The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

จารึกอโศก รัฐศาสตร์แห่งธรรมธิปไตย (ป.อ. ปยุตโต)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-05-05 23:02:11

จารึกอโศก รัฐศาสตร์แห่งธรรมธิปไตย (ป.อ. ปยุตโต)

จารึกอโศก รัฐศาสตร์แห่งธรรมธิปไตย (ป.อ. ปยุตโต)

Keywords: จารึกอโศก,ป.อ. ปยุตโต

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๔๑

เขา มา ทาํ ความยากลาํ บากใหเ ปน อนั มาก จนกระทง่ั ถงึ ป 275 BC
แอนไทโอคัสใชชางอินเดียรบเอาชนะพวกกอลสได ทําใหประดา
นครรัฐโยนกท่ีปลอดพน จากการรงั ควาญของพวกกอลส พากันช่นื
ชมนับถือพระองคดุจเปนเทพเจา แอนไทโอคัสจึงไดพระสมัญญา
วา เปน Antiochus I Soter (แอนไทโอคัสท่ี ๑ พระผูมาโปรด)

สําหรบั พระเจา Seleucus ที่ ๑ นัน้ เอง เมอื่ ยอมตกลงสละดิน
แดนแกมคธอยางน้นั แลว ก็เลยเปน ไมตรกี นั กับพระเจา จันทรคุปต
สบื ตอมา ทําใหเ กิดผลดีทางประวตั ิศาสตรอีกอยา งหน่งึ ดวย คอื มี
การแลกเปลี่ยนราชทูตกัน โดยเฉพาะราชทูตกรีกชาวโยนก
(Ionian) ชอ่ื เมคาสธนี สี (Megasthenes) ทม่ี าประจาํ ราชสาํ นกั มคธ
สมัยนนั้ ไดเ ขยี นหนังสอื ช่ือ Indica (มี ๔ เลม ) เลา เร่ืองชมพทู วีปไว
ทําใหทางตะวันตกคือกรีกสมัยนั้นไดรูเขาใจเรื่องอินเดียมากท่ีสุด
ต้งั แตติดตอ กันมา (ฉบับเดมิ สญู ไปแลว แตเ น้ือหายังอยูใ นหนงั สอื
ของนักเขยี นกรกี รุนตอมาท่ีเอาไปอางไปเลาตอ มากมาย)

[เร่ืองเมคาสธนี สี นี้ ซงึ่ อยใู นราว พ.ศ.๑๗๘ ขอใหน ึกเทยี บกับ
เรื่องราวดานจนี ที่ตอ มามีนกั เดนิ ทางชาวเมืองเวนสี แหง อติ าลี ชอื่
มารโ ค โปโล (Marco Polo) เขามาถึงใน พ.ศ.๑๘๐๘ (ค.ศ. 1265)
และเปนที่โปรดปรานของจักรพรรดิกุบไลขาน ซึ่งไดเขียนบันทึก
เรอื่ งราวไว ทางตะวันตกจงึ รเู ร่ืองดา นจีน เทากับหลงั ดานอินเดีย
นานนกั หนา]

พระเจา จันทรคปุ ตท ํามคธใหย ิง่ ใหญไ พศาล ชมพทู วีปเจรญิ
มนั่ คง และหลังจากครองราชยได ๒๔ ป ก็สวรรคตใน พ.ศ.๑๘๖

๔๒ หลักศิลาจารึกอโศก

อโศกมหาราช: ตอ เม่อื ดี จงึ ยิ่งใหญจริง

เมื่อพระเจาจันทรคุปตสวรรคตแลว โอรสซึ่งมีพระนามวา
พนิ ทสุ าร ครองราชยต อ มาอกี ๒๘ ป ส้นิ รชั กาลแลว จึงถงึ ยคุ ของ
พระเจา อโศกมหาราช เรม่ิ ตงั้ แต พ.ศ.๒๑๔

พระเจาอโศกมหาราชเปนโอรสของพระเจาพินทุสาร เมื่อ
พระราชบิดายังครองราชยอ ยู ไดสงอโศกกมุ ารไปเปนอปุ ราชครอง
แควน อวันตี อยทู ี่กรงุ อุชเชนี

เวลาน้นั อุชเชนีเปน เมอื งหลวงของแควน อวนั ตี ซ่งึ ไดก ลาย
เปนสวนหนึ่งของแควนมคธมานานแลว

พอพระเจาพินทุสาร พระราชบิดาสวรรคต อโศกกุมารตอน
นนั้ ดรุ า ยมาก กเ็ ขา มาจดั การเขน ฆา พน่ี อ งหมดประมาณ ๑๐๐ องค
เหลือไวแตอนชุ ารวมพระมารดาองคเดียว ขึ้นครองราชยแ ตผเู ดยี ว
แลวทาํ สงครามขยายดนิ แดนออกไปอกี

พระเจาอโศกไดแผอํานาจรุกรานตีลงไปจนกระทั่งถึงแควน
กลงิ คะ ซง่ึ เปน อาณาจักรทไี่ ดช อื่ วา มนี กั รบเกง กาจ มีกองทพั ทเ่ี ขม
แข็ง มคี วามสามารถอยา งยงิ่ ไดร บกันอยูเปนเวลานาน เกดิ ความ
เสียหายมากมายดวยกันท้ังสองฝาย ในท่ีสุดพระเจาอโศกก็ชนะ
แควน กลงิ คะกแ็ ตกไป

แตก ารรบคร้งั น้ี เปน ภัยพบิ ตั ทิ ่รี ายแรงมาก คนตายเปน แสน
สญู หายเปน แสน ถกู จบั เปน เชลยกเ็ ปน แสน ถงึ ตอนนน้ี แ่ี หละทพี่ ระ
เจา อโศกทรงสลดพระทยั แลวหนั มานบั ถอื พระพทุ ธศาสนา นบั วา
เปนเหตุการณท่ีสาํ คญั มาก ถึงขนั้ เปลี่ยนประวตั ศิ าสตรเลยทเี ดียว

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๔๓

เรื่องตอนน้ี มีคัมภรี เลาเหตุการณทีพ่ ระเจาอโศกทรงหันมา
นับถือพระพุทธศาสนาวา๑ วันหนึ่ง พระองคทอดพระเนตรเห็น
สามเณรนามวานิโครธ ผมู ลี ักษณะอาการสาํ รวมสงบ มอี ิริยาบถ
งดงาม ทรงชื่นชมเล่ือมใส จึงโปรดใหอํามาตยน ิมนตส ามเณรเขา
มา ณ ทีป่ ระทบั ทรงถวายภัตตาหาร แลวตรัสถามวา สามเณร
ทราบคําตรัสสอนของพระพุทธเจาไหม สามเณรนิโครธน้ันท่ีจริง
เปนพระอรหันต ไดถวายพระพรตอบวาพอทราบอยูบาง และได
ถวายอนุโมทนาดวยคาถาธรรมบทอันแสดงหลักความไมประมาท
ทําใหพระเจาอโศกทรงเลื่อมใสย่ิงขึ้น ทรงอุปถัมภบํารุงพระภิกษุ
จาํ นวนมาก และไดต ้งั อยูในสรณะและศลี

คัมภีรเ ลาภมู ิหลังวา แทจริง สามเณรนิโครธนั้น คอื โอรสของ
เจาชายสุมนะ ซึ่งเปนพระราชโอรสองคใหญข องพระเจาพินทุสาร
เมื่อพระเจา พินทสุ ารจะสวรรคต เจา ชายอโศกเขา มายดึ อํานาจ จับ
เจาชายสุมนะสงั หารเสยี ชายาของเจาชายสุมนะซึ่งมคี รรภแก ได
หลบหนีไปจนถึงหมูบ า นคนจัณฑาลแหง หน่ึง และประสูตเิ จา ชาย
นโิ ครธท่ีน่ัน แลว ไดร บั การดูแลจากหัวหนาคนจณั ฑาลจนอายุ ๗
ขวบ จงึ ไดบ รรพชาเปน สามเณร และตอมาไดพ บกบั พระเจา อโศก
ดังที่เลา ขางตน

อยางไรก็ตาม เร่ืองและชื่อของนิโครธสามเณรไมป รากฏใน
เอกสารหลักฐานอื่นเทาที่ไดพบ นอกจากคัมภีรร ุน ตอมาภายหลัง
อรรถกถาน้นั

๑ สมันตปาสาทิกา อรรถกถาแหง วนิ ัยปฎก, วนิ ย.อ.๑/๔๓

๔๔ หลักศลิ าจารกึ อโศก

แมว า จะหยดุ ขยายอาํ นาจแคน ้ี อาณาจกั รมคธในสมยั พระเจา
อโศกมหาราชกย็ ังใหญก วา งยิ่งกวา ประเทศอินเดยี ในปจ จบุ นั เปน
อินเดียยคุ ที่มดี นิ แดนกวา งใหญท ส่ี ุดในประวัติศาสตรของประเทศ

แตก ใ็ หญอ อกไปทางสองปก คือทางทิศตะวันออก และทาง
ทิศตะวันตกเฉยี งเหนอื ออกไปทางปากสี ถาน และอัฟกานสิ ถาน

สวนทางใตครอบคลุมไปไมหมด เพราะพระเจาอโศกทรง
หยุดแผขยายอาณาจักรหลังจากทําสงครามชนะแควนกลิงคะ
(บางทีเขียน กาลิงคะ) คือถึงถ่ินที่ปจจุบันเรียกวาแควนโอริสสา
(Orissa) แลวก็หยดุ แคนน้ั เพราะทรงหนั มายดึ หลักธรรมวชิ ัยของ
พระพุทธศาสนา

เปนอันวา เม่ือพระเจาอโศกมหาราชหันมานับถือพระพุทธ
ศาสนาแลว ก็ไดเ ปลย่ี นนโยบายใหม จากสังคามวชิ ยั คือเอาชนะ
ดว ยสงคราม๑ มาสูธรรมวิชยั แปลวาชนะดว ยธรรม คือเอาชนะใจ
กันดว ยความดี ก็ไดสรา งสมความดเี ปนการใหญ มีการทํางานเพื่อ
สรางสรรคป ระโยชนส ขุ แกประชาชนอยางมากมาย

พระราชกรณียกิจที่พระเจาอโศกมหาราชทรงบําเพ็ญเพ่ือ
ประโยชนสขุ ของประชาชน มอี ยางไรบาง ปรากฏอยใู นศิลาจารึก
ของพระองค ซงึ่ จะไดพดู ถงึ ตอ ไป

ในทน่ี ้ี เพียงแตต้งั ขอ สังเกตอยา งหนงึ่ คือ ในเรอื่ งการปฏบิ ตั ิ
ตอทรพั ยสนิ เงนิ ทอง เราควรจะไดคติตอไปนจ้ี ากเรื่องพระเจา อโศก

๑ การเอาชนะดว ยสงครามน้ี ในจารกึ (พบในจารกึ ศิลา ฉบบั ที่ ๑๓) เรยี กวา สายกวชิ ยั

หรือสรสกวชิ ัย

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๔๕

ตามปกติพระเจาอโศกนี้ ก็เชนเดียวกับกษัตรยิ ส มยั โบราณ
จํานวนมาก ท่ีมุงจะแสวงหาความยิ่งใหญใหแกตนเอง และ
ตองการบํารุงบําเรอความสุขสวนตน อยางที่เรียกวา แสวงหา
โภคะและยศ หรือแสวงหาทรัพยและอาํ นาจ เพอ่ื บํารุงบําเรอตัว
เอง และเพื่อแสดงความยิง่ ใหญข องตน

ทรัพยแ ละอํานาจ โดยท่ัวไปมักจะมีความหมายอยา งน้ี
ทีนี้ เม่ือพระเจาอโศกมหาราชหันมานับถอื พระพทุ ธศาสนา
แลว ทางธรรมสอนวา ทรพั ยส นิ เงนิ ทองและความยงิ่ ใหญ ทกุ อยา ง
ลว นเปน อนจิ จงั เปน สงิ่ ที่ไมเทยี่ ง เกิดขน้ึ ต้งั อยู แลวก็ดับไป ไมม ี
สาระท่แี ทจ รงิ ไมควรจะเอาชวี ติ ไปฝากไวกบั ส่ิงเหลาน้ี ไมค วรหวงั
ความสขุ หรือความประเสริฐจากทรพั ยสินเงนิ ทองและอาํ นาจ
ฉะน้ัน ทรัพยส นิ เงนิ ทองกไ็ มมคี วามหมายทแี่ ทจริง
เม่อื ทรพั ยสนิ เงินทองไมม ีความหมายแลว มองในแงหนง่ึ ก็
จะทําใหเกิดความเบื่อหนาย เพราะวาเมื่อมองเห็นทรัพยสินเงิน
ทองเปน เพยี งของนอกกาย เกิดขน้ึ แลว กด็ บั ไป เปนอนิจจงั ไมม ี
คุณคาทแี่ ทจ ริง ถา เปน อยา งน้ีเราก็ไมควรเอาใจใส นี่คอื ทาทีอยา ง
หนง่ึ ตอ ทรัพยสมบตั ิ
ถาพระเจาอโศกทรงมองเหน็ อยา งนน้ั พระองคก ค็ งจะไมเ อา
พระทยั ใสก บั พระราชทรพั ยแ ละอาํ นาจตอไป ซึง่ กจ็ ะตอ งตง้ั คําถาม
วา จะเปนการปฏิบัติที่ถกู ตองหรือไม
ปรากฏวา พระเจา อโศกไดท าํ สง่ิ หนงึ่ ทถ่ี อื ไดว า เปน แบบอยา ง
แกชาวพุทธที่สาํ คัญคือ พระเจาอโศกนั้น ไมไดทรงทิ้งทรัพยและ

๔๖ หลักศิลาจารกึ อโศก

อาํ นาจ แตไ ดท รงเปล่ยี นความหมายของทรพั ยและอํานาจเสียใหม
อยางที่ไดกลาวไวเมื่อก้ีวา ทรัพยและอํานาจน้ัน มีความ

หมายสาํ หรบั ปุถุชนจํานวนมาก คือเปน เครอื่ งบาํ รงุ บาํ เรอความสขุ
ของตน และแสดงความยงิ่ ใหญ

แตพระเจาอโศกไดทรงเปลี่ยนความหมายของทรัพยและ
อํานาจใหมเปนวา ทรัพยและอาํ นาจนนั้ สามารถใชเ ปนเคร่ืองมอื
ของธรรมได คือใชเปนเครือ่ งมอื ในการสรา งสรรค ทําความดีงาม
และประโยชนส ุขใหแ กประชาชน

ดวยความคิดเชนน้ี พระเจาอโศกก็ทรงนําเอาทรัพยและ
อํานาจท่พี ระองคเคยมนี น่ั แหละมาใช แตเ ปล่ยี นใหม คือแทนทจ่ี ะ
เอามาบํารุงบาํ เรอตนเอง ก็เอามาใชสรางสรรคความดีงามและ
ประโยชนส ขุ อยา งทว่ี า

จงึ ไดท รงสรา งโรงพยาบาลคน โรงพยาบาลสตั ว ทว่ั พระราช
อาณาจกั ร สรา งถนนหนทางเชอ่ื มตอ ใหก วา งขวางทว่ั ถงึ ปลกู ตน ไม
ขดุ บอ นา้ํ สรา งทพี่ กั คนเดนิ ทาง และสรา งอา งเกบ็ นา้ํ ใหก ารศกึ ษา
แกป ระชาชน ทาํ ศลิ าจารกึ ประกาศธรรม แถลงเรอื่ งท่เี ปน นโยบาย
ของรัฐในทางธรรม ที่จะใหผูบริหารปกครองทองถ่ินนําไปส่ังสอน
ประชาชน ตลอดจนอปุ ถัมภพ ระศาสนาอยางมากมาย

พระเจาอโศกมหาราชไดทรงสรางวัดขึ้นท้ังหมด เรียกวา
“วิหาร” จาํ นวน ๘๔,๐๐๐ วดั ทว่ั มหาอาณาจกั รของพระองค คง
จะใหเทากับพระธรรมวินัยของพระพุทธเจาท่ีมีทั้งหมด ๘๔,๐๐๐
พระธรรมขนั ธ

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยุตโฺ ต) ๔๗

ในแควน มคธน้ี มวี ัดจาํ นวนมากมาย วัด ภาษาบาลเี รยี กวา
วหิ าร มหาวิหารก็คอื วดั ใหญ

คําวา “วิหาร” นี้ ถา แผลง ว. เปน พ. ก็จะเปน พหิ าร เหมอื น
อยา งในประเทศไทยเรานยิ มแปลง ว. เปน พ. เยอะแยะไป วหิ ารก็
กลายเปนพิหาร แปลวา “วดั ”

ตอมา เม่ืออาณาจักรของพระเจาอโศกมหาราชไดเส่ือม
สลายลงไป กม็ ซี ากวดั วาอารามเหลืออยมู ากมาย เนือ่ งจากแควน
มคธน้ีเปน ดินแดนทีเ่ ต็มไปดว ยซากของวดั คือวิหาร หรอื พหิ าร

ฉะนั้น ตอมาก็เลยเรียกช่ือดินแดนแถบน้ี ตั้งชื่อเปนแควน
หรอื รัฐวา แควนพิหาร หรอื รฐั วหิ าร (State of Bihar) อยางท่เี รารจู ัก
กนั เปน ชื่อทางการในปจจุบัน ทเี่ ปน อยางนีก้ เ็ พราะมวี ัดมากมาย
เหลอื เกิน ซ่งึ พระเจา อโศกสรางไว ยงั มีซากเหลืออยู

พระเจาอโศกสรางวิหารทั้งหมด ๘๔,๐๐๐ แหง ทั่วราช
อาณาจักร และวดั เหลานัน้ กไ็ ดเ ปน ศูนยกลางทางการศึกษา

บางแหงไดเจริญเติบโตจนเปนมหาวิทยาลยั เชน นาลนั ทา
ซึง่ เดมิ ก็เปน วิหารหนึ่ง แลว ไดขยายเปน มหาวหิ าร คอื วัดใหญ โดย
เกิดจากการรวมกันของวัดเล็กวัดนอยท่ีเปนศูนยการศึกษา แลว
พัฒนาขน้ึ มาจนเปน มหาวิทยาลยั นาลันทา

ชื่อในภาษาบาลี เรียกวา นาลันทามหาวหิ าร ก็คือวดั ใหญน ัน่
เอง หลายทา นทไ่ี ปอนิ เดยี มา ไดเหน็ แมเ พียงซาก ก็มองเห็นไดถ งึ
ความยง่ิ ใหญข องมหาวิทยาลัยนาลนั ทาวา เปน อยางไร

๔๘ หลักศิลาจารกึ อโศก

ทรัพยแ ละอาํ นาจตองรับใชธ รรม

พระเจาอโศกมหาราชไดท รงใหค วามหมายใหมแ กท รพั ยแ ละ
อาํ นาจ แลวก็ทรงใหบ ันทกึ ไวใ นศิลาจารกึ ของพระองค

ศิลาจารึกของพระเจาอโศกแหงหนึ่ง มีขอความจารึกไววา
ยศ คือความยงิ่ ใหญของพระองคน ั้น จะไมม ีความหมายเลย ถาไม
เปน ไปเพอ่ื ชว ยใหประชาชนไดป ระพฤติธรรม

หมายความวา พระเจาอโศกไดท รงใชท รัพยและอาํ นาจ เปน
เคร่ืองมือแหงธรรม เพือ่ เผยแพรธรรมหรอื สรา งสรรคธ รรม ทําให
ความดีงามหรือธรรมนี้แผขยายไปในหมูมนษุ ย เพ่ือสรางสรรคใ ห
เกดิ ประโยชนส ุขอนั แทจรงิ อันนีเ้ ปน คติทส่ี าํ คญั มาก

ขอยกขอ ความในศลิ าจารกึ คอื ธรรมโองการ ในจารกึ ศลิ า
ฉบบั ท่ี ๑๐ มาใหดู ดังนี้

สมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัวปยิ ทัสสี ผเู้ ป็นที่รกั แห่งทวยเทพ
ไม่ทรงถอื ว่า ยศหรอื เกียรตจิ ะเปน็ สง่ิ มีประโยชน์มาก เวน้
แตจ่ ะทรงปรารถนายศหรือเกียรตเิ พือ่ ความม่งุ หมายนี้ว่า

“ทั้งในบัดน้ี และในเบ้ืองหน้ า ขอประชาชนทั้ง
หลายจงตั้งใจสดับฟังคําสอนธรรมของข้าฯ และจงปฏิบัติ
ตามหลกั ความประพฤตทิ างธรรม”

คาํ วา “ยศ” ในภาษาบาลีน้นั แปลงายๆ วา ความย่ิงใหญ มี
๓ อยาง คือ

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๔๙

๑. เกยี รตยิ ศ ยศ คอื เกยี รติ ไดแ กค วามมชี อื่ เสยี ง มเี กยี รตคิ ณุ
๒. อสิ สริยยศ ยศ คือ ความยิ่งใหญ
๓. บรวิ ารยศ ยศ คือ บรวิ าร

คนทม่ี คี วามคดิ ดๆี มเี จตนาดี มสี ตปิ ญ ญาดี แตถ า ไมม ที รพั ย
ไมมีอํานาจ ไมมียศ ก็ไมสามารถสรางสรรคความดีงามหรือ
ประโยชนส ขุ ไดม าก เราคิดขึ้นมาวา จะทาํ การท่ีดเี ปน ประโยชนสัก
อยางหนง่ึ แตไมมเี งนิ ไมม บี ริวาร ไมมอี าํ นาจ จะทาํ ไดแคไ หน ทํา
ไดนิดเดียวกจ็ บ แตถ า มที รัพย มอี าํ นาจ มีบรวิ ารแลว พอมีสติ
ปญญาดี มคี วามคดิ ดีๆ ขน้ึ มา ก็สามารถทาํ ไดใ หเกดิ ผลกระจาย
ขยายออกไปไดกวา งขวาง เหมอื นดังพระเจา อโศกมหาราช

เร่ืองพระเจาอโศกมหาราชนี้ จงึ เปน คตเิ ปน แบบอยา งทด่ี ี ที่
ใหห ลกั แกเ ราในการปฏบิ ตั ติ อ ทรพั ยและอํานาจอยา งทีก่ ลาวมาน้ี

ชาวพทุ ธมคี ตวิ า เราไดเ รยี นรธู รรมแลว วา ทรพั ยส นิ เงนิ ทอง
และอาํ นาจน้ี เปน ของนอกกาย ไมเ ทยี่ งแทย ั่งยืน และไมเปนแกน
สารแทจ รงิ จึงไมควรยดึ ถอื เปน จุดหมายของชีวติ

ขอนห้ี มายความวา เราไมไดเ ห็นความหมายของทรพั ยและ
อาํ นาจในแงทีเ่ ปน เรือ่ งของความเหน็ แกต วั หรือเปน ประโยชนสวน
ตน และไมยึดตดิ ตกเปนทาสของมนั ใหเ กดิ กอ ทกุ ขภ ยั ทง้ั แกต นและ
ผอู น่ื แตเ รามองอยา งพระเจา อโศก คือ คดิ ทจี่ ะใชมันเปนเคร่ืองมือ
ของธรรม

ไมใชหมายความวา ทรัพยและอํานาจเปนอนิจจัง ทุกขัง
อนัตตา แลว ก็เลยไมเ อาใจใส ไมบริหาร ไมใ ชอ ยา งน้นั เราตอ งรู
จักเอามันมาใชเ ปน เครือ่ งมอื สรางสรรคสิง่ ที่ดงี ามและประโยชนส ุข

๕๐ หลักศลิ าจารกึ อโศก

อนั น้ีถือวา เปนวธิ ีปฏบิ ัตอิ ยางถูกตอ งของชาวพุทธทีเ่ ปน คฤหัสถ
แตถาไมอยากเกี่ยวของกับทรัพยและอาํ นาจ ก็ออกบวชไป

เลย จะไดไปทาํ หนาที่ทางธรรมอีกแบบหน่ึง คือ นําธรรมที่เปน
สาระทางนามธรรม ไดแ กส ติปญ ญา ไปแจกจาย เพือ่ ใหป ระชาชน
ดาํ เนนิ ชีวติ ใหถ ูกตอ งเกดิ ประโยชนสขุ แกช ีวติ และสังคมของเขา

ฉะน้นั จงึ มีคติ ๒ อยา ง คอื
• ถาอยูเปนคฤหสั ถ ก็ใหใ ชทรพั ยและอํานาจเปนเครื่องมือ

ของธรรม ใหเปนประโยชนใ นการสรา งสรรคความดีงาม
หรอื
• ถาเบื่อหนายไมอยากเกี่ยวของกับทรัพยและอํานาจ ก็
ออกบวชไปเผยแพรธ รรมใหเ ปนประโยชนแ กประชาชน

ถามฉิ ะนั้น จะกลายเปนคนครง่ึ ๆ กลางๆ มีทรัพยม ีอาํ นาจ
แลว บอกวา เบอ่ื หนา ย ไมเ อาเรอ่ื งเอาราว จะทาํ อยา งไรกไ็ มท าํ ไม
รบั ผิดชอบ ทรัพยและอาํ นาจน้นั เมอ่ื ไมไดรบั การบริหาร ไมมีคน
รบั ผดิ ชอบ กเ็ สียหายหมด ไมเกิดประโยชนทง้ั แกตนเองและสงั คม
และชวี ิตของคนผูนั้นเองก็ไมไ ดเ จริญงอกงามอะไรขึ้นมา

ดเู ร่ืองพระเจา อโศก กใ็ หไ ดคตอิ ยา งนอยสักอยา งหน่งึ น้ี



อโศกธรรม - ธรรมวิชยั

- -

อโศกมหาราช - อโศกธรรม

เรื่องหนึ่งท่ีนาสนใจมาก เก่ยี วกบั ศิลาจารึกของพระเจา อโศก
คือ นักปราชญเมืองฝร่ังและในอินเดียสวนมาก อานหรือศึกษา
ศลิ าจารึกนั้นแลว มักลงความเหน็ วา พระเจา อโศกมหาราช แมจะ
ทรงเปนพุทธมามกะท่ีมีศรัทธาแรงกลาและเอาพระทัยใสในการดู
แลรักษาพระพุทธศาสนาอยางย่ิง แตในเวลาที่ทรงเผยแผส่ังสอน
ธรรมในศิลาจารกึ ไดท รงพยายามวางพระองคเ ปน กลางๆ ไมต รสั
ถึงหลักธรรมในพระพุทธศาสนาเลย แตทรงสอนธรรมท่ีเปนหลัก
ความประพฤติทั่วไปอนั มหี รอื เปน ท่ียอมรบั ในทกุ ๆ ศาสนา

ยกตวั อยา ง T. W. Rhys Davids ซงึ่ เปน นักปราชญสําคัญ
ทางพระพุทธศาสนา เชี่ยวชาญภาษาบาลี (ผูตั้ง Pali Text
Society ท่ี London) กลาววา (ในศิลาจารึกนนั้ )

“ไมมีสักคําที่พูดถงึ พระพทุ ธเจา หรอื พทุ ธศาสนา …
อรยิ สจั ๔ ปฏจิ จสมปุ บาท นพิ พาน และหลกั ธรรมสําคญั
ขออืน่ ๆ ของพุทธศาสนา ไมป รากฏในศิลาจารกึ เลย”

๕๒ หลักศลิ าจารึกอโศก

หนงั สือ The Cambridge History of India (5 volmes, 1922-
37) เขยี นวา

“เราไมไดฟงพระเจาอโศกตรัสถึงธรรมที่ลึกซึ้งหรือ
หลักพื้นฐานของพุทธศาสนาเลย ไมมีการกลาวถึง
อริยสจั ๔ มรรคมอี งค ๘ ปฏจิ จสมุปบาท พระอจั ฉริย
คณุ ของพระพทุ ธเจา (อีกท้ัง) ไมม คี ํากลา วถึงหรือแสดง
หลกั แหง นพิ พานเลย”

R.K. Mookerjee กลาวไวใ นหนงั สือ Asoka วา

“ธรรมท่ีนําเสนออยางนั้น ในธรรมโองการเหลานี้
เปนเพียงอีกช่ือหน่ึงสําหรับเรียกชีวิตที่ดีงามมีศีลธรรม
และต้ังอยูบนฐานรวมของทุกศาสนา…สามารถนําไปใช
ไดและยอมรับไดท่ัวกันวาเปนสาระของทุกศาสนา…ดัง
นั้น พระเจาอโศกจึงนับวาไดทรงวางฐานแหงศาสนา
สากล (universal religion) และนา จะทรงเปนบคุ คล
แรกทท่ี ําการนใี้ นประวัติศาสตร”

คําทป่ี ราชญแ ละทา นผูรเู หลานีว้ ามากน็ า ฟง และดูคลายจะ
นาเชือ่ แตพ อพเิ คราะหใ หชดั ลงไป กลายเปน ตองแยกวา

ในสวนของขอ มลู ดานศิลาจารกึ เอง ตอ งช่นื ชมทาน และเรา
ไดอ าศยั ทานเหลา น้ีมาก

แตในข้ันแสดงความเห็น สรุปความคิดเกี่ยวกับเน้ือหาหลัก
ธรรม หรอื ลงมตโิ ยงมาถงึ พระพทุ ธศาสนานนั้ ความคดิ ความเขา ใจ
ของทา นเหลา นย้ี งั ไมเ พยี งพอ ทาํ ใหจ บั จดุ ไมถ กู มองหลกั ไมต รง ทงั้ นี้
นา จะเกดิ จากเหตสุ าํ คญั ๒ ประการ คอื

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๕๓

๑) บางทานคงแสดงความเห็นอยางน้ันในเวลาท่กี ารขดุ คน
กาํ ลงั ดาํ เนนิ ไป ยงั พบศลิ าจารกึ ไมม ากนกั จงึ พดู ไปตามหลกั ฐาน
เทา ทพี่ บแลว ซง่ึ ยงั ไมพ อ (อยา ง Rhys Davids ท่ีพูดวา “ไมมสี ักคํา
ทีพ่ ดู ถงึ พระพทุ ธเจา หรอื พทุ ธศาสนา…” แตเ สาจารกึ ทลี่ มุ พนิ เี ขยี นวา
“พระพทุ ธศากยมนุ ไี ดป ระสตู แิ ลว ณ ทนี่ ”้ี และจารกึ ทเี่ ปน เรอ่ื งของ
พทุ ธศาสนาโดยตรงมไี มน อ ย)

๒) ตอ งยอมรบั ความจรงิ วา คนทวั่ ไป แมแ ตผ ทู ร่ี เู รอื่ งพระพทุ ธ
ศาสนาคอ นขา งมาก สว นใหญไ มร หู ลกั การทถี่ อื ไดว า เปน แบบแผน
จนถึงเปนประเพณีของพุทธบริษัท ที่แบง ขัน้ ตอนหรอื ระดบั ในการ
สอนธรรมระหวา งจกั รพรรดธิ รรมราชา กบั สมั มาสมั พทุ ธธรรมราชา
หรอื อาจพดู อยา งงา ยๆ วา ระหวา งผปู กครองบา นเมอื ง กบั พระสงฆ
หรอื ระหวา งอาณาจกั ร กบั พทุ ธจกั ร ทวี่ า ฝา ยแรกสอนในเรอ่ื งทฏิ ฐ-
ธมั มกิ ตั ถะ และฝา ยหลงั สอนตอ ออกไปในเรอ่ื งสมั ปรายกิ ตั ถะ

สาํ หรบั ขอ ๑) ไมต อ งอธบิ าย เพราะคาํ ตอบอยทู ก่ี ารขดุ คน
ศลิ าจารกึ ใหพ บจนครบเทา ทจ่ี ะทาํ ได (จนบดั นกี้ ค็ งยงั ไมอ าจยนื ยนั
วา พบทง้ั หมดแลว )

แตข อ ๒) เปน เรอ่ื งทจี่ ะตอ งทาํ ความเขา ใจใหช ดั ซงึ่ มหี ลกั มี
ตวั อยา งทชี่ ดั อยแู ลว เมอ่ื ทาํ ความเขา ใจชดั แลว กจ็ ะเหน็ วา ทศั นะ
ของทานเหลานี้ ท่ีวาพระเจาอโศกจะสอนหลักธรรมทางพุทธตอ ง
พูดถึงอริยสจั สมาธิ นพิ พาน เปน ตน น้ัน เปนเร่ืองทีผ่ ดิ พลาดมาก

การสอนธรรมทีเ่ ปนกลางๆ นน้ั เปน เร่ืองธรรมดาอยแู ลว ใน
ทางพุทธศาสนา ท่จี ะไมไ ปกระทบกระทั่ง หรอื ใหรังเกยี จเดยี ดฉันท
ยดึ ถอื แบงแยกอะไรกบั ใคร

๕๔ หลกั ศิลาจารกึ อโศก

ในเรื่องน้ี จะใหช ัด ควรแยกเปน ๒ ดาน คอื
๑. ในแงห ลักการ ใชวิธกี ารทางปญ ญา คอื จะไมตเิ ตยี นวา
รายใคร รับฟง ไดท้ังนน้ั แตก ็ไมใ ชเ ปน การยอมรบั อะไรไปหมดแบบ
เอามารวมคลกุ คละกัน จนกลายเปน ไมมหี ลัก ไมเปน ระบบ คอื มี
หลกั การท่ีชดั เจน ในเวลาท่ีจะแสดงออก ก็พูดหลักการออกไปตาม
ท่ีมนั เปน อยา งท่ที านใชค าํ วา แสดงธรรม ใหเ ขาพิจารณาเอาเอง
ดวยปญ ญาทเ่ี ปน เสรขี องเขา แบบท่เี หน็ ในกาลามสูตร แตถาเปน
กาละท่จี ะถกเถยี ง ก็ใชว าจาสภุ าพแสดงเหตุผลกนั ไดเ ตม็ ที่ โดยไม
ตอ งวารา ย ไมทาํ รา ยกัน
๒. ในแงป ฏิบัติการ โดยเฉพาะในการอยูร ว มกนั ใชวิธกี าร
แหง เมตตา (จะใชคาํ วา อหิงสา ก็แลว แตชอบ) ดงั เหน็ ไดชดั วา ถึงแม
ทางปญ ญา ในแงหลกั การ พทุ ธศาสนาคดั คา นอยางเต็มทต่ี อลทั ธิ
ของพราหมณในเร่ืองการฆาสัตวบูชายัญและการแบงแยกวรรณะ
เปนตน และคัดคานลัทธิปฏิเสธกรรมของสมณะบางพวก แตใน
ทางสงั คม นอกจากแสดงออกดวยวจีไมตรีแลว ทานยงั ใหชาวพุทธ
เอ้ืออาํ นวยปจจยั สแี่ กส มณพราหมณเหลา น้ันดว ย (แมแตพระสงฆ
เองตั้งแตพุทธกาล เม่ือมีของมากเหลือฉัน ก็จัดแจกใหแกคนท้ัง
หลาย รวมทงั้ นกั บวชลัทธิภายนอกดวย, เชน วินย.๒/๕๒๗/๓๔๘)
เพือ่ รวบรัด ขอยกตวั อยา งใหเห็นแงมุมตา งๆ ดงั น้ี
- อยา งในหลกั ทศิ ๖ ทา นสอนชาวพทุ ธใหป ฏบิ ตั ติ อ สมณพราหมณ

คอื บคุ คลทางศาสนาทกุ พวก ไมว า จะเปนนกั บวชหรือไม (ทั้ง

ประเภทสมณะ และประเภทพราหมณ กค็ ือรวมทงั้ หมด) ดว ย

เมตตาทั้งทางกาย วาจา และใจ ตอนรับ และอาํ นวยปจจยั ส่ี

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๕๕

- เจาลัทธิอื่นสงคนมาโดยวางแผนใหหักลางพุทธศาสนา แตมา

แลว พดู จากนั เขาเลิกลัทธิเดมิ หันมาบอกขอนับถือพทุ ธ พระ

พทุ ธเจาตรัสบอกเขาวา อยา ตัดสมั พันธก ับลัทธเิ ดมิ แตข อใหเขา
อปุ ถมั ภนักบวชลทั ธนิ น้ั ตอ ไป (ดู วินย.๕/๘๐/๑๐๔)

- ชาวพุทธท่ีเปลี่ยนมาจากลัทธอิ อ นวอนเทวดา หรอื อยูในสงั คมที่

มีคนอ่ืนนับถือเทพเทวา ทานก็ใหนับถือใหเกียรติแกเทวดา

เพียงแตใหม ที า ทที ่ถี กู ตองตามหลักการ คือ ไมใหออ นวอนหวงั

ผลดลบนั ดาล แตใ หอ ยูรว มกับเทวดาดว ยเมตตาโดยเปน มติ รมี

ไมตรตี อ กัน (เชน การอทุ ิศบุญแกเทวดา และการทาํ เทวตาพลี,

เชน ท.ี ม.๑๐/๘๔/๑๐๕; อง.ปจฺ ก.๒๒/๔๑/๔๙)
ทนี ก้ี จ็ ะแสดงหลกั การแบง ระดบั ในการสอนธรรม ทวี่ า รฐั สอน
ทฏิ ฐธมั มกิ ตั ถ สว นวดั สอนสมั ปรายกิ ตั ถ

แตกอนไปถึงน่นั ก็ขอใหทราบดว ยวา นักปราชญห รือนักคน
ควาผูเ หน็ วาธรรมในศลิ าจารกึ อโศกเปนหลกั พทุ ธศาสนา กม็ ีไม
นอย เชน ผูเขยี นหัวขอ “Inscriptions as historical source
material. Ancient India.” ใน Encyclopeadia Britannica ซง่ึ ไดก ลา ววา

“คาํ จารกึ โองการของพระเจา อโศก เปน ประกาศและ
ขอ กําหนดตามสารตั ถะแหง พทุ ธศาสนา”

นักวิชาการสมัยใหมท่ีมองแบบนี้ คือเห็นวาธรรมในศิลา
จารกึ มาจากพุทธดํารสั ยงั มีอีก เชน E. Senart และ Hultzsch

ทางฝายตะวันออก ทา นที่มน่ั ใจวา ธรรมในศิลาจารกึ เปน
หลักในพระพทุ ธศาสนา กเ็ ชน D. R. Bhandarkar และ H. C.
Ray Chaudhuri โดยที่สองทา นนถ้ี ือวาเปนไปตามอุดมคตแิ หง

๕๖ หลกั ศลิ าจารกึ อโศก

จักกวตั ติธรรมราชา รวมทั้ง B. M. Barua ที่เขียนไวในหนังสือ
Asoka and His Inscriptions, Part I, p. 225 วา

“ธรรมของพระเจา อโศก สอดคลองกบั หลกั พทุ ธคิหิ
ปฏบิ ัตทิ ั้งหมดทงั้ ส้ิน”

กอนจะพูดอะไรอ่ืนตอไป ก็มาดูหลักการแบงระดับในการ
สอนธรรม ระหวา งธรรมราชาฝา ยอาณาจกั ร กับธรรมราชาทเี่ ปน
สัมมาสัมพุทธะกันสักหนอ ย

มาดเู ร่อื งจากแหลง หลกั คอื เลา ไปตามพระไตรปฎกกันเลย

ราชาสอนทิฏฐธรรม - พระสอนล้าํ เลยตอไป

สมัยนัน้ พระผมู พี ระภาคพทุ ธเจา ประทบั อยู ณ ภูเขาคิชฌ-
กูฏ เขตพระนครราชคฤห

คร้ังน้ัน พระเจาพิมพิสารจอมทัพมคธรัฐ เสวยราชสมบัติ
เปนอสิ ราธบิ ดี ปกครองหมบู านจาํ นวนแปดหม่นื

สมัยนั้น ในเมอื งจมั ปา มเี ศรษฐีบุตรช่อื โสณะ ตระกูลโกฬวิ สิ
เปน สขุ มุ าลชาติ มีขนออนงอกข้ึนทฝ่ี าเทา ทงั้ สอง

คราวหน่ึง พระเจาพิมพิสารจอมทัพมคธรัฐ มีรับสั่งให
กุลบุตรชาวแปดหม่ืนหมบู านนั้นประชมุ กัน แลว ดวยพระราชกิจสกั
อยา งหนงึ่ ทรงสง ราชทตู ไปพบเศรษฐีบุตรโสณะโกฬิวิส โดยมีรับ
สง่ั วา เจาโสณะจงมา เราตองการใหเจา โสณะมาหา

ครง้ั นน้ั มารดาบดิ าของโสณะโกฬวิ สิ ไดก ลา วกะโสณะโกฬวิ สิ

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๕๗

วา “พอ โสณะ พระเจา อยหู วั มพี ระราชประสงคจ ะทอดพระเนตรเทา
ทั้งสองของเจา เจาไมค วรเหยียดเทา ท้ังสองไปทางท่ีพระเจาอยหู ัว
ประทับอยู จงน่งั ขัดสมาธติ รงพระพักตรของพระองค เมอื่ เจานั่งลง
แลว พระเจา อยูหัวก็จักทอดพระเนตรเทาท้ังสองได”

ตอ มา พวกบริวารชนไดน าํ โสณะโกฬวิ สิ ขึน้ เสล่ียงไป โสณะ
โกฬิวิสก็ไดเขาเฝาพระเจาพิมพิสารจอมทัพมคธรัฐ ถวายบังคม
แลวนงั่ ขดั สมาธิตรงพระพักตรข องพระราชา พระเจาพิมพิสารจอม
ทพั มคธรฐั กไ็ ดท อดพระเนตรเห็นโลมชาติท่ีฝาเทาทง้ั สองของเขา

คร้ันแลว พระเจาพิมพิสารจอมทัพมคธรัฐไดทรงแนะนาํ สั่ง
สอนกุลบุตรชาวแปดหมื่นหมูบานน้ัน ในเร่ืองประโยชนปจจุบัน
(ทฏิ ฐธัมมิกัตถะ) แลว มพี ระราชดํารัสตรัสสงพวกเขาวา

ท่านทั้งหลายก็เป็นอันได้รับคําแนะนําสั่งสอนจากเรา
แล้วในเร่ืองประโยชนปจจุบัน (ทิฏฐธัมมิกัตถะ) นี่แน่ะ
พวกท่านจงไปเข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้าเถิด พระผู้มีพระ

ภาคเจ้าของเราทั้งหลายพระองคน์ ้นั จกั ทรงแนะนาํ ส่ังสอน
พวกทา่ น ในเรอ่ื งประโยชนเ บ้อื งหนา (สัมปรายิกัตถะ)

ครงั้ นน้ั พวกกลุ บตุ รชาวแปดหมน่ื หมบู า น กพ็ ากนั ไปยงั ภเู ขา
คชิ ฌกฏู …

ตอมา พระผูม ีพระภาคเสดจ็ ออกจากพระวิหาร ประทบั น่ัง
เหนือพระพทุ ธอาสน ท่จี ดั ไว ณ รม เงาหลังพระวหิ าร ครัน้ แลว
พวกกุลบุตรชาวแปดหมื่นหมูบานก็เขาไปเฝาพระผูมีพระภาค
ถวายอภิวาทแลวน่ัง ณ ทคี่ วรสวนขางหนง่ึ …

๕๘ หลักศิลาจารกึ อโศก

กุลบตุ รชาวแปดหมน่ื หมบู า นไดธรรมจกั ษุ

ลาํ ดบั นน้ั พระผมู พี ระภาคทรงทราบดว ยพระทยั ถงึ ความนกึ
คดิ ในใจของพวกกลุ บุตรชาวแปดหมน่ื หมบู า นแลว จงึ ตรสั อนุปพุ พิ
กถา คือ ทรงประกาศ ทานกถา (เรือ่ งทาน) สีลกถา (เร่ืองศีล) สัคค
กถา (เรอื่ งสวรรค คอื ความสขุ ความดเี ลศิ พรง่ั พรอ มของกาม) โทษ
ขอ ดอ ย สวนเสียของกาม และอานิสงสในความปลอดเปนอิสระ
จากกาม

เม่อื ทรงทราบวา พวกเขามจี ิตเหมาะ มใี จออนโยน ปลอด
จากนิวรณ ชื่นบาน ผองใสแลว จึงทรงประกาศสามุกกังสิกธรรม
เทศนา (พระธรรมเทศนาท่ีพระพุทธเจาไดตรัสรูและทรงยกขึ้น
แสดงดว ยพระองคเอง) คอื ทุกข์ สมุทยั นิโรธ มรรค

เปรียบเหมือนผาท่สี ะอาด ปราศจากมลทนิ ควรรบั นาํ้ ยอม
ไดเปนอยางดี ฉันใด ก็ฉันน้ัน ธรรมจักษุ อันปราศจากธุลี
ปราศจากมลทิน ไดเ กดิ ขน้ึ แกป ระดากลุ บตุ รชาวแปดหมนื่ หมบู า น
ณ ที่น่ังนนั้ เองวา “สงิ่ ใดสงิ่ หนงึ่ มคี วามเกดิ ขนึ้ เปน ธรรมดา สง่ิ นน้ั ทงั้
ปวงกม็ คี วามดบั ไปเปน ธรรมดา”

พวกเขาไดเห็นธรรมแลว ไดบรรลุธรรมแลว ไดรูแจงธรรม
แลว หยั่งถึงธรรมแลว ขามพน ความสงสัย ปราศจากขอ เคลอื บ
แคลง ถึงความเปนผูแ กลวกลา ไมตอ งเชือ่ ผูอ ื่นในคําสอนของพระ
ศาสดา ไดก ราบทูลพระผมู ีพระภาควา “พระองคผ ูเจรญิ ภาษติ
ของพระองคแจมแจงยิ่งนัก พระองคผูเจริญ ภาษิตของพระองค
แจมแจงยิ่งแลว พระองคทรงประกาศธรรมโดยอเนกปริยาย

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๕๙

เปรียบเหมอื นบุคคลหงายของทคี่ วา่ํ เปดของทป่ี ด บอกทางแกคน
หลงทาง หรอื สอ งประทปี ในที่มืดดวยต้ังใจวา คนมีจกั ษุ จักมอง
เห็นรูป ขาพระองคทง้ั หลายนี้ ขอถึงพระผูม ีพระภาค พระธรรม
และพระภิกษุสงฆ วา เปนสรณะ ขอพระผมู พี ระภาคจงทรงจาํ ขา
พระองคท ัง้ หลาย วา เปน อบุ าสกผถู ึงสรณะ ตัง้ แตว นั น้เี ปน ตน ไป
ตราบเทา ชวี ิต”

เศรษฐีบุตรโสณะโกฬวิ ิสออกบวช

ครัง้ นัน้ โสณะโกฬวิ ิสไดมคี วามคิดดงั น้วี า เทาที่เราเขาใจถงึ
ธรรมทพ่ี ระผูมีพระภาคไดท รงแสดงไว การท่ีบุคคลผอู ยคู รองเรอื น
จะประพฤติพรหมจรรยนี้ใหบริสุทธิ์บริบูรณเต็มท่ีอยางสังขที่ขัดดี
แลว มใิ ชจะทาํ ไดงา ย ถา กระไร เราพงึ ปลงผมและหนวด ครองผา
กาสายะ ออกจากเรอื นบวชเปน บรรพชติ

ครานนั้ พวกกลุ บตุ รชาวแปดหมน่ื หมบู า น ช่นื ชมภาษติ ของ
พระผูมีพระภาคแลว ลุกจากท่ีน่ัง ถวายอภิวาทพระผูมีพระภาค
ทําประทักษณิ แลว หลกี ไป

ลาํ ดับนัน้ หลังจากพวกกลุ บตุ รชาวแปดหมนื่ หมบู า นนน้ั หลีก
ไปแลวไมนาน โสณะโกฬิวิสไดเขาเฝาพระผูมีพระภาค ถวาย
อภวิ าทพระผูม พี ระภาคแลว น่ัง ณ ทค่ี วรขางหน่งึ

โสณะโกฬวิ ิสนั่ง ณ ท่ีควรแลว ไดกราบทูลคาํ นแ้ี ดพระผมู ี
พระภาควา “พระพุทธเจาขา เทา ท่ีขา พระองคเขาใจถงึ ธรรมทพ่ี ระ
ผูมีพระภาคไดทรงแสดงไว การที่บุคคลผูอยูครองเรือน จะ
ประพฤติพรหมจรรยนี้ใหบริสุทธ์ิบริบูรณเต็มที่อยางสังขที่ขัดดแี ลว

๖๐ หลกั ศิลาจารึกอโศก

มใิ ชจะทําไดง า ย ขาพระองคปรารถนาจะปลงผมและหนวด ครอง
ผากาสายะออกจากเรือนบวชเปนบรรพชิต ขอพระผูมีพระภาค
โปรดใหขา พระองคบรรพชาเถิด”

เศรษฐีบุตรโสณะโกฬิวิสไดรับบรรพชาอุปสมบทแลวใน
สาํ นักของพระผูมพี ระภาค

โสณะโกฬิวิสบวชแลว จนกระทั่งเปนพระอรหันต เปน
มหาสาวก มีเรื่องราวตอไปอยางไร จะไมตามไปดู เพราะเลย
ขอบเขตของประเดน็ ทก่ี ําลงั พจิ ารณา

หัวใจของเร่ืองอยูที่คําสอนของพระเจาพิมพิสารแกพสกนิกร
ซงึ่ จะโยงมายังคาํ สอนของพระเจาอโศกมหาราชในศิลาจารึก

พระพัฒนาคน - รฐั พฒั นาพลเมือง

ในเร่ืองจากพระไตรปฎกท่ียกมาเลาน้ี จุดท่ีตองการต้ังเปน
ขอสงั เกต คอื ตอนทพ่ี วกกุลบุตรชาวแปดหมน่ื หมบู า นเขาเฝา พระ
เจาพิมพสิ าร เมอ่ื จบภารกิจแลว พระราชาตรสั วา พระองคไ ดท รง
แนะนาํ สงั่ สอนพวกเขาแลว ในเรอื่ งประโยชนป จ จบุ นั (ทฏิ ฐธมั มกิ ตั ถะ)
ตอ จากนน้ั ขอใหพ วกเขาไปเฝา พระพทุ ธเจา พระองคจ ะทรงแนะนาํ
สง่ั สอนพวกเขาในเรื่องประโยชนเบื้องหนา (สมั ปรายิกตั ถะ)

อะไรคือ ทิฏฐธัมมกิ ตั ถะ ทีแ่ ปลวา ประโยชนปจ จุบนั อะไรคอื
สมั ปรายิกัตถะ ท่ีแปลวา ประโยชนเ บื้องหนา

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตโฺ ต) ๖๑

ทิฏฐธมั มกิ ัตถะ แปลตามตัวอักษรวา ประโยชนหรอื จุดหมาย
ทเ่ี ปน ไปในทฏิ ฐธรรม แลว ทฏิ ฐธรรมคืออะไร?

“ทฏิ ฐธรรม” แปลวา สภาวะ สภาพ สงิ่ หรอื เรอื่ งราว ทมี่ องเหน็

ทนั ตาเหน็ หรอื เหน็ ๆ กนั อยู จบั สาระแลว กไ็ ดค วามหมาย๒อยา งคอื
ก) เวลาปจ จุบนั ชีวิตปจจบุ ัน ทันตาเหน็ ชาติน้ี
ข) เรื่องของชีวิตประจาํ วัน ชีวิตดานนอก ทางวัตถุ เร่ือง
รปู ธรรม

เพราะฉะนั้น ทิฏฐธัมมิกัตถะ นี้ จึงแปลกันวา ประโยชน
ปจจุบัน จุดหมายของชีวิตในชาติน้ี ประโยชนดานนอกทาง
รูปธรรมหรือจุดหมายพ้ืนฐานของชวี ติ ไดแ ก เรอ่ื งทรัพยส ินเงินทอง
เร่อื งยศ เกียรติ ไมตรี ความมฐี านะในสงั คม เรอื่ งคคู รอง ครอบครวั
และเรอื่ งกําลังรางกาย ความแขง็ แรง การดูแลรักษาสขุ ภาพ เชน ท่ี
เราไดยนิ บอ ยๆ เก่ยี วกบั หลกั ธรรมหัวใจเศรษฐวี า “อุ อา กะ สะ”
(อุฏฐานสัมปทา ขยันหม่ันหาทรัพย อารักขสัมปทา รูจักเก็บรักษา
กัลยาณมติ ตตา คบหาคนดี สมชีวิตา เปนอยพู อสม) หรืออยา งที่พระ
พุทธเจา ตรสั ใหพ ระสตแิ กพระเจา ปเสนทโิ กศล ใหเ สวยแตพ อดี จะ
ไดม พี ระวรกายทคี่ ลอ งแคลว แขง็ แรง

สวน สมั ปรายกิ ัตถะ แปลตามตัวอกั ษรวา ประโยชนหรอื จุด
หมายท่ีเปน ไปในสมั ปรายะ แลว สัมปรายะคอื อะไร?

“สัมปรายะ” แปลวา เลยตอ ไป เลยตาเห็น หรอื จะไปจะถึง
ขา งหนา จับสาระแลวกไ็ ดความหมาย ๒ อยา ง คือ

ก) เวลาขา งหนา ชีวิตเบอื้ งหนา ชาตหิ นา ปรโลก พน โลกน้ี

๖๒ หลกั ศลิ าจารึกอโศก

ข) เรอ่ื งทลี่ า้ํ เลยจากชวี ติ ประจาํ วนั ชวี ติ ดา นใน เรอื่ งทล่ี กึ ซงึ้
ทางจติ ใจ เรอื่ งนามธรรม

เพราะฉะนนั้ สมั ปรายกิ ตั ถะ จงึ แปลกนั วา ประโยชนเ บอ้ื งหนา
จดุ หมายของชวี ติ ในชาติหนา จนถงึ พนเลยชาตภิ พ๑ ประโยชนด า น
ในทางนามธรรมหรือจดุ หมายทส่ี ูงขนึ้ ไปของชวี ิต ไดแก การไปเกดิ
ในภพทดี่ ี เรอื่ งของศรทั ธา ความมศี ลี ความสุจริต การทํากรรมดี
งาม การทําบุญเจรญิ กุศล การเสียสละบาํ เพญ็ ประโยชน ตลอดถึง
การพัฒนาปญญา และความหลดุ พน เปนอิสระ

ก็เปน อนั ไดความวา พระเจา พิมพสิ ารตรสั วา พระองค ใน
ฐานะผูปกครองบานเมือง ทรงแนะนําส่ังสอนบอกวิธีการในเรื่อง
การทํามาหาเล้ียงชีพวา ในการประกอบกสิกรรม พาณิชยกรรม
รับราชการ จะเปน ทหาร หรือเปนขา ราชการพลเรอื นก็ตาม ประชา
ชนพลเมืองของพระองคค วรมีความขยนั หมัน่ เพียร ซือ่ สตั ย มคี ณุ
สมบัติ มีความสามารถ และทํางานดําเนินกิจการกันอยางไร
พรอ มกนั นัน้ เมอ่ื อยรู ว มในสังคม ควรมคี วามรบั ผดิ ชอบตามสถาน
ภาพของตน โดยทําหนาที่ใหถูกตองตามสถานะน้ันๆ และชวย
เหลือเก้ือกลู กนั เชน ควรดูแลอบรมเลยี้ งลกู อยา งไร ควรเอาใจใส
บํารงุ เลยี้ งดูบดิ ามารดาอยา งไร เปนตน

อรรถกถาที่อธิบายพระไตรปฎกตรงนี้ คืออธิบายพระราช
ดาํ รสั ของพระเจา พิมพิสาร กไ็ ขความบอกวา พระเจา พมิ พิสารทรง

๑ คมั ภรี ท อ่ี ธบิ ายขยายความ อยา งมหานทิ เทส แยก “อตั ถะ” คอื ประโยชน หรอื จดุ หมายน้ี

เปน ๓ ขน้ั คอื ทฏิ ฐธมั มกิ ตั ถะ สมั ปรายกิ ตั ถะ และปรมตั ถะ แตใ นพระสตู รทว่ั ไป พระ

พทุ ธเจา ตรสั แยกเพยี ง ๒ คอื ทฏิ ฐธมั มกิ ตั ถะ และสมั ปรายกิ ตั ถะ โดยสมั ปรายกิ ตั ถะมี

ความหมายครอบคลมุ รวมถงึ ปรมตั ถะดว ย

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๖๓

สอนประโยชนโลกนี้ เชนวา ควรทํากสิกรรมและพาณิชยกรรม
เปน ตน โดยธรรม ควรเลีย้ งดมู ารดาบิดาโดยธรรม ดงั น้เี ปน ตน

แลว พระเจาพิมพิสารกต็ รสั สรปุ วา พระองคทรงสอนในเร่อื ง
ทิฏฐธมั มิกัตถะแคน ี้ สวนเร่อื งท่ีล้ําลึกเลยจากนั้นไป ซง่ึ เปนขั้นของ
สัมปรายิกตั ถะ ใหพวกเขาไปฟง จากพระพุทธเจา แลว พระองคกท็ รง
สง คนเหลา น้ันใหไปเฝาพระพทุ ธเจา

จากคําเลาเร่ืองในพระไตรปฎกตอจากนั้น เราก็เห็นไดวา
พระพุทธเจาทรงสอนเรอ่ื งสมั ปรายกิ ตั ถะ ซึง่ ครอบคลมุ ตลอด คือ

ก. ธรรมทว่ั ไปที่ลึกซ้งึ สูงข้นึ ไปตามลาํ ดับ เพอ่ื เตรยี มผฟู ง ให
กา วขนึ้ ไปทลี ะขน้ั จนพรอ มทจี่ ะรบั จะเขา ใจเขา ถงึ สจั จธรรม
ไดแ ก ทาน ศลี สวรรคค อื ภาวะทมี่ กี ามอยา งเลศิ หรอื ชนั้
ยอด แลว กข็ อ เสยี สว นดอ ยของกาม จนถงึ ผลดขี องความ
เปน อสิ ระจากกาม

ข. เมอ่ื ผูฟ ง พรอมแลว กท็ รงแสดงอริยสัจจ ๔ (ซงึ่ โยงไปรวม

ถงึ ขนั ธ ๕ ไตรลกั ษณ ปฏจิ จสมปุ บาท เปน ตน จนถงึ

นพิ พาน)

เรื่องพระเจาพิมพิสารสอนราษฎรชาวหมูบานเสร็จแลวสง
ตอใหไปฟงธรรมจากพระพุทธเจาน้ี บอกใหทราบถงึ คตพิ ทุ ธเกีย่ ว
กับบทบาทหนาท่ีที่ตางกันของรัฐหรืออาณาจักร กับของพทุ ธจักร
จะวาเปนการแบงงานกนั ก็ไมเชิง แตนา จะบอกวาเปนการแบงขนั้
ตอนการทํางานในลักษณะท่เี ปน การสงตอ กนั ไปตามลําดับ

ทั้งนี้ก็สอดคลองกับหลักการของพระพุทธศาสนา ท่ีมอง

๖๔ หลักศิลาจารกึ อโศก

มนุษยวาเปนสัตวท่ีตอ งฝก ตอ งศึกษาตองพัฒนา และมนุษยนั้นก็
อยูในระดับของการพฒั นาทีต่ างกนั

รัฐหรือฝายบานเมืองทํางานกับพลเมืองทั่วทั้งหมดไมเวน
ใคร ไมยอมใหเขาเลือก ทําหนาท่ีพัฒนามนุษยตั้งแตข้ันพ้ืนฐาน
โดยเหน่ียวร้ังดงึ คนต้งั แตระดบั ตํ่าสดุ ใหพน จากการทาํ ช่ัวรายเบียด
เบยี นดว ยวธิ ีการตง้ั แตอ ยา งหยาบทส่ี ุด ใหบ า นเมืองสงบเรยี บรอย
มสี ังคมซ่งึ เปน สภาพทเี่ ออื้ ตอการพัฒนาตนของมนษุ ยแ ตละคน๑

พึงสงั เกตดวยวา ในสวนพระองคน ้นั พระเจาพิมพิสารเปน
อรยิ สาวก เปนถึงพระโสดาบัน เขา ถึงธรรมขน้ั โลกตุ ตระ ขน้ึ เหนือ
โลกยี ไ ดแ ลว แตตอนนี้ พระองคทําหนา ทใ่ี นฐานะผูป กครองบาน
เมือง เรียกวา ปฏบิ ตั ิใหถกู ตองตามบทบาท

สว นทางพทุ ธจักรหรอื ฝายพระสงฆ ซง่ึ ไมมแี ละไมใชอ ํานาจ
อาชญา มงุ เนนการพฒั นาคนในระดบั ทีส่ ูงขนึ้ มา ซึ่งตอ งการความ
พรอมมากขึ้น แมจะสอนครอบคลุมต้ังแตพื้นฐาน แตก็ทําใน
ลักษณะท่ีเปนการเตรียมคนใหพรอมสําหรับการพัฒนาที่สูงขึ้นไป
และในลักษณะท่ใี หเ ขาเลือกหรือสมคั รใจทจี่ ะทํา

ขอใหสังเกตละเอียดลงไปอีกหนอยดวยวา ตอนที่ชาวบาน
ฟงพระเจาพิมพิสารน้ัน เปนการปฏิบัติระดับเดียวแกพลเมืองทุก
คน แตพอมาฟงพระพุทธเจา จะเหน็ ความตางแหง ผลการพัฒนา

ในตอนมาท่ีพระพุทธเจานี้ ผูฟงสวนใหญบรรลุผลสูงถึงกับ

๑ ท่ีวา นี้ เปน เร่อื งของการปฏบิ ตั ใิ นระดบั สถาบัน เรื่องของบทบาททางสังคม มใิ ชหมายถงึ

การปฏิบตั สิ ว นบคุ คล หรือกจิ กรรมรายเรือ่ งรายกรณี เชน จติ ตคฤหบดีอธบิ ายธรรม

ระดับสมั ปรายิกัตถะใหหมพู ระฟง เปนตน

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๖๕

ไดธรรมจกั ษุคือไดเปน อริยบคุ คลชัน้ โสดาบนั ขึน้ ไป แตกย็ ังกลับไป
บานดําเนินชีวิตมีครอบครัวประกอบอาชีพทํามาหากินตามปกติ
โดยเปนคนดีงามสุจริตทําประโยชนมีความสุขมากข้ึนในสภาพ
แวดลอมแบบเกา

แตมีคนหนง่ึ (คือสวนนอย) ถึงกับสละบานเรอื นขอบวชเขา
มาอยูร ว มในภิกขุสงั ฆะ

นี่คอื เปนไปตามระดบั การพฒั นาของคน
คติในการทํางานพัฒนาประชากรแบบแบงข้ันตอนการ
ทาํ งานและสง ตอกนั นี้ พดู ไดว าเปน แบบแผนที่ปฏบิ ัติกนั มา ดังที่
ในสมัยพระเจาอโศกมหาราช ซ่ึงทรงเอาพระทัยใสจริงจังมากใน
งานพัฒนาประชากรถึงกบั ทาํ ศิลาจารกึ สอนธรรมแกประชาชน คติ
นก้ี ป็ รากฏออกมาชัดเจน ดังทธี่ รรมทพี่ ระเจาอโศกทรงสอนราษฎร
ในศลิ าจารึกนนั้ ก็เปนเรอื่ งของทฏิ ฐธัมมิกัตถะอยางชดั เจน
เรอ่ื งเปน อยางน้ี จึงทําใหนกั วิชาการสมัยใหมท ไ่ี มรไู มเ ขาใจ
คติพุทธที่กลาวมา เกิดความสับสนถึงกับพูดวาพระเจาอโศกเปน
ชาวพุทธกจ็ ริง แตไมไ ดสอนธรรมในพุทธศาสนา
จึงควรชวยกนั สรางความรคู วามเขาใจทถี่ ูกตอ ง ใหค นเขา ถงึ
หลักการท่ีวามานั้น อันสอดคลองกับหลักความจริงในการพัฒนา
มนุษย อกี ทง้ั ทาํ ใหเกิดระบบสังคมทีป่ ระสานเกอ้ื กูลและกลมกลืน
กนั เปน อนั หนึ่งอันเดียว ไมเ กดิ การขัดแยงแทรกแซงแยงชิงอาํ นาจ
กันระหวางรัฐกบั ศาสนจกั ร และการใชอํานาจบงั คับกําจัดบฑี ากนั
ดวยเรื่องความเชื่อทางศาสนา อยางในประวัติศาสตรของอารย-
ธรรมตะวนั ตก

๖๖ หลกั ศลิ าจารกึ อโศก

ธรรมราชา - ธรรมวชิ ัย

ทีนี้ก็มาดูวา จุดและหลักที่ตองจับและแยกแยะใหได เพ่ือ
เขาใจธรรมในศลิ าจารกึ นน้ั คอื อะไร

เริ่มแรก ควรมองภาพท่ัวไปกอ นวา
๑) พระเจาอโศกมหาราช เปน พุทธศาสนกิ แตท รงดาํ รง
สถานะเปน ราชา คอื เปนผปู กครองบา นเมือง และเปนราชาทย่ี งิ่
ใหญม ากดว ย (แมจ ะมไิ ดเปน โสดาบัน ไมเ ปน อรยิ บุคคลอยา งพระ
เจาพิมพสิ าร)
๒) ทรงมขี อ พเิ ศษเฉพาะพระองค คอื ทรงหนั มาหาธรรมเพราะ
สลดพระทยั จากการทําสงคราม เปนจดุ เปล่ยี นอยา งพลิกกลับ
๓) การใชธรรมในระดับกวางใหญน้ี จะตองมองทหี่ ลกั การ
ทัว่ ไป ซ่ึงจะใหเ หน็ บรรยากาศทงั้ หมด ไมมัวมองหัวขอยอยหรือ
รายละเอยี ด
จากขอ ๑) ในฐานะมหาราชผเู ปน ชาวพทุ ธ ผูมีสถานะสูงสุด
ในฝา ยบานเมือง หรอื ในสังคมของชาวโลก เมื่อจะปกครองมหา
อาณาจกั รใหป ระชาราษฎรเ ขา ถงึ ทฏิ ฐธมั มกิ ตั ถะ และสง เสรมิ ให
พฒั นายง่ิ ขนึ้ ตอ ไปในสมั ปรายกิ ตั ถะ จะใชห ลกั การปกครองอยา งไร
และพระพทุ ธศาสนาวางหลกั การอะไรไวใ ห
โดยเฉพาะประสานกบั ขอ ๒) ที่ทรงละเลิกสงครามแลว จะ
ดํารงความเปน มหาราชไวใหเหมาะสมและเปนคณุ แกการปกครอง
นั้นไดอยา งไร
ถงึ ตอนน้ี หลกั คําสอนของพระพทุ ธเจา ท่ีเปน คตใิ หญ กม็ า

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๖๗

ไดท ันที เร่ิมดวยพุทธพจนวา

ภิกษุทั้งหลาย บคุ คล ๒ น้ี เม่อื เกดิ ข้ึนในโลก ยอ่ ม
เกดิ ขนึ้ เพอ่ื เกื้อกลู แกพ่ หชู น เพ่อื ความสุขของพหูชน เพื่อ
ประโยชน์ เพ่ือเก้ือกูล แก่ชนเป็นอันมาก เพื่อความสุข
แก่เทวะและมนษุ ย์ทงั้ หลาย บุคคล ๒ เป็นไฉน คือ

พระตถาคตอรหนั ตสัมมาสมั พทุ ธเจา้ ๑
พระราชา ผจู้ กั รพรรดิ ๑

(องฺ.ทกุ .๒๐/๒๙๗)

นค่ี อื ไดบ คุ คลท่มี สี ถานะสูงสุดในโลก เทยี บคูก บั องคพ ระ
ศาสดา โดยมาเปนผูสนองธรรมฝายคฤหสั ถ หรือฝายบานเมือง
เรยี กงา ยๆ วา คตจิ กั กวัตตริ าชา หรือคตพิ ระเจาจักรพรรดิราช

พอจบั จุดไดแลว หลักคําสอนในคตนิ ี้กต็ ามมา ซงึ่ หาไดม าก
มาย เฉพาะอยา งยง่ิ หลกั การท่เี ปนความหมาย หรือเปน คําจํากัด
ความของการเปน จกั รวรรตริ าชานนั้ ซงึ่ ปรากฏในพระไตรปฎ กมาก
มายหลายแหง คอื เปน ธรรมราชา “ผมู ชี ยั ชนะดว ยธรรม” (ธมเฺ มน
อภิวิชิย Æ ธรรมวชิ ยั ) โดยไมตอ งใชศ สั ตรา

ยกบาลีมาดูเปน ตวั อยา ง

มา ภกิ ขฺ เว ปญุ ญฺ านํ ภายติ ถฺ สขุ สเฺ สตํ ภกิ ขฺ เว อธวิ จนํ
ยททิ ํ ปุญญฺ านิ …

ราชา อโหสึ จกฺกวตฺตี ธมมฺ ิโก ธมฺมราชา จาตรุ นโฺ ต
วชิ ติ าวี ชนปทตถฺ าวรยิ ปปฺ ตโฺ ต สตตฺ รตนสมนนฺ าคโต ... โส อมิ ํ
ปฐวึ สาครปริยนตฺ ํ อทณฺเฑน อสตเฺ ถน ธมเฺ มน อภิวิชยิ
อชฺฌาวสินฺติ

๖๘ หลักศลิ าจารกึ อโศก

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย เธอทง้ั หลายอยา่ กลวั ต่อบุญเลย คําวา่
บุญน้ี เป็นชือ่ ของความสุข…

เราไดเ้ ป็นจกั รพรรดิราช ผูท้ รงธรรม เป็นธรรมราชา
ครองแผน่ ดนิ มีมหาสมุทรทง้ั ๔ เปน็ ขอบเขต ผ้มู ชี ัยชาํ นะ
มถี น่ิ แควน้ ถงึ ความมน่ั คงสถาพร พรอ้ มดว้ ยรตั นะ ๗ ประการ

เรามชี ยั โดยธรรม ไมต่ ้องใชอ้ าชญา ไม่ตอ้ งใช้ศาสตรา
ครอบครองปฐพมี ณฑลน้ี อนั มสี าครเปน็ ขอบเขตฯ

(องฺ.สตฺตก.๒๓/๕๙/๙๐)

พทุ ธพจนทีม่ ขี อความอยา งน้ี คอื ท่มี าแหง หลกั การหรอื
นโยบายการปกครองอยา งใหม ทเี่ รยี กวา “ธรรมวชิ ยั ” ของพระเจา
อโศกมหาราช

ขอความสาํ คญั ที่วา เปน ดังคําจํากดั ความของ ธรรมวชิ ยั คือ
ตอนท่วี า “มชี ยั โดยธรรม ไมตองใชอาชญา ไมตอ งใชศ าสตรา”

ธรรมวชิ ยั นี้ คอื ชยั ชนะทเี่ ปน ความสาํ เรจ็ ของพระเจา จกั รพรรดิ
ผเู ปน ธรรมราชา จงึ อาจเรยี กใหเ ตม็ วา คติจักกวตั ติธรรมราชา

อยา งทก่ี ลา วแลว พทุ ธพจนส ว นนต้ี รสั ในโอกาสตา งๆ เปน อนั
มาก แตท ยี่ กมาใหด ขู า งบนน้ี ตรสั โยงกบั เรอื่ งบญุ ซงึ่ เปน หลกั สาํ คญั
ในศลิ าจารกึ อโศกนน้ั ดว ย

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๖๙

ธรรมวิชัย: จากหลกั การมาเปน นโยบาย

ทนี ีก้ ็มาดูขอความแสดงนโยบายธรรมวชิ ยั ที่พระเจา อโศก
มหาราช ทรงนาํ ออกมาสปู ฏิบัตกิ ารจรงิ ดงั ที่พระองคป ระกาศไว
ในจารกึ ศิลา ฉบบั ท่ี ๑๓ ซง่ึ คัดตัดมาพอเปนตวั อยาง

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวปริยทรรศี ผู้เป็นท่ีรักแห่งทวย
เทพ เมอื่ อภเิ ษกแลว้ ได้ ๘ พรรษา ทรงมีชัยปราบแคว้น
กลิงคะลงได้ จากแคว้นกลิงคะน้ัน ประชาชนจาํ นวนหนึ่ง
แสนหา้ หมื่นคนไดถ้ ูกจบั ไปเป็นเชลย จํานวนประมาณหนึง่
แสนคนถกู ฆ่า และอีกหลายเทา่ ของจํานวนนนั้ ไดล้ ้มตายไป

นับแตก่ าลนั้นมาจนบัดน้ี อนั เปน็ เวลาที่แควน้ กลิงคะ
ไดถ้ กู ยึดครองแล้ว การทรงประพฤตปิ ฏิบัติธรรม ความมี
พระทัยใฝธ่ รรม และการทรงอบรมส่ังสอนธรรม กไ็ ด้เกิดมี
ขึน้ แล้วแก่พระผู้เปน็ ท่ีรกั แหง่ ทวยเทพ

การที่ได้ทรงปราบปรามแควน้ กลงิ คะลงนัน้ ทาํ ให้พระ
ผ้เู ป็นท่รี ักแหง่ ทวยเทพ ทรงมคี วามสํานึกสลดพระทยั …

ในคราวยดึ ครองแควน้ กลิงคะนี้ จะมีประชาชนท่ถี กู ฆา่
ลม้ ตายลง และถกู จับเปน็ เชลยเปน็ จํานวนเท่าใดกต็ าม แม้
เพียงหน่ึงในร้อยส่วน หรือหน่ึงในพันสว่ น (ของจํานวนที่
กลาวน้ัน) พระผู้เป็นท่ีรักแห่งทวยเทพย่อมทรงสํานึกว่า
เป็นกรรมอนั รา้ ยแรงย่งิ …

สําหรับพระผู้เป็นท่ีรักแห่งทวยเทพ ชยั ชนะที่ทรงถือ
วา่ ยง่ิ ใหญท่ ่สี ุด ไดแ้ ก่ ธรรมวิชัย (ชัยชนะโดยธรรม) และ

๗๐ หลักศิลาจารึกอโศก

ธรรมวิชัยน้ัน พระผู้เป็นท่ีรักแห่งทวยเทพได้ทรงกระทํา
สาํ เรจ็ แลว้ ทั้ง ณ ทนี่ ้ี (ในพระราชอาณาเขตของพระองค
เอง) และในดินแดนขา้ งเคยี งทัง้ ปวง ไกลออกไป ๖๐๐
โยชน์ …๑

ทุกหนทุกแห่ง (ประชาชนเหล่าน้ี) พากันประพฤติ
ปฏบิ ัติตามคาํ สอนธรรมของพระผูเ้ ปน็ ทีร่ กั แหง่ ทวยเทพ …

ด้วยเหตเุ พียงน้ี ชัยชนะนีเ้ ป็นอันได้กระทาํ สําเร็จแลว้
ในทท่ี กุ สถาน เป็นชัยชนะอนั มีปีตเิ ป็นรส พรั่งพร้อมดว้ ย
ความเอบิ อิม่ ใจ เป็นปีตทิ ไี่ ดม้ าด้วยธรรมวิชยั …

ชัยชนะอันแท้จริงน้ัน จะต้องเป็นธรรมวิชัยเท่านั้น
ดว้ ยวา่ ธรรมวชิ ยั น้ันเป็นไปได้ทั้งในโลกบดั นี้ และโลกเบือ้ ง
หน้า

ขอปวงความยนิ ดแี ห่งสตั ว์ทงั้ หลาย จงเปน็ ความยินดี
ในความพากเพยี รปฏิบัติธรรม เพราะว่าความยินดีนนั้ ย่อม
อํานวยผลทั้งในโลกบดั นี้ และในโลกเบ้อื งหน้า.

แมวา ธรรมวิชัยอยางนจี้ ะเปน หลักการและนโยบายใหม แต
คาํ วา “ธรรมวชิ ยั ” มใิ ชเปนคาํ ใหม และมิใชมใี นพระไตรปฎกเทา

๑ ดนิ แดนทางตะวนั ตกทร่ี ะบใุ นศลิ าจารกึ น้ี คอื แวน แควน ของกษตั รยิ โ ยนก (Ionian หรอื
Greek) พระนามวา อนั ตโิ ยคะ (Antiochus II Theos of Syria) พระเจา ตลุ มยะ (Ptolemy
II Philadelphus of Egypt) พระเจา อนั เตกนิ ะ (Antigonus II Gonatas of Macedonia)
พระเจา มคะ (Magas of Cyrene) และพระเจา อลกิ สนุ ทระ (Alexander of Epirus หรอื
Alexander of Corinth)
ปราชญต ะวนั ตกไดอ าศยั ศลิ าจารกึ นช้ี ว ยอยา งมาก ในการเทยี บกาลเวลาในประวตั ศิ าสตร

แหง อารยธรรม ตะวนั ตก-ตะวนั ออก

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๗๑

นน้ั แตมีในหลกั รฐั ศาสตรโบราณของชมพูทวปี ดว ย จึงควรเขาใจ
ความตางใหช ัด

ในตาํ ราอรรถศาสตร ของพราหมณจ าณกั ยะ (เรยี ก เกาฏลิ ยะ
บา ง วษิ ณคุ ปุ ตะ บา ง กม็ )ี ผเู ปน ทป่ี รกึ ษาและมหาเสนาบดขี องพระเจา
จนั ทรคปุ ต (พระอยั กาของพระเจา อโศกเอง, พ.ศ.๑๖๑) จัดแบงผู
ชนะสงคราม คอื ผูพ ิชติ หรือผูมีชยั เปน ๓ ประเภท ดงั นี้

๑. ธรรมวชิ ยี ผมู ธี รรมวชิ ยั คอื ผชู นะทพี่ อใจเพยี งใหผ แู พย อม
จงรกั ภกั ดี โดยไมขมเหงทาํ รา ยราชวงศและราษฎรของฝา ยทแ่ี พ

๒. โลภวิชยี ผมู ีโลภวิชัย คอื ผูชนะทมี่ ุง แยง ชงิ เอาดินแดน
และทรัพยส ินของผูแพ

๒. อสุรวิชยี ผมู ีอสรู วิชัย คือ ผชู นะทโี่ หดรา ย ยดึ เอาทุก
อยา ง ท้งั ทรัพยสนิ ดนิ แดน บุตรภรรยา และแมแ ตช วี ติ ของผูแพ

จะเหน็ ชัดวา ธรรมวิชัยของพราหมณจาณักยะ กค็ อื การชนะ
ดวยสงครามน่นั เอง เพยี งแตป ฏบิ ัตติ อ ผแู พอยา งไมโหดรา ย ดังนนั้
ชัยชนะทงั้ ๓ อยางนี้ ยงั ไมเปนธรรมวิชยั ในพระพทุ ธศาสนาเลย

พระเจาอโศกไดละเลิกชัยชนะท่ีสอนกันมาแตเดิมใน
ประเพณกี ารปกครองของสังคมพราหมณ โดยหนั มารบั หลกั การ
ธรรมวชิ ยั อนั เปน ชัยในทางสนั ติ ซงึ่ ไมตอ งใชอ าชญา ไมตอ งใช
ศสั ตรา ตามคตจิ ักกวตั ติธรรมราชาของพระพุทธศาสนา

คติจักกวตั ติธรรมราชา หรอื เรยี กสั้นๆ วา คตจิ กั รวตั ตริ าชา
หรือคตธิ รรมราชาน้ี แมจะมาหลายแหง ในพระไตรปฎ ก แตมพี ระ
สตู รท่วี าดวยเรอื่ งน้โี ดยตรง คอื จักกวตั ตสิ ูตร ซึง่ มชี ่อื ซา้ํ กนั ๓ สูตร

เฉพาะอยา งย่งิ ทีย่ าวที่สุด รูจ ักกนั มากท่ีสดุ และใชเ ปน หลัก

๗๒ หลกั ศิลาจารกึ อโศก

คือสูตรทม่ี าในทฆี นิกาย (ที.ปา.๑๑/๓๓–๕๐) อนั เปน ท่ีมาของหลกั
จกั รวรรดิวตั ร ๑๒ ประการ

ณ ทน่ี ้ี จะไมเ ขา ไปในเน้ือหาของพระสูตรนน้ั โดยตรง แตจ ะ
พดู ใหไดขอสังเกตทัว่ ๆ ไป อยา งกวา งๆ เกยี่ วกับเร่อื งนี้ท้ังหมด

หลกั ธรรมวชิ ัยตามคติจักกวัตติธรรมราชาน้ี เปนตัวอยางคาํ
สอนท่ีพระพทุ ธเจา ทรงแนะนาํ ไวส ําหรับผูนําของสังคมคฤหสั ถ ที่
พระองคไมไ ดทรงจดั ดาํ เนนิ การ ซ่งึ เปน สว นทช่ี าวบานจะตอ งรับ
ผิดชอบกันเอง

หลักการในการนําทางสังคมคฤหัสถน้นั ยอมตางจากสังฆะ
ท่พี ระองคจ ัดตงั้ บริหารตามหลกั การแหงธรรมวนิ ยั

อโศกธรรม - โพธิสัตวธรรม

หลกั ธรรมทีต่ รสั สอนหรอื แสดงสําหรับสงั คมคฤหัสถน ้ี ไม
วาจะเปนองคจกั รพรรดิราช หัวหนา หมูชน หรอื หัวหนาครอบครัว
ทวั่ ไป รวมทัง้ พระโพธสิ ัตว มรี ะดับและลักษณะท่ีพึงสังเกต ดังนี้

ก) โดยทว่ั ไป กลา วถงึ ประเภทของบคุ คลทพ่ี งึ ชว ยเหลอื เกอื้ กลู
หรอื ปฏบิ ตั ใิ นการสมั พนั ธต อ กนั ใหถ กู ตอ ง เชน มารดา
บดิ า คนงาน ฯลฯ ไมค อ ยกลา วถงึ หวั ขอธรรม หรือหลกั ที่
เปนนามธรรม

ข) หลกั การทางธรรม วธิ ปี ฏบิ ตั ิ และจดุ หมายของการปฏบิ ตั ิ
อยใู นขอบเขตแหงบญุ ทาน และการลุถึงสวรรค (รวมท้ัง
พรหมโลก)

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๗๓

ขอยกคาํ สอนระดับน้ีมาใหด เู ปน ตัวอยาง เชน คร้งั หนึ่ง
ตรัสแกพระเจาปเสนทโิ กศล เกี่ยวกบั การเปน อยูค รอบครองทรพั ย
สมบตั ขิ องคฤหบดีวา

ดกู รมหาบพติ ร ในถน่ิ ของอมนษุ ย์ มีสระโบกขรณี ซงึ่
มนี ํา้ ใส เยน็ จืดสนทิ สะอาด มีท่าท่ีขึ้นลงเรยี บร้อย น่ารื่น
รมย์ (แต)่ นาํ้ น้นั คนจะตกั เอาไปกไ็ มไ่ ด้ จะด่ืมก็ไมไ่ ด้ จะอาบ
ก็ไม่ได้ หรอื จะทําการใดตามตอ้ งการกไ็ ม่ได้ มหาบพิตร เมอื่
เปน็ เช่นน้ี นา้ํ ทม่ี ไิ ดก้ ินใช้โดยชอบน้นั พงึ ถงึ ความหมดสนิ้
ไปเปลา่ โดยไมถ่ งึ การบรโิ ภค แม้ฉนั ใด

ดกู รมหาบพิตร อสัตบุรุษได้โภคะอนั โอฬารแลว้ ไม่ทํา
ตนให้เป็นสขุ ฯลฯ โภคะเหลา่ นัน้ ของเขา อันมิได้กนิ ใช้โดย
ชอบ ย่อมถึงความหมดส้ินไปเปล่า โดยไม่ถึงการบริโภค
ฉนั นนั้ เหมือนกนั

ดูกรมหาบพิตร สว่ นสัตบุรษุ ไดโ้ ภคะอันโอฬารแลว้
ย่อมทําตนให้เปน็ สุข ให้เอบิ อิ่ม ยอ่ มทํามารดาบิดา…บุตร
ภรรยา…คนรับใช้กรรมกรและคนสนองงาน…มิตร
สหายเพ่ือนร่วมกิจการ ให้เป็นสุข ให้เอิบอิ่ม ย่อม
ประดิษฐานไวใ้ นสมณพราหมณ์ทั้งหลาย ซึง่ ทกั ษณิ าอนั มี
ผลสูงข้ึนไป มีจุดทค่ี ํานึงหมายอันดี มีวิบากเป็นสขุ เป็นไป
เพื่อสวรรค์

โภคะเหล่าน้ันของเขา ท่ีบริโภคอยู่โดยชอบอย่างน้ี
ราชาท้ังหลายก็มิได้รบิ เอาไป โจรทงั้ หลายกม็ ิไดล้ กั ไป ไฟก็มิ
ไดไ้ หมห้ มดไป นํ้าก็มิได้พัดพาไป อัปริยทายาททง้ั หลายก็มิ

๗๔ หลักศลิ าจารกึ อโศก

ไดข้ นเอาไป เมือ่ เปน็ เช่นนี้ โภคะเหล่านน้ั ของเขา ทกี่ ินใช้
อยโู่ ดยชอบ ย่อมถงึ การบรโิ ภค ไม่ถึงความหมดส้ินไปเปลา่

ดกู รมหาบพิตร เหมือนดงั วา่ ในทไ่ี ม่ไกลคามหรอื นคิ ม
มีสระโบกขรณี ซง่ึ มีน้ําใส เย็น จดื สนทิ สอาด มีทา่ ทข่ี น้ึ ลง
เรียบร้อย น่ารื่นรมย์ น้าํ นั้นคนจะตักเอาไปกไ็ ด้ จะด่ืมกไ็ ด้
จะอาบกไ็ ด้ หรอื จะทําการใดตามตอ้ งการก็ได้ เมื่อเป็นเช่นนี้
นาํ้ ทีก่ นิ ใช้อย่โู ดยชอบน้นั พงึ ถงึ การบริโภค ไมถ่ งึ ความหมด
สิ้นไปเปลา่ แมฉ้ ันใด สตั บรุ ุษไดโ้ ภคะอันโอฬารแล้ว ย่อม
ทาํ ตนให้เป็นสุข ฯลฯ ฉนั นั้นเหมอื นกนั

พระผู้มีพระภาคองค์พระสุคตศาสดา ครั้นตรัส
ไวยากรณ์ภาษติ นี้จบแลว้ ได้ตรัสคาถาประพนั ธต์ ่อไปอกี ว่า

น้ํามีในถิ่นท่ขี องอมนษุ ย์ คนย่อมอดนาํ้ น้นั อันจะดม่ื
มไิ ด้ คนทรามไดท้ รพั ย์แลว้ ตนเองกไ็ ม่บริโภค ทั้งกไ็ มใ่ ห้
ปันแกใ่ คร ฉนั ใดก็ฉันน้ัน สว่ นวิญญชู น มีปญั ญา ไดโ้ ภคะ
แลว้ ยอ่ มบริโภค และใช้ทาํ กิจการ เลย้ี งดหู มูญ่ าติ เปน็ คน
อาจหาญ ใครกไ็ มต่ ิเตียน ยอ่ มเขา้ ถงึ แดนสวรรค์ ฯ

(ส.ํ ส.๑๕/๓๘๗)

พระโพธิสัตวก็มีจริยาแหงการประพฤตธิ รรมทาํ นองเดียวกนั
น้ี ดงั มพี ุทธดาํ รัสวา

ภิกษุทง้ั หลาย ตถาคต ในปรุ ิมชาติ ในปุรมิ ภพ ในถ่ิน
กําเนดิ ก่อน เม่ือเปน็ มนษุ ย์ในบพุ สมยั เป็นผู้มีสมาทานมน่ั
ในกศุ ลธรรมทง้ั หลาย ถือปฏบิ ัตไิ ม่ถอยหลงั ในกายสจุ รติ
ในวจีสุจริต ในมโนสจุ รติ ในการแจกจ่ายบําเพญ็ ทาน ในการ

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๗๕

สมาทานศีล ในการรักษาอุโบสถ ในการปฏิบัติชอบต่อ
มารดา ในการปฏิบัติชอบต่อบิดา ในการปฏิบัติชอบต่อ
สมณะ ในการปฏิบัติชอบต่อพราหมณ์ ในความเป็นผู้
เคารพต่อผู้ใหญใ่ นสกลุ และในธรรมอันเปน็ อธกิ ศุ ลอยา่ ง
อ่นื ๆ เพราะกรรมนั้น อนั ได้ทํา ไดส้ ่งั สม ได้พอกพนู เปน็
กรรมอันไพบูลย์ เบ้ืองหน้าแต่กายแตกทําลายตายไป
ตถาคตกเ็ ขา้ ถึงสคุ ตโิ ลกสวรรค…์

(ท.ี ปา.๑๑/๑๓๑)

ความเปน คนดี ทมี่ ีคาํ เรยี กวา “สัตบุรษุ ” มคี วามหมาย
สัมพันธกับความดีงามและประโยชนสุขของตระกูลวงศและชุมชน
หรือหมชู น ดงั พุทธพจนว า

ภกิ ษุทั้งหลาย คนดี (สัตบรุ ุษ) เกิดมาในหมู่ชน๑ ย่อม
เป็นไปเพ่ือประโยชน์ เพ่ือเก้ือกูล เพื่อความสุข แก่ชน
จํานวนมาก (คอื ) ยอ่ มเปน็ ไปเพ่อื ประโยชน์ เพือ่ เกื้อกูล
เพ่ือความสุข แก่มารดาบิดา...แก่บุตรภรรยา...แก่คนรบั
ใช้กรรมกรและคนสนองงาน...แก่มิตรสหายเพื่อนร่วม
กิจการ...แก่สมณพราหมณ์ เปรยี บเหมือนมหาเมฆ ช่วย
ให้ขา้ วกล้าเจรญิ งอกงาม เป็นไปเพอ่ื ประโยชน์ เพือ่ เกือ้ กลู
เพ่ือความสขุ แก่ชนจํานวนมาก

(อง.ฺ ปจฺ ก.๒๒/๔๒)

๑ คาํ บาลีคอื “กลุ ” ตามปกติแปลกันวา ตระกลู หรอื สกุล แตคาํ น้ีทจี่ ริงมคี วามหมายกวา ง
หมายถึงหมชู น หรอื ชมุ ชน กไ็ ด เชน ในสมัยของมหาวิทยาลยั นาลันทา มีตาํ แหนง
กลุ บดี หมายถึงหัวหนาผูบริหารงาน แมในภาษาฮินดปี จจุบัน ก็ยังมีคําน้ี ซึ่งใชใ นความ
หมาย ตง้ั แตค รอบครวั หมูชน ไปจนถึงเผา ชน

๗๖ หลกั ศิลาจารึกอโศก

อกี พระสตู รหน่งึ (องฺ.อฏ ก.๒๓/๑๒๘) เน้ือความเหมอื นกบั พระ
สตู รขา งบนนี้ แตมีบคุ คลทจ่ี ะไดร ับประโยชนเพ่ิมเขา มา ๓ พวก
คอื “แกบ่ รรพชนผลู้ ่วงลบั ...แกพ่ ระราชา...แก่เทวดาทง้ั หลาย...”

พระสูตรทแี่ สดงธรรมสาํ หรบั สังคมคฤหสั ถอ ยา งนี้ มีมากพอ
สมควร แตย กมาเปนตวั อยา งเทาน้ีคิดวา เพยี งพอแลว เพราะสาระ
ก็ทาํ นองเดียวกัน

สาระน้นั กค็ ือ
- การอยรู วมอยา งเก้อื กลู กนั ในครอบครวั ในชุมชน ในสังคม
โดยเอาใจใสด ูแลคนทีต่ นเกี่ยวขอ ง ประพฤติปฏิบัตดิ ี ทํา
หนา ท่ตี อกนั ทาํ ประโยชนแ กกัน
- ดวยทาน คือรูจักให เผื่อแผแบงปน โดยไมมัวหวงแหน
ทรัพยสมบัติ แตนําออกมาใชทําประโยชน ในการบํารุง
เลย้ี งชว ยเหลือกนั ตามวธิ ีปฏบิ ัตขิ า งตนนั้น
- จงึ เปน การนาํ ชวี ติ ไปในทางแหงสวรรค
รวมทั้งขอเนนที่จะใหผลดีเกิดข้ึนเปนประโยชนท้ังในโลกนี้
และโลกหนา ตามคติอิธโลก-ปรโลก ซงึ่ พบไดทวั่ ในพระไตรปฎก

หลักธรรมสําหรับสังคมคฤหัสถตามคําสอนในพระไตรปฎก
ทว่ี ามาน้เี อง คือแหลง แหง ธรรมท่ีพระเจาอโศกมหาราชทรงสอนใน
ศิลาจารึกของพระองค ที่บางทานมองวาเปนคําสอนที่พระเจา
อโศกทรงคิดข้นึ มา แลวตง้ั ชอ่ื ใหวา อโศกธรรม

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๗๗

จักรพรรดิ-ธรรมราชา

พระสูตรใหญที่เหมือนกับประมวลธรรมสําหรับชีวิตและ
สังคมคฤหัสถไ ว กค็ อื สิงคาลกสตู ร (บางทีเรยี กวา สิคาโลวาทสูตร,
ท.ี ปา.๑๑/๑๗๒) ท่ที า นใหถ อื เปนวินัยของคฤหัสถ (คิหวิ นิ ยั )

ในสิงคาลกสูตรนัน้ แมจ ะตรัสธรรมท่ีเปนขอ ปฏิบัตไิ วหลาย
ดาน แตหลักใหญท ่เี ปน เปา หมายของพระสูตรนนั้ กค็ ือหลกั ทศิ ๖
ที่รูจักกันดี อันแสดงธรรมหรือหนาท่ีที่พึงปฏิบัติตอกัน ระหวาง

มารดาบิดา-บุตรธดิ า อาจารย-ศษิ ย สาม-ี ภรรยา มติ ร-มิตร นายงาน-

คนงาน สมณพราหมณ-กลุ บตุ ร (พระสงฆ- ชาวบาน)
ในสิงคาลกสูตร นี้ ตลอดทงั้ หมด กเ็ ชน เดยี วกบั พระสตู รทัง้

หลายท่ยี กมาเปน ตวั อยา งขา งบนน้ัน ไมกลาวถงึ หลักธรรมสําคญั
อยา งอรยิ สจั ปฏจิ จสมปุ บาท ฌาน นพิ พาน ใดๆ ทพ่ี วกนกั ปราชญ
ฝร่ังและอินเดียหลายทานน้ันคาดหวังเลย แมแตศีล ๕ ก็ยังไม
ปรากฏชือ่ ออกมาในสิงคาลกสูตร นคี่ อื เรื่องธรรมดาทีพ่ งึ เขาใจ

ชื่อเรียกน้ันเปนสื่อสําหรับลัดความเขาใจ คนท่ีรูเรื่องน้ันอยู
แลว พอออกชอ่ื มา เขาก็มองเห็นเน้ือหาทะลตุ ลอดหมด ไมต อ งมา
แจกแจงกนั อีก ชอ่ื เรียกหลกั ธรรมตา งๆ จงึ มไี วใชใหส ะดวกสําหรับ
การสอนและการศึกษาย่ิงข้ึนไป จุดสําคัญอยูที่เอยชื่อใหตรงกับ
สภาวะท่ีจะสื่อ ไมใชเ รือ่ งสําหรบั มายึดวา เปน ของใครๆ

ดว ยเหตุน้ี เม่อื พระพทุ ธเจา ทรงสอนคฤหสั ถหรอื คนใหมภาย
นอก ท่ีชื่อเรียกจะไมชวยในการส่ือแกเขา พระองคก็ตรัสเน้ือหา
ของธรรมนนั้ ๆ ไป แมจ ะตอ งใชเ วลามากหนอ ย การทค่ี นผมู าอา นที

๗๘ หลักศลิ าจารกึ อโศก

หลังไมพบชอื่ ของธรรมนัน้ ๆ กเ็ ปน เรือ่ งธรรมดาอยางท่ีวาแลว

แมแตในจักกวัตติสูตร ท่ีเปนแหลงของหลักธรรมวิชัยและ
คตจิ กั กวตั ตริ าชานเี้ อง ในตอนเดนิ เรอ่ื ง ถงึ จะตรสั เนอ้ื หาของศลี ๕ ก็
ทรงแสดงไปตามสาระ แตไ มอ อกช่อื มาวา “ศลี ๕”

รวมท้ังช่ือวา “กุสลกรรมบถ-อกุสลกรรมบถ” ก็ทรงเอย
เฉพาะตอนทีต่ รสั แบบสรปุ ความแกพระสงฆ

นีค่ ือ แมแ ตพระพุทธเจา ตรัสเอง และอยใู นพระไตรปฎก ใน
กรณีอยา งน้ี ก็ไมไดอ อกชอื่ ของหลกั ธรรมน้นั ๆ

ในขอปฏิบัติขององคพระจักรพรรดิธรรมราชา ก็เนนท่ีการ
คมุ ครองประชาราษฎร คอื เนน ทค่ี น โดยจาํ แนกประชาชนทจี่ ะพงึ ดู
แลเปน หมเู หลา ตา งๆ ๘ พวก (ขอใหนกึ ถงึ สิงคาลกสูตร ท่ีจัดคน
เปน กลมุ ๆ ในหลกั ทศิ ๖)

ในจกั กวตั ตสิ ตู ร ทวี่ า ชอ่ื ซาํ้ กนั อีกสูตรหนง่ึ (องฺ.ติก.๒๐/๔๕๓) พระ
พทุ ธเจา และพระเจาจักรพรรดิ มีคาํ เรยี กพระนามท่ตี รงกันวา ทรง
เปน “ธรรมราชา” เพราะฉะนั้นจึงมีธรรมราชา ๒ อยาง คือ

๑. จกั รพรรดิธรรมราชา
๒. สัมมาสัมพุทธธรรมราชา

ความแตกตา งระหวา งธรรมราชา ๒ อยา งน้ี คอื ระหวา งพระ
พุทธเจา กบั พระเจา จกั รพรรดิ ท่ีเปน จุดสังเกตสําคัญ กค็ อื

พระเจาจกั รพรรดิ จัดสรรการดูแลรักษาคุมครองปองกันอนั
เปน ธรรม แกป ระชาชนหมเู หลา ตา งๆ (ทรงจาํ แนกไว ๘ ประเภท คอื
อนั โตชน ขัตติยะ อนุยนต พลกาย พราหมณคหบดี ชาวนคิ มชนบท

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๗๙

สมณพราหมณ มิคปกษ)ี ยงั จักรใหห มุนไปโดยธรรม ซ่งึ คนสตั วท ี่
มงุ รายใดๆ ไมอาจทําใหหมุนกลบั ได แต

พระสัมมาสัมพุทธเจา จดั สรรการดแู ลรักษาคมุ ครองปอ งกัน
อันเปนธรรม ใหแกกายกรรม วจีกรรม มโนกรรม โดยใหร ูวา
กายกรรม วจีกรรม มโนกรรม อยางไหนควรเสพ อยางไหนไมควร
เสพ ยังธรรมจกั รใหหมนุ ไปโดยธรรม ซงึ่ สมณะ พราหมณ เทพ
มาร พรหม หรือใครก็ตามในโลก ไมอ าจทาํ ใหหมนุ กลับได

นอกจากนน้ั ในจกั กวตั ตสิ ตู ร ท่ี ๓ (ส.ํ ม.๑๙/๕๐๕) ก็ตรสั ใหเห็น

ความแตกตา งไวอ กี มใี จความวา การปรากฏของพระเจา จกั รพรรดิ
ทําใหร ตั นะ ๗ อยางทเ่ี ปนบุคคลและวัตถปุ รากฏ แตการปรากฏ

ของพระสัมมาสัมพุทธเจา ทําใหรัตนะของการพัฒนาจิตใจและ
ปญ ญาคือโพชฌงค ๗ ปรากฏ

คาํ วา “ธรรมราชา” มคี วามหมายตามท่ีพระพทุ ธเจาตรัสไว
๒ ชนั้ คอื เปน “ราชาผทู รงธรรม” และ “ผมู ธี รรมเปนราชา”

สําหรับความหมายแรกวาเปน “ราชาผทู รงธรรม” น้นั ชดั อยู
แลว แตในความหมายที่ ๒ คอื “ผูม ีธรรมเปน ราชา” พระพทุ ธเจา
ทรงอธบิ ายวา “ธรรม” เปน ราชาของพระองค และของพระเจา
จกั รพรรดิ คอื พระพุทธเจา และพระเจา จกั รพรรดิ ทรงเคารพธรรม
ยึดธรรมเปน หลักนาํ ถือธรรมเปนใหญ เปน ธรรมาธิปไตย

ทนี ี้ ถา วเิ คราะหศ พั ทแยกแยะละเอียดลึกลงไปอกี คาํ วา

“ราชา” แปลวา “ผูทําใหประชาชนชื่นชมยนิ ด”ี เพราะฉะนน้ั “ธรรม
ราชา” ก็แปลวา “ผูทําประชาชนใหช่ืนชมยินดีดวยธรรม”

๘๐ หลักศลิ าจารกึ อโศก

แลว อรรถกถาก็แยกความหมายของธรรมราชา ๒ อยางวา
๑. จกั รพรรด-ิ ธรรมราชา หมายถึง ทา นผูยังชาวโลกใหชืน่
บานสดใสดว ยธรรม คือ กุศลกรรมบถ ๑๐
๒. สัมมาสมั พุทธ-ธรรมราชา หมายถึง ทา นผูยังชาวโลกให
ชื่นบานสดใสดวยธรรม คือ โลกตุ ตรธรรม ๙

ในดานงานของธรรมราชา เริ่มจากจักรพรรดิธรรมราชา
เปน ตน ไป เมอ่ื พระพทุ ธเจา ทรงบรรยายความเสอื่ มของสงั คมมนษุ ย
ซงึ่ เปน เนอื้ หาสวนทยี่ ดื ยาวของจกั กวัตตสิ ูตรแรก กท็ รงแสดงภาวะ
เสื่อมโทรมนั้นโดยชี้ถึงการที่มนุษยไมดูแลรับผิดชอบทําหนาท่ีตอ
กัน ขอใหดตู วั อยางสกั ตอน

ภิกษุท้ังหลาย จักมีสมัยท่ีมนุษยเ์ หล่านีม้ ีบุตรอายอุ ยู่
ได้ ๑๐ ปี เมอ่ื มนุษยม์ อี ายุ ๑๐ ปี เดก็ หญิงมอี ายุ ๕ ขวบ
จักอาจมสี าม…ี

ภิกษุท้ังหลาย เมื่อมนุษยม์ อี ายุ ๑๐ ปี คนทง้ั หลาย
จกั เป็นผู้ไม่ปฏิบตั ิชอบตอ่ มารดา ไมป่ ฏิบัติชอบตอ่ บดิ า ไม่
ปฏิบัติชอบต่อสมณะ ไม่ปฏิบัติชอบต่อพราหมณ์ ไม่
ประพฤตอิ ่อนน้อมต่อท่านผู้ใหญใ่ นตระกูล

อกี ท้งั เขาเหล่าน้นั กจ็ กั ได้รบั การยกย่องเชิดชู และได้รบั
การสรรเสริญ เหมือนดงั ทีค่ นผู้ปฏบิ ตั ชิ อบต่อมารดา ปฏิบตั ิ
ชอบต่อบดิ า ปฏิบตั ชิ อบต่อสมณะ ปฏิบัติชอบต่อพราหมณ์
ประพฤตอิ ่อนน้อมตอ่ ทา่ นผใู้ หญ่ในตระกูล ได้รับการยกยอ่ ง
เชิดชู และไดร้ ับการสรรเสริญ ในบัดนี้

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๘๑

ภิกษุทงั้ หลาย เม่อื มนุษยม์ อี ายุ ๑๐ ปี เขาจักไมม่ จี ติ
คดิ เคารพยําเกรงวา่ นแ่ี ม่ น่ีน้า น่พี อ่ น่อี า นี่ปา้ นภ่ี รรยา
ของอาจารย์ หรือว่าน่ีภรรยาของท่านท่ีเคารพท้ังหลาย
สตั วโ์ ลกจกั ถึงความสมสปู่ ะปนกนั เหมอื นดังแพะ ไก่ สนุ ขั
บ้าน สุนขั จ้ิงจอก ฉะนัน้

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย เมื่อมนษุ ยม์ ีอายุ ๑๐ ปี สัตวเ์ หล่าน้นั
ตา่ งก็จักผูกความอาฆาต ความพยาบาท ความคดิ รา้ ย ความ
คดิ จะฆ่าอย่างแรงกล้าในกันและกัน

มารดากับบุตรก็ดี บุตรกับมารดากด็ ี บิดากับบุตรก็ดี
บุตรกบั บิดากด็ ี พ่ชี ายกบั นอ้ งหญิงก็ดี นอ้ งหญงิ กบั พ่ชี ายก็
ดี จักมคี วามแค้นเคืองพลงุ่ ขนึ้ มา มีความพยาบาท ความ
คิดร้าย ความคดิ จะฆา่ กนั อย่างแรงกล้า เสมือนนายพราน
เน้อื เหน็ เน้อื เขา้ แล้ว เกดิ ความอาฆาตพลงุ่ ขึน้ มคี วาม
พยาบาท ความคิดรา้ ย ความคดิ จะฆ่าอย่างแรงกล้า ฉะนนั้

(ท.ี ปา.๑๑/๔๖)

๘๒ หลกั ศิลาจารกึ อโศก

จากดูพทุ ธพจน มาอานธรรมโองการ

เห็นไดช ดั วา ธรรมในศลิ าจารกึ อโศก สวนใหญ และท่กี ลาว
ถงึ บอ ย เปน เรื่องของการปฏิบตั ชิ อบตอ กนั หรือตอบุคคลประเภท
ตางๆ ท่ีแตล ะคนควรดูแลรับผดิ ชอบหรือชวยเหลือกัน ซ่งึ ใกลเคียง
กนั มากกับพระสูตรทยี่ กมาใหด ูแลว

จึงขอยกขอ ความในศลิ าจารกึ นั้นมาใหด บู าง
ขอเรม่ิ ดว ย จารกึ หลักศิลา ฉบับท่ี ๗ ซงึ่ ตรสั เลา ความเปน มา
และวตั ถปุ ระสงคข องการทาํ ศลิ าจารกึ ประกาศธรรมไวด ว ย อนั เปน
เรอ่ื งทน่ี า รู

๑. สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวปริยทรรศี ผู้เป็นที่รักแห่งทวย
เทพ ตรสั ไว้ดังนี้ :-

ตลอดกาลยาวนานล่วงมาแล้ว ได้มีพระราชาหลายองค์
ทรงปรารถนาวา่ ทําไฉนประชาชนทง้ั หลายจะพงึ เจริญก้าวหนา้
ดว้ ยความเจรญิ ทางธรรม แต่ประชาชนกห็ าได้เจริญก้าวหนา้ ข้ึน
ด้วยความเจรญิ ทางธรรมตามสมควรไม่ … กแ็ ล ดว้ ยอุบายวธิ ี
อันใดหนอ ประชาชนทง้ั หลายจะพงึ ประพฤติปฏิบัติตาม …

๓. ในเรื่องนี้ สมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวปรยิ ทรรศี ผู้เปน็ ทรี่ กั
แห่งทวยเทพ ตรสั ไว้ดังน้ี :-

ข้าฯ ได้เกดิ มีความคดิ ขนึ้ ว่า ข้าฯ จักจดั ให้มกี ารประกาศ
ธรรม ข้าฯ จกั จัดใหม้ ีการอบรมส่ังสอนธรรม ประชาชนทง้ั
หลาย ครนั้ ไดส้ ดับธรรมนแี้ ลว้ ก็จกั พากันประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ าม
จักยกระดับตนเองสูงข้ึน และจกั มีความเจริญกา้ วหนา้ ข้นึ ด้วย
ความเจริญทางธรรมอยา่ งม่นั คง

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๘๓

เพอ่ื ประโยชน์นี้ ข้าฯ จึงจดั ใหม้ ีการประกาศธรรม และสงั่
ให้มีการอบรมสง่ั สอนธรรมขน้ึ เปน็ หลายแบบหลายอยา่ ง เพอื่ ให้
ขา้ ราชการทงั้ หลาย ท่ีขา้ ฯ ได้แตง่ ต้งั ไวด้ ูแลประชาชนจํานวน
มาก จกั ไดช้ ่วยกนั แนะนาํ สง่ั สอนบา้ ง ชว่ ยอธบิ ายขยายความให้
แจม่ แจง้ ออกไปบา้ ง แม้เจ้าหน้าทร่ี ชั ชกู ะ ข้าฯ กไ็ ดแ้ ตง่ ตง้ั ไวด้ ู
แลชีวิตหลายแสนชีวิต เจ้าหน้าท่ีรัชชูกะเหล่านั้น ก็ได้รับคําส่ัง
จากข้าฯ ว่า ท่านท้ังหลายจงอบรมสัง่ สอนประชาชนใหเ้ ปน็ ผู้
ประกอบดว้ ยธรรมอย่างนี้ๆ

๔. สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวปริยทรรศี ผู้เป็นท่ีรักแห่งทวย
เทพ ตรัสไว้วา่ :-

เมอื่ ไดพ้ จิ ารณาใครค่ รวญในเรอื่ งนี้ โดยถอ่ งแทแ้ ลว้ นน่ั แล
ขา้ ฯ จงึ ใหป้ ระดษิ ฐานหลักศิลาจารกึ ธรรมขึน้ ไว้ แต่งตงั้ ธรรม
มหาอํามาตยข์ ึ้นไว้ และจัดให้มกี ารประกาศธรรม

๕. สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวปริยทรรศี ผู้เป็นที่รักแห่งทวย
เทพ ตรัสไวด้ งั นี้ :-

แมต้ ามถนนหนทาง ขา้ ฯ ก็ได้ใหป้ ลกู ต้นไทรข้ึนไว้ เพ่ือจกั
ไดเ้ ปน็ รม่ เงาใหแ้ กส่ ตั ว์และมนุษยท์ ้ังหลาย ใหป้ ลกู สวนมะม่วง
ให้ขุดบอ่ นาํ้ ไวท้ ุกระยะก่ึงโกรศะ๑ ให้สร้างท่ีพักคนเดนิ ทางขน้ึ ไว้
และใหส้ รา้ งอา่ งเก็บนํา้ จาํ นวนมากมายขน้ึ ไวใ้ นท่ีต่างๆ เพ่ือการ
ใช้สอยแห่งสัตว์และมนษุ ยท์ ้งั หลาย

๑ คาํ อา นจากศลิ าจารกึ วา “อฒ-โกสกิ ยฺ าน”ิ สนั นษิ ฐานกนั วา = อฑฒฺ +โกส แปลวา ครง่ึ โกสะ;

เทยี บตามมาตราฝา ยบาลี คอื ครงึ่ กม.; ทางฝา ยสนั สกฤต โกสÆโกรฺ ศ = ๑ กม. บา ง = ๒

กม. บา ง, ครงึ่ โกสะ จงึ เปน ครงึ่ กม. หรอื ๑ กม. ตามลาํ ดบั
แต “อฒ” อาจจะเปน อฏ คอื ๘ จงึ เปน ๘ โกส/โกรฺ ศ ถา อยา งน้ี กจ็ ะเปน ๘ หรอื ๑๖

กม. ตามลาํ ดบั (ดู เชงิ อรรถที่ จารกึ หลกั ศลิ า ฉบบั ที่ ๗)

๘๔ หลักศิลาจารกึ อโศก

แต่การใช้ประโยชน์เช่นน้ียังจัดว่าเป็นส่ิงเล็กน้อย พระ
ราชาทัง้ หลายในกาลก่อนกด็ ี ตวั ข้าฯ กด็ ี ตา่ งก็ได้บํารงุ ประชา
ชนทง้ั หลายให้มคี วามสุขด้วยวธิ ีการบาํ รุงสขุ ประการตา่ งๆ แต่
ทข่ี า้ ฯ ไดก้ ระทาํ การเช่นนี้ กด็ ้วยความมงุ่ หมายข้อนี้ คอื เพ่ือ
ใหป้ ระชาชนทง้ั หลายประพฤตปิ ฏิบตั ิตามธรรม…

๘. สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวปริยทรรศี ผู้เป็นท่ีรักแห่งทวย
เทพ ตรัสไว้ดังน้ี

กรรมดใี ดๆ ก็ตาม ทีข่ า้ ฯ ได้กระทาํ แลว้ ประชาชนทง้ั
หลายก็ได้พากันประพฤติปฏิบัติกรรมดีนั้นๆ ตามอย่างแล้ว
และยังคงดําเนินตามกรรมดีนน้ั ๆ อยู่ตอ่ ไป ดว้ ยการกระทําเช่น
นัน้ ประชาชนทงั้ หลายก็ได้มคี วามเจริญงอกงามขนึ้ แล้ว และ
ยงั จักเจริญงอกงามยง่ิ ๆ ขึ้นไปอกี ดว้ ย:

- การเช่อื ฟังมารดาบิดา
- การเช่อื ฟงั ครทู ัง้ หลาย
- การปฏิบตั ชิ อบต่อท่านผู้เฒา่ ชรา
- การปฏิบตั ิชอบตอ่ พราหมณแ์ ละสมณะ
- (การปฏิบตั ิชอบ) ต่อคนยากจน และคนตกทกุ ข์
- ตลอดถงึ คนรบั ใช้ และคนงานท้ังหลาย

จารึกศิลา ฉบับท่ี ๓ ระบธุ รรมทพ่ี งึ เผยแพร ดังนี้

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวปริยทรรศี ผู้เป็นท่ีรักแห่งทวย
เทพ ตรัสไว้ดังน้ี

ขา้ ฯ เมอ่ื อภเิ ษกแลว้ ได้ ๑๒ ปี ได้ส่งั ประกาศความข้อ
นไ้ี วว้ ่า ทกุ หนทกุ แหง่ ในแวน่ แควน้ ของขา้ ฯ เจา้ หนา้ ทยี่ กุ ตะ

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๘๕

เจา้ หนา้ ทร่ี ชั ชกู ะ และเจ้าหน้าทปี่ ราเทศกิ ะ จงออกเดินทาง
(ตรวจตรา) ทกุ ๆ ๕ ปี เพือ่ ประโยชนอ์ นั น้ี คอื เพ่อื การสงั่
สอนธรรมนี้ พร้อมไปกับการปฏบิ ตั ิหน้าท่รี าชการอยา่ งอืน่

(เจา้ หนา้ ที่เหลา่ นั้นพงึ สง่ั สอน) วา่
- การเช่ือฟงั มารดาบดิ า เป็นความดี
- การใหป้ ันแกม่ ติ รสหาย ญาติ แกพ่ ราหมณ์และสมณะ
เปน็ ความดี
- การไม่ฆ่าสัตว์ เป็นความดี
- การประหยัดใช้จา่ ยแต่นอ้ ย การสะสมแตน่ อ้ ย (เล้ยี งชีวิต
แตพ อด?ี ) เปน็ ความดี

จารึกศลิ า ฉบบั ที่ ๙ กลา วถึงธรรมท่ีพงึ ปฏิบตั ดิ ังน้ี

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวปริยทรรศี ผู้เป็นที่รักแห่งทวย
เทพ ตรสั วา่ ประชาชนทงั้ หลาย ยอ่ มประกอบพิธีมงคล
ต่างๆ เป็นอนั มาก … อันเป็นเร่ืองหยมุ หยิมไรส้ าระ และไม่
ประกอบดว้ ยประโยชน์ … โดยนยั ตรงข้าม ยังมพี ธิ ีกรรมท่ี
เรียกว่าธรรมมงคล ซึ่งเป็นพิธีกรรมมีผลมาก ในธรรม
มงคลนน้ั ยอ่ มมกี จิ ตอ่ ไปน้ี คอื

- การปฏิบตั ชิ อบต่อคนรับใช้และคนงาน
- การแสดงความเคารพนับถือต่อครอู าจารย์
- การสาํ รวมตนตอ่ สตั วท์ ั้งหลาย
- การถวายทานแกส่ มณพราหมณ์

๘๖ หลักศิลาจารึกอโศก

ใน จารกึ ศลิ า ฉบับที่ ๑๑ นอกจากธรรมปฏบิ ัติทคี่ ลายกบั ใน
จารกึ อืน่ แลว มขี อ พงึ สงั เกตพิเศษ คอื เรอื่ ง ธรรมทาน และการบูชา
ยญั ท่จี ะพูดถึงเพม่ิ เติมอกี ขา งหนา ดังน้ี

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวปริยทรรศี ผู้เป็นที่รักแห่งทวย
เทพ ตรสั ไว้ ดังนี้

ไมม่ ที านใดเสมอดว้ ยการใหธ้ รรม (ธรรมทาน) การแจก
จา่ ยธรรม (ธรรมสงั วภิ าค) และความสมั พนั ธก์ นั โดยธรรม (ธรรม
สมั พนั ธ)์ อาศยั ธรรม (ธรรมทาน เปน็ ตน้ ) นี้ ย่อมบังเกิดมี
สง่ิ ต่อไปน้ี คือ

- การปฏบิ ัตชิ อบต่อคนรับใช้และคนงาน
- การเชอ่ื ฟังมารดาบิดา
- การเผอ่ื แผแ่ บง่ ปนั แกม่ ติ ร คนคนุ้ เคย ญาติ และแกส่ มณ
พราหมณ์
- การไมฆ่ า่ สตั ว์เพอื่ บูชายญั

บิดากด็ ี บตุ รกด็ ี พีน่ ้องชายก็ดี นาย (หรือ สาม)ี ก็ดี
มติ รและคนคนุ้ เคยกด็ ี ตลอดถึงเพ่อื นบา้ น พงึ กลา่ วคํานี้
(แก่กัน) วา่ ‘นี่เปน็ สิง่ ดงี ามแท้ นเ่ี ปน็ กจิ ควรทาํ ’

บุคคลผู้ปฏิบัติเช่นน้ี ย่อมทําความสุขในโลกนี้ให้
สําเรจ็ ดว้ ย และในโลกเบื้องหนา้ ยอ่ มประสพบญุ หาทส่ี ุดมิ
ไดเ้ พราะอาศยั ธรรมทานน้นั ด้วย.

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๘๗

ธรรมแบบทีเ่ ปน หวั ขอนามธรรม คอื เปน ตวั คณุ ธรรม พบใน
จารึกเพียง ๒ แหง คอื จารกึ หลกั ศลิ า ฉบับท่ี ๒ ดังน้ี

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวปริยทรรศี ผู้เป็นที่รักแห่งทวย
เทพตรสั ไว้ดังนี้ :-

ธรรมเปน็ สิง่ ดีงาม กส็ งิ่ ใดเลา่ ชื่อวา่ ธรรม ธรรมนนั้ ได้
แกส่ ่ิงต่อไปน้ี คือ

- การมีความเสียหายน้อย (อัปปาทีนวะ?)๑
- การมคี วามดมี าก (พหุกัลยาณะ)
- ความเมตตากรุณา (ทยา)
- การเผื่อแผ่แบ่งปัน (ทาน)

- ความสัตย์ (สัจจะ)

- ความสะอาด (โสไจย)

อีกแหง หนึง่ ทพ่ี บธรรมแบบท่เี ปน หัวขอ นามธรรม คือเปนตัว
คณุ ธรรม ไดแก จารกึ หลกั ศิลา ฉบับท่ี ๗ ดังน้ี

๗. สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวปริยทรรศี ผู้เป็นท่ีรักแห่ง
ทวยเทพ ตรสั ไว้ดังนี้

เจา้ หนา้ ทช่ี ้นั ผูใ้ หญเ่ หล่านี้ และพวกอน่ื ๆ อกี จํานวน
มาก ไดร้ ับมอบหมายให้มีหน้าทที่ ําการจําแนกแจกทาน ทั้ง
ในนามของข้าฯ เอง และในนามแห่งพระราชเทวีทัง้ หลาย
ท่วั ทกุ ฝ่ายในของขา้ ฯ เจ้าหน้าที่ชั้นผู้ใหญ่เหลา่ น้ี สามารถ

๑ คาํ ทถ่ี อดออกมาจากศลิ าจารกึ วา “อปาสนิ เว” และไดแ ปลกนั ไปตา งๆ สดุ แตจ ะโยงไปสคู าํ
ศพั ทใ ด เชน บางทานคิดวาคงเปน อัปปาสวะ ก็แปลวามีอาสวะ/กิเลสนอย ในท่ีนี้
เม่ือเทียบกับ “พหุกัลยาณะ” เหน็ วา นา จะเปน “อปั ปาทนี วะ” จงึ แปลอยา งนี้

๘๘ หลกั ศลิ าจารกึ อโศก

จดั ดาํ เนินการในกิจต่างๆ ทีม่ ุง่ หมาย จนเปน็ ท่นี ่าพอใจได้
ดว้ ยวิธกี ารมากหลาย ทงั้ ใน (พระนครหลวง) นี้ และใน
สว่ นต่างๆ (ของประเทศ)

อนง่ึ ในส่วนแหง่ โอรสของขา้ ฯ และเจ้าชายอ่นื ๆ ซง่ึ
ประสูตแิ ตพ่ ระราชเทวที ้งั หลาย ข้าฯ ก็ไดส้ ั่งใหก้ ระทาํ การ
(จําแนกแจกทาน) เชน่ นี้ โอรสของขา้ ฯ เหล่าน้ี จกั เปน็ ผู้
ฝักใฝใ่ นการจําแนกแจกทาน อันจะเปน็ การชว่ ยส่งเสรมิ หลัก
การทางธรรม และการประพฤตปิ ฏิบตั ติ ามธรรม

หลักการทางธรรม และการประพฤติปฏิบัติตามธรรม
เหล่าน้ี กลา่ วคือ

- ความเมตตากรณุ า (ทยา)
- การเผ่ือแผ่แบง่ ปัน (ทาน)
- ความสัตย์ (สจั จะ)
- ความสะอาด (โสไจย)
- ความสุภาพออ่ นโยน (มัททวะ)
- ความเป็นสาธุชน (สาธวะ)
จะพงึ เจรญิ เพ่ิมพูนขน้ึ ในหมู่ประชาชน

สวนอีกแหงหนึง่ ไมใชเปนหัวขอ ธรรมหรอื คุณธรรมทจี่ ะสอน
โดยตรง แตก ระตนุ เตอื นใหต ระหนกั วา การทจ่ี ะทาํ ใหส าํ เรจ็ ตามจดุ
หมายทต่ี ้งั ไวน ั้น จะตองทําตัวหรอื ปฏิบตั ิตนอยางไร ไดแ ก จารึก
หลกั ศิลา ฉบบั ที่ ๑ ซงึ่ มีขอ ความดงั นี้

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวปริยทรรศี ผู้เป็นที่รักแห่งทวย
เทพตรสั ไวด้ งั น้ี :-

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๘๙

ธรรมโองการนี้ ขา้ ฯ ได้ใหจ้ ารกึ ขน้ึ ไว้ เม่ืออภเิ ษกแล้ว
ได้ ๒๖ พรรษา ประโยชนใ์ นโลกนแี้ ละโลกหนา้ เป็นสงิ่ ทจ่ี ะ
พงึ ปฏิบตั ิใหส้ าํ เร็จได้โดยยาก หากปราศจาก

- ความเปน็ ผู้ใคร่ธรรมอยา่ งย่งิ ยวด (อคั ค-ธมั มกามตา)
- การใชป้ ญั ญาไตรต่ รองอยา่ งยงิ่ ยวด (อคั ค-ปรกิ ขา)
- การต้ังใจฟงั คําสัง่ สอนอยา่ งยง่ิ ยวด (อัคค-สุสสูสา)
- ความเกรงกลวั (ต่อบาป) อยา่ งยงิ่ ยวด (อคั ค-ภยะ)
- ความอตุ สาหะอยา่ งยิ่งยวด (อัคค-อุสสาหะ)๑

บดั น้ี ดว้ ยอาศยั คาํ สงั่ สอนของขา้ ฯ ความมงุ่ หวงั ทาง
ธรรมและความฝักใฝ่ใคร่ธรรม ได้เจริญงอกงามขึ้นแล้ว
ทุกๆ วัน และจกั เจรญิ งอกงามยง่ิ ขน้ึ เรอ่ื ยไป

ทฏิ ฐธมั มิกัตถ คือมาตรวัดนักปกครอง

จากหลกั ฐานและเร่อื งราวที่ยกมาดกู ันน้ี จะเห็นวา โดยท่ัว
ไป พระเจาอโศกทรงสอนธรรม แบบไมอ อกช่ือของหลกั ธรรมหรอื
ชอ่ื หัวขอ ธรรม

(ถาทรงเรียกชื่อหัวขอธรรมออกมา ราษฎรท่ีอยูกระจายหางกวางไกล

สวนใหญก็คงไมรูเร่ือง ไมเคยไดยิน คนท่ีจะอธิบายก็ไปไมถึง ไมวาดวยตัว
หรอื โดยรูปโดยเสียง ก็ตองใชศพั ทชาวบา น คําทีร่ กู ันคนุ หรอื ทพ่ี อเทียบได)

๑ คาํ ศพั ทใ นวงเลบ็ ทง้ั หมดนี้ พงึ ทราบวา ไมใ ชร ปู เดมิ ในศลิ าจารกึ แตเ ปน การถอดรปู ออกมา
และเขยี นเทยี บเปน คาํ บาลี เพอ่ื ใหไ ดป ระโยชนใ นการศกึ ษามากขน้ึ (เชน ขอ ๒ ทถ่ี อดเปน
“อคั ค-ปรกิ ขา” นนั้ คาํ ในจารกึ เปน “อคาย ปลขี ายา”) แตท นี่ ม่ี ใิ ชโ อกาสทจี่ ะอธบิ ายมากกวา นี้

๙๐ หลกั ศลิ าจารกึ อโศก

พระองคตรสั ออกชื่อธรรมเพยี งไมกอี่ ยา ง เม่อื จะเนน ออกมา
เฉพาะที่เปน คาํ ท่รี ูๆ กนั หรืองา ยๆ

แตที่ทรงสอนเอาจริงเอาจัง และตรัสอยูเสมอ ก็คือธรรมท่ี
เปน การปฏิบัตติ อกนั ระหวางคนในหมชู น ทาํ นองเดยี วกับพระสตู ร
ในพระไตรปฎ ก ทพี่ ระพทุ ธเจา ตรัสสอนคฤหัสถ

กลายเปนวา พระเจา อโศกน่ันแหละทรงแมนยําวา ในฐานะ
พุทธมามกะ เมื่อเปนราชาปกครองบานเมือง จะสอนธรรมสวน
ไหนอยางไร และคนท่ไี มเ ขา ใจเพราะจับจดุ จบั หลกั ไมไ ด กค็ ือทา น
ผรู ูท งั้ ชาวอนิ เดยี และฝรงั่ นน่ั เอง

คงตองพูดวา พระเจาอโศกมิใชจะทรงริเร่ิมจัดตงั้ หลกั ธรรม
สากลหรอื ศาสนาสากล ที่ใชภ าษาอังกฤษวา universal religion
แตอยางใด ท่ีแทน้ัน พระองคทรงตั้งพระทัยไวในความเปน
universal ruler หรอื universal monarch ตามคติจักกวตั ติราชา
ดังท่ีไดทรงประกาศหลักธรรมวิชัย ซ่ึงเปนตัวบงช้ีความเปน
จักรพรรดริ าชตามความในพระสูตรทั้งหลายนัน้

ความจริง พระพุทธศาสนาถือวาธรรมเปนสากลในตัวของ
มนั เองอยูแ ลว ดังทพ่ี ระพุทธเจาตรสั วา ตถาคตจะเกิดขึ้นหรอื ไมก็
ตาม ธรรมก็มีก็เปนของมันอยูอยางนั้น ตถาคตเพียงมาคนพบ
ธรรมน้ัน แลวนํามาบอกเลาประกาศใหรูกัน จึงไมมีปญหาที่จะ
ตองมาพูดในเรือ่ งนี้

เวลามคี นมาซกั ถามพระพทุ ธเจา บางทเี ขาทลู วา อาจารยค น
โนน เกง อยา งนนั้ คนนนั้ เกง อยา งน้ี คนนสี้ อนวา อยา งนนั้ คนนนั้ สอน
วา อยา งน้ี เขาเถยี งกนั นกั แลว พระองคว า ใครผดิ ใครถกู พระพทุ ธ


Click to View FlipBook Version