The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวทางบริหารจัดการสินค้าเกษตรทางเลือกที่มีอนาคต (Future Crops) ตามแผนที่เกษตรเพื่อการบริหารจัดการ เชิงรุก (Agri-Map) ในเขตพื้นที่ภาคตะวันออก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by forestgumz, 2022-11-15 22:29:24

แนวทางบริหารจัดการสินค้าเกษตรทางเลือกที่มีอนาคต (Future Crops) ตามแผนที่เกษตรเพื่อการบริหารจัดการ เชิงรุก (Agri-Map) ในเขตพื้นที่ภาคตะวันออก

แนวทางบริหารจัดการสินค้าเกษตรทางเลือกที่มีอนาคต (Future Crops) ตามแผนที่เกษตรเพื่อการบริหารจัดการ เชิงรุก (Agri-Map) ในเขตพื้นที่ภาคตะวันออก

29

จังหวัดสมุทรปราการ มีปริมาณน้ำฝนในปี 2562 จำนวน 962.60 มิลลิเมตร มีปริมาณน้ำฝน
ลดลงเม่อื เทียบกบั เมอ่ื ปที ี่ผา่ นมา ทีม่ ปี ริมาณน้ำฝน จำนวน 1,524.20 มิลลเิ มตร

4) ลักษณะดนิ
จังหวัดชลบุรี มีลักษณะดินส่วนใหญ่เป็นดินร่วนปนทรายถึงดินทราย มีเนื้อที่ 1,388,624 ไร่
หรือร้อยละ 50.92 ของเนื้อที่จังหวัด พบบริเวณด้านทิศใต้ ด้านทิศตะวันตก และบริเวณค่อนไปทางทิศเหนือ
ส่วนดินลูกรังและดินตื้น มีเนื้อที่ 311,875 ไร่ หรือร้อยละ 11.44 ของเนื้อที่จังหวัด พบบริเวณด้าน
ทิศตะวนั ออกเปน็ ส่วนใหญ่ พน้ื ที่ราบลุม่ เปน็ ดินเหนียว มเี นอ้ื ท่ี 210,194 ไร่ หรือรอ้ ยละ 7.71 ของเน้ือทีจ่ ังหวัด
พบบริเวณทิศตะวันตกตอนบนและบริเวณตอนกลางพื้นที่ ถัดจากด้านทิศตะวันตก ลักษณะดินจะเป็นดินร่วน
ปนทรายถึงเป็นทราย มีเนื้อที่ 401,867 ไร่ หรือร้อยละ 14.74 ของเนื้อที่จังหวัด เป็นดินปนทราย ยกเว้น
บางส่วนของอำเภอพนสั นิคม และส่วนใหญข่ องอำเภอพานทอง เปน็ ดนิ เหนยี วดินตะกอน
จังหวัดระยอง จากการสำรวจศึกษาลักษณะและสมบัติของดิน สามารถจำแนกดินออกเป็น
30 กลุ่มชุดดิน มีเนื้อที่รวมประมาณ 2,080,129 ไร่ หรือร้อยละ 93.70 ของเนื้อที่ทั้งหมด และเป็นหน่วยพื้นที่
เบ็ดเตลด็ 6 หน่วย ได้แก่ พืน้ ทปี่ ่าไม้ เกาะ พนื้ ท่ชี นื้ แฉะ ทีด่ นิ ดดั แปลง ทอ่ี ยู่อาศัยและพน้ื ท่ีน้ำ มเี นื้อทีป่ ระมาณ
139,871 ไร่ หรอื รอ้ ยละ 6.30 ของเนือ้ ที่ท้ังหมด
จังหวัดฉะเชิงเทรา ส่วนใหญ่เป็นดินเหนียว ซึ่งพบในบริเวณที่ราบลุ่มหรือที่ราบเรียบ เกิดจาก
ตะกอนน้ำกร่อยมีลักษณะเป็นดินลึก มีการระบายน้ำเลวถึงค่อนข้างเลว มักพบปัญหาเรื่องน้ำท่วมในฤดูฝน
เน่ืองจากการระบายนำ้ ไมท่ ัน แตใ่ นบางพ้นื ทีเ่ ปน็ ดนิ เหนยี วปนกรวดหรือลูกรัง ซง่ึ เป็นดนิ ต้ืนเกิดจากการทับถม
ของตะกอนลำน้ำ มีการระบายน้ำดี แต่ในบางแห่งที่มีความลาดชันสูงจะมีปัญหาเกี่ยวกับการชะล้างพังทลาย
ของหนา้ ดิน นอกจากน้ีบางแห่งยังเปน็ พ้ืนท่ปี ่าชายเลน ลักษณะเป็นดินเหนียวหรือดินร่วนเหนียวปนทรายแป้ง
เป็นดินเลน ซึ่งเป็นที่ราบน้ำทะเลท่วมถึงมีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ บางแห่งถูกเปลี่ยนสภาพจากป่าชายเลนเป็น
บ่อเล้ยี งกงุ้ เล้ยี งปลาหรอื ทำนาเกลือพบในอำเภอบางปะกง
จังหวัดจันทบุรี สามารถจัดกลุ่มดินตามลักษณะกลุ่มดินได้ 8 กลุ่มประกอบด้วย 1. กลุ่มดินนา
ครอบคลุมพื้นที่ประมาณร้อยละ 25 ของพื้นที่จังหวัด 2. กลุ่มภูเขา ครอบคลุมพื้นที่ประมาณร้อยละ 26 ของ
พื้นที่จังหวัด 3. กลุ่มดินเค็มชายฝั่งทะเล ครอบคลุมพื้นที่ประมาณร้อยละ 6 ของพื้นที่จังหวัด 4. กลุ่มดินต้ืน
ครอบคลุมพื้นที่ประมาณร้อยละ 15 ของพื้นที่จังหวัด 5. กลุ่มดินไร่ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณร้อยละ 4 ของ
พ้ืนท่ีจงั หวดั 6. กลุ่มดนิ เปร้ียว ครอบคลมุ พื้นทป่ี ระมาณร้อยละ 2 ของพืน้ ที่จังหวดั 7. กลุ่มดินคละ ครอบคลุม
พน้ื ทปี่ ระมาณร้อยละ 1 ของพน้ื ท่ีจังหวัด 8. กลุม่ ดนิ ภเู ขา ครอบคลุมพน้ื ทป่ี ระมาณร้อยละ 21 ของพนื้ ท่ี
จังหวดั ตราด จากการศึกษาขอ้ มลู แผนท่ีกลุ่มชุดดนิ พบว่าทรัพยากรดนิ ของจงั หวัดประกอบด้วย
กลุ่มชุดดินทั้งหมด 26 กลุ่ม คือกลุ่มชุดดินที่ 2 6 7 9 11 12 13 14 17 18 22 23 25 26 27 34
39 42 43 45 50 51 53 59 60 และ 62
จังหวัดสระแก้ว จากการจัดหมวดหมู่ดิน ตามลักษณะสมบัติดินจากปัจจัยการเกิด และการใช้
ประโยชน์ที่ดินที่คล้ายคลึงกัน พบว่าทรัพยากรดินของจังหวัดสระแก้ว ประกอบด้วยกลุ่มชุดดินต่าง ๆ

30

เช่น กลุ่มชุดดินในพื้นที่ลุ่มจะเป็นดินเหนียวดำที่ลึกมาก มีรอยแตกระแหงกว้างและลึก ระบายน้ำได้ยาก และดิน
อ่ืน ๆ

จังหวัดปราจีนบุรี มีกลุ่มดินที่อุดมสมบูรณ์ คือ กลุ่มดินนาเหมาะสมกับการปลูกข้าวและผลไม้
กลุ่มดินไร่ที่มีความอุดมสมบูรณ์น้อยกว่าดินนา เหมาะสมกับการปลูกพืชไร่ เช่น ข้าวโพด มันสำปะหลังและ
พืชไรอ่ น่ื จากลกั ษณะดนิ ดังกลา่ วจงึ มีความเหมาะสมกับการทำนา ปลูกผลไม้ ไม้ยืนต้น และพชื ไร่

จังหวัดนครนายก จากการศึกษาข้อมูลของชุดดินเหล่านี้พอจะวิเคราะห์ลักษณะและคุณสมบัติ
ของทรัพยากรดินนครนายกเป็น 5 กลุ่มคือ 1. ดินที่เกิดจากตะกอนลำน้ำใหม่ บริเวณนี้เป็นที่ราบน้ำท่วม
ถึงมีเนื้อดินเป็นดินร่วนหรือดินร่วนเหนียวปนทรายแป้งเป็นดินลึกมีการระบายน้ำดี ความอุดมสมบูรณ์
ปานกลาง 2. ดนิ ทเ่ี กดิ จากการทับถมของตะกอนนำ้ กร่อย เนื้อดินเป็นดินเหนียว เปน็ ดนิ ลกึ มกี ารระบายน้ำเลว
ความอุดมสมบูรณ์ต่ำปฏิกิริยาของดินเป็นกรดจัด (ดินเปรี้ยว) 3. ดินที่เกิดจากตะกอนลำน้ำค่อนข้างใหม่และ
ตะกอนลำน้ำเก่า เนื้อดินบนเป็นดินทรายหรือทรายแป้ง ดินล่างเป็นดินเหนียว เป็นดินลึก มีการระบายน้ำเลว
ความอุดมสมบูรณ์ต่ำ สำหรับดินบนลานตะพักระดับสูงขึ้นไป เนื้อดินบนส่วนใหญ่เป็นดินร่วนเหนียวปนทราย
ดินล่างเป็นดินร่วนเหนียวปนทรายถึงดินเหนียวปนทรายแป้ง มีการระบายน้ำดี ความอุดมสมบูรณ์ต่ำ 4. ดินท่ี
เกิดจากการสลายตัวผุพังของวัตถุต้นกำเนิดที่สลายตัวอยู่กับที่และวัตถุต้นกำเนิดที่เคลื่อนที่มาทับถมตามแรง
โน้มถ่วงของโลกบนลานตะพักที่ง่ายต่อการกัดกร่อนและบริเวณเชงิ เขา ส่วนใหญ่เป็นดินค่อนข้างตื้น มีเศษหิน
ก้อนกรวด หรือลูกรังปะปนอยู่ มีการระบายน้ำดี ความอุดมสมบูรณ์ค่อนข้างต่ำถึงปานกลาง 5. ดินที่เกิดจาก
ภเู ขา ปกคลุมด้วยหินในยุคต่าง ๆ

จังหวัดสมุทรปราการ แบ่งออกเป็น 5 กลุ่มชุดดิน (หน่วยที่ดิน) ได้แก่ 1. กลุ่มชุดดินที่ 2 เป็น
กลมุ่ ชดุ ดินเหนียว ที่เกดิ จากวัตถตุ น้ กำเนดิ ดินพวกตะกอนผสมระหวา่ งตะกอนลำนำ้ และตะกอนทะเล บรเิ วณท่ี
ราบลุ่มที่เป็นน้ำกร่อย การระบายน้ำไม่ดี เมื่อดินแห้งจะแตกระแหงเป็นรอ่ งลึก 2. กลุ่มชุดดินที่ 3 เป็นกลุ่มชุด
ดินเหนียว ที่เกิดจากวัตถุต้นกำเนิดดินพวกตะกอนผสมระหว่างลำน้ำและตะกอนทะเล บริเวณที่ราบลุ่มที่เป็น
นำ้ กรอ่ ย การระบายนำ้ ไม่ดี เม่ือดนิ แหง้ จะแตกระแหงเป็นร่องลกึ 3. กลุม่ ชุดดนิ ที่ 8 เป็นกล่มุ ชุดดนิ ทถ่ี กู ยกร่อง
มีลักษณะของดินตอนบนทับถมเป็นชั้น ๆ จากการขุดดินในร่องขึ้นมาถมบนคันดิน 4. กลุ่มชุดดินที่ 12
เนื่องจากกลุ่มชุดดินนี้เป็นกลุ่มชุดดินเลนเค็ม ที่เกิดจากวัตถุต้นกำเนิดดินพวกตะกอนทะเล ดินลึกมาก
การระบายนำไม่ดี มนี ้ำทะเลแชข่ ัง เป็นดินเลนเละ 5. กลมุ่ ชดุ ดินท่ี 13 เปน็ กลมุ่ ชุดดนิ เลนเค็มที่มีกรดกำมะถัน
แฝง เกดิ จากวัตถุตน้ กำเนิดดิน พวกตะกอนทะเล ดินลกึ มาก การระบายนำ้ ไม่ดี

5) การใชป้ ระโยชน์ทางการเกษตรของจังหวัด
จังหวัดชลบุรีมีพื้นที่ทำการเกษตรทั้งหมด 1,057,244 ไร่ โดยจำแนกเป็นพื้นที่ไม้ยืนต้น
548,880 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 51.92 ของพื้นที่ทำการเกษตร รองลงมาได้แก่พืชไร่ 299,806 ไร่ คิดเป็นร้อยละ
28.36 ที่นา 100,838 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 9.54 สวนผลไม้ 40,254 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 3.81 ของพื้นท่ี
ทำการเกษตรทั้งหมด พืชผัก 39,341 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 3.72 สัตว์น้ำ 26,153 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 2.47
ไมด้ อกไมป้ ระดบั 1,972 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.19 ตามลำดับ

31

จังหวัดระยองมีพื้นที่ทำการเกษตรทั้งหมด 1,306,873 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 66.96 ของพื้นท่ี
ทั้งหมด โดยจำแนกเป็นพื้นที่ไม้ผล/ไม้ยืนต้น 773,843 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 59.21 ของพื้นที่ทำการเกษตร
รองลงมาไดแ้ ก่เกษตรอ่ืน ๆ 439,246 ไร่ คดิ เปน็ ร้อยละ 33.61 พืชไร่/พืชผัก/ไมด้ อก 82,103 ไร่ คิดเป็นร้อยละ
6.28 และทีน่ า 11,681 ไร่ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 0.89 ของพืน้ ทีท่ ำการเกษตรทัง้ หมด ตามลำดบั

จังหวัดฉะเชิงเทรามพี ื้นที่ทำการเกษตรทั้งหมด 2,247,461 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 69.92 ของพื้นท่ี
ทั้งหมด โดยจำแนกเป็นพื้นที่พื้นที่นา 754,892 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 33.59 ของพื้นที่ทำการเกษตร รองลงมา
ได้แก่ ไม้ยืนต้น 743,433 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 33.08 สถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ 360,356 คิดเป็นร้อยละ 16.03
พืชไร่ 318,994 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 14.19 และไม้ผล 69,786 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 3.11 ของพื้นที่ทำการเกษตร
ท้งั หมด ตามลำดบั

จังหวัดจันทบุรีมีพื้นที่ทำการเกษตรทั้งหมด 2,185,465 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 55.17 ของพื้นที่
ทั้งหมด โดยจำแนกเป็นพื้นที่ไม้ผล/ไม้ยืนต้น 1,357,438 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 62.11 ของพื้นที่ทำการเกษตร
รองลงมาได้แก่เกษตรอื่น ๆ 623,599 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 28.43 พืชไร่/พืชผัก/ไม้ดอก 190,383 ไร่ คิดเป็น
ร้อยละ 8.71 และที่นา 14,045 ไร่ คิดเปน็ ร้อยละ 0.64 ของพนื้ ทท่ี ำการเกษตรท้ังหมด ตามลำดบั

จังหวัดตราดมีพื้นที่ทำการเกษตรทั้งหมด 612,101.18 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 34.68 ของพื้นที่
ทั้งหมด โดยจำแนกเป็นพื้นที่ไม้ผล/ไม้ยืนต้น 553,941 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 31.38 ของพื้นที่ทำการเกษตร
รองลงมาได้แก่พืชไร่/พืชผัก/ไม้ดอก 28,334 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 1.61 เกษตรอื่น ๆ (เลี้ยงสัตว์ ประมง
เพาะเลี้ยง) 15,631.18 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.89 และที่นา 14,195 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.80 ของพื้นที่ทำ
การเกษตรท้งั หมด ตามลำดับ

จังหวัดสระแก้วมีพื้นที่ทำการเกษตรทั้งหมด 2,891,069 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 67.77 ของพื้นท่ี
ทั้งหมด โดยจำแนกเป็นพื้นที่พืชไร่ 1,156,150 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 39.99 ของพื้นที่ทำการเกษตร รองลงมา
ได้แก่ พนื้ ทที่ ่ีนา 957,675 ไร่ คิดเปน็ รอ้ ยละ 33.13 ไม้ยืนตน้ 684,075 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 23.66 ไมผ้ ล 78,675
ไร่ คิดเป็นร้อยละ 2.72 ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์และโรงเรือนเลี้ยงสัตว์ 12,381 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.43 พืชสวน
1,206 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.04 และสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ 907 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 0.03 ของพื้นที่ทำ
การเกษตรทั้งหมด ตามลำดับ

จังหวัดปราจีนบุรีมีพื้นที่ทำการเกษตรทั้งหมด 692,834 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 21.94 ของพื้นท่ี
ทั้งหมด โดยจำแนกเป็นพื้นที่ที่นา 379,100 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 54.72 ของพื้นที่ทำการเกษตร รองลงมาได้แก่
พืชไร่ 184,447 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 26.62 ไม้ยืนต้น 92,861 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 13.40 สวนผลไม้ 33,500 ไร่
คิดเป็นร้อยละ 4.84 ไม้ดอก/ไม้ประดับ 1,836 คิดเป็นร้อยละ 0.26 และพืชผัก 1,090 คิดเป็นร้อยละ 0.16
ของพนื้ ที่ทำการเกษตรท้งั หมด ตามลำดบั

จังหวัดนครนายกมีพื้นที่ทำการเกษตรทั้งหมด 738,772 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 55.70 ของพื้นที่
ทั้งหมด โดยจำแนกเป็นพื้นที่ที่นา 532,489 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 80.93 ของพื้นที่ทำการเกษตร รองลงมาได้แก่
ไม้ผล/ไม้ยืนต้น 102,957 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 15.65 การปลูกดอกไม้ประดับ 12,519 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 1.90
และการปลูกพืชผักสมุนไพร 10,005 ไร่ คิดเปน็ ร้อยละ 1.52 ของพ้ืนท่ที ำการเกษตรท้งั หมด ตามลำดับ

32

จังหวัดสมุทรปราการ มีการใช้พื้นที่ทำการเกษตรทั้งหมด 150,049 คิดเป็นร้อยละ 23.91
ของพื้นที่ทั้งหมด โดยจำแนกเป็นประเภทเกษตรอื่นๆ จำนวน 111,639 คิดเป็นร้อยละ 74.40 รองลงมา คือ
พ้ืนทีท่ น่ี า 18,312 ไร่ คิดเป็นรอ้ ยละ 12.20 ประเภทไม้ผล/ไมย้ นื ต้น จำนวน 15,595 ไร่ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 10.39
และประเภทพืชไร/่ พชื ผัก/ไม้ดอก จำนวน 4,503 ไร่ คิดเป็นรอ้ ยละ 3.00 ตามลำดับ

3.2 ข้อมูลดา้ นเศรษฐกิจ
3.2.1 โครงสรา้ งทางเศรษฐกิจระดบั จงั หวดั

ตารางท่ี 3.1 ผลติ ภัณฑม์ วลรวม ปี พ.ศ. 2562 (ล้านบาท)

จังหวดั ชลบุรี ระยอง ฉะเชงิ เทรา จันทบรุ ี ตราด สระแก้ว ปราจีนบุรี นครนายก สมทุ รปราการ

รวม 1,059,797 1,045,697 993,978 133,363 43,891 48,655 347,015 30,435 772,498

ภาค 18,211 26,585 18,190 73,602 19,093 13,136 7,794 6,259 3,897
เกษตร 967,392 59,761 24,798 35,519 339,221 24,176 768,601
นอก 1,041,586 1,026,730
เกษตร

ทม่ี า สำนกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ

3.2.2 โครงสร้างการผลิตสินค้าเกษตรของจังหวัด
จังหวัดชลบุรี มีพ้นื ทเ่ี พาะปลกู พชื เศรษฐกจิ รวมพืน้ ท่ี 749,378 ไร่ โดยพืชเศรษฐกจิ ท่ีสำคญั และ

ปลูกมากที่สุดในจังหวัดชลบุรี ได้แก่ ยางพารา ซึ่งมีพื้นที่ปลูก 220,953 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 29.48
ของพื้นที่เพาะปลูกพืชเศรษฐกิจทั้งหมด รองลงมา ได้แก่ มันสำปะหลัง พื้นที่ปลูก 144,629 ไร่ (19.30%)
อ้อยโรงงาน พื้นที่ปลูก 131,100 ไร่ (17.49%) ปาล์มน้ำมัน พื้นที่ปลูก 105,855 ไร่ (14.13%) ข้าวนาปี
พื้นที่ปลูก 61,475ไร่ (8.20%) มะพร้าวแก่ พื้นที่ปลูก 40,444 ไร่ (5.40%) สับปะรด พื้นที่ปลูก 23,743ไร่
(3.17%) ขนุน พริกขี้หนูสวน ถั่วฝักยาว บัว พื้นที่ปลูก 20,994 ไร่ (2.79%) และกล้วยไม้ พื้นที่ปลูก 235 ไร่
(0.03%)

จังหวัดระยอง มีพื้นที่เพาะปลูกพืชเศรษฐกิจรวมพื้นที่ 809,217 ไร่ โดยพืชเศรษฐกิจที่สำคัญ
และปลูกมากที่สุดในจังหวัดระยอง ได้แก่ ยางพารา ซึ่งมีพื้นที่ปลูก 617,042 ไร่หรือคิดเป็นร้อยละ 76.25
ของพ้นื ท่ีเพาะปลกู พชื เศรษฐกิจท้ังหมด รองลงมา ไดแ้ ก่ สับปะรดโรงงาน ปาล์มน้ำมนั มันสำปะหลงั พนื้ ท่ีปลูก
107,901 ไร่ (13.33%) มังคุด พื้นที่ปลูก 28,126 ไร่ (3.48%) ขนุน พื้นที่ปลูก 12,557 ไร่ (1.55%) ข้าว
มะม่วง ทุเรียน พื้นที่ปลูก 34,525 ไร่ (4.27%) เงาะ พื้นที่ปลูก 5,203 ไร่ (0.64%) และลองกอง พื้นที่ปลูก
3,863 ไร่ (0.48%)

จังหวัดฉะเชิงเทรา มีพื้นที่เพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ รวมพื้นที่ 1,588,133 ไร่ โดยพืชเศรษฐกิจที่
สำคญั และปลูกมากท่ีสุดในจังหวัดฉะเชิงเทรา ไดแ้ ก่ ขา้ ว ซึ่งมพี ื้นที่ปลกู 632,269 ไร่ หรอื คิดเป็นร้อยละ 39.81
ของพื้นที่เพาะปลูกพืชเศรษฐกิจทั้งหมด รองลงมาได้แก่ มันสำปะหลัง พื้นที่ปลูก 215,430 ไร่ (13.56%)

33

ยางพารา พื้นที่ปลูก 201,675 ไร่ (12.70%) สับปะรด พื้นที่ปลูก 28,969 ไร่ (1.82%) อ้อยโรงงาน พื้นที่ปลกู
22,098 ไร่ (1.39%) ปาล์มน้ำมัน พื้นที่ปลูก 10,247 ไร่ (0.65%) มะพร้าว 8,651 ไร่ (0.54%) และอื่นๆ มี
พื้นที่ปลกู 468,794 ไร่ (29.52%)

จังหวัดจนั ทบรุ ี มพี น้ื ที่เพาะปลูกพชื เศรษฐกิจรวมพ้นื ที่ 1,232,326 ไร่ โดยพชื เศรษฐกิจท่ีสำคัญ
และปลูกมากที่สุดในจังหวัดจันทบุรี ได้แก่ ยางพารา ซึ่งมีพื้นที่ปลูก 577,640 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 46.87
ของพื้นที่เพาะปลูกพืชเศรษฐกิจทั้งหมด รองลงมาได้แก่ ทุเรียน พื้นที่ปลูก 225,273 ไร่ (18.28%) ลำไย
พื้นที่ปลูก 211,955 ไร่ (17.20%) มังคุด พื้นที่ปลูก 131,784 ไร่ (10.69%) เงาะ พื้นที่ปลูก 55,211 ไร่
(4.48%) และลองกอง พ้นื ทีป่ ลูก 30,463 ไร่ (2.47%)

จังหวัดตราด มีพื้นที่เพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ รวมพื้นที่ 578,424 ไร่ โดยพืชเศรษฐกิจที่สำคัญ
และปลูกมากที่สดุ ในจงั หวดั ตราด ได้แก่ ยางพารา ซ่ึงมพี ื้นท่ีปลูก 337,707 ไร่ หรอื คดิ เปน็ รอ้ ยละ 58.38 ของ
พื้นที่เพาะปลูกพืชเศรษฐกิจทั้งหมด รองลงมาได้แก่ ปาล์มน้ำมัน เงาะ และมังคุด พื้นที่ปลูก 155,334 ไร่
(26.85%) ทุเรียน พื้นที่ปลูก 40,439ไร่ (6.99%) สับปะรดตราดสีทอง พื้นที่ปลูก 16,003ไร่ (2.77%)
ข้าวนาปี พื้นที่ปลูก 14,415 ไร่ (2.49%) ลองกอง พื้นที่ปลูก 8,297 ไร่ (1.43%) และสับปะรดโรงงาน
พ้นื ทีป่ ลกู 6,229 ไร่ (1.08%)

จังหวัดสระแก้ว มีพื้นที่เพาะปลูกพืชเศรษฐกิจรวมพื้นที่ประมาณ 2,514,301 ไร่ โดย
พืชเศรษฐกิจที่สำคัญและปลูกมากที่สุดของจังหวัดสระแก้ว ได้แก่ ข้าว ซึ่งมีพื้นที่ปลูก 1,430,501 ไร่ หรือ
คิดเป็นร้อยละ 56.89 ของพื้นท่ีรองลงมาได้แก่ มันสำปะหลัง พื้นที่ปลูก 575,436 ไร่ (22.89%) ข้าวโพด
เลี้ยงสัตว์ พื้นที่ปลูก 210,755 ไร่ (8.38%) ชมพู่ 189,530 ไร่ (7.54%) ลำไย พื้นที่ปลูก 102,444 ไร่ (4.07%)
และมะมว่ ง พ้ืนท่ปี ลูก 5,635 ไร่ (0.22%)

จังหวดั ปราจีนบุรี มีพื้นทเ่ี พาะปลกู พืชเศรษฐกิจ รวมพืน้ ที่ 1,040,269.94 ไร่ โดยพชื เศรษฐกจิ ที่
สำคัญและปลูกมากท่ีสุดในจงั หวัดปราจนี บุรี ไดแ้ ก่ ข้าว ซึง่ มพี ้นื ทปี่ ลกู 627,378 ไร่ หรอื คิดเป็นรอ้ ยละ 60.30
ของพนื้ ทีเ่ พาะปลูกพืชเศรษฐกิจทงั้ หมด รองลงมา ได้แก่ มันสำปะหลัง พน้ื ทปี่ ลกู 244,302 ไร่ (23.82%) อ้อย
พื้นที่ปลูก 81,906 ไร่ (5.44%) ยางพารา พื้นที่ปลูก 61,908 ไร่ (4.84%) ปาล์มน้ำมัน พื้นที่ปลูก 19,790 ไร่
(0.37%) ขา้ วโพด 2,386 ไร่ (0.36%) ลำไย พน้ื ท่ปี ลกู 1,301 ไร่ (0.13%) มะพร้าว พื้นทปี่ ลูก 295 ไร่ (0.04%)
และกาแฟโรบัสตา้ พ้ืนทปี่ ลกู 4 ไร่ (0.00%)

จังหวัดนครนายก มีพื้นที่เพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ รวมพื้นที่ 554,148 ไร่ โดยพืชเศรษฐกิจที่
สำคัญและปลกู มากที่สดุ ในจังหวดั นครนายก ได้แก่ ข้าว ซงึ่ มพี นื้ ท่ีปลกู 532,489 ไร่ หรอื คดิ เปน็ ร้อยละ 96.09
ของพื้นทเี่ พาะปลูกพชื เศรษฐกิจทง้ั หมด รองลงมา ได้แก่ มะยงชดิ พน้ื ทปี่ ลูก 12,716 ไร่ (2.29%) ปาล์มน้ำมัน
พื้นที่ปลูก 4,443 ไร่ (0.80%) ไม้ดอกไม้ประดับ พื้นที่ปลูก 2,177 ไร่ (0.39%) ยางพารา พื้นที่ปลูก 1,235 ไร่
(0.22%) และทเุ รยี น 1,088 ไร่ (0.20%)

จังหวัดสมุทรปราการ มีพื้นที่เพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ รวมพื้นที่ 34,109 ไร่ โดยพืชเศรษฐกิจ
ที่สำคัญและปลูกมากที่สุดในจังหวัดสมุทรปราการ ได้แก่ ข้าว ซึ่งมีพื้นที่ปลูก 17,949 ไร่ หรือคิดเป็น
ร้อยละ 52.62 ของพื้นที่เพาะปลูกพืชเศรษฐกิจทั้งหมด รองลงมา ได้แก่ มะม่วง พื้นที่ปลูก 8,198 ไร่ หรือ

34

คิดเป็นร้อยละ 24.03% กล้วยน้ำว้า พื้นที่ปลูก 2,542 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 7.45% มะพร้าวแก่ พื้นที่ปลูก
2,510 ไร่ หรอื คดิ เป็นรอ้ ยละ 7.36% มะพร้าวอ่อน พนื้ ทีป่ ลูก 1,572 ไร่ หรอื คิดเปน็ ร้อยละ 4.61% กลว้ ยหอม
พื้นที่ปลูก 693 ไร่ หรอื คดิ เปน็ รอ้ ยละ 2.03% และกระเฉด พื้นทป่ี ลกู 645 ไร่ หรอื คิดเป็นร้อยละ 1.89%

3.3 จำนวนครวั เรือนเกษตรกร
จำนวนครัวเรือนเกษตรกรของจังหวัดชลบุรี มีจำนวนครัวเรือนทั้งหมด 243,853 ครัวเรือน

เป็นครัวเรือนเกษตรกร 38,192 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 15.66 ของจำนวนครัวเรือนทั้งหมด และมีจำนวน
แรงงานภาคเกษตร 37,905 ราย

จำนวนครัวเรือนเกษตรกรของจังหวัดระยอง มีจำนวนครัวเรือนทั้งหมด 473,597 ครัวเรือน
เปน็ ครัวเรือนเกษตรกร 54,861 ครัวเรือน คดิ เป็นรอ้ ยละ 23.52 ของจำนวนครวั เรอื นทัง้ หมด

จำนวนครัวเรือนเกษตรกรจังหวัดฉะเชิงเทรา มีจำนวนครัวเรือนทั้งหมด 281,778 ครัวเรือน
เป็นครวั เรอื นเกษตรกร 53,673 คดิ เป็นรอ้ ยละ 19.05 ของจำนวนครัวเรอื นท้งั หมด

จำนวนครวั เรือนเกษตรกรจังหวัดจันทบรุ ี มีจำนวนครวั เรือนทัง้ หมด 233,225 ครวั เรอื น เปน็ ครัวเรือน
เกษตรกร 54,861 คิดเปน็ รอ้ ยละ 23.52 ของจำนวนครัวเรือนทง้ั หมด

จำนวนครัวเรือนเกษตรกรจังหวัดตราด มีจำนวนครัวเรือนทั้งหมด 106,685 ครัวเรือน เป็นครัวเรือน
เกษตรกร 19,641 คิดเปน็ รอ้ ยละ 18.41 ของจำนวนครวั เรือนท้ังหมด

จำนวนครัวเรือนเกษตรกรจังหวัดสระแก้ว มีจำนวนครัวเรือนทั้งหมด 212,786 ครัวเรือน
เป็นครวั เรือนเกษตรกร 68,503 คดิ เป็นรอ้ ยละ 32.19 ของจำนวนครัวเรอื นท้ังหมด

จำนวนครัวเรือนเกษตรกรจังหวัดปราจีนบุรี มีจำนวนครัวเรือนทั้งหมด 216,627 ครัวเรือน
เป็นครัวเรอื นเกษตรกร 46,634 คดิ เป็นร้อยละ 31.62 ของจำนวนครัวเรอื นทัง้ หมด

จำนวนครัวเรือนเกษตรกรจังหวัดนครนายก มีจำนวนครัวเรือนทั้งหมด 99,423 ครัวเรือน
เป็นครวั เรอื นเกษตรกร 25,867 คิดเป็นร้อยละ 26.02 ของจำนวนครวั เรือนทง้ั หมด

จำนวนครัวเรือนเกษตรกรจังหวัดสมุทรปราการ มีจำนวนครัวเรือนทั้งหมด 642,774 ครัวเรือนเป็น
ครัวเรือนเกษตรกร 10,057 คิดเป็นร้อยละ 1.56 ของจำนวนครัวเรือนทั้งหมด มีจำนวนแรงงานภาคเกษตร
20,114 ราย

3.4 ข้อมูลดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
จังหวัดชลบุรี อ่างเก็บน้ำที่สำคัญของจังหวัดชลบุรี มี 13 แห่ง : มีดังนี้ อ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ อ่างเก็บ

น้ำบางพระ ความจุที่ระดับเก็บกัก 117 ลบ.ม. อ่างเก็บน้ำขนาดกลาง อ่างเก็บน้ำหนองค้อ ความจุที่ระดับเก็บ
กัก 21.40 ลบ.ม. อ่างเก็บน้ำมาบประชัน ความจุที่ระดับเก็บกัก 16.60 ลบ.ม. อ่างเก็บน้ำชากนอก ความจุที่
ระดับเกบ็ กัก 7.03 ลบ.ม. อ่างเกบ็ นำ้ หนองกลางดง ความจทุ ่รี ะดับเกบ็ กัก 7.65 ลบ.ม. อา่ งเก็บน้ำห้วยสะพาน
ความจทุ ี่ระดับเก็บกัก 3.84 ลบ.ม. อา่ งเก็บน้ำห้วยขุนจิต ความจุที่ระดบั เก็บกัก 4.80 ลบ.ม. อ่างเก็บน้ำบ้านบึง
ความจุที่ระดับเก็บกัก 10.98 ลบ.ม. อ่างเก็บน้ำคลองหลวง ความจุที่ระดับเก็บกัก 98.00 ลบ.ม. อ่างเก็บน้ำ
มาบฟักทอง 1 ความจทุ ีร่ ะดบั เกบ็ กกั 1.23 ลบ.ม. อา่ งเก็บน้ำมาบฟักทอง 2 ความจทุ ่ีระดับเก็บกกั 2.00 ลบ.ม.

35

อ่างเก็บน้ำห้วยตู้ 1 ความจุท่ีระดับเก็บกัก 1.50 ลบ.ม. อ่างเก็บน้ำห้วยตู้ 2 ความจุที่ระดับเก็บกัก 2.90 ลบ.ม.
จังหวัดระยอง การชลประทาน จังหวัดระยอง มีการพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อใช้สำหรับการเกษตรกรรม โครงการ
ขนาดใหญ่และขนาดกลาง จำนวน 5 โครงการสามารถเก็บกักน้ำได้ 542.65 ล้าน ลบ.ม. และมีพื้นที่ชลประทาน
ได้รบั ประโยชน์ 201,700 ไร่

จังหวัดฉะเชิงเทรา พื้นที่ชลประทานและระบบชลประทานฉะเชิงเทรา พื้นที่ชลประทานในจังหวัด
ฉะเชิงเทราเป็นพื้นทีช่ ลประทาน จำนวน 1,142,826 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 35.02 ของพื้นที่ทั้งจังหวัดฉะเชิงเทรา
แบ่งเป็น แหล่งน้ำชลประทานประเภทอ่างเก็บน้ำ โครงการขนาดใหญ่ เก็บกักน้ำ 420 ล้าน ลบ.ม. โครงการ
ขนาดกลาง เก็บกักน้ำ 59.20 ล้าน ลบ.ม. โครงการขนาดเล็ก เก็บกักน้ำ 14.97 ล้าน ลบ.ม โครงการอัน
เนื่องมาจากพระราชดำริ เก็บกักน้ำ 18.90 ล้าน ลบ.ม. และแหล่งน้ำชลประทานประเภทรับน้ำนอง โครงการ
ขนาดใหญ่ พื้นที่ชลประทาน 849,770 ไร่ แหล่งน้ำอื่นๆ และปริมาณน้ำในอ่างเก็บน้ำ อ่างเก็บน้ำคลองสียัด
ความจุของอ่างเก็บน้ำ 420.00 ล้าน ลบ.ม. อ่างเก็บน้ำคลองระบม ความจุของอ่างเก็บน้ำ 55.50 ล้าน ลบ.ม.
อ่างเก็บน้ำลาดกระทิง ความจุของอ่างเก็บน้ำ 4.20 ล้าน ลบ.ม. อ่างเก็บน้ำลุ่มน้ำโจน 2 ความจุของอ่างเกบ็ น้ำ
1.96 ลา้ น ลบ.ม. อ่างเก็บนำ้ ลุ่มน้ำโจน 16 ความจุของอา่ งเกบ็ น้ำ 1.97

จังหวัดจันทบุรี แหล่งน้ำชลประทานที่มีอยู่ภายในจังหวัดจันทบุรี มีจำนวนทั้งสิ้น 44 โครงการ
โดยแบง่ เป็นโครงการชลประทานขนาดกลาง จำนวน 15 โครงการ พื้นทีช่ ลประทาน 260,850 ไร่ คนั กั้นน้ำเคม็
แหลมสิงห์ พื้นที่ชลประทาน 14,268 ไร่ ฝายคลองพลับพลำ ความจุที่ระดับเก็บกัก 0.03 ล้าน ลบ.ม.
อ่างเก็บน้ำคลองศาลทราย ความจุที่ระดับเก็บกัก 12 ล้าน ลบ.ม. ฝายคลองพลับพลา ท่อระบายน้ำคลองพลวิ้
ความจุที่ระดับเก็บกัก 0.06 ล้าน ลบ.ม. โครงการ ทรบ.คลองบ้านกล้วย ความจุที่ระดับเก็บกัก 0.06 ล้าน
ลบ.ม. โครงการ ปตร.คลองวังโตนด ความจุที่ระดับเก็บกัก 10.80 ล้าน ลบ.ม. ฝายคลองทรายขาว พื้นท่ี
ชลประทาน 1,389 อา่ งเกบ็ น้ำ ลองบอน ความจุท่ีระดับเก็บกัก 2.5 ล้าน ลบ.ม. ท่อระบายน้ำอ่าวคุ้งกระเบนฯ
พื้นที่ชลประทาน 1,491.50 ไร่ ฝายยางจันทบุรี ความจุที่ระดับเก็บกัก 4.20 ล้าน ลบ.ม. อ่างเก็บน้ำคลอง
พระพุทธความจุที่ระดับเก็บกัก 78.510 ล้าน ลบ.ม. อ่างเก็บน้ำคลองประแกด ความจุที่ระดับเก็บกัก 60.260
ล้าน ลบ.ม. ฝ่ายยางท่าระม้าความจุท่ีระดับเก็บกัก 0.83 ล้าน ลบ.ม. ประตูระบายน้ำทุง่ เบญจาความจุท่ีระดบั
เกบ็ กกั 2 ลา้ น ลบ.ม. และสูบน้ำด้วยไฟฟา้ ระบบท่อส่งน้ำโครงการบ้านซำตาเรือง พ้ืนทชี่ ลประทาน 2,185.00 ไร่

จังหวดั ตราด โครงการอ่างเก็บน้ำขนาดกลาง 14 แห่ง มพี ้ืนท่ชี ลประทาน 176,764 ไร่ ความจุ 185.59
ล้าน ลบ.ม. โครงการอ่างเก็บน้ำขนาดเล็ก 90 แห่ง ความจุ 17.189 ล้าน ลบ.ม.รวมพื้นที่ได้รับประโยชน์
60,445 ไร่ลุ่มน้ำ โครงการชลประทานขนาดกลาง อ่างเก็บน้ำเขาระกำ ต.วังกระแจะ อ.เมืองตราด ความจุที่
ระดับน้ำ เก็บกัก 47.69 อ่างเก็บน้ำด่านชุมพล ต.ด่านชุมพล อ.บ่อไร่ ความจุที่ระดับน้ำ เก็บกัก 5.60 อ่างเก็บ
น้ำบ้านมะนาว ต.บ่อพลอย อ.บ่อไร่ ความจุที่ระดบั น้ำ เก็บกัก 2.35 อ่างเก็บน้ำห้วยแร้ง ต.ด่านชุมพล อ.บ่อไร่
ความจุที่ระดับน้ำ เก็บกัก 36.80 อ่างเก็บน้ำวังปลาหมอ ต.เขาสมิง อ.เขาสมิง ความจุที่ระดับน้ำ เก็บกัก 8.15
อ่างเก็บน้ำสะพานหิน ต.แหลมกลัด อ.เมืองตราด ความจุที่ระดับน้ำ เก็บกัก 20.00 อ่างเก็บน้ำคลองโสน
ต.นนทรยี ์ อ.บอ่ ไร่ ความจทุ ่รี ะดบั นำ้ เก็บกกั 65.00 ลา้ น ลบ.ม.

36

จังหวัดสระแก้ว พื้นที่ชลประทานและระบบชลประทานจังหวัดสระแก้ว โครงการชลประทาน
ขนาดกลาง จำนวน 13 แห่ง ความจุ 260,745,000 โครงการชลประทานขนาดเล็ก โครงการชลประทาน
ขนาดเล็กพัฒนาพื้นที่ราบเชิงเขา จำนวน 44 แห่ง ความจุ 11,726,800 ลบ.ม. โครงการชลประทานขนาดเลก็
งบมูลนิธิสมเด็จพระเจ้าลูกเธอฯ จำนวน 2 แห่ง ความจุ 189,200 ลบ.ม. โครงการชลประทานทับทิมสยาม
จำนวน 2 แห่ง ความจุ 299,500 ลบ.ม. โครงการขุดลอกหนองน้ำและคลองธรรมชาติ จำนวน 84 แหง่ ความจุ
2,638,200 ลบ.ม. โครงการฝายขนาดกลาง จำนวน 3 แห่ง ความจุ 248,000 ลบ.ม.โครงการฝายยาง จำนวน
3 แห่ง ความจุ 1,070,000 ลบ.ม. โครงการชลประทานเขตปา่ รอยต่อ จำนวน 5 แห่ง จำนวน ความจุ 181,000
ลบ.ม. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพแหล่งน้ำเดิม จำนวน 18 แห่ง ความจุ 17,557,000 ลบ.ม. โครงการแก้มลิง
จำนวน 30 แห่ง ความจุ 11,873,000 ลบ.ม. โครงการ ปชด. จำนวน 50 แห่ง ความจุ 9,628,000 ลบ.ม.
ชป.เล็กถ่ายโอน จำนวน 129 แห่ง ความจุ 22,194,275 ลบ.ม. งานศูนย์บริการเกษตรกรเคลื่อนที่ จำนวน
54 ความจุ 2,150,025 ลบ.ม. งบประมาณ กปร. จำนวน 6 แห่ง ความจุ 220,000 ลบ.ม. งบประมาณจังหวัด
จำนวน 17 แห่ง ความจุ 2,626,000 ลบ.ม. สถานีสูบน้ำด้วยไฟฟ้า จำนวน 22 แห่ง พื้นที่ได้รับประโยชน์
จำนวน 18,890 ไร่

จังหวัดปราจีนบุรี แหล่งน้ำเพื่อการเกษตรพื้นที่ชลประทานและระบบชลประทานของจังหวัด
ปราจีนบุรี โครงการชลประทานขนาดเล็ก แยกเป็นประเภทอ่างเก็บน้ำ จำนวน 7 แห่ง ประเภทฝายคอนกรีต
จำนวน 45 แห่ง ประเภทระบบส่งน้ำ คูคลอง จำนวน 74 แห่ง สระ หนอง บึง จำนวน 83 แห่ง โครงการ
ชลประทานขนาดกลาง จำนวน 11 แห่ง แยกเป็น ประเภทอ่างเก็บน้ำ จำนวน 4 แห่ง ประเภทฝาย จำนวน
1 แห่ง ประเภทประตรู ะบายน้ำ และอืน่ ๆ จำนวน 6 แห่ง ความจุอา่ งเก็บน้ำขนาดกลาง รวม 16.15 ลา้ น ลบ.ม.
และสถานสี บู น้ำดว้ ยไฟฟา้ จำนวน 47 แห่ง

จังหวัดนครนายก แหล่งน้ำจังหวัดนครนายก เขื่อนขุนด่านปราการชล ความจุ 224.000 ลบ.ม.
อ่างเก็บน้ำทรายทอง ความจุ 2.000 ลบ.ม. อ่างเก็บน้ำคลองโบด ความจุ 4.188 ลบ.ม. อ่างเก็บน้ำห้วยปรือ
ความจุ 8.360 ลบ.ม. อ่างเก็บน้ำคลองสีเสียด ความจุ 1.140 ลบ.ม. อ่างเก็บน้ำบ้านวังม่วง ความจุ 0.8 ลบ.ม.
อ่างเก็บน้ำวังบอน ความจุ 6.90 ลบ.ม. อ่างเก็บน้ำคลองกลาง ความจุ 3.10 ลบ.ม. พื้นที่ชลประทานจังหวัด
นครนายก โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษานครนายก จำนวน 340,563 ไร่ โครงการส่งน้ำและบำรุงรกั ษาขุนด่าน
นครนายก จำนวน 18,280 ไร่ โครงการชลประทานนครนายก จำนวน 43,992 ไร่ และโครงการส่งน้ำและ
บำรุงรกั ษารังสิตใต้ จำนวน 96,618 ไร่

จังหวัดสมุทรปราการ แหล่งน้ำธรรมชาติ จังหวัดสมุทรปราการตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา
และบางปะกง มแี มน่ ้าเจ้าพระยาไหลผ่านจงั หวัด โดยไหลผา่ น อำเภอพระประแดง อำเภอพระสมุทรเจดีย์ และ
อำเภอเมืองสมุทรปราการ ระยะทางรวมกันประมาณ 30 กิโลเมตร คลองธรรมชาตแิ ละคลองชลประทาน รวม
548 คลอง ความยาวคลองรวมทั้งสิ้น 1,553 กิโลเมตร คลองธรรมชาติฝั่งตะวันออก จำนวน 348 คลอง
ความยาวรวม 1,168 กโิ ลเมตร มีความจุรวมประมาณ 180 ลา้ นลูกบาศกเ์ มตร และคลองธรรมชาติฝ่ังตะวันตก
ของแม่น้ำเจ้าพระยา จำนวน 200 คลอง ความยาวรวม 385 กิโลเมตร มีความจุคลองรวม ประมาณ 15 ล้าน
ลูกบาศก์เมตร นอกจากแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นแม่น้ำสายหลักแล้ว ยังมีคลองระบายน้ำ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นคลอง

37

ธรรมชาติที่สำคัญ จำนวน 14 คลอง ได้แก่ คลองหัวเกลือ คลองบางกระเทียม คลองสนามพลี คลองต้นไทร
คลองบางน้ำจืด คลองบางแก้วใหญ่ คลองบางปลาร้า คลองบางเหี้ยน้อย คลองบางกระบือ คลองอ้อมบางปลา
คลองบางขวางใหญ่ คลองกระแชงเตย คลองหม้อข้าวหม้อแกง และคลองบางคา คลองชลประทานที่ได้มี
การขุดขึ้นเพื่อระบายน้ำที่สำคัญมีจำนวน 13 คลอง ได้แก่ คลองบางปลา คลองสําโรง คลองเจริญราษฎร์
คลองบางเสาธง คลองพระยาเพชร คลองหนองงเู หา่ คลองบางโฉลง คลองบางนางเพง็ คลองพระองค์ไชยานุชิต
คลองกลั ยา คลองด่าน คลองชายทะเล และคลองศรี ษะจรเข้

3.5 แผนพฒั นาการเกษตรและสหกรณร์ ะดับจังหวดั
1) จังหวัดชลบุรีมีแผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์มุ่งสู่วิสัยทัศน์ (Vision) ได้แก่ “เมืองเกษตร

ปลอดภัย พัฒนาภาคการเกษตรด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยีอย่างยั่งยืน” พันธกิจ (Mission) ผลิตสินค้า
เกษตรปลอดภัยตลอดโซ่อุปทาน ยกระดับการพัฒนาเศรษฐกิจการเกษตรให้เติบโตอย่างมีเสถียรภาพ ส่งเสริม
พัฒนางานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยี ด้านการเกษตร เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการทรัพยากร
การเกษตรและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพเพื่อยกระดับการพัฒนากลุ่ม
เกษตรกร และสถาบันเกษตรกร พัฒนาสมรรถนะบุคลากรภาครัฐทางการเกษตร เป้าประสงค์หลักการ
พัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ของจังหวดั (Goals) ดังนี้ สินค้าเศรษฐกิจทสี่ ำคญั ด้านพชื ปศุสตั ว์ และประมง
ได้รับการรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตรปลอดภัย มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัด (GPP) ภาคการเกษตร
เพิ่มขึ้น เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและการตลาดสินค้าเกษตร การผลิตสินค้าเกษตรเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
กลุ่มเกษตรกร และสถาบันเกษตรกร มีความเข้มแข็ง บุคลากรภาครัฐทางการเกษตรมีความรู้ความสามารถใน
การพฒั นาดา้ นการเกษตรตามมาตรฐาน โดยมีประเดน็ ยุทธศาสตร์ (Strategic Issue) 6 ประเด็น ไดแ้ ก่

ประเด็นยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 เพิ่มประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจดั การสนิ ค้าเกษตรตลอดโซ่อุปทาน
เป้าประสงค์เชงิ ยุทธศาสตร์
1.1 ส่งเสรมิ การผลติ สินคา้ เกษตรใหไ้ ด้มาตรฐานรองรับความต้องการของตลาด
1.2 สง่ เสริมการบริหารจัดการโซ่อปุ ทานสินคา้ เกษตร
1.3 เสรมิ สร้างความมัน่ คงทางอาหารอยา่ งยัง่ ยนื
1.4 สนับสนุนความรว่ มมอื ระหว่างภาครฐั และเอกชน
ตัวชี้วัด 1.1 จำนวนแปลง/ฟาร์ม/สถานประกอบการที่ได้รับการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย
(Food Safety) รายได้เงนิ สดสทุ ธิทางการเกษตร
2.2 ผลติ ภณั ฑ์มวลรวมของจงั หวดั (GPP) ภาคเกษตรเพิ่มข้นึ
กลยทุ ธ์ 1.1 ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยใหไ้ ดม้ าตรฐาน
1.2 พฒั นาระบบการผลติ สนิ คา้ เกษตร ลดต้นทนุ เพม่ิ ผลผลติ
1.3 สนับสนุนการเข้าถึงแหล่งเงินทุนดา้ นการเกษตร
ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 เพมิ่ ความสามารถในการแขง่ ขันภาคการเกษตร
เปา้ ประสงคเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตร์
2.1 สนิ คา้ เกษตรมีภาพลกั ษณ์ดี และเป็นทย่ี อมรบั ระดับสากล

38

2.2 สินค้าเกษตรมีมูลค่าเพิม่
2.3 มศี ูนย์กลางระบบตลาดสนิ คา้ เกษตร
2.4 เครือขา่ ยการผลิตและการตลาดสนิ คา้ เกษตรมกี ารเช่ือมโยง
ตวั ชี้วดั 2.1 มตี ลาดสนิ คา้ เกษตรออนไลนแ์ ละออฟไลน์ อย่างน้อย 1 ระบบ
2.2 ผลติ ภณั ฑม์ วลรวมของจงั หวดั (GPP) ภาคเกษตรเพิม่ ขึ้น
กลยทุ ธ์ 2.1 สรา้ งการเชอื่ มโยงเครือข่ายการผลติ และการตลาดสนิ คา้ เกษตร
2.2 สง่ เสรมิ การวางแผนการผลิตสินคา้ เกษตรตามความต้องการของตลาด
2.3 การสรา้ งมูลค่าเพ่ิมสนิ คา้ เกษตรปลอดภยั
2.4 สร้างอตั ลกั ษณ์สนิ คา้ เกษตรทอ้ งถน่ิ
ประเด็นยุทธศาสตรท์ ่ี 3 การนำงานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยี มาพฒั นาภาคการเกษตร
เปา้ ประสงคเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตร์
3.1 สนิ ค้าเกษตรไดร้ ับการพัฒนาใหม้ ีคณุ ภาพสงู และมคี วามหลากหลายจากการประยกุ ตใ์ ช้
งานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยี
3.2 มีระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศการเกษตร เพอ่ื การเชอ่ื มโยงขอ้ มลู
ตวั ชีว้ ดั 3.1 สนิ ค้าเกษตรทไี่ ดร้ ับการพัฒนาด้วยนวัตกรรม และเทคโนโลยี อย่างน้อย 1 ชนดิ
3.2 ขอ้ มลู ในระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศการเกษตรเปน็ ปจั จบุ ัน
กลยทุ ธ์ 3.1 ส่งเสรมิ และพฒั นาคณุ ภาพสินคา้ เกษตร ผลิตภัณฑ์เกษตรแปรรูปด้วยงานวจิ ยั นวัตกรรม
และเทคโนโลยี เพื่อเพิ่มมลู ค่าสนิ ค้าเกษตร
3.2 พฒั นาระบบเทคโนโลยแี ละสารสนเทศด้านการเกษตรให้มปี ระสิทธิภาพ
ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 4 บริหารจัดการทรัพยากรการเกษตรและสิง่ แวดล้อมอย่างสมดุลและย่ังยืน
เป้าประสงค์เชงิ ยุทธศาสตร์
4.1 ขยายผลการทำการเกษตรตามแนวทางเกษตรกรรมย่ังยืน
4.2 มกี ารบรหิ ารจดั การทรัพยากรทางการเกษตรอย่างเปน็ ระบบ
ตัวช้วี ดั 4.1 มีพื้นทกี่ ารทำเกษตรกรรมยง่ั ยืน อยา่ งนอ้ ย 5,000 ไร่
4.2 มรี ะบบการบรหิ ารจัดการทรพั ยากรการเกษตรอย่างน้อย 1 ระบบ
กลยทุ ธ์ 4.1 ส่งเสรมิ และพฒั นาการทำการเกษตรตามแนวทางเกษตรกรรมยั่งยนื
4.2 สร้างระบบเตอื นภยั ทางการเกษตร
4.3 พฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การทรพั ยากรทางการเกษตร
ประเด็นยทุ ธศาสตร์ท่ี 5 สรา้ งความเขม้ แข็งใหก้ ับเกษตรกรและสถาบนั เกษตรกร
เป้าประสงค์เชงิ ยุทธศาสตร์
5.1 กลมุ่ เกษตรกรและสถาบันเกษตรกร ไดร้ บั การพัฒนาใหเ้ ป็นองคก์ รท่เี ข้มแข็ง และดำเนนิ
กิจกรรมอย่างต่อเนอื่ ง

39

5.2 เกษตรกรได้รับการพัฒนาศักยภาพสู่การเป็น Young Smart Farmer และ Smart Farmer
ตวั ชว้ี ดั 5.1 กลมุ่ เกษตรกรและสถาบันเกษตรกรมีการดำเนินธุรกิจอยา่ งน้อย 1 ชนดิ
5.2 Young Smart Farmer และ Smart Farmer มีจำนวนเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 5
กลยุทธ์ 5.1 สรา้ งความเขม้ แขง็ ให้แก่เกษตรกร และสถาบนั เกษตรกร
5.2 พฒั นาองคค์ วามรู้ และความเชีย่ วชาญด้านการเกษตรสู่การเป็นเกษตรกรมอื อาชีพ
5.3 การเขา้ ถงึ แหล่งเงนิ ทุนของเกษตรกร และสถาบันเกษตรกร
ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 6 พัฒนาสมรรถนะบุคลากรและบริหารจดั การภาครฐั
เปา้ ประสงค์เชิงยทุ ธศาสตร์
6.1 บุคลากรภาครฐั มสี มรรถนะในการปฏบิ ตั ิงานเพ่มิ ข้นึ
6.2 บุคลากรภาครัฐมีความพรอ้ มในการใหบ้ ริการทดี่ ี
ตวั ชี้วดั 6.1 จำนวนบุคลากรภาครัฐได้รับการพัฒนาสมรรถนะ
6.2 ผู้รับบรกิ ารมีความพงึ พอใจ รอ้ ยละ 80
กลยทุ ธ์ 6.1 เสริมสรา้ งการพฒั นาศกั ยภาพ และการจดั การความรู้ ทกั ษะ ในการปฏบิ ตั ิงาน
6.2 สร้างเครือข่ายบุคลากรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และหน่วยงานภาคเี ครอื ข่าย
6.3 การให้บรกิ ารในระบบออนไลน์และออฟไลน์

2) จังหวัดระยองมีแผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์มุ่งสู่วิสัยทัศน์ (Vision) “แหล่งผลิตสินค้าเกษตร
ท่ีมีคุณภาพตามมาตรฐานสากล” พันธกิจ (Mission) พฒั นาคุณภาพชวี ิตเกษตรกรให้เป็น Smart Farmer สถาบัน
เกษตรกรเข้มแขง็ และมคี วามม่ันคง พัฒนาเศรษฐกิจการเกษตรใหเ้ ตบิ โตอยา่ งมีเสถียรภาพ โดยส่งเสรมิ และพัฒนา
ให้มีการผลิตสินค้าเกษตรและอาหารที่มีประสิทธิภาพ เสริมสร้างความมั่นคงด้านอาหารและพลังงาน
อย่างเหมาะสมและยั่งยืน สามารถสร้างมูลค่าเพิ่ม สอดคล้องกับความต้องการของตลาด และมีมาตรฐาน
ปลอดภัยต่อผู้บริโภคทั้งภายในและต่างประเทศ พัฒนาและส่งเสริมให้เกษตรกรมีการประยุกต์ใช้ปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง นำเทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านการเกษตรมาใช้อย่างเหมาะสม และมีการวิจัยเทคโนโลยี
และนวัตกรรมเพื่อนำมาใช้ประโยชน์ต่อเนื่อง พัฒนาและบริหารจัดการทรัพยากรการผลิตทางการเกษตร และ
โครงสร้างพื้นฐานการเกษตรอย่างพอเพียง มีประสิทธิภาพยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เป้าประสงค์
หลักการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ของจังหวัดระยอง (Goals) เกษตรกร Smart Farmer และสถาบัน
เกษตรกรเข้มแข็ง การผลิตสินค้าเกษตรมีมาตรฐานปลอดภัยสอดคล้องกับความต้องการของตลาดทั้งในและ
ต่างประเทศ และเกิดความมั่นคงทางด้านอาหาร มีการนำงานวิจัย เทคโนโลยีและนวัตกรรมการเกษตรที่เหมาะสม
มาใช้ให้เกิดประโยชน์ ภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทรัพยากรการผลิตและโครงสร้างพื้นฐาน
การเกษตรมีอย่างพอเพียง และใชไ้ ดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ (Strategic Issue) 4 ประเดน็ ไดแ้ ก่

ประเดน็ ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 สรา้ งความเข้มแข็งให้กบั เกษตรกรและสถาบันเกษตรกร
เปา้ ประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ : เกษตรกร Smart Farmer และสถาบนั เกษตรกรเข้มแข็ง

40

ตัวชี้วัด 1) ร้อยละของเกษตรกรที่ผ่านการประเมินเป็น Smart Farmer เทียบกับเกษตรกร ที่ได้รับ
การส่งเสรมิ และพฒั นาเป็น Smart Farmer เพมิ่ ขน้ึ ร้อยละ 5 ต่อปี

2) ร้อยละของสถาบันเกษตร (กลุ่มเกษตรกร สหกรณ์การเกษตร และวิสาหกิจชุมชน) ที่ผ่านเกณฑ์
มาตรฐานที่กำหนดของแตล่ ะประเภท ร้อยละ 60

กลยุทธ์ :1) สร้างและพัฒนาเกษตรกรเป็น Smart Farmer สร้างเกษตรกรต้นแบบ และสร้างจิตสำนึกใน
การประกอบอาชีพ ทั้งด้านพืช ประมง ปศุสัตว์ และอื่น ๆ รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนแนวทางการดารงชีวิตตาม
หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (เกษตรผสมผสาน เกษตรทฤษฎีใหม่ และเกษตรกรรมยั่งยืน)

2) เสริมสร้าง พัฒนาเครือข่ายและสนับสนุนความเข้มแข็งให้กับสถาบันเกษตรกร (กลุ่มเกษตรกร สหกรณ์
การเกษตร และวสิ าหกิจชมุ ชน) ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ประเด็นยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 เพิม่ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการสนิ ค้าเกษตรตลอดหว่ งโซ่อุปทาน
เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ : การผลิตสินค้าเกษตรมีมาตรฐานปลอดภัยสอดคล้องกับความต้องการของ
ตลาดท้ังในและตา่ งประเทศ และเกิดความม่ันคงทางด้านอาหาร
ตัวชว้ี ดั :1) จำนวนแปลง/ฟาร์มท่ีไดร้ บั รองมาตรฐานเพม่ิ ขึน้ ร้อยละ 10 ต่อปี (ปีฐาน 2561)
2) มีช่องทางหรือเครือข่ายการตลาดเพ่ิมข้ึนอยา่ งน้อยปีละ 2 ชอ่ งทาง
3) จำนวนแหลง่ ท่องเที่ยวเชิงเกษตรท่ีเพิ่มขึ้นอย่างน้อยปีละ 3 แหง่
4) มีระบบฐานขอ้ มลู ด้านการเกษตรประมงและปศสุ ตั ว์ของจังหวดั ระยองเปน็ เอกภาพครบถว้ นและเปน็ ปจั จุบนั
กลยุทธ์ 1) ส่งเสริมและพัฒนาการผลิตสินค้าและผลิตภัณฑ์เกษตร ประมง และปศุสัตว์ ให้มีความ
ปลอดภัยทั้งผ้ผู ลิตและผู้บรโิ ภค มคี ุณภาพได้ตามมาตรฐานที่กาหนด (GAP เกษตรอนิ ทรีย์ GMP HACCP หรอื อน่ื ๆ )
เพ่อื ให้มคี วามม่ันคงทางด้านอาหาร และสอดคล้องกับความต้องการของตลาด
2) สรา้ งและขยายเครือข่ายการตลาด และช่องทางการจำหน่ายสนิ คา้ เกษตร ประมง ปศุสตั วแ์ ละผลิตภัณฑ์
โดยสร้างเครือข่ายและช่องทางการตลาดทั้งเก่าและใหม่ (ผลิตสู่โรงงาน และแรงงาน ในภาคอุตสาหกรรมในจังหวัด
ระยอง และใกลเ้ คยี ง)
3) พัฒนาและฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรทั้งเก่าและใหม่ ด้วยการพัฒนาเสริมสร้างสิ่งอำนวยความ
สะดวก มาตรฐาน ปอ้ งกันและรักษาความปลอดภัยด้านการท่องเท่ียว พร้อมเช่อื มโยงส่ภู าคการท่องเทย่ี วและบริการ
และภาคอุตสาหกรรม
4) สร้างและพัฒนาเทคโนโลยี ระบบสารสนเทศ และระบบฐานข้อมูลด้านการเกษตร ประมง และปศุสัตว์
สามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างเป็นเอกภาพ
ประเดน็ ยุทธศาสตร์ท่ี 3 เพ่มิ ความสามารถในการแขง่ ขนั ภาคเกษตรดว้ ยเทคโนโลยีและนวัตกรรม
เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ : มีการนำงานวิจัย เทคโนโลยีและนวัตกรรมการเกษตรที่เหมาะสม มาใช้ให้
เกิดประโยชน์ ภายใต้หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ตัวชี้วัด 1) จำนวนผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ด้านการเกษตร ประมง หรือปศุสัตว์ที่ได้รับการพัฒนา
มาตรฐานผลผลติ และผลิตภัณฑ์เพ่ิมขน้ึ อย่างน้อยปีละ 3 ชนดิ

41

กลยทุ ธ์ 1) สนับสนุนการวิจัย พัฒนา และการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม ในกระบวนการการผลิต
การแปรรูปสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์ และการตลาด ด้วยการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพสินค้าและบริการให้มี
ความทันสมัย เพื่อยกระดับการผลิตผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมและผลิตภัณฑ์ชุมชน สามารถลดต้นทุนการผลิต และ
สร้างมลู ค่าเพิ่มสินค้าเกษตรตลอดหว่ งโซ่อุปทาน (เช่น แปรรปู ยดื อายเุ ก็บเก่ียวเก็บรักษา ขนสง่ การเพิ่มมูลค่าจาก
ของเหลอื ใช้ เปน็ ตน้ )

ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 4 บรหิ ารจัดการทรัพยากรการเกษตรและส่งิ แวดล้อมอย่างสมดุลและยง่ั ยืน
เป้าประสงคเ์ ชิงยุทธศาสตร์ : ทรัพยากรการผลิตและโครงสร้างพื้นฐานการเกษตรมีอย่างพอเพียง
ตัวชี้วัด 1) จำนวนพื้นที่ที่ได้รับการพัฒนาแหล่งน้ำและระบบการกระจายน้ำเพิ่มขึ้น อย่างน้อยปีละ
2 แหง่
2) จำนวนแหล่งทไ่ี ดร้ ับการฟ้ืนฟู/อนรุ ักษ์ทรัพยากรด้านการเกษตร ประมง และปศุสตั วป์ ลี ะ 3 แหลง่
3) มีแผนเตรียมการป้องกัน ควบคุม และแก้ไขปัญหาด้านภัยพิบัติ (ภัยแล้ง วาตภัย น้าท่วม โรคระบาด
ในพืชและสตั ว์ เปน็ ตน้ )
กลยุทธ์ :1) พัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานและสาธารณูปโภคพื้นฐาน ด้วยการปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐาน
และส่ิงอำนวยความสะดวกท่จี ำเป็นต่อการผลิตภาคเกษตร ประมง และปศุสตั ว์ โดยเฉพาะดินและน้ำ
2) อนุรักษ์ ฟื้นฟู ทรพั ยากรทางทะเลและชายฝั่ง และมีการใชป้ ระโยชน์อย่างเหมาะสม เกิดสมดุลต่อระบบ
นิเวศน์ ด้วยการสร้างแหล่งที่อยู่อาศัยให้กับสัตว์น้ำ ฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลและรอบ ๆ ชายฝั่ง เสริมสร้างอาชีพ
ด้านการอนุรักษ์พันธสุ์ ัตวเ์ ดิมของท้องถ่ิน เพ่ิมพน้ื ทส่ี ีเขยี ว โดยการมสี ่วนรว่ มของทุกภาคส่วน
3) การป้องกัน ควบคุม แก้ไขปัญหาการระบาดของศัตรูพืช และสัตว์ รวมทั้ง ภัยพิบัติต่าง ๆ (ภัยแล้ง
วาตภยั น้ำทว่ ม) เช่น การสรา้ งแหล่งกักเก็บน้ำเพ่ือป้องกัน แกไ้ ขปัญหาน้ำท่วม และภยั แล้ง คณุ ภาพน้ำการควบคุม
ป้องกนั การแพรร่ ะบาดของโรคสัตว์สู่สัตว์ และสัตวส์ คู่ น เปน็ ตน้

3) จังหวัดฉะเชิงเทรามีแผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์มุ่งสู่วิสัยทัศน์ (Vision) “มุ่งพัฒนา
สนิ คา้ เกษตรสู่เกษตรปลอดภยั ภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงพฒั นาไปสู่ความย่ังยืน” พนั ธกิจ (Mission)
ปรับปรุงและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการเกษตรเพื่อพัฒนาภาคการเกษตรให้ทันสมัย ปลอดภัย สร้าง
มูลค่าเพิ่ม และส่งเสริมด้านการตลาด ภายใต้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป้าประสงค์หลัก (Goals) ได้แก่
พัฒนาภาคการเกษตรให้ทันสมัย เกษตรกรมีรายได้ และคุณภาพชีวิตที่ยั่งยืน ผลิตสินค้าเกษตรให้มี
ความเพียงพอ และปลอดภัย รองรับการเปลี่ยนแปลงของเมืองในอนาคต ประเด็นยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย
5 ประเด็นยทุ ธศาสตร์ ดังน้ี

ประเด็นยุทธศาสตรท์ ่ี 1 ส่งเสรมิ และพฒั นาปจั จัยโครงสรา้ งพื้นฐานการผลิต
เปา้ ประสงคเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตร์ บริหารจัดการปัจจัยโครงสรา้ งพ้ืนฐานดา้ นการเกษตรให้มีศักยภาพสงู สุด
ตวั ชว้ี ดั 1. จำนวนพน้ื ท่ไี ดร้ บั ประโยชนจ์ ากระบบชลประทาน (ไร่)
2. จำนวนพนื้ ท่ีได้รับประโยชนจ์ ากแหล่งนำ้ นอกเขตชลประทาน (ไร่)
3. จำนวนทด่ี นิ เพ่อื การเกษตรทีไ่ ดร้ ับการปรบั ปรุงและพฒั นา (ไร)่

42

กลยุทธ์ 1. ส่งเสริมการบริหารจดั การนา้ ชลประทานในพ้ืนท่ี
2. พฒั นาแหล่งนา้ และระบบชลประทานให้เตม็ ศกั ยภาพ
3. ส่งเสริมการกอ่ สรา้ งแหลง่ นา้ นอกเขตชลประทาน
4. พฒั นาและปรับปรุงโครงสรา้ งพ้ืนฐานทางการเกษตรด้านดนิ
5. ส่งเสริมการรวมกลุ่มผู้ใชน้ ้ำและบริหารจดั การในพื้นที่
6. การส่งเสริมการใชพ้ นั ธด์ุ ี
ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 เพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันภาคการเกษตร
เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์
1. ส่งเสรมิ งานวจิ ยั เพื่อพฒั นาองค์ความรู้ ภมู ปิ ญั ญาและนวตั กรรมดา้ นการเกษตรเพอ่ื รองรบั
Thailand 4.0
2. สง่ เสรมิ การลดตน้ ทุนการผลิต
ตัวชีว้ ดั 1. มงี านวิจยั และนวัตกรรมด้านการเกษตรเพิ่มมากขึ้น
2. รอ้ ยละของตน้ ทนุ ทีล่ ดลง
กลยทุ ธ์ 1. สง่ เสรมิ ให้มีการนำงานวิจยั และนวัตกรรมมาปรบั ใชใ้ นการเกษตร
2. ระบบการบรหิ ารจดั การแปลงทเ่ี หมาะสม
ประเดน็ ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 สง่ เสรมิ และพฒั นาสถาบนั เกษตรกร/เกษตรกร ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง
เป้าประสงค์เชงิ ยทุ ธศาสตร์
1. เกษตรกรไดร้ บั การพฒั นาศักยภาพสู่การเปน็ Smart Farmer
2. สถาบนั เกษตรกรมีการดาเนินงานทีม่ มี าตรฐานเพิ่มข้ึน
ตัวชี้วัด 1. จำนวนเกษตรกรท่เี ปน็ Smart Farmer (ราย)
2. จำนวนสถาบันเกษตรกรที่ผา่ นการรับรองมาตรฐาน (แห่ง)
กลยทุ ธ์ 1. พฒั นาองคค์ วามรู้ การบรหิ ารจัดการ การทำธุรกิจ เพอื่ ให้ เกษตรกร/กลุ่มเกษตรกรเปน็
ผู้ประกอบการการเกษตร(Entrepreneur)
2. สง่ เสรมิ เกษตรกรและสถาบนั เกษตรกรตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง
ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 4 ส่งเสรมิ และพัฒนาสนิ ค้าเกษตรให้ไดม้ าตรฐานความปลอดภัย
เปา้ ประสงคเ์ ชงิ ยุทธศาสตร์
1. ประสทิ ธภิ าพการผลติ และการแปรรปู สินคา้ เกษตรของจงั หวัดมีคุณภาพ และมาตรฐานเพ่ิมข้นึ

(ขา้ ว มันสำปะหลัง ไข่ไก่ มะม่วง กุง้ ทะเล)
2. ขดี ความสามารถในการเช่ือมโยงเครือขา่ ยการผลติ และการตลาดสินคา้ เกษตรกรของจงั หวัดเพม่ิ ขึ้น
3. ร้านคา้ จำหนา่ ยปจั จัยการผลติ สินคา้ เกษตร และร้านอาหารท่ไี ด้ มาตรฐานความปลอดภยั เพิ่มขน้ึ
4. มูลคา่ ของสนิ ค้าเกษตรและผลติ ภณั ฑจ์ ากการเกษตรของจงั หวดั เพ่ิมข้นึ
ตวั ชวี้ ดั 1. จำนวนแปลง/ฟาร์ม/สถานประกอบการท่ีได้รับการรับรองมาตรฐาน อาหารปลอดภัย

43

(Food Safety) (แหง่ )
2. รา้ นคา้ จำหน่ายปัจจัยการผลติ สนิ คา้ เกษตร และร้านอาหารทไ่ี ด้ มาตรฐานความปลอดภยั เพม่ิ ข้นึ
3. ผลติ ภัณฑ์มวลรวมของจงั หวัด (GPP) ดา้ นการเกษตร (ร้อยละ)
กลยุทธ์ 1. สง่ เสรมิ การผลติ สินค้าเกษตรปลอดภยั มาตรฐาน GAP/GMP/HACCP เกษตรปลอดภยั สงู
2. พัฒนาระบบการผลติ ให้มปี ระสทิ ธภิ าพโดยคานงึ ถึงส่งิ แวดลอ้ ม
ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 5 สรา้ งมูลคา่ เพมิ่ สินค้าเกษตรและเชื่อมโยงการตลาด
เป้าประสงคเ์ ชิงยทุ ธศาสตร์
1. พัฒนาสินคา้ เกษตรเพื่อเพ่ิมมลู คา่ เชน่ การแปรรูป การบรรจุภณั ฑ์ เป็นต้น
2. มีตลาดสนิ คา้ เกษตรท่ีรองรับสนิ คา้ เกษตรที่ได้มาตรฐานความปลอดภัย
3. เตรยี มความพร้อมสนิ ค้าเกษตรเพ่ือรองรบั การเปลีย่ นแปลงที่เกิดขึน้ ในอนาคต
ตวั ช้ีวัด รายได้ของเกษตรกรทีเ่ พิม่ ขนึ้
กลยุทธ์ 1. เสริมสรา้ งและพฒั นาตลาดสินค้าเกษตรปลอดภัยให้มคี วามเขม้ แข็ง
2. การแปรรปู และพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อเพิม่ มลู ค่าสนิ ค้าเกษตร
3. การเตรยี มความพรอ้ มสินค้าเกษตรเพ่ือรองรับการเปลีย่ นแปลงในอนาคต

4) จังหวัดจันทบุรีมีแผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์มุ่งสู่วิสัยทัศน์ “เกษตรกรในจังหวัดจันทบุรีมี
คุณภาพชีวิตที่ดี ประชาชนมีความมั่นคงด้านอาหารผลผลิตได้มาตรฐาน เป็นฐานสร้างรายได้ให้แผ่นดิน”
พันธกิจ (Mission) พัฒนากระบวนการผลิตสินค้าเกษตรให้มีคุณภาพตลอดห่วงโซ่อุปทาน ปลอดภัยได้
มาตรฐานตรงตามความต้องการของตลาดผู้บริโภค ส่งเสริมให้เกษตรกรทำการผลิตการเกษตร สามารถ
พึ่งตนเองได้ โดยใช้หลักปรัชญาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการทรัพยากรและ
โครงสร้างพื้นฐานด้านการเกษตรให้มีประสิทธิภาพ ตรงตามความต้องการพื้นที่เกษตรกรรม ส่งเสริมการวิจัย
พัฒนา เทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านการเกษตร ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรภาคการเกษตร กลุ่มเกษตรกร
สถาบันเกษตรกร ให้เปน็ Smart Farmer Smart Officer และ Smart Ag-Groups

เป้าประสงค์หลักกำรพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ของจังหวัด (Goals) โครงสร้างพื้นฐานด้าน
การเกษตรครอบคลุมพื้นที่การเกษตรอย่างทั่วถึง สินค้าเกษตรมีคุณภาพมาตรฐานปลอดภัย ลดต้นทุน
การผลิต และตรงตามความต้องการของตลาด สินค้าเกษตรมีมูลค่าเพิ่ม โดยใช้การวิจัย เทคโนโลยีและ
นวัตกรรม เพิ่มศักยภาพในการแข่งขันทั้งในตลาดภายในประเทศและตลาดส่งออก เกษตรกร กลุ่มเกษตรกร
และสถาบันเกษตรกร ได้รับการพัฒนาให้เข้มแข็ง สามารถเชื่อมโยงเครือข่ายในการผลิต การแปรรูป และ
การตลาดและมีความภาคภูมิใจในอาชีพเกษตรกร พัฒนาบุคลากรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในจังหวัด
ให้กา้ วสกู่ ารเป็น Smart Officer ประเด็นยทุ ธศาสตร์ (Strategic Issue) 5 ประเด็นดังน้ี

ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 สรา้ งความเข้มแขง็ ใหก้ บั เกษตรกรและสถาบันเกษตรกร
เปา้ ประสงคเ์ ชงิ ยุทธศาสตร์

44

เกษตรกร กลุ่มเกษตรกร ได้รับการพัฒนาให้มีความเข้มแข็งสามารถพึ่งพาตนเองได้ มีความภูมิใจใน
อาชีพเกษตรกร และมีคุณภาพชีวิตที่ดีอย่างยั่งยืน สถาบันเกษตรกร และองค์กรเกษตรกร ได้รับการพัฒนาให้
เข้มแข็งตามศักยภาพและความพร้อม และสามารถเชื่อมโยงเครือข่ายการค้า เกษตรกรและกลุ่มเกษตรกร
สามารถเป็นผู้ประกอบการธรุ กิจเกษตรแบบมืออาชีพ (Smart Farmer)

ตัวชี้วดั จำนวนเกษตรกรท่ีได้รับการอบรมให้ความรู้ ไดร้ ับความเข้าใจ และนำไปประยุกต์ใช้ในแปลง
ของตนเอง (ราย) จำนวนแหล่งด้านการเกษตรที่ได้รับการส่งเสริมและพัฒนา (แห่ง) จำนวนเกษตรกรที่ได้รับ
การพฒั นาเปน็ Smart Farmer

กลยุทธ์ 1 ส่งเสริมและขยายผลการทาการเกษตรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ให้เห็นผลในทางปฏิบัติ
อยา่ งเปน็ รปู ธรรมและย่งั ยืน

2 พัฒนาและขยายแหล่งเรียนรู้ทางการเกษตร เสริมสร้างความภูมิใจและความมั่นคงในการประกอบ
อาชีพเกษตรกรรม

3 ส่งเสรมิ และถ่ายทอดเทคโนโลยี นวตั กรรม กฎระเบยี บมาตรฐาน เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ให้เกษตรกร
สเู่ กษตรกรมอื อาชีพ (Smart Farmer)

4. เสริมสร้างความเข้มแข็ง การบริหารจัดการ และเชื่อมโยงเครือข่ายของเกษตรกร กลุ่มและสถาบัน
เกษตรกร สามารถขยายตลาดสนิ ค้าเกษตรได้อย่างมีประสิทธภิ าพ

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและยกระดับมาตรฐานสินค้าเกษตร
เป้าประสงค์เชงิ ยุทธศาสตร์

สินค้าเกษตรของจังหวัดจันทบุรี มีคุณภาพได้มาตรฐานมีความปลอดภัยตรงตามความต้องการของ
ตลาดท้งั ในและตา่ งประเทศ

ตวั ชีว้ ดั 1. จำนวนแปลง/ฟาร์ม/ ท่ไี ด้รับการรับรองมาตรฐาน (แปลง)
2. จำนวนพนื้ ท่ีท่เี ขา้ รว่ มการสง่ เสรมิ การเกษตรแบบแปลงใหญ่ (แปลง)
กลยทุ ธ์ 1. สง่ เสรมิ การผลติ สินค้าเกษตรปลอดภัยได้มาตรฐาน ตรงความตอ้ งการของตลาด
2. ส่งเสรมิ การบรหิ ารจัดการการผลติ สนิ ค้าเกษตรแบบครบวงจร ตลอดหว่ งโซอ่ ุปทาน ลดต้นทนุ
การผลติ เพิม่ มลู คา่ สนิ ค้า เพ่ือสร้างความสามารถในการแข่งขนั ในตลาดสนิ คา้ เกษตรได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การเพิม่ ความสามารถในการแขง่ การเกษตรดว้ ยเทคโนโลยีและนวัตกรรม
เปา้ ประสงคเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตร์
การนำงานวิจัย เทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านการเกษตรไปประยุกต์ใช้ในพื้นที่ ข้อมูลสารสนเทศด้าน
การเกษตรเผยแพรส่ ูเ่ กษตรกร และเกษตรกรสามารถนำไปใชป้ ระโยชน์ได้อยา่ งทั่วถึง
ตวั ชว้ี ัด 1. รอ้ ยละที่เพิ่มขึน้ ของการนำงานวจิ ัย เทคโนโลยี และนวตั กรรมทางการเกษตรไปประยุกต์ใช้
ในพ้นื ที่
2. รอ้ ยละทเี่ พ่ิมขน้ึ ของเกษตรกร ผรู้ บั ข้อมูลท่ีเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ข่าวสารของระบบสารสนเทศ
กลยทุ ธ์ 1. สง่ เสริมให้เกษตรกร กลุ่มเกษตรกร สถาบันเกษตรกร นำงานวิจยั เทคโนโลยแี ละนวัตกรรมมาใช้
ในการผลติ สนิ ค้าเกษตร

45

2. พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ รวบรวมและเชื่อมโยงข้อมูลเผยแพร่ข้อมูลด้านการผลิตสินค้าเกษตร
และส่งเสรมิ การทำการตลาดออนไลน์

3. ส่งเสริมงานวิจัยเชิงประยุกต์โดยการใช้ศูนย์เทคโนโลยีนวัตกรรมเกษตรเพื่อพัฒนางานวิจัย และ
ถา่ ยทอดเทคโนโลยที ่ีเหมาะสมกับความต้องการในพนื้ ท่ี

ประเด็นยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 บรหิ ารจดั การทรัพยากรการเกษตรและส่ิงแวดล้อมอย่างสมดุลและยงั่ ยืน
เป้าประสงค์เชิงยทุ ธศาสตร์

การบริหารจัดการโครงการพื้นฐานการผลิตสินค้าเกษตร ทรัพยากรการเกษตรและสิ่งแวดล้อมเปน็ ไป
อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และยัง่ ยนื

ตวั ช้ีวัด 1. จำนวนพ้นื ทท่ี ำการเกษตรได้รบั การพัฒนาปรับปรงุ บำรุงดนิ (ไร่)
2. จำนวนพืน้ ท่ีรับประโยชน์จากการบริหารจดั การนำ้ ในเขตชลประทาน (ไร่)
3. จำนวนพน้ื ทีท่ ี่ทาการเกษตรแบบปลอดภัย ไมใ่ ชส้ ารเคมเี พมิ่ ขึ้น (ไร่)
กลยุทธ์ 1. สง่ เสรมิ และพัฒนาการปรบั ปรงุ คุณภาพดนิ และน้ำให้เหมาะสมแก่การผลิตสนิ ค้าเกษตร
2. บรหิ ารจดั การทรพั ยากรน้ำอย่างเป็นระบบและมีประสทิ ธิภาพสูงสดุ
3. ส่งเสรมิ การทาการเกษตรปลอดภยั จากสารเคมีและเปน็ มิตรต่อส่ิงแวดลอ้ ม
ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 5 การพัฒนาระบบบริหารจดั การภาครัฐ
เปา้ ประสงคเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตร์
1. บุคลากรหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้รับการพัฒนาเพิ่มศักยภาพสู่การเป็น
Smart Officer
2. การบริหารจัดการแผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ของจังหวัดมีประสิทธิภาพมีการบูรณาการ
ระหวา่ งหนว่ ยงานในสังกดั
ตวั ชวี้ ดั 1. จำนวนบคุ ลากร/เจ้าหน้าทข่ี องกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ทเ่ี ปน็ Smart Officer (ราย)
2. ร้อยละของผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ของจังหวัดเป็นไปตาม
เป้าหมายทก่ี าหนด (ร้อยละ)
กลยทุ ธ์ 1. ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรด้านการเกษตร ของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ สู่การเปน็ Smart Officer
2. พัฒนาและบูรณาการแผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ของจังหวัดให้มีประสิทธิภาพสอดคล้อง
กับแผนการพฒั นาระดับพื้นท่ี

5) จังหวัดตราด มีแผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์มุ่งสู่วิสัยทัศน์ (Vision) “เกษตรกรมั่นคง
ภาคการเกษตรมั่งคั่ง ทรัพยากรการเกษตรยั่งยืน ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” พันธกิจ (Mission)
พัฒนาเกษตรกรสู่การเป็น Smart Farmers พัฒนาเกษตรกรและสถาบันเกษตรกรให้เป็นผู้ประกอบการธุรกจิ
เกษตร (Smart Group และSmart Enterprise) ส่งเสริมให้เกษตรกรเข้าถึงระบบสารสนเทศทางการเกษตร
และนำไปใช้ได้อย่างทั่วถึง ส่งเสริมการทำเกษตรกรรมยั่งยืน อาทิ เกษตรอินทรีย์ เกษตรทฤษฎีใหม่

46

เกษตรผสมผสาน บริหารจัดการทรัพยากรการเกษตรอย่างยั่งยืน และส่งเสริมการทำการเกษตรที่เป็นมิตรกับ
สิ่งแวดล้อม บริหารจัดการแบบครบวงจร เพิ่มพื้นที่ชลประทานให้เต็มศักยภาพ ส่งเสริมการใช้นำทาง
การเกษตรอย่างคุ้มค่า ปรับปรุงบำรุงดินให้มีความอุดมสมบูรณ์เหมาะสำหรับการทำการเกษตร เป้าประสงค์
หลักการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ของจังหวัด (Goals) เกษตรกรมีความสามารถในอาชีพของตนเอง
(Smart Farmers) สถาบันเกษตรกรมีประสิทธิภาพในการดำเนินงาน (Smart Agricultural Groups) สินค้า
เกษตรมีคุณภาพมาตรฐานตรงตามความตอ้ งการของตลาด (Smart Agricultural Products) พ้ืนทเ่ี กษตรและ
ภาคการเกษตรมีศักยภาพ (Smart Area/Agricultural) ประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategic Issue) 4 ประเด็น
ไดแ้ ก่ ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 สรา้ งความเข้มแข็งให้กับเกษตรกรและสถาบนั เกษตรกร

เปา้ ประสงค์เชงิ ยทุ ธศาสตร์
1. เพื่อให้เกษตรกรมีความมั่นคง สามารถพัฒนาอาชีพเกษตร เพื่อสร้างรายได้และมีความภูมิใจใน
การประกอบอาชีพเกษตรกรรม
2. เพอื่ สนบั สนุนให้เกษตรกรและสถาบนั เกษตรกรเป็นผู้ประกอบการธรุ กจิ เกษตรมืออาชีพ
3. เพอ่ื พัฒนาและเชื่อมโยงเครอื ข่ายในการประกอบอาชีพเกษตรกรรม
ตวั ชว้ี ัด 1. เกษตรกรได้รับการพัฒนาก้าวไปสู่ Smart Farmer และ Young Smart Farmer เพิ่มข้ึน
จำนวน 1,400 ราย
2. พ้ืนทท่ี ำเกษตรกรรมย่ังยืนเพม่ิ ขึ้น จำนวน 50,000 ไร่
3. สหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร ผา่ นเกณฑ์มาตรฐานของกรมส่งเสริมสหกรณ์ร้อยละ 80
4. สหกรณ์/กลุม่ เกษตรกร มีอตั ราการขยายตัวของปรมิ าณธุรกิจเพ่ิมข้ึนร้อยละ 3 เม่ือเทียบกบั ปีกอ่ น
กลยทุ ธ์ 1. ขยายผลการทำการเกษตรตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง
2. เสรมิ สร้างความภมู ิใจและความม่ันคงในการประกอบอาชพี เกษตรกรรม
3. สง่ เสริมการทำการเกษตรยัง่ ยนื ใหเ้ หน็ ผลในทางปฏบิ ัติ
4. พัฒนาองคค์ วามรขู้ องเกษตรกรสเู่ กษตรกรมืออาชีพ
5. สร้างความเขม้ แข็งและเช่อื มโยงเครอื ข่ายของเกษตรกรและสถาบนั เกษตรกร
ประเดน็ ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 เพ่ิมประสทิ ธิภาพการบริหารจดั การสินคา้ เกษตรตลอดโซ่อปุ ทาน
เปา้ ประสงคเ์ ชิงยุทธศาสตร์
1. เพอื่ สนับสนนุ การผลิต การแปรรปู และการตลาดสินค้าเกษตรไปสู่คุณภาพและมาตรฐานสินคา้ ปลอดภัย
2. เพิ่มประสิทธภิ าพการบรหิ ารจัดการโซ่อปุ ทานสนิ ค้าเกษตรให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด
และเพม่ิ มูลคา่
ตัวชี้วัด แปลง/ฟาร์ม ที่อยู่ในกำกับของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ที่มายื่นขอรับรองมาตรฐานผ่าน
การรับรองมาตรฐาน (GAP) ร้อยละ 80
กลยทุ ธ์ 1. สง่ เสริมการผลติ สนิ ค้าเกษตรให้ได้มาตรฐานรองรับความต้องการของตลาด
2. ส่งเสรมิ การบริหารจัดการโซ่อปุ ทานสินค้าเกษตร
3. เพมิ่ มูลค่าสนิ ค้าเกษตร

47

ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 เพิม่ ความสามารถในการแขง่ ขนั ภาคการเกษตรดว้ ยเทคโนโลยีและนวตั กรรม
เปา้ ประสงคเ์ ชิงยุทธศาสตร์ เพอ่ื พัฒนาระบบสารสนเทศใหส้ ามารถใชป้ ระโยชนอ์ ย่างทว่ั ถึง

ตัวช้วี ัด เกษตรกรที่ได้รับการถ่ายทอดความรูก้ ารใช้บริการจากระบบสารสนเทศการเกษตรจำนวนไม่
น้อยกว่า 3,500 ราย

กลยทุ ธ์ พฒั นาเทคโนโลยสี ารสนเทศการเกษตรและเชือ่ มโยงข้อมลู อยา่ งเป็นระบบ
ประเด็นยทุ ธศาสตร์ที่ 4 บริหารจดั การทรพั ยากรการเกษตรและส่งิ แวดล้อมอย่างสมดุลและยงั่ ยืน
เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ เพื่อให้เกิดการบริหารจัดการทรัพยากรการเกษตรและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุล
และยัง่ ยืนท้ังในแงข่ องการใชป้ ระโยชน์และการอนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม
ตวั ชี้วัด 1. จำนวนพน้ื ทีด่ ินได้รบั การจดั การและฟ้ืนฟเู พ่ิมขนึ้ จำนวน 50,000 ไร่
2. พฒั นาและฟืน้ ฟแู หลง่ น้ำในไร่นาเพม่ิ ขึ้น จำนวน 210 แหง่
3. แหล่งน้ำเพื่อการอนุรักษด์ ินและนำ้ ไดร้ บั การฟน้ื ฟูเพม่ิ ขึ้น จำนวน15 แห่ง (กรมพฒั นาท่ีดนิ ได้
ถ่ายโอนภารกิจให้องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน)
4. พนื้ ท่ีชลประทานเพมิ่ ขึ้น จำนวน 50,000 ไร่
5. ปริมาณนำ้ เพมิ่ ข้นึ จำนวน 62,000,000 ลูกบาศก์เมตร
6. สตั วน์ ้ำที่ปล่อยในแหลง่ นำ้ ธรรมชาตเิ พิม่ ข้ึน จำนวน 49,600,000 ตวั
7. แหล่งท่ีอยูอ่ าศยั สตั วน์ ้ำได้รบั การพฒั นาเพ่ิมข้นึ จำนวน 35 แหง่
กลยุทธ์ 1. ส่งเสรมิ การเกษตรทเี่ ปน็ มิตรกับสง่ิ แวดลอ้ ม
2. บริหารจัดการทรัพยากรนำ้
3. บรหิ ารจัดการพืน้ ที่ทำกนิ ทางการเกษตร
4. บริหารจดั การทรัพยากรสัตว์น้ำ

6) จังหวัดสระแก้ว มีแผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์มุ่งสู่วิสัยทัศน์ (Vision) “คุณภาพชีวิต
เกษตรกรดขี ้ึน มั่นคง สินค้าเกษตรปลอดภยั ได้คุณภาพมาตรฐานสากลดว้ ยเทคโนโลยแี ละนวัตกรรม ทรพั ยากร
การเกษตรและสิ่งแวดล้อมมคี วามสมดุลและย่งั ยนื ตามแนวของปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง” พันธกิจ (Mission)
พฒั นาคุณภาพชีวติ เกษตรกรให้มคี วามมน่ั คงและพ่งึ พาตนเองได้ พฒั นาการเกษตรใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ เป็นแหล่ง
ผลิตสินค้าการเกษตร โดยการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร การแปรรูป การพัฒนาคุณภาพ และส่งเสริมเกษตร
ปลอดภัยดว้ ยเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมสมยั ใหม่ บริหารจดั การทรพั ยากรการเกษตรและส่งิ แวดล้อมอย่างสมดุล
และยั่งยืน พัฒนาการเกษตรตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป้าประสงค์ ยกระดับการผลิตสินค้า
เกษตรให้เป็นแหล่งผลิตสินค้าการเกษตรปลอดภัยและได้มาตรฐานสากล ลดต้นทุนการผลิต และสร้าง
ความเข้มแข็งโดยการรวมกลุ่มและเชื่อมโยงเครือข่าย เพื่อให้เกษตรกรสามารถพึ่งพาตนเองได้ ส่งเสริมและ
สนับสนุนการแปรรูปสินค้าเกษตรเพื่อเพิ่มมูลค่า บริหารจัดการทรัพยากรการเกษตรอย่างเหมาะสมและยั่งยนื
สง่ เสริมและพฒั นาโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ เพิ่มประสิทธภิ าพการผลิตสนิ ค้าเกษตรด้วยเทคโนโลยี
และนวตั กรรม พรอ้ มทงั้ สนบั สนนุ การวจิ ยั และพฒั นาเทคโนโลยีนวัตกรรมใหม่ๆ ทเี่ ก่ียวเนือ่ งกบั ภาคการเกษตร
ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ ประกอบดว้ ย 3 ประเด็นยทุ ธศาสตร์ ดังนี้

48

ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 บริหารจดั การทรัพยากรการเกษตรอย่างสมดลุ และย่ังยืน
เป้าประสงคเ์ ชิงยุทธศาสตร์ เพื่อพัฒนาการบริหารจัดการทรพั ยากรภาคการเกษตรใหม้ ี
ประสทิ ธิภาพ สามารถในประโยชน์ควบค่กู ับการอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
ตวั ช้ีวดั 1. ปริมาณนำ้ ที่กกั เก็บได้แตล่ ะปเี พ่ิมขน้ึ
2. จำนวนพน้ื ที่ที่ได้รบั การปรับปรุงบำรงุ ดินเพ่ิมขน้ึ
3. จำนวนพนื้ ทเ่ี กษตรกรรมย่ังยืนทเี่ พ่ิมขึน้
4. จำนวนแหล่งทอ่ งเทีย่ วเชงิ เกษตรวถิ ชี ุมชนท่ีได้รบั การพฒั นา
กลยทุ ธ์ 1. พฒั นาแหล่งนำ้ และการบริหารจัดการนำ้ อย่างมีประสทิ ธิภาพ (WO)
2. ปรับปรงุ ฟน้ื ฟู และอนรุ กั ษท์ รพั ยากรดนิ ใหม้ ศี กั ยภาพ (WO)
3. สง่ เสรมิ การทำเกษตรกรรมยั่งยนื
4. พฒั นาพ้นื ที่ทอ่ งเท่ียวเชิงเกษตรวิถีชมุ ชน (SO)
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการสินค้าเกษตรให้ได้คุณภาพและ
มาตรฐานสากลดว้ ยเทคโนโลยีและนวตั กรรมสมยั ใหม่
เปา้ ประสงค์เชงิ ยุทธศาสตร์ เปน็ แหล่งผลติ สนิ คา้ เกษตรปลอดภยั และได้มาตรฐาน โดยการสนับสนุน
กระบวนการผลิต การแปรรปู และการตลาดสินค้าเกษตรไปสคู่ ุณภาพ และมาตรฐานสินค้าปลอดภัย
ด้วยเทคโนโลยีและนวตั กรรมสมยั ใหม่
ตัวช้ีวัด 1. จำนวนเกษตรกรทเ่ี ขา้ ถึงเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมสมัยใหม่
2. จำนวนกลุ่มเกษตรกรทไ่ี ดร้ ับการพัฒนาสินคา้ เกษตรแปรรปู เพ่มิ ข้นึ
3. รอ้ ยละของเกษตรกรท่ผี ่านการประเมินเบ้ืองตน้ เพ่ือเข้าส่มู าตรฐาน GAP เทียบกบั เกษตรกรท่ีเข้า
ร่วมส่งเสริมการเกษตรในปนี นั้
กลยุทธ์ 1. ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมสมัยใหม่ เพื่อเพิ่มคุณภาพและปริมาณของ
ผลผลิตสนิ ค้าเกษตร (SO,ST,WT)

2. ส่งเสริมและพฒั นาการแปรรปู สินค้าเกษตร และพฒั นาบรรจภุ ัณฑเ์ พอื่ เพมิ่ มูลค่า (SO)
3. ส่งเสริมการผลติ สนิ คา้ เกษตรปลอดภยั และไดม้ าตรฐาน
ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 3 สรา้ งความเขม้ แข็งใหแ้ กเ่ กษตรกรและสถาบันเกษตรกร
เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ สนับสนุนให้เกษตรกรมีความมั่นคง สามารถพัฒนาอาชีพเกษตร
เพื่อสร้างรายได้ และมีความภาคภูมิใจในการประกอบอาชีพเกษตรกรรม โดยกระบวนการรวมกลุ่มและ
การเชอื่ มโยงเครือขา่ ยในการประกอบอาชีพเกษตรกรรม
ตัวชี้วดั 1. ร้อยละของจำนวนเกษตรกรที่เข้าสู่กระบวนการพัฒนาและยกระดับเป็น Young
Smart Farmer
2. รอ้ ยละของสถาบนั เกษตรกร (สหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกร) ท่ีผ่านกระบวนการพฒั นาความเขม้ แขง็

3. จำนวนเกษตรกร กลุ่มเกษตรกรท่ีเข้าถึงชอ่ งทางการตลาดสินคา้ การเกษตรที่หนว่ ยงานสนับสนุน
4. จำนวนเกษตรท่ผี า่ นการพัฒนาทักษะองคค์ วามรู้เทคโนโลยเี กษตรและนวัตกรรม (AIC)

49

กลยุทธ์ 1. การพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ (SO)
2. สง่ เสริมและพัฒนาความเข้มแขง็ ให้แก่สถาบนั เกษตรกร (สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร) (WO,WT)
3. พฒั นาเกษตรกรให้เขา้ ถึงชอ่ งทางการตลาดสินคา้ เกษตรทหี่ ลากหลายเพ่ิมขนึ้ (SO, WT)
4. สง่ เสรมิ ความรผู้ า่ นเทคโนโลยเี กษตรและนวตั กรรม (AIC)

7) จังหวัดปราจีนบุรี มีแผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์มุ่งสู่วิสัยทัศน์ (Vision) “แหล่งผลิต
สนิ คา้ เกษตรปลอดภัย เกษตรกรกา้ วไกลในความรู้ ควบค่เู ขตเกษตรเศรษฐกิจ และระบบการผลิตที่เป็นมิตรกับ
สง่ิ แวดลอ้ ม” พันธกิจ (Mission) ปฏิบัตภิ ารกิจตามกฎหมายให้บรรลุผลและนโยบายของรัฐบาลในทุกมิติโดย
ยึดความต้องการและความจำเป็นของเกษตรกรเป็นหลัก สร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกรและสถาบันเกษตรกร
ได้รับการพัฒนาศักยภาพสู่การเป็น Smart Farmer และ Smart Group สนับสนุนการเสริมสร้างทัศนคติแก่
เกษตรกรให้มีความภาคภูมิใจในการประกอบอาชีพที่มั่นคงตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง และรายได้จาก
การทำเกษตรเพิ่มขึ้น พัฒนาประสิทธภิ าพการผลิตตลอดโซ่อปุ ทานตามแนวคิดตลาดนำการผลิตโดยสนับสนุน
การนำเทคโนโลยี/นวัตกรรมที่เหมาะสมมาใช้ขับเคลื่อนภาคเกษตร เพื่อลดต้นทุนการผลิต/เพิ่มผลผลิตตาม
นโยบายไทยแลนด์ 4.0 และระบบการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เสริมสร้างการมีส่วนร่วมในกระบวนการ
บริหารจัดการทรัพยากรการเกษตรให้สามารถตอบสนองความต้องการของพื้นที่อย่างสมดุลและยั่งยืน
การบริหารจัดการขอ้ มูลการเกษตรทีม่ ีประสิทธิภาพ เป้าประสงค์หลักการพัฒนาการเกษตรและสหกรณข์ อง
จังหวัด (Goals) เศรษฐกิจภาคการเกษตรมีการเติบโตอย่างมีเสถียรภาพ เกษตรกรมีคุณภาพชีวิตที่ดีและ
รายได้อย่างมั่นคง ทรัพยากรการเกษตรมีประสิทธิภาพสมดุล และระบบการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategic Issue) 4 ประเดน็ ไดแ้ ก่

ประเดน็ ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 สรา้ งความเขม้ แข็งให้เกษตรกรและสถาบันเกษตรกร
เป้าประสงคเ์ ชิงยุทธศาสตร์
1. เกษตรกรได้รบั การพัฒนาศักยภาพสู่การเปน็ Smart Farmers
2. สถาบนั เกษตรกรมีการดำเนินงานทีม่ มี าตรฐานเพม่ิ ข้ึน
ตวั ชว้ี ัด 1. รอ้ ยละของจำนวนเกษตรกรท่เี ปน็ Smart Farmers(รอ้ ยละ)
2. จำนวนสถาบนั เกษตรกรทผ่ี า่ นการรับรองมาตรฐาน (แห่ง/กลมุ่ )
กลยุทธ์ 1. พัฒนาเกษตรกรสู่การเป็น Smart Farmers
2. ส่งเสริมและสนับสนุนสถาบันเกษตรกรใหผ้ ่านเกณฑ์ มาตรฐาน
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการสินค้าเกษตรตลอดโซ่อุปทานตลาดนำ
การผลิตและความสามารถในการแข่งขัน โดยสนับสนนุ การใชเ้ ทคโนโลยี และนวตั กรรมภาคเกษตร
เปา้ ประสงค์เชิงยุทธศาสตร์
1. มลู ค่าของสนิ ค้าเกษตรและผลติ ภัณฑ์จากการเกษตรของจงั หวัดเพม่ิ ขึ้น
2. ประสิทธิภาพการบริหารจัดการสินค้า ตลอดโซ่อุปทานมีคุณภาพได้มาตรฐานและสนับสนุนการใช้
เทคโนโลยี/นวตั กรรมมาประยกุ ตใ์ ช้ในพ้ืนทอี่ ย่างเหมาะสม

50

ตัวชี้วัด 1. อตั ราการขยายตวั ของผลติ ภัณฑ์มวลรวมของจงั หวดั (GPP) ดา้ นการเกษตร (รอ้ ยละ)
2. ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของจำนวนแปลง/ฟาร์ม/สถานประกอบการที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน GAP
(ร้อยละ)
3. จำนวนแปลงตามระบบส่งเสรมิ เกษตรแบบแปลงใหญ่ (แปลง)
กลยทุ ธ์ 1. เพิม่ มลู ค่าสนิ ค้าเกษตรและผลิตภัณฑแ์ ปรรูป
2. สง่ เสริมการผลิตสนิ คา้ เกษตรท่ีมีคณุ ภาพ ได้มาตรฐานและเป็นมติ รกบั สง่ิ แวดล้อม
3. ส่งเสริมการผลิตสนิ คา้ เกษตรสำคัญในพ้ืนท่เี หมาะสม
ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 พฒั นาทรัพยากรการเกษตรอย่างมปี ระสิทธิภาพสมดลุ และยงั่ ยืน
เปา้ ประสงคเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตร์
1. การบรหิ ารจัดการน้ำเพ่ือการเกษตรของจงั หวดั มปี ระสิทธภิ าพ
2. ทรัพยากรการเกษตรมีประสิทธิภาพ สมดุล สนับสนุนฐานการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และ
ความมัน่ คงดา้ นอาหาร
ตัวชี้วัด 1. จำนวนพนื้ ที่ชลประทาน (ไร่)
2. จำนวนพืน้ ท่ีเกษตรกรรมยง่ั ยนื (ไร)่
กลยุทธ์ 1. เพ่มิ ประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจดั การน้ำเพ่ือการเกษตรแบบบูรณาการ
2. ส่งเสรมิ การใช้สารอินทรยี ฟ์ ื้นฟทู รัพยากรดนิ และนำ้
3. สง่ เสรมิ และสนบั สนุนการเกษตรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพยี ง
ประเด็นยทุ ธศาสตร์ท่ี 4 พัฒนาการบรหิ ารจัดการด้านการเกษตรและสหกรณข์ องจังหวดั
เป้าประสงค์เชงิ ยุทธศาสตร์
1. บคุ ลากรของกระทรวงเกษตรและสหกรณไ์ ดร้ บั การพฒั นาศักยภาพสกู่ ารเป็น Smart Officers
2. การบรหิ ารจัดการพฒั นาการเกษตรและสหกรณข์ องจงั หวดั มีประสทิ ธภิ าพ
3. ขอ้ มลู เพอื่ การบรหิ ารและบรกิ ารด้านเกษตรและสหกรณ์ของจังหวัดมคี วามถกู ต้องและเป็นปัจจุบัน
ตวั ชวี้ ัด 1. จำนวนบคุ ลากรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ทเี่ ปน็ Smart Officers (คน)
2. รอ้ ยละความพึงพอใจของผู้รบั บริการ (รอ้ ยละ)
3. ระบบขอ้ มลู การเกษตรและสหกรณ์ทป่ี รับปรุงให้ถูกต้องเปน็ ปจั จุบัน (ระบบ)
กลยทุ ธ์ 1. พฒั นาบุคลากรของกระทรวงเกษตรและสหกรณใ์ หเ้ ป็น Smart Officers
2. พฒั นาการบริหารจัดการงานแบบมุง่ ผลสัมฤทธ์ิ
3. พัฒนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพือ่ บรหิ ารและบรกิ าร

8) จังหวัดนครนายก มีแผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์มุ่งสู่วิสัยทัศน์ (vision) “เกษตรกรมี
คุณภาพชีวิตที่ดี สถาบันเกษตรกรมีความเข้มแข็ง สินค้าเกษตรได้มาตรฐานสร้างรายได้อย่างยั่งยืน” พันธกิจ
(Mission) ส่งเสริมให้เกษตรกรมีการประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ในการทำการเกษตร เพิ่ม
ประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร สอดคล้องกับความต้องการของตลาด (Smart Ag-Products) เพื่อสร้าง

51

โอกาสในการแข่งขนั เพิ่มประสิทธิภาพการบรหิ ารจัดการทรัพยากรทางการเกษตร สู่ความยัง่ ยืน (ลดสารเคมี/
ส่งเสริมเกษตรอินทรีย์/ระบบแพร่กระจายน้ำ) ส่งเสริมให้มีการวิจัย พัฒนา และถ่ายทอดเทคโนโลยีด้าน
การเกษตรที่เหมาะสม พัฒนาบุคลากรทางการเกษตร/สถาบันเกษตรกร สู่การเป็น Smart Farmer
Smart officer และSmart Ag-Groups เป้าประสงค์หลักการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ของจังหวัด
(Goals) สินค้าเกษตรของจังหวัด มีคุณภาพและได้มาตรฐาน สอดคล้องกับความต้องการของตลาดเพื่อสร้าง
โอกาสในการแข่งขันสินค้าเกษตร เกษตรกร สถาบันเกษตรกร และองค์กรเกษตรกร ได้รับการพัฒนาให้มี
ความเข้มแข็ง สามารถสร้างรายได้ มีคุณภาพชีวิตที่ดี (Smart Ag-Groups) โครงสร้างพื้นฐานการผลิตทาง
การเกษตรและทรัพยากรทางการเกษตร ได้รับการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ ผลิตภัณฑ์แปรรูป
ทางการเกษตรได้คุณภาพและมาตรฐาน ตามความต้องการของผู้บริโภค (Smart Ag-Products) สร้างเสริมให้
บุคลากรและองค์กร ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในจังหวัดให้เป็น Smart farmer และ Smart office
ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ (Strategic Issue) 5 ประเดน็ ดงั นี้

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรให้ได้คุณภาพและมาตรฐาน
เป้าประสงค์ สินค้าเกษตรของจังหวัด มีคุณภาพและได้มาตรฐาน สอดคล้องกับความต้องการของ
ตลาด เพ่อื สรา้ งโอกาสในการแขง่ ขนั สินคา้ เกษตร
กลยทุ ธ์ 1.สง่ เสรมิ การผลติ สนิ คา้ เกษตรใหเ้ หมาะสมกบั ศักยภาพของพืน้ ทที่ เ่ี หมาะสม
2.ส่งเสริมการผลิตสินค้าใหไ้ ดค้ ณุ ภาพและมาตรฐาน
3.ส่งเสรมิ การนำเทคโนโลยแี ละนวตั กรรม ในการผลิตสินคา้ เกษตร
4.พัฒนาการบริหารจัดการดา้ นการผลติ สินค้าเกษตรอยา่ งเปน็ ระบบ
ตัวชี้วดั 1. จำนวนแปลง/ฟารม์ ท่ไี ด้รับการรบั รองคุณภาพมาตรฐาน / GAP / เกษตรอนิ ทรีย์ (แหง่ )
2. ร้อยละรายไดข้ องเกษตรกรเพ่ิมข้นึ (รอ้ ยละ)
3. จำนวนพื้นทีส่ ง่ เสริมการเกษตรรปู แบบแปลงใหญ่ (แปลง)
4. จำนวนชนิดสนิ คา้ ทีม่ กี ารพฒั นาตามนโยบายเขตเกษตรกรรม (Zoning) (ชนิด)
5. จำนวนชนิดสินคา้ ด้านการเกษตรไดร้ บั การพฒั นาด้านเทคโนโลยแี ละนวัตกรรม (ชนิด)
ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 2 พฒั นาศักยภาพเกษตรกรและองค์กรเกษตรกร ให้เข้มแข็งส่คู วามยง่ั ยนื
เป้าประสงค์ เกษตรกร สถาบันเกษตรกร และองค์กรเกษตรกร ได้รับการพัฒนาให้มีความเข้มแข็ง
สามารถสรา้ งรายได้ มีคุณภาพชวี ิตทด่ี ี (Smart Ag-Groups)
กลยุทธ์ 1. ส่งเสรมิ องคค์ วามรู้ดา้ นการผลติ สนิ ค้าเกษตร
2. ส่งเสริมการรวมกลุ่มและการบริหารจดั การกลมุ่
3. พัฒนาแหลง่ เรยี นรู้ด้านการเกษตร
4. สง่ เสรมิ ให้เกษตรกรนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งมาประยกุ ต์ใช้ในการทำการเกษตร
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานการผลิตทางการเกษตรให้มีประสิทธิภาพ
เป้าประสงค์ โครงสร้างพื้นฐานการผลิตทางการเกษตรและทรัพยากรทางการเกษตร ได้รบั การบริหาร
จัดการอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

52

กลยุทธ์ 1. พัฒนาแหล่งน้ำ ระบบส่งนำ้ และการกระจายน้ำ ใหค้ รอบคลมุ พืน้ ทเี่ กษตรกรรม
2. สง่ เสริมการปรับปรงุ คณุ ภาพดนิ และน้ำใหเ้ หมาะสมกับการผลติ สินคา้ เกษตร
3. ส่งเสริมการใช้แผนที่การบริหารจัดการพื้นที่เชิงรุก (Agri-Map) เพื่อการตัดสินใจปรับเปลี่ยน
การผลติ ทางการเกษตร
ตวั ชว้ี ัด 1. จำนวนพน้ื ที่แหล่งนำ้ ได้รบั การพฒั นาและฟ้นื ฟู (แห่ง)
2. จำนวนพื้นทีก่ ารบรหิ ารจัดการนำ้ ในเขตชลประทาน (ไร่)
3. รอ้ ยละของเกษตรกร/องค์กรเกษตรกรที่มสี ่วนรว่ มในการบรหิ าร(จำนวนกลุ่มผใู้ ช้น้ำเพ่ิมขึน้ )
4. จำนวนพืน้ ทเ่ี กษตรกรรมทไี่ ดร้ บั การจดั การและฟ้ืนฟปู รับปรุงบำรุงดนิ (ไร)่
5. จำนวนพ้นื ท่ีทมี่ กี ารปรบั เปลีย่ นตาม Agri-map (ไร)่
ประเด็นยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 ส่งเสรมิ การเพ่ิมมลู คา่ สินค้าเกษตรและการเชอ่ื มโยงตลาดอย่างเปน็ ระบบ
เป้าประสงค์ ผลิตภัณฑ์แปรรูปทางการเกษตร ได้คุณภาพและมาตรฐาน ตามความต้องการของ
ผบู้ รโิ ภค (Smart Ag-Products)
กลยทุ ธ์ 1. สง่ เสริมการเชื่อมโยงตลาดสนิ ค้าเกษตรท้ังภายในและภายนอกจังหวัด
2. สง่ เสรมิ การแปรรปู สนิ ค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรให้มีคณุ ภาพและมาตรฐาน
3. สง่ เสริมการสรา้ งและพัฒนาตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์
ตวั ชี้วัด 1. จำนวนช่องทางการจัดจำหน่าย/การบรหิ ารการจดั การ (แห่ง)
2. จำนวนสินค้าเกษตรทีไ่ ดร้ บั การแปรรปู พฒั นาผลิตภัณฑ์และบรรจภุ ัณฑ์ (ชนดิ )
3. ผลิตภณั ฑแ์ ปรรปู สินคา้ เกษตรทไ่ี ด้รบั การรบั รองมาตรฐาน (ชนิด)
4. จำนวนสินค้าทีม่ ีการสรา้ งและพัฒนาตราสินคา้ และบรรจุภณั ฑ์ (ชนดิ )
ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 5 การบรหิ ารจดั การด้านการเกษตรและสหกรณ์
เป้าประสงค์ สร้างเสริมให้บุคลากรและองค์กร ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในจังหวัดให้เป็น
Smart farmer และ Smart office
กลยุทธ์ 1. พัฒนาศักยภาพบคุ ลากรในสงั กัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
2. พฒั นาระบบสารสนเทศการเกษตร เพอ่ื การวางแผน/บรกิ ารอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
ตัวช้ีวดั 1. จำนวนบุคลากรของกระทรวงเกษตรและสหกรณท์ ่ี Smart Officer (ราย)
2. รอ้ ยละของผลการดำเนนิ งานตามแผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณข์ องจงั หวัด (รอ้ ยละ)
3. ร้อยละความพงึ พอใจของผรู้ ับบริการและผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย (ร้อยละ)
4. จำนวนผู้ใช้บรกิ ารจากระบบสารสนเทศการเกษตรที่เพ่ิมขึ้น (ราย)
5. จำนวนรายการข้อมลู ท่ปี รับปรุงให้เป็นปัจจบุ นั /จำนวนฐานขอ้ มลู ท่ใี หบ้ ริการ (รายการ)

9) จงั หวัดสมุทรปราการ มีแผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณม์ ุ่งสู่วสิ ัยทศั น์ (Vision) สินค้าเกษตรสู่
มาตรฐานสากลบนพื้นฐานความพอเพียงอย่างยั่งยืน พันธกิจ (Mission) พัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตรกรและ
สถาบนั เกษตรกรใหม้ ีความมนั่ คง พัฒนาเศรษฐกิจการเกษตรให้เติบโตอย่างมีเสถยี รภาพ สง่ เสรมิ การผลติ สินค้า

53

เกษตรที่มีคุณภาพตลอดโซ่อุปทานให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด และส่งเสริมงานวิจัย เทคโนโลยี
และนวัตกรรมเพื่อนำมาใช้ประโยชน์ ส่งเสริมให้มีการบริหารจัดการทรัพยากรการเกษตรและส่ิงแวดล้อมอย่าง
สมดุลและยั่งยืน เป้าประสงค์หลักการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ของจังหวัด (Goals) เพื่อสร้าง
ความภาคภูมิใจในอาชีพเกษตรกรรม สามารถพงึ่ พาตนเองได้ เป็น Smart Farmer มีการถ่ายทอดความรู้อย่าง
ต่อเนื่อง เพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรและสถาบันเกษตรกรยกระดับผลิตภาพ ประสิทธิภาพ และมาตรฐาน สินค้า
เกษตรปลอดภัย รวมทั้งสร้างมูลค่าเพิ่มสินค้าเกษตรให้ตอบสนองความต้องการของตลาด เพื่อสร้าง
ความสามารถในการแข่งขันของสินค้าเกษตร โดยนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใช้ประโยชน์ สามารถบริหาร
จัดการทรัพยากรการเกษตรอย่างมีประสิทธิภาพ ปรับตัวและสร้างภูมิคุ้มกันรองรับต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมอิ ากาศได้ ประเดน็ ยุทธศาสตร์การพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ของจังหวดั 5 ประเด็น ได้แก่

ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 การสรา้ งความเขม้ แข็งให้กบั เกษตรกรและสถาบนั เกษตรกร
เปา้ ประสงค์ 1. เกษตรกรได้รบั การพฒั นาศักยภาพสูก่ ารเป็น Smart Farmer
2. เกษตรกรมีการรวมกล่มุ และดำเนินการเปน็ ไปตามมาตรฐาน
ตวั ชีว้ ดั 1. รอ้ ยละที่เพ่มิ ขน้ึ ของ Smart Farmer
2. รอ้ ยละของสถาบนั เกษตรกรทีม่ ีความเข้มแข็งในระดบั มาตรฐาน
กลยทุ ธ์ 1. พัฒนาศักยภาพเกษตรกรให้เป็น Smart Farmer
2. สรา้ งความเขม้ แข็งใหก้ ับเกษตรกรและสถาบนั เกษตรกร
ประเด็นยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 การเพมิ่ ประสิทธิภาพการผลิตและยกระดับมาตรฐานสนิ ค้าเกษตร
เป้าประสงค์ 1. ผลิตภณั ฑ์มวลรวมดา้ นการเกษตรของจงั หวัดเพ่มิ ขึน้
2. ฟารม์ โรงงาน และสถานประกอบการไดม้ าตรฐาน
ตัวช้ีวัด 1. ร้อยละท่ีเพม่ิ ขึ้นของผลติ ภณั ฑ์มวลรวมด้านการเกษตร
2. รอ้ ยละของจำนวนฟาร์ม/โรงงาน/สถานประกอบการ ท่มี ายื่นขอรบั รองมาตรฐานผา่ นการรบั รอง
กลยุทธ์ 1. สง่ เสรมิ และพัฒนาการเกษตรตลอดโซ่อปุ ทานใหส้ อดคล้องกบั ความต้องการของตลาด
2. สง่ เสริมและพฒั นาประสิทธภิ าพการผลิต และคุณภาพมาตรฐานสินคา้
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การเพิ่มความสามารถในการแข่งขันภาคการเกษตรด้วยเทคโนโลยีและ
นวัตกรรม
เป้าประสงค์ เกษตรกรเข้าถึงและนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมไปใชป้ ระโยชน์
ตัวช้ีวดั 1. ร้อยละของเกษตรกรทไ่ี ด้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยสี ามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้
ในพืน้ ที่
กลยุทธ์ 1. พฒั นาเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการขับเคลื่อนให้สอดคล้องกบั ไทยแลนด์ 4.0
ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 การบรหิ ารจัดการทรัพยากรการเกษตรและส่ิงแวดลอ้ มอย่างสมดุลและยง่ั ยนื
เป้าประสงค์ 1. พ้นื ท่ีการเกษตรได้รับการอนรุ กั ษ์ ปรับปรงุ และฟื้นฟู
2. การบรหิ ารจดั การน้ำมปี ระสิทธภิ าพ
ตวั ชวี้ ัด 1. รอ้ ยละของจำนวนพ้ืนที่การเกษตรได้รบั การอนรุ กั ษ์ ปรบั ปรงุ และฟืน้ ฟู

54

2. รอ้ ยละของจำนวนพน้ื ที่ทไ่ี ด้รับประโยชน์จากการบรหิ ารจัดการน้ำ
กลยุทธ์ 1. ฟ้นื ฟูและอนรุ ักษ์ทรพั ยากรการเกษตรใหส้ มดลุ และยงั่ ยืน
2. บริหารจดั การทรพั ยากรการเกษตรอยา่ งยั่งยืน
ประเดน็ ยุทธศาสตรท์ ่ี 5 การพฒั นาระบบบริหารจดั การของจังหวดั
เป้าประสงค์ 1. บุคลากรของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสมุทรปราการ
ไดร้ ับการพฒั นาศกั ยภาพสู่การเป็น Smart Officer
2. หน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีการทำงานเป็นทมี และบูรณาการทำงานรว่ มกัน
ตัวช้ีวดั 1. ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของบุคลากรของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์จังหวัด
สมทุ รปราการเปน็ Smart Officer
2. จำนวนส่วนราชการในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสมุทรปราการมีการบูรณาการ
ทำงานรว่ มกนั
กลยทุ ธ์ 1. สง่ เสริมใหบ้ ุคลากรของหน่วยงานในสงั กัดกระทรวงเกษตรและสหกรณจ์ ังหวดั
สมทุ รปราการพัฒนาความรู้ความสามารถส่คู วามเปน็ เลิศตามนโยบาย Smart Officer
2. ส่งเสริมให้มกี ารบรหิ ารจัดการและบูรณาการทำงานรว่ มกนั

บทที่ 4
ผลการศกึ ษา

การศึกษาครั้งนี้ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 6 ไดจ้ ดั ทำโครงการบริหารจัดการการผลิตสินค้าเกษตร
ตามแผนทเี่ กษตรเพื่อการบรหิ ารจัดการเชิงรุก (Agri-Map) โดยเน้นศกึ ษาสนิ ค้าเกษตรทางเลือกเชิงลึกระดับภาค
เพื่อกำหนดแนวทางบริหารจัดการสินค้าเกษตรทางเลือกที่มีอนาคต (Future Crops) ตามแผนที่เกษตร
เพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก (Agri-Map) ในเขตพื้นที่ภาคตะวนั ออก ซึ่งเป็นการสร้างฐานข้อมูลดา้ นเศรษฐกิจ
ของสินค้าเกษตรทางเลือกสำหรับการจัดสรรพื้นท่ีเพาะปลูกให้เกิดความเหมาะสมของสินค้าเกษตรที่สำคัญ
ทางเศรษฐกิจ จำนวน 3 ชนิดสินค้าสำคัญของภาคตะวันออกได้แก่ ข้าว มันสำปะหลังโรงงาน ยางพารา
ที่ไม่เหมาะสมรวมทั้งประสบปัญหาภัยพิบัติซ้ำซาก เกิดโรคระบาดสะสม เพื่อจัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
มาตรการและแนวทางในการบริหารจัดการพื้นที่และสินค้าเกษตรทางเลือกแต่ละชนิดให้สอดคล้องเหมาะสม
กับฐานทรัพยากรของประเทศเพื่อเป็นการเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันทั้งในระดับภาคตะวันออก
และระดบั ประเทศ ซึ่งมรี ายละเอียดดังน้ี
4.1 ภาพรวมศักยภาพพื้นท่ีตามความเหมาะสมและแหล่งรับซื้อของสินค้าเกษตรสำคัญระดับจังหวัดของ
ภาคตะวนั ออก

จากข้อมูล Agri-Map online ของความร่วมมือระหว่างกรมพัฒนาที่ดิน สำนักงานเศรษฐกิจ
การเกษตร และ GISTDA ปี 2561-2563 พบวา่ พืน้ ทีเ่ พาะปลกู ในชนั้ ความเหมาะสมต่าง ๆ ของขา้ ว มนั สำปะหลัง
และยางพารา ของภาคตะวันออก ดังน้ี

ภาคตะวันออกส่วนใหญ่มีพื้นที่เพาะปลูกในชั้นความเหมาะสมปานกลาง (S2) ของสินค้าข้าวมีจำนวน
1,059,121 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 38.81 รองลงมาพื้นที่เหมาะสมสูง (S1) จำนวน 1,026,572 ไร่ คิดเป็นร้อยละ
37.62 พื้นที่เหมาะสมเล็กน้อย (S3) จำนวน 388,433 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 14.23 และพื้นที่ไม่เหมาะสม (N)
จำนวน 254,844 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 9.34

ส่วนมันสำปะหลังของภาคตะวันออกส่วนใหญ่มีพื้นที่เพาะปลูกในชั้นความเหมาะสมเล็กน้อย (S3)
จำนวน 744,400 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 53.51 รองลงมาพื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีจำนวน 486,347 ไร่
คิดเป็นร้อยละ 34.96 พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) จำนวน 113,093 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 8.13 และพื้นที่ไม่เหมาะสม (N)
จำนวน 47,213 ไร่ คดิ เปน็ ร้อยละ 4.00

สุดท้ายสินค้ายางพาราของภาคตะวันออกส่วนใหญ่มีพื้นท่ีเพาะปลูกในชั้นความเหมาะสมปานกลาง (S2)
มีจำนวน 1,738,553 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 69.77 รองลงมาพื้นที่เหมาะสมเล็กน้อย (S3) จำนวน 312,203 ไร่
คิดเป็นร้อยละ 12.53 พน้ื ทเ่ี หมาะสมสูง (S1) จำนวน 286,777 ไร่ คดิ เปน็ ร้อยละ 11.51 และพ้ืนที่ไม่เหมาะสม (N)
จำนวน 154,348 ไร่ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 6.19

56

ตารางที่ 4.1 พืน้ ท่ีเพาะปลูกในชน้ั ความเหมาะสมตา่ ง ๆ ของสนิ ค้าข้าว มนั สำปะหลัง ยางพารา

จังหวัด ชนั้ ความเหมาะสม ขา้ ว มันสำปะหลัง ยางพารา

ไร่ รอ้ ยละ ไร่ รอ้ ยละ ไร่ รอ้ ยละ

ภาคตะวนั ออก สงู 1,026,572 37.62 113,093 8.13 286,777 11.51
ปานกลาง 1,059,121 38.81 486,347 34.96 1,738,553 69.77
เลก็ น้อย 14.23 744,400 53.51 312,203 12.53
388,433

ไม่เหมาะสม 254,844 9.34 47,213 4.00 154,348 6.19

นครนายก สูง 294,601 70.27 745 38.40 53 9.27

ปานกลาง 117,435 28.01 - - 282 49.55

เลก็ น้อย 6,332 1.51 1,121 57.74 33 5.85
ไมเ่ หมาะสม 201 35.33
879 0.21 75 3.86 715 1.16
สูง
ปราจีนบรุ ี 260,401 42.44 10,039 4.09

ปานกลาง 291,001 47.43 41,435 16.90 48,329 78.17

เล็กนอ้ ย 27,415 4.47 159,778 65.16 7,031 11.37

ไมเ่ หมาะสม 34,776 5.67 33,955 13.85 5,747 9.30

ฉะเชงิ เทรา สูง 351,481 50.56 6,544 3.12 5,030 1.52
ปานกลาง 286,589 41.23 35,874 17.13 303,209 91.78
เลก็ น้อย 25,356 3.65 157,083 74.99 18,518 5.61
ไม่เหมาะสม 31,749 4.57 9,972 4.76 3,590 1.09

สมทุ รปราการ สูง 18,126 100.00 -- --

สระแกว้ สูง 36,734 4.73 35,835 6.70 6,159 4.30

ปานกลาง 290,379 37.35 181,525 33.93 103,006 71.98

เลก็ นอ้ ย 277,087 35.64 317,459 59.34 33,809 23.63

ไมเ่ หมาะสม 173,190 22.28 173 0.03 123 0.09

ชลบรุ ี สูง 25,507 23.81 48,345 18.80 4,530 1.27

ปานกลาง 52,496 49.01 169,285 65.82 267,722 75.17

เลก็ น้อย 21,665 20.23 38,403 14.93 81,776 22.96

ไม่เหมาะสม 7,439 6.95 1,163 0.45 2,131 0.60

ระยอง สงู 11,467 36.39 8,555 11.26 210,677 27.39

ปานกลาง 12,967 41.15 56,693 74.60 453,180 58.93

เลก็ นอ้ ย 5,890 18.69 10,224 13.45 21,268 2.77

ไม่เหมาะสม 1,190 3.78 528 0.69 83,946 10.92

57

ตารางท่ี 4.1 (ตอ่ )

จังหวดั ชั้นความเหมาะสม ขา้ ว มันสำปะหลงั ยางพารา

ไร่ รอ้ ยละ ไร่ รอ้ ยละ ไร่ ร้อยละ

จันทบรุ ี สงู 11,496 31.39 3,030 4.58 50,783 13.30

ปานกลาง 4,755 12.99 1,535 2.32 223,495 58.54

เล็กนอ้ ย 15,954 43.57 60,332 91.08 75,241 19.71

ไมเ่ หมาะสม 4,413 12.05 1,341 2.02 32,231 8.44

ตราด สงู 16,759 55.49 - - 8,830 1.97

ปานกลาง 3,499 11.59 - - 339,330 75.56

เล็กน้อย 8,734 28.92 - - 74,527 16.60

ไม่เหมาะสม 1,208 4.00 6 100.00 26,379 5.87

ที่มา : กรมพัฒนาทีด่ ิน Agri-Map online สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร GISTDA , 2561-2563

ทั้งนี้ จากข้อมูลศักยภาพพื้นที่ตามความเหมาะสมของข้าว มันสำปะหลัง และยางพารา ของแต่ละจังหวัด
ควรพิจารณาจุดแหล่งรับซื้อที่เกี่ยวข้องกับแต่ละชนิดสินค้าดังกล่าว เพื่อสะท้อนความเหมาะสมและ

ความคุ้มค่าในด้านโลจิสติกส์ในการขายผลผลิตไปยังแหล่งรับซื้อของสินค้าเกษตรสำคัญระดับจังหวัดของ
ภาคตะวนั ออกได้ดังนี้

4.1.1 สนิ ค้าขา้ ว

1) จังหวัดนครนายก มีพื้นที่ปลูกข้าว ตามความเหมาะสมทางกายภาพรวม 419,247 ไร่
แบ่งเป็น พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) จำนวน 294,601 ไร่ พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) จำนวน 117,435 ไร่
พนื้ ที่เหมาะสมเล็กนอ้ ย (S3) จำนวน 6,332 ไร่ และพืน้ ทไ่ี มเ่ หมาะสม (N) เพียงเลก็ น้อย จำนวน 879 ไร่

ส่วนโรงงานหรือแหล่งรับซื้อข้าวของจังหวัดนครนายกมีโรงสีหลายแหล่งกระจายในแต่ละ
อำเภอ รวมทั้งมีโรงสีข้าวในโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ทั้งของกลุ่มเกษตรกรและ
ของเอกชน จำนวน 43 แห่ง

58

ภาพท่ี 4.1 แผนที่แสดงการเพาะปลูกข้าวตามช้นั ความเหมาะสมและแสดงจดุ แหล่งรับซ้ือข้าวจงั หวดั นครนายก
ท่มี า : กรมพัฒนาท่ีดิน Agri-Map online สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร GISTDA , 2561-2563

59
2) จังหวัดปราจีนบุรี มีพื้นที่ปลูกข้าว ตามความเหมาะสมทางกายภาพรวม 613,593 ไร่
แบ่งเป็น พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) จำนวน 260,401 ไร่ พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) จำนวน 291,001 ไร่
พืน้ ทีเ่ หมาะสมเล็กนอ้ ย (S3) จำนวน 27,415 ไร่ และพ้นื ที่ไมเ่ หมาะสม (N) จำนวน 34,776 ไร่

ส่วนโรงงานหรือแหล่งรับซื้อข้าวของจังหวัดปราจีนบุรีมีโรงสีหลายแหล่งกระจายในแต่ละ
อำเภอ รวมทั้งมีโรงสีข้าวในโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ทั้งของกลุ่มเกษตรกรและ
ของเอกชน จำนวน 86 แหง่

ภาพที่ 4.2 แผนที่แสดงการเพาะปลกู ข้าวตามช้ันความเหมาะสมและแสดงจุดแหลง่ รบั ซื้อขา้ วจงั หวัดปราจีนบรุ ี
ทม่ี า : กรมพฒั นาทีด่ นิ Agri-Map online สำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร GISTDA , 2561-2563

60
3) จังหวัดฉะเชิงเทรา มีพื้นที่ปลูกข้าว ตามความเหมาะสมทางกายภาพรวม 695,175 ไร่
แบ่งเป็น พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) จำนวน 351,481 ไร่ พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) จำนวน 286,589 ไร่
พนื้ ทเ่ี หมาะสมเล็กน้อย (S3) จำนวน 25,356 ไร่ และพ้ืนทีไ่ ม่เหมาะสม (N) จำนวน 31,749 ไร่

ส่วนโรงงานหรือแหลง่ รับซื้อข้าวของจังหวัดฉะเชิงเทรามีโรงสีหลายแหล่งกระจายในแตล่ ะ
อำเภอ รวมทั้งมีโรงสีข้าวในโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ทั้งของกลุ่มเกษตรกรและ
ของเอกชน จำนวน 171 แห่ง

ภาพที่ 4.3 แผนท่แี สดงการเพาะปลูกขา้ วตามชั้นความเหมาะสมและแสดงจุดแหล่งรับซ้ือขา้ วจงั หวัดฉะเชิงเทรา
ที่มา : กรมพัฒนาท่ดี นิ Agri-Map online สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร GISTDA , 2561-2563

61
4) จังหวัดสมุทรปราการ มีพื้นที่ปลูกข้าว ตามความเหมาะสมทางกายภาพรวม 18,126 ไร่
แบง่ เป็น พนื้ ที่เหมาะสมสงู (S1) จำนวน 18,126 ไร่

สว่ นโรงงานหรอื แหลง่ รับซือ้ ขา้ วของจังหวัดสมุทรปราการมโี รงสหี ลายแหล่งกระจายในแต่ละ
อำเภอ รวมทั้งมีโรงสีข้าวในโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ทั้งของกลุ่มเกษตรกรและ
ของเอกชน จำนวน 169 แหง่

ภาพที่ 4.4 แผนท่ีแสดงการเพาะปลูกขา้ วตามช้ันความเหมาะสมและแสดงจุดแหล่งรบั ซื้อข้าวจังหวัดสมุทรปราการ
ทม่ี า : กรมพัฒนาทดี่ นิ Agri-Map online สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร GISTDA , 2561-2563

62
5) จังหวัดสระแก้ว มีพื้นที่ปลูกข้าว ตามความเหมาะสมทางกายภาพรวม 777,390 ไร่
แบง่ เปน็ พ้นื ทเ่ี หมาะสมสูง (S1) จำนวน 36,734 ไร่ พน้ื ทเี่ หมาะสมปานกลาง (S2) จำนวน 290,379 ไร่ พื้นท่ี
เหมาะสมเลก็ น้อย (S3) จำนวน 277,087 ไร่ และพน้ื ทไ่ี มเ่ หมาะสม (N) จำนวน 173,190 ไร่

ส่วนโรงงานหรือแหล่งรับซื้อข้าวของจังหวัดสระแก้วมีโรงสีหลายแหล่งกระจายในแต่ละ
อำเภอ รวมทั้งมีโรงสีข้าวในโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ทั้งของกลุ่มเกษตรกรและ
ของเอกชน จำนวน 103 แหง่

ภาพท่ี 4.5 แผนทแ่ี สดงการเพาะปลูกข้าวตามช้นั ความเหมาะสมและแสดงจดุ แหล่งรบั ซ้ือข้าวจงั หวดั สระแกว้
ทมี่ า : กรมพัฒนาที่ดิน Agri-Map online สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร GISTDA , 2561-2563

63
6) จังหวัดชลบุรี มีพื้นที่ปลูกข้าว ตามความเหมาะสมทางกายภาพรวม 107,107 ไร่ แบ่งเป็น
พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) จำนวน 25,507 ไร่ พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) จำนวน 52,496 ไร่ พื้นที่เหมาะสม
เล็กน้อย (S3) จำนวน 21,665 ไร่ และพืน้ ทไ่ี มเ่ หมาะสม (N) จำนวน 7,439 ไร่

ส่วนโรงงานหรือแหล่งรับซอ้ื ขา้ วของจงั หวัดชลบุรีมโี รงสีหลายแหล่งกระจายในแต่ละอำเภอ
รวมทั้งมีโรงสีข้าวในโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ทั้งของกลุ่มเกษตรกรและของเอกชน
จำนวน 125 แหง่

ภาพท่ี 4.6 แผนทีแ่ สดงการเพาะปลกู ข้าวตามชั้นความเหมาะสมและแสดงจุดแหลง่ รบั ซื้อข้าวจังหวดั ชลบุรี
ท่มี า : กรมพัฒนาท่ีดิน Agri-Map online สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร GISTDA , 2561-2563

64
7) จังหวัดระยอง มีพื้นที่ปลูกข้าว ตามความเหมาะสมทางกายภาพรวม 31,514 ไร่ แบ่งเป็น
พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) จำนวน 11,467 ไร่ พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) จำนวน 12,967 ไร่ พื้นที่เหมาะสม
เลก็ น้อย (S3) จำนวน 5,890 ไร่ และพ้นื ที่ไม่เหมาะสม (N) จำนวน 1,190 ไร่

ส่วนโรงงานหรือแหล่งรับซื้อข้าวของจังหวัดระยองมีโรงสีหลายแหล่งกระจายในแต่ละ
อำเภอ รวมทั้งมีโรงสีข้าวในโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ทั้งของกลุ่มเกษตรกรและ
ของเอกชน จำนวน 103 แหง่

ภาพท่ี 4.7 แผนท่แี สดงการเพาะปลูกข้าวตามชั้นความเหมาะสมและแสดงจดุ แหลง่ รับซื้อขา้ วจังหวัดระยอง
ทม่ี า : กรมพัฒนาท่ีดิน Agri-Map online สำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร GISTDA , 2561-2563

65
8) จังหวัดจันทบุรี มีพื้นที่ปลูกข้าว ตามความเหมาะสมทางกายภาพรวม 36,618 ไร่ แบ่งเป็น
พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) จำนวน 11,496 ไร่ พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) จำนวน 4,755 ไร่ พื้นที่เหมาะสม
เล็กน้อย (S3) จำนวน 15,954 ไร่ และพนื้ ทีไ่ มเ่ หมาะสม (N) จำนวน 4,413 ไร่

ส่วนโรงงานหรือแหล่งรับซื้อข้าวของจังหวัดจันทบุรีมีโรงสีหลายแหล่งกระจายในแต่ละ
อำเภอ รวมทั้งมีโรงสีข้าวในโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ทั้งของกลุ่มเกษตรกรและ
ของเอกชน จำนวน 93 แหง่

ภาพท่ี 4.8 แผนทีแ่ สดงการเพาะปลกู ข้าวตามชัน้ ความเหมาะสมและแสดงจดุ แหลง่ รบั ซื้อขา้ วจงั หวดั จันทบุรี
ทมี่ า : กรมพัฒนาท่ีดิน Agri-Map online สำนักงานเศรษฐกจิ การเกษตร GISTDA , 2561-2563

66
9) จังหวัดตราด มีพื้นที่ปลูกข้าว ตามความเหมาะสมทางกายภาพรวม 30,200 ไร่ แบ่งเป็น
พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) จำนวน 16,759 ไร่ พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) จำนวน 3,499 ไร่ พื้นที่เหมาะสม
เล็กนอ้ ย (S3) จำนวน 8,734 ไร่ และพน้ื ทไี่ มเ่ หมาะสม (N) จำนวน 1,208 ไร่

ส่วนโรงงานหรือแหล่งรับซ้ือขา้ วของจังหวดั ตราดมโี รงสหี ลายแหล่งกระจายในแต่ละอำเภอ
รวมทั้งมีโรงสีข้าวในโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ทั้งของกลุ่มเกษตรกรและของเอกชน
จำนวน 45 แห่ง

ภาพท่ี 4.9 แผนที่แสดงการเพาะปลูกข้าวตามชั้นความเหมาะสมและแสดงจุดแหลง่ รบั ซื้อข้าวจังหวดั ตราด
ที่มา : กรมพัฒนาท่ดี ิน Agri-Map online สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร GISTDA , 2561-2563

67
4.1.2 สนิ คา้ มนั สำปะหลัง

1) จังหวัดนครนายก มีพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง ตามความเหมาะสมทางกายภาพรวม 1,941 ไร่
แบ่งเป็น พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) จำนวน 745 ไร่ พื้นที่เหมาะสมเล็กน้อย (S3) จำนวน 1,121 ไร่ และพื้นที่
ไม่เหมาะสม (N) จำนวน 75 ไร่

ส่วนโรงงานหรือแหล่งรับซื้อมันสำปะหลังของจังหวัดนครนายกมีโรงงานผลิตอาหารสัตว์
และโรงงานดา้ นการเกษตรอน่ื ๆ ทเ่ี กีย่ วข้อง จำนวน 25 แห่ง

ภาพที่ 4.10 แผนที่แสดงการเพาะปลูกมันสำปะหลังตามชั้นความเหมาะสมและแสดงจุดแหล่งรับซ้ือ
มนั สำปะหลังจังหวัดนครนายก
ท่มี า : กรมพฒั นาทด่ี ิน Agri-Map online สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร GISTDA , 2561-2563

68
2) จงั หวดั ปราจีนบุรี มีพ้นื ท่ีปลกู มันสำปะหลงั ตามความเหมาะสมทางกายภาพรวม 245,207 ไร่
แบ่งเป็น พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) จำนวน 10,039 ไร่ พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) จำนวน 41,435 ไร่ พื้นที่
เหมาะสมเลก็ น้อย (S3) จำนวน 159,778 ไร่ และพ้ืนทไ่ี ม่เหมาะสม (N) จำนวน 33,955 ไร่

ส่วนโรงงานหรือแหล่งรับซื้อมันสำปะหลังของจังหวัดปราจีนบุรี มีโรงงานผลิตมันเส้น
มนั อัดเม็ด ลานตากและแหลง่ รบั ซ้ือ โรงงานผลติ เอทานอล โรงงานผลิตอาหารสตั ว์ และโรงงานด้านการเกษตร
อื่น ๆ ทีเ่ กย่ี วขอ้ ง จำนวน 107 แห่ง

ภาพที่ 4.11 แผนที่แสดงการเพาะปลูกมันสำปะหลังตามชั้นความเหมาะสมและแสดงจุดแหล่งรับซ้ือ
มนั สำปะหลงั จังหวัดปราจนี บุรี
ท่มี า : กรมพัฒนาท่ดี ิน Agri-Map online สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร GISTDA , 2561-2563

69
3) จังหวัดฉะเชิงเทรา มีพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง ตามความเหมาะสมทางกายภาพรวม
209,473 ไร่ แบ่งเปน็ พน้ื ที่เหมาะสมสูง (S1) จำนวน 6,544 ไร่ พื้นทีเ่ หมาะสมปานกลาง (S2) จำนวน 35,874 ไร่
พน้ื ที่เหมาะสมเล็กนอ้ ย (S3) จำนวน 157,083 ไร่ และพ้ืนทีไ่ มเ่ หมาะสม (N) จำนวน 9,972 ไร่

ส่วนโรงงานหรือแหล่งรับซื้อมันสำปะหลังของจังหวัดฉะเชิงเทรามีโรงงานผลิตมันเส้น
มนั อดั เม็ด แป้งมนั สำปะหลัง ลานตากและแหลง่ รับซ้ือ โรงงานผลิตอาหารสตั ว์ และโรงงานด้านการเกษตรอ่นื ๆ
ท่เี กี่ยวข้อง จำนวน 163 แห่ง

ภาพที่ 4.12 แผนที่แสดงการเพาะปลูกมันสำปะหลังตามชั้นความเหมาะสมและแสดงจุดแหล่งรับซ้ือ
มันสำปะหลงั จังหวัดฉะเชงิ เทรา
ท่มี า : กรมพัฒนาที่ดิน Agri-Map online สำนักงานเศรษฐกจิ การเกษตร GISTDA , 2561-2563

70
4) จังหวัดสระแก้ว มีพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง ตามความเหมาะสมทางกายภาพรวม 534,992 ไร่
แบ่งเปน็ พืน้ ทเ่ี หมาะสมสูง (S1) จำนวน 35,835 ไร่ พืน้ ท่ีเหมาะสมปานกลาง (S2) จำนวน 181,525 ไร่ พ้ืนที่
เหมาะสมเลก็ น้อย (S3) จำนวน 317,459 ไร่ และพื้นทไี่ มเ่ หมาะสม (N) จำนวน 173 ไร่

ส่วนโรงงานหรือแหล่งรับซื้อมันสำปะหลังของจังหวัดสระแก้วมีโรงงานผลิตมันเส้น
แป้งมันสำปะหลัง ลานตากและแหล่งรับซื้อ โรงงานผลิตเอทานอล โรงงานผลิตอาหารสัตว์ และโรงงาน
ด้านการเกษตรอ่ืน ๆ ท่เี ก่ียวขอ้ ง จำนวน 166 แหง่

ภาพที่ 4.13 แผนที่แสดงการเพาะปลูกมันสำปะหลังตามชั้นความเหมาะสมและแสดงจุดแหล่งรับซื้อ
มันสำปะหลงั จงั หวดั สระแกว้
ทมี่ า : กรมพฒั นาท่ีดิน Agri-Map online สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร GISTDA , 2561-2563

71
5) จังหวัดชลบุรี มีพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง ตามความเหมาะสมทางกายภาพรวม 257,196 ไร่
แบ่งเป็น พน้ื ที่เหมาะสมสูง (S1) จำนวน 48,345 ไร่ พนื้ ทเ่ี หมาะสมปานกลาง (S2) จำนวน 169,285 ไร่ พ้ืนท่ี
เหมาะสมเลก็ น้อย (S3) จำนวน 38,403 ไร่ และพืน้ ทไ่ี ม่เหมาะสม (N) จำนวน 1,163 ไร่

สว่ นโรงงานหรือแหล่งรับซ้ือมันสำปะหลังของจังหวัดชลบุรีมีโรงงานผลิตมันเส้น มันอัดเม็ด
แป้งมันสำปะหลัง ลานตากและแหล่งรับซื้อ โรงงานผลิตอาหารสัตว์ และโรงงานด้านการเกษตรอื่น ๆ
ทเี่ ก่ียวข้อง จำนวน 154 แห่ง

ภาพที่ 4.14 แผนที่แสดงการเพาะปลูกมันสำปะหลังตามชั้นความเหมาะสมและแสดงจุดแหล่งรับซื้อ
มันสำปะหลังจังหวดั ชลบุรี
ทม่ี า : กรมพฒั นาทดี่ ิน Agri-Map online สำนักงานเศรษฐกจิ การเกษตร GISTDA , 2561-2563

72
6) จังหวัดระยอง มีพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง ตามความเหมาะสมทางกายภาพรวม 76,000 ไร่
แบ่งเป็น พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) จำนวน 8,555 ไร่ พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) จำนวน 56,693 ไร่ พื้นท่ี
เหมาะสมเลก็ นอ้ ย (S3) จำนวน 10,224 ไร่ และพ้ืนท่ไี ม่เหมาะสม (N) จำนวน 528 ไร่

ส ่ ว น โ รง ง า นห รื อแ หล ่ง รั บ ซื ้อม ั น สำ ปะห ลั ง ของ จั งห วั ด ร ะย อง มี โร งง า นผ ลิ ตมันเส้น
แป้งมันสำปะหลัง ลานตากและแหล่งรับซื้อ โรงงานผลิตเอทานอล และโรงงานด้านการเกษตรอื่น ๆ
ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง จำนวน 113 แหง่

ภาพที่ 4.15 แผนที่แสดงการเพาะปลูกมันสำปะหลังตามชั้นความเหมาะสมและแสดงจุดแหล่งรับซ้ือ
มนั สำปะหลงั จังหวดั ระยอง
ทีม่ า : กรมพัฒนาท่ีดนิ Agri-Map online สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร GISTDA , 2561-2563

73
7) จังหวัดจันทบุรี มีพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง ตามความเหมาะสมทางกายภาพรวม 66,238 ไร่
แบ่งเป็น พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) จำนวน 3,030 ไร่ พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) จำนวน 1,535 ไร่ พื้นที่
เหมาะสมเล็กนอ้ ย (S3) จำนวน 60,332 ไร่ และพื้นทไ่ี ม่เหมาะสม (N) จำนวน 1,341 ไร่

ส่วนโรงงานหรือแหล่งรับซื้อมันสำปะหลังของจังหวัดจันทบุรีมีโรงงานผลิตมันเส้น
แป้งมันสำปะหลงั ลานตากและแหล่งรับซื้อ และโรงงานด้านการเกษตรอ่ืน ๆ ที่เกย่ี วข้อง จำนวน 134 แห่ง

ภาพที่ 4.16 แผนที่แสดงการเพาะปลูกมันสำปะหลังตามชั้นความเหมาะสมและแสดงจุดแหล่งรับซ้ือ
มนั สำปะหลังจงั หวดั จันทบรุ ี
ทมี่ า : กรมพฒั นาท่ดี ิน Agri-Map online สำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร GISTDA , 2561-2563

74
8) จังหวัดตราด มีพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง ตามความเหมาะสมทางกายภาพรวม 6 ไร่
เป็นพนื้ ทไี่ ม่เหมาะสม (N) จำนวน 6 ไร่

ภาพท่ี 4.17 แผนที่แสดงการเพาะปลูกมันสำปะหลังตามชนั้ ความเหมาะสมจงั หวัดตราด
ทม่ี า : กรมพัฒนาท่ีดิน Agri-Map online สำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร GISTDA , 2561-2563

4.1.3 สนิ ค้ายางพารา
1) จังหวัดนครนายก มีพื้นที่ปลูกยางพารา ตามความเหมาะสมทางกายภาพรวม 569 ไร่

แบ่งเป็น พืน้ ทเ่ี หมาะสมสูง (S1) จำนวน 53 ไร่ พืน้ ทเ่ี หมาะสมปานกลาง (S2) จำนวน 282 ไร่ พ้ืนที่เหมาะสม
เล็กน้อย (S3) จำนวน 33 ไร่ และพนื้ ที่ไมเ่ หมาะสม (N) จำนวน 201 ไร่

ส่วนโรงงานหรือแหล่งรับซื้อยางพาราของจังหวัดนครนายกมีโรงงานแปรรูปไม้ยางพารา
และโรงงานด้านการเกษตรอ่ืน ๆ ทีเ่ กีย่ วขอ้ ง จำนวน 25 แห่ง

75

ภาพที่ 4.18 แผนที่แสดงการเพาะปลูกยางพาราตามชั้นความเหมาะสมและแสดงจุดแหล่งรับซื้อยางพารา
จังหวัดนครนายก
ที่มา : กรมพฒั นาทดี่ นิ Agri-Map online สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร GISTDA , 2561-2563

76
2) จังหวัดปราจีนบุรี มีพื้นที่ปลูกยางพารา ตามความเหมาะสมทางกายภาพรวม 61,822 ไร่
แบ่งเป็น แบ่งเป็น พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) จำนวน 715 ไร่ พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) จำนวน 48,329 ไร่
พื้นทเี่ หมาะสมเลก็ นอ้ ย (S3) จำนวน 7,031 ไร่ และพ้ืนที่ไม่เหมาะสม (N) จำนวน 5,747 ไร่

ส่วนโรงงานหรือแหล่งรับซื้อยางพาราของจังหวัดปราจีนบุรีมีโรงงานผลิตยางแผ่น โรงงาน
แปรรูปผลผลติ จากยางพารา โรงงานแปรรปู ไม้ยางพารา และโรงงานด้านการเกษตรอื่น ๆ ทีเ่ ก่ยี วข้อง จำนวน
71 แห่ง

ภาพที่ 4.19 แผนที่แสดงการเพาะปลูกยางพาราตามชั้นความเหมาะสมและแสดงจุดแหล่งรับซื้อยางพารา
จงั หวดั ปราจนี บรุ ี
ที่มา : กรมพัฒนาท่ดี นิ Agri-Map online สำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร GISTDA , 2561-2563

77
3) จงั หวัดฉะเชิงเทรา มพี น้ื ที่ปลกู ยางพารา ตามความเหมาะสมทางกายภาพรวม 330,347 ไร่
แบ่งเป็น พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) จำนวน 5,030 ไร่ พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) จำนวน 303,209 ไร่ พื้นท่ี
เหมาะสมเล็กน้อย (S3) จำนวน 18,518 ไร่ และพื้นท่ีไม่เหมาะสม (N) จำนวน 3,590 ไร่

ส่วนโรงงานหรือแหล่งรับซื้อยางพาราของจังหวัดฉะเชิงเทรามีโรงงานแปรรูปผลผลิตจาก
ยางพารา โรงงานแปรรูปไมย้ างพารา และโรงงานดา้ นการเกษตรอืน่ ๆ ทเี่ กีย่ วขอ้ ง จำนวน 145 แหง่

ภาพที่ 4.20 แผนที่แสดงการเพาะปลูกยางพาราตามชั้นความเหมาะสมและแสดงจุดแหล่งรับซื้อยางพารา
จงั หวัดฉะเชงิ เทรา
ทม่ี า : กรมพฒั นาท่ดี นิ Agri-Map online สำนักงานเศรษฐกจิ การเกษตร GISTDA , 2561-2563

78
4) จังหวัดสระแก้ว มีพื้นที่ปลูกยางพารา ตามความเหมาะสมทางกายภาพรวม 143,097 ไร่
แบ่งเป็น พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) จำนวน 6,159 ไร่ พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) จำนวน 103,006 ไร่ พื้นท่ี
เหมาะสมเลก็ นอ้ ย (S3) จำนวน 33,809 ไร่ และพน้ื ท่ไี มเ่ หมาะสม (N) จำนวน 123 ไร่

ส่วนโรงงานหรือแหล่งรับซื้อยางพาราของจังหวัดสระแก้วมีโรงงานแปรรูปผลผลิตจาก
ยางพารา และโรงงานด้านการเกษตรอน่ื ๆ ท่เี กย่ี วข้อง จำนวน 88 แห่ง

ภาพที่ 4.21 แผนที่แสดงการเพาะปลูกยางพาราตามชั้นความเหมาะสมและแสดงจุดแหล่งรับซื้อยางพารา
จงั หวดั สระแก้ว
ที่มา : กรมพฒั นาทดี่ นิ Agri-Map online สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร GISTDA , 2561-2563


Click to View FlipBook Version