The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ ภาคเรียนที่ 2ปีการศึกษา 2566

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by หนอนหนังสือ, 2023-12-10 07:35:07

แผนการจัดการเรียนรู้ ภาคเรียนที่ 2ปีการศึกษา 2566

แผนการจัดการเรียนรู้ ภาคเรียนที่ 2ปีการศึกษา 2566

แผนการจัดการเรียนรู้


1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง 我叫乐乐 ฉันชื่อเล่อเล่อ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ รหัสวิชา จ11201 รายวิชา ภาษาจีน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง พยัญชนะ g k h เวลา 1 ชั่วโมง ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ต 1.1 เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่างๆ และแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล มาตรฐาน ต 1.2 มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร แสดงความรู้สึกและความคิดเห็น อย่างมีประสิทธิภาพ มาตรฐาน ต 1.3 นำเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ โดยการพูดและการเขียน มาตรฐาน ต 2.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และนำไปใช้ได้อย่างเหมาะสมกับ กาลเทศะ สาระที่ สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม ตัวชี้วัด ต 1.1 ป.1/4. ตอบคำถามจากการฟัง หรืออ่านประโยค บทสนทนา หรือนิทานง่ายๆที่มีภาพประกอบ ต 1.2 ป.1/4.พูดขอและให้ข้อมูลง่ายๆเกี่ยวกับตนเองตามแบบที่ฟัง ต 1.3 ป.1/1.พูดให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเองและเรื่องใกล้ตัว ต 2.1 ป.1/3.รู้จักหรือเข้าร่วมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมของจีนที่เหมาะสมกับวัย


2 จุดประสงค์การเรียนรู้ ด้านความรู้ (Knowledge) นักเรียนเข้าใจพยัญชนะ และการสะกดคำ กลุ่มคำ ด้านกระบวนการ (Process) นักเรียนสามารถพูดพยัญชนะ และการสะกดคำ กลุ่มคำ เป็นภาษาจีนได้อย่างถูกต้อง ด้านคุณลักษณะ (Attribute) นักเรียนมีวินัยในการเรียน มีความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมาย และมีความมั่นใจในการแสดงออก สาระสำคัญ (ความคิดรวบยอด) เรียนรู้ พยัญชนะ และการสะกดคำ กลุ่มคำ และประโยคที่ใช้ในการพูดทักทาย ให้ข้อมูลเกี่ยวกับตัวเอง อย่างง่ายได้ถูกต้อง สาระการเรียนรู้ ความรู้ (K) พยัญชนะ ภาษาจีน b (ปัว) p (พัว) m (มัว) f(ฟัว) d (เตอ) t (เทอ) n (เนอ) l (เลอ) g (เกอ) k (เคอ) h (เฮอ) ทักษะ/กระบวนการ (P) 1. ทักษะการฟัง 2. ทักษะการพูด 3. ทักษะการอ่าน 4. ทักษะการเขียน


3 เจตคติ(A) 1. ใฝ่เรียนรู้ 2. มุ่งมั่นการทำงาน 3. มีวินัย 4. ซื่อสัตย์สุจริต 5. อยู่อย่างพอเพียง ทักษะของนักเรียนในศตวรรษที่ 21 (เฉพาะที่เกิดในหน่วยการเรียนรู้นี้) Reading (อ่านออก) (W) Riting (เขียนได้) (A) Rithemetics (คิดเลขเป็น) ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี จุดเน้นสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนทักษะศตวรรษที่ 21 (ใช้เฉพาะแกนหลัก 4Cs) ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ (Collaboration Teamwork and Leadership) ทักษะด้านการสื่อสารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ (Communications Information and Media Literacy)


4 ทักษะด้านชีวิตและอาชีพ ความยืดหยุ่น และการปรับตัว การริเริ่มสร้างสรรค์ และการเป็นตัวของตัวเอง ทักษะสังคม และสังคมข้ามวัฒนธรรม การเป็นผู้สร้างหรือผู้ผลิต และความรับผิดชอบเชื่อถือได้ ภาวะผู้นำ และความรับผิดชอบ คุณลักษณะสำหรับศตวรรษที่ 21 คุณลักษณะด้านการทำงาน ได้แก่ การปรับตัว ความเป็นผู้นำ คุณลักษณะด้านการเรียนรู้ ได้แก่ การชี้นำตนเอง การตรวจสอบการเรียนรู้ของตนเอง คุณลักษณะด้านศีลธรรม ได้แก่ เคารพผู้อื่น ความซื่อสัตย์ สำนึกพลเมือง ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลักฐาน/ร่องรอยแสดงความรู้) นักเรียนคัดพยัญชนะลงในสมุดคัดจีน แบบฝึกหัดในหนังสือ 一起学儿童汉语 1 น.34-36 และ น.89-90


5 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้(วิธีการจัดการเรียนรู้) ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน (Warm Up) 1. ครูกล่าวคำทักทายกับนักเรียนด้วยการทักทายของชาวจีน นักเรียน :老 lǎo 师 shī 好 hǎo ! สวัสดีครับ/ค่ะ คุณครู คุณครู :同 tóng 学 xué 们 m e n 好 hǎo !你 n ǐ 们 m e n 好 hǎo 吗 m a ?สวัสดีค่ะนักเรียนทุกคน สบายดีไหมคะ นักเรียน :我 w ǒ 很 hěn 好 hǎo ,你 n ǐ 呢 n e ? ฉันสบายดี แล้วคุณละ คุณครู:老 lǎo 师 shī 也 y ě 很 hěn 好 hǎo ,请 qǐng 坐 zuò 。 ครูก็สบายดี เชิญนั่ง 2. ครูเปิดเพลงทักทาย และเต้นเพลงประกอบจังหวะ 3. ครูถามความรู้พยัญชนะที่เคยเรียนมา ขั้นสอน (Presentation) 1. ครูสอนพยัญชนะภาษาจีน จากเพลงพยัญชนะ g k h https://youtu.be/wAQBjOsvHZc b (ปัว) p (พัว) m (มัว) f(ฟัว) d (เตอ) t (เทอ) n (เนอ) l (เลอ) g (เกอ) k (เคอ) h (เฮอ)


6 2. ครูอ่านออกเสียงพยัญขนะให้นักเรียนฟังหลังจากนั้นครูให้นักเรียนฝึกออกเสียงตามคุณครู พยัญขนะละ 2 ครั้ง หลังจากนั้นให้นักเรียนทุกคนออกเสียงพยัญขนะพร้อมกัน พยัญขนะละ 1 ครั้ง หากมีนักเรียนคน ใดออกเสียงพยัญขนะผิด ครูจะต้องรีบแก้ไข แล้วให้นักเรียนทุกคนออกเสียงใหม่อีกครั้ง 3. ครูให้นักเรียนฝึกฝนอ่านออกเสียงพยัญชนะตามที่ครูชี้บนกระดานพร้อมกัน 4.ครูสุ่มตัวแทนนักเรียนออกมาอ่านออกเสียงพยัญชนะ และชี้พยัญชนะตามคำสั่งของครู ขั้นฝึก (Practice) 1. ครูให้นักเรียนฝึกฝนอ่านออกเสียงพยัญชนะ 2. ครูให้นักเรียนคัดพยัญชนะ g k h ลงในสมุดคัดจีน 3. นักเรียนทำแบบฝึกหัด น.34-36 และ น.89-90 เป็นการบ้า น ขั้นนำเอาไปใช้(Production) นักเรียนสามารถนำพยัญชนะสะกดเป็นพินอินในภาษาจีนได้ ขั้นสรุป (Wrap Up) 1. ครูให้นักเรียนสรุปความเข้าใจและถามนักเรียนเกี่ยวกับพยัญชนะ g k h 2. ครูผู้สอนเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถาม 3. นักเรียนช่วยกันสรุปเนื้อหาที่เรียนในวันนี้หากนักเรียนสรุปไม่ครบ ครูช่วยสรุปเพิ่มเติม สื่อการสอน 1. หนังสือเรียนภาษาจีน 一起学儿童汉语 เล่ม 1 2. Power Point 3. บัตรภาพ บัตรคำ รูปภาพ 4. คลิปวิดีโอ You tube


7 แหล่งเรียนรู้ หนังสือเรียนภาษาจีน 一起学儿童汉语 เล่ม 1 การวัดและประเมินผล 1. การประเมินตามจุดประสงค์/ตัวชี้วัด จุดประสงค์ วิธีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การผ่าน จุดประสงค์ข้อที่ 1 (K) นักเรียนเข้าใจ พยัญชนะ และการ สะกดคำ กลุ่มคำ การทดสอบ แบบทดสอบ การพูด นักเรียนสามารถ ผ่านเกณฑ์การ ประเมินคะแนน ตั้งแต่80% ขึ้น ไป นักเรียนสามารถ ผ่านเกณฑ์การ ประเมินคะแนน ตั้งแต่80% ขึ้น ไป จุดประสงค์ข้อที่ 2 (P) นักเรียนสามารถพูด พยัญชนะ และการ สะกดคำ กลุ่มคำ เป็น ภาษาจีนได้อย่าง ถูกต้อง การประเมิน แบบประเมินผล ทักษะด้าน การฟัง พูด อ่าน เขียน คะแนน ระดับคุณภาพ ระดับ 3 = ดีเยี่ยม ระดับ 2 = ดี ระดับ 1 = ปรับปรุง ได้ระดับดีขึ้นไป จุดประสงค์ข้อที่ 3 (A) นักเรียนมีวินัยในการ เรียน มีความ รับผิดชอบที่ได้รับ มอบหมาย และมีความ มั่นใจในการแสดงออก แบบฝึกหัด และ สังเกตพฤติกรรม แบบบันทึกการ สังเกต พฤติกรรมและ บันทึกคะแนน เป็นรายบุคคล คะแนน ระดับคุณภาพ ระดับ 3 = ดี ระดับ 2 = พอใช้ ระดับ 1 = ปรับปรุง ได้ระดับพอใช้ขึ้นไป


8 2. การประเมินสมรรถนะสำคัญ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และทักษะศตวรรษที่ 21 ประเด็นการประเมิน วิธีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การให้คะแนน สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ความสามารถในการสื่อสาร - - ได้ประเมินตาม ความสามารถในการคิด - - จุดประสงค์ข้อที่ 2 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต - - คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) 1. ใฝ่เรียนรู้ - - 2. มุ่งมั่นการทำงาน - - ได้ประเมินตาม 3. มีวินัย - - จุดประสงค์ข้อที่ 3 4. ซื่อสัตย์สุจริต - - 5. อยู่อย่างพอเพียง - - ทักษะศตวรรษที่ 21 ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา - - ได้ประเมินตาม จุดประสงค์ข้อที่ 2 ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ - - ทักษะด้านชีวิตและอาชีพ การริเริ่มสร้างสรรค์ และการเป็นตัวของตัวเอง - - ได้ประเมินตาม ความยืดหยุ่น และการปรับตัว ภาวะผู้นำ และความรับผิดชอบ ทักษะสังคม และสังคมข้าม วัฒนธรรม - - - - - - จุดประสงค์ข้อที่ 2 และ 3 คุณลักษณะสำหรับศตวรรษที่ 21 คุณลักษณะด้านการทำงาน ได้แก่ การปรับตัว ความเป็นผู้นำ - -


9 คุณลักษณะด้านการเรียนรู้ ได้แก่ การชี้นำตนเองการตรวจสอบการเรียน รู้ของตนเอง - - ได้ประเมินตาม จุดประสงค์ข้อที่ 2 และ 3 คุณลักษณะด้านศีลธรรม ได้แก่ เคารพผู้อื่น ความซื่อสัตย์ สำนึกพลเมือง - - บันทึกหลังสอน ผลการจัดการเรียนรู้ ............................................................................................................................. .......................................... ปัญหา/อุปสรรค ....................................................................................................................................................................... แนวทางแก้ไข/ข้อเสนอแนะ (จากปัญหาอุปสรรค) ......................................................................................................................... .............................................. ลงชื่อ (นางสาวธนิภัทร์ แสงกล้า) ............../................/............... ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ ............................................................................................................................. .......................................... ....................................................................................................................................................................... ลงชื่อ (นางสาวสุปรียา กิตติเกริกพล) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ............../................/...............


10 ความเห็นของหัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย ได้ทำการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ของ ...................................................................... แล้วมีความคิดเห็นดังนี้ 1. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ที่ ◻ ดีมาก ◻ ดี ◻ พอใช้ ◻ ควรปรับปรุง 2. การจัดกิจกรรมได้นำกระบวนการเรียนรู้ ◻ เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญมาใช้ในการสอนได้อย่างเหมาะสม ◻ ยังไม่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ควรปรับปรุงพัฒนาต่อไป 3. ข้อเสนอแนะอื่น ๆ ............................................................................................................................. .......................................... ....................................................................................................................................................................... ลงชื่อ (นางสาวเขมณิจ อ่ำแห) รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ ............../................/............... ความคิดเห็น ............................................................................................................................. .......................................... ............................................................................................................................................. .......................... ลงชื่อ (นายพีราวุฏฐ์ พิมพ์รอด) ผู้อำนวยการโรงเรียนพระยาประเสริฐสุนทราศรัย (กระจ่าง สิงหเสนี) …………. /……………. /………


11 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง 我叫乐乐 ฉันชื่อเล่อเล่อ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ รหัสวิชา จ11201 รายวิชา ภาษาจีน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 หน่วยการเรียนรู้ที่5 เรื่อง 生词 คำศัพท์ เวลา 1 ชั่วโมง ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ต 1.1 เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่างๆ และแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล มาตรฐาน ต 1.2 มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร แสดงความรู้สึกและความคิดเห็น อย่างมีประสิทธิภาพ มาตรฐาน ต 1.3 นำเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ โดยการพูดและการเขียน มาตรฐาน ต 2.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และนำไปใช้ได้อย่างเหมาะสมกับ กาลเทศะ สาระที่ สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม ตัวชี้วัด ต 1.1 ป.1/4. ตอบคำถามจากการฟัง หรืออ่านประโยค บทสนทนา หรือนิทานง่ายๆที่มีภาพประกอบ ต 1.2 ป.1/4.พูดขอและให้ข้อมูลง่ายๆเกี่ยวกับตนเองตามแบบที่ฟัง ต 1.3 ป.1/1.พูดให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเองและเรื่องใกล้ตัว ต 2.1 ป.1/3.รู้จักหรือเข้าร่วมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมของจีนที่เหมาะสมกับวัย


12 จุดประสงค์การเรียนรู้ ด้านความรู้ (Knowledge) นักเรียนรู้และเข้าใจความหมายของคำศัพท์ได้ ด้านกระบวนการ (Process) นักเรียนสามารถอ่านออกเสียงคำศัพท์ได้ถูกต้อง ด้านคุณลักษณะ (Attribute) นักเรียนมีวินัยในการเรียน มีความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมาย และมีความการแสดงออก สาระสำคัญ (ความคิดรวบยอด) การเรียนรู้คำศัพท์เกี่ยวกับ เสียงวรรณยุกต์ การผันเสียง คำ กลุ่มคำ คำศัพท์ และประโยคที่ใช้ในการพูดแนะนำ ตนเองเป็นภาษาจีน สามารถสื่อสารกับเจ้าของภาษาได้อย่างถูกต้อง สาระการเรียนรู้ ความรู้ (K) คำศัพท์ เรียนรู้สระเดี่ยว เสียงวรรณยุกต์ การผันเสียง คำกลุ่มคำ และประโยคที่ใช้ 叫 jiào ชื่อ/เรียก 什 shén 么 m e อะไร 名 míng 字 z ì ชื่อ 我 w ǒ ฉัน 你 n ǐ เธอ/คุณ ทักษะ/กระบวนการ (P) 1. ทักษะการฟัง 2. ทักษะการพูด 3. ทักษะการอ่าน 4. ทักษะการเขียน


13 เจตคติ (A) 1. ใฝ่เรียนรู้ 2. มุ่งมั่นการทำงาน 3. มีวินัย 4. ซื่อสัตย์สุจริต 5. อยู่อย่างพอเพียง ทักษะของนักเรียนในศตวรรษที่ 21 (เฉพาะที่เกิดในหน่วยการเรียนรู้นี้) Reading (อ่านออก) (W) Riting (เขียนได้) (A) Rithemetics (คิดเลขเป็น) ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี จุดเน้นสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนทักษะศตวรรษที่ 21 (ใช้เฉพาะแกนหลัก 4Cs) ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ (Collaboration Teamwork and Leadership) ทักษะด้านการสื่อสารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ (Communications Information and Media Literacy)


14 ทักษะด้านชีวิตและอาชีพ ความยืดหยุ่น และการปรับตัว การริเริ่มสร้างสรรค์ และการเป็นตัวของตัวเอง ทักษะสังคม และสังคมข้ามวัฒนธรรม การเป็นผู้สร้างหรือผู้ผลิต และความรับผิดชอบเชื่อถือได้ ภาวะผู้นำ และความรับผิดชอบ คุณลักษณะสำหรับศตวรรษที่ 21 คุณลักษณะด้านการทำงาน ได้แก่ การปรับตัว ความเป็นผู้นำ คุณลักษณะด้านการเรียนรู้ ได้แก่ การชี้นำตนเอง การตรวจสอบการเรียนรู้ของตนเอง คุณลักษณะด้านศีลธรรม ได้แก่ เคารพผู้อื่น ความซื่อสัตย์ สำนึกพลเมือง ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลักฐาน/ร่องรอยแสดงความรู้) นักเรียนคัดคำศัพท์ลงในสมุดคัดจีน แบบฝึกหัดในหนังสือ 一起学儿童汉语 1 น.92-93


15 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้(วิธีการจัดการเรียนรู้) ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน (Warm Up) 1. ครูเปิดเพลงทักทายเป็นภาษาจีนให้นักเรียนร้องพร้อมกัน 2. ครูกล่าวคำทักทายกับนักเรียนด้วยการทักทายของชาวจีน นักเรียน :老 lǎo 师 shī 好 hǎo ! สวัสดีครับ/ค่ะ คุณครู คุณครู :同 tóng 学 xué 们 m e n 好 hǎo !你 n ǐ 们 m e n 好 hǎo 吗 m a ?สวัสดีค่ะนักเรียนทุกคน สบายดีไหมคะ นักเรียน :我 w ǒ 很 hěn 好 hǎo ,你 n ǐ 呢 n e ? ฉันสบายดี แล้วคุณละ คุณครู :老 lǎo 师 shī 也 y ě 很 hěn 好 hǎo ,请 qǐng 坐 zuò 。 ครูก็สบายดี เชิญนั่ง 3. อ่านทบทวนบทเรียนที่เรียนมาแล้ว เป็นการฝึกทักษะการอ่าน 4. ครูสนทนากับนักเรียน ถึงชื่อของแต่ละคน และรูปประโยคการถาม-ตอบชื่อที่นักเรียนรู้และนำเข้าสู่ บทเรียนเกี่ยวกับเรื่องการถาม-ตอบชื่อ ที่นักเรียนจะเป็นต้องใช้ในชีวิตประจำวัน 5. ครูให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการถาม-ตอบชื่อในภาษาจีนกับภาษาไทยว่าแตกต่างกันอย่างไร ขั้นสอน (Presentation) 1. ครูสอนนักเรียนออกเสียงคำศัพท์ในบทเรียน 叫 jiào ชื่อ/เรียก 什 shén 么 m e อะไร 名 míng 字 z ì ชื่อ 我 w ǒ ฉัน 你 n ǐ เธอ/คุณ


16 2. ครูอธิบายการออกเสียงคำศัพท์และแปลความหมายให้ถูกต้อง 3. ครูอ่านออกเสียงคำศัพท์ให้นักเรียนฟังหลังจากนั้นครูให้นักเรียนฝึกออกเสียงตามคุณครู คำศัพท์ละ 2 ครั้ง หลังจาก นั้นให้นักเรียนทุกคนออกเสียงคำศัพท์พร้อมกัน คำศัพท์ละ 1 ครั้ง หากมีนักเรียนคนใดออกเสียงคำศัพท์ผิด ครูจะต้อง รีบแก้ไข แล้วให้นักเรียนทุกคนออกเสียงใหม่อีกครั้ง 4. ครูให้นักเรียนร่วมเล่นเกม โดยให้นักเรียนแข่งขันกันชี้คำศัพท์ที่เขียนบนกระดาน ทีมไหนชี้ก่อน เป็นฝ่ายชนะ ขั้นฝึก (Practice) 1. ครูให้นักเรียนทำแบบฝึกหัดในหนังสือ 一起学儿童汉语 1 น.93 ขั้นนำเอาไปใช้(Production) นักเรียนสามารถใช้คำศัพท์เกี่ยวกับถามชื่อ และแนะนำตนเองเป็นภาษาจีนในสถานการณ์จริงได้


17 ขั้นสรุป (Wrap Up) 1. ครูสำรวจความเข้าใจและถามนักเรียนเกี่ยวกับคำศัพท์และประเมินการอ่านออกเสียงของนักเรียน 2. ครูผู้สอนเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถาม 3. นักเรียนช่วยกันสรุปเนื้อหาที่เรียนในวันนี้หากนักเรียนสรุปไม่ครบ ครูช่วยสรุปเพิ่มเติม สื่อการสอน 1. หนังสือเรียนภาษาจีน 一起学儿童汉语 เล่ม 1 2. Power Point 3. บัตรภาพ บัตรคำ รูปภาพ 4. คลิปวิดีโอ You tube แหล่งเรียนรู้ หนังสือเรียนภาษาจีน 一起学儿童汉语 เล่ม 1


18 การวัดและประเมินผล 1. การประเมินตามจุดประสงค์/ตัวชี้วัด จุดประสงค์ วิธีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การผ่าน จุดประสงค์ข้อที่ 1 (K) นักเรียนรู้และเข้าใจ ความหมายของ คำศัพท์ได้ การทดสอบ แบบทดสอบ การอ่าน นักเรียนสามารถ ผ่านเกณฑ์การ ประเมินคะแนน ตั้งแต่80% ขึ้น ไป นักเรียนสามารถ ผ่านเกณฑ์การ ประเมินคะแนน ตั้งแต่80% ขึ้น ไป จุดประสงค์ข้อที่ 2 (P) นักเรียนสามารถอ่าน ออกเสียงคำศัพท์ได้ ถูกต้อง การประเมิน แบบประเมินผล ทักษะด้าน การฟัง พูด อ่าน เขียน คะแนน ระดับคุณภาพ ระดับ 3 = ดีเยี่ยม ระดับ 2 = ดี ระดับ 1 = ปรับปรุง ได้ระดับดีขึ้นไป จุดประสงค์ข้อที่ 3 (A) นักเรียนมีวินัยในการ เรียน มีความ รับผิดชอบที่ได้รับ มอบหมาย และมีความ กล้าแสดงออก สังเกตพฤติกรรม แบบบันทึกการ สังเกต พฤติกรรมและ บันทึกคะแนน เป็นรายบุคคล คะแนน ระดับคุณภาพ ระดับ 3 = ดี ระดับ 2 = พอใช้ ระดับ 1 = ปรับปรุง ได้ระดับพอใช้ขึ้นไป


19 2. การประเมินสมรรถนะสำคัญ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และทักษะศตวรรษที่ 21 ประเด็นการประเมิน วิธีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การให้คะแนน สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ความสามารถในการสื่อสาร - - ได้ประเมินตาม ความสามารถในการคิด - - จุดประสงค์ข้อที่ 2 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต - - คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) 1. ใฝ่เรียนรู้ - - 2. มุ่งมั่นการทำงาน - - ได้ประเมินตาม 3. มีวินัย - - จุดประสงค์ข้อที่ 3 4. ซื่อสัตย์สุจริต - - 5. อยู่อย่างพอเพียง - - ทักษะศตวรรษที่ 21 ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา - - ได้ประเมินตาม จุดประสงค์ข้อที่ 2 ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ - - ทักษะด้านชีวิตและอาชีพ การริเริ่มสร้างสรรค์ และการเป็นตัวของตัวเอง - - ได้ประเมินตาม ความยืดหยุ่น และการปรับตัว ภาวะผู้นำ และความรับผิดชอบ ทักษะสังคม และสังคมข้าม วัฒนธรรม - - - - - - จุดประสงค์ข้อที่ 2 และ 3 คุณลักษณะสำหรับศตวรรษที่ 21 คุณลักษณะด้านการทำงาน ได้แก่ การปรับตัว ความเป็นผู้นำ - -


20 คุณลักษณะด้านการเรียนรู้ ได้แก่ การชี้นำตนเองการตรวจสอบการเรียน รู้ของตนเอง - - ได้ประเมินตาม จุดประสงค์ข้อที่ 2 และ 3 คุณลักษณะด้านศีลธรรม ได้แก่ เคารพผู้อื่น ความซื่อสัตย์ สำนึกพลเมือง - - บันทึกหลังสอน ผลการจัดการเรียนรู้ ............................................................................................................................. .......................................... ปัญหา/อุปสรรค ....................................................................................................................................................................... แนวทางแก้ไข/ข้อเสนอแนะ (จากปัญหาอุปสรรค) ......................................................................................................................... .............................................. ลงชื่อ (นางสาวธนิภัทร์ แสงกล้า) ............../................/............... ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ ............................................................................................................................. .......................................... ....................................................................................................................................................................... ลงชื่อ (นางสาวสุปรียา กิตติเกริกพล) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ............../................/...............


21 ความเห็นของหัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย ได้ทำการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ของ ...................................................................... แล้วมีความคิดเห็นดังนี้ 1. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ที่ ◻ ดีมาก ◻ ดี ◻ พอใช้ ◻ ควรปรับปรุง 2. การจัดกิจกรรมได้นำกระบวนการเรียนรู้ ◻ เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญมาใช้ในการสอนได้อย่างเหมาะสม ◻ ยังไม่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ควรปรับปรุงพัฒนาต่อไป 3. ข้อเสนอแนะอื่น ๆ ............................................................................................................................. .......................................... ....................................................................................................................................................................... ลงชื่อ (นางสาวเขมณิจ อ่ำแห) รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ ............../................/............... ความคิดเห็น ............................................................................................................................. .......................................... ............................................................................................................................................. .......................... ลงชื่อ (นายพีราวุฏฐ์ พิมพ์รอด) ผู้อำนวยการโรงเรียนพระยาประเสริฐสุนทราศรัย (กระจ่าง สิงหเสนี) …………. /……………. /………


22 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง 我叫乐乐 ฉันชื่อเล่อเล่อ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ รหัสวิชา จ11201 รายวิชา ภาษาจีน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง 会话 บทสนทนา เวลา 1 ชั่วโมง ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ต 1.1 เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่างๆ และแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล มาตรฐาน ต 1.2 มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร แสดงความรู้สึกและความคิดเห็น อย่างมีประสิทธิภาพ มาตรฐาน ต 1.3 นำเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ โดยการพูดและการเขียน มาตรฐาน ต 2.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และนำไปใช้ได้อย่างเหมาะสมกับ กาลเทศะ สาระที่ สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม ตัวชี้วัด ต 1.1 ป.1/4. ตอบคำถามจากการฟัง หรืออ่านประโยค บทสนทนา หรือนิทานง่ายๆที่มีภาพประกอบ ต 1.2 ป.1/4.พูดขอและให้ข้อมูลง่ายๆเกี่ยวกับตนเองตามแบบที่ฟัง ต 1.3 ป.1/1.พูดให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเองและเรื่องใกล้ตัว ต 2.1 ป.1/3.รู้จักหรือเข้าร่วมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมของจีนที่เหมาะสมกับวัย


23 จุดประสงค์การเรียนรู้ ด้านความรู้ (Knowledge) นักเรียนรู้และเข้าใจบทสนทนาภาษาจีนได้ ด้านกระบวนการ (Process) นักเรียนสามารถสนทนาภาษาจีนได้ถูกต้อง ด้านคุณลักษณะ (Attribute) นักเรียนมีส่วนร่วมในการเรียน มีความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมาย และมีความการแสดงออก สาระสำคัญ (ความคิดรวบยอด) เรียนรู้ พยัญชนะ และการสะกดคำ กลุ่มคำ และประโยคที่ใช้ในการพูดทักทาย การถามชื่อ และการแนะนำ ตนเอง ให้ข้อมูลเกี่ยวกับตัวเอง อย่างง่ายได้ถูกต้อง สาระการเรียนรู้ ความรู้ (K) A: 你 n ǐ 叫 jiào 什 shén 么 m e 名 míng 字 z ì ? คุณชื่ออะไร B: 我 w ǒ 叫 jiào 乐 l è 乐 l è 。 ฉันชื่อเล่อเล่อ A: 你 n ǐ 叫 jiào 什 shén 么 m e 名 míng 字 z ì ? คุณชื่ออะไร B: 我 w ǒ 叫 jiào 婷 tíng 婷 tíng 。 ฉันชื่อถิงถิง ทักษะ/กระบวนการ (P) 1. ทักษะการฟัง 2. ทักษะการพูด 3. ทักษะการอ่าน 4. ทักษะการเขียน


24 เจตคติ (A) 1. ใฝ่เรียนรู้ 2. มุ่งมั่นการทำงาน 3. มีวินัย 4. ซื่อสัตย์สุจริต 5. อยู่อย่างพอเพียง ทักษะของนักเรียนในศตวรรษที่ 21 (เฉพาะที่เกิดในหน่วยการเรียนรู้นี้) Reading (อ่านออก) (W) Riting (เขียนได้) (A) Rithemetics (คิดเลขเป็น) ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี จุดเน้นสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนทักษะศตวรรษที่ 21 (ใช้เฉพาะแกนหลัก 4Cs) ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ (Collaboration Teamwork and Leadership) ทักษะด้านการสื่อสารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ (Communications Information and Media Literacy)


25 ทักษะด้านชีวิตและอาชีพ ความยืดหยุ่น และการปรับตัว การริเริ่มสร้างสรรค์ และการเป็นตัวของตัวเอง ทักษะสังคม และสังคมข้ามวัฒนธรรม การเป็นผู้สร้างหรือผู้ผลิต และความรับผิดชอบเชื่อถือได้ ภาวะผู้นำ และความรับผิดชอบ คุณลักษณะสำหรับศตวรรษที่ 21 คุณลักษณะด้านการทำงาน ได้แก่ การปรับตัว ความเป็นผู้นำ คุณลักษณะด้านการเรียนรู้ ได้แก่ การชี้นำตนเอง การตรวจสอบการเรียนรู้ของตนเอง คุณลักษณะด้านศีลธรรม ได้แก่ เคารพผู้อื่น ความซื่อสัตย์ สำนึกพลเมือง ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลักฐาน/ร่องรอยแสดงความรู้) นักเรียนคัดบทสนทนาลงในสมุดคัดจีน และอ่านบทสนทนาพร้อมแปลความหมาย การจัดกิจกรรมการเรียนรู้(วิธีการจัดการเรียนรู้) ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน (Warm Up) 1. ครูกล่าวคำทักทายกับนักเรียนด้วยการทักทายของชาวจีน นักเรียน :老 lǎo 师 shī 好 hǎo ! สวัสดีครับ/ค่ะ คุณครู คุณครู :同 tóng 学 xué 们 m e n 好 hǎo !你 n ǐ 们 m e n 好 hǎo 吗 m a ?สวัสดีค่ะนักเรียนทุกคน สบายดีไหมคะ นักเรียน :我 w ǒ 很 hěn 好 hǎo ,你 n ǐ 呢 n e ? ฉันสบายดี แล้วคุณละ คุณครู:老 lǎo 师 shī 也 y ě 很 hěn 好 hǎo ,请 qǐng 坐 zuò 。 ครูก็สบายดี เชิญนั่ง 2. ครูเปิดเพลงและทบทวนพยัญชนะ และทบทวนคำศัพท์ที่เรียนมา


26 ขั้นสอน (Presentation) 1. ครูอ่านออกเสียงบทสนทนา แล้วให้นักเรียนอ่านตามครูน.32 A: 你 n ǐ 叫 jiào 什 shén 么 m e 名 míng 字 z ì ? คุณชื่ออะไร B: 我 w ǒ 叫 jiào 乐 l è 乐 l è 。 ฉันชื่อเล่อเล่อ A: 你 n ǐ 叫 jiào 什 shén 么 m e 名 míng 字 z ì ? คุณชื่ออะไร B: 我 w ǒ 叫 jiào 婷 tíng 婷 tíng 。 ฉันชื่อถิงถิง 2. ครูให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงพร้อมแปลความหมายพร้อมกัน ขั้นฝึก (Practice) 1.ครูให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงบทสนทนาพร้อมแปลความหมายพร้อมกัน 2.นักเรียนคัดบทสนทนาลงในสมุดคัดจีน ขั้นนำเอาไปใช้(Production) นักเรียนสามารถอ่านออกเสียงบทสนทนาเป็นภาษาจีนในสถานการณ์จริงได้


27 ขั้นสรุป (Wrap Up) 1. ครูประเมินการอ่านสนทนาภาษาจีนของนักเรียน 2. ครูผู้สอนเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถาม 3. นักเรียนช่วยกันสรุปเนื้อหาที่เรียนในวันนี้หากนักเรียนสรุปไม่ครบ ครูช่วยสรุปเพิ่มเติม สื่อการสอน 1. หนังสือเรียนภาษาจีน 一起学儿童汉语 เล่ม 1 2. Power Point 3. บัตรภาพ บัตรคำ รูปภาพ 4. คลิปวิดีโอ You tube แหล่งเรียนรู้ หนังสือเรียนภาษาจีน 一起学儿童汉语 เล่ม 1


28 การวัดและประเมินผล 1. การประเมินตามจุดประสงค์/ตัวชี้วัด จุดประสงค์ วิธีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การผ่าน จุดประสงค์ข้อที่ 1 (K) นักเรียนรู้และเข้าใจบท สนทนาภาษาจีนได้ นักเรียน สามารถสนทนา ภาษาจีนได้ถูกต้อง การทดสอบ แบบทดสอบ การผันเสียง วรรณยุกต์ นักเรียนสามารถ ผ่านเกณฑ์การ ประเมินคะแนน ตั้งแต่80% ขึ้น ไป นักเรียนสามารถ ผ่านเกณฑ์การ ประเมินคะแนน ตั้งแต่80% ขึ้น ไป จุดประสงค์ข้อที่ 2 (P) นักเรียนสามารถ สนทนาถาม-ตอบ ภาษาจีนได้ถูกต้อง การประเมิน แบบประเมินผล ทักษะด้าน การฟัง พูด อ่าน เขียน คะแนน ระดับคุณภาพ ระดับ 3 = ดีเยี่ยม ระดับ 2 = ดี ระดับ 1 = ปรับปรุง ได้ระดับดีขึ้นไป จุดประสงค์ข้อที่ 3 (A) นักเรียนมีวินัยในการ เรียน มีความ รับผิดชอบที่ได้รับ มอบหมาย และกล้า แสดงออก สังเกตพฤติกรรม แบบบันทึกการ สังเกต พฤติกรรมและ บันทึกคะแนน เป็นรายบุคคล คะแนน ระดับคุณภาพ ระดับ 3 = ดี ระดับ 2 = พอใช้ ระดับ 1 = ปรับปรุง ได้ระดับพอใช้ขึ้นไป


29 2. การประเมินสมรรถนะสำคัญ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และทักษะศตวรรษที่ 21 ประเด็นการประเมิน วิธีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การให้คะแนน สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ความสามารถในการสื่อสาร - - ได้ประเมินตาม ความสามารถในการคิด - - จุดประสงค์ข้อที่ 2 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต - - คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) 1. ใฝ่เรียนรู้ - - 2. มุ่งมั่นการทำงาน - - ได้ประเมินตาม 3. มีวินัย - - จุดประสงค์ข้อที่ 3 4. ซื่อสัตย์สุจริต - - 5. อยู่อย่างพอเพียง - - ทักษะศตวรรษที่ 21 ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา - - ได้ประเมินตาม จุดประสงค์ข้อที่ 2 ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ - - ทักษะด้านชีวิตและอาชีพ การริเริ่มสร้างสรรค์ และการเป็นตัวของตัวเอง - - ได้ประเมินตาม ความยืดหยุ่น และการปรับตัว ภาวะผู้นำ และความรับผิดชอบ ทักษะสังคม และสังคมข้าม วัฒนธรรม - - - - - - จุดประสงค์ข้อที่ 2 และ 3 คุณลักษณะสำหรับศตวรรษที่ 21 คุณลักษณะด้านการทำงาน ได้แก่ การปรับตัว ความเป็นผู้นำ - -


30 คุณลักษณะด้านการเรียนรู้ ได้แก่ การชี้นำตนเองการตรวจสอบการเรียน รู้ของตนเอง - - ได้ประเมินตาม จุดประสงค์ข้อที่ 2 และ 3 คุณลักษณะด้านศีลธรรม ได้แก่ เคารพผู้อื่น ความซื่อสัตย์ สำนึกพลเมือง - - บันทึกหลังสอน ผลการจัดการเรียนรู้ ............................................................................................................................. .......................................... ปัญหา/อุปสรรค ....................................................................................................................................................................... แนวทางแก้ไข/ข้อเสนอแนะ (จากปัญหาอุปสรรค) ......................................................................................................................... .............................................. ลงชื่อ (นางสาวธนิภัทร์ แสงกล้า) ............../................/............... ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ ............................................................................................................................. .......................................... ....................................................................................................................................................................... ลงชื่อ (นางสาวสุปรียา กิตติเกริกพล) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ............../................/...............


31 ความเห็นของหัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย ได้ทำการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ของ ...................................................................... แล้วมีความคิดเห็นดังนี้ 1. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ที่ ◻ ดีมาก ◻ ดี ◻ พอใช้ ◻ ควรปรับปรุง 2. การจัดกิจกรรมได้นำกระบวนการเรียนรู้ ◻ เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญมาใช้ในการสอนได้อย่างเหมาะสม ◻ ยังไม่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ควรปรับปรุงพัฒนาต่อไป 3. ข้อเสนอแนะอื่น ๆ ............................................................................................................................. .......................................... ....................................................................................................................................................................... ลงชื่อ (นางสาวเขมณิจ อ่ำแห) รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ ............../................/............... ความคิดเห็น ............................................................................................................................. .......................................... ............................................................................................................................................. .......................... ลงชื่อ (นายพีราวุฏฐ์ พิมพ์รอด) ผู้อำนวยการโรงเรียนพระยาประเสริฐสุนทราศรัย (กระจ่าง สิงหเสนี) …………. /……………. /………


32 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง 我叫乐乐 ฉันชื่อเล่อเล่อ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ รหัสวิชา จ11201 รายวิชา ภาษาจีน ชั้นประถมศึกษาปีที่1 ภาคเรียนที่2 ปีการศึกษา 2566 หน่วยการเรียนรู้ที่5 เรื่อง เส้นขีดขั้นพื้นฐาน 点 diǎn (เตี่ยน) เวลา 1 ชั่วโมง ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ต 1.1 เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่างๆ และแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล มาตรฐาน ต 1.2 มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร แสดงความรู้สึกและความคิดเห็น อย่างมีประสิทธิภาพ มาตรฐาน ต 1.3 นำเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ โดยการพูดและการเขียน มาตรฐาน ต 2.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และนำไปใช้ได้อย่างเหมาะสมกับ กาลเทศะ สาระที่ สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม ตัวชี้วัด ต 1.1 ป.1/4. ตอบคำถามจากการฟัง หรืออ่านประโยค บทสนทนา หรือนิทานง่ายๆที่มีภาพประกอบ ต 1.2 ป.1/4.พูดขอและให้ข้อมูลง่ายๆเกี่ยวกับตนเองตามแบบที่ฟัง ต 1.3 ป.1/1.พูดให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเองและเรื่องใกล้ตัว ต 1.3 ป.1/2 เขียนอักษรจีน คำศัพท์ง่ายๆ ต 2.1 ป.1/3.รู้จักหรือเข้าร่วมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมของจีนที่เหมาะสมกับวัย


33 จุดประสงค์การเรียนรู้ ด้านความรู้ (Knowledge) นักเรียนรู้ และเข้าใจหลักการเขียนเส้นขีดพื้นฐานภาษาจีนได้ ด้านกระบวนการ (Process) นักเรียนสามารถเขียนเส้นพื้นฐานภาษาจีนได้อย่างถูกต้อง ด้านคุณลักษณะ (Attribute) นักเรียนมีวินัยในการเรียน มีความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมาย และกล้าแสดงออก สาระสำคัญ (ความคิดรวบยอด) เรียนรู้ชื่อเส้นขีดภาษาจีน เขียนอักษรจีน คำศัพท์ง่ายๆ ส่วนประกอบของเส้นพื้นฐาน ลำดับขีดอักษรจีน เขียนอักษรจีนหรือคำศัพท์ภาษาจีนง่ายๆ สาระการเรียนรู้ ความรู้ (K) ขีดขั้นพื้นฐาน 点 diǎn (เตี่ยน) หรือจุด ของส่วนประกอบตัวอักษรจีน หากใช้ดินสอหรือปากกาเขียน ต้องลากจากด้านบนเฉียงไปทางล่างขวาเพียงเล็กน้อย แต่หากใช้พู่กันเขียน ต้องเอียงพู่กันแล้วเฉียงขวาเล็กน้อย จากนั้นจุดลงโดยไม่ต้องลาก ทักษะ/กระบวนการ (P) 1. ทักษะการฟัง 2. ทักษะการพูด 3. ทักษะการอ่าน 4. ทักษะการเขียน


34 เจตคติ (A) 1. ใฝ่เรียนรู้ 2. มุ่งมั่นการทำงาน 3. มีวินัย 4. ซื่อสัตย์สุจริต 5. อยู่อย่างพอเพียง ทักษะของนักเรียนในศตวรรษที่ 21 (เฉพาะที่เกิดในหน่วยการเรียนรู้นี้) Reading (อ่านออก) (W) Riting (เขียนได้) (A) Rithemetics (คิดเลขเป็น) ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี จุดเน้นสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนทักษะศตวรรษที่ 21 (ใช้เฉพาะแกนหลัก 4Cs) ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ (Collaboration Teamwork and Leadership) ทักษะด้านการสื่อสารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ (Communications Information and Media Literacy)


35 ทักษะด้านชีวิตและอาชีพ ความยืดหยุ่น และการปรับตัว การริเริ่มสร้างสรรค์ และการเป็นตัวของตัวเอง ทักษะสังคม และสังคมข้ามวัฒนธรรม การเป็นผู้สร้างหรือผู้ผลิต และความรับผิดชอบเชื่อถือได้ ภาวะผู้นำ และความรับผิดชอบ คุณลักษณะสำหรับศตวรรษที่ 21 คุณลักษณะด้านการทำงาน ได้แก่ การปรับตัว ความเป็นผู้นำ คุณลักษณะด้านการเรียนรู้ ได้แก่ การชี้นำตนเอง การตรวจสอบการเรียนรู้ของตนเอง คุณลักษณะด้านศีลธรรม ได้แก่ เคารพผู้อื่น ความซื่อสัตย์ สำนึกพลเมือง ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลักฐาน/ร่องรอยแสดงความรู้) แบบฝึกหัดในหนังสือ 一起学儿童汉语 1 น.92 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้(วิธีการจัดการเรียนรู้) ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน (Warm Up) 1. ครูกล่าวคำทักทายกับนักเรียนด้วยการทักทายของชาวจีน นักเรียน :老 lǎo 师 shī 好 hǎo ! สวัสดีครับ/ค่ะ คุณครู คุณครู :同 tóng 学 xué 们 m e n 好 hǎo !你 n ǐ 们 m e n 好 hǎo 吗 m a ?สวัสดีค่ะนักเรียนทุกคน สบายดีไหมคะ นักเรียน :我 w ǒ 很 hěn 好 hǎo ,你 n ǐ 呢 n e ? ฉันสบายดี แล้วคุณละ คุณครู :老 lǎo 师 shī 也 y ě 很 hěn 好 hǎo ,请 qǐng 坐 zuò 。 ครูก็สบายดี เชิญนั่ง 2. ครูเปิดเพลงทักทาย และเต้นประกอบเพลง 3. นักเรียนอ่านทบทวนบทเรียนที่เรียนมาแล้ว เป็นการฝึกทักษะการอ่าน 4. ครูให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเส้นขีดขั้นพื้นฐานในภาษาจีน


36 ขั้นสอน (Presentation) 1. ครูอธิบายลักษณะการเขียนขีดขั้นพื้นฐาน 点 diǎn (เตี่ยน) หรือจุด ของส่วนประกอบตัวอักษรจีน หากใช้ดินสอหรือปากกาเขียน ต้องลากจากด้านบนเฉียงไปทางล่างขวาเพียงเล็กน้อย แต่หากใช้พู่กันเขียน ต้องเอียงพู่กันแล้วเฉียงขวาเล็กน้อย จากนั้นจุดลงโดยไม่ต้องลาก 2. ครูอธิบายอักษรจีนที่มีส่วนประกอบของขีดขั้นพื้นฐาน 点 diǎn (เตี่ยน) 3. ครูให้นักเรียนร่วมแข่งขันเล่นเกม โดยให้นักเรียนตามหาตัวอักษรจีนที่มีส่วนประกอบของขีดขั้นพื้นฐาน 点 diǎn (เตี่ยน) 4. ครูให้นักเรียนคัดตามรอย และ เขียนอักษรจีนตามลำดับขีด น.90 และ 92 ขั้นฝึก (Practice) 1. ครูให้นักเรียนฝึกฝนเขียน เส้นขีดพื้นฐาน 点 diǎn (เตี่ยน) 2. ครูให้นักเรียนคัด เส้นขีดพื้นฐาน 点 diǎn (เตี่ยน) และอักษรจีนที่มีส่วนประกอบเส้นขีดพื้นฐาน 点 diǎn (เตี่ยน) ลงในสมุดคัดจีน ขั้นนำเอาไปใช้(Production) นักเรียนสามารถนำ เส้นขีดพื้นฐาน 点 diǎn (เตี่ยน) ไปเขียนตัวอักษรจีนได้ถูกต้องตามหลักการเขียน


37 ขั้นสรุป (Wrap Up) 1. ครูประเมินการเขียนเส้นขีดพื้นฐาน 点 diǎn (เตี่ยน) ของนักเรียนจากแบบฝึกหัด 2. ครูผู้สอนเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถาม 3. นักเรียนช่วยกันสรุปเนื้อหาที่เรียนในวันนี้หากนักเรียนสรุปไม่ครบ ครูช่วยสรุปเพิ่มเติม สื่อการสอน 1. หนังสือเรียนภาษาจีน 一起学儿童汉语 เล่ม 1 2. Power Point 3. บัตรภาพ บัตรคำ รูปภาพ 4. คลิปวิดีโอ You tube แหล่งเรียนรู้ หนังสือเรียนภาษาจีน 一起学儿童汉语 เล่ม 1


38 การวัดและประเมินผล 1. การประเมินตามจุดประสงค์/ตัวชี้วัด จุดประสงค์ วิธีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การผ่าน จุดประสงค์ข้อที่ 1 (K) นักเรียนรู้ และเข้าใจ หลักการเขียนเส้นขีด พื้นฐานภาษาจีนได้ การทดสอบ แบบทดสอบ การอ่านออก เสียง นักเรียนสามารถ ผ่านเกณฑ์การ ประเมินคะแนน ตั้งแต่80% ขึ้น ไป นักเรียนสามารถ ผ่านเกณฑ์การ ประเมินคะแนน ตั้งแต่80% ขึ้น ไป จุดประสงค์ข้อที่ 2 (P) นักเรียนสามารถเขียน เส้นพื้นฐานภาษาจีนได้ อย่างถูกต้อง การประเมิน แบบประเมินผล ทักษะด้าน การฟัง พูด อ่าน เขียน คะแนน ระดับคุณภาพ ระดับ 3 = ดีเยี่ยม ระดับ 2 = ดี ระดับ 1 = ปรับปรุง ได้ระดับดีขึ้นไป จุดประสงค์ข้อที่ 3 (A) นักเรียนมีวินัยในการ เรียน มีความ รับผิดชอบที่ได้รับ มอบหมาย และมีความ การแสดงออก สังเกตพฤติกรรม แบบบันทึกการ สังเกต พฤติกรรมและ บันทึกคะแนน เป็นรายบุคคล คะแนน ระดับคุณภาพ ระดับ 3 = ดี ระดับ 2 = พอใช้ ระดับ 1 = ปรับปรุง ได้ระดับพอใช้ขึ้นไป


39 2. การประเมินสมรรถนะสำคัญ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และทักษะศตวรรษที่ 21 ประเด็นการประเมิน วิธีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การให้คะแนน สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ความสามารถในการสื่อสาร - - ได้ประเมินตาม ความสามารถในการคิด - - จุดประสงค์ข้อที่ 2 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต - - คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) 1. ใฝ่เรียนรู้ - - 2. มุ่งมั่นการทำงาน - - ได้ประเมินตาม 3. มีวินัย - - จุดประสงค์ข้อที่ 3 4. ซื่อสัตย์สุจริต - - 5. อยู่อย่างพอเพียง - - ทักษะศตวรรษที่ 21 ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา - - ได้ประเมินตาม จุดประสงค์ข้อที่ 2 ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ - - ทักษะด้านชีวิตและอาชีพ การริเริ่มสร้างสรรค์ และการเป็นตัวของตัวเอง - - ได้ประเมินตาม ความยืดหยุ่น และการปรับตัว ภาวะผู้นำ และความรับผิดชอบ ทักษะสังคม และสังคมข้าม วัฒนธรรม - - - - - - จุดประสงค์ข้อที่ 2 และ 3 คุณลักษณะสำหรับศตวรรษที่ 21 คุณลักษณะด้านการทำงาน ได้แก่ การปรับตัว ความเป็นผู้นำ - -


40 คุณลักษณะด้านการเรียนรู้ ได้แก่ การชี้นำตนเองการตรวจสอบการเรียน รู้ของตนเอง - - ได้ประเมินตาม จุดประสงค์ข้อที่ 2 และ 3 คุณลักษณะด้านศีลธรรม ได้แก่ เคารพผู้อื่น ความซื่อสัตย์ สำนึกพลเมือง - - บันทึกหลังสอน ผลการจัดการเรียนรู้ ............................................................................................................................. .......................................... ปัญหา/อุปสรรค ....................................................................................................................................................................... แนวทางแก้ไข/ข้อเสนอแนะ (จากปัญหาอุปสรรค) ......................................................................................................................... .............................................. ลงชื่อ (นางสาวธนิภัทร์ แสงกล้า) ............../................/............... ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ ............................................................................................................................. .......................................... ....................................................................................................................................................................... ลงชื่อ (นางสาวสุปรียา กิตติเกริกพล) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ............../................/...............


41 ความเห็นของหัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย ได้ทำการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ของ ...................................................................... แล้วมีความคิดเห็นดังนี้ 1. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ที่ ◻ ดีมาก ◻ ดี ◻ พอใช้ ◻ ควรปรับปรุง 2. การจัดกิจกรรมได้นำกระบวนการเรียนรู้ ◻ เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญมาใช้ในการสอนได้อย่างเหมาะสม ◻ ยังไม่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ควรปรับปรุงพัฒนาต่อไป 3. ข้อเสนอแนะอื่น ๆ ............................................................................................................................. .......................................... ....................................................................................................................................................................... ลงชื่อ (นางสาวเขมณิจ อ่ำแห) รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ ............../................/............... ความคิดเห็น ............................................................................................................................. .......................................... ............................................................................................................................................. .......................... ลงชื่อ (นายพีราวุฏฐ์ พิมพ์รอด) ผู้อำนวยการโรงเรียนพระยาประเสริฐสุนทราศรัย (กระจ่าง สิงหเสนี) …………. /……………. /………


42 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง 我叫乐乐 ฉันชื่อเล่อเล่อ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ รหัสวิชา จ11201 รายวิชา ภาษาจีน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง โครงสร้างประโยคการถาม-ตอบชื่อ เวลา 1 ชั่วโมง ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ต 1.1 เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่างๆ และแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล มาตรฐาน ต 1.2 มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร แสดงความรู้สึกและความคิดเห็น อย่างมีประสิทธิภาพ มาตรฐาน ต 1.3 นำเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ โดยการพูดและการเขียน มาตรฐาน ต 2.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และนำไปใช้ได้อย่างเหมาะสมกับ กาลเทศะ สาระที่ สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม ตัวชี้วัด ต 1.1 ป.1/4. ตอบคำถามจากการฟัง หรืออ่านประโยค บทสนทนา หรือนิทานง่ายๆที่มีภาพประกอบ ต 1.2 ป.1/4.พูดขอและให้ข้อมูลง่ายๆเกี่ยวกับตนเองตามแบบที่ฟัง ต 1.3 ป.1/1.พูดให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเองและเรื่องใกล้ตัว ต 2.1 ป.1/3.รู้จักหรือเข้าร่วมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมของจีนที่เหมาะสมกับวัย


43 จุดประสงค์การเรียนรู้ ด้านความรู้ (Knowledge) นักเรียนรู้และเข้าใจบทสนทนาเกี่ยวกับการถาม-ตอบชื่อเป็นภาษาจีนได้ ด้านกระบวนการ (Process) นักเรียนสามารถสนทนาภาษาจีนเกี่ยวกับการถาม-ตอบชื่อได้ถูกต้อง ด้านคุณลักษณะ (Attribute) นักเรียนมีส่วนร่วมในการเรียน มีความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมาย และมีความการแสดงออก สาระสำคัญ (ความคิดรวบยอด) เรียนรู้ พยัญชนะ และการสะกดคำ กลุ่มคำ และประโยคที่ใช้ในการพูดทักทาย ประโยคที่ใช้ในการถาม-ตอบ ชื่อ ให้ข้อมูลเกี่ยวกับตัวเอง อย่างง่ายได้ถูกต้อง สาระการเรียนรู้ ความรู้ (K) A : 你 n ǐ 叫 jiào 什 shén 么 m e 名 míng 字 z ì ? คุณชื่ออะไร B : 我 w ǒ 叫 jiào ......................... ฉันชื่อ............. ทักษะ/กระบวนการ (P) 1. ทักษะการฟัง 2. ทักษะการพูด 3. ทักษะการอ่าน 4. ทักษะการเขียน


44 เจตคติ (A) 1. ใฝ่เรียนรู้ 2. มุ่งมั่นการทำงาน 3. มีวินัย 4. ซื่อสัตย์สุจริต 5. อยู่อย่างพอเพียง ทักษะของนักเรียนในศตวรรษที่ 21 (เฉพาะที่เกิดในหน่วยการเรียนรู้นี้) Reading (อ่านออก) (W) Riting (เขียนได้) (A) Rithemetics (คิดเลขเป็น) ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี จุดเน้นสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนทักษะศตวรรษที่ 21 (ใช้เฉพาะแกนหลัก 4Cs) ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ (Collaboration Teamwork and Leadership) ทักษะด้านการสื่อสารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ (Communications Information and Media Literacy)


45 ทักษะด้านชีวิตและอาชีพ ความยืดหยุ่น และการปรับตัว การริเริ่มสร้างสรรค์ และการเป็นตัวของตัวเอง ทักษะสังคม และสังคมข้ามวัฒนธรรม การเป็นผู้สร้างหรือผู้ผลิต และความรับผิดชอบเชื่อถือได้ ภาวะผู้นำ และความรับผิดชอบ คุณลักษณะสำหรับศตวรรษที่ 21 คุณลักษณะด้านการทำงาน ได้แก่ การปรับตัว ความเป็นผู้นำ คุณลักษณะด้านการเรียนรู้ ได้แก่ การชี้นำตนเอง การตรวจสอบการเรียนรู้ของตนเอง คุณลักษณะด้านศีลธรรม ได้แก่ เคารพผู้อื่น ความซื่อสัตย์ สำนึกพลเมือง ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลักฐาน/ร่องรอยแสดงความรู้) นักเรียนคัดบทสนทนา น.91 ใส่สมุดคัดจีน และฝึกอ่านออกเสียงบทสนทนาพร้อมแปลความหมาย


46 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้(วิธีการจัดการเรียนรู้) ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน (Warm Up) 1. ครูกล่าวคำทักทายกับนักเรียนด้วยการทักทายของชาวจีน นักเรียน :老 lǎo 师 shī 好 hǎo ! สวัสดีครับ/ค่ะ คุณครู คุณครู :同 tóng 学 xué 们 m e n 好 hǎo !你 n ǐ 们 m e n 好 hǎo 吗 m a ?สวัสดีค่ะนักเรียนทุกคน สบายดีไหมคะ นักเรียน :我 w ǒ 很 hěn 好 hǎo ,你 n ǐ 呢 n e ? ฉันสบายดี แล้วคุณละ คุณครู:老 lǎo 师 shī 也 y ě 很 hěn 好 hǎo ,请 qǐng 坐 zuò 。 ครูก็สบายดี เชิญนั่ง 2. ครูเปิดเพลงให้นักเรียนเคลื่อนไหวประกอบจังหวะ 3. นักเรียนทบทวนเนื้อหาบทสนทนาที่เรียนมา 4. ให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการถาม-ตอบชื่อในภาษาจีนกับภาษาไทยว่าแตกต่างกันอย่างไร ขั้นสอน (Presentation) 1. ครูอธิบายโครงสร้างของประโยคภาษาจีนที่ใช้ในการถามชื่อ และการแนะนำชื่อตนเอง A : 你 n ǐ 叫 jiào 什 shén 么 m e 名 míng 字 z ì ? คุณชื่ออะไร B : 我 w ǒ 叫 jiào ......................... ฉันชื่อ............. 2. ครูให้นักเรียนร่วมกันทำกิจกรรมในชั้นเรียน โดยครูให้นักเรียนส่งลูกบอลรอบห้องตามจังหวะเพลงที่ได้ยิน เมื่อลูกบอลหยุดที่นักเรียนคนใด ให้นักเรียนคนนั้นตอบชื่อตนเองตามที่เพื่อนร่วมชั้นเรียนถาม A: 你 n ǐ 叫 jiào 什 shén 么 m e 名 míng 字 z ì ? คุณชื่ออะไร B: 我 w ǒ 叫 jiào 乐 l è 乐 l è 。 ฉันชื่อเล่อเล่อ


47 ขั้นฝึก (Practice) 1. ครูให้นักเรียนสลับสนทนาถาม-ตอบชื่อเป็นภาษาจีน 2. นักเรียนคัดบทสนทนา น.91 ลงสมุดคัดจีน ขั้นนำเอาไปใช้(Production) นักเรียนสามารถพูด หรือสนทนาประโยคการถาม-ตอบชื่อได้ในสถานการณ์จริง ขั้นสรุป (Wrap Up) 1. ครูประเมินการสนทนาประโยคการถาม-ตอบชื่อของนักเรียน 2. ครูผู้สอนเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถาม 3. นักเรียนช่วยกันสรุปเนื้อหาที่เรียนในวันนี้หากนักเรียนสรุปไม่ครบ ครูช่วยสรุปเพิ่มเติม สื่อการสอน 1. หนังสือเรียนภาษาจีน 一起学儿童汉语 เล่ม 1 2. Power Point 3. บัตรภาพ บัตรคำ รูปภาพ 4. คลิปวิดีโอ You tube แหล่งเรียนรู้ นักเรียนคัดประโยคสนทนาถาม-ตอบชื่อเพื่อนร่วมชั้นเรียนลงในสมุดคัดจีน หนังสือเรียนภาษาจีน 一起学儿童汉语 เล่ม 1


48 การวัดและประเมินผล 1. การประเมินตามจุดประสงค์/ตัวชี้วัด จุดประสงค์ วิธีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การผ่าน จุดประสงค์ข้อที่ 1 (K) นักเรียนรู้และเข้าใจบท สนทนาเกี่ยวกับการ ถาม-ตอบชื่อเป็น ภาษาจีนได้ การทดสอบ แบบทดสอบ การเขียน นักเรียนสามารถ ผ่านเกณฑ์การ ประเมินคะแนน ตั้งแต่80% ขึ้น ไป นักเรียนสามารถ ผ่านเกณฑ์การ ประเมินคะแนน ตั้งแต่80% ขึ้น ไป จุดประสงค์ข้อที่ 2 (P) นักเรียนสามารถ สนทนาภาษาจีน เกี่ยวกับการถาม-ตอบ ชื่อได้ถูกต้อง การประเมิน แบบประเมินผล ทักษะด้าน การฟัง พูด อ่าน เขียน คะแนน ระดับคุณภาพ ระดับ 3 = ดีเยี่ยม ระดับ 2 = ดี ระดับ 1 = ปรับปรุง ได้ระดับดีขึ้นไป จุดประสงค์ข้อที่ 3 (A) นักเรียนมีวินัยในการ เรียน มีความ รับผิดชอบที่ได้รับ มอบหมาย และกล้า แสดงออก สังเกตพฤติกรรม แบบบันทึกการ สังเกต พฤติกรรมและ บันทึกคะแนน เป็นรายบุคคล คะแนน ระดับคุณภาพ ระดับ 3 = ดี ระดับ 2 = พอใช้ ระดับ 1 = ปรับปรุง ได้ระดับพอใช้ขึ้นไป


49 2. การประเมินสมรรถนะสำคัญ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และทักษะศตวรรษที่ 21 ประเด็นการประเมิน วิธีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การให้คะแนน สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ความสามารถในการสื่อสาร - - ได้ประเมินตาม ความสามารถในการคิด - - จุดประสงค์ข้อที่ 2 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต - - คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) 1. ใฝ่เรียนรู้ - - 2. มุ่งมั่นการทำงาน - - ได้ประเมินตาม 3. มีวินัย - - จุดประสงค์ข้อที่ 3 4. ซื่อสัตย์สุจริต - - 5. อยู่อย่างพอเพียง - - ทักษะศตวรรษที่ 21 ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา - - ได้ประเมินตาม จุดประสงค์ข้อที่ 2 ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ - - ทักษะด้านชีวิตและอาชีพ การริเริ่มสร้างสรรค์ และการเป็นตัวของตัวเอง - - ได้ประเมินตาม ความยืดหยุ่น และการปรับตัว ภาวะผู้นำ และความรับผิดชอบ ทักษะสังคม และสังคมข้าม วัฒนธรรม - - - - - - จุดประสงค์ข้อที่ 2 และ 3 คุณลักษณะสำหรับศตวรรษที่ 21 คุณลักษณะด้านการทำงาน ได้แก่ การปรับตัว ความเป็นผู้นำ - -


Click to View FlipBook Version