทุ รทะเลมากมนู ขนึ้ มหากศุ ลกจ็ ะบงั เกดิ มใี นใจ
เหมือนกันฉนั นัน้ แหละดงั นี้

เมอื่ พระอาจารยส์ ารอธบิ ายธรรมไดจ้ บลงแลว้ พระอาจารยส์ ารกบ็ อกวา่ เตรยี มตวั
นง่ั สมาธิ อาตมาจะพานำ� นง่ั อบรมกนั เดย๋ี วน้ี แลว้ ใหต้ า่ งคนตา่ งวางอารมณก์ นั ใหอ้ อก
จากใจใหห้ มด ดงั อาตมาไดเ้ ทศนาบอกมาแลว้ นนั้ พระอาจารยส์ ารกพ็ านงั่ เขา้ ที่ เปน็
การน�ำจิตของพอ่ ออกพรหมคราวนัน้ รวมลง ไดเ้ หน็ ความสขุ อนั ใหญ่หลวง เปน็ ของ
เกิดขึ้นภายในจิตใจของตนเองอันเกิดจากการละการวางอารมณ์ภายในจิตใจของ
ตนเองแทๆ้ ซึ่งไมเ่ คยพบเคยเหน็ มากอ่ นเลย คราวนี้จิตสงบอยู่นานถงึ ๒ ชัว่ โมง

พระอาจารย์สารจึงเตือนแล้วพาออกจากที่ พ่อออกพรหมได้เห็นความสุขใน
จิตของตนทร่ี วมลงแล้วนั้นแน่ในใจของตน จึงได้ออกอุทานวา่ “ผมต้องบวชแน่แลว้
พระอาจารย์” ดังนี้ เป็นประวัติทีข่ า้ พเจ้าไดส้ ดบั มาจากทา่ นอาจารย์สาร

ทา่ นอาจารยพ์ รหม จิรปญุ ฺโ ทา่ นเปน็ ผู้มบี ุญมวี าสนาบารมแี กก่ ล้า เมอื่ ท่าน
ไดส้ ดบั โอวาทพระธรรมเทศนาของท่านอาจารยส์ าร ซึ่งเป็นผใู้ ห้แนวทางให้ทา่ นเปน็

36

ผู้ไดเ้ งอื่ นไขแลว้ ท่านก�ำหนดท�ำตามจริงๆ ท่านก็ได้เหน็ ผลเอง เพราะพระธรรมเปน็
ของไม่เลอื กกาลเลอื กสมัย และเปน็ ของวิญญูชนจะพงึ รแู้ จ้งเฉพาะตน

ในงานประชมุ เพลงิ ครงั้ นี้ พวกเราสานศุ ษิ ยท์ งั้ หลาย ขอไดต้ ง้ั จติ อทุ ศิ คณุ ความดี
บชู าพระคุณของท่านโดยท่วั กนั เทอญ

37

พระธรรมเทศนาของ

ท่านอาจารยพ์ ระมหาบวั าณสมฺปนฺโน

วัดปา่ บ้านตาด จังหวดั อดุ รธานี

คดั มาเปน็ บางตอน

ในองคข์ องสตปิ ฏั ฐานส่ี บรรจเุ รอื่ งของเราไวอ้ ยา่ งสมบรู ณ์ คอื ทง้ั กายนอก และ
กายในกาย ท้งั เวทนานอก เวทนาใน และเวทนาในเวทนา ทัง้ จิตนอก จติ ใน และ
จติ ในจติ ทง้ั ธรรมนอก ธรรมใน และธรรมในธรรม ซง่ึ เปน็ เปา้ หมายของการพจิ ารณา
โดยผู้ปฏิบัติจะไม่ได้ท�ำความสงสัยว่า คนมีสติปัฏฐานสี่ไม่ครบท้ังภายนอกภายใน
แตก่ ารกลา่ วนไ้ี มไ่ ดห้ มายความวา่ สตปิ ฏั ฐานสภ่ี ายนอกไมส่ มบรู ณ์ และสตปิ ฏั ฐานปา่
กับสติปัฏฐานบ้านเกิดทะเลาะกัน แต่แสดงเพ่ือโอปนยิโก ผู้ปฏิบัติศาสนาท่ีสนใจ
จะไดท้ ราบวา่ ความดี ความชวั่ ไมไ่ ดอ้ ยเู่ ฉพาะภายนอกอยา่ งเดยี ว แมภ้ ายในตวั ของ
บคุ คลเดยี วกค็ วรจะสมบรู ณด์ ว้ ยสตปิ ฏั ฐานสไ่ี ด้ สว่ นผจู้ ะพจิ ารณากายนอก เชน่ กาย
คนอืน่ สตั วอ์ ่นื เป็นตน้ ไมม่ ปี ัญหาอะไร เพราะปริยัตทิ า่ นวางไว้ตายตวั เช่น ธดุ งค์
ข้อเยี่ยมปา่ ช้า กท็ รงม่งุ กายนอกอย่างเด่นชดั สว่ นเวทนา จติ ธรรม ทัง้ นแ้ี ลว้ แต่
จะหาอบุ ายแยบคายเพอ่ื ตนเอง ถา้ มคี วามแยบคายภายในอยทู่ ไี่ หน ไปทใี่ ดยอ่ มเปน็
สตปิ ัฏฐานสีท่ ั้งนั้น ถ้าไมส่ นใจดว้ ยแลว้ น่ังเฝ้านอนเฝ้า สตปิ ัฏฐานสี่ก็ไมม่ ีโอกาสรู้
เหน็ ได้ สติปัฏฐานสี่เปน็ อยา่ งไรและอยู่ที่ไหน หาไมเ่ จอตลอดกปั กัลป์ เช่น พวกเรา
ท่ีตกคา้ งอยู่ในโลก “อนจิ ฺจํ ทุกขฺ ํ อนฺตตา” ก็คือพวกค้นหาสติปัฏฐานสีไ่ มเ่ จอนนั่ เอง

38

ไม่ต้องไปต�ำหนิใคร เรื่องท่ีน่าต�ำหนิอย่างยิ่งก็คือเร่ืองของเราผู้ค้นหาของจริงในตัว
ไม่พบ ถา้ ต้องการจะผา่ นความต�ำหนินไ้ี ป คำ� วา่ อตตฺ า หิ อตฺตโน นาโถ ก็ควรถือ
เป็นเร่ืองของเราโดยสมบูรณ์ วาระสุดท้ายซ่ึงเป็นงานเพ่ือตัวและส่วนรวมจึงถือ
เป็นเรื่องของเราจะต้องท�ำจนสุดความสามารถ จะไม่เสียลวดลายของผู้เป็นศิษย์
พระตถาคตผปู้ รากฏเพศทางความเพียร และประทานพระโอวาทไวม้ ี ศรัทธา วริ ิยะ
สติ สมาธิ ปญั ญา ซงึ่ เปน็ รากฐานและรอ่ งรอยทท่ี รงผ่านไปแล้ว เชน่ เดยี วกับการ
ปลกู บ้านเรือนด้วยโครงเหล็กเทคอนกรีตอย่างหนาแน่น

ฉะนน้ั คำ� วา่ สตปิ ฏั ฐานสก่ี ด็ ี และไตรลกั ษณก์ ด็ ี อยา่ ใหฝ้ งั อยเู่ พยี งความจำ� และ
เป็นนักบวชขอธรรม ท้งั นีฝ้ ังรากลึกลงถึงปัญญาจริงๆ จะเห็นทางพน้ ทกุ ขป์ รากฏขึน้
กบั ใจเปน็ ลำ� ดบั ในขณะทป่ี ญั ญากบั ธรรมทง้ั สามนไี้ ดเ้ ชอ่ื มถงึ กนั การเชอ่ื มสนทิ ระหวา่ ง
ปัญญากับธรรมเหล่าน้ี จะเป็นทางหลุดพ้นโดยไม่มีอะไรจะสามารถแยกออกได้
ความหลดุ พน้ ของพระพทุ ธเจา้ กด็ ี ของพระสาวกกด็ ี ทเี่ ลอื่ งลอื มาเปน็ เวลานาน จะทราบ
ไดโ้ ดยประจกั ษว์ า่ ทรงหลดุ พน้ เพราะธรรมเหลา่ นเ้ี ทา่ นน้ั ซง่ึ เปน็ จดุ รบั รองความบรสิ ทุ ธ์ิ
โดยสนิ้ เชงิ ดงั นนั้ ขอใหน้ กั ปฏบิ ตั จิ งทำ� ความพยายามจนสามารถยงั ธรรมทก่ี ลา่ วมาน้ี
ให้เชื่อมถงึ กันกับปัญญาอยา่ งแนบสนทิ ความพ้นทกุ ข์ซ่งึ รอคอยมานานจะประจกั ษ์
จากจดุ น้ีโดยไมต่ อ้ งสงสัย

39

หมายเหตุผเู้ รยี บเรยี ง

เนื้อหาในสว่ นต่อไปน้ี คัดลอกจาก หนงั สือหลวงปู่พรหม จิรปญุ โฺ 
ซ่ึงเรียบเรยี งโดย ร.ศ.ดร.ปฐม-ร.ศ.ภทั รา นิคมานนท์

ชวี ประวัติ

หลวงปพู่ รหม จริ ปุญโฺ 

พระคณุ เจา้ หลวงปพู่ รหม จริ ปญุ โฺ  เปน็ ทรี่ จู้ กั ในบรรดาลกู ศษิ ยล์ กู หาผมู้ คี วาม
เคารพศรัทธาวา่ “พระอรหันต์แหง่ บ้านดงเย็น”

หลวงปทู่ ่านพำ� นักประจำ� เป็นวัดสุดท้ายท่ีวดั ประสทิ ธธิ รรม บ้านดงเยน็ ตำ� บล
ดงเยน็ อำ� เภอบ้านดงุ จงั หวัดอดุ รธานี

วัดของท่านต้ังอยใู่ นพื้นที่รอบนอกของจงั หวดั อดุ รธานี ตอ่ แดนกับเขตจงั หวัด
สกลนคร และจังหวัดหนองคาย นบั เป็นชนบทหา่ งไกล ซ่งึ แตเ่ ดมิ การเดนิ ทางไปวัด
ของท่านแสนจะลำ� บาก ด้วยท้งั อยู่ห่างไกลและหนทางทุรกนั ดาร แต่บรรดาผูศ้ รทั ธา
เลอ่ื มใสทงั้ ใกลแ้ ละไกลจากทว่ั สารทศิ กม็ ไิ ดย้ อ่ ทอ้ ตอ่ ความยากลำ� บากในการเดนิ ทาง
ไปกราบไหว้องคห์ ลวงปเู่ พ่ือเปน็ สิริมงคลของชีวติ

แมเ้ มอื่ องคห์ ลวงปพู่ รหมมรณภาพแลว้ กต็ าม บรรดาลกู ศษิ ยล์ กู หา และผเู้ คารพ
ศรทั ธากย็ งั เดนิ ทางไปกราบไหวพ้ ระเจดยี ์ พระธาตุ รปู เหมอื น และบารมธี รรมของทา่ น
โดยไม่มีว่างเว้นในแต่ละวัน และต่างก็ได้รับความช่ืนอกช่ืนใจเป็นสุขใจด้วยกันทุก
ถ้วนหนา้

เมอ่ื คราวทหี่ ลวงปพู่ รหม จริ ปญุ โฺ  ไดล้ ะสงั ขารในปี พ.ศ. ๒๕๑๒ และทำ� การ
ถวายเพลงิ ศพระหวา่ งวนั ที่ ๕-๗ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๑๔ บรรดาผทู้ ศี่ รทั ธาจากทวั่ ประเทศ

41

ไดห้ ลงั่ ไหลไปรว่ มงานอยา่ งคบั คง่ั ในการน้ี ทา่ นหลวงตาพระมหาบวั าณสมปฺ นโฺ น
ได้กระซิบบอกศิษย์ใกล้ชิดผู้จะไปร่วมงานว่า “...ให้พยายามเอาอัฐิของท่านอาจารย์
องคน์ ใี้ ห้ไดน้ ะ อัฐิของพระอาจารยอ์ งค์นี้จะเป็นพระธาตแุ นน่ อน”

และความจริงก็ปรากฏว่า ภายหลังการถวายเพลิงศพของท่านในเวลาไม่นาน
อัฐขิ องหลวงปู่พรหม จิรปญุ โฺ  กลายเปน็ พระธาตุ มีหลากสีงดงามย่งิ

พระธาตุ หรือ พระอรหันตธาตุ ถือเป็นวัตถุพยานที่บ่งบอกถึงความเป็น
พระอรหันต์ กล่าวคือหลังจากท่านเหล่าน้ันมรณภาพและถวายการฌาปนกิจแล้ว
อฐั ขิ องทา่ นกแ็ ปรเปลย่ี นเปน็ พระธาตุ หรอื พระอรหนั ตธาตุ ทม่ี สี ณั ฐานและสสี นั งดงาม
แตกต่างจากกระดกู ของคนธรรมดาสามญั ทวั่ ไป

หลวงป่พู รหม จิรปุญโฺ  มปี ระวัติชวี ิตทง่ี ดงามมาตลอด ตงั้ แต่สมยั ที่ยงั เป็น
ฆราวาส และในชวี ติ พระภกิ ษขุ องทา่ นกม็ จี รยิ าวตั รทง่ี ดงาม เครง่ ครดั ในพระวนิ ยั และ
มคี วามเพียรอยา่ งย่งิ ยวดจนสามารถบรรลุธรรมไดใ้ นเวลาไมน่ าน ด้วยทา่ นเป็นพระ
อรยิ สงฆ์ประเภทขปิ ปาภิญญา คือบรรลธุ รรมได้เร็ว

สมยั เม่ือยังเด็ก หลวงป่พู รหม ท่านมลี กั ษณะทแ่ี ปลกกวา่ เด็กชนบทท่ัวไป คอื
ทา่ นครนุ่ คดิ ถามหาความสขุ ท่แี ทจ้ ริงของคนเรามันคืออะไร และอย่ทู ่ีไหน

ครน้ั ถงึ วยั หนมุ่ ทา่ นคดิ วา่ ความสขุ คอื การไดแ้ ตง่ งานมคี รอบครวั จงึ ขอใหผ้ ใู้ หญ่
สขู่ อหญงิ สาวมาตกแตง่ ตามประเพณี แตก่ ไ็ มส่ ามารถพบกบั ควาามสขุ ทแี่ ทจ้ รงิ ตามที่
คน้ หาไม่

ทา่ นมคี วามคดิ ตอ่ ไปวา่ การมที รพั ยส์ นิ ทม่ี ง่ั คงั่ บรบิ รู ณ์ นา่ จะทำ� ใหช้ วี ติ มคี วามสขุ
ทา่ นจงึ ไดม้ คี วามพากเพยี รหาทรพั ยจ์ นมฐี านะทมี่ ง่ั คงั่ ในทอ้ งถน่ิ มที รพั ยส์ นิ เหลอื กนิ
เหลอื ใช้ แตก่ ไ็ มพ่ บกบั ความสขุ อยา่ งแทจ้ รงิ ตรงกนั ขา้ ม กลบั กลายเปน็ ความกงั วลใจ
เสยี มากกวา่ คอื กงั วลใจทจ่ี ะตอ้ งหาทรพั ยเ์ พม่ิ ขนึ้ อยเู่ รอื่ ยๆ กงั วลใจกลวั ทรพั ยจ์ ะลด
นอ้ ยลง หรอื มอี นั ตอ้ งพินาศสูญหายไป เป็นต้น

42

ภายหลงั ทา่ นไดพ้ บกบั พระธุดงค์ศิษยข์ องหลวงปู่มัน่ ภูรทิ ตโฺ ต มาพักปักกลด
อยูใ่ กล้หมู่บ้าน ท่านจึงได้ไปทำ� บุญ สนทนาธรรม และฝกึ นง่ั สมาธิภาวนา ไดพ้ บกับ
ความสุขสงบชนิดท่ีไม่เคยพบมากอ่ น ทา่ นจึงตัดสนิ ใจแสวงหาความสขุ ในทางธรรม

หลวงปไู่ ดช้ กั ชวนภรรยาออกบวช โดยเรม่ิ บรจิ าคทรพั ยส์ นิ ทมี่ ที ง้ั หมดใหก้ บั คน
ทง้ั ใกลแ้ ละไกลทต่ี อ้ งการ ยกบา้ นและทด่ี นิ ถวายวดั รวมทงั้ สรา้ งโรงเรยี นประชาบาลใน
ทอ้ งถน่ิ แลว้ พากนั ออกบวช โดยภรรยาทา่ นไดบ้ วชเปน็ แมช่ ตี ลอดชวี ติ และตวั ทา่ นเอง
ก็บวชเปน็ พระภกิ ษเุ ร่งบ�ำเพ็ญเพยี รตามแนวทางพระพุทธศาสนาอย่างจรงิ จงั

เม่ือบวชเป็นพระภิกษุแล้ว หลวงปู่พรหมก็ได้ธุดงค์ติดตามปฏิบัติธรรมกับ
หลวงปมู่ น่ั ภรู ทิ ตโฺ ต เปน็ เวลาหลายปี ทา่ นมคี วามพากเพยี รสงู มาก จนไดร้ บั คำ� ชมเชย
จากหลวงปมู่ ่นั ต่อหน้าพระเถระผ้ใู หญ่หลายองค์ว่า

“ท่านพรหมเป็นผู้มีความพากเพียรสูงย่ิง เป็นผู้มีสติ มีความตั้งใจแน่วแน่
ได้ประพฤติปฏิบตั ิธรรมอย่างเครง่ ครัดท่สี ุด เป็นตวั อยา่ งทีด่ คี วรเอาเป็นเยยี่ งอย่าง”

ภายหลงั จากหลวงปมู่ น่ั ภรู ทิ ตโฺ ต เดนิ ทางกลบั จากเชยี งใหมเ่ มอ่ื ปี พ.ศ. ๒๔๘๒
มาพำ� นกั ในภาคอสี านแลว้ หลวงปพู่ รหมทอ่ งเทย่ี วอยทู่ างภาคเหนอื ตอ่ ไปอกี ระยะหนงึ่
เมอ่ื ท่านเสร็จกจิ และเดินทางกลับจากเชยี งใหม่ และได้เขา้ กราบหลวงปู่มั่นที่จังหวัด
สกลนคร หลวงปูม่ นั่ ไดถ้ ามทา่ นต่อหน้าพระเถระทงั้ หลายวา่

“ทา่ นพรหม ทา่ นเดนิ ทางมาแตไ่ กลเปน็ อยา่ งไรบา้ ง การพจิ ารณากาย การภาวนา
เปน็ อยา่ งไร” หลวงปพู่ รหมตอบอยา่ งอาจหาญ (ดว้ ยภาษาถนิ่ อสี าน) วา่ “เกลา้ ฯ ไมม่ ี
อกถังกถีแล้ว” หมายความว่า ทา่ นหมดความลังเล และสิน้ ความสงสัยในธรรมโดย
ส้นิ เชิงแลว้

หลวงปพู่ รหม จริ ปญุ โฺ  ทา่ นมคี วามเกย่ี วขอ้ งกบั วดั ปา่ อาจารยม์ นั่ (ภรู ทิ ตโฺ ต)
บ้านแม่กอย ต�ำบลเวยี ง อำ� เภอพร้าว จังหวัดเชยี งใหม่ อย่างไร?

43


Click to View FlipBook Version