๓. หลวงปพู่ รหม จริ ปญุ โฺ (เกดิ พ.ศ. ๒๔๓๓ อปุ สมบท พ.ศ. ๒๔๗๑) เดนิ ธดุ งค์
ไปภาคเหนือ หลังออกพรรษาปี พ.ศ. ๒๔๗๗ ไปพำ� นักท่ีบ้านปง (วดั อรัญญวเิ วก
ในปจั จุบัน) แล้วขนึ้ เหนือไปที่เชียงดาว แลว้ จึงเดนิ ธุดงคไ์ ปกับหลวงปชู่ อบ €านสโม
เขา้ ไปในเขตพม่า ซึ่งจะกล่าวรายละเอยี ดตอ่ ไป
๔. หลวงปชู่ อบ €านสโม (เกดิ พ.ศ. ๒๔๔๔ อปุ สมบท พ.ศ. ๒๔๖๗) ออกเดนิ ธดุ งค์
ขน้ึ ภาคเหนอื หลงั ออกพรรษาปี พ.ศ. ๒๔๗๙ ทา่ นเดนิ ทางองคเ์ ดยี ว ออกจากจงั หวดั เลย
ไปทางเพชรบรู ณ์ แลว้ ไปทางลำ� ปาง ขนึ้ ไปเชยี งใหม่ เดนิ ทางทง้ั กลางวนั และกลางคนื
ใชเ้ วลา ๙ วนั ๙ คนื จงึ ถงึ เชยี งใหม่ ไปพกั จำ� พรรษาแรก พ.ศ. ๒๔๘๐ ทว่ี ดั บา้ นปง
อำ� เภอแมแ่ ตง ตอ่ จากนนั้ กอ็ อกธดุ งคไ์ ปทางประเทศพมา่ โดยรว่ มเดนิ ทางไปกบั หลวงปู่
พรหม จริ ิปญุ โฺ ดงั จะได้กลา่ วถึงในตอนต่อไปนี้
จากขอ้ มลู เกยี่ วกบั หลวงปคู่ รอู าจารยข์ า้ งตน้ ทง้ั ๔ องค์ ทำ� ใหท้ ราบวา่ แตล่ ะองค์
ตา่ งเดินทางข้ึนภาคเหนือไมพ่ ร้อมกนั ตา่ งองค์ต่างไปโดยมเี ปา้ หมายเดียวกนั คือไป
เสาะหาหลวงปู่ม่นั พระอาจารย์ใหญ่ เพือ่ รับการช้แี นะในธรรมปฏบิ ัตใิ หย้ ง่ิ ขึ้นไป
จากขอ้ มลู ขา้ งตน้ จงึ แนใ่ จวา่ หลวงปพู่ รหม จริ ปญุ โฺ กบั หลวงปชู่ อบ €านสโม
เดนิ ธดุ งคข์ นึ้ ภาคเหนอื คนละครง้ั กนั ไมไ่ ดไ้ ปดว้ ยกนั ตา่ งองคต์ า่ งไป และไปคนละปี
คอื หลวงปพู่ รหมไปในปี พ.ศ. ๒๔๗๗ สว่ นหลวงปชู่ อบไปในปี พ.ศ. ๒๔๗๙ ชว่ งเวลา
ห่างกนั ถึง ๒ ปี
94
ธุดงคเ์ ข้าเขตพม่า
ในประวตั ขิ องหลวงปพู่ รหม จริ ปญุ โฺ กลา่ วถงึ การเดนิ ธดุ งคเ์ ขา้ ไปในเขตพมา่
เพยี งสัน้ ๆ และกลา่ วรวมๆ ไม่มีรายละเอยี ดดังนำ� เสนอแลว้ ในบนั ทึกประวัติของ
หลวงปูช่ อบ €านสโม สหธรรมิกผู้รว่ มธุดงคก์ บั หลวงป่พู รหมมเี ขยี นไว้ ดงั นี้
“การขนึ้ ภาคเหนอื ในครง้ั นี้ หลวงปชู่ อบ €านสโม ตงั้ ใจวา่ จะเทย่ี วธดุ งคไ์ ปใหถ้ งึ
เขตพม่า ท้ังๆ ที่ทราบว่าหนทางเป็นเขาแสนจะทุรกันดาร ไม่เป็นการผิดเลยท่ีจะ
กลา่ ววา่ สำ� หรบั หลวงปชู่ อบแลว้ ปา่ ลกึ และเขาสงู นนั่ เองคอื บา้ นอนั แสนผาสกุ ของทา่ น
เมอ่ื มโี อกาสทา่ นจะตอ้ งเขา้ ปา่ ขนึ้ เขาไปตามนสิ ยั ไดไ้ ปถงึ ใจกลางปา่ ลกึ ถงึ บนดอยสงู
แล้ว ใจจึงจะมีความปลอดโปร่งโล่งสบาย เม่ือทราบว่าหลวงปู่ชอบจะธุดงค์เดี่ยว
เข้าแดนพมา่ บรรดาเพอื่ นพระดว้ ยกนั ตา่ งกท็ ักทว้ งด้วยความเป็นห่วงวา่ ทางทจ่ี ะไป
พม่าน้ันแสนจะทุรกันดาร เต็มไปด้วยป่าดงดิบดงร้าย ไม่มีบ้านคน มีแต่สัตว์ป่า
ซงึ่ มกั จะเปน็ ประเภทดรุ ้าย อย่างเสอื อยา่ งชา้ ง เป็นตน้
หลวงปู่ชอบเล่าว่า เมืองพมา่ นนั้ มีมนตเ์ พรยี กให้ทา่ นไปเย่ียมใหไ้ ด้ ไม่ว่าจะมี
อุปสรรคอะไรขวางก้ัน ทา่ นก็จะต้องไป เมอ่ื หลวงปชู่ อบตัดสินใจแนว่ แน่ว่าจะธุดงค์
เข้าไปในเขตพม่า ในทส่ี ุด ท่านกไ็ ดก้ ัลยาณมติ รคู่คิดทจี่ ะเดนิ ธดุ งค์ไปด้วยกนั คือ
หลวงป่พู รหม จิรปญุ โฺ ศิษย์อาวุโสอีกทา่ นหนงึ่ ของหลวงปมู่ ่นั
95
หลวงปู่พรหมกับหลวงปู่ชอบมีอาวุโสใกล้เคียงกัน (หลวงปู่พรหมเกิดก่อน
หลวงปู่ชอบ ๑๑ ปี แต่หลวงปชู่ อบบวชก่อนหลวงปพู่ รหม ๔ ป)ี ต่างองคต์ ่างมีนสิ ยั
อาจหาญเดด็ เดี่ยว ใจเด็ด ไมก่ ลวั ตาย เช่นเดียวกนั
หลวงปู่ท้ังสององค์ฝ่าฟันความล�ำบากไปทางจังหวัดแม่ฮ่องสอน เมื่อเข้าเขต
พมา่ แลว้ ทา่ นกแ็ ยกทางกนั ดว้ ยหลวงปพู่ รหมประสงคจ์ ะเทยี่ วดบู า้ นเมอื งในพมา่ ดว้ ย
สว่ นหลวงปชู่ อบทา่ นปรารถนาจะอยแู่ ตใ่ นปา่ เขา ไมต่ อ้ งการเขา้ เมอื ง ทา่ นจงึ คงธดุ งค์
ตามปา่ เขา ไดอ้ าศัยพวกยางพวกกะเหรี่ยงในการบิณฑบาต
หลวงปู่ชอบบอกว่า ท่านเอ็นดูชาวพม่ามากที่ส่วนใหญ่เป็นคนดีมีศีลธรรม
ไม่ลักขโมยไมฉ่ ้อโกงกัน ท้งั มนี ำ้� ใจศรทั ธาในพระศาสนาอย่างดีย่ิง บรรดาพวกยาง
พวกกะเหร่ยี ง ไทใหญ่ ที่อยใู่ นปา่ ในเขา แมจ้ ะยากจนตรากตรำ� อย่างไร ก็จะต้องหา
อาหารมาใสบ่ าตรอยา่ งเหลอื เฟอื หลวงปชู่ อบชมวา่ พวกเขามใี จงาม ไมฆ่ า่ สตั วต์ ดั ชวี ติ
ถือศีลบรสิ ทุ ธิ์ แมเ้ ป็ดไก่ก็หายาก ไมม่ ีคนเลย้ี ง เพราะเขาตา่ งไม่ฆ่าสตั ว.์ ..”
ตามประวตั ิ หลวงปชู่ อบไดธ้ ดุ งคเ์ ขา้ ไปจำ� พรรษาในเขตพมา่ ถงึ ๒ ครง้ั ครง้ั แรก
ไปพร้อมกับหลวงปพู่ รหมดังกล่าว อยูจ่ �ำพรรษาในเขตพมา่ ๒ ปี ตดิ ตอ่ กนั คอื ปี
พ.ศ. ๒๔๘๑ และ ๒๔๘๒ ถา้ ดปู ี พ.ศ. ตามประวตั ขิ องหลวงปทู่ ง้ั สององค์ ปที เ่ี ดนิ ทาง
เขา้ ไปในพมา่ ตา่ งกนั ถงึ ๒ ปี คอื หลวงปพู่ รหมเดนิ ทางเขา้ พมา่ ในปี พ.ศ. ๒๔๗๘ สว่ น
ของหลวงปู่ชอบ เปน็ ปี พ.ศ. ๒๔๘๐
96
เส้นทางธดุ งคข์ องพระอาจารย์ใหญ่
หลวงปู่มนั่ ภรู ทิ ตโฺ ต พระอาจารยใ์ หญฝ่ ่ายวิปสั สนากรรมฐาน ไดพ้ �ำนกั ปฏบิ ตั ิ
ธรรมแสวงความวิเวก และเผยแผ่ธรรมให้แก่ประชาชนในภาคเหนือแถบป่าเขา
ห่างไกลความเจรญิ ในเขตจังหวดั เชียงใหมแ่ ละเชียงราย เปน็ เวลาติดตอ่ กันนานถึง
๑๒ ปี ระหวา่ ง พ.ศ. ๒๔๗๑-๒๔๘๒ ตอ่ จากนนั้ จงึ ไดร้ บั อาราธนาใหก้ ลบั ภาคอสี าน
เพ่อื โปรดลูกศิษย์ลกู หาทรี่ ออยูเ่ ป็นจ�ำนวนมาก
ตามประวตั ิ หลวงป่มู ั่นเดินทางไปเชียงใหมห่ ลงั ออกพรรษาปี พ.ศ. ๒๔๗๑
รบั ตำ� แหนง่ เจา้ อาวาสวดั เจดยี ห์ ลวง ในชว่ งพรรษาปี พ.ศ. ๒๔๗๕ พอออกพรรษาแลว้
ท่านก็สละต�ำแหน่งเจ้าอาวาสและต�ำแหน่งพระอุปัชฌาย์ ออกวิเวกตามป่าเขาในถิ่น
กันดารห่างไกลบา้ นเมือง
เป้าหมายในการเดินทางมาภาคเหนือของหลวงปู่ม่ันน้ัน ท่านต้องการแสวงหา
ท่ีวิเวกเพื่อบ�ำเพ็ญเพียรทางใจ ไม่ตอ้ งการยศตำ� แหนง่ หรอื ลาภสักการะใดๆ ท้ังสิน้
แตก่ ารทตี่ อ้ งรบั ตำ� แหนง่ เจา้ อาวาสนนั้ เพราะจำ� ใจตอ้ งอนโุ ลมตามความประสงคข์ อง
พระอาจารยข์ องท่าน คอื ทา่ นเจ้าประคณุ พระอุบาลคี ุณูปมาจารย์ (จนั ทร์ สริ จิ นโฺ ท)
ทีท่ า่ นมาพฒั นาวดั เจดียห์ ลวงในตัวเมอื งเชยี งใหม่ แล้วสถาปนาข้นึ เปน็ วดั ธรรมยตุ
แหง่ แรกในภาคเหนอื
97
ท่านเจ้าพระคุณพระอบุ าลคี ุณปู มาจารย์ เปน็ เจ้าอาวาสปกครองวดั เจดยี ห์ ลวง
ถงึ พ.ศ. ๒๔๗๔ แลว้ เดนิ ทางกลบั กรงุ เทพฯ ดว้ ยปญั หาสขุ ภาพ แลว้ แตง่ ตง้ั ใหห้ ลวงปมู่ นั่
ภรู ทิ ตโฺ ต เปน็ เจา้ อาวาสวดั เจดยี ห์ ลวงสบื ตอ่ จากองคท์ า่ น รวมทงั้ ตำ� แหนง่ พระอปุ ชั ฌาย์
และขอพระราชทานสมณศักดท์ิ ่ี พระครวู ินัยธร ให้ดว้ ย หลวงปู่ม่ันจำ� ใจรบั ต�ำแหน่ง
ดงั กล่าวดว้ ยความเกรงใจครูอาจารยท์ อ่ี ยู่ในระหวา่ งป่วยไข้
ในปีตอ่ มาคอื พ.ศ. ๒๔๗๕ พระอุบาลคี ณุ ปู มาจารย์ มรณภาพที่วดั บรมนิวาส
กรงุ เทพฯ หลวงปมู่ น่ั จงึ ไดโ้ อกาสสละตำ� แหนง่ คอื เปน็ เจา้ อาวาสวดั เจดยี ห์ ลวงเฉพาะ
ในพรรษาในปี พ.ศ. ๒๔๗๕ เทา่ นั้น หลังจากออกพรรษาแล้ว ท่านก็สละต�ำแหนง่
ตา่ งๆ ทง้ั หมด โดยกลา่ วลาดว้ ยวาจาวา่ “พดั ยศ ประกาศนยี บตั ร พวกเจา้ จงพากนั อยู่
วัดเจดีย์หลวงนเ้ี ถดิ สว่ นเราพระมัน่ จะไปแลว้ ” แลว้ ทา่ นก็ออกเท่ยี วแสวงความวิเวก
ตามปา่ เขาในทหี่ า่ งไกลเพอ่ื แสวงหาโมกขธรรมในขน้ั ท่ี ๔ คอื พระอรหตั ผล ดงั ทที่ ราบ
กนั ดแี ลว้ การตดิ ตามศกึ ษาเสน้ ทางธดุ งคข์ ององคห์ ลวงปมู่ น่ั ในชว่ ง ๑๒ ปี ทพ่ี ำ� นกั ใน
ภาคเหนือ สรุปไดเ้ ปน็ ๒ ชว่ งดงั นี้
ชว่ งแรก ตง้ั แตป่ ลายปี พ.ศ. ๒๔๗๑ ถงึ พ.ศ. ๒๔๗๕ หลวงปมู่ นั่ ออกธดุ งคจ์ าก
วดั เจดีย์หลวงไปแถบเหนือ ไปทางอำ� เภอแม่ริม แม่แตง เชยี งดาว และเลยไปพำ� นัก
ในท้องทอี่ ำ� เภอพร้าวบางแห่งดว้ ย
พ.ศ. ๒๔๗๒ พักจ�ำพรรษาทบ่ี า้ นปง อำ� เภอแมแ่ ตง ต่อมากลายเป็นสำ� นักสงฆ์
เปน็ ท่รี วมของพระสายกรรมฐานในปัจจบุ ันคอื วดั อรญั ญวิเวก ซึ่งมหี ลวงพ่อเปลย่ี น
ปญฺาปทโี ป เป็นเจ้าสำ� นกั
พ.ศ. ๒๔๗๓ พกั จำ� พรรษาทถี่ ำ�้ เชยี งดาว อำ� เภอเชยี งดาว สถานทอ่ี น่ื ในละแวกนน้ั
ทีห่ ลวงปมู่ นั่ เคยไปพกั วิเวก ได้แก่ ถ้ำ� ผาปลอ่ ง ถ้�ำปากเปียง เปน็ ต้น
พ.ศ. ๒๔๗๓ เดินธุดงค์กลับลงมาทางใต้ จ�ำพรรษาท่ีวัดพระธาตุจอมแตง
อ�ำเภอแม่ริม ท่ีวัดแห่งน้ีท่านได้ลูกศิษย์ส�ำคัญท่ีเป็นพระชาวเหนือสังกัดมหานิกาย
คอื พระครสู ภุ ทั รคณุ (หลวงปคู่ ำ� ปนั สภุ ทโฺ ท) วดั สนั โปง่ ตำ� บลสนั โปง่ อำ� เภอแมร่ มิ
98
สถานทใี่ นอำ� เภอแมร่ มิ ทห่ี ลวงปมู่ นั่ เคยพำ� นกั และกลายเปน็ วดั กรรมฐานตอ่ มา
ในภายหลงั ไดแ้ ก่ วดั ปา่ ดาราภริ มย์ และวดั ปา่ หว้ ยนำ้� รนิ เปน็ ตน้ ในปี พ.ศ. ๒๔๗๕
หลวงปมู่ น่ั ตอ้ งลงมารบั ตำ� แหนง่ เจา้ อาวาสและพกั จำ� พรรษาทวี่ ดั เจดยี ห์ ลวง ในตวั เมอื ง
เชียงใหม่ ดงั กล่าวขา้ งตน้
การออกธดุ งค์ในชว่ งท่สี อง หลังออกพรรษาปี พ.ศ. ๒๔๗๕ ถงึ พ.ศ. ๒๔๘๒
หลังออกพรรษาปี พ.ศ. ๒๔๗๕ เมื่อหลวงปู่ม่ันสละต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัด
เจดีย์หลวงแล้ว ท่านก็ออกธุดงค์มาทางด้านตะวันออก มาทางอ�ำเภอสันก�ำแพง
สนั ทราย ดอยสะเกด็ เขา้ ไปอำ� เภอเวยี งปา่ เปา้ อำ� เภอแมส่ รวย จงั หวดั เชยี งราย แลว้ มา
ปกั หลักอยูท่ ่อี �ำเภอพร้าว จนกระทง่ั ได้รบั นิมนต์ให้กลบั ทางกลบั ภาคอีสาน
หลวงปมู่ น่ั บรรลธุ รรมขน้ั ๔ คอื พระอรหตั ผล ทถี่ ำ�้ ดอกคำ� ตำ� บลนำ�้ แพร่ อำ� เภอ
พรา้ ว ประมาณปี พ.ศ. ๒๔๗๖ ตอ่ จากนนั้ ทา่ นพำ� นกั ในสถานทตี่ า่ งๆ ในเขตอำ� เภอพรา้ ว
ประมาณ ๓ ปี จงึ ไดเ้ ดนิ ทางกลับภาคอีสานตามค�ำอาราธนา
สถานทใี่ นอำ� เภอพรา้ วทหี่ ลวงปมู่ นั่ เคยแวะไปพำ� นกั เทา่ ทปี่ รากฏชอื่ มี ดอยนะโม
(หรอื นำ้� มวั ) ทงุ่ บวกขา้ ว ปา่ เมย่ี งแมส่ าย ปา่ เมยี่ งหว้ ยทราย ขนุ ปง๋ั ดอยมเู ซอ ดงปา่ ดะ
และแถวตำ� บลโหลง่ ขอด มี ดงมะไฟ สนั มะคา่ แมแ่ วน ผาหยอ่ ง ดอยพระเจา้ ผาแกน่
บา้ นแมพ่ วก เปน็ ตน้ ในสมยั นนั้ ลว้ นแตเ่ ปน็ ทหี่ ลกี เรน้ อยใู่ นปา่ ในเขายากทจี่ ะเสาะหา
ท่านได้พบ
99
หลวงปมู่ ่ันเริ่มเปิดเผยตัวต่อศษิ ย์
หลงั จากทห่ี ลวงปมู่ น่ั บรรลพุ ระอรหนั ต์ ทถ่ี ำ�้ ดอกคำ� (ตำ� บลนำ้� แพร่ อำ� เภอพรา้ ว)
ในปี พ.ศ. ๒๔๗๖ แลว้ ทา่ นกเ็ ริม่ เปิดเผยตวั ตอ่ ศิษย์ ประกอบกับเป็นช่วงเวลาที่
ครูบาอาจารย์ที่เป็นศิษย์ของท่านที่อยู่ทางภาคอีสานหลายองค์ได้พากันเดินทางมา
ภาคเหนอื เพอื่ สบื เสาะหาและรบั การอบรมสงั่ สอนดา้ นธรรมปฏบิ ตั จิ ากทา่ น ดว้ ยแสดง
ถึงความประสงค์ของอาจารยก์ บั ของบรรดาศิษยเ์ กิดมาตรงกนั อยา่ งน่าอัศจรรย์ยิง่
หลวงป่มู น่ั เคยบอกใหล้ กู ศษิ ยล์ กู หารูถ้ ึงการบรรลธุ รรมของท่าน เทา่ ทที่ ราบมี
๒ ครง้ั
ครั้งแรก หลงั ออกจากถ�ำ้ ดอกค�ำ ในปี พ.ศ. ๒๔๗๖ แล้วทา่ นไปพกั วเิ วกที่
ดอยนะโม (แตเ่ ดมิ เรยี กวา่ ดอยนำ้� มวั เพราะนำ้� มลี กั ษณะขนุ่ มวั ไมใ่ สแจว๋ ) อยตู่ ดิ กบั
ดอยแม่ปั๋งไปทางตะวนั ออก ลูกศิษย์ทตี่ ดิ ตามท่านขณะน้นั มหี ลวงปแู่ หวน สุจณิ โฺ ณ
กบั หลวงปขู่ าว อนาลโย องคห์ ลวงปมู่ น่ั ทา่ นบอกกบั ศษิ ยว์ า่ “ผมหมดงานทจ่ี ะทำ� แลว้
ก็อยู่สานกระบุงสานตะกร้า พอช่วยเหลือพวกท่านและลูกศิษย์ลูกหาได้บ้างเท่านั้น”
เร่อื งนหี้ ลวงปแู่ หวนทา่ นเล่าใหห้ ลวงพ่อเปลี่ยน ปญฺาปทีโป ฟงั
คร้ังท่ีสอง เมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๔๘๑ ท่เี สนาสนะบ้านแมก่ อย (ปัจจบุ นั คอื วัดป่า
อาจารยม์ นั่ บ้านแม่กอย ต�ำบลเวยี ง อ�ำเภอพรา้ ว) ลกู ศิษยอ์ าวโุ สท่อี ยู่ดว้ ย ณ ทีน่ นั้
มีหลวงปู่ต้อื อจลธมโฺ ม หลวงป่แู หวน สุจิณฺโณ หลวงปขู่ าว อนาลโย หลวงป่พู รหม
100
จิรปุญฺโ หลวงปูเ่ ทสก์ เทสรฺ ํสี หลวงปู่สมิ พทุ ฺธาจาโร และหลวงปู่ค�ำอ้าย (พระชาว
เชยี งใหม่) เปน็ ต้น
หลวงป่คู �ำอา้ ยเล่าให้หลวงพอ่ เปลย่ี นฟงั ว่า “หลังจากการเทศนอ์ บรมศษิ ยแ์ ล้ว
หลวงปมู่ น่ั ทา่ นปรารภวา่ “ผมคงไมม่ งี านทจ่ี ะทำ� อยกู่ บั พวกทา่ นหรอก ผมคงจะอยกู่ บั
พวกทา่ นไปไมม่ ีงานทำ� แต่กจ็ ะอยู่กบั พวกท่านไป พวกท่านกใ็ ห้พากันตัง้ ใจปฏิบตั ิ
แต่พวกทา่ นอยา่ ไปบอกพวกญาตโิ ยมนะ อยา่ ไปบอกใคร”
ในชว่ งแรกๆ ทหี่ ลวงปมู่ น่ั ออกวเิ วก นบั เปน็ การยากมากทจี่ ะเสาะหาทา่ นใหไ้ ดพ้ บ
แตห่ ลงั จากทท่ี า่ นบรรลพุ ระอรหตั ผลแลว้ ทา่ นกเ็ ปดิ เผยตวั มากขน้ึ สว่ นใหญท่ า่ นจะ
วนเวียนอยู่ในท้องที่อ�ำเภอพร้าว มีลูกศิษย์รุ่นแรกๆ ตามไปขอค�ำแนะน�ำกับท่าน
หลายองค์ การถามไถ่เสาะหาทพ่ี ำ� นกั ของทา่ นจึงไมย่ ากเหมอื นกบั ชว่ งตน้ ๆ
101
ความประสงคข์ องครูและศิษยต์ รงกัน
หลวงพอ่ วิริยงั ค์ สริ นิ ฺธโร ศิษยอ์ ุปฏั ฐากใกล้ชิดหลวงปู่ม่นั ทา่ นหนึ่ง เขียนถงึ
ความเหมาะสมทั้งช่วงเวลาและด้านสถานที่ รวมทั้งความประสงค์ท่ีตรงกันของครู
กบั ของบรรดาศษิ ย์ ดังนี้
“... ในท้องท่ีอ�ำเภอพร้าวนั้น มีที่วิเวกเหมาะสมกับการบ�ำเพ็ญกรรมฐานมาก
ท่านพระอาจารย์ม่ันท่านเดินธุดงค์วนเวียนอยู่อ�ำเภอน้ีหลาย (หลวงปู่หนู สุจิตฺโต
วัดดอยแม่ปั๋ง บอกว่าหลวงปู่มั่นพักวนเวียนอยู่ในเขตอ�ำเภอพร้าวนานถึง ๘ ปี)
ด้วยเหตุนี้จึงท�ำให้คณะศิษย์ของท่านที่ได้ถูกอบรมไว้แล้วโดยส่วนมากอยู่ทางภาค
อสี าน ที่พยายามสบื เสาะหาพระอาจารย์ม่ันว่าอยแู่ หง่ หนตำ� บลใด เมอ่ื ไดข้ ่าวว่าท่าน
อยทู่ างอำ� เภอพรา้ ว ตา่ งกห็ าวธิ ที จ่ี ะมาหาทา่ นดว้ ยความยากลำ� บาก เพราะโดยสว่ นมาก
กเ็ ดนิ ดว้ ยเทา้
บางองคบ์ างทา่ นพยายามฟงั ขา่ วและเสาะหาทา่ นอยหู่ ลายๆ ปกี วา่ จะพบ บางทา่ น
กไ็ ด้พบง่าย คือพอร้วู า่ ศษิ ยจ์ ะมา และศิษย์ผนู้ ัน้ จะมีความส�ำคญั ในอนาคต หรือจะ
เปน็ กำ� ลงั สำ� คญั ใหก้ บั พระพทุ ธศาสนา ทา่ นจะเอาใจใสเ่ ปน็ พเิ ศษเพอ่ื ใหเ้ กดิ ผลทางใจ
ท่านจะถอื โอกาสออกไปคอยรับการมาทีเดยี ว
เป็นความประสงค์ของท่านท่ีจะรวมศิษย์อีกคร้ัง ตามที่ท่านเล่าให้ผู้เขียนฟัง
เพราะหลังจากการธุดงค์แสวงหาความสงบ พจิ ารณาถึงปฏิปทาต่างๆ แลว้ สมควร
102
จะแก้ไขปรับสิ่งท่ียังบกพร่องอยู่ให้เต็มพร้อมและมีประสิทธิภาพย่ิงข้ึน ฉะน้ัน
จึงไม่แปลกอะไรที่คณะศิษย์ของพระอาจารย์ม่ันในปัจจุบันมีความสามารถมาก
จนเป็นทเ่ี คารพนับถอื จากพุทธบริษทั ท่ัวไป
จงึ ปรากฏวา่ พระอาจารยจ์ ากภาคอสี านไดเ้ ดนิ ทางไปพบทา่ นทจ่ี งั หวดั เชยี งใหม่
โดยเฉพาะอำ� เภอ (พรา้ ว) น้ี กถ็ กู ความประสงคข์ องทา่ น โดยไมต่ อ้ งนมิ นตห์ รอื สงั่ การ
ให้มา แต่เปน็ ความต้องการหรือความประสงคท์ ีต่ รงกนั ขนึ้ ทางลูกศิษยต์ อ้ งการจะ
พบเพือ่ จะไดศ้ ึกษาธรรมใหส้ ูงยง่ิ ขน้ึ ทางอาจารย์ (หลวงปู่มน่ั ) ตอ้ งการจะพบจะได้
แก้ไขปรับปรุงทีไ่ ดส้ อนไว้ใหม้ คี วามบริสุทธ์ยิ ง่ิ ขน้ึ และใหไ้ ด้ผลยง่ิ ข้นึ
นบั แตบ่ ดั นเี้ ปน็ ตน้ มา พระเถรานเุ ถระจำ� นวนมาก (จากภาคอสี าน) จงึ หลงั่ ไหล
ขนึ้ เชยี งใหมเ่ พอื่ การเขา้ พบหาทา่ นอาจารยม์ นั่ ทง้ั กติ ตศิ พั ทก์ ก็ ำ� ลงั เลอ่ื งลอื วา่ ทา่ นเปน็
ผู้มีความบริสุทธิ์ และมีความสามารถในอันที่จะแนะน�ำศิษยานุศิษย์ให้ได้รับผล
ทางใจ...”
อีกตอนหน่งึ หลวงพ่อวิรยิ ังค์ บันทกึ วา่
“เมอื่ คณะศิษย์ท้งั หลายไปพบพระอาจารยม์ ่ันมากขึ้น ท่านไดพ้ าเทีย่ วธุดงคไ์ ป
ตามป่า เขา ถ�้ำ ตามที่เห็นสมควร แล้วท่านก็แนะน�ำปฏิปทาข้อควรปฏิบัติต่างๆ
จนเปน็ ผลในทางจติ มากขนึ้ ไดร้ บั ประโยชนอ์ ยา่ งทเี่ ปน็ ปกึ เปน็ แผน่ มากขนึ้ เนอ่ื งจาก
การกระทำ� ทที่ า่ นทำ� ใหเ้ ปน็ ตวั อยา่ งนนั้ หนง่ึ และการแนะนำ� ไปตามความจรงิ เกดิ ขน้ึ นน้ั
หน่ึง ซ่ึงการณ์เช่นน้ี น้อยนักท่ีผู้เป็นอาจารย์จะหาโอกาสช่วยศิษย์ให้ได้ถึงขนาดนี้
เป็นหลักการที่ไม่ใคร่จะปรากฏในท่ีต่างๆ เพราะเหตุว่าการกระท�ำเช่นน้ีต้องมีความ
หนักแน่นหวังเพ่ือประโยชน์แก่พระพุทธศาสนาและแก่มนุษยชาติอย่างแท้จริงจึงจะ
ทำ� ได้ เพราะจะตอ้ งเหนด็ เหนอื่ ย ลำ� บาก และทรุ กนั ดาร ตลอดถงึ การเอาจติ ใจเขา้ พวั พนั
โอบอ้อม ระวัง เพื่อใหผ้ ู้ดำ� เนนิ ไดเ้ ดนิ ไปในทางที่ถูกตลอดเวลา
กาลและสถานทชี่ า่ งเปน็ ใจอะไรเชน่ นน้ั เหตคุ อื ความเจรญิ ของทอ้ งถนิ่ แตล่ ะแหง่
ในแถบน้ี ยงั เปน็ ลกั ษณะของชาวบา้ นปา่ แมแ้ ตต่ วั อำ� เภอเอง ตลอดถงึ อปุ นสิ ยั ใจคอ
103
ของคนบ้านนี้ ก็ยังไม่รู้วัฒนธรรมต่างชาติที่จะมาครอบคลุมเกาะกุมจิตใจให้ละเมอ
เพอ้ พกไปจนถงึ ทำ� ใหห้ ลงจากวฒั นธรรมอนั ดงี ามของพระพทุ ธศาสนา จงึ ทำ� ใหค้ ณะ
กรรมฐานในสายพระอาจารย์ม่นั ซึง่ ตอ้ งการความสงบวิเวก ปราศจากความปลโิ พธ
(ความกงั วล) ไดเ้ ปน็ ไปตามความประสงคข์ องทา่ นเปน็ อยา่ งดี โดยความเชอ่ื ฟงั ซง่ึ ทา่ น
กแ็ นะนำ� ใหม้ าทำ� บญุ ตกั บาตร ฟงั ธรรม ในเวลาทคี่ วร ไมต่ อ้ งมาเฝา้ แหนรบกวนอยู่
ตลอดเวลา ตลอดถงึ บอกใหร้ วู้ า่ คณะนตี้ อ้ งการความสงบ เขาทงั้ หลายกเ็ ชอื่ ฟงั มติ อ้ ง
คอยดุดา่ เอาในเมอ่ื ผู้คนมารบกวนความสงบ
ทั้งน้ี จึงเป็นโอกาสให้แก่พระภิกษุสามเณรท่ีจะเช่ือฟังโอวาทของท่านอาจารย์
อย่างเตม็ เป่ียม ไมม่ ีการบกพร่อง เปน็ เหตุใหต้ ่างกไ็ ดร้ ับความรูอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ
ระหวา่ งศษิ ยก์ บั อาจารยจ์ ะพงึ ได้ ดว้ ยเหตนุ ้ี จงึ ทำ� ใหศ้ ษิ ยข์ องพระอาจารยม์ น่ั แตล่ ะองค์
ทไ่ี ดร้ บั การฝกึ ฝนทรมานมาแลว้ เปน็ พระเถระผทู้ รงคณุ ธรรมสงู ในเวลาตอ่ มา จนถงึ
ได้ท�ำคุณประโยชน์แกพ่ ระพทุ ธศาสนาอย่างกวา้ งขวาง....”
104
หลวงปขู่ าวพบหลวงปูม่ ั่นท่ีป่าเมีย่ งหว้ ยทราย
ตอนนผ้ี มขอเสนอเหตกุ ารณท์ ่ี หลวงปขู่ าว อนาลโย ไดเ้ ขา้ กราบหลวงปมู่ น่ั กอ่ น
นา่ จะชว่ ยใหเ้ ขา้ ใจเรอื่ งราวของหลวงปพู่ รหม จริ ปญุ โฺ ไดบ้ า้ ง เพราะเวลาและสถานท่ี
รวมทงั้ เหตกุ ารณน์ า่ จะใกล้เคียงกนั และนา่ จะน�ำมาเทียบเคียงกันได้พอสมควร
ขอย้อนกลบั ไปทเี่ หตุการณใ์ นปี พ.ศ. ๒๔๗๖ ครง้ั ท่หี ลวงปพู่ รหม จิรปุญฺโ
ไดร้ บั อาราธนาจากหลวงปขู่ าว อนาลโย ใหช้ ว่ ยปฏสิ งั ขรณพ์ ระพทุ ธรปู ทถี่ กู ทบุ ทำ� ลาย
ทว่ี ดั พระเจา้ ทองทพิ ย์ อำ� เภอแมส่ รวย จงั หวดั เชยี งราย ตอ่ จากนน้ั หลวงปทู่ ง้ั สององค์
ตา่ งก็แยกยา้ ยกันออกสบื เสาะหาหลวงปมู่ ่ัน ภูริทตฺโต ตามความตัง้ ใจเดมิ ของท่าน
ทางฝ่ายของหลวงปู่ขาว อนาลโย ได้เท่ยี วสบื เสาะหาหลายทม่ี าตามเสน้ ทางเขา้
ตวั จงั หวดั เชยี งใหม่ แตไ่ มไ่ ดเ้ บาะแสเกย่ี วกบั ทพี่ กั วเิ วกของหลวงปมู่ น่ั จนทา่ นคดิ วา่
หมดหวังท่ีจะหาให้พบ จึงได้ตัดสินใจเดินธุดงค์กลับจังหวัดอุดรธานี หลวงปู่ขาว
มาแวะพกั ชว่ั คราวทถี่ ำ�้ แกง่ หลวง จงั หวดั ลำ� ปาง และไดพ้ บกบั หลวงปแู่ หวน สจุ ณิ โฺ ณ
ณ ที่นนั้ โดยบงั เอญิ ท้ังสององค์จึงออกธุดงค์เทีย่ วสืบเสาะหาหลวงปู่ม่ันไปดว้ ยกนั
หลวงปทู่ ง้ั สององคไ์ ดร้ บั อาราธนาใหโ้ ดยสารไปกบั รถยนตล์ ากไมซ้ งึ่ เดนิ ทางไป
พะเยาอยพู่ อดี ในตอนนั้นพะเยายงั เป็นอำ� เภอหนงึ่ ของจังหวดั เชยี งราย หลวงปขู่ าว
กบั หลวงปแู่ หวนโดยสารรถยนตล์ ากไมม้ าถงึ ตวั อำ� เภอพะเยาแลว้ แวะพกั คา้ งคนื ทนี่ น่ั
เพอ่ื จะเดนิ ทางไปทางอำ� เภอแมส่ รวย แลว้ หาทางลดั เลาะไปอำ� เภอเชยี งดาวตามทต่ี งั้ ใจ
ไวแ้ ตแ่ รก เพราะคดิ วา่ หลวงปู่ม่นั น่าจะพกั วิเวกอยูแ่ ถบนนั้
105
เหตกุ ารณต์ อ่ ไปน้ีมีปรากฏในประวัตขิ องหลวงปูข่ าว อนาลโย ดงั นี้
“...รงุ่ เชา้ ฉนั เสรจ็ หลวงปขู่ าวกบั หลวงปแู่ หวน กอ็ อกเดนิ ทางตอ่ ไปอำ� เภอแมส่ รวย
วกไปทางเวียงปา่ เป้า จนถงึ แม่ขะจาน (แถวเขตนำ�้ พุร้อน เขตจังหวดั เชียงราย) แล้ว
สอบถามชาวบา้ นแถวนนั้ วา่ “เคยเหน็ ตเุ๊ จา้ ปา่ มาจำ� พรรษาอยแู่ ถวนบ้ี า้ งไหม” ชาวบา้ น
บอกวา่ “เหน็ มอี ยู่ ๒ องค์ พกั อยทู่ ปี่ า่ เมย่ี งหว้ ยทราย เมอ่ื ๒-๓ วนั กอ่ น เหน็ ตเุ๊ จา้ สาร
(หลวงปสู่ าร ธมมฺ สาโร พระอาจารยข์ องหลวงป่พู รหม) ลงมาเย็บผ้าอยู่กับชาวบ้าน”
(มาอาศัยจกั รชาวบา้ นเยบ็ จีวร)
เม่ือทราบดังนั้นแล้ว หลวงปู่ขาวกับหลวงปู่แหวนก็ยินดีเป็นอย่างยิ่ง เพราะ
มน่ั ใจวา่ จะตอ้ งเปน็ พระอาจารยใ์ หญม่ นั่ ภรู ทิ ตโฺ ต อยา่ งแนน่ อน ทา่ นคงพำ� นกั อยกู่ บั
ตุ๊เจ้าสารก็เป็นได้ ทั้งหลวงปู่ขาวและหลวงปู่แหวนจึงได้รีบเร่งเดินทางไปป่าเม่ียง
ห้วยทราย ซึ่งอยู่ในเขตอ�ำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ ด้วยความหวังว่าจะได้พบ
พระอาจารยใ์ หญอ่ ยา่ งแนน่ อน เมอ่ื เดนิ ทางไปถงึ ปา่ เมยี่ งหว้ ยทราย กไ็ ดพ้ บหลวงปมู่ นั่
พระอาจารยใ์ หญ่ สมความตง้ั ใจ
โดยปกติ หลวงปู่มั่นท่านไมค่ อ่ ยใหใ้ ครอยูด่ ว้ ย ท่านชอบอย่เู ฉพาะองค์เดียว
หลวงปขู่ าวบอกวา่ ตวั ทา่ นเองกพ็ ยายามไปอยใู่ นละแวกใกลเ้ คยี งทห่ี ลวงปมู่ นั่ พำ� นกั อยู่
ในทไ่ี มห่ ่างไกลนกั พอไปมาหาสเู่ พอื่ รับโอวาทไดใ้ นคราวจำ� เปน็ ทปี่ า่ เมีย่ งห้วยทราย
น้ีเอง หลวงปมู่ น่ั ได้เมตตาแสดงธรรมสั่งสอนย้�ำอบุ ายแนวปฏบิ ัตแิ ก่ลกู ศษิ ย์ทุกวนั
หลวงปู่ขาวเล่าให้ลูกศิษย์ฟังว่า “การแสดงธรรมของพระอาจารย์แต่ละครั้ง
ใชเ้ วลาไมน่ าน แตธ่ รรมทที่ า่ นแสดงนนั้ เปน็ ธรรมปฏบิ ตั ลิ ว้ นๆ ละเอยี ดไปตามทกี่ ำ� ลงั
ดำ� เนนิ อยู่ ทำ� ใหผ้ ไู้ ดฟ้ งั หายสงสยั ในขอ้ ปฏบิ ตั ขิ องตนทก่ี ำ� ลงั ดำ� เนนิ อยู่ ทำ� ใหเ้ กดิ ความ
มงุ่ ม่ันมานะพยายามประกอบความเพยี รกนั อย่างเตม็ ความสามารถ การไดฟ้ ังธรรม
จากครอู าจารยแ์ ตล่ ะครง้ั เหมอื นกบั ไดเ้ พม่ิ พลงั ธรรมะเขา้ ไปอกี ดงั นน้ั ในการภาวนา
ตา่ งองคต์ า่ งกเ็ รมิ่ ความเพยี รกนั อยา่ งไมท่ อ้ ถอย เตม็ ความสามารถของตน อยา่ งไมข่ าด
วรรคตอน ท้งั กลางวนั และกลางคืน เว้นเฉพาะเวลาหลับเทา่ นั้น”
106
หลวงปู่ขาวเลา่ ใหศ้ ิษยฟ์ ังตอ่ ไปว่า
“เมอื่ เขา้ ไปศกึ ษาขอ้ อรรถขอ้ ธรรม พระอาจารยใ์ หญม่ นั่ ทา่ นกเ็ มตตาสงั่ สอนอยา่ ง
เตม็ ภมู ิ ไมม่ ปี ดิ บงั ลล้ี บั การไดอ้ ยใู่ กลพ้ ระอาจารยใ์ หญม่ นั่ สตสิ มั ปชญั ญะจงึ มกี ำ� ลงั
อย่เู สมอ เป็นการประกอบชาครยิ านโุ ยค (ความเพยี ร) อย่างแทจ้ รงิ การได้อยใู่ กล้
พระอาจารยใ์ หญใ่ นคราวน้นั จึงเปน็ สัปปายะหลายอยา่ ง คอื บคุ คลสปั ปายะ เพราะ
สหธรรมกิ ลว้ นเป็นผูป้ ฏบิ ตั ธิ รรมอยา่ งเอาจริงดว้ ยกนั อาวาสสัปปายะ เพราะสถานท่ี
เปน็ ป่าเขาล�ำเนาไพร บรรยากาศสงบวเิ วกวงั เวง อากาศเยอื กเยน็ ชาวบ้านก็ไมม่ า
รบกวน อาหารสัปปายะ เพราะมีพอฉันเพื่อยังอัตภาพให้เป็นไปได้ ไม่สมบูรณ์
แตไ่ มถ่ งึ ขน้ั ขาดแคลน ธรรมะสปั ปายะ เพราะพระอาจารยผ์ แู้ สดงธรรมทา่ นกย็ ำ้� ลงใน
ธรรมปฏิบัติในสารธรรมอันเป็นวมิ ุตตธิ รรมวโิ มกขธรรม ชีจ้ ดุ อนั ควรละและบอกจุด
อนั ควรเจรญิ ยง่ิ ใกลว้ นั เขา้ พรรษา ทา่ นไดแ้ สดงทางปฏบิ ตั ยิ ำ�้ ลงเปน็ จดุ ๆ เปน็ ขนั้ ตอน
ตามการเจรญิ มรรคปัญญาโดยเฉพาะ
โดยปกติ พระอาจารยใ์ หญม่ นั่ ทา่ นไมค่ อ่ ยใหใ้ ครอยดู่ ว้ ย ทา่ นใหล้ กู ศษิ ยแ์ ตล่ ะรปู
แยกกนั ไปหาทภ่ี าวนากนั เอง ใหอ้ ยอู่ งคเ์ ดยี ว ซงึ่ หลวงปขู่ าวทา่ นบอกวา่ ทา่ นกพ็ อใจที่
พระอาจารย์ใหญ่เมตตาสั่งสอนในเวลาจ�ำเป็นเมื่อเข้าไปเรียนถาม และเม่ือหมด
ขอ้ ขอ้ งใจแลว้ กก็ ราบลาพระอาจารยไ์ ปบำ� เพญ็ ตามลำ� พงั มกี ารเขา้ ๆ ออกๆ อยเู่ สมอ”
107
หลวงปูข่ าวจ�ำพรรษาที่ปา่ เมี่ยงขุนปัง๋
พอใกลจ้ ะเข้าพรรษา พระอาจารยใ์ หญ่มั่นบอกให้ลูกศษิ ย์แยกย้ายกนั ไปหาท่ี
จ�ำพรรษากันเอง ไม่ให้พักรวมกันที่ป่าเม่ียงห้วยทราย เพราะจะเป็นภาระหนักแก่
ชาวบา้ น ซง่ึ มเี พยี ง ๕-๖ หลงั คาเรอื น ชาวบา้ นกย็ ากจน ทำ� มาหาเลยี้ งชพี ดว้ ยการทำ�
สวนเม่ียงและหาของป่าขาย การเข้าออกหมู่บ้านก็ยากล�ำบาก หลวงปู่แหวนกับ
หลวงปู่ขาวตกลงกันไปจำ� พรรษาท่ีป่าเมยี่ งขุนปั๋ง อยู่ทา่ มกลางป่าเขา ไม่ห่างจากพระ
อาจารย์ใหญน่ ัก ใชเ้ วลาเดนิ ลัดป่าลดั เขามาเพยี ง ๔-๕ ชั่วโมง
ทป่ี า่ เมยี่ งขนุ ปง๋ั ชาวบา้ นไดส้ รา้ งกฏุ ทิ พี่ กั ชว่ั คราวใหห้ ลวงปทู่ งั้ สององค์ พอไดอ้ าศยั
กนั แดดกนั ฝนได้ ทง้ั สององคต์ า่ งกต็ ง้ั ใจเรง่ ความเพยี รกนั อยา่ งเตม็ ท่ี ความกา้ วหนา้
ดา้ นจติ ภาวนากเ็ ปน็ ไปโดยราบรนื่ การพจิ ารณาธรรมกไ็ ดอ้ บุ ายแปลกๆ ดี มคี วามละเอยี ด
สขุ มุ ไปตามขนั้ ตอนของสมาธแิ ละปญั ญาทขี่ ดุ คน้ ขนึ้ มา ถา้ มกี ารขดั ขอ้ งบา้ ง ทงั้ สององค์
ตา่ งกช็ ่วยกันแกไ้ ขให้ผ่านพน้ ไปได้ดว้ ยดี
เมอ่ื ออกพรรษาแลว้ พระอาจารยใ์ หญม่ นั่ กบั พระอาจารยพ์ ร สมุ โน ไดม้ าสมทบท่ี
ปา่ เมย่ี งขนุ ปง๋ั ตอ่ มาหลวงปเู่ ทสก์ เทสรฺ สํ ี กบั หลวงปอู่ อ่ นสี สเุ มโธ กต็ ามขนึ้ ไปสมทบอกี
เมอื่ มพี ระไปอยรู่ วมกนั หลายองค์ เกรงจะเปน็ ภาระหนกั แกช่ าวบา้ น หลวงปมู่ นั่ จงึ ให้
หาทางแยกยา้ ยกันออกไปวิเวกบรเิ วณทไ่ี ม่ไกลกันนัก จะมารวมกันเฉพาะวนั อุโบสถ
เพอ่ื ฟังสวดพระปาฏิโมกขแ์ ละรบั การอบรม เสรจ็ แลว้ กแ็ ยกย้ายกันกลบั ไปอยู่ท่ขี อง
แต่ละองค์
หลวงปขู่ าวไดเ้ ลา่ ถงึ การบำ� เพญ็ เพยี รในภาคเหนอื วา่ “เมอื่ อยนู่ านไปพระอาจารยใ์ หญ่
ทา่ นกเ็ มตตาใหเ้ ขา้ ไปพกั จำ� พรรษาดว้ ย รสู้ กึ ดใี จเหมอื นตวั จะลอย ทพี่ ยายามหลายปี
เพ่งิ สำ� เรจ็ จากนั้นกไ็ ดจ้ ำ� พรรษากับทา่ นเร่ือยมา”
108
ตามประวตั ิ หลวงปมู่ นั่ ทา่ นทอ่ งธดุ งคก์ รรมฐานในแถบอำ� เภอพรา้ วอยปู่ ระมาณ
๕ ปี ไดใ้ ชว้ ดั รา้ งปา่ แดง บา้ นแมก่ อย เปน็ ศนู ยก์ ลางในการประชมุ อบรมศษิ ยอ์ ยู่ ๓ ปี
และท่านพักจ�ำพรรษาที่สถานทแี่ หง่ นี้ ๑ ปี ในปี พ.ศ. ๒๔๘๑ ก่อนท่ีทา่ นจะเดินทาง
กลบั ไปโปรดลกู ศษิ ยล์ ูกหาในภาคอีสานในปี พ.ศ. ๒๔๘๒
วดั รา้ งปา่ แดงหรอื สำ� นกั สงฆบ์ า้ นแมก่ อย ไดพ้ ฒั นาขน้ึ เปน็ วดั กรรมฐานทสี่ มบรู ณ์
ในเวลาตอ่ มา และไดช้ ่ือว่าวัดป่าอาจารย์มัน่ (ภูริทตโฺ ต) บา้ นแม่กอย ตำ� บลเวยี ง
อ�ำเภอพร้าว จงั หวดั เชียงใหม่ ในปจั จุบัน
ศษิ ยท์ ตี่ ดิ ตามรบั การอบรมธรรมจากหลวงปมู่ นั่ ในชว่ งนน้ั กม็ ี หลวงปตู่ อื้ อจลธมโฺ ม
หลวงปแู่ หวน สจุ ณิ โฺ ณ หลวงปขู่ าว อนาลโย หลวงปชู่ อบ €านสโม หลวงปฝู่ น้ั อาจาโร
หลวงปู่สมิ พุทธฺ าจาโร หลวปู่เทสก์ เทสฺรํสี หลวงปู่พระมหาทองสกุ สจุ ิตโฺ ต หลวงปู่
พรหม จริ ปญุ โฺ หลวงปู่ออ่ น าณสริ ิ เปน็ ต้น
หลวงปู่ขาวได้เล่าถึงช่วงที่จ�ำพรรษาอยู่กับหลวงปู่มั่นว่า “การบ�ำเพ็ญทางจิต
ภาวนารสู้ กึ ได้ก�ำลงั ขึน้ เปน็ ลำ� ดบั เพราะได้ครอู าจารยผ์ ูเ้ ชีย่ วชาญคอยแนะนำ� สั่งสอน
ใจจงึ เหมอื นจะเหาะจะบนิ ดว้ ยอำ� นาจแหง่ ความอม่ิ เอบิ ในธรรมทปี่ รากฏอยใู่ นใจ ไมม่ ี
ความอบั เฉาเศรา้ ใจเพราะความเปน็ ลมุ่ ๆ ดอนๆ ของใจเหมอื นพกั อยทู่ อี่ นื่ ๆ ใจนบั วนั
เจริญขึ้นโดยล�ำดับทั้งด้านสมาธิและด้านปัญญา มีความเพลิดเพลินในความเพียร
ทง้ั กลางวนั และกลางคนื ไมม่ เี วลาอ่มิ พอ”
สำ� หรับสถานทีๆ่ หลวงปู่ขาวไดอ้ ยจู่ ำ� พรรษากับพระอาจารยใ์ หญม่ น่ั ภรู ทิ ตฺโต
ครัง้ แรกทดี่ อยน้ำ� มวั (หรือ ดอยนะโม) ปีตอ่ มาที่บา้ นทงุ่ บวกข้าว ทง้ั สองแห่งนน้ั
เคยเป็นวัดมาแต่โบราณ เป็นสถานท่ีศักดิ์สิทธิ์ มีปูชนียสถานเก่าแก่อยู่ ผู้แก่บ้าน
(ผูใ้ หญ่บา้ น) และชาวบา้ นไดศ้ รทั ธาสร้างกฏุ ถิ วายใหพ้ ระธุดงค์กรรมฐานอยู่
ในปนี นั้ หลวงปขู่ าวมอี ายพุ รรษาในธรรมยตุ กิ นกิ ายราวๆ ๑๐ พรรษา ตกอยใู่ น
ช่วงปี พ.ศ. ๒๔๗๗-๒๔๗๘
109
ตั้งใจปฏบิ ตั ขิ นั้ อกุ ฤษฏ์
ไดข้ อ้ มลู จากหลวงพอ่ ค�ำบอ่ €ติ ปญฺโ วดั ใหม่บา้ นตาล ตำ� บลโคกสี อ�ำเภอ
สวา่ งแดนดนิ จงั หวดั สกลนคร ทราบวา่ หลวงปพู่ รหม จริ ปญุ โฺ ไดไ้ ปกราบหลวงปมู่ น่ั
ขณะทที่ ่านพักจ�ำพรรษาทีป่ ่าเม่ียงขุนป๋ัง ตำ� บลแม่ปั๋ง อำ� เภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่
“...หลวงปู่พรหม หลวงปู่ขาว ท่านได้ผ่านแดนพ้นทุกข์ที่โหล่งขอด (ต�ำบล
โหลง่ ขอด อำ� เภอพรา้ ว จงั หวดั เชยี งใหม)่ หลวงปขู่ าวเลา่ วา่ เวลาเดนิ จงกรมเหมอื นกบั
มีเทวดาบังคับให้เดิน ไม่เหน็ดไม่เหนื่อย ได้ท�ำความเพียรอย่างจริงจัง เกิดปีติ
หลวงปพู่ รหมก็ทำ� นองนเ้ี หมือนกัน
ขณะนน้ั หลวงปมู่ นั่ ไดจ้ ำ� พรรษาทป่ี า่ เมย่ี งขนุ ปง๋ั หลวงปพู่ รหมไปกราบหลวงปมู่ นั่
แล้วถามว่า “ท่านอาจารย์ไปอยู่อย่างนี้ท�ำไม” หลวงปู่ม่ันตอบว่า “มาอยู่ใช้กรรม”
การอยกู่ ารฉนั ลำ� บากมากทสี่ ุด การท�ำกระตอ๊ บก็นำ� ใบไมม้ าสานกันพอไดอ้ ย.ู่ ..”
หลวงปู่พรหมท่านมีศรัทธาความเพียรแก่กล้ามาก เวลาท่านท�ำอะไรท่านจะ
ไม่กลัวตาย มีนิสัยเด็ดขาดมาก ย่ิงได้มาพบและอยู่ปฏิบัติธรรมใกล้ชิดหลวงปู่ม่ัน
สมความปรารถนาแลว้ ทา่ นถอื วา่ ไดม้ าอยใู่ กลค้ รบู าอาจารยผ์ เู้ ลศิ แตกฉานในทางธรรม
ท่านก็ย่ิงมีก�ำลังใจท่ีจะเร่งความเพียรในการปฏิบัติธรรมชนิดมอบกายถวายชีวิต
เลยทเี ดยี ว
ชว่ งแรกๆ หลวงปตู่ ง้ั ใจทมุ่ เทเรง่ ความเพยี รโดยถอื เพยี งอริ ยิ าบถ ๓ คอื ยนื เดนิ
และนง่ั เวน้ การนอน ไมย่ อมใหห้ ลงั แตะพน้ื ตลอดชว่ งเขา้ พรรษา เปน็ การปฏบิ ตั ธิ รรม
110
ขน้ั อุกฤษฏ์แบบเอาชวี ิตเข้าแลก ด้วยถือคตธิ รรมค�ำสอนของหลวงปูม่ ั่นทว่ี ่า “ธรรม
อยฟู่ ากตาย ถ้าไม่รอดตายก็ไม่เห็นธรรม” เพราะการเสย่ี งตอ่ ชีวติ จิตใจอันเกีย่ วกับ
ความเปน็ ความตายน้นั ผูม้ จี ติ ใจมงุ่ ม่นั ตอ่ อรรถธรรมแดนหลุดพ้นเป็นหลักยึดของ
พระผู้ปฏิบัติพระกรรมฐานจริงๆ แม้แต่พ้ืนกุฏิ หลวงปู่พรหมก็ต้องการให้รื้อออก
เพื่อจะไดไ้ มต่ ้องนอน ท่านวา่ ถา้ อยากจะนอน กไ็ ม่จำ� เปน็ ต้องด้ันดน้ มาถึงเชยี งใหม่
ใหล้ ำ� บาก จะหลับจะนอนทีไ่ หนก็ได้
หลวงปู่ม่ันได้กลา่ วใหส้ ตทิ ่านว่า
“ทา่ นพรหม อยา่ ไปทำ� อยา่ งนนั้ เลย จะทำ� ใหเ้ ปน็ ทกุ ขเ์ ดอื ดรอ้ นแกห่ มคู่ ณะ เพราะ
สงั ขารจะตอ้ งพักผ่อนนอนหลบั ถ้าเจ็บไข้ได้ป่วยจะทำ� ให้ลำ� บากแกห่ มคู่ ณะ ในการ
ปฏบิ ตั ธิ รรมเพื่อหลดุ พ้นนัน้ อุปสรรคต่างๆ ยอ่ มไดพ้ บอยเู่ สมอ ดงั ครบู าอาจารย์
หลายๆ องค์ ถ้าแม้จิตใจไม่แนว่ แน่มน่ั คงจรงิ ๆ กจ็ ะทำ� ไมไ่ ด้ บางคราวผอู้ ดหลับ
อดนอนมากๆ สญู ประสาทเสยี จรติ ไปกม็ ี บา้ งกเ็ ดนิ ชนตน้ ไมใ้ บหญา้ ใหว้ นุ่ วาย หรอื ไม่
เวลาออกบิณฑบาต เที่ยวตระครุบผู้คนก็มีเพราะเดินหลับใน เกิดอาการตึงเครียด
ไมส่ ามารถทรงสตติ นเองได้ อยา่ งไรกต็ าม ครบู าอาจารยท์ า่ นแนะนำ� ใหป้ ฏบิ ตั เิ พมิ่ สติ
กำ� ลงั ใหแ้ กก่ ลา้ จรงิ ๆ จงึ จะทำ� ได้ เมอ่ื ถงึ คราวเรง่ ความเพยี รกย็ อ่ มจะไดพ้ บความสำ� เรจ็
โดยไม่ยาก”
หลวงปู่มั่นแนะน�ำหลวงปู่พรหมให้เดินจงกรมและนั่งสมาธิให้มากเพ่ือฝึกจิต
เสียก่อน เม่ือกำ� ลังจิตแกก่ ล้าแลว้ จึงคอ่ ยเรง่ ความเพียรอยา่ งหนักหนว่ งตามความ
ตงั้ ใจของท่าน ผลย่อมบังเกดิ ขึน้ อยา่ งแน่นอน
หลวงปู่พรหมเชื่อค�ำสอนของครูอาจารย์ ท่านมาเร่งความเพียรข้ันอุกฤษฏ์ใน
พรรษา ปี พ.ศ. ๒๔๘๐ เมือ่ ครง้ั พกั จำ� พรรษากับหลวงปู่ม่นั ทว่ี ัดพระธาตจุ อมแจ้ง
อำ� เภอแมส่ รวย จงั หวดั เชยี งราย พระลกู ศษิ ยข์ องทา่ นเลา่ วา่ “หลวงปพู่ รหมไดอ้ ยปู่ ฏบิ ตั ิ
ธรรมกบั ทา่ นพระอาจารยม์ น่ั ๓-๔ พรรษา ทา่ นมคี วามเพยี รมาก เวลาเขา้ พรรษา
ทา่ นเดินจงกรม ดนิ ลกึ ลงไป ๓ นวิ้ โปง้ ไม่นอน ๓ เดือน บรรลถุ ึงพระอนาคาม”ี
111
จ�ำพรรษากบั หลวงปูม่ ัน่ ท่พี ระธาตุจอมแจง้
วดั รา้ งทอี่ ยตู่ ามปา่ ตามเขา นบั เปน็ สถานทสี่ ำ� คญั แหลง่ หนงึ่ ทพี่ ระธดุ งคศ์ ษิ ยข์ อง
หลวงป่มู ัน่ ภรู ิทตฺโต ชอบไปภาวนาแสวงวเิ วกกนั
ในท้องถ่ินแถบป่าเขาในจังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย มีวัดร้างจ�ำนวนมากมาย
ส่วนใหญ่เป็นวัดก่อสร้างมาแต่ยุคโบราณ ซึ่งไม่สามารถทราบประวัติและอายุการ
ก่อสร้างท่ีแน่นอน หลายแห่งมีเพียงประวัติในเชิงต�ำนานหรือเรื่องเล่าขานต่อๆ มา
หลวงปู่ม่ันเคยเล่าให้หลวงพ่อวริ ิยังค์ สิรินฺธโร ฟงั วา่ “ชว่ งท่ีท่านเทยี่ วธุดงค์อยทู่ าง
ภาคเหนอื ทา่ นกะประมาณวา่ เฉพาะทอี่ ำ� เภอแมส่ าย (เชยี งราย) มวี ดั รา้ งอยถู่ งึ ๒๐๐
กวา่ วัด อันนี้แสดงถงึ ความเจริญทางวฒั นธรรมในอดีตของคนภาคนี.้ ..”
จากปรากฏการณท์ ม่ี วี ดั รา้ งจำ� นวนมากนน้ั หลวงปมู่ น่ั ไดใ้ หค้ วามเหน็ วา่ “การท่ี
ประชาชนในกาลกอ่ น แมค้ วามเจรญิ ในทางวตั ถตุ า่ งๆ ยงั ไมม่ าก ทำ� ไมถงึ มคี วามศรทั ธา
อย่างย่ิงได้สร้างวัดมากเช่นน้ี ก็เป็นการแสดงถึงความสามารถอันเกิดจากศรัทธา
เปน็ การรวมพลังให้เกดิ วตั ถภุ ายนอกข้ึน เพราะวดั ตา่ งๆ จะเกิดขึ้นไดน้ นั้ มใิ ชง่ า่ ยๆ
ตอ้ งเสยี สละรว่ มกนั ทง้ั กำ� ลงั กาย และกำ� ลงั ความคดิ กำ� ลงั ทรพั ย์ ถงึ จะเกดิ ขน้ึ ได้ กำ� ลงั
ศรทั ธาจะเกดิ ขนึ้ ไดน้ น้ั กต็ อ้ งอาศยั ความสามารถของผนู้ ำ� จงึ จะเกดิ ขน้ึ และเปน็ พลงั ได้
แสดงว่าก่อนนี้ทางภาคเหนือได้มีพระสงฆ์จ�ำนวนไม่น้อยและมีความสามารถมาก
ทีเดียวทีไ่ ดเ้ ป็นผู้นำ� สร้างวดั ขึ้น”
112
หลวงปู่มั่นได้บอกถึงข้อดีของการพักที่วัดร้างว่า “ในการพักท่ีวัดร้างน้ีมันเป็น
การดอี ยา่ งหนงึ่ คอื เปน็ ทน่ี า่ กลวั แกบ่ คุ คลผยู้ งั มกี ำ� ลงั ใจออ่ น เพราะวดั นนั้ ไดช้ อ่ื วา่ ตอ้ งมี
คนตาย ทตี่ อ้ งมาอาศยั ฝงั บา้ ง เผาบา้ ง โดยเฉพาะสมภาร (ถา้ ตาย) กต็ อ้ งทำ� กนั เอกิ เกรกิ
พิสดาร ท้งั เชอ่ื วา่ วญิ ญาณ เมือ่ เขา้ ใจวา่ เป็นผี มันตอ้ งอาศัยอยูว่ ดั ร้างเหลา่ นมี้ ากกวา่
แหง่ อน่ื ๆ ดงั นนั้ จงึ เกดิ ความหวาดเสยี วทเี่ ปน็ นสิ ยั ของคนไทย ทำ� ใหน้ กึ ถงึ วา่ วดั รา้ งนน้ั
น่ากลวั จึงเปน็ เหตใุ หผ้ ลดขี องนกั ปฏิบัติธรรมส่วนหนง่ึ ท�ำให้จิตของบุคคลผูเ้ ข้ามา
อยวู่ ดั รา้ ง บงั เกดิ ความหวาดเสยี วตามนสิ ยั แหง่ ความเชอ่ื ถอื และเปน็ ผลทำ� ใหเ้ กดิ ความ
สงบเงยี บในใจข้ึนได”้ เป็นที่น่าสงั เกตวา่ วดั ร้างแต่ละแหง่ มกั จะมี “พระธาตุ” ตาม
ภาษาทอ้ งถ่นิ น้ันก็คอื “เจดีย”์ ทเ่ี ราเรียกกันทั่วไป
หลวงปู่มั่นเคยมาพักจ�ำพรรษาท่ีวัดพระธาตุจอมแจ้ง ในเขตอ�ำเภอแม่สรวย
จงั หวัดเชียงราย ในปี พ.ศ. ๒๔๗๘ ตอนนนั้ ยังเป็นวัดร้างอยบู่ นดอยที่หา่ งไกลจาก
บา้ นผคู้ น มาในปี พ.ศ. ๒๔๘๐ ทา่ นไดย้ อ้ นกลบั มาจำ� พรรษาทวี่ ดั แหง่ นอี้ กี ครงั้ มพี ระ
ลูกศิษยม์ าพักจ�ำพรรษาด้วยหลายองค์ รวมทัง้ หลวงปู่พรหม จิรปญุ โฺ ด้วย
ในหนังสอื ประวัตขิ องหลวงปพู่ รหม เขยี นไว้วา่
“ในปี พ.ศ. ๒๔๘๐ หลวงปพู่ รหม จริ ปญุ โฺ ไดพ้ กั จำ� พรรษาทว่ี ดั พระธาตจุ อมแจง้
บนดอยจอมแจง้ อำ� เภอแม่สรวย จงั หวัดเชยี งราย เป็นการพักจำ� พรรษาครง้ั แรกกบั
องคห์ ลวงปมู่ น่ั ภรู ทิ ตโฺ ต พระอาจารยใ์ หญ่ นบั เปน็ ยอดปรารถนาของทา่ นเลยทเี ดยี ว
ดงั นนั้ ภายในพรรษาน้ี หลวงปพู่ รหมไดก้ ำ� ลงั ใจเปน็ อยา่ งมาก ทา่ นตง้ั ใจปฏบิ ตั ธิ รรม
แบบมอบกายถวายชวี ติ ทเี ดยี ว ในพรรษานมี้ หี มคู่ ณะพกั จำ� พรรษาอยดู่ ว้ ยกนั ๖ องค์
ไดแ้ ก่ ๑. หลวงปมู่ น่ั ภรู ทิ ตโฺ ต ๒. หลวงปพู่ รหม จริ ปญุ โฺ ๓. หลวงปขู่ าว อนาลโย
๔. พระอาจารยม์ นู ๕. พระอาจารยค์ ำ� และ ๖. หลวงปู่พระมหาทองสุก สจุ ิตฺโต
(พระครูอุดมธรรมคุณ)”
ครูบาอาจารย์ผเู้ ป็นศิษยบ์ อกเล่าตอ่ กนั มาวา่ หลวงปูพ่ รหมท่านไดถ้ ือภาคแห่ง
การปฏิบัติธรรมหกั โหมข้ันอุกฤษฏ์กใ็ นปี พ.ศ. ๒๔๘๐ นเ้ี อง
113
สมยั แรกทม่ี าอยใู่ กลช้ ดิ กบั หลวงปมู่ นั่ ใหมๆ่ หลวงปพู่ รหมเคยตงั้ ใจปฏบิ ตั ธิ รรม
ขัน้ อุกฤษฏ์ โดยถอื เพยี งอิรยิ าบถ ๓ คือ ยืน เดิน นง่ั งดเว้นการนอน ไมย่ อมให้
หลงั แตะพนื้ เลย ในครงั้ นนั้ ทา่ นถกู หลวงปมู่ นั่ หา้ มไว้ เพราะเปน็ การปฏบิ ตั ทิ ห่ี กั โหม
เกนิ กำ� ลังรา่ งกายจะสูไ้ มไ่ หว ท่านแนะน�ำใหเ้ ดินจงกรมนั่งสมาธฝิ ึกจิตกอ่ น จนเมื่อ
กำ� ลงั จติ แกก่ ลา้ แลว้ จงึ คอ่ ยมาเรง่ ทำ� ความเพยี รอยา่ งหนกั หนว่ งในภายหลงั ทำ� อยา่ งน้ี
ผลประโยชนจ์ งึ บังเกิดข้นึ อยา่ งแท้จริง
มาในพรรษานี้ หลวงปพู่ รหมทา่ นมคี วามมนั่ ใจเตม็ ทแ่ี ละเกดิ กำ� ลงั ใจอยา่ งมาก
ทจี่ ะมคี รบู าอาจารยผ์ เู้ ลศิ แตกฉานในทางธรรมมาพกั จำ� พรรษาอยใู่ นสถานทเ่ี ดยี วกนั
อกี ดว้ ย หลวงปพู่ รหมไดเ้ ร่งทำ� ความเพียรอยา่ งเต็มที่ โดยถอื อิรยิ าบถ ๓ ประการ
ไดแ้ ก่ ยนื เดนิ นงั่ ตลอดไตรมาส การนงั่ สมาธกิ น็ าน เวลาเดนิ จงกรมมคี วามรสู้ กึ วา่
ตวั ลอยไปเรอ่ื ย คลา้ ยกบั เทา้ ไมแ่ ตะพนื้ รสู้ กึ ตวั เบา การเดนิ แตล่ ะครง้ั นบั เปน็ เวลานาน
หลายๆ ชว่ั โมง ไม่รูส้ ึกเหน็ดเหนื่อย และไม่เบอ่ื หนา่ ย
ดว้ ยความพยายามดงั ทก่ี ลา่ วมาน้ี เมอ่ื ออกพรรษา ท่านจงึ ได้รับค�ำชมเชยจาก
องคห์ ลวงปมู่ นั่ ตอ่ หนา้ เพอื่ นพระดว้ ยกนั วา่ “ทา่ นพรหม เปน็ ผทู้ มี่ คี วามพากเพยี รสงู ยง่ิ
มคี วามตง้ั ใจแนว่ แน่ ไดป้ ระพฤตปิ ฏบิ ตั ธิ รรมอยา่ งเครง่ ครดั ทส่ี ดุ เปน็ ตวั อยา่ งทดี่ แี ก่
พระภกิ ษทุ ัง้ หลายควรเอาเป็นเยีย่ งอย่าง”
ในปีนน้ั หลวงปูพ่ รหมมอี ายุ ๔๘ ปี พรรษา ๑๐
เมอ่ื ออกพรรษาแลว้ ทงั้ หลวงปมู่ น่ั และพระลกู ศษิ ย์ ตา่ งกแ็ ยกยา้ ยกนั ไปเทย่ี วหา
วิเวกในถิน่ ต่างๆ ตามความสนใจของแตล่ ะองค์
114
ค�ำสอนของหลวงปู่มนั่ ท่วี ัดพระธาตุจอมแจง้
ในพรรษาปี พ.ศ. ๒๔๘๐ ทว่ี ดั พระธาตจุ อมแจง้ นี้ หลวงปมู่ นั่ ไดเ้ คยี่ วเขญ็ ศษิ ย์
แตล่ ะองคใ์ หป้ ฏบิ ตั ธิ รรมอยา่ งเตม็ ท่ี มกี ารเทศนอ์ บรมตลอดพรรษา หลวงปพู่ ระมหา
ทองสกุ สจุ ติ โฺ ต ทไี่ ดร้ ว่ มจำ� พรรษาอยดู่ ว้ ย ไดส้ รปุ คำ� สอนของหลวงปมู่ นั่ ในพรรษาน้ี
ออกเป็นขอ้ ๆ ดงั น้ี
“....ในปีนี้ ท่านพระอาจารยม์ น่ั ได้พาท�ำความเพียรเป็นกรณพี ิเศษ และทา่ นได้
อธบิ ายข้อปฏิบัตแิ ละปฏิปทาต่างๆ มากมาย เชน่
๑. การปฏบิ ตั ิทางใจ ตอ้ งถือการถ่ายถอนอปุ าทานเปน็ หลกั
๒. การถา่ ยถอนนนั้ ไม่ใช่ถ่ายโดยไม่มเี หตุ ไมใ่ ช่ทำ� เฉยๆ ใหม้ นั ถา่ ยถอนเอง
๓. เหตแุ หง่ การถา่ ยถอนนน้ั ตอ้ งสมเหตสุ มผล ทา่ นอา้ งเอาพระอสั สชแิ สดงใน
ธรรมขอ้ ที่ว่า
เย ธมมฺ า เหตุปฺปภวา เตสํ เหตุ ตถาคโต
เตสญฺจ โย นโิ รโธ จ เอวํ เวที มหาสมโณ
ธรรมทง้ั หลายเกดิ มาจากเหตุ ธรรมทงั้ หลายเหลา่ นน้ั ดบั ไปเพราะเหตุ พระมหา
สมณะ (คอื พระพทุ ธเจา้ ) มปี กติตรัสดงั น้ี
๔. เพอื่ ใหเ้ ขา้ ใจวา่ การถา่ ยถอนอปุ าทานนน้ั มใิ ชไ่ มม่ เี หตแุ ละไมส่ มควรแกเ่ หตุ
ต้องสมเหตสุ มผล
115
๕. เหตุ ไดแ้ ก่ การสมมติบัญญตั ิข้ึน แล้วหลงตามอาการนัน้ เริ่มตน้ ดว้ ยการ
สมมติตวั ของตนก่อน พอหลงตวั เราแลว้ กไ็ ปหลงผ้อู ืน่ หลงว่าเราสวยแล้วจึงไปหลง
ผู้อื่นว่าสวย เม่ือหลงตัวของตัวเองและผู้อื่นแล้วก็หลงพัสดุข้าวของนอกจากตัว
กลบั กลายเป็นราคะ โทสะ โมหะ
๖. แก้เหตุ ต้องพจิ ารณากรรมฐาน ๕ คอื ผม ขน เลบ็ ฟัน หนงั ดว้ ยสามารถ
แหง่ กำ� ลงั ของสมาธิ เมอ่ื สมาธขิ นั้ ตำ�่ การพจิ ารณากเ็ ปน็ ฌานขน้ั ตำ่� เมอ่ื เปน็ สมาธขิ น้ั สงู
พจิ ารณาเปน็ ฌานขั้นสงู แต่กอ็ ย่ใู นกรรมฐาน ๕
๗. การสมเหตผุ ล หมายถงึ คนั ทไ่ี หนตอ้ งเกาทน่ี นั้ ถงึ จะหายคนั คนตดิ กรรมฐาน ๕
หมายถึงหลงหนังเป็นทสี่ ดุ เรียกวา่ หลงกันตรงนี้ ถ้าไมม่ ีหนังคงจะหนกี ันแทบตาย
เม่อื หลงทีน่ ้ีก็ตอ้ งแก้ทีน่ ี้ คือเม่อื กำ� ลงั สมาธิพอแลว้ พิจารณากเ็ ห็นตามความเปน็ จรงิ
เกดิ ความเบอ่ื หนา่ ย เป็นวิปัสสนาญาณ
๘. เปน็ การเดนิ อรยิ สจั จ์ เพราะเปน็ การพจิ ารณาตวั ทกุ ข์ ดงั ทพี่ ระองคท์ รงแสดงวา่
ชาตปิ ทิ กุ ข์ ชราปิทุกข์ พยาธทิ ุกข์ มรณมั ปทิ ุกข์ ใครเกดิ ใครแก่ ใครเจ็บ ใครตาย
กรรมฐาน ๕ เปน็ ตน้ ปฏสิ นธิ เกดิ มาแลว้ แกแ่ ลว้ ตายแลว้ จงึ ชอื่ วา่ พจิ ารณากรรมฐาน
เป็นทางพน้ ทุกข์ เพราะพิจารณาตัวทุกขจ์ ริงๆ
๙. ทุกขสมุทยั เหตเุ กิดทกุ ข์ เพราะมาหลงกรรมฐาน ๕ ยึดมน่ั จึงเปน็ ทกุ ข์
เมอ่ื พจิ ารณาก็ลงได้ เพราะเหน็ ตามความเป็นจริง สมกบั คำ� ว่า รูปสฺมึปิ นพิ พฺ ินฺทติ
เวทนายปิ นพิ พฺ นิ ทฺ ติ สญฺ ายปิ นพิ ฺพนิ ทฺ ติ วญิ ฺ าณสมฺ ปึ ิ นพิ พฺ ินฺทติ เมอ่ื เบ่ือหนา่ ย
ในรูป (กรรมฐาน ๕) เป็นตน้ แลว้ ก็คลายความกำ� หนดั เม่อื เราพ้น เรากต็ อ้ งมญี าณ
ทราบชัดว่าเราพ้น
๑๐. ทกุ ขนโิ รธ ดับทุกข์ เมือ่ เหน็ กรรมฐาน ๕ เบื่อหน่าย ช่ือวา่ ดบั อุปาทาน
ความยดึ มนั่ ถอื มนั่ เชน่ เดยี วกบั ทา่ นสามเณรสมุ นะ ศษิ ยท์ า่ นพระอนรุ ทุ ธ์ พอปลงผม
หมดศีรษะ ก็ส�ำเรจ็ พระอรหนั ต์
116
๑๑. ทกุ ขาคมนิ ปี ฏปิ ทา ทางไปสทู่ ดี่ บั คอื การเปน็ ปญั ญาสมั มาทฏิ ฐิ ปญั ญาเหน็ ชอบ
เหน็ อะไร เหน็ อรยิ สจั จ์ ๔ อรยิ สจั จ์ ๔ ไดแ้ กอ่ ะไร ทกุ ข์ สมทุ ยั นโิ รธ มรรค การเหน็ จรงิ
แจ้งประจกั ษด์ ้วยสามารถแหง่ สมั มาสมาธิ ไม่หลงติดสขุ มีสมาธิเปน็ กำ� ลัง พจิ ารณา
กรรมฐาน ๕ กเ็ ป็นองค์มรรค
หลกั ๑๑ ประการนี้กวา้ งขวาง ท่านพระอาจารยม์ น่ั ท่านแสดงกว้างขวางมาก
หลวงปู่พระมหาทองสุก ท่านก็บันทึกย่อๆ ไว้เพื่อจะเป็นแนวทางปฏิบัติของท่าน
เพราะเป็นส่ิงสำ� คัญทั้งศกึ ษาและปฏบิ ัติ มิใชศ่ กึ ษาอยา่ งเดยี ว
ปฏปิ ทาทา่ นพระอาจารยม์ นั่ แนะวา่ การฉนั หนเดยี ว การฉนั ในบาตร การบณิ ฑบาต
การปดั กวาดลานวดั การปฏบิ ตั อิ ปุ ชั ฌายอ์ าจารย์ การอยปู่ า่ วเิ วก เปน็ ศลี วตั รอนั ควรแก่
ผู้ฝกึ ฝนขน้ั อุกฤษฏจ์ ะพงึ ปฏบิ ัติ
หลงั ออกพรรษาปนี น้ั แลว้ ตา่ งองคต์ า่ งกแ็ ยกยา้ ยกนั ไปบำ� เพญ็ เพยี รตามอธั ยาศยั
ของแตล่ ะองค์ ในสว่ นของหลวงปพู่ ระมหาทองสกุ ทา่ นเกดิ อาการไขม้ าลาเรยี กำ� เรบิ ขน้ึ
จงึ ไปรกั ษาตวั ทจ่ี งั หวดั เชยี งราย พอหายดแี ลว้ ทา่ นกก็ ลบั มาทวี่ ดั พระธาตจุ อมแจง้ อกี
ไมม่ ใี ครเหลอื อยู่สกั องคเ์ ดียว ทกุ ๆ องค์ตา่ งไปวเิ วกหมด ทา่ นจงึ มาอยู่องค์เดียว
กลางคนื เสอื ชมุ มาคอยรบกวนอยตู่ ลอดเวลา มาหาทา่ นใกลๆ้ แตม่ นั กไ็ มไ่ ดท้ ำ� อะไร
มาคอยจ้องๆ มอง แลว้ กห็ ายไป ท่านบอกวา่ “คร้ังแรกก็ทำ� ใหเ้ กิดความเสยี วๆ อยู่
แตพ่ อเคยกันเสยี แลว้ กเ็ ฉยๆ”
117
บางเหตุการณ์ท่ีส�ำนกั สงฆ์บ้านแม่กอย
ส�ำนักสงฆบ์ า้ นแมก่ อย หรอื วัดรา้ งปา่ แดง ทหี่ ลวงป่พู รหม จริ ปุญฺโ เคยเป็น
หวั หนา้ สำ� นกั ในพรรษาปี พ.ศ. ๒๔๘๑ และหลงั จากนนั้ อกี หลายเดอื น เมอ่ื มพี ระธดุ งค์
องคอ์ นื่ มาแทน ทา่ นกจ็ ะเดนิ ทางไปพกั วเิ วกทอี่ นื่ จากการตดิ ตามศกึ ษาเหน็ วา่ หลงั จาก
ท่หี ลวงปมู่ ่ันกลับภาคอสี านไมน่ าน หลวงปพู่ รหมก็ย้ายจากสถานท่ีแหง่ นี้ องค์ที่มา
เปน็ หวั หน้าสำ� นักต่อจากน้ี กเ็ ปน็ หลวงปขู่ าว อนาลโย และหลวงปู่แหวน สจุ ณิ ฺโณ
(จากบนั ทกึ ของพอ่ ครหู นานปวงคำ� ตยุ้ เขยี ว ผเู้ ชย่ี วชาญภาษาและวฒั นธรรมลา้ นนา)
หลงั จากปี พ.ศ. ๒๔๘๕ พระธดุ งคล์ กู ศษิ ยห์ ลวงปมู่ น่ั สว่ นใหญก่ ลบั ภาคอสี าน
หรอื ไปต้งั สำ� นกั อยู่ทอี่ ืน่ ปล่อยใหส้ �ำนกั สงฆบ์ า้ นแมก่ อย กลับเป็นท่รี กร้างตามเดิม
ต่อมาภายหลังสถานท่ีๆ เคยเป็นส�ำนกั สงฆ์บ้านแม่กอยหรอื วดั รา้ งป่าแดงน้ี ไดเ้ กิด
เปน็ วดั ใหม่ข้นึ มา ๒ วดั คอื วัดแมก่ อยหรือวดั บ้าน สงั กัดคณะสงฆม์ หานกิ าย
กบั วดั ปา่ อาจารยม์ นั่ (ภรู ทิ ตโฺ ต) หรอื วดั ปา่ สงั กดั คณะสงฆธ์ รรมยตุ ทง้ั สองวดั นก้ี ลาย
เปน็ วัดพว่ี ัดนอ้ ง มีเขตวดั ตดิ กนั ส่วนหนึง่ อกี สว่ นหน่งึ อยู่คนละฝั่งของล�ำนำ้� แม่กอย
ส�ำหรับสถานที่ๆ เคยเป็นกุฏิของหลวงปู่พรหม รวมทั้งกุฏิท่ีพักของพระเณร
องคอ์ นื่ ๆ ปจั จบุ นั อยใู่ นเขตของวดั แมก่ อย สว่ นบรเิ วณทเ่ี คยเปน็ กฏุ แิ ละทางเดนิ จงกรม
ของหลวงปมู่ นั่ อยทู่ างฟากฝง่ั ของวดั ปา่ อาจารยม์ น่ั ในปจั จบุ นั มกี ารกอ่ สรา้ งพระมหา-
ธาตุมณฑปอนสุ รณบ์ รู พาจารย์ฯ ขนึ้ ในบรเิ วณน้ัน
118
เรื่องราวของสถานที่แห่งนี้ท่ีครูบาอาจารย์เล่าให้ฟังถ่ายทอดต่อกันมา มีหลาย
เรอื่ งทีน่ ่าสนใจ ดังน้ี
เรอื่ งแรก เกย่ี วกบั ความเปน็ มาของสถานท่ี ครบู าอาจารยเ์ ลา่ วา่ สถานทนี่ เ้ี ปน็ ทเ่ี กา่
ของหลวงปู่มั่น คือในชาติหนึ่ง หลวงปู่ม่ันเคยเป็นหมูป่า มีแหล่งหากินในแถบน้ี
หมูป่าตวั นนั้ ถูกนายพรานฆ่าตาย มาในชาตนิ ี้ หลวงป่มู น่ั ได้กลบั มาอยใู่ นที่ถน่ิ เดมิ
ของท่าน สถานท่ีดังกล่าวก็คือบริเวณที่เคยเป็นที่ต้ังกุฏิและทางเดินจงกรมของท่าน
ท่ีอยูท่ างฟากของวัดป่าอาจารย์มั่นในปัจจุบนั
เรอื่ งท่ีสอง ในชว่ งท่ีหลวงปูม่ ั่นมาพำ� นกั ได้มีวิญญาณของสามเณรและพ่ีสาว
ไดม้ าหาทา่ น เลา่ ใหฟ้ งั วา่ ไดร้ ว่ มกนั สรา้ งพระเจดยี ์ ไมท่ นั เสรจ็ กม็ อี นั ตอ้ งตายเสยี กอ่ น
ดว้ ยความเปน็ หว่ งเจดยี ์ วญิ ญาณจงึ วนเวยี นอยแู่ ถวนน้ั เปน็ เวลานานแลว้ วญิ ญาณได้
ขอรอ้ งใหห้ ลวงปมู่ น่ั ชว่ ยสรา้ งเจดยี ต์ อ่ ใหเ้ สรจ็ ดว้ ย หลวงปมู่ น่ั ไดเ้ ทศนส์ อน ๒ วญิ ญาณ
นนั้ ใหค้ ลายความตดิ ยดึ แลว้ ไปเกดิ ในภพภมู ทิ คี่ วรจะไป ดว้ ยความเมตตา ทา่ นจงึ ได้
นำ� เอากอ้ นอฐิ ซากเจดยี ม์ าเรยี งเปน็ ทางเดนิ จงกรม แลว้ อทุ ศิ บญุ กศุ ลไปใหด้ วงวญิ ญาณ
คู่นั้น ทางเดินจงกรมที่ว่าน้ียังมีอยู่ รวมท้ังฐานที่เคยเป็นที่ตั้งของเจดีย์ก็ได้รับการ
กอ่ สรา้ งขน้ึ มาใหม่ นำ� โดย หลวงพอ่ จำ� รสั จริ วโํ ส เจา้ อาวาส ลำ� ดบั ท่ี ๓ ของวดั ปา่ อาจารยม์ น่ั
พระเจดีย์ที่ว่านี้ก็คือ พระมหาธาตุมณฑปอนุสรณ์บูรพาจารย์ พระกรรมฐานสาย
หลวงปู่มนั่ ภูริทตฺโต หรือที่เรียกส้ันๆ วา่ พระมหาธาตุมณฑปอนุสรณ์บรู พาจารย์ฯ
ทกุ วันนี้
เรื่องทสี่ าม เก่ยี วกบั ธรรมนมิ ิตของหลวงปมู่ น่ั
เรอ่ื งนเี้ กดิ ขนึ้ หลงั จากทห่ี ลวงปมู่ นั่ รบั นมิ นตท์ จ่ี ะกลบั ภาคอสี านแลว้ นำ� มาเปดิ เผย
โดยหลวงพ่อวิรยิ งั ค์ สิรินธฺ โร โดยยกค�ำกลา่ วของหลวงปมู่ ่นั มาเล่าต่อดงั น้ี
“...เรามาอยเู่ ชยี งใหม่ โดยเฉพาะไดใ้ ชค้ วามเปน็ อยใู่ นปา่ เปน็ สว่ นมาก เพราะมที ี่
ควรแกก่ ารวเิ วกมาก ผลจากการพจิ ารณาถงึ ความเสอื่ มความเจรญิ ของพระพทุ ธศาสนา
ในเรอ่ื งของการปฏบิ ตั ทิ างกรรมฐานกป็ รากฏเปน็ ธรรมนมิ ติ วา่ เราไดเ้ ดนิ ทางไปตามทาง
119
ซ่งึ ขณะน้ันเตียนโล่งสะอาด ขณะท่ีเราเดินไปนั้น ปรากฏว่ามีพระภกิ ษสุ ามเณรเดนิ
ตามเรามาเปน็ อนั มาก ดูเปน็ แถวยาวเหยยี ด เมื่อเดินไปและเดนิ ไปก็ปรากฏต่อไปวา่
พระภิกษุสามเณรเหล่าน้ันเป็นพระเถระผู้ใหญ่และผู้น้อยต่างก็เดินไปคนละทาง
บ้างก็แยกไปทางซ้าย บ้างก็แยกไปทางขวา บ้างก็ล�้ำหน้าเดินไปอย่างไม่เกรงใจ
ดูพลุกพล่านไป...”
เมอ่ื ลกู ศิษยไ์ ดก้ ราบเรียนถามความหมาย หลวงปู่ม่นั ได้อธิบายว่า
“...ในกาลตอ่ ไปขา้ งหนา้ นี้ จะมผี นู้ ยิ มทำ� กรรมฐานภาวนากนั มากขนึ้ กบั จะมกี าร
ตง้ั ตนเปน็ อาจารยส์ อนกรรมฐานภาวนากนั มาก การตง้ั ตนเปน็ อาจารยส์ อนกรรมฐาน
ภาวนาน้นั กจ็ ะมที ัง้ มคี ุณภาพและไมม่ คี ุณภาพ คอื ตา่ งก็จะสอนไปตามความเข้าใจ
ของตน จนถึงกับน�ำเอาการตั้งตนเป็นอาจารย์สอนกรรมฐานภาวนาบังหน้า แล้วก็
ดำ� เนนิ การไมบ่ รสิ ทุ ธด์ิ ว้ ยประการตา่ งๆ ผลทเ่ี กดิ ขนึ้ จงึ ไมเ่ ปน็ ผลเทา่ ทค่ี วร แตบ่ างพวก
กด็ เี พราะยงั เดนิ ตามเราอยู่ นม้ี ไิ ดห้ มายความวา่ เราเปน็ ผวู้ เิ ศษ แตก่ ารดำ� เนนิ ของเรานนั้
ไดท้ ำ� ไปโดยความบรสิ ทุ ธใ์ิ จ มงุ่ เพอื่ ความพน้ ทกุ ข์ โดยปฏปิ ทานก้ี ท็ ำ� ใหไ้ ดผ้ ลทงั้ ตนเอง
และศิษยานุศิษย์ตลอดมา การต่างคนต่างตั้งตนเป็นอาจารย์น้ันย่อมท�ำให้เสียผล
เพราะทำ� ใหเ้ กดิ ความลงั เลแกผ่ จู้ ะเขา้ มาเรยี นกรรมฐานภาวนาวา่ จะถอื เอาอาจารยไ์ หน
จงึ จะถกู ...”
น้ีเป็นบางเหตุการณ์ที่เกิดที่ส�ำนักสงฆ์บ้านแม่กอยในช่วงท่ีหลวงปู่พรหม
จริ ปญุ โฺ เปน็ หวั หนา้ สำ� นกั องคห์ ลวงปทู่ ราบเรอื่ งตา่ งๆ นดี้ ี อยทู่ ว่ี า่ ทา่ นจะนำ� มาเลา่
ให้ลกู ศิษยล์ ูกหาได้ฟังกนั หรอื ไม่เท่านั้น
120
การธดุ งค์เขา้ พม่าคร้ังที่สอง
เทา่ ทไี่ ดศ้ กึ ษาประวตั หิ ลวงปพู่ รหม จริ ปญุ โฺ มาถงึ ตอนน้ี สามารถบอกไดว้ า่ ทา่ น
ได้ธุดงค์เข้าไปในเขตพมา่ ๒ ครั้ง ครั้งแรกประมาณปี พ.ศ. ๒๔๗๗ ธุดงคไ์ ปพรอ้ ม
กบั หลวงปูช่ อบ €านสโม ดงั ไดเ้ สนอมาแล้ว กบั การไปครั้งน้ีเป็นคร้งั ทีส่ อง ประวัติ
ของหลวงปู่เกี่ยวกับการเดินธุดงค์เข้าพม่าครั้งท่ีสองนี้ยังมีความสับสน ไม่ชัดเจน
อยู่อย่างน้อย ๒ ประเดน็
๑. เกยี่ วกับปี พ.ศ. ของการธุดงค์ มแี ตกตา่ งกันเป็น ๒ นยั
นยั แรก ในหนังสอื ประวัติของทา่ นระบวุ า่ ในปี พ.ศ. ๒๔๘๐ หลวงปพู่ รหม
ได้จ�ำพรรษาร่วมกับหลวงปู่มั่นเป็นคร้ังแรกที่วัดพระธาตุจอมแจ้ง อ�ำเภอแม่สรวย
จงั หวดั เชยี งราย มพี ระสงฆจ์ ำ� พรรษารว่ มกนั ๖ องค์ ดงั ทนี่ ำ� เสนอมาแลว้ และไดส้ รปุ
เหตกุ ารณห์ ลงั ออกพรรษาปนี น้ั วา่ “เมอ่ื ออกพรรรษาแลว้ กไ็ ดเ้ ทย่ี วแยกยา้ ยกนั ไปวเิ วก
ในถน่ิ ตา่ งๆ สว่ นทา่ นอาจารยพ์ รหม จริ ปญุ โฺ ไดไ้ ปทางเหนอื ถงึ เมอื งโตน่ เมอื งหาง
เขตแคว้นเมืองตุง ท่านได้พักท�ำความเพียรอยู่ที่ถ�้ำปุ้มเป้ ใกล้เขตเมืองน้ี ท่านได้
จำ� พรรษาทถ่ี ำ้� นหี้ นงึ่ พรรษา ไดบ้ ำ� เพญ็ สมณธรรมโดยสะดวกสบายดี ไมม่ กี ารตดิ ขดั
ในทางภาวนามาบ�ำเพ็ญจิตใจ” โดยนัยนห้ี มายความวา่ หลวงปู่พรหมธุดงคเ์ ข้าพมา่
ในปี พ.ศ. ๒๔๘๐ และจ�ำพรรษาท่ีพมา่ ๑ พรรษาในปี พ.ศ. ๒๔๘๑
121
สว่ นนยั ทสี่ อง ในปี พ.ศ. ๒๔๘๑ หลวงปพู่ รหมไดร้ ่วมจำ� พรรษาครงั้ ทีส่ อง
กับหลวงปู่มัน่ ท่ีส�ำนกั สงฆ์บา้ นแม่กอย และท่านรบั ภาระเปน็ หัวหน้าส�ำนัก โดยนัยน้ี
ทา่ นจงึ ธดุ งคเ์ ขา้ พมา่ ในปี พ.ศ. ๒๔๘๒ หลงั จากทห่ี ลวงปมู่ นั่ เดนิ ทางกลบั ภาคอสี านแลว้
ดงั นน้ั ในพรรษาปตี อ่ ไปคอื ปี พ.ศ. ๒๔๘๒ หลวงปพู่ รหมนา่ จะจำ� พรรษาในประเทศ
พมา่
๒. เกีย่ วกบั สถานท่ีบรรลุธรรมขัน้ สูงสดุ ในประเดน็ นก้ี เ็ ชน่ กนั ยังมีขอ้ มลู ที่
แตกตา่ งกนั เปน็ สองนยั นยั แรก ขอ้ มลู ทวี่ า่ มาจากศษิ ยใ์ กลช้ ดิ บอกวา่ “หลวงปพู่ รหม
ทา่ นบรรลธุ รรมทถี่ ำ้� ปมุ้ เป้ ในเขตประเทศพมา่ ” นยั ทสี่ อง จากทา่ นหลวงตาพระมหาบวั
าณสมปฺ นโฺ น กลา่ วเพยี งกวา้ งๆ วา่ “...หลวงปพู่ รหมไปสำ� เรจ็ ทเี่ ชยี งใหม่ ทา่ นไปสนิ้ สดุ
ทเ่ี ชยี งใหม.่ .. และจากหลวงพอ่ คำ� บอ่ €ติ ปญโฺ บอกวา่ “หลวงปพู่ รหม ไดผ้ า่ นแดน
พน้ ทุกขท์ โ่ี หล่งขอด (อ�ำเภอพรา้ ว เชยี งใหม)่ ”
ขอ้ มูลจากแต่ละแหลง่ ทไี่ ดม้ าอาจไมต่ รงกันได้ รวมทัง้ มีส่วนที่เหลอื่ มๆ เกยๆ
กนั อยบู่ า้ ง กเ็ ปน็ เรอ่ื งธรรมดา ทง้ั นเ้ี พราะเปน็ เหตกุ ารณท์ ผี่ า่ นมามากกวา่ ๗๐ ปแี ลว้
ไมม่ กี ารจดบนั ทกึ ไวเ้ ปน็ หลกั ฐาน เปน็ เพยี งการบอกเลา่ ดว้ ยวาจาตอ่ ๆ กนั มา แตเ่ นอ้ื หา
สาระที่เปน็ เรอื่ งหลกั ๆ ในประวัติของหลวงป่กู ถ็ ือวา่ ไมข่ ดั แย้งกนั สามารถสงเคราะห์
ไปดว้ ยกันได้
122
หลงทาง-อดอาหาร ๑๒ วัน
หลวงปพู่ รหมเล่าให้คุณครูชาย (ลกู ศษิ ย์ท่ีบา้ นดงเยน็ ) ฟงั ว่า
“พอบวชได้ ๓ พรรษา มจี ติ ใจวา้ วนุ่ มาก อยากจะสกึ มาก หลวงปตู่ ง้ั ใจวา่ จะตอ้ ง
หนใี หพ้ น้ จะตอ้ งไมส่ กึ ตอ้ งไปหาพอ่ แมค่ รอู าจารยค์ อื หลวงปมู่ น่ั ภรู ทิ ตโฺ ต ซง่ึ ในขณะนน้ั
ทา่ นกำ� ลงั แสวงวเิ วกอยทู่ างภาคเหนอื หลวงปพู่ รหมจงึ เดนิ ทางขนึ้ เหนอื มงุ่ หนา้ สจู่ งั หวดั
เชยี งใหม่ พอพบหลวงปมู่ ัน่ ได้อย่กู บั หลวงปมู่ ่ัน ฟงั ธรรม และมโี อกาสไดป้ รนนบิ ัติ
และจำ� พรรษาทว่ี ัดท่หี ลวงปู่ม่นั มอบหมายเปล่ียนไปตามที่หลวงปมู่ ่นั เห็นสมควร
อยกู่ บั หลวงปมู่ นั่ ประมาณ ๑๐ ปี จงึ ขออนญุ าตหลวงปมู่ น่ั เดนิ ทางไปธดุ งคจ์ งั หวดั
เชียงราย และจ�ำพรรษาที่จงั หวัดเชยี งราย ๑ ปี เมือ่ ออกพรรษาแลว้ จงึ ออกธดุ งค์
ไปประเทศพม่า โดยเดินทางขน้ึ ภูเขามีช่ือว่า “ภเู ขาควาย”
พอถึงยอดเขาสงู ทา่ นก็หลงทาง แต่ท่านจำ� ได้ว่าเส้นทางน้ีท่านเคยเดนิ ธุดงค์
มากอ่ นแลว้ ไมน่ ่าจะหลงทางเลย เดนิ ไปๆ กก็ ลบั มายงั ท่ีเดมิ เปน็ อย่างน้นั อยูน่ าน
หาทางออกไม่ไดเ้ ลย และได้บอกกับตวั ทา่ นเองว่า “เอาละ โสสุดแล้วเรา” (ถึงที่สุด
แล้วเรา) หลวงปู่จึงยึดถ้�ำแห่งน้ันเป็นที่พักและปฏิบัติธรรม ท่ีปากถ้�ำมีน้�ำหยดลง
จากหนิ เปน็ สายตลอดเวลา และมแี อง่ หนิ เลก็ ๆ รองรบั นำ�้ และแอง่ หนิ เลก็ ๆ นี้ นำ�้ ไมเ่ คย
เตม็ สกั ที ทงั้ ๆ ทนี่ ำ�้ หยดลงตลอดเวลา แตป่ รมิ าณของนำ้� อยเู่ ทา่ เดมิ หลวงปไู่ ดอ้ าศยั นำ�้
ในแอ่งหนิ น้ีดืม่ และเชด็ ตวั
123
ตลอดเวลา ๑๒ วนั ทที่ า่ นอาศยั อยปู่ ฏบิ ตั ธิ รรมในถำ�้ น้ี ทา่ นไมไ่ ดฉ้ นั อาหารเลย
เพียงแต่มีน้�ำด่ืมเท่านั้น แต่ร่างกายของท่านไม่มีความรู้สึกเมื่อยล้าหรือรู้สึกหิวเลย
การปฏบิ ัตภิ าวนาก็เปน็ ไปด้วยดี จิตใจสงบมาก รเู้ หน็ ธรรมะ และตวั เบาสบาย
ในวนั ท่ี ๑๓ กม็ ี “บงั บด” มาใสบ่ าตรใหท้ า่ น ซงึ่ มขี า้ ว ๑ ปน้ั มปี ลาขาวไมม่ เี กลด็ ๑ ตวั
ท่านได้ฉันอาหารนั้นเป็นมื้อแรก อาหารที่เทวดาใส่บาตรน้ันมีรสชาติหอมหวาน
เอรด็ อรอ่ ยมาก ฉนั หมดกอ็ ม่ิ พอดี จติ ใจสงบ การปฏบิ ตั ภิ าวนากเ็ ปน็ ไปดว้ ยดี มคี วาม
สวา่ ง พจิ ารณาธรรมะไดช้ ดั เจน เมอ่ื ประสบกบั เหตกุ ารณเ์ ชน่ นน้ั หลวงปกู่ ห็ วนนกึ ถงึ
พระคณุ ของพอ่ แม่ครอู าจารย์ คือองค์หลวงปมู่ น่ั ภูรทิ ตโฺ ต
ตอ่ มาเมอื่ ถงึ วนั ที่ ๑๗ หลวงปกู่ เ็ หน็ ชอ่ งทาง ทา่ นเลา่ วา่ เปน็ ชอ่ งทางใหเ้ ดนิ กลบั
หลวงปูเ่ ดนิ ไปตามช่องทางนน้ั จนกระทงั่ พบกบั ครอบครัวชาวเขาชาวพม่า ๔ หลงั คา
เรอื น พวกเขาใสบ่ าตรท่าน และทา่ นไดพ้ ักอยู่กับพวกเขา ๒ คนื ชาวเขาไดบ้ อกทาง
ให้เดินกลับถึงวัดที่หลวงปู่มั่นพักจ�ำพรรษาอยู่ และได้เข้ากราบนมัสการหลวงปู่ม่ัน
ในขณะนั้นมีพระอยู่สนทนาธรรมกับหลวงปู่มั่นหลายรูป แล้วหลวงปู่มั่นได้ทักทาย
หลวงปพู่ รหมวา่ “เปน็ อยา่ งไรทา่ นพรหม เดนิ ทางไกล ๓ ปี ไดอ้ ะไรมาบา้ ง” หลวงปพู่ รหม
ไดก้ ราบเรยี นหลวงปมู่ นั่ วา่ “กระผมหายสงสยั แลว้ ตามทพี่ อ่ แมค่ รอู าจารยไ์ ดส้ ง่ั สอน”
หลวงปมู่ นั่ ไดช้ มเชยหลวงปพู่ รหมตอ่ หนา้ พระภกิ ษทุ อ่ี ยู่ ณ ทน่ี นั้ วา่ “ใหเ้ อาทา่ นพรหม
เปน็ ตวั อย่าง”
ตอนทห่ี ลวงปเู่ ลา่ ใหค้ ณุ ครชู าย วงษป์ ระชมุ ฟงั นน้ั มหี ลวงปสู่ ภุ าพ (ธมมฺ ปญโฺ )
หลวงปู่ลี (€ติ ธมฺโม) พระอาจารย์สอน และสามเณรแนน อยู่ ณ ทนี่ ้นั ด้วย
124
หลวงปู่มั่นสอนธรรมผา่ นทางหทู ิพย์
เรอื่ งนเี้ ปน็ เหตกุ ารณก์ ารธดุ งคใ์ นพมา่ ของ หลวงปพู่ รหม จริ ปญุ โฺ ทเ่ี ขยี นใน
หนงั สอื “บูรพาจารย์ ทา่ นพระอาจารยม์ ัน่ ภรู ิทัตตเถระ” บอกวา่ เป็นคำ� บอกเล่าจาก
หลวงปอู่ ำ่� ธมมฺ กาโม วดั ปา่ เขาเขยี ว อำ� เภอเนนิ มะปราง จงั หวดั พษิ ณโุ ลก ศษิ ยอ์ าวโุ ส
องค์หนึ่งของหลวงปพู่ รหม ดงั นี้
“เมอื่ ออกพรรษา (ปี พ.ศ. ๒๔๘๐ ทวี่ ดั พระธาตจุ อมแจง้ ) แลว้ ไดเ้ ทยี่ วแยกยา้ ยกนั
ไปวเิ วกในถนิ่ ตา่ งๆ หลวงปพู่ รหมกราบขออนญุ าตทา่ นพระอาจารยม์ น่ั เดนิ ธดุ งคว์ เิ วก
ทางเหนือ ถึงเมอื งโต่น เมืองหาง เขตแควน้ เมอื งเชยี งตุง ไปทางพมา่
ทา่ นไปองคเ์ ดยี ว ขน้ึ ๓ ดอย ลงมาเจอชาวพมา่ มี ๔ หลงั คาเรอื น อาชพี เขาฝดื เคอื ง
เขาทุกข์ยาก ตักขี้ยางใส่ขอนดอก (ไม้ขอนท่ีผุ) ท�ำข้ีไต้ไปขาย ชาวพม่าบอกกับ
หลวงปพู่ รหมว่า “ให้ตเุ๊ จา้ อยู่จ�ำพรรษาดว้ ยก็จะรับรองเลี้ยงตลอด ๓ เดอื น”
ท่านได้พกั ท�ำความเพียรอยู่ท่ีถำ�้ ปุม้ เป้ใกลเ้ ขตเมอื งตุง ปรากฏวา่ มกี ระดกู พระ
องคห์ นง่ึ ทมี่ รณภาพไปแลว้ อยภู่ ายในถำ�้ ซงึ่ ถำ้� นม้ี ที างเขา้ อยทู่ างเดยี ว มที างเดนิ จงกรม
ได้ ๔๐ กา้ ว หลวงปพู่ รหมจำ� พรรษาทถ่ี ำ�้ น้ี ๑ พรรษา ไดบ้ ำ� เพญ็ สมณธรรมโดยสะดวก
สบาย ไม่มีการตดิ ขัดในการภาวนา ทา่ นเรง่ ความเพียร
ท่านพระอาจารย์มั่นอยู่ทางเชียงใหม่เข้ามาทางหูทิพย์บอกหลวงปู่พรหมว่า
“ท่านพรหมๆ อย่างเพิ่งเร่งพิจารณามา้ งกาย ทำ� ใหม้ นั ละเอียดสักหนอ่ ย” ทา่ นพระ
125
อาจารยม์ นั่ ตอ้ งการใหห้ ลวงปพู่ รหมพจิ ารณากายใหล้ ะเอยี ด ถา้ พจิ ารณาไมล่ ะเอยี ด
กพ็ น้ ทกุ ขไ์ ดอ้ ยแู่ ตไ่ มม่ อี ภญิ ญา ทา่ นพระอาจารยม์ น่ั บอกตอ่ ไปวา่ กระดกู ใหท้ า่ นทำ�
ทุกข้อ กระดกู ๓๐๐ ท่อน ใหพ้ จิ ารณาเนอื้ หนงั ผม ขน ฯลฯ แตห่ ลวงปูพ่ รหม
กลา่ ววา่ “เอาตวั พน้ ทกุ ขก์ พ็ อ” ทา่ นสน้ิ ทกุ ขอ์ ยใู่ นถำ้� แตไ่ มแ่ ตกฉาน ทา่ นระลกึ ชาตไิ ด้
ไมม่ ากนกั ท่านวา่ อดตี ชาตทิ ่านเคยเปน็ นกขาบ (นกตะขาบ) ในถ้ำ� ปุ้มเป้
ทา่ นกำ� หนดดูทา่ นพระอาจารยม์ น่ั เวลาท่านพระอาจารย์มั่นเทศน์ ธรรมผุดข้นึ
ท่านเทศน์ตามธรรมผุดข้ึน แต่หลวงปู่พรหมไม่มี ท่านเป็นสุกขวิปัสสโก ผู้เจริญ
วิปัสสนาล้วน พ้นทุกข์อยู่ แต่ไม่มีเครื่องใช้ กายไม่ละเอียด พ้นทุกข์ได้นั้นเป็น
สกุ ขวปิ ัสสโก ไมม่ ีเครอ่ื งใช้ แตก่ ส็ ามารถพ้นทกุ ข์
สว่ นเตวชิ โช ผไู้ ดว้ ชิ ชา ๓ อภญิ ญา ๖ เหาะได้ ผแู้ ตกฉานปฏภิ าณ ทา่ นอาจารย์
มหาบวั ทา่ นแตกฉาน ไปองั กฤษเขาถาม “สตั วเ์ ดรจั ฉานพน้ ทกุ ขไ์ ดไ้ หม” ทา่ นอาจารย์
มหาบวั ตอบวา่ “ไมไ่ ด้ เพราะสตั วเ์ ดรจั ฉานไมม่ สี ตปิ ญั ญา” ทา่ นแกเ้ กมไมม่ ตี ดิ หลวงปู่
พรหม ทา่ นว่าอยา่ งนี้ “คา (ตดิ ) คำ� พดู อยู่ แต่ข้อปฏิบตั พิ ้นทุกขบ์ ่คา”
126
พบสิ่งแปลกๆ มหศั จรรยม์ ากมาย
เรอ่ื งนค้ี ดั ลอกมาจากหนงั สอื “ตามรอยพระอาจารยพ์ รหม จริ ปญุ โฺ พระอรหนั ต์
แห่งบา้ นดงเย็น” เขียนไว้ดงั นี้
“สมยั ทหี่ ลวงปพู่ รหม จริ ปญุ โฺ ทา่ นเทย่ี ววเิ วกอยกู่ ลางปา่ เขา ทา่ นไดพ้ บกบั สงิ่
แปลกๆ และอศั จรรยม์ ากมาย แตท่ า่ นไมส่ ามารถเลา่ ใหล้ ะเอยี ดลงไปได้ ไมว่ า่ สถานที่
เวลา ปี ใดๆ ไมส่ ามารถกำ� หนดชว้ี ดั ลงไปไดเ้ ลย นอกเสยี จากการประพฤตปิ ฏบิ ตั ธิ รรม
ของทา่ นเทา่ นน้ั ทา่ นเดนิ ธดุ งคบ์ กุ ปา่ ฝา่ ดงไปในทตี่ า่ งๆ ทงั้ ในประเทศและนอกประเทศ
ท่านเดินตลอดวันตลอดคืนก็ไม่พบปะบ้านช่องเรือนชานของผู้คน ในเวลาที่ต้อง
ผจญทุกข์เช่นนี้ ท่านมีแต่ความอดอยากทรมานเสียมากกว่าความอ่ิมกายสบายใจ
ทา่ นตอ้ งทนตอ่ ความหวิ โหยออ่ นเพลยี ทง้ั นเ้ี พราะหลงทาง ทา่ นตอ้ งนอนคา้ งอยกู่ ลางปา่
กลางเขา เฉพาะการเดนิ ธดุ งคใ์ นชว่ งออกไปทางประเทศพมา่ เปน็ ความยากลำ� บากมาก
เมอื่ คราวเดนิ วเิ วก เพราะทางท่ีไปน้นั มแี ตส่ ตั ว์ปา่ นานาชนิด เชน่ พวกเสอื และงพู ษิ
ท่ไี ม่ยอมกลัวคน บางครงั้ ก็ตอ้ งปลงอนจิ จงั ตอ่ ความทุกข์ที่ตอ้ งทรมานสุดแสนจะทน
และมีชีวิตสืบต่อไปวันข้างหน้า เม่ือนึกปลงใจตัวเองแล้ว ก็ดูเหมือนกับว่าสิ่งต่างๆ
ในร่างกายน้ันมันจะหยุดสุดสิ้นลงไปพร้อมๆ กัน ลมหายใจก็เหมือนขาดตอนท่ี
ตอ่ เน่อื งกนั นี่เปน็ เครือ่ งถ่วงทรมานกายใจตอนนั้น แตใ่ นทส่ี ดุ มันก็พอทนอย่ตู ่อไป
ไดอ้ กี ตามเหตกุ ารณแ์ ละวนั เวลาผา่ นไป อยเู่ พอ่ื ธรรมะ แมไ้ ปกย็ งั มธี รรมะคกู่ บั จติ ใจ
ไมเ่ อนเอียงหวน่ั ไหวเลย”
127
บรรลธุ รรมที่พมา่ หรอื ทีเ่ ชียงใหม่
ประเด็นค�ำถามที่ว่า “หลวงปู่พรหมบรรลุธรรมในเขตพม่าหรือที่เชียงใหม่”
ดังท่ีเคยถามมาแต่ต้น ลูกศิษย์บางท่านบอกว่าท่านบรรลุที่ถำ้� ปุ้มเป้ในเขตพม่า แต่
ครูบาอาจารยบ์ างท่านกบ็ อกว่าในเมืองไทย ผมจะยกคำ� บอกเลา่ ของ หลวงพ่อค�ำบอ่
€ิตปญฺโ กบั ของท่านหลวงตาพระมหาบวั าณสมฺปนฺโน มาให้พิจารณา ณ ทนี่ ้ี
หลวงพ่อค�ำบอ่ €ิตปญฺโ วดั ใหมบ่ า้ นตาล ตำ� บลโคกสี อ�ำเภอสวา่ งแดนดนิ
จังหวัดสกลนคร เป็นศิษย์ส�ำคัญองค์หน่ึงได้อยู่ปฏิบัติหลวงปู่พรหมในพรรษาแรก
ท่ที ่านบวชคอื ปี พ.ศ. ๒๔๙๕
หลวงพ่อค�ำบ่อเล่าว่า “ได้พิจารณาปฏิปทาของหลวงปู่พรหม ท่านเป็นพระท่ี
พูดน้อยมากแต่ทำ� มาก เป็นผนู้ �ำในการกระทำ� มากทีส่ ุด การแนะน�ำส่งั สอนจะนอ้ ย
การกระทำ� จะมาก ทา่ นหลวงปมู่ งุ่ หวงั ตง้ั ใจเพอ่ื ความพน้ ทกุ ขจ์ รงิ ๆ ซงึ่ จะหาใครเสมอ
เหมอื นทา่ นไดย้ ากมาก สมยั ทหี่ ลวงปอู่ ยปู่ ระเทศพมา่ หลวงปขู่ าว หลวงปแู่ หวน เลา่ ให้
ฟงั วา่ มฤี าษไี ดป้ ฏบิ ตั ริ บั ใชท้ า่ น ฤาษนี ถ้ี อื ศลี ๕ ศลี ๘ พอกลบั จากพมา่ มาทเ่ี ชยี งใหม่
โหลง่ ขอด อำ� เภอพร้าว ท่านปฏิบัติแบบเอาจริงเอาจงั และไม่นอน ๓ เดือน หลวงปู่
ไดข้ ออนญุ าตหลวงปมู่ นั่ ภรู ทิ ตโฺ ต แตห่ ลวงปมู่ น่ั ไดก้ ลา่ วในเชงิ ใหส้ ตวิ า่ “...ทา่ นพรหม
อยา่ ไปท�ำอย่างนัน้ เลย จะท�ำให้เป็นทุกขเ์ ดือดร้อนแก่หมคู่ ณะ เพราะสังขารจะตอ้ ง
พกั ผ่อนนอนหลบั ถ้าเจ็บไขไ้ ด้ป่วยจะท�ำใหล้ ำ� บากแกห่ มคู่ ณะ...”
พอไดย้ นิ หลวงปมู่ น่ั กลา่ วเชน่ นน้ั ทา่ นกเ็ ลกิ ลม้ ความตงั้ ใจ หลวงปพู่ รหมทา่ นมี
ศรทั ธา ความเพียรแก่กลา้ มาก
128
หลวงพ่อค�ำบ่อเล่าเรื่องการบรรลุธรรมของหลวงปู่พรหมว่า “หลวงปู่พรหม
หลวงปขู่ าว ท่านไดผ้ า่ นแดนพ้นทุกขท์ ่ีโหลง่ ขอด หลวงปูข่ าวเลา่ ว่า เวลาเดนิ จงกรม
เหมือนกับมีเทวดาบังคับให้เดิน ไม่เหน็ดไม่เหนื่อย ได้ทำ� ความเพียรอย่างจริงจัง
เกิดปตี ิ หลวงปพู่ รหมก็ทำ� นองนเ้ี หมอื นกนั
ขณะนนั้ หลวงปมู่ นั่ ไดจ้ ำ� พรรษาท่ี ปา่ เมย่ี งขนุ ปง๋ั หลวงปพู่ รหมไปกราบหลวงปมู่ น่ั
แลว้ กลา่ วว่า “ทา่ นอาจารย์ไปอย่อู ยา่ งนีท้ ำ� ไม” หลวงปมู่ ัน่ ตอบว่า “มาอย่ใู ช้กรรม”
การอยู่ การฉัน ล�ำบากมากท่สี ดุ การทำ� กระต๊อบกน็ ำ� ใบไมม้ าสานกนั พอได้อยู่
หลวงปพู่ รหมเวลาทา่ นทำ� อะไร ทา่ นจะไมก่ ลวั ตาย มนี สิ ยั เดด็ ขาดมาก หลวงปู่
ทา่ นจะทำ� ประโยชนเ์ กอื้ กลู แกต่ นเองและผอู้ น่ื มากทสี่ ดุ ซงึ่ ผดิ กบั หลวงปแู่ หวน ทา่ นจะ
ไมก่ อ่ สรา้ งอะไรเลย หลวงปแู่ หวนจะไมด่ ำ� รใิ นการกอ่ สรา้ งใดๆ ทงั้ สนิ้ หลวงปพู่ รหม
ทา่ นจะเทศนน์ อ้ ยๆ สน้ั ๆ บางทที า่ นเทศนว์ า่ “ใหพ้ จิ ารณาปฏสิ งั ขาโย” (พจิ ารณาการใช้
การบริโภคปัจจยั ๔)
อุปนิสัยของหลวงปพู่ รหม จะอยเู่ ฉยไมไ่ ด้ ท่านจะท�ำโนน่ ทำ� นตี่ ลอดเวลา เปน็
“วหิ ารธรรม” ขององคห์ ลวงปู่ ทา่ นจะทำ� ประโยชนแ์ กต่ นและผอู้ นื่ เปน็ อนั มาก เลา่ กนั วา่
ทา่ นมมี ดี เล่มเลก็ ๆ ๑ เลม่ ทา่ นฟันขอนยางขนาดใหญซ่ ง่ึ ต้องใช้บันไดขา้ มขอนยาง
นัน้ ขาดได้ นบั ไดว้ ่าทา่ นหลวงปเู่ ปน็ พระท่ีมศี รทั ธาความเพียรสูงยิง่ จรงิ ๆ”
ส�ำหรับท่านหลวงตาพระมหาบัว าณสมปฺ นฺโน ท่านก็ไมไ่ ด้ชี้สถานที่ให้แนช่ ัด
ลงไป ทา่ นเพียงแต่กลา่ วรวมๆ ว่า “...ท่านไปสิน้ สุดท่ีเชยี งใหม่...” หรือ “... ได้ส�ำเรจ็
ท่เี ชียงใหม่...” ซง่ึ หมายถงึ สำ� เรจ็ ท่ภี าคเหนอื ก่อนเดินทางกลบั ภาคอสี านนัน้ เอง
พระธรรมเทศนาของหลวงตาพระมหาบัว าณสมฺปนฺโน ณ ศาลากลางน�้ำ
สวนแสงธรรม ถนนพทุ ธมณฑล สาย ๓ กรงุ เทพฯ เมอ่ื วนั ที่ ๒๗ เมษายน พทุ ธศกั ราช
๒๕๔๙ ไดแ้ สดงธรรมเก่ยี วกับหลวงปพู่ รหม จิรปญุ โฺ ดังตอ่ ไป
“นี่หลวงปพู่ รหมนะนี่ หลวงปพู่ รหมไปส�ำเร็จที่เชยี งใหมน่ ะน่ี ทา่ นเลา่ ให้ฟงั เอง
ทา่ นไปสน้ิ สดุ ทเี่ ชยี งใหม่ ทา่ นใจเดด็ ดอี ยนู่ ะ ทา่ นเปน็ พอ่ คา้ มฐี านะสำ� คญั อยู่ ประกาศ
129
ใหท้ าน ๗ วนั หมด เพราะทา่ นเปน็ พอ่ คา้ ลกู ไมม่ ี อยแู่ คผ่ วั เมยี เทา่ นน้ั แลว้ มาปรกึ ษากนั
ทง้ั ผวั ทงั้ เมยี เราจะทำ� อยา่ งไรสมบตั เิ งนิ ทองเรา กเ็ ปน็ พอ่ คา้ นนี่ ะ มตี ามฐานะบา้ นนอก
ก็เรียกว่ามีเป็นท่ีหน่ึงเลยละตามบ้านนอก แล้วจะท�ำอย่างไร ตาย-เหล่านี้ก็ไม่
เหน็ มี (ความหมาย) อะไร ไม่มอี ะไรเปน็ หว่ งใยอะไร ลกู กไ็ มม่ ี จะมอบให้ลกู ให้เต้า
ก็ไม่มี ตายแล้วส่ิงเหล่านี้มันก็เป็นเศษเป็นเดนไป ไอ้เราจะเป็นอย่างไรปรึกษากัน
บวชเสยี เป็นอย่างไร เลยเหน็ ดีดว้ ยกันเลยบวช ทางเมียก็ออกทางหน่ึง ทางผวั ก็ออก
ทางหนงึ่ จนไปถงึ พอ่ แมค่ รอู าจารยม์ น่ั ทเี่ ชยี งใหม่ ไดส้ ำ� เรจ็ มาจากเชยี งใหม่ ดจู ะเปน็
เหมอื นทางแมป่ งั๋ เหมอื นกนั นะ
ส�ำหรับหลวงปขู่ าว ทโ่ี รงขอดโรงแขดอะไร ทา่ นบอกเราแหละ อำ� เภอแมแ่ ตง
ดวู า่ อยา่ งนน้ั ทา่ นอาจารยข์ าว-หลวงปขู่ าว (ชอ่ื สถานทคี่ อื ตำ� บลโหลง่ ขอด อำ� เภอพรา้ ว
เชยี งใหม่ อยทู่ างเหนอื อำ� เภอแมแ่ ตง) ทา่ นเลา่ ใหฟ้ งั อยา่ งเปดิ เผย ทา่ นเสรจ็ สนิ้ มาแลว้
ตงั้ แตอ่ ยเู่ ชียงใหม่ มาก็มาพบกนั ทบี่ า้ นนามน ตอนน้นั เราอยทู่ ่ีบ้านนามนกบั พอ่ แม่
ครูอาจารย์มน่ั ”
มาถงึ ตอนนกี้ ส็ ามารถสรุปได้วา่ หลวงปพู่ รหม จริ ปญุ ฺโ ได้สำ� เรจ็ อรหันตภูมิ
ต้ังแต่ครั้งที่ติดตามหลวงปมู่ ่ันมาวิเวกทางภาคเหนอื กอ่ นจะเดนิ ทางกลับภาคอสี าน
ในปี พ.ศ. ๒๔๘๖ สว่ นสถานทสี่ ำ� เรจ็ นน้ั อาจเปน็ ภายในถำ�้ ปมุ้ เป้ ในเขตประเทศพมา่
หรอื แถวตำ� บลโหล่งขอด อำ� เภอพรา้ ว จงั หวัดเชียงใหม่ กย็ งั ไมส่ ามารถชี้ไดช้ ัด
แตท่ แี่ นน่ อนคอื หลวงปพู่ รหมทา่ นจำ� พรรษาอยทู่ ป่ี า่ เมย่ี งแมส่ าย ตำ� บลโหลง่ ขอด
นานถงึ ๓ พรรษา เปน็ ทจ่ี ำ� พรรษานานทส่ี ดุ ในภาคเหนอื ครงั้ แรกตอนพบหลวงปมู่ นั่
ครง้ั แรกจำ� อยู่ ๑ พรรษา และครง้ั หลงั จำ� อยู่ ๒ พรรษาตดิ ตอ่ กนั กอ่ นจะเดนิ ทางกลบั
ภาคอสี าน
130
เล่าถึงหลวงปูพ่ รหมตอนไปอยู่ภาคเหนือ
หลวงป่พู รหม จิรปญุ ฺโ เดนิ ทางไปภาคเหนอื ในปี พ.ศ. ๒๔๗๗ และเดนิ ทาง
กลับภาคอีสานในปี พ.ศ. ๒๔๘๖ รวมเวลาท่ีพกั จำ� พรรษาอยใู่ นภาคเหนอื ๑๐ ปี
จ�ำพรรษาร่วมกบั หลวงปู่มั่น ๒ พรรษา ในปี พ.ศ. ๒๔๘๐ ทว่ี ัดพระธาตจุ อมแจ้ง
อ�ำเภอแม่สรวย เชียงราย และ พ.ศ. ๒๔๘๑ ทีส่ �ำนกั สงฆ์บ้านแมก่ อย อำ� เภอพร้าว
เชียงใหม่ จ�ำพรรษาในพมา่ ๑ พรรษา ในปี พ.ศ. ๒๔๘๒ และจ�ำพรรษาที่ป่าเม่ยี ง
แมส่ าย ๒ คร้ัง รวม ๓ พรรษา นอกนัน้ ก็เป็นทอ่ี ่ืนๆ ส่วนทไี่ ปพำ� นักชัว่ คราวโดย
ไม่ไดจ้ �ำพรรษานน้ั มหี ลายแหง่ ในเขตอ�ำเภอแม่แตง เชยี งดาว พร้าว สารภี จงั หวดั
เชยี งใหม่ และอ�ำเภอแม่สาย แม่สรวย เวียงปา่ เปา้ จงั หวดั เชียงราย เป็นตน้
ผมเคยกราบเรียนถามหลวงพ่อเปลี่ยน ปญฺาปทีโป ถึงสถานที่จ�ำพรรษา
และเหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นกับหลวงปู่พรหมเมื่อคร้ังที่ท่านมาพ�ำนักในภาคเหนือ
ซง่ึ หลวงพอ่ เปลย่ี นไดเ้ ลา่ ใหฟ้ งั ดงั นี้ “ถา้ พดู ถงึ ตอนหลวงปพู่ รหมมาอยนู่ ่ี (วดั บา้ นปง
หรอื วัดอรัญญวิเวก ในปจั จุบนั ) จะมาอยู่ พ.ศ. เท่าไร อาตมาไมค่ อ่ ยม่นั ใจ”
จากขอ้ มลู ในปี พ.ศ. ๒๔๘๐ หลวงปพู่ รหมจำ� พรรษากบั หลวงปมู่ น่ั หลวงปขู่ าว
ท่พี ระธาตุจอมแจง้ อ�ำเภอแมส่ รวย จงั หวดั เชียงราย
“ออ๋ อนั นน้ั ทห่ี นงึ่ ทจ่ี อมแตงอกี ทหี่ นงึ่ หลวงปมู่ น่ั จำ� พรรษาทพี่ ระธาตจุ อมแตง
(อ�ำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่) ท่านอยู่จอมแตงก่อนจึงมาท่ีบ้านปงน่ี แล้วจึงไป
131
เชยี งดาว ไปเมอื งพรา้ ว แลว้ กไ็ ปดงปา่ ดะ ไปแมก่ อย ไปถำ�้ ดอกคำ� ไปดอยนะโม หรอื วา่
หลวงปพู่ รหมกอ็ าจจะตามหลวงปมู่ น่ั ดว้ ย ทา่ นอาจจะตามไปดว้ ยหรอื เปลา่ กไ็ มร่ ู้ แต่
ทแ่ี นน่ อน หลวงปพู่ รหมมาอยทู่ น่ี ี่ ๒ พรรษา (หมายถงึ ทบ่ี า้ นปง หรอื วดั อรญั ญวเิ วก
ในปัจจบุ ัน)”
หลวงพอ่ เลา่ ตอ่ ไป วา่ “...มาอยบู่ า้ นปงนี่ เพนิ่ (หลวงปพู่ รหม) ไปอยปู่ า่ ชา้ ทำ� ตบู
อยู่ที่ป่าช้า (อยู่ข้างนอกวัด) ตอนในพรรษาท่านก็อยู่ (ในป่าช้า) เพราะยังไม่ได้
ตง้ั เปน็ วดั ทา่ นอยไู่ หนกไ็ ด้ แตจ่ ะมาฉนั ขา้ วทน่ี ี่ (ศาลาฉนั อยใู่ นวดั ) แลว้ กไ็ ปพกั ทโี่ นน่
(ปา่ ชา้ ) ทนี ต้ี อนไปถำ้� เชยี งดาว ดเู หมอื นทา่ นจะไมไ่ ดจ้ ำ� พรรษา คงไปพกั ชว่ งหนา้ แลง้
เฉยๆ ออกจากนัน้ จึงไปพรา้ ว ออกจากเมอื งพร้าวแลว้ หลวงป่พู รหมไปอย่ปู ่าเม่ียง
แม่สาย ๒ พรรษา (อยู่ในตำ� บลโหล่งขอด อำ� เภอพร้าว จังหวดั เชยี งใหม่)
อยปู่ า่ เมย่ี งแมส่ าย ทา่ นไปโปรดแมส่ ม แมส่ มแกมที า่ ทางเหมอื นผชู้ าย ใจนกั เลง
ข่ีม้าเหมือนคาวบอยเลย แกเปน็ หวั หนา้ หมบู่ ้าน เปน็ คนมีเงินมาก มโี ค มีกระบอื
มสี วนเมย่ี งมาก แล้วขัดมีดแหลม (พกมีด) เล่นไพ่ ผัวพดู ข้นึ มาไมไ่ ด้ จะแทงผัวอยู่
นนั่ แหละ เป็นคนดุๆ ทนี หี้ ลวงปพู่ รหมไปอยทู่ นี่ น่ั ไปอยู่กฏุ นิ ้อยๆ อยแู่ ล้วกท็ รมาน
แม่สมให้หยุดเล่นไพ่เลน่ อะไร แม่สมกเ็ ลือ่ มใสหลวงปู่ หลวงปูเ่ ทศนใ์ หฟ้ งั
แต่ตอนหลังเมื่อหลวงปู่กลับไปอีสานแล้ว ผู้ท่ีมาทรมานแม่สมให้อยู่จริงคือ
มหาสทุ ธิ์ เคยไปอยกู่ บั อาจารย์ทองสกุ (หลวงพอ่ ทองสุก อุตตฺ รปุญโฺ เจา้ อาวาส
องคแ์ รกของวดั ปา่ อาจารยม์ น่ั ) ทา่ นมหาสทุ ธไ์ิ ปอยกู่ ใ็ หแ้ มส่ มรกั เหมอื นลกู พอรกั แลว้
จึงศอกกลบั เหมอื นนกั มวย ดดั หลงั แม่สมจนเลิกทกุ อย่างเลย เล่นไพเ่ ลน่ การพนัน
อะไรๆ เลิกหมด มมี านะทฐิ กิ ิเลสตา่ งๆ เลกิ หมด ทา่ นมหาสุทธไิ์ ปมรณภาพทนี่ ่นั
ไปเล่ือยไม้จะท�ำศาสา โดนไม้ดีดมาตีท่าน ท่านกับอาจารย์ทองสุกท�ำด้วยกันอยู่ที่
ป่าเมยี่ งแมส่ าย
ทางหลวงปูพ่ รหมออกจากปา่ เมีย่ งแม่สาย ท่านก็กลับไปภาคอีสาน...”
132
แนะน�ำสถานท่ภี าวนาในภาคเหนอื
หลวงป่พู รหม จิรปญุ ฺโ แนะน�ำหลวงปู่จามเก่ียวกบั สถานที่เหมาะสมในการ
ภาวนาว่า ทางภาคเหนือมสี ถานทสี่ ำ� หรับภาวนาดกี วา่ ทางภาคอสี าน ซ่ึงหลวงปจู่ าม
ไดน้ ำ� มาเล่าต่อ ดงั น้ี
“อีกเรอื่ งหนงึ่ เพนิ่ เลา่ ให้ฟัง เพน่ิ ครอู าจารย์มน่ั เล่าวา่ เมอื งเหนือเสาะหาภาวนา
ดีกว่าเมืองอีสานหรือภาคกลาง เหตุเพราะว่าศาสนาของพระพุทธเจ้าทั้งหลายมาตั้ง
มาวางอยทู่ างเมืองเหนอื นีม้ าหลายพุทธเจ้าแล้ว”
ทนี พ้ี อไปพบปะทา่ นครอู าจารยข์ าว (หลวงปขู่ าว อนาลโย) อยบู่ า้ นแมห่ นองหาน
(อำ� เภอสนั ทราย) จงึ ไดร้ วู้ า่ (หลวงปพู่ รหมกบั หลวงปขู่ าว) เคยไดอ้ ยจู่ ำ� พรรษารว่ มกนั
อยแู่ มส่ าย อยเู่ วยี งปา่ เปา้ อยบู่ า้ นปง (วดั อรญั ญวเิ วก อ.แมแ่ ตง) กบั เพนิ่ ครอู าจารยม์ นั่
นน่ั เอง ทบี่ อกหมคู่ ณะวา่ “ทา่ นพรหมเคยบวชเปน็ เณรนอ้ ยพระอปุ คตุ มากอ่ น” อนั น้ี
ท่านอาจารย์ขาวเลา่ สู่ฟัง”
หลวงปูจ่ ามเล่าถึงครบู าจารย์ท่ที า่ นเคยไปอยูป่ ฏบิ ัตภิ าวนาดว้ ยมีหลายองค์
“การอยเู่ มืองเหนอื ของผขู้ ้าฯ นี้ ไดร้ บั ประโยชนก์ ับครบู าอาจารยก์ ม็ ีครอู าจารย์
พรหม ครูอาจารย์ขาว ทา่ นอาจารยแ์ หวน (สุจิณโฺ ณ) ทา่ นอาจารย์ต้อื (อจลธมโฺ ม)
ท่านอาจารย์น้อย (สุภโร) อีกองค์ก็ท่านอาจารย์ลี (ธมฺมธโร) แต่อยู่ด้วยกันนาน
ก็ท่านอาจารย์ชอบ (€านสโม) ไปไหนมาไหนด้วยกัน ธรรมไม่ได้ แต่ได้นิสัยกับ
ทา่ นอาจารย์ชอบ เพนิ่ ว่าสอนนอ้ ย แตท่ ำ� ให้ดูเสยี โดยมาก”
133
พูดถึงอุบายการภาวนา
เกี่ยวกับเรื่องการภาวนา โดยเฉพาะเร่ืองสมถะและวิปัสสนากรรมฐานนั้น
หลวงปพู่ รหมไดแ้ นะนำ� หลวงปู่จาม ดังน้ี
หลวงปู่พรหมเล่าว่า “...(ตอนแรก) สมถะพอท�ำได้ แต่วิปัสสนายังแจ้งมิได้
พจิ ารณาอยเู่ สมอกย็ ังไม่แจ้ง”
หลวงปจู่ ามถามวา่ “ทา่ นอาจารย์ท�ำอย่างใด”
คำ� ตอบของหลวงปพู่ รหม คอื “ทำ� ควบคกู่ นั ไป เอาทงั้ ความสงบ เอาทงั้ การพจิ ารณา
บางคร้ังก็พิจารณาไตรลักษณ์ก่อน พิจารณาจนติดจนดับแล้วก็หยุดไว้ มาท�ำ
จิตใหส้ งบ แตจ่ ิตของเรามนั ตดิ ความสงบ มันชอบความสงบ อยู่ในความสงบนาน
เพนิ่ อาจารยใ์ หญ่ (หลวงปูม่ ่นั ) กว็ า่ ปล่อยให้มันเป็นไปกอ่ น น่ีก็ปลอ่ ยมาเปน็ ปแี ลว้
ก็ยงั อยูข่ องเกา่ อยา่ งเดิม เปน็ อยา่ งเดมิ ...”
ทา่ นอาจารยพ์ รหมเพนิ่ วา่ ไว้ คยุ กนั หลายเรอื่ ง เรอ่ื งโลกฉายาเพน่ิ วา่ “จริ ปญุ โฺ
เปน็ ผใู้ หญบ่ า้ น สองผวั เมยี ไมม่ ลี กู แลว้ กส็ ละทง้ิ หมดพากนั มาบวช ทา่ นอาจารยพ์ รหม
เปน็ คนบา้ นตาล อำ� เภอสวา่ ง (แดนดนิ ) ไปสเู่ มยี บา้ นดงเยน็ ไดเ้ มยี คนแรกออกลกู ตาย
มาไดเ้ มยี คนทส่ี องอกี อยกู่ นั หลายปไี มม่ ลี กู เปน็ ลกู ศษิ ยเ์ พน่ิ ครอู าจารยส์ าร (ธมมฺ สาโร)
คนอำ� เภอมว่ งสามสบิ เมอื งอุบลฯ ครูอาจารย์สารไปโปรดเอาจนสละบวชได้
134
กอ่ นเพน่ิ บวชเปน็ นายฮอ้ ยคา้ ควายคา้ โคไปไทย เอาของปา่ ของดงไปขายอยโู่ คราช
เปน็ คนมง่ั มเี ปน็ คนรวยในยคุ สมยั นน้ั สละออกสรา้ งเปน็ วดั เปน็ ผใู้ หญบ่ า้ น เพนิ่ ถอื
เอาอยา่ งพระเวสสนั ดร สละใหท้ านจนหมด ใครอยากไดอ้ ะไรกเ็ อาไป แตพ่ วกเครอ่ื งดกั
เครอื่ งยงิ เครอ่ื งเบยี ดเบยี นชวี ติ สตั วบ์ กสตั วน์ ำ้� เพนิ่ เผาไฟทงิ้ ทำ� ลายหมด ไมใ่ หใ้ คร
ให้เมียบวชก่อนตัว เพิ่นเองบวชทีหลัง ถืออุปัชฌาย์องค์เดียวกันกับผู้ข้าฯ
ทา่ นเจา้ คณุ วดั โพธฯิ เมอื งอดุ ร (พระธรรมเจดยี ์ จมู พนธฺ โุ ล วดั โพธสิ มภรณ์ ในเมอื ง
อดุ รธาน)ี บวชแลว้ กธ็ ดุ งคไ์ ปกบั ทา่ นอาจารยส์ าร ไปอบุ ลฯ ไปโคราช ไปหลวงพระบาง
ไปจ�ำปาสัก แล้วขน้ึ ไปตดิ ตามหาเพน่ิ ครูอาจารย์มั่นถงึ เมอื งเชยี งใหม่
ชอบปฏบิ ตั เิ นสชั ชกิ (เวน้ การนอนไมใ่ หห้ ลงั ตดิ พน้ื ถอื อริ ยิ าบถ ๓ คอื ยนื เดนิ
นัง่ ) อยูก่ ับท่านอาจารย์สาร (ธมมฺ สาโร) อยูก่ บั เพน่ิ ครูอาจารย์มั่นหลายท่ีหลายแห่ง
เพนิ่ ครอู าจารยม์ นั่ แนะอบุ ายให้ แลว้ กไ็ ลใ่ หอ้ อกจากหมไู่ ป เฒา่ แกแ่ ลว้ ใหฟ้ า่ ว (รบี เรง่ )
แก้ไขตัวเอง เดินธุดงค์ไปถึงเชียงตุง กลับออกมาไปอยู่กับศรัทธาชาวพม่าเขาดูแล
เพนิ่ เลา่ ใหฟ้ งั อยใู่ นถำ้� พวกพมา่ เขาฮอ้ งถำ้� ปู เพราะลำ� หว้ ยขา้ งถำ�้ มกี ะปแู ดง กะปคู าย
ตัวแดง อยู่อาศยั ...”
135
กลับอสี าน ไดร้ บั ค�ำชมจากหลวงปู่มัน่
ปี พ.ศ. ๒๔๘๖ เป็นปสี ดุ ทา้ ยหลวงปพู่ รหม จริ ปุญโฺ อ�ำลาภาคเหนอื ท่านได้
เดินธุดงค์มาทางภาคอีสานในเดือนอ้าย คือ ธันวาคม ในปีน้ันรวมเวลาท่ีท่านพัก
จำ� พรรษาในภาคเหนอื ๑๐ ปพี อดี เมอื่ มาถงึ ภาคอสี านแลว้ กไ็ ดไ้ ปสมทบกบั หลวงปมู่ นั่
ภรู ทิ ตโฺ ต พระอาจารยข์ องทา่ นทว่ี ดั ปา่ สทุ ธาวาส จงั หวดั สกลนคร และไดอ้ ยจู่ ำ� พรรษา
ทีน่ ั่น ๑ พรรษา (พ.ศ. ๒๔๘๗)
เมอ่ื หลวงปพู่ รหมเขา้ ไปกราบหลวงปมู่ น่ั นน้ั มพี ระเณรอยใู่ นทน่ี นั้ เปน็ จำ� นวนมาก
หลงั จากใหโ้ อวาทแลว้ หลวงปมู่ น่ั ไดถ้ ามพรอ้ มทงั้ กลา่ วยกยอ่ งหลวงปพู่ รหมทา่ มกลาง
ท่ีประชุมสงฆ์นั้น หลวงปู่ม่ันถามหลวงปู่พรหมข้ึนว่า “ท่านพรหม มาแต่ไกลเป็น
อยา่ งไรบา้ ง การพจิ ารณากายการภาวนากด็ ี เปน็ อยา่ งไร” หลวงปพู่ รหมกราบเรยี นวา่
“ไม่มีอกถังกถีแล้ว” (สิ้นสงสัยหมดแล้ว) หลวงปู่มั่นไดย้ กยอ่ งชมเชยหลวงปพู่ รหม
ตอ่ หนา้ พระเณรท้งั หลายวา่ “ทา่ นพรหมเปน็ ผมู้ ีสติ ทกุ คนควรเอาอยา่ ง”
ในปนี น้ั หลวงปมู่ นั่ ทา่ นจะยา้ ยทไ่ี ปจำ� พรรษาทส่ี ำ� นกั สงฆบ์ า้ นนามน ตำ� บลตองโขบ
อำ� เภอเมอื ง สกลนคร (ปจั จบุ นั คอื วดั ปา่ นาคนมิ ติ ต์ อยใู่ นพนื้ ทอี่ ำ� เภอโคกศรสี พุ รรณ
มีหลวงปู่อว้าน เขมโก เป็นเจ้าอาวาส) หลวงปู่พรหมได้ติดตามหลวงปู่มั่นไปท่ี
บ้านนามนด้วย ตง้ั ใจวา่ จะอย่จู ำ� พรรษาร่วมกับพระอาจารย์ ณ สำ� นกั สงฆแ์ หง่ นน้ั
แต่ทางด้านวัดป่าสุทธาวาสซึ่งเป็นวัดใหญ่และส�ำคัญในขณะน้ัน ไม่มีเจ้าอาวาสอยู่
136
ปกครองวัด อาจท�ำให้พระเณรเรรวนได้ หลวงปู่มั่นจึงมอบหมายให้หลวงปู่พรหม
อยู่ดูแลเป็นการชั่วคราวจนกว่าจะมีเจ้าอาวาสที่เหมาะสม หลวงปู่มั่นได้พูดกับ
หลวงปพู่ รหมในเชงิ ปรกึ ษา วา่ “เออ พรหม วดั สทุ ธาวาสกเ็ ปน็ วดั หลกั ทางฝา่ ยกรรมฐาน
มาดั้งเดิม ทนี ี้เจ้าอาวาสก็ไมม่ ี ท่านจะจำ� พรรษาที่น่ันก็สงบดีอยูน่ ะ”
เพียงพระอาจารย์ใหญ่พูดแค่นี้ หลวงปู่พรหมจึงได้กลับไปจ�ำพรรษาที่วัด
ปา่ สทุ ธาวาส ในปี พ.ศ. ๒๔๘๗ หลวงปมู่ อี ายุ ๕๖ ปี และเปน็ พรรษาที่ ๑๙ ของทา่ น
พอออกพรรษาแลว้ ทา่ นกก็ ลบั ไปพำ� นกั ทสี่ ำ� นกั สงฆบ์ า้ นนามน ทๆ่ี หลวงปมู่ นั่ พำ� นกั
อยทู่ บ่ี า้ นนามนนเี้ อง หลวงปพู่ รหมจงึ ไดใ้ กลช้ ดิ สนทิ สนมกบั ทา่ นหลวงตาพระมหาบวั
าณสมปฺ นโฺ น
137
ขออนญุ าตหลวงปู่มั่นสรา้ งกฏุ ิ
เมอ่ื จวนจะเขา้ พรรษาปี พ.ศ. ๒๔๘๘ หลวงปมู่ น่ั ภรู ทิ ตโฺ ต และคณะศษิ ย์ ไดย้ า้ ย
ไปพกั จำ� พรรษาทว่ี ดั ปา่ บา้ นหนองผอื (วดั ภรู ทิ ตั ตถริ าวาส) ตำ� บลนาใน อำ� เภอพรรณานคิ ม
จงั หวดั สกลนคร แลว้ พำ� นกั อยทู่ ว่ี ดั แหง่ นจ้ี นถงึ วาระสดุ ทา้ ยของทา่ นในปี พ.ศ. ๒๔๙๒
ในช่วงแรก หลวงปู่พรหมก็ไดต้ ิดตามมาที่วัดป่าบา้ นหนองผือด้วย แต่ท่านไม่ไดอ้ ยู่
จ�ำพรรษา ณ วดั แห่งน้ี รายละเอียดอยใู่ นบันทึกทนี่ �ำเสนอต่อไปนี้
ดว้ ยเมอ่ื วนั ที่ ๒๓ เมษายน ๒๕๔๙ กระผมไดข้ อโอกาสกราบเรยี นหลวงตาบญุ หนา
ธมมฺ ทนิ โน วดั ปา่ บา้ นหนองโดก (วดั ปา่ โสตถผิ ล) อำ� เภอพรรณานคิ ม จงั หวดั สกลนคร
เล่าเร่ืองเกี่ยวกับหลวงปู่พรหม จิรปุญฺโ เมื่อคร้ังท่ีหลวงตาบุญหนาเป็นสามเณร
ตดิ ตามหลวงปอู่ อ่ น าณสริ ิ ไปกราบหลวงปมู่ น่ั ทวี่ ดั ปา่ บา้ นหนองผอื (วดั ภรู ทิ ตั ตถริ าวาส)
ตำ� บลนาใน อำ� เภอพรรณานคิ ม
หลวงตาบญุ หนาเลา่ วา่ เมอื่ ประมาณปี พ.ศ. ๒๔๘๙-๒๔๙๐ ทา่ นยงั เปน็ สามเณร
อายุ ๑๕-๑๖ ปี เปน็ ศษิ ย์หลวงปอู่ อ่ น และตดิ ตามหลวงปู่อ่อนไปกราบหลวงป่มู ั่น
ทวี่ ดั ปา่ บา้ นหนองผอื โดยออกเดนิ ทางตงั้ แตฉ่ นั อาหารเชา้ เสรจ็ ประมาณ ๐๙.๐๐ น.
ไปถงึ วดั ปา่ บา้ นหนองผอื ประมาณ ๑๕.๐๐ น. กใ็ ชเ้ วลาเดนิ ทาง ๖ ชว่ั โมง ในชว่ งนนั้
พระสายปฏิบตั กิ รรมฐานจะมงุ่ หนา้ เข้าสู่วดั ป่าบ้านหนองผอื เชน่ เดยี วกัน
หลวงปู่พรหมท่านพักอยู่ใต้ต้นไม้ ปักกลด มีแคร่ไม้ไผ่เล็กๆ เป็นพ้ืนนอน
พอหลายๆ วนั เขา้ หลวงปพู่ รหมทา่ นอยากจะขอสรา้ งกฏุ ิ ประกอบกบั ทา่ นเคยเปน็ ชา่ ง
138
เคยมคี รอบครวั เปน็ นายฮอ้ ยหวั หนา้ ขายววั ควาย กอ่ นทจ่ี ะบวช ทา่ นไดแ้ จกขา้ วของ
เงนิ ทองไรน่ าใหก้ บั ชาวบา้ น ยกเวน้ เครอ่ื งมอื จบั สตั วล์ า่ สตั ว์ ทา่ นจะนำ� ไปฝงั ดนิ หรอื
เผาท้งิ หมด (หลวงปู่อ่อนเลา่ ใหฟ้ ัง) ครงั้ แรก หลวงปพู่ รหมขอหลวงป่มู นั่ สร้างกุฏิ
เปน็ กระตอ๊ บเลก็ ๆ พอใหเ้ ปน็ ทพ่ี กั ได้ เนอ่ื งจากใกลจ้ ะเขา้ ฤดฝู นหรอื ฤดหู นาวนแ้ี หละ
จ�ำไม่ได้
หลวงปมู่ น่ั ไมพ่ ดู นงั่ เฉย จะอนญุ าตกไ็ มพ่ ดู จะไมอ่ นญุ าตกไ็ มบ่ อก มแี ตบ่ อกให้
ไปภาวนา วนั ตอ่ มากข็ ออกี ทา่ นกไ็ มพ่ ดู อกี บอกใหไ้ ปภาวนาอกี วนั ทสี่ ามขออกี ครงั้
หลวงป่มู ัน่ บอกว่า “อยากจะทำ� กท็ �ำซะ แตท่ ำ� ให้เสรจ็ ในวันน้”ี
จากนั้นก็บอกพระเณรชาวบ้านร่วมมือช่วยกันท�ำหาวัสดุอุปกรณ์ บ้างก็ไปตัด
ไม้ไผม่ าท�ำพนื้ ท�ำผนังใบตอง มงุ หลังคาดว้ ยหญ้าคา บันไดทำ� จากไม้ไผ่ พอถงึ เย็น
กเ็ สรจ็ กราบเรยี นหลวงปมู่ น่ั ทา่ นกบ็ อกวา่ “อยากไดก้ ฏุ ิ สรา้ งเสรจ็ แลว้ จะทำ� อะไรอกี
ไปภาวนานะทนี ้.ี ..”
การอยทู่ ว่ี ดั ปา่ บา้ นหนองผอื พระทอ่ี าวโุ สแลว้ หรอื มพี รรษามากๆ ปกตจิ ะไมไ่ ด้
อยูป่ ระจ�ำกบั หลวงปู่ม่นั จะใหแ้ ตพ่ ระหนมุ่ ท่พี รรษานอ้ ยๆ อยู่ด้วย เช่น หลวงตา
พระมหาบวั าณสมปฺ นโฺ น พระอาจารยว์ นั อตุ ตฺ โม หลวงปหู่ ลา้ เขมปตโฺ ต หลวงปศู่ รี
มหาวโี ร หลวงปเู่ จยี๊ ะ จนุ โฺ ท หลวงปคู่ ำ� พอง ตสิ โฺ ส เปน็ พระหนมุ่ กวา่ เพอ่ื นในตอนนนั้
หลวงตาทองคำ� จารวุ ณโฺ ณ หลวงพ่อวริ ยิ ังค์ สิรนิ ธฺ โร เป็นต้น
ถา้ พระเณรอยกู่ นั จำ� นวนมากๆ ชาวบา้ นกเ็ ลย้ี งดไู มไ่ หว เพราะเปน็ หมบู่ า้ นเลก็ ๆ
มีไม่ก่ีหลังคาเรือน พระส่วนใหญ่จะเข้ามากราบและฟังค�ำสอนจากหลวงปู่ม่ันแล้ว
กอ็ อกไป จะอยปู่ ระจำ� กไ็ มม่ กี ฏุ พิ อจะใหอ้ ยู่ พระทอี่ าวโุ สพรรษามากๆ กแ็ ยกออกไป
สร้างวัดอยู่ใกล้ๆ พอไปมาหาสู่มารับค�ำสอนและอุปัฏฐากพระอาจารย์ใหญ่เป็นคร้ัง
เป็นคราว รวมท้ังคอยช่วยอบรมขัดเกลาพระเป็นช้ันต้นก่อนที่จะเข้าหาหลวงปู่ม่ัน
คอื ทำ� หนา้ ทเี่ ปน็ ดา่ นหนา้ ชว่ ยแบง่ เบาภาระหลวงปมู่ น่ั ในการอบรมสง่ั สอนแกพ่ ระเณร
ท่ีมาใหม่ เช่น หลวงปู่อ่อน ก็ไปสร้างวัดป่าหนองโดก (วัดป่าโสตถิผล) อ�ำเภอ
139
พรรณานิคม หลวงตาพระมหาบัวไปสร้างวัดป่าบ้านกุดไห (วัดป่าญาณสัมปันโน)
เพ่ือไว้ส�ำหรับปลีกออกมาบ�ำเพ็ญภาวนาระหว่างอยู่ดูแลหลวงปู่มั่น พระอาจารย์กู่
ธมมฺ ทนิ โฺ น กไ็ ปสรา้ งวดั ป่าบา้ นโคกมะนาว อยใู่ กลก้ บั บา้ นกดุ ไห หลวงปฝู่ น้ั อาจาโร
ไปสร้างวัดป่าภูธรพิทักษ์ บ้านธาตุนาเวง อ�ำเภอเมือง สกลนคร หลวงปู่พรหม
จิรปุญฺโ หลวงป่นู ิน และหลวงปู่ผ่าน ปญฺญาปทีโป ไปสร้างวัดปา่ ปทีปปญุ ญาราม
บา้ นเซอื ม อ�ำเภออากาศอ�ำนวย จงั หวดั สกลนคร เปน็ ตน้
หลวงปบู่ ญุ หนาเลา่ อกี วา่ ในตอนนน้ั ทา่ นไดพ้ บกบั พระเถระลกู ศษิ ยห์ ลวงปมู่ นั่
หลายรปู เปน็ ตน้ วา่ หลวงปขู่ าว อนาลโย หลวงปชู่ อบ €านสโม หลวงปบู่ วั สริ ปิ ณุ โฺ ณ
หลวงปอู่ อ่ นสา สุขกาโม พระอาจารยก์ ว่า สุมโน เปน็ ตน้ ไมเ่ จอแต่หลวงปแู่ หวน
สจุ ณิ โฺ ณ (เพราะทา่ นพกั จำ� พรรษาทเ่ี ชยี งใหมจ่ นตลอดชวี ติ ไมไ่ ดก้ ลบั มาภาคอสี านอกี )
หลงั จากนนั้ อกี ๓ ปี คอื ปี พ.ศ. ๒๔๙๒ หลวงปมู่ นั่ กม็ รณภาพ ตามทพ่ี วกเราทราบกนั
ดแี ล้ว
ในปนี น้ั หลงั จากหลวงปพู่ รหม จริ ปญุ โฺ ไดร้ บั อนญุ าตใหส้ รา้ งกฏุ ทิ พี่ กั สำ� หรบั
องค์ท่านเอง ซ่ึงหลวงปู่มั่นบอกให้สร้างให้เสร็จในวันเดียวดังกล่าว แต่สุดท้าย
หลวงปู่พรหมได้พิจารณาแล้วเห็นว่าท่านเองไม่ควรจะพักจ�ำพรรษากับหลวงปู่ม่ัน
แตค่ วรจะแยกไปหาทจี่ ำ� พรรษาในสถานทๆ่ี ไมห่ า่ งไกลนกั เปน็ การชว่ ยแบง่ เบาภาระ
พระอาจารย์ด้วยการช่วยอบรมพระเณรที่สนใจด้านปฏิบัติภาวนา เป็นการช่วย
กลนั่ กรองและเตรยี มตวั พระเณรกอ่ นทจี่ ะไปขอรบั คำ� แนะนำ� จากองคห์ ลวงปมู่ น่ั ตอ่ ไป
140
พ�ำนักประจ�ำท่ีวัดป่าบา้ นดงเยน็
กอ่ นท่มี าอยู่ประจ�ำท่วี ัดประสิทธธิ รรม บา้ นดงเย็น น้ี หลวงปู่พรหม จิรปุญฺโ
เคยเป็นเจ้าอาวาสและจ�ำพรรษาที่วัดป่าธาตุนาเวง ซึ่งอยู่ชานเมืองจังหวัดสกลนคร
มากอ่ น แตไ่ มส่ ามารถหาขอ้ มลู ไดว้ า่ ทา่ นพกั อยทู่ น่ี นั่ นานเทา่ ไร ทราบเพยี งวา่ หลวงปฝู่ น้ั
อาจาโร มาเปน็ เจา้ อาวาสวดั แหง่ นตี้ อ่ จากหลวงปพู่ รหม ในสมยั ทหี่ ลวงปพู่ รหมเป็น
เจ้าอาวาสอยู่น้ัน วัดป่าธาตุนาเวงตั้งอยู่ในป่าดงดิบชานเมืองสกลนคร อยู่ใกล้กับ
โรงเรียนพลตำ� รวจเขต ๔ และในระยะต่อมากลายเป็นทต่ี ้ังของวทิ ยาลยั ครูสกลนคร
พฒั นามาเป็นมหาวทิ ยาลัยราชภฏั สกลนคร ในปจั จบุ นั
หลวงปฝู่ น้ั มาเปน็ เจา้ อาวาสและจำ� พรรษาทวี่ ดั ปา่ ธาตนุ าเวงตง้ั แตป่ ี พ.ศ. ๒๔๘๘
จนถงึ พ.ศ. ๒๔๙๖ รวม ๙ พรรษา และไดเ้ ปลยี่ นชอื่ วดั เปน็ วดั ปา่ ภธู รพทิ กั ษ์ ต้ังชอื่
ตามหนว่ ยงานทอ่ี ยใู่ กลแ้ ละใหค้ วามอปุ ถมั ภว์ ดั ไดแ้ ก่ โรงเรยี นพลตำ� รวจ เขต ๔ นน่ั เอง
สำ� หรบั การมาพกั ประจำ� ทบ่ี า้ นดงเยน็ ขององคห์ ลวงปพู่ รหมนนั้ ในหนงั สอื ประวตั ขิ องทา่ น
ได้เขยี นบรรยายไว้ในลกั ษณะรวมๆ ดงั นี้
“ครนั้ กาลตอ่ มา ทา่ นอาจารยพ์ รหมไดก้ ลบั จากการอยใู่ กลช้ ดิ ทา่ นอาจารยใ์ หญม่ น่ั
ทห่ี นองผอื นาใน มาอยทู่ บ่ี า้ นดงเยน็ อนั เปน็ ถนิ่ เดมิ ไดพ้ าญาตโิ ยมสรา้ งวดั ประสทิ ธธิ รรม
พรอ้ มดว้ ยสรา้ งถาวรวตั ถขุ น้ึ ภายในวดั เปน็ จำ� นวนมาก เชน่ สรา้ งกฏุ ิ วหิ าร ศาลาการเปรยี ญ
บอ่ นำ�้ ภายในวดั และนอกวดั พาญาตโิ ยมทำ� ถนนหนทางสรา้ งโรงเรยี นประชาบาลบา้ น
ดงเย็น และสรา้ งสะพานข้ามลำ� น�ำ้ สงคราม เป็นสาธารณประโยชน์ไว้มากมาย
141
นอกจากท่านได้สร้างและอยู่จ�ำพรรษาท่ีวัดประสิทธิธรรม บ้านดงเย็น แล้ว
ทา่ นยงั ไดท้ ำ� ประโยชน์แก่ชุมชนใกลเ้ คียงทัง้ ทางวัดและทางบา้ น บางปที า่ นจำ� พรรษา
ทวี่ ดั บ้านถอ่ น ต�ำบลโพนสูง (อ�ำเภอสวา่ งแดนดิน สกลนคร) สร้างโบสถ์ วหิ าร
ศาลาการเปรียญ กุฎี และสะพานข้ามทงุ่ นาจากบา้ นไปวัด ยาวประมาณ ๑๑ เส้น
บางปจี ำ� พรรษาทว่ี ดั ตาลนมิ ติ บา้ นตาล (อำ� เภอสวา่ งแดนดนิ สกลนคร) ซง่ึ เปน็
มาตภุ ูมขิ องท่าน สร้างกฎุ ี วิหาร ตอ่ มาสงฆไ์ ด้พากนั ผกู เปน็ พทั ธสีมาใช้ในสงั ฆกรรม
จนกระทงั่ ปจั จบุ นั น้ี นบั วา่ ทา่ นบำ� เพญ็ ประโยชนต์ นและประโยชนค์ นอนื่ ไดส้ มบรู ณย์ งิ่
ยากทผี่ อู้ น่ื จะทำ� ไดเ้ หมอื นอยา่ งทา่ น จงึ เปน็ ทเ่ี คารพกราบไหวบ้ ชู าของผมู้ งุ่ ประโยชนส์ ขุ
โดยท่ัวไป”
142
หลวงปู่พรหมถือสจั จะ
พ.ศ. ๒๕๐๔ พรรษา ๓ หลวงพอ่ เปลยี่ นกลับไปจ�ำพรรษาท่วี ดั บา้ นทงุ่ สวา่ ง
(ต.โคกสี อ.สวา่ งแดนดนิ สกลนคร) บา้ นเกดิ ของท่าน มโี อกาสไปปฏิบตั ธิ รรมและ
อปุ ัฏฐากหลวงป่พู รหมท่ีวัดประสิทธธิ รรมได้มากข้นึ
“หลวงปพู่ รหม สว่ นมากสอนธรรมะ แมท้ ำ� อะไรทกุ อยา่ งคนอนื่ ทำ� ไมไ่ ด้ เหมอื น
ตอนไปอย่บู ้านดงเยน็ อาตมาไปอยดู่ ว้ ยหลวงปู่ พระองค์อื่นบอกวา่ อาจารย์บวั บอก
“อยา่ ไปทำ� แบบหลวงปู่ เดย๋ี วฟา้ ผา่ หวั นะ” (หมายความวา่ จะโดนหลวงปเู่ อด็ เอา) สมมตวิ า่
อยสู่ ระนำ้� มปี ลาเยอะ หลวงปจู่ ะปน้ั ขา้ วปน้ั ใหญๆ่ โยนใหป้ ลากนิ โยนเลยี้ งปลา อาตมา
นงั่ (ฉนั ) อยเู่ กอื บหางแถวอยใู่ กลๆ้ ปลา (ศาลาวดั ประสทิ ธธิ รรม ในสมยั ของหลวงปู่
เป็นศาลากลางน้�ำ มีปลาอยู่จ�ำนวนมากมาย โดยปกติมีเฉพาะหลวงปู่เท่าน้ันท่ีปั้น
ขา้ วเหนยี วโยนใหอ้ าหารปลาเวลาพระฉนั พระเณรองคอ์ น่ื ๆ ไมม่ ใี ครกลา้ ทำ� ตามหลวงปู่
เพราะกลวั จะถูกเอด็ เอา)
หลวงปนู่ งั่ อยหู่ วั แถว เพน่ิ ปน้ั ๆ (ขา้ วเหนยี ว) แลว้ โยมตม้ั ลงนำ�้ ปลามาแยง่ กนั กนิ
อาตมาอยู่ใกล้ๆ หางแถว พระนั่งเรียงกันมาเป็นแถวโค้ง หลวงปู่ก็มองเห็นอยู่
อาตมากป็ น้ั ขา้ วโยนใหป้ ลากนิ หลวงปทู่ า่ นมองหนา้ ยมิ้ ไมเ่ หน็ ดา่ สกั ที นา่ จะดา่ กไ็ มด่ า่
เพิ่นไม่ไดด้ า่ มันไม่ไดผ้ ดิ ศีลอะไร การเล้ียงอาหารปลาเพิ่นจะด่าอะไร อาตมาคิดนะ
เพราะไม่ได้ทำ� อะไรผิด
143