The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

จารึกอโศก รัฐศาสตร์แห่งธรรมธิปไตย (ป.อ. ปยุตโต)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-05-05 23:02:11

จารึกอโศก รัฐศาสตร์แห่งธรรมธิปไตย (ป.อ. ปยุตโต)

จารึกอโศก รัฐศาสตร์แห่งธรรมธิปไตย (ป.อ. ปยุตโต)

Keywords: จารึกอโศก,ป.อ. ปยุตโต

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๙๑

เจา จะตรสั ทาํ นองนว้ี า “เอาละ ทา่ นพราหมณ์ เรือ่ งที่คน ๒ ฝ่ายนีพ้ ูด

อ้างความรกู้ นั มวี าทะขดั แยง้ กัน ใครจรงิ ใครเทจ็ นัน้ พักไวเ้ ถิด เราจัก
แสดงธรรมแก่ท่าน” (องฺ.นวก.๒๓/๒๔๒) แลวตรัสไปตามหลัก ตาม
สภาวะ ใหเ ขาพิจารณาเอาเอง

ทีน้ีก็มาถึงคําถามวา ทําไมในพระสูตรที่แสดงแกคฤหัสถ
ท่ัวๆ ไป พระพทุ ธเจาจงึ ไมตรัสออกชอ่ื หลกั ธรรม หรอื ช่อื หวั ขอ
ธรรมสาํ คญั ๆ เชน อรยิ สจั และปฏจิ จสมปุ บาท เปน ตน

แลว กเ็ ชน เดียวกัน ทาํ ไมพระจักรพรรดิธรรมราชา เมอ่ื ทรง
สอนธรรมแกประชาชนท่ัวไป จึงไมตรัสออกชื่อหลักธรรมสําคัญ
เหลาน้ัน

คาํ ถามนส้ี ว นหนง่ึ ไดต อบไปแลว ในแงท วี่ า ชอ่ื นน้ั เขาใชส อ่ื กบั
คนทร่ี อู ยบู า งแลว เปน ตน

ตอนนจี้ ะตอบเนนในแงการทําหนา ท่ขี องพระจกั รพรรดริ าช

พระราชาทรงปกครองคนทง้ั แผน ดิน คนเหลา น้นั มีระดบั การ
พฒั นาตา งๆ กัน แตคนสวนใหญตองถือวา เปนระดับพ้นื ฐาน คน
เหลา นน้ั ยงั ไมไ ดค ดิ มงุ คดิ หมายทจี่ ะเดนิ หนา ไปในธรรม (คอื ในการที่
จะศึกษาพัฒนาตนหรือแสวงหาคณุ คาท่ีสงู ข้ึนไปแกชีวติ ) มิใชเปน
อยา งคนท่จี ะบวช ซ่งึ มีเปา หมายท่ตี งั้ ไวว า จะเดินหนา ไปแลว

งานของผูป กครองท่มี องอยางครอบคลุมกอ น ก็คอื จะทาํ ให
คนทัว่ ไปทีเ่ ปนมวลรวมน้ี อยูกันดีมสี ุขสงบเรียบรอยในความหมาย
เพียงระดับพื้นฐาน ต้ังแตอยางนอยท่ีจะไมเบียดเบียนกนั หรอื เขว
ออกไปนอกลูน อกทาง ใหเปนความพรอมขัน้ ตนของสงั คม

๙๒ หลกั ศิลาจารึกอโศก

แลวก็บริหารจัดการใหประชาชนเขาถึงและกาวไปพรั่งพรอ ม
ในทิฏฐธมั มกิ ัตถ ไมว า จะเปนดา นเศรษฐกิจและอาชวี ะ ดานบรกิ าร
ทางสังคมตั้งแตเรื่องครอบครัว ดานสุขภาพอนามัย ดา นการสอ่ื
สารเผยแพรค วามรู ฯลฯ น่คี อื งานทีธ่ รรมราชาฝายบา นเมืองตอง
ทาํ ใหดใี หได แตก็ไมใ ชหยดุ แคน ี้ ไมใชปลอยใหกลายเปนวา พอม่ัง
ค่ังพร่ังพรอมแลว ก็ลุมหลงมัวเมาเอาแตเสพบริโภค ตกอยูใต
ความประมาท แลวกเ็ ขา วงจรความเสื่อม

แตพรอมกันน้ันเอง ทานผูปกครองก็จัดสรรสภาพแวดลอม
และระบบการตา งๆ ทีจ่ ะเอือ้ อาํ นวยบรกิ าร เปน ตน ขยายโอกาส
เพ่ือสนองและสงเสริมความตอ งการของคนใหเขาพฒั นาสงู ขน้ึ ไป

ถงึ ขั้นตอนน้แี หละ อยา งในมหาอาณาจกั รของพระเจา อโศก
มหาราช วหิ ารคอื วดั มากมาย พระองคก ไ็ ดส รา งไว และทรงอปุ ถมั ภ
บาํ รงุ พระสงฆ แถมยงั ทรงเก้อื หนุนไปถงึ นกั บวชในลัทธอิ นื่ ๆ ดว ย

วดั และพระสงฆเ ปน ตน น้ี มองในแงน ้ี กเ็ หมอื นเปน บรกิ ารของ
ระบบแหง สงั คมทดี่ ี ทจ่ี ะมากระตนุ และมาสนองความตอ งการของ
คนหลากหลาย ทีจ่ ะกาวขึน้ ไปสกู ารพฒั นาชวี ิตในระดับทป่ี ระณีต
สงู ตอ ๆ กันตามลําดับไป

พดู งายๆ วา รัฐจัดสภาพเอื้อพ้ืนฐานไวใหแลว วดั ก็มาดู มา
ใช มารับชว งตอไปสิ วา ใครจะรบั ธรรมขัน้ ไหนอยา งใดได

ตอนนกี้ พ็ ระนแี่ หละ ทจี่ ะดูในแตละกรณีหรือสถานการณวา
จะพดู จะเอย ถงึ ธรรมชื่อใดๆ ตามทเี่ ขาตอ งการ หรือท่จี ะเหมาะสม
เปนประโยชนแกเ ขา เหมอื นกับแบง หนา ทีแ่ ละขัน้ ตอนการทาํ งาน
กนั ระหวางรฐั กับวัด

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๙๓

ดงั นั้น จึงเหน็ ไดวา แมแ ตใ นพทุ ธกาล ถึงพระพุทธเจา และ
พระสาวกท้ังหลาย ตามปกติจะไมไดส อนขอธรรมลึกๆ แกคฤหัสถ
ทว่ั ไป เหมือนอยางทสี่ อนแกพ ระสงฆทมี่ ุง เขามาศึกษาโดยตรง แต
ในหมูมหาชนนอกภิกขุสังฆะนั้น ก็มีบางคนบางสวนที่สนใจและ
กาวไปมากในการศึกษาอยางเปนเร่ืองเฉพาะตัวเฉพาะกลุมท่ีจะ
แสวงหา

ดังที่บางทาน อยางจติ รคฤหบดีผเู ปนอนาคามี กม็ ีภูมิธรรม
สงู ไดร บั ยกยอ งเปน เอตทคั คะดานเปน อบุ าสกธรรมกถึก สามารถ
อธิบายชวยแกความติดขัดในธรรมแกภิกษุท้ังหลายแมแตที่เปน
เถระได (องฺ.เอก.๒๐/๑๕๑; ส.ํ สฬ.๑๘/๕๓๙–๕๔๐) หรอื อยา งอุบาสกิ าสําคัญ
ขุชชุตตรา พระพทุ ธเจากท็ รงยกยองเปนเอตทคั คะดา นเปน พหสู ูต

(องฺ.เอก.๒๐/๑๕๒)

แตเมือ่ พดู กวางๆ ทวั่ ๆ ไป ในสงั คมคฤหสั ถโดยรวม ธรรมที่
สอนตามปกติกเ็ ปน ดงั ท่ีพดู มาแลว

หลักฐานยืนยันที่ชัดเจนมาก ไมตองหาที่ไหนไกล ขนาด
อนาถบิณฑิกเศรษฐีที่ใกลชิดพระพุทธเจาและภิกษุสงฆ ได
อปุ ถมั ภพ ระศาสนา กลาวไดว า มากที่สดุ และเปนโสดาบัน

ขนาดเปน โสดาบนั กวาจะไดฟงธรรมหลกั ใหญอยา งทอี่ อก
ชื่อกนั มานนั้ ก็ตอนเจ็บหนักนอนอยบู นเตียงจวนจะส้นิ ชีพ

เรอื่ งมีวา คราวนน้ั พระสารีบตุ ร พรอมดวยพระอานนทต ดิ
ตาม (เรียกวาเปนปจฉาสมณะ) ไดไปเย่ียมอนาถบิณฑิกเศรษฐี
และไดใหโอวาทแกทานเศรษฐี โดยมีสาระสําคัญวา ไมควรเอา
อปุ าทานไปยดึ ติดถือมน่ั ตอสงิ่ ทั้งหลาย ดังคาํ สรปุ ทา ยโอวาทวา

๙๔ หลกั ศิลาจารกึ อโศก

ดกู รคฤหบดี เพราะฉะนนั้ แล ท่านพงึ ศึกษาอย่างนีว้ า่
อารมณ์ใดก็ตาม ทเ่ี ราได้เห็น ไดย้ ิน ได้ทราบ ได้แจ้งแก่ใจ
ได้แสวงหา ได้คุ้นใจ เราจักไมย่ ดึ ติดถอื มน่ั อารมณน์ ้นั และ
วิญญาณท่อี าศัยอารมณน์ ้ันจักไม่มีแก่เรา ดกู รคฤหบดี ทา่ น
พึงศกึ ษาอยา่ งน้ีเถดิ

อนาถบณิ ฑกิ เศรษฐฟี ง โอวาทจบแลว ถงึ กบั ราํ่ ไห และได
กลา ววา

…กระผมได้เข้ามาใกล้ชิดองค์พระศาสดาและพระภิกษุ
ท้ังหลายผู้เป็นท่ีเจริญใจมาเป็นเวลายาวนาน แตก่ ระน้นั ก็
ไมเ่ คยไดส้ ดบั ธรรมีกถาอยา่ งน้ีเลย

พระอานนทตอบชี้แจงวา
ดูกรคฤหบดี ธรรมกี ถาอยา่ งนี้ ไมส่ าํ แดงแก่คนนงุ่ ขาว

ชาวคฤหสั ถ์ จะสําแดงแตแ่ กบ่ รรพชิต

อนาถบณิ ฑกิ เศรษฐที ราบอยา งนนั้ แลว ไดก ลา วขอรอ งวา

ข้าแต่พระสารีบตุ รผูเ้ จริญ ถ้าอย่างน้นั ขอธรรมกี ถา
อยา่ งนี้ จงสําแดงแกค่ นนุง่ ขาวชาวคฤหัสถ์บ้างเถดิ เพราะ
ว่า กุลบุตรจําพวกมีกิเลสธุลีในดวงตาน้อยก็มีอยู่ (แต่)
เพราะมไิ ดส้ ดับธรรม ก็จะเส่อื มไป คนที่จะรเู้ ขา้ ใจธรรม จกั มี

(ม.อุ.๑๔/๗๒๐–๗๔๐)

หลังจากพระสารีบุตรและพระอานนทกลับออกมาไมนาน
ทานเศรษฐกี ถ็ งึ แกก รรม และเขา ถงึ ดสุ ติ ภพ

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยุตโฺ ต) ๙๕

เสรภี าพ เพอ่ื เขาถึงโอกาสแหงธรรมบริการ

หันกลบั มาพดู ถงึ บทบาทของรฐั กับบทบาทของวัด ในการ
สอนธรรมใหก ารศึกษาแกประชาชน

อยา งทีว่ า แลว รัฐจะเนน การทาํ หนาท่ีขั้นพน้ื ฐาน เพ่อื ใหค น
ท่ัวไปในสังคมมีความพรอมที่จะกาวสูการพัฒนาชีวิตของตน
พรอ มทงั้ จดั สรรโอกาสและจัดการใหค นเขา ถึงโอกาสนั้น ดวยการ
ประสานเสรภี าพ เขากบั ระบบแหงบริการ

ในสงั คมชมพทู วปี แตยุคโบราณมา เทาทพี่ อทราบกัน คนถึง
จะนบั ถอื ตางกนั แตก ารเปนอยกู ็ไมค อยไดแบง แยกกัน มีประเพณี
ทางปญญาท่จี ะรับฟง คาํ สอนของลัทธศิ าสนาตางๆ นบั ไดวา เสรี

ในศลิ าจารกึ อโศกก็เนนเร่อื งนี้ไวด ว ย ดังความใน จารกึ ศลิ า
ฉบบั ท่ี ๑๒ วา

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวปริยทรรศี ผู้เป็นที่รักแห่งทวย
เทพ ยอ่ มทรงยกยอ่ งนับถอื ศาสนิกชนแหง่ ลัทธิศาสนาท้งั
ปวง ทัง้ ทีเ่ ปน็ บรรพชติ และคฤหสั ถ์ ด้วยการพระราชทานสิ่ง
ของ และการแสดงความยกย่องนับถืออย่างอนื่ ๆ

แต่พระผู้เป็นท่ีรักแห่งทวยเทพ ยอ่ มไมท่ รงพิจารณา
เหน็ ทานหรือการบูชาอันใด ท่ีจะเทียบได้กับสง่ิ นี้เลย ส่ิงน้ี
คอื อะไร? ส่ิงนน้ั กค็ อื การท่ีจะพึงมีความเจรญิ งอกงามแหง่
สารธรรมในลทั ธศิ าสนาทัง้ ปวง

ก็ความเจริญงอกงามแห่งสารธรรมน้ี มีอยู่มากมาย
หลายประการ แต่ส่วนท่ีเป็นรากฐานแห่งความเจริญงอก

๙๖ หลกั ศิลาจารึกอโศก

งามนน้ั ไดแ้ กส่ งิ่ นคี้ อื การสาํ รวมระวงั วาจา (วจคี ปุ ต)ิ์ ระวงั
อย่างไร? คือ ไมพ่ ึงมีการยกย่องลัทธิศาสนาของตน และ
การตาํ หนิลัทธศิ าสนาของผอู้ นื่ ในเมือ่ มใิ ชโ่ อกาสอนั ควร …

การสงั สรรคก์ ลมเกลยี วกนั นน่ั แล เปน็ สงิ่ ดงี ามแท้ จะ
ทาํ อยา่ งไร? คือ จะตอ้ งรบั ฟงั และยนิ ดีรับฟงั ธรรมของกนั
และกนั

จริงดงั น้ัน พระผเู้ ปน็ ท่ีรักแห่งทวยเทพ ทรงมคี วาม
ปรารถนาว่า เหลา่ ศาสนิกชนในลัทธิศาสนาทงั้ ปวง พึงเป็น
ผมู้ คี วามรอบรู้ (เปน็ พหสู ตู ) และมหี ลกั ศาสนธรรมทด่ี งี าม
(กลั ยาณาคม)

ชนเหล่าใดก็ตาม ซ่ึงมีศรัทธาเล่ือมใสในลัทธิศาสนา
ตา่ งๆ กนั ชนเหลา่ น้นั พงึ กล่าว (ใหร้ ้กู ันทว่ั ไป) วา่ พระผู้
เปน็ ทร่ี กั แห่งทวยเทพ ไมท่ รงถอื ว่าทานหรอื การบชู าอนั ใด
จะทดั เทียมกบั สงิ่ นีเ้ ลย สิ่งน้คี อื อะไร? สง่ิ น้ไี ดแ้ ก่การท่จี ะพงึ
มีความเจริญงอกงามแห่งสารธรรมในลัทธิศาสนาท้ังปวง
และ (ความเจริญงอกงามน)ี้ พึงมีเปน็ อนั มากด้วย

นค้ี ือเสรีภาพทางศาสนาท่ีแทจริง ทจ่ี ะเอ้ือตอการพฒั นาจิต
ปญญาอยางสงู ซง่ึ มนุษยยคุ ปจจบุ ัน ทีว่ ามอี ารยธรรมสูงเดน และ
พูดกันนักถงึ tolerance แตกย็ งั คอ นขา งหางไกล ขึ้นไมค อ ยจะถึง

เมื่อวาใหถูกตามน้ี ถามนุษยพัฒนาถึงข้ันเปนอารยะจริง
ศาสนาไมใ ชเ ปน เรอ่ื งสว นตวั อยา งทฝี่ รงั่ ตดิ ตนั กลนื ไมเ ขา แลว คาย
ออกมาไดแคน้ัน แตเปนเรื่องที่ควรเอามาพูดจาศกึ ษาเอ้ือปญ ญา
แกก นั ศาสนาจะเปน เร่อื งสวนตวั กเ็ ฉพาะในข้นั ทว่ี าใครกา วไปถึง
ไหน ก็เปน สวนของคนนน้ั

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตโฺ ต) ๙๗

คนออ นแอเกนิ ไป จงึ รกั ษาสันติไมไ หว

เรือ่ งไมจบแคน้ัน ยังตอ งยอ นกลับไปทวงตงิ มตขิ องผรู ทู ั้งฝร่ัง
และอินเดียเพิ่มอีกแงหนึ่ง คือท่ีทานผูรูเหลาน้ันบอกวา พระเจา
อโศกสอนธรรมที่เปน กลาง ซึ่งทุกศาสนายอมรับไดนัน้ จริงหรอื

ในการพิจารณาแนวพระราชดําริของพระเจาอโศกมหาราช
น้ัน นอกจากองคประกอบสําคัญขอ ที่ ๑ คอื สถานะแหง ความเปน ผู
ปกครองทย่ี งิ่ ใหญแ ลว องคป ระกอบขอที่ ๒ ก็สําคัญไมน อ ยกวา
โดยเฉพาะในแงท่เี ปน ตวั กาํ หนดทศิ ทาง

ขอ ที่ ๒ นน้ั ก็คือ จดุ เปลีย่ นในพระชนมชีพของพระองค เมือ่
สงครามพิชิตแควนกลิงคะ ทําใหทรงสลดพระทัยตอความทุกข
ยากเดือดรอ นของประชาชนน้ัน มนั ไมเ พียงทําใหท รงละเลิกการรุก
รานทําสงครามเทาน้ัน แตกลายเปนแรงเหว่ียงพระองคไปในทาง
ตรงขามแทบจะสุดทาง คือทําใหทรงละเลิกการเบียดเบียนทุก
อยา ง แมก ระทัง่ การทําลายชวี ิตสตั วเ ล็กสัตวน อ ย และหันมามงุ ใน
การชวยเหลอื เออื้ ประโยชน

ขอ ที่ ๒ นี้ กลายเปน ตัวกาํ กบั ขอ ที่ ๑ ดวย โดยทําใหห ลกั
การปกครองอาณาจกั ร (หรอื เรยี กใหเ ขา กบั คาํ ฝรงั่ คอื Empire วา
จกั รวรรด)ิ เปลีย่ นจากอรรถศาสตร ของพราหมณจ าณักยะ ทีน่ ํา
ทางนโยบายของพระอัยกาจันทรคุปต มาสูจักกวัตติสูตรเปนตน
ของพระพทุ ธเจา

จากวชิ ัยท่เี ปนการชนะดว ยสงคราม ซึง่ อยางดีท่ีสุดคือธรรม
วิชัยตามความหมายของอรรถศาสตร อันหมายถึงการรบชนะ

๙๘ หลกั ศิลาจารกึ อโศก

อยางมธี รรม ทว่ี า เมือ่ ชนะแลว ไมท ําการทารณุ โหดรา ย เพยี งให
ยอมอยใู ตอาํ นาจ พระเจาอโศกเปล่ยี นมาหาธรรมวิชัยตามความ
หมายของจกั กวัตติสตู ร อันหมายถงึ ชัยชนะดว ยธรรม คือการทํา
ความดสี รา งสรรคประโยชนส ุข

อยางไรก็ดี แมวานโยบายธรรมวิชัยจะนําทางการปกครอง
อยางครอบคลุม แตเห็นไดวามีจุดเนนอยูท่ีความสัมพันธระหวาง
ประเทศ จงึ ตอ งถามวา หลกั การใดนาํ ทางการปกครองภายในของ
พระเจาอโศก

ไมต อ งพดู ถงึ หลกั การและประเพณตี า งๆ แมก ระทง่ั เรอ่ื งปลกี
ยอ ยทพ่ี ระเจา อโศกทรงเลกิ และเปลย่ี นจากหลกั ในอรรถศาสตร เชน

จากวิหารยาตรา ท่ีราชาเสด็จไปทรงพักผอนหาความสนุก
สาํ ราญและลา สตั ว เปลย่ี นมาเปนธรรมยาตรา ท่อี งคราชาเสด็จไป
ทรงนมัสการพระสงฆ ถวายทาน เย่ียมเยียนทานผูเฒาชราและ
ราษฎรในชนบท สง่ั สอนสนทนาธรรม พรอมทงั้ พระราชทานความ
ชว ยเหลอื

จากสมาช๑ ทเ่ี ปน งานชมุ นมุ ของราษฎรเพอ่ื ความสนกุ สนาน

๑ นเ่ี ปน ตวั อยา งหนง่ึ ของคาํ และความทคี่ วรเทยี บ: “สมาช” ตรงกบั ทใี่ นพระไตรปฎ กใชว า

“สมชั ชา” ในคําวา สมัชชาจรณะ ซ่ึงแปลกนั มาวา “เที่ยวดูการเลน” อนั เปนขอ ที่ ๓ แหง

อบายมขุ ๖ ในสงิ คาลกสูตร อันเปน วินัยของคฤหัสถ (ท.ี ปา.๑๑/๑๘๑) และทรงแสดงตวั

อยา งไว ดังที่ทานแปลใหเ ขา กับเร่อื งของไทยวา ฟอ นราํ ขับรอง ดนตรี เสภา เพลง

เถิดเทิง (เวลานี้ อาจจะตองแปลใหมใหเขากับสภาพปจ จบุ นั )

พึงสงั เกตวา รามายณะ กด็ ี อรรถศาสตร ก็ดี ใหสง เสรมิ สมาช น้ีแกราษฎร โดย

ถอื วา จะชวยใหราษฎรเกดิ ความนยิ มชมชอบตอ รฐั (ทาํ ใหพลเมืองของรัฐที่แพห ันมาชอบ

ผชู นะ อยา งนอ ยกต็ ดิ มวั เพลนิ ลมื แคน คงคลา ยทฝ่ี รง่ั เศสเคยทาํ กบั อาณานคิ มบางแหง )พูด

งายๆวาใชกลอ ม แตพ ระเจาอโศกไมเ หน็ แกป ระโยชนตนแบบน้ี กลับใหเลกิ เสยี

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๙๙

ดว ยการเสพสรุ ายาเมา เอาสตั วต า งๆ มาแขง ขนั และตอ สกู นั เปน ตน
เปลย่ี นมาเปน วมิ านทรรศน เปน ตน คอื นทิ รรศการสง่ิ ทดี่ งี ามสวยงาม
งดงามประณตี มีศิลปะท่ีชักนําจิตใจในทางแหงคุณธรรมและเจริญ
จติ เจรญิ ปญ ญา

จากพิธีมงคล ท่ีคนมวั ยงุ กบั พธิ กี รรมจกุ จิกทางโชคลาง มา
เปน ธรรมมงคล ใหเปน มงคลจรงิ จากการปฏิบตั ิตอกนั ใหถ ูกตอ ง

จากเภรโี ฆษ คือเสียงกลองศกึ มาเปน ธรรมโฆษ คือเสียงนดั
หมายเชญิ ชวนมาฟงธรรมหรอื ทํากิจกรรมท่ดี งี าม

พระเจา อโศกทรงดาํ เนนิ ไปไกลทจ่ี ะไมใ หม กี ารเบยี ดเบยี นชวี ติ
ใดๆ เลย ถงึ กบั ทรงทาํ เปน ตวั อยา งในการเลกิ เสวยเนอ้ื สตั ว อนั อาจ
เปน ทมี่ าของอาหารมงั สวริ ตั ขิ องคนรนุ หลงั

ดงั ความใน จารกึ ศลิ า ฉบบั ที่ ๑ วา

ธรรมโองการนี้ สมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ปริยทรรศี ผเู้ ปน็ ท่รี กั
แหง่ ทวยเทพ ได้โปรดให้จารกึ ไว้

ณ ถนิ่ นี้ บุคคลไมพ่ งึ ฆ่าสตั วม์ ีชวี ติ ใดๆ เพ่อื การบชู ายญั
ไม่พึงจัดงานชมุ นุมเพือ่ การเลยี้ งรน่ื เริง (สมาช) ใดๆ เพราะวา่
สมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั ปรยิ ทรรศี ผ้เู ป็นท่ีรกั แห่งทวยเทพ ทรง
มองเห็นโทษเป็นอนั มากในการชมุ นุมเชน่ นนั้ ก็แลการชมุ นุม
บางอยา่ งที่สมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัวปริยทรรศี ผูเ้ ปน็ ที่รักแหง่ ทวย
เทพ ทรงเห็นชอบว่าเปน็ สิง่ ท่ดี ี มอี ยอู่ ีกสว่ นหน่งึ (ต่างหาก)

แต่กอ่ นน้ี ในโรงครัวหลวงของพระเจ้าอยู่หัวปริยทรรศี ผู้
เปน็ ทีร่ ักแหง่ ทวยเทพ สตั วไ์ ดถ้ ูกฆา่ เพอ่ื ทําเปน็ อาหาร วนั ละ
หลายแสนตวั ครน้ั มาในบดั น้ี เมอื่ ธรรมโองการนอี้ นั พระองค์

๑๐๐ หลักศิลาจารึกอโศก

โปรดใหจ้ ารกึ แลว้ สัตว์เพยี ง ๓ ตัวเท่านน้ั ท่ถี กู ฆ่า คือ นกยงู
๒ ตวั และเนื้อ ๑ ตัว ถึงแมเ้ น้อื น้นั ก็มิไดถ้ กู ฆา่ เป็นประจํา ก็
แลสตั ว์ทั้งสามนี้ (ในกาลภายหนา้ ) กจ็ กั ไม่ถกู ฆ่าอกี เลย

ในที่นี้ จะไมพูดถึงเร่ืองซ่ึงในระดับการแผนดินถือไดวาเปน
ขอปลีกยอยหรือเฉพาะอยา ง ท่ไี ดเ อยอา งมาเหลา น้ี

แตพอดีวา หลกั การสําคัญทน่ี าํ ทางการปกครองภายในของ
พระเจา อโศก ก็ปรากฏอยูใน จารกึ ศลิ า ฉบบั ท่ี ๑ นด้ี ว ย

เรอ่ื งนค้ี นทวั่ ไปอาจจะนกึ ไมถ งึ นน่ั กค็ อื เรอื่ งการบชู ายญั

ทที่ า นผรู หู ลายทา น ทงั้ ฝรง่ั และอนิ เดยี บอกวา พระเจา อโศก
สอนธรรมทเี่ ปน กลาง ซง่ึ ทกุ ศาสนายอมรบั ไดน น้ั ทจี่ รงิ กร็ กู นั อยวู า ใน
ชมพทู วปี ตั้งแตกอนมานานจนบัดน้ัน ถึงจะมีศาสดาเจาลัทธิมาก
มาย แตศ าสนาท่ีครอบงําสงั คมอนิ เดยี ดวยระบบวรรณะ และการ
บูชายัญเซน สรวงแดม วลเทพ ตามกําหนดแหง พระเวท เปน ใหญอ ยู
ก็คือศาสนาพราหมณ

เรอื่ งนี้จงึ ไมตองพูดวา ทุกศาสนายอมรบั ได แตควรจะถามวา
พราหมณรบั ไดไหม

สิ่งท่ีพระเจาอโศกทําอยางสําคัญ ก็คือ การหามฆาสัตว
บูชายัญ แลวอยางน้ี ศาสนาพราหมณจะยอมรับไดอยางไร

การหามฆาสัตวบูชายัญ น้ี พระเจาอโศกมหาราชทรงสอน
และประกาศไวในศิลาจารึกหลายวาระหลายฉบบั (เชน จารึกศลิ า
ฉบบั ท่ี ๑ ที่ ๔ และที่ ๑๑) เปนหลักการใหญข องพระองค พดู ไดว า
ทรงเอาจรงิ เพราะเปนจุดเปล่ยี นของพระองคเ องทจี่ ะเนน

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๑๐๑

น่ีคือการตีแสกหนาของพราหมณ เปนการหักลางไมเพียง
ลัทธคิ วามเชื่อของเขาเทานั้น แตส ่นั สะเทอื นสถานะและทาํ ลายผล
ประโยชนของพราหมณโดยตรง ดังท่ีพวกพราหมณไดเก็บอัด
ความคั่งแคน ไว

ในท่ีสุด พราหมณปุษยมิตรก็โคนราชวงศโมริยะลง ตั้ง
ราชวงศศ ุงคะของพราหมณข้ึนแทน

แลวท่ีชัดก็คือ พราหมณปุษยมิตรท่ีข้ึนเปนกษัตริยองคแรก
ของราชวงศพราหมณน น้ั นอกจากห้ําหน่ั บีฑาชาวพุทธแลว กไ็ ดรือ้
ฟนพิธีบูชายัญอันย่ิงใหญคืออัศวเมธข้ึนมา เพ่ือประกาศศักดานุ-
ภาพ การบูชายัญทีเ่ งยี บหายไปหลายรอ ยป กก็ ลับเฟอ งฟขู ้นึ มาอีก

ดังเปนท่ีทราบกันดีวา กอนที่ฝร่ังอังกฤษผูเขามายึดอินเดีย
เปนอาณานิคมปกครองไว จะเปดเผยเร่อื งพระเจาอโศกข้ึนมานัน้
คนอินเดียไมรูจักพระเจาอโศกเลย แมแตพระนามก็ไมเคยไดยิน
พระเจาอโศกถูกอินเดียลืมสนิท เร่ืองพระเจา อโศกเหลืออยูเพยี งใน
คัมภีรพ ทุ ธศาสนา

การที่เร่ืองพระเจาอโศกหายไปน้ัน คงไมใชเพียงเพราะการ
รุกรานทําลายของกองทัพมุสลิมเทานั้น แตไดถูกพราหมณ
พยายามทาํ ใหสลายมากอน

ทั้งที่พระเจาอโศกไมเพียงยกยองพราหมณใหรับราชการมี
ตําแหนงสาํ คัญในการแผนดนิ เทา นั้น แตยงั ไดเ นน ไวเสมอในศิลา
จารกึ ใหปฏิบตั ชิ อบและถวายทานแกสมณพราหมณ เชน เดยี วกับ
ที่พระพุทธเจาตรัสไวในพระไตรปฎก แตพราหมณก็อดเคียดแคน
ไมได ในเม่ือพระเจาอโศกไมยอมรับอภิสิทธิ์ของพราหมณตาม

๑๐๒ หลักศลิ าจารึกอโศก

ระบบวรรณะ และที่สําคัญท่ีสุดคือไดทรงหามฆาสัตวบูชายัญ
(เทา กับเลกิ ลมพธิ บี ชู ายญั )

ดงั นน้ั เรอื่ งจงึ เปน มาอยา งทผี่ รู ขู องอนิ เดยี เองเขยี นไว (R.K.
Mookerjee, Asoka, 105, 108-9)วา แมแ ตพ ระนาม “เทวานามปรยิ ะ”
ก็ไดถูกนักไวยากรณพราหมณในสมัยตอ มา พยายามอธบิ ายใหม ี
ความหมายเปน คนโงเ ขลา เนอื่ งจากอคตขิ องพราหมณต อ พระมหา
กษตั รยิ ช าวพทุ ธทโ่ี ดดเดน ทสี่ ดุ

เสมอื นวา พราหมณไ มเ พยี งขดุ โคน พระเจา อโศกเทา นนั้ แต
อนิ เดยี ไดขุดหลุมฝงพระเจาอโศก และกลบใหลับหายสนิท จน
กระทั่งอังกฤษขุดคุยหลุมน้ันออกใหเห็นพระเจาอโศกในเวลา
ประมาณ ๑,๕๐๐ ปตอ มา

จงึ กลายเปน วา ปฏิบตั กิ ารทเ่ี ปน ความกลาหาญในทางสันติ
ของพระเจาอโศกดังวามาน้ี เปนส่ิงท่ียากจะรักษาไวใหคงอยูได
ยั่งยืน

เลิกบูชายัญ หนั ไปแบงปน

ยอนกลับไปถามวา การเลิกบูชายัญหรือไมบูชายัญ เปน
หลักการปกครองบา นเมอื งไดอยา งไร

เมื่อการบูชายัญเปนหลักการย่ิงใหญยอดสําคัญของสังคม
พราหมณ ทางพระพุทธศาสนาก็จงึ ยกการเลิกบชู ายญั หรือไมบูชา
ยัญขึ้นมาเปนหลักการสําคัญของสังคมแทน โดยมีความหมายท่ี
จะตองทําความเขาใจตามที่พระพุทธเจาไดท รงแสดงไว

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๑๐๓

ในการบาํ เพ็ญพทุ ธกิจ มีหลายคร้งั หลายคราวที่พระพทุ ธเจา
เสด็จไปพบกับพราหมณท่ีกําลังเตรียมการบูชายัญบาง กําลัง
ประกอบพิธีบูชายัญบาง และมีท้ังพิธีบูชายัญขนาดยอมสวน
บุคคล และพธิ ีระดับผูปกครองบา นเมอื ง

ถาเปนพิธีใหญ จะมีการฆาสัตวบูชายัญจํานวนมาก และ
ทาสกรรมกรทง้ั หลายมกั เดอื ดรอ นมาก เมอ่ื พระพทุ ธเจา เสดจ็ ไปพบ
และสนทนากบั เจาพิธี ในท่สี ุดเรื่องก็จะจบลงโดยทเ่ี ขาเองใหปลอ ย
สัตวลมเลิกพิธี พรอมทงั้ รบั หลกั การและวธิ ปี ฏบิ ตั อิ ยา งใหมท พ่ี ระ
องคส อนไปดาํ เนนิ การ

สาระสาํ คัญของหลักการท่ีพระพุทธเจาตรัสสอน โดยท่วั ไป
จะใหป ระกอบยญั กรรมในความหมายใหม (หรือเปนการฟน ความ
หมายดั้งเดิมกอนที่พวกพราหมณจะทําใหเพี้ยนไป) ซึ่งเนนที่ทาน
และตอ งไมมกี ารเบียดเบียนชีวติ

ถาเปนยัญพิธีใหญมากของผูปกครองบานเมือง คําสอนใน
เร่ืองยัญของพระพุทธเจา จะรวมถึงการจัดการบานเมืองใหสงบ
เรียบรอยและใหราษฎรเปนอยูผาสุกกอน แลว จึงทาํ ยัญพธิ ี และ
บาํ เพญ็ ทาน

ดงั เชน ในกูฏทันตสูตร (ที.สี.๙/๑๙๙-๒๓๘) ทีต่ รัสกับกฏู ทนั ต
พราหมณ ผูป กครองพราหมณคาม ช่ือวา ขานุมตั ต ซึ่งไดใ หเ อาโค
ผู ๗๐๐ ลกู โคผู ๗๐๐ ลูกโคเมีย ๗๐๐ แพะ ๗๐๐ และแกะ ๗๐๐
ผกู ไวทห่ี ลัก เตรยี มพรอมทจ่ี ะบูชามหายญั พราหมณน ้ันไดส นทนา
สอบถามพระพุทธเจา ถึงวธิ บี ชู ายญั ใหญใ หไ ดผ ลมาก พระพทุ ธเจา
ทรงยกเรอ่ื งตวั อยา งในอดตี มาใหเ ปน แบบ

๑๐๔ หลักศิลาจารึกอโศก

สาระสําคัญ คอื ใหจัดการบานเมืองใหสงบเรยี บรอยและให
ราษฎรเปน อยผู าสกุ ถา บา นเมืองยังมีโจรผรู ายเปนตน ไมใ หเอาแต
ใชวิธีปราบปรามรุนแรง แตใหราษฎรท่ีประกอบเกษตรกรรม
พาณิชยกรรม และขาราชการ ผูท่ตี ง้ั ใจหมัน่ ขยนั พึงไดร บั การสง
เสรมิ ใหต รงจุด จนบา นเมอื งมัง่ คง่ั ราษฎรชนื่ ชมยนิ ดี อยปู ลอดภัย
“บา นเรอื นไมตอ งลงกลอน ใหลกู ฟอนบนอก”๑

เม่ือบานเมืองดีแลว ผูปกครองนั้นก็เรียกพบปรึกษาคนทุก
หมูเ หลาในแผน ดนิ ท้ังอาํ มาตยจ นถึงชาวนคิ มชนบท ขอความรวม
มือในการท่ีจะบูชายัญ ซึ่งไมมีการฆาสัตวและไมทําใหคนใดๆ
เดือดรอน มแี ตก ารมอบใหของงา ยๆ เลก็ ๆ นอยๆ และราษฎรกพ็ า
กันรวมทําตามดว ย แลวตอ จากนัน้ ก็มีการบาํ เพ็ญทานแกบรรพชติ
ผูมีศลี การสรา งสรรคประโยชน และพัฒนาชวี ติ สูงขึ้นไปจนลจุ ดุ
หมายแหง ชวี ติ ทดี่ ี

ผลของการฟงวิธีบูชายัญแบบน้ี คือ กูฏทันตพราหมณ
ประกาศตนเปนอบุ าสก พรอ มท้งั ไดก ราบทลู วา

๑ หลกั การนี้ คอื ธรรมชุดท่ีในคัมภีรบ างแหงเรียกวา ราชสงั คหวัตถุ ๔ ไดแก

1.สสั สเมธะ (ฉลาดบาํ รงุ ธญั ญาหาร) 2.ปรุ ิสเมธะ (ฉลาดบํารงุ ขา ราชการ)

3.สมั มาปาสะ (ผสานใจประชาดว ยอาชีพ) 4.วาชเปยะ (มีวาจาดูดดมื่ ใจ)

(5) เกดิ ผล คือ นิรคั คฬะ (เกษมสุข) บา นเรอื นไมต อ งลงกลอน
หลักนเ้ี ปนนัยพทุ ธ จาก มหายัญ 5 ของพราหมณ คือ

1.อสั สเมธะ (อศั วเมธ/ฆา มาบชู ายญั ) 2.ปรุ สิ เมธะ (ฆาคนบชู ายญั )

3.สมั มาปาสะ (ยญั ลอดบว ง) 4.วาชเปยะ (ยญั ดม่ื เพอ่ื ชยั )

5.นริ ัคคฬะ หรือ สรรพเมธะ (ยญั ฆา ครบทกุ อยาง)

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๑๐๕

ขา้ แต่พระโคดมผูเ้ จริญ ข้าพเจ้าขอปลอ่ ยโคผู้ ๗๐๐ ลูก
โคผู้ ๗๐๐ ลกู โคเมยี ๗๐๐ แพะ ๗๐๐ แกะ ๗๐๐ ขา้ พเจา้
ใหช้ ีวิตแกส่ ตั ว์เหล่านั้น ขอใหส้ ัตว์เหล่านน้ั ไดก้ นิ หญ้าเขียว
สด จงดมื่ นา้ํ เย็น จงรับลมสดชื่นทพ่ี ัดโชยมาใหส้ บายเถดิ

เห็นไดชัดวา การหามหรือใหเลิกบูชายัญ และการเผื่อแผ
แบงปนชวยเหลือกันคือทานน้ี เปนหลักการใหญท่ยี า้ํ เนนของพระ
เจาอโศก จนเรยี กไดวาเปน บรรยากาศแหง ศิลาจารึกของพระองค

แบง ปน ใหอยกู ันดี พรอมทจ่ี ะพฒั นาในธรรม

ย่งิ กวา น้ัน พระเจา อโศกยงั ทรงกาวตอ ขึน้ ไปอกี สงู านในข้ัน
ท่ีเปน เปา หมายแทข องพระองค คอื การสอนธรรมเพอ่ื ใหประชาชน
ประพฤตธิ รรม

เหมอื นกบั วา ทานนนั้ เปน ฐาน เพอ่ื เตรยี มวตั ถแุ ละสงั คมใหเ ออื้
ตอการที่คนจะพัฒนาสูงขึ้นไป และถึงตรงน้ีจึงทรงเนนธรรมทาน
เพราะธรรมทานน้นั จะเสรมิ ยา้ํ เปน หลกั ประกันใหท านคอื การใหปน
วัตถุดําเนินอยูตอไป และใหคนกาวไปสูการอยูรวมกันดวยดี ไม
เบยี ดเบยี นกนั ปฏบิ ตั ชิ อบตอ กนั ชว ยเหลอื เกอ้ื กลู กนั และเจรญิ ใน
ธรรมยง่ิ ขน้ึ ไป

ขอยกคําในศิลาจารึกตอนนมี้ ายํ้าอีกคร้งั วา

ไมม่ ที านใดเสมอด้วยการให้ธรรม (ธรรมทาน) การ
แจกจา่ ยธรรม (ธรรมสังวิภาค) และความสมั พันธ์กันโดย
ธรรม (ธรรมสมั พนั ธ์) อาศยั ธรรม (ธรรมทาน เป็นตน้ ) นี้
ยอ่ มบังเกิดมีสิ่งต่อไปนี้ คือ

๑๐๖ หลักศลิ าจารกึ อโศก

- การปฏบิ ัตชิ อบต่อคนรบั ใช้และคนงาน
- การเชอ่ื ฟงั มารดาบิดา
- การเผื่อแผแ่ บง่ ปันแกม่ ิตร คนค้นุ เคย ญาติ และแก่สมณ
พราหมณ์
- การไม่ฆ่าสัตว์เพื่อบูชายัญ

น่ีคือหลักการใหญที่เปนแกนกลางแหงแนวคิดภาคปฏิบัติ
ของพระเจา อโศก

บนฐานแหงการมีวัตถุเครื่องยังชีพที่จัดอํานวยชวยไมใหมี
ใครตองยากไรขัดสน และใหคนอยูรวมกันดวยดี เอาใจใสดูแล
เก้ือกูลกัน ปฏิบัติหนาท่ีตอกันถูกตอง ใหสังคมอบอุนปลอดภัย
อยา งน้ี บคุ คลกท็ ํามาหาเล้ยี งชพี เปนอยูพัฒนาชีวติ ของตน และ
สังคมก็ดาํ เนนิ กจิ การทัง้ หลายกาวตอ ไปไดดวยดี

การทําศิลาจารกึ สง่ั สอนธรรมกส็ นองหลักการนี้ คือ ใหล ะ
เลิกการบูชายัญ หันมาหาทาน และใหทุกคนทุกหมูเหลาเกื้อกูล
ปฏิบัตชิ อบตอ กัน มารวมศนู ยตัง้ ฐานกันที่น่ี

พอถึงตรงน้ี ก็คือจดุ รวมท่อี โศกธรรมมาบรรจบกบั แหลงเดิม
ของอโศกธรรมน้ันเอง ที่พระพุทธเจาไดตรสั ไว ขอใหด ูพทุ ธพจนใ น
พระสูตรตอไปนี้

ภิกษุท้ังหลาย เราเปน็ พราหมณ์ ผูค้ วรแก่การขอ มมี ือ
อันล้างแล้ว (=พรอมที่จะประกอบยัญพิธี[แบบใหม]แหงการ
บรจิ าคธรรม) ทกุ เวลา …

ภกิ ษุทง้ั หลาย ทานมี ๒ อย่างน้ี คอื อามิสทาน ๑
ธรรมทาน ๑ บรรดาทาน ๒ อยา่ งน้ี ธรรมทานเปน็ เลศิ

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๑๐๗

ภกิ ษุท้งั หลาย การแจกจา่ ยมี ๒ อยา่ งนี้ คอื การแจก
จา่ ยอามิส ๑ การแจกจา่ ยธรรม ๑ บรรดาการแจกจา่ ย ๒
อยา่ งนี้ การแจกจ่ายธรรม (ธรรมสงั วภิ าค) เป็นเลิศ

ภิกษทุ ้งั หลาย การอนเุ คราะห์มี ๒ อย่างน้ี คือ การ
อนุเคราะห์ด้วยอามิส ๑ การอนุเคราะห์ด้วยธรรม ๑
บรรดาการอนเุ คราะห์ ๒ อย่างนี้ การอนุเคราะหด์ ว้ ยธรรม
(ธรรมานุเคราะห์) เป็นเลิศ

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ยญั บชู า (ยาคะ) มี ๒ อยา่ งนี้ คอื ยญั บชู า
ดว้ ยอามสิ ๑ ยญั บชู าดว้ ยธรรม ๑ บรรดายญั บชู า ๒ อยา่ งน้ี
ยัญบชู าด้วยธรรม (ธรรมยาคะ) เป็นเลศิ ฯ

(ข.ุ อติ .ิ ๒๕/๒๘๐)

เรอื่ งนี้ วาจะพูดพอเหน็ แนว แตกลายเปนยาว ควรจบเสียที
ขอตงั้ ขอ สงั เกตไวอีกหนอ ยเดียว

งานทางธรรมทพ่ี ระเจา อโศกทรงเอาพระทยั ใสจ รงิ จงั และยา้ํ
อยูเสมอ คือการที่จะใหค นผูรวมสังคม เอาใจใสกัน และปฏบิ ัตติ อ
กนั โดยชอบ แตไมใ ชแ คค น ทรงเอาพระทัยใสต อ สัตวท วั่ ไปทงั้ หมด

นอกจากหามฆาสัตวบูชายัญ และใหสํารวมตนตอสัตวท้ัง
หลาย คือ ทัง้ ไมเ บียดเบียนและเอือ้ อาทรตอ สตั วทกุ ชนดิ แลว ยงั
ถึงกับตั้งโรงพยาบาลสัตว และใหปลูกสมุนไพรท่ีเปนยาสําหรับ
สตั ว เชน เดียวกบั ทีไ่ ดจดั ไวสาํ หรบั คน แลว ย่ิงกวา นน้ั ยังมีประกาศ
เกีย่ วกับอภยั ทานและการสงวนพันธุสัตวอ ีกดวย

การท่ีพระเจาอโศกทรงปฏิบัติในเรื่องน้ีถึงขนาดน้ี นอกจาก
เพราะจดุ เนน ในการหนั มาสูธรรมของพระองค ไดแ กก ารมอี วหิ งิ สา

๑๐๘ หลกั ศิลาจารึกอโศก

เมตตาการุณยตอสัตวอยางที่กลาวแลว บางทีจะเปนดวยทรง
พยายามปฏบิ ตั ิใหค รบตามหลักจกั รวรรดวิ ัตร ในจกั กวตั ติสตู ร ซึง่
กําหนดใหพระเจาจักรพรรดิจัดการคุมครองอันชอบธรรม แก
มนษุ ยสตั วทุกหมเู หลา โดยแยกไวเปน ๘ กลุม อันมีมคิ ปก ษี (เน้ือ
และนก คอื ทงั้ สัตวบ กและสัตวบ นิ ท่ไี มม ีภยั ) เปนกลุม สุดทาย

ขอใหด บู างตอนใน จารึกหลกั ศิลา ฉบบั ท่ี ๒ ดงั นี้

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวปริยทรรศี ผู้เป็นที่รักแห่งทวย
เทพ ตรัสไวด้ ังน้ี :-

… ข้าฯ ได้กระทําการอนุเคราะห์แลว้ ดว้ ยประการต่างๆ
แกเ่ หลา่ สัตวท์ วิบาท สัตว์จตบุ าท ปกั ษณิ ชาติ และสตั ว์นํา้
ท้งั หลาย ตลอดถึงการให้ชวี ติ ทาน …

ตอดวยอีกบางตอนใน จารึกหลักศิลา ฉบบั ที่ ๕ ดงั น้ี

ขา้ ฯ เมอ่ื อภเิ ษกแลว้ ได้ ๒๖ พรรษา ไดอ้ อกประกาศ ให้
สตั วท์ ง้ั หลายตอ่ ไปน้ี ปลอดภยั จากการถกู ฆา่ กลา่ วคอื นกแกว้
นกสาลกิ า นกจากพราก หงส์ … เตา่ และกบ กระรอก กวางเรว็
… แรด นกพริ าบขาว นกพิราบบา้ น และบรรดาสตั ว์สี่เทา้ ทง้ั
ปวงทีม่ ิใชส่ ัตวส์ าํ หรบั ปฏโิ ภค (ใชห้ นงั ใชก้ ระดกู ฯลฯ) และมใิ ช่
สตั วส์ าํ หรบั บรโิ ภค

แม่แพะ แมแ่ กะ และแมห่ มู ทกี่ ําลังมีทอ้ งกด็ ี กําลังให้
นมอยู่กด็ ี ย่อมเปน็ สตั วท์ ี่ไมพ่ งึ ฆา่ และแมล้ ูกออ่ นของสตั ว์
เหลา่ นน้ั ทอ่ี ายยุ งั ไมถ่ งึ ๖ เดอื น กไ็ ม่พึงถูกฆา่ เช่นกนั ไม่
พงึ ทาํ การตอนไก่ ไมพ่ งึ เผาแกลบทมี่ สี ตั วม์ ชี วี ติ อาศยั อยู่ ไม่

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๑๐๙

พงึ เผาปา่ เพอื่ การอนั หาประโยชน์มิได้ หรือเพื่อการทําลาย
สัตว์ ไมพ่ ึงเลี้ยงชวี ิตดว้ ยชวี ิต

ไม่พึงฆ่าและขายปลา ในวันเพ็ญที่คํารบจาตุรมาสทั้ง
๓ และในวันเพญ็ แห่งเดือนตษิ ยะ คราวละ ๓ วนั คอื ใน
วันขน้ึ ๑๔ คํา่ ขึน้ ๑๕ คา่ํ แรม ๑ คา่ํ และทกุ วนั อโุ บสถ
เปน็ การเสมอไป

อน่งึ ในวนั ดงั กลา่ วมาน้ี ไมพ่ งึ ฆา่ แมเ้ หล่าสตั ว์ชนิด
อื่นๆ ในป่าชา้ งและในเขตสงวนปลาของชาวประมง

… ตราบถงึ บดั น้ี เมือ่ อภเิ ษกแลว้ ได้ ๒๖ พรรษา ข้าฯ
ได้สั่งให้มีการพระราชทานอภัยโทษแลว้ รวม ๒๕ ครัง้ .

สรุปอีกคร้ังหนึ่งวา จารึกธรรมของพระเจาอโศกมหาราช

เนน ใหล ะเวน การเบยี ดเบยี น ตง้ั แตไ มใหฆาสัตวบชู ายัญ แตใ หห ัน

มาใสใ จในทาน ใหเ ผ่อื แผแ บงปน เอาใจใสด ูแลคนที่เก่ยี วของ ทํา
หนาทตี่ อกนั ประพฤติชอบทาํ ประโยชนแ กก นั

ทาน คอื วตั ถทุ านนน้ั เมอ่ื ชว ยใหค นอยกู นั ดแี ลว กจ็ ะเปน ฐาน
ใหก า วขน้ึ ไปสธู รรมทาน ซงึ่ จะเจรญิ ธรรมเจรญิ ปญ ญา ใหร จู ักทํา
ความดีกาวหนาไปไดอยางกวางขวางและสูงย่ิงขึ้นไป อํานวยผล

เปน ความสขุ ในโลกบัดนี้และความเจริญบญุ ในโลกเบ้ืองหนา
วัตถุทานและธรรมทานของผูปกครองบานเมอื งที่ทรงธรรมน้ี

จะสมั ฤทธผิ์ ลใหเ กดิ ความพรงั่ พรอ มทเ่ี ปน ทฏิ ฐธมั มกิ ตั ถ อนั พงึ จดั
ใหเอ้ือโอกาสที่ประชาราษฎรจะกาวไปกับธรรมทานท่ีมาจากพระ

สงฆ เพอื่ พฒั นาในสมั ปรายกิ ตั ถจ นสมบรู ณส งู สดุ ตอ ไป

๑๑๐ หลกั ศลิ าจารกึ อโศก

ขอจบเรื่องน้ี ดวยการมาดกู ันวา จากการบาํ เพญ็ ธรรมทานท่ี
ทรงยา้ํ เนนไว พระเจา อโศกไดท รงประสบผลานสิ งสอ ยา งไร ซ่ึงคง
บอกไดดวยพระดาํ รสั ของพระองคเองใน จารกึ ศิลา ฉบับท่ี ๔ ดงั นี้

กาลยาวนานลว่ งแล้ว ตลอดเวลาหลายร้อยปี การฆ่า
สตั ว์เพอ่ื บูชายัญ การเบยี ดเบยี นสัตวท์ ง้ั หลาย การไม่ปฏบิ ตั ิ
ชอบต่อหมู่ญาติ การไม่ปฏิบัติชอบต่อสมณพราหมณ์ท้ัง
หลาย ไดพ้ อกพนู ขึน้ ถา่ ยเดียว

แต่มาบัดนี้ ด้วยการประพฤตปิ ฏิบัตจิ ดั ดาํ เนนิ การทาง
ธรรม (ธรรมจรณะ) ของพระเจา้ อยหู่ วั ปรยิ ทรรศี ผเู้ ปน็ ทรี่ กั
แห่งทวยเทพ เสียงกลองรบ (เภรีโฆษ) ได้กลายเป็นเสียง
ประกาศธรรม (ธรรมโฆษ) แลทง้ั การแสดงแก่ประชาชน
ซึ่งวมิ านทรรศน์ หัสดิทรรศน์ อัคนีขันธ์ และทิพยรปู อ่นื ๆ
ก็ไดม้ ีข้ึนด้วย

-การไมฆ่ า่ สัตว์เพ่อื บูชายัญ
- การไมเ่ บยี ดเบียนสตั วท์ งั้ หลาย
- การปฏิบัติชอบต่อหมู่ญาติ
- การปฏิบัตชิ อบตอ่ สมณพราหมณ์ทั้งหลาย
- การเชอื่ ฟงั มารดาบิดา
- การเช่ือฟงั ท่านผ้เู ฒา่ ผใู้ หญ่

ซง่ึ ไมเ่ คยมมี ากอ่ นตลอดเวลาหลายรอ้ ยปี ไดเ้ จรญิ งอกงามขนึ้
แล้วในบัดน้ี เพราะการส่ังสอนธรรมของพระเจ้าอยู่หัว
ปริยทรรศี ผู้เปน็ ทร่ี ักแห่งทวยเทพ

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๑๑๑

ความดงี ามน้ี และการปฏบิ ัตธิ รรมอยา่ งอืน่ ๆ อีกหลาย
ประการ ไดเ้ จรญิ งอกงามขนึ้ แลว้ พระเจา้ อยหู่ วั ปรยิ ทรรศี ผู้
เปน็ ทร่ี กั แหง่ ทวยเทพ จกั ทาํ ใหก้ ารปฏบิ ตั ธิ รรมนเ้ี จรญิ ยงิ่ ขน้ึ
ไปอกี และพระราชโอรส พระราชนดั ดา พระราชปนดั ดาของ
พระเจา้ อยู่หวั ปริยทรรศี ผูเ้ ปน็ ทรี่ กั แหง่ ทวยเทพ กจ็ ักสง่
เสรมิ การปฏบิ ตั ธิ รรมนี้ ใหเ้ จริญยิง่ ขน้ึ ต่อไปจนตลอดกลั ป์

ทงั้ จักสงั่ สอนธรรม ดว้ ยการตั้งมัน่ อยู่ในธรรมและในศีล
ด้วยตนเอง เพราะวา่ การสงั่ สอนธรรมน้ีแล เปน็ การกระทาํ
อันประเสรฐิ สุด และการประพฤติธรรมย่อมไม่มแี กผ่ ไู้ รศ้ ีล

ก็แลความเจริญงอกงาม และความไมเ่ ส่ือมถอยในการ
ปฏบิ ัตธิ รรมน้ี ย่อมเป็นส่งิ ท่ีดี

เพือ่ ประโยชนน์ ้ี จึงไดจ้ ารึกธรรมโองการนีข้ ึ้นไว้ ขอชน
ทั้งหลายจงช่วยกันประกอบกิจ เพื่อความเจริญงอกงาม
แห่งประโยชนน์ ี้ และจงอยา่ ได้มวี ันกลา่ วถงึ ความเส่อื มเลย

ธรรมโองการนี้ สมเดจ็ พระเจ้าอย่หู ัวปรยิ ทรรศี ผ้เู ป็น
ทีร่ กั แหง่ ทวยเทพ โปรดให้จารกึ ไวแ้ ล้ว เม่ืออภิเษกได้ ๑๒
พรรษา.



ภาค ๒

ตวั บท จารึกอโศก

จารึกอโศก

งานแปล พ.ศ. ๒๕๐๖

พิมพคร้ังแรก มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ๕ ธนั วาคม ๒๕๑๖
พิมพครั้งท่ี ๒ สํานักพิมพมูลนิธิโกมลคีมทอง (พิมพรวมกับเร่ืองอื่นๆ ใน

ลักษณะสงั คมพทุ ธ) พฤษภาคม ๒๕๒๗
พมิ พค รั้งท่ี ๓ ศนู ยไทย-ธเิ บต (พมิ พเ ปน ภาคผนวกของหนังสือ “อโศกาวทาน”

ของ ส.ศวิ รักษ) ตุลาคม ๒๕๓๔
พิมพค ร้งั ท่ี ๔ สํานักพมิ พธ รรมสภา ตน ป พ.ศ. ๒๕๔๐
พมิ พครง้ั ที่ ๕ ที่ระลึกคลา ยวันเกิดอายุ ๘๐ ป คุณแมจนิ ตา มัลลกิ ะมาลย, เนอ่ื ง

ในวาระดถิ วี นั เกดิ อายคุ รบ ๖๑ ป ศาสตราจารยพ ิเศษ เสฐยี รพงษ วรรณปก,

และผูศรทั ธาหลายทาน บําเพ็ญธรรมทาน มกราคม ๒๕๔๔
พมิ พค รง้ั ท่ี ๖ วดั ญาณเวศกวนั (จดั ปรบั ขอ มลู เขา สรู ะบบ PC, พมิ พใ นโอกาสทเี่ สา

ศลิ าจารกึ อโศกจาํ ลองพรอ มใหพ ทุ ธบรษิ ทั มาชม)เขา พรรษา ๘ กรกฎาคม ๒๕๕๒

บัญชศี ิลาจารกึ

ความนาํ ๑๑๖

หมวด ก: ศิลาจารกึ ฉบบั จาํ เพาะ และเบ็ดเตล็ด ๑๒๑

(รวมทั้งจารกึ พิเศษแหง กลงิ คะ) ๑๒๓
๑๒๕
ศิลาจารึกแหงไพรัต ๑๒๖
ศลิ าจารึกฉบับนอย จารกึ ฉบับเหนอื ๑๒๙
ศลิ าจารกึ ฉบับนอย จารึกฉบบั ใต ๑๓๐
จารกึ หลกั ศลิ าเบด็ เตลด็ ๑๓๑
จารกึ หลกั ศลิ าทลี่ มุ พนิ ี ๑๓๑
จารกึ หลกั ศลิ านคิ ลวิ ะ (นคิ ลี สาคร) ๑๓๒
จารกึ หลกั ศลิ า แหง พระราชเทวี (อลั ลาหะบาด) ๑๓๓
จารกึ ถาํ้ แหง เขาบาราบาร ๑๓๗
ศลิ าจารกึ พเิ ศษแหง กลงิ คะ แหง ที่ ๑
ศลิ าจารกึ พเิ ศษแหง กลงิ คะ แหง ที่ ๒

หมวด ข: จารึกศลิ า ๑๔ ฉบับ ฉบับท่ี ๒ ๑๔๔ ๑๔๑
ฉบับที่ ๕ ๑๔๘
จารกึ ศลิ า ฉบับที่ ๑ ๑๔๓ ฉบบั ที่ ๘ ๑๕๓ ฉบบั ที่ ๓ ๑๔๕
ฉบบั ท่ี ๔ ๑๔๖ ฉบับท่ี ๑๑ ๑๕๗ ฉบบั ท่ี ๖ ๑๕๐
ฉบบั ที่ ๗ ๑๕๒ ฉบบั ที่ ๑๔ ๑๖๕ ฉบบั ท่ี ๙ ๑๕๔
ฉบับที่ ๑๐ ๑๕๖ ฉบบั ที่ ๑๒ ๑๕๘
ฉบับที่ ๑๓ ๑๖๐

หมวด ค: จารึกหลกั ศลิ า ๗ ฉบับ ๑๖๗

จารกึ หลกั ศลิ า ฉบับท่ี ๑ ๑๖๙ ฉบับท่ี ๒ ๑๗๑ ฉบบั ท่ี ๓ ๑๗๒
ฉบับที่ ๔ ๑๗๓ ฉบบั ที่ ๕ ๑๗๖ ฉบบั ท่ี ๖ ๑๗๘
ฉบบั ท่ี ๗ ๑๗๙

ความนาํ

พระเจา อโศกมหาราช กษตั รยิ พ ระองคท ี่ ๓ แหง ราชวงศโ มรยิ ะ ครอง
ราชสมบตั ิ ณ พระนครปาฏลบี ตุ ร ตั้งแต พ.ศ. ๒๑๘ ถงึ พ.ศ. ๒๖๐
(หรือตามหลักฐานของนักประวัติศาสตรสมัยปจจุบันสวนมากวา พ.ศ.
๒๗๐ ถึง พ.ศ. ๓๑๒) ทรงเปน พระมหากษตั รยิ ทย่ี ง่ิ ใหญท ีส่ ดุ ในประวัติ
ศาสตรข องชมพทู วีป และเปนองคเ อกอคั รศาสนปู ถัมภก ท่ีสาํ คัญทสี่ ุดใน
ประวตั ศิ าสตรแ หงพระพทุ ธศาสนา

เมอื่ ขนึ้ ครองราชยไ ด ๘ พรรษา ไดท รงกรฑี าทพั ไปปราบแควน กลงิ คะ
ซ่ึงเปน ชาติที่เขมแข็ง แมจะทรงมีชยั ขยายดินแดนแหง แวน แควน ของพระ
องคออกไป จนมีอาณาเขตกวางใหญท่ีสุดในประวัติศาสตรชาติอินเดีย
เทยี บไดก ับประเทศอนิ เดีย ปากีสถาน และบังคลาเทศปจ จุบันรวมกนั แต
ก็ทรงสลดพระทัยในความโหดรายทารณุ ของสงคราม เปนเหตใุ หทรงหัน
มานับถอื พระพุทธศาสนา และทรงดาํ เนินนโยบายทะนบุ ํารุงพระราชอาณา
จกั ร และเจริญพระราชไมตรกี บั นานาประเทศโดยทางสันติ ตามนโยบาย
ธรรมวิชยั กอ นทรงหันมานบั ถอื พระพุทธศาสนา ทรงปรากฏพระนามวา
จัณฑาโศก คอื อโศกผดู รุ าย ครน้ั หนั มาทรงนับถือพระพุทธศาสนาและ
ดําเนินนโยบายธรรมวิชยั แลว ไดรับขนานพระนามใหมว า ธรรมาโศก คอื
อโศกผทู รงธรรม

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๑๑๗

พระราชกรณียกิจของพระเจาอโศกมหาราชในการทํานุบํารุงพระ
พุทธศาสนา กลา วเฉพาะที่สาํ คญั ไดแก การทรงสรา งมหาวหิ าร ๘๔,๐๐๐
แหง เปนแหลง ทีพ่ ระภกิ ษสุ งฆศกึ ษาเลา เรยี นพระธรรมวินยั บําเพ็ญสมณ
ธรรม และสง่ั สอนประชาชน ทรงอุปถัมภการสงั คายนาครง้ั ท่ี ๓ และทรง
สงพระเถรานุเถระไปประกาศพระศาสนาในแวนแควนตางๆ เปนเหตุให
พระพุทธศาสนาเจริญรุงเรืองแพรหลายไปในนานาประเทศ และทําให
ประเทศทง้ั หลายในเอเชียตะวันออกมีอารยธรรมเนอ่ื งกนั มาจนถึงปจ จบุ ัน

ในดานรัฐประศาสโนบาย ทรงถอื หลักธรรมวิชยั มุงชนะจติ ใจของ
ประชาชน ดวยการปกครองแผนดินโดยธรรม ยึดเอาประโยชนสุขของ
ประชาชนเปน ทต่ี ้ัง สงเสรมิ กจิ การสาธารณูปการ ประชาสงเคราะห สวัสด-ิ
การสงั คม และทํานบุ าํ รุงศลิ ปวัฒนธรรมอยางกวางขวาง ทําใหช มพูทวปี ใน
รัชสมัยของพระองค เปนบอเกิดสาํ คัญแหงอารยธรรมทแ่ี ผไพศาลมนั่ คง
พระนามของพระองคดํารงอยูยั่งยืนนาน และอนุชนเรียกขานดวยความ
เคารพเทดิ ทูน เหนอื กวา ปวงมหาราช ผูทรงเดชานภุ าพพชิ ติ แวนแควน ทั้ง
หลายไดดว ยชัยชนะในสงคราม

พระราชจริยาวัตรของพระเจาอโศกมหาราช เปนกัลยาณจารีตอัน
มหากษัตรยิ ผ ยู ง่ิ ใหญสมัยตอๆ มา ทีน่ ิยมทางสันติ และไดร ับสมัญญาวา
เปน มหาราช ทรงนับถือเปนแบบอยา งดาํ เนินตามโดยท่ัวไป เชน พระเจา
กนษิ กะมหาราช (พ.ศ. ๖๒๑-๖๔๔) พระเจา หรรษวรรธนะ (พ.ศ. ๑๑๔๙-
๑๑๙๑) พระเจา ธรรมบาล (พ.ศ ๑๓๒๓-๑๓๗๓) แหงชมพทู วปี พระเจา
ชัยวรมันท่ี ๗ (พ.ศ ๑๗๒๔-๑๗๖๑) แหงอาณาจักรขอมโบราณ และพอ
ขนุ รามคาํ แหงมหาราช(พ.ศ.๑๘๒๐-๑๘๖๐)แหง ราชอาณาจกั รไทยเปน ตน

๑๑๘ จารึกอโศก

แมนักประวัติศาสตรสมัยใหมก็ถวายพระเกียรติแกพระองคเปน
อยางสูง เชน H.G. Wells นักประวัติศาสตรคนสาํ คัญผูหน่ึงในฝาย
ตะวนั ตก ยกยอ งพระเจา อโศกมหาราชในหนังสอื Outline of History วา
ทรงเปนอัครมหาบรุ ุษทา นหนึ่งในบรรดาอคั รมหาบรุ ษุ ท้ัง ๖ แหง ประวัติ

ศาสตรโลก คือ พระพุทธเจา โสเครติส อริสโตเตลิ พระเจาอโศกมหาราช
โรเจอร เบคอน และอับราฮัม ลินคอลน (The Six Greatest Men of

History: Buddha, Socrates, Aristotle, Asoka, Roger Bacon,

and Abraham Lincoln)
พระเจาอโศกมหาราชเปนกษัตริยพระองคเดียวในประวัติศาสตร

โลก ที่นาย C.E.M. Joad นกั เขียนทางปรัชญาผูมีชอื่ เสียง ยอมยกพระ
นามมากลาวอางในหนังสือของเขาช่อื The Story of Civilization

พระราชจรยิ าวัตร และพระราชกรณียกิจของพระเจาอโศกมหาราช

ปรากฏเปน หลกั ฐานอยใู นศลิ าจารึก ซึ่งพระองคไ ดโ ปรดใหเขยี นสลักไว ณ

สถานท่ตี า งๆ ทว่ั จกั รวรรดิอันไพศาลของพระองค ความที่จารึกไวเ รยี กวา
ธรรมลิป แปลวา ลายสอื ธรรม หรือขอความทเ่ี ขยี นไวเพ่ือสอนธรรม ถือ
เอาความหมายเขากบั เร่อื งวา “ธรรมโองการ”

ธรรมลปิ ทโี่ ปรดใหจารึกไว เทาท่พี บมจี าํ นวน ๒๘ ฉบับ แตล ะฉบบั
มกั จารึกไวใ นทห่ี ลายแหง บางฉบับขุดคนพบแลว ถึง ๑๒ แหงก็มี๑

ความในธรรมลิปน้ัน แสดงพระราชประสงคของพระองคที่มีตอ

ประชาชนบาง หลักธรรมทีท่ รงแนะนาํ ส่งั สอนประชาชนและขาราชการบา ง

พระราชกรณยี กิจที่ไดทรงบาํ เพ็ญแลวบาง กลา วโดยสรปุ อาจวางเปนหัว

ขอได ดงั น้ี

๑ ฉบับทีค่ น พบมากท่สี ุดถงึ ๑๒ แหง คือ ฉบับที่วา ดว ยการทรงเปนอบุ าสกและเขาสสู งฆ

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๑๑๙

ก. การปกครอง

๑. การปกครองแบบบิดากับบุตร โดยมีขาราชการเปนพี่เล้ียงของ

ประชาชน

๒. การถือประโยชนสุขของประชาชนเปน หนาทสี่ ําคัญทส่ี ุด เนน ความยตุ ิ

ธรรมและความฉับไวในการปฏบิ ัตหิ นาที่ราชการ

๓. การจัดใหมีเจาหนาท่ีเกี่ยวกับการสั่งสอนธรรม คอยดูแลแนะนํา

ประชาชนในทางความประพฤติและการดํารงชีวิตอยางทั่วถึง และวาง

ระบบขาราชการควบคมุ กนั เปนชั้นๆ

๔. การจัดบรกิ ารสาธารณประโยชน และสังคมสงเคราะห เชน บอ น้ํา ที่

พกั คนเดินทาง ปลูกสวน สงวนปา ต้ังโอสถศาลา สถานพยาบาล สาํ หรบั

คนและสัตว

ข. การปฏบิ ัติธรรม

๑. เนนทาน คือ การชว ยเหลือเออื้ เฟอกนั ดว ยทรัพย และสง่ิ ของ แตยาํ้
ธรรมทาน คือ การชวยเหลอื ดวยการแนะนําในทางความประพฤติ และ
การดาํ เนนิ ชวี ิตท่ีถกู ตอ ง วาเปนกจิ สาํ คญั ท่ีสดุ
๒. การคุมครองสัตว งดเวนการเบยี ดเบยี นสัตว โดยเฉพาะใหเลิกการ
ฆา สตั วบชู ายัญอยางเดด็ ขาด
๓. ใหร ะงับการสนกุ สนานบนั เทิงแบบมวั เมา ม่วั สุมรน่ื เริง หันมาใฝใน
กิจกรรมทางการปฏิบตั ธิ รรมและเจรญิ ปญ ญา เร่ิมแตอ งคพ ระมหากษตั รยิ 
เอง เลิกเสดจ็ เทีย่ วหาความสําราญโดยการลาสตั ว เปนตน เปลี่ยนมาเปน
ธรรมยาตรา เสด็จไปนมัสการปูชนียสถาน เยี่ยมเยียนชาวชนบท และแนะ
นาํ ประชาชนใหปฏบิ ัติธรรม แทนการประกอบพธิ มี งคลตางๆ

๑๒๐ จารึกอโศก

๔. ยํ้าการปฏิบัติธรรรม ทเี่ กีย่ วกบั ความสมั พันธระหวา งบคุ คลในสังคม
เชน การเชอื่ ฟง บิดามารดา การเคารพนับถือครูอาจารย การปฏิบตั ิชอบตอ
ทาส กรรมกร เปนตน
๕. เสรภี าพในการนับถอื ศาสนา และความสามัคคปี รองดอง เอือ้ เฟอ นับ
ถือกัน ระหวา งชนตา งลทั ธศิ าสนา

คาํ แปลจารกึ ทงั้ ๒๘ ในหนงั สือน้ี ผแู ปลไดแ ปลไวใน พ.ศ. ๒๕๐๖
คือเมือ่ ๑๐ ปล วงแลว แตไ มเ คยจัดพิมพ เพราะหวังไววาจะตรวจชําระให
เรยี บรอยอีกครั้งหนึ่งกอ น แตครัน้ เวลาลวงไปนาน ก็หาโอกาสทาํ ตามทหี่ วัง
ไมไ ด บดั นี้ ถงึ คราวจะพิมพจ ึงตองปลอ ยผา นไปกอ น แตไ ดแ กไ ขบา งบาง
สวนเทาทจี่ ะทาํ ไดเฉพาะหนา คําแปลเดมิ ยึดเอาฉบบั ของนาย R. Basak
เปนหลกั แตไดสอบกับฉบบั อ่นื ๆ อีกสองฉบบั พรอมท้ังตนฉบบั เดิมท่ีเปน
ภาษาปรากฤต จึงมที ่ีแปลกกันหลายแหง หากมีโอกาสเมอื่ ใดจะไดตรวจ
ชําระโดยตลอดอีกครัง้ หน่งึ

อยางไรก็ตาม แมวาคําแปลทัง้ นี้ จะมติ องการใหถ ือเปนยตุ ิทั้งหมด
แตก็คงชวยใหเกิดความเขาใจในสาระสําคญั ของอโศกธรรมได จงึ หวังวา
จะเปนประโยชนแกผ สู นใจในประวัติศาสตร และพุทธศาสนาพอสมควร

พรอ มน้ขี ออนุโมทนาขอบคุณ อาจารยจ าํ นงค ทองประเสริฐ ผูม อบ
ตนฉบับของนาย R. Basak ท่ใี ชเปน หลักในการแปลไวด วย

พระศรีวิสุทธโิ มลี๑

(ประยุทธ ปยตุ โฺ ต)

๒๐ พ.ย. ๒๕๑๖

_______________________________________________

๑ ปจ จุบัน (พ.ศ.๒๕๕๒) ดํารงสมณศกั ด์ิที่ พระพรหมคุณาภรณ

หมวด ก

ศลิ าจารกึ ฉบับจาํ เพาะ และเบ็ดเตล็ด

(รวมทงั้ จารกึ พิเศษแหง กลงิ คะ)



ศลิ าจารกึ ฉบบั จาํ เพาะ และเบด็ เตลด็

ศลิ าจารกึ แหง ไพรัต

สมเด็จพระเจาอยูหัวปริยทรรศีแหงมคธ ไดทรงอภิวาทพระ
ภกิ ษุสงฆแลว ตรัสปราศรยั กับพระภกิ ษุสงฆ จํานงความไรอาพาธ
และความอยูสําราญ

ขาแตพระผูเปนเจาท้ังหลาย พระผูเปนเจาท้ังหลายยอม
ทราบวา โยมมีความเคารพและเลื่อมใสศรัทธาในพระพุทธเจา
พระธรรม และพระสงฆ มากเพยี งใด

ขาแตพระผูเปนเจาผูเจริญ ส่ิงใดก็ตามท่ีพระผูมีพระภาค
พทุ ธเจา ตรสั ไวแ ลว ส่ิงน้ันๆ ท้งั ปวงลวนเปนสุภาษิต

ขา แตพระผูเปนเจา ผูเ จรญิ ก็ขอท่โี ยมควรจะช้แี จงนน้ั คือขอ
ทีว่ า “พระสทั ธรรมจักดํารงอยไู ดต ลอดกาลนาน ดว ยอาการอยา ง
น้ีๆ” โยมสมควรจะกลาวความขอ นัน้

ขา แตพระผูเปน เจาผูเจรญิ มธี รรมบรรยายอยูดงั ตอไปน้ี คือ:
๑. วนิ ยสมุกฺกํส - หลักธรรมดีเดนในพระวนิ ยั ๑

๑ หมายถึง ปฐมเทศนาธัมมจกั กปั ปวตั ตนสตู ร ซึ่งเปน พระธรรมเทศนาครง้ั แรก และแหลง
ท่ีปรากฏแหง แรกอยูในพระวินัยปฎก (วนิ ย.๔/๑๓/๑๗; ส.ํ ม.๑๙/๑๖๖๔/๕๒๘)

๑๒๔ จารึกอโศก

๒. อรยิ วาส - ความเปนอยอู ยา งพระอริยะ๑
๓. อนาคตภย - ภัยอันจะมีในอนาคต๒
๔. มนุ คิ าถา - คาถาของพระจอมมนุ ๓ี
๕. โมเนยฺยสตุ ฺต - พระสตู รวาดว ยโมไนยปฏปิ ทา๔
๖. อปุ ตสิ สฺ ปฺหา - ปญ หาของอปุ ตสิ สะ๕ และ
๗. ขอความทพี่ ระผมู พี ระภาคพุทธเจา ตรสั ไวในราหโุ ลวาท๖ อัน

วาดวยเรือ่ งมสุ าวาท
ขาแตพระผูเปนเจาผูเจริญ โยมมีความปรารถนาในสวนที่
เก่ียวกับธรรมบรรยายเหลานี้วา ขอพระภิกษุผูเปนที่เคารพ และ
พระภกิ ษุณที งั้ หลายเปนอนั มาก พงึ สดบั และพจิ ารณาใครครวญ
ในธรรมบรรยายเหลานี้อยูโดยสมํ่าเสมอเปนประจํา แมอุบาสก
และอุบาสิกาทั้งหลายก็ (พงึ สดบั และนาํ มาพิจารณาใครครวญอยู
เสมอๆ) เชน กัน
ขาแตพระผูเปนเจาท้ังหลาย ดวยเหตุน้ีแล โยมจึงใหเ ขยี น
จารึกนข้ี ้นึ ไว เพ่อื ประชาชนทั้งหลายจกั ไดรูเ ขา ใจถงึ ความมงุ หมาย
ในใจของโยม.

๑ หมายถงึ อรยิ วาส ๑๐ ทม่ี าในสงั คตี สิ ตู ร และทสตุ ตรสตู ร (ท.ี ปา.๑๑/๓๖๑/๒๘๔; ๔๗๒/๓๓๗
๒ ไดแ ก อนาคตภยั ๕ (อง.ฺ ปจฺ ก.๒๒/๗๗-๘๐/๑๑๕-๑๒๖)
๓ ไดแก มนุ ิสูตร ในสุตตนิบาต (ขุ.ส.ุ ๒๕/๓๑๓/๓๖๓)
๔ ไดแก โมไนยสูตร (อง.ฺ ติก.๒๐/๕๖๒/๓๕๒)
๕ หมายถงึ สารีปตุ ตสูตร ในสตุ ตนบิ าต (ขุ.สุ.๒๕/๔๒๓/๕๒๐)
๖ ไดแก จูฬราหุโลวาทสูตร (ม.ม.๑๓/๑๒๕/๑๒๓

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๑๒๕

ศิลาจารึกฉบับนอย

จารกึ ฉบบั เหนือ

พระผเู ปนทร่ี ักแหง ทวยเทพ ไดต รสั ไว ดังน้:ี -
นับเปนเวลานานกวาสองปค รึ่งแลว ทข่ี า ฯ ไดเปนอบุ าสก แต
กระนน้ั ขา ฯ กม็ ไิ ดก ระทําความพากเพยี รจรงิ จงั เลย และนับเปน
เวลาไดอีก ๑ ปเศษแลว ท่ขี าฯ ไดเ ขา สสู งฆ และไดกระทาํ ความ
พากเพียรอยางจรงิ จงั
แตก อ นมาจนถึงบัดนี้ ทวยเทพท้ังหลายในชมพทู วีป ยังไมม ี
ความสนทิ สนมกลมกลนื กบั มนษุ ยท งั้ หลาย แตบ ดั นี้ ทวยเทพเหลา นี้
(อันขาฯ) ไดกระทําใหมาสนิทสนมกลมกลืนกับมนุษยท้ังหลาย
แลว ก็ขอนี้ยอมเปน ผลแหง ความพากเพียร และผลนอ้ี นั บุคคลผู
เปนใหญเทา นัน้ จะพงึ บรรลถุ ึง ก็หามไิ ด แมแตบ ุคคลเลก็ นอยต่ํา
ตอ ย เม่ือพากเพยี รอยู กส็ ามารถประสบสวรรคอ ันไพบลู ยได
เพ่ือประโยชนอนั นี้ ขา ฯ จงึ ไดทําประกาศนขี้ ึ้นไว ขอชนทง้ั
หลาย ทง้ั คนต่าํ ตอยเล็กนอ ย และคนผเู ปนใหญ จงพากันกระทาํ
ความพากเพียรเถิด แมชนชาวเขตแดนขางเคียงท้ังหลายก็จงพา
กันทราบความขอน้ี และขอความพากเพียรน้ีจงดํารงอยูชั่วกาล
นาน เพราะวาประโยชนที่มงุ หมาย จักเพ่มิ พูนข้นึ อีกมากมาย และ
จักเจริญไพบลู ยข ึ้นอยา งนอ ยที่สดุ ถงึ หน่ึงเทา ครง่ึ

๑๒๖ จารกึ อโศก

อนึง่ ทานทง้ั หลายจงจารึกความขอ นข้ี น้ึ ไวต ามภผู า โขดหิน
ทัง้ หลายในเม่ือมีโอกาส และ ณ ท่ีน้ี (ภายในแวน แควน ของขา ฯ) มี
หลักศิลาอยู ณ สถานท่ีใดกต็ าม พงึ ใหเขยี นจารึกไวท ่หี ลกั ศลิ านน้ั
พึงกระจายขอความน้ี ใหแพรหลายออกไปทั่วทุกหนทุกแหงท่ี
อํานาจปกครองของทานทั้งหลายแผไปถึง โดยใหเปนไปตามขอ
แนะนาํ อนั นี้

ประกาศนี้ ขาฯ ไดก ระทําแลว เมอ่ื เดินทางอยนู อกพระนคร
หลวง การเดินทางน้ี ขาฯ ไดดาํ เนินมาแลว ๒๕๖ ราตรี.

จารึกฉบบั ใต๑

ตอนท่ี ๑

พระผูเปน ทรี่ ักแหงทวยเทพ ไดต รสั ไว ดังนี้ :-
นบั เปนเวลานานเกินกวาสองปคร่งึ แลว ท่ีขา ฯไดเ ปน อุบาสก
แตต ลอดเวลา ๑ ป ขาฯ มไิ ดกระทาํ ความพากเพียรใดๆ อยา งจรงิ
จังเลย และนับเปนเวลา ๑ ปเศษแลวทขี่ า ฯ ไดเ ขาหาสงฆ ขาฯจึง
ไดลงมอื ทําความพากเพยี รอยางจริงจัง (นบั แตน้นั มา)
ตลอดระยะเวลา (ทีผ่ า นมา) น้ี มนุษยท ้งั หลายยงั มิไดคลกุ
คลีสนทิ สนมกนั กบั เทวดาทัง้ หลายเลย แตม าบัดนี้ มนษุ ยท้ังหลาย

๑ ฉบับเดียวกับจารกึ ฉบบั เหนือ แตจารกึ ไวต า งสถานที่ มีขอ ความตอนทายตางออกไป จงึ
นาํ มาลงไวดว ย

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๑๒๗

ไดค ลุกคลสี นิทสนม (กบั ทวยเทพท้ังหลาย) แลว ก็ขอนีย้ อมเปนผล

แหงความพากเพียร (ในการทําความดี) (สวรรคน น้ั ) มใิ ชว า มหา

บรุ ุษเทาน้นั จงึ จะบรรลถุ งึ ได แมคนเล็กนอ ยตา่ํ ตอ ย เมือ่ พากเพยี ร

อยู กส็ ามารถประสบสวรรคอ ันไพบูลยไดเ ชน กัน

เพื่อประโยชนนีน้ ่ันแล ขาฯ จงึ ไดใ หท าํ คาํ ประกาศน้ขี น้ึ ไว ขอ

ชนท้ังหลาย ทั้งท่ียากจนและม่ังมี จงกระทําความพากเพียรใน

เรื่องน้ี และชนชาวเขตแดนขางเคียงทั้งหลายจงทราบความขอนี้

ดวย ขอใหความพากเพียรน้ีดํารงอยูช่ัวกาลนาน ประโยชนอัน

ไพบลู ยก ็จกั เจริญเพ่มิ พูน และจกั งอกงามขน้ึ อกี อยา งนอ ยทีส่ ดุ ถึง

หนง่ึ เทา ครงึ่

คําประกาศนี้ ขาฯไดกระทําแลวในระหวางการเสด็จ

ประพาสนอกพระนครหลวง ครั้งที่ ๒๕๖

ตอนท่ี ๒

พระผเู ปน ที่รกั แหง ทวยเทพ ไดต รัสไว ดังน:้ี -
ทานทั้งหลายพึงประพฤติปฏิบัติตามที่พระผูเปนท่ีรักแหง
ทวยเทพตรัสสอนไว เจาหนาที่รัชชูกะท้ังหลายจักตองไดรับคําส่ัง
แลวเขาจักส่ังตอไปแกชนชาวชนบทและเจาหนาท่ีราษฎริกะทั้ง
หลายวา

๑๒๘ จารกึ อโศก

- พึงต้ังใจฟง มารดาบิดา
- พึงตั้งใจฟง ครูท้งั หลายเชนเดียวกนั
- พงึ มีความเมตตาตอ สัตวทง้ั หลาย
- พึงกลา วคาํ สัตย
พงึ เผยแผค ณุ ธรรมเหลา น้ีใหแ พรหลายโดยทว่ั

ขอทานท้ังหลายจงสั่งการตามพระดํารัสของพระผูเปนท่ีรัก
แหงทวยเทพ ดว ยประการฉะน้ี

อน่ึง ทานท้งั หลายพงึ ส่งั ความอยางเดยี วกันนแี้ กครทู งั้ หลาย
ผเู ดนิ ทางดวยชาง และแกพราหมณท ัง้ หลาย ผูเ ดินทางดว ยรถ ใน
ทาํ นองเดียวกันน้ี ทานทั้งหลายจงประกาศแกศิษยในปกครองท้ัง
หลาย ใหทราบวาโบราณประเพณมี อี ยอู ยางไร พึงต้งั ใจฟง ตามคํา
สอนวา ดังนี้

ใหมีความเคารพยําเกรงอยางจริงจัง ตอทานอาจารยของ
ขา ฯ ท่เี ปน ผูประพฤตปิ ฏบิ ัติตนเหมาะสม พึงแนะนําญาตทิ ัง้ หลาย
ใหปฏบิ ัติตอญาตติ ามท่ีเหมาะท่คี วร ประชาชนทั้งหลายเหลา น้พี งึ
ไดรับคําแนะนาํ ใหปฏิบัติตอศิษยในปกครองท้ังหลายตามท่ีเหมาะ
ท่คี วร ตามเยี่ยงอยางโบราณประเพณที ่ีมมี า

ขอใหคาํ ประกาศนจ้ี งเปนส่งิ ท่ที รงไวซึง่ ความสาํ คัญ ขอทาน
ทงั้ หลายจงสง่ั ความและประกาศแกศ ษิ ยใ นปกครองทงั้ หลายตามนี้

พระผูเปนท่ีรักแหงทวยเทพ ไดมีพระราชโองการดาํ รสั ส่ังไว
ดวยประการฉะน้.ี

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๑๒๙

จารึกหลกั ศลิ าเบด็ เตล็ด

สมเดจ็ พระเจาอยหู วั ปรยิ ทรรศี ผูเ ปน ทรี่ ักแหงทวยเทพ ไดม ี
พระบรมราชโองการใหป ระกาศแกม หาอาํ มาตยท้ังหลาย ณ พระ
นครปาฏลบี ุตร และ ณ นครอื่นๆ วา

สงฆ (อนั ขา ฯ) ไดทาํ ใหส ามัคคีเปน อนั เดยี วกันแลว บคุ คล
ใดๆ จะเปนภิกษหุ รอื ภิกษุณกี ็ตาม ไมอ าจทาํ ลายสงฆได

ก็แล หากบุคคลผใู ด จะเปนภกิ ษุหรอื ภกิ ษณุ ีก็ตาม จักทํา
สงฆใ หแตกกัน บุคคลผูนน้ั จกั ตองถกู บงั คบั ใหน ุงหม ผาขาว และ
ไปอยู ณ สถานทีอ่ ันมใิ ชว ัด

พึงแจงสาสนพระบรมราชโองการน้ีใหทราบทั่วกัน ทั้งใน
ภิกษสุ งฆและในภกิ ษณุ สี งฆ ดว ยประการฉะนี้

พระผเู ปนทีร่ ักแหงทวยเทพไดต รัสไว ดงั น้:ี -
ก็ประกาศพระบรมราชโองการเชนนี้ ทานท้งั หลายพึงนาํ ไป
ติดไว ณ ทางสัญจรภายในเขตใกลเคียงของทานท้ังหลายฉบับ
หน่ึง และจงเก็บรักษาประกาศพระบรมราชโองการอันเดียวกันนี้
แล ไวในเขตใกลเ คียงของอุบาสกทั้งหลายอกี ฉบบั หนง่ึ
ทกุ ๆ วนั อุโบสถ บรรดาอุบาสกเหลานั้น พงึ ทําตนใหม คี วาม
รคู วามเขา ใจแนบแนนในประกาศพระบรมราชโองการน้ี และทกุ ๆ
วันอุโบสถ มหาอํามาตยทุกๆ คนพึงไปรวมในการรักษาอุโบสถ
ดว ยเปน ประจาํ เพื่อจกั ไดเ กิดความคุนเคยแนบสนทิ และรูเขาใจ

๑๓๐ จารกึ อโศก
ทว่ั ถึง ซง่ึ ประกาศพระบรมราชโองการน้นั แล

ทั่วทุกหนทุกแหงที่อํานาจบริหารราชการของทานทั้งหลาย
แผไปถึง ทานทัง้ หลายพึงขับไล (บคุ คลผูทําลายสงฆ) ออกไปเสีย
และในทาํ นองเดยี วกันน้นั ทานท้งั หลายพึงขบั ไล (บคุ คลทท่ี าํ ลาย
สงฆ) ในเมอื งดา น และในทอ งถน่ิ ทงั้ หลายออกไปเสยี โดยใหเ ปน
ไปตามขอความในประกาศน้ี.

จารึกหลกั ศิลาท่ีลมุ พนิ ี

สมเด็จพระเจา อยหู วั ปริยทรรศี ผเู ปน ทร่ี กั แหงทวยเทพ เม่ือ
ทรงอภเิ ษกแลว ได ๒๐ พรรษา ไดเสดจ็ มาดวยพระองคเองแลว
ทรงกระทําการบชู า (ณ สถานทน่ี )ี้ เพราะวา “พระพทุ ธศากยมนุ ีได
ประสตู แิ ลว ณ ท่นี ้ี” และ (พระองค) ไดโ ปรดใหส รา งรั้วศลิ า และ
โปรดใหประดิษฐานหลักศลิ าข้นึ ไว

โดยเหตุท่ีพระผูมพี ระภาคเจา ไดป ระสตู แิ ลว ณ สถานที่น้ี
จงึ โปรดใหหมบู า นตาํ บลลุมพนิ เี ปน เขตปลอดภาษี และใหเสยี สละ
(ผลิตผลจากแผนดินเปน ทรพั ยแ ผน ดิน เพียงหน่ึงในแปดสวน).

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยุตโฺ ต) ๑๓๑

จารกึ หลกั ศลิ านคิ ลวิ ะ

(นิคลี สาคร)

สมเด็จพระเจาอยูหัวปรยิ ทรรศี ผเู ปนท่ีรักแหงทวยเทพ เม่ือ
อภเิ ษกแลวได ๑๔ พรรษา ไดโ ปรดใหข ยายพระสถปู แหง พระพทุ ธ
เจา กนกมุนี๑ ใหญโตขนึ้ อกี เปนสองเทา และเม่อื อภเิ ษกแลวได ๒๐
พรรษา ก็ไดเ สดจ็ มาดวยพระองคเ อง ทรงกระทําการบชู าแลวโปรด
ใหป ระดษิ ฐานหลกั ศิลาจารกึ ไว.

จารึกหลักศิลา แหงพระราชเทวี

(อลั ลาหะบาด)

มหาอํามาตยท ้ังหลายท่ัวทกุ สถาน พงึ ไดรับแจงตามกระแส
พระราชดํารัส แหงพระผูเปน ที่รกั แหงทวยเทพวา

“ส่งิ ใดๆ ก็ตาม ทีเ่ ปน ของอันพระทตุ ิยราชเทวี พระราชทาน
แลว ณ ทน่ี ้ี จะเปนปา มะมวงก็ดี เปนสวนก็ดี เปน โรงทานกด็ ี หรือ
แมสิง่ อนื่ ๆ ส่ิงใดสิง่ หนง่ึ อนั พอจะนับได (วาเปนของทพ่ี ระนางพระ
ราชทาน) สงิ่ นน้ั ๆ ยอ มเปน สมบตั ิของพระนางน้ันเอง”

โดยอาการอยา งนี้ ใหพ ึงถอื วา สิง่ เหลา น้นั เปน ของอันพระ
ทุติยราชเทวี พระนามวา การวุ ากี ผเู ปนชนนีของตีวระ พระราช
ทานแลว.

๑ สนั นษิ ฐานวา หมายถงึ พระโกนาคมนพทุ ธเจา

๑๓๒ จารกึ อโศก

จารึกถ้ําแหงเขาบาราบาร

ก. ถ้ําไทรนี้ อันสมเด็จพระเจาอยูหัวปริยทรรศีพระราชทานแลว
แกเหลา อาชีวิกะทงั้ หลาย เม่ือทรงอภเิ ษกแลวได ๑๒ พรรษา

ข. ถ้ําแหงนี้ (ซ่ึงอยู) ในเขาขลติกะ อันสมเด็จพระเจาอยูหัว
ปริยทรรศี พระราชทานแลวแกเ หลาอาชวี กิ ะท้ังหลาย เมอ่ื อภิเษก
แลวได ๑๒ พรรษา

ค. (บดั น้)ี สมเด็จพระเจา อยหู วั ปริยทรรศี ทรงอภเิ ษกแลว ได ๑๙
พรรษา “ถ้าํ ในเขตขลตกิ ะแหง น้ี ซง่ึ เปน ท่ีโปรดปรานย่ิง อนั ขาฯ
พระราชทานแลว เพ่ือเปน ท่พี กั พิงแหงเหลาบรรพชติ ท้งั หลาย ให
พน จากอทุ กภัยในฤดฝู น”

ศลิ าจารกึ พิเศษแหงกลิงคะ

แหงท่ี ๑

มหาอํามาตยท้ังหลายผูมีหนาที่ดําเนินงานตุลาการในเมือง
โตสลี พงึ ไดร บั แจง ตามพระดาํ รสั ของพระผเู ปนท่รี กั แหงทวยเทพวา:-

ขา ฯ พจิ ารณาเหน็ สง่ิ ใดก็ตาม ขาฯ ยอ มมคี วามปรารถนาใน
สง่ิ นัน้ วา ขอขา ฯ พึงดําเนนิ การในสง่ิ นน้ั ๆ ใหส าํ เรจ็ ลุลวงไปดวย
การลงมือกระทาํ และขอขาฯ พึงริเร่ิมทาํ ส่ิงน้ันดวยวิธกี าร (อนั
เหมาะสม)

ในเร่ืองนี้ ขา ฯ ถือวา คําสั่งสอนของขา ฯ แกท า นทง้ั หลายน่นั
แล เปน วธิ ีการอนั สาํ คญั ยิ่ง เพราะทา นท้งั หลายไดร ับการแตงต้งั ให
มหี นาทีด่ แู ลชวี ติ จํานวนมากมายหลายพัน ดว ยความหวังวา พวก
ทานคงจะถนอมความรกั ของมนษุ ยท ั่วทุกคนไวโดยแนแท

ประชาชนทุกคนเปนลกู ของขา ฯ ขาฯ มีความปรารถนาตอ
ลูกของขาฯ วา ขอลูกท้ังหลายของขาฯ จงประสบแตสิ่งที่เปน
ประโยชนเ ก้ือกูลและความสขุ ทุกสงิ่ ทกุ ประการ ทง้ั ที่เปน ไปในโลก
นี้และโลกหนา ฉันใด ขาฯ ก็มีความปรารถนาแมตอมนุษยทั้ง
หลายทว่ั ทกุ คน ฉันน้ัน

๑๓๔ จารกึ อโศก

แตทานท้งั หลายอาจไมร ซู ง้ึ วา ความประสงคของขา ฯ ขอน้ี
มีความหมายกวางขวางเพียงใด อาจมบี คุ คลผูใดผหู นึง่ ในบรรดา
พวกทา นน้ี ท่ีเขาใจถงึ ความหมายอนั น้ี แตก ระน้นั บุคคลผูนั้น ก็คง
รูคงเขา ใจเพียงสว นหน่ึงสวนเดยี ว หาไดเ ขา ใจโดยส้นิ เชิงไม ถึงแม
ทานท้ังหลายจะไดรับการแตงตั้งใหมีตําแหนงสูงเพียงใดก็ตาม
ทานท้ังหลายก็จะตองใสใจทําความเขาใจในเรื่องน้ี หลักการขอ น้ี
เปนส่ิงทจ่ี ดั วางไวเปนอยางดแี ลว

อาจมบี คุ คลผใู ดผหู นง่ึ ตองไดรบั การจองจํา หรอื การลงโทษ
ดวยการทรมาน และในกรณนี ี้ ผลอาจปรากฏวา เปน การจบั กมุ ลง
โทษโดยปราศจากมูลเหตุอันสมควร เน่ืองจากเหตุน้ี ประชาชน
อน่ื ๆ อกี จํานวนมาก กจ็ ะพลอยไดร ับความทุกขดวยเปนอยา งย่ิง
เพราะฉะนน้ั ทา นทงั้ หลายควรต้งั ใจแนว แนว า “เราจะวางตนเปน
กลาง (ใหเกิดความเท่ียงธรรม)” แตกระนน้ั ก็ยงั อาจไมป ระสบ
ความสําเรจ็ ก็ได โดยเนอื่ งมาจากขอ บกพรอ งบางประการ อันได
แก ความรษิ ยา ความพลั้งจิต ความเกรี้ยวกราด ความหนุ หนั พลนั
แลน การขาดความใสใจอยางจริงจัง (หรือขาดความรอบคอบ)
ความเกียจครา น และความเหน่อื ยหนา ย ฉะนัน้ ทา นทั้งหลายพึง
ตัง้ ใจวา “ขอขอบกพรอ งเหลา นี้ อยา พงึ เกดิ มแี กเ ราเลย”

รากฐานแหง(ความสําเรจ็ ) ทั้งมวลน้ี อยูท ก่ี ารไมมคี วามพลัง้
จิต และการไมมีความหุนหันเรงรอนในการนําหลักการแหงความ

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยุตโฺ ต) ๑๓๕

ยุติธรรมมาใช บุคคลท่ีเหนื่อยหนายยอมไมสามารถลกุ ข้ึนทาํ งาน
ไดโดยกระฉบั กระเฉง แตทานท้งั หลายจะตองเคลื่อนไหวกาวหนา

และดําเนินไป (เพอ่ื ใหถงึ จดุ หมาย) ทานทง้ั หลายจะตอ งพจิ ารณา

ใสใ จในเร่อื งน้ดี งั กลา วมาฉะน้ี

ดวยเหตุนี้ จึงขอใหทานท้ังหลายพึงไดรับถือเปนคําส่ังวา

“ทา นท้ังหลายจะตองคอยเอาใจใสด แู ล (ตกั เตือน) ซึ่งกันและกนั
วา คําส่งั สอนของพระผเู ปนท่รี กั แหง ทวยเทพมีอยอู ยางนีๆ้ ”

การประพฤติปฏิบัติตามคําส่ังสอนน้ีโดยเพียบพรอม ยอม

อาํ นวยผลมาก แตก ารไมประพฤตปิ ฏบิ ัติตามโดยชอบ ยอ มนาํ มา

ซง่ึ ความเสื่อมเสยี เปน อันมาก ผไู มป ระพฤติปฏิบตั ิตาม ยอมไมไ ด
ประสบสวรรค และไมท าํ ใหพ ระเจาอยหู ัวพอพระทัยได เพราะขาฯ

ถือวา การฝกใฝสนใจอยางจริงจังตอกิจเชนนั้น ยอมมีผลสอง
ประการ คือ ในการประพฤติปฏบิ ัติตามคําสงั่ สอนของขา ฯ โดย

เพยี บพรอ มน้ี ทานทงั้ หลายจกั ไดประสบสวรรคสมบัตดิ วย และจกั
ไดป ลดเปล้อื งหนต้ี อ ขา ฯ ดว ย

จารึกน้ี พึงใหมีการสดับในวันติษยนักษัตร และในบาง

โอกาสในระหวา งแหง วันตษิ ยะ ถึงจะมีบคุ คลอยคู นเดียวก็พงึ สดับ
ฟง เมือ่ กระทําไดเชนนนี้ น่ั แล ทานท้ังหลาย จงึ จกั ชอ่ื วา สามารถ

กระทําตามคําส่ังสอนของขา ฯ ไดเพยี บพรอ มสมบูรณ

เพ่อื ประโยชนน้ี จงึ ไดใหเ ขียนจารึกนข้ี ึ้นไว เพื่อใหเจา หนาที่

๑๓๖ จารกึ อโศก

ตลุ าการนครไดพ ยายาม โดยสม่าํ เสมอทกุ เวลา (ท่จี ะปฏิบตั กิ าร
ดวยความมงุ มน่ั ในใจ) วาจะมใิ หเกดิ มกี ารบบี บงั คบั หรือการลง
โทษทัณฑแ กช าวเมอื ง โดยไรเหตอุ นั ควร

เพอ่ื ประโยชนน้ี ขาฯ จกั สงมหาอาํ มาตยทัง้ หลาย ซงึ่ จะไมเ ปน
ผูหยาบคาย ไมดรุ า ย และซอ่ื สัตยใ นการปฏิบัตงิ าน ออกเดินทาง
ตรวจตราราชการทุกๆ ๕ ป มหาอาํ มาตยเหลานั้น เมื่อทราบความ
ประสงคอ นั น้ี (ของขา ฯ) แลว ก็จกั ปฏิบัติตามคาํ ส่ังสอนของขา ฯ

แมจ ากนครอุชเชนีกเ็ ชน กัน องคอ ุปราชราชโอรส จักสง กลมุ
เจาหนาท่ีอยางเดียวกัน ใหออกเดินทางตรวจตราราชการ เพ่ือ
ความมงุ หมายอนั เดียวกันนแ้ี ล (ในการสง ออกแตละคราวนี้) จกั ไม
ปลอ ยใหเวลาลวงไปเกิน ๓ ป

แมจากนครตกั สลิ าก็เชน เดยี วกัน (องคอปุ ราชราชโอรส จัก
สงกลมุ เจา หนา ที่ออกเดินทางตรวจราชการอยางน้)ี

เม่ือมหาอํามาตยเหลาน้ี ยังคงออกเดินทางตรวจตราราช
การอยู ไมทอดทิ้งหนาที่ของตน เขาก็จักเขาใจในคําส่ังสอน
ของขาฯ และดวยเหตุนั้น ก็จักปฏิบัติงานไดตามคําสั่งสอนของ
พระเจาอยูหัว.

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตโฺ ต) ๑๓๗

ศิลาจารกึ พิเศษแหงกลงิ คะ

แหงท่ี ๒๑

พระผูเปน ท่รี ักแหง ทวยเทพ ไดตรสั ไว ดังน้ี :-
มหาอาํ มาตยท ง้ั หลาย ณ สมาปา๒ พงึ ไดรบั แจงตามกระแส
พระราชดาํ รสั วา เมอ่ื ขา ฯ พจิ ารณาเหน็ สง่ิ หนง่ึ สงิ่ ใดกต็ าม ขา ฯ ยอ ม
มคี วามปรารถนาวา ขอขา ฯ จงจดั ทาํ สง่ิ นน้ั ๆ ใหส าํ เรจ็ ลลุ ว งไปดว ย
การลงมือกระทาํ (จริงๆ) และขอขาฯ จงริเร่ิมทาํ สิ่งน้ันดวยวิธีการ
อยา งใดอยา งหนง่ึ ขา ฯ ถอื วา คาํ สง่ั สอนของขา ฯ แกท า นทง้ั หลายนน่ั
แล เปน วธิ กี ารอนั สาํ คญั ยง่ิ เพอ่ื ใหบ รรลถุ งึ จดุ ประสงคอ นั นี้
ประชาชนทกุ คนเปน ลูกของขาฯ ขาฯ ยอมปรารถนาเพื่อลกู
ชายหญงิ ของขา ฯ วา ขอเขาท้งั หลายพึงประสบสง่ิ ท่เี ปนประโยชน
เกื้อกูลและความสุข ทั้งท่ีเปนไปในโลกนี้และโลกหนาทุกประการ
ฉนั ใด ความปรารถนาของขา ฯ ตอประชาชนทั้งปวงยอ มเปน ฉันนน้ั
เหมอื นกนั
ประชาชนชาวเขตแดนขา งเคยี งทงั้ หลาย ซ่ึงขาฯ มไิ ดพ ิชิต
อาจเกิดมีความคิดขน้ึ อยางนวี้ า “พวกเราใครท ราบวา พระราชา
ทรงมีความมุงประสงคตอพวกเราเปนประการใด” ขาฯ มีความ

๑ ศิลาจารึกพเิ ศษแหงกลงิ คะ แหงที่ ๒ นี้ กับแหงที่ ๑ กอ นน้ี ถือไดว า เปน ฉบบั เดยี วกัน

เพราะมีสาระสําคัญอยา งเดยี วกัน แตม ีเนอื้ ความบางสวนตางกนั บาง คงจะตามสภาพถน่ิ

โดยเฉพาะแหงท่ี ๒ นี้ มขี อ ความเพ่ิมเตมิ เกย่ี วกับประชาชนชาวเขตแดนขางเคียง
๒ สมาปา เปนที่ปฏบิ ัตกิ ารของมหาอํามาตยใ นกลิงคะภาคใต

๑๓๘ จารึกอโศก

ปรารถนาตอประชาชนชาวเขตแดนขางเคียงอยูเพียงวา ขอให
ประชาชนเหลาน้นั พึงเขา ใจเถิดวา “พระราชาทรงมีความปรารถนา
วา ประชาชนเหลานน้ั ไมพ ึงมีความครนั่ ครา มหวาดระแวงตอ ขาฯ
และพึงมีความเชือ่ มั่นวางใจในตัวขา ฯ พึงหวงั ไดร ับความสขุ เพยี ง
อยา งเดยี วจากขาฯ หาไดร ับความทุกขมไิ ดเ ลย และพงึ มคี วามเขา
ใจ (ตอไป) อกี วา พระองคจ กั ทรงพระราชทานอภัยโทษแกเราทงั้
หลายเทาท่ีจะทรงอภัยใหได และเพื่อเห็นแกขาฯ ขอประชาชน
เหลา นั้นพึงประพฤตปิ ฏบิ ัติธรรม และพึงไดประสบ (ประโยชนสขุ )
ท้งั ในโลกน้แี ละโลกหนา ”

เพ่ือประโยชนนี้ ขาฯ จึงพรํ่าสอนทานท้ังหลาย ดวยการ
กระทาํ เพยี งนี้ ขา ฯ ยอมเปนอนั พนจากหน้ี (ทบี่ ง แจงตอประชาชน)
ปณิธานและปฏญิ ญาใดๆ ของขา ฯ ทบ่ี ง แจง ในการส่ังสอนทานทั้ง
หลาย และในการประกาศเจตจํานง ปณิธานและปฏิญญาน้ันๆ
เปนส่ิงท่ีม่นั คงแนน อนไมแปรผนั

ทานทั้งหลายพึงปฏิบัติหนาที่การงานดวยการกระทําตาม
เชน นัน้ เถิด และประชาชนเหลา นัน้ พึงไดร บั การปลุกปลอบใจใหม ี
ความเช่อื มั่นวางใจในตวั ขาฯ จนทาํ ใหเ ขาเขาใจวา สมเดจ็ พระเจา
อยูหัวเปนเหมือนบิดาของพวกเรา พระองคทรงมีความรักใคร
ปรารถนาดีในเราทง้ั หลาย เหมือนดังท่ีทรงรักใครป รารถนาดตี อ ตัว
พระองคเอง พวกเราเปนเหมือนลูกของพระเจาอยูหวั

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๑๓๙

โดยเหตุท่ีปณิธานและปฏิญญาของขาฯ อันบงแจงในการ

แนะนําพรํ่าสอนพวกทาน และในการประกาศใหพวกทานทราบ

เจตจํานงของขาฯ เปน ส่งิ ม่นั คงแนน อนไมแปรผัน ฉะน้ัน ในกรณี

เชน น้ี ขาฯ จงึ จดั ใหมีทานทง้ั หลายผเู ปนเจา พนกั งานประจาํ ทอง

ถ่ิน เพราะวา ทานทงั้ หลายยอมเปนผมู ีความสามารถ(แทท ีเดียว)

ในการปลุกปลอบใจประชาชนเหลานั้น ชวยนําใหเกิดประโยชน

เกอ้ื กูลและความสขุ ทง้ั ท่เี ปนไปในโลกนี้และโลกหนาแกประชาชน

ท้ังหลายเหลานั้น เมอ่ื ปฏบิ ัติไดเ ชน นี้ ทานทง้ั หลายจกั ไดป ระสบ

สวรรคส มบัติดว ย และจักเปนผูไดปลดเปลอื้ งหนี้ทมี่ ตี อขา ฯ ดว ย

เพอื่ ประโยชนนี้ จึงไดใ หเขยี นจารึกน้ีข้นึ ไว ณ สถานทนี่ ี้ เพอื่

ใหบรรดามหาอํามาตยทั้งหลายเอาใจใสอยูโดยสมํ่าเสมอตลอด

กาลตอไปเบ้ืองหนา ในอันท่ีจะทําการแนะนําชักจูงพลเมืองชาย

แดนทั้งหลาย ใหเกิดมคี วามเช่ือม่นั วางใจ (ในตัวขาฯ) และทาํ ให

การประพฤตปิ ฏิบตั ิธรรมเกิดมีข้ึน

พงึ ใหมีการสดับตรับฟงจารึกนใี้ นวนั ตษิ ยะ๑ ในระหวางทกุ ๆ

จาตรุ มาส๒ พึงใหม กี ารสดบั ฟง แมใ นระยะเวลาระหวางนั้น และ

เมอ่ื มโี อกาสพิเศษ แมจ ะมบี คุ คลผูเดียวกพ็ ึงใหสดบั ฟง เมื่อปฏบิ ัติ

ไดเชนนีน้ ั่นแล ทา นทั้งหลาย จงึ จักช่ือวาสามารถปฏบิ ัติไดเพียบ

พรอ มตามคาํ สัง่ สอนของขา ฯ.

๑ และ ๒ ดู เชิงอรรถ หนา ๖๕


Click to View FlipBook Version