The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ตามรอยพุทธธรรม (ป.อ. ปยุตฺโต)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-07-10 00:21:41

ตามรอยพุทธธรรม (ป.อ. ปยุตฺโต)

ตามรอยพุทธธรรม (ป.อ. ปยุตฺโต)

Keywords: ตามรอยพุทธธรรม (ป.อ. ปยุตฺโต)

ตามรอยพุทธธรรม 1

2 ตามรอยพุทธธรรม

ตามรอยพุทธธรรม

ตามรอยพุทธธรรม 3

๒๖พุทธธรรม ประดษิ ฐานศตวรรษกาล

4 ตามรอยพุทธธรรม

หลกั การ หรอื คำ�สอนใดก็ตาม ทเี่ ปน็ เพียง
การคดิ คน้ หาเหตผุ ลในเรอ่ื งความจรงิ
เพือ่ สนองความต้องการทางปญั ญา
โดยมิได้มงุ่ หมายและมไิ ดแ้ สดงแนวทาง
สำ�หรับประพฤตปิ ฏิบัติในชวี ิตจรงิ
อนั นนั้ ให้ถือวา่ ไม่ใช่ พระพุทธศาสนา

โดยเฉพาะอย่างที่ถอื วา่ เป็นคำ�สอนเดิมแท้
ของพระพทุ ธเจา้ ซ่งึ ในท่นี ี้ เรยี กว่า พทุ ธธรรม


พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต)

ตามรอยพุทธธรรม ๐๐5

คำ�น�ำ

หนังสือ ‘ตามรอยพุทธธรรม’ ในมือของท่านนี้ เป็นความดำ�ริของ
หลายคนทไี่ ด้อา่ นและเหน็ คณุ คา่ ของหนงั สอื ‘พุทธธรรม’ ของพระเดช
พระคุณท่านเจ้าคุณอาจารย์ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตโฺ ต) ทจ่ี ดั
พมิ พแ์ ลว้ กวา่ ๓๐ ครั้ง ตั้งแตป่ ี พ.ศ. ๒๕๑๔ ตามล�ำ ดับมาเปน็ จำ�นวน
หลายหม่ืนเล่ม ได้รับการยอมรับและกล่าวขานจาก ๓ หนอ่ แห่งพุทธะ
ณ ยุคสมัยนี้ว่า

“เปน็ ลายแทงแหง่ ความสขุ …ทส่ี มบรู ณแ์ บบทส่ี ดุ ทม่ี อี ยใู่ นยคุ สมยั ของเรา”
พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี

“ถ้าเหลือของสิ่งเดียวในโลกนี้ติดตัว ขอเลือก ‘พุทธธรรม’ เล่มนี้”
พระไพศาล วสิ าโล

“ชวี ติ น.้ี ..มหี นงั สอื เลม่ นเี้ ปน็ เพอ่ื นตลอดจนกระทง่ั วนั ตาย”
ชยสาโร ภกิ ขุ

ในวาระฉลองพุทธชยันตี ๒๖๐๐ ปีแห่งการตรัสรู้ของพระพุทธองค์
พุทธศักราช ๒๕๕๕ ที่แมจ้ ะมโี รคาพาธอย่างใหญ่หลวง พระเดชพระคณุ
ทา่ นเจา้ คณุ อาจารยไ์ ดว้ ริ ยิ ะพากเพยี รปรบั ขยายตน้ ฉบบั ใหมอ่ ยา่ งสมบรู ณ์
พร้อมดัชนีสำ�หรับสืบค้น ทั้งรูปแบบหนังสือเล่มและดิจิตอลไฟล์ มี
ความยาว ๑,๓๖๐ หน้า เป็นการถวายพระอนุโมทนาพระราชกุศลใน
มหามงคลสมัย เฉลมิ พระชนมพรรษา ครบ ๗ รอบ ๘๔ พรรษา
๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ และเปน็ ธรรมทานในกาลบรรจบ ๒๖ ศตวรรษแห่ง
การประดษิ ฐานพระพุทธธรรม นับแต่บรรลพุ ระโพธญิ าณและการแสดง
พระปฐมเทศนาของพระสัมมาสมั พทุ ธเจา้ ซึง่ ขยายจากฉบบั เดมิ แรกเริ่ม
เพยี ง ๒๐๖ หน้า กระทั่งฉบับพมิ พค์ รัง้ ที่ ๓๑ มี ๑,๒๑๒ หนา้ เพ่มิ อกี
๑๔๘ หน้า ทำ�ใหม้ คี วามหนาและอาจเป็นทีว่ ิตกหว่นั เกรงไม่กลา้ หยิบอา่ น
ของผูส้ นใจใฝ่เรียนรูท้ งั้ หลาย

๐๐6 ตามรอยพุทธธรรม

ในขณะทต่ี ลอดเกอื บกง่ึ ศตวรรษทผ่ี า่ นมา หนงั สอื เลม่ นไ้ี ดม้ บี ทบาทหนา้ ท่ี
สำ�คัญในการช่วยให้ใครต่อใครได้เข้าถึงพุทธธรรม อันเป็นกุญแจไข
ความหมายของชีวิตและความสุขแท้ อย่างไม่มีขีดคั่นจำ�กัดเพศ วยั
ชนชน้ั และฐานะ ดงั ทบ่ี รุ ษุ นริ นามทา่ นหนง่ึ โพสตใ์ นสงั คมออนไลนว์ า่ “ใคร
ยังไม่เคยอ่าน ลองหาเวลาอา่ นดู... พทุ ธธรรม เป็นหนงั สอื ที่ท�ำ ให้...บอก
ตวั เองว่า เปน็ โชคดคี รงั้ ใหญ่ในชีวิต... ที่ได้อ่านหนังสอื เลม่ นจ้ี บ... บางที
คุณอาจจะมองข้ามโอกาสท่จี ะโชคดี โดยไม่ตอ้ งส่งไปชงิ รางวัล”

มอเตอร์ไซค์รับจ้างท่านหนึ่งบอกว่า “...อ่าน พุทธธรรม... แต่ก็ไม่ได้
ละเอยี ดนัก... ได้สัจธรรมของชีวติ สัจธรรมของธรรมะ แลว้ กส็ จั ธรรม
ของคน... หลังจากได้ศึกษา... สุขุมขึ้น กล้าหาญขึ้น เด็ดเดี่ยวในการ
เผชิญกบั ปัญหาตา่ งๆ สมมติว่า... นอนหลับไป แลว้ พร่งุ นตี้ น่ื ขนึ้ มาเปน็
ศูนยอ์ กี นี่ ชีวติ รับไดไ้ หม รบั ได.้ ..”

ดไี ซเนอร์คนหนงึ่ บอกว่า “พทุ ธธรรม ทำ�ให.้ .. ระลึกถึงคณุ ของพระพทุ ธ
พระธรรม พระสงฆ์ ได้มากกว่าพระพทุ ธรปู งดงามทีต่ ั้งอยู่เสียอีก...”

พนกั งานขายวยั รนุ่ คนหนงึ่ บอกวา่ “โชคดที ่ี... อายุยงั น้อยแลว้ เจอเล่มนี้
ได้เปรียบ... เพราะรูแ้ ลว้ วา่ อะไรของแท้ อะไรของปลอม ความสขุ แท้
ความสขุ ปลอม... อ่าน พุทธธรรม ๓ รอบแลว้ ... แตค่ ำ�ตอบที่ได้ไม่เคย
ซ�้ำ เลย... ถา้ ยังตอ้ งมเี กิดอีก ...ก็ขออา่ น พทุ ธธรรม อีก อ่านจนกวา่ จะ
ไม่ตอ้ งเกิด...”

เจา้ ของกจิ การท่านหน่งึ บอกวา่ “...อา่ น พุทธธรรม ด้วยการก�ำ หนด
ประโยชน์ ใช้วธิ ีเลอื กอา่ น ไมไ่ ดอ้ า่ นหนา้ แรกยนั หน้าสุดทา้ ยนะ เพราะ
พทุ ธธรรม ไมใ่ ช่หนังสืออา่ นรวดเดียว... อ่านเล่มน้ตี ง้ั แตส่ ารบัญ ...เป็น
กวีตงั้ แตส่ ารบัญ มนั งดงามตง้ั แตต่ รงนั้นแลว้ นะ”

ตามรอยพุทธธรรม ๐๐7

ผ้บู ริหารกจิ การระดบั ชาตทิ ่านหนงึ่ บอกว่า “ถา้ ไม่เคยได้อ่าน พทุ ธธรรม
...จะไม่เคยรเู้ ลยว่า ...ไมร่ ูอ้ ะไรเลย! เพราะคิดวา่ รู้แล้ว ... แต่จริงๆ เรา
ไมร่ ้อู ะไรเลยในฝัง่ ทมี่ นั เก่ยี วกับตวั เอง เกี่ยวกับชีวิตนี่ เราไม่รอู้ ะไรเลย
จรงิ ๆ เหมือนท่ีเขาเปรียบเปรยว่า อยู่ในหอ้ งมดื ถ้าไม่มคี นจุดไฟแชก็
มันไม่เห็นหรอก ก็มืดอยู่อย่างนั้น แล้วไม่รู้ว่ามืดด้วย... พออ่านบทแรก
เออ เฮ้ย ! ชวี ิตมนั คอื อะไร ผมกลับตอบไมไ่ ด้ กม็ าถงึ บางอ้อวา่ จรงิ ๆ
เราไม่รู้”

มีบคุ คลทีใ่ ช้ชื่อว่า Rising Sun โพสต์ในเวบ็ ไซต์ว่า “...พุทธธรรม
ค่อนข้างอ่านยากสำ�หรับคนไม่คุ้นเคย เพราะในหนังสือเต็มไปด้วย
ศัพทบ์ าลี หากพบว่า พุทธธรรม ยากไปส�ำ หรับคณุ ลองหาเลม่ อืน่ ที่
เขยี นวชิ าการนอ้ ยกว่านอ้ี า่ นไปก่อน... พอพ้ืนฐานเริม่ แนน่ แล้วกลบั มา
อ่าน พุทธธรรม อกี ครงั้ จะอา่ นง่ายกวา่ เดมิ แล้วจะพบว่า พทุ ธธรรม
ให้อะไรหลายๆ อย่างทีเดยี ว...”

โจทย์จึงมีว่า จะทำ�อย่างไรให้คนที่ยังไม่คุ้นเคย เห็นว่ายาก เห็นว่า
ลำ�บาก เหน็ วา่ หนาและหนักเกินก�ำ ลงั ได้ลองอา่ นอย่างย่นย่อ ก่อฉันทะ
ในการหยิบอ่านฉบับใหญ่ ที่ท่านปรับขยายไว้อย่างสมบูรณ์ยิ่งนี้ ให้
กวา้ งขวางและก่อประโยชน์ต่อชีวิต ชุมชน และสังคม สมกับคุณค่า
แห่งพระพทุ ธศาสนา ทพี่ ระพทุ ธองค์ทรงตรสั รู้และเมตตาเผยแผ่ส่งั สอน
สืบมา จนบรรพชนคนไทยไดส้ บื สานเป็นศาสนาประจ�ำ ชาติ และไดช้ ื่อว่า
เป็นศูนย์กลางแห่งพระพุทธศาสนาของโลก ก่อนที่ฉบับแปลเป็นภาษา
ตา่ งๆ จะถูกอ่านใช้อยา่ งกว้างขวางกวา่ ในนานาประเทศท่ัวทั้งโลก

กองทนุ เกื้อโลก (ป. อ. ปยุตฺโต) และ หอจดหมายเหตุพทุ ธทาส อิน-
ทปัญโญ ได้รับเมตตาและฉันทานุมัติจากพระเดชพระคุณท่านเจ้าคุณ
อาจารย์ใหจ้ ดั ท�ำ หนังสือ ‘ตามรอยพทุ ธธรรม’ นีข้ ึน้ ด้วยเหตุนี้ โดยมติท่ี
ตง้ั ไวว้ ่า มิสามารถทำ� ฉบบั ย่อ ได้ เพราะพระเดชพระคุณท่านได้จัดทำ�
อยา่ งดยี ง่ิ แล้วจากพระไตรปิฎกท้งั ๔๕ เล่ม

๐๐8 ตามรอยพุทธธรรม

‘ตามรอยพทุ ธธรรม’ น้ี จึงเป็นเพียงหนังสือ ‘พทุ ธธรรม เล่มนอ้ ย’ เพอ่ื ให้
ทา่ นทงั้ หลายไดล้ องอา่ น โดยวางต�ำแหนง่ ใหเ้ ปน็ หนังสอื น�ำรอ่ งของคน
เริ่มสนใจ ‘พทุ ธศาสนา’ คนท่ตี อ้ งการ ‘คน้ หาค�ำตอบเรอ่ื งชีวติ เปา้ หมาย
และแนวทางการด�ำเนินชีวิต’ ได้เลือกใช้หนังสือ ‘พุทธธรรม ฉบบั
ปรับขยาย’ ทีไ่ ดร้ บั การยอมรบั อย่างทั่วไปทง้ั ในประเทศและทั้งโลก ว่าให้
ค�ำตอบได้ โดยได้รับเมตตาจาก ๒ มหาเถระผู้อุปัฏฐากพระเดช
พระคณุ ท่านเจา้ คุณอาจารย์ เป็นท่ปี รกึ ษาอยา่ งใกล้ชดิ ประกอบด้วย
๔ ส่วนส�ำคัญคือ ความเป็นมาของหนังสือ ‘พุทธธรรม’ ตั้งแต่เร่ิมแรก
จนถึงฉบับปรับขยายน้ี ภาพรวมของเน้ือหา ความคิดเห็นของคนรุ่น
ใหมๆ่ ทีไ่ ดใ้ ชห้ นังสือเล่มน้ี โดยมสี ว่ นทพี่ เิ ศษสุดคือ ‘บทสัมภาษณ์วิเศษ’
ท่ีพระเดชพระคุณท่านเจ้าคุณอาจารย์เมตตามอบให้เป็นกรณีเฉพาะ
ในโอกาสนี้

ขอกราบขอบพระคณุ พระเดชพระคุณทา่ นเจา้ คณุ อาจารย์ พระพรหม-
คณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ตลอดจนพระมหาเถรานเุ ถระ ครูบาอาจารย์
ตลอดจนนานากัลยาณมติ ร ท่ีร่วมกันสรา้ งสานหนังสือ ‘พุทธธรรม’ เปน็
ล�ำ ดบั มา จนสง่ ใหเ้ กดิ หนงั สอื เลม่ น้ี เพอ่ื การสง่ เสรมิ การเขา้ ถงึ ซง่ึ พุทธธรรมที่
องค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ประดิษฐาน และเผยแผ่สั่งสอนสืบมา
ถงึ พวกเราท้ังหลาย ในปที ่ี ๒,๖๐๐ ปนี ้ี.

กองทนุ เก้อื โลก (ป. อ. ปยุตโฺ ต)
หอจดหมายเหตุพุทธทาส อนิ ทปญั โญ
พฤษภาคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๕

ตามรอยพุทธธรรม ๐๐9

สารบัญ

๐๐๖

ค�ำ นำ�

๐๑๙

สาส์นจากท่านเจ้าคุณฯ

๐๒๓

๔ ทศวรรษ หนังสือธรรมแหง่ ชีวิต

๐๓๕

อ่าน

๐๗๐

ธรรมะไมใ่ ชแ่ ฟชั่น นิพพานไม่มีขาย

๐๗๔

ลายแทงแหง่ สุขแท้ : พระมหาวุฒิชยั วชริ เมธี

๐๘๔

กัลยาณมิตรในยุคเฟซบ้คุ

๐๘๖

ก่ออฐิ หรือ สร้างวหิ าร

๐๙๐

๔ ปแี หง่ อุตสาหะ น�ำ พทุ ธธรรม สดู่ ิจิตอลไฟล์ : นายแพทย์ ณรงค์ เลาหวริ ภาพ

๐10 ตามรอยพุทธธรรม

๐๙๔

ทางลัดของชวี ติ : สิทธศิ กั ดิ์ ทยานุวฒั น์

๑๐๐

เกิดดบั ๆๆๆ เทา่ น้ันเอง

๑๐๒

ตนื่

๑๑๐

คิดเห็น

๑๑๔

พระท่านว่า

๑๒๖

บทสัมภาษณว์ เิ ศษ

๑๖๔

พระผเู้ ป็นปราชญแ์ ท้ พระพรหมคณุ าภรณ​์ (ประยุทธ์ ปยตุ ฺโต)

๑๖๘

เรอื่ งเลา่ รอบชวี ิต วิถปี ราชญ์

๑๗๗

บรรณานุกรม

ตามรอยพุทธธรรม ๐11

12 ตามรอยพุทธธรรม

พระพุทธเจ้า
ทรงค้นพบ
พระธรรม
ในธรรมชาต.ิ ..
จึงบงั เกดิ เป็น
‘พทุ ธศาสนา’
ในกาลต่อมา

ตามรอยพุทธธรรม ๐13

14 ตามรอยพุทธธรรม

ธรรมะ มีอยูแ่ ล้วในธรรมชาติ เป็นกฎของธรรมชาติ
องคส์ มเดจ็ พระสมั มาสมั พุทธเจา้ มิไดท้ รงบัญญตั ิ หรือสรา้ งข้นึ ใหม่
เพยี งแตพ่ ระองค์ทรงฝกึ ฝนอบรมตนจนตรสั รู้แจ้งในธรรมชาติ
แลว้ จงึ น�ำ มาเผยแผ่ให้แกห่ มู่ชนทยี่ งั วนเวียนอยูใ่ น ‘ทกุ ข์’
ให้ไดเ้ จรญิ รอยตามบนหนทางแห่งการ ‘ดบั ทกุ ข’์ และ ‘เปน็ สุข’
เพ่ือกระท�ำ หนา้ ท่ีที่ถูกตอ้ งครง้ั หน่งึ ของการเกิดมาเป็นมนุษย์
เปน็ ชาวพทุ ธทพ่ี บพระพุทธศาสนา
พุทธศาสนา เป็นศาสนาของผ้รู ูแ้ จง้ เป็นศาสนาท่ีเช่ือมน่ั
ในศักยภาพของมนุษยว์ า่ ทกุ คนสามารถพฒั นาจิตใจไปสู่
ความเปน็ มนษุ ย์ท่สี มบรู ณ์พรอ้ มไดด้ ว้ ยความเพียรของตน
หลกั ธรรมคำ�สอนจึงมุง่ สอนให้มนุษย์หลดุ พน้ จากความทกุ ขท์ ง้ั ปวง
ในโลกด้วยปญั ญา และอยกู่ ับความทกุ ข์อย่างรูเ้ ท่าทนั
ตามความเป็นจรงิ โดยมวี ตั ถุประสงคส์ งู สดุ คอื การหลดุ พ้น
จากความทกุ ขท์ ัง้ ปวง จากวัฏจักรเวียนวา่ ยตายเกดิ
เฉกเดยี วกับที่องคพ์ ระศาสดาทรงหลุดพ้นไดด้ ว้ ยก�ำ ลงั สตปิ ญั ญา
และความเพยี ร ซ่ึงเป็นผูห้ ลดุ พน้ ในฐานะของมนษุ ยป์ ถุ ุชน
มใิ ช่เทพเจา้ หรอื ทตู ของพระเจ้าองคใ์ ด

ตามรอยพุทธธรรม ๐15

16 ตามรอยพุทธธรรม

ตามรอยพุทธธรรม 17

18 ตามรอยพุทธธรรม

สาส์นจากท่านเจ้าคุณฯ

...อาตมา ผู้เขียนหนังสือนี้อย่างเป็นนักศึกษาผู้หนึ่ง
ทำ�หน้าที่เป็นผู้ไปสืบค้น รวบรวมเอาเนื้อหาทั้งหลายของหลักธรรม
มาส่งวางให้แก่ผู้อ่าน ถ้าสิ่งที่นำ�มาส่งวางให้นั้นเป็นของแท้
หยิบมาถูกต้อง ผู้นำ�ส่งก็หมดความรับผิดชอบ จะหายตัวไปไหนก็ได้
ผู้ได้รับไม่ต้องนึกถึง ไม่ต้องมองที่ผู้นำ�ส่งอีกต่อไป
และถ้าผู้เขียนได้นำ�เอาตัวหลักพุทธธรรมมาแสดงแก่ผู้อ่านได้สำ�เร็จ
ก็เหมือนกับได้พาผู้อ่านเข้าไปเฝ้าพระบรมศาสดาเองแล้ว
ผู้อ่านก็ไม่ต้องเกี่ยวข้องกับผู้เขียนอีกต่อไป
ผู้อ่านพึงตั้งใจสดับและพิจารณาพุทธธรรม ที่แสดงโดยตรง
ออกมาจากพระโอษฐ์ของพระบรมศาสดานั้นอย่างเดียว…
พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต)

ตามรอยพุทธธรรม ๐19

20 ตามรอยพุทธธรรม

ตามรอยพุทธธรรม 21

22 ตามรอยพุทธธรรม

๔หทธรศนรัวงมสรแรือษห่งชีวิต

พทุ ธธรรม ปกรณ์พระไตรปิฎกรว่ มสมยั
ธรรมนพิ นธ์ช้นิ เอกท่ามกลางมรดกธรรมกว่า ๓๐๐ เลม่
ท่ี พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต)
รังสรรค์และใชเ้ วลาปรับขยายมาตลอดช่วงชวี ิต
แหง่ เพศบรรพชิตของพระผ้เู ปน็ ปราชญแ์ ท้

ตามรอยพุทธธรรม ๐23

พุทธธรรม เกิดจากการเรียบเรียงรวบรวมหลักธรรมใน

พระไตรปฎิ กมากถึง ๔๕ เลม่ ทงั้ อรรถกถาและฎกี าในทุกแงท่ กุ
มุมที่เป็นสาระสำ�คัญ ให้มารวมอยู่ในหนังสือธรรมเล่มนี้เพียง
เล่มเดียว โดยมงุ่ แสดงขอบเขต ประมวลจัดเรยี งค�ำ ตรสั แสดง
ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าไว้อย่างเป็นระบบระเบียบ เข้าหมวด
หมู่พระธรรมอย่างกระจา่ งแจ้ง จนเป็นท่ยี อมรับวา่ หนงั สือธรรม
เลม่ นแ้ี สดงหลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนาเถรวาทไดอ้ ยา่ งซอ่ื ตรง
ตอ่ พระไตรปิฎกเปน็ อยา่ งยิง่ ดงั นนั้ การไดอ้ า่ น พุทธธรรม จึง
เสมือนนั่งลงฟังคำ�ตรัสสอนจากพระโอษฐ์ของพระบรมศาสดา
นั่นทีเดยี ว ซึง่ พอ้ งกบั เจตนาของท่านผนู้ พิ นธ์ทีน่ ้อมตนเป็นเพยี ง
ผู้ส่งสารแห่งสัจจะอันประเสริฐของพระพุทธองค์เช่นกัน อีก
ทั้งหนังสือธรรมเล่มนี้ยังคงสถานะเป็นหนังสือศึกษาอ้างอิงทาง
พุทธศาสนา ท่ีวา่ ด้วยเร่ืองพระไตรปิฎกเล่มสำ�คญั ทีส่ ดุ ร่วมสมยั
ที่สุด นบั แต่ ‘วิสทุ ธิมรรค’ ของท่านพทุ ธโฆษาจารย์ พระอรรถ-
กถาจารยใ์ นยคุ โบราณแห่งศรีลังกา เมอ่ื รว่ ม ๑,๕๐๐ ปีก่อน

ภูมริ ้ภู มู ิธรรม ความสมสมยั ครอบคลมุ แกน่ ธรรมอยา่ งกระจ่าง
แจ้งแทงตลอด พากเพียรอย่างยิ่งยวด ศรัทธาอย่างแรงกล้า
อธิษฐานที่ตั้งมั่น พร้อมทั้งออกแบบวางแผนการเขียนอย่าง
ละเอยี ดรอบคอบของทา่ นผู้นพิ นธ์ ทำ�ให้ พุทธธรรม ทำ�หน้าท่ี
เป็นปกรณ์ที่เพียบพร้อมและทรงคุณค่ายิ่ง มีคุณูปการเพื่อการ
ศึกษาคน้ คว้าอา้ งอิงแง่พระธรรมค�ำ สอน สมดงั ค�ำ กลา่ วยกยอ่ ง
ให้ พุทธธรรม เป็นดัง ‘เพชรน�ำ้ เอก’ แห่งวงการพทุ ธศาสนาไทย
และพุทธศาสนาโลก

๐24 ตามรอยพุทธธรรม

ทา่ นผ้นู ิพนธ์ตัง้ คำ�ถามพน้ื ๆ รอบชีวติ ด้วยกนั ๖ ค�ำ ถาม ทวา่
กระแทกกระทั้นไปยังหัวจิตหัวใจของผู้อ่าน กระตุ้นเร่งเร้าให้
อยากสืบค้นในคำ�ตอบ – ชีวิตคืออะไร? ชีวิตเป็นอย่างไร?
ชีวติ เป็นไปอยา่ งไร? ชีวิตควรใหเ้ ป็นอยา่ งไร? ชวี ิตควรเป็น
อยอู่ ย่างไร? และ ชีวติ ที่ดีเปน็ อยา่ งไร? – คำ�ถามท่ีดูเหมอื น
ไมย่ ากนี้ หากค�ำ ตอบท่ีถกู ตอ้ งและเป็นสาระจริงแทข้ องชีวติ กลับ
ไมง่ า่ ยเลย ในทางตรงกันขา้ ม การศกึ ษาขอ้ ธรรมเพ่ือให้ได้มาซึ่ง
ประทปี สอ่ งทางชวี ติ นัน้ งา่ ยเสยี ยิ่งกวา่ ง่าย เพราะไมจ่ ำ�เปน็ ต้อง
แสวงหาเคร่ืองไมเ้ ครื่องมือใดๆ หากใช้ตวั เรา ชวี ติ ของเราน่ีละ่
ที่จะเปน็ เครื่องพิสูจน์เพ่ือสืบค้นค�ำ ตอบ

ข้อธรรมคำ�สอนที่สัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสแสดงไว้แล้วนั้น เป็น
อกาลโิ ก (ไม่ขึ้นกับกาลเวลา พร้อมเม่อื ใด บรรลไุ ด้ทันท)ี เปน็
เอหิปสฺสิโก (เชิญชวนให้มาพิสูจน์ เพราะเป็นของจริงและดี
จรงิ ) เป็น โอปนยโิ ก (ควรน้อมเข้ามาไวใ้ นใจ ด้วยการปฏิบัติ
ใหเ้ ข้าไปถงึ เป้าหมาย คอื นิพพาน) และเป็น ปจฺจตฺตํ เวทติ พฺโพ
วญิ ญฺ ูหิ (อันวญิ ญูชนพงึ รู้ได้เฉพาะตน)

แม้กาลเวลาล่วงมาถงึ ๒,๖๐๐ ปี ยงั สามารถน้อมน�ำ มาประพฤติ
ปฏบิ ัติให้บงั เกิดผล ท�ำ ใหช้ ีวิตเปน็ สุขแท้ ท้งั แก่สว่ นบคุ คล สังคม
ประเทศชาติ และมวลมนุษยชาติ สมควรยิ่งท่หี มพู่ ุทธศาสนกิ ชน
ผ้ใู ฝ่รูพ้ ระพุทธศาสนา พึงมมี รดกธรรมเลม่ น้ไี วป้ ระจำ�บา้ น หรือ
แมแ้ ตป่ ระจำ�ตวั ไว้เปิดอา่ นไขขอ้ ขอ้ งใจ เพือ่ ให้ชวี ิตที่เหลืออยู่ได้
กา้ วเดนิ บนหนทางอนั ประเสรฐิ ใหส้ มกบั การเกดิ มาเปน็ ชาวพทุ ธ
ที่พบพระพุทธศาสนา ให้สมกับการเกิดมาในดินแดนที่ได้ชื่อว่า
เป็นศนู ยก์ ลางแหง่ พระพทุ ธศาสนาโลก และให้สมกบั การเกดิ มา
เปน็ มนษุ ย์ในชาตินี้

ตามรอยพุทธธรรม ๐25

พุทธธรรม ฉบับเดิม เม่ือ ๔๐ ปที แ่ี ลว้ หนงั สือ พุทธธรรม พมิ พ์เสรจ็ เปน็ เลม่ คร้ังแรก รวม
พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย อยู่ในหนังสือชุด วรรณไวทยากร ชุมนุมบทความทางวิชาการ โครงการตำ�รา
(พ.ศ. ๒๕๕๕) สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย จัดพิมพ์
ถวาย พระเจา้ วรวงศ์เธอ กรมหม่นื นราธปิ พงศ์ประพนั ธ์ ในโอกาสท่พี ระชนม์ครบ
๘๐ พรรษาบรบิ รู ณ์ ณ วนั ท่ี ๒๕ สิงหาคม ๒๕๑๔ ขณะนนั้ พระพรหมคณุ าภรณ์
ด�ำ รงสมณศกั ดิเ์ ปน็ พระศรีวิสุทธโิ มลี

พุทธธรรม เริม่ ตน้ จากขอ้ เขียนเพียง ๒๐๖ หน้า ในฐานะบทความทาง
วิชาการคราวน้นั โดยอาจารยส์ ลุ ักษณ์ ศวิ รกั ษ์ เลขานกุ ารโครงการฯ เปน็ ผู้นมิ นต์
ให้เขียนบทความเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา เนื่องด้วยเล็งเห็นความเป็นเลิศในพระ
ปริยตั ศิ ึกษา สติปัญญาเนกขัมปฏิปทาของท่านผ้นู ิพนธ์ ตอ่ มา พุทธธรรม ได้รบั
การปรบั ขยายเพ่มิ จำ�นวนหน้าข้ึนเป็นหนงั สอื เล่มใหญ่ ศ.ดร. ระวี ภาวิไล ไดข้ อ
ใช้หนังสือธรรมเล่มนี้เพื่อเป็นคู่มือศึกษาพุทธศาสนา เมื่อครั้งก่อตั้งธรรมสถานที่
จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั และกล่าวอย่างเชื่อม่ันวา่ พุทธธรรม จกั เป็นรากฐาน
ความเจรญิ ก้าวหนา้ ในการศกึ ษาค้นควา้ ทางพุทธศาสนาสบื ไปในอนาคต

ปี พ.ศ. ๒๕๒๕ ศ.ดร. ระวี ภาวิไล จงึ ไดร้ ่วมกบั คณะระดมธรรม ขอ
จัดพิมพ์ พุทธธรรม ฉบับปรับปรุงและขยายความ แล้วเสร็จเป็นเล่มในวโรกาส
แห่งการสมโภชกรุงรัตนโกสนิ ทร์ ๒๐๐ ปี จากนั้น พุทธธรรม ได้รับการพิมพ์ซ�้ำ
ตามธรรมวาระต่างๆ อยา่ งต่อเน่อื ง โดยท�ำ การปรบั ปรุงและขยายความเพม่ิ เตมิ
คร้งั ล่าสุด รวมจ�ำ นวน ๑,๓๖๐ หน้า ต้นฉบบั แล้วเสร็จในชว่ งวันเฉลมิ พระชนม
พรรษา ครบ ๗ รอบ ๘๔ พรรษา วันท่ี ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ ซ่งึ ทา่ นผู้นพิ นธข์ อ
ถือความสำ�เร็จแห่งหนังสือธรรมนี้ เป็นการถวายพระอนุโมทนาพระราชกุศลใน
มหามงคลสมัยอันพิเศษ ในการนี้ได้จัดเรียงพิมพ์ข้อมูลฉบับปรับขยายในรูปแบบ
ดิจิตอลไฟลเ์ ป็นครงั้ แรก ดว้ ยการอนุโมทนาการทำ�งานของหลายฝา่ ย และดำ�เนิน
การพมิ พ์ในนาม กองทนุ ป. อ.ปยตุ โฺ ต เพือ่ เชิดชธู รรม ลุล่วงเผยแผ่เปน็ ธรรมทาน
ในเดือนมีนาคม ๒๕๕๕ อันเป็นกาลบรรจบ ๒๖ ศตวรรษแห่งการประดิษฐ์
พระพุทธธรรม นับแต่การบรรลุพระโพธิญาณและการแสดงพระปฐมเทศนาของ
พระสมั มาสมั พุทธเจ้า

หนงั สือ พุทธธรรม ไดร้ ับการยกยอ่ งใหเ้ ป็น ‘หน่ึง ในหนังสอื ดี ๑๐๐ เล่มท่คี นไทยควรอ่าน’
ในหมวดศาสนา-ปรัชญา ประจ�ำ ปี พ.ศ. ๒๕๔๑ คดั เลอื กโดยคณะกรรมการ ส�ำ นักงาน
กองทุนสนบั สนนุ การวจิ ยั (สกว.)

๐26 ตามรอยพุทธธรรม

พทุ ธธรรม เพอ่ื โลก

ดร. Grant Olson แหง่ มหาวทิ ยาลยั
คอรเ์ นลล์ (Cornell University)
ผู้ได้รบั ทนุ จากมลู นิธิ จอหน์ เอฟ.
เคนเนดี (John F. Kennedy
Foundation) ใช้เวลาถึง ๑๐ ปเี ศษ
จึงพิมพเ์ ผยแพร่ Buddhadhamma
: Natural Laws and Values
for Life ใน พ.ศ. ๒๕๓๘ |
คณุ Bruce Evans ผรู้ ว่ มงานกบั
มูลนิธิพุทธธรรม จัดแปล พุทธธรรม
ครบเลม่ โดยพมิ พเ์ ผยแผ่บท
‘ปฏิจจสมปุ บาท’ และ ‘กรรม’ ใน
ปลาย พ.ศ. ๒๕๔๙ | พระสรุ ิโย
(Suriyo Bhikkhu) เจา้ อาวาสวดั ใน
ประเทศอังกฤษ (Abbot of Har-
tridge Monastery, Devon, UK)
ไดแ้ ปลหลายบทใน พุทธธรรม อาทิ
บท ‘ไตรลักษณ’์ ‘ปฏิจจสมุปบาท’
และ ‘นิพพาน’ และเม่ือพระสุริโย
ลาสกิ ขาบท ครองเพศคฤหสั ถเ์ ป็น
คุณ Robin Moore แล้ว ก็ยังคง
ท�ำ งานแปลหนังสือธรรมเลม่ นี้
อย่างต่อเน่อื ง อกี ทงั้ พทุ ธธรรม
ยังไดร้ ับการแปลเปน็ ภาษาญ่ีปุน่ โดย
คุณ Koichi Nonaka ยังผลให้
พระธรรมคำ�สอนจากการคดั
เรยี งของ พระพรหมคุณาภรณ์
ทเ่ี คยจ�ำ กดั ไว้ดว้ ยภาษาไทย
ถกู เผยแผ่ไปยงั ผ้ทู สี่ นใจในชนชาติ
และภาษาอ่ืน

ตามรอยพุทธธรรม 27

28 ตามรอยพุทธธรรม

พระพทุ ธศาสนา
เปน็ ศาสนาแหง่ การกระท�ำ
เปน็ ศาสนาแห่งความเพยี รพยายาม
ไมใ่ ชศ่ าสนาแหง่ การออ้ นวอนปรารถนา
หรอื ศาสนาแหง่ ความห่วงหวังกงั วล
การสง่ั สอนธรรมของพระพุทธเจา้
ทรงม่งุ ผลในทางปฏบิ ัติ
ให้ทุกคนจัดการกบั ชีวติ
ทีเ่ ปน็ อยู่จริงๆ ในโลกนี้
และเริ่มแต่บดั นี้

ตามรอยพุทธธรรม ๐29

?

30 ตามรอยพุทธธรรม

เกิดมาทำ�ไม?
อยากนพิ พานผิดหรือไม?่
วปิ ัสสนาทำ�อยา่ งไร?
นงั่ สมาธแิ ล้วได้อะไร?
สวดมนตภ์ าษาบาลี
แปลไมอ่ อก ฟงั ไมเ่ ขา้ ใจ
แล้วสวดกนั ไปเพ่ืออะไร?
พระเครอ่ื งศกั ดส์ิ ิทธิ์ท�ำ ให้
แคล้วคลาดไดจ้ รงิ ไหม?
บุญสะสมเผอื่ ชาติหน้าได้จริงหรือ?

ตามรอยพุทธธรรม ๐31

?

แกก้ รรมท�ำ ได้หรือไม่?
ทำ�ไมคนเราเกิดมาไมเ่ ท่ากนั
เปน็ เพราะกรรมแตช่ าติก่อนใช่ไหม?
พุทธชยนั ตี แปลว่าอะไร?
ปริยตั ิ ปฏิบัติ ปฏเิ วธ คืออะไร?
อะไรคือ ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ?์
ตายแลว้ ไปไหน?

๐32 ตามรอยพุทธธรรม

ปัจจบุ นั น้ี ปัญหาส�ำคัญยิ่งอยา่ ง
หน่ึง ซง่ึ ปรากฏชดั ในสังคม คอื
การท่คี นมากมายเป็นชาวพทุ ธกนั
เพยี งในนาม โดยไมม่ ที ั้งความรู้
และการปฏบิ ตั ิของชาวพุทธ
สภาพเชน่ นเี้ ปน็ เหมอื นเมฆหมอก
ที่บดบังแสงสวา่ งและความงาม
แหง่ คุณคา่ ของพระพทุ ธศาสนา
นอกจากตัวบคุ คลนั้นจะไม่เจริญ
งอกงามในธรรมแลว้ สงั คมก็
สญู เสียประโยชนม์ ากมายที่พึง
ได้จากพระพุทธศาสนา

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต)

ตามรอยพุทธธรรม 33

๐34 ตามรอยพุทธธรรม

อ่าน

ถ้าลองยก อุโบสถ ช่อฟ้า ใบระกา ทองคำ�เปลว
อ่างน�ำ้ มนต์ กระบอกเซยี มซี และพระพุทธรูปองค์โตทสี่ ดุ
ในโลก ออกเสีย ลองไมว่ อกแวกไปกบั เปลอื ก
ของศาสนจารตี ท่ถี ูกผสมผสานนานเน่อื ง
เราคงไดย้ ้อนเหน็ พระสงฆส์ าวกของพระพทุ ธเจ้า
ผูท้ ่ีปฏบิ ตั ดิ ปี ฏบิ ตั ิชอบ มีวัตรปฏิบัติเรียบง่ายงดงาม
ไดย้ ้อนเห็นพระธรรมอันเป็นทีต่ ง้ั ให้ยดึ มัน่ ไม่ไหวเอน
และได้ย้อนเห็นเส้นทางสายเกา่ แก่เดมิ แท้
ที่มุ่งสู่หัวใจของพระพทุ ธศาสนาอยา่ งลดั ตรงทส่ี ุด

ตามรอยพุทธธรรม ๐35

ธคคครอืืออื รมธคธะรวรรราคมมมือชดจาราอติงะิ ไร?
ธคอรื รตมัวชกาฎตขิ อง

ธรรมะ คือ คำ�สอนสง่ั
ชี้แสดงของพระพทุ ธเจา้

36 ตามรอยพุทธธรรม

พระธรรมในธรรมชาติ ธรรมดา หากต้องมีความวิเศษอัศจรรย์
ซ่อนอยู่ในพุทธธรรมของพระพุทธเจ้าเป็นแน่ ถึงได้น�ำพาพระพุทธ-
ศาสนา ข้ามกาลเวลามาจนครบ ๒,๖๐๐ ปีในปนี ้ี

พระพรหมคุณาภรณ์ ส่งผ่านแก่นแท้แห่งพระไตรปิฎก ด้วยภาษา
และบรบิ ทท่ีร่วมสมัย ที่คนทัว่ ไปสามารถเปิดอา่ นข้อธรรมะใน พุทธ-
ธรรม เพอ่ื คน้ หาความหมายและความจรงิ สงู สดุ ของชวี ติ ศกึ ษาแกน่
ของความเปน็ พทุ ธะ และรบั เอาเขม็ ทศิ การครองชวี ติ ไปใชอ้ ยา่ งรเู้ ทา่
ร้ทู ัน เพ่อื ความสุข สะอาด สว่าง สงบ เย็น และเป็นอสิ ระ ซ่ึงล้วน
เปน็ ส่ิงทสี่ ามารถสัมผสั รับรู้ได้ในชาตนิ ี้

แล้วหนังสือธรรมท่ีมีจ�ำนวน ๑,๓๖๐ หน้า
ความหนาราวหมอนหนุนนี้ ประกอบด้วยอะไร?

ตามรอยพุทธธรรม 37

ลกั ษณะทว่ั ไป ๓แบง่ ออกเป็น ภาค ดงั นี้
พทุ ธธรรม
ฉบบั ปรบั ขยาย

๑ ภาค มัชเฌนธรรมเทศนา

ภาคสจั ธรรม วา่ ดว้ ยความเปน็ จรงิ ทเ่ี ปน็ อยโู่ ดยธรรมชาติ สภาวะ
ของส่งิ ทงั้ หลาย หรอื ธรรมชาตแิ ละความเปน็ ไปโดยธรรมดาของ

ส่งิ ท้ังหลาย เปน็ กฎธรรมชาติ เปน็ กฎธรรมดา

ชีวิต คืออะไร?

ชีวติ เปน็ อย่างไร?

ชวี ิต เปน็ ไปอยา่ งไร?

ชวี ิต ควรใหเ้ ปน็ อยา่ งไร?

๐38 ตามรอยพุทธธรรม

๒ ภาค มัชฌมิ าปฏปิ ทา

ภาคจรยิ ธรรม วา่ ดว้ ยการถอื เอาประโยชนจ์ ากความรคู้ วามเขา้ ใจ
ในสภาพและความเป็นไปของสิง่ ทง้ั หลาย นำ� ความรูค้ วามเข้าใจ

เกย่ี วกบั สภาวะและตวั กฎนนั้ ไปใชป้ ระโยชนใ์ นการประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ

หรือด�ำเนินชวี ิตจริง โดยยึดถือปฏบิ ตั บิ นทางสายกลาง

๓ ชีวิต ควรเปน็ อยูอ่ ย่างไร?

ภาค อารยธรรมวิถี

บทบนั ทกึ พเิ ศษทา้ ยบทเชงิ วชิ าการ เพอ่ื การทำ� ความเขา้ ใจลกึ ซง้ึ
จำ� เพาะเรือ่ ง จำ� นวน ๖ บท

ชวี ติ ทีด่ ี เปน็ อยา่ งไร?

ตามรอยพุทธธรรม ๐39

พระพุทธเถจาา้มตร:สั รอู้ ะไร?
กอฎงขคอ์สงมั ธอมรยารู่ใสมนัมชกพาฎุทตขธิตอเแองจลบธ้าะรพค:รรวมะาชอมางจตครินน์ งิ ั้น้ันทีป่ ตรราสั กรฏู้

40 ตามรอยพุทธธรรม

ตามรอยพุทธธรรม 41

ตรัสรู้ พระธรรม
ตรสั รู้ พระโพธิญาณ พระอนตุ ตรสัมมาสัมโพธญิ าณ

ตรสั รู้ อรยิ สัจ ๔

ตรัสรู้ ไตรลกั ษณ์
ตรสั รู้ อทิ ปั ปัจจยตา

ตรัสรู้ ปฏิจจสมุปบาท
ตรสั รู้ มรรคมีองค์ ๘

42 ตามรอยพุทธธรรม

คือ ความจรงิ
คอื ความร้ใู นสัจธรรม

คอื ความจรงิ อนั ประเสรฐิ ๔ ประการ

คอื ลกั ษณะสามัญ ๓ ประการของสรรพสิ่ง
คอื กฎเกณฑข์ องธรรมชาตทิ ีว่ า่ ด้วย
การอิงอาศัย เปน็ เหตเุ ป็นปจั จัยตอ่ กนั
คอื การอาศยั พร้อมกนั จงึ เกิดมีขึ้น
คอื แนวทางปฏบิ ตั อิ นั ประเสริฐ ๘ ประการ

ตามรอยพุทธธรรม 43

ความจริงสูงสดุ ทกุ ข์
ในพทุ ธธรรม สมทุ ยั

อรยิ สัจ ๔

มรรค

ทุกข์ นโิ รธ โรค
สมุทัย สมฏุ ฐานของโรค
นโิ รธ อปุ มาเหมอื น ความหายโรค
มรรค อุปมาเหมอื น ยารักษาโรค
อปุ มาเหมอื น
อุปมาเหมอื น

ความจริงอันประเสริฐ ๔ ประการ อันเป็นหลักธรรมสำ�คัญ
ที่ครอบคลุมคำ�สอนทั้งหมดในพระพุทธศาสนา ดังพุทธพจน์ที่
เปรียบยกความส�ำ คัญของอริยสจั ๔ ไว้วา่

“ทา่ นผู้มีอายุทัง้ หลาย รอยเท้าของสัตว์ทงั้ หลายทเ่ี ที่ยวไปบนผนื แผน่ ดนิ ท้ังสิ้นท้ัง
ปวง ยอ่ มประชมุ ลงในรอยเทา้ ชา้ ง รอยเท้าช้างนน้ั กลา่ วได้วา่ เป็นยอดเยี่ยม
ในบรรดารอยเท้าเหล่านั้น โดยความมขี นาดใหญ่ฉนั ใด กุศลธรรมทั้งส้ินท้งั ปวง

ก็สง เคราะห ล์ งในอ ริยสจั ๔ ฉันนั้น ” พทุ ธพจน์

๐44 ตามรอยพุทธธรรม

ทุกข์ คือ สภาพที่ทนไดย้ าก ความไมส่ บายกาย ไม่สบายใจ
เมื่อใดก็ตามเกิดอาการยึดติดถือมั่นในภาวะใด สิ่งนั้นย่อมเป็น
‘ทกุ ข’์ หรือเปน็ ‘ท่ตี ง้ั แห่งทุกข์’ ทนั ที

วัตถุสิ่งของ เงนิ ทอง รา่ งกาย บคุ คล ท่คี ดิ วา่ เป็นของเรา วันหนง่ึ เม่ือไมใ่ ช่ของเราอีกต่อไป เป็นทุกข.์ ..
การไม่ได้ตามทหี่ วงั เปน็ ทกุ ข.์ .. การไม่ยอมรบั สภาพความเปน็ จรงิ วา่ ส่ิงต่างๆ เปล่ยี นแปลงได้ และ
เปลย่ี นแปลงอยตู่ ลอดเวลา เป็นทุกข.์ .. การประสบกบั ภาวะไม่ชอบใจ อึดอัด บบี ค้ัน เปน็ ทุกข.์ ..

สมุทยั คอื สาเหตุทท่ี ำ�ใหเ้ กดิ ทกุ ข ์
สาเหตขุ องทุกข์ คอื ‘ตณั หา’ ตณั หา คอื อาการเพลดิ เพลิน
ยนิ ดี ชอบใจ อยากได้ อยากเป็น อยากมี อยากเอา อยาก
ให้เป็นอย่างน้ันอย่างนี้ หรือไม่อยากใหเ้ ปน็ อย่างน้นั อย่างน้ี เกิด
เป็นความยึดติดถือมั่น ว่าเป็นของเรา เป็นตัวตนของเรา เมื่อ
‘ตณั หา’ เกิดขึน้ เมือ่ ใด กเ็ ตรียมตวั ‘ทกุ ข์’ เมื่อนนั้

ทกุ ๆ ๑ นาที มคี นตาย หรอื ก�ำ ลงั ตายอยู่ท่ัวโลก เช่น ณ นาทนี ้ี ประเทศจีนมคี นตาย ประเทศ
สหรฐั อเมริกามีคนตาย ประเทศยกู านดามีคนตาย และในประเทศไทยก็มคี นตาย... หากถามว่า “เราเป็น
ทุกข์ไหม?” ค�ำ ตอบคือ “ไมท่ ุกข”์ เพราะไม่รจู้ ักผู้ตาย จงึ รู้สกึ เฉยๆ กบั ความตายของคนเหลา่ น้นั แตถ่ ้า
เปน็ พอ่ เรา แมเ่ รา พีน่ ้องเรา เพื่อนหรือคนรักของเราตาย เป็นทุกข์ทนั ที เพราะบคุ คลเหลา่ นน้ั เกีย่ วข้อง
กบั เรา จึงคิดวา่ เขาเปน็ ของเรา เม่ือความยึดม่นั ถือมัน่ เกดิ ข้นึ ตัณหาเกดิ แล้ว ทุกข์จึงเกดิ ตามมา

ตามรอยพุทธธรรม ๐45

นโิ รธ คือ ภาวะท่ีดับจากต้นเหตุทีท่ ำ�ใหเ้ กิดความทุกข์
ภาวะทีป่ ราศจากความยดึ มั่นถือมน่ั จิตปลอดโปร่งโล่งสบาย ไม่
ถูกกระทบไมว่ า่ ส่ิงตา่ งๆ จะเปลีย่ นแปลงไปอย่างไร จติ ทเ่ี ขา้ ใจ
ทุกขแ์ ละสาเหตทุ ี่ทำ�ใหเ้ กดิ ทุกขแ์ ล้วน้นั จะไมเ่ อาตัวเองเป็นที่ต้งั
แห่งทกุ ขอ์ กี ต่อไป จึงสามารถครองชีวิต จดั สรรส่งิ ต่างๆ ตาม
เหตุและปัจจัย ดว้ ยกำ�ลงั สติปญั ญาอย่างรูเ้ ท่าทัน

เมื่อเข้าใจ ‘ทกุ ข์’ และ ‘สมทุ ยั ’ แลว้ เขา้ ใจตัวกฎของธรรมชาติว่า ทกุ สรรพสง่ิ เปล่ยี นแปลงอยูต่ ลอด
เวลา ชวี ิตเปน็ เรื่องช่วั คราว ไมม่ ใี ครท่ไี มต่ าย ทุกคนเกดิ มาตอ้ งตายดว้ ยกนั ท้งั ส้นิ ไมม่ ีใคร หรอื สงิ่ ใด
สามารถควบคุมใหส้ ง่ิ น้ันๆ ไม่เปลีย่ นแปลงได้ ความตายจึงไมท่ ำ�ใหท้ กุ ข์ กลับเปน็ ก�ำ ลงั ส�ำ คัญท่ีทำ�ให้ผู้ยงั
มชี ีวติ อยู่ ด�ำ เนนิ ชวี ิตตอ่ ไปอยา่ งมีสติ และรคู้ า่ ของการมีชีวิตมากขึ้น

มรรค คือ หนทางทน่ี ำ�ไปสู่ความดบั ทุกข์
หนทางที่นำ�ไปสู่การดับทุกข์ทั้งปวง ประกอบด้วย ๘ เส้นทาง
เรียกวา่ มรรคมีองค์ ๘

๑. สัมมาทฏิ ฐ ิ (เห็นชอบ) เข้าใจถงึ ภาวะต่างๆ ทก่ี ำ�ลังปรากฏว่า

เป็นเพียงภาวะของชว่ั คราว

เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา

๒. สัมมาสังกัปปะ (ด�ำ ริชอบ) เม่ือเห็นสิง่ หน่งึ ส่ิงใด ไมน่ ึกไปในทาง
ช่ืนชมชน่ื ชอบ หรอื ไม่ช่นื ชมชืน่ ชอบ
หากไตรต่ รองตามสภาพที่เป็นจรงิ ของ
สิง่ นนั้ ๆ ด้วยการวางใจเป็นกลาง

๓. สมั มาวาจา (วาจาชอบ) สือ่ สารเพอ่ื ความเก้ือกูลดงี าม

๔. สมั มากัมมันตะ (กระทำ�ชอบ) กระท�ำ เพือ่ เป็นเหตเุ ป็นปจั จัยให้เกดิ

ความเกอ้ื กูลดีงาม วางจากความ

เพลดิ เพลนิ ยนิ ดี ยดึ ติดถือม่ันตา่ งๆ

๐46 ตามรอยพุทธธรรม

๕. สัมมาอาชีวะ (เลย้ี งชีพชอบ) เล้ียงชพี ดว้ ยความถกู ต้องชอบธรรม

๖. สมั มาวายามะ (พยายามชอบ) สรา้ งความเพยี รเพอ่ื ละอกศุ ลทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ

เจรญิ กศุ ลธรรมทเ่ี ปน็ ไปดว้ ยการดบั ทกุ ข์

๗. สมั มาสติ (ระลึกชอบ) ระลกึ อยูเ่ สมอถงึ ภาวะของสงิ่ ต่างๆ

เปน็ เพยี งองคป์ ระกอบ หรอื เหตปุ ัจจัย

ของส่งิ ทงั้ หลาย

๘. สมั มาสมาธ ิ (จิตต้ังมน่ั ชอบ) เกดิ ภาวะจติ ทส่ี งบตั้งม่ัน ไมถ่ ูกกระทบ

ตอ่ ความเปลีย่ นแปลง

ยึดหลักของ ‘มรรค’ เป็นแผนทีน่ ำ�ทาง เพอื่ พบกบั ภาวะพน้ ทกุ ขเ์ หนือสขุ ทัง้ ปวง

ตามรอยพุทธธรรม ๐47

ภ๑าค มัชเฌนธรรมเทศนา

ความเปน็ ไปโดยธรรมดาของสรรพสิ่งท้งั หลาย เปน็ กฎธรรมชาติ

หมวดท่ี ๑ : ทกุ ข์

๑ ชีวติ คืออะไร?

วญิ ญาณ

รูป ชวี ิต
เวทนา
สังขาร

สญั ญา

ขนั ธ์ ๕

ชีวิต คอื สว่ นประกอบ ๕ อย่างของชวี ิตทม่ี าประชมุ เข้าดว้ ยกนั

จงึ เกดิ เปน็ ตวั ตน เป็นท่ตี ้งั ของสมมติ เรยี กว่า ขนั ธ์ ๕ ไดแ้ ก่ รปู
เวทนา สญั ญา สงั ขาร และวญิ ญาณ
๐48 ตามรอยพุทธธรรม

รปู ธรรม

รูป

รูป (รา่ งกายย่อมเส่อื มสลายไป)

เวทนา นามธรรม
สญั ญา
สงั ขาร เวทนา
(ความร้สู กึ สขุ ทกุ ข์ เฉยๆ ซง่ึ เกิดจากประสาทสมั ผสั และทางใจ
วญิ ญาณ สมั ผัส --- เม่อื สุขวิ่งเข้าหา ทกุ ขว์ ่งิ หนี)

สัญญา
(ความก�ำ หนดไดห้ มายรูใ้ นอาการ เคร่ืองหมาย ลักษณะตา่ งๆ
อนั เป็นเหตใุ หจ้ ำ�อารมณ์ --- จำ�ได้)

สงั ขาร
(องคป์ ระกอบ หรอื คณุ สมบัตติ ่างๆ ของจติ ทีม่ เี จตนาเปน็ ตัวนำ�
ปรงุ แต่งคณุ ภาพของจติ ใหเ้ ป็นกศุ ล หรืออกศุ ล --- ติดยดึ อยู่
กบั ความคิด ว่าชอบใจ ไม่ชอบใจ)

วิญญาณ
(ความรแู้ จง้ อารมณท์ างอายตนะท้งั ๖ คือการได้เหน็ การไดย้ นิ
การไดก้ ล่ิน การร้รู ส การรสู้ มั ผัสทางกาย และการรอู้ ารมณ์
ทางใจ --- รับรูใ้ นสง่ิ ทชี่ อบใจ และปฏิเสธในสิ่งท่ีไม่ชอบใจ)

ตามรอยพุทธธรรม ๐49

ตวั อยา่ ง : กระบวนธรรมตามปกตขิ องขนั ธ์ ๕

รูป วิญญาณ เวทนา สัญญา สงั ขาร

หู ได้ยนิ รสู้ กึ สบายหู สบายใจ หมายรู้วา่ เปน็ เสยี งไพเราะ ชอบใจเสยี งนัน้
เสยี ง หมายร้วู า่ เปน็ เสียงระฆัง อยากฟังอกี
หมายรวู้ ่าเป็นเสยี งระฆังอันไพเราะ

ขันธ์ ๕ เฉยๆ ยังไม่เป็นทุกข์ ต่อเมื่ออุปาทานขนั ธ์ ๕ หรือความ
ยึดมนั่ ถอื มั่นของจติ ส่วนหนึง่ ว่าเป็นตัวเรา จติ เข้าไปยึดเอารูป
ร่างกาย ความรูส้ กึ ความจ�ำ และความนกึ คิด วา่ เปน็ ของเรา
เม่อื ใด ก็เป็นทุกข์เม่อื นั้น ดังนน้ั ความลบั ของการไม่เปน็ ทกุ ข์ คือ
ตระหนกั รอู้ ยเู่ สมอวา่ ชวี ติ และรา่ งกายนเ้ี ปน็ เพยี งองคป์ ระกอบ
ของขนั ธ์ ๕ ไม่มตี ัวตนของเราทเี่ ส่อื มสลาย มีเพยี งเหตแุ ละ
ปจั จยั ของธรรมชาติท่ดี �ำ เนนิ ไปเทา่ น้นั เอง

ทกุ ข์ และ ท่ตี ัง้ ของทกุ ข์ไดแ้ ก่ภาวะของชีวติ
ทเ่ี ขา้ ไปยดึ ติดถือม่ัน เรียกวา่ อปุ ทานขันธ์ ๕

๐50 ตามรอยพุทธธรรม


Click to View FlipBook Version