144
ไดรบั สูงกวา เห็นไดวา เกณฑและตัวช้วี ัดในการพิจารณาบุคคลเขาสูตําแหนงดังกลาว ไดกําหนดรายละเอียด
ของตัวชี้วัดอยางชัดเจน โดยแยกพิจารณาจากดานความรู ความสามารถ และประสบการณ ดานผลงานดาน
ความอาวุโสในราชการ ดานวินัย และดานความเหมาะสมอื่น ๆ และประโยชนที่ทางราชการไดรับ และได
ประกาศใหขา ราชการภายในสํานักงานไดทราบโดยท่ัวกันกอนมีการจัดบุคคลเขาสูตําแหนงดังกลาวแลว
เม่ือตําแหนงเจาหนาที่วิเคราะหนโยบายและแผน ๖ว/๗ว ตําแหนงเลขที่ อ๔๕ มีผูไดคะแนนรวม
๙๑ คะแนน เทากัน ๒ คน คือ ผูฟองคดีและนาย อ. ซึ่งตามหลักเกณฑในขอ ๖ไดกําหนดใหพิจารณา
เรียงตามลําดับ คือ ๖.๑ ผูที่ไดคะแนนผลงานสูงกวา ๖.๒ ผูท่ีมีความสามารถและประสบการณสูงกวา ๖.๓
ผทู ม่ี ีอาวโุ สสงู กวา ๖.๔ ผูทไี่ มเ คยถกู ลงโทษทางวินยั ๖.๕ ผูท ี่มีคะแนนความเหมาะสมอ่นื และประโยชนทีท่ าง
ราชการไดรับสูงกวา โดยผูถูกฟองคดีที่ ๒ ไดพิจารณาตามขอ ๖.๑ แลวปรากฏวา ผูฟองคดีและนาย อ.
ไดคะแนนผลงาน ๑๕ คะแนน เทากัน ผูถูกฟองคดีที่ ๒ จึงพิจารณาคะแนนท่ีไดจากตัวช้ีวัดลําดับตอไปตาม
ขอ ๖.๒ ท่ีวา ผูใดมีคะแนนความสามารถและประสบการณสูงกวากัน ซ่ึงผูถูกฟองคดีที่ ๒ พิจารณาแลวเห็น
วา เกณฑและตัวช้ีวัดตามขอ ๖.๒กําหนดไวแตเพียงความสามารถและประสบการณเทานั้น โดยมิได
กําหนดใหเอาตัวชี้วัดในดานความรูรวมเขาไวดวย ผูถูกฟองคดีท่ี ๒ จึงไมนาํ คะแนนจากตัวช้ีวัดในดานความรู
มารวมพจิ ารณาเพียงแตนําคะแนนจากตัวช้วี ัดในดานความสามารถและดา นประสบการณมาพิจารณาเทาน้ัน
ปรากฏวาผูฟองคดีไดคะแนนขอ ๖.๑ ผลงาน และขอ ๖.๒ ความสามารถและประสบการณ เทากันกับนาย
อ. ผูถูกฟองคดีที่ ๒ จึงไดพิจารณาคะแนนที่ไดจากตัวชี้วัดลําดับตอไปตามขอ ๖.๓ซึ่งกําหนดวา ผูใดมีอาวุโส
สูงกวากัน ปรากฏวานาย อ. รับเงินเดือนขั้นสูงกวาผูฟองคดี ผูถูกฟองคดีที่ ๒ จึงเห็นวานาย อ. มีความ
อาวุโสกวาผูฟองคดี จึงใหนาย อ. ลงในกรอบอัตรากําลังตําแหนงเลขท่ี อ๔๕ เห็นวา แมหลักเกณฑในขอ
๖.๒ จะกําหนดไวแตเพียงความสามารถและประสบการณโดยมิไดนําเอาความรูมากําหนดไวดวยก็ตาม
แตเมื่อพิจารณาเกณฑในขอ ๖. ซ่ึงเปนกรณีท่ีมีผูไดคะแนนรวมเทากันแลว เกณฑดังกลาวมีเจตนารมณให
ผูถูกฟองคดีท่ี ๒ กลับไปพิจารณาผลคะแนนที่ไดจากตัวชี้วัดในแตละดานตามลําดับใหมอีกครั้ง วาผูใดมี
คะแนนตัวช้ีวัดแตละลําดับมากกวากัน โดยมิไดมีเจตนารมณท่ีจะใหตัดทอนหรือเพิ่มคะแนนในสวนใดสวน
หนึง่ ไดแ ตอ ยางใด
การท่ีผูถูกฟองคดีท่ี ๒ เห็นวาเกณฑและตัวชี้วัดตามขอ ๖.๒ กําหนดไวแตเพียงความสามารถและ
ประสบการณเทาน้ัน โดยมิไดกําหนดเอาความรรู วมเขาไปดวย ผูถูกฟองคดีท่ี ๒ จึงไมนําคะแนนจากตัวช้ีวัด
ในดานความรูมารวมพิจารณาดวย น้ัน จึงเปนความเขาใจที่คลาดเคลื่อนของผูถูกฟองคดีที่ ๒ เอง ดังน้ัน
เม่ือผูฟองคดีและนาย อ. ไดคะแนนผลงานตามขอ ๖.๑ เทากันกรณีจึงตองพิจารณาคะแนนท่ีไดจากตัวชี้วัด
ดานความรูความสามารถและประสบการณ ซ่ึงปรากฏวาผูฟองคดีไดคะแนนความรูความสามารถและ
ประสบการณมากกวานาย อ. ๑ คะแนน ผูถูกฟองคดีท่ี ๒ จะตองถือปฏิบัติตามขอ ๖.๒ ของเกณฑและ
ตวั ช้ีวัดเพื่อประกอบเกณฑการพิจารณาตัวบคุ คลในการจัดขาราชการใหดาํ รงตําแหนง บุคลากรทางการศกึ ษา
อ่ืนตามมาตรา ๓๘ ค. (๒) ตามกรอบอัตรากําลังในสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและในสถานศึกษาท่ี ก.ค.ศ.
กําหนด และ อ.ก.ค.ศ.เขตพ้ืนที่การศึกษาชัยภูมิ เขต ๑ ใหความเห็นชอบ ตามประกาศสํานักงานเขตพ้ืนที่
การศึกษาชัยภูมิเขต ๑ ลงวันที่ ๒๖ ธันวาคม ๒๕๔๙ โดยใหผูฟองคดีไดรับการจัดลงกรอบอัตรากําลังใน
ตําแหนงเจาหนาท่ีวิเคราะหนโยบายและแผน ๖ว/๗ว ตําแหนงเลขที่ อ๔๕ โดยไมตองพิจารณาหลักเกณฑ
ตามขอ ๖.๓ ในดานความอาวุโสในราชการอีกตอไป ดังนั้น เมื่อผูถูกฟองคดีท่ี ๒ พิจารณาเห็นวาผฟู องคดีกับ
นาย อ. ไดคะแนนในดา นความสามารถและประสบการณตามขอ ๖.๒ เทากันแลว ไปพิจารณาหลกั เกณฑตาม
145
ขอ ๖.๓ จึงเปนการกระทําท่ีไมชอบดวยกฎหมาย การที่ผูถูกฟองคดีที่ ๓ ใหความเห็นชอบผลการพิจารณา
ของผูถูกฟองคดีท่ี ๒ แลวผูถูกฟองคดีที่ ๑ ออกคําส่ังลงวันท่ี ๒๙ มกราคม ๒๕๕๐ เฉพาะตําแหนงเลขท่ี อ๔
๕ เจา หนา ทว่ี เิ คราะหน โยบายและแผน ๖ว/๗ว จงึ เปนคําสัง่ ทไ่ี มชอบดว ยกฎหมายเชนกัน
แนวปฏิบัติราชการเกี่ยวกับการประเมินผลการปฏิบัติงานเพ่ือใชในการพิจารณา เล่ือนขั้น
(คาํ พพิ ากษาศาลปกครองสงู สุดที่ อบ.๓๔/๒๕๖๑)
การพิจารณาเล่ือนขั้นคาจา งจะตองดําเนินการใหเ ปน ไปตามประกาศ ระเบียบ ขั้นตอน หรือหลัก
เกณฑใดๆ ตามที่ไดก าํ หนดไว หากหนวยงานพิจารณาเล่ือนขั้นคา จา งโดยไมปฏิบัติ ใหถ ูกตองตามประกาศ
ระเบียบ ข้ันตอนหรือหลักเกณฑตามท่ีไดก ําหนดไว ยอ มมีผลทําใหการพิจารณาเล่ือนขั้นคา จางดังกลาวไม
ชอบดวยกฎหมาย เมอื่ กระบวนการประเมินผลการปฏิบัตงิ านเพื่อใชใ นการพิจารณาเลอ่ื นขั้นคาจา งใหแ กผ ฟู องคดี
ประจําปง บประมาณไมเปน ไปตามข้ันตอนหรือวิธีการ อันเปนสาระสําคัญที่กําหนดไวสําหรับการพิจารณา
เล่ือนข้ันคาจางพนักงานมหาวิทยาลัย จึงทําใหการพิจารณาเลื่อนข้ันคาจางประจําปง บประมาณ พ.ศ.
๒๕๕๓ ในสวนของผฟู องคดีไมชอบดว ยกฎหมาย
หลักกฎหมายท่ีเก่ียวของ : หลักความชอบดว ยกฎหมาย
หนว ยงานทางปกครอง : อธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ผอู ํานวยการสถาบันประมวลขอ มูลเพื่อการ
ศกึ ษาและการพฒั นา สภามหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร
สรุปคดี : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร (ผูถ กู ฟองคดที ี่ ๑) มีคําส่ังใหเพ่ิมคา จา งผูฟ องคดีตํ่ากวา เกณฑ
เฉลยี่ ในการพิจารณาเลื่อนขั้นคา จา งพนักงานท่ัวไป ผูฟองคดีจึงมีหนังสือรองทุกขตอคณะกรรมการอุทธรณ
และรองทุกขประจํามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ซ่ึงตอ มาสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร (ผูถ ูกฟอ งคดีท่ี ๓)
มีมติใหยกคํารอ งทุกขข องผูฟอ งคดี ผูฟ อ งคดีเห็นวากรณีดังกลาวเปนการกระทําโดยไมช อบดวยกฎหมาย
เนื่องจากผูอํานวยการสถาบันประมวลขอ มูลเพ่ือการศึกษาและการพัฒนา (ผูถ ูกฟอ งคดีที่ ๒) ไมป ฏิบัติตาม
หลักเกณฑแ ละวิธีการเล่ือนขั้นคาจางพนักงานมหาวิทยาลัยท่ีผูถ ูกฟอ งคดีท่ี ๑ กําหนดไว และกําหนด
ระยะเวลาประเมินเพื่อเลื่อนข้ันคา จา งในแตละคร้ังใหแ ตกตางไปจากที่ผูถ ูกฟองคดีท่ี ๑ กําหนดไว ซ่ึงมี
ระยะเวลาประเมิน ๒ ครั้ง ในหน่ึงรอบความดี คือ ครั้งท่ี ๑ ชว งวันท่ี ๑ มิถุนายน ๒๕๕๑ ถึงวันท่ี ๓๐
พฤศจิกายน ๒๕๕๑ ครงั้ ที่ ๒ ชวงวันที่ ๑ ธนั วาคม ๒๕๕๑ ถึงวันท่ี ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๒ แตกลบั กําหนด
ระยะเวลาการประเมินคร้ังท่ี ๑ เปน ชว งวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๑ ถึงวันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๒ และคร้ังที่ ๒
เปนชวงวันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๒ ถึงวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๒ ทําใหก ําหนดระยะเวลาการประเมิน
ครั้งท่ี ๑ ลว งเลยระยะเวลาเขา ไปในชวงการประเมินคร้ังท่ี ๒ ท่ีผูถ ูกฟอ งคดีท่ี ๑ กําหนดไว สงผลให
ผถู ูกฟองคดที ี่ ๒ ไมอ าจทําการประเมินภาระงานคร้ังที่ ๒ ตามเวลาท่ตี นเองกาํ หนดได เปนเหตุใหใชผลการ
ประเมนิ ผลงาน ครงั้ ท่ี ๑ ของผูฟ องคดีเพียงครั้งเดยี วมาพจิ ารณาเลอื่ นขั้นคาจา งทงั้ ป โดยตดั ภาระงานครัง้ ที่
๒ ออกไป และ ประกาศผลการประเมินเลื่อนขั้นคา จางท้ังป ในวันที่ ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๕๒ จึงเปนการตัดโอกาส
ผูฟอ งคดี ท่ีจะใชภ าระงานในคร้ังที่ ๒ มาสนับสนุนหรือเก้ือกูลภาระงานครั้งท่ี ๑ เพ่ือใหผ ลการประเมิน
เลื่อนข้ันคาจาง ในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓ ดีข้ึน นอกจากนี้ นาย ร. ผูบ ังคับบัญชาช้ันตนของผูฟองคดี
ซึ่งเปน ผูป ระเมนิ และเปนกรรมการในคณะกรรมการประเมินผลการปฏิบัตงิ านไดก ลนั่ แกลงผูฟอ งคดโี ดยใช
146
เหตุผลสว นตัว มอี คติ และไมเปนกลาง เนื่องจากเคยมีเรอ่ื งโตเ ถียงและขดั แยงกับผฟู อ งคดี และผูถ ูกฟอ งคดี
ท่ี ๓ พิจารณา เรื่องรอ งทุกขข องผูฟ อ งคดีโดยมิไดพ ิจารณาตรวจสอบการปฏิบัติตามหลักเกณฑของผูถ ูกฟอ งคดี
ที่ ๒ ใหถ ี่ถว น กอนจะมีมติใหยกคํารอ งทุกขข องผูฟองคดี จึงเปนการกระทําท่ีไมช อบดวยกฎหมาย จึงนําคดี
มาย่ืนฟอ งศาล ศาลปกครองสูงสุดวินจิ ฉัยวา จากขอ เท็จจริงไมปรากฏวา รอบการประเมินผลการปฏิบัติงาน
เปนไปตามที่ กําหนดหลักเกณฑและวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงานไว โดยมีการประเมินผลการ
ปฏิบัติงานโดยรวม ที่บคุ ลากรทุกคนกรอกภาระประจาํ ป ๒ ครั้ง แตในการพิจารณากลบั ใชว ิธรี วมพิจารณา
ในคร้ังเดียว จึงเปน การประเมินผลการปฏิบัติงานของผูฟอ งคดีเพียงครั้งเดียวโดยนําผลการปฏิบัติงานของ
ผูฟ อ งคดีท้ังสองคร้ังมาพิจารณารวมกัน ดังน้ัน กระบวนการประเมินผลการปฏิบัติงานเพ่ือใชใ นการ
พิจารณาเลื่อนขั้นคาจางใหแ ก ผูฟองคดีประจําปง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓ จึงไมเปนไปตามขั้นตอนหรือ
วธิ ีการอนั เปน สาระสําคัญที่กาํ หนดไว สําหรับการพิจารณาเลื่อนขั้นคาจา งพนักงานมหาวิทยาลัย ทําใหการ
พจิ ารณาเลอ่ื นข้ันคา จา งประจําป งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓ ในสว นของผฟู องคดีไมชอบดวยกฎหมาย
แนวทางการปฏิบัติราชการจากคําวินิจฉัย : จากคําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดคดีนี้ไดวาง
บรรทัดฐานการปฏิบัติราชการใหก ับหนวยงานของรัฐเกี่ยวกับการพิจารณาเลื่อนข้ันคาจา งใหแกพนักงาน
ซ่ึงสามารถบังคับใชแ กท ั้งขา ราชการ พนักงาน หรือ ลูกจางของหนว ยงานของรัฐวา การพิจารณาเล่ือนข้ัน
คาจา งจะตอ งดําเนินการใหเ ปน ไปตามประกาศ ระเบียบ ข้ันตอน หรือหลักเกณฑใ ดๆ ตามที่ไดกําหนดไว
หากหนว ยงานของรัฐพิจารณาเลื่อนข้ันคาจา งโดยไมปฏิบัติให ถูกตองตามประกาศ ระเบียบ ข้ันตอนหรือ
หลกั เกณฑตามท่ีไดกําหนดไว ยอ มมีผลทาํ ใหก ารพิจารณาเล่อื นขน้ั คา จางดังกลา วไมช อบดวยกฎหมาย
แนวปฏิบัติราชการกรณีสิทธิของผูถูกต้ังคณะกรรมการสอบสวนท่ีจะไดรับแจงขอเท็จจริงและโอกาส
โตแยงและแสดงพยานหลกั ฐาน (คําพิพากษาศาลปกครองสงู สุดท่ี อ.๕๓๑/๒๕๖๑)
การที่สถาบันการพลศึกษาไดมีคําส่ังเรียกใหผูฟองคดีชดใชคาสินไหมทดแทนตามความเห็นของ
กระทรวงการคลัง นั้น คณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดไมไดเปดโอกาสใหผูฟองคดี
มีโอกาสใหถอยคําชี้แจงขอเท็จจริงและโตแยงแสดงพยานหลักฐานของตนกอน กรณีจึงเปนไปตามมาตรา ๔๑
วรรคหนึ่ง (๓) แหง พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ ที่สามารถแกไขได อยางไรก็ตาม เมื่อ
ขอเท็จจริงปรากฏวา กระบวนพิจารณาอุทธรณคําสั่งของผูฟองคดีส้ินสุดลงแลวโดยสถาบันการพลศึกษาไมได
ดําเนินการใหผูฟองคดีช้ีแจงขอเท็จจริงเพื่อแกไ ขความไมสมบูรณของคําส่ังกอนส้ินสุดกระบวนพิจารณาอุทธรณ
แตอยางใด แมภายหลังสถาบันการพลศึกษาจะมีหนังสือแจงใหผูฟองคดีช้ีแจงขอเท็จจริงในเรื่องดังกลาวอีก
กรณีจึงไมอาจแกไขความไมสมบูรณของคําส่ังไดตามมาตรา ๔๑ แหงพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทาง
ปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ คําส่ังท่ีเรียกใหผูฟองคดีชดใชคาสินไหมทดแทนดังกลาว จึงเปนคําส่ังท่ีไมชอบ
ดวยกฎหมาย
หลักกฎหมายปกครอง : หลกั การรบั ฟง ผูถ ูกกระทบสทิ ธิ
หนว ยงานทางปกครอง : สถาบนั การพลศกึ ษา
สรุปคดี : สถาบันการพลศึกษาไดมีคําสั่งแตงต้ังคณะกรรมการสอบสวนหาขอเท็จจริงความรับผิด
ทางละเมิด กับผูฟองคดีกรณีผูควบคุมงานและคณะกรรมการตรวจการจางลงลายมือชื่อรับรองวาผูรับจาง
147
ดําเนินการกอสรางเสร็จเรียบรอยตามสัญญาจาง ท้ังที่ผูรับจางยังดําเนินการไมแลวเสร็จตามสัญญาจาง
คณ ะกรรมการสอบสวนหาขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดไดมีความเห็นและสงสํานวน
ใหกระทรวงการคลังพิจารณา ตอ มา สถาบันการพลศึกษามีคําส่ังลงวนั ท่ี ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๑ เรียกให
ผูฟองคดีชดใชคาสินไหมทดแทนตามความเห็นของกระทรวงการคลัง ศาลปกครองสูงสุดวินิจฉัยวา การที่
สถาบันการพลศึกษาไดมคี ําส่งั เรียกใหผูฟองคดีชดใชคาสินไหมทดแทนตามความเห็นของกระทรวงการคลังน้ัน
คณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดไมไดเปดโอกาสใหผูฟองคดีมีโอกาสใหถอยคําช้ีแจง
ขอเท็จจริงและโตแยงแสดงพยานหลักฐานของตนกอน กรณีจึงเปนไปตามมาตรา ๔๑ วรรคหน่ึง (๓)
แหงพ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครองฯ ท่ีสามารถแกไขได อยางไรก็ตาม เมื่อขอเท็จจริงปรากฏวา
กระบวนพิจารณาอุทธรณคํา สั่งของผูฟองคดีส้ินสุดลงแลว โดยสถาบันการพลศึกษาไมไดดําเนินการ
ใหผูฟองคดีช้ีแจงขอเท็จจริงเพ่ือแกไขความไมสมบูรณของคําส่ังกอนส้ินสุดกระบวนพิจารณาอุทธรณ
แตอยางใด ดังน้ัน แมภายหลังสถาบันการพลศึกษาจะมีหนังสือแจงใหผูฟองคดีชี้แจงขอเท็จจริงในเรื่อง
ดงั กลาวอีก กรณีจึงไมอาจแกไขความไมสมบูรณของคําสั่งไดต ามมาตรา ๔๑ แหง พ.ร.บ. วิธีปฏบิ ัติราชการ
ทางปกครองฯคาํ สัง่ ท่เี รียกใหผ ูฟ อ งคดีชดใชค า สินไหมทดแทนดังกลา ว จงึ เปนคาํ สงั่ ทีไ่ มชอบดว ยกฎหมาย
แนวทางการปฏบิ ัติราชการจากคาํ วนิ จิ ฉัย :
จากคําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.๕๓๑/๒๕๖๑ เห็นไดวา กรณีดังกลาวเปนเร่ืองที่หนวยงานทาง
ปกครองออกคําสั่งเรยี กใหเจาหนาที่ชดใชคาสินไหมทดแทนตามความเห็นของกระทรวงการคลัง เจาหนาที่
เห็นวา คําสั่งดงั กลาวไมชอบดว ยกฎหมาย และการออกคาํ ส่งั มกี ารสรปุ สํานวนการสอบสวนท่ีลดข้นั ตอนการ
ปฏิบัติหนาท่ีอยางไมเปนธรรม ทําใหผูฟองคดีไมทราบขอเท็จจริงและไมมีโอกาสไดใหถอยคําชี้แจงหรือ
โตแยงแสดงหลักฐานใดๆ หากพิจารณา ตามมาตรา ๓๐ วรรคหน่ึง แหง พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการทาง
ปกครองฯ๑๒ เมื่อการออกคําสั่งเรียกใหเจาหนาท่ีชดใชคาสินไหมทดแทน นั้น การท่ีสถาบันการพลศึกษา
ไมไดใหส ิทธิไดร ับแจงขอเทจ็ จรงิ และโอกาสโตแยงและแสดงพยานหลักฐานตอผฟู องคดี จึงเปน การปฏิบัติท่ี
ผิดตอสิทธิของคูกรณีในการพิจารณาทางปกครอง สําหรับผลของคําส่ังทางปกครองท่ีออกโดยเจาหนาท่ี
ไมไดใหคูก รณีมีโอกาสท่จี ะไดทราบขอเท็จจริงอยางเพียงพอและมีโอกาสไดโตแ ยงและแสดงพยานหลักฐาน
ของตนตามมาตรา ๓๐ วรรคหน่ึง นั้น มีผลทําใหคําส่ังทางปกครองดังกลาวไมชอบดวยกฎหมาย อยางไรก็
ตามมาตรา ๔๑ วรรคหน่ึง แหงพระราชบัญญัติเดียวกันน้ี หากเจาหนาท่ีไดจัดใหคูกรณีมีโอกาสท่ีจะได
ทราบขอเท็จจริงอยางเพียงพอ และมีโอกาสไดโตแยงและแสดงพยานหลักฐานของตนกอนสิ้นสุด
กระบวนการพิจารณาอุทธรณแลวการกระทําดังกลาวมีผลใหคําส่ังทางปกครองนั้นกลับมาชอบดวย
กฎหมายได แตขอเท็จจริงในคดีน้ีปรากฏวาสถาบันการพลศึกษาไมไดดําเนินการใหผูฟองคดีช้ีแจง
ขอเท็จจริงเพ่ือแกไขความไมสมบูรณของคําสั่งกอนส้ินสุดกระบวนพิจารณาอุทธรณแตอยางใด จนกระท่ัง
กระบวนพิจารณาอุทธรณของผูฟองคดีไดสิ้นสุดลง แมตอมา สถาบันการพลศึกษาจะมีหนังสือแจงใหผูฟอง
คดีชี้แจงขอเท็จจริงในเรื่องดังกลาว แตก็เปนการดําเนินการภายหลังจากกระบวนการพิจารณาอุทธรณ
ไดสิ้นสุดแลว จึงมิไดเปนการแกไขความไมสมบูรณของคําสั่งใหผูฟองคดีชดใชเงินตามมาตรา ๔๑
แหง พ.ร.บ. วิธปี ฏบิ ัติราชการทางปกครองฯ
148
แนวปฏิบัติราชการเก่ียวกับการพิจารณาการเลื่อนข้ันเงินเดือน (คําพิพากษา ศาลปกครองสูงสุด
ที่ อ.๗๔๗/๒๕๖๑)
การพิจารณาทบทวนคําส่ังที่ผูบริหารสถานศึกษาแตง ตั้งคณะกรรมการพิจารณากล่ันกรองการ
เลื่อนขั้นเงินเดือนขา ราชการ ไมพิจารณาเล่ือนข้ันเงินเดือน ๐.๕ ขั้นใหผูฟ องคดีโดยใหเ หตุผลวาคะแนน
ดา นการรักษาวนิ ัย ตา่ํ กวาคนอื่นอันเกิดจากผูฟอ งคดีถกู ตัง้ กรรมการสอบสวนทางวินัยไมรายแรง ควรจะ
ทําตามข้ันตอนท่ีเปนไปตามกฎหมาย เมื่อขอเท็จจริงปรากฏวาในข้ันตอนการพิจารณาของ
คณะกรรมการพิจารณากลั่นกรองการเล่ือนขั้นเงินเดือนขาราชการมีการประชุมเพียงครั้งเดียว ทําให
คณะกรรมการพิจารณากล่ันกรองการเล่ือนข้นั เงินเดือนขา ราชการอาจจะไมไ ด พิจารณากลัน่ กรองและ
พิจารณาผลการประเมินผลการปฏิบัติงานอันเปน ขั้นตอนหรือวิธีการอันเปน สาระสําคัญท่ีกําหนดไว
สําหรับการกระทําน้ัน ประกอบกับผูถ ูกฟอ งคดีท่ี ๑ ซึ่งเปน ผูบ ริหารสถานศึกษา ไดม ีคําสั่งยุติเร่ืองการ
ดาํ เนินการทางวินัยกับผฟู องคดกี อ นถึงวันออกคําส่ังเลือ่ นขั้นเงินเดือน และไมทบทวนความเหน็ รวมทั้งไม
รายงานผลการดําเนินการทางวินัยใหค ณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด ท่ีพิจารณาเรื่องของผูฟ อ งคดี
ไดรับทราบ ทําใหค ณะกรรมการพิจารณากล่ันกรองการเล่ือนขั้นเงินเดือน ไมมีขอ เท็จจริงดังกลาว
ประกอบการพิจารณาทบทวนคาํ สง่ั เล่ือนขน้ั เงนิ เดอื นผูฟอ งคดี
หลกั กฎหมายที่เกี่ยวขอ ง : หลกั ความชอบดวยกฎหมาย
หนว ยงานทางปกครอง : ผูอ ํานวยการโรงเรยี นมัธยมวดั เบญจมบพิตร อนุกรรมการขา ราชการครู
และบคุ ลากรทางการศึกษา (อ.ก.ค.ศ.) เขตพ้ืนที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑
สรุปคดี : ผูฟองคดีเปนขา ราชการครู ไมไ ดรับการเลื่อนข้ันเงินเดือนเน่ืองจากถูกดําเนินการ
สอบสวน ทางวินัย ตามคําสั่งโรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร จึงไดร องทุกขขอความเปน ธรรมตอ
ผอู ํานวยการสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑ วา ไมไดรับความเปนธรรมจากการเล่ือน
ขัน้ เงินเดือน แต อ.ก.ค.ศ. เขตพ้ืนท่ีการศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑ ไมไ ดพิจารณารองทุกขของผูฟองคดี
ใหแลวเสร็จภายในเกาสิบวัน นับแตว ันที่ไดร ับหนังสือรองทุกข ผูฟ อ งคดีจึงไดน ําคดีมายื่นฟอ งตอศาลปกครอง
ช้นั ตนขอใหเ พิกถอนคําส่ังดังกลาว ซ่ึงศาลปกครองชั้นตนมีคําส่ังไมรับคําฟอ งไวพิจารณา เนื่องจากย่ืนฟอ ง
เม่ือพนระยะเวลาการฟอ งคดี และศาลปกครองสูงสุดมีคําส่ังยืนตามคําส่ังของศาลปกครองช้ันตนตามคําส่ัง
ศาลปกครองสูงสุดท่ี ๗๙๔/๒๕๔๙ ตอ มา สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑ ไดมี
หนังสือแจงผลการพิจารณา เร่ืองรองทุกขใหผ ูฟ อ งคดีทราบวา มีมติใหยกคํารอ งทุกข ผูฟ องคดีจึงไดนําคดี
มาฟองตอศาลปกครองช้ันตน ใน วันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๕๐ ขอใหศาลมีคําพิพากษาหรือคําสง่ั เพิกถอนคําสั่ง
ของผูอํานวยการโรงเรียนมัธยม วัดเบญจมบพิตร เรื่อง เล่ือนขั้นและอันดับเงินเดือนขาราชการครูและ
บุคลากรทางการศึกษา คร้ังท่ี ๒/๒๕๔๘ (๑ ตุลาคม ๒๕๔๘) ลงวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๔๘ เฉพาะสว นที่
เลอ่ื นขั้นเงินเดือนใหผ ูฟอ งคดี ๐.๕ ขั้น แลว พิจารณาเล่อื นข้นั เงินเดอื นใหผ ฟู อ งคดตี ามสิทธทิ ่ีควรจะเปน คือ
๑ ข้ัน ศาลปกครองช้ันตน พิพากษาให เพิกถอนคาํ ส่งั ดังกลาว และใหผ อู ํานวยการโรงเรยี นมัธยมวัดเบญจมบพิตร
และ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต ๑ ดําเนินการพิจารณาเลื่อนข้ันเงินเดือนผูฟอ งคดี
ใหมใหเ ปน ไปตามหลักเกณฑที่กฎหมายกําหนด ศาลปกครองสูงสุดวินิจฉัยวา คดีนี้ผูฟอ งคดีเคยยื่นฟอง
เปนคดีน้ีขอใหศาลมีคําพิพากษา หรือคําสั่งเพิกถอนคําส่ังโรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร เรื่อง เลื่อนขั้น
และอันดับเงินเดือนขาราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษา คร้ังที่ ๒ (๑ ตุลาคม ๒๕๔๘) ลงวันที่ ๓๐
149
กันยายน ๒๕๔๘ และพิจารณาเล่ือนข้ัน เงินเดือนใหผูฟอ งคดีตามสิทธิ ๑ ขั้น และใหผ ูฟองคดีไดรับ
เงินเดือนยอนหลังต้ังแตเดือนตุลาคม ๒๕๔๘ ซ่ึงเปนประเด็นท่ีศาลปกครองสูงสุดไดมีคําสั่งชี้ขาดแลว วา
เปน การย่ืนฟอ งเม่ือพนระยะเวลาการฟองคดีตามมาตรา ๔๙ แหง พระราชบัญญัติจัดต้ังศาลปกครอง
และวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ การท่ีผูฟองคดีไดย ่นื ฟอง ผูถูกฟองคดีกันอีกเปน คดีนี้จึงตอ งหา ม
ตามขอ ๙๗ แหงระเบียบของท่ีประชุมใหญตุลาการในศาลปกครอง สูงสุด วาดว ยวิธีพิจารณาคดีปกครอง
พ.ศ. ๒๕๔๓ ซึ่งปญหาเกย่ี วกับการฟอ งซ้ําเปน ปญ หาเก่ียวกบั เงือ่ นไขการ ฟอ งคดีอันเปนปญหาขอ กฎหมาย
เก่ียวดวยความสงบเรยี บรอยของประชาชน แมไ มม ีคูกรณีฝา ยใดยกขึ้นวา กลาวในช้ันอุทธรณ ศาลปกครอง
สงู สุดก็มีอาํ นาจยกปญหาดังกลาวขน้ึ วินิจฉยั แลว พิพากษาหรอื มคี ําส่งั ได ตามขอ ๙๒ ประกอบกับ ขอ ๑๑๖
แหงระเบียบดังกลา ว แตอ ยางไรก็ตามมติของ (อ.ก.ค.ศ.) เขตพ้ืนที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑ ผูถูกฟอ ง
คดีที่ ๒ ท่ีวินิจฉัยเรื่องรอ งทุกขข องผูฟอ งคดีเปน คําสั่งทางปกครองท่ีเกิดขึ้นใหม และมีผลเปนการยืนยัน
คาํ ส่ังโรงเรียนมธั ยมวัดเบญจมบพิตร ลงวันท่ี ๓๐ กันยายน ๒๕๔๘ ทีเ่ ล่ือน ขั้นเงินเดือนใหแกผฟู อ งคดี ๐.๕
ขน้ั แมในคําขอทา ยคําฟองจะระบแุ ตเพียงขอใหศ าลเพกิ ถอนคําสัง่ โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร ที่ ๑๕๖/
๒๕๔๘ ลงวันท่ี ๓๐ กันยายน ๒๕๔๘ โดยไมไ ดระบุขอใหเพิกถอนมติของผูถ ูกฟองคดีท่ี ๒ ก็ตาม แตใ น
คาํ บรรยายฟอ งของผูฟองคดีไดโตแยง วาไมเห็นดว ยกับมติของผถู ูกฟอ งคดีท่ี ๒ ประกอบกับผูฟอ งคดีนําคดี
มาฟอ งภายหลังไดร ับแจงมติของผูถ ูกฟองคดีท่ี ๒ แลว ยอมเปน ที่เขา ใจไดวา ผูฟอ งคดีย่ืนฟอ งคดีโดยมี
ความประสงคท ี่ตองการจะใหศ าลพิจารณาคดตี ามผลมติของผูถกู ฟอ งคดีที่ ๒ และ ตองการใหศาลเพิกถอน
มติดังกลาว เม่ือขอเท็จจริงปรากฏวา สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑ มีหนังสือ ลับ
ลงวันท่ี ๒๔ กันยายน ๒๕๕๐ แจง ผลการพิจารณาเรื่องรอ งทุกขใ หผ ูฟ อ งคดีทราบ และผูฟ อ งคดีนําคดีมา
ยนื่ ฟองตอศาลปกครองชั้นตน ในวันท่ี ๑๖ ตุลาคม ๒๕๕๐ ถือไดวา ไดยื่นฟองภายใน เกาสิบวันนับแตว ันท่ี
ไดร ับหนังสือแจงผลการพิจารณาเร่อื งรองทกุ ขต ามมาตรา ๔๙ แหง พระราชบัญญัติ จดั ต้ังศาลปกครองและ
วิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ศาลจึงรับคําฟอ งท่ีผูฟองคดีประสงคข อใหศ าลมี คําพิพากษาหรือ
คําส่ังเพิกถอนมติของผูถูกฟองคดีท่ี ๒ เม่ือขอเท็จจริงรับฟงไดว า ผูอํานวยการโรงเรียนวัดเบญจมบพิตร
ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ เปนผูบ ริหารสถานศึกษาเปนผูบังคับบัญชาของขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร มีอํานาจและหนาที่พิจารณาเสนอความดีความชอบของขาราชการครูและ
บุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร ตามมาตรา ๒๗ แหงพระราชบัญญัติระเบียบ
ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ ในการพิจารณาเลื่อนขั้นและอันดับเงินเดือน
ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาคร้ังที่ ๒/๒๕๔๘ (๑ ตุลาคม ๒๕๔๘) ผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไดมีคําสั่ง
โรงเรยี นมธั ยมวดั เบญจมบพิตร ลงวนั ท่ี ๓๑ สิงหาคม ๒๕๔๘ แตง ตง้ั คณะกรรมการพิจารณากลั่นกรองการ
เล่ือนขั้นเงินเดือนขาราชการ เพ่ือดําเนินการพิจารณาเล่ือนขั้นเงินเดือนขาราชการครูโรงเรียนมัธยม
วัดเบญจมบพิตร คร้ังท่ี ๒ (๑ ตุลาคม ๒๕๔๘) เร่ือง หลักเกณฑและแนวปฏิบัติในการพิจารณาเล่ือนขั้น
เงินเดือนขาราชการสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๔๗ โดยใหใชแฟมสะสมงาน
และนําผลการประเมินประสิทธภิ าพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของขาราชการตามแบบประเมิน (ป ๐๑
–ป ๐๔ ท่ีโรงเรียนจัดทําขึ้น) รวมท้ังการลา การรักษาวินัย มาประกอบการพิจารณาเลื่อนขั้น และไดแจง
สดั สวนของผูที่จะไดรับการพิจารณา ๐.๕ ขน้ั ๑ ข้นั ผูฟ องคดีไดรับการประเมินไดคะแนน ๘๘ คะแนนตาม
เอกสารบัญชีหมายเลข ๓ บัญชีผูไดรับการพิจารณาเลื่อนขนั้ เงินเดือน ๐.๕ ขั้น ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ใหเหตุผล
วา คะแนนดานการรกั ษาวินัยตํ่ากวา คนอ่ืนอันเกิดจากผูฟองคดีถกู ต้ังกรรมการสอบสวนทางวนิ ัยไมรา ยแรง
150
ตามคําสั่งโรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร ลงวันที่ ๒๑ มถิ ุนายน ๒๕๔๘ เม่ือผูถูกฟองคดที ่ี ๑ ไดดาํ เนินการ
พิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือนเสร็จแลวไดสงรายงานผลการเล่ือนข้ันเงินเดือนขาราชการครูและลูกจางประจํา
คร้ังท่ี ๒/๒๕๔๘ ใหสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑ ตามหนังสือโรงเรียนมัธยม
วัดเบญจมบพิตรลงวันท่ี ๙ กันยายน ๒๕๔๘ ในระหวางรอการพิจารณาของผูถูกฟองคดีที่ ๒
คณะกรรมการสอบสวนวินัยไดรายงานผลการสอบสวนตอผูถูกฟองคดีที่ ๑ ตามหนังสือรายงานการ
สอบสวนลงวันท่ี ๑๕ กันยายน ๒๕๔๘ ใหลงโทษตัดเงินเดือนผูฟองคดีรอยละหาเปนเวลาหนึ่งเดือน
ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ พิจารณาแลวส่ังการใหยุติเรื่องเมื่อวันท่ี ๑๙ กันยายน ๒๕๔๘ แตผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไมได
รายงานการยุติการดําเนนิ การทางวนิ ยั ผฟู องคดีใหผถู กู ฟองคดที ี่ ๒ ทราบ การทผ่ี ูถูกฟองคดที ี่ ๑ ไมท บทวน
การใหคะแนนดานการรักษาวินัยของผูฟองคดี และไมมีรายงานการยุติการดําเนินการทางวินัยผูฟองคดี
ใหผูถูกฟองคดีที่ ๒ ทราบ ทําใหผูถูกฟองคดีที่ ๒ ไมมีขอเท็จจริงเกี่ยวกับความประพฤติและการรักษาวินัย
ของผูฟองคดีไปประกอบการพิจารณาเลื่อนข้ันเงินเดือนของผูฟองคดี ประกอบกับในขั้นตอนการพิจารณา
ของคณะกรรมการพิจารณากล่ันกรองการเล่ือนข้ันเงินเดือนขาราชการซ่ึงผูถูกฟองคดีท่ี ๑ เปนประธาน
ปรากฏมีการประชุมเพียงครง้ั เดียวในวนั ท่ี ๖ กนั ยายน ๒๕๔๘ จากขอเทจ็ จริงและพยานหลกั ฐานที่ปรากฏ
ในสํานวนจึงเช่ือวาคณะกรรมการพิจารณากลั่นกรองการเล่ือนขั้นเงินเดือนขาราชการประจําป คร้ังที่ ๒
(๑ ตุลาคม ๒๕๔๘) ไมไดปฏิบัติหนาที่ใหเปนไปตามขอ ๙.๒.๑ (ข) ของประกาศสํานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาข้ันพื้นฐาน เร่ือง หลักเกณฑและแนวปฏิบัติในการพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือนขาราชการ
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๔๗ และผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ไมไดประเมิน
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของขาราชการตามแบบประเมิน (ป ๐๑ – ป ๐๔ ที่โรงเรียน
จัดทําขึ้น) ตามขอ ๘.๑ ของประกาศดังกลาว ทําใหคณะกรรมการพจิ ารณากลั่นกรองการเลอ่ื นขั้นเงินเดือน
ขาราชการ ไมไดพิจารณากลั่นกรองและพิจารณาผลการประเมินผลการปฏิบัติงานอันเปนขั้นตอนหรือ
วิธีการอันเปนสาระสําคัญที่กําหนดไวสําหรับการกระทํานั้น ทําใหการพิจารณาทางปกครองเพ่ือมีคําส่ัง
เล่ือนขั้นเงินเดอื นของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ไมชอบดว ยกฎหมาย ประกอบกับผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไดม ีคําส่ังยตุ ิเรอ่ื ง
การดําเนินการทางวินัยกับผูฟองคดีกอนถึงวันออกคําส่ังเล่ือนขั้นเงินเดือน และผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไมได
ทบทวนความเห็นและไมรายงานผลการดําเนินการทางวนิ ัยใหผถู ูกฟองคดีที่ ๒ ทราบ ทําใหผ ถู ูกฟองคดีที่ ๒
ไมม ีขอ เทจ็ จรงิ ดังกลาวประกอบการพจิ ารณาเล่ือนข้นั เงินเดอื นผูฟอ งคดี เมอื่ การพจิ ารณาเลื่อนขั้นเงินเดอื น
ของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ไมชอบดวยกฎหมาย ทําใหมติของผูถูกฟองคดีที่ ๒ ในการประชุมครั้งที่ ๓/๒๕๔๘
เมื่อวันท่ี ๒๗ กันยายน ๒๕๔๘ ที่เห็นชอบใหผ ูฟอ งคดไี ดรบั การพิจารณาเลื่อนข้ันเงินเดอื น ๐.๕ ข้ัน ตามผล
การพิจารณาเลื่อนขน้ั เงินเดือนของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ จึงไมชอบดวยกฎหมาย การท่ีผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไดออก
คําสั่งโรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร ลงวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๔๘ เลื่อนขั้นเงินเดือนคร้ังท่ี ๒/๒๕๔๘
ใหผฟู องคดี ๐.๕ ข้นั ตามมตขิ องผูถกู ฟองคดีที่ ๒ จงึ เปนคาํ สัง่ ที่ไมช อบดวยกฎหมายเชน กนั เมือ่ ผูฟองคดีได
ย่ืนคํารองทุกขตอผูถูกฟองคดีท่ี ๒ วาไมไดรับความเปนธรรมจากคําส่ังของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ และผูถูกฟอง
คดีที่ ๒ มีมติในการประชุมครั้งที่ ๑๑/๒๕๕๐ เม่ือวันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๐ พิจารณาการเล่ือนข้ัน
เงินเดือนคร้ังท่ี ๒ /๒๕๔๘ (๑ ตุลาคม ๒๕๔๘) ของโรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร เปนไปโดยชอบแลว
และมีมติใหยกคํารองทุกขของผูฟองคดี จึงเปนมติท่ีไมชอบดวยกฎหมาย เม่ือไดวินิจฉัยแลววามติของ
ผูถูกฟองคดีท่ี ๒ เปนมติท่ีไมชอบดวยกฎหมาย จึงทําใหคําสั่งโรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร ที่ ๑๕๖/
๒๕๔๘ เรื่อง เล่ือนขั้นและอันดับเงินเดือนขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ครั้งท่ี ๒ (๑ ตุลาคม
151
๒๕๔๘) ลงวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๔๘ เฉพาะในสวนของผูฟองคดที ่ีใหเล่ือนขั้นเงินเดือน ๐.๕ ขน้ั ของผูถูกฟองคดีที่ ๑
ไมมีผลบังคับ ผูถูกฟองคดีที่ ๑ จึงมีหนาท่ีตองไปดําเนินการพิจารณาเร่ืองเลื่อนขั้นเงินเดือนใหกับผูฟองคดีใหม
ตอ ไป
แนวทางการปฏิบัติราชการจากคําวินิจฉัย : คดีนี้ศาลปกครองสูงสุดไดวางบรรทัดฐานการปฏิบัติ
ราชการท่ีดีใหกับหนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาท่ีของรัฐ เม่ือหลักเกณฑและแนวปฏิบัติในการ
พิจารณาเล่ือนข้ันเงินเดือนขาราชการสํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พ.ศ. ๒๕๔๗ ไดกําหนด
แนวทางพิจารณาไวอยางใด ก็จําตองปฏิบัติตามแนวทางที่มีหลักเกณฑและแนวปฏิบัติไวเชนน้ัน การท่ี
ผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไมทบทวนการใหคะแนนดานการรักษาวินัยของผูฟองคดี และไมมีรายงานการยุติ
การดําเนินการทางวินัยผูฟองคดีใหผูถูกฟองคดีที่ ๒ ทราบ ทําใหผูถูกฟองคดีท่ี ๒ ไมมีขอเท็จจริงเก่ียวกับ
ความประพฤติและการรักษาวินัยของผูฟองคดีไปประกอบการพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือนของผูฟองคดี
ประกอบกับในข้นั ตอนการพิจารณาของคณะกรรมการพิจารณากล่ันกรองการเลื่อนขั้นเงนิ เดือนขาราชการ
ซ่ึงผูถูกฟองคดีที่ ๑ เปนประธานปรากฏมีการประชุมเพียงครั้งเดียวในวันที่ ๖ กันยายน ๒๕๔๘ จึงเชื่อวา
คณะกรรมการพิจารณากล่ันกรองการเล่ือนข้ันเงินเดือน ขาราชการประจําป คร้ังที่ ๒ (๑ ตุลาคม ๒๕๔๘)
ไมไดปฏิบัติหนาท่ีใหเปนไปตามหลักเกณฑและแนวปฏิบัติในการพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือนขาราชการ
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๔๗ ทําใหคณะกรรมการพิจารณากลั่นกรองการ
เลอื่ นข้นั เงินเดอื นขา ราชการ ไมไ ดพ ิจารณากลั่นกรองและพจิ ารณาผลการประเมินผลการปฏบิ ัติงานอันเปน
ข้ันตอนหรือวิธีการอันเปนสาระสําคัญที่กําหนดไวสําหรับการกระทํานั้นทําใหการพิจารณาทางปกครอง
เพอ่ื มีคาํ สัง่ เล่อื นขั้นเงนิ เดือนของผถู ูกฟอ งคดที ่ี ๑ ไมช อบดวยกฎหมาย
แนวทางการปฏบิ ตั ิราชการท่ีไดจากคดปี ระเภทการศึกษา
- แนวปฏิบัติราชการเก่ียวกับการพิจารณาคัดเลือกนักเรียนท่ีจบช้ันมัธยมศึกษาตอนตนเขาศึกษา
ตอชั้นมัยมศึกษาตอนปลายตามหลักเกณฑการคัดเลือกของประกาศโรงเรียน(คําพิพากษาศาลปกครอง
สูงสุดที่ อ. ๙๙๓/๒๕๖๓)ผูอํานวยการโรงเรียนตองพิจารณาคัดเลือกนักเรียนตามหลักเกณฑท่ีโรงเรียน
ออกประกาศไว ไมอาจใชวิธีการอืน่ ทีแ่ ตกตา งออกไปโดยอางมติของทีป่ ระชุมผปู กครองและนักเรียนได
หลักกฎหมายทเ่ี ก่ยี วขอ ง : หลักความชอบดว ยกฎหมาย
หนวยงานทางปกครอง : สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน
เจาหนาทขี่ องรัฐ : ผอู าํ นวยการโรงเรียนเบญจมราชาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ
ตัวบทกฎหมาย : พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ (มาตรา ๕) พ.ร.บ.
จดั ตั้งศาลปกครองฯ (มาตรา ๓)
สรุปคดี : ผูฟองคดีเปนนักเรียนของโรงเรียนเบญจมราชาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ เขาศึกษา
ตั้งแตช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๑ ถึงมัธยมศึกษาปที่ ๓ ไดรับความเดือดรอนเสียหายจากการที่ผูฟองคดีไมไดรับ
การคัดเลือกใหเขาศึกษาตอในช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 4 ปการศึกษา ๒๕๕๔ ของโรงเรียนดังกลาว โดยเม่ือ
พิ จ า ร ณ า ต า ม ป ร ะ ก า ศ ห ลั ก เก ณ ฑ ก า ร คั ด เลื อ ก นั ก เรี ย น ที่ จ บ ช้ั น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ต อ น ต น เข า ศึ ก ษ า ต อ
ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ประจําปการศึกษา ๒๕๕๔ ลงวันท่ี ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๓ ผูฟองคดีผานเกณฑ
ขอ ๑ ถงึ ขอ ๓ แตไ มผา นเกณฑขอ ๔ ในระดับคะแนนเฉลย่ี รายวิชา อยางไรกต็ าม ผฟู องคดีมีสิทธไิ ดรับการ
พิจารณาตามเกณฑในขอ ๔.๔ เน่ืองจากผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไดประกาศรายช่ือนักเรียนเขาศึกษาตอ
ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายของโรงเรียนเพียง ๓๑๒ คน ซึ่งยังไมครบตามจํานวนที่โรงเรียนประกาศรับไวอีก
152
จํานวน ๘ คน ซ่ึงหากผูถูกฟองคดีที่ ๑ (ผูอํานวยการโรงเรียนเบญจมราชาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ
ไดปฏิบัติตามหลักเกณฑของประกาศหลักเกณฑการคัดเลือก ดังกลาวในขอ ๔ ๔ ผูฟองคดียอมตองไดรับ
คัดเลือกใหศึกษาตอในแผนการเรียนภาษาฝร่ังเศส เนื่องจากไดเลือกแผนการเรียนภาษาฝร่ังเศสเปนอันดับ
๑ แตผ ูถูกฟองคดีที่ ๑ กลบั เรียกประชุมผูปกครองนักเรยี นท่ีไมผานเกณฑข อ ๔ . ๑ ถงึ ขอ ๔ ๓ จาํ นวน ๓๐
คน และใหนักเรียนทั้ง ๓๐ คน ทําการสอบคัดเลือกโดยจะรับเพียง ๘ คน พรอมท้ังใหผูปกครองทุกคนท่ี
เขารวมประชุมลงลายมือชื่อรับทราบมติที่ประชุมหากไมลงลายมือช่ือจะถือวาผูน้ันสละสิทธิ อันเปนเหตุให
ผูฟองคดีจําตองลงลายมือชื่อ ผูฟองคดีเห็นวาตามหลักเกณฑการคัดเลือกในขอ ๔ ๔ไมไดกําหนดใหสอบ
แตใหเรียงคะแนนจากสูงไปตํ่าจนครบตามจํานวนท่ีจะรับ ผูฟองคดีจึงไดมีหนังสือรองเรียนตอสํานักงาน
เขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต ๑ แตไมไดรับการแกไขความเดือดรอนเสียหาย จึงนําคดีมาฟองขอให
ศาลมีคําพิพากษาหรือคําสั่งเพิกถอนประกาศรายชื่อนักเรียนที่เขาศึกษาในระดับช้ันมัธยมศึกษาปที่ ๔ ป
การศกึ ษา ๒๕๕๔ และประกาศรายช่อื นักเรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปท ี่ ๓ (เดิม) ขน้ึ เรียนช้ันมธั ยมศึกษาปที่ 4 ป
การศึกษา ๒๕๕๔ ที่ตัดสิทธิของผูฟองคดี และใหผถู ูกฟองคดที ้ังสอง (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน
พื้นฐาน ที่ ๒) ชดใชคาเสียหายใหแกผูฟองคดี ศาลปกครองสูงสุดวินิจฉัยวา ในการรับนักเรียนช้ัน
มัธยมศึกษาปที่ 3 เพื่อเขาศึกษาตอชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔ ของโรงเรียนเบญจมราชาลัย ในพระบรม
ราชูปถัมภ ประจําปการศึกษา ๒๕๕๔ ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ไดออกประกาศหลักเกณฑการคัดเลือกนักเรียน
ที่จบชั้นมัธยมศึกษาตอนตนเขาศึกษาตอช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย ประจําปการศึกษา ๒๕๕๔ ลงวันที่ ๓๐
มิถุนายน ๒๕๕๓ เมื่อในสวนการรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี ๔ ปการศึกษา ๒๕๕๔ แผนการเรียน
ภาษาอังกฤษ – ภาษาฝรั่งเศส ยังสามารถรับนักเรียนที่จบชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ ของโรงเรียนเบญจมราชา
ลัย ในพระบรมราชูปถัมภ ไดอีก ๘ คน ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ จึงตองพิจารณาคัดเลือกนักเรียนท่ีมีคะแนนไมถึง
เกณฑดังกลาวโดยวิธีการเรียงคะแนนจากสูง ไปหาต่ําจนครบตามจํานวนท่ีโรงเรียนจะรับไวได ตามขอ ๔
ขอประกาศดังกลาว ผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไมอาจนําวิธีการสอบคัดเลือกตามมติของท่ีประชุมผูปกครองและ
นกั เรียนมาใชในการคัดเลอื กนักเรียนที่มคี ะแนนไมถึงเกณฑเขาเรียนที่โรงเรียนเบญจมราชาลัย ในพระบรม
ราชูปถัมภ ในกรณีที่มีนักเรียนที่มีคุณสมบัติตามเกณฑของแตละแผนการเรียนไมครบจํานวนได อีกท้ัง
ประกาศดังกลาวมีลกั ษณะเปนบทบัญญัติท่ีมีผลบงั คับ กับการคัดเลือกนักเรียนเปนการทั่วไป จึงถือเปนกฏ
ตามมาตรา ๓ แหง พ.ร.บ. จัดตั้งศาลปกครองฯ ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ จึงตกอยูภายใตบังคับของประกาศ
ดังกลาว และไมอาจอางมติของที่ประชุมผูปกครองขางตน รวมทั้งไมอาจอางความยินยอมของผูแทนโดย
ชอบธรรมซ่งึ เปนผูปกครองของผูฟองคดเี พื่อตัดสทิ ธิของผฟู องคดีตามประกาศดังกลาวได การที่ผูถูกฟองคดี
ที่ 1 ไดมีประกาศรายช่ือนักเรียนที่สอบคัดเลือกเขาแผนการเรียนภาษาอังกฤษ - ภาษาฝรั่งเศส (เพิ่มเติม)
กรณีนักเรียนท่ีมีคะแนนไมถึงเกณฑที่จะจัดเขาแผนการเรียนภาษาอังกฤษ - ภาษาฝร่ังเศส ช้ันมัธยมศึกษา
ปท ี่ ๔ ปก ารศึกษา ๒๕๕๔ ลงวันท่ี ๑๕ มีนาคม 2๕๕4 ซึ่งมีนักเรียนท่ีผานการสอบคัดเลือกจํานวน ๘ คน
จึงเปนคําส่ังท่ีไมชอบดวยกฎหมาย ดังนั้น คําส่ังของผูถูกฟองคดีที่ ๑ ตามประกาศรายช่ือนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาป ที่ ๓ (เดิม) ขึ้นเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ ๔ ปการศึกษา ๒๕54 ลงวันท่ี ๑๙ มีนาคม ๒๕๕๔
ในสวนที่ไมระบุช่ือผูฟองคดีเปนผูมีสิทธิเขาศึกษาตอระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔ ปการศึกษา ๒๕๕๔
ท่ีโรงเรียนเบญจมราชาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ จึงไมชอบดวยกฎหมาย เมื่อคําส่ังในสวนดังกลาวเปน
คาํ ส่ังที่ไมช อบดวยกฎหมาย จึงยอมเปนการกระทําละเมิดตอผูฟองคดี ผูถูกฟอ งคดีที่ ๒ ในฐานะหนวยงาน
ของรัฐท่ีผูถูกฟองคดีที่ ๑ สังกัดอยูจ ึงตองรับผดิ ในผลแหงละเมิดที่ผูถูกฟอ งคดีท่ี ๑ ซึ่งเปนเจาหนาที่ของตน
153
ไดกระทําไป โดยผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ซึ่งเปนเจาหนาที่ไมตองรวมรับผิดดวย ท้ังน้ี ตามมาตรา ๕ แหง พ.ร.บ.
ความรับผดิ ทางละเมดิ ของเจา หนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙
แนวทางการปฏบิ ัตริ าชการจากคาํ วินิจฉยั :
คดีน้ศี าลปกครองสูงสุดไดวางบรรทัดฐานการปฏิบัติราชการเกี่ยวกับการพิจารณาคัดเลือกนักเรียน
ทจี่ บช้นั มธั ยมศึกษาตอนตน เขา ศกึ ษาตอ ชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนปลายตามประกาศโรงเรียน ในประการทีส่ าํ คัญ
คือ เมื่อโรงเรียนไดออกประกาศหลักเกณฑการคัดเลือกนักเรียนที่จบช้ันมัธยมศึกษาตอนตนเขาศึกษาตอ
ช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย ประกาศดังกลาวมีลักษณะเปนบทบัญญัติท่ีมีผลบังคับกับการคัดเลือกนักเรียน
เปนการทั่วไป จึงถือเปนกฎตามมาตรา ๓ แหง พ.ร.บ. จัดต้ังศาลปกครองฯ ผูอํานวยการโรงเรียนรวมถึง
เจาหนาที่ผดู ําเนินการคัดเลือกทุกคนจึงตกอยูภายใตบังคับของประกาศดังกลาว การคัดเลือกนักเรียนเขาศึกษา
ตอ จึงตองมีหลักเกณฑและวิธีการตามประกาศที่โรงเรียนจัดทําขึ้น หากจะมีขอยกเวนก็ตองเปนเงื่อนไข
ตามประกาศนั้น ไมอาจอางมติของที่ประชุมผูปกครอง หรืออางความยินยอมของผูแทนโดยชอบธรรม
ซึง่ เปนผปู กครองของนักเรยี น เพ่อื ดําเนินการใหแ ตกตา งจากประกาศนนั้ เพื่อตัดสิทธขิ องนักเรยี นได
แนวปฏิบตั ิราชการเกยี่ วกบั การเพิกถอนคําส่ังเรยี กใหช ดใชคาสินไหมทดแทน
กรณีเจาหนาที่การเงินและบัญชีเบิกจายเงินโดยไมชอบ (คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.
๑๖๙/๒๕'๖๓)เจา หนา ท่ีที่มีหนาทดี่ แู ลรับผดิ ชอบดา นการเงนิ และการอนุมตั เิ บิกจา ยเงนิ งบประมาณมีหนา ที่
ตองตรวจสอบการเบิกจายใหถูกตองตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรับเงิน การเบิกจายเงิน
การฝากเงิน การเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงินขององคกรปกครองสวนทองถิ่นพ.ศ. ๒๕๔๗ และตองใช
ความระมัดระวังและความละเอียดรอบคอบในการตรวจสอบการเบิกจายคาใชจายใหเปนไปตามระเบียบ
กฎหมายของทางราชการ
หลักกฎหมายท่เี กี่ยวขอ ง : หลกั ความชอบดว ยกฎหมาย
เจา หนา ท่ขี องรฐั : ผูวา ราชการจังหวัดจนั ทบรุ ี รฐั มนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย
ตัวบทกฎหมาย : ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย (มาตรา ๔๒๐) พ.ร.บ. กําหนดเผนและ
ขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ (มาตรา ๑๗ (๑๘) พ.ร.บ.
ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ (มาตรา ๘ วรรคหนึ่ง และวรรคสองและมาตรา 10
วรรคหนึ่ง) พ.ร.บ. องคการบริหารสวนจังหวัด พ.ศ. ๒๕๔o (มาตรา ๔๕ ) ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
วาดวยการรับเงิน การเบิกจายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงินขององคกรปกครอง
สวนทองถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๗ (ขอ ๖๓) หนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท ๑๘๑๘.๔/ว ๒๕๘๙ ลงวันท่ี
๓ สงิ หาคม ๒๕๔๗ เร่อื งหลักเกณฑการใชจา ยเงนิ ในการแขงขนั กีฬาขององคกรปกครองสว นทองถิ่น
สรุปคดี : ผูฟองคดีฟองวา ขณะผูฟองคดีดํารงตําแหนงเจาพนักงานการเงินและบัญชี ๕ สังกัด
องคการบริหารสวนจังหวัดจันทบุรี ไดรับมอบหมายใหตรวจสอบฎีกาเบิกจายเงินโครงการสงเสริมและ
พัฒนาการกีฬาของจังหวัดจันทบุรี "กิจกรรมสงนักกีฬาเขาแขงขันฟุตบอลอาชีพ ไทยแลนดลึก ดิวิชั่น ๑
ฤดูกาล ๒๐๐๙ จํานวน ๒ ฎีกา เปนคาใชจายในการฝกซอมและแขง ขันฟุตบอลเพ่ือสง เสรมิ และพัฒนาการ
กฬี าของจังหวัดจันทบุรี รวมเปน เงินจํานวน ๑๒๑,๒๘๐ บาท ตอมา สาํ นกั งานการตรวจเงินแผนดินภมู ิภาค
ท่ี ๒ ตรวจสอบพบวาโครงการดังกลาวมีการเบิกจายเงินโดยไมชอบดวยกฎหมาย ผูถูกฟองคดีที่ ๑
(ผูวาราชการจังหวัดจันทบุรี) จึงมีคําส่ังแตงตั้งคณะกรรมสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดกรณี
154
ดังกลาว ตอมาผูถูกฟองคดีที่ ๑ มีคําสั่งลงวันที่ ๒๑ มิถุนายน ๒๕๕๖ เรียกใหผูฟองคดีชดใชคาสินไหม
ทดแทนแกอ งคการบริหารสวนจังหวดั จนั ทบรุ ี เปน เงินจํานวน ๓0,๓๒๐ บาท ภายใน ๔๕ วัน นับถัดจากวนั ท่ี
ไดรับคําสั่งตามความเห็นของกรมบัญชีกลางผูรับมอบอํานาจจากกระทรวงการคลัง ผูฟองคดีจึงอุทธรณ
คําส่ังดังกลาว แตผถู ูกฟองคดีที่ ๒ (รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย) พิจารณาแลวมีคําสั่งใหยกอุทธรณ
ตามหนังสือ ลงวันที่ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๕๖ ผูฟองคดีเห็นวา คําสั่งใหชดใชเงินและคําวินิจฉัยอุทธรณดังกลาว
ไมชอบดวยกฎหมาย จงึ นําคดีมาฟองขอใหศาลมคี ําพพิ ากษาหรอื คําส่ังเพิกถอนคําส่ังลงวันที่ ๒๑ มิถุนายน
๒๕๕๖ ท่ีเรียกใหผูฟองคดีชดใชคาสินไหมทดแทนแกองคการบริหารสวนจังหวัดจันทบุรี และคําวินิจฉัย
อุทธรณของผูถูกฟองคดีท่ี ๒ ตามหนังสือลงวันท่ี ๑๔ ตุลาคม ๒๕๕๖ ที่ยกอุทธรณ ศาลปกครองสูงสุด
วินิจฉัยวา เม่ือพิจารณาหลักการและเหตุผลของโครงการสงเสริมและพัฒนาการกีฬาของจังหวัดจันทบุรี
"กิจกรรมสงนักกีฬาเขาแขงขันฟุตบอลอาชีพ ไทยแลนดลีก ดิวิช่ัน 2 ฤดูกาล ๒๐๐๙" แลวพบวา โครงการ
ดังกลาวแลวพบวามีจุดมุงหมายเพื่อสงนักกีฬาทีมสโมสรฟุตบอล เขารวมการแขงขันฟุตบอลอาชีพไทย
แลนด ดิวิชั่น ๑ ลีก ๒๐0๙ ระยะเวลาดําเนินการระหวางวันที่ ๒๑ มีนาคม ถึงวันที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๕๒
ตามตารางการแขงขันเหยา - เยือน ๓๐ นัด มีการแขงขันในจังหวัดจันทบุรีและจังหวัดอื่น ซึ่งการแขงขัน
ฟุตบอลตามโครงการดังกลาว มีการเก็บเงนิ คา ผานประตูจากผเู ขา ชมการแขงขนั นัดเหยาโดยสโมสรฟุตบอล
เปน ผูจดั เก็บ จงึ ถอื เปนโครงการท่ีมีการจัดหารายไดในลักษณะองคกรเอกชน ซึ่งไมไดเ ปนไปตามหลกั เกณฑ
การแขงขันกีฬาระหวางองคกรปกครองสวนทองถ่ินหรือภายในองคกรปกครองสวนทองถิ่น ตามหนังสือ
กระทรวงมหาดไทย ท่ี มท ๘๐๘.๔/ว ๒๕๘๙ ลงวันท่ี ๓ สิงหาคม ๒๕๔๗ หลักเกณฑการใชจายเงินในการ
แข็งขันกีฬาขององคกรปกครองสวนทองถ่ินแตอยางใด และรับฟงไมไดวาเปนการจัดทําบริการสาธารณะ
การเบิกจายเงินคาใชจายในการฝกซอมและการแขงขันฟุตบอลอาชีพใหกับสโมสรฟุตบอลจันทบุรีตาม
โครงการดังกลาวจึงเปน การเบกิ จายเงิน คาใชจ า ยในการฝกซอ มและการแขง ขันฟุตบอลอาชีพใหกับสโมสร
ฟุตบอลจันทบุรีตามโครงการดังกลาวจึงเปนการเบิกจายเงินใหแกองคกรเอกชนโดยไมมีระเบียบกฎหมาย
ของทางราชการใหเบิกจายได อีกทั้ง ไมอยูในอํานาจหนาที่ขององคการบริหารสวนจังหวัดตามมาตรา ๔๕
แหง พ.ร.บ. องคการบริหารสวนจังหวัด พ.ศ. ๒๕๔๐ และตามมาตรา ๑๗ (๑๘) แหง พ.ร.บ. กําหนดแผน
และข้ันตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ เมื่อผูฟองคดีในฐานะ
ผูตรวจสอบฎีกามีหนาที่ตองตรวจฎีกาใหถูกตองตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรับเงิน การ
เบิกจายเงนิ การฝากเงิน การเก็บรกั ษาเงิน และการตรวจเงิน ขององคกรปกครองสวนทองถน่ิ พ.ศ. ๒๕๔๗
ผูฟองคดีจึงตองใชความระมัดระวังและความละเอียดรอบคอบ ในการตรวจสอบวา การเบิกจายคาใชจาย
ในการฝกซอมและการแขงขันฟุตบอลอาชีพซึ่งเปนการสนับสนุน งบประมาณใหเอกชนเพ่ือไปแขงขันกีฬา
อาชีพสามารถกระทําไดตามระเบียบกฎหมายของทางราชการหรือไมการท่ีผูฟองคดีเพียงตรวจเอกสาร
ประกอบการเบิกฎีกา โดยเห็นวากรณีการเบิกจายตามโครงการสงเสริมและพัฒนาการกีฬาของจังหวัด
จันทบุรฯี ไดผานขั้นตอนการตรวจพจิ ารณาของผูบรหิ ารตามลําดับช้ันแลว แตเม่ือโครงการดงั กลาวไมอยูใน
อํานาจหนาที่ขององคการบริหารสวนจังหวัดจันทบุรีและไมสามารถเบิกจายไดตามขอ ๖๗ ของระเบียบ
ดงั กลาว จึงถือไดวาผูฟองคดีไมไดปฏิบัติตามระเบียบกฎหมายของทางราชการ ดังน้ัน การท่ีผูฟองคดีไดลง
ลายมือซื่อในฎีกาเบกิ เงินตามงบประมาณรายจายตามโครงการพิพาทดังกลาว รวม ๒ ฎีกา เปนเงินจาํ นวน
๑๒๑,๒๘๐ บาท วาไดตรวจเอกสารประกอบฎีกาครบถวนถูกตองแลว พฤติการณการกระทําดังกลาว
จึงเปนการกระทําดวยความประมาทเลินเลออยางรายแรง เปนเหตุใหองคการบริหารสวนจังหวัดจันทบุรี
155
ไดรับความเสียหาย จึงเปนการกระทําละเมิดตอองคการบริหารสวนจังหวัดจันทบุรี ตามมาตรา 420
แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยผูฟองคดีจึงตองรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกองคการบริหาร
สวนจังหวัดนทบุรีตมมาตรา ๑0 รรคหน่ึง ประกอบมาตรา ๘ วรรคหนึ่ง แหง พ.ร.บ. ความรับผิดทาง
ละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ อยางไรก็ตาม เม่ือไมปรากฎวาผูฟองคดีกระทําทุจริตตอหนาท่ี การที่
ผูถูกฟองคดีที่ ๑ มีคําสั่งลงวันท่ี ๒๑ มิถุนายน 2๕๕๖ เรียกใหผูฟองคดีรับผิดเฉพาะในฎีกาที่ตนเองได
ตรวจสอบในอัตรารอยละ ๒๕ ของคาเสียหายจํานวน ๑๒๑,๒๘๐ บาท คิดเปนเงินจํานวน ๓0,320 บาท
จึงยังไมสอดคลองกับระดับความรายแรงแหงการกระทํา ที่ศาลปกครองช้ันตนพิพากษาใหผูฟองคดีรับผิด
ชดใชคาสินไหมทดแทนในอัตรารอยละ ๑๕ ของความเสียหายจํานวนเงิน ๑๒๑,๒๘๐ บาท จํานวน
๑๘,๑๙๒ บาท น้ัน หมาะสมกับความรายแรงแหงการกระทําและความเปนธรรมในกรณีน้ีตามมาตรา ๘
วรรคสอง แหงพระราชบัญญตั ิดังกลา วแลว ดังนั้น คาํ สั่งลงวันที่ ๒๑ มิถุนายน ๒๕๕๖ เฉพาะสวนทเ่ี รียกให
ผูฟองคดีชดใชคาสินไหมทดแทนเกินกวาจํานวน ๑๘,๑๙๒ บาท จึงไมชอบดวยกฎหมาย และคําวินิจฉัย
อุทธรณข องผูถกู ฟอ งคดที ี่ ๒ ท่ีใหย กอทุ ธรณข องผฟู องคดจี ึงไมช อบดว ยกฎหมายเชนกัน
แนวทางการปฏบิ ตั ิราชการจากคําวินจิ ฉยั :
คดีน้ีศาลปกครองสูงสุดไดวางบรรทัดฐานการปฏิบัติราชการเกี่ยวกับการดําเนินการของเจาหนาที่
ที่มีหนาที่ดูแลรับผิดชอบดานการเงินและการอนุมัติเบิกจายเงินงบประมาณวามีหนาที่ตองตรวจสอบ
การเบิกจายใหถูกตองตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรับเงิน การเบิกจายเงิน การฝากเงิน
การเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงินขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๗ และตองใช
ความระมัดระวังและความละเอียดรอบคอบในการตรวจสอบการเบิกจายคาใชจายใหเปนไปตามระเบียบ
กฎหมายของทางราชการ ซึ่งเม่อื พิจารณาหลักการและเหตุผลของโครงการสงเสริมและพัฒนาการกีฬาของ
จังหวัดดังกลาวแลวพบวามีจุดมุงหมายเพ่ือสงนักกีฬาทีมสโมสรฟุตบอล เขารวมการแขงขันฟุตบอลอาชีพ
ไทยแลนด ดิวิชั่น ๑ ลีก ๒๐๐๙ โดยการแขงขันฟุตบอลตามโครงการดังกลาว มีการเก็บเงินคาผานประตู
จากผูเขาชมการแขงขันนัดเหยาโดยสโมสรฟุตบอลเปนผูจัดเก็บ จึงถือเปนโครงการท่ีมีการจัดหารายได
ในลักษณะองคกรเอกชน ซงึ่ ไมไดเปนไปตามหลักเกณฑการแขงขันกีฬาระหวา งองคกรปกครองสว นทองถ่ิน
หรอื ภายในองคกรปกครองสวนทองถ่ิน ตามหนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0๘๐๘.๔/ว ๒๕๘๙ ลงวันท่ี
๓ สิงหาคม ๒๕๔๗ เรื่อง หลักเกณฑการใชจายเงินในการแขงขันกีฬาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น
แตอยางใด และรับฟงไมไดวาเปนการจัดทําบริการสาธารณะ ซึ่งบริการสาธารณะจะตองประกอบดวย
เงื่อนไขสองประการคือ (๑) เปนกิจการท่ีเก่ียวของกับนติ ิบุคคลมหาชน ซ่ึงหมายถึงกรณีที่นิติบุคคลมหาชน
เปนผูประกอบกิจกรรมดวยตนเองอันไดแก กิจกรรมท่ีรัฐ องคกรปกครองสวนทองถิ่น หรอื รัฐวิสาหกิจเปน
ผดู ําเนินการ และยังหมายความรวมถึงกรณีที่รัฐมอบกิจกรรมของรฐั บางประเภทใหเ อกชนเปนผูดําเนินการ
ดวย (๒) จะตองเปนกิจกรรมที่มีวัตถุประสงคเพื่อประโยชนสาธารณะและตอบสนองความตองการของ
ประชาชน ดังน้นั การเบกิ จายเงนิ คา ใชจ ายในการฝก ซอมและการแขงขันฟุตบอลอาชีพใหกับสโมสรฟตุ บอล
ตามโครงการดังกลาวจึงเปนการเบิกจายเงินใหแกองคกรเอกชน โดยไมมีระเบียบกฎหมาย
ของทางราชการใหเบิกจา ยได อีกท้ัง ไมอยูในอํานาจหนา ท่ีขององคการบริหารสวนจังหวัด ตามมาตรา ๔๕
แหง พ.ร.บ. องคการบริหารสวนจังหวัด พ.ศ. ๒๕๔๐ และตามมาตรา ๑๗ (๑๘) แหง พ.ร.บ. กําหนดแผน
และขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถ่ิน พ.ศ. 2๕๔๒ และไมอาจอางไดวาได
ปฏิบัติหนาที่ไปดวยความเช่ือโดยสุจริตโดยไมทราบวาโครงการดังกลาวไมอยูในอํานาจหนาท่ีขององคการ
156
บริหารสวนจังหวัดและไมสามารถเบิกจายไดตามขอ ๖๗ ของระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวย การรับ
เงนิ การเบกิ จายเงนิ การฝากเงิน การเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงินขององคกรปกครองสวนทองถน่ิ พ.ศ.
๒๕๔๗ และที่แกไขเพิ่มเติมซึ่งในเรื่องนี้สอดคลองกับหลักธรรมาภิบาล เรื่องหลักนิติธรรม ในประเด็น
เก่ียวกับการปฏิบัติตามกฎหมาย ของเจาหนาที่ท่ีเจาหนาของรัฐตองปฏิบัติตามกฎหมายอยางเครงครัด
ปฏิบัติหนาท่ีดวยความระมัดระวัง รอบคอบและตั้งใจปฏิบัติภารกิจตามหนาที่อยางดีย่ิงโดยมี
ความรับผิดชอบตอความบกพรองในหนาท่ีการงานที่ตนรับผิดชอบอยูดวย และหลักความรับผิดชอบท่ี
เจาหนาท่ีตองต้ังใจปฏิบัติภารกิจตามหนาที่อยางดีย่ิง โดยมุงใหบริการแกผูมารับบริการ เพ่ืออํานวย
ความสะดวกตา ง ๆ มคี วามรับผดิ ชอบตอความบกพรองในหนาท่ีการงานทีต่ นรบั ผิดชอบอยู
แนวปฏิบัติราชการเก่ียวกับการตรวจสอบการปฏิบัติงานดานการเงินและบัญชีของลูกจางชั่วคราว
(คาํ พพิ ากษาศาลปกครองสูงสดุ ที่ อ. ๗๔๕/๒๕๖๓)
เม่ือมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันท่ี ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๓5 หามมิใหสวนราชการใชลูกจางช่ัวคราว
ปฏบิ ัติงานดา นการเงินและบัญชี เวนแตกรณีท่ีสว นราชการมีขา ราชการหรือลูกจางประจําปฏิบตั ิหนาที่ดาน
การเงินและบัญชีไมเพียงพอ อันแสดงใหเห็นวา ภาระงานดังกลาวมีความเส่ียงสูงท่ีผูปฏิบัติงานอาจจะ
กอใหเกิดความเสียหายแกหนวยงานได ดังน้ัน การมอบหมายงานดานการเงินและบัญชีใหลูกจางช่ัวคราว
ปฏิบัตินั้นยอมทําไดแตผูบังคับบัญชาตองตรวจสอบการปฏิบัติงานของบุคคลดังกลาวอยางเครงครัด
เปน พเิ ศษดวย
หลกั กฎหมายท่ีเกีย่ วขอ ง : หลกั ความชอบดว ยกฎหมาย
เจา หนาที่ของรัฐ : อธิการบดีมหาวิทยาลัยอบุ ลราชธานี
ตวั บทกฎหมาย : พร.บ ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนา ท่ี พ.ศ. ๒๕๓๙ (มาตรา ๘ และมาตรา
๑0 วรรคหนึง่ )
สรุปคดี : ผูฟองคดีเปนขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา ตําแหนงผูอํานวยการกองคลัง
สังกัดกองคลัง สํานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลยั อุบลราชธานี ไดรับความเดือดรอนหรือเสียหายจากการที่
ผถู ูกฟองคดี (อธิการบดีมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี) ไดมีคําสั่งใหผูฟองคดีชดใชคาสินไหมทดแทน กรณีนาย
ว. ผูใตบังคับบัญชาไดจัดทําและปลอมแปลงลายมือชื่อผูมีอํานาจลงนามสั่งจายเช็ค และลงนามรับเงิน
ในใบสําคัญรับเงิน โดยไมนําสงเปนเงินของทางราชการ เปนเหตุใหมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีไดรับความ
เสียหาย เปนเงินจํานวน ๔,๑๖๔,๙๕๕.๕0 บาท ผูฟองคดีอุทธรณคําสั่งดังกลาว ตอมา ผูถูกฟองคดีพิจารณา
อุทธรณแลวมีคําส่ังยืนตามคําสงั่ เดิม ผฟู องคดีจึงนําคดีมาฟองขอใหศาลมีคําพิพากษาหรือคําสั่งใหเพิกถอน
คํ่าส่ังใหผูฟองคดีชดใช คาสินไหมทดแทน ศาลปกครองสูงสุดวินิจฉัยวา ผูฟองคดีไดรับมอบหมายใหดํารง
ตําแหนงผูอํานวยการกองคลังมีหนาที่รบั ผิดชอบในการกํากับดูแลภาพรวมของกองคลังและพัสดุในทุกดาน
และหนาท่ีในการกํากับดูแลตรวจสอบการปฏิบัติงานของทุกหนวยงานยอยภายในกองคลัง ผูฟองคดี
ในฐานะผบู ังคับบัญชาจงึ มีหนาที่ตอ งกาํ กับดแู ลและตรวจสอบการปฏิบัตงิ านผูใตบังคับบัญชาทุกรายในกอง
คลังใหเปนไปตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับตางๆ ท่ีเกี่ยวของ การท่ีผูฟองคดีเปนผูมอบหมายภาระงาน
ใหนาย ว. ซ่ึงเปนลูกจางชั่วคราว ทําหนาที่รับเช็ค เงินสด เงินอุดหนุนสนับสนุนจากหนวยงานอื่นพรอม
นําสงและฝากธนาคาร และใหมีหนาท่ีเก็บรักษาตนขั้วเช็ค สมุดเช็ค เก็บรักษาสมุดบัญชีเงินฝากธนาคาร
สมุดใบสําคัญรับเงิน ซึ่งผูฟองคดียอมตองทราบเปนอยางดีแลววา การดูแล เก็บรักษาเอกสารดังกลาว
157
อันเปนเอกสารหลักฐานสําคัญเก่ียวกับการเงินโดยเปนภาระงานที่มีความเส่ียงสูงที่ผูปฏิบัติงานอาจจะ
กอใหเกิดความเสียหายแกหนวยงานได น้ัน เปนการมอบหมายงานมีลักษณะเปนการฝาฝน ไมถือปฏิบัติ
ตามมตคิ ณะรฐั มนตรี เมื่อวันท่ี ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๓๕ ที่หามมีใหสว นราชการใชลกู จางช่ัวคราว ปฏิบตั ิงาน
ดานการเงินและบัญชี เวนแตกรณีที่สวนราชการมีขาราชการหรือลูกจางประจําปฏิบัติหนาที่ดานการเงิน
และบัญชีไมเพียงพอ ผูฟองคดีในฐานะผูบังคับบัญชาผูมอบหมายงานดังกลาวจึงมีหนาท่ีในการควบคุม
ตรวจสอบการปฏิบัติหนาท่ีของนาย ว. อยางเครงครัดเปนพิเศษ ประกอบกับนาย ว. ไดกระทําการทุจริต
เปนเวลากวา ๒ ป จนพันจากตําแหนงลูกจางชั่วคราวเม่ือสิ้นสุดสัญญาจางไปแลวจึงมีการตรวจสอบพบ
การทุจริต นั้น แสดงใหเห็นวาผูฟองคดีละเลยในการปฏิบัติหนาท่ีในฐานผูอํานวยการกองคลังซึ่งเปน
ผูบังคับบัญชาท่ีมีหนาที่ควบคุมดูแลเงินงบประมาณของหนวยงานและมีหนาท่ีควบคุมการปฏิบัติงานของ
เจาหนาท่ีในสังกัดกองคลัง ซ่ึงตามภาวะวิสัยของบุคคลท่ีดํารงตําแหนงและปฏิบัติหนาท่ีเชนเดียวกับผูฟอง
คดี ยอมจะตองใชความระมัดระวังในการควบคุมตรวจสอบการทํางานของผูใตบังคับบัญชาอยางสมํ่าเสมอ
แตผูฟองคดีกลับไมไดควบคุมดูแลผูใตบังคับบัญชาใหปฏิบัติหนาท่ีใหเปนไปตามกฎหมายอยางเครงครัด
จนเปดโอกาสใหนาย ว. กระทําการทุจรติ ยักยอกเงินหากผูฟองคดีและผูบังคับบัญชาช้ันตนในฐานะหัวหนา
งานงบประมาณไดปฏิบัติงานโดยใชความระมัดระวังและความละเอียดรอบคอบในการควบคุมตรวจสอบ
การทําหนาที่ของนาย ว. อยางเครงครัดตามระบบบัญชีมาตรฐานแลว ยอมไมเปนการยากท่ีจะตรวจสอบ
พบการกระทําทุจริตหรือปองกันการกระทําผิดของนาย ว. ได ดังนั้น การท่ี นาย ว. สามารถกระทําการ
ทุจริตตอเน่ืองกันมาเปนเวลาถึง ๒ ป และกอใหเกิดความเสียหายจํานวนท่ีสูงมาก จึงเปนผลโดยตรงจาก
การกระทําของผูฟองคดีท่ีบกพรองในการปฏิบัติหนาที่ควบคุมตรวจสอบกรณีดังกลาว รวมถึงบกพรอง
ในการกํากับดูแลผูใตบังคับบัญชาดวย จึงถือไดวา ผูฟองคดีการกระทําโดยประมาทเลินเลออยางรายแรง
ในการปฏิบัติหนาท่ีละเลยไมควบคุมการปฏิบัติงานของผูใตบังคับบัญชา จนเปนเหตุใหนาย ว. กระทํา
การทุจริตไดผูฟองคดีจึงตองรับผิดชดใชความเสียหายใหแกผูถูกฟองคดี ตามมาตรา ๑0 วรรคหนึ่ง
ประกอบกับมาตรา ๘ แหง พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ี พ.ศ. ๒๕๓9
แนวทางการปฏิบตั ิราชการจากคําวินจิ ฉยั :
การเงินและบัญชีของลูกจางช่ัวคราวในประการที่สําคัญ คือ มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๒๑
กรกฎาคม ๒๕๓๕ ไดหา มมิใหสวนราชการใชลูกจางช่วั คราวปฏิบตั ิงานดานการเงินและบญั ชี เวน แตกรณีที่
สวนราชการมีขาราชการหรือลูกจางประจําปฏิบัติหนาที่ดานการเงินและบัญชีไมเพียงพอ กรณีเห็นไดวา
ภ า ร ะ ง า น ดั ง ก ล า ว มี ค ว า ม เส่ี ย ง สู ง ท่ี ผู ป ฏิ บั ติ ง า น อ า จ จ ะ ก อ ให เกิ ด ค ว า ม เสี ย ห า ย แ ก ห น ว ย ง า น ไ ด
การมอบหมายงานจึงตองพิจารณาตามความเชี่ยวชาญ และความเหมาะสมในแตละตําแหนงดวย
แตอยางไรก็ตามเพ่ือใหระบบงานยังดําเนินตอไปได และเพื่อใหการบริการสาธารณะดําเนินการไปอยาง
ตอเนื่อง ก็มีขอยกเวนในการมอบหมายงานดังกลาวได แตก็ตองเปนไปอยางเครงครัด กลาวคือ
หากผูบังคับบัญชาผูมอบหมายงานดานการเงินและบัญชีใหลูกจางชั่วคราว ผูบังคับบัญชาก็ตองมีหนาที่
ในการควบคุมตรวจสอบการปฏิบัติหนาท่ีของลูกจางช่ัวคราวอยางเครงครัดเปนพิเศษ โดยตองใช
ความระมัดระวงั อยางมาก เพอ่ื ไมใ หเ กิดความผิดพลาดและไมใหเกดิ การทจุ ริตขน้ึ อยางคดนี ้เี กิดข้นึ อีก
158
แนวทางการปฏิบัติราชการที่ไดจากคดีประเภทสิทธปิ ระโยชนและสวสั ดิการ
- แนวปฏิบัติราชการเกี่ยวกับการจายเงินสวัสดิการเก่ียวกับการศึกษาของบุตรเพ่ิมเติม
(คําพิพากษาศาลปกครองสงู สุดท่ี อ. ๒๑๓/๒๕๖๓)
การดําเนินการเบิกจายเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตรในสวนของเงินคาเลาเรียนนั้น
นอกจากจะหมายถึง คาธรรมเนียมการเรียนหรือคาหนวยกิตวิชาเรียนแลว ยังครอบคลุมถึงคาธรรมเนียม
ตางๆ ซ่ึงสถานศึกษาของเอกชนสามารถเรียกเก็บไดตามอัตราท่ีไดรับอนุมัติจากกระทรวงศึกษาธิการ
แตตองไมเกินประเภทและอัตราที่กระทรวงการคลังกําหนด ซ่ึงเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตรน้ัน
ยอมมคี วามหมายจํากัดเพียงคาใชจ า ยทเ่ี ก่ียวของและสัมพนั ธกับการศึกษาโดยตรง
หลกั กฎหมายทเี่ กย่ี วของ : หลักความชอบดวยกฎหมาย
หนว ยงานทางปกครอง : กรมสรรพากร
ตัวบทกฎหมาย : ประมวลกฎหมายแพง และพาณิชย (มาตรา ๔๒๐) พ.ร.ฏ. เงนิ สวสั ดิการเกี่ยวกับ
การศึกษาของบุตร พ.ศ. ๒๕๒๓ แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๘ (มาตรา 4 และมาตรา ๘ วรรค
หนง่ึ (๔)
สรุปคดี : ผูฟองคดีดํารงตําแหนงนักวิซาการสรรพากรชํานาญการพิเศษ สํานักงานสรรพากรภาค ๑
สังกัดผูถูกฟองคดี (กรมสรรพากร) ขณะท่ีพิพาท ผูฟองคดีดํารงตําแหนงนักวิชาการสรรพากรชํานาญการ
พิเศษสํานักงานสรรพากรพ้ืนท่ีกรุงเทพมหานคร ๑๑ ไดขอเบิกคาการศึกษาบุตร ซ่ึงศึกษาอยูท่ีโรงเรียน
เทคโนโลยียานยนต ต. ซึ่งเปนสถานศึกษาของเอกชน หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
ประเภทวิชาอุตสาหกรรมยานยนต เปนคาการศึกษาภาคเรียนท่ี ๑ ปการศึกษา ๒๕๕๔ จํานวนเงิน ๔๔,๒๕0
บาท โดยขอเบิกคาการศึกษา จํานวน ๑๔,๐๐0 บาท ไดแก คาธรรมเนียมการศึกษา คาลงทะเบียน
คา บริการคอมพิวเตอรคาวสั ดอุ ุปกรณการฝก คาตําราและหนังสือประกอบการเรียน คาหนังสือคูมือการฝก
คากิจกรรมนักศึกษาคาเคร่ืองปรับอากาศและการบํารุงรักษา และไดรับคาการศึกษาบุตรท่ีขอเบิกเปนเงิน
๑๔,000 บาท แลว ตอมา ผูฟองคดไี ดชาํ ระคาการศกึ ษาบุตร ในภาคเรียนที่ 6 ปก ารศึกษา ๒๕๕๔ จํานวน
เงิน ๓๖,๒00 บาท และขอเบิกคาการศึกษาบุตรจํานวนเงิน ๑๓,๖๕0 บาท แตเจาหนาที่การเงินแจงวา
ผูฟองคดีสามารถ เบิกคาการศึกษาบุตรไดเฉพาะคาธรรมเนียมการศึกษา จํานวนเงิน ๖,๑๕0 บาท เทาน้ัน
สวนคาใชจายประเภทอ่ืนเบิกไมได และไดแจงใหผูฟองคดีคืนเงินคาการศึกษาบุตรที่เบิกเกินไปของ
ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา ๒๕๕๔ จํานวน ๗,๘๕0 บาท กอน สํานักงานสรรพากรภาค ๑ จึงจะเบิก
คาการศึกษาบุตรภาคเรียนท่ี ๒ ปการศึกษา ๒๕๕๔ จํานวนเงิน ๖,๑๕๐ บาท ให ซ่ึงผูฟองคดีไดคืนเงิน
ดังกลาวแลว และผูฟอ งคดีไดมีหนังสือหารอื กรณีดังกลาวตอสรพากรพน้ื ท่ีกรุงเทพมหานคร ๑ ผถู ูกฟองคดี
จึงมีหารือ กรณีการเบิกเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร รายผูฟองคดีไปยังกรมบัญชีกลาง
ซ่ึงกรมบัญชีกลางไดมีหนังสือตอบขอหารือวาการดําเนินการเบิกจายเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของ
บุตรใหผูฟองคดีเปนเงินจํานวนคร่ึงหนึ่งของคาธรรมเนียมการศึกษาท่ีจายไปจริง โดยมิไดจายในสวนของ
คาใชจายอื่นๆ เปนการเบิกจายที่ถูกตองแลว ผูฟองคดีเห็นวา คําวา คาธรรมเนียมการศึกษา ไมไดมีการ
กาํ หนดวาใหหมายความถึงคาธรรมเนียมการศึกษาเพียงอยางเดียว แตใหรวมถึงคาใชจายอ่ืนๆ ดวย ดังน้ัน
159
ในปการศกึ ษา ๒๕๕๔ และปก ารศึกษา ๒๕๕๕ ผูฟอ งคดีควรไดรับเงนิ สวัสดิการการศึกษาบตุ รเพิ่มรวมเปน
เงิน 3๓,๐๕0 บาท ผูฟองคดีจึงนําคดีมาฟองขอใหศาลมีคําพิพากษาหรือคําสั่งเพิกถอนคําสั่งไมอนุมัติ
ใหเบิกจายคาธรรมเนียมการศึกษาของบุตรและขอใหเพิกถอนหนังสือตอบขอหารือของกรมบัญชีกลาง
ดังกลาวและใหผูถูกฟองคดีจายเงินสวัสดิการการศึกษาบุตรใหแกผูฟองคดีเพิ่มเปนเงิน ๓๓,0๕0 บาท
ศาลปกครองสูงสุดวินิจฉัยวา เม่ือผูฟองคดีไดชําระคาการศึกษาของบุตร ในภาคเรียนที่ ๒ ปการศึกษา
๒๕๕๔ เปนเงนิ ๓๖,๒๐๐ บาท ภาคเรียนท่ี ๑ ปการศึกษา ๒๕๕๕ เปนเงนิ ๔0,๑00 บาท และภาคเรียนที่ ๒
ปการศึกษา ๒๕๕๕ เปนเงิน ๔๑,๖00 บาท ผูฟองคดีจึงมีสิทธิไดรับเงินสวัสดิการเก่ียวกับการศึกษาของ
บุตรจากทางราชการตามมาตรา ๘ วรรคหนึ่ง (๔) แหง พ.ร.ฏ. เงินสวัสดิการเก่ียวกับการศึกษาของบุตร
พ.ศ. ๒๕๒๓ แกไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๘ ซึ่งกาํ หนดใหไ ดรับเงนิ คาเลา เรยี นคร่ึงหนึง่ ของจาํ นวนท่ี
ไดจายไปจริงตามประเภทและไมเกินอัตราที่กระทรวงการคลังกําหนด โดยเงินสวัสดิการการศึกษาท่ีผูฟอง
คดีมีสิทธิไดรับหมายถึงเงินคาเลาเรียน ซ่ึงมาตรา ๔ แหงพระราชกฤษฎีกาดังกลาวไดนิยามคําวา เงินคาเลา
เรียนไวหมายความวา เงินคาธรรมเนียมการเรียนหรือคาธรรมเนียมตางๆ ซึ่งสถานศึกษาของเอกชนเรียก
เก็บตามอัตราที่ไดรับอนุมัติจากกระทรวงศึกษาธิการ ดังนั้น เงินคาเลาเรียน นอกจากจะหมายถึง
คาธรรมเนียมการเรียนหรือคาหนวยกิตวิชาเรียนแลว ยังครอบคลุมถึงคาธรรมเนียมตางๆ ซ่ึงสถานศึกษา
ของเอกชนสามารถเรียกเกบ็ ไดตามอัตราท่ีไดรบั อนุมัติจากกระทรวงศึกษาธิการ แตตอ งไมเกินประเภทและ
อัตราท่ีกระทรวงการคลังกําหนดซึ่งไมไดหมายความวา คาใชจายทุกรายการที่สถานศึกษาเรียกเก็บจะถือ
เปนเงินคาเลาเรียนท่ีขาราชการจะนํามาขอรับเงินสวัสดิการการศึกษาจากทางราชการได ซึ่งเมื่อพิจารณา
เจตนารมณของการใหสวัสดิการเก่ียวกับการศึกษาของบุตรขาราชการตาม พ.ร.ฏ.เงินสวัสดิการเก่ียวกับ
การศึกษาของบุตร พ.ศ. ๒๕23 แลวเห็นไดวา เงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตรน้ันยอมมี
ความหมายจํากัดเพียงคาใชจายท่ีเกี่ยวของและสัมพันธกับการศึกษาโดยตรงสวนประเภทสถานศึกษา
เอกชนและหลักสูตรการศึกษา ตลอดจนอตั ราคาใชจายท่ีจะเบิกไดน้ันกระทรวงการคลังโดยกรมบัญชีกลาง
ไดมีหนังสือกําหนดประเภทและอัตราเงินบํารุงการศึกษาและคาเลาเรียนเพื่อใหสวนราชการตางๆ
ถือปฏิบัติ ต้ังแตภาคเรียนท่ี ๒ ปการศึกษา ๒๕๕๒ เปนตนไป ดังน้ัน ผูฟองคดีจึงมีสิทธินําใบเสร็จรับเงิน
ทไี่ ดชําระคาการศึกษาดังกลาวมาเบิกเงนิ สวัสดิการเก่ียวกับการศึกษาของบุตรจากทางราชการตามมาตรา ๘
วรรคหน่ึง (๔) แหง พ.ร.ฏ. เงินสวสั ดิการเก่ียวกบั การศึกษาของบตุ รพ.ศ. ๒๕๒๓ แกไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ ๕)
พ.ศ. ๒๕๔๘ประกอบกับหนังสือกรมบัญชีกลางดังกลา ว ไดเ ทากบั คร่ึงหน่ึงของเงินคา เลาเรยี นตามทจ่ี า ยจริง
แตไมเกินคาธรรมเนยี มการศึกษาประเภทวิชาชา งอตุ สาหกรรม หรอื อุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การส่ือสารทัศนศาสตร ที่กําหนดใหเบิกไดไมเกินปการศึกษาละ ๓0,000 บาท ซึ่งตามใบเสร็จรับเงิน
คาการศึกษาของบุตรของผูฟองคดีในแตละภาคเรียนไดระบุคาใชจายตางๆ ไดแก คาธรรมเนียมการศึกษา
คาลงทะเบียนคาศูนยวิทยบริการ คาบริการคอมพิวเตอร คาเครื่องปรับอากาศและการบํารุงรักษา คาวัสดุ
อุปกรณ การฝก ตําราและหนังสือคูมือ คากิจกรรมนักศึกษา คาซักรีด คาหอพัก คาใชจายอ่ืนๆ จึงตอง
พิจารณาวาคาการศึกษาที่ผูฟองคดีจายใหกับสถานศึกษาดังกลาว รายการใดบางที่ถือไววาเปนเงินคาเลา
เรียน โดยเมื่อคดีนี้ ศาลปกครองชั้นตนไดพิจารณาจากรายการตางๆ แลวเห็นวา คาธรรมเนียมการศึกษา
160
คาลงทะเบียน คาวัสดุ อุปกรณการฝก คาตําราและหนังสือประกอบการเรียน และคาหนังสือคูมือการฝก
คาศูนยวิทยบริการ คาบริการคอมพิวเตอร และคากิจกรรมนักศึกษา เปนคาใชจายที่มีสวนเกี่ยวของและ
สัมพันธกับการศึกษาโดยตรง จึงถือเปนคาเลาเรียนตาม พ.ร.ฎ. เงินสวัสดิการเก่ียวกับการศึกษาของบุตร
พ.ศ. ๒๕๒๓ สวนคาเคร่ืองปรับอากาศและการบํารุงรักษา คาซักรีด และคาหอพัก มิไดมีลักษณะเปน
คาใชจายท่ีมีสวนเก่ียวของและสัมพันธกับการศึกษาโดยตรง ซ่ึงบางรายการเปนคาใชจายเพื่ออํานวย
ความสะดวกสบายใหแกผูเขารับการศึกษา จึงไมอาจถือไดวาเปนเงินคาเลาเรียนตามพระราชกฤษฎีกา
ดังกลาว และผูถูกฟองคดีไมไดอุทธรณโตแยงรายการคาใชจายเก่ียวกับการศึกษาตางๆ ท่ีศาลปกครอง
ชนั้ ตนวนิ ิจฉยั ไว นอกจากน้ีแมหนังสือกรมบัญชีกลางดังกลาวกําหนดใหเบกิ ไดคร่ึงหนึ่งของจํานวนท่จี ายจริง
แตไมเกินคาธรรมเนียมการศึกษา แตเม่ือ พ.ร.ฏ. เงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร พ.ศ. ๒๕๒๓
ใหสิทธิผูฟองคดีเบิกเงินสวัสดิการการศึกษาจากเงินคาเลาเรียนซ่ึงรวมถึงคาธรรมเนียมการเรียนหรือ
คาธรรมเนยี มตางๆ ดว ยและตามหนังสอื ดังกลา ว กระทรวงการคลังไดก ําหนดประเภทและอตั ราคา เลาเรียน
ในสถานศกึ ษาของเอกชนประเภทอาชวี ศึกษา หลักสตู รประกาศนียบัตรวชิ าชีพชัน้ สูง (ปวส.) หรือเทยี บเทา
และหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) หรอื เทียบเทา ใหเบิกไดคร่ึงหน่ึงของจํานวนท่ีจา ยจริง
แตไมเกนิ คาธรรมเนียมการศึกษาในสายวิชาชางอุตสาหกรรมหรืออุตสาหกรรมไวไมเกนิ ปการศึกษาละ ๓0,๐๐0
บาท ผูฟองคดีจึงมีสิทธิเบิกเงินสวัสดิการไดจากรายการคาธรรมเนียมการศึกษาและรายการอ่ืนๆ ที่ถือเปน
เงินค่ําเลาเรียน เมื่อผูฟองคดีไดชําระคาการศึกษาของบุตร และไดนําหลักฐานใบเสร็จรับเงินของ
สถานศึกษา มาขอเบิกเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษา ผูฟองคดีจึงมีสิทธิไดรับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับ
การศึกษาบุตรเปน จํานวนครง่ึ หน่ึงของเงินคาเลาเรียน แตไมเกิน ๓๐,๐00 บาท ตอป โดยในภาคเรียนท่ี ๒
ปการศึกษา ๒๕๕๔ คาใชจายในสวนท่ีถือเปนเงินคาเลาเรียน ประกอบดวย คาธรรมเนียมการศึกษา
๑๒,๓๐๐ บาท คาวิทยบริการ ๕00 บาท คาบริการคอมพิวเตอร ๑,000 บาท คาวัสดุอุปกรณการฝก
๕,๔๐0 บาท คาตํารา และหนังสือประกอบการเรียน ๒,๓๐๐ บาท คาหนังสือคูมือการฝก ๙๐๐ บาท
คากิจกรรมนักศึกษา ๓,๗๐๐ บาท รวมเปนเงิน ๒๖,๑๐๐ บาท คร่ึงหนึ่งของเงินจํานวนดังกลาวเทากับ
๑๓,0๕0 บาท ซ่ึงไมเ กิน ๓๐.000 บาท ตอ ป หรือไมเ กิน ๑๕,000 บาท ตอ หนึ่งภาคเรยี น ภาคเรียนท่ี ๑
ปก ารศึกษา ๒๕๕๕ คาใชจายในสวนท่ีถือเปนเงินคาเลา เรียน ประกอบดว ย คาธรรมเนียมการศึกษา ๑๒,๓๐๐
บาท คาลงทะเบียน ๑,๕๐0 บาท คาบริการคอมพิวเตอร 1000 บาท คากิจกรรมนักศึกษา 4500 บาท
คาวัสดุอุปกรณการฝกและหนังสือ คูมือ ๑๑,๒00 บาท รวมเปนเงิน ๒๙,๕0๐ บาท ครึ่งหนึ่งของเงิน
จํานวนดังกลาว เทากับ ๑๔,๗๕๐ บาทและภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา ๒๕๕๕ คาใชจายในสวนท่ีถือเปน
เงินคาเลาเรียน ประกอบดวย คาธรรมเนียมการศึกษา ๑๒,๓๐๐ บาท คาศูนยวิทยบริการ ๕00 บาท
คาบริการคอมพิวเตอร ๑,๐๐๐ บาท คากิจกรรมนักศึกษา ๕,๕00 บาท คาวัสดุอุปกรณการฝก ๙,000 บาท
คาตําราและหนังสือประกอบการเรียนและอุปกรณ ๒,๓๐๐ บาท คาหนังสือคูมือการฝก ๙๐๐ บาท
รวมเปนเงิน ๓๑,๕00 บาท คร่ึงหน่งึ ของเงนิ จํานวนดงั กลาว เทา กบั ๑๕,๗๕0 บาท รวมเงินคา ใชจายที่ถือ
เปน คาเลา เรียนปการศึกษา ๒๕๕๕ ทเี่ บิกไดค ร่ึงหนึ่งของจํานวนที่จายจริง เทากบั ๓๐,๕0๐ บาท แตผฟู อง
คดีมีสิทธิเบิกไดไมเกินปละ ๓0,000 บาท รวมทั้งสามภาคเรียนแลว ผูฟองคดีมีสิทธิไดรับเงินสวัสดิการ
161
เก่ียวกบั การศกึ ษาของบตุ รเปนเงินทงั้ ส้นิ ๔๓,0๕0 บาท ผูถูกฟองคดีจึงมีหนา ทีต่ องจายเงนิ สวัสดิการเกย่ี วกับ
การศกึ ษาของบุตรจํานวนดังกลาวใหแ กผ ูฟอ งคดี การท่ีผถู กู ฟองคดีจายเงนิ สวสั ดิการเก่ยี วกับการศึกษาของ
บุตรใหแกผูฟองคดีเพียงคร่ึงหน่ึงของคาธรรมเนียมการศึกษาสําหรับภาคเรียนที่ ๒ ปการศึกษา ๒๕๕๔
ภาคเรียนท่ี ๑ และภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา ๒๕๕๕ รวมเปนเงิน๑๘,๔๕0 บาท แมจะเปนไปตาม
ความเห็นของกรมบัญชกี ลางก็ตาม แตความเห็นดังกลา วก็ไมส อดคลองกับเจตนารมณของมาตรา ๘ วรรคหนึ่ง
แหง พ.ร.ฏ. เงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร พ.ศ. ๒๕๒๓ แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๘
จึงไมผูกพันผูถูกฟองคดีท่ีจะตองปฏิบัติใหเปนไปตามกฎหมายเมื่อผูถูกฟองคดีไมเบิกจายเงินสวัสดิการ
การศึกษาของบุตรใหแกผูฟองคดีใหถูกตอง จึงเปนการละเลยตอหนาที่ ตามที่กฎหมายกําหนดใหตองปฏิบัติ
และเปนเหตุใหผูฟองคดีไดรับความเสียหาย จึงเปนการกระทําละเมิดตอผูฟองคดีตามมาตรา ๔๒0
แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยผูถูกฟองคดีจึงตองจายเงินสวัสดิการเก่ียวกับการศึกษาของบุตร
ใหแกผ ฟู องคดอี ีกเปน เงนิ ๒๔,๖๐๐ บาท
แนวทางการปฏบิ ตั ิราชการจากคําวินิจฉยั :
คดีนี้ศาลปกครองสูงสุดไดวางบรรทัดฐานการปฏิบัติราชการเกี่ยวกับการดําเนินการเบิกเงิน
สวัสดิการเก่ียวกับการศึกษาของบุตรจากทางราชการในสวนของเงินคาเลาเรียนนั้น นอกจากจะหมายถึง
คาธรรมเนียมการเรียนหรือคาหนวยกิตวิชาเรียนแลว ยังครอบคลุมถึงคาธรรมเนียมตางๆ ซึ่งสถานศึกษา
ของเอกชนสามารถเรยี กเก็บไดตามอัตราที่ไดรบั อนุมตั ิจากกระทรวงศึกษาธิการ แตตองไมเกินประเภทและ
อัตราท่ีกระทรวงการคลังกําหนด ซ่ึงเงินสวัสดิการเก่ียวกับการศึกษาของบุตรน้ัน ยอมมีความหมายจํากัด
เพียงคาใชจายที่เก่ียวของและสัมพันธกับการศึกษาโดยตรงจึงจะมีสิทธินําใบเสร็จรับเงินท่ีไดชําระ
คา การศึกษา ดังกลาวมาเบิกเงินสวัสดิการเก่ียวกับการศึกษาของบุตรจากทางราชการตามมาตรา ๘ วรรคหนึ่ง
(๔) แหง พ.ร.ฏ. เงินสวัสดิการเก่ียวกับการศึกษาของบุตร พ.ศ. ๒๕๒๓ แกไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๘
อันไดแก คาธรรมเนียมการศึกษา คาลงทะเบียน คาวัสดุอุปกรณการฝก คาตําราและหนังสือประกอบการ
เรียน และคาหนังสือคูมือการฝก คาศูนยวิทยบริการ คาบริการคอมพิวเตอร และคากิจกรรมนักศึกษา
ซึ่งเปนคาใชจายที่มีสวนเกี่ยวของและสัมพันธกับการศึกษาโดยตรง จึงถือเปนคาเลาเรียน ตาม พ.ร.ฏ.
เงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร พ.ศ. ๒๕๒๓ สวนคาเคร่ืองปรับอากาศและการบํารุงรักษา คาซักรีด
และคาหอพัก มิไดมีลักษณะเปนคาใชจายท่ีมีสวนเกี่ยวของและสัมพันธกับการศึกษาโดยตรง ซ่ึงบางรายการ
เปนคาใชจายเพื่ออํานวยความสะดวกสบายใหแกผูเขารับการศึกษา จึงไมอาจถือไดวาเปนเงินคาเลาเรียน
ตามพระราชกฤษฎีกาดงั กลา ว
แนวปฏิบตั ิราชการเกย่ี วกับสิทธิเบกิ คา เชาบา นของขา ราชการท่ีมสี ิทธเิ ขา พกั อาศยั
ในที่พักของทางราชการ (คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดท่ี อ. ๔๐๒/๒๕๖๓) เมื่อเดิมขาราชการ
เปนผูมีสิทธิไดรับคาเชาบานขาราชการ ตามมาตรา ๗ แหง พ.ร.ฎ.คาเชาบานขาราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗
แกไขเพิม่ เตมิ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕0 และเปนผูมีสิทธินําหลักฐานคา ผอนชําระเงินกูเพื่อปลูกสรางบานมา
เบิกคาเชาบานขาราชการไดตามมาตรา ๑๗ แหงพระราชกฤษฎีกา ฉบับดังกลาว การท่ีหนวยงานมีคําส่ัง
จัดใหขาราชการเขาพักอาศัยในท่ีพักของทางราชการ จึงไมสอดคลองกับเจตนารมณของพระราชกฤษฎีกา
162
ฉบับเดียวกัน ท่ีมุงประสงคจะชวยเหลือขาราชการที่ไดรับความเดือดรอนในเร่ืองท่ีอยูอาศัยอันเกิดมาจาก
ทางราชการเปนเหตุ และมุงสนบั สนุนใหข าราชการมบี านที่เปน กรรมสทิ ธิข์ องตนเอง
หลกั กฎหมายท่ีเกี่ยวของ : หลกั ความชอบดวยกฎหมาย
เจาหนาที่ของรัฐ : ผูอํานวยการสํานักงานศึกษาธิการภาค ๕ (ผูอํานวยการสํานักงานศึกษาธิการ
ภาค ๑๑ เดมิ )
ตัวบทกฎหมาย : พ.ร.ฎ. คาเชาบานขาราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ แกไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐
(มาตรา ๗ และมาตรา ๑๗) หลักเกณฑและวิธีปฏิบัติในการจัดขาราชการเขาพักอาศัยในที่พักของ
ทางราชการ พ.ศ. ๒๕๕๑ (ขอ ๓ วรรคหนง่ึ (๑))
สรุปคดี : เดิมผูฟองคดีดํารงตําแหนงนักวิเคราะหนโยบายและแผนชํานาญการ สํานักบริหาร
ยุทธศาสตรและบูรณาการการศึกษา กรุงเทพมหานคร ตอมา ไดรับคําส่ังใหไปดํารงตําแหนงนักวิชาการ
ศึกษาชํานาญการ สํานักบริหารยุทธศาสตรและบูรณาการการศึกษาที่ ๑๑ อําเภอเมืองสงขลา จังหวัด
สงขลา ซ่ึงมีใชสํานักงานในทองท่ีท่ีเร่ิมรับราชการครั้งแรก ผูฟองคดีจึงใชสิทธิเบิกคาเชาบาน โดยไดรับ
คาเชาบานมาโดยตลอด ตอมาผูถูกฟองคดี (ผูอํานวยการสํานักงนศึกษาธิการภาค ๕ (ผูอํานวยการ
สํานักงานศึกษาธิการภาค ๑๑ เดิม) ไดออกประกาศจัดใหผูฟองคดีเขาพักอาศัยในที่พักของทางราชการ
เน่ืองจากผูฟองคดีไดรับคําสั่งเล่ือนเปนระดับชํานาญการพิเศษ แตผูฟองคดีประสงคจะใชสิทธิเบิกคาเชา
บานตอไป แตผูถูกฟองคดีไมดําเนินการเบิกจายคาเชาบานใหโดยมิไดแจงหรือบอกกลาวรายละเอียดการ
ดําเนินการใดๆ ผูฟองคดีจึงนําคดีมาฟองขอใหศาลมีคําพิพากษาหรือคําสั่งเพิกถอนประกาศท่ีจัดใหผูฟองคดี
เขาพักอาศัยในท่ีพักของทางราชการ และใหผูถูกฟองคดีดําเนินการเบิกจายคาเชาบานใหแกผูฟองคดี
ศาลปกครองสูงสุดวินิจฉัยวา เดิมผูฟองคดีดํารงตําแหนงนักวิเคราะหนโยบายและแผนชํานาญการ
สํานักบริหารยุทธศาสตรบูรณาการการศึกษา กรุงเทพมหานคร ตอมา ไดรับคําส่ังใหไปดํารงตําแหนง
นักวิชาการศึกษา สํานักบริหารยุทธศาสตรและบูรณาการการศึกษาที่ ๑๑ อําเภอเมืองสงขลา จังหวัด
สงขลา ซึ่งมิใชส ํานกั งานในทองท่ีท่ีเริ่มรบั ราชการคร้ังแรก และผูถูกฟองคดีก็ไมไดจัดที่พักอาศัยใหแกผ ูฟอง
คดีในขณะนั้นผูฟองคดีจึงเปนผูมีสิทธิไดรับคาเชาบานขาราชการ ตามมาตรา ๗ แหง พ.ร.ฎ. คาเชาบาน
ขา ราชการ
163 ๑๐๗
164
๑๐๘
16๑5๑๒
๑๑๕
166
16๑7๑๖
16๑8๑๗
๑๒๐
169
17๑0๒๑
171๑๒๒
17๑2๒๓
173๑๒๖
174๑๒๗
175๑๒๘
176๑๒๙
1๑7๓7๐
178๑๓๓
179๑๓๔
1๑8๓0๕
1๑8๓1๖
182
๑๓๗
183 ๑๓๘
184๑๓๙
บทความเผยแพร่ใน ACT NEWS 185๑๖๐
ถกู ปลด ... เพราะละทง้ิ นา้ ท่ีเกิน 15 นั โดยไม่มีเ ตุอันค ร !
นายนริ ัญ อินดร พนกั งานคดีปกครองชานาญการ
กลุ่มเผยแพร่ขอ้ มลู ทาง ิชาการและ าร าร
านัก ิจยั และ ิชาการ านกั งาน าลปกครอง
Topic : าระด.ี .ด.ี . จากคดปี กครอง
กรณีข้าราชการ รือเจ้า น้าที่ละท้ิง น้าที่ราชการติดต่อในครา เดีย กันเกิน 15 ัน โดยไม่มี
เ ตุอัน มค รนน้ั ถือเปน็ ค ามผิด ินยั อย่างร้ายแรงตามกฎ มายระเบียบข้าราชการพลเรือน ซึ่งอาจถูกลงโท
ปลดออก รือไลอ่ อกจากราชการ ทงั้ นี้ ในการอ้างเ ตุผล ่าไม่อาจมาปฏิบัติราชการได้ จะต้องมีพยาน ลักฐาน
ทีร่ ับฟงั ได้ การอ้าง า่ ตนถกู ปองร้ายจนไม่ ามารถมาทางานไดโ้ ดยมีเพียงบันทึกรับแจ้งค ามประจา ันเป็น ลักฐาน
โดยไม่มีพยาน ลักฐานอื่นใดน้ันไม่อาจรับฟังได้ อีกท้ังการกลับมาปฏิบัติงานในภาย ลังก็ไม่ถือเป็นเ ตุ
ใ ้ลดโท โดยลงโท ตา่ ก า่ ปลดออกจากราชการได้
คา าคัญ : ินัยอยา่ งร้ายแรง, ละทงิ้ น้าท่รี าชการ, ไม่มีเ ตุอนั มค ร
เ ตเุ ดอื ดร้อนของผู้ฟ้องคดี
มูลเ ตุของข้อพิพาท ืบเนื่องจาก...นาย นุ่มซึ่งเป็นข้าราชการไม่มาปฏิบัติราชการติดต่อ
ในครา เดีย กันเกินก ่า 15 ัน โดยอ้างเ ตุ ่าตนถูกปองร้ายท่ีบ้านและระ ่างการเดินทางมาทางาน ทาใ ้
ไม่อาจมาทางานได้ และได้ไปแจ้งค ามไ ้ท่ี ถานีตาร จแล้ ซึ่งบาง ันตนได้มาทางานแต่มิได้ลงชื่อในบัญชี
ลงเ ลาเนื่องจากถูกกล่ันแกล้งเอาบัญชีไปเก็บไ ้ ลังจากมีการต้ังคณะกรรมการ อบ น ินัยอย่างร้ายแรง
ซ่ึงปรากฏข้อเท็จจริงตามรายงานการ อบ น ่า นาย นุ่มขาดราชการตั้งแต่ ันที่ 28 เม ายน 2552 ถึง ันที่
20 พฤ ภาคม 2552 ร มจาน น 23 นั โดยไม่มีเ ตุอัน มค ร ผู้บังคับบัญชาพิจารณาแล้ จึงมีคา ั่งลงโท
ปลดออกจากราชการ ฐานละท้ิง น้าที่ราชการติดต่อในครา เดีย กันเป็นเ ลาเกิน 15 ัน โดยไม่มีเ ตุ
อัน มค ร ตามมาตรา 85 (3) แ ่งพระราชบัญญัติระเบยี บข้าราชการพลเรือน พ. . 2551
นาย นุ่มได้อุทธรณ์คา ่ังลงโท ดังกล่า และคณะกรรมการพิทัก ์ระบบคุณธรรม
มีคา ินิจฉัยใ ้ยกอุทธรณ์ เป็นเ ตุใ ้นาย นุ่มนาคดีมาฟ้อง าลปกครอง โดยอ้าง ่าตนมิได้ขาดราชการ
ต่อเน่ืองเกินก ่า 15 ัน เพราะบาง ันได้มาทางานแต่มิได้ลงเ ลา ร มทั้งตนมิได้ขาดราชการไปเลยแต่ได้
กลับมาปฏิบัติงานในภาย ลัง จึงขอใ ้ าลมีคาพิพาก าเพิกถอนคา ั่งปลดออกจากราชการและเพิกถอน
คา ินจิ ฉยั อุทธรณด์ งั กลา่
ค ามเปน็ ธรรม ... จากคาพพิ าก า าลปกครอง
คดีนี้มีข้อกฎ มายที่ าคัญ คือ มาตรา 85 แ ่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน
พ. . 2551 ซ่ึงบัญญัติ ่า การกระทาผิด ินัยในลัก ณะดังต่อไปน้ี เป็นค ามผิด ินัยอย่างร้ายแรง
(3) ละท้ิง น้าท่ีราชการติดต่อในครา เดีย กันเป็นเ ลาเกิน ิบ ้า ันโดยไม่มีเ ตุอัน มค ร รือโดย
มีพฤติการณ์อันแ ดงถึงค ามจงใจไม่ปฏิบัติตามระเบียบของทางราชการ บทบัญญัติน้ีมีค าม มาย
่า ข้าราชการนั้นไม่ได้มาปฏิบัติ น้าท่ีราชการ โดยไม่ ามารถติดตามตั ได้ต้ังแต่แรกท่ีไม่มาปฏิบัติ น้าท่ี
ราชการนับเป็นเ ลาตดิ ตอ่ ครา เดีย กนั เกินก า่ 15 นั โดยตอ้ งพิจารณา า่ มเี ตผุ ลอัน มค ร รือไม่
ปัญ า (1) ผู้ฟ้องคดีละทิ้ง น้าราชการติดต่อในครา เดีย กันเกิน 15 ัน โดยไม่มี
เ ตอุ ัน มค ร รอื ไม่ ?
186๑๖๑
าลปกครอง ูง ุด ินิจฉัย ่า เม่ือผู้ฟ้องคดีไม่ได้มาลงช่ือปฏิบัติราชการตั้งแต่ ันท่ี 28
ถึง ันท่ี 20 พฤ ภาคม 2552 และไม่ได้ยื่นใบลาต่อผู้บังคับบัญชา โดยเมื่อพิจารณา ันที่ผู้ฟ้องคดีไม่ได้มา
ลงชื่อปฏิบัติราชการและไม่ได้ย่ืนใบลานับต่อเน่ืองกันไปทุก ันร มทั้ง ัน ยุดราชการที่อยู่ในระ ่างนั้นด้ ย
ถือ ่าผู้ฟ้องคดีขาดราชการในครา เดีย กันเป็นเ ลาเกิน 15 ัน ตามนัยมาตรา 85 (3) แ ่งพระราชบัญญัติ
ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ. . 2551 ผู้ฟ้องคดีปฏิบัติราชการมานานและได้รับมอบ มายใ ้ทา น้าที่
ร บร ม นั ลาของขา้ ราชการ จึงย่อมทราบระเบียบปฏิบตั ิเกี่ย กบั การลา รือการไม่มาปฏบิ ัติราชการเป็นอยา่ งดี
และย่อมทราบ ่าบัญชีการลงเ ลาการปฏิบัติราชการถือเป็น ลักฐาน าคัญท่ีแ ดงใ ้เ ็น ่าข้าราชการ
ท่ีลงชื่อได้มาปฏิบัติงาน และจากการ อบถามเจ้า น้าท่ีใน น่ ยงานก็ใ ้การ อดคล้องกัน ่า น่ ยงาน
ไดม้ แี น ปฏบิ ตั ใิ นการลงเ ลาปฏบิ ตั ิราชการทีบ่ ุคลากรต่างทราบและเข้าใจเป็นอยา่ งดี
ฉะนัน้ ากผู้ฟอ้ งคดีมาปฏิบัติงานจริง ย่อมค รข นข ายลงเ ลาปฏิบัติราชการในบัญชีลงเ ลา
รือ ากมีการกล่ันแกล้งนาบัญชีไปซ่อน ผู้ฟ้องคดีก็ ามารถแจ้งปัญ าต่อผู้บังคับบัญชาท่ีเ นือขึ้นไปได้
ประกอบกับไม่ปรากฏ ลักฐาน ่าผู้ฟ้องคดีเจ็บป่ ย รือประ บปัญ าถึงขนาดไม่ ามารถเดินทางมา
ปฏบิ ัตริ าชการ รอื ยื่นใบลาได้ ร มทั้งไม่มีพยานบุคคล รือพยาน ลักฐานใดแ ดง ่าผู้ฟ้องคดีถูกปองร้าย
ตามที่กล่า อ้าง คงมีแต่เพียงรายงานประจา ันรับแจ้งค ามของ ถานีตาร จเป็น ลักฐานเท่าน้ัน
พฤติการณ์ของผู้ฟ้องคดีจึงเป็นการละทิ้ง น้าท่ีราชการติดต่อในครา เดีย กันเป็นเ ลาเกิน 15 ัน
โดยไมม่ เี ตุอัน มค ร อันเป็นค ามผิด นิ ยั อยา่ งรา้ ยแรง
ปัญ า (2) คา ่งั ลงโท ปลดผู้ฟ้องคดีออกจากราชการชอบด้ ยกฎ มาย รือไม่ ?
าลปกครอง ูง ุด ินิจฉัย ่า เม่ือผู้ฟ้องคดีละทิ้ง น้าที่ราชการติดต่อในครา เดีย กัน
เป็นเ ลาเกิน 15 ัน โดยไม่มีเ ตุอัน มค ร อันเป็นค ามผิด ินัยอย่างร้ายแรง ตามมาตรา 85 (3)
แ ่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ. . 2551 ซ่ึงโท ท่ีลงได้ คือ ปลดออกกับไล่ออกจาก
ราชการฐานใดฐาน นึ่งตามมาตรา 97 รรค น่งึ แ ง่ พระราชบญั ญัตเิ ดีย กัน การที่ผู้บังคับบัญชาลงโท
ปลดออกจากราชการ อนั เป็นโท ขัน้ ตา่ ุดท่กี ฎ มายกา นดไ ้ า รับการกระทาผิด ินัยอย่างร้ายแรง
ซ่ึงเป็นคุณแก่ผู้ฟ้องคดีแล้ คา ่ังลงโท ดังกล่า จึงเป็นการใช้ดุลพินิจโดยชอบด้ ยกฎ มาย และ
แมผ้ ูฟ้ อ้ งคดีจะได้กลบั มาปฏิบัติราชการในภาย ลัง ก็ไม่อาจนาเอาพฤติการณ์ดังกล่า มาเป็นเ ตุลด ย่อนโท
ใ ้ได้รับโท น้อยก ่าปลดออกจากราชการได้ (ผู้ นใจ ามารถ ึก ารายละเอียดเพ่ิมเติมได้จากคาพิพาก า
าลปกครอง ูง ดุ ที่ ฟ. 5/2562)
ลกั กฎ มายปกครองและบรรทดั ฐานการปฏิบตั ิราชการ
คาพิพาก า าลปกครอง ูง ุดในคดดี ังกลา่ เป็นอุทา รณ์ าคัญ า รับข้าราชการในเรื่อง
การมาปฏิบัติ น้าที่ราชการ โดยไม่อาจขาดราชการต่อเน่ืองเกินก ่า 15 ัน โดยไม่มีเ ตุผลอัน มค รได้
ซ่ึงถือเป็นค ามผิด ินัยอย่างร้ายแรงที่อาจถูกลงโท ปลดออก รือไล่ออกจากราชการ นอกจากนี้
การลงเ ลาปฏิบัติราชการถือเป็นธรรมเนียมปฏิบัติของการปฏิบัติราชการท่ีข้าราชการ รือเจ้า น้าท่ี
ของรัฐต้องถือปฏิบัติ บัญชีการลงเ ลาปฏิบัติราชการ จึงถือเป็น ิ่ง าคัญเพ่ือใ ้ทราบ ่าข้าราชการ รือ
เจ้า น้าทขี่ องรัฐมาปฏบิ ัติ น้าท่ีราชการ จึงไม่อาจอ้าง ่าไม่ ามารถลงชื่อได้เนื่องจากมีการนาบัญชีการลง
เ ลาไปซ่อน รือถูกกลั่นแกล้ง เพราะแม้เป็นจริงตามท่ีกล่า อ้าง ข้าราชการผู้นั้นจะต้องแจ้งปัญ าที่
เกิดขึ้นต่อผู้บังคับบัญชาท่ีเ นือข้ึนไปใ ้รับทราบมิใช่น่ิงเฉยโดยไม่ลงเ ลา ทั้งน้ี เพราะเ ลาในการปฏิบัติ
ราชการมีค าม าคัญและมีผลต่ออนาคตในการรับราชการครับ
(ปรึก าคดปี กครองได้ท่ี “ ายด่ น าลปกครอง 1355” และ บื ค้นบทค ามย้อน ลังได้ที่
www.admincourt.go.th เมนู ิชาการ เมนยู อ่ ยอุทา รณ์จากคดีปกครอง)
(บทความเผยแพร่ในหนังสือพิมพ์เดลินิวส์ ทุกวนั จันทร์ หน้า128) 7
๑๖๔
ไม่แจ้งถ้อยคาพยานในช้ันสอบสวน...เท่ากบั ไม่ให้โอกาสคู่กรณี !!!
โดย... ลงุ เป็ นธรรม
สายด่วนศาลปกครอง 1355
ส่วนท่ี 1 สิทธิของคู่กรณีในการพจิ ารณาทางปกครอง
เมื่อวนั ก่อนลุงเป็ นธรรมไดม้ ีโอกาสพดู คุยกบั เจา้ หนา้ ที่จากหลายเทศบาล ซ่ึงเป็ นการแลกเปล่ียนความรู้กนั
ในเร่ืองของกฎหมายวธิ ีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง ในประเดน็ เก่ียวกบั ลกั ษณะของการใชอ้ านาจทางปกครอง ไม่วา่ จะเป็ น
การออกกฎ คาส่งั ทางปกครอง หรือการกระทาอ่ืน ตลอดจนการเตรียมการและการดาเนินการของเจา้ หน้าท่ีเพื่อจดั ให้มี
คาสง่ั ทางปกครองหรือกฎ และรวมถึงการดาเนินการใด ๆ ในทางปกครอง ซ่ึงกค็ ือ “วธิ ีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง” นนั่ เองครับ
สาหรับ “วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง” ตามท่ีกาหนดไวใ้ นพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการ
ทางปกครอง พ.ศ. 2539 ก็มีอยดู่ ว้ ยกนั หลายประการ ไม่ว่าจะเป็ นหลกั การกระทาทางปกครองตอ้ งกระทาโดยเจา้ หน้าท่ี
ที่มีอานาจ หลกั ความเป็ นกลาง สิทธิของคู่กรณี รูปแบบเน้ือหาและผลของคาส่ังทางปกครอง รวมถึงหลกั ในการแกไ้ ข
ขอ้ บกพร่องหรือการทบทวนคาสง่ั ทางปกครอง
ส่วนประเด็นที่ไดร้ ับความสนใจไต่ถามกนั อย่างมากก็ไม่พน้ เร่ือง “สิทธิของคู่กรณี” โดยสิทธิเหล่าน้ี
เป็ นสิทธิตามที่กฎหมายกาหนดให้เจ้าหน้าท่ีต้องให้แก่ผู้ท่ีเข้ามาเป็ นคู่กรณีในกระบวนการพิจารณาทางปกครอง เวน้ แตจ่ ะมี
กฎหมายกาหนดไวเ้ ป็ นอยา่ งอ่ืน โดยสิทธิของคูก่ รณีตามที่กฎหมายวธิ ีปฏิบตั ิราชการทางปกครองกาหนดไวก้ ็มีอยมู่ ากมาย
หลายกรณี อาทิ สิทธิในการคัดค้านเจ้าหน้าท่ีท่ีอาจไม่มีความเป็ นกลาง สิทธิในการได้รับทราบข้อเท็จจริงอย่างเพียงพอและ
มีโอกาสได้โต้แย้งและแสดงพยานหลกั ฐาน รวมถึงสิทธิท่ีจะได้รับทราบเหตผุ ล และสิทธิในการได้รับแจ้งวิธีการอุทธรณ์
เป็ นต้น ซ่ึงหากเจา้ หนา้ ท่ีไม่ไดใ้ หโ้ อกาสเหล่าน้ีแก่คูก่ รณี ในบางกรณีกอ็ าจทาให้คาสง่ั ทางปกครองน้นั ไมช่ อบดว้ ยกฎหมาย
และอาจถูกเพกิ ถอนไดน้ ะครับ (ท่านผ้อู ่านสามารถดูรายละเอียดเก่ียวกับสิทธิของคู่กรณีเพิ่มเติมได้จากแผนภาพ)
188๑๖๕
สาหรับสิทธิของคู่กรณีที่ลุงเป็ นธรรมจะมาเล่าให้แก่ท่านผูอ้ ่านทุกท่านก็จะเป็ นเร่ืองของสิทธิในการ
ได้รับทราบข้อเท็จจริงอย่างเพียงพอและมีโอกาสได้โต้แย้งและแสดงพยานหลกั ฐานนนั่ เอง ท้งั น้ี เพื่อเป็ นการเปิ ดโอกาสให้
คู่กรณีท่ีอาจไดร้ ับผลกระทบจากผลของคาสง่ั ทางปกครองไดม้ ีโอกาสตอ่ สูป้ กป้ องตนเอง อนั เป็ นหลกั การพ้ืนฐานของสิทธิ
เสรีภาพของบุคคลที่รัฐมีหนา้ ที่ตอ้ งใหค้ วามคุม้ ครอง
ปัญหาจึงมีอยู่ว่า ในกระบวนการเตรียมการและการดาเนินการของเจ้าหน้าท่ีเพื่อจดั ให้มีคาสั่งทาง
ปกครอง หรือท่ีเรียกว่า “การพิจารณาทางปกครอง” หากเจ้าหน้าท่ีนั้นไม่ได้เปิ ดโอกาสให้คู่กรณีได้รับทราบข้อเท็จจริง
อย่างเพียงพอและมีโอกาสได้โต้แย้งและแสดงพยานหลกั ฐาน คาสั่งทางปกครองของเจ้าหน้าที่นั้นจะเป็ นคาสั่งทางปกครอง
ที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย จนเป็ นเหตใุ ห้ถกู เพิกถอน หรือไม่ ???
ส่วนท่ี 2 ไม่แจ้งถ้อยคาพยานในช้ันสอบสวน...เท่ากบั ไม่ให้โอกาสคู่กรณี !!!
อยา่ งที่ลุงเป็ นธรรมไดก้ ลา่ วไวต้ อนตน้ วา่ สิทธิในการไดร้ ับทราบขอ้ เท็จจริงอยา่ งเพียงพอและมีโอกาส
ไดโ้ ตแ้ ยง้ และแสดงพยานหลกั ฐาน เป็ นสิทธิท่ีกฎหมายวธิ ีปฏิบตั ิราชการทางปกครองกาหนดรับรองไว้ ในกรณีที่คาสั่งทาง
ปกครองอาจกระทบถึงสิทธิของคู่กรณี เจา้ หนา้ ท่ีตอ้ งใหค้ ู่กรณีมีโอกาสเช่นวา่ น้นั เวน้ แต่จะมีกฎหมายกาหนดไวเ้ ป็ นอยา่ งอ่ืน
(ท่านสามารถศึกษาขอ้ ยกเวน้ ของกฎหมายดงั กล่าวไดใ้ นส่วนที่ 3)
จากหลกั กฎหมายข้างต้นสามารถอธิบายได้ว่า ในกรณีที่เจ้าหน้าที่จะออกคาสั่งทางปกครองใด
และคาส่ังทางปกครองนั้นอาจมีผลกระทบต่อสถานภาพแห่งสิทธิหรือหน้าที่ของผู้รับคาส่ัง ซ่ึงคาว่า “กระทบสิทธิ”
หมายถึง กระทบต่อสิทธิที่กฎหมายรับรองหรือคุ้มครองไว้ หรือกระทบต่อสิทธิที่ได้รับความคุมครองหรือรับรองไว้
โดยเจ้าหน้าท่ีน่ันเองครับ !!!
เมื่อเป็ นเช่นน้ีก่อนออกคาส่งั ทางปกครอง เจา้ หนา้ ท่ีผอู้ อกคาสั่งจึงต้องให้โอกาสค่กู รณีผ้ทู อี่ ย่ใู นบังคับ
ของคาส่ังทางปกครองน้ันได้ทราบข้อเท็จจริงอย่างเพียงพอ และมีโอกาสได้โต้แย้งและแสดงพยานหลกั ฐาน เพ่ือปกป้ อง
สิทธิของตนเองจากการใช้อานาจของรัฐ !!!
ในกรณีน้ี ลุงเป็ นธรรมก็มีอทุ าหรณ์จากคดีปกครองมาฝากครับ
เร่ืองมีอยวู่ า่ นางสาวผกาเป็ นพนกั งานจา้ งตามภารกิจ ตาแหน่งครูผดู้ ูแลเด็กอนุบาลและปฐมวยั สังกดั
เทศบาลตาบลแห่งหน่ึง ถูกร้องเรียนว่าประพฤติตวั ไม่เหมาะสมกบั เด็กนกั เรียนและผูป้ กครอง นายกเทศมนตรีจึงมีคาสั่ง
แต่งตง้ั คณะกรรมการสอบข้อเทจ็ จริงในกรณีดงั กล่าว
ในการสอบสวนขอ้ เท็จจริง คณะกรรมการสอบสวนได้มีการสอบปากคาพยานบุคคลจานวน 6 ปาก
และให้นางสาวผกาในฐานะผู้ถูกกล่าวหาช้ีแจง โดยที่ไม่ได้มีการแจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐานที่สนับสนุน
ข้อกล่าวหาให้นางสาวผกาได้ทราบตามความจาเป็ นแก่กรณี โดยเฉพาะอย่างย่ิงถ้อยคาของพยานบุคคลดังกล่าวด้วย
ทาใหน้ างสาวผกาไมม่ ีโอกาสไดร้ ับทราบขอ้ เทจ็ จริงอยา่ งเพยี งพอและมีโอกาสไดโ้ ตแ้ ยง้ และแสดงพยานหลกั ฐานของตน
ต่อมา นายกเทศมนตรีได้มีคาส่ังลงโทษว่ากล่าวตักเตือน ซ่ึงนางสาวผกาเห็นว่า ในการสอบสวน
ข้อเท็จจริง คณะกรรมการไม่ได้ให้ โอกาสตนได้รับทราบข้อเท็จจริ งอย่างเพียงพอ และมีโอกาสได้โต้แย้งและแสดง
พยานหลกั ฐาน จึงไดย้ น่ื อุทธรณ์คาสง่ั ลงโทษดงั กล่าวตอ่ นายกเทศมนตรี แตก่ ไ็ ม่ไดร้ ับการพิจารณาแต่ประการใด
นางสาวผกาจึงนาคดีมายนื่ ฟ้ องนายกเทศมนตรี (ผถู้ กู ฟ้ องคดี) ต่อศาลปกครอง เพื่อขอให้เพิกถอนคาสั่ง
ลงโทษดงั กลา่ ว
คดีน้ีจึงมีประเด็นสาคัญที่ตอ้ งพิจารณาว่า นายกเทศมนตรีได้ให้โอกาสนางสาวผกาได้รับทราบ
ข้อเทจ็ จริงอย่างเพยี งพอและมโี อกาสได้โต้แย้งและแสดงพยานหลกั ฐานของตน หรือไม่ ???
189๑๖๖
ศาลปกครองสูงสุดท่านพิจารณาขอ้ เทจ็ จริงและขอ้ กฎหมายของคดีน้ีอยา่ งครบถว้ นแลว้ เห็นวา่ ในการ
ปฏิบตั ิหน้าที่ราชการโดยทวั่ ไป แมผ้ ูบ้ งั คบั บญั ชาจะมีอานาจหนา้ ที่ในการควบคุมดูแลผูใ้ ตบ้ งั คบั บญั ชาให้ปฏิบตั ิหนา้ ท่ี
ราชการให้เป็ นไปโดยถูกตอ้ งตามกฎหมายและระเบียบแบบแผนของทางราชการ ซ่ึงรวมถึงการว่ากล่าวตกั เตือน
ผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชาใหป้ ฏิบตั ิหนา้ ที่โดยถกู ตอ้ งตามระเบียบแบบแผนของทางราชการดว้ ยก็ตาม
แต่การว่ากล่าวตักเตือนนางสาวผกา เป็ นการใช้อานาจตามกหหมายในการดาเนินการทางวินัย ตามขอ้ 23
ขอ้ 24 ประกอบขอ้ 69 วรรคสาม ของประกาศคณะกรรมการพนักงานเทศบาลจังหวดั อุบลราชธานี เรื่อง หลกั เกณฑ์
และเง่ือนไขในการสอบสวน การลงโทษทางวินัย การให้ออกจากราชการ การอุทธรณ์ และการร้องทุกข์ ลงวนั ที่
16 มกราคม 2545 จึงไม่ใช่การใช้อานาจทวั่ ไปของผ้บู งั คบั บญั ชาซึ่งเป็ นมาตรการภายในฝ่ ายปกครองดงั กล่าว
กรณีจึงเป็ นการใช้อานาจตามกฎหมายของนายกเทศมนตรีในการดาเนินการทางวินัย ซ่ึงมีผลกระทบ
ต่อสถานภาพของสิทธิและหน้าทขี่ องนางสาวผกา อันมีลักษณะเป็ นคาสั่งทางปกครอง ตามมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญตั ิ
วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
ดังนั้น นายกเทศมนตรี ต้องให้โอกาสนางสาวผกาได้ทราบข้อเท็จจริ งอย่างเพียงพอและมีโอกาส
ได้โต้แย้งและแสดงพยานหลักฐานของตนเก่ียวกับการให้ ถ้อยคาของพยานบุคคลท้ัง 6 ราย ซ่ึงเป็ นพยานหลักฐาน
ที่สนับสนนุ ข้อกล่าวหาที่คณะกรรมการสอบข้อเทจ็ จริงและนายกเทศมนตรีใช้ประกอบการวินิจฉัยความผิดของนางสาวผกา
เมื่อนายกเทศมนตรีไม่ได้ให้โอกาสดงั กล่าวแก่นางสาวผกา และไม่ใช่กรณีที่เป็ นขอ้ ยกเวน้ ใหเ้ จา้ หนา้ ที่
ไม่ตอ้ งแจง้ ให้คู่กรณีทราบ ตามมาตรา 30 วรรคสอง และวรรคสาม แห่งพระราชบญั ญตั ิวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
พ.ศ. 2539 จึงเป็ นการขัดต่อมาตรา 30 แห่งพระราชบัญญัติดังกล่าว ประกอบข้อ 23 วรรคหน่ึงและวรรคสอง
ของประกาศคณะกรรมการพนกั งานเทศบาลจงั หวดั อุบลราชธานี เร่ือง หลกั เกณฑแ์ ละเง่ือนไขในการสอบสวน การลงโทษ
ทางวนิ ยั การใหอ้ อกจากราชการ การอุทธรณ์ และการร้องทุกข์ ลงวนั ที่ 16 มกราคม 2545
การท่ีนายกเทศมนตรีมีหนังสือว่ากล่าวตักเตือนนางสาวผกา จงึ เป็ นการกระทาทไี่ ม่ชอบด้วยกหหมาย
ศาลปกครองสูงสุดพพิ ากษาให้เพกิ ถอนหนงั สือว่ากล่าวตักเตือนดงั กล่าว
กล่าวโดยสรุปไดว้ า่ สิทธิของคู่กรณีในกระบวนการพิจารณาทางปกครองเป็ นเรื่องสาคญั ที่ประชาชน
ตอ้ งรู้เพ่ือปกป้ องรักษาสิทธิของตน และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง เจา้ หน้าที่ของรัฐตอ้ งศึกษาเรื่องดงั กล่าวให้ถ่องแท้ เนื่องจาก
เจ้าหน้าท่ีของรัฐเป็ นผูม้ ีอานาจตามท่ีกฎหมายกาหนด จึงจาเป็ นตอ้ งใชอ้ านาจน้ันให้เกิดความเป็ นธรรมแก่ประชาชน
นอกจากน้ี หลายท่านคงจะเคยได้ยินคาว่า “เหรี ยญมีสองด้าน” ฉะน้ัน ในวนั ใดวนั หน่ึงขา้ งหน้า เจ้าหน้าท่ีของรัฐ
อาจกลายเป็ นคู่กรณีเสียเอง ความเขา้ ใจเก่ียวกบั สิทธิของคู่กรณีดงั กล่าวกอ็ าจช่วยปกป้ องสิทธิของท่านไดค้ รับ...
(ผู้สนใจศึกษารายละเอียดได้จากคาพิพากษาศาลปกครองสูงสุดท่ี อบ. 12/2562 และสามารถสืบค้น
บทความย้อนหลงั ได้ที่ www.admincourt.go.th เมนูวิชาการ เมนูย่อยอุทาหรณ์จากคดีปกครอง)
ส่วนที่ 3 รู้ทนั สิทธิทจ่ี ะได้รับทราบข้อเทจ็ จริงและโต้แย้งแสดงพยานหลกั ฐาน
ในกรณีที่คาสั่งทางปกครองใดอาจกระทบถึงสิทธิของคู่กรณี เจ้าหน้าท่ีตอ้ งให้คู่กรณีมีโอกาสที่จะ
ไดท้ ราบขอ้ เท็จจริงอยา่ งเพียงพอ และมีโอกาสไดโ้ ตแ้ ยง้ และแสดงพยานหลกั ฐานของตน แต่มิใหน้ ามาใชบ้ งั คบั ในกรณี
ดงั ต่อไปน้ี (1) เม่ือมีความจาเป็ นรีบด่วนหากปล่อยให้เน่ินชา้ ไปจะก่อให้เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรงแก่ผูห้ น่ึงผูใ้ ด
หรือจะกระทบตอ่ ประโยชนส์ าธารณะ (2) เม่ือจะมีผลทาใหร้ ะยะเวลาที่กฎหมายหรือกฎกาหนดไวใ้ นการทาคาสง่ั ทางปกครอง
ตอ้ งลา่ ชา้ ออกไป (3) เมื่อเป็ นขอ้ เทจ็ จริงที่คู่กรณีน้นั เองไดใ้ หไ้ วใ้ นคาขอ คาใหก้ ารหรือคาแถลง (4) เม่ือโดยสภาพเห็นไดช้ ดั
ในตวั วา่ การให้โอกาสดงั กล่าวไม่อาจกระทาได้ (5) เม่ือเป็ นมาตรการบงั คบั ทางปกครอง และ (6) กรณีอื่นตามที่กาหนด
ในกฎกระทรวง เวน้ แต่เจ้าหน้าที่จะเห็นสมควรปฏิบัติเป็ นอย่างอื่น รวมท้ัง ห้ามมิให้เจ้าหน้าท่ีให้โอกาสดังกล่าว
ถา้ จะก่อใหเ้ กิดผลเสียหายอยา่ งร้ายแรงต่อประโยชนส์ าธารณะ
190 ๑๖๗
สาหรับการดาเนินการทางวนิ ยั แก่พนกั งานเทศบาล ที่ถูกกล่าวหาวา่ กระทาผิดวินยั ใหส้ อบสวนโดยไม่
ชกั ชา้ และตอ้ งแจง้ ขอ้ กล่าวหาและสรุปพยานหลกั ฐานที่สนบั สนุนขอ้ กล่าวหาเท่าท่ีมีให้ผูถ้ ูกกล่าวหาทราบ และตอ้ งให้
โอกาสผถู้ ูกกลา่ วหาช้ีแจงและนาสืบแกข้ อ้ กล่าวหาไดด้ ว้ ย โดยผกู้ ลา่ วหาผถู้ ูกกล่าวหามีสิทธินาทนายความหรือที่ปรึกษาเขา้
ฟังการช้ีแจงหรือการให้ปากคาของตนได้ และถา้ การดาเนินการน้ีเป็ นกรณีกล่าวหาว่ากระทาผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง
ใหด้ าเนินการสอบสวนตามวธิ ีการท่ีนายกเทศมนตรีเห็นสมควร ท้งั น้ี ตามมาตรา 30 แห่งพระราชบญั ญตั ิวธิ ีปฏิบตั ิราชการ
ทางปกครอง พ.ศ. 2539 ประกอบขอ้ 23 วรรคหน่ึงและวรรคสอง ของประกาศคณะกรรมการพนักงานเทศบาลจงั หวดั
อุบลราชธานี เรื่อง หลกั เกณฑ์และเงื่อนไขในการสอบสวน การลงโทษทางวินัย การให้ออกจากราชการ การอุทธรณ์
และการร้องทุกข์ ลงวนั ท่ี 16 มกราคม 2545
-----------------------------------------------
1๑9๗1๑
“การแจง้ ขอ้ กลา่ าใ ผ้ ูถ้ ูกกล่า าทราบโดยชอบด้ ยกฎ มาย”
นาง า จิดาภา มุ กิ ธนเ ฏฐ์ พนักงานคดีปกครองชาํ นาญการ
กล่มุ เผยแพร่ข้อมูลทาง ชิ าการและ าร าร
าํ นัก จิ ัยและ ิชาการ ํานักงาน าลปกครอง
ในการดําเนินการทาง ินัย พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ. . 2551
ประกอบกับกฎ ก.พ. ฉบับท่ี 18 (พ. . 2540) ออกตามค ามในพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการ
พลเรือน พ. . 2535 ่าด้ ยการ อบ นพิจารณา กํา นดเกี่ย กับการแจ้งแบบ . 2 (บันทึกการแจ้ง
และรับทราบข้อกล่า า) และแบบ 3. (บันทึกการแจ้งและรับทราบข้อกล่า าและ รุป
พยาน ลักฐานที่ นับ นุนข้อกล่า า) ไ ้ทํานองเดีย กับการดําเนินการทาง ินัยแก่ข้าราชการครูและ
บุคลากรทางการ ึก าในพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการ ึก า พ. . 2547
ประกอบกับกฎ ก.ค. . ่าด้ ยการ อบ นพิจารณา พ. . 2550 ซึ่ง รุป าระ ําคัญได้ ่า การแจ้งและ
อธบิ ายขอ้ กล่า าใ ผ้ ู้ถูกกลา่ าทราบ ่าได้กระทําการใด เม่ือใด อย่างไร ต้องทําเป็นบันทึกการแจ้งและ
รับทราบขอ้ กล่า าตามแบบ . 2 ในกรณที ี่ผูถ้ กู กลา่ ามา แตไ่ ม่ยอมลงลายมอื ชอ่ื รบั ทราบข้อกล่า า
รอื ไมม่ ารับทราบขอ้ กล่า า คณะกรรมการ อบ นจะตอ้ ง ง่ แบบ . 2 จําน น องฉบับทางไปร ณีย์
ลงทะเบียนตอบรับไปใ ้ผู้ถูกกล่า า ณ ท่ีอยู่ของผู้ถูกกล่า า ซ่ึงปรากฏตาม ลักฐานของทางราชการ
รือ ถานที่ติดต่อท่ีผู้ถูกกล่า าแจ้งใ ้ทราบ พร้อมท้ังมี นัง ือ อบถาม ่าได้กระทําตามที่ถูกกล่า า รือไม่
โดยใ ้ผู้ถูกกล่า าเก็บไ ้ น่ึงฉบับและใ ้ผู้ถูกกล่า าลงลายมือชื่อ และ ัน เดือน ปีท่ีรับทราบ ่งกลับคืนมา
ร มไ ้ใน ําน นการ อบ น น่ึงฉบับ เม่ือล่ งพ้น ิบ ้า ันนับแต่ ันท่ีได้ดําเนินการดังกล่า ากไม่ได้รับ
แบบ . 2 คนื มา ใ ถ้ อื ่าผู้ถูกกลา่ าได้ทราบขอ้ กล่า าแล้
และเมื่อคณะกรรมการ อบ นร บร มพยาน ลักฐานที่เก่ีย ข้องเ ร็จ จะต้องเรียกใ ้
ผู้ถูกกล่า ามาพบเพื่อแจ้งข้อกล่า าและ รุปพยาน ลักฐานที่ นับ นุนข้อกล่า า ่าผู้ถูกกล่า า
กระทําผิด ินัยกรณีใด ตามมาตราใด โดยทําเป็นบันทึกตามแบบ . 3 ในกรณีที่ผู้ถูกกล่า ามา
แต่ไม่ยอมลงลายมือชื่อเพ่ือรับทราบ รือไม่มารับทราบข้อกล่า าและ รุปพยาน ลักฐานที่ นับ นุน
ขอ้ กลา่ า คณะกรรมการ อบ นจะตอ้ ง ่งแบบ . 3 จาํ น น องฉบบั ทางไปร ณีย์ลงทะเบียนตอบรับ
ไปใ ้ผู้ถูกกล่า า ณ ที่อยู่ของผู้ถูกกล่า า ซึ่งปรากฏตาม ลักฐานของทางราชการ รือ ถานท่ีติดต่อท่ี
ผู้ถูกกล่า าแจ้งใ ้ทราบ พร้อมทั้งมี นัง ือขอใ ้ผู้ถูกกล่า าชี้แจง นัดมาใ ้ถ้อยคําและนํา ืบ
แก้ข้อกล่า า โดยใ ้ผู้ถูกกล่า าเก็บไ ้ น่ึงฉบับและใ ้ผู้ถูกกล่า าลงลายมือชื่อ และ ัน เดือน ปี
ที่รับทราบ ่งกลับคืนมาร มไ ้ใน ําน นการ อบ น นึ่งฉบับ เม่ือล่ งพ้น ิบ ้า ันนับแต่ ันที่ได้
ดําเนินการดังกล่า ากไม่ได้รับแบบ . 3 คืน รือไม่ได้รับคําชี้แจงจากผู้ถูกกล่า า รือผู้ถูกกล่า า
ไม่มาใ ้ถ้อยคําตามนัดใ ้ถือ ่าผู้ถูกกล่า าได้ทราบข้อกล่า าและ รุปพยาน ลักฐานท่ี นับ นุน
ขอ้ กล่า าแล้ และไมป่ ระ งค์ท่ีจะแกข้ ้อกลา่ า
คดีปกครองในฉบับนี้ถือ ่าเป็นบรรทัดฐานการปฏิบัติราชการที่ดีเกี่ย กับรูปแบบ
ขั้นตอน และ ิธีการเรื่องการแจ้งแบบ . 2 และแบบ . 3 ใ ้ผู้ถูกกล่า าทราบโดยชอบด้ ยกฎ มาย
ท้ังน้ี เน่ืองจากข้ันตอนในการแจ้งข้อกล่า าและ รุปพยาน ลักฐานที่ นับ นุนข้อกล่า าเท่าที่มีใ ้
ผู้ถูกกล่า าทราบ เพื่อใ ้ผู้ถูกกล่า ามีโอกา ชี้แจงและนํา ืบแก้ข้อกล่า า ถือเป็นรูปแบบ ขั้นตอน
และ ิธีการอันเป็น าระ ําคัญที่กฎ มายกํา นดใ ้ต้องปฏิบัติอย่างเคร่งครัด ากดําเนินการไม่ถูกต้อง
19๑2๗๒
ตามรูปแบบ ข้ันตอนและ ิธีการท่ีกฎ มายกํา นด ย่อมมีผลทําใ ้คํา ่ังลงโท ทาง ินัยไม่ชอบ
ด้ ยกฎ มาย ซึ่งแม้ ่าข้อพพิ าทในคาํ พพิ าก า าลปกครอง ูง ดุ ทนี่ ํามาเปน็ ตั อยา่ งน้ีจะเป็นเรื่องข้ันตอน
และ ิธีการดําเนินการทาง ินัยกับข้าราชการครูตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากร
ทางการ ึก า พ. . 2547 ก็ตาม แต่คําพิพาก าของ าลปกครอง ูง ุดในคดีน้ีก็ ามารถนําไปใช้เป็น
บรรทัดฐานในการปฏิบัติราชการการท่ีดี ํา รับ น่ ยงานราชการโดยทั่ ไปท่ีมีกฎ มายกํา นดข้ันตอน
และ ิธีการดาํ เนินการทาง ินัยในทาํ นองเดยี กนั
ข้อเท็จจริงในคดีน้ี คือ ในการประชุมครู ผู้ถูกฟ้องคดีที่ 1 (ผู้อําน ยการโรงเรียน) ซ่ึงเป็น
ประธานได้มีคํา ั่งใ ้ผู้ฟ้องคดีอยู่ร่ มในการประชุม และไม่อนุญาตใ ้ผู้ใดออกจาก ้องประชุมก่อน
การประชุมเ ร็จ ้ิน แต่ผู้ฟ้องคดีไม่ปฏิบัติตามคํา ั่งและพูดก่อนออกจาก ้องประชุม ่า “ผมจะออก
แปก็ ขนั้ กแ็ ป็ก ผมไมก่ ลั ”
ต่อมา ผู้ถูกฟ้องคดีท่ี 1 ได้มคี าํ ั่งแตง่ ตง้ั คณะกรรมการ อบ น นิ ยั ไม่ร้ายแรงแกผ่ ู้ฟอ้ งคดี
กรณีขัดคํา ่งั ผู้บงั คบั บัญชาท่ี ่ังโดยชอบด้ ยกฎ มาย
คณะกรรมการ อบ นได้ทําบันทึกข้อค ามถึงผู้ฟ้องคดีเพ่ือใ ้มารับฟังคําอธิบายและ
รับทราบข้อกล่า าตามแบบ . 2 ท่ี ้องอําน ยการ ใน ันที่ 4 มิถุนายน 2551 โดยนําไป างไ ้ท่ีโต๊ะ
ทํางานของผู้ฟ้องคดีเนื่องจากผู้ฟ้องคดีกําลัง อนอยู่ เมื่อ มดคาบ อน ผู้ฟ้องคดีได้ถือบันทึกดังกล่า มาที่
้องอําน ยการ และพูด ่า “ผมไม่เซ็นอะไรทั้งนั้นและไม่รับทราบอะไรทั้ง ้ิน” คณะกรรมการ อบ นจึงได้
จดแจ้ง มายเ ตุไ ้ในบันทึกดังกล่า ่า ผู้ถูกกล่า าไม่ยอมลงนามรับทราบเพื่อมารับทราบข้อกล่า า
และได้ดําเนินการ อบ นและรายงานการ อบ นตามแบบ . 6 โดยเ ็น ่า ผู้ถูกกล่า ามีพฤติการณ์
กระด้างกระเดื่องต่อผู้บังคับบัญชาโดยตลอด จึง มค รลงโท ตัดเงินเดือน 5% เป็นเ ลา 1 เดือน
ตามมาตรา 86 รรค น่ึง แ ่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการ ึก า พ. . 2547
ผู้ถูกฟ้องคดีท่ี 1 จึงมีคํา ่ังลงโท ตัดเงินเดือนผู้ฟ้องคดี 5% เป็นเ ลา 1 เดือน ผู้ฟ้องคดีอุทธรณ์คํา ั่งดังกล่า
ตอ่ ผู้ถูกฟอ้ งคดีที่ 2 (อ.ก.ค. . เขตพ้นื ทก่ี าร ึก า) แต่ผูถ้ ูกฟ้องคดที ี่ 2 มีมติใ ้ยกอุทธรณ์ของผู้ฟอ้ งคดี
ผู้ฟ้องคดีเ ็น ่า คํา ่ังของผู้ถูกฟ้องคดีท่ี 1 ไม่ชอบด้ ยกฎ มาย จึงนําคดีมาฟ้องต่อ
าลปกครองขอใ ้ าลมีคําพิพาก า รือคํา ่ังเพิกถอนคํา ่ังของผู้ถูกฟ้องคดีที่ 1 และเพิกถอนผล
การพิจารณาอุทธรณข์ องผ้ถู ูกฟ้องคดีท่ี 2
คดีนี้มีประเด็นปัญ าท่ี ําคัญ คือ คณะกรรมการ อบ นดําเนินการ อบ นตาม
ขน้ั ตอนและ ธิ ีการทั้งในข้นั ตอนการแจง้ แบบ . 2 และแบบ . 3 โดยชอบด้ ยกฎ มายแล้ รอื ไม่ ?
าลปกครอง ูง ุด ินิจฉัย ่า ในข้ันตอนการแจ้งและรับทราบข้อกล่า าตามแบบ . 2
ถือ ่าผู้ถูกกล่า าไม่มารับทราบข้อกล่า า คณะกรรมการ อบ นจะต้องดําเนินการ ่งบันทึก
ตามแบบ . 2 จําน น องฉบับทางไปร ณีย์ลงทะเบียนตอบรับไปใ ้ผู้ถูกกล่า าตามที่อยู่
ซง่ึ ปรากฏตาม ลักฐานของทางราชการ รือ ถานที่ติดต่อที่ผู้ถูกกล่า าแจ้งใ ้ทราบ โดยใ ้ผู้ถูกกล่า า
เกบ็ ไ ้ นง่ึ ฉบบั และใ ผ้ ู้ถูกกล่า าลงลายมือชื่อ และ ัน เดือน ปีท่ีรับทราบแล้ ่งคืนมาร มไ ้ใน ําน น
1๑9๗3๓
การ อบ น น่งึ ฉบบั โดยเมื่อล่ งพน้ บิ า้ นั นบั แต่ นั ท่ไี ด้ดาํ เนินการดังกล่า แล้ ากไม่ได้รับแบบ . 2
คืนมา ใ ้ถือ ่าผู้ถูกกล่า าได้ทราบข้อกล่า าแล้ ซึ่งกรณีดังกล่า ไม่ปรากฏข้อเท็จจริง ่า
คณะกรรมการ อบ นได้ดําเนินการแจ้งบันทึกการแจ้งและรับทราบข้อกล่า าตามแบบ . 2
ใ ้ผู้ฟ้องคดีทราบตามข้ันตอนและ ิธีการดังกล่า อันเป็นการไม่ได้ปฏิบัติตามข้อ 23 รรค ก ของกฎ
ก.ค. . ่าด้ ยการ อบ นพิจารณา พ. . 2550 จึงไม่อาจถือได้ ่ามีการแจ้งข้อกล่า าใ ้ผู้ฟ้องคดี
ทราบแล้ และการท่ีคณะกรรมการ อบ นทําบันทึกข้อค ามถึงผู้ฟ้องคดีเพื่อใ ้มารับฟังคําอธิบาย
และรับทราบข้อกล่า าตามแบบ . 2 โดยมีการจดแจ้งพฤติการณ์ของผู้ฟ้องคดีที่ไม่ยอมมารับทราบ
ข้อกล่า าไ ้ในบันทึกข้อค ามดังกล่า ไม่ใช่ ิธีการดําเนินการ อบ นตามท่ีกํา นดไ ้ในกฎ ก.ค. .
่าด้ ยการ อบ นพิจารณา พ. . 2550 ขอ้ 23
นอกจากนี้ ผู้ถูกฟ้องคดีทั้ง องได้ยอมรับ ่าไม่ได้แจ้งข้อกล่า าและ รุปพยาน ลักฐาน
ท่ี นับ นนุ ขอ้ กลา่ าตามแบบ . 3 ใ ผ้ ้ถู กู กล่า าทราบ โดยกล่า อ้าง ่าพฤติการณ์ของผู้ถูกกล่า า
ต้ังแต่รับแจ้งข้อกล่า า ตามแบบ . 2 ยังแข็งขืน จึงมีมูลอันค รเชื่อได้ ่าผู้ถูกกล่า าปฏิเ ธทุกกรณีท่ี
เก่ีย ข้องกับการ อบ น คณะกรรมการ อบ นจึงไม่จําต้องแจ้งข้อกล่า าและ รุปพยาน ลักฐาน
ที่ นับ นุนข้อกล่า า ตามแบบ . 3 อีก กรณีจึงเป็นการไม่ปฏิบัติตาม ลักเกณฑ์ขั้นตอนและ ิธีการ
ตามทก่ี ํา นดในขอ้ 24 รรค ก ของกฎ ก.ค. . ่าด้ ยการ อบ นพจิ ารณา พ. . 2550 และไม่อาจถือได้ ่า
มีการแจ้งข้อกล่า าและ รุปพยาน ลักฐานท่ี นับ นุนข้อกล่า าใ ้ผู้ฟ้องคดีทราบแล้
ผู้ฟอ้ งคดจี งึ ไมม่ ีโอกา ชแ้ี จงข้อเท็จจริงและนํา บื แกข้ ้อกลา่ า
การ อบ น ินัยไม่ร้ายแรงแก่ผู้ฟ้องคดีจึงมิได้ดําเนินการตามรูปแบบ ข้ันตอน
และ ิธีการอันเป็น าระ ําคัญตามที่กฎ มายกํา นดใ ้ต้องปฏิบัติ ผู้ถูกฟ้องคดีท่ี 1 จึงไม่อาจนําข้อเท็จจริง
และพยาน ลักฐานท่ีได้จากการ อบ นท่ีไม่ถูกต้องมารับฟังเพ่ือออกคํา ่ังลงโท ทาง ินัยแก่ผู้ฟ้องคดีได้
ดังนั้น การที่ผู้ถูกฟ้องคดีท่ี 1 มีคํา ่ังลงโท ตัดเงินเดือนผู้ฟ้องคดี 5% เป็นเ ลา 1 เดือน จึงเป็นคํา ่ังท่ี
ไม่ชอบด้ ยกฎ มาย และการที่ผู้ถูกฟ้องคดีท่ี 2 มีมติยกอุทธรณ์ของผู้ฟ้องคดีก็เป็นคํา ่ังท่ีไม่ชอบ
ด้ ยกฎ มายเชน่ กัน (คําพพิ าก า าลปกครอง งู ุด ท่ี อ. 716/2558)
จากคําพิพาก าดังกล่า เป็นการ างบรรทัดฐานการปฏิบัติราชการท่ีดีเก่ีย กับ
การดําเนินการ อบ น ินัย ซึ่งคณะกรรมการ อบ นจะต้องปฏิบัติตามขั้นตอนและ ิธีการเก่ีย กับ
การ อบ นตามที่กฎ มายกํา นดไ ้อย่างเคร่งครัด เช่น การแจ้งบันทึกการแจ้งและรับทราบ
ข้อกล่า าตามแบบ . 2 และการแจ้งข้อกล่า าและ รุปพยาน ลักฐานที่ นับ นุนข้อกล่า า
ตามแบบ . 3 ซึ่งทั้ง องกรณีดังกล่า ถือเป็นรูปแบบ ข้ันตอน และ ิธีการอันเป็น าระ ําคัญท่ีกฎ มาย
กํา นดใ ้ต้องปฏิบัติ ซ่ึง ากคณะกรรมการ อบ นทาง ินัยไม่ดําเนินการใ ้ถูกต้องตามรูปแบบ ข้ันตอน
และ ิธีการดังกล่า ย่อมไม่อาจนําข้อเท็จจริง รือพยาน ลักฐานท่ีรับฟังมาจากกระบ นการ อบ น
ที่ไมถ่ ูกตอ้ งมาใช้ได้ และ ากนาํ มาใชย้ ่อม ง่ ผลตอ่ คาํ งั่ ลงโท ทาง ินัยใ ้ไม่ชอบด้ ยกฎ มายได้