ทา่ นผอู้ า่ นคงทราบกันดแี ล้ววา่ แตเ่ ดมิ วดั แหง่ น้เี รยี กวา่ “วัดรา้ งปา่ แดง” หรือ
“ที่พกั สงฆ์บา้ นแม่กอย” มอี งคห์ ลวงปมู่ ่นั ผูเ้ ป็นพระอาจารย์ เปน็ ประธานสงฆ์ และ
หลวงปูพ่ รหมเป็นเจ้าสำ� นกั ในสมัยนัน้ (พ.ศ. ๒๔๘๑)
ทต่ี ้งั กุฏิของหลวงปพู่ รหมและกุฏิสงฆ์ทัง้ หลาย ปจั จบุ นั อยู่ในบริเวณทเ่ี ป็นวดั
แม่กอย ซึ่งสังกัดคณะสงฆม์ หานิกาย ส่วนกุฏทิ ่พี ักขององคห์ ลวงปู่ม่นั อยอู่ กี ฝั่งหนึ่ง
ของลำ� หว้ ยแมก่ อย ปจั จบุ นั กลายเปน็ สว่ นหนง่ึ ของวดั ปา่ อาจารยม์ นั่ (ภรู ทิ ตโฺ ต) สงั กดั
คณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย ยังเหลอื วตั ถอุ นสุ รณ์คือทางเดินจงกรมของท่าน รวมทัง้
ได้กอ่ สรา้ งพระมหาธาตุมณฑปอนสุ รณ์บรู พาจารย์ฯ ในบรเิ วณน้ดี ว้ ย
ส�ำหรับท่ีต้ังของศาลาใหญ่และเขตสังฆาวาสของวัดป่าอาจารย์มั่นในปัจจุบัน
เปน็ ท่ีดนิ ท่หี ลวงปู่สิม พทุ ธฺ าจาโร ไดน้ ำ� คณะศรัทธาญาติโยมทำ� การซื้อสวนลำ� ไยเดิม
แลว้ จดั ตง้ั เปน็ วดั ขนึ้ ใหม่ โดยองคห์ ลวงปสู่ มิ เปน็ ผใู้ หช้ อ่ื วดั ทต่ี งั้ ใหมน่ วี้ า่ วดั ปา่ อาจารย์
มน่ั (ภูรทิ ตฺโต)
รปู หลอ่ เหมอื นของหลวงปพู่ รหม จริ ปญุ โฺ ประดษิ ฐานทศี่ าลาใหญ่ ดว้ ยเหตนุ ้ี
จงึ ถอื วา่ หลวงปพู่ รหม จริ ปญุ โฺ เปน็ พระบรู พาจารยอ์ งคส์ ำ� คญั ของวดั ปา่ อาจารยม์ นั่
(ภูรทิ ตโฺ ต) องคห์ นงึ่ ดว้ ย
สำ� นกั สงฆท์ ห่ี ลวงปพู่ รหม จริ ปญุ โฺ พกั จำ� พรรษาประจำ� เปน็ เวลานานตราบจน
ช่วงสดุ ทา้ ยของชีวิต คอื วัดประสิทธธิ รรม บ้านดงเย็น ต�ำบลดงเย็น อำ� เภอบา้ นดุง
จังหวัดอดุ รธานี
ทา่ นละสงั ขารเขา้ สแู่ ดนอนปุ าทเิ สสนพิ พาน เมอื่ วนั ที่ ๑๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๑๒
เวลา ๑๗.๓๐ น. ดว้ ยโรคชรา สิรอิ ายุ ๘๑ ปี ๔๓ พรรษา
สังฆงั นะมาม.ิ ขอนอบน้อมแดพ่ ระอริยสงฆพ์ ระองค์นั้นดว้ ยเศียรเกลา้ ฯ
44
ล�ำดับพระอรหนั ต์ในสายหลวงป่มู ั่น ภรู ิทตโฺ ต
การปฏิบัติพระธรรมกรรมฐานในสายของหลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต ได้มีผู้บรรลุ
พระอรหันต์สืบเน่ืองกนั มานบั ถึงปจั จุบันมจี ำ� นวนมากมายหลายองค์ เป็นการพิสจู น์
ใหเ้ หน็ ความจรงิ ตามพระพทุ ธพจนท์ วี่ า่ ธรรมของพระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ เปน็ อกาลโิ ก
ตราบใดทย่ี ังมผี ้ปู ฏบิ ตั ิพระธรรมกรรมฐานในแนวทางทีถ่ กู ตอ้ ง พระอรหันต์ก็ไม่สิ้น
ไปจากโลก
ในบรรดาศษิ ยส์ ายกรรมฐานของหลวงปู่มน่ั ภรู ทิ ตโฺ ต จัดไดว้ ่า หลวงปพู่ รหม
จิรปุญฺโ บรรลุธรรมขั้นพระอรหันต์เป็นองค์แรก แต่ถ้านับการบรรลุพระอรหันต์
รวมทกุ องคใ์ นยคุ ปจั จบุ นั ตามลำ� ดบั กอ่ น-หลงั แลว้ หลวงปพู่ รหม จริ ปญุ โฺ จดั อยู่
ในลำ� ดบั ท่ี ๔ กลา่ วคอื พระอรหนั ต์ ๓ ลำ� ดบั แรกเปน็ รนุ่ ครอู าจารย์ สว่ นหลวงปพู่ รหม
อยใู่ นล�ำดบั แรกของรนุ่ ลกู ศิษย์
สามล�ำดับแรกในรุน่ ครอู าจารย์ ได้แก่
๑. หลวงปู่ใหญเ่ สาร์ กนตฺ สโี ล บรรลุในพรรษา ปี พ.ศ. ๒๔๕๙ ทีถ่ ำ�้ จ�ำปา
ภูผากดู ตำ� บลหนองสงู อ�ำเภอคำ� ชะอี จังหวดั นครพนม (ปจั จุบนั อยใู่ นท้องท่อี �ำเภอ
หนองสงู จังหวัดมกุ ดาหาร) เมอ่ื ทา่ นมีอายุ ๕๗ ปี
๒. หลวงปใู่ หญ่ พระอบุ าลคี ณุ ปู มาจารย์ (จนั ทร์ สริ จิ นโฺ ท) วดั บรมนวิ าส กรงุ เทพฯ
บรรลธุ รรมในพรรษา ปี พ.ศ. ๒๔๖๕ ทบี่ นเขา วดั พระธาตจุ อมยอง เขตเมอื งเชยี งตงุ
ในประเทศพมา่ เม่อื ท่านมีอายุ ๖๖ ปี พรรษา ๔๖
45
๓. หลวงปมู่ นั่ ภรู ทิ ตโฺ ต บรรลธุ รรมในปี พ.ศ. ๒๔๗๖ ท่ี ถำ้� ดอกคำ� ตำ� บลนำ้� แพร่
อำ� เภอพรา้ ว จงั หวัดเชยี งใหม่ เมื่ออายุ ๖๓ ปี พรรษา ๔๑
ถดั จากรุ่นครอู าจารย์ ก็มาเปน็ รุ่นลกู ศิษย์ ถ้านบั ๓ ลำ� ดับแรก ได้แก่
๔. หลวงปพู่ รหม จริ ปญุ โฺ บรรลปุ ระมาณปี พ.ศ. ๒๔๘๓-๔ หลงั จากทห่ี ลวงปมู่ น่ั
เดนิ ทางจากเชยี งใหม่ กลบั สภู่ าคอสี านแลว้ สำ� หรบั สถานทท่ี ราบแตว่ า่ อยใู่ นเขตอำ� เภอ
พรา้ วตอนใต้ แถวๆ ต�ำบลโหลง่ ขอด หรอื ตำ� บลแมป่ ัง๋ เมื่อท่านอายุ ๕๒-๕๓ ปี
อายุพรรษา ๑๒-๑๓
๕. หลวงปขู่ าว อนาลโย บรรลรุ ะหวา่ งปี พ.ศ. ๒๔๘๓-๒๔๘๕ ภายในบรเิ วณวดั
รา้ งทงุ่ ปยุ ตำ� บลโหลง่ ขอด อำ� เภอพรา้ ว จงั หวดั เชยี งใหม่ เมอ่ื อายรุ ะหวา่ ง ๕๒-๕๔ ปี
พรรษาระหวา่ ง ๑๖-๑๘
๖. หลวงปชู่ อบ ฐานสโม บรรลใุ นปี พ.ศ. ๒๔๘๗ ทถี่ ำ้� บา้ นหนองยวน ซง่ึ อยบู่ นเขา
ดอยเจยี งตอง ในเขตประเทศพม่า เมือ่ อายุ ๔๓ ปี พรรษา ๒๐
สำ� หรบั ศษิ ยส์ ายกรรมฐานองคอ์ น่ื ๆ นนั้ มปี รากฏอยใู่ นประวตั ขิ องแตล่ ะองคแ์ ลว้
หลกั ฐานทบ่ี ง่ บอกถงึ ความเปน็ พระอรหนั ตท์ เี่ ปน็ ทย่ี อมรบั กนั ในหมพู่ ระกรรมฐาน
ประการหนึ่ง ได้แก่ อัฐิของครูบาอาจารย์พระองค์นั้นๆ กลายเป็นพระธาตุ หรือ
พระอรหนั ตธาตุ ทง่ี ดงาม เหลอื ไวใ้ หค้ นรนุ่ หลงั ไดก้ ราบไหวแ้ ละระลกึ ถงึ สำ� หรบั พระธาตุ
ของหลวงปพู่ รหม จริ ปญุ โฺ นนั้ มลี กั ษณะและสสี นั ทงี่ ดงามมาก มสี ณั ฐานและสตี า่ งๆ
หลายสี นา่ เลอื่ มในศรัทธา
46
ทา่ นหลวงตาฯ เลา่ ถึงพระอรหนั ต์ในยคุ ปจั จุบัน
ท่านหลวงตาพระมหาบัว าณสมฺปนฺโน เคยแสดงธรรมโปรดศษิ ย์ในโอกาส
ตา่ งๆ โดยมเี นอื้ หาธรรมสว่ นหนง่ึ กลา่ วถงึ ครบู าอาจารยส์ ายพระกรรมฐานทบ่ี รรลธุ รรม
ส�ำเร็จเป็นพระอรหนั ตใ์ นยุคปจั จุบันซงึ่ มมี ากมายหลายองค์ ในจำ� นวนครบู าอาจารย์
เหลา่ น้ี มีหลวงปู่พรหม จริ ปุญโฺ รวมอยู่ดว้ ย
ท่านหลวงตาฯ ได้เล่าถึงหลวงปู่พรหมในสถานที่และโอกาสต่างๆ หลายครั้ง
หลายหน เท่าที่รวบรวมไดม้ ปี รากฏในการเทศนจ์ ำ� นวน ๗ กัณฑ์ ดงั ตอ่ ไปนี้
กัณฑ์ ๑ : เทศนอ์ บรมฆราวาส ณ วัดปา่ บ้านตาด เม่อื วนั ที่ ๒๐ มกราคม
พ.ศ. ๒๕๔๐
“ลูกศษิ ย์หลวงปู่มั่นเรานี้เปน็ พระหายาก มหี ลายองค์กว่าบรรดาครูบาอาจารย์
ทงั้ หลายที่มีลกู ศิษย์ดว้ ยกัน ลกู ศษิ ย์หลวงปมู่ น่ั มีเยอะทเ่ี ปน็ ประเภทพระหายาก
ทพ่ี อนบั ไดก้ ็ หลวงปแู่ หวน ๑ หลวงปขู่ าว ๑ หลวงปพู่ รหม บา้ นดงเยน็ ๑ แลว้ ก็
ทา่ นอาจารย์คำ� ดี วดั ถ้�ำผาปู่ ๑ ท่านจวน ภทู อก ๑ ท่กี ล่าวถงึ นี้ ลว้ นแลว้ แต่อัฐกิ ลาย
เปน็ พระธาตหุ มดแลว้ ตีตราเปน็ พระอรหันตโ์ ดยสมบรู ณ์ น่ี ท่านลกู ศษิ ยล์ กู หามาก
สว่ นฝา่ ยหญงิ กม็ ี แมช่ แี กว้ (เสยี งลำ�้ ) แมช่ แี กว้ อยทู่ ห่ี ว้ ยทราย อนั นกี้ ลายเปน็ พระธาตุ
แล้ว”
47
กัณฑ์ที่ ๒ : เทศนอ์ บรมฆราวาส ณ วัดปา่ บ้านตาด เมอื่ วนั ที่ ๑๖ กมุ ภาพันธ์
พ.ศ. ๒๕๔๕
“...มผี ถู้ วายรปู นน้ั หลวงปพู่ รหม บา้ นดงเยน็ น้ี ปน้ั รปู วา่ เปน็ หลวงปพู่ รหม ตอ้ ง
หลวงปู่พรหม เขา้ ใจไหม เราสนิทสนมกับท่านมานาน รปู ท่านไม่ค่อยเหมือน กม็ เี คา้
เหมือนอยู่บ้าง เอาละ พอหลวงปูพ่ รหม กราบเลยนะ น่ี รปู หลวงปพู่ รหมเดด็ นะน่ี
อย่างน้ีแหละ
ครบู าอาจารยอ์ งคใ์ ดมาเปน็ สรณะของพวกเราสมยั ปจั จบุ นั นี้ สงฆฺ ํ สรณํ คจฉฺ ามิ
กค็ อื นอ้ี งคห์ นงึ่ เปน็ พระอรหนั ตเ์ ทา่ นนั้ วา่ ไง? เพราะเคยคยุ ธรรมะกนั แลว้ กอ่ นทท่ี า่ น
จะมรณภาพ คุยธรรมะกนั สนทิ สนมกับท่าน ไปพกั กบั ท่านทว่ี ดั ดงเย็นก็เคย
ดงเยน็ ทจี่ ะไปวนั นบี้ า้ นหลวงปพู่ รหมนะ ไปหาทา่ นไปคยุ กนั ไมร่ กู้ ค่ี รง้ั กหี่ นแหละ
อยนู่ ามน (วดั ปา่ นาคนมิ ติ ต์ บา้ นนามน ตำ� บลตองโขบ อำ� เภอโคกศรสี พุ รรณ จงั หวดั
สกลนคร) กเ็ หมือนกนั ท่านเดด็ เดย่ี วมาก
...แลว้ องคไ์ หนบา้ งนะลกู ศษิ ยห์ ลงปมู่ นั่ ? เอา้ ... นบั ไปเลย ตง้ั แตท่ า่ นอาจารยแ์ หวน
ท่านอาจารย์ขาว หลวงปู่พรหม หลวงปู่ต้ือ หลวงปู่ค�ำดี หลวงปู่ฝั้น บอกเลย
ไมเ่ ปน็ ชน้ิ วา่ งนั้ กบ็ อกแลว้ นวี่ า่ เปน็ พระธาตแุ ลว้ จะวา่ ยงั ไงอกี ทา่ นจวน ทา่ นสงิ หท์ อง
หลวงพอ่ บัวหนองแซง อยา่ งนอ้ ย ๑๐ องคแ์ ล้ว ทอี่ ฐั กิ ลายเปน็ พระธาตุ
อฐั จิ ะกลายเปน็ พระธาตนุ น้ั ทา่ นกม็ ตี ำ� ราบอกไวเ้ รยี บรอ้ ยแลว้ คอื อฐั ขิ องผจู้ ะเปน็
พระธาตไุ ด้ คอื กระดกู เรานี่ อฐั นิ ท่ี จี่ ะกลายเปน็ พระธาตไุ ดน้ น้ั เปน็ อฐั ขิ องพระอรหนั ต์
เทา่ นน้ั ฟังซิ องค์อื่นเป็นไปไม่ได้เท่านั้น ฟังซติ ัดขาดไวเ้ ลย ...”
48
กัณฑ์ท่ี ๓ : เทศน์อบรมฆราวาส ณ วัดปา่ บา้ นตาด เม่อื วันที่ ๔ เมษายน
พ.ศ. ๒๕๔๕
“...หลวงตานหี้ นกั มากนะ วนั พรงุ่ นก้ี จ็ ะไปบา้ นดงเยน็ ในงานเผาศพ (หลวงปผู่ าง
ปรปิ ณุ โฺ ณ ศษิ ยอ์ งคห์ นงึ่ ของหลวงปพู่ รหม อฐั กิ ลายเปน็ พระธาตเุ หมอื นกนั ) ทเ่ี ขา้ มา
ย่งุ จนได้ แลว้ เป็นวดั หลวงปูพ่ รหมที่เราสนทิ สนมกันมาเป็นเวลานาน
ทว่ี ดั ของทา่ นคอื แตก่ อ่ นทา่ นอยวู่ ดั น้ี แลว้ ทา่ นยา้ ยจากนอี้ อกไปตะวนั ตก แตก่ อ่ น
ตะวันตกน้ีเปน็ ดงใหญน่ ะ ดงทงั้ หมด ดงสัตว์ ดงเนอ้ื ดงเสือเต็ม วดั ท่านกอ็ ยูใ่ นดง
เราไปพักกบั ทา่ นอยนู่ ั้นรสู้ ึกท่านเมตตามากนะกับเรา
นิสัยท่านน่าเกรงขามมาก นิสัยจริงจังเด็ดเด่ยี วทุกอย่าง ฉลาดรอบคอบไม่ใช่
เล่นนะ พอเหน็ เราไปหาแล้วขึ้นเลย ก็สนิทกนั มากเท่าไหร่แลว้ พอมองเห็นเราก�ำลงั
สะพายบาตรเขา้ ไปหา ทา่ นมหาเหรอ โอย๊ มาแลว้ คดิ ถงึ ครบู าอาจารยม์ าก ตอ้ งมาละ
เออ เอา้ มาเวลานก้ี ำ� ลงั หนาว ไปเดอื นธนั วาคมมนั กห็ นาวละซิ แลว้ บา้ นดงเยน็ เปน็ บา้ น
ที่หนาวมากดว้ ย ไปคยุ ธรรมะธรรมโมกับท่าน โอย๊ สนทิ กนั มากตัง้ แต่อยบู่ า้ นนามน
พอออกพรรษาแล้วท่านก็ไปหา
ทแี่ รกจวนจะเขา้ พรรษา ทา่ นกไ็ ปหาหลวงปมู่ นั่ กอ่ น พอดที างสกลฯ วดั สทุ ธาวาส
ไม่มหี ัวหน้าวดั เขาก็ไปขอพ่อแม่ครูอาจารยม์ นั่ ก็พอดที ่านอาจารยพ์ รหมไปถึงนน้ั
ทา่ นมาจากเชียงใหม่ ท่านบง่ึ เข้าไปหาพอ่ แม่ครูอาจารยม์ ัน่
พอพดู จบคำ� เรยี บรอ้ ยแลว้ นี่ จะทำ� ยงั ไงทา่ นพรหม เขากจ็ ะมาหาหวั หนา้ จะทำ� ไง
ถ้าว่าทา่ นไปอยู่ท่ีน้ันไดก้ ็จะดี ทา่ นไม่บังคับนะ ถา้ ท่านอยู่ที่นน้ั เปน็ หัวหนา้ ใหเ้ ขาบ้าง
กจ็ ะดี ทา่ นวา่ อยา่ งนนั้ ออกพรรษาอยากมาคอ่ ยมา พอออกจากนน้ั ปบ๊ั ทา่ นกก็ ลบั คนื
ไปวัดสุทธาวาส พอออกพรรษาแล้วทา่ นมาเลย นัน้ แหละไดค้ ยุ กันตลอดสนิทสนม
กันมา...
น่ลี ะ่ ทีเ่ ราไปในงานเกี่ยวกบั หลวงปู่พรหม แต่นั้นเป็นวัดใหม่แล้ว คือวดั เก่านี้
ย้ายไปเปน็ วดั ใหม่ ทงุ่ กวา้ งขวาง ไมเ่ ปน็ ดงเหมือนแต่กอ่ น เรากไ็ ป นีอ้ ันหนึง่
49
ทา่ นผาง (หลวงปผู่ าง ปรปิ ณุ โฺ ณ วดั ประสทิ ธธิ รรม บา้ นดงเยน็ ) กเ็ ปน็ ลกู ศษิ ย์
ตดิ ตามเรานะ ลกู ศษิ ยม์ าขอเครอื่ งสบู นำ้� อะไรๆ จากเรา เรากใ็ หไ้ ป เวลานท้ี า่ นตายแลว้
เรากเ็ ลยจะไป
เกี่ยวโยงมาตง้ั แตห่ ลวงปพู่ รหม น่ี ท่านประกาศ ๗ วนั เพราะทา่ นเปน็ พ่อคา้
ไมม่ ลี กู เตา้ ถา้ พดู ถงึ ฐานะบา้ นนอกกเ็ รยี กวา่ ทา่ นเปน็ ทหี่ นง่ึ บา้ นน้ี เพราะการคา้ การขาย
ท่านเป็นพอ่ คา้
ทีนี้เวลามาปรึกษาหารือกบั แมบ่ ้าน เพราะไมม่ ลี ูกดว้ ยกนั นท้ี ำ� ยงั ไง นี่ เห็นไหม
คนมีอุปนิสัยมันเป็นนะ เราก็อยู่ด้วยกันมาไม่มีลูกมีเต้าท่ีจะสืบหน่อต่อแขนง
มรดกเหล่านี้จะท�ำยังไง แล้วตายแล้วใครจะสืบต่อก็ไม่ได้ไปทั้งนั้น สืบต่อกันเป็น
ระยะๆ อนั นเี้ รายงั มชี วี ติ อยู่ สงิ่ เหลา่ นเี้ ราครองมานานแลว้ กไ็ มเ่ หน็ เปน็ ประโยชนอ์ ะไร
ก็อย่างน้ีแหละ เราออกบวชจะไม่ดีหรือ ต่างคนออกเสาะแสวงหาสมบัติภายใน
สมบัตภิ ายนอกเราเหน็ อย่นู ีแ้ หละ ท่านเล่าใหฟ้ ังนะ แม่บ้านกพ็ อใจทนั ทเี ลย ถ้าเรา
ออกบวชแล้ว อนั นเี้ รากป็ ระกาศใหท้ านให้หมดไปเสีย เสรจ็ แลว้ ออกเลย ทางนน้ั
กพ็ รอ้ มเลย ไมว่ า่ ทา่ นบอกวา่ ประกาศอยู่ ๗ วนั ของใหท้ านหมดเลย ใหท้ าน ๗ วนั
แลว้ แมบ่ า้ นออกทางหนึง่ ท่านก็ออกทางหน่ึง ไปเรอ่ื ย ท่านเลา่ ใหฟ้ งั ท่านเปน็ คน
ศักดิศ์ รีดงี าม มอี �ำนาจวาสนาน่าเกรงขามมาก เดด็ เด่ยี ว
ไปในงานศพทา่ น เรากบ็ อกกบั บรรดาลกู ศษิ ยว์ า่ พวกเราทง้ั หลายไปนี้ ใหพ้ ยายาม
เอาอฐั ขิ องทา่ นอาจารยอ์ งคน์ ใ้ี หไ้ ดน้ ะ อฐั ขิ องทา่ นอาจารยจ์ ะเปน็ พระธาตแุ นน่ อน เราวา่
อยา่ งนน้ี ะ เวลาไปเผาศพทา่ น พอเผาศพเสรจ็ เรยี บรอ้ ยแลว้ พวกกรรมการเขาไมท่ ราบ
ก่ชี ้นั เขา้ ไมไ่ ด้เลย ตกลงตา่ งคนตา่ งเผ่น
จากนน้ั มา อฐั ขิ องทา่ นกก็ ลายเปน็ พระธาตุ กอ็ ยา่ งนน้ั แลว้ แนน่ อน ตงั้ แตค่ ยุ กนั
อยบู่ า้ นนามน อยา่ งนแี้ หละเหน็ ไหมละ่ ไมต่ อ้ งเอาอะไรมายนั กนั เพราะทา่ นคยุ ใหเ้ ราฟงั
อย่างถึงใจเม่ืออยู่บ้านนามน ท่านผ่านมา (บรรลุพระอรหันต์) ตั้งแต่อยู่เชียงใหม่
โนน้ ...”
50
กณั ฑท์ ่ี ๔ : เทศน์อบรมฆราวาส ณ วดั ป่าบ้านตาด เมื่อวนั ท่ี ๑๔ พฤษภาคม
พ.ศ. ๒๕๔๕
“...ตวั อยา่ งเชน่ หลวงปพู่ รหม ลกู ศษิ ยท์ างกรงุ เทพฯ แหละหลงั่ ไหลไป เรากไ็ ป
กระซบิ วา่ ใหพ้ ยายามเอาอฐั ขิ องทา่ นอาจารยอ์ งคน์ ใ้ี หไ้ ดน้ ะ อฐั ขิ องพระอาจารยอ์ งคน์ ้ี
จะเปน็ พระธาตแุ นน่ อน เราบอกอยา่ งน้ี
พอเผาศพแลว้ โอย๋ คณะกรรมการกช่ี นั้ อยใู่ นนนั้ รกั ษาอฐั ิ เขา้ ไมถ่ งึ เปดิ เลยไมไ่ ด้
ครน้ั ตอ่ มาไมน่ านนะทราบวา่ อฐั ทิ า่ นกลายเปน็ พระธาตแุ ลว้ นนั่ เหน็ ไหมละ่ ทา่ นเคยพดู
ให้ฟังตง้ั แตอ่ ยู่บ้านนามน
ทา่ นอาจารยพ์ รหม เวลาเงยี บๆ วนั ไหนไมไ่ ดข้ นึ้ หาพอ่ แมค่ รอู าจารยม์ นั่ กแ็ อบ
ไปหาทา่ น คยุ กนั สองตอ่ สองทกุ คนื คยุ สนกุ สนาน ทา่ นพดู ใหฟ้ งั ทกุ แงท่ กุ มมุ ในการ
ปฏบิ ตั ธิ รรมของทา่ น น่ี ทา่ นกผ็ า่ นทเ่ี ชยี งใหม่ ทา่ นผา่ นมานานแลว้ น่ี กร็ ไู้ ดอ้ ยา่ งชดั เจน
ละซิ ทา่ นเลา่ ใหฟ้ งั ถงึ เรายงั ไมร่ อู้ โิ หนอ่ เิ หนอ่ ะไร ทางปรยิ ตั ทิ างอะไร มนั กเ็ ขา้ กนั ไดๆ้
ลงใจทนั ที น่ี อัฐิของท่านกลายเป็นพระธาตุ ...”
กณั ฑท์ ี่ ๕ : เทศนอ์ บรมฆราวาส ณ วดั ปา่ บ้านตาด เม่อื วนั ที่ ๘ มิถนุ ายน
พ.ศ. ๒๕๔๖
“ทา่ นอาจารยช์ อบเปน็ ลกู ศษิ ยท์ า่ นอาจารยม์ น่ั องคห์ นง่ึ เหมอื นกนั ลกู ศษิ ยท์ า่ น
ผู้ใหญ่ท่านก็มีหลวงปู่แหวน หลวงปู่ขาว หลวงปู่ค�ำดี หลวงปู่ฝั้น หลวงปู่พรหม
ท่ีกลา่ วเหลา่ นี้มีแตเ่ พชรนำ้� หนึง่ ท้ังนั้นนะ เพชรนำ�้ หนงึ่ ๆ พอท่านลว่ งไป อฐั ขิ องทา่ น
กลายเปน็ พระธาตทุ งั้ นนั้ นะ คอื ถา้ ลงอฐั กิ ลายเปน็ พระธาตแุ ลว้ ตตี ราเลยเปน็ อนื่ ไปไมไ่ ด้
เพราะมตี ำ� ราบอกชดั เจน บอกบทจำ� กดั ไวด้ ว้ ยนะ อฐั ทิ ก่ี ลายเปน็ พระธาตไุ ดน้ ี้ มอี ฐั ขิ อง
พระอรหันตเ์ ทา่ นัน้ น่ีละทว่ี ่าขอ้ จำ� กัด ...”
51
กัณฑท์ ี่ ๖ : เทศน์อบรมฆราวาส ณ วดั ปา่ บ้านตาด เมอ่ื วันท่ี ๑๑ มกราคม
พ.ศ. ๒๕๔๙
ในเทศนก์ ณั ฑน์ ี้ ทา่ นหลวงตาฯ ไดเ้ ลา่ ถงึ หลวงปผู่ าง ปรปิ ณุ โฺ ณ ศษิ ยส์ ำ� คญั ของ
หลวงปพู่ รหม จริ ปญุ โฺ และพำ� นกั ทว่ี ดั ประสทิ ธธิ รรม บา้ นดงเยน็ เหมอื นกนั ภายหลงั
มรณภาพ ปรากฏวา่ อฐั ขิ องหลวงปผู่ างกก็ ลายเปน็ พระธาตุ ดังน้นั วดั ประสทิ ธธิ รรม
บา้ นดงเย็น จงึ มีพระอรหันต์ ๒ องค์ คอื หลวงปพู่ รหม จิรปญุ ฺโ กบั หลวงปู่ผาง
ปรปิ ณุ โฺ ณ
ทา่ นหลวงตาฯ เลา่ ถงึ เรอื่ งหลวงปผู่ าง โดยมเี นอื้ หาบางตอนพดู ถงึ หลวงปพู่ รหม
ดว้ ยดงั น้ี
“ ...อย่างทา่ นผางอยู่ท่บี า้ นดงเยน็ บา้ นดงเยน็ นเ้ี ป็นบ้านหลวงป่พู รหม ทา่ นไป
อย่เู ชียงใหม่กบั หลวงปมู่ น่ั โอ๋ย หลายปี น้ไี ด้เคยคุยธรรมะกันเวลาที่ทา่ นไปพักอยู่
บา้ นนามนดว้ ยกันกับพ่อแมค่ รูอาจารย์มนั่ เราไดค้ ุยธรรมะทกุ สง่ิ ทุกอย่างเรยี บร้อย
แลว้
เวลาไปเผาศพทา่ น เรากไ็ ด้บอกลกู ศษิ ยล์ กู หาใหพ้ ยายามเอาอัฐิของทา่ นใหไ้ ด้
นี่แหละองค์หนึ่งท่ีอัฐิจะกลายเป็นพระธาตุ คือเราคุยกันต้ังแต่บ้านนามน เราทราบ
ละเอยี ดลออแลว้ แตเ่ วลาไปเผาศพทา่ น โอย๋ คณะกรรมการแนน่ หนามนั่ คง เขา้ ไปแตะ
ไม่ได้เลย ตัง้ แตเ่ ราก็ไมเ่ ข้าว่างั้นเถอะ จะใหล้ กู ศษิ ย์ลกู หาองคไ์ หนเขา้ ได้ละ
นี่ ท่านผางนก้ี เ็ คยมาอยวู่ ดั ปา่ บา้ นตาด แล้วท่านกก็ ลบั ไปบ้านท่าน บ้านดงเย็น
อนั นกี้ ไ็ มม่ ีใครทราบแหละ เพราะท่านเงยี บๆ อย่นู ี้ทา่ นก็เงยี บๆ เวลาออกจากน้ีไป
ไปอยู่บ้านดงเย็น เวลามรณภาพตอนกลางคืนเงียบๆ เหมือนกัน ไม่มีใครทราบ
เวลาเผาศพเรยี บรอ้ ยแลว้ อัฐิของท่านกลายเปน็ พระธาตเุ ตม็ ไปหมดเลย จึงรูว้ า่ ท่าน
เปน็ พระเชน่ ไร นกี่ ็องคห์ นึง่ ถา้ ลงอัฐกิ ลายเปน็ พระธาตแุ ล้วตีตราเลย เรียกวา่ น้นั คอื
พระอรหันต์ว่างัน้ เลย...”
52
กณั ฑท์ ี่ ๗ : เทศนอ์ บรมฆราวาส ณ วัดเจดยี ห์ ลวง เชียงใหม่ เมอ่ื วนั ท่ี ๑๑
พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๙
“... จงั หวดั เชยี งใหมข่ องเราเปน็ จงั หวดั ทเ่ี ดน่ มากในประเทศไทย เฉพาะอยา่ งยง่ิ
เขา้ ในจงั หวดั เชยี งใหม่ กเ็ ขา้ มาทว่ี ดั เจดยี ห์ ลวงของเราน้ี ครบู าอาจารยอ์ งคส์ ำ� คญั ๆ ได้
เขา้ มาอยทู่ นี่ ท่ี ง้ั นนั้ ละนะ ตงั้ แตท่ า่ นเจา้ คณุ อบุ าลฯี ทา่ นอาจารยม์ น่ั มาเรอ่ื ย องคส์ ำ� คญั ๆ
เพชรนำ้� หนง่ึ ทม่ี าเกดิ อบุ ตั ขิ น้ึ ในจงั หวดั เชยี งใหมข่ องเรามนี อ้ ยเมอ่ื ไร ทงั้ ทา่ นอาจารยม์ น่ั
แลว้ กท็ า่ นอาจารยข์ าว ทา่ นอาจารยแ์ หวน ทา่ นอาจารยต์ อ้ื ทา่ นอาจารยพ์ รหม นเี่ รยี กวา่
ทา่ นเปน็ เพชรนำ้� หนง่ึ ทที่ า่ นมรณภาพแลว้ อฐั ทิ า่ นกลายเปน็ พระธาตทุ ง้ั หมด ทวี่ า่ นนี้ ะ
๕ องค.์ ..
จงั หวดั เชยี งใหมเ่ รา เปน็ จงั หวดั ทเ่ี ปน็ มหามงคลในประเทศไทย มจี อมปราชญไ์ ด้
อุบัตขิ ้นึ ท่ีนี่ หลวงปขู่ าวไปเป็น (บรรล)ุ อย่ทู โี่ หลง่ ขอด (อำ� เภอพรา้ ว) หลวงปูพ่ รหม
นเ้ี ปน็ (บรรล)ุ อยขู่ า้ งๆ ทางดอยแมป่ ง๋ั (อำ� เภอพรา้ ว) มนั มแี ตป่ า่ แตเ่ ขาเทา่ นน้ั นน่ี ะ...”
53
ท่านหลวงตาฯ เลา่ ถงึ หลวงปพู่ รหม
ท่านหลวงตาพระมหาบัว าณสมฺปนฺโน เคยเขียนเรื่องของหลวงปู่พรหม
จริ ปญุ โฺ ไวค้ อ่ นขา้ งละเอยี ด ในหนงั สอื ปฏปิ ทาพระธดุ งคกรรมฐาน สายพระอาจารย์
ม่นั ภูรทิ ตฺโต ท่านหลวงตาฯ ได้เมตตาเขยี นเล่าไว้ดงั ตอ่ ไปนี้
“...จากวาระสุดท้ายแห่งปฏิปทา จึงขอกล่าวถึงพระอาจารย์ส�ำคัญอีกองค์หนึ่ง
ซงึ่ เป็นลกู ศษิ ย์พระอาจารย์มนั่ บ้างเล็กนอ้ ย เพือ่ เป็นอนสุ รณุตตริยะแด่ทา่ นทีไ่ มเ่ คย
ผา่ นประวตั ทิ า่ น คอื พระอาจารยพ์ รหม ทา่ นอยวู่ ดั บา้ นดงเยน็ อำ� เภอหนองหาน (ปจั จบุ นั
อยใู่ นเขตอำ� เภอบา้ นดงุ ) จงั หวดั อดุ รธานี ทเ่ี พงิ่ มรณภาพไปเมอ่ื เรว็ ๆ นี้ (พ.ศ. ๒๕๑๒)
ผเู้ ขยี น (ทา่ นหลวงตาฯ) เคยไดอ้ า่ นประวตั ยิ อ่ ทพี่ มิ พแ์ จกในงานศพทา่ นเหมอื นกนั
แต่หลงลืมไปบ้างแล้ว ทางวัดได้ถวายเพลิงทา่ นเมื่อวนั ที่ ๖ มนี าคม ๒๕๑๔ ทา่ นมี
ประวัติย่อประจ�ำองค์อยู่แล้ว แต่ท่ีมาเขียนซ้�ำอีกเล็กน้อยนี้เพื่อท่านท่ียังไม่ได้รับ
หนงั สือน้นั จะพอมีทางทราบได้บา้ งวา่ ทา่ นเปน็ พระเช่นไร
ทร่ี ะบนุ ามทา่ นนเี้ พราะประวตั ทิ า่ นไดร้ ะบไุ วอ้ ยา่ งชดั เจนแลว้ จงึ คดิ วา่ นา่ จะไมข่ ดั
กบั ทเ่ี ขยี นผา่ นมา ซง่ึ มไิ ดร้ ะบนุ ามทา่ นองคอ์ นื่ ๆ แตก่ ารเขยี นนจ้ี ะไมข่ อกลา่ วถงึ ความ
เป็นมาแห่งฆราวาสของท่าน จะนำ� มาลงเฉพาะท่จี �ำเปน็ และปฏปิ ทาทเ่ี กี่ยวกบั นักบวช
ทา่ นเทา่ น้นั
54
กอ่ นบวช ทราบวา่ ทา่ นประกาศความใจบญุ อนั กวา้ งขวางแกโ่ ลกใหค้ นทราบโดย
ทั่วกันวา่ ท่านประสงค์จะสละทานในบรรดาสมบัตทิ มี่ อี ยทู่ งั้ สน้ิ ทั้งท่มี วี ญิ ญาณและ
หาวิญญาณมิได้ จนหมดสิ้นแล้ว ท่านและศรีภรรยาคู่บารมีได้ออกบวชตามเสด็จ
พระพุทธเจ้าและสาวกท้ังหลายให้ทันในชาตินี้ ไม่ขออยู่ในโลกเกิดตายให้เน่ินนาน
ตอ่ ไป
“ทา่ นผปู้ ระสงคก์ ารสงเคราะหโ์ ดยไมค่ ดิ คา่ ตอบแทนใดๆ กรณุ ามารบั ทานนไ้ี ป
เปน็ สมบตั อิ นั ชอบธรรมของตนภายในกำ� หนดทก่ี ำ� ลงั ประกาศน”ี้ ทราบวา่ ทา่ นประกาศ
ใหท้ านอยหู่ ลายวนั ประชาชนผยู้ ากจนตา่ งๆ จงึ พากนั หลงั่ ไหลมารบั ทานเปน็ จำ� นวนมาก
จนวัตถุทกุ ประเภทหมดสิน้ ไปภายในไม่กว่ี นั
ทง้ั นเี้ นอ่ื งจากทา่ นเปน็ ผมู้ ฐี านะมนั่ คงมงั่ มสี มบตั มิ ากในแถบนน้ั เพราะทา่ นเปน็
พอ่ ค้าสารพดั อย่าง แต่ไม่มีลูกหญงิ ชายเปน็ ของตัวนบั แต่วนั แต่งงานกนั มา มเี ฉพาะ
ศรภี รรยาและเหลา่ หลานญาตมิ ติ รบา้ งเทา่ นน้ั ซงึ่ ตา่ งยนิ ดใี นการสละทานเพอื่ ความออก
เป็นนักบวชด้วยกัน
เมอื่ การใหท้ านเสรจ็ สนิ้ ลงแลว้ ทง้ั สองคนตา่ งแยกทางกนั เดนิ ทา่ นเองกอ็ อกบวช
เป็นพระธุดงคกรรมฐาน มุ่งหน้าต่อท่านพระอาจารย์มั่นเป็นที่ฝากเป็นฝากตายใน
ชีวิตพรหมจรรย์ ส่วนศรีภรรยาของท่านก็ไปอีกทางหน่ึงเพ่ือบวชเป็นชีมุ่งหนีสงสาร
สมปณิธานที่ปรารถนาไว้ และด�ำรงตนอยู่ในเพศพรหมจรรย์จนอวสานแห่งชีวิต
มิไดเ้ อนเอยี งหวั่นไหวต่อโลกามสิ ใดๆ ทั้งส้ิน ซ่ึงควรเปน็ ตวั อย่างไดอ้ ยา่ งดี
เฉพาะทา่ นอาจารยพ์ รหม ตอนบวชทแี รกยงั ไมส่ มความมงุ่ หมายทตี่ งั้ ไว้ ตอ้ งไป
อาศยั ทา่ นพระอาจารยส์ าร (ธมมฺ สาโร) เปน็ ผพู้ าอยอู่ บรมไปกอ่ นจนกวา่ โอกาสจะอำ� นวย
จากนน้ั จงึ ไดเ้ ทยี่ วไปทางจงั หวดั เชยี งใหมเ่ พอ่ื แสวงหาทา่ นพระอาจารยม์ น่ั ซงึ่ เวลานน้ั
ท่านพักอยจู่ ังหวัดเชียงใหม่ นยั ว่าท่านอาจารย์พรหมนี้ไดเ้ ทีย่ วไปในทีต่ ่างๆ จนถงึ
ประเทศพมา่ และพกั อยหู่ ลายเมอื งดว้ ยกนั มที า่ นอาจารยช์ อบ (หลวงปชู่ อบ €านสโม)
ซ่ึงมีนิสัยเด็ดเด่ียวอาจหาญชนิดถึงไหนถึงกันแบบเพชรน้�ำหนึ่ง เป็นหัวแหวนใน
55
วงเดียวกัน เป็นเพื่อนเดินทาง เร่ืองเหล่านี้ท่านอาจารย์พรหมเคยเล่าให้ผู้เขียนฟัง
เหมือนกนั แต่หลงลืมไปบา้ งแล้ว มีปรากฏเหลืออยเู่ พยี งเลก็ น้อยที่ได้นำ� มาเขียนน้ี
เทา่ นนั้ ผิดพลาดจงึ ขออภัยดว้ ย
ทา่ นมเี รอื่ งแปลกๆ และอศั จรรยเ์ กย่ี วกบั การปฏบิ ตั ทิ ง้ั ภายในและภายนอกอยมู่ าก
ทง้ั ในและนอกประเทศ แตจ่ ะขอผา่ นไป ฟงั แลว้ ทงั้ นา่ สงสาร ทงั้ นา่ ตน่ื เตน้ เพลดิ เพลนิ
และนา่ อัศจรรย์ในความเป็นนกั ตอ่ สแู้ ละความรู้เหน็ ของท่านในการบำ� เพญ็ และการ
เดินบุกป่าฝ่าดงไปในท่ีต่างๆ ท่ีปราศจากบ้านเรือนผู้คนในเวลาเช่นน้ัน มีแต่ความ
อดอยากทรมานมากกว่าความอ่ิมกายสบายใจ ท่านว่าบางวันก็พบหมู่บ้านและได้
บิณฑบาตมาฉันพอประทังชีวิต บางวันก็ยอมอดยอมทนต่อความหิวโหยอ่อนเพลีย
เพราะหลงทาง ท้งั นอนค้างอยู่ในป่าเขา
เฉพาะเวลาไปเทยี่ วประเทศพม่านนั้ ทา่ นวา่ ล�ำบากมากในเวลาเดินทาง เพราะ
ทางท่ีไปมีแต่เขาซึ่งเต็มไปด้วยสัตว์เสือนานาชนิด บางคร้ังต้องปลงอนิจจังต่อความ
เปน็ อยทู่ ี่เต็มไปดว้ ยความทุกข์ทรมานซึ่งสดุ แสนจะทนได้ และมชี วี ิตสบื ตอ่ ไปในวัน
ขา้ งหน้า ขณะนนั้ ปรากฏอะไรๆ ภายในตัวราวกับจะสน้ิ สดุ ลงพร้อมในเวลาเดียวกัน
ลมหายใจกเ็ หมอื นจะขาดความสบื ตอ่ ลงไปดว้ ยเหตใุ ดเหตหุ นงึ่ ในบรรดาเหตทุ งั้ หลาย
ท่เี ปน็ เครอ่ื งกดถว่ งทรมานรา่ งกายและจติ ใจ แต่กพ็ อทนต่อไปไดต้ ามเหตุการณ์และ
วันเวลาทผี่ า่ นไป
การบ�ำเพ็ญทางจิต ท่านก็มีก�ำลังก้าวหน้าและเป็นท่ีแน่ใจตัวเองก็ตอนที่ไปถึง
ทา่ นอาจารย์มน่ั รับการอบรมโดยสม่ำ� เสมอเร่อื ยมา บางปีท่าน (หลวงปู่มน่ั ) เมตตา
อนเุ คราะหใ์ หอ้ ยจู่ ำ� พรรษาดว้ ย และมกี ารเขา้ ๆ ออกๆ อยเู่ สมอ คอื ออกเทย่ี วบำ� เพญ็
ในสถานทตี่ า่ งๆ ตามอธั ยาศยั เมอ่ื เกดิ ปญั หาขอ้ งใจกเ็ ขา้ มารบั การศกึ ษาอบรมกบั ทา่ น
เปน็ ระยะไป สมยั อยู่กับท่านอาจารย์ม่ันทจ่ี ังหวดั เชยี งใหม่ ทราบว่าท่านบ�ำเพญ็ อยู่
ทเ่ี ชยี งใหมอ่ ีกหลายปี แลว้ จงึ ได้ตามท่านอาจารย์มน่ั กลับไปจังหวดั สกลนคร
56
ท่านอาจารย์องค์น้ี (หลวงปู่พรหม) เป็นผู้มีนิสัยเคร่งขรึมและเด็ดเดี่ยวมาก
สมกบั ทสี่ ละสมบตั อิ นั มคี า่ ออกบวชจรงิ ๆ จงึ ขอสรปุ ผลแหง่ การปฏบิ ตั ทิ ที่ า่ นไดร้ บั เปน็
ท่พี ึงใจว่า ท่านได้สมบตั อิ ันล้นค่ามหศั จรรยท์ จ่ี ังหวดั เชียงใหม่ ในเขาลึกลับกับคน
ชาวป่าตามที่ท่านเล่าให้ฟัง ถ้าจ�ำไม่ผิด แต่จ�ำไม่ได้ว่าเป็นหมู่บ้านอะไร เขาลูกใด
และอำ� เภอใด ที่น่นั แลเปน็ ท่ปี ลดเปลื้องภาระแห่งวัฏวนภายในใจออกไดโ้ ดยสนิ้ เชิง
เมือ่ ทา่ นอาจารย์มนั่ กลับไปจงั หวัดสกลนครไดห้ ลายปแี ล้ว ท่านจงึ ไดต้ ามท่านไปราว
พ.ศ. ๒๔๘๖ และจ�ำพรรษาท่ีวดั สุทธาวาส จังหวัดสกลนคร
จากนั้นทา่ นจึงได้หวนกลับมาสรา้ งวดั ท่ีบา้ นดงเย็น อำ� เภอหนองหาน (ปจั จบุ ัน
อยใู่ นอำ� เภอบา้ นดงุ ) จงั หวดั อดุ รธานี อนั เปน็ ภมู ลิ ำ� เนาเดมิ และไดม้ รณภาพลงทน่ี น่ั
ดังทเี่ ขยี นผา่ นมาแล้ว
57
อัฐิกลายเปน็ พระธาตุ
ขอ้ เขยี นของทา่ นหลวงตาพระมหาบวั ฯ ทเ่ี ขยี นถงึ หลวงปพู่ รหมมตี อ่ ไปอกี ดงั น้ี
เมอื่ ถงึ วนั งานถวายเพลงิ ศพทา่ น บรรดาพทุ ธบรษิ ทั นกั แสวงบญุ ทงั้ หลายทง้ั ใกล้
ทง้ั ไกลตลอดชาวสกลนคร กอ็ ตุ สา่ หส์ ละเวลาไปเปน็ จำ� นวนมาก แมพ้ นี่ อ้ งชาวเชยี งใหม่
กย็ งั อตุ สา่ หไ์ ปกนั ทกุ ๆ ทา่ นทไ่ี ปมไิ ดน้ กึ ถงึ ความลำ� บากและสนิ้ เปลอื งใดๆ เลย มงุ่ แต่
ความสมหวงั ดงั ใจหมายในงานโดยถา่ ยเดยี ว ฉะนน้ั วดั ทต่ี งั้ ของงาน แมจ้ ะกวา้ งใหญ่
ไพศาลในยามปกตธิ รรมดาแหง่ สายตาคนทว่ั ไป แตก่ ไ็ ดก้ ลายเปน็ วดั ทคี่ บั แคบแออดั
ขึ้นมาในเวลานั้น เพราะผู้คนพระเณรจ�ำนวนมากต่างหล่ังไหลกันมาในงานท่าน
เพราะตา่ งทา่ นตา่ งมาดว้ ยจติ ผอ่ งใสใจศรทั ธา มไิ ดม้ าดว้ ยความหวงั อยา่ งอนื่ ทอี่ าจเปน็
อันตรายแก่งานและประชาชนทีม่ าในงานได้
ตอนกลางคนื ของงาน คณะกรรมการวดั ไดจ้ ดั ใหม้ กี ารอบรมกรรมฐานตลอดรงุ่
โดยขออาราธนาพระอาจารยก์ รรมฐานผทู้ รงคณุ วฒุ เิ ปน็ องคแ์ สดง ดว้ ยปกณิ กธรรมบา้ ง
ด้วยสมาธิธรรมบา้ ง ด้วยปัญญาธรรมบ้าง สบั ปนกนั ไป เพือ่ ประโยชนแ์ กท่ ่านท่เี ป็น
นกั บวชฝา่ ยธดุ งคกรรมฐาน ซงึ่ นานๆ จะไดม้ โี อกาสมาฟงั กนั บา้ ง เพอ่ื อบุ าสกอบุ าสกิ าท่ี
สนใจธรรมปฏิบตั บิ า้ ง เพือ่ สาธชุ นท่วั ๆ ไปบ้าง
การถวายเพลงิ จรงิ ทา่ น เรม่ิ เวลาประมาณสท่ี มุ่ ของคนื วนั ท่ี ๖ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๑๔
ขณะประชุมเพลงิ น้นั มปี ระชาชน พระเณร มาแสดงธรรมสงั เวชเปน็ จำ� นวนมากมาย
58
ต่างท่านต่างมีท่าอันสงบงามตาอย่างยิ่ง ราวกับต่างระลึกร�ำพึงถึงพระคุณและความ
ดงี ามทา่ นอาจารยพ์ รหม ผเู้ คยบำ� เพญ็ มาดว้ ยความกลา้ หาญชาญชยั และความเสยี สละ
ทกุ อยา่ งไมอ่ าลยั เสยี ดาย และเคยประสทิ ธปิ์ ระสาทธรรมแกบ่ รรดาศษิ ย์ ทงั้ บรรพชติ
และคฤหัสถ์หญิงชายไม่มีประมาณแล้ว ได้จากไปตามกฎอนิจจัง และไม่มีใคร
แม้มีความเคารพเลื่อมใสท่านอย่างสุดจิตสุดใจจะช่วยต้านทานไว้ได้สักรายเดียว
บางทา่ นทไี่ มเ่ คยพบเหน็ ทา่ นมากอ่ น อาจคดิ ไปในแงก่ ฎอนจิ จงั อนั เปน็ ธรรมสอนโลก
และสอนตนมากกว่าจะคดิ ถึงแง่แห่งคุณธรรมท่าน
ขณะท่ีก�ำลังถวายเพลิง ในบริเวณเมรุจะมีเฉพาะคณะกรรมการที่ท�ำหน้าท่ีต่อ
ศพทา่ นเทา่ นน้ั ไมม่ ใี ครเขา้ ไปยงุ่ เกยี่ วเลย ทง้ั นอ้ี าจเปน็ เพราะคำ� โฆษณาประกาศเตอื น
อย่เู ปน็ พกั ๆ ก็ได้ หรอื อาจเป็นเพราะมรรยาทของท่านผู้เหน็ ภัยและคุณในขณะนัน้
กย็ ากแก่การสนั นษิ ฐาน
อัฐิท่านท่ีได้ท�ำการแจกจ่ายแก่ท่านที่มาในงานไปไว้เป็นท่ีระลึกสักการบูชาในที่
ตา่ งๆ มมี ากตอ่ มาก จงึ ไมอ่ าจทราบไดว้ า่ ของทา่ นผใู้ ดไดแ้ ปรสภาพจากเดมิ หรอื หาไม่
ประการใดบา้ ง แตเ่ มอ่ื ไมน่ านมานไ้ี ดม้ ที า่ นที่ได้รบั แจกอฐั ิท่านมาแล้วอัฐินั้นได้กลาย
เป็นพระธาตุ ๒ องค์ และไดอ้ ญั เชญิ ไปให้ผ้เู ขียนดูท่วี ดั อยา่ งประจกั ษ์ หลงั จากนน้ั
กไ็ ดท้ ราบจากหนงั สอื พมิ พ์ “ศรสี ปั ดาห”์ อกี วา่ อฐั ทิ า่ นไดก้ ลายเปน็ พระธาตุ แลว้ กม็ ี
ท่ยี ังไมก่ ลายก็มซี ึง่ อยู่ในผอบอันเดียวกนั
จงึ ทำ� ใหเ้ กดิ ความอศั จรรยใ์ นคณุ ธรรมทา่ นวา่ ทา่ นเปน็ ผบู้ รรลถุ งึ แกน่ ธรรมโดย
สมบรู ณแ์ ล้ว ดังวงปฏบิ ตั ิเคยพากันคาดหมายทา่ นมาเป็นเวลานาน แต่ท่านมิไดพ้ ูด
ออกหนา้ ออกตาเหมอื นทางโลกปฏบิ ตั กิ นั เพราะเปน็ เรอื่ งของธรรม ซงึ่ ผปู้ ฏบิ ตั ธิ รรม
จะพงึ ส�ำรวมระวงั ใหอ้ ยูใ่ นความพอดี
กาลเวลาท่ีท่านผ่านพ้นดงหนาป่ากิเลสและกองทุกข์ทางใจท้ังมวลไปได้นั้น
ทา่ นเลา่ ใหผ้ เู้ ขยี นฟงั เมอ่ื พ.ศ. ๒๔๘๖ วา่ ทา่ นผา่ นไปแตส่ มยั พกั อยจู่ งั หวดั เชยี งใหม่
แต่ไมท่ ราบว่าผ่านไปกี่ปแี ล้วทา่ นจงึ ไดก้ ลับไปสกลนคร
59
จงึ ขอสรปุ แตใ่ จความวา่ ปี พ.ศ. ๒๔๘๖ ทที่ า่ นไปจำ� พรรษาทวี่ ดั สทุ ธาวาส สกลนคร
จนถงึ พ.ศ. ๒๕๑๒ อนั เปน็ ปที ท่ี ่านมรณภาพ กค็ งไมน่ อ้ ยกวา่ ๒๘-๒๙ ปี จงึ พอ
จบั ใจความไดว้ า่ นบั แตว่ นั จติ หลดุ พน้ และครองขนั ธด์ ว้ ยใจทบี่ รสิ ทุ ธติ์ ลอดจนถงึ วาระ
สดุ ทา้ ย นบั วา่ นานพอสมควร ดงั นนั้ การทอ่ี ฐั ทิ า่ นสามารถกลายเปน็ พระธาตไุ ดอ้ ยา่ ง
รวดเร็วภายในเวลาไมถ่ ึงปเี ตม็ จงึ เปน็ ฐานะท่คี วรเปน็ ได้ไมม่ ีทางสงสัย
เฉพาะในจังหวัดเชียงใหม่ เท่าที่ทราบมามีพระอรหันต์สมัยปัจจุบันอุบัติขึ้น
ทนี่ นั่ ถงึ ๓ องค์ คอื ทา่ นพระอาจารยม์ น่ั ซงึ่ เปน็ อาจารยข์ องทา่ นทง้ั สององคน์ ้ี องคแ์ รก
ทา่ นอาจารยพ์ รหม และทา่ นอาจารย.์ ... ทา่ นยงั มชี วี ติ อยู่ เปน็ องคต์ อ่ มา สว่ นจงั หวดั อน่ื ๆ
ทางภาคอีสาน เช่น จังหวัดสกลนคร เป็นต้น ก็มีพระประเภทอัศจรรย์ได้ครอง
ธรรมบรสิ ทุ ธไ์ิ มด่ อ้ ยกวา่ จงั หวดั เชยี งใหมเ่ หมอื นกนั นอกจากไมม่ ใี ครทราบไดเ้ ทา่ นนั้
เพราะทา่ นไมเ่ ปน็ นกั พดู นกั โฆษณา ตา่ งทา่ นตา่ งรกู้ นั อยใู่ นวงการเฉพาะของนกั ปฏบิ ตั ิ
เทา่ นนั้ สถานทน่ี น้ั หมายถงึ ปา่ และเขาในจงั หวดั นนั้ ๆ ทที่ า่ นนกั ปฏบิ ตั ไิ ปอาศยั บำ� เพญ็
และได้บรรลมุ รรคผลสมความมุ่งหมายอยา่ งเงยี บๆ ไม่ค่อยมใี ครทราบ
ถา้ ไมน่ ำ� เรอ่ื งท่านมาเขยี นไว้บา้ งพอเปน็ รอ่ งรอย ศาสนธรรมกจ็ ะปรากฏแต่ชอื่
แตน่ าม สว่ นตวั จรงิ แทจ้ ะไมป่ รากฏ จงึ ไดต้ ดั สนิ ใจเขยี นลงในทา่ มกลางแหง่ ขวากหนาม
ซงึ่ นา่ จะไม่พน้ ความทิ่มแทงท่ีเกิดจากความขดั ข้องสงสยั ในแง่ตา่ งๆ ดังท่ีเคยเป็นมา
การกลา่ วทงั้ นี้ กลา่ วดว้ ยความเชอื่ สมรรถภาพของทา่ นนกั ปฏบิ ตั ทิ สี่ ามารถทำ� ตนใหเ้ ปน็
หลักจิตหลักธรรมอย่างม่ันคง และเช่ือถือตนได้อย่างตายใจหนึ่ง กล่าวด้วย
ความเชื่อสวากขาตธรรมท่ีประทานไว้ว่าจะเป็นสวากขาตธรรมอยู่อย่างตายตัว ไม่มี
การเปล่ียนแปลงไปตามสมัยนิยมแห่งสมมติท้ังหลายท่ีแสนปลิ้นปล้อนหลอกลวง
ประจำ� ตน ผเู้ ขา้ ยดึ อาศยั ไมม่ ที างไวใ้ จพอหายใจเตม็ ปอดตลอดมาหนงึ่ กลา่ วทางภาค
ปฏิบตั ิ ปฏเิ วธ อันเปน็ ทางแสดงออกแหง่ ผลแหง่ การปฏิบตั นิ ้อยมากวา่ ไมเ่ ป็นโมฆะ
เสยี กำ� ลงั ไปเปลา่ ไมม่ ผี ลเปน็ เครอ่ื งสนองตอบแทนความเหนอื่ ยยากจากการปฏบิ ตั หิ นงึ่
60
ทา่ นอาจารย์ท่กี ล่าวถงึ เหล่านี้ เปน็ อาจารย์ท่ีทรงมรรคขอ้ ปฏิบตั ิดว้ ยศลี สมาธิ
ปญั ญา อยา่ งเตม็ ภมู ไิ มม่ ที างตอ้ งติ และเปน็ อาจารยท์ ค่ี วรทรงผล คอื วมิ ตุ ติ หลดุ พน้
อยา่ งสมเหตสุ มผลตามธรรมทปี่ ระทานไว้จรงิ ไมข่ ัดแย้งกัน
ทา่ นทย่ี งั เชอื่ วา่ ธรรมยงั เปน็ ธรรมอยู่ ทา่ นอาจารยเ์ หลา่ นก้ี ค็ วรเปน็ ผทู้ รงมรรคผล
ดว้ ยขอ้ ปฏบิ ตั ติ ามนโยบายแหง่ ธรรม และอยใู่ นขา่ ย ปญุ ฺ กเฺ ขตฺ ไดอ้ ยา่ งไมแ่ คลงใจ
ไม่ฝืนใจในการเขียนเรื่องท่านลงในหนังสือเล่มต่างๆ และไม่แสลงใจท่านผู้อ่าน
ทง้ั หลายดังกลา่ วมา ท่นี อกเหนือไปจากน้ี ท่านผูใ้ ดจะคดิ เหน็ อย่างไรนัน้ ขอมอบให้
เป็นสิทธิของแต่ละรายโดยไม่ขอยื้อแย่งแบ่งส่วนด้วย เพราะธรรมมีบอกไว้ว่า
สัตว์มีกรรมและผลเป็นของตน คนอื่นจึงไม่ควรเข้าไปเกี่ยวข้องแย่งชิง จะผิดกับ
กฎแหง่ กรรมข้อนีท้ ีป่ ระกาศไว้อย่างตายตวั มาแต่ดกึ ด�ำบรรพ์
61
ชาตภิ ูมิของหลวงปพู่ รหม จริ ปญุ โฺ
พระคุณเจา้ หลวงปพู่ รหม จริ ปญุ โฺ มีนามเดมิ วา่ พรหม นามสกุล สภุ าพงษ์
เป็นบุตรคนหัวปีของนายจันทร์ สุภาพงษ์ และ นางวันดี สุภาพงษ์ หลวงปู่เกิด
วนั อังคาร แรม ๓ ค่�ำ เดือน ๖ ปขี าล ตรงกับวันที่ ๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๓๓
ณ บ้านตาล ตำ� บลโคกสี อำ� เภอสว่างแดนดิน จงั หวดั สกลนคร
หลวงปู่พรหมท่านมีพี่น้องร่วมบิดามารดาท้ังหมด ๔ คน เป็นชาย ๒ คน
หญิง ๒ คน เรยี งลำ� ดับดังนี้
๑. หลวงปพู่ รหม จิรปุญฺโ
๒. นายพมิ พา สภุ าพงษ์ ภายหลังไดบ้ วชเปน็ พระจนตลอดชวี ติ
๓. นางคำ� แสน สุภาพงษ์ ในประวตั ไิ ม่ไดก้ ลา่ วถงึ
๔. นางตื้อ สุภาพงษ์ ได้อุทิศชวี ติ บวชเปน็ ชี และเจรญิ อยใู่ นธรรมตลอดชีวติ
บดิ า-มารดา ของหลวงปเู่ ปน็ ชาวนาชาวไร่ ซง่ึ เปน็ อาชพี ดง้ั เดมิ สบื มาแตบ่ รรพบรุ ษุ
ปู่ย่าตายาย และเป็นตระกูลใจบุญสุนทาน มีศรัทธาเล่ือมใสในพระพุทธศาสนา
อยา่ งเหนียวแนน่ มัน่ คงเสมอมา เมอื่ ยงั เด็ก โยมบดิ ามารดาจะพาท่านเขา้ วัดท�ำบญุ
เปน็ ประจำ� ทกุ เชา้ สมาชกิ ของครอบครวั จะออกมาตกั บาตร บางวนั ทา่ นกจ็ ะถกู ใชใ้ ห้
ไปส่งอาหารเพลทว่ี ดั แทนโยมบดิ ามารดา ดงั น้ันหลวงปจู่ ึงมคี วามคุ้นเคยและผกู พัน
กับวัดกับพระเช่นเดียวกับเดก็ ในชนบทโดยทวั่ ไปในสมัยน้ัน
62
ในประวัติชีวิตไม่ได้ระบุเร่ืองการศึกษาของหลวงปู่ ถ้าพิจารณาตามช่วงอายุ
ของทา่ นคอ่ นขา้ งแนใ่ จวา่ หลวงปไู่ มเ่ คยเขา้ เรยี นในโรงเรยี น ดว้ ยในเวลานน้ั ในทอ้ งถน่ิ
ชนบทไทยยังไมม่ ีโรงเรยี นเหมอื นเชน่ ทุกวันน้ี เพราะโรงเรียนประถมศกึ ษาของไทย
เรมิ่ มีขน้ึ เปน็ โรงเรยี นแรกในปี พ.ศ. ๒๔๓๒ ทว่ี ดั มหรรณพาราม ในกรุงเทพฯ และ
การศกึ ษาภาคบงั คบั กม็ ขี นึ้ เปน็ ครงั้ แรกของประเทศในปี พ.ศ. ๒๔๖๔ คอื เมอ่ื ๙๐ ปี
มาน้เี อง
การศึกษาในต่างจังหวัดในสมัยน้ัน มีการสอนอยู่ตามวัดโดยพระสงฆ์ท่ีมี
ความรู้จดั สอนให้แกเ่ ดก็ และเยาวชนผ้สู นใจ โดยเปิดสอนการอ่านเขยี นหนังสือไทย
หนงั สอื ขอม หนงั สอื ธรรม และหนงั สอื ลาว ซงึ่ เปน็ ทน่ี ยิ มในภาคอสี านในยคุ สมยั นนั้
หลวงปู่ใช้ชีวิตในวัยเยาว์อยู่ท่ามกลางทุ่งนาป่าดง ได้อาศัยสภาพภูมิประเทศและ
สภาพการด�ำเนินชีวิตความเป็นอยู่เป็นครูสอน เป็นการสะสมความรู้ความคิดจาก
ประสบการณ์ตรงของการใช้ชีวิตในสังคมชนบทและในสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ
นน่ั เอง
63
อยากรู้ ...ความสุขอยทู่ ี่ไหน?
ในชีวิตจริงนับตั้งแต่เยาว์วัยรู้เดียงสา แม้จะใช้ชีวิตอยู่ท่ามกลางทุ่งนาป่าดง
เดก็ ชายพรหม สภุ าพงษ์ มคี วามแปลกกวา่ เดก็ คนอนื่ ๆ วยั เดยี วกนั คอื เฝา้ แตค่ รนุ่ คดิ
ถามตนเองอยเู่ สมอว่า อะไรคือความสขุ และความสุขทีแ่ ท้จริงอยทู่ ี่ไหนกนั แน่
เม่ือเตบิ ใหญข่ ้นึ มาเปน็ หนุ่ม หนมุ่ พรหม สุภาพงษ์ ก็ยังคงสงสัยค�ำถามเดิมๆ
ที่เคยคิดนึกมาแต่ต้น คือมักจะครุ่นคิดและถามตนเองว่า “คนเราเกิดมาแล้วน้ี
จะแสวงหาความสขุ ทแี่ ทจ้ รงิ ไดอ้ ยา่ งไร อะไรคอื ความสขุ ความสขุ ทแี่ ทจ้ รงิ อยทู่ ไ่ี หน”
จนแลว้ จนรอด หนมุ่ พรหม สภุ าพงษ์ กไ็ มส่ ามารถหาคำ� ตอบทพ่ี งึ พอใจใหก้ บั ตนเองได้
ได้แต่ครุ่นคิดค้นหาความจริงอยู่เงียบๆ ไม่เคยปริปากถามหรือบอกให้ใครรู้เลย
ดา้ นการงานทห่ี นมุ่ พรหมทำ� อยู่ กป็ ระกอบไปตามฐานะของตน คอื เชา้ มดื กอ็ อกไปชว่ ย
บดิ าทำ� งานในไรน่ า หวา่ นกลา้ ปกั ดำ� ไปจนกวา่ จะแลว้ เสรจ็ เมอื่ วา่ งจากหนา้ นากท็ ำ� ไร่
ทำ� สวน เพาะปลกู พชื ไรต่ า่ งๆ เพอ่ื นำ� มาเปน็ อาหารบา้ ง นำ� ไปขายสตู่ ลาดบา้ ง งานการขนึ้
อย่กู บั ฤดูกาล นบั เป็นการใช้ชวี ติ ที่จ�ำเจ ปแี ลว้ ปเี ลา่ ไมร่ จู้ ักจบจักสิน้
หลวงปพู่ รหมของเราในวยั เดก็ ทา่ นมคี วามขยนั ขนั แขง็ มาก อดทนชว่ ยกจิ การ
งานของครอบครัวอย่างเต็มก�ำลัง ครอบครัวของท่านจัดเป็นครอบครัวที่มีอันจะกิน
มฐี านะดกี วา่ ครอบครวั อน่ื ๆ ในละแวกเดยี วกนั การใชช้ วี ติ ของทา่ นในชว่ งวยั เดก็ และ
วยั รนุ่ จดั วา่ มคี วามสขุ สบายอยใู่ นเกณฑท์ นี่ า่ พอใจในสภาพของหมบู่ า้ นชนบทหา่ งไกล
ในสมัยน้นั
64
หรอื ว่ามเี มียคอื ความสขุ ?
หนุ่มพรหม สุภาพงษ์ ยังคงครุ่นคิดเร่ือง ‘ความสุข’ อยู่คนเดียวโดยไม่มี
ครบู าอาจารยค์ นใดคอยช่วยชแี้ นะให้ เมอื่ อายุย่างเขา้ ๒๐ ปี เข้าสู่วัยหนุ่มเต็มตัว
คำ� ตอบกเ็ รม่ิ ผดุ มาใหเ้ หน็ โดยมาฉกุ คดิ ไดว้ า่ “... หรอื วา่ การมคี รอบครวั นก่ี ระมงั ทจี่ ะ
น�ำความสุขมาให้เรา เพราะเท่าที่เห็นเพื่อนบ้านท่ีเขามีครอบครัวกันแล้ว ก็เห็นว่ามี
ความสขุ ดี ตา่ งคนตา่ งพงึ พอใจดว้ ยกนั ทง้ั นนั้ ” เมอ่ื หนมุ่ พรหม สภุ าพงษ์ เกดิ ความคดิ
เชน่ น้ีแลว้ ก็ได้แจ้งความประสงคข์ องตนให้บดิ ามารดาได้รบั รู้
บดิ ามารดาตลอดจนถงึ หมญู่ าตผิ ใู้ หญไ่ มม่ คี วามขดั ขอ้ งแตอ่ ยา่ งใด ประกอบดว้ ย
วยั กเ็ หมาะสมทจ่ี ะมลี กู มเี มยี ไดแ้ ลว้ ในสมยั นนั้ ทกุ คนจงึ เหน็ ดดี ว้ ย บดิ า มารดา และ
ญาติๆ ได้เท่ียวสอดส่องหาหญงิ สาวทค่ี ู่ควรซง่ึ มีกิรยิ ามารยาท ตลอดถึงฐานะความ
เป็นอยู่ทีเ่ หมาะสมเพอ่ื จะสขู่ อมาตบแตง่ เปน็ ภรรยาทา่ น
ไมน่ านกพ็ บกบั สาวนอ้ ยรปู งามคนหนงึ่ ชอื่ พมิ พา เปน็ คนบา้ นดงเยน็ ตำ� บลดงเยน็
อำ� เภอบ้านดงุ จังหวัดอุดรธานี ซ่งึ อยู่คนละจงั หวัดกนั กล่าวคือ หนุม่ พรหมเปน็
คนบา้ นตาล ตำ� บลโคกสี อำ� เภอสวา่ งแดนดนิ จงั หวดั สกลนคร ความจรงิ แลว้ สองอำ� เภอนี้
หาได้อยู่ไกลกันไม่ เพียงแต่ตั้งอยู่คนละฝั่งของล�ำน้�ำสงคราม ประชาชนท้ังสองฝั่ง
ถือเปน็ ญาติพีน่ ้องกัน ตา่ งข้ามฝง่ั น้ำ� ไปมาหาสู่กนั เปน็ ปกติ
เป็นอันว่า หนมุ่ พรหม สภุ าพงษ์ แหง่ บ้านตาล จังหวดั สกลนคร กบั สาวพิมพา
แหง่ บา้ นดงเยน็ จงั หวดั อดุ รธานี กไ็ ดเ้ ขา้ พธิ แี ตง่ งานกนั ตามประเพณี หลงั จากเขา้ พธิ ี
65
แต่งงานแล้ว หนุ่มพรหมกไ็ ดย้ า้ ยข้ามฝั่งแม่นำ�้ สงครามไปอยกู่ ับภรรยาท่บี า้ นดงเยน็
ไปปักหลกั ตงั้ ฐานแห่งชีวติ เปน็ ปึกแผ่นขนึ้ มา
ชีวิตครอบครัวใหม่ของหนุ่มพรหม-สาวพิมพา จัดว่ามีความสุขดี สมความ
ปรารถนาทุกประการ น่ีกระมังความสุขท่ีแท้จริงที่หนุ่มพรหม สุภาพงษ์ ใฝ่ฝันหา
มาตลอด แตท่ ุกอย่างอย่ภู ายใตก้ ฎอนจิ จงั ความไมเ่ ทยี่ ง
หลงั จากหนมุ่ พรหม-สาวพมิ พา ครองความสขุ อยไู่ มน่ าน กต็ อ้ งประสบพบคลนื่
แหง่ ความไมแ่ นน่ อนเขา้ จนได้ กลายเปน็ กระแสแหง่ ความวปิ โยคอยา่ งหนกั หนว่ งทสี่ ดุ
กล่าวคือภรรยาของท่านคือนางพิมพาได้ตั้งครรภ์ ครั้นคลอดบุตรคนแรกก็ต้อง
เสยี ชวี ิตลงไปพร้อมกับบุตร อนิจจา ความทุกขโ์ ศกคบั แคน้ ใจจงึ อบุ ตั ขิ ึน้ มาในชีวิต
ของพอ่ หนมุ่ พรหม ความคดิ ทวี่ า่ “การมคี รอบครวั แลว้ จะมคี วามสขุ ” นนั้ ตอ้ งพงั ทลาย
ลงไปจนหมดส้ิน
66
แตง่ งานครั้งทสี่ อง
ภายหลงั จากสญู เสยี ภรรยาและบตุ รไปพรอ้ มๆ กนั แลว้ ชวี ติ ของพอ่ หนมุ่ พรหม
สภุ าพงษ์ ในครง้ั นนั้ เปน็ เหมอื นคนสน้ิ หวงั ในใจวา้ เหวอ่ า้ งวา้ งทกุ ขท์ รมานใจ มองหา
ความสขุ ของชวี ติ ไมไ่ ดเ้ ลย บรรดาญาตพิ น่ี อ้ งตา่ งกส็ งสารและเหน็ ใจ จงึ ไดแ้ นะนำ� ให้
แตง่ งานอกี เปน็ ครง้ั ทสี่ อง แรกๆ ทา่ นกไ็ มไ่ ดส้ นใจอะไรนกั เพราะไดล้ มิ้ รสความทกุ ข์
จากการสญู เสยี มาแลว้ ซงึ่ ยากทจี่ ะเยยี วยาแกไ้ ขใหก้ ลบั มาสดชน่ื แจม่ ใสเหมอื นเดมิ ได้
แม้ระยะเวลาจะช่วยเยียวยาให้หายจากความทุกข์โศกไปได้บ้างแล้วก็จริง
แตจ่ ติ ใจของคนทเ่ี คยพบกบั ความผดิ หวงั มาแลว้ นนั้ อาจเปรยี บไดก้ บั แกว้ เมอ่ื มกี าร
แตกรา้ วไปแลว้ กย็ ากท่จี ะแต่งเตมิ ให้ดเี หมอื นเดมิ ได้ ฉันน้นั
ท่านได้เข้าพิธีแต่งงานอีกเป็นคร้ังที่สอง ภรรยาคนท่ีสองของท่านชื่อแม่นาง
กองแพง ได้ร่วมสขุ ร่วมทุกข์อยดู่ ว้ ยกันเป็นเวลา ๕ ปี ไมม่ ีบตุ รด้วยกนั นายพรหม
และนางกองแพงได้ช่วยกันท�ำมาหากินอย่างขยันขันแข็งจนสามารถสร้างฐานะได้
มัน่ คง จดั เปน็ ครอบครัวทมี่ ีอนั จะกินครอบครัวหนึ่งในถิน่ นน้ั ทา่ นมที ่ีดนิ ปลกู บ้าน
หลงั ใหญ่ เปน็ บา้ นแฝดสองหลงั ชานเรอื นอยรู่ ะหวา่ งกลาง มที สี่ วนและทน่ี าหลายแปลง
มีโคเปน็ รอ้ ยๆ ตวั และมกี ระบอื ไม่ต่ำ� กวา่ ๕๐ นบั วา่ มีฐานะมัน่ คงทสี่ ดุ ในหมู่บ้าน
ในขณะนนั้
67
ดา้ นนายพรหม สภุ าพงษ์ เอง นอกจากจะมคี วามขยันขนั แข็ง เอาการเอางาน
เปน็ พเิ ศษ สรา้ งฐานะไดอ้ ยา่ งมนั่ คงแลว้ ท่านยงั มจี ิตใจท่ดี ีงามไม่มีความบกพร่อง
เสยี หายดา้ นความประพฤติ ผูค้ นในหมู่บา้ นตา่ งใหค้ วามนบั ถอื และย�ำเกรง จัดเป็น
บคุ คลตวั อยา่ งของหมบู่ า้ น ทางฝา่ ยบา้ นเมอื งกม็ องเหน็ ความดแี ละคณุ ลกั ษณะความ
เปน็ ผนู้ ำ� ของทา่ น จงึ ไดแ้ ตง่ ตงั้ ใหท้ า่ นเปน็ ผใู้ หญบ่ า้ นแหง่ บา้ นดงเยน็ ซงึ่ กเ็ ปน็ ทยี่ อมรบั
ของลูกบา้ นเปน็ อันดี
ด้านอาชีพการงาน นอกจากจะท�ำนาท�ำไร่เหมือนชาวบ้านทั่วไปแล้ว ท่านยัง
ประกอบอาชพี คา้ ขาย โดยเปน็ หวั หนา้ นำ� หมพู่ อ่ คา้ โคกระบอื เพอ่ื นำ� ไปขายทางภาคกลาง
นอกจากนี้ท่านยังเป็นหัวหน้ากองคาราวานเกวียนบรรทุกหนังสัตว์และของป่าไป
จำ� หนา่ ยทจี่ งั หวดั นครราชสมี า ขากลบั กบ็ รรทกุ สนิ คา้ ตา่ งๆ เชน่ ตะกวั่ ดนิ ปนื เครอ่ื งนงุ่ หม่
ยา และข้าวของจำ� เปน็ ต่างๆ นำ� กลับมาขายยังท้องถนิ่ ของตน
ด้วยความเป็นผู้น�ำท่ีมีความสามารถของผู้ใหญ่พรหมนี้เอง ประชาชนลูกบ้าน
จงึ ขนานนามทา่ นวา่ ‘นายฮ้อยพรหม’ ซึง่ เป็นค�ำเรยี กขานทีถ่ อื ว่ามีเกยี รติยิ่ง
ครูบาอาจารย์ท่านบอกว่า “ผู้ท่ีจะได้รับการเรียกขานเป็นนายฮ้อย นายแถว
ในสมยั นนั้ ตอ้ งเปน็ คนมที รพั ยม์ คี วามดเี ปน็ ทยี่ อมรบั นบั ถอื ของคนอนื่ เสยี งนม้ี าจาก
ประชาชน ไม่ใช่การต้ังตัวเอง จงึ นับวา่ เป็นเกยี รตอิ นั สงู ส่งซงึ่ ใครๆ ก็กระหยิ่มอยาก
ได้กนั ”
68
ยังหาความสขุ ไมเ่ จอ
ผ้ใู หญพ่ รหม หรือ นายฮ้อยพรหม สภุ าพงษ์ มคี รอบครัวที่มีพร้อมบรบิ รู ณ์
ทกุ อยา่ ง นา่ จะมคี วามสขุ อยา่ งสมบรู ณเ์ ทา่ ทชี่ วี ติ ฆราวาสจะพงึ มี แตท่ า่ นผใู้ หญพ่ รหม
กลบั เห็นตรงกันขา้ ม ท่านมองเหน็ เปน็ ความทุกข์ความกงั วล และดูเหมอื นวา่ มนั เพ่ิม
ก�ำลงั ขนึ้ ทกุ ขณะจติ ไม่ว่ายืน เดิน นง่ั นอน ลว้ นแตเ่ ป็นกังวลเป็นทกุ ข์เป็นร้อน
ไปหมด ไม่มีความสุขสบายอย่างที่ท่านได้ด้ินรนไขว่คว้าหามาโดยตลอด ส่ิงที่เป็น
สาเหตสุ ำ� คญั ทน่ี ำ� ความทกุ ขม์ าสทู่ า่ นเมอื่ พจิ ารณาอยา่ งถว้ นถแ่ี ลว้ กไ็ ดแ้ ก่ สมบตั ทิ ท่ี า่ น
เสาะแสวงหาและสะสมไวน้ านน่ันเอง
การที่ท่านต้องคอยระแวดระวังเป็นกังวลและเป็นห่วงทรัพย์สมบัติข้าวของ
เงินทองนเ้ี ปน็ บ่อเกิดแหง่ ความทกุ ข์ เพราะเกรงว่าจะถกู ปลน้ เกรงว่าจะมลายหายไป
เกรงไปว่าไม่มีลูกเป็นผู้ด�ำเนินสืบทอด ร้อยแปดปัญหาท่ีท่านคิดกังวลในช่วงน้ัน
ในสว่ นลึกแห่งจติ ใจของท่านผ้ใู หญพ่ รหม ซ่ึงจะเปน็ ด้วยวาสนาบารมีเดิมหรือเปลา่
ก็ไมท่ ราบ จะคอยปลอบเตือนใจท่านวา่ “อนั สมบตั ินอกกายเหลา่ น้ี สกั วนั หนึ่งก็อาจ
ถงึ การวบิ ตั ไิ ดเ้ ปน็ ธรรมดา ไมม่ สี งิ่ ใดจะยนื ยงคงทนอยไู่ ดต้ ลอดไป แตส่ ง่ิ ทเ่ี ราตอ้ งการ
มากท่ีสดุ ได้แก่ความสขุ ท่แี ทจ้ รงิ ของชีวิต ไมใ่ ช่สมบัตขิ ้าวของเงนิ ทองเหล่านี้ ...”
69
นายฮ้อย...ฮ้อยบญุ ฮอ้ ยบาป
หลวงปพู่ รหม ไดเ้ ลา่ ประวตั แิ ละเรอ่ื งราวของทา่ นใหห้ ลวงปจู่ าม มหาปญุ โฺ ฟงั
เม่อื ครั้งท่หี ลวงป่จู ามตามขึ้นไปปฏบิ ัติธรรมทีเ่ ชยี งใหม่ ในปี พ.ศ. ๒๔๘๖ และได้
เล่าถา่ ยทอดต่อดังน้ี
“...แตก่ อ่ นบวช เพน่ิ (หลวงปพู่ รหม) เลา่ ใหฟ้ งั วา่ เปน็ ผใู้ หญบ่ า้ น ไดเ้ มยี แรกกต็ าย
ไปพรอ้ มกบั ลกู เพราะลกู ออกไมพ่ น้ ทวารขาขวางอยู่ เปน็ ทกุ ขอ์ ยปู่ กี วา่ ญาตพิ น่ี อ้ งกห็ า
เมียใหอ้ ีก ทนี พี้ อไดเ้ มียแลว้ ก็ต้งั ใจใหมต่ ั้งตวั ใหม่ ซอื้ ววั ควายเลี้ยงไวต้ ดิ ตอ่ กบั หมู่
เพื่อนบ้านอ่นื ท่ีเขาเป็นนายฮอ้ ย เอาควายเอาววั ไปขายได้เงินไดค้ ำ� ทางการบ้านเมือง
เขาเหน็ วา่ เรามเี งนิ มหี ลกั มฐี าน ทง้ั ชาวบา้ นญาตพิ นี่ อ้ งกพ็ รอ้ มใจกนั ใหเ้ ปน็ ผใู้ หญบ่ า้ น
ชวี ติ นเี้ กดิ มาทกุ ขแ์ ทท้ า่ นจามเอย๊ เปน็ นายฮอ้ ย เปน็ พอ่ คา้ เกวยี น เปน็ ผใู้ หญบ่ า้ น
โลกเขาวา่ นายฮอ้ ย แตธ่ รรมะวา่ ฮอ้ ยบญุ ฮอ้ ยบาป แตก่ อ่ นมนั ฮอ้ ยเอาแตบ่ าป จนทสี่ ดุ
ครอู าจารยส์ าร (ธมมฺ สาโร) เพนิ่ ไปโปรดสอนเอาเรอื่ งมหาทาน การบรจิ าค จงึ สละละทงิ้
ไปจนหมด แล้วชวนเมยี ออกบวช เขากเ็ หน็ ดเี หน็ พร้อมดว้ ย เหน็ เบือ่ หน่ายเห็นโทษ
เขายงิ่ เบอ่ื กวา่ เรา ออกบวชไปกอ่ น ผมวา่ จะบวชกม็ าตดิ อยกู่ บั สรา้ งวดั ยงั ไมเ่ สรจ็ สรา้ งวดั
เสรจ็ แลว้ ก็ไปบวชอยู่วัดโพธ์ิ (วัดโพธิสมภรณ์ ในเมืองอดุ รธานี) ทันที บวชแล้วก็ไป
กบั ครูอาจารยส์ าร ลุถึงเมอื งอบุ ล อยูอ่ ุบล ๓ ป.ี ...”
70
พบกับศษิ ยข์ องหลวงปู่มนั่ ฯ
พระอาจารย์สาร ธมฺมสาโร เป็นพระธดุ งค์ และเปน็ ศษิ ยอ์ าวุโสของหลวงปู่มนั่
ภรู ทิ ตโฺ ต พวกเราไมท่ ราบประวตั ขิ องพระอาจารยส์ าร แมแ้ ตส่ มณฉายาของทา่ นกเ็ พงิ่
มาทราบจากในหนังสือประวตั ิของหลวงปจู่ าม มหาปญุ โฺ (พ.ศ. ๒๕๕๓) น้ีเอง
ทราบเพียงว่าท่านเป็นพระชาวจังหวัดอุบลราชธานี ได้ออกปฏิบัติธรรมติดตาม
หลวงปู่ม่นั หลายปี โดยเฉพาะช่วงทห่ี ลวงป่มู นั่ เท่ยี ววิเวกอยู่ตามป่าเขาทางภาคเหนอื
แถบอำ� เภอเชยี งดาว พร้าว และแถวเวยี งปา่ เปา้ นนั้ ทราบวา่ พระเณรองค์ใดต้องการ
เขา้ กราบหลวงปมู่ นั่ จะตอ้ งไดร้ บั การกลน่ั กรองและไดร้ บั อนญุ าตจากพระอาจารยส์ าร
เสยี กอ่ น แสดงวา่ ทา่ นไดร้ บั ความไวว้ างใจจากหลวงปมู่ นั่ มากในสมยั นนั้ กน็ า่ เสยี ดายท่ี
ไมส่ ามารถคน้ หาเรอ่ื งราวของพระอาจารยส์ ารได้ จะมปี รากฏกใ็ นประวตั ขิ องหลวงปพู่ รหม
จิรปุญฺโ และท่านก็เป็นพระอาจารย์กรรมฐานองค์แรกของหลวงปู่พรหมด้วย
พระอาจารย์สารองค์นเ้ี ปน็ ผ้ใู หส้ ติให้ขอ้ คดิ ซึง่ หลวงปู่พรหมท่านเลอ่ื มใสศรทั ธามาก
ถงึ ขนั้ สละทรพั ยส์ มบตั ทิ ง้ั หมดแลว้ ออกบวชเพอื่ คน้ หา “ความสขุ ทแี่ ทจ้ รงิ ”
กลา่ วถงึ ทา่ นผใู้ หญพ่ รหม หรอื นายฮอ้ ยพรหม ขณะทอ่ี ายุ ๓๐ ปกี วา่ ๆ ถงึ จะมี
ฐานะมัน่ คง มที รพั ย์สินบรบิ ูรณ์ ไดร้ ับเกยี รติและความเชื่อถือย�ำเกรงจากประชาชน
ท่ัวไป รวมทั้งในครอบครัวก็มีความรักใคร่ปรองดองดี ไม่เคยทะเลาะเบาะแว้งกัน
ถือเป็นชีวิตฆราวาสท่ีสมบูรณ์และบริบูรณ์ตามยุคสมัย ความคิดครั้งแรกๆ ที่ว่า
เมอื่ มีครอบครวั มีทรัพยส์ มบตั ิบรบิ ูรณ์แล้วความสุขจะเกดิ ข้นึ มาตามล�ำดบั แตก่ ลบั
ตรงกันขา้ มอีก มแี ตเ่ จา้ ความทุกขล์ ้อมหน้าลอ้ มหลัง ทำ� ใหเ้ กิดความกงั วลหวาดกลัว
ต่อภัยอย่างนับไม่ถ้วนรอบด้าน เพราะทรัพย์สมบัติเหล่านี้เป็นเหตุที่น�ำมาทั้งความ
71
สมหวงั และกน็ ำ� ความผดิ หวงั มาใหด้ ว้ ยไมเ่ ทยี่ งแทแ้ นน่ อนเปน็ ธรรมดา เมอ่ื มี “สมบตั ”ิ
แลว้ “วบิ ตั ”ิ กม็ แี ฝงอยใู่ นนนั้ ดว้ ย ซงึ่ เปน็ วสิ ยั ธรรมดาของโลกทเ่ี รยี กวา่ “โลกธรรม”
ผไู้ มม่ อี ปุ นสิ ยั ในเมอ่ื ไดล้ าภไดย้ ศยอ่ มมวั เมาลมุ่ หลงและเพลดิ เพลนิ อยเู่ สมอ หารไู้ มว่ า่
ความ “วิบตั ิ” จะมาถงึ ตนได้
สำ� หรบั ตวั ทา่ น (หลวงปพู่ รหม) ในขณะนนั้ ถงึ จะมคี วามรกั ความอาลยั ในทรพั ย์
สมบตั ิเหลา่ นนั้ อยูก่ ็ไมม่ วั เมา ยังครนุ่ คดิ ท่จี ะแสวงหาความสขุ ย่งิ ขนึ้ ไปกวา่ น้ี ตอนนี้
กค็ ลา้ ยๆ กบั ดอกบวั ทกี่ ำ� ลงั จะพน้ นำ้� รอคอยรบั แสงจากพระอาทติ ยอ์ ยู่ กพ็ อดไี ดพ้ บ
กลั ยาณมติ ร คอื ทา่ นอาจารยส์ าร เดนิ ธดุ งคม์ าจากจงั หวดั อบุ ลราชธานี ทา่ นเปน็ ลกู ศษิ ย์
ของหลวงป่มู น่ั ภรู ิทตฺโต
พระอาจารย์สารเที่ยวแสวงหาวิเวกเผยแผ่พระธรรมค�ำสอนแก่ประชาชนมา
เรอื่ ยๆ ผา่ นเขา้ มาถงึ หมบู่ า้ นดงเยน็ ในระหวา่ งนน้ั ทา่ นผใู้ หญพ่ รหมผมู้ อี ปุ นสิ ยั เบาบาง
ผเู้ ปน็ อบุ าสกไดท้ ราบขา่ ว กร็ บี จดั แจงแตง่ เครอ่ื งสกั การะออกไปตอ้ นรบั พระอาจารยส์ าร
ซ่งึ ทา่ นพักวิเวกในปา่ ใกลบ้ า้ นดงเย็นนั้น
พอไปถงึ ไดถ้ วายสกั การะเคารพกราบไหวต้ ามวสิ ยั ของสปั บรุ ษุ ไดร้ บั ความเมตตา
กรุณาจากทา่ นเปน็ อันดี เม่อื มโี อกาส ทา่ นผ้ใู หญพ่ รหมก็เรยี นถามทา่ นอาจารยส์ าร
ในขอ้ ทตี่ นสงสยั อดั อนั้ มานาน “... แตก่ อ่ นกระผมเขา้ ใจวา่ มคี รอบครวั แลว้ จะมคี วามสขุ
คร้นั มีครอบครัวแล้ว ค้นหาความสุขเช่นนั้นกไ็ มพ่ บอกี กระผมจงึ ขอเรยี นถามทา่ น
อาจารยว์ า่ “ความสขุ นนั้ อยทู่ ตี่ รงไหนกนั แน”่ กระผมทำ� อยา่ งไรจงึ จะไดป้ ระสบความสขุ
ทีแ่ ท้จรงิ เช่นนน้ั ไดใ้ นชวี ติ ”
พระอาจารยส์ ารใหโ้ อวาทเปน็ การตอบทถ่ี กู ตอ้ งและจบั ขว้ั หวั ใจของอบุ าสกพรหม
วา่ “ถ้าอยากจะประสบความสุขที่ปรารถนาอย่นู นั้ ต้องละอารมณค์ ือรักใคร่พอใจใน
กามคณุ ๕ ไดแ้ ก่ ความพอใจในรปู ในเสยี ง ในกลน่ิ ในรส ในสมั ผสั อนั เปน็ เหยอ่ื ลอ่
ใหต้ ดิ อยใู่ นกองทกุ ขเ์ สยี ใหห้ มดสน้ิ ไปจากใจ ความสขุ ทป่ี รารถนาอยนู่ นั้ กจ็ ะฉายแสง
ออกมาใหป้ รากฏเหน็ ตามสมควรแกค่ วามเพยี รทไ่ี ดท้ มุ่ เทลงไปในทางทถ่ี กู ทชี่ อบ ...”
72
ตดั สินใจออกบวช
ตงั้ แตเ่ กดิ มาและพอจำ� ความได้ พอ่ ออกพรหม สภุ าพงษ์ เฝา้ แตถ่ ามหาความสขุ
ทแ่ี ทจ้ รงิ ในชวี ติ มาตลอด แตก่ ย็ งั ไมพ่ บความสขุ ทวี่ า่ นน้ั และไมท่ ราบจะไปหาไดท้ ไี่ หน
อยา่ งไร
จนกระทง่ั ไดฟ้ งั ธรรมและปฏบิ ตั สิ มาธภิ าวนากบั พระอาจารยส์ ารในครงั้ นนั้ จงึ ได้
ประสบกับความสุขสงบภายในจิตใจอย่างท่ีไม่เคยพบมาก่อน พร้อมทั้งพอจะทราบ
คำ� ตอบไดเ้ ลาๆ วา่ “ความสขุ ทแ่ี ทจ้ รงิ นน้ั อยทู่ ไี่ หน” ทา่ นจำ� เปน็ ตอ้ งลงมอื คน้ หาอยา่ ง
จริงจงั เพื่อไปส่สู ิง่ นน้ั ให้จงได้
คำ� เทศนข์ องพระอาจารยส์ ารตอนหนงึ่ ยังตราตรงึ อย่ใู นห้วงความคิดของท่าน
อยา่ งแนบแนน่ “ถา้ อยากประสบความสขุ ทป่ี รารถอยนู่ น้ั ตอ้ งละอารมณ์ คอื รกั ใครพ่ อใจ
ในกามคณุ ๕ ไดแ้ ก่ ความพอใจในรปู ในเสยี ง ในกลน่ิ ในรส ในสมั ผสั อนั เปน็ เหยอ่ื ลอ่
ใหต้ ดิ อยใู่ นกองทกุ ขเ์ สยี ใหห้ มดสน้ิ ไปจากใจ ความสขุ ทปี่ รารถนาอยนู่ นั้ กจ็ ะฉายแสง
ออกมาให้ปรากฏเห็นตามสมควรแก่ความเพียรท่ีได้ทุ่มเทลงไปในทางท่ีถูกท่ีชอบ”
คำ� เทศนข์ องพระอาจารยส์ ารเปน็ คำ� ตอบทถี่ กู ใจของพอ่ ออกพรหมมาก เปน็ การชที้ าง
สว่างเพือ่ ไปพบกบั ความสุขท่ที ่านแสวงหามาตลอดนน่ั เอง
เมอ่ื พอ่ ออกพรหมไดร้ บั การแนะนำ� แนวทางปฏบิ ตั จิ ากพระอาจารยส์ ารเชน่ นนั้ แลว้
มคี วามเบาใจ ประหนงึ่ วา่ ความสขุ ทปี่ รารถนาอยแู่ ลว้ นนั้ จะไดป้ ระสบในเรว็ ๆ น้ี แลว้ ทา่ น
73
กด็ ำ� รติ อ่ ไปอกี วา่ “ถา้ เรายงั พวั พนั เกยี่ วขอ้ งอยกู่ บั ครอบครวั ทรพั ยส์ มบตั ิ เรอื กสวนไรน่ า
มวั เมาอยใู่ นความเปน็ ใหญแ่ ละในการคา้ การขายเชน่ น้ี นบั วนั กจ็ ะเหนิ หา่ งจากความสขุ
ทีเ่ ราปรารถนาอยู่ตอนนี้”
พอ่ ออกพรหมไดต้ กลงปลงใจทจ่ี ะสละครอบครวั และทรพั ยส์ มบตั อิ อกบวชใน
พระพทุ ธศาสนา ทา่ นดำ� ริตอ่ ไปวา่ “ก่อนจะบวช เราควรจะเอาเยยี่ งพระเวสสันดร
ตามทเี่ คยสดับมาวา่ พระเวสสันดรนน้ั ท่านได้สละทกุ สงิ่ ทุกอย่าง ตลอดถึงลกู เมยี
เครอื ญาติ ออกบวชบำ� เพญ็ บารมเี พอ่ื พระโพธญิ าณในเบอื้ งหนา้ ในทส่ี ดุ พระองคก์ ไ็ ด้
ตรสั รคู้ วามจรงิ คอื อรยิ สจั ธรรมทงั้ ๔ เปน็ ศาสดาครสู อนเทวดาและมนษุ ยท์ งั้ หลาย
ผลท้ังนยี้ ่อมสำ� เร็จมาจากการเสยี สละของพระองค์”
74
จัดการบวชชใี ห้ศรภี รรยา
เหตกุ ารณน์ นี้ า่ จะอยรู่ ะหวา่ งปี พ.ศ. ๒๔๖๙-๒๔๗๐ เมอื่ หลวงปพู่ รหมยงั ครอง
เพศฆราวาส อายรุ ะหว่าง ๓๕-๓๖ ปี อย่กู นิ กับแมก่ องแพง ภรรยาคนทีส่ องมาได้
๕ ปี แตไ่ มม่ บี ตุ รด้วยกนั
ในประวตั ขิ องหลวงปพู่ รหม จริ ปญุ โฺ บนั ทกึ ไวว้ า่ เมอื่ พอ่ ออกพรหมตดั สนิ ใจ
แน่วแน่ว่าจะสละครอบครัวและทรัพย์สมบัติท้ังหมดเพื่อออกบวชอย่างแน่นอนแล้ว
วนั หนึ่งท่านได้เอ่ยปากถามแมก่ องแพงว่า “เธอจะบวชชไี หม” ฝา่ ยแม่กองแพงนกึ ว่า
ทา่ นพูดเลน่ จึงได้ตอบไปวา่ “บวชกบ็ วชซิ”
ปกตนิ สิ ยั ของพอ่ ออกพรหม ทา่ นเปน็ คนทพ่ี ดู นอ้ ย พดู ตรงไปตรงมา ไมอ่ อ้ มคอ้ ม
ซง่ึ การพูดครั้งนน้ั ภรรยาของทา่ นกไ็ มน่ กึ วา่ จะเปน็ ความจริง จึงออกปากตอบรับไป
อยา่ งนัน้ เอง ไม่ไดค้ ดิ อะไรมาก
ครั้นแมก่ องแพงตอบรบั ว่าจะบวชชีแลว้ ทา่ นก็บอกให้เตรยี มหุงหาอาหารเพื่อ
นำ� ไปวัดในเช้าวนั รุง่ ขนึ้ ร่งุ ข้ึนเช้าแหง่ “วนั ทรงจำ� ” พ่อออกพรหมและแม่กองแพง
กพ็ ากนั ไปวดั โคกคอน เหมอื นไปทำ� บญุ ตามปกติ ทา่ นไดก้ ราบเรยี นหลวงพอ่ เจา้ อาวาส
ขอใหภ้ รรยาไดบ้ วชชตี ามความประสงค์ ตอ่ จากนนั้ กไ็ ดโ้ กนผมใหก้ บั ภรรยาของทา่ นเอง
แล้วท�ำพิธบี วชเปน็ แมช่ ีอย่ทู ว่ี ดั นนั้ ตง้ั แตบ่ ดั นัน้ เลย
75
ในบันทึกประวตั ิของหลวงปู่ มเี ขียนในตอนนวี้ ่า
“...การบวชชีครั้งน้ัน เป็นไปอย่างปจั จุบันทันด่วน แมก่ องแพงเองยงั ไมท่ นั คดิ
และตงั้ หลักไมท่ ัน แตผ่ ู้เฒ่าผแู้ กผ่ ู้อยู่ในเหตุการณ์เลา่ ให้ฟงั วา่ แม่กองแพงผู้ภรรยา
ของทา่ นถงึ กบั พดู ไมอ่ อก แตเ่ มอ่ื ไดร้ บั ปากกบั ทา่ นไปแลว้ กถ็ อื วา่ เลยตามเลย เพราะ
จะแก้ไขอะไรไม่ได้แล้ว” แม่กองแพงก็บวชเป็นแม่ชีและพักจ�ำพรรษาท่ีวัดโคกคอน
แห่งนน้ั แล้วต้ังใจปฏิบัติธรรมเตม็ ท่ี ในประวตั ไิ ม่ไดบ้ อกถงึ เรอื่ งราวของแมช่ ีทราบ
แตว่ ่าท่านบวชเปน็ ชอี ยจู่ นตลอดชีวติ
ขอ้ มลู อกี สว่ นหนง่ึ ทผ่ี มไดร้ บั ฟงั จากหลวงพอ่ เปลย่ี น ปญฺ าปทโี ป ทา่ นเลา่ ใหฟ้ งั
วา่ “แมก่ องแพง ทา่ นเปน็ คนใจเดด็ มศี รทั ธาในเรอื่ งงานบญุ งานกศุ ล เคยไปคา้ งคนื
ถือศีลอุโบสถในวันพระและฟังธรรมกับหลวงปู่ม่ันมาบ้างแล้ว เมื่อทราบว่าสามี
ต้องการจะบวช แม่กองแพงก็ตัดสนิ ใจชิงบวชชีเสยี กอ่ น ปล่อยใหส้ ามีอยจู่ ดั การกบั
ทรพั ยส์ มบตั แิ ตเ่ พยี งผเู้ ดยี ว จะอยา่ งไรกต็ ามเปน็ อนั วา่ แมก่ องแพงไดส้ ละครอบครวั
บวชเปน็ แมช่ กี อ่ นทา่ นผใู้ หญพ่ รหม และปลอ่ ยใหผ้ ใู้ หญพ่ รหมจดั การกบั ทรพั ยส์ มบตั ิ
ตามลำ� พังคนเดยี วอยู่ราว ๑ ปี จึงไดเ้ ข้าพิธบี วชเป็นพระภกิ ษใุ นภายหลงั ”
เหตกุ ารณใ์ นครงั้ นน้ั ยอ่ มเปน็ เครอื่ งชชี้ ดั วา่ ทง้ั ทา่ นผใู้ หญพ่ รหมและแมก่ องแพง
มีความเดด็ เดี่ยวม่นั คงทงั้ คู่ ทางดา้ นของผูใ้ หญพ่ รหมหรือหลวงปู่พรหมนนั้ ทา่ นมี
ความมนั่ คงเดด็ เดย่ี วประจำ� นสิ ยั ของทา่ นอยแู่ ลว้ เมอ่ื ทา่ นตดั สนิ ใจทำ� อะไร ทา่ นจะทำ� จรงิ
จะต้องท�ำใหส้ �ำเร็จ และก็สำ� เร็จทกุ คร้งั ตามที่ทา่ นต้ังใจด้วย
76
สรา้ งทานบารมีก่อนทจี่ ะบวช
ตามประวตั บิ อกวา่ แมช่ กี องแพงเขา้ วดั บวชชอี ยู่ ๑ ปี กอ่ นทพี่ อ่ ออกพรหมจะเขา้
พิธีอุปสมบท ทั้งนี้เป็นเพราะว่าพ่อออกพรหมต้องใช้เวลาระยะหนึ่งเพื่อจัดการกับ
เหยา้ เรอื น เรอื กสวนไรน่ า ฝงู ววั ควาย และทรพั ยส์ มบตั ทิ ง้ั หมด ซงึ่ ทา่ นไดส้ ะสมไวเ้ ปน็
จ�ำนวนมาก เน่ืองจากในประวัติของท่าน ส่วนใหญ่จะเป็นเร่ืองที่ลูกศิษย์ลูกหาได้
พยายามนกึ ย้อนถงึ เรอ่ื งราวของทา่ นตามทไ่ี ด้เคยรเู้ ห็นหรอื เคยได้รับฟงั มาแลว้ น�ำมา
ถ่ายทอดต่อ ขอ้ มลู จึงมแี ตกตา่ งผดิ เพ้ียนกันไปบ้าง
หลวงพอ่ เปลย่ี น ปญฺ าปทโี ป แหง่ วดั อรญั ญวเิ วก บา้ นปง ตำ� บลอนิ ทขลิ อำ� เภอ
แมแ่ ตง จงั หวดั เชยี งใหม่ ซงึ่ เปน็ ศษิ ยส์ ำ� คญั องคห์ นง่ึ ของหลวงปพู่ รหม และมบี า้ นเกดิ
อยใู่ นพนื้ ทเี่ ดยี วกนั เคยเลา่ เรอ่ื งของหลวงปพู่ รหมใหผ้ มกบั อาจารยภ์ ทั รา นคิ มานนท์ ฟงั
เมอื่ ปี พ.ศ. ๒๕๔๗ ดังนี้
“...อาตมาเกย่ี วขอ้ งกบั หลวงปพู่ รหมตง้ั แตส่ มยั แรกจะบวช (กอ่ นบวช) ถา้ เกยี่ วขอ้ ง
จริงๆ นนั้ ตงั้ แต่พอ่ อาตมาก็เปน็ พอ่ คา้ เหมือนกัน พอ่ อาตมาท่านเปน็ นายฮ้อย เปน็
ผรู้ ำ่� รวย พอ่ อาตมายงั หนมุ่ ยงั ไมแ่ ตง่ งานเวลานน้ั เปน็ พอ่ คา้ ดว้ ยกนั กบั หลวงปพู่ รหม
เมื่อตอนท่ีท่านยังไม่ได้บวช ต่อมาเมื่อพ่ออาตมาแต่งงานแล้ว ก็ยังค้าขายด้วยกัน
ขายโคเมอื งมอระแหม่ง (เมอื งมะละแหมง่ ในประเทศพม่า) ไล่ฝูงวัวจากสกลนคร
จากอดุ รฯ ไปขายยังพมา่ ต้งั แต่หลวงปู่พรหมยังเปน็ โยม ยงั ไม่ได้บวช...”
77
ไม่ทราบว่าท่านไปรับฟังเทศน์หลวงปู่มั่นที่ไหนก็ไม่รู้ ตอนท่านยังเป็นฆราวาส
แลว้ ทา่ นกอ็ ยากบวช (ชว่ งนน้ั หลวงพอ่ เปลยี่ นยงั เปน็ เดก็ อายปุ ระมาณ ๑๐ ขวบ) ทา่ นก็
สละทง้ิ ทรพั ยส์ มบตั หิ มดเลย ทง้ิ ปนื ผาหนา้ ไมอ้ ะไรๆ แหอวนอะไรกท็ งิ้ หมด ขา้ วของ
อาวธุ ตา่ งๆ ก็ไมม่ ีเหลือ ท้งิ หมดบริจาคทาน คนไหนทานอะไรได้ ท่านบริจาคหมด
บา้ นนนั้ ทา่ นกร็ อ้ื บา้ นทา่ นเปน็ เรอื นแฝด บา้ นทา่ นหลงั ใหญ่ แตก่ อ่ นทา่ นปลกู เปน็ เรอื นคู่
มลี านอยตู่ รงกลาง กร็ อื้ บา้ นหลงั หนง่ึ มาสรา้ งกฏุ ใิ นวดั ถวายวดั ประสทิ ธธิ รรม อำ� เภอ
บา้ นดงุ ทกุ วนั น้ี มาทำ� วดั ปา่ เมยี เหน็ ผวั ทำ� อยา่ งนน้ั กเ็ ตน้ ออกมาบวชเปน็ แมช่ กี อ่ นเลย
เมยี ออกบวชกอ่ น เมยี ทา่ นชอื่ แมช่ นั้ (ชอื่ ทเ่ี พอื่ นบา้ นเรยี ก) ออกไปบวชเปน็ แมช่ กี อ่ นเลย
หลวงปู่พรหมยังไม่ได้ไปสิทีนี้ ยงั ช�ำระนา นายกให้โยมชื่อสโี ห บ๊อ? เอา้ เอานาไป
เอาบา้ นไป บา้ นเอาแคห่ ลงั นห้ี ลงั เดยี ว (อกี หลงั หนงึ่ ยงั ไมไ่ ดร้ อ้ื ชว่ งแรกเกบ็ ไวเ้ ผอื่ แมช่ ี
ภรรยาของทา่ นจะเปลย่ี นใจสกึ ออกมา เมอ่ื แนใ่ จวา่ แมช่ ไี มย่ อมสกึ แลว้ ทา่ นจงึ ไดร้ อื้
ถวายวัดในภายหลัง)
อนั นก้ี เ็ พราะทา่ นไดฟ้ งั เทศนห์ ลวงปมู่ นั่ แตว่ า่ ฟงั ทไี่ หนกไ็ มร่ ู้ ไมร่ จู้ กั ประวตั ขิ อง
ท่านในตอนน้ี พอออกมาแล้ว ทา่ นกม็ าบวชต้ังใจบ�ำเพ็ญ อาตมาได้ฟังเทศน์หลวงปู่
ตอนนั้นหลวงปู่บวชแล้ว แตย่ ังไมไ่ ด้ข้นึ มาเชียงใหม”่
สรปุ แลว้ หลวงปพู่ รหมทา่ นสละบรจิ าคบา้ นเรอื นไรน่ าทรพั ยส์ มบตั ทิ ง้ั หมดแลว้
ท่านก็บวชเป็นพระ และแมบ่ ้านของท่านกอ็ อกบวชชีปฏบิ ตั ิธรรมจนตลอดชวี ิต
78
ตงั้ กองบุญบวชนาค
ขอ้ มลู จากหนงั สอื ทร่ี ะลกึ ในงานประชมุ เพลงิ ศพของหลวงปพู่ รหม ในปี พ.ศ. ๒๕๑๔
ได้เขียนเรอ่ื งการบริจาคทรัพยส์ มบัตขิ องหลวงปู่ ดังน้ี
“เมอ่ื ความตกลงใจจะออกบวช และสละสมบตั บิ รรดาทม่ี อี ยเู่ ชน่ นแ้ี ลว้ กไ็ ดน้ ดั
ประชมุ ประชาชนในหมบู่ า้ นวา่ ใครตอ้ งการอะไรในวตั ถสุ มบตั ทิ ม่ี อี ยู่ เชน่ โค กระบอื
เงินทอง และเคร่อื งใชต้ า่ งๆ ท่ีมอี ยู่ ให้มารับเอาไป
ในตอนน้ี ทา่ นไดม้ ศี รทั ธาอนั แรงกลา้ จดั ตง้ั กองบญุ ๒๐ กอง เพอื่ จะบวชนาค
๒๐ นาค แต่เมือ่ จะบวชจริงๆ ปรากฏวา่ ไดบ้ วชนาคเพียง ๑๒ นาคเทา่ นน้ั จะเป็น
เพราะเหตผุ ลกลใดไม่ทราบเง่อื นไขในเรือ่ งนดี้ ีนัก
ท่านได้สร้างวัดข้ึน ๑ วัด พร้อมกับท�ำร้ัววัดด้วยทุนทรัพย์ของท่านเป็นการ
เรียบร้อย ในกาลต่อมา ท่ีดินในวัดนั้นได้กลายเป็นที่ดินท่ีตั้งโรงเรียนประชาบาล
บ้านดงเย็นพรหมประชาสรรค์ ต่อจากน้ันท่านก็ได้สละทานวัตถุต่างๆ ตลอดจน
ขา้ วเปลอื กในยงุ้ ในฉางแกค่ นยากจน หรอื แกบ่ คุ คลทสี่ มควรจะให้ ทา่ นสละอยอู่ ยา่ งนน้ั
เป็นเวลาหลายวัน ยังเหลือไว้แต่เรือน ๒ หลัง ในกาลต่อมา ท่านได้อนุญาตให้
นางกองแพง ซึ่งเปน็ ศรภี รรยาของท่าน ออกบวชเปน็ นางชีก่อนเป็นเวลา ๑ ปี และ
ยงั มชี วี ติ อยจู่ นกระทงั่ ทกุ วนั นี้ (หมายถงึ ปี พ.ศ. ๒๕๑๒ ปที ห่ี ลวงปพู่ รหมมรณภาพ)
79
เรอื น ๒ หลงั ทเ่ี หลอื อยนู่ นั้ หลงั ทหี่ นงึ่ รอ้ื ไปปลกู เปน็ กฎุ ทิ วี่ ดั ปา่ เปา้ หลงั ทส่ี อง
ไปปลูกเปน็ กฏุ ทิ ว่ี ัดผดุงธรรม (วัดใน) บ้านดงเย็น การเสยี สละทานที่ทา่ นไดบ้ ำ� เพ็ญ
ในครงั้ นน้ั ยากทบ่ี คุ คลจะทำ� ไดเ้ ชน่ น้ัน เชน่ ได้สละทรพั ยส์ ร้างวดั สน้ิ เงินไป ๑ ช่ัง
๒ ต�ำลึง ๒ บาท เงนิ ชัง่ ในครั้งกระโน้นคิดเทยี บในปัจจบุ นั ก็เป็นจำ� นวนมากพอดู
ในเรอ่ื งการบำ� เพญ็ ทานของหลวงปพู่ รหมในครงั้ นนั้ มขี อ้ ทนี่ า่ คดิ คอื ทา่ นไมใ่ ห้
ทานเครือ่ งดกั สตั ว์ และเครอื่ งอุปกรณ์เก่ียวกับการท�ำลายชีวิต เช่น แห อวน เบด็
ตะกัว่ ซืน ดินประสวิ และหินปากนก สิ่งเหล่านที้ า่ นขนไปทิ้งหมด โดยไมม่ ีใครร้ทู ่ี
ทที่ า่ นทง้ิ คำ� บอกเลา่ จากบางแหลง่ บอกวา่ ทา่ นเอาไปฝงั ดนิ ไวใ้ นปา่ แลว้ ไมม่ ใี ครทราบวา่
ท่านนำ� ไปฝงั ไว้ทีใ่ ด ท่านถือว่า “ของเหล่านีแ้ มใ้ ครได้ไป เขาก็จะไปกอ่ กรรมก่อภยั
ให้แก่ตนเองอกี ” ท่านจึงไมใ่ หใ้ ครเลย”
80
เขา้ สรู่ ม่ กาสาวพัสตร์
เปน็ อนั วา่ พอ่ ออกพรหม สภุ าพงษ์ ไดส้ ละทรพั ยส์ มบตั เิ รอื กสวนไรน่ า บา้ นเรอื น
รวมทง้ั จดั การใหภ้ รรยาบวชเปน็ แมช่ แี ลว้ ทา่ นกร็ สู้ กึ เปน็ อสิ ระจากเครอ่ื งรดั รงึ ทงั้ ปวง
กายเบาใจเบาอย่างไม่ต้องห่วงกงั วลกบั เรอ่ื งอะไรอีกแล้ว
มขี ้อมูลส่วนหนึง่ บอกว่า กอ่ นออกบวช พ่อออกพรหมไดเ้ ก็บบา้ นเปลา่ ๆ ไว้
หลงั หนง่ึ เผอ่ื ไวใ้ หแ้ มช่ กี องแพง ถา้ หากวา่ ทนอยเู่ ปน็ แมช่ ไี มไ่ ด้ หากสกึ ออกมากจ็ ะไดม้ ี
บา้ นอยอู่ าศยั แตถ่ า้ ไมส่ กึ ออกมากถ็ อื วา่ เปน็ บญุ ของเขาไป ภายหลงั เมอ่ื แมช่ กี องแพง
ไม่หวนกลับมาใช้ชีวิตฆราวาสอีก บ้านหลังน้ันจึงได้ร้ือแล้วนำ� ไปสร้างกุฏิถวายวัด
ต่อไป นอกจากนี้ พ่อออกพรหมก็เหลือเงินไว้จ�ำนวนหน่ึงเพ่ือเป็นค่าใช้จ่ายในการ
อปุ สมบทของตัวท่านเอง
บดั น้ี พอ่ ออกพรหม สภุ าพงษ์ ไดเ้ ปน็ อสิ ระจากเครอื่ งรดั รงึ ทางโลกแลว้ พรอ้ มที่
จะอุปสมบทมอบกายถวายชีวิตให้แก่พระพุทธศาสนาอย่างท่ีไม่มีอะไรจะห่วงหา
อาวรณอ์ ีกแล้ว ทา่ นได้อำ� ลาบรรดาญาติพีน่ อ้ ง มติ รสหาย ตลอดจนข้าราชการสาย
ปกครองที่ท่านเกี่ยวข้องในฐานะเป็นผู้ใหญ่บ้านแล้ว ออกเดินทางไปยังตัวเมือง
อดุ รธานี เพอ่ื เขา้ สพู่ ธิ อี ปุ สมบทตอ่ ไป ในแผน่ จารกึ ในพระเจดยี บ์ รรจพุ ระธาตขุ องทา่ น
จารกึ ไวว้ า่ “...อปุ สมบท อายุ ๓๗ ปี พ.ศ. ๒๔๗๑...”
81
พอ่ ออกพรหมเขา้ พิธอี ุปสมบท ณ วดั โพธิสมภรณ์ ในตัวเมอื งจังหวัดอดุ รธานี
โดยมที า่ นเจา้ คณุ พระธรรมเจดยี ์ (จมู พนธฺ โุ ล) สมยั ดำ� รงสมณศกั ดทิ์ ี่ พระครชู โิ นวาทธำ� รง
เป็นพระอุปัชฌาย์ ท่านพระครูประสาทคณานุกิจ เป็นพระกรรมวาจาจารย์ ได้รับ
ฉายาวา่ “จริ ปุญฺโ” สงั กัดคณะธรรมยตุ กิ นกิ าย
มีเรอ่ื งทนี่ ่าอนุโมทนาเป็นอย่างย่ิงคอื ไดม้ นี อ้ งชาย นอ้ งสาว และน้องเขยของ
หลวงปู่ กไ็ ดต้ ดิ ตามออกบวชมอบกายถวายชวี ติ ในพระพทุ ธศาสนาดว้ ยเชน่ เดยี วกนั
ในเวลาตอ่ มา
สาธุ อนโุ มทามิ
82
ออกธดุ งคไ์ ปทางจังหวัดอบุ ลฯ
๓ พรรษาแรก คอื ชว่ ง พ.ศ. ๒๔๗๑-๒๔๗๓ หลงั จากอปุ สมบทแลว้ หลวงปพู่ รหม
จริ ปญุ โฺ ไดเ้ ทย่ี วธดุ งคไ์ ปทางจงั หวดั อบุ ลราชธานี จงั หวดั บา้ นเกดิ ของพระอาจารยส์ าร
ซึง่ ถอื เป็นอาจารยก์ รรมฐานองคแ์ รกของท่าน
ในหนงั สือประวตั ิของทา่ น ไดเ้ ขยี นบรรยายเหตุการณ์ตอนนว้ี า่
“เมอื่ ทา่ นไดบ้ รรพชาอปุ สมบทแลว้ ไดเ้ ทย่ี วไปกบั ทา่ นอาจารยส์ าร ในเขตจงั หวดั
อบุ ลราชธานี ซงึ่ เดนิ ทางดว้ ยเทา้ เปลา่ ตลอด ไมม่ สี ง่ิ อำ� นวยความสะดวกเหมอื นอยา่ ง
ทกุ วนั น้ี จำ� พรรษาในทต่ี า่ งๆ ๓ พรรษา แลว้ ไดล้ าพระอาจารยก์ ลบั ภมู ลิ ำ� เนาเดมิ พกั อยู่
ทผ่ี ดุงธรรม (วดั ใน) เด๋ยี วน้ี ไดพ้ รอ้ มกบั ชาวบา้ นสร้างหอไตรข้ึน ๑ หลงั เพือ่ เป็นที่
เกบ็ รกั ษาบรรดาหนงั สอื พระคมั ภีรต์ ่างๆ ไวใ้ หเ้ ปน็ ที่ปลอดภัย”
น่าเสียดายที่ไม่สามารถหารายละเอียดเกี่ยวกับการเดินธุดงค์ในช่วงน้ีของท่าน
ในการเดินธุดงคข์ องหลวงปูพ่ รหมในครัง้ แรกทไี่ ปจงั หวัดอบุ ลราชธานนี ี้ นา่ จะยงั ไม่
ไดพ้ บหลวงปมู่ น่ั พระอาจารยใ์ หญ่ เพราะหลงั จากพรรษาปี พ.ศ. ๒๔๗๐ หลวงปมู่ น่ั
ได้ปลีกจากหมู่คณะออกวิเวกไปเพียงองค์เดียวไปทางภาคกลางและไปจ�ำพรรษาปี
พ.ศ. ๒๔๗๑ ทว่ี ดั ปทมุ วนาราม กรุงเทพฯ ต่อจากน้นั ท่านกต็ ิดตามทา่ นเจา้ คุณ
พระอบุ าลคี ณุ ปู มาจารย์ (จนั ทร์ สริ จิ นโฺ ท) ขนึ้ ไปพำ� นกั ทจ่ี งั หวดั เชยี งใหม่ ๑๒ ปี ดงั ท่ี
พวกเราทราบกันดีแล้ว
83
ในสว่ นของคณะกองทพั ธรรม ซงึ่ นำ� โดยหลวงปสู่ งิ ห์ ขนั ตยาคโม นน้ั หลวงปพู่ รหม
กค็ งไม่ไดเ้ ข้ารว่ ม น่าจะเป็นการเดนิ ทางสวนทางกนั กลา่ วคือคณะกองทพั ธรรมออก
เดนิ ทางจากจงั หวดั อบุ ลราชธานใี นปี พ.ศ. ๒๔๗๑ แลว้ มาปกั หลกั เผยแผธ่ รรมทจ่ี งั หวดั
ขอนแกน่ เปน็ เวลา ๓ ปี ตอ่ จากนน้ั กเ็ คลอ่ื นยา้ ยไปเผยแผธ่ รรมทจี่ งั หวดั นครราชสมี า
เม่ือดูชื่อพระเณรท่รี ว่ มอยใู่ นคณะกองทัพธรรมสมัยนั้นก็ไมพ่ บชือ่ ของหลวงปพู่ รหม
จริ ปญุ โฺ รวมอยใู่ นคณะดว้ ย การเดนิ ธดุ งคค์ รง้ั แรกของหลวงปพู่ รหมน้ี ทา่ นคงได้
เรยี นรหู้ ลกั ปฏบิ ตั ใิ นการธดุ งคแ์ ละประสบการณใ์ นการภาวนาพอสมควร จนเกดิ ความ
ม่ันใจพอท่ีจะเทย่ี วธุดงคอ์ งคเ์ ดยี วได้
ในปี พ.ศ. ๒๔๗๓ หลังจากออกธดุ งคไ์ ป ๓ ปี หลวงปูพ่ รหมก็กลบั มายัง
ภูมิล�ำเนาเดมิ ของท่าน มาพ�ำนกั ทว่ี ัดผดุงธรรม (วัดใน) บ้านดงเย็น อำ� เภอบ้านดุง
จงั หวดั อดุ รธานี การกลบั บา้ นครงั้ แรกนี้ หลวงปไู่ ดร้ ว่ มกบั ชาวบา้ นสรา้ งหอไตรถวาย
วดั ผดงุ ธรรม เพอ่ื เปน็ ทเ่ี กบ็ รกั ษาหนงั สอื ธรรมและคมั ภรี ต์ า่ งๆ ไวใ้ หเ้ ปน็ ทป่ี ลอดภยั ”
เรอื่ งราวของหลวงปพู่ รหมในชว่ งนก้ี เ็ ปน็ ทท่ี ราบกนั เพยี งแคน่ เ้ี อง ไมส่ ามารถหา
รายละเอยี ดได้มากกวา่ น้ี
84
เท่ยี ววเิ วกแถวอ�ำเภอนาแก นครพนม
เรอื่ งราวในตอนนไ้ี ดจ้ ากทา่ นหลวงตาพระมหาบวั าณสมปฺ นโฺ น เคยเขยี นเลา่
เอาไวท้ ำ� ใหไ้ ดท้ ราบวา่ เมอื่ สมยั แรกบวช หลวงปพู่ รหม จริ ปญุ โฺ เคยไปบำ� เพญ็ เพยี ร
ทถี่ ำ�้ พระเวส ซง่ึ อยใู่ นทอ้ งทอ่ี ำ� เภอนาแก จงั หวดั นครพนม (ปจั จบุ นั อยใู่ นทอ้ งทจี่ งั หวดั
มกุ ดาหาร) เหตกุ ารณน์ เี้ กดิ ขน้ึ ในตอนทห่ี ลวงปพู่ รหมเดนิ ทางกลบั บา้ นดงเยน็ ซง่ึ ทา่ น
หลวงตาพระมหาบัวไดเ้ ขียนเลา่ ไวใ้ นหนงั สอื “ปฏปิ ทาพระธดุ งคกรรมฐาน สายพระ
อาจารยม์ น่ั ภรู ทิ ตโฺ ต” ทา่ นเขยี นไวใ้ นแนวขำ� ๆ ทหี่ ลวงปพู่ รหมไปเผชญิ กบั อเี กง้ แบบ
กะทันหนั มดี งั น้ี
“ท่านอาจารย์องค์นี้ได้เคยพูดความข้ีขลาดไม่เป็นท่าของท่านให้ผู้เขียนฟัง
โดยกลา่ วถงึ สมยั บวชใหม่ และคราวไปพกั อยใู่ นภเู ขาเขตจงั หวดั นครพนมวา่ คราวทา่ น
บวชใหมย่ งั ไมไ่ ดพ้ รรษา ทา่ นไปเทย่ี ววเิ วกในภเู ขาแถบอำ� เภอนาแก จงั หวดั นครพนม
ขากลบั จากเทย่ี ว ทา่ นมาตามทางสายอำ� เภอนาแกทตี่ รงไปจงั หวดั สกลนคร ซงึ่ แตก่ อ่ น
ไมม่ ถี นนแมท้ างลอ้ เกวยี นและทางคนเดนิ เทา้ รกรงุ รงั มากแทบมองไมเ่ หน็ ทาง เพราะ
ระยะทางท่ีห่างจากอ�ำเภอนาแกมาประมาณ ๔ กโิ ลเมตร เป็นป่าดงกว้างใหญ่รกชัฏ
ด้านยาวติดกับภูเขา มีสัตว์เสือชุกชุมพอเรียกความหวาดกลัวจากคนขี้ขลาดได้
ไม่ยากเลย เผอิญพอท่านเดินทางมาถึงดงนั้นก็เป็นเวลาค�่ำมืดพอดี เทียนไขก็ไม่มี
เหลอื ตดิ มาเลย ถา้ จะฝนื เดนิ ทางตอ่ ไปกก็ ลวั หลงทางเพราะแถบนน้ั ไมม่ บี า้ นคน ทงั้ ทาง
กร็ กชฏั ตบี ตนั ปกคลมุ ไปดว้ ยปา่ ไมท้ งั้ หลาย ไมเ่ หมอื นทกุ วนั น้ี ซง่ึ ไปทไี่ หนเจอแตบ่ า้ น
85
และผคู้ น แมป้ า่ ดงดงั กลา่ วนไ้ี ดก้ ลายเปน็ บา้ นเรอื นนาสวนไปหมดแลว้ จนไมม่ ซี ากแหง่
ปา่ เหลอื หลออยบู่ า้ งเลย ทา่ นจงึ ตดั สนิ ใจพกั คา้ งคนื ในดงนน้ั โดยปลกี ออกจากทางไป
เพียงเลก็ นอ้ ย แล้วกแ็ ขวนกลดกบั ก่งิ ไม้ มอื ลูบคลำ� เก็บกวาดใบไมแ้ ห้งแถบบริเวณ
ทพ่ี กั นน้ั มารวมกันพอเปน็ ที่นอนได้ เสร็จแล้วกพ็ กั ผอ่ นและภาวนา ได้เวลาประมาณ
๓ ทมุ่ ซง่ึ ขณะทท่ี า่ นกำ� ลงั นง่ั ทำ� สมาธภิ าวนาอยดู่ ว้ ยความหวาดระแวงเรอ่ื งตา่ งๆ ขณะนนั้
ได้มอี เี ก้งตวั หนึง่ ด้อมๆ เข้ามาบรเิ วณท่พี กั โดยไมร่ ตู้ ัว
พออเี กง้ โผลห่ นา้ ออกมา กม็ าเจอเอากลดกบั มงุ้ ทก่ี างและลดลงไวอ้ ยา่ งมดิ ชดิ พอดี
เพราะความต่ืนเต้นตกใจกลัวของสัตว์ท่ีมีนิสัยระแวงประจ�ำตัวตลอดเวลาอยู่แล้ว
ก็ร้องขึ้นอย่างเต็มเสียง “เก้ก” ค�ำเดียว พร้อมกับกระโดดชนป่าศีรษะโดนต้นไม้
โครมครามๆ ดงั สนนั่ ไป ทา่ นเองกส็ ะดงุ้ ตกใจสดุ ขดี จนเผลอตวั รอ้ งออกมา “เอกิ๊ อา๊ ก”
เช่นกัน อเี ก้งต่ืนเสียงคนวงิ่ หตู งั้ ตาถลนเตลดิ เข้าป่าไป
ในขณะเดยี วกนั พอไดส้ ติ ทา่ นนกึ อายความไมเ่ ปน็ ทา่ ของตวั จนอดขบขนั หวั เราะ
ตวั เองไมไ่ ดว้ า่ พระทง้ั องคแ์ ทๆ้ ออกบวชดว้ ยความเสยี สละทกุ สง่ิ ทกุ อยา่ ง แมต้ ายทไี่ หน
กย็ อมแลว้ ดว้ ยความปลงใจใฝธ่ รรม แตท่ ำ� ไมเพยี งอเี กง้ ซงึ่ เปน็ สตั วป์ า่ ธรรมดา มใิ ชเ่ สอื
หมี ผี เปรต ทค่ี วรจะนา่ กลวั ทงั้ มนั กว็ งิ่ หนตี ายจนสดุ ขดี และรอ้ งออกมาดว้ ยความกลวั
เราแทๆ้ เพราะความตกใจไรส้ ติ แต่เราเองซง่ึ เปน็ คนและเปน็ พระกรรมฐานท้งั องค์
ยงั ตกใจกลวั มนั แทบหวั ใจหยดุ ตายทงิ้ เปลา่ ๆ ไมมสี ตริ ง้ั ใจถงึ กบั ปลอ่ ยความตำ�่ ทราม
ชนิดขายตัวและพระศาสนาออกมาให้มันได้ยินอย่างถนัดชัดเจนจนมันวิ่งป่าเปิงไป
ไมค่ ดิ ชวี ติ ถา้ อเี กง้ ตวั นมี้ คี วามฉลาดพอทราบไดว้ า่ พระเปน็ เพศทเี่ ชอื่ ธรรมและเสยี สละ
ไม่ข้ีขลาดหวาดกลัวเหมือนพระกรรมฐานองค์ก�ำลังแสดงความกลัวตายอย่างสุดขีด
ไมม่ สี ตอิ ยกู่ บั ตวั เวลานมี้ นั คงนกึ ขบขนั และกลบั มาหวั เราะเยาะเยย้ เราจบอบั อาย ไมม่ ี
หนา้ พระเหลอื อยเู่ ลยเปน็ แน่ แตน่ ม่ี นั เปน็ สตั ว์ พอนำ� ชวี ติ ผา่ นไปไดก้ ห็ มดปญั หากนั ไป
ไมส่ นใจว่าใครจะเปน็ คนบ้าหรือคนดีอะไรต่อไป”
86
จติ ตกอยากหวนกลบั สู่เพศฆราวาส
เหตกุ ารณน์ น้ี า่ จะเกดิ ขน้ึ ระหวา่ งปี พ.ศ. ๒๔๗๓-๒๔๗๔ คอื เมอื่ หลวงปพู่ รหม
จริ ปญุ โฺ บวชได้ ๓ พรรษาแลว้ จติ ทา่ นกห็ วนกลบั อยากคนื สชู่ วี ติ ฆราวาสอกี ในชว่ งนี้
ท่านได้ต่อสู้เพื่อเอาชนะกับมารกิเลสฝ่ายต�่ำจนเต็มสติก�ำลัง ด้วยการใช้ความเพียร
พยายามอดทนเตม็ ท่ี มกี ารทำ� สมาธภิ าวนาและเดนิ จงกรม เปน็ ตน้ จนในทส่ี ดุ ทา่ นกก็ ลบั
เปน็ ฝ่ายชนะได้สมหวัง
ศิษย์พระอาจารยม์ ่ันเกอื บทุกองคน์ ั่นแหละ ท่านเอาธรรมะเขา้ ต่อสูจ้ นออกจาก
ภยั อันร้ายแรงได้ เรือ่ งกเิ ลสมารทับจติ ใจนี้ หลวงป่พู รหม จริ ปญุ โฺ ทา่ นกเ็ คยถูก
กระแสกเิ ลสนพ้ี ัดกระหนำ�่ อย่างรนุ แรงเช่นเดยี วกัน
เร่อื งนีท้ ่านเคยเล่าให้ลูกศษิ ย์ลกู หาฟงั อันเป็นอบุ ายธรรมปฏิบตั ิว่า
ภายหลงั จากทท่ี า่ นไดบ้ วชเปน็ พระแลว้ ๓ พรรษา กเ็ กดิ มคี วามรสู้ กึ (กเิ ลสภายใน)
อยา่ งรนุ แรง คดิ อยากจะสกึ ออกมาเปน็ ฆราวาสวสิ ยั อกี ทำ� อยา่ งไรๆ กไ็ มห่ ายทจี่ ะนกึ คดิ
ต้องเร่งพยายามต่อสู้ความคิดภายในน้ัน มันเป็นกิเลสมารตัวร้ายสู้กันอย่างหนัก
(ครบู าอาจารย์เคยเล่าใหฟ้ ังว่า หลวงปู่ได้มาชวนแม่ชใี ห้สกึ ออกไปครองเพศฆราวาส
ด้วยกันอีก แต่แม่ชีใจแข็งบอกว่าให้อดทนท�ำความเพียรอย่างหนักอีกหนึ่งปีก่อน
ถา้ ยงั อยากสกึ อยอู่ กี แลว้ คอ่ ยมาพดู กนั อกี ครง้ั ทำ� ใหห้ ลวงปไู่ ดส้ ติ และเรง่ ทำ� ความเพยี ร
อยา่ งหนกั เพอื่ เอาชนะกเิ ลสใหไ้ ด้)
87
อาวุธทเี่ ขา้ ตอ่ สนู้ ้นั ท่านได้ท�ำสมาธิเดินจงกรมด้วยวธิ ีต่างๆ นานา นำ� มาใชเ้ ป็น
อบุ ายขจดั ขบั ไลค่ วามคดิ นนั้ ออกไป และดว้ ยความตงั้ ใจจรงิ ของทา่ นนเี้ อง ในทส่ี ดุ ทา่ น
สามารถเอาชนะอารมณจ์ ติ ทคี่ ดิ จะสกึ นน้ั ได้ เพราะวา่ ทา่ นคดิ อยเู่ สมอวา่ ในชวี ติ ของทา่ น
ไม่เคยแพ้ใคร ไมเ่ คยท�ำส่งิ ใดลม้ เหลว แล้วท่านจะแพ้ตนเองไดอ้ ย่างไร ท่านก็ได้
ตัดสินใจม่งุ หน้ามาถึงขนาดนแี้ ล้ว ท่านจะต้องเดินหน้าต่อไปจนถึงทีส่ ดุ แมจ้ ะตอ้ ง
ฟนั ฝ่ากบั ภยั อนั ตรายใดๆ ที่ย่งิ ใหญใ่ นโลกนี้ก็ตาม
ในทส่ี ดุ หลวงปูพ่ รหม จริ ปญุ โฺ กส็ ามารถด�ำเนนิ ตามรอยบาทของพระผ้มู ี
พระภาคเจ้า อันเป็นจุดหมายปลายทางของทา่ นไดส้ ำ� เรจ็ คว้าชัยชนะจากคตู่ ่อสู้ คอื
กเิ ลสมารได้ดังทต่ี งั้ ใจจรงิ ”
เก่ียวกับเรื่องจิตตกอยากจะสึกไปครองเพศฆราวาสน้ี หลวงปู่พรหมได้เล่าให้
หลวงปู่จามฟงั วา่
“...บวชแลว้ กไ็ ปกบั ครอู าจารยส์ าร ลถุ งึ เมอื งอบุ ล อยอู่ บุ ล ๓ ปี ทนี จ้ี ติ คดิ อยากสกึ
คดิ ถึงบา้ น คิดถงึ เมีย แต่บุญยงั รักษา ตอนกลางคนื จะเดินจงกรม จะนั่ง จะยืน
กไ็ ด้ยนิ แตเ่ สยี งกระดงิ่ กระโล้ง เกราะวัวเกราะควายดงั ท่วั ไปหมดในหนู ้ี จนนอน
ไมห่ ลบั มาพจิ ารณาดตู นเองวา่ จะเอาอยา่ งใด ทรพั ยก์ ไ็ มม่ ี เมยี กห็ นไี ปบวช ลกู กไ็ มม่ ี
จะออกไปเอาอะไร ทุกข์มิใช่หรือจึงหนีมาบวช ต่ืนเช้าก็เข้าไปขอครูอาจารย์สาร
ออกเทย่ี ววเิ วก เขา้ ดงเขา้ ปา่ ขา้ มโขงไปจนถงึ หลวงพระบาง อยหู่ ลวงพระบาง ๑ พรรษา
แลว้ กลบั เขา้ มาเมอื งไทย พบปะอาจารย์ชอบ (หลวงปู่ชอบ €านสโม) อยูข่ อนแกน่
จึงชวนกันขึ้นเมืองเหนือ หลงทางออกไปลุถึงเมืองพม่า ต้องกลับลงมาจึงได้พบปะ
ครูอาจารย์ใหญ่ (หลวงปูม่ ั่น ภูรทิ ตโฺ ต) อยถู่ �ำ้ พระ เชยี งราย จงึ พอไดร้ ชู้ อ่ งทาง”
88
ปรารถนาเปน็ ศิษยห์ ลวงปูม่ ่ัน
ขณะทอ่ี ยปู่ ฏบิ ัตธิ รรมกับพระอาจารย์สาร ซง่ึ เปน็ ศษิ ยอ์ งคห์ นง่ึ ของหลวงป่มู น่ั
ภูริทตฺโต นั้น บ่อยครั้งท่ีท่านพระอาจารย์สารได้เอ่ยปากยกย่องพรรณนาคุณของ
หลวงปมู่ น่ั ใหห้ ลวงปพู่ รหมไดย้ นิ หลวงปพู่ รหมทา่ นกม็ งุ่ ตอ่ หลวงปมู่ น่ั เพอื่ เปน็ ทฝ่ี าก
เปน็ ฝากตายในชวี ติ แหง่ เพศสมณะ แตก่ อ่ นไดพ้ บกบั หลวงปมู่ นั่ ทา่ นรำ� พงึ กบั ตนเอง
เสมอวา่ “กอ่ นทจ่ี ะเขา้ นมสั การพระอาจารยม์ นั่ ผเู้ ลศิ ดว้ ยสตปิ ญั ญานน้ั จำ� เปน็ ทเี่ ราจะ
ต้องฝึกฝนตนเองใหแ้ ข็งแกรง่ กล้าเสยี ก่อน เมอื่ ไดพ้ บได้รับอุบายธรรมใดๆ กจ็ ะได้
ทมุ่ เทกายใจประพฤตปิ ฏบิ ตั ธิ รรม โดยขอเปน็ ชาตสิ ดุ ทา้ ย แมม้ วี าสนาบารมแี ลว้ กค็ งจะ
สมหวงั ดังตงั้ ใจไวแ้ น่นอน”
นอกจากหลวงปู่พรหมจะเป็นผู้มีความอาจหาญม่ันคงแล้ว ท่านยังเป็นพระผู้
ปฏิบัติธรรมท่ีมีสติปัญญาหย่ังรู้ในเหตุการณ์ที่มาเก่ียวข้องจนสามารถเอาตัวรอด
ปลอดภยั ได้ ความจรงิ แลว้ หลวงปพู่ รหม จริ ปญุ โฺ ทา่ นมใี จกบั ธรรมะเปน็ เครอื่ งมอื
หล่อเลี้ยงให้เกิดความอบอุ่นและเยือกเย็นตลอดมา ท่านได้สละละวางทางโลกแล้ว
จนหมดสนิ้ ยอมอดยอมทนตอ่ ความยากลำ� บากหิวโหยได้อย่างสบาย กเ็ พราะท่านมี
ธรรมะเป็นอารมณ์ของจิต เม่ือหลวงปู่พรหมท่านปล่อยขันธ์ไปส้ินแล้ว ความจริง
กป็ รากฏว่า “ปรมํ สขุ ”ํ ทา่ นหมดความหว่ งกังวลโดยสิน้ เชิง
89
ร่วมกับหลวงปู่ชอบไปภาคเหนือและพมา่
ท่านผู้อ่านทราบกันดีแล้วว่า หลวงปู่ม่ัน ภูริทตฺโต พระอาจารย์ใหญ่ฝ่าย
ธดุ งคกรรมฐาน ไดป้ ลีกองคอ์ อกจากหมู่คณะไปบ�ำเพ็ญเพยี รทางภาคเหนือเปน็ เวลา
นานถงึ ๑๒ ปี ตง้ั แตป่ ี พ.ศ. ๒๔๗๑ จนกระทง่ั ปี พ.ศ. ๒๔๘๒ จงึ ไดร้ บั อาราธนาให้
กลบั มาโปรดลกู ศษิ ยล์ กู หาทางภาคอสี านทก่ี ำ� ลงั เฝา้ รอการกลบั มาของทา่ นดว้ ยความ
กระหายในธรรม ครูบาอาจารย์ในยุคน้ันหลายองค์ต่างพยายามเดินทางไปเสาะหา
หลวงป่มู ่นั เพอื่ จะไดร้ ับการชี้แนะด้านธรรมปฏบิ ัติให้มีความก้าวหนา้ ยิง่ ๆ ขนึ้ ไป
ทางดา้ นหลวงปพู่ รหม จริ ปญุ โฺ กท็ ราบเรอ่ื งกติ ตศิ พั ทก์ ติ ตคิ ณุ ของหลวงปมู่ น่ั
เป็นอย่างดี ท่านจึงมีความคิดอยู่ในใจว่าจะต้องด้ันด้นไปพบแล้วถวายตัวเป็นศิษย์
กรรมฐานตอ่ องคห์ ลวงปมู่ นั่ ใหจ้ งได้ ประกอบกบั หลวงปสู่ าร ธมมฺ สาโร พระอาจารย์
ของทา่ นกเ็ ดนิ ทางไปภาคเหนอื ไปอยกู่ บั หลวงปมู่ นั่ กอ่ นหนา้ แลว้ จงึ เปน็ การเรง่ เรา้ ให้
ทา่ นกระหายทจ่ี ะธดุ งคไ์ ปภาคเหนอื มากยง่ิ ขน้ึ ในประวตั ขิ องทา่ นไดก้ ลา่ วไวเ้ พยี งรวมๆ
ดังต่อไปนี้
“หลวงปพู่ รหม จริ ปญุ โฺ ทา่ นเปน็ พระภกิ ษสุ งฆท์ ไ่ี มช่ อบอยกู่ บั ที่ ทา่ นมคี วาม
มุ่งหมายท่ีจะเดินธุดงค์ใช้ชีวิตอยู่ท่ามกลางป่าดงพงไพรเสียเป็นส่วนใหญ่ ดังน้ัน
เม่ือท่านกลับ (จากหลวงพระบาง) มาถึงประเทศไทยแล้ว ท่านก็ได้ออกเดิน
ธุดงคกรรมฐานไปทางภาคเหนือ แต่การออกเดินธุดงค์เพื่อแสวงโมกขธรรมใน
90
คราวน้ี ทา่ นมสี หธรรมกิ รว่ มทางไปดว้ ยองคห์ นง่ึ คอื หลวงปชู่ อบ €านสโม ผเู้ ปน็ พระเถระ
ผูอ้ าวโุ สอกี องค์หนง่ึ ในปจั จุบนั น้ี
หลวงปพู่ รหม จริ ปญุ โฺ และหลวงปชู่ อบ €านสโม ทา่ นพระอาจารยท์ งั้ สององคน์ ี้
ตา่ งกเ็ ปน็ เพชรนำ�้ เอกเปน็ หวั แหวนอนั ลำ้� คา่ ดว้ ยกนั เมอื่ ไดโ้ คจรไปในทอ่ี นั วเิ วกดว้ ยกนั
ยอ่ มเปน็ ทน่ี า่ สนใจแกป่ ระชาชนในยคุ นนั้ เปน็ อนั มาก ทา่ นไดอ้ อกเดนิ ธดุ งคผ์ า่ นปา่ เขา
ล�ำเนาไพรไปตลอดสายภาคเหนือ แล้วเข้าเขตประเทศพม่า ด้วยนิสัยเด็ดเด่ียว
อาจหาญการเดนิ ธดุ งคก์ รรมฐานของทา่ นนี้ ทา่ นไมพ่ ะวงเรอื่ งทอี่ ยอู่ าศยั คำ�่ ไหนกพ็ กั
บ�ำเพ็ญสมณธรรมท่ีน่ัน สว่างแล้วออกธุดงค์ต่อไป จิตใจของท่านนั้นมีแต่ธรรมะ
อาหารการขบฉันกเ็ ป็นไปในลักษณะมีกก็ ิน ไมม่ กี อ็ ดยอมทนเอา ไม่มีการเรียกร้อง
ไม่มีการสงสารตนเองที่เกิดทุกขเวทนา เพราะการเดินธุดงค์ก็เพื่อขจัดกิเลสภายใน
ให้หมดไปสิน้ ไป
หลวงปพู่ รหมและหลวงปชู่ อบ ทา่ นมคี วามตงั้ ใจในขอ้ วตั รปฏบิ ตั มิ าก ทา่ นมคี วาม
แกลว้ กล้าชนดิ ถึงไหนถึงกัน ท่านได้ผา่ นเมอื งตา่ งๆ ในประเทศพมา่ จนสามารถพดู
ภาษาพมา่ ได้คล่องแคล่ว โดยเฉพาะหลวงปชู่ อบ ทา่ นพูดภาษาพม่าได้คลอ่ งเหมอื น
เป็นภาษาของทา่ นเอง”
91
การธุดงค์ขึ้นภาคเหนอื ของหลวงปู่พรหม
ในตอนทผ่ี า่ นมาเปน็ การกลา่ วรวมๆ วา่ หลวงปพู่ รหมกบั หลวงปชู่ อบเดนิ ทางขนึ้
ภาคเหนอื ด้วยกนั แต่เม่ือเปรียบเทียบจากประวตั ขิ องหลวงปแู่ ตล่ ะองค์ท่ีเดนิ ทางข้ึน
ภาคเหนือในสมัยนั้น ท�ำให้ผมมั่นใจว่าหลวงปู่พรหมกับหลวงปู่ชอบ ต่างองค์ต่าง
เดนิ ทางขน้ึ ภาคเหนอื คอื ไปคนละครง้ั และไปตา่ งปกี นั แตท่ ง้ั สององคเ์ ดนิ ธดุ งคเ์ ขา้ ไป
ในเขตพม่าด้วยกัน แต่ไม่ได้ไปด้วยกันโดยตลอด และไม่ได้กลับฝั่งประเทศไทย
พรอ้ มกัน
ถ้าจะจัดล�ำดับก่อน-หลังการเดินทางขึ้นภาคเหนือของครูบาอาจารย์ในยุคน้ัน
แต่ละองค์ มดี งั นี้
๑. หลวงปขู่ าว อนาลโย (เกดิ พ.ศ. ๒๔๓๑ อปุ สมบท พ.ศ. ๒๔๖๒ และญตั ติ
เป็นธรรมยุต ปี พ.ศ. ๒๔๖๘) เคยฝากตวั เปน็ ศิษยแ์ ละปฏบิ ตั ธิ รรมกบั หลวงป่มู น่ั
มากอ่ นแลว้ ตง้ั แตค่ ราวทอ่ี งคห์ ลวงปมู่ น่ั ยงั พำ� นกั อยทู่ ภ่ี าคอสี าน หลวงปขู่ าวเดนิ ธดุ งค์
ขึน้ ภาคเหนือในปี พ.ศ. ๒๔๗๖ ขณะน้นั ท่านมอี ายุ ๔๕ ปี เปน็ พรรษาท่ี ๘ ในคณะ
ธรรมยตุ ิกนิกาย ท่านเดนิ ทางไปด้วยกัน ๔ องค์ เดินธุดงค์ออกจากจังหวดั อดุ รธานี
ไปจงั หวดั หนองคาย แลว้ เดนิ ลดั เลาะขนึ้ ไปตามรมิ ฝง่ั แมน่ ำ้� โขง ไปถงึ อำ� เภอเชยี งแสน
จงั หวัดเชียงราย แลว้ ต่อจากนน้ั ทง้ั ๔ องค์ ก็แยกย้ายกันเสาะหาหลวงปมู่ ่ันต่อไป
92
หลวงปขู่ าวไดจ้ ำ� พรรษาแรกในภาคเหนอื คอื ปี พ.ศ. ๒๔๗๗ ทวี่ ดั พระเจา้ ทองทพิ ย์
อำ� เภอแมส่ รวย จงั หวดั เชยี งราย ออกพรรษาแลว้ กไ็ ดพ้ บหลวงปพู่ รหม จริ ปญุ โฺ ซง่ึ เดนิ
ธดุ งค์กลับจากเขตประเทศพม่า ต่อมาไดแ้ ยกย้ายกนั องคห์ ลวงปูข่ าวเองไดพ้ บกับ
หลวงปแู่ หวน สจุ ณิ ฺโณ ร่วมเดนิ ธดุ งคด์ ้วยกนั และไปพบหลวงปู่ม่นั ซงึ่ พ�ำนกั อยกู่ ับ
หลวงปู่สาร ธมมฺ สาโร ทีป่ า่ เมีย่ งห้วยทราย ต�ำบลแม่ป๋ัง อย่ใู นเขตอ�ำเภอพรา้ วทาง
ตอนใต้ ตอ่ จากนัน้ กไ็ ดอ้ ยปู่ ฏบิ ัตธิ รรมใกล้ชดิ กับหลวงปมู่ ่ันเร่ือยมา
๒. หลวงปเู่ ทสก์ เทสรฺ สํ ี (เกดิ พ.ศ. ๒๔๔๕ อปุ สมบท พ.ศ. ๒๔๖๖) พำ� นกั อยู่
กบั หลวงปู่สิงห์ ขนตฺ ยาคโม ทจ่ี ังหวัดนครราชสีมา มีความประสงค์จะขึ้นภาคเหนือ
ไปปฏบิ ตั ธิ รรมกบั หลวงปมู่ นั่ จงึ ไดก้ ราบหลวงปสู่ งิ หใ์ นปี พ.ศ. ๒๔๗๕ ตอนแรกทา่ น
เดนิ ทางไปจงั หวดั หนองคายกอ่ นเพอ่ื ชกั ชวนหลวงปอู่ อ่ นสี สเุ มโธ สหธรรมกิ ของทา่ น
ใหไ้ ปภาคเหนือด้วยกนั
หลวงปูเ่ ทสกก์ บั หลวงป่อู อ่ นสีออกเดินทางจากอ�ำเภอทา่ บอ่ จงั หวัดหนองคาย
หลงั ออกพรรษาปี พ.ศ. ๒๔๗๖ (อายุ ๓๑ ปี พรรษา ๑๐) โดยขา้ มไปฝง่ั เวยี งจนั ทนแ์ ลว้
โดยสารเรอื กลไฟขนึ้ เหนอื ไปตามลำ� แม่นำ�้ โขง ไปแวะพกั ทีห่ ลวงพระบาง แล้วลงเรือ
ขา้ มฝง่ั ไปขน้ึ ทอี่ ำ� เภอเชยี งแสน จงั หวดั เชยี งราย ตอ่ จานนั้ กเ็ ดนิ ธดุ งคล์ งไปทางจงั หวดั
ลำ� ปาง แลว้ จงึ วกขนึ้ เหนอื ไปพกั ทจี่ งั หวดั ลำ� พนู ระยะหนง่ึ แลว้ ตอ่ ไปเชยี งใหมไ่ ปแวะ
พกั ท่วี ัดเจดยี ์หลวง ในเมอื งเชยี งใหม่
ต่อจากนัน้ ก็ออกธุดงค์ไปทางเหนอื เสาะหาหลวงปูม่ นั่ เร่ือยไป จนเลยเขา้ ไปใน
เขตพมา่ เมอื่ หาหลวงปมู่ น่ั ไมพ่ บ จงึ พากนั กลบั มาฝง่ั ไทยมาทางอำ� เภอฝาง ทราบขา่ ว
หลวงปมู่ นั่ พำ� นกั อยใู่ นเขตอำ� เภอพรา้ ว จงึ ไดเ้ สาะหา ครงั้ แรกไปพบหลวงปสู่ าร ธมมฺ สาโร
(ในบันทึกของหลวงปเู่ ทสก์เขยี นวา่ พระอาจารย์สาน - ใช้ น.หนู เปน็ ตวั สะกด)
พ�ำนกั ที่ถ้�ำดอกค�ำ ตอ่ จากนน้ั หลวงปู่ทงั้ สองจึงไดเ้ ข้ากราบหลวงปมู่ นั่ ท่ปี า่ เม่ยี งแมป่ ั๋ง
ตำ� บลแมป่ ง๋ั อยใู่ นเขตอำ� เภอพรา้ วทางตอนใต้ ตอ่ จากนน้ั ทง้ั หลวงปเู่ ทสกแ์ ละหลวงปู่
ออ่ นสี กไ็ ด้อย่ปู ฏิบตั ิธรรมกับหลวงปูม่ ัน่ เรอื่ ยมา
93