The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wonchai890, 2020-07-16 03:25:01

E-BOOK อานาปานสติ

E-BOOK อานาปานสติ

อานาปานสสฺ ติ ยสสฺ ปรปิ ุณฺณา สุภาวิตา
กาโยปิ อนญิ ฺชโิ ต โหติ จติ ตฺ มปฺ ิ โหติ อนิญฺชติ ํ.

สตกิ �ำหนดลมหายใจเข้าออก
อนั ผู้ใดอบรมบรบิ รู ณด์ แี ล้ว,
ทงั้ กายทัง้ จติ ของผนู้ ้ันกไ็ ม่หวนั่ ไหว.

(สารปี ุตตฺ ) ขุ.ปฏิ. ๓๑/๒๕๐.

อานาปานสติ ฝ่ายวปิ สั สนายานิก

หลักสตู รปริญญาตรี (ญาตปริญญา) ข้อปฏบิ ตั ิทีส่ มบูรณ์แบบทส่ี ดุ
โดย พระอาจารย์ทวิ า อาภากโร
พิมพค์ รง้ั ท่ี ๑: กรกฎาคม ๒๕๖๓
จำ� นวนพมิ พ:์ ๒,๐๐๐ เลม่
ผู้จดั พิมพ์: คณะศษิ ยานศุ ษิ ย์

ข้อมูลทางบรรณานุกรมของหอสมดุ แห่งชาติ
National Library of Thailand Cataloging in Publication Data

พระอาจารย์ทวิ า อาภากโร.
อานาปานสติ ฝา่ ยวิปัสสนายานกิ หลกั สตู รปริญญาตรี (ญาตปริญญา)

ขอ้ ปฏบิ ัตทิ ่ีสมบูรณ์แบบทส่ี ดุ .-- กรงุ เทพฯ : ศิลป์สยามบรรจภุ ณั ฑ์และการพิมพ,์ 2563.
152 หน้า.
1. วปิ ัสสนา. I. ช่ือเรือ่ ง.

294.3122
ISBN 978-616-8220-02-3

พิมพท์ ่ี : บริษทั ศิลปส์ ยามบรรจภุ ัณฑ์และการพมิ พ์ จ�ำกัด
๖๑ ซอยเลียบคลองภาษีเจรญิ ฝง่ั เหนอื ถนนเพชรเกษม ๖๙
แขวงหนองแขม เขตหนองแขม กรงุ เทพมหานคร
Tel. ๐-๒๔๔๔-๓๓๕๑-๒ E-mail: [email protected]

สารบัญ

สงั เขปประวัตพิ ระอาจารย์ทวิ า อาภากโร ๑
บทน�ำ ๔
ปฐมวาจา ๘
เมตตาและกรรม ๒๘
การฝึกท�ำสมาธภิ าวนา เมตตาพรหมวหิ าร ๓๘
การแผเ่ มตตาแบบอุเบกขาพรหมวิหาร ๔๘
ทางออกจากวฏั สงสาร ๕๓
อริยสัจ ๔ ๕๗
โพธิปกั ขยิ ธรรม ๓๗ ๖๓
วิสุทธิ ๗ ๗๖
คาถาธรรมบท: มที างนีเ้ ทา่ นั้นที่จะนำ� ไปสูค่ วามบรสิ ุทธ์ิแหง่ ทัศนะ ๙๐
(สวากขาโต) ๙๒
การปฏบิ ัติเขา้ มรรคแบบสวากขาโต ละธรรมอทุ ธัจจะ ๑๑๕
สมถยานกิ วิปัสสนายานิก ตอ้ งเข้ามรรค ละอทุ ธจั จะ อริยสัจ ๑๒๐
การปฏบิ ตั ิธรรมะในระบบอานาปานสติ ฝา่ ยวปิ สั สนายานิก

พระพุทธเจ้าบริบูรณ์ฌานสมาบัติ ๑ บริบูรณ์วิปัสสนา ๑
ล้างเช็ดอวัยวะทุกส่วนนะ ไม่ติดชาติภพ ไม่เกิดอีกทีนะนั่น
สำ� คญั ในตอนนท้ี เี ดยี ว สมถะนนั้ ไมใ่ หส้ ำ� เรจ็ ไดก้ เ็ พราะอยา่ งไร
คลา้ ยๆ กบั วา่ หนิ ทบั หญา้ ทบั หญา้ นะ เอาหนิ ออกแลว้ หญา้ ยอ่ ม
เกิดข้ึนอีกที น่ัน ยังมีเช้ือเจริญอยู่นะน่ัน อ�ำนาจวิปัสสนา
สำ� คัญนกั เชียว ร้แู จง้ แทงตลอดนะนน่ั รู้แจ้งแต่ศรี ษะ แทงนะ
แทงตลอดนะ รแู้ จง้ แทงตลอด นโิ รโธ ทำ� วา่ แจง้ แลว้ แทงตลอด
ไปถงึ เทา้ นะ แทงตลอดไปถงึ ศรี ษะนะ อนโุ ลม ปฏโิ ลม รอ้ ยครงั้
พนั ครงั้ แสนครง้ั ตัง้ โกฏๆิ นะ จงึ สำ� เรจ็ ได้ ใหช้ �ำนาญมาก
ทส่ี ดุ นะ ชำ� นาญทางสมถะหนง่ึ ชำ� นาญวปิ สั สนาหนง่ึ ทง้ั สอง
ชนดิ เทยี ว อนั นน้ั แหละ กำ� ลงั สองชนดิ นนี้ ะ จะลา้ ง ลา้ งอวยั วะ
รา่ งกาย ล้างอนุสยั ของจิตไม่ใหผ้ ุดอีกทีนะนัน่

หลวงปหู่ ลยุ จนั ทสาโร
วดั ถำ้� ผาบ้ิง อ�ำเภอวงั สะพงุ จังหวดั เลย

พระอาจารย์ทวิ า อาภากโร

พระอาจารย์ทิวา อาภากโร

สังเขปประวตั ิ
พระอาจารย์ทิวา อาภากโร

ชอ่ื พระภิกษทุ ิวา ฉายา อาภากโร นามสกุล เลี้ยวกลบั ถนิ่
เกดิ ท่ี แขวงพญาไท กรงุ เทพมหานคร
เม่ือวนั ที่ ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๗๖
สถานภาพก่อนอุปสมบท ส�ำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนนายเรือ
รับราชการในกองทัพเรอื ยศ นายเรอื ตรี
อุปสมบทเม่อื อายุ ๒๖ ปี เม่ือวันที่ ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๐๑
สถานทีอ่ ปุ สมบท วดั ปทมุ วนาราม กรุงเทพมหานคร
ช่ือพระอุปชั ฌาย์ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (จวน อุฏฐายี)

~1~

สังเขปประวตั ิ

เมอื่ ออกพรรษาแรกแลว้ กไ็ ดต้ ดิ ตามทา่ นพระอาจารยส์ มชาย ฐติ วริ โิ ย
(ตอ่ มาท่านไดต้ ง้ั สำ� นกั ปฏิบัตธิ รรมที่เขาสกุ มิ จงั หวัดจันทบุรี)
ตอ่ มาไดอ้ อกวเิ วกในปา่ และเขาเปน็ เวลาหลายปี ตอ่ มาไดท้ อ่ งเทย่ี วไป
หาครบู าอาจารยท์ จี่ ะสอนธรรมะภาคปฏบิ ตั ฝิ า่ ยวปิ สั สนายานกิ ทสี่ มบรู ณ์
แตก่ ็ไมพ่ บ
ตอ่ มาในปี พ.ศ. ๒๕๒๐ ไดม้ ีโอกาสมาอยู่และอปุ ฏั ฐากหลวงปู่หลุย
จนั ทสาโร ซงึ่ กำ� ลงั อาพาธ โดยอยจู่ ำ� พรรษากบั ทา่ นเพยี ง ๒ รปู ทส่ี วนปทมุ
ภาวนา จังหวดั ปทมุ ธานี ไดฟ้ งั ทา่ นเทศนต์ ลอดทั้งพรรษา จึงได้ทราบว่า
หลวงปหู่ ลยุ สอนธรรมะภาคปฏบิ ตั ฝิ า่ ยวปิ สั สนายานกิ ทส่ี มบรู ณแ์ บบทสี่ ดุ
จึงได้จดจ�ำค�ำสอนของท่านแล้วกน็ ำ� มาพัฒนาการสอนให้ชดั เจนย่ิงขนึ้
เร่มิ สอนบ้างเลก็ ๆ นอ้ ยๆ ให้แก่ผูท้ สี่ นใจปฏบิ ัติ ต่อมาจนถงึ ปัจจุบนั
เป็นเวลา ๓๐ กว่าปี จึงได้พัฒนาการสอนให้เป็นหลักสูตรตายตัวเลย
ทเี ดยี ว คือ อานาปานสติ ฝ่ายวปิ ัสสนายานกิ หลักสตู รปรญิ ญาตรี โดย

~2~

พระอาจารย์ทิวา อาภากโร

ใช้ค�ำสอนของพระพุทธเจ้าเป็นหลัก แต่การปฏิบัตินั้นใช้ประสบการณ์
ของครบู าอาจารยห์ ลายท่านซึง่ เขา้ กันไดก้ ับคำ� สอนของพระพุทธเจา้
จากประสบการณก์ ารสอนการเดนิ ทางเขา้ มรรคนน้ั สมเดจ็ พระสมั มา-
สมั พทุ ธเจา้ ตรสั วา่ เปน็ ทางเสน้ เดยี ว เปน็ ทางสายเอก เปน็ ไปของบคุ คล
แต่ผู้เดียว เป็นสัจธรรม คือมีหนึ่งเดียวเท่านั้น ถ้าสอนเหตุถูกต้องตาม
หลกั วชิ า ผลกจ็ ะเปน็ ไปตามหลกั วชิ าอย่างแนน่ อน
จึงหวังว่าผู้ท่ีได้อ่านหนังสือเล่มน้ีคงจะเข้าใจเร่ืองการเดินทาง
เข้าสู่ความพ้นทุกข์เบื้องต้นได้บ้างไม่มากก็น้อย และถ้ามีการผิดพลาด
ประการใด ขา้ พเจ้าขอนอ้ มรบั ค�ำตักเตือนดว้ ยความยินดเี ป็นอยา่ งยิ่งเพ่อื
ทจี่ ะให้การสอนสมบูรณ์แบบทสี่ ดุ ต่อไป

ดว้ ยจิตคารวะ
พระภิกษทุ ิวา อาภากโร
วันที่ ๙ มิถุนายน ๒๕๖๓

~3~

บทนำ�

บทน�ำ

มรรค ๘ ย่อลงมาเหลอื ๓ คือ ศีล สมาธิ ปญั ญา ย่อลงมาอกี ไดเ้ ปน็
สติ สมาธิ ปญั ญา
การปฏบิ ตั ธิ รรมนน้ั มอี ยู่ ๒ ระบบ คอื สมถยานกิ คอื ใชส้ มถะเปน็ ยาน
พาหนะนำ� หนา้ ปญั ญาตามหลงั วปิ สั สนายานกิ ใชป้ ญั ญาเปน็ ยานพาหนะ
นำ� หนา้ สมถะตามหลงั สว่ นสตนิ นั้ มผี สมอยทู่ งั้ ในฝา่ ยสมถะและวปิ สั สนา
สมถยานิกน้ันเดินสมถะถึงอัปปนาสมาธิก่อนและจึงเดินปัญญาตาม
ภายหลัง ข้อดีเม่ือได้ถึงมรรคผลช้ันต้นคือญาตปริญญาแล้ว ก็เดินเข้า
ปริญญาโทและปริญญาเอกต่อไปได้ทันที หลวงปู่ท้ังหลายท่านบอกว่า
ถ้าเราไม่เคยสร้างสมาธิบารมีเก่ียวกับการท�ำสมาธิมาก่อนแล้ว การท�ำ
อัปปนาสมาธิน้ันยากมาก ในชาติน้ีอาจจะไม่มีหวัง ถ้าให้ได้ต้องท�ำ
ติดตอ่ กนั เป็นเวลา ๑๐ ปี ๒๐ ปี แบบฤาษี ถงึ จะได้เขา้ ถงึ อัปปนาสมาธิ

~4~

พระอาจารยท์ วิ า อาภากโร

ส่วนวิปัสสนายานิกน้ัน เดินปัญญาน�ำหน้าไปก่อนแล้วจึงเดินสมาธิ
ตามไปทหี ลงั ในปรญิ ญาตรคี อื ญาตปรญิ ญานน้ั ใชส้ มาธเิ พยี งอปุ จารสมาธิ
เท่าน้นั ก็จะไดญ้ าตปรญิ ญา ปดิ อบายได้ ไม่ตกนรกก็พอแล้ว แตถ่ า้ จะทำ�
ต่อไป ต้องท�ำสมาธิติดต่อให้ได้ถึงอัปปนาสมาธิเช่นเดียวกัน แต่เราไม่ตก
นรกแล้ว รอได้ ไม่เกินประมาณ ๗ ชาติ เรากจ็ ะไปนิพพานพ้นทกุ ข์อย่าง
แนน่ อน มีความหวังในเร่อื งของมรรคผลนพิ พานมากกว่าพวกสมถยานิก
การปฏิบตั ิธรรมเพื่อความพน้ ทุกข์น้ัน ในครงั้ พุทธกาลผูป้ ฏบิ ัตธิ รรม
แบบวิปัสสนายานิก ได้ผลถึงญาตปริญญามากมายเพราะสร้างบารมีใน
เร่ืองของสมาธิมาน้อย จึงปฏิบัติค่อยๆ เป็นค่อยๆ ไปในเร่ืองของสมาธิ
แล้วกเ็ ดนิ มรรคผสมเขา้ ไปเลย ใชส้ มาธิขัน้ อปุ จารสมาธเิ ต็มทีเ่ ทา่ น้ัน ก็ถงึ
ญาตปริญญาได้ แต่หลังจากนั้นต้องท�ำสมาธิข้ันอัปปนาสมาธิต่อ จึงจะ
เดนิ ทางต่อไปได้ แต่ก็มหี วังเพราะไม่ตกนรกแลว้ และจิตจะพฒั นาตอ่ ไป
จนถงึ ความพน้ ทกุ ข์อยา่ งแน่นอน

~5~

บทน�ำ

สว่ นฝา่ ยสมถยานกิ นน้ั เปน็ พวกทสี่ รา้ งบารมใี นเรอื่ งของสมาธมิ ามาก
เช่น พวกฤาษบี ำ� เพญ็ ตบะมาก่อน หรอื พวกพุทธเวไนย คอื ผ้ทู ่ีปรารถนา
มาพบพระพทุ ธเจา้ แลว้ ไดม้ รรคผลกบั พระองคโ์ ดยตรง หรอื พวกมหาสาวก
จงึ จะปฏบิ ตั ติ ามได้
ส�ำหรับผู้มีบารมีน้อย ไม่สามารถปฏิบัติสมาธิถึงขั้นอัปปนาสมาธิได้
กห็ มดหวงั ทจ่ี ะออกจากวฏั สงสาร ตอ้ งเวยี นวา่ ยตายเกดิ ตอ่ ไปจนกวา่ จะได้
มาเกดิ เปน็ มนษุ ยพ์ บพระพทุ ธศาสนาแลว้ กไ็ ดม้ าปฏบิ ตั ธิ รรมอกี ซงึ่ กไ็ มร่ วู้ า่
เมอื่ ไรจึงจะได้มีโอกาสเช่นนี้อกี
ผลของการปฏิบัตใิ นพทุ ธศาสนามี ๓ ข้นั ตอน
ขั้นตอนที่ ๑ ปริญญาตรีในพุทธศาสนา เรียกว่า ญาตปริญญา
ผปู้ ฏิบตั ิ ท�ำได้สำ� เร็จเรยี กวา่ ธัมมานุสารี และสัทธานสุ ารี ไม่ต้องตกนรก
ปิดอบายได้ แล้วจติ ก็จะพฒั นาต่อไปจนถงึ ปรญิ ญาโทและปรญิ ญาเอกใน
พระพทุ ธศาสนาอีกประมาณ ๗ ชาติ

~6~

พระอาจารยท์ ิวา อาภากโร

ขนั้ ตอนที่ ๒ ปรญิ ญาโทในพระพทุ ธศาสนา เรียกวา่ ตรี ณปริญญา
คือเปน็ พระโสดาบนั จดั ว่าเปน็ พระอริยเจ้าแล้ว เรยี กวา่ พระเสขะ คอื
เป็นนักศกึ ษาในพุทธศาสนาแลว้
ข้ันตอนท่ี ๓ ปรญิ ญาเอกในพุทธศาสนา เรยี กว่า ปหานปริญญา
คอื เป็น พระอรหนั ต์ จบการศึกษา เรยี กวา่ พระอเสขะ พ้นจากทุกข์โดย
สิ้นเชงิ รอการไปนิพพานอยา่ งเดยี วเท่าน้นั
หลักสูตรท่ีอาตมาสอนซ่ึงจัดว่าสมบูรณ์แบบที่สุดคือ อานาปานสติ
ฝ่ายวิปัสสนายานิก หลักสูตรปริญญาตรี ผู้ท่ีได้จะชื่อว่าธัมมานุสารี
ไม่ตกนรกแล้ว ปิดอบายได้ แต่ยังไม่จัดว่าเป็นพระอริยเจ้า เกิดแล้วใน
โลกุตระ แต่ยังไม่เคยเดินทางข้ามแม่น้�ำ แต่ก็สามารถข้ามแม่น้�ำได้โดย
วา่ ยน�ำ้ ตามเสยี งแม่โคไป กส็ ามารถถึงฝ่ังตรงข้ามไดโ้ ดยสวัสดี

~7~

ปฐมวาจา

ปฐมวาจา

เอา้ ฟงั ธรรมะ การทเี่ ราจะละกเิ ลสตอ้ งรวู้ า่ กเิ ลสมนั มตี วั มตี นเปน็ ยงั ไง
เราจงึ จะละไดด้ ้วยวิธกี ารอย่างไร เราตอ้ งท�ำตามคำ� สอนของพระพทุ ธเจ้า
เท่าน้ัน เราไม่มีสิทธิ์ท่ีจะคิดเองเพราะเป็นวิสัยของพระพุทธเจ้าเท่านั้น
เราเปน็ สาวก ต้องปฏิบัตติ ามคำ� สอนของท่านเท่านั้นเอง
ทุกศาสนามีพระเจ้าเป็นผู้สร้าง ตัว Creator ภาษาฝรั่งเขาว่าง้ัน
สรา้ งโลก สร้างมนษุ ย์ แล้วก็ปกปักรกั ษามนุษย์ สดุ ทา้ ยพระเจา้ ก็ท�ำลาย
มนุษย์ ในศาสนาของพราหมณ์ก็มี คือมีพระพรหมเป็นผู้สร้างโลก
พระนารายณ์เป็นผ้ปู กปักรกั ษา พระอศิ วรเปน็ ผูท้ ำ� ลาย เรยี กวา่ ตรีมูรติ
ในคร้ังก่อนที่เจ้าชายสิทธัตถะยังไม่ได้ออกบวช พระองค์ก็นับถือศาสนา
พราหมณ์ กม็ พี ระเจา้ ๓ ตน กค็ ดิ เชน่ เดยี วกนั วา่ เอา้ พระเจา้ กม็ ี มพี ระเจา้

~8~

พระอาจารยท์ วิ า อาภากโร

แตเ่ ม่อื พระองคเ์ หน็ การแก่ เจ็บ ตาย นอี่ าจจะเรียกว่าเทวดาหรือเทวทูต
ก็ได้มาเตือนพระองค์ ขณะท่ีพระองค์อายุได้ ๒๙ ปี เม่ือพระองค์เห็น
การแก่ เจ็บ ตาย กส็ ะด้งุ เลย ทำ� ยงั ไงเราถึงจะไมต่ ายเนยี่ เพราะว่าเรือ่ ง
ความสนุกสนานต่างๆ ในชีวิตนี้ ถ้าตายแล้วต้องหมดจากส่ิงเหล่าน้ีไป
ทุกคนตอ้ งจากกนั ไปหมด เอ้า จะทำ� ยงั ไง มีพระเจ้าทไี่ หนกไ็ มเ่ หน็ มาชว่ ย
ได้สักที พระองค์จึงต้องออกบวช แล้วค้นคว้า เพื่อจะเข้าถึงจุดท่ีความ
ไม่ตายให้ได้ ในทีส่ ุดก็คน้ พบความไม่ตาย
เม่ือพระองค์ค้นพบความไม่ตายแล้ว พระองค์ก็กล่าววาจาเป็น
ครงั้ แรกวา่ อเนกชาติ สงั สารงั เปน็ ตน้ แปลความวา่ เมอ่ื เรายงั ไมพ่ บญาณ
ได้แล่นท่องเที่ยวไปในสังสารวัฏอันเป็นอเนกชาติ แสวงหาอยู่ซึ่งนายช่าง
ปลูกเรือน ผู้สร้างภพ การเกิดทุกคราวเป็นทุกข์ร�่ำไป น่ีแน่ะ นายช่าง
ปลกู เรอื น เรารจู้ กั เจา้ เสยี แลว้ เจา้ จะทำ� เรอื นใหเ้ ราไมไ่ ดอ้ กี ตอ่ ไป โครงเรอื น
ท้ังหมดของเจ้า เราหักเสียแล้ว ยอดเรือน เราก็ร้ือเสียแล้ว จิตของเรา
ถงึ แล้วซ่งึ สภาพทอ่ี ะไรปรุงแตง่ ไมไ่ ด้อกี ต่อไป เราได้ถึงแลว้ ซึง่ ความสน้ิ ไป
แหง่ ตัณหา คือถงึ นิพพาน

~9~

ปฐมวาจา

นเี่ ปน็ ปฐมวาจาทพ่ี ระองคเ์ อย่ ขน้ึ มาหลงั จากทต่ี รสั รใู้ หมๆ่ วา่ นายชา่ ง
ผู้สร้างเรือน พระองค์ต้องการหาตัว Creator น้ี ก็เจอตัว Creator คือ
ตัวอัตตา ตัวอุปาทาน นี่แหละ เป็นนายช่างผู้สร้างเรือน ตัวเราของเรา
นี่แหละสร้างตัวเอง หลังคาเรือนก็คืออวิชชา โครงเรือนก็คือตัวตัณหา
น่ีจับตัวนายช่างสร้างเรือนได้ เห็นแล้วซ่ึงเรือน ท�ำลายเรือนหมดแล้ว
ถึงซ่ึงนิพพาน ในทางปฏิบัติจริงๆ น้ี เราต้องท�ำยังไง ก็ต้องท�ำลายตัว
สรา้ งบ้านสร้างเรอื น ตัวอัตตา ตัว Creator นบั ตง้ั แตก่ ารปฏบิ ัตเิ บือ้ งตน้
ของเรา ต้องท�ำลายตวั Creator ใหไ้ ด้ ตัว Creator กค็ อื ไมม่ ีเรา ไมใ่ ชเ่ รา
ไมใ่ ช่ของเรา เท่านน้ั อนั น้สี ำ� คญั ตรงนี้ มีแต่ธาตุ ๔ น่ีเริม่ ต้น ปริญญาตรี
เรากต็ ้องเอาตรงนี้ก่อน ธาตุ ๔ สุดทา้ ยแห่งการปฏบิ ตั คิ อื จบปรญิ ญาเอก
เป็นพระอรหันต์ ก็ต้องท�ำลาย Creator จนมันตายจริงๆ ตัวอัตตาจะ
ถูกท�ำลายหมด เป็นอนัตตา สุดยอดแห่งอนัตตาก็คือนิพพาน โดยสภาพ
ความเป็นจริงแล้ว อวิชชา ตัณหา อุปาทาน มันก็เป็นสหชาติกัน
พระอรหันต์ท่านท�ำลายอัตตาเป็นอนัตตาได้ อวิชชา ตัณหา อุปาทาน
กถ็ กู ทำ� ลายไปดว้ ยกนั ในการปฏบิ ตั ใิ นอรยิ สจั ๔ น้ี ในสมทุ ยั เรากพ็ ยายาม

~ 10 ~

พระอาจารยท์ ิวา อาภากโร

ก�ำจัดตัณหา ในนิโรธ เราก็พยายามก�ำจัดอัตตาว่าไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา
มันเป็นเพียงสภาวธรรมท่ีเกิดดับ เป็นธาตุ ๔ เกิดดับ ในทุกข์น้ัน เราก็
พยายามก�ำจัดอวิชชา คือให้รู้ในทุกข์ เร่ืองของทุกข์ น่ัน ในแต่ละมรรค
นับตั้งแต่มรรคสมังคีครั้งแรก เราจะก�ำจัดอัตตาไปได้หน่อยหน่ึงเท่านั้น
อัตตา คือกายน้ีไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเราเน่ีย ยถาภูตัง ปริญญาตรี ก�ำจัด
ไปหนอ่ ยหนึง่ แตก่ ม็ ตี ัวอ่ืนอีกหลายตวั ทย่ี ังยึดถืออยู่ จำ� เปน็ ต้องท�ำมรรค
ต่อไป อย่างปริญญาโท โสดาปัตติมรรค นี่ก็ละความเห็นว่ากายและใจ
ไมใ่ ชเ่ รา ไมใ่ ชข่ องเรา มนั เปน็ สภาวธรรมทเี่ กดิ ดบั เปน็ ธรรมดา แตก่ ามราคะ
ยังละไม่ได้ คือกามตัณหา ต้องพระอนาคามีจึงละได้ แต่ภวตัณหา
วภิ วตัณหา ยงั ละไม่ได้อกี ตอ้ งเปน็ พระอรหันต์จงึ ละได้ ทง้ั อวิชชา ตัณหา
อปุ าทาน แตต่ วั กเิ ลสทเ่ี หน็ ไดช้ ดั เจนกค็ อื ตวั อตั ตานแ่ี หละ ทเ่ี ปน็ ตวั นายชา่ ง
ผ้สู ร้างเรอื น ตัวพระเจา้ สร้างโลก พอเราจับตัวนายช่างแลว้ ฆา่ นายช่างได้
เรอื นกถ็ กู ทำ� ลายไปดว้ ย การเวยี นวา่ ยตายเกดิ หรอื วฏั สงสารกถ็ กู ทำ� ลายไป
น่ีพระพุทธเจ้าท่านตรัสเป็นสุภาษิตว่า คนทั้งหลายย่อมหลุดพ้น
เพราะไมย่ ึดมนั่ ถือมั่นในอปุ าทาน นสี่ ำ� คญั ตวั น้ี เพราะฉะน้นั อุปาทานน้ี

~ 11 ~

ปฐมวาจา

มนั เหน็ ไดช้ ดั เจน เพราะฉะนนั้ เราจงึ ตอ้ งละตวั นก้ี อ่ น ละไปเรอ่ื ยตามลำ� ดบั
ข้ันตอน
ในศาสนาทเี่ ขามีพระเจา้ นี้ เขาเคารพนบั ถอื พระเจา้ ผู้สรา้ ง Creator
ตรงกันขา้ ม ศาสนาพุทธเราน้ีทำ� ลาย Creator เลย ตรงกนั ข้ามกนั
เอ้า ทีน้ีเกี่ยวกับเร่ืองการปฏิบัติ เราก็เอาอัตตาทิ้งไป ต้องพยายาม
เพราะไมใ่ ชเ่ รา ไมใ่ ชข่ องเรา อนั นสี้ ำ� คญั ทเี ดยี ว เพราะฉะนนั้ ในตวั ปญั ญาน้ี
เราต้องเน้นตรงนี้ว่าไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา กายน้ีไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา
มันเป็นสภาวธรรม เป็นธาตุ ๔ เกิดดับเท่าน้ัน อันนี้ต้องเน้นตัวไม่ใช่เรา
ไม่ใช่ของเรา น้ีส�ำคัญ คือตัวอนัตตา ต้องเน้นตัวน้ีเป็นธาตุ ๔ เท่าน้ัน
สักแต่ว่าธาตุ ๔ ตัวนี้พอท�ำไปๆ มันก็จะจางไปเรื่อย คือความเป็นเรา
เปน็ ของเรา จนกระทั่งมันถงึ ฐานของมัน มนั ถึงจะละตวั กายนว้ี ่าไม่ใช่เรา
ไมใ่ ชข่ องเรา ไดอ้ ยา่ งถาวรเทา่ นนั้ เอง ดงั นนั้ เรากต็ อ้ งทำ� process ของมรรค
เทา่ น้นั จึงจะละตัวนไ้ี ด้

~ 12 ~

พระอาจารยท์ วิ า อาภากโร

เอ้า ต่อไปเราจะภาวนากนั
การปฏิบัติคอื การเดินทาง มรรคคอื หนทาง มรรคมีมรรค ๘ ย่อลงมา
กเ็ หลอื ๓ คอื ศลี สมาธิ ปญั ญา ยอ่ ลงมาอกี กเ็ ปน็ สติ สมาธิ ปญั ญา เราก็
ท�ำสติซะก่อน คือดึงจิตมาไว้ท่ีกาย กายต้ังอยู่ในลักษณะใดให้ทราบชัด
ในลักษณะนั้น น่ีแหละคือ กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน เอากายเป็นหลัก
เอาจิตมาเกาะท่ีกาย นึกถึงขา ขาขวาทับขาซ้าย นึกถึงมือ มือขวาทับ
มอื ซา้ ย นกึ ถงึ กายทอ่ นลา่ งทสี่ มั ผสั กบั พน้ื นกึ เรอ่ื ยมาถงึ ทา่ มกลางหนา้ อก
ถึงคอ ถึงหวั จากหวั ลงมาถึงคอ ทา่ มกลางหน้าอก กายทอ่ นลา่ ง มอื ขวา
ทับมือซ้าย ขาขวาทับขาซ้าย กลับไปกลับมา ผู้ท่ีท�ำจนช�ำนาญแล้วก็ให้
นึกถึงบริเวณปลายชอ่ งจมูก ท�ำความรู้สกึ คลุมจากหวั ลงไปถงึ เท้า ไม่ตอ้ ง
เลือ่ นจติ ข้ึนลง ท�ำเชน่ นั้นได้กจ็ ะเป็นการดี
สติ คือการที่เราคิดถึงกายท่ีต้ังอยู่ในปัจจุบัน ตัดอดีต ตัดอนาคต
ออกหมด เป็นการคิดถึงในปัจจุบันเท่านั้น สติก็คือการคิดน่ีแหละ
แต่เป็นการคดิ ควบคมุ ตัวมันเอง

~ 13 ~

ปฐมวาจา

เอ้า ต่อไปเราจะท�ำสมาธิ ก็คือการท�ำต่อไปจากสตินี่แหละ นึกถึง
กายทต่ี ง้ั อยู่ นกึ ถงึ ขา ขาขวาทบั ขาซา้ ย นกึ ถงึ มอื มอื ขวาทบั มอื ซา้ ย นกึ ถงึ
กายท่อนล่างที่สมั ผสั กับพื้น นกึ เรอ่ื ยมาถงึ ทา่ มกลางหน้าอก ถงึ คอ ถึงหวั
ถึงบริเวณใบหน้า ใบหน้าอยู่ที่ไหนเวลาน้ี นึกถึงบริเวณปลายช่องจมูก
ปลายช่องจมูกอยู่ท่ีไหนเวลาน้ี สมมุติว่าลมหายใจเข้า ลมหายใจออก
ผ่านบริเวณปลายช่องจมูก เวลาหายใจเข้าไม่ต้องนึกตามลมหายใจเข้า
เวลาหายใจออกไม่ต้องนึกตามลมหายใจออก ให้นึกอยู่บริเวณปลาย
ช่องจมูกแห่งเดียว พยายามประคองจิตอย่าให้ฟุ้งซ่าน อย่าให้เคล้ิมหลับ
ให้อยกู่ ับลมหายใจเขา้ ออกตรงบริเวณปลายช่องจมกู เขา้ รู้ ออกรู้ พูดกบั
ตวั เองดว้ ยวา่ เขา้ รู้ ออกรู้ ตวั รนู้ คี้ อื ตวั จติ ตวั รนู้ คี้ อื ตวั สมาธิ แตต่ วั รนู้ จี้ ะเกดิ
ขนึ้ ลอยๆ ไมไ่ ด้ จะตอ้ งรอู้ ยใู่ นลมหายใจ ลมหายใจชดั ตวั รจู้ งึ จะชดั กำ� หนด
ลมหายใจเขา้ ออกบริเวณปลายช่องจมกู เขา้ รู้ ออกรู้ ทำ� ไป
อันดับต่อไป เราจะเอาสติผสมกับสมาธิเพื่อเป็นฐานส�ำหรับ
เดินปัญญาต่อไป อันน้ีเป็นหัวต่อที่ส�ำคัญทีเดียว ผู้ที่จะท�ำสมาธิชั้นสูงน้ี
กต็ ้องไปจากหัวต่ออันนเ้ี หมือนกนั เอาจิตมาเกาะท่บี รเิ วณปลายช่องจมูก

~ 14 ~

พระอาจารย์ทวิ า อาภากโร

ท�ำความรู้สึกคลุมจากหัวลงไปเท้า อันนี้เป็นสติ นึกถึงลมหายใจเข้าออก
บรเิ วณปลายชอ่ งจมกู ซอ้ นไปน้ี เปน็ สมาธิ พดู กบั ตวั เองดว้ ยวา่ กายชดั เขา้
กายชดั ออก กายชดั หมายถงึ กายชัด เขา้ คอื นึกถงึ ลมหายใจเขา้ กายชดั
คอื กายชดั ออก หมายถงึ ลมหายใจออก กายชดั เขา้ กายชดั ออก เหมอื นวา่
เราไปยืนอยู่ริมสระน้�ำ กลางสระน�้ำก็มีดอกบัวใหญ่อยู่ดอกหนึ่งบานอยู่
ตาเราก็จ้องอยู่ท่ีเกสรดอกบัว ในขณะเดียวกันเราก็เห็นดอกบัวทั้งกลีบ
ทั้งดอกซ้อนกันอยู่ ทั้งกลีบทั้งดอกบัวและทั้งเกสรดอกบัว ฉันใดก็ฉันนั้น
เราก�ำหนดลมหายใจเขา้ ออกบรเิ วณปลายชอ่ งจมกู ในขณะเดียวกันเราก็
รู้สึกว่ากายน้ีมันคลุมซ้อนอยู่ กายชัดเข้า กายชัดออก ก�ำหนดลมหายใจ
เขา้ ออกผสมความรสู้ กึ ทางกายตงั้ แตเ่ ทา้ ถงึ หวั หวั ถงึ เทา้ มศี นู ยก์ ลางอยทู่ ่ี
บริเวณปลายชอ่ งจมูก พดู กับตัวเองด้วยวา่ กายชัดเข้า กายชดั ออก ทำ� ไป
เอา้ อนั ดบั ตอ่ ไป เราจะเดนิ ปญั ญา ปญั ญาคอื การเหน็ จรงิ ตามสภาพ
ความเปน็ จรงิ เหน็ อะไร คอื เหน็ กายกบั ใจ ใจเรายกไวก้ อ่ น นกึ ถงึ กายตงั้ แต่
เท้าถึงหัว หวั ถงึ เทา้ มีลมหายใจผ่านเขา้ ผ่านออกซ้อนอยู่น้ี อนั น้เี ราดูเรอ่ื ง
ของกิเลสซะก่อน เร่ืองของวัฏฏะว่าเป็นยังไง วัฏฏะหรือกิเลสมันบอกว่า

~ 15 ~

ปฐมวาจา

กายนม้ี นั เปน็ คน เปน็ เรา เปน็ ของเรา กายท่ตี ั้งอยู่นี้ มีลมหายใจผา่ นเขา้
ผ่านออกซ้อนอยู่น้ี เป็นคน เป็นเรา เป็นของเรา เราก็มองคนอื่นออกไป
ข้างนอกก็เป็นเขา เป็นของเขา ปรุงแต่งต่อไปอีกก็เป็นผู้หญิง เป็นผู้ชาย
ปรงุ แต่งต่อไปอกี ก็สูงต�่ำ ด�ำขาว มองรายละเอียดต่อไป ปรงุ แต่งต่อไปอีก
ก็งามไม่งาม ปรุงแต่งต่อไปอีก เอ้า ความรักความชังเกิดข้ึนแล้วทีเดียว
เอ้า คดิ เลยเถิดท�ำเลยเถิดไปแล้ว รกั กนั กแ็ ต่งงานกัน ชังกนั กท็ ะเลาะกัน
ทำ� ทงั้ บญุ ทำ� ทงั้ บาป เปน็ สขุ เปน็ ทกุ ข์ ตายไปเปน็ สวรรคเ์ ปน็ นรกเวยี นวา่ ย
ตายเกิด วัฏสงสารเกดิ ขนึ้ แลว้ ทนี ้ี วัฏสงสารเกดิ จากอะไร ก็เกดิ จากการ
ท่ีเราคิดว่ากายนี้เป็นคน เป็นเรา เป็นของเราน่ีแหละ อันน้ีท่านเรียกว่า
สกั กายทิฏฐิ คือเปน็ สงั โยชน์หรอื กเิ ลสตัวแรกเลยทีจ่ ะผกู สัตวไ์ ว้ในวัฏฏะ
ดังน้ันพระพุทธเจ้าจึงให้มาคิดใหม่ตามความเป็นจริง ความเป็นจริง
กายนม้ี นั เปน็ สภาวะ ๔ สภาวะทม่ี ารวมเขา้ อยา่ งเหมาะสมกนั สภาวะแขง็
เรียกว่าธาตุดิน จับหัวเราน้ีแข็งไหม คือธาตุดิน สภาวะเหลวเรียกว่า
ธาตุนำ�้ อา้ ปากเอามือแหย่ นี่น�ำ้ ทัง้ น้ัน เปน็ ธาตุน้�ำ สภาวะร้อนเรียกวา่
ธาตไุ ฟ จบั ตวั เราดวู า่ อนุ่ ไหม นคี่ อื ธาตไุ ฟ สภาวะเคลอ่ื นไหวเรยี กวา่ ธาตลุ ม

~ 16 ~

พระอาจารยท์ วิ า อาภากโร

ลมหายใจเขา้ ออกมันเคลอ่ื นไหว หัวใจเตน้ ตกึ ๆ นั้นเคล่ือนไหว เลือดฉีด
พลา่ นไปทง้ั ตัวนน้ั เคลอื่ นไหว คือธาตลุ ม กายน้ีเป็นกองธาตุ ๔ คือ ดินแข็ง
นำ�้ เหลว ไฟรอ้ น ลมเคลอื่ นไหว ไมใ่ ชส่ ตั ว์ ไมใ่ ชบ่ คุ คล ไมใ่ ชเ่ รา ไมใ่ ชข่ องเรา
เปน็ กองธาตุ ๔ ดนิ นำ�้ ไฟ ลม คดิ แคน่ ้ี ปญั ญาเกดิ จากการฟงั เราฟงั คำ� สอน
ของพระพุทธเจ้าที่ถ่ายทอดสืบต่อกันมา เรียกว่า สุตมยปัญญา ปัญญา
เกดิ จากการคดิ พอฟงั แลว้ เราก็คดิ เรียกวา่ จนิ ตมยปัญญา เวลานี้อยใู่ น
กระบวนการคิด คิดว่ากายนี้เป็นกองธาตุ ๔ ดินแข็ง น�้ำเหลว ไฟร้อน
ลมเคลอ่ื นไหว ไมใ่ ชส่ ตั ว์ ไมใ่ ชบ่ คุ คล ไมใ่ ชเ่ รา ไมใ่ ชข่ องเรา เปน็ กองธาตุ ๔
ดิน น�้ำ ไฟ ลม คิดแค่น้ี ท่านให้ท�ำความเห็นเหมือนกับคนฆ่าวัว
เขาจูงวัวเข้ามาในโรงฆ่า ขณะท่ีเขาฆ่าวัวเขาก็คิดว่าเขาฆ่าวัว ขณะท่ีเขา
จูงวัว เขาก็คิดว่าเขาจูงวัว ขณะที่เขาฆ่าวัว เขาก็คิดว่าเขาฆ่าวัว พอฆ่า
วัวเสร็จ เขาก็ชำ� แหละเนอ้ื เปน็ ๔ กอง ไปนัง่ ขายในตลาด ในขณะทีเ่ ขา
ขายเน้ือในตลาด ค�ำว่าวัวก็หายไปแล้ว เขาขายเน้ือเท่านั้นเอง ฉันใดก็
ฉนั นนั้ กอ่ นทเี่ ราจะมาฟงั คำ� สอนของพระพทุ ธเจา้ เรากค็ ดิ วา่ กายนเี้ ปน็ คน
เปน็ เรา เป็นของเรา เวลานเี้ รามาฟังค�ำสอนของพระพทุ ธเจ้าแลว้ ตัวคน

~ 17 ~

ปฐมวาจา

ตวั เรา ของเรา หายไปแล้ว เหลือแต่กองธาตุ ๔ คือ ดิน นำ้� ไฟ ลม คิดแคน่ ี้
ท�ำความรู้สึกใหม้ นั ซง้ึ วา่ ไม่มีเรา ไมม่ ขี องเรา มแี ต่กองธาตุ ๔
เราคอื หนึ่ง กระจายเป็นกองธาตุ ๔ ความเปน็ เราก็หายไป เหลือแต่
สภาวธรรมท่ีเป็นกองธาตุ ๔ กระจายออกไปอีกเป็น ๔๒ ช้ินส่วน คือ
ธาตดุ นิ ๒๐ ธาตนุ �้ำ ๑๒ ธาตุไฟ ๔ ธาตุลม ๖ นเ่ี ราจะเหน็ ว่าสตกิ ็จะดขี ึ้น
สมาธกิ จ็ ะดขี น้ึ ปญั ญากจ็ ะดขี นึ้ ภาษาทางภาคอสี านฝา่ ยวดั ปา่ เขาเรยี กวา่
มา้ งกาย คือถอดกายออกเปน็ ชน้ิ ๆ วา่ งั้นเถอะ
เอา้ ธาตดุ ิน ๒๐ เกสา คอื ผมทั้งหลาย นกึ ถึงผมบนหวั เราเปน็ ธาตุดนิ
โลมา คอื ขนทง้ั หลาย ขนควิ้ ลงมาทว่ั ตวั เปน็ ธาตดุ นิ นะขา คอื เลบ็ ทง้ั หลาย
เล็บมือเลบ็ เท้าเป็นธาตุดิน ทันตา คือฟันทั้งหลาย ฟันในปากเปน็ ธาตุดิน
ตะโจ คอื หนงั หนงั หวั ถงึ หนงั เทา้ เปน็ ธาตดุ นิ มงั สงั คอื เนอื้ ถลกหนกั ออก
เหน็ กลา้ มเนอ้ื เปน็ มดั ๆ นะหารู คอื เอน็ ทงั้ หลาย ฉกี เนอ้ื ออกเหน็ เอน็ ขงึ ทว่ั ตวั
อัฏฐิ คอื กระดกู ทัง้ หลาย เอาเอ็นออกเหน็ โครงกระดกู กระดูกหัวกะโหลก
กระดูกแขน กระดูกขา กระดกู ซีโ่ ครง กระดกู สนั หลงั อฏั ฐิมิญชัง คือเยื่อ

~ 18 ~

พระอาจารย์ทวิ า อาภากโร

ในกระดูก ทุบกระดกู ออกเหน็ เย่อื ในกระดกู วักกงั คือไต เอา้ ดูที่บั้นเอว
มีไตอยู่คูห่ นึ่ง หะทะยัง คือหัวใจ หัวใจอยู่ช่องอกด้านซา้ ย ยะกะนงั คอื ตบั
ตับอยู่ชายโครงด้านขวา กิโลมะกัง คือพังผืด กระบังลมอยู่ที่ชายโครง
ปหิ ะกัง คอื ม้าม อยู่ชายโครงดา้ นซ้าย ปปั ผาสัง คอื ปอด ปอดอยูช่ อ่ งอก
ดา้ นหน้า อันตัง คือไสใ้ หญ่ มาดใู นชอ่ งท้อง ล�ำไส้ใหญข่ ดอยู่ขดเดียวตรง
รอบนอก อนั ตะคณุ งั คอื ไสน้ อ้ ย ลำ� ไสน้ อ้ ยขดอยเู่ ปน็ กระจกุ อยกู่ ลางชอ่ งทอ้ ง
อุทะรยิ ัง คอื อาหารใหม่ อาหารใหม่ทเี่ รากนิ เขา้ ไปอยูใ่ นกระเพาะอาหาร
กะรสี งั คอื อาหารเกา่ อาหารเกา่ อยใู่ นลำ� ไสใ้ หญ่ มตั ถะเก มตั ถะลงุ คงั คอื
เยื่อในสมองศีรษะ มนั สมอง ทัง้ หมดน้เี ป็นธาตดุ นิ ธาตดุ ินมีลกั ษณะแขง็
ไมใ่ ชส่ ตั ว์ ไม่ใช่บคุ คล ไมใ่ ช่เรา ไมใ่ ชข่ องเรา เปน็ ธาตุดนิ
ต่อไปเป็นธาตุน้�ำ ปิตตัง คือน�้ำดี น�้ำดีอยู่ในถุงน้�ำดี ติดอยู่กับตับ
ประมาณนว้ิ ชี้ มสี เี ขยี ว เสมหงั คอื นำ้� เสลด ปพุ โพ คอื นำ�้ เหลอื ง มอี ยทู่ ว่ั ตวั
มมี ากในตอ่ มนำ�้ เหลอื ง รอบทอ่ นคอ รอบท่อนแขน รอบท่อนขา โลหิตัง
คือน้�ำเลือด น้�ำเลือดก็มีท่ัวตัวแต่มีมากในช่องท้อง เสโท คือน้�ำเหงื่อ
เมโท คอื นำ�้ มนั ขน้ นำ้� มนั ขน้ มที วั่ ไปแตม่ มี ากทไี่ ขมนั หนา้ ทอ้ ง อสั สุ คอื นำ้� ตา

~ 19 ~

ปฐมวาจา

วะสา คือนำ�้ มันเหลว น�้ำมนั เหลวนม้ี ีทว่ั ไป มมี ากตามฝา่ มอื ฝ่าเท้า เขโฬ
คือน้ำ� ลาย สิงฆาณกิ า คือน้ำ� มกู ละสกิ า คอื นำ้� ไขขอ้ นำ�้ ไขขอ้ หล่อลน่ื ขอ้
ทว่ั ไป มตุ ตงั คอื นำ้� มตู ร นำ้� มตู รอยใู่ นกระเพาะปสั สาวะ ทง้ั หมดเปน็ ธาตนุ ำ�้
ธาตุน้�ำมีลักษณะเหลว ไม่ใช่สัตว์ ไม่ใช่บุคคล ไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา
เปน็ ธาตุน้ำ�
ต่อไปเป็นธาตุไฟ ไฟที่ให้ความอบอุ่น มนุษย์เราเป็นสัตว์เลือดอุ่น
ต้องมีไฟอุน่ อยตู่ ลอดเวลา ไฟทท่ี �ำให้แก่เฒา่ ชรา ไฟมันเผาทุกวนั ๆ มนั ก็
แก่ลงไปๆ ไฟท่ีท�ำให้เร่าร้อนกระวนกระวายหิวกระหาย ไฟมันต้องใช้
เชื้อเพลิง เชื้อเพลิงพร่องลงไปก็ท�ำให้เร่าร้อนกระวนกระวายหิวกระหาย
ไฟท่ีย่อยอาหาร ท้ังหมดเป็นธาตุไฟ ธาตุไฟมีลักษณะร้อน ไม่ใช่สัตว์
ไม่ใช่บคุ คล ไมใ่ ชเ่ รา ไมใ่ ช่ของเรา เปน็ ธาตไุ ฟ
ตอ่ ไปเปน็ ธาตลุ ม ลมทพ่ี ดั ขน้ึ เบอื้ งบนจากเทา้ ถงึ หวั ลมนถี้ า้ ออ่ นไป
กท็ ำ� ใหม้ นึ งง ความจำ� เสอ่ื ม เปน็ อลั ไซเมอร์ ลมทพี่ ดั ลงสเู่ บอื้ งลา่ งจากหวั
ลงเทา้ ถา้ ลมนม้ี นั ออ่ นไปกท็ �ำใหเ้ ป็นเหนบ็ ชา เป็นอัมพฤกษ์ เป็นอมั พาต

~ 20 ~

พระอาจารย์ทิวา อาภากโร

ลมในช่องท้อง ลมในล�ำไส้ อาหารท่ีเรากินเข้าไป พอลงไปมันจะอยู่
ในกระเพาะอาหาร ลมในล�ำไส้จะพัดจากกระเพาะอาหารเข้าล�ำไส้เล็ก
ออกลำ� ไสใ้ หญ่ออกทวารไปเลย ลมทแ่ี ผซ่ า่ นไปตามอวยั วะต่างๆ รวมทั้ง
แขนและขา ลมหายใจเข้าออก ทั้งหมดเป็นธาตุลม ธาตุลมมีลักษณะ
เคลอื่ นไหว ไมใ่ ชส่ ตั ว์ ไมใ่ ชบ่ คุ คล ไม่ใช่เรา ไมใ่ ช่ของเรา เป็นธาตลุ ม
เราคอื หน่ึง กระจายเป็นกองธาตุ ๔ ความเปน็ เราก็หายไป เหลือแต่
สภาวธรรมที่มันเป็นกองธาตุ ๔ กระจายออกไปอีกเป็น ๔๒ ชิ้นส่วน
เราจะเหน็ ว่าไมใ่ ช่กายแนน่ อน มนั เหมือนถงุ ขยะ หนงั ต้งั แตห่ ัวถงึ เท้าเปน็
ถุง นอกถุงกม็ ีผม มีขน มเี ล็บ ในถงุ ก็มเี น้ือ เอ็น กระดูก ตบั ไต ไส้น้อย
ไส้ใหญ่ อาหารใหม่ อาหารเก่า เป็นต้น มีน้�ำ ธาตุน�้ำมีน้�ำดี น้�ำเหลือง
น้�ำเลือด น้�ำปัสสาวะ เป็นต้น เอ้า ในถุงนี้ก็มีไฟอุ่นอยู่ตลอดเวลา ถุงน้ี
เจาะรูที่จมูก มีลมเป่าเข้าเป่าออกท�ำให้ช้ินส่วนของธาตุ ๔ ภายในถุงน้ี
ขยบั ไปขยับมา นา่ เกลยี ดนา่ ชัง น่าเบอ่ื นา่ หนา่ ย เอ้า ดซู ิ มันไม่ใช่คน ไม่ใช่
เราจริงๆ ทีเดียว นี่มันไม่ใช่คน เห็นไหม มันเป็นถุงขยะ ท่ีภายในถุงนี้
ประกอบไปดว้ ยชิ้นส่วนของธาตุ ๔

~ 21 ~

ปฐมวาจา

ความเป็นจรงิ ธาตุท้ัง ๔ น้ันมันเป็นสหชาตกิ นั ผมน้ที ี่จริงมันกเ็ ปน็
ธาตุ ๔ แตม่ ธี าตดุ นิ มาก สว่ นธาตนุ ำ้� ธาตไุ ฟ ธาตลุ ม มนี อ้ ยหนอ่ ย นำ�้ ดที จี่ รงิ
ก็เป็นธาตุ ๔ แต่มีธาตุน้�ำมาก ไฟท่ีให้ความอบอุ่น ท่ีจริงก็เป็นธาตุ ๔
แตม่ ธี าตไุ ฟมาก ลมหายใจ ทจ่ี รงิ กเ็ ปน็ ธาตุ ๔ แตม่ ธี าตลุ มมาก สว่ นธาตดุ นิ
ธาตุน้�ำ ธาตุไฟ มีน้อยหน่อย ลมหายใจเป็นธาตุ ๔ ได้ยังไง เพราะ
ลมหายใจมันมีน�้ำหนักสัมผัสได้ จึงเป็นธาตุดิน มันมีความแข็งอยู่
นดิ หนงึ่ นน่ั นะ่ ธาตดุ นิ ลมหายใจมนั ชนื้ มไี อนำ�้ เปน็ ไอนำ�้ จงึ เปน็ ธาตนุ ำ�้
ลมหายใจมนั อนุ่ จงึ เปน็ ธาตไุ ฟ ลมหายใจมนั เคลอื่ นไหว จงึ เปน็ ธาตลุ ม
ลมหายใจเป็นธาตุ ๔ จรงิ ๆ ทเี ดยี ว ไมต่ ้องสงสัย
กำ� หนดลมหายใจเขา้ ออกบรเิ วณปลายชอ่ งจมกู หายใจเขา้ ธาตุ ๔ เขา้
หายใจออก ธาตุ ๔ ออก กายท่ีต้งั อยู่ก็เปน็ ถุงขยะของธาตุ ๔ มีลมหายใจ
ผ่านเขา้ ผา่ นออก เปน็ ธาตุ ๔ เขา้ ธาตุ ๔ ออก มแี ต่กองธาตุ ๔ หายใจเข้า
ธาตุ ๔ เข้า หายใจออก ธาตุ ๔ ออก นึกถึงกายท่ีตั้งอยู่นี้เป็นถุงขยะ
มีลมหายใจเปา่ เขา้ เป่าออก เปน็ ธาตุ ๔ เปา่ เขา้ เปา่ ออก เหมือนกนั มแี ต่
ช้นิ สว่ นของธาตุ ๔ ไม่มคี น ไม่มีเรา ไมม่ ขี องเรา เหน็ ชัดเจนแลว้

~ 22 ~

พระอาจารย์ทวิ า อาภากโร

ลกั ษณะของธาตนุ นั้ แปรปรวนเสอื่ มสลาย ไมเ่ ทยี่ ง หายใจเขา้ ธาตุ ๔
เกิด หยุด แลว้ ดบั หายใจออก ธาตุ ๔ เกิด หยดุ แลว้ ดบั เหน็ แลว้ อนจิ จัง
ทุกขัง อนัตตา อนิจจงั คอื มันไมเ่ ทย่ี ง ต้องเกดิ ดบั อยู่ตลอดเวลา ทกุ ขงั
คือมนั ต้องเปน็ ทกุ ข์อยอู่ ย่างน้ี หยดุ ไม่ได้ ถา้ หยุดเมือ่ ไรมนั ก็แตกกระจาย
เมื่อน้ัน อนัตตา คือมันไม่มีตัวไม่มีตน มันเป็นสภาวธรรมที่มารวมกัน
ช่ัวคราวเท่านั้นเอง นี่ในฐานะที่เป็นปุถุชน เราก็ต้องเดินเอาอนิจจังให้
ชดั เจนซะก่อน ทุกขงั อนัตตา คลมุ ๆ เครือๆ ชา่ งมันไปก่อน ก�ำหนดลม
หายใจเขา้ ออกบรเิ วณปลายชอ่ งจมกู หายใจเขา้ ธาตุ ๔ เกดิ หยดุ แลว้ ดบั
หายใจออก ธาตุ ๔ เกดิ หยดุ แลว้ ดบั เอา้ เหน็ แลว้ นเ่ี ปน็ ปญั ญา ปญั ญาคอื
กายทตี่ ง้ั อยตู่ งั้ แตเ่ ทา้ ถงึ หวั หวั ถงึ เทา้ มนั ไมใ่ ชค่ น ไมใ่ ชเ่ รา ไมใ่ ชข่ องเรา
มันเปน็ ธาตุ ๔ เกดิ ดบั เทา่ นั้นเอง หายใจเข้า ธาตุ ๔ เกิดดับ หายใจออก
ธาตุ ๔ เกิดดบั น่คี ือปญั ญา
เอ้า ต่อไปนี้เราจะเดินมรรคผสม รู้ว่าอะไรเป็นสติ อะไรเป็นสมาธิ
อะไรเป็นปญั ญา เรียกว่ามรรคเบื้องต้น เรียกว่า สัจจญาณ เอาสติ สมาธิ

~ 23 ~

ปฐมวาจา

ปญั ญา มารวมกัน เรียกวา่ มรรคผสม หรอื วา่ กิจจญาณ ให้มันท�ำกจิ ละ
กเิ ลส ต้องเอา ๓ อยา่ งมารวมกนั จนกระท่ังมนั ท�ำงานเตม็ ท่ี ละกเิ ลสได้
เรยี กวา่ กตญาณ หรอื วา่ มรรคสมงั คี มรรคสมงั คคี รง้ั แรก เรยี กวา่ ยถาภตู งั
ญาณทัสสนัง คือเห็นจริงตามสภาพความเป็นจริง ปัญญาท่ีแท้จริง
เกิดข้ึนแล้ว จบปริญญาตรีในพระพุทธศาสนา เรียกว่า ญาตปริญญา
ไม่ตกนรก เรยี กวา่ เกิดแล้วในโลกุตรภมู ิ แตย่ ังไมจ่ ดั วา่ เป็นพระอรยิ เจา้
เอา้ ตอนนเ้ี รามาดมู รรคผสม คนเรานค้ี ดิ ไดท้ ลี ะอยา่ ง แตส่ ามารถคดิ
ของ ๓ อย่างให้ลอยอยู่ในห้วงความคิดย่อมท�ำได้ เหมือนนักเล่นกล
เขาเลย้ี งตะกร้อ ๓ ใบด้วยมอื ๆ เดยี ว โยนตะกรอ้ ใบท่ี ๑ ขน้ึ ไป โยนใบท่ี ๒
ขึ้นไป โยนใบที่ ๓ ขึ้นไป โยนไป ใบท่ี ๑ กต็ กลงมา กเ็ อามอื รับแล้วก็โยน
ขนึ้ ไปใหม่ ใบที่ ๒ ตกลงมา กเ็ อามอื ไปรบั และโยนขนึ้ ไปใหม่ ใบที่ ๓ ตกมา
เอามอื รบั แลว้ กโ็ ยนขนึ้ ไปใหม่ ตะกรอ้ ๓ ใบ ลอยอยกู่ ลางอากาศโดยไมต่ ก
ดนิ โดยใชม้ อื ๆ เดยี ว ฉนั ใดกฉ็ นั นนั้ เราคดิ ไดท้ ลี ะอยา่ งแตส่ ามารถคดิ ของ
๓ อยา่ งใหล้ อยอยใู่ นหว้ งความคดิ ยอ่ มทำ� ได้ แตต่ อ้ งอาศยั การฝกึ หนอ่ ย

~ 24 ~

พระอาจารยท์ ิวา อาภากโร

เอ้า เรามาท�ำตะกร้อ ๓ ใบ ลืมตาดูก่อนก็ได้ ลืมตาดู จิตมาเกาะ
ท่ีบริเวณปลายช่องจมูก นี่เห็นไหม กายที่ต้ัง ตั้งแต่เท้าถึงหัว หัวถึงเท้า
นเี่ หน็ ชดั นแี่ หละคอื สติ นกึ ถงึ ลมหายใจเขา้ ออกบรเิ วณปลายชอ่ งจมกู ซอ้ น
เขา้ ออกซ้อนอยูน่ ่ี เหน็ ชดั นะ น่ีคอื สมาธิ ของจรงิ เลยนะนี่ ไอก้ ายกบั ลม
มันไม่ใชค่ นไมใ่ ชเ่ ราทีน้ี มันเปน็ กองธาตุ ๔ เกิดดับเท่านนั้ เอง หายใจเขา้
ธาตุ ๔ เกิดดับ หายใจออก ธาตุ ๔ เกดิ ดบั นี่คือปญั ญา หลับตา หลบั ตาซะ
ให้จิตมาเกาะท่ีบรเิ วณปลายชอ่ งจมูก นึกถงึ กาย นึกถึงลมเข้า มันไม่ใชเ่ รา
ธาตุ ๔ เกดิ ดบั กายลมออก ไมใ่ ชเ่ รา ธาตุ ๔ เกดิ ดบั ถา้ ทำ� ใหม้ นั ซงึ้ ดแี ลว้ วา่
กายน้ไี ม่ใช่เรา เราก็ตัดออกซะ คำ� วา่ ไม่ใชเ่ รา กายลมเข้า ธาตุ ๔ เกดิ ดับ
กายลมออก ธาตุ ๔ เกิดดับ
น่คี ือการเลีย้ งตะกร้อ ๓ ใบ คดิ ดตู ลอดเวลา คิดตามความเป็นจริง
ของมัน นึกถึงกายก็นึกถึงกายจริงๆ ท่ีต้ังอยู่นี้ ลมเข้าก็ลมเข้าจริงๆ
บรเิ วณปลายช่องจมูก ธาตุ ๔ เกิดดบั กเ็ กิดดบั จริงๆ ให้รสู้ ึกความเป็นจริง
ของจรงิ อยทู่ น่ี ่ี ไมต่ อ้ งไปคดิ ทอี่ น่ื ไมต่ อ้ งคดิ อะไรมากกวา่ นแ้ี ลว้ การเดนิ มรรค

~ 25 ~

ปฐมวาจา

process ของมรรคน้ีจะละกิเลสเอง ไม่ต้องมีจินตนาการใดๆ แล้วทีนี้
หมดแลว้ รแู้ ตค่ วามจรงิ ของมนั นกึ ถงึ กาย ลมเขา้ ธาตุ ๔ เกดิ ดบั กายลมออก
ธาตุ ๔ เกดิ ดับ นั่งนึกไปเลย
ทำ� มากเขา้ ๆ ลมหายใจจะเปน็ สมาธิ มนั จะเดนิ เขา้ ไปภายใน เดนิ ลกึ
ลงไปๆ จนกระท่ังมนั ถงึ ฐานของมนั พรึบ่ ลงไป ก็เป็นมรรคสมังคี จะอกี
กี่วันก่ีเดือนกี่ปีหรือตลอดชีวิตก็ช่างมันเถอะ เดินไปเรื่อยๆ ก็แล้วกัน
มรรคตอ้ งเจรญิ ให้มากทำ� ให้มากเท่านนั้ เอง ไม่มีอยา่ งอื่น
มรรคคือหนทาง พอเราเข้าหนทางแล้วก็ไม่มีอะไรมาก นอกจาก
เดนิ ไปเทา่ นนั้ เอง อยา่ ออกนอกทางเทา่ นน้ั เอง ออกนอกทางไปไหน คอื คดิ
ไปขา้ งนอกฟงุ้ ซา่ นไปขา้ งนอกเปน็ กามตณั หาเคลม้ิ เปน็ ภวงั ค์เปน็ ภวตณั หา
วภิ วตัณหา อนั นีเ้ ป็นการออกนอกทาง ตอ้ งดงึ กลับเขา้ มาใหม่
นกึ ถงึ กาย ลมเข้า ธาตุ ๔ เกิดดับ กาย ลมออก ธาตุ ๔ เกดิ ดับ นั่งดไู ป
คิดไป

~ 26 ~

พระอาจารยท์ ิวา อาภากโร

เอา้ ในขณะนเี้ รากำ� ลงั ทำ� มรรคผสม ทำ� สติ สมาธิ ปญั ญา ทง้ั ๓ อยา่ ง
เหนื่อยหน่อย ต่อไปเราก็ท�ำสมาธิอย่างเดียว จิตจะสบายขึ้นแล้วก็สมาธิ
จะดขี ึน้ เรียกว่า ปญั ญาอบรมสมาธิ
กำ� หนดลมหายใจเขา้ ออกบรเิ วณปลายชอ่ งจมกู หรอื ทา่ มกลางหนา้ อก
หรือเหนือสะดือ เลือกจุดใดจุดหน่ึงตามใจชอบ จุดไหนที่ท�ำแล้วสบาย
เราก็เอาจุดน้ันเป็นหลัก ก�ำหนดลมหายใจเข้าออก เข้ารู้ ออกรู้ พูดกับ
ตวั เองดว้ ยวา่ เข้ารู้ ออกรู้ ท�ำไป
เอ้า พอสมควรแก่เวลา

หมายเหตุ: สามารถรับฟังไฟลเ์ สียงไดท้ ล่ี ้งิ ค์ของ Youtube: หลวงปทู่ ิวา อากากโร - ตอนท่ี ๒:
ปฐมวาจา

~ 27 ~

เมตตาและกรรม

เมตตาและกรรม

มนุษย์เราน่ีก็มีกายและกม็ ใี จ แลว้ ก็รปู นาม กายกร็ ปู ใจก็นาม ทง้ั รูป
ทั้งนาม น่ีมันเจ็บป่วยได้ท้ังหมด เป็นธรรมชาติของมัน กายเราก็มีการ
เจบ็ ปว่ ย เปน็ ธรรมชาตขิ องมนั มนั มสี าเหตขุ องการเจบ็ ปว่ ยกม็ าจากกรรม
ในปจั จบุ นั แลว้ กก็ รรมในอดตี ๒ อยา่ ง กรรมในปจั จบุ นั คอื การกระทำ� ใน
ปจั จบุ นั ของเราน้ี เรารกั ษาสขุ ภาพดไี หม พระพทุ ธเจา้ ทา่ นบอกเรอ่ื งโรคภยั
ไข้เจ็บน้ีว่า คนอายุยืนน่ีจะต้องไม่สบายเกินไป แล้วไม่ให้ล�ำบากเกินไป
ชวี ติ ของเรานถี่ า้ ไมล่ ำ� บากเกนิ ไป ไมส่ บายเกนิ ไป เปน็ ปานกลาง มชั ฌมิ า-
ปฏปิ ทา อายกุ ย็ นื ถา้ ลำ� บากเกนิ ไป หรอื วา่ ชวี ติ เราตรากตรำ� หรอื วา่ อยใู่ ห้
สบายๆ ไม่ได้ออกกำ� ลงั กายอะไรเลยนี่ มแี ต่น่งั ๆ นอนๆ นั่งกนิ นอนกินน่ี
อายุกไ็ ม่ยนื โรคภัยไขเ้ จบ็ กม็ าก หรือวา่ อยู่ในสถานที่อากาศไม่เหมาะสม
อากาศตา่ งๆ มนั ไมเ่ หมาะสมน่ี อากาศเปน็ พษิ อยา่ งน้ี อายกุ ไ็ มย่ นื มโี รคภยั

~ 28 ~

พระอาจารย์ทวิ า อาภากโร

ไขเ้ จบ็ มาก อากาศสกปรก หรือเป็นเร่ืองอาหาร อาหารทเ่ี รากินเขา้ ไปเน่ยี
มันไม่ถูกกับธาตุของเรา มันไปบ�ำรุงโรค มันไม่ไปบ�ำรุงร่างกาย ท�ำให้
โรคภัยไข้เจ็บมาก มันก็ท�ำให้เกิดโรคมาก แล้วก็อุตุอีก อุตุคือว่าลมฟ้า
อากาศน่ี ถ้ามันรุนแรงเกินไป เราก็อยู่ไม่ไหวเหมือนกัน ร่างกายก็บอบ
เหมอื นกัน อายกุ ไ็ มย่ นื นี่คือเรื่องราวต่างๆ มันเปน็ ภายนอก ในปัจจบุ ันน้ี
เราต้องระวังรักษาสุขภาพ เร่ืองความเป็นอยู่ของเรา พฤติกรรมในชีวิต
ของเราเนยี่ แลว้ กเ็ รอ่ื งอาหาร การพกั ผอ่ น การทำ� อะไรใหเ้ ปน็ เวลา กนิ เปน็
เวลา นอนเปน็ เวลา ท�ำงานใหเ้ ป็นเวลา อนั นก้ี ท็ ำ� ใหเ้ รามสี ขุ ภาพดี อายุ
กย็ นื โรคภัยไขเ้ จบ็ ก็นอ้ ย อันนีค้ ือสาเหตุของปจั จบุ นั
สาเหตขุ องในอดตี กค็ อื กรรมในอดตี นแ่ี หละ คนเรากม็ กี รรม เรอ่ื งราว
ตา่ งๆ ในปจั จบุ นั นี้ เราจะดหี รอื ไมด่ ี อยเู่ ยน็ เปน็ สขุ หรอื เดอื ดรอ้ น มโี รคภยั
ไขเ้ จบ็ กเ็ ปน็ กรรมอกี แหละ กรรมในอดตี คนเรานโ่ี รคภยั ไขเ้ จบ็ มากเพราะ
อะไร ทา่ นบอกวา่ เราทรมานสตั วม์ าก ทำ� ใหค้ นเขาเดอื ดรอ้ น เจบ็ ปว่ ยมาก
อันนีก้ ็ทำ� ใหเ้ ราเป็นโรคภัยไข้เจบ็ มาก เปน็ ผลมาจากในอดตี ทเี่ ราสร้างมา
เมื่อฆ่าสัตว์ตัดชีวิตไว้มากนี่ก็ท�ำให้อายุสั้น แล้วบางทีก็แถมท�ำให้เป็น

~ 29 ~

เมตตาและกรรม

โรคภัยไข้เจ็บเหมือนกัน อันนี้คือกรรมในอดีตมันส่งผลมาเหมือนกัน
แลว้ กก็ รรมในปัจจุบัน คือวา่ เรารกั ษาสขุ ภาพในปัจจบุ นั ไม่ดี อนั นมี้ นั กส็ ง่
ผลมาทำ� ใหเ้ ราเจ็บปว่ ย
แล้วทีน้ีในปัจจุบันเราจะท�ำยังไงล่ะ จะแก้ไขยังไง เอ้า ท่านบอกว่า
ถา้ กรรมในปจั จบุ นั นี้ เรากต็ อ้ งพยายามรกั ษาสขุ ภาพตามหลกั วชิ า ตามหลกั
สขุ อนามยั ในสมัยใหม่นีเ้ ขาค้นควา้ ได้ดีมากเลยทีเดียว เขารเู้ ลยทเี ดียววา่
โรคภยั ไขเ้ จบ็ มนั เปน็ เพราะอะไรๆ ตา่ งๆ แลว้ กใ็ ชย้ าอะไร จะทำ� ยงั ไงตา่ งๆ
ในปัจจบุ นั เขากเ็ ก่งเหมอื นกัน เร่ืองอาหารตอ้ งควบคมุ อนั นีเ้ ปน็ ปจั จบุ นั
ทนี เี้ รอื่ งในอดตี มพี ระพทุ ธเจา้ ทที่ า่ นรเู้ ทา่ นน้ั เอง คนอนื่ มองไมเ่ หน็
เรอื่ งของกรรมน้ี มแี ตพ่ ระพทุ ธเจา้ เทา่ นน้ั ทจ่ี ะรู้ ในพทุ ธศาสนาของเรานี้
จะมีผลของกรรมมันมาแสดงผลของกรรมในปัจจุบัน ศาสนาอ่ืนมอง
ไมอ่ อก หาวา่ เปน็ การกระทำ� ของพระเจา้ บา้ ง ของผบี า้ ง ของอะไรบา้ งตา่ งๆ
วา่ ไปนน่ั อนั ทจี่ รงิ ไมใ่ ชห่ รอก เปน็ กรรมของเรา ถา้ กรรมเราไมม่ ี ปจั จบุ นั น้ี
ใครๆ จะมาท�ำก็ยากแล้ว ท�ำยากทีเดียว ส่วนใหญ่จะเป็นกรรมในอดีต
มันมาส่งผล บางทีกม็ ีโรคภยั ไข้เจ็บ

~ 30 ~

พระอาจารย์ทวิ า อาภากโร

ทนี ที้ า่ นกแ็ บง่ เปน็ ๓ ระดบั โรคภยั ไขเ้ จบ็ อนั เกดิ จากกรรมนม้ี ี ๓ ระดบั
ถา้ ทำ� กรรมเลก็ นอ้ ย กท็ ำ� ใหเ้ กดิ โรคภยั ไขเ้ จบ็ เลก็ ๆ นอ้ ยๆ อนั นรี้ กั ษากห็ าย
ไมร่ กั ษากห็ าย มนั หายไปเอง อนั นเ้ี ปน็ ธรรมชาตขิ องมนั เปน็ นดิ ๆ หนอ่ ยๆ
ไมค่ อ่ ยสบายแลว้ กห็ ายมนั เอง ถา้ กรรมปานกลางทำ� ยงั ไง ถา้ กรรมปานกลาง
ก็ต้องรักษาอย่างจริงจังเลยทีเดียว ต้องอดทน เสียเงินเสียทอง ต้องให้
คนอ่ืนเหนื่อยยากล�ำบาก ต้องหาหมอหาอะไรเป็นการใหญ่เลยทีเดียว
ต้องรักษาจึงหาย ไม่รักษาก็ตาย เลยต้องเอากันจริงๆ จังๆ น่ีคือกรรม
ปานกลาง ทีนี้กรรมหนกั รกั ษาก็ตาย ไมร่ ักษากต็ าย นีก่ รรมหนัก หมอดี
ยงั ไงก็รกั ษาไม่ได้
เอ้า ทีนี้เราก็ไม่รู้เหมือนกันว่ากรรมมันหนักหรือมันเบาหรือมัน
ปานกลาง เรากต็ อ้ งพยายาม เมอ่ื โรคภยั ไขเ้ จบ็ เกดิ ขนึ้ มา เรากต็ อ้ งฝนื มนั
ฝืนเพ่ือให้ชีวิตอยู่ต่อไปเพื่อจะได้ท�ำความดีต่อไป อันนี้เป็นหลักส�ำคัญ
ไม่ใช่ว่าจะไปยอมมนั ไมใ่ ช่อยา่ งน้ัน เราตอ้ งฝืนมัน ฝืนกฝ็ ืนตามหลักวชิ า
ในเรอ่ื งของรา่ งกายนี้ เรากต็ อ้ งรกั ษาสขุ ภาพอนามยั ใหถ้ กู ตอ้ งตามหลกั วชิ า

~ 31 ~

เมตตาและกรรม

ทางแพทย์และทางโภชนาการ และก็ทางอนามัยต่างๆ เราท�ำให้ถูกต้อง
ตามหลักวิชา ยาก็เหมือนกัน เราก็รักษาให้ตามหลักวิชา ทีน้ีเราก็เหลือ
แต่เรื่องของกรรมน้ี เราก็ต้องฝืนกรรมมัน ฝืนกรรมเท่าน้ัน ในการฝืน
กรรมน้ี ทำ� ใหก้ รรมจางไดเ้ หมอื นกนั กรรมในอดตี ทเี่ ราสรา้ งมาในปจั จบุ นั
ท�ำให้กรรมของเราในปัจจุบันนี้เจือจางได้ถ้าเราท�ำความดีในปัจจุบัน
สำ� คญั ตรงนี้ ทำ� ความดอี ะไรละ่ ทนี ้ี อนั นสี้ ำ� คญั ทเี ดยี ว ทา่ นบอกวา่ ประพฤติ
พรหมจรรย์ทานศลี ภาวนา๓อยา่ งนรี้ วมเลยเรยี กวา่ ประพฤตพิ รหมจรรย์
ท�ำให้กรรมมันจางได้ โดยเฉพาะการภาวนาเนี่ย รักษาศีลภาวนาเนี่ย
แผเ่ มตตานด่ี ที สี่ ดุ ทเี ดยี ว แผเ่ มตตานท้ี ำ� ใหก้ รรมจางลงไปไดม้ ากทเี ดยี ว
เพราะอะไร เพราะวา่ กรรมตา่ งๆ ทเี่ ราทำ� เนย่ี มนั ไมไ่ ดไ้ ปไหน มนั กอ็ ยใู่ นใจ
ท่ีฝังไว้ในใจเราเนี่ย กรรมท่ีเราท�ำไปในอดีตทั้งหลายแหล่ มันเก็บไว้ใน
ใจเรา เกบ็ ไวใ้ นจติ ใตส้ ำ� นกึ ในภวงั ค์ ตวั นแ้ี หละเปน็ ทเี่ กบ็ กรรมทงั้ หลายแหล่
เอ้า ทีน้ีพอถึงเวลากโ็ ผลอ่ อกมาท�ำใหเ้ ราเดอื ดรอ้ นทีเดยี วละทเี น่ีย
ทนี ี้ถา้ หากว่าเราพยายามแผ่เมตตา การแผเ่ มตตาคอื การปรารถนา
ความสขุ ใหแ้ ก่ตัวเองและผอู้ ่ืนเป็นประจ�ำ ต้องท�ำเป็นประจ�ำเลยทเี ดียว

~ 32 ~

พระอาจารยท์ ิวา อาภากโร

ความทุกข์ตา่ งๆ มันกเ็ บาลงไป ทุกขท์ ่ีเกดิ จากเราก็ตาม ทจ่ี ะไปทำ� ใหผ้ ้อู ื่น
เดือดร้อนก็ตาม มันจะเบาลงไป โดยเฉพาะทุกข์ของเราจะเบาลงไป
เบาลงไปเอง เราฝนมนั อยู่เรอ่ื ย ทำ� ความสะอาดอยเู่ รื่อยๆ คนเราปกติเนย่ี
กรรมท�ำให้ทุกข์ท�ำให้เดือดร้อน แต่เราก็ฝนอยู่เร่ือย คิดถึงเร่ืองความสุข
ปรารถนาความสุขให้แกต่ นเอง ปรารถนาความสขุ ใหแ้ ก่ผูอ้ ่ืนเท่าเทียมกัน
เสมอกนั อันน้สี �ำคญั ทีเดยี ว แลว้ ทำ� ให้โรคภัยไข้เจบ็ มันนอ้ ยลงไป เพราะ
เราฝนมันอยู่เร่ือย ท�ำให้เราไม่ทุกข์ เมื่อไม่ทุกข์ โรคภัยไข้เจ็บก็ค่อยเบา
เบาบางลงไป พระพุทธเจา้ ทา่ นบอกวา่ การแผเ่ มตตาน้ี กรรมหนกั ก็จะ
กลายเปน็ กรรมเบา กรรมเบากจ็ ะจางไป จางไปได้
นี่แหละการที่เราจะสู้กับโรคภัยไข้เจ็บ เราสู้ไปท�ำไม เราก็สู้เพ่ือ
ใหช้ วี ติ เรายืน ยนื ไปทำ� ไมล่ะ ยืนเพ่ือรกั ษาพรหมจรรย์ รกั ษาไปทำ� ไม
ก็เพ่ือพน้ ทกุ ข์ พ้นทกุ ข์โดยสนิ้ เชิง นเ่ี รากป็ รารถนาไปอย่างนี้
เวลาน้ีเราก็เห็นสภาพความเป็นจริงของชีวิตแล้วว่ามันเป็นทุกข์มาก
เรากพ็ ยายาม เวลาน้ียงั มเี วลาท่จี ะเดนิ ทางได้ เราก็เดินทางให้มันพน้ จาก

~ 33 ~

เมตตาและกรรม

ทุกข์ไป ทางท่ีพ้นทุกข์ก็ทางท่ีพระพุทธเจ้าตรัสไว้น่ันแหละ ในทางของ
ชาวโลกก็ ทาน ศลี ภาวนา ทานนเ่ี ราตอ้ งเสยี สละ เสยี สละไมใ่ ชว่ ตั ถสุ งิ่ ของ
อยา่ งเดยี ว เราตอ้ งสละเวลา สละรายได้อันพึงมีพึงได้นี้ มาปฏบิ ัติธรรมะ
ถ้าเราไม่สละก็มาไม่ได้เท่านั้นล่ะ ต้องสละ เสียสละทรัพย์สมบัติบ้าง
เสียสละส่ิงที่พึงมีพึงได้ เสียสละความสนุกสนานเพลิดเพลินอันพึงมี
พงึ ไดบ้ ้าง เรามาภาวนาต้องเสียสละ แลว้ ก็รกั ษาศลี มารกั ษาศีลก็คอื ตอ้ ง
ควบคุมกายกับวาจาของเราให้อยู่ในการควบคุม ท�ำสติควบคุมกายกับ
วาจา แลว้ กภ็ าวนา ภาวนากค็ อื ทำ� สมาธิ ทำ� วปิ สั สนา ทง้ั สมถะ ทง้ั วปิ สั สนา
อนั นี้คือเรือ่ งของชาวบ้าน เรากต็ อ้ งไปทางสายน้ี และเมื่อเป็นนักบวชแล้ว
เปน็ ยงั ไง ทานนก้ี ็ลดลงไป จะเหลือแต่ ศลี สมาธิ ปญั ญา เน้นลงไปเลย
ทเี ดียว ศีลนี้ก็บงั คบั กายกับวาจาเลยทเี ดียว เพราะสมบตั ินี้เราละมาแล้ว
ก็ไม่ต้องไปห่วงไปกังวลกับมันแล้ว มีกินไปวันๆ ไม่ต้องเป็นห่วงแล้ว
เรื่องทาน บางคนนี่ออกมาแล้วก็คิดว่า เอ๊ จะยังไง จะหาเงินหาทองมา
ท�ำบุญท�ำทาน หาท่ีไหนได้ ก็ไม่ต้องไปคิดมันแล้วน่ี เราทานมาแล้วน่ี
สมมตุ วิ า่ เราบวชมาแลว้ สมมุติว่าเปน็ แมช่ ี เป็นอะไรมาแลว้ เราอยูว่ ดั ถือ

~ 34 ~

พระอาจารย์ทิวา อาภากโร

ศลี ๘ แลว้ เราเปน็ นกั บวชแลว้ เราอยา่ ไปคดิ ถงึ เรอ่ื งทานมาก มกี นิ ไปวนั ๆ
ขอที่ไหนเขากนิ เปน็ วนั ๆ เอ้า เรากท็ �ำไปเลย เราภาวนาไปเลย รักษาศีล
ศีลคืออะไร ก็คือการท�ำสติ ควบคุมกายกับวาจาไม่ให้ไปท�ำความช่ัว
แลว้ นะ ส่วนสมาธิ กค็ อื ทำ� สมาธคิ วบคุมจิตไม่ใหเ้ พลินไปในทางรูป เสียง
กลน่ิ รส สมั ผสั ไมใ่ หม้ นั เพลดิ เพลนิ ไป คอยควบคมุ จติ ของเรา แลว้ กฝ็ กึ ทำ�
ปัญญาให้เป็น ปัญญาคือการเห็นจริงตามสภาพความเป็นจริง ร่างกาย
ของเราเนีย่ ประกอบด้วยธาตุ ๔ นั่นน่ะเหน็ ไหม ตัวกาย รปู นเ้ี ป็นธาตุ ๔
ธาตุ ๔ มันก็คือ ดิน น�้ำ ไฟ ลม น่ีแหละ สิ่งใดที่แข็งเรียกว่า ดิน
ส่ิงใดท่ีเหลวเรียกว่า น้�ำ ส่ิงใดท่ีร้อนเรียกว่า ไฟ สิ่งใดท่ีเคลื่อนไหว
เรยี กวา่ ลม สภาวะ ๔ สภาวะมารวมเข้ากเ็ ป็นกายอนั น้ี ดนิ นำ้� ไฟ ลม
ดนิ นำ�้ ไฟ ลม นม่ี นั กไ็ มใ่ ชจ่ ะอยไู่ ปคำ้� ฟา้ เมอ่ื ไร ไมใ่ ชอ่ ยา่ งงน้ั บางครง้ั
มันเกิดวปิ รติ ข้ึนมาทเี ดยี ว ก็ทำ� ให้เราเจ็บปว่ ย ธาตดุ ินมันวปิ ริตขน้ึ มาเป็น
ยังไง ตวั ก็แขง็ หมด ธาตุนำ�้ เปน็ ยังไง มันเนา่ เฟอะ ธาตุไฟกร็ ้อน ลุกหมด
ธาตุลมก็ดันแน่นอึดอัดไปหมดเลยทีเดียว ดิน น้�ำ ไฟ ลม พอมันวิบัติ

~ 35 ~

เมตตาและกรรม

ในทสี่ ดุ มนั กต็ อ้ งทำ� ลายตวั มนั เอง หายไป ตอ้ งทำ� ลายหมด อยไู่ มไ่ ด้ สดุ ทา้ ย
มันก็ต้องเป็นอย่างน้ัน ธรรมชาติของมัน เราก็เห็นจริงตามธรรมชาติ
ของมัน นี้คือพิจารณาธาตุ ๔ เป็นธรรมชาติของมัน ธรรมชาติของดิน
น�ำ้ ไฟ ลม กายของเราน่ปี ระกอบด้วยธาตุ ๔ ดนิ นำ้� ไฟ ลม ธาตุ ๔ นี้
ก็ไมเ่ ทยี่ งนะ มันเกดิ มนั ดบั แล้วในทส่ี ดุ มนั กด็ บั ของมนั จริงๆ มนั กระจาย
ไปของมันจริงๆ เลย หมดสภาพเลยทีเดียว เวลานก้ี ็คุมกันอยู่ มันก็ยงั ไปๆ
มาๆ ได้ เอา้ ถา้ มนั เจบ็ ปว่ ยเปน็ อะไรไป ธาตอุ ะไรมนั พกิ ารไป เรากเ็ ยยี วยา
มันไป เวลาน้ีก็เป็นอย่างนั้น ไม่ต้องไปคิดอะไรมันมาก เป็นสภาวธรรม
คดิ วา่ มนั เปน็ สภาวธรรมของมนั กเ็ ทา่ นน้ั เอง ถงึ เวลามนั กไ็ ปของมนั ทกุ คน
เปน็ อยา่ งนน้ั หมด เปน็ สภาวธรรม ธาตุ ๔ ดนิ นำ�้ ไฟ ลม ไมว่ า่ จะเปน็ มนษุ ย์
ไมว่ ่าจะเป็นสัตว์ ไมว่ ่าจะเปน็ โลก ทัง้ โลกนก้ี ็เหมือนกัน ถงึ เวลาแตกก็แตก
เหมือนกนั ไม่ใชว่ า่ โลกนีจ้ ะคงทน ไม่ใชอ่ ยา่ งนั้นนะ ธาตุ ๔ มนั วิบตั ิได้ตาม
อายุขัยของมัน น่ีแหละมันไม่ใช่สัตว์ ไม่ใช่บุคคล ไม่ใช่ตัวตนเราของเรา
มนั เปน็ สภาวธรรม เราคดิ ถงึ อยา่ งนเ้ี รากส็ บาย ไมต่ อ้ งเปน็ หว่ งมนั มากมาย
มนั เปน็ สภาวะของมนั ไปฝนื มนั ไมไ่ ด้ หรอื ฝนื ไดก้ ไ็ ดช้ ว่ั คราว ฝนื เพอ่ื จะทำ�

~ 36 ~

พระอาจารยท์ วิ า อาภากโร

ความดีกันต่อไปก็เท่าน้ันแหละ นี่มันเป็นอย่างน้ัน ดังนั้นเราไม่ต้องไป
วิตกกังวลอะไรมันมาก มันเป็นยังไงก็ตาม เราก็ท�ำความดีของเราต่อไป
ทาน ศีล ภาวนา ส�ำหรับชาวบ้าน ถ้ามาบวชแล้วก็ศีล สมาธิ ปัญญา
ทำ� เข้าไป

หมายเหต:ุ สามารถรบั ฟงั ไฟลเ์ สยี งไดท้ ล่ี ง้ิ คข์ อง Youtube: เทศนห์ ลวงปทู่ วิ า อาภากโร 09 เมตตา
และกรรม

~ 37 ~

การฝึกท�ำสมาธิภาวนา เมตตาพรหมวหิ าร

การฝึกทำ� สมาธภิ าวนา เมตตาพรหมวหิ าร

การเพมิ่ คณุ ภาพจติ โดยการทำ� สมาธภิ าวนา จติ ทม่ี คี ณุ ภาพสงู เปน็ จติ
ที่มคี วามสขุ มากกวา่ ปกติ เปน็ จิตทปี่ ระกอบไปด้วยกุศล ไม่คิดเบียดเบยี น
ตนเองและผูอ้ นื่ ปรารถนาความสขุ ให้แก่ตนเองและผู้อื่น ตรงกันข้ามกบั
จิตทม่ี ีคุณภาพต่�ำ เป็นจติ ทปี่ ระกอบไปดว้ ยอกุศลเปน็ ส่วนมาก ทำ� ตนเอง
ใหเ้ ปน็ ทกุ ข์ แลว้ กแ็ ผก่ ระจายความทกุ ขน์ น้ั ไปใหผ้ อู้ น่ื ทง้ั ทโ่ี ดยเจตนาและ
ไม่เจตนาก็ตาม
พระอริยเจ้าทุกพระองค์นับตั้งแต่โสดาบันข้ึนไป จิตของท่านมี
คณุ ภาพสงู กวา่ จติ ของปถุ ชุ น เพราะทา่ นมเี มตตาเปน็ วหิ ารธรรม คอื เปน็
เครอื่ งอยู่ ฉะนนั้ ทา่ นจงึ เปน็ ผทู้ มี่ คี วามสขุ มากกวา่ ปถุ ชุ นธรรมดา พวกเรา
ถึงแม้วา่ ยังเป็นปุถุชนอยู่ แตถ่ า้ เจริญเมตตาพรหมวหิ ารเปน็ ประจ�ำ เราก็

~ 38 ~

พระอาจารยท์ ิวา อาภากโร

จะเปน็ ผู้ทีม่ ีความสขุ มากกว่าปกติ ตา่ งกันแตว่ า่ พระอรยิ เจา้ ท่านมเี มตตา
เปน็ อตั โนมตั ิ เกดิ ขนึ้ เปน็ ประจำ� ไมม่ กี ารเสอื่ ม สำ� หรบั ปถุ ชุ นตอ้ งพยายาม
ท�ำใหเ้ กิดข้ึนท�ำใหม้ ขี นึ้ และต้องพยายามรกั ษาไวไ้ ม่ให้เสอ่ื มดว้ ย
เมตตาพรหมวิหารน้ี ถ้าเกิดข้ึนแล้ว ความเป็นผู้มีศีลคือไม่คิด
เบยี ดเบยี นตนเองและผอู้ นื่ คดิ ปรารถนาความสขุ ใหแ้ กต่ นเองและผอู้ นื่
ก็เกิดข้ึนดว้ ย อยทู่ ใี่ ดไปทใี่ ดก็มแี ต่ความเยือกเย็นเป็นสขุ
เมตตาพรหมวิหารน้ี ถ้าท�ำให้มากเจริญให้มาก ย่อมแก้กรรมได้
กรรมทท่ี ำ� แลว้ ถา้ หนกั กอ็ าจจะเบาบางลงได้ ถา้ กรรมนนั้ พอประมาณกอ็ าจ
จะจางหายไปได้ ผู้ที่จะบ�ำเพ็ญความดีจนบรรลุถึงความเป็นพระอริยเจ้า
ตงั้ แต่โสดาบันข้ึนไป จ�ำเปน็ ต้องสรา้ งบารมี คอื ทำ� คุณสมบัติ ๑๐ ประการ
ใหเ้ กดิ ขนึ้ ใหม้ ขี นึ้ กบั ตนเองกอ่ น คอื ทาน ศลี เนกขมั มะ ปญั ญา วริ ยิ ะ ขนั ติ
สัจจะ อธษิ ฐาน เมตตา อเุ บกขา เมตตาเปน็ บารมีอนั หนึ่งซง่ึ จ�ำเป็นจะ
ต้องสร้างให้เกิดขึ้นให้มีข้ึนกับตน การเจริญเมตตาพรหมวิหารท�ำให้
เมตตาบารมขี องเราเพิม่ ขึ้น เพ่ิมข้ึน

~ 39 ~

การฝกึ ท�ำสมาธิภาวนา เมตตาพรหมวหิ าร

เมตตาพรหมวหิ าร แก้ Side Effect คอื ผลเสยี บางประการของการ
ภาวนาได้ การทำ� สมาธิภาวนาในระบบใดกต็ าม จะใชอ้ ะไรเปน็ กรรมฐาน
ก็ตาม จะมีอยู่จุดหน่ึงท่ีจิตของเราสงบ ต้องการความสงบ และอยากอยู่
ในท่ีสงบ แต่ส่ิงแวดล้อมก็เป็นไปตามปกติของเขา เช่น เราอยู่ในบ้าน
แต่ก่อนเรายังไม่ภาวนา คนในครอบครัวท�ำเสียงดัง เราก็รู้สึกเป็นของ
ธรรมดา แต่เมื่อเราภาวนาถึงจุดที่มีความสงบ ต้องการความสงบ และ
อยากอยใู่ นทส่ี งบแลว้ บางครง้ั เราจะรสู้ กึ หงดุ หงดิ รำ� คาญเสยี ง แลว้ ไปโทษ
สงิ่ แวดลอ้ มวา่ ทำ� ใหเ้ กดิ ความไมส่ งบ แตถ่ า้ เราเจรญิ เมตตาพรหมวหิ ารแลว้
เราจะไมไ่ ปโทษสงิ่ แวดลอ้ มภายนอก แตจ่ ะรสู้ กึ เมตตาทกุ คนเสมอกนั หมด
และสามารถปรบั ความร้สู ึกของเราให้เปน็ ปกตไิ ด้ไมย่ ากนัก
เมตตาเปน็ เครอื่ งคำ้� จนุ โลก สงั คมทข่ี าดเมตตาคอื สงั คมของสตั วป์ า่
สัตว์ใหญ่กินสัตว์เล็ก สัตว์ที่แข็งแรงเบียดเบียนสัตว์ท่ีอ่อนแอ มีแต่
ความหวาดกลัวอยู่ตลอดเวลา ตัวเรา ครอบครัว และในสังคมส่วนย่อย
ถา้ ปราศจากเมตตาไปแลว้ กจ็ ะเดอื ดรอ้ น เปน็ ทกุ ข์ หวาดระแวงเชน่ เดยี วกนั
ถา้ มนษุ ยเ์ ราขาดเมตตา สงั คมของมนษุ ยต์ อ้ งแยย่ งิ่ กวา่ สงั คมของสตั วเ์ สยี อกี

~ 40 ~

พระอาจารยท์ ิวา อาภากโร

เพราะมนุษย์ทุกวันนี้มีอ�ำนาจในทางวัตถุมาก ถ้าเอาอ�ำนาจนี้มาใช้ทาง
เบยี ดเบียนกัน ท�ำลายกัน โลกกค็ งอยไู่ ม่ไดแ้ น่ ท่โี ลกยังอยไู่ ดเ้ พราะมนุษย์
เรายังมีเมตตาต่อกัน แม้จะอยู่ในวงจำ� กัดก็ตาม ถ้ามนุษย์เรามีเมตตาแผ่
กว้างไปมากเท่าไร โลกก็จะน่าอยู่มากขึ้น สิ่งแวดล้อมต่างๆ ในโลกจะ
เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีข้ึน เมตตาจึงเป็นคุณธรรมที่ส�ำคัญอย่างหน่ึง
ท่ีค�ำ้ จุนโลกให้คงอยไู่ ด้ ฉะนน้ั โบราณาจารย์ท่านจงึ ใหแ้ ผ่เมตตาทุกค่ำ�
เชา้ หลงั จากไหวพ้ ระสวดมนตเ์ สร็จแล้ว
อานสิ งส์ของการเจรญิ เมตตามดี งั นี้
๑. ตนื่ ก็เปน็ สุข
๒. หลบั ก็เป็นสขุ
๓. ไมฝ่ นั ร้าย
๔. เปน็ ทรี่ ักของมนษุ ย์
๕. เป็นท่ีรักของอมนุษย์ อมนุษย์นี่หมายถึง เทวดา ผี และสัตว์
ทงั้ หลายดว้ ย

~ 41 ~

การฝึกทำ� สมาธภิ าวนา เมตตาพรหมวหิ าร

๖. เทวดารักษา ผูใ้ ดทเี่ ทวดารกั ษา ผู้นัน้ จะเจรญิ รุ่งเรืองไมต่ กต่ำ�
๗. ไมเ่ ป็นอันตรายด้วยไฟ ยาพิษ และศาสตรา
๘. จิตจะเป็นสมาธิอย่างรวดเร็ว ถ้าเราแผ่เมตตาแล้วท�ำสมาธิต่อ
จติ จะเปน็ สมาธเิ รว็ กว่าปกติ
๙. สีหนา้ จะผ่องใส ดกี ว่า Make up ด้วยเคร่ืองส�ำอาง
๑๐. ก่อนจะตายจะมสี ตไิ มห่ ลงตาย การหลงตาย คอื เพ้อ หรอื โกรธ
จิตเปน็ อกศุ ล เพราะฉะน้นั ทคุ ติจงึ เปน็ ไปในเบอ้ื งหนา้
๑๑. เมื่อไม่บรรลนุ พิ พาน ยอ่ มเปน็ ผเู้ ขา้ ถงึ พรหมโลก
ตอ่ ไปนเี้ ปน็ การฝกึ ทำ� สมาธภิ าวนา เมตตาพรหมวหิ าร นงั่ ขดั สมาธิ
หลับตา แล้วคิดตามค�ำพดู ของอาตมา
เอา้ ตอ่ ไปนฝ้ี กึ แผเ่ มตตา กอ่ นอน่ื เราจะตอ้ งแผเ่ มตตาใหต้ นเองซะกอ่ น
คดิ ในใจซง้ึ ในใจเลยทเี ดยี ว ขอขา้ พเจา้ จงอยา่ มที กุ ขก์ ายทกุ ขใ์ จ ขอขา้ พเจา้
จงมีความสุข เป็นความปรารถนาความสุขให้แก่ตนเอง ทุกคนสามารถ
จะท�ำได้ คนท่ีมีความทุกข์ที่สุด ก็คงจะปรารถนาให้ตนเองมีความสุข

~ 42 ~

พระอาจารย์ทวิ า อาภากโร

ความปรารถนาความสขุ เชน่ นน้ั ทำ� ใหเ้ กดิ ขนึ้ ทำ� ใหม้ ขี น้ึ ในจติ ในใจของเรา
ขอข้าพเจา้ จงอย่ามีทุกข์กายทกุ ขใ์ จ ขอขา้ พเจ้าจงมคี วามสขุ
ล�ำดับต่อไป แผ่เมตตาไปยังสรรพสัตว์ทั้งหลายคิดในใจซ้ึงอีก
เหมือนกัน ขอสรรพสัตว์ทั้งหลายจงอย่ามีทุกข์กายทุกข์ใจ ขอสรรพสัตว์
ทง้ั หลายจงมคี วามสขุ เปน็ การปรารถนาความสขุ ใหแ้ กส่ รรพสตั วท์ งั้ หลาย
การแผเ่ มตตาคอื การปรารถนาความสขุ ใหแ้ กต่ นเองและผอู้ น่ื เทา่ เทยี มกนั
เสมอกนั นี่เป็นหัวใจเป็นหลักสำ� คัญของการแผ่เมตตา
ลำ� ดับตอ่ ไป ทำ� ความสม่ำ� เสมอในบรรดาสรรพสัตวท์ ัง้ หลาย รวมทง้ั
ตัวเราเองด้วย ด้วยการคดิ ถึงบุคคล ๔ คน
๑. ตวั เราเอง นกึ ถึงตวั เราเองทน่ี ง่ั อย่ใู นปจั จุบนั น่ี
๒. คนทเ่ี รารัก มีใครบา้ งรกั มากที่สดุ
๓. คนที่ไมร่ ักไม่ชงั คนท่วั ๆ ไป
๔. คนทีเ่ ราไม่ชอบ คนท่ีเราเกลยี ด

~ 43 ~


Click to View FlipBook Version