The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อการวิจัย รองศาสตราจารย์ ดร.วิเชียร อินทรสสมพันธ์ คณบดีคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อการวิจัย

เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อการวิจัย รองศาสตราจารย์ ดร.วิเชียร อินทรสสมพันธ์ คณบดีคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

เคร่อื งมือทใ่ี ช้ในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู เพื่อการวจิ ยั

วเิ ชียร อินทรสมพันธ์
คณะครุศาสตร์

มหาวทิ ยาลัยราชภัฏบ้านสมเดจ็ เจา้ พระยา
2562

เคร่อื งมือที่ใชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมูลเพ่ือการวจิ ยั

โดย วิเชยี ร อนิ ทรสมพันธ์

ISBN : 978-616-582-911-3

ข้อมลู ทางบรรณานุกรมของหอสมุดแหง่ ชาติ
วเิ ชียร อินทรสมพันธ.์
เครอื่ งมอื ทใี่ ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมลู เพือ่ การวิจัย.-- พมิ พค์ รงั้ ท่ี 2.-- กรงุ เทพฯ :
สหธรรมิก, 2562.
168 หนา้ .
1. เครือ่ งมือวจิ ัย. 2. การสร้างและการพฒั นาเครอ่ื งมือวจิ ยั . I. ชอื่ เรือ่ ง.
001.42
ISBN 978-616-582-911-3
พิมพค์ ร้ังที่ 1 กุมภาพันธ ์ พ.ศ. 2559 จ�ำนวน 300 เลม่
พมิ พค์ รง้ั ที่ 2 กนั ยายน พ.ศ. 2562 จ�ำนวน 300 เลม่
ออกแบบปก/รูปเล่ม แฝงกมล เพชรเกล้ยี ง
สงวนลขิ สทิ ธ์ติ ามพระราชบญั ญตั ลิ ิขสิทธิ์ (ฉบับเพ่มิ เติม) พ.ศ. 2558
หา้ มลอกเลียนแบบ หรอื คดั ลอกส่วนใดส่วนหนึง่ ของตำ� ราเลม่ นี้
ยกเวน้ แตไ่ ด้รบั อนุญาตเปน็ ลายลกั ษณอ์ ักษรจากผเู้ ขียน
จัดพมิ พโ์ ดย
วเิ ชยี ร อนิ ทรสมพนั ธ์
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั บ้านสมเดจ็ เจ้าพระยา
1061 ซอยอสิ รภาพ 15 ถนนอิสรภาพ แขวงหริ ญั รู ูจี เขตธนบรุ ี กรุงเทพฯ 10600
โทร. 02-473-7000 ต่อ 5000 E-mail : [email protected]
พิมพท์ ่ี
โรงพิมพ์ บริษัทสหธรรมมกิ จำ� กดั
54/67-68 ซอย 12 ถนนจรัญสนทิ วงศ์ แขวงทา่ พระ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพฯ 10600
โทร. 0-2864-0434-5 โทรสาร 02-4123087 E-mail. [email protected]

คาํ นาํ

ตําราเคร่ืองมือที่ใชเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อการวิจัยเลมน้ี เปนการปรับปรุงตําราเพ่ือใชเปนสวนหนึ่ง
ของรายวิชา 1198101 เครื่องมือท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อการวิจัย ตามหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต
สาขาวชิ าการวดั ประเมินและวิจยั ทางการศึกษา (หลักสตู รปรับปรงุ พ.ศ. 2561) โดยผูเขียนไดรวบรวมและ
เรียบเรียงสาระดังกลาวจากเอกสาร หนังสือ ตํารา บทความทางวิชาการ และงานวิจัยที่เก่ียวของ เพื่อ
นํามาใชในการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตร โดยมีเน้ือหาสาระท่ีเกี่ยวของกับความรูพ้ืนฐานในการ
สรา งเครอื่ งมือการวจิ ยั การสรางแบบทดสอบ แบบสอบถาม แบบมาตรประมาณคาและแบบวัดเจตคติ การ
สัมภาษณและการสังเกต การวิเคราะหคุณภาพเครื่องมือ และการประยุกตใช Google Form สราง
เคร่อื งมอื การวิจัย

ผูเ ขียนไดพฒั นาตาํ ราเลม นี้เพอ่ื นํามาใชใ นการเรียนการสอนกับผูเรียนในหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาการประเมินผลและวิจัยทางการศึกษา ต้ังแตป 2559 การปรับปรุงครั้งน้ีไดมีการแกไขปรับปรุง
รายละเอียดของเนื้อหาใหมีความสมบูรณย่ิงขึ้นและไดปรับปรุงเพ่ิมเติมเก่ียวกับเนื้อหาดานการประยุกตใช
Google Form เพ่ือสรางเครื่องมือการวิจัยใหทันยุคทันสมัย นักศึกษาที่เรียนวิชาน้ีไดใชตําราเลมน้ีใหเกิด
ประโยชนแ ละสามารถนาํ ไปประยุกตใ ชใ นการทําวิจยั ตอ ไปได

ขอขอบพระคุณรองศาสตราจารย ดร. วโิ ฬฏฐ วัฒนานิมิตกูล รองศาสตราจารยสุภรณ ล้ิมบริบูรณ
รองศาสตราจารย ดร.ปราณีต มวงนวล และผูท รงคุณวุฒิทกุ ทานทไ่ี ดเมตตาชวยเหลอื ผเู ขยี นใหคาํ แนะนําใน
การปรบั ปรุงดานเน้ือหาของตําราเลมนี้ ขอขอบคุณคณาจารยสาขาวิชาการประเมินและวิจัยทางการศึกษา
ทุกทานที่ชวยเปนกําลังใจใหผูเขียนไดมุมานะพยายามเขียนตําราเลมนี้ใหสําเร็จลุลวงดวยดี รวมทั้ง
ขอขอบพระคุณทานเจาของเอกสาร ตํารา และรายงานการวิจัยซ่ึงปรากฏอยูในบรรณานุกรมทุกทานท่ี
ผูเขียนไดนํามาอางอิงในการเขียนตําราเลมน้ี หวังเปนอยางยิ่งวาสาระจากตําราเครื่องมือที่ใชเก็บรวบรวม
ขอมูลเพื่อการวิจัยเลมน้ีจะเปนประโยชนตอผูศึกษาในดานการวิจัย การวัดผล และประเมินผลทางการ
ศกึ ษา หรอื ผูท สี่ นใจเกี่ยวกับเรอ่ื งนี้

วิเชียร อนิ ทรสมพนั ธ
กนั ยายน พ.ศ. 2562



สารบัญ

หนา

คาํ นํา……………………………………………………………………………..……………………………………..……. (1)

สารบญั …………………………………………………………………………………………………….………..…….… (3)
สารบญั ตาราง………………………………………………………………………………………….…...…..………… (6)

สารบญั ภาพ…………………………………………………………………………………………….…....…............ (8)

บทท่ี 1 บทนาํ ……………………………………………………………………..……………............................ 1
แนวคิดและลกั ษณะสาํ คัญของเครื่องมือทใ่ี ชใ นการเก็บรวบรวมขอมลู …………………. 1
ประเภทของเครอ่ื งมือทีใ่ ชในการเก็บรวบรวมขอ มลู ................................................. 3
การเลอื กใชเ ครือ่ งมือเก็บรวบรวมขอ มูลเพื่อการวจิ ยั .............................................. 7
ตวั แปรการวจิ ัย ........................................................................................................ 8
มาตรวดั ตวั แปรการวิจยั .......................................................................................... 9

ลกั ษณะเครอ่ื งมอื เกบ็ รวบรวมขอ มลู ท่ีดี ............................................................... 11

ขอ จาํ กดั ของเครอื่ งมือเกบ็ รวบรวมขอมูล ............................................................. 13
บทสรุป………………………………………………………….……………………………………….….….. 14

บทท่ี 2 แบบทดสอบ………………………………………….....................................…………….…..… 15
ความหมายของแบบทดสอบ …………………………………………………..……………....….…… 15
ประเภทของแบบทดสอบ………………………………………………………..……………….….……. 16
รปู แบบของแบบทดสอบ...................................................................................… 19
การเขยี นขอคาํ ถามของแบบทดสอบ..................................................................…… 23
ขั้นตอนในการสรา งแบบทดสอบ.............................................................................. 28
ปญหาการสรา งแบบทดสอบ.................................................................................... 34
ขอดีและขอจํากัดของแบบทดสอบ........................................................................... 35
บทสรปุ ………………………………………………………………………………..……….………….…… 36

บทที่ 3 แบบสอบถาม………………………………………………………………………….………………..…… 37
ความหมายของแบบสอบถาม. ............................................................................... 37

ประเภทของแบบสอบถาม …………………………………………………….......................... 38

โครงสรา งของแบบสอบถาม.................................................................................... 39
ขน้ั ตอนการสรางแบบสอบถาม .............................................................................. 40

(4)

หนา
ขอดี ขอจาํ กัดของแบบสอบถาม ............................................................................ 51

บทสรปุ .................................................................................................................... 52

บทท่ี 4 แบบมาตรประมาณคา และแบบวัดเจตคต…ิ ……………………………….......................... 53
แบบมาตรประมาณคา ............................................................................................... 53
ความหมายของแบบมาตรประมาณคา ............................................................. 53
ประเภทของแบบมาตรประมาณคา.................................................................. 54
การสรา งแบบมาตรประมาณคา ....................................................................... 56
แบบวัดเจตคติ............................................................................................................ 57
ความหมายของเจตคติ..................................................................................... 57
การสรา งแบบวัดเจตคติ .................................................................................. 58
แบบวดั เจตคติตามรปู แบบของลิเคอรท (Likert’s Scale)............................... 58
แบบวัดเจตคติโดยใชความหมายทางภาษาของออสกูด (Osgood’s
Semantic Differential Technique)………………………………......................... 62
แบบวัดเจตคตติ ามแนวคิดของเทอรส โตน (Thurstone’s Scale) ……………… 65

บทสรปุ ..................................................................................................................... 71

บทที่ 5 การสมั ภาษณแ ละการสังเกต.................................................................................... 73
การสมั ภาษณ ........................................................................................................... 73
ความหมายของการสมั ภาษณ ........................................................................ 73
ประเภทของการสมั ภาษณ .............................................................................. 74
หลกั การสมั ภาษณทดี่ ี ..................................................................................... 75
ข้ันตอนการสัมภาษณ ..................................................................................... 76
แบบสมั ภาษณ.................................................................................................. 79
ขน้ั ตอนการสรา งแบบสัมภาษณ....................................................................... 80
การตรวจสอบคุณภาพของการสัมภาษณและแบบสัมภาษณ .......................... 82
ขอ ดี และขอ จาํ กดั ของการสมั ภาษณ .............................................................. 85
การสังเกต ................................................................................................................. 86
ความหมายของการสังเกต .............................................................................. 86
ประเภทของการสงั เกต ................................................................................... 87
หลักการสังเกตทด่ี ี ........................................................................................... 88

(5)

หนา
ลักษณะของผสู ังเกต ....................................................................................... 88
เครือ่ งมือที่ใชในการสังเกต .............................................................................. 89

ข้นั ตอนของการสรา งแบบบันทึกการสังเกต ................................................... 90

ขอ ดีและขอ จํากัดของการสังเกต ..................................................................... 92
บทสรปุ ………………………………………………………………….…………………………………….. 93

บทที่ 6 การวเิ คราะหคุณภาพเครื่องมอื …………………………………........................................... 95
การวเิ คราะหคณุ ภาพเครือ่ งมอื .................................................................................. 95
การวิเคราะหความเท่ยี งตรง ..................................................................................... 95
การวิเคราะหค วามเช่อื ม่ัน ......................................................................................... 103
การวิเคราะหอ าํ นาจจาํ แนก....................................................................................... 111
การวิเคราะหขอ สอบ ................................................................................................ 114
บทสรุป ..................................................................................................................... 123

บทที่ 7 การประยุกตใช Google Form สรา งเคร่อื งมอื การวิจยั .......................................... 125
ขอ ตกลงเบือ้ งตนในการสรางเครือ่ งมือการวิจยั ดวย Google Form......................... 125
แถบเมนู (Menu Bar) ที่ใชใน Google Form........................................................... 126
การสรางแบบทดสอบ ............................................................................................... 129
การสรา งแบบสอบถาม ............................................................................................. 136
บทสรุป ..................................................................................................................... 146

บรรณานุกรม ............................................................................................................................ 147

ภาคผนวก ................................................................................................................................. 151
ภาคผนวก ก ตัวอยางแบบสอบถาม ............................................................................... 151

ภาคผนวก ข ตัวอยางแบบวัดเจตคติ .............................................................................. 161

ประวตั ิผูเ ขียน .......................................................................................................................... 168

(6)

สารบญั ตาราง หนา

ตารางท่ี 30

2.1 ตารางวิเคราะหหลักสูตรเน้ือหากลุมสาระคณิตศาสตร ช้ันประถมศึกษาปที่ 2 31
ในหวั ขอเร่ือง “การบวก และการลบ”.............................................................. 42
45
2.2 ตารางเฉลี่ยผลการวิเคราะหหลักสูตรเน้ือหากลุมสาระคณิตศาสตร 48
ชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ 2 ในหวั ขอ เรอื่ ง “การบวก และการลบ”.......................... 50
55
3.1 ตัวอยางการกาํ หนดพฤตกิ รรมบงชีข้ องตวั แปรการวิจัย..................................... 55
3.2 ตวั อยา งแบบสอบถามท่เี ปนมาตรประมาณคา................................................... 56
3.3 ตัวอยา งพฤติกรรมบง ชี้กับตัวแปรการวิจัยคณุ ลกั ษณะผูน ํานสิ ติ ........................ 67
3.4 ตวั อยา งแบบสอบถามคุณลกั ษณะผนู าํ นสิ ติ ...................................................... 67
4.1 ตัวอยางมาตรประมาณคาแบบตวั เลขแบบที่ 1.................................................
4.2 ตวั อยางมาตรประมาณคาแบบตัวเลขแบบท่ี 2.................................................. 83
4.3 ตวั อยางมาตรประมาณคา แบบภาพ.................................................................. 84
4.4 ตัวอยา งคะแนนเพอ่ื การคาํ นวณหาคา ประจําขอและคาเบ่ียงเบนควอไทล. ....... 101
4.5 ผลการวิเคราะหค า สถติ ิการใหค ะแนนของผูต ัดสินประจําขอ ............................ 103
5.1 ตัวอยางคะแนนเพื่อการวิเคราะหคาสัมประสิทธิ์ความสอดคลองโดยใชสูตร 104
106
ของ Kendall....................................................................................................
5.2 ตวั อยางคะแนนเพื่อการวเิ คราะหห าความแปรปรวนตามวธิ ีของฮอยท. ............ 108
6.1 ผลการวเิ คราะหองคป ระกอบเครือ่ งมือวัดทักษะของผบู ริหาร..........................
6.2 คา สัมประสทิ ธสิ์ หสมั พนั ธร ะหวางแบบวัดที่สรางข้นึ กบั แบบวัดมาตรฐาน......... 109
6.3 ตัวอยา งคะแนนเพ่อื วิเคราะหความเชอื่ มน่ั คงตวั ...............................................
6.4 ตวั อยา งคะแนนเพอื่ วเิ คราะหความเชอ่ื มัน่ เชงิ สอดคลอ งภายในแบบแบงครงึ่ ... 110
6.5 ตวั อยางคะแนนเพอ่ื วเิ คราะหความเชอ่ื มนั่ เชงิ สอดคลอ งภายในตามวิธีการของ

คเู ดอรและริชารด สัน.........................................................................................
6.6 ตัวอยางคะแนนเพ่ือวิเคราะหความเชื่อม่ันโดยวิธีการหาสัมประสิทธิอัลฟา

ตอนท่ี 1.............................................................................................................
6.7 ตัวอยางคะแนนเพื่อวิเคราะหความเช่ือม่ันโดยวิธีการหาสัมประสิทธิอัลฟา

ตอนท่ี 2 ...........................................................................................................

(7)

สารบญั ตาราง หนา

ตารางที่ 114

6.8 ตวั อยา งคะแนนเพ่ือวเิ คราะหอ าํ นาจจาํ แนกของแบบสอบถาม......................... 118
6.9 ตวั อยางคะแนนเพือ่ วิเคราะหข อสอบ................................................................
6.10 ตัวอยางผลการวเิ คราะหข อสอบ........................................................................ 119
6.11 ตวั อยา งคะแนนเพ่อื การวเิ คราะหข อสอบแบบความเรียง.................................. 120
6.12 ตัวอยางผลการตอบขอสอบรายขอแบบอิงเกณฑ. .............................................
122

ภาพที่ (8)

4.1 สารบัญภาพ
4.2
4.3 หนา
4.4
4.5 ตวั อยางแบบวดั เจตคตติ ออาชพี ครตู ามแนวคิดของลิเคอรท................................. 61
5.1 ตวั อยางแบบวัดเจตคตติ ามแนวคิดของออสกดู แบบที่ 1....................................... 63
5.2 ตัวอยา งแบบวดั เจตคติตามแนวคิดของออสกดู แบบที่ 2....................................... 63
5.3 ตัวอยา งแบบวัดเจตคตติ ามแนวคิดของเทอรส โตนกอ นหาคา ประจาํ ขอ............... 66
5.4 ตวั อยา งแบบวดั เจตคตติ ามแนวคดิ ของเทอรสโตนหลังหาคา ประจาํ ขอ ................ 69
6.1 ตวั อยา งแบบสัมภาษณก ารใชชุดฝก ทกั ษะการสังเกต........................................... 81
ตัวอยางแบบบนั ทึกการสงั เกตดวยแบบตรวจสอบรายการแบบที่ 1..................... 91
6.2 ตัวอยางแบบบนั ทกึ การสงั เกตดวยแบบตรวจสอบรายการแบบที่ 2..................... 91
ตวั อยางแบบบนั ทกึ การสงั เกตดวยแบบมาตรประมาณคา.................................... 92
6.3 ตัวอยางแบบฟอรมการพิจารณาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาของแบบทดสอบ
6.4 ระหวางขอคําถามกบั จดุ ประสงคการเรยี นร.ู ........................................................ 97
7.1 ตัวอยางแบบฟอรมการพิจารณาความเท่ียงตรงเชิงเนื้อหาของแบบทดสอบ
7.2 ระหวา งขอคาํ ถามกบั ระดับพฤติกรรม.................................................................. 98
7.3 ตัวอยางแบบฟอรมการพจิ ารณาความเที่ยงตรงเชิงเนอ้ื หาของแบบสอบถาม....... 99
7.4 กราฟแสดงการคดั เลือกคณุ ภาพขอสอบรายขอ .................................................... 117
7.5 ตวั อยางหนาตางแรกของ Google Form เพอ่ื สรา งแบบทดสอบ....................... 129
7.6 ตัวอยา งเทมเพลทกลมุ การศึกษา “แบบทดสอบเปลา ” ....................................... 130
7.7 ตวั อยางการตั้งชอื่ ของแบบทดสอบ....................................................................... 130
7.8 ตัวอยา งการกาํ หนดรายละเอียดของผตู อบแบบทดสอบ....................................... 130
7.9 ตัวอยา งการเพ่มิ ตอนท่ี และกรอกรายละเอยี ด..................................................... 131
7.10 ตัวอยางการเพิ่มขอ คําถามแบบเลือกตอบ “หลายตวั เลือก”................................ 131
7.11 ตัวอยา งการแสดงตวั อยา งขอคําถามแบบเลือกตอบ “หลายตัวเลอื ก”................. 132
7.12 ตวั อยา งการเพ่ิมขอ คาํ ถามและแสดงตวั อยางแบบเลือกตอบ“ชองทําเครื่องหมาย” 132
7.13 ตวั อยา งการเพิม่ ขอคาํ ถามและแสดงตวั อยางแบบเลอื กตอบ “เลื่อนลง”............. 132
7.14 ตัวอยา งการแสดงตวั อยา งของแบบทดสอบเสมือนจริง......................................... 133
ตัวอยา งการเลือกสง แบบทดสอบดวย Google Form......................................... 134
ตวั อยางการตรวจสอบการตอบกลับการสงแบบทดสอบ...................................... 134
ตวั อยางการแสดงผลการทดสอบ ตามคําถาม และรายการ.................................. 135
ตัวอยางขอ มูลการตอบกลับของแบบทดสอบจากการดาวนโหลด........................ 135

ภาพที่ (9)

7.15 สารบัญภาพ
7.16
7.17 หนา
7.18
7.19 ตวั อยา งหนาตางแรกของ Google Form เพอื่ ทาํ แบบสอบถาม.......................... 136
7.20 ตัวอยา งการเรมิ่ แบบฟอรม ใหม. ............................................................................ 137
ตัวอยา งการกรอกชอ่ื ฟอรม และรายละเอียด....................................................... 137
7.21 ตัวอยางขอ มลู ทัว่ ไปของผตู อบแบบสอบถาม เก่ยี วกับ “เพศ”............................. 138
7.22 ตวั อยางขอ มูลท่วั ไปของผูตอบแบบสอบถาม เกย่ี วกบั “ชัน้ ป” ............................ 138
7.23 ตัวอยางการเพ่ิมตอนที่ และการสรางขอคําถามท่ีใชการเลือกตอบแบบ
7.24 “สเกลเชิงเสน” .................................................................................................... 139
7.25 ตวั อยา งการแสดงคาํ ถามเลือกตอบแบบ “ สเกลเชงิ เสน”.................................... 139
7.26 ตัวอยา งการสรา งคาํ ถามใชการเลอื กตอบแบบ “หลายตัวเลือก”......................... 140
7.27 ตวั อยางการแสดงตวั อยางคําถามเลอื กตอบแบบ “ หลายตวั เลือก”.................... 140
7.28 ตวั อยา งการสรางคําถามทใ่ี ชการเลอื กตอบแบบ“ตารางกรดี ชองทาํ เครื่องหมาย” 141
7.29 ตวั อยางการแสดงคาํ ถามเลอื กตอบแบบ “ตารางกรดี ชอ งทําเครื่องหมาย”......... 141
7.30 ตวั อยางการสรางคําถามและการแสดงขอ คําถามเลือกตอบแบบ “เลื่อนลง”....... 142
7.31 ตวั อยา งการสรา งคาํ ถามทใี ชการเลอื กตอบแบบ “คําตอบสั้น”............................ 142
7.32 ตวั อยางการสรา งคําถามทีใ่ ชก ารเลือกตอบแบบ “ยอ หนา ”................................. 143
ตัวอยา งของการแสดงตวั อยา งแบบสอบถามเสมอื นจริง....................................... 143
ตวั อยางการเลือกสง แบบสอบถามดว ย Google Form........................................ 144
ตวั อยา งการตรวจสอบการตอบกลับการสง แบบสอบถาม..................................... 144
ตัวอยางขอมูลการตอบกลับแบบสอบถามจากการดาวนโหลด............................. 145



บทท่ี 1
บทนํา

การเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อการวิจัยเปนเทคนิควิธีและเปนกระบวนการในข้ันตอนหนึ่งของ
การวจิ ัยซง่ึ ถอื วา มคี วามสาํ คัญมาก การเก็บรวบรวมขอมูลในการวิจัยทางสังคมศาสตรมีการใชวิธีการเก็บ
รวบรวมขอมูลโดยตรงและโดยออม ซ่ึงตองอาศัยเครื่องมือวัดหรือท่ีเรียกกันวา “เครื่องมือเก็บรวบรวม
ขอมูล” เครื่องมือท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูลเพ่ือการวิจัยนั้นมีลักษณะแตกตางกันและมีหลายชนิด
มีทง้ั ทเี่ ปน มาตรฐานและไมเปนมาตรฐาน ทั้งทม่ี ีอยูแลว และจะตองสรา งขึน้ มาใหม ในการวิจัยทางสังคมศาสตร
เครื่องมือเก็บรวบรวมขอมูลสวนใหญจะสรางขึ้นมาใหมเพราะปญหาทางสังคมศาสตรมีหลากหลาย
แตกตางกนั ออกไป ดังนั้นจึงคอนขางยากท่ีจะใชเครื่องมือเก็บรวบรวมขอมูลเดิมรวมกันได นอกจากน้ัน
เทคนิคการเก็บรวบรวมขอมูลสําหรับการวิจัยทางสังคมศาสตรยังมีขอบเขตเนื้อหาและรายละเอียดท่ี
แตกตางกัน ทําใหเกิดปญหาแกผูวิจัยท่ีตองการทําวิจัยโดยเฉพาะนิสิต นักศึกษา และนักวิจัยหนาใหม
ดังนั้นการทําความเขาใจเกี่ยวกับเคร่ืองมือท่ีใชเก็บรวบรวมขอมูลเพ่ือการวิจัยอยางละเอียดจึงเปนเรื่อง
สําคัญและจําเปน อยา งยิ่งสาํ หรับผวู ิจยั การเขา ใจเบ้ืองตนถึงลักษณะของการเก็บรวบรวมขอมูล เคร่ืองมือท่ี
ใชเก็บรวบรวมขอมูล ตัวแปรการวิจัย มาตรวัดตัวแปร รวมท้ังคุณลักษณะที่ดีของเคร่ืองมือเก็บรวบรวม
ขอ มลู จะทาํ ใหผวู ิจัยสามารถสรางเครื่องมือเกบ็ รวบรวมขอมลู ไดอ ยางถกู ตองเหมาะสม

แนวคดิ และลกั ษณะสําคัญของเครือ่ งมอื ทใี่ ชในการเกบ็ รวบรวมขอมูล

ก า ร เ ก็ บ ร ว บ ร ว ม เ ป น ก ร ะ บ ว น ก า ร ใ น ก า ร เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง แ น ว คิ ด ใ น ก า ร ทํ า วิ จั ย
เปลี่ยนตัวแปร หรือคุณลักษณะที่ตองการศึกษาใหเปนขอมูลเชิงปริมาณหรือเชิงคุณภาพ โดยท่ัวไปมักจะ
เปนการกําหนดคุณคาของสิ่งที่ตองการศึกษาใหเปนตัวเลข ดังนั้นการเก็บรวบรวมขอมูลจึงหมายถึง
กระบวนการในการวัดผล (Measurement) ท่ีเร่ิมตั้งแตการรวบรวม เรียบเรียง การจัดลําดับขอมูล
อยางเปนระบบ มีวิธีการและหลักเกณฑท่ีแนนอน กําหนดตัวเลขแทนขนาดหรือคุณลักษณะของสิ่งที่
ตองการวัดโดยใชเครื่องมือที่มีคุณภาพและเหมาะสม วัดผลที่ไดออกมาเปนตัวเลขเชิงปริมาณหรือ
เปน การบรรยายขอมูลในเชิงคณุ ภาพ ผูวิจัยสามารถนําขอมูลที่ไดมาใชเพื่อตัดสินคุณคาของส่ิงท่ีตองการ
ศึกษาหรือสง่ิ ที่วดั (Kerlinger, 1986, p. 39)

การสรางเคร่ืองมือเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อการวิจัยประกอบดวยการพิจารณากําหนด
กรอบแนวคิดการวิจัย (Conceptual Framework) วามีแนวคิด ทฤษฎีท่ีเก่ียวของกับการวิจัย ศึกษา
จุดมุงหมายของการวิจัยวาตองการศึกษาเกี่ยวกับตัวแปรการวิจัยและมีคุณลักษณะท่ีเก่ียวของอะไรบาง
มีมาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด แตละประเด็นมีคุณลักษณะอยางไร ตองการวัดอะไรจากตัวแปรนั้น
มีการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวของกับตัวแปรการวิจัยน้ัน และกําหนดเปนนิยามศัพทเฉพาะ

-2-

กําหนดกฎเกณฑตางๆ วา เราจะวัดอะไรบาง การนิยามศัพทเฉพาะของตัวแปรน้ันตองสามารถนําไป
ปฏิบัติได เชน เราตองการวัดตัวแปร ไดแก “ฐานะทางเศรษฐกิจ” ผูวิจัยตองพิจารณาดูวา อะไรคือ
ตวั บง ชี้ฐานะทางเศรษฐกจิ เชน รายได ทรัพยสินท่ีมีครอบครอง สภาวะการเปนหน้ี หรือ เราตองการวัด
ตัวแปร “ความสามารถทางการอานเพื่อความเขาใจ” ผูวิจัยจะตองพิจารณาดูวา ตัวแปรที่เก่ียวของกับ
การอานเพ่ือความเขาใจเก่ียวของกับความสามารถทางการอานวา เมื่ออานแลวสามารถ แปลความ
ตีความหรือสรุปความ ขยายความ และจับใจความสําคัญ เปนตน แลวจึงสรางเครื่องมือท่ีเหมาะสม
นําเครื่องมือไปหาคุณภาพดวยการทดลองใชเคร่ืองมือ นําเครื่องมือที่ตรวจสอบคุณภาพแลวมาปรับปรุง
และจัดทําเปนเครื่องมือฉบับสมบูรณ แลวจึงนําไปเก็บรวบรวมขอมูลตามที่วางแผนการเก็บรวบรวม
ขอมูลไว

ลักษณะสาํ คญั ของเครอ่ื งมอื ท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมลู การวิจัยทางการศึกษาน้ันเกี่ยวของกับ
วิธีการวดั ผลซงึ่ มีธรรมชาตขิ องการวดั ท่มี ีความสําคัญตอ การวจิ ัย ประการแรก เครอ่ื งมือท่ีใชในการวัดน้ัน
วัดในสง่ิ ที่เปน นามธรรม ไมสามารถวัดไดโ ดยตรง ตองสรางสถานการณจําลองหรือสิ่งเราเพื่อใชผูที่ถูกวัด
ตอบสนอง เชน การวัดความรู ไมสามารถชั่ง ตวง หรือวัดไดทางกายภาพ ตองสรางขอสอบที่มี
สถานการณมาเรา ใหตอบสนอง ประการตอ มา เครอ่ื งมอื น้ันมีหนวยการวดั ไมคงที่หรือมีความแตกตางกัน
เพราะหนวยการวัดจะเปล่ียนไปตามเคร่ืองมือท่ีใชวัด กฎเกณฑในการกําหนดตัวเลขเพื่อแทนปริมาณ
ของสิง่ ที่ตองการวดั ยงั สามารถกาํ หนดไดแนน อนเหมือนกบั เคร่ืองมือวัดทางดานกายภาพ เชน 1 คะแนน
ของแตละวิชาจะมีความหมายของคะแนนแตกตางกัน ประการตอมา การวัดจะมีความคลาดเคลื่อน
(Error) ปะปนมาดวยทุกคร้ัง ความคลาดเคล่ือนอาจมาจากเครื่องมือ สถานการณ หรือ ผูที่ถูกวัด ก็ได
ตอ มา การวดั ดว ยเคร่ืองมือน้ันเปนการวัดที่ไมสมบูรณทั้งหมด เน่ืองจากเราไมสามารถวัดลักษณะตาง ๆ
ไดท้ังหมด สามารถวัดไดบางสวนของคุณลักษณะหรือพฤติกรรมท่ีจะสุมออกมาเปนตัวแทนเทานั้น และ
ประการสุดทาย การวัดผลน้ันเปนงานสัมพันธ เพราะผลท่ีไดจากการวัดไมมีความหมายในตัวเองจะมี
ความหมายก็ตอ เมือ่ นาํ ผลการวดั ไปสมั พนั ธกับสิง่ อนื่ เชน ไปสมั พันธกับเกณฑหรือกลมุ เปาหมายที่ใชว ัด

สิ่งที่สําคัญของการเก็บรวบรวมขอมูลซึ่งเปนการแปรสภาพแนวคิดใหอยูในรูปของขอมูล
ทางสถิติหรือตัวเลข ก็คือ ผูวิจัยสามารถนําตัวเลขท่ีไดมาเปรียบเทียบกับผลการวิจัยของผูอ่ืน
การเปรยี บเทยี บดงั กลาวมีประโยชนในการเช่ือมโยงผลงานวิจัยที่เก่ียวของในอดีต ทําใหเห็นขอแตกตาง
หรือขอบกพรองของการวิจัยที่เปรียบเทียบกัน หรืออาจชี้ใหเห็นแนวโนมของการเปลี่ยนแปลงของสิ่งที่
ศึกษาในดานการควบคุม เม่ือสภาพของขอมูลนํามาจัดกระทําทางสถิติ ยอมทําใหผูวิจัยสามารถควบคุม
ไดดีกวาขอมูลที่ไมใชตัวเลข กลาวคือ สามารถตรวจสอบขอบกพรองของขอมูล หรือการวิเคราะหได
ดีกวาการทดสอบขอ บกพรอ งของขอมลู ท่ีเปน เชงิ คณุ ภาพหรือเชิงบรรยาย

สิ่งที่สําคัญของการเก็บรวบรวมขอมูลเพ่ือการวิจัยตอมาก็คือ ความเปนปรนัยของการวิจัยและ
ความถูกตอง ตรงประเด็น (Preciseness) เชน แทนที่เราจะกลาววา นักเรียนมีความสามารถสูงขึ้น

-3-

ก็จะกลาววา นักเรียนมีความสามารถสูงขึ้นกวาเดิม 25 คะแนน ซ่ึงเปนขอความท่ีทําใหเขาใจไดชัดเจน
และเขา ใจไดโ ดยงา ย รวมท้ังแสดงใหเ หน็ ถงึ ความถูกตอ ง ตรงประเดน็ ของการเปล่ียนแปลงความสามารถ
นน้ั ดวย

ลักษณะสําคัญของเคร่ืองมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลอีกประการหนึ่งไดแก เครื่องมือที่ใช
เก็บขอมูลเชิงปริมาณและขอมูลเชิงคุณภาพ กลาวคือ เคร่ืองมือท่ีใชเก็บขอมูลเชิงปริมาณจะไดขอมูล
เปนตัวเลข ไดแก แบบทดสอบ แบบสอบถาม แบบมาตรประมาณคา แบบวัดเจตคติ แบบตรวจสอบ
รายการ สวนเครื่องมือท่ีใชเก็บรวบรวมขอมูลเชิงคุณภาพแลวไดขอมูลเปนคําพูด การบรรยาย หรือ
อธิบายซง่ึ จะตองนาํ ไปตคี วาม (Interpret) ไดแก แบบสัมภาษณ แบบบันทกึ การสงั เกต

สรปุ ไดวา การเกบ็ รวบรวมขอมูลเพื่อการวิจัยเปนกระบวนการวัดผลที่ตองเร่ิมจากการศึกษาตัว
แปร การศึกษาเก่ียวกับตัวแปร นําไปสูการสรางเคร่ืองมือ การหาคุณภาพเคร่ืองมือ และนําเครื่องมือ
ดังกลาวไปใชเก็บรวบรวมขอมูล แลวนําขอมูลมาใชในการวิเคราะหเพ่ือหาคําตอบของการวิจัยตอไป
สวนลักษณะสําคัญของการเก็บรวบรวมขอมูลไดแก การนําผลท่ีไดจากการวัดไปใชในการเปรียบเทียบ
ดวยวิธีการทางสถิติ การควบคุมผลการวิจัย การมีความเปนปรนัย ขอมูลที่เก็บรวบรวมไดมีทั้ง
เชิงปรมิ าณและคุณภาพ

ประเภทของเครอ่ื งมือที่ใชใ นการเก็บรวบรวมขอ มูล

เคร่ืองมือท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อการวิจัยน้ันหากพิจารณาการจัดประเภทเคร่ืองมือที่
ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลจะมี 2 ลักษณะดวยกันคือ ประเภทที่ใชประกอบหรือเปนนวัตกรรมที่
นํามาใชในเก็บรวบรวมขอมูล และประเภทที่เปนเครื่องมือที่ใชวัดตัวแปรของการวิจัย ในที่น่ีจําแนกตาม
ลักษณะของเครือ่ งมอื ท่ีใชโดยภาพรวม ไดแ ก

1. แบบทดสอบ (Test) เปนเครื่องมือท่ีใชในเก็บรวบรวมขอมูลที่มีจุดมุงของการวิจัยตองการ
ศึกษาพฤติกรรมทางดานพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) และหรือดานทักษะพิสัย (Psychomotor
Domain) โดยแบบทดสอบหมายถึง ชดุ ของขอคาํ ถามท่ีเปนส่ิงเราใหผ ูตอบไดแสดงพฤติกรรมตอบสนอง
อยางใดอยางหนึ่ง อาจเปนการเขียนตอบ ทําเคร่ืองหมาย แสดงกริยาทาทางที่ผูวัดสามารถสังเกตเห็น
พฤติกรรมนน้ั ได

สว นคาํ วา การทดสอบ (Testing) เปนสถานการณในการใชแบบทดสอบเพื่อเก็บรวบรวมขอมูล
เก่ยี วกบั ความรู ความสามารถของบคุ คล มีการกาํ หนดเง่ือนไขในการทดสอบ เชน การกําหนดระยะเวลา
ในการทาํ แบบทดสอบ การทดสอบทใี่ ชก นั ท่ัวไปมีหลายประเภท ซึ่งหากแบงโดยใชวิธีการตอบสนองตอ
แบบทดสอบทเ่ี ปน ส่ิงเรา จะแบง เปน 7 ประเภท ไดแ ก

-4-

1) การทดสอบเปนรายบุคคล (Individual Test) เปนการทดสอบที่ผูสอบตองทํา
แบบทดสอบหรือตอบคําถามเปนรายบุคคล ไดแก การสอบสัมภาษณ การสอบปากเปลา การทดสอบ
ทางจติ วทิ ยา สอบวดั ในชน้ั เรียน เปน ตน

2) การทดสอบเปนกลุม (Group Test) เปนการสอบพรอมกันคร้ังละหลายคน เปนกลุม
หรือท้ังช้ันเรียน นิยมใชกันท่ัวไปในการสอบวัดผลการเรียนรู เชน การแสดงละคร การเลนดนตรีเปนวง
การเลน เปนทมี เปนตน

3) การทดสอบแบบจํากัดเวลา (Speed Test) เปนการสอบที่มีการจาํ กัดเวลาเพื่อตองการ
ทราบวา ผสู อบคนใดใชเวลาทน่ี อยกวา โดยใหเ นื้อหาของงานท่เี ทากนั

4) การทดสอบเต็มความสามารถ (Power test) เปน การสอบทไ่ี มจ ํากัดเวลา เพื่อใหผูสอบ
สามารถแสดงความรูค วามสามารถท่มี อี ยูอยา งเต็มที่

5) การทดสอบขอเขียน (Paper-pencil Test) เปนการสอบท่ีผูสอบตองเขียนคําตอบ
ลงในกระดาษสอบ แบงรปู แบบของการสอบขอเขยี นออกเปน

5.1) แบบเขียนตอบ (Written Test) หรือท่ีมีช่ือเรียกอีกอยางวา แบบอัตนัย
(Subjective Test) มีลักษณะสาํ คญั คอื ผตู อบเขยี นตอบซงึ่ แบง ออกเปน 2 ลกั ษณะ ไดแกการตอบแบบ
สั้น (Short Answer Test) โดยตองตอบใหตรงประเด็นที่กําหนดใหมากท่ีสุด และการเขียนตอบแบบ
ยาว (Essay Test) โดยตองเขียนตอบใหครอบคลุมประเด็นคําถามใหมากที่สุดเทาที่จะทําได การเขียน
ตอบแบบยาวนีผ้ ูต อบตอ งใชเวลาในการทาํ ขอ สอบทําใหม จี ํานวนขอสอบจํานวนไมมากนกั

5.2) แบบเลือกตอบ (Multiple Choice Test) หรือท่ีมีชื่อเรียกอีกอยางวา แบบปรนัย
(Objective Test) แบบทดสอบน้ตี องการใหผูตอบเลอื กตอบจากคําตอบที่กําหนดให อาจใชเคร่ืองหมาย
ถูก () ผิด () วงกลมรอบตัวเลือก () ระบายทึบ () เขียนตัวเลขหรือตัวอักษรเพื่อแสดง
สัญลักษณการจับคู แทนการเขียนตอบ แบบทดสอบลักษณะนี้ไดแก แบบถูกผิด แบบจับคู และ
แบบเลอื กตอบหลายตวั เลอื ก

6) การทดสอบปากเปลา (Oral Test) เปนการสอบที่ผูสอบตองใชการพูดในการตอบ
ขอสอบ

7) การทดสอบภาคปฏิบัติ (Performance Test) เปนการสอบที่กําหนดใหผูสอบปฏิบัติ
แสดงความสามารถในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง โดยการปฏิบัติใหครูผูสอบพิจารณาใหคะแนน หรือใหผูสอบ
ปฏิบัติตามคําสั่งโดยไมมีการเขียนตอบใดๆ ท้ังส้ิน เชน การสอบขับรถ การสอบพิมพดีด การสอบ
พลศึกษา(วชิ าวอลเลยบ อล วิชาฟุตบอล) เปนตน

ลักษณะของแบบทดสอบซ่งึ แบงออกตามวิธกี ารสรางมี 2 ลักษณะ คือ
1) แบบทดสอบท่ีครูสรางข้ึน (Teacher-made Test) เปนแบบทดสอบที่ครูสรางขึ้นเพื่อ

วัดผลการเรยี นรใู นชั้นเรยี น ไดแ ก

-5-

1.1) แบบทดสอบวัดความกาวหนา (Formative Test) เปนแบบทดสอบที่ใชวัดผล
หลังจากจบการเรียนรูในแตละบทเรียน เพื่อประเมินวานักเรียนจะสามารถผานจุดประสงคการเรียนใน
แตล ะหนวยหรือไมเพียงใด มีสวนใดท่ีตองเพิ่มเติม นอกจากน้ี ครูจะประเมินไดวาการสอนของตัวเองยัง
บกพรองหรอื ไม และบกพรอ งในเนอื้ หาสว นใด

1.2) แบบทดสอบวัดผลรวมปลายภาค (Summative Test) เปนแบบทดสอบที่
ครูใชเพ่ือประเมินผลเมื่อผูเรียนไดเรียนจบในรายวิชาน้ันแลว เปนการประเมินผลท่ีไดจากการเรียนของ
นกั เรยี นในตอนปลายภาคเรียน

2) แบบทดสอบมาตรฐาน (Standardized Test) เปนแบบทดสอบที่ผานกระบวนการสราง
ที่มีมาตรฐานเดียวกันไมวาจะสอบกับใคร ท่ีไหน ประกอบดวย มาตรฐานในการดําเนินการสอบ
มาตรฐานการใหคะแนน มาตรฐานการแปลความหมายของคะแนน ซึ่งจะตองมีเกณฑปกติ (Norms)
ตัวอยางแบบทดสอบมาตรฐานท่ีรูจัก เชน National Test, O-NET, A-NET, GAT/PAT เปนตน ซ่ึงการ
ใชแบบทดสอบมาตรฐานจะถูกนํามาใชเปรียบเทียบความสามารถของผูเรียนในแตละคน ในโรงเรียน
ตางๆ โดยเปรียบเทยี บกับนักเรยี นในระดับ วชิ า และ หลกั สตู รเดียวกนั เพ่อื ใหท ราบวา ผูเรียนแตละคน
มีความสามารถอยูในระดับใด นอกจากน้ัน ยังสามารถนําแบบทดสอบมาตรฐานไปใชควบคุมคุณภาพ
โรงเรียนใหไดม าตรฐานทางวชิ าการตามทก่ี าํ หนด

2. แบบสอบถาม (Questionnaire) เปนเครื่องมือที่ใชในเก็บรวบรวมขอมูลที่มีจุดมุงของการ
วิจัยตองการการวัดพฤติกรรมดานจิตพิสัย (Affective Domain) หรือ ใชสอบถามพฤติกรรมการปฏิบัติ
ซึ่งเปนการวัดพฤติกรรมดานทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) โดยใหกลุมเปาหมายเขียนคําตอบ
หรือทาํ เครอื่ งหมายเลือกคาํ ตอบท่ีจดั ไวใ ห แบง คาํ ถามออกเปน 2 ชนิดดังน้ี

1) คําถามปลายปด (Close-ended Question) เปนคําถามท่ีเตรียมไวใหผูตอบได
เลอื กตอบ

2) คําถามปลายเปด (Open-ended Question) เปนคําถามท่ีตองใหผูตอบตอบดวย
ตนเองอยา งอสิ ระ มกี ารเวน เนอื้ ที่ไวใ หส าํ หรับคําตอบ

การใชแบบสอบถาม ผูวิจัยจะใชแบบสอบถามไปเก็บรวบรวมขอมูลโดยนําไปแจกหรือสงทาง
ไปรษณยี  และใหก ลุม เปา หมายตอบกลับมา นอกจากนี้ยงั สามารถใชแบบสอบถามเปนแบบฟอรมสําหรับ
สัมภาษณไดเชนกนั เพยี งแตเปลีย่ นขอความทเ่ี ปนภาษาเขียนใหเ ปน ขอความในภาษาพูด

3. แบบมาตรประมาณคา (Scaling) เครื่องมือที่ใชในเก็บรวบรวมขอมูลที่มีจุดมุงของการวิจัย
ตองการการวัดพฤติกรรมทางดานจิตพิสัย เปนการวัดความรูสึก อารมณ คุณลักษณะแฝง เจตคติ เปน
เคร่ืองมือท่ีใชประกอบกับแบบวัดอ่ืนๆ ขอมูลที่ไดจากแบบมาตรประมาณคาเปนลักษณะท่ีผูวิจัย
ไมสามารถสังเกตไดโดยตรง แตเชื่อไดวามีลักษณะน้ันอยูในตัวบุคคล โดยสามารถสรุปไดจากพฤติกรรม
การแสดงออก ความรสู กึ และความคิดเห็นของบุคคล ตัวแปรเหลาน้ี ไดแก ความสนใจ ความวิตกกังวล

-6-

ความเช่ือ ความกลัว คานิยม เจตคติ ความคิดเห็น การยอมรับ เปนตน ลักษณะเหลาน้ีเปนลักษณะที่มี
อยูในตัวบุคคล และเปนตัวท่ีกอใหเกิดความแตกตางข้ึนในตัวบุคคล สงผลใหเกิดความแตกตางใน
ลกั ษณะอื่นๆ ทีเ่ กี่ยวของ เชน เจตคติตอ การเรยี นสงผลตอ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน

4. แบบสัมภาษณ (Interview Form) เคร่ืองมือท่ีใชในเก็บรวบรวมขอมูลที่มีจุดมุงของการ
วิจัยตอ งการการวัดดา นจิตพิสยั และทักษะพสิ ยั ใชประกอบการสมั ภาษณ (Interview) ใชเก็บขอมูลเชิง
คุณภาพเปน สวนใหญ การสรางขอคําถามของแบบสมั ภาษณมีวิธีการเชนเดียวกับการสรางแบบสอบถาม
แตเปดโอกาสใหกลุมเปาหมายไดตอบอยางอิสระ ไมกําหนดตัวเลือกคําตอบไวลวงหนา เพราะการ
สัมภาษณตองการขอ มูลที่เจาะลึก ความละเอยี ดของคําตอบที่ไดข้ึนอยูกับความสามารถของผูสมั ภาษณ

5. แบบตรวจสอบรายการ(CheckList) เปนเคร่ืองมือที่ชเก็บรวบรวมขอมูลที่มีจุดมุงหมาย
ของการวิจัยเกี่ยวของกับพฤติกรรมดานจิตพิสัย ใชควบคูกับการสังเกต (Observation) เชน ความขยัน
ความรับผิดชอบตอการเรียนรู ความอดทน การมีสวนรวมในการทํางาน เปนตน หรือพฤติกรรม
ดานทักษะพิสัย เชน ทักษะการอาน ทักษะการเลนฟุตบอล ทักษะการประดิษฐส่ิงของจากวัสดุเหลือใช
เปน ตน แบบตรวจสอบรายการเปนเครื่องมือท่ีมีรายการตางๆ ใหผูตอบไดเลือกคําตอบท่ีตรงกับท่ีผูตอบ
ตองการ อีกท้ังยังใชตรวจสอบดูวา กลุมเปาหมายเกิดพฤติกรรมตามรายการพฤติกรรมตางๆ ที่คาดหวัง
ไวหรือไม ทีละรายการ นอกจากนั้นแบบตรวจสอบรายการสามารถจัดลําดับความสําคัญของคําตอบได
อีกดว ย โดยการใสตวั เลขลาํ ดบั ไวห นา ขอ ความ

6. แบบวดั อืน่ ๆ ไดแก
6.1 แบบสํารวจ (Inventory Form) ซ่ึงมีลักษณะคลายกับแบบตรวจสอบรายการ

แตกตางตรงทแี่ บบสํารวจมงุ เนน ใชงานเฉพาะเรือ่ ง เฉพาะจุด
6.2 แบบวัดสังคมมิติ (Sociometry) เปนแบบวัดทางจิตวิทยา เพ่ือศึกษามุมมอง

ทางดานสงั คมของบุคคลโดยการใหบุคคลในสงั คมเปน ผใู หค ะแนนคุณลักษณะ
6.3 แบบเทคนิคการฉายภาพ (Projective Technique) เปนแบบวัดทางจิตวิทยาเพ่ือ

ศึกษาคุณลักษณะภายในของบุคคลดวยการใหรายงานตัวเอง สรางจินตนาการจากภาพ คําพูด
หรือประโยคขอ ความ และผดู ําเนินการสอบเปน ผปู ระเมนิ ตนเอง

สรุปไดวาเครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลเพ่ือการวิจัยที่นิยมใชเปนแบบฟอรมตางๆ
และแบบท่ีเปนมาตรวัดไดแก แบบทดสอบ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ แบบสํารวจ แบบวัดสังคมมิติ
แบบเทคนิคการฉายภาพ แบบมาตรประมาณคาและแบบตรวจสอบรายการ ซึ่งผูวิจัยจะตองเลือกใช
เครื่องมือใหเ หมาะสมกบั รปู แบบของการวจิ ยั ใหม ากท่ีสุด

-7-

การเลือกใชเครือ่ งมือเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อการวจิ ัย

ในการเก็บรวบรวมขอมูลเพ่ือการวิจัยนั้น ผูวิจัยจะตองทําการเลือกใชเคร่ืองมือใหตรงกับ
วัตถุประสงค หรือจุดมุงหมายของการวิจัย การเลือกวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลที่ไมเหมาะสมจะมีผลตอ
ขอมูลท่ีได เชน การใชแบบวัดเจตคติตอการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 1 ในการตอบ
แบบสอบถาม นักเรียนอาจมีปญหาเก่ียวกับการอานและความเขาใจตอขอคําถาม อาจทําใหคําตอบท่ี
ไดรับกลบั มาไมตรงกบั ความเปนจรงิ จงึ ควรใชการสมั ภาษณจ ะเหมาะสมกวา ดังน้ันในการเลือกใชวิธีการ
เก็บรวบรวมขอ มลู จึงมขี อ ทีค่ วรพจิ ารณาดงั น้ี

1. ลักษณะของกลุมเปาหมาย ในงานวิจัยเราจะกําหนดกลุมเปาหมายวามีลักษณะเปนใคร
ท่ไี หน จาํ นวนเทาไร การเก็บรวบรวมขอมูลจะตองพิจารณาวา เปนผูเรียนกลุมใด มีระดับการศึกษาเปน
อยางไร ประเพณี และวัฒนธรรมเปนอยางไร ในบางครั้งอาจตองคํานึงถึงความเช่ือและคานิยมอีกดวย
เชน การศึกษาความคดิ เหน็ ของผปู กครองตอ การจดั การเรียนในโรงเรียนชนบทก็ควรจะใชแบบสัมภาษณ
จะเหมาะสมกวาการใชแ บบสอบถามใหผูปกครองกรอกขอมูลเอง ซึ่งอาจจะทําใหเกิดปญหาจากการอาน
ไมออก และไมเ ขาใจคําบางคํา

2. ตัวแปร หรือลักษณะ หรอื คุณสมบตั ิทีต่ องการวดั เชน การศกึ ษาความกา วรา วของนักเรียน
ตัวแปรท่ีศกึ ษาไดแกค วามกาวราว ซึ่งเปนลักษณะการแสดงออกของพฤติกรรม ดังน้ันการสัมภาษณหรือ
การใชแบบสอบถามอาจไดขอมูลที่ไมตรงกับความเปนจริงจึงจําเปนตองใชวิธีการสังเกต หรือการเขาไปมี
สวนรวมในชน้ั เรยี น เปนตน

3. ระยะเวลาท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูล ในกรณีท่ีมีขอจํากัดเนื่องจากเวลาทําใหไม
สามารถใชเครื่องมือที่เหมาะสมที่สุดได จําเปนตองใชเครื่องมือท่ีใหสามารถเก็บรวบรวมขอมูลไดตาม
เวลาท่ีกําหนด เชน การสํารวจความสนใจรายการโทรทัศนของชาวชนบท แมวาการสัมภาษณจะได
ขอมูลท่ีแมนยํากวา แตตองใชเวลามาก ไมทันตอความตองการที่จะนําผลการสํารวจไปใช ดังน้ันจึงอาจ
ตอ งเปลย่ี นมาใชแบบสอบถามใหกรอกแทน ซึ่งขอมูลที่ไดอาจคลาดเคลื่อน จึงควรตองพิจารณาคําถาม
ใหม ีความชัดเจน ไมซ บั ซอน ทําใหอ า นงาย เขา ใจงาย

4. การเก็บขอมูลดวยความหลากหลายวิธี การเก็บรวบรวมขอมูลบางตัวแปรหรือ
บางคุณลักษณะอาจตองใชวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลมากกวา 1 วิธี จึงจะทําใหไดขอมูลท่ีเพียงพอท่ีจะ
สรุปได เชน การวัดความรู ความสามารถในดานเคร่ืองกลของนักเรียนอาชีวศึกษาดวยการใช
แบบทดสอบอาจไมเพียงพอ ไมชัดเจน ดังนั้นจะตองใชการทดสอบภาคปฏิบัติดวย ซ่ึงจะทําใหไดขอมูล
เชิงยนื ยันตวั แปรหรอื คุณลักษณะทต่ี อ งการวัดได

-8-

ตัวแปรการวจิ ัย

เน่ืองจากการเก็บรวบรวมขอมูลทุกประเภทเปนการเก็บรวบรวมขอมูลของตัวแปรการวิจัย
ดังนั้นผูวิจัยจะตองรูจักกับตัวแปรการวิจัยเปนอยางดี เพราะตัวแปร (Variables) หมายถึง คุณลักษณะ
ของสิ่งที่ผูวิจัยจะศึกษา ควบคุม หรือสังเกต สามารถแปรเปล่ียนไดตามคุณลักษณะของตัวแปรนั้นๆ
เชน เพศ มีคุณลักษณะเปนเพศชาย และเพศหญิง ตัวแปรบางชนิดมีหลายคา เชน นํ้าหนัก ผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน อายุ รายได เปน ตน ตวั แปรท่ีใชในการวิจยั ท่สี ําคัญ มีดังน้ี

1. ตวั แปรอิสระ (Independent Variable) หรือตัวแปรตน เปนตัวแปรที่มีอิทธิพลหรือเปน
สาเหตทุ ําใหส งิ่ อนื่ ๆ เกดิ การเปลย่ี นแปลง นนั่ คือ ถาตัวแปรอิสระมีการเปลี่ยนแปลงอาจทําใหตัวแปรอ่ืน
มกี ารเปล่ยี นแปลงไปดว ย เชน “วิธสี อนสงผลตอ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน” น่ันคือ วิธีสอนซ่ึงเปนตัวแปร
อิสระสงผลหรือทําใหผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเปล่ียนไปตามวิธีสอน หรือ “บุคลิกภาพของครูสงผลตอ
เจตคติตอการเรียน” นั่นคือบุคลิกภาพของครูที่แตกตางกันสงผลหรือทําใหเจตคติตอการเรียน
ของนักเรยี นแตกตา งกัน เปนตน

2. ตวั แปรตาม (Dependent Variables) เปน ตวั แปรทจ่ี ะเปล่ียนแปลงสภาพหรือคุณภาพไป
ตามอทิ ธิพลของตัวแปรอิสระ เปน ตวั แปรทีผ่ ูว จิ ยั ตอ งหาวิธวี ดั คาของตัวแปรตาม หลังจากที่ไดรับอิทธิพล
จากตัวแปรอิสระแลว เชน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความคิดสรางสรรค ความสามารถทางการอาน
เปนตน

ท้ังตัวแปรอิสระและตัวแปรตามเปนตัวแปรที่ผูวิจัยสนใจศึกษา โดยในการวิจัยเชิงทดลอง
ผวู ิจยั จะจัดกระทาํ กบั ตัวแปรอิสระซ่ึงเปนสาเหตุทท่ี ําใหต วั แปรตามมีการเปล่ียนแปลง ดังนั้นจึงมีตัวแปร
อิสระและตัวแปรตาม สวนการวิจัยเชิงสัมพันธ ไมใชลักษณะเปนตัวแปรตนหรือตัวแปรตาม แตเปนตัว
แปรเกณฑแ ละตวั แปรทาํ นาย นอกจากนั้นการวิจัยเชิงบรรยายท่ีศึกษาตัวแปรเพียงหนึ่งตัว ก็ไมสามารถ
ระบุตัวแปรอิสระหรือ ตัวแปรตามได

3. ตัวแปรควบคมุ (Control Variables) เปน ตวั แปรทผี่ ูวจิ ัยสนใจศึกษาหรือไมไดสนใจศึกษา
แตจําเปนตองทําการควบคุมไวไมใหรบกวนหรือมีอิทธิพลตอตัวแปรอ่ืนๆ เชน อาจพบวาระดับเชาว
ปญญาสงผลตอการทดลองวิธีสอน ดังน้ันตองจัดกลุมระดับเชาวปญญาเปน กลุมเกง กลุมปานกลาง
กลุมออน หรืออาจพบวาเพศมีผลตอการเรียนรูเรื่องกีฬา ดังน้ันจึงจัดกลุมนักเรียนที่เขาทดลองเปน
กลุมนกั เรียนชายอยา งเดียว หรือกลมุ นกั เรยี นเพียงกลุมเดียว เปนตน

4. ตัวแปรสอดแทรก (Intervening Variable) เปนตัวแปรท่ีเกิดแทรกอยูในระหวางการทํา
วิจัย อาจเปนคุณลักษณะหนึ่งท่ีผูวิจัยไมไดศึกษาและไมสามารถควบคุมได แตเกิดสอดแทรกข้ึนมาใน
ระหวา งการวิจัย เชน ผเู รียนเหนื่อยลา ออนเพลยี หรือไมสบาย เปนตน

-9-

การนยิ ามตัวแปร
ในการสรางเครื่องมือเก็บรวบรวมขอมูล จะตองกําหนดคุณลักษณะของตัวแปรการวิจัยท่ี
ตองการศึกษาใหชัดเจน ดังนั้นสิ่งท่ีนักวิจัยควรทําความเขาใจกอนสรางเคร่ืองมือเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อ
การวิจัยอีกอยางหนึ่งคือ การนิยามตัวแปรของการวิจัยเพ่ือใหผูอานไดเขาใจตัวแปรตรงกับ ที่ผูวิจัยได
กาํ หนด การนยิ ามตัวแปรจึงมสี วนสาํ คญั ท่ีทาํ ใหงานวิจยั มคี ุณภาพ ซ่ึงการนิยามศัพทเฉพาะแบงออกเปน
2 ลักษณะ ดังน้ี
1. การนิยามเชิงทฤษฏี (Conceptual Definition) เปนการนิยามตัวแปรโดยการใชแนวคิด
หรือทฤษฏีตา งๆ มาอธบิ ายหรือใหความหมายของตัวแปร เพ่ือใหเกิดความเขาใจลักษณะของตัวแปรน้ัน
โดยทวั่ ไปยงั คงมีลกั ษณะเปนนามธรรม ซงึ่ ทาํ ใหผ วู จิ ยั ไมส ามารถสังเกตไดห รือวัดไดโ ดยตรง
2. การนิยามเชิงปฏิบัติการ (Operational Definition) หรือนิยามศัพทเฉพาะ เปนการ
นิยามความหมายของตวั แปรจากนิยามเชิงทฤษฏที ี่เปน นามธรรมใหมลี กั ษณะเปน รปู ธรรมโดยการระบุถึง
คุณลักษณะหรือพฤติกรรมบงช้ีท่ีแสดงใหเห็นถึงตัวแปรแฝงท่ีตองการศึกษา ทําใหสามารถสังเกต
และวดั ตัวแปรดงั กลาวได ตัวอยา งเชน
ความสามารถดานการฟง หมายถึง ความสามารถในดานการฟงของนักเรียนอนุบาลท่ีมีอายุ
ระหวา ง 4 – 5 ป เปน ความสามารถทางการฟงแลวสามารถบอกลักษณะของเสียงที่ฟง ฟงเร่ืองราวแลว
สามารถปฏิบตั ิตามคําสงั่ ซ่งึ วดั จากแบบทดสอบวดั ทกั ษะการสังเกตที่ผวู จิ ัยสรา งขึน้
ความสามารถดานการพูด หมายถึง ความสามารถในการพูดคําศัพท/ชื่อส่ิงของ การพูดแตง
เปนประโยค และการพูดเพ่ือตอบคําถามของนักเรียนอนุบาลที่มีอายุระหวาง 4 – 5 ป ซ่ึงวัดจาก
แบบทดสอบวัดทกั ษะการสงั เกตทผี่ ูวจิ ยั สรางข้ึน

มาตรวัดตวั แปรการวจิ ยั

มาตรวัด (Scale) หรือ ระดับของการวัดตัวแปรการวิจัย หมายถึง คา ลักษณะ รูปแบบของผล
หรือคําตอบท่ีไดจากเครื่องมือที่ใชในการวัด การเก็บรวบรวมขอมูลเชิงปริมาณจะตองทําความเขาใจ
มาตรวัดซึ่งจะทําใหการเลือกใชชนิดของคําถามของเคร่ืองมือที่ใชเก็บรวบรวมขอมูลเปนไปอยางถูกตอง
เหมาะสม เบสท (Best, 1986, p.18) แบง มาตรวัดตามลักษณะของขอมูลที่วัดได เปน 4 ประเภท ไดแก
มาตรวัดนามบัญญัติ (Nominal Scale) มาตรวัดเรียงอันดับ (Ordinal Scale) มาตรวัดอันตรภาคหรือ
ชวงช้ัน (Interval Scale) มาตรวดั อัตราสวน (Ratio Scale) รายละเอยี ดมดี งั นี้

1. มาตรวัดนามบัญญัติ (Nominal Scale) หมายถึง ขอมูลที่ไดจากกําหนดตัวเลข
แทนคํานาม เพ่ือบงชี้หรือแทนช่ือ แยกพวก แยกประเภทขอมูลใหแตกตางกัน ตัวเลขท่ีกําหนดใหนั้น
แทนคณุ ลกั ษณะของตัวแปร เปน เพียงสัญลักษณแทนคณุ สมบตั ขิ องตวั แปรเทาน้ัน ซึ่งบอกไดวา ตัวเลขที่

-10-

ตางกันจะแทนคุณสมบัติของตัวแปรตางกัน ตัวเลขที่กําหนดใหไมมีคาในเชิงคณิตศาสตร ไมสามารถ

นํามาเรียงลาํ ดับและบอกปริมาณความแตกตางได เชน

1 แทน เพศชาย 2 แทน เพศหญงิ

1 แทน นกั เรียนในหอ ง ก 2 แทน นักเรยี นในหอง ข

54 แทน รถเมลส าย 54 98 แทน รถเมลสาย 98

2. มาตรวดั เรยี งอันดับ (OrdinalScale) หมายถึง ขอมูลท่ีไดจากจัดอันดับสิ่งของหรือเหตุการณ

ตามปริมาณหรอื คณุ ภาพ เปน การกําหนดตวั เลขท่ีบอกถึงความมากนอยของคุณลักษณะของตัวแปรท่ีวัด

แตไมสามารถบอกปริมาณความแตกตางระหวางคาแตละคาไดอยางชัดเจนวาแตกตางเทากันหรือไม

เทากัน การเรียงอันดับท่ีเกิดขึ้นจะตองเปนการจัดอันดับโดยใชเกณฑมาชวยในการพิจารณา เชน การ

จัดอันดับความสามารถรองเพลง ผลท่ีไดคือ อันดับ 1 หรือ 2 หรือ 3 ตามลําดับ โดยมีเกณฑการ

พิจารณา เชน การใชเ สยี ง การออกอักขระทีถ่ กู ตอง และการแสดงออกท่นี า ประทับใจ เปนตน

3. มาตรวัดอันตรภาคช้ัน (Interval Scale) หมายถึง ขอมูลที่ไดจากการวัดโดยกําหนด

ตัวเลข แตละชวงของตัวเลขมีระยะเทากัน สามารถเปรียบเทียบไดวามากหรือนอยกวากันอยูเทาไหร

แตบอกไมไดวาเปนกี่เทาของกันและกัน เชน อุณหภูมิ 22 องศามากกวาอุณหภูมิ 21 องศาอยู 1 องศา

แตละชวงของอุณหภูมิหางเทากัน แตที่ 0 องศาไมไดหมายความวาไมมีความรอนเลย เปนเพียงจุดที่

สมมติวา น้ําแข็งหลอมเหลวที่จุดน้ีเมื่อมีความดันปกติ และมาตรนี้มีจุดเริ่มตนเปนศูนยสมมติ (Arbitrary

Zero Point) หรือไมใชศูนยท่ีแทจริง เชน นักเรียนท่ีสอบวิชาคณิตศาสตรได 0 (ศูนย) คะแนน มิได

หมายความวาเขาไมม คี วามรูวิชาคณิตศาสตรเลย

4. มาตรวัดอัตราสวน (Ratio Scale) หมายถงึ ขอ มูลที่ไดจ ากการวัดโดยกําหนดตัวเลข แตละ

ชวงมีระยะหางเทากัน และมีจุดเริ่มตนเปนศูนยแท (Absolute Zero) เชน ความเร็วของรถท่ี 0 แสดง

วา ไมมีความเร็ว ตัวแปรท่ีอยูในมาตรน้ี เชน นํ้าหนัก อายุ ความยาว ความกวาง ความสูง ความลึก

ความเรว็ เปน ตน

สรุปไดวา มาตรวัดเปนระดับของการวัดขอมูลเชิงปริมาณท่ีสามารถใชเคร่ืองมือเก็บรวบรวม

ขอมูลเพ่ือการวิจัยแบงออกเปนมาตรวัดนามบัญญัติ มาตรวัดเรียงอันดับ มาตรวัดอันตรภาคชั้น

และมาตรวัดอัตราสวน การเก็บรวบรวมขอมูลจะตองกําหนดใหชัดเจนวาเคร่ืองมือที่ใชอยูในลักษณะ

มาตรวัดใด จงึ จะทาํ ใหการเกบ็ ขอมลู มีผลตอการวิจัย

-11-

ลักษณะเครอื่ งมือเก็บรวบรวมขอมูลทด่ี ี

เครอื่ งมือแตล ะชนดิ แตล ะประเภทจะมีคุณสมบัติที่ดีเฉพาะตัว และมีความเหมาะสมในการเก็บ
รวบรวมขอ มูลแตกตา งกัน อยา งไรกต็ าม เคร่อื งมือเก็บรวบรวมขอ มูลโดยท่ัวไป ถาเปนเครื่องมือ ที่ดีจะมี
คุณสมบตั ทิ ่สี าํ คัญดังตอไปนี้

1. ความเท่ียงตรง (Validity) หมายถึง เคร่ืองมือเก็บรวบรวมขอมูลน้ันสามารถวัดส่ิงท่ีมุงจะ
วัดได เชน ถา ตอ งการวัดความรูความจําเกย่ี วกบั คําศัพทภาษาอังกฤษ เครื่องมือน้ันตองวัดความสามารถ
ดา นความรคู วามจาํ เกย่ี วกบั คําศพั ทภ าษาองั กฤษจรงิ ความเท่ียงตรงแบง ไดเ ปน 4 ประเภท ดงั น้ี

1.1) ความเท่ียงตรงเชงิ เนื้อหา (Content Validity) หมายถึง เคร่ืองมือน้ันวัดไดตรงกับ
สิง่ ทต่ี องการวดั สิง่ ทต่ี อ งการวดั อาจเปน มาตรฐานการเรียนรู ตัวช้ีวัด ระดับของพฤติกรรม คุณลักษณะท่ี
ตองการวัด หรือวัดไดครอบคลุมและครบถวนตามนิยามศัพทเฉพาะ จะพิจารณาจากขอคําถามที่
ตองการใชวัดวาตรงตามส่ิงที่ตองการวัดโดยใชผูเช่ียวชาญเก่ียวกับเรื่องน้ันๆ พิจารณา การพิจารณา
ความเท่ียงตรงชนิดน้ีจะใชการวิเคราะหอยางมีเหตุผล (Rational Analysis) ดังน้ันความเท่ียงตรงตาม
เน้ือหาจึงขึ้นอยูกับบุคคลที่จะวิเคราะห ทําใหผลที่ไดจึงมักจะไมคอยแนนอนขาดความเปนปรนัย
(ลว น สายยศ และอังคณา สายยศ, 2543, น. 247)

1.2) ความเที่ยงตรงเชิงโครงสราง (Construct Validity) หมายถึง เครื่องมือน้ันวัดได
ตรงคณุ ลกั ษณะ ตามทฤษฏีตา งๆ ของโครงสรา งนั้น หรือวัดไดคลอบคลุมตามลักษณะของโครงสรางของ
แบบทดสอบที่เปน มาตรฐานท่ีวัดคณุ ลักษณะเดียวกนั และมคี ุณภาพดี

1.3) ความเท่ียงตรงตามสภาพ (Concurrent Validity) หมายถึง เครื่องมือน้ันวัดได
ตรงตามสภาพความเปน จริงของผูที่ถูกวัด เชน ผูท่ีถูกวัดมีความรูในวิชานั้นมาก เคร่ืองมือนี้วัดแลวบอก
ไดว า บคุ คลนน้ั มีความรใู นวิชาทวี่ ัดน้ันตรงตามความเปนจริง

1.4) ความเท่ียงตรงเชิงพยากรณ (Predictive Validity) หมายถึง เคร่ืองมือวัดแลว
พยากรณหรือบอกลวงหนาไดวาผูที่ถูกวัดมีความสามารถเดนดานใด สามารถไปเรียนวิชาใด หรือ
ประกอบอาชพี อะไรจึงจะประสบผลสาํ เร็จ

2. ความเช่ือม่ัน (Reliability) หมายถึง เคร่ืองมือเก็บรวบรวมขอมูลนั้นจะตองมีคุณสมบัติท่ี
สามารถใหผลการวัดคงท่ีแนนอนไมวาจะวัดก่ีคร้ังก็ตาม เคร่ืองมือวัดที่มีคาความเช่ือมั่นสูงจะสามารถ
ใหผลการวดั ไดอยางคงเสน คงวา (Consistency) น่ันก็คือ เมื่อนําเครื่องมือน้ันไปเก็บรวบรวมขอมูลหรือ
ไปสอบวดั นกั เรยี นกลมุ หนึง่ กี่ครั้งก็ตาม ผลทีไ่ ดจ ะเทาเดิมหรอื ใกลเ คียงกับคาเดมิ

-12-

3. ความเปนปรนัย (Objective) เคร่ืองมือเก็บรวบรวมขอมูลท่ีมีความเปนปรนัยจะตองมี
คุณลักษณะสาํ คญั 3 ประการดงั นี้

ประการแรก คําถามชดั เจน ทุกคนเขา ใจตรงกันวา ถามอะไร
ประการที่สอง มีความคงที่ในการตรวจใหคะแนน หมายถึง คําตอบของผูสอบแตละคน
ถึงแมจะใหก รรมการหลายๆ คนมาตรวจคําตอบน้นั กจ็ ะใหคะแนนตรงกนั
ประการที่สาม คะแนนทีไ่ ดแปลความหมายไดช ัดเจนวา แทนอะไร
4. คาอํานาจจําแนก (Discrimination) เคร่ืองมือเก็บรวบรวมขอมูลท่ีมีอํานาจจําแนกดี
หมายถึงขอคําถามน้ันสามารถจําแนกหรือแยกผูท่ีมีความรูออกเปน 2 กลุมได คือ กลุมเกงกับกลุมออน
หรือกลมุ ที่รอบรกู ับกลมุ ท่ไี มร อบรู
5. คาความยากงาย (Difficulty) เปนการหาสัดสวนของผูท่ีตอบถูกในขอสอบรายขอ
เครื่องมือเก็บรวบรวมขอมูลท่ีดีจะตองมีความยากงายพอเหมาะกับผูตอบ โดยถาผูตอบท้ังกลุมเกงและ
กลมุ ออนไมม ใี ครตอบถกู เลยแสดงวา ขอคาํ ถามยากเกนิ ไป ถา ผตู อบท้งั กลมุ เกงและกลุมออนตอบถูกหมด
ทกุ คนแสดงวา ขอ คาํ ถามงายเกินไป สว นขอ คําถามทด่ี คี วรจะมีความยากงายพอเหมาะคือ ผูตอบครึ่งหนึ่ง
ของทั้งสองกลมุ ตอบถกู โดยกลมุ เกง ตอบถกู สว นกลุม ออ นตอบไมถ ูก
6. ความเฉพาะเจาะจง (Definite) หมายถึง การวัดเปนเรื่องที่เฉพาะเจาะจง หรือวัด
ความสามารถเปนดานๆ คําถามที่ใชถามแตละขอถามเพียงเรื่องเดียว ไมควรถามกวางเกินไปหรือหลาย
ประเด็นในขอเดียวกนั เปนตน
7. การถามลึก (Searching) หมายถึง การที่เคร่ืองมือเก็บรวบรวมขอมูลตองวัดสมรรถภาพ
ทางสมองหลายดาน อยาวัดเพียงความรูความจําเพียงอยางเดียว ควรวัดความสามารถทางสมองในดาน
อื่นๆ เชน ความเขาใจ การนําไปใช การวิเคราะห การสังเคราะห และการประเมินคา วัดดานจิตพิสัยก็
ควรวัดดานความสนใจ ความซาบซึ้ง ทัศนคติ และวัดดานการรับรูนอยๆ สวนวัดดานทักษะพิสัยควรวัด
การเคล่ือนไหวของสวนตางๆ ของรางกายที่สัมพันธกันมากๆ และวัดการเคล่ือนไหวของแตละสวนของ
รา งกายใหนอย
8. ความยุติธรรม (Fairness) เคร่ืองมือเก็บรวบรวมขอมูลที่ดีตองมีความยุติธรรม หมายถึง
ความยุติธรรมดานเนื้อหา เวลา เชน การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไมควรถามคําถามจากส่ิงที่ไมมี
กําหนดไวใ นมาตรฐานการเรยี นรู ตวั ชี้วัด หรือจดุ ประสงคการเรยี นรูใ นหลกั สูตรหรือในการเรียนการสอน
แตละวิชา สวนดานเวลาหมายถึงขอสอบชุดน้ันควรกําหนดเวลาใหเหมาะสมกับคนสวนใหญทําไดเสร็จ
ตามเวลาท่ีกําหนด

-13-

9. การกระตุน (Exemplary) เคร่ืองมือเก็บรวบรวมขอมูลท่ีดีตองมีการกระตุนหรือลอให
ผูตอบอยากตอบคําถามน้ันใหหมดทุกขอ ดังน้ันเครื่องมือที่มีการกระตุนผูตอบจึงใชวิธีการเรียงคําถาม
จากงา ยไปหายาก เพอื่ ผตู อบไดท ําคําถามท่ีงายไดจะมีกําลังใจที่จะคิดตอบขอคําถามยากๆ ตอไปจนครบ
ทกุ ขอ หรือใชคําถามทีเ่ หมาะสมกับวัยของผทู ี่เปนกลุมเปา หมายในการเกบ็ รวบรวมขอมลู

10. ความมีประสิทธิภาพในการใช (Efficiency) เครื่องมือเก็บรวบรวมขอมูลที่มี
ประสิทธิภาพในการใช หมายถึง เครื่องมือน้ันวัดพฤติกรรมไดหลายๆ ดานโดยใชเวลานอย และวัดได
เหมาะสมกับสมรรถภาพทีว่ ดั ดวย ตวั อยางเชน ตองการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร ตอง
ใชแ บบทดสอบจึงจะเหมาะสม แตถ า ใชแ บบสอบถามก็ไมเหมาะสม

สรุปไดวาเครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลท่ีมีคุณภาพดีน้ันจะมีตองมีความเท่ียงตรง
ความเชื่อม่ัน มคี วามเปนปรนยั ความยตุ ิธรรม การกระตนุ มปี ระสิทธิภาพ ในการเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อ
การวจิ ยั ดว ยแบบทดสอบจะตอ งมคี วามยากปานกลาง และอาํ นาจจาํ แนกที่ดี

ขอจํากดั ของเคร่ืองมอื เก็บรวบรวมขอ มลู

เคร่อื งมือเกบ็ รวบรวมขอ มลู ทใี่ ชในการวจิ ยั ทางการศกึ ษาเปนการวัดทางสังคมศาสตร ซ่ึงอาจจะ
ไมเ หมือนกบั การวดั ทางวิทยาศาสตร ซง่ึ มขี อ จาํ กดั ท่คี วรทําความเขาใจอยู 5 ประการดังน้ี

1. การเก็บรวบรวมขอมูลแตละคร้ังไมไดเปนการวัดโดยตรง แตเปนการเก็บรวบรวมขอมูล
ทางออม ดวยการสรางสถานการณจําลองเพ่ือใชเปนตัวกระตุน หรือสรางขอคําถามเพื่อไปกระตุนให
ผูตอบแสดงพฤติกรรมออกมาและวัดพฤติกรรมที่เกิดขึ้น ซ่ึงพฤติกรรมนั้นอาจไมใชพฤติกรรมจริง
หรือไมเปนพฤติกรรมจริง เชน ถามวา ทานมีสวนรวมในการบริหารจัดการการศึกษาของโรงเรียนมาก
นอยเพยี งใด ซง่ึ กอ็ าจจะตอบไดวา มสี วนรว มมาก ความเปน จรงิ อาจมีสวนรวมนอ ย กไ็ ด

2. เครื่องมือเก็บรวบรวมขอมูลที่ใชในการวิจัยเปนการวัดตัวแปรทางสังคมศาสตร วัดตัวอยาง
พฤติกรรมหรือตัวอยางคุณลักษณะของตัวแปร จึงเปนการวัดสิ่งที่ตองการวัดเพียงบางสวนเทานั้น
ไมสามารถวัดตามที่ตองการไดท้ังหมด เชน ตองการวัดทักษะภาษาอังกฤษวามีระดับมากหรือนอย
การเก็บรวบรวมขอมูลท้ังหมดยอมทําไดยาก หรือทําไมไดเลย ดังน้ัน แบบทดสอบท่ีใชวัดจึงตองเลือก
หรือสุมบางมาตรฐานการเรียนรู ตัวช้ีวัด หรือจุดประสงคการเรียนรูมาบางสวนเพื่อใชเปนตัวแทนให
มากที่สดุ

3. เครื่องมือเก็บรวบรวมขอมูลท่ีใชวัดทุกคร้ังตองมีความคลาดเคลื่อน (Error) เกิดขึ้นบาง
ไมมากก็นอย อาจจะเปนความผิดพลาดท่ีเกิดจากตัวผูตอบ เชน หารลืม จําไมได หรือแสรงตอบ หรือ
อาจเปนเพราะตัวคําถาม คําตอบท่ีไมชัดเจน ใชภาษาไมดี อานไมเขาใจก็ได ความผิดพลาดเหลาน้ีอาจ
เกดิ ขึ้นไดเสมอ

-14-

4. เคร่ืองมือเก็บรวบรวมขอมูลยังวัดไดไมละเอียด สวนมากวัดไดเพียงหยาบๆ ความแตกตางของ
คําตอบเพียงเล็กนอ ยอาจไมแตกตางกนั

5. หนว ยหรอื มาตรวัดของเคร่อื งมอื เกบ็ รวบรวมขอมลู เพ่ือการวิจัยทางการศึกษาน้ัน สวนมากมี
ชวงหาง ไมเทากัน ไมมีศูนยแท ไมเหมือนกับการวัดทางวิทยาศาสตร เชน ชั่งน้ําหนัก นํ้าหนักที่ชั่งไดมี
ศูนยแ ทแ ละน้าํ หนักแตล ะกิโลกรมั มีระยะหา งของหนว ยวัดเทา กนั เปนตน

ดงั นน้ั การสรางเครื่องมอื ทใ่ี ชใ นการวิจัยและการนาํ ผลจากการเกบ็ รวบรวมขอมูลดวยเครื่องมือที่
ใชในการวิจยั ไปใช จะตองระมัดระวังขอจํากัดเหลาน้ี เปนเร่ืองยากท่ีจะหลีกเลี่ยงไมใหเกิดขึ้นได การทํา
การวิจัยจงึ ตอ งกําหนดขอ ตกลงเบือ้ งตน ของการวิจัยน้นั ดว ย

บทสรุป

การเกบ็ รวบรวมขอ มูลเพอ่ื การวจิ ัยเปนกระบวนการใชเคร่ืองมือวัดผลมาใชในการวิจัย เพื่อเก็บ
มูลท่ีไดมาใชในการวิจัย ขอมูลท่ีไดมีท้ังเชิงปริมาณและคุณภาพ การเก็บรวบรวมขอมูลทําใหสามารถ
เปรียบเทยี บผลการวจิ ัย สามารถควบคมุ ผลการวจิ ยั ควรมีความเปนปรนัย แมนยํา ถูกตอ งมากทีส่ ุด

เครื่องมือทีใ่ ชในการเก็บรวบรวมขอมูลทนี่ ิยมใชกันไดแ ก แบบทดสอบ แบบสอบถาม แบบมาตร
ประมาณคา แบบสัมภาษณ แบบตรวจสอบรายการ สวนแบบวัดอ่ืนๆ ไดแก แบบสํารวจ แบบสังคมมิติ
และแบบเทคนิคการสรางจินตนาการ การเลือกใชเคร่ืองมือจะตองศึกษาลักษณะของกลุมเปาหมาย
ตัวแปร หรือคุณสมบัติที่ตองการวัด ระยะเวลาท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูล วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล
โดยการเก็บรวบรวมขอมูลจะตองศึกษาตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม กับตัวแปรควบคุม และตัวแปร
สอดแทรก ซึง่ จะตองนิยามตวั แปรทีต่ อ งการวดั ใหชดั เจน ทําการนิยามเชิงทฤษฏี และนิยามเชิงปฏิบัติการ
และจะตองรูจักมาตรวัดตัวแปรการวิจัย ไดแก มาตรวัดนามบัญญัติ มาตรวัดเรียงอันดับ
มาตรวัดอันตรภาคหรือชวงชนั้ และมาตรวดั อัตราสว น

ลักษณะเคร่ืองมือเก็บรวบรวมขอมูลที่ดี จะตองมีคุณสมบัติดานความเที่ยงตรง ความเชื่อม่ัน
ความเปนปรนัย คาอํานาจจําแนก ความยากงาย และมีความเฉพาะเจาะจง การถามลึก ความยุติธรรม
การกระตุน และความมีประสิทธิภาพ โดยมีขอจํากัดคือ การเก็บรวบรวมขอมูลทางออม วัดไดบางสวน
มีความคลาดเคลอ่ื น วัดไดไ มละเอยี ด หนว ยวัดของเครอ่ื งมอื ไมเ ทากัน

บทที่ 2
แบบทดสอบ

แบบทดสอบเปนเคร่ืองมือที่ใชในเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อการวิจัยที่มีจุดมุงหมายเพื่อศึกษา
พฤติกรรมดานพทุ ธิพิสัย เปน การตรวจสอบระดับความรูค วามเขาใจของกลุมเปาหมาย อาจจะวัดความรู
ความเขาใจท่ีมีอยูเดิม ความรูท่ีไดจากประสบการณท่ีผานมาในชีวิตประจําวันและความรูท่ีไดจากส่ือ
ตางๆ หรอื ความรูที่ไดจ ากการเกิดประสบการณการเรียนรู นักวิจัยสวนใหญจะคาดหวังที่จะไดขอมูลให
ตรงกับความจริงมากท่ีสุด แตความเปนจริงแลวการใชแบบทดสอบนั้นเปนการวัดตัวแปรที่เกี่ยวกับ
ความรูความเขาใจโดยออม กลาวคือขอสอบท่ีใชวัดมักจะเปนการสรางสถานการณ หรือสิ่งเราใหบุคคล
ไดแสดงความรู ความเขาใจของตนเองออกมา ดังนั้นการสรางแบบทดสอบจึงจําเปนที่จะตองสรางอยาง
รอบคอบ พิถีพิถัน เพ่ือใหแบบทดสอบน้ันมีคุณภาพสามารถนําไปใชเก็บรวมรวมขอมูลไดอยางมี
ประสิทธิภาพ

ความหมายของแบบทดสอบ

แบบทดสอบเปนเครื่องมือเก็บรวบรวมขอมูลของการวิจัยที่มีจุดมุงหมายศึกษาพฤติกรรมดาน
พุทธิพิสัยและดานทักษะพิสัยท่ีใชกันอยางแพรหลายในวงการศึกษาและนับวาเปนเคร่ืองมือที่สําคัญ ไม
วาจะเปนการสอบท่ีมุงวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หรือ ดานความถนัดทางการเรียน รวมทั้งมุงวัดความรู
ความเขาใจในเร่ืองใดเรื่องหนงึ่

ชวาล แพรัตกุล (2552, น. 73) และ วิเชียร เกตุสิงห (2524, น. 15) ไดใหความหมายของ
แบบทดสอบวา หมายถึงชุดของคําถาม หรือกลุมงานใด ๆ ที่สรางขึ้นเพื่อจะชักนําใหผูทดสอบแสดง
พฤติกรรมอยางใด อยางหนึ่งออกมา ใหผูสอบไดสังเกตและวัดได โดยแบบทดสอบจะประกอบดวย
ภาคกระตนุ (Stimulus) กบั ภาคตอบสนอง (Response) เสมอ ดังนั้นการสรางขอสอบเพ่ือวัดคุณลักษณะใดๆ
ผูสรางควรจะตองพิจารณาสถานการณหรือขอคําถามวา แบบใดที่สามารถไปเราใหผูถูกสอบแสดง
ลักษณะหรือพฤตกิ รรมนั้นออกมา โดยผูสอบจะตองคอยพิจารณาถึงลักษณะหรือพฤติกรรมเหลาน้ันใหดี
เพอื่ จะไดสรางขอสอบท่สี ามารถวดั ไดอ ยางถูกตองและเหมาะสม

ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ (2543, น. 85) ไดสรุปความหมายของแบบทดสอบไววา
หมายถึง ชุดของขอคําถามหรือขอปญหาที่ออกแบบสรางขึ้นอยางมีระบบและกระบวนการ เพ่ือคนหา
ตัวอยางของพฤติกรรมของผูที่สอบ ภายใตเงื่อนไขเฉพาะอยาง โดยชุดของขอคําถามตองมีความเปน
ปรนยั ไดแ ก ตองชัดเจน คนสอบอานแลวรูวาถามอะไร คนตรวจใหคะแนนคาของคะแนนจะตองเทากัน
และการแปลความหมายของคะแนนในขอนนั้ จะตองตรงกัน

-16-

ครอนบาค (Cronbach, 1964, p.21) ไดกลาวถึงแบบทดสอบวาหมายถึงวิธีการเชิงระบบที่ใช
ในการเปรียบเทียบพฤติกรรมบุคคลตั้งแตสองคนขึ้นไป ณ เวลาหนึ่ง หรือของบุคคลคนเดียวหรือหลาย
คนในเวลาตางกัน

สรุปไดวา แบบทดสอบเปนชุดของขอคําถามเพื่อกระตุนใหผูถูกทดสอบไดแสดงพฤติกรรม
ออกมา สามารถสังเกตและวัดได เปนวิธีการเชิงระบบในการวัดพฤติกรรม โดยแบบทดสอบจะตองมี
กฎเกณฑแนนอนเก่ียวกับโครงสราง การบริหารจัดการ การใหคะแนน เปนการวัดพฤติกรรมโดยออมท่ี
ผูตอบจะตอบสนองตอขอคําถามที่กําหนดให มิใชการวัดโดยตรง และเปนการวัดเพียงบางสวนของ
พฤติกรรมท่ตี อ งการวดั ท้งั หมด

ประเภทของแบบทดสอบ

การจาํ แนกประเภทของแบบทดสอบนัน้ ขึ้นอยกู บั เกณฑที่นาํ มาใชในการจําแนกประเภท ในท่ีนี้
ไดร วบรวมวิธกี ารจาํ แนกประเภทตามลกั ษณะของเกณฑทใ่ี ชไดด ังน้ี

1. ใชว ิธตี อบเปน เกณฑ สามารถจาํ แนกไดเปน 3 ประเภท ไดแ ก
1.1 แบบทดสอบแบบเขียนตอบ (Written Test) เปนแบบทดสอบที่ใหผูตอบตองเขียน

ตอบ อาจเปน ขอความส้ันๆ ทีไ่ มตอ งการคาํ อธิบาย หรอื เขียนตอบยาว ๆ ใหอธิบายหรือพรรณนา ดังน้ัน
จํานวนขอ สอบจงึ อาจมนี อ ยขอ แตละขอ อาจตอ งตอบ 2-3 หนา แลว แตล ะขอบเขตและระดับช้นั ไดแก

1.1.1 แบบใหต อบสนั้ (Short Response Test)
1.1.2 แบบความเรียง (Essay Test)
1.2 แบบทดสอบแบบเลือกตอบ (Objective Test) เปนแบบทดสอบที่ผูตอบสามารถ
เลือกตอบจากคําตอบที่กําหนดมาให ดวยการทําเคร่ืองหมายใดๆ ในการตอบเทานั้น หรืออาจใช
สัญลักษณที่เปน ตัวเลข หรอื ตัวอกั ษรแทนในการเลอื กตอบ ซึ่งมหี ลายรปู แบบ ไดแ ก
1.2.1 แบบถกู - ผิด (True - False)
1.2.2 แบบจับคู (Matching)
1.2.3 แบบเลือกตอบ (Multiple Choices)
1.3 แบบทดสอบการปฏิบัติ (Performance Test) เปนแบบทดสอบท่ีใชวัดการปฏิบัติ
สวนใหญเปนแบบใหปฏิบัติ หรือใหทํางานตามที่กําหนด เชน สอบภาคปฏิบัติพลานามัย ปฏิบัติการทาง
ศิลปะ ปฏบิ ัติการทางดนตรี ปฏบิ ัตกิ ารทางนาฏศิลป เปน ตน
2. ใชวธิ ีดําเนินการสอบเปนเกณฑ สามารถจาํ แนกได 6 ประเภท ไดแก
2.1 แบบทดสอบรายบุคคล (Individual Test) เปนแบบทดสอบท่ีดําเนินการสอบทีละ
คน เชน การสอบสัมภาษณ การสอบปากเปลาท่ีตองการขอมูลละเอียด เชน การวัดลักษณะทาง
จิตวิทยา ไดแก ลักษณะการปรับตัว ความโกรธ ความกลัว โรคประสาท หรือใชเมื่อเคร่ืองทดสอบมีอยู
นอย เชน การทดสอบเครือ่ งจักรเครอื่ งกล เปน ตน

-17-

2.2 แบบทดสอบเปนกลุม (Group Test) เปนแบบทดสอบที่ดําเนินการสอบคร้ังละ
หลายคน หรือสอบทงั้ ช้ันเรียน แบบทดสอบประเภทน้ีใชสะดวก ปองกันอคติ และความลําเอียงไดดีกวา
สอบรายบุคคล เหมาะทีจ่ ะเปรียบเทียบผลงานของแตละคนกับกลุม และทดสอบไดจํานวนมากในชวงเวลา
ทม่ี ีอยจู ํากัด

2.3 แบบทดสอบจํากัดอัตราเร็ว (Speed Test) เปนแบบทดสอบที่ดําเนินการดวยการ
จาํ กดั เวลาหรอื งาน แยกเปน 2 ประเภท ไดแ ก

2.3.1 แบบจาํ กดั เวลา (Time –limit Test) แบบทดสอบชนดิ นี้จะกําหนดเวลาไวให
นอ ย ๆ การวดั ผลดจู ากผลงานวาใครทําไดมาก หรือมีคุณภาพดีกวากัน ในเวลาท่ีเทากัน เชน การให ทํา
ขอ สอบ 200 ขอ ในเวลา 1 ช่วั โมง เปนตน

2.3.2 แบบจํากัดงาน (Work-limit Test) แบบทดสอบชนิดน้ี ไมกําหนดเวลาให
แตกาํ หนดงานใหป รมิ าณหนึ่ง ใครทาํ ไดดมี ีคุณภาพ โดยใชเ วลานอยกวา ก็จะไดค ะแนนดกี วา

2.4 แบบทดสอบชนิดใหสอบเต็มความสามารถ (Power Test) แบบทดสอบน้ี
ดําเนินการสอบโดยไมจํากัดเวลา ใหผูทดสอบทําจนหมดส้ินความสามารถ ไดเทาไรก็เปนระดับ
ความสามารถสูงสุดของผูน้ัน แบบทดสอบชนิดนี้จะไมคํานึงถึงเวลาที่ใช และไมนํามาใชเปนเกณฑให
คะแนนดวย แตจะพิจารณาผลงานท่ีทําออกมาไดเปนเกณฑวามีคุณภาพสูงตํ่าเพียงไร แบบทดสอบวัด
ผลสัมฤทธิ์โดยทั่วไปเปนแบบผสมระหวางแบบจํากัดความเร็วกับแบบใหสอบเต็มความสามารถ โดยให
งานจํากัด ทําในเวลาจาํ กัด

2.5 แบบทดสอบขอเขียน (Written Test) เปนแบบทดสอบชนิดที่เขียนตอบหรือ
ท่ีเรยี กอกี อยา งวา (Paper–pencil Test) เปนแบบทดสอบที่ใชท ว่ั ๆ ไป

2.6 แบบทดสอบปากเปลา (Oral Test) เปนแบบทดสอบรายบุคคลชนิดหน่ึง แตแยก
เปนอีกแบบหนึ่ง เพราะมีลักษณะพิเศษตรงที่ตองตอบปากเปลา เชน การสอบการอาน การสอบพูด
สือ่ สาร เปนตน

3. ใชวิธีการสรางแบบทดสอบและการนําผลการสอบไปใชเปนเกณฑ สามารถจําแนกเปน
2 ประเภทยอย ไดแก

3.1 แบบทดสอบที่ครูสราง (Teacher–made Test) เปนแบบทดสอบท่ีครูสรางข้ึนเพ่ือ
ใชเปนเครื่องมือวัดในกิจกรรมการเรียนการสอน โดยเฉพาะอาจสรางขึ้นเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์จากที่ไดเรียน
ไปแลว อาจใชเพื่อกระตุนใหสนใจการเรียน หรือดูความพรอมของนักเรียนกอนเรียน บทเรียนใหม
แบบทดสอบชนิดนจ้ี ึงมีประโยชนอ ยูที่สามารถสรา งใหเ หมาะสมกับสภาพและเหตุการณไดด ี

3.2 แบบทดสอบมาตรฐาน (Standardized Test) แบบทดสอบประเภทน้ีใชสําหรับ
เปรียบเทียบกับกลุมเปนสําคัญวาอยูในอันดับเทาใดของกลุม ตํ่าหรือสูงกวาคนกลาง ๆ ของกลุม เชน
แบบทดสอบของการทดสอบการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (Ordinary National Education Test :
O-NET) โดยมมี าตรฐานคอื

-18-

3.2.1 มาตรฐานในการดําเนินการสอบ คือ ดําเนินการสอบแบบเดียวกัน ไมวา จะไป
สอบกบั ใครทีไ่ หน เชน ใหเวลาเทากนั พอดี ใหค ําอธิบายคําชี้แจงเหมือนกัน เปนตน

3.2.2 มาตรฐานในการใหคะแนน คือ มีเกณฑการใหคะแนนเปนแบบเดียวกัน
มีเกณฑก ารใหคะแนนที่ชดั เจน

3.2.3 มาตรฐานในการแปลความหมายคะแนน คือ มีการแปลความหมายคะแนน
โดยใชเกณฑเดียวกัน คะแนนที่ไดจากการทําแบบทดสอบมาตรฐานจะตองเทียบกับเกณฑเดียวกัน เชน
เทียบวาเกง กวาใครก่ีคนจาก 100 คน ถงึ จดุ มาตรฐานท่ีกําหนดไวหรอื ไม

4. ใชสิ่งท่ีตองการวดั เปน เกณฑ สามารถจาํ แนกเปน 5 ประเภท ไดแ ก
4.1 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ (Achievement Test) แบบทดสอบประเภทน้ีหมายถึง

แบบทดสอบท่ีมุงวัดความรู ทักษะ สมรรถภาพดานตางๆ ที่ไดรับจากประสบการณท้ังปวงและมุงวัด
ทางดานวิชาการเปนสําคัญ เชน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์วิชาคณิตศาสตร วิทยาศาสตร ภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ และสังคมศึกษา เปนตน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ินี้ถาสรางขึ้นเพ่ือจุดมุงหมายตางกัน
ก็เรียกชื่อแตกตางกันออกไป เชน วัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เรียกท่ัวไปก็เรียกวา “ แบบทดสอบ
วัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน “ (Scholastic Achievement Test) ถามุงวัดความพรอมทางการเรียน
เรียกวา “แบบทดสอบวัดความพรอม” (Readiness Test) แบบทดสอบที่มุงวินิจฉัยผลการเรียนวา
มีจดุ เดน ดอ ยตรงไหน กเ็ รียกวา “แบบทดสอบวนิ จิ ฉัย “ (Diagnostic Test) เปนตน

4.2 แบบทดสอบวัดความถนัด (Aptitude Test ) เปนแบบทดสอบที่ใชวัดความรู
ความเขาใจ ความสามารถอันเปนผลรวมของสติปญญา ความสามารถเฉพาะอยาง และผลที่เกิดจาก
การสะสมของปรากฏการณ เมือ่ รวมกนั แลวทําใหมีความสามารถมากนอยตางกัน เรียกวาความถนัดมาก
ถนัดนอย เชน เด็กบางคนมีความถนัดที่จะเรียนคณิตศาสตรไดดี แบบทดสอบวัดความถนัด จําแนก
เปน 2 ประเภท ไดแก แบบทดสอบวัดความถนัดทางการเรียน (Scholastic Aptitude Test) เชน
ความมีเหตุผล ความจํา เปนตน และแบบทดสอบวัดความถนัดโดยเฉพาะ (Specific Aptitude Test)
เชน ความถนดั ทางดนตรี ทางวศิ วกรรม ทางภาษา เปนตน

4.3 แบบทดสอบวัดบุคลิกภาพและการปรับตัว (Personality and Adjustment
Test) แบบทดสอบพวกนี้เปนแบบทดสอบทางจิตวิทยาเชน วัดความกาวราว ความวิตกกังวล
บุคลิกภาพแบบเผด็จการ แบบประชาธิปไตย บุคลิกภาพความเปนหญิง-ชาย เปนตน แบบทดสอบ
ประเภทน้ีมีหลายรูปแบบอาจเปนมาตรวัด (Scale) การสัมภาษณ แบบสอบถาม และเคร่ืองมืออื่นๆ
ทางจิตวิทยา เปน ตน

4.4 แบบทดสอบวัดความสนใจ (Interest Test) ไดแก แบบทดสอบวัดความสนใจ
เฉพาะเรอื่ ง เชน ความสนใจในอาชีพ สนใจในวิชาใดวิชาหน่ึง เปนตน

4.5 แบบทดสอบวดั เจตคติ (Attitude test) เปนแบบทดสอบสําหรับวัดความโนมเอียง
ของบุคคลตอเรื่องตา งๆ ซึ่งรวมถึงเจตคติ คา นยิ ม ลักษณะนิสัย เชน เจตคติตอวิทยาศาสตร เจตคติ

-19-

แบบประชาธปิ ไตย เจตคตทิ างวิทยาศาสตรไดวดั ไดกวางขวางมากไมวาจะเปนเจตคติ คานิยมของบุคคล
เร่ืองราว สิ่งของ หรือปรากฏการณ เชน เช้ือชาติ การเมอื ง สังคม ระบบเศรษฐกจิ ศาสนา และจริยธรรม
เปน ตน

รปู แบบของแบบทดสอบ

ในที่น้ีจะแบงรูปแบบของแบบทดสอบเปน 2 ชนิด ตามลักษณะการตอบ คือ แบบทดสอบ
อตั นยั กบั แบบทดสอบปรนัย ซึง่ บญุ ธรรม กจิ ปรีดาบรสิ ทุ ธ์ิ (2534, 68) ไดน าํ เสนอไวดงั ตอไปนี้

1. แบบทดสอบแบบเขียนตอบ (Written Test) เปนแบบทดสอบท่ีใหผูตอบไดเขียนตอบ
ตามความสามารถของตนเอง

1.1 แบบเขียนตอบสั้นๆ (Short Answer Item) มีลักษณะสําคัญอยูที่เปนขอสอบที่มี
การเขียนตอบเปนขอความอยางสั้นๆ ใหไดคําตอบท่ีเจาะจง อาจเวนวางใหตอบ หรือใหตอบใน
กระดาษคําตอบก็ได และตัวขอสอบอาจเปนรูปแบบคําถาม หรือแบบเติมใหสมบูรณก็ได ถามีการตอบ
ยาวๆ มกี ารบรรยายใหเหตุผล จะจัดเปนแบบความเรียงมากกวา แบบทดสอบแบบตอบสั้นมี 3 รูปแบบ
ไดแก

1.1.1 แบบขอคําถามสมบูรณ รูปแบบการถามจะใชประโยชนท่ีมีเน้ือหาสมบูรณ
แตใ หต อบสนั้ ๆ เพยี งคาํ ตอบเดียวหรือวลเี ดียว ตัวอยางเชน

1) อาํ เภอพมิ ายอยูในจงั หวัดอะไร .......................................
2) พลายแกวเปนบุตรของใคร .............................................
3) มุมภายในสามเหลี่ยมรวมกนั เปนก่ีองศา .........................
1.1.2 แบบขอความไมสมบูรณ รูปแบบการถามจะใชประโยคที่เปนขอความที่
ไมสมบูรณ เมอ่ื เติมคาํ หรือวลีลงไปจะทําใหประโยคสมบรู ณ ตวั อยางเชน

1) อาํ เภอพิมายอยูในจังหวดั ..................................................
2) พลายแกวเปนบตุ รของ………………………………………………..
3) มมุ ภายในสามเหล่ยี มรวมกันเปน .....................................องศา
1.1.3 แบบเติมคําที่มีความสัมพันธ รูปแบบการถามจะตั้งคําถามดวยประโยคหลัก
แลวตามดวยคําหรือขอความยอย ๆ เวนวางไวใหเติมคําตอบ คําตอบที่จะเติมจะตองสัมพันธเก่ียวของ
กบั คําหรอื ขอความยอ ย ๆ นั้น ตวั อยา งเชน

อาํ เภอตอไปนี้อยูในจังหวดั อะไร
1) เกาะสมยุ ............................................................................
2) พิมาย .................................................................................
3) หลงั สวน..............................................................................

-20-

1.2 แบบความเรียง (Essay Test) รูปแบบของแบบทดสอบจะมีเฉพาะตัวคําถามเทานั้น
สว นคาํ ตอบจะเวนท่ีวา งหรอื กําหนดกระดาษคาํ ตอบไวใ หเ ปน พิเศษ สําหรับใหผูตอบเขียนคําตอบลงไปเอง
ผตู อบมีอิสระในการตอบและจะตอ งเรยี บเรยี ง ความรู ความเขาใจในเน้ือหาท้ังหมดเขาดวยกันแลวเขียน
คําตอบเองตามทต่ี นถนัด ผูตอบตอ งใชเวลาเกือบทง้ั หมดไปในการคดิ และเขียน แบบทดสอบความเรียง
น้ีจะมีปญหามากในการตรวจใหคะแนน ท้ังในดานความเปนธรรมในการใหคะแนนและความสะดวก
รวดเร็ว มลี กั ษณะเปนการถามแบบปลายเปด ตัวอยา งเชน

จากปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งนักเรยี นจะสามารถนาํ มาใชในการดํารงชวี ติ ประจําวัน
ไดอ ยา งไร โดยใหนักเรยี นเขียนอธบิ ายพรอมยกตวั อยา งประกอบ (10 คะแนน)
……………………….……………………………………………………………………….………………………...
…………………………………………………………………………………………………………………………..

2. แบบทดสอบแบบเลือกตอบ (Multiple Choice test) เปนแบบทดสอบท่ีมีคําตอบให
ผูตอบไดเลอื กตอบถกู -ผิด เลือกตอบจากคําตอบหลายตัวเลือกหรือจับคูกับสิ่งท่ีกําหนด มีลักษณะเดนที่
ผูต อบจะตอ งใชเ วลาสว นมากไปในการอานและวิเคราะห สวนการตอบใชเวลานอย การตรวจทําไดงาย
และใหความเปนธรรมสูง หรือใหคอมพิวเตอรชวยตรวจก็ได การเก็บรวบรวมขอมูลดานความรูในการ
วิจัยจึงนิยมใชแบบทดสอบเลือกตอบถูกผิด แบบทดสอบตอบส้ันและเลือกตอบอาจแบงรูปแบบไดเปน
4 ชนิด (บญุ ธรรม กจิ ปรดี าบรสิ ทุ ธ,ิ์ 2534, น. 75-77) ไดแ ก

2.1 แบบทดสอบถูก-ผิด (True-False Item) รูปแบบโดยท่ัวไปกําหนดขอความมาให
และใหตอบวา ถูกหรือผิด ใชหรือไมใช เปนจริงหรือไมเปนจริง อยางใดอยางหน่ึง มี 4 รูปแบบ
ไดแก

2.1.1 แบบขอความเดยี ว รปู แบบนี้เปน รปู แบบที่พบกันทั่วไปคือ กําหนดขอความที่
สมบรู ณม าให ผูต อบจะตอ งตอบวา ถกู () หรอื ผดิ () ลงหนา ขอความนัน้ เชน

……………. 1) อําเภอพมิ ายอยูในจงั หวดั นครราชสมี า
……………. 2) พลายแกวเปนบุตรของขุนชา ง
……………. 3) มุมภายในสามเหลยี่ มรวมกันแลว เทา กบั 180 องศา

2.2.2 แบบสองขอความสัมพันธก นั รปู แบบน้จี ะกําหนดขอความมาให 2 ขอ ความ
วธิ ีการตอบ ถา ขอความท้ังสองสัมพันธกนั ใหต อบถูก () และถาไมสัมพันธก นั ใหต อบผดิ () เชน

……………. 1) อาํ เภอพมิ าย : จังหวัดนครราชสมี า
……………. 2) พลายแกว : พลายเงิน
……………. 3) มุมภายในสามเหลี่ยม : 180 องศา

-21-

2.2.3 แบบขอความหลักตามดวยขอความยอย รูปแบบนี้ตัวคําถามเปนขอความ
หลักและคําตอบเปนขอความยอย แตละขอความหลักจะมีหลายๆ ขอความยอย จะมีทั้งถูกและผิดคละ
กัน กําหนดใหผูตอบระบุวาขอความยอยใดถูก () ขอความยอยใดผิด () ซ่ึงมิใชเปนคําตอบท่ี
ถกู ตอ งของขอ ความหลกั เชน

จงั หวัดนครราชสีมา
……………. 1) ต้งั อยใู นภาคอีสาน
……………. 2) มี 32 อําเภอ
……………. 3) ประชากรสว นใหญท ําสวนยางพารา
……………. 4) มวี รี สตรีประจําจังหวดั ชอื่ คุณหญงิ โม

2.2.4 แบบแกขอ ความผดิ ใหถูก แบบน้ีรูปแบบการถามจะใชรูปแบบ 1, 2,หรือ 3
กไ็ ด เพยี งแตมีเงื่อนไขการตอบเพิ่มขึ้น นอกจากใหตอบวาถูก () หรือผิด () ถาขอความใดตอบ
วาผดิ () จะตองแกไ ขขอ ความในเร่ืองนนั้ ใหถูกตองดว ย เชน

จังหวัดนครราชสมี า แกไขเปน
……………. 1) ตัง้ อยูใ นภาคอีสาน ………….……
……………. 2) มี 32 อาํ เภอ ………….……
……………. 3) ประชากรสว นใหญท าํ สวนยางพารา ………….……
……………. 4) มีวรี สตรีประจาํ จงั หวดั ชื่อ คุณหญงิ โม ………….……

2.2 แบบจับคู (Matching Test) รปู แบบนี้จะกาํ หนดคํา วลี หรือขอความมาให 2 แถว
แถวทางซายเปนตัวคําถามและแถวทางขวาเปนตัวคําตอบ การตอบจะตองเลือกคําทางขวาที่มี

ความหมายสอดคลองกับคําถามแถวทางซายมือ แลวเขียนตัวเลขหนาคําท่ีเลือกไวหนาขอคําถาม ปกติ
แถวทางขวาจะมีคํา วลี หรือขอความมากกวาแถวทางซายทเ่ี ปน คาํ ถาม และคําตอบแตละตัวอาจจะใช

ซ้าํ กนั มากกวา 1 คร้งั กไ็ ด เชน

หมวด ก หมวด ข
.......... ก. พิมาย 1. จงั หวัดชยั ภมู ิ
.......... ข. ภูเขยี ว 2. จงั หวัดชมุ พร

.......... ค. เชียงดาว 3. จงั หวัดนครราชสมี า

.......... ง. หลงั สวน 4. จงั หวดั ระยอง
5. จังหวัดเชยี งใหม

-22-

2.3 แบบทดสอบชนิดเลือกตอบ (Multiple Choices) รูปแบบทั่วไปของแบบทดสอบ
ชนดิ เลือกตอบจะมตี ัวคําถาม (Stem) ซ่งึ เขยี นเปนประโยคที่สมบูรณและมีตัวเลือก (Option) อาจจะมี

3 ตวั เลอื ก 4 ตัวเลือก หรือ 5 ตัวเลือก ก็ได สวนมากใช 4 หรือ 5 ตัวเลือก ในสวนท่ีเปนตัวเลือก
จะประกอบดวยคําตอบถูก (Key) กับตัวเลือกที่เปนตัวลวง (Distracter) หรือคําตอบผิด แบบทดสอบ

ชนิดเลือกตอบ ถาแบงตามเงอ่ื นไขของการเลือกตอบอาจแบงไดเ ปน 4 ชนดิ ไดแ ก
2.3.1 แบบเลือกคําตอบถูกตองคําตอบเดียว แบบนี้มีตัวเลือกถูกตองเพียง

คําตอบเดยี ว นอกน้ันเปน ตวั ลวงท้งั หมด เชน

1) อําเภอพิมาย อยูในจงั หวัดอะไร ข. นครราชสมี า
ก. นครศรีธรรมราช ง. เชียงใหม
ค. ชมุ พร

2.3.2 แบบเลือกคําตอบดีท่ีสุด แบบนี้ตัวเลือกจะถูกทุกขอแตจะมีเพียงขอเดียว
ถกู ตองมากทีส่ ดุ คาํ ส่งั ในการตอบตอ งระบใุ หช ดั เจนวา “ใหเ ลือกคําตอบท่ีถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว

เทา นัน้ ” เชน

1) ปจ จบุ นั สตั วป า มจี ํานวนนอ ยกวาเม่ือ 50 ป ทีแ่ ลว เนอ่ื งมาจากสาเหตุใดมากทส่ี ุด

ก. สตั วปานอ ยลง ข. ปาไมถูกทาํ ลายไปมาก

ค. คนนยิ มกนิ สตั วปา มากข้ึน ง. มีจาํ นวนคนเพ่มิ มากขน้ึ

2.3.3 แบบเลอื กคาํ ตอบผิด รปู แบบน้ีตรงกันขา มกบั แบบแรกแทนท่ีจะมีคําตอบถูก
ตัวเลือกเดียวก็มีคําตอบผิดเพียงตัวเลือกเดียว นอกน้ันถูกหมดและใหผูตอบเลือกตอบตัวเลือกท่ีผิด

คําถามอาจจะตัง้ ไดหลายแบบ เชน

1) ขอ ใดตอ ไปนไ้ี มเปนชื่อจงั หวดั ข. สตูล
ก. เลย ง. ตรงั
ค. หลงั สวน

2.4.4 แบบเปรียบเทียบ รูปแบบตวั คาํ ถามจะบอกสิ่งของ สองชนิดเปรียบเทียบกัน
ใหเหน็ ความสมั พันธกันโดยใชเ กณฑอยา งใดอยางหนึ่ง แลวกําหนดสิ่งของส่ิงท่ี 3 มาให ผูตอบจะตอง

หาส่ิงของท่ี 4 มาเปนคําตอบจากที่กําหนดให และใหมีความสัมพันธกับสิ่งท่ีสามตามหลักเกณฑ
เดียวกันกบั สองส่งิ แรก เชน

-23-

1) แมว : ตัว ชา งเล้ยี ง : เชอื ก ชางปา : …?…..
ก. เชือก ข. ตัว
ค. ฝูง ง. โขลง

แบบทดสอบชนิดตอบสั้นและเลือกตอบดังกลาวน้ี ที่นิยมใชในการเก็บรวมรวมขอมูลสําหรับ
การวิจัยไดแก แบบเลือกตอบ ประเภท 4 หรือ 5 ตัวเลือก ท้ังนี้แลวแตเนื้อหาและพื้นฐานความรูของ
ผตู อบ รวมทัง้ อายุ และความสามารถทางสมองของผูต อบ การใชแบบทดสอบชนิดเลือกตอบ 4 หรือ 5
ตัวเลือกจะมปี ระสทิ ธภิ าพมากกวา แบบทดสอบเลือกตอบชนิด 3 ตัวเลือก สวนแบบทดสอบชนิดตอบส้ัน
นั้นนิยมใชกับแบบสัมภาษณ เนื่องจากแบบทดสอบแบบเลือกตอบชนิด 4 หรือ 5 ตัวเลือกเปน
แบบทดสอบที่ใหผ ตู อบอานและตอบเองจึงไมเหมาะสมทีจ่ ะใชเ ปนแบบสมั ภาษณ

สรุปไดวา รูปแบบของแบบทดสอบมีทั้งแบบเขียนตอบท้ังตอบส้ันๆ และตอบแบบความเรียง
สวนแบบเลือกตอบ เปนแบบท่ีมีคําตอบใหเลือกตอบ มีลักษณะท่ีหลากหลาย ดังนั้นในการสราง
แบบทดสอบ ผูสรา งจะตองศึกษาลักษณะของรูปแบบของแบบทดสอบ และเลือกรูปแบบที่เหมาะสมกับ
ผทู ดสอบใหม ากท่สี ุด

การเขยี นขอคําถามของแบบทดสอบ

การเขียนขอ คาํ ถามหรือที่รูจักกันท่ัวไปวา การเขียนขอสอบน้ันเปนการเลือกสถานการณท่ีเปน

ตัวแทนของเนอ้ื หามาสรางเปน ส่ิงเราเพ่ือกระตุนใหผูตอบไดสนองตอบ และแสดงพฤติกรรมออกมาการ

เขยี นขอคําถามมีหลักการดังนี้
1. การเขียนขอคําถามวัดพฤติกรรมความรู (Cognitive Domain) การวัดพฤติกรรมความรู

ทัง้ 6 ระดับ (Bloom, 1979) มีลักษณะการใชข อคําถามที่แตกตา งกนั ดงั รายละเอยี ดตอ ไปน้ี

1.1 ความรู-ความจํา (Knowledge) เปนขอคําถามที่ถามความรูเก่ียวกับคําศัพท
ขอ เท็จจริงระเบียบแบบแผน แนวโนมและลําดับข้ัน การจัดจําแนกประเภท กฎเกณฑและวิธีการตาง

ๆ หลักวิชา การขยายความและทฤษฎี และโครงสราง การเขียนขอสอบประเภทนี้เปนการถามคําถาม

ท่เี กยี่ วกับเนอ้ื หาทเ่ี คยเรยี นหรอื มีประสบการณม ากอน เชน

1) หนาท่ขี องคลอโรฟล ในพชื คืออะไร ข. เรง ปฏิกิรยิ าทางเคมี
ก. รบั แสงอาทติ ย ง. ควบคุมการหายใจ
ค. ทาํ ใหใ บเขยี ว
ข. คารบอน
2) ธาตุใดเกี่ยวของกบั ชวี ติ นอยทีส่ ดุ ง. ไนโตรเจน
ก. ออกซิเจน
ค. ฮีเล่ยี ม

-24-

1.2 ความเขาใจ (Comprehension) เปน การถามเก่ยี วกับความเขา ใจในสิ่งทไ่ี ดเรยี นรู
โดยมงุ วัดความสามารถในการนาํ ความรทู ่ีมีอยูแลวดวยการแปลความ ตีความ และขยายความจากส่ิง
น้ัน โดยมีลกั ษณะสําคญั ดงั นี้

1) แปลความ เปน ต้ังคําถามเพื่อวัดความเขา ใจจากเนอื้ หา เหตุการณหรือสถานการณ
โดยใหแปลจากสิ่งหนง่ึ สสู ง่ิ หน่ึง เชน แปลจากขอความเปนรูปภาพ สัญลักษณ สง่ิ ของ บุคคล หรอื อื่นๆ

2) ตคี วาม เปน การตีความ สรุปความ จบั ใจความสําคัญ จากเนอ้ื หา เหตุการณ หรือ
สถานการณน้ัน

3) ขยายความ เปนการตง้ั คาํ ถามเพอื่ วดั ความเขา ใจดวยการขยายเน้อื หา การคาดเดา
เหตกุ ารณหรือสถานการณน ั้น

ขอสอบวัดความเขาใจ ดังตัวอยางตอ ไปน้ี

1) คลอโรฟล ในพชื ทําหนา ท่ีคลายกับสง่ิ ใดในสัตว (แปลความ)

ก. นํา้ ตาลในโลหิต ข. เรตนิ าในนยั นตา

ค. ออกซิเจนในปอด ง. นา้ํ ยอ ยในกระเพาะ

2) นกั วทิ ยาศาสตรเ ล้ียงหนูสองตัวดว ยอาหารชนดิ เดยี วกนั แตตวั หน่งึ

ใหกนิ อาหารปนนมผง อีกตัวหนงึ่ ใหกินอาหารปนกาแฟ พบวา

หนทู ีก่ ินกาแฟตาย การทดลองนต้ี คี วามไดว า อยางไร (ตคี วาม)

ก. กาแฟเปน พิษ ข. ทกุ คนควรดื่มนม

ค. มนุษยไมควรด่ืมกาแฟ ง. นมเปน อาหารดีกวากาแฟ

3) แถบเสนศนู ยสตู ร โลกหมุนดวยความเร็วประมาณ 1000 ไมลต อ ชวั่ โมง

ถา ความเร็วลดเหลือเพยี ง 200 ไมลตอชว่ั โมง จะเกิดการเปลี่ยนแปลง

ที่เดน ชดั ในขอ ใด (ขยายความ)

ก. โลกจะหนกั มากขึน้ ข. กลางวันจะนานย่งิ ขึ้น

ค. ชวี ติ จะยาวนานยิ่งขึน้ ง. อากาศรอบโลกจะจางย่ิงข้ึน

1.3 การนําไปใช (Application) เปนการนําความรูความเขาใจที่ไดศึกษาคนควาหรือ
สะสมไปใชแกปญหาในสถานการณใหม ๆ หรือแกปญหาใหมในสถานการณจริง หรือสถานการณ

จําลองไดอยางถกู ตองดว ยตนเอง เชน

-25-

1) นักเรยี นควรเลอื กรบั ประทานอาหารท่ีถูกหลักอนามัย ชุดใด

ก. ขา วเหนียว สมตาํ ไกยา ง ข. ขาวไขเ จยี ว ขาหมูพะโล

ค. ขาว ผัดเผ็ดเปดยา ง ไขด าว ง. น้าํ พริกตาแดง ผกั สด ขา วเปลา

2) สุนัข นก ไก นบั ขารวมกันได 40 ขา ถา มีสตั วท ง้ั 3 ชนดิ นี้ เทา ๆ กัน จะมีสุนัขกี่ตวั

ก. 4 ตวั ข. 5 ตวั

ค. 6 ตัว จ. 7 ตัว

1.4 การวิเคราะห (Analysis) เปนความสามารถในการจําแนก แยกแยะ สิ่งของเรื่องราว
หรือปรากฏการณใด ๆ วา ประกอบดว ยสว นยอ ย ๆ อะไรบา ง สว นยอ ยใดมีความสําคัญ และสวนยอย
ๆ น้ันมีความสัมพันธกันอยางไร แยกเปนการวิเคราะหความสําคัญ การวิเคราะหความสัมพันธ
และการวเิ คราะหห ลักการ โดยมีลักษณะสาํ คัญดังนี้

1) การวิเคราะหความสําคัญ เปนการจําแนก แยกแยะวาสิ่งใดท่ีสําคัญที่สุด
โดยพิจารณาสิง่ ทส่ี ําคญั ในเรื่องนน้ั ขอคาํ ถามมกั จะใชคําวา “... อะไรสาํ คญั ทสี่ ดุ ”

2) การวิเคราะหความสัมพันธ เปนการจําแนก แยกแยะ วาส่ิงใดมีความสัมพันธ
หรือเกี่ยวของกับสงิ่ ใด มักจะเลือกรปู แบบขอคาํ ถามแบบเปรยี บเทียบแสดงคูส ัมพนั ธ

3) การวิเคราะหหลักการ เปนการจําแนก แยกแยะวาสิ่งตางๆมีความสัมพันธหรือ
เก่ยี วของกันดวยหลักการใด หรือ เหตผุ ลใด ขอคาํ ถามมกั จะใชคําวา “ เพราะเหตุใด.....” หรือ “เพราะ
หลกั การใด.......”

ขอ สอบเพ่ือวดั การวเิ คราะห ตัวอยา งดังตอไปน้ี

1) อาหารหมูใดสาํ คัญตอคนทองมากทสี่ ุด (วิเคราะห ความสําคญั )

ก. วิตามนี ข. ไขมัน

ค. เกลอื แร ง. คารโบไฮเดรต

2) ไก : โปรตีน โดนทั : คารโบไฮเดรต ......?.... : …?…. ( วเิ คราะหค วามสมั พนั ธ)

ก. สลัด : เกลอื แร ข. น้าํ หวาน : วติ ามนิ

ค. ขา วเหนยี วมะมวง : อรอย ง. ผกั : วิตามนิ

3) การท่ีพอครวั ทาํ ขนมทองหยิบ ทดลองความขนของนาํ้ เช่ือม โดยลองหยดไขลงไปสองสาม

คร้งั แลวดูวาไขล อยหรือไมน้ัน เพราะพอครัวทําขนมยึดหลกั อะไร (วิเคราะหหลักการ)

ก. หยดไขมีนาํ้ หนกั เทากัน ข. หยดไขมีปรมิ าตรเทากัน

ค. หยดไขม ีความหนาแนนเทากนั ง. หยดไขแทนท่ีนา้ํ เชือ่ มไดเ ทากัน

-26-

1.5 การสังเคราะห (Synthesis) เปนการรวบรวมความรูที่ไดจากประสบการณซ่ึงเปน
หนวยยอยๆ นํามารวมกันใหเปนหมูใหญ แบงออกเปนการสังเคราะหขอความหรือการส่ือความหมาย
การสังเคราะหแผนงานและการสังเคราะหความสัมพันธ สวนใหญจะออกเปนการเขียนความเรียง เชน
ใหน กั เรียนเขียนจดหมายลากิจสงครูใหถูกตองตามแบบฟอรมและใชภาษาอยางเหมาะสม แตก็สามารถ
เขยี นเปนแบบเลอื กตอบได เชน

1) จะตองเอาจาํ นวนตัวเลขจํานวนใดที่นอยทสี่ ุด ไปรวมกับ 171 จึงจะทาํ ให 4 หารลงตัว
ก. 1 ข. 2
ค. 3 ง. 4

2) “นายสมนึกเปนคนสจุ รติ เพราะเขานบั ถือศาสนาพทุ ธ” ขอ ใดกลาวสรปุ ไดถูกตอ งทส่ี ุด
ก. ศาสนาพุทธสอนใหคนสจุ ริต
ข. คนสจุ รติ สวนมากนับถือศาสนาพทุ ธ
ค. คนนับถอื ศาสนาพุทธทกุ คนสุจรติ
ง. คนนับถือศาสนาอ่นื ไมแ นวาจะสจุ ริต

1.6 การประเมินคา (Evaluation) เปนการใชความรูในการตีคุณคาส่ิงของหรือ
สถานการณ โดยการนําไปเทียบกับเกณฑ ซึ่งสามารถแบงออกเปนการประเมินโดยอาศัยขอเท็จจริง

ภายใน และอาศัยขอ เทจ็ จริงภายนอก เชน

1) จากเรื่อง คนท่ัวไปคดิ วา “นางวันทอง” เปนคนเชนไร

ก. เปนหญิงใจงา ย ข. เปนหญิงถือความเสมอภาค

ค. เปนหญงิ รักนวลสงวนตวั ง. เปนหญิงสองใจ

2) ในสายตาของนักอนรุ ักษนิยม “พเิ ภก” เปน ยักษแ บบใด

ก. รักชาตยิ ่งิ ชีพ ข. สละชีพเพ่ือแผน ดิน

ค. ขายชาติ ทรยศตอ บานเมือง ง. นกั สืบราชการลับ

2. การเขียนขอคําถามแบบตอบส้ัน การเขียนขอคําถามแบบตอบสั้น หรือแบบเติมคํา
มีหลกั การเขยี นดังนี้

2.1 คําตอบท่ีจะใหตอบจะตองส้ันและเจาะจง ทางท่ีดีควรใหเปน คํา วลี ตัวเลขหรือ
สัญลกั ษณ อยา งใดอยางหน่ึง และใหเ จาะจงลงไปเลย จะไดม คี ําตอบเดียว

2.2 ไมควรลอกขอความจากหนังสือตาง ๆ แลวตัดขอความบางตอนออกเพ่ือใหเติม
ทางท่ดี ีควรสรา งขอ คําถามข้ึนเอง

2.3 ใชป ระโยคคําถามทเ่ี ปน ประโยคสมบรู ณจ ะดีกวาประโยคที่ไมส มบรู ณ

-27-

2.4 ถาคําตอบเปนตัวเลขท่ีมีหนวยตองระบุดวยวา ตองการใหตอบหนวยอะไรและถามี
ทศนยิ มกต็ อ งบอกดวยวาตอ งการทศนยิ มก่ตี าํ แหนง

2.5 ชองวางท่ีเวนไวใหเติมคําตอบควรอยูทายประโยค และควรยาวเทา ๆ กันทุกคําตอบ
แตตองเวนไวใ หค ําตอบยาวท่ีเตมิ ไดอยา งเพียงพอดวย

2.6 ในแตล ะคาํ ถามหรือแตล ะประโยค ควรเวน ไวใหเ ติมคําตอบเพยี งชอ งเดียวหรือไมควรมี
มากกวาสองชอง

3. การเขียนขอ คําถามแบบถูกผิด การเขียนขอคาํ ถามแบบถูกผิดมีหลักการเขียนดงั น้ี
3.1 ขอความทีก่ ําหนดใหต องตัดสินไดว าถกู หรือผิดจริงตามหลกั วิชา
3.2 ขอ ความจะตอ งชดั เจนไมก าํ กวม
3.3 ขอ ความทถ่ี ามจะตองไมเ ปนขอ ความปฏิเสธ และยิง่ เปน ประโยคปฏิเสธซอนไมควร

ใชโ ดยเดด็ ขาด
3.4 ขอความตอ งไมย าว และไมเ ปนประโยคทีซ่ บั ซอ น ถามตรงไปตรงมาดกี วา ถามโดยออม
3.5 แตละขอความตองมีเน้ือหาใจความเดียว เวนแตเปน ขอความท่ีสัมพนั ธก นั เชงิ เหตุ – ผล
3.6 ขอความท่ีเปนความคิดเห็น หรือตองการถามความคิดเห็นไมควรใชเปนคําถาม

ถูก – ผดิ
3.7 ขอความทีใ่ หต อบถกู และใหตอบผดิ ควรมีความยาวพอๆ กัน
3.8 จํานวนขอความที่ตอบถูกและตอบผิดในแบบทดสอบชุดหนึ่งๆ ควรมีจํานวนใกลเคียง

กนั
4. การเขยี นขอคาํ ถามแบบเลือกตอบ การเขียนขอคําถามแบบเลอื กตอบน้ัน มหี ลกั การเขียนดงั น้ี
4.1 หลักการเขียนตัวคําถาม (Stem)
4.1.1 ตัวคําถามทุกขอตองมีความหมายในตัวเองอยางสมบูรณ และถามปญหา

อยา งเฉพาะเจาะจง บอกใหแ นชดั วา เปน คําถามหรือเติมคํา
4.1.2 เขียนตัวคําถามใหตรงจุดและชัดเจน ถาหากมีคําซ้ําในตัวคําตอบควรเขียนไวใน

ตัวคาํ ถาม
4.1.3 ตัวคาํ ถามแตล ะขอ ควรถามปญหาหลักเพียงปญหาเดยี ว
4.1.4 ตัวคําถามแตล ะขออยา ใหเก่ยี วของกัน เพือ่ หลีกเล่ียงการแนะคาํ ตอบใหข อ อน่ื
4.1.5 ควรหลีกเล่ียงการใชประโยคปฏิเสธ หากจําเปนใหขีดเสนใตคําปฏิเสธนั้น

แตถ า เปน ปฏิเสธซอ นหา มใชเดด็ ขาด
4.2 หลักการเขยี นคาํ ตอบถูกหรอื ตวั ลวง (Options)
4.2.1 ควรมีคําตอบถูกเพียงตัวเดียว โดยกําหนดใหพิจารณาคําตอบท่ีถูกท่ีสุดเพียงขอ

เดียว

-28-

4.2.2 ตวั เลือกไมแ นะคาํ ตอบ โดยพิจารณาจากภาษาที่ใชใ นตวั คาํ ตอบไมค วรสอดคลอง
หรอื ตรงกับตัวคําถาม

4.2.3 ควรเขียนกะทดั รดั ไมย าวหรือยดึ เยือ้ หรือเพมิ่ คาํ ทไี่ มจ ําเปน
4.2.4 ตัวคาํ ตอบทุกตวั ในแตล ะขอควรสนั้ – ยาวใกลเคียงกัน
4.2.5 ความยาวของตัวเลอื กควรเปนระบบ หมายถึง การเรียงคําตอบจากส้ันไปหายาว
เรียงจากจํานวนนอยไปหาจาํ นวนมาก ไมค วรสลับไปมา
4.2.6 ตวั คาํ ตอบท่ถี กู ควรเรียงกระจายคละกนั และใหก ระจายไปตามตัวคําตอบ
ทุกตัวใหเ ทาๆ กนั
4.2.7 ไมค วรใชตัวคําตอบทว่ี า ทกุ ขอ ถกู หมด ทุกขอผิดหมด หรือไมมีขอ ใดถกู
4.2.8 ใชภาษาใหเหมาะกับระดับของผตู อบ
4.2.9 ตัวคําตอบเปนตัวเลขควรใสตําแหนงเรียงกัน หรือใสเปนตัวอักษรท่ีเรียงกัน
ตามลําดับ
4.2.10 ตัวคําตอบแตละตัวตอ งเปนอิสระกนั ไมเ กย่ี วเนอ่ื งกัน
4.2.11 การกาํ หนดจํานวนตัวเลือก ยิ่งตัวเลือกมากจะทําใหโอกาสการเดานอยลง การ
ใชความคิดจะมากขึ้น ถาเปนระดับเด็กๆ อาจใชเพียง 3 ตัวเลือก ระดับช้ันประถมอาจกําหนดเปน
4 ตัวเลอื ก ระดับชั้นมธั ยมขึ้นไป 5 ตวั เลอื ก

ข้ันตอนการสรา งแบบทดสอบ

ข้นั ตอนสาํ คญั ในการวางแผนสรางแบบทดสอบโดยท่ัวไปมีข้นั ตอนในการสรา ง ดังน้ี
1. กําหนดตัวแปรการวิจัยและวัตถุประสงคของแบบทดสอบ พิจารณากรอบแนวคิดการวิจัย
วัตถุประสงคการวิจัย วาตองการวัดตัวแปรการวิจัยที่เกี่ยวของกับอะไร พิจารณากําหนดคุณลักษณะท่ี
ตอ งการวดั มาตรฐานการเรยี นรู หรืออาจพิจารณาตวั ชี้วดั ที่ระบุไวในหลักสูตร ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของ
แลวกําหนดเปนนยิ ามศัพทเ ฉพาะหรือนยิ ามเชิงปฏิบตั กิ ารทส่ี ามารถสรางแบบทดสอบได
2. กําหนดเนื้อหาหรือบทเรียนทั้งหมดท่ีจะสรางแบบทดสอบ โดยพิจารณาจากขอบเขตของ
เนอ้ื หาทต่ี องการทดสอบวาประกอบดวยเนอ้ื หาอะไรบาง และแตล ะเน้อื เรื่องมขี อบเขตกวางขวางเพยี งใด
3. กําหนดจุดประสงคเชิงพฤติกรรมจากเน้ือหา เพ่ือใหทราบวาการจัดการเรียนการสอน
เนอ้ื หาน้นั มงุ ใหเกดิ พฤตกิ รรมเกีย่ วกบั อะไร ดานใด มากนอยเพียงใด จะทําใหสามารถสรางแบบทดสอบ
และเขยี นขอ สอบวัดไดต รงตามวตั ถปุ ระสงคของการวจิ ยั
4. สรา งตารางวิเคราะหหลักสูตร การสรางตารางวิเคราะหหลักสูตรเปนที่สิ่งจําเปน อยางยิ่ง
ในการวางแผนสรางแบบทดสอบ ผูสอนหรือ ผูเชี่ยวชาญในสาขาวิชาน้ัน รวมกันสรางตารางวิเคราะห
หลักสูตรขึ้นมา สามารถนําไปใชในการเรียนการสอน และใชเปนแนวยึดในดานเน้ือหาการทดสอบ

-29-

(Test Content) การกําหนดตารางวิเคราะหหลักสูตรจะชวยใหขอสอบนั้นมีคุณภาพ วัดไดครบ
ทกุ พฤติกรรมตามสัดสวนและพอเหมาะตามจุดมงุ หมาย

ผูท่ีจะจัดทําตารางวิเคราะหหลักสูตรจะตองมีความรูเรื่องเนื้อหาวิชาท่ีตองการวิเคราะหวา
มีขอบขายเน้ือหาเกี่ยวเนื่องกับสิ่งใด พฤติกรรมท่ีคาดหวังซึ่งสอดคลองกับจุดประสงคทางการศึกษา
โดยพฤติกรรมดังกลาวเปนพฤติกรรมท่ีแสดงใหเห็นถึงการบรรลุจุดประสงคใด ความรูในหลักสูตร
ที่รายวิชาน้ันถูกบรรจุอยู เพ่ือใหทราบถึงความสัมพันธระหวางหัวขอ ทําใหการประเมินอยูในขอบเขตท่ี
กําหนด

การสรา งตารางวเิ คราะหหลักสตู ร มขี น้ั ตอนในการสรา งดังน้ี
ขั้นที่ 1 ตั้งคณะกรรมการดําเนินงานเพ่ือทําการวิเคราะหประมาณ 3-5 คน ซึ่งควรมีทั้ง
นกั วัดผลและผูสอนในเร่ืองท่ีออกขอ สอบ
ข้ันที่ 2 ใหคณะกรรมการศึกษาหลักสูตรในเรื่องท่ีจะทําการวิเคราะหใหละเอียด เพ่ือพิจารณา
เนื้อหาและความมุงหมายของหลักสูตรของวิชาที่จะทําการวิเคราะห นํามาเรียงลําดับเนื้อหา
ตวั อยา งเชน

เนอื้ หากลุมสาระคณิตศาสตร ชนั้ ประถมศึกษาปท ี่ 2 ในหวั ขอเรื่อง “การบวก และการลบ”
ประกอบดว ย

1) การบวกเลข 2 หลกั
2) การแกป ญ หาโจทยก ารบวกเลข 2 หลัก
3) การลบเลข 2 หลกั
4) การแกปญ หาโจทยก ารลบเลข 2 หลกั

ข้ันท่ี 3 วิเคราะหพฤติกรรมท่ีคาดหวังตามจุดประสงคที่ตองการใหเกิด ซึ่งในแตละวิชาอาจ
แตกตางกันออกไปตามเน้ือหาวิชา พฤติกรรมที่คาดหวังน้ี ใชวิธีการวิเคราะหมาจากจุดมุงหมายท่ัวไป
จุดประสงคเฉพาะและจุดประสงคเชิงพฤติกรรม หรือท่ีระบุไวในคูมือการประเมินผลการเรียนของ
หลกั สูตรตัวอยางเชน

จุดประสงคของเนื้อหากลุมสาระคณติ ศาสตร ช้ันประถมศึกษาปท ่ี 2 ในหวั ขอเรอื่ ง “การบวก
และการลบ” ประกอบดวย

1. ใหม คี วามเขาใจเกยี่ วกบั วธิ ีการบวกและการลบ
2. ใหเกดิ ทักษะเกี่ยวกับการบวกและการลบ
3. ใหสามารถนาํ ความรูไ ปใชใ นชีวติ ประจาํ วัน
4. ใหส ามารถวเิ คราะหโจทยป ญหาเพอื่ การหาคําตอบ

-30-

พฤติกรรมที่คาดหวงั จากบทเรยี นในเนือ้ หากลุมสาระคณิตศาสตร ชนั้ ประถมศึกษาปท ี่ 2
ในหัวขอเรือ่ ง “การบวก และการลบ” ประกอบดวย

1) ความเขาใจ
2) การนาํ ไปใช
3) การวเิ คราะห

ขัน้ ที่ 4 ระบพุ ฤติกรรมยอยของพฤตกิ รรมทค่ี าดหวงั ตวั อยางเชน

พฤติกรรมความเขาใจ ไดแก สามารถแสดงข้ันตอนวธิ กี ารบวกและลบได
สามารถอธบิ ายถึงผลลพั ธท ไ่ี ดจากการบวกและการลบ

พฤติกรรมการนาํ ไปใช ไดแ ก สามารถหาผลลัพธข องการบวกและการลบจากขอ มูลใหม
สามารถแสดงวธิ กี ารคํานวณจากขอมลู ใหม

พฤติกรรมการวเิ คราะห ไดแ ก สามารถแยกแยะสว นประกอบของโจทยป ญหา

ข้ันที่ 5 สรางตารางวิเคราะหหลักสูตรตรงตามจํานวนหัวขอและพฤติกรรมที่คาดหวัง ที่จะ
ไดม าจากการวเิ คราะหห ลกั สูตร (ทําเปน รายบคุ คลและทําเปนกลมุ )

ตารางที่ 2.1 ตารางวเิ คราะหหลกั สตู รเนอ้ื หากลุม สาระคณิตศาสตร ชน้ั ประถมศึกษาปท่ี 2 ใน
หัวขอเร่ือง “การบวก และการลบ”

พฤตกิ รรม
เนือ้ หา

ความเขา ใจ การนําไปใช การวเิ คราะห รวม อนั ดับ

1. การบวกและการลบเลข 2 หลัก
2. การแกโ จทยป ญ หาการบวก
3. การแกโ จทยปญ หาการลบ
4. การนาํ การบวก-ลบไปใชใ นชวี ิตประจาํ วนั

รวม
อันดบั

ข้นั ท่ี 6 นําตารางวิเคราะหหลักสูตรใหคณะกรรมการลงนํ้าหนักความสําคัญในแตละหัวขอและ
แตละพฤติกรรมที่คาดหวัง จะตองกําหนดน้ําหนักความสําคัญท่ีจะใสลงในแตละชองตาราง
โดยกําหนดใหแ ตละชองมคี ะแนนเตม็ 10 มเี กณฑค รา วๆ ดังน้ี

-31-

น้ําหนัก 0-3 หนว ย อยูใ นระดบั ไมคอยสําคัญ
นาํ้ หนกั 4-6 หนวย อยูในระดบั สาํ คญั ปานกลาง
นํา้ หนัก 7-10 หนว ย อยใู นระดบั สําคญั มาก
คณะกรรมการจะตองพิจารณาหรือมีการอภิปรายจนครบทุกชอง จึงเร่ิมใหน้ําหนักลงในตาราง
หากคณะกรรมการมี 5 ทา น จะไดตารางการลงคะแนน 5 ตาราง
ข้ันท่ี 7 นําตารางลงน้ําหนักของกรรมการทุกทานมาคํานวณหาคาเฉลี่ย โดยนําคะแนนของทุก
คนมารวมกนั แลว หารดวยจํานวนคน ทาํ เชนนี้จนครบทกุ ชอ ง กจ็ ะไดตารางวิเคราะหหลักสูตรท่ีเรียกวา
“ตารางเฉลี่ย” เปนการยุบใหเ หลอื ตารางเดยี วดงั ตัวอยา งตอไปนี้

ตารางท่ี 2.2 ตารางเฉลีย่ ผลการวเิ คราะหห ลักสูตรเน้ือหากลุมสาระคณติ ศาสตร ชัน้ ประถมศึกษา
ปท ่ี 2 ในหวั ขอเรื่อง “การบวก และการลบ”

พฤติกรรม
เน้อื หา

ความเขาใจ การนําไปใช การวเิ คราะห รวม อนั ดับ

1. การบวกและการลบเลข 2 หลัก 6 5 6 17 4
2. การแกโ จทยปญ หาการบวก 8 8 5 21 2
3. การแกโ จทยปญ หาการลบ 6 7 5 18 3
4. การนําการบวก-ลบไปใชในชีวติ ประจําวัน 8 10 6 24 1
28 30 22 80
รวม 2 13
อันดบั

เมื่อตองการจะสรางขอสอบในแตละหัวขอ หรือพฤติกรรม จะตองนํามาปรับตารางวิเคราะหหลักสูตร
โดยรวม ตัวอยางเชน ตองการแบบทดสอบที่มีจํานวนขอสอบ 40 ขอ แตมีวิธีการคํานวณหาจํานวน
ขอ สอบแตละประเภทดังตอไปน้ี

1) กําหนดจาํ นวนขอ สอบตามหัวขอ กําหนดขอ สอบทง้ั หมด 40 ขอ ดงั น้นั แตล ะหัวขอ จะมี
จํานวนเทาใด โดยการคาํ นวณดงั นี้

คะแนนรวมในแตล ะหวั ขอ
จํานวนขอ = คะแนนรวมในทุกหัวขอ X จํานวนขอ ท้ังหมด

หัวขอ ที่ 1 การบวกและการลบเลข 2 หลกั ใช (17/80) X 40 = 8.5 ≅ 8 ขอ

หวั ขอท่ี 2 การแกโจทยปญ หาการบวก ใช (21/80) X 40 = 10.5 ≅ 11 ขอ

หวั ขอท่ี 3 การแกโ จทยป ญหาการลบ ใช (18/80) X 40 = 9.0 ≅ 9 ขอ

หวั ขอที่ 4 การนําการบวก-ลบไปใชในชวี ิตประจาํ วนั ใช (24/80) X 40 = 12.0 ≅12 ขอ

-32-

2) กําหนดหัวขอแตละพฤติกรรม เชน หัวขอที่ 1 “การบวกและการลบเลข 2 หลัก” ซึ่ง

กําหนดจํานวนขอสอบไวประมาณ 8 ขอ ซ่ึงจะตองแบงเปนขอที่วัดระดับพฤติกรรมความเขาใจ การ

นาํ ไปใช และการวิเคราะห โดยการคํานวณไดดงั น้ี

จํานวนขอ สอบในแตละพฤติกรรม = คะแนนแตล ะพฤติกรรม X จํานวนขอ สอบในหัวขอน้ัน
คะแนนรวมในหัวขอนน้ั
ความเขาใจ ใช (6/17) X 8 = 2.82 ≅ 3 ขอ

การนําไปใช ใช (5/17) X 8 = 2.35 ≅ 2 ขอ

การวิเคราะห ใช (6/17) X 8 = 2.82 ≅ 3 ขอ

5. กําหนดรูปแบบของขอสอบ การเลือกรูปแบบของขอสอบแบบปรนัยนั้นมีหลักอยูวา

ควรเลือกรูปแบบใหเหมาะสมกับวตั ถุประสงคข องการสอบเน้ือหาและจุดมุงหมายของหลักสูตรที่ขอสอบ

จะวดั กระบวนการตรวจใหคะแนน การดําเนินการสอบ และการประเมินผล ดังนั้นผูสรางขอสอบจึง

ควรศึกษาคุณสมบัติของขอสอบแตละแบบวามีลักษณะอยางไร มีจุดเดนดอยอยางไร เพื่อจะไดเลือกใช

อยา งเหมาะสม

6. เขียนขอสอบตามจํานวนท่ีกําหนดไว โดยใหสอดคลองกับตารางวิเคราะหหลักสูตรแลว

เขยี นคาํ ชแ้ี จง และนํามาจดั เรยี งขอสอบในแบบทดสอบตามหลักและวธิ ีทีเ่ หมาะสม

การเขียนคําชี้แจงในแบบทดสอบ ผูสรางขอสอบบางคนมองขามความสําคัญของคําชี้แจง

เชน เขยี นขอสอบโดยไมม คี ําชี้แจง หรือชี้แจงวธิ ีสอบโดยใชค าํ พูด ซ่ึงบางคร้งั อาจลมื พดู บางคําสั่งทําให

ผูสอบไมเขาใจวิธีการตอบ ดังน้ันคําชี้แจงในแบบทดสอบจึงถือวาเปนสวนสําคัญของแบบทดสอบซ่ึง

ผูสรา งขอสอบจะตองเขียนใหชดั เจน คําชีแ้ จงควรประกอบดวยส่งิ เหลา นี้

1) วัตถุประสงคของการสอบ

2) เวลาท่ใี ชในการสอบ

3) วธิ กี ารตอบ และคําอธบิ ายอนื่ ๆ ท่จี าํ เปน

การจดั เรยี งขอ สอบในแบบทดสอบควรมลี ักษณะ ดังนี้

1) แยกกลุมคําถามตามรูปแบบของคําถามแลวเรียงจากงายไปยาก คือเรียงตามลําดับของ

ขอสอบแบบถกู – ผดิ แบบจบั คู แบบเติมคํา แบบเลือกตอบ และแบบอัตนัย

2) ขอสอบทเ่ี นือ้ หาเดยี วกัน ควรจดั ไวใ นกลุมเดียวกนั

3) ในแตละกลุมท่ีแบง ไว ใหจัดขอสอบเรียงตามวัตถุประสงคของการประเมิน เริ่มจากความรู

– ความจาํ ความเขา ใจ การนําไปใช วเิ คราะห สังเคราะห และการประเมินคา

4) ขอ สอบในแตละจดุ ประสงค ใหเรยี งจากของา ยไปหาขอยาก

5) การเรียงขอสอบในการจัดพิมพ ควรจัดหนากระดาษแบงออกเปน 2 ซีก ซาย- ขวา

เพ่อื ขอ ความทเ่ี ปนคําถามตอบจะไดจ ดั พิมพเปน บรรทดั ส้นั ๆ สะดวกในการอา น และประหยัดกระดาษ

-33-

7. หาคุณภาพของแบบทดสอบ (Tryout) นําขอสอบท่ีสรางข้ึนไปทดลองสอบโดยคัดเลือก
กลุมตัวอยางท่ีจะทดลองขอสอบใหเหมาะสม ซ่ึงจะตองพิจารณาระดับช้ัน วัย สถานะทางสังคม
จํานวนนกั เรยี น เปนตน เพือ่ หาคณุ ภาพดังน้ี

7.1 ความเท่ียงตรง (Validity) โดยการเชิญผูเช่ียวชาญจํานวนอยางนอย 3 ทานที่มี
ความรูทางดานวัดผลการศึกษาหรือสาขาวิชานั้น เพื่อพิจารณาหาความสอดคลองระหวางขอสอบกับ
ระดับพฤติกรรมท่ีกําหนดในตารางวิเคราะหหลักสูตร และพิจารณาขอสอบแตละขอกับจุดประสงคการ
เรียนรูหรือตัวชี้วัด แลวหาคาเฉลี่ยของคะแนนท่ีผูเชี่ยวชาญ โดยมีเกณฑในการเลือกขอสอบเปนรายขอ
ดงั นี้

คะแนนเฉลยี่ 1.00 – 0.50 หมายถึง ขอสอบขอ นั้นใชได
คะแนนเฉลย่ี 0.49 – 0.01 หมายถงึ ตองปรบั ปรงุ ขอ สอบขอนน้ั
คะแนนเฉลี่ยเทากับ 0 และ ตดิ ลบ หมายถงึ ขอสอบขอน้นั ตอ งคดั ท้ิง
7.2 คาความยาก (Difficulty) เปน การหาสดั สว นของผทู ี่ตอบถกู ในขอ น้นั แบบทดสอบ
ที่ดีจะตอ งมคี ณุ ภาพทางดา นความยาก (p) พอเหมาะ คือ ขอสอบขอน้ันมีนักเรียนสามารถทําถูก รอยละ
50 จากจํานวนนักเรียนทั้งหมด หรือคิดเปนสัดสวนเทากับ .50 หรือมีคา p = .50 ซ่ึงการที่จะออก
ขอสอบใหม ีคา ความยากในระดับท่ีเหมาะสมนัน้ ไมใ ชเ ร่ืองงาย ตองนาํ ไปทดลองสอบหลายคร้ัง แตละคร้ัง
ก็จะตองมีการปรับปรุงใหมจนกวาขอคําถามน้ันจะมีคาใกลเคียงกับคาความยากที่เหมาะสม ขอคําถามที่
ถือวาใชได มีระดับความยากเหมาะสม จะยึดเอาคา p ระหวาง .20 ถึง .80 ถาคา p มีคาตํ่ากวา .20
ถือวา ขอคําถามน้นั ยากไป และถา p สงู กวา .80 ถือวาขอ คําถามนนั้ งา ยไป
7.3 คาอํานาจจําแนก (Discrimination) เปนการหาคุณภาพของขอสอบที่มีอํานาจ
จําแนกหรือแยกผูที่มีความสามารถหรือทัศนะแตกตางกันออกเปน 2 กลุมได คือ กลุมเกงกับกลุมออน
หรือกลมุ ทม่ี ที ศั นะคลอ ยตามหรอื กลุม ทม่ี ที ศั นะไมค ลอยตามไดเ ดน ชดั คาอํานาจจําแนก (r) มีคาระหวาง
1.00 ถึง -1.00 โดยคา r เทากับ 1.00 แสดงวา แยกคนเกงและคนออนไดถูกตอง คือ กลุมเกงทําได
กลุมออนทําไมได สวนคา r เทากับ 0.00 แสดงวาขอสอบขอนั้นจําแนกไมได สวนคา r ติดลบ แสดงวา
ขอ สอบขอ น้ันจาํ แนกตรงกนั ขา ม กลา วคือ กลมุ เกงทาํ ไมไ ด แตก ลุมออนทาํ ได สาํ หรับวิธีการวิเคราะหหา
คาอํานาจจาํ แนกจะไดกลาวถงึ โดยละเอียดในบทท่ี 6 เร่ือง การวิเคราะหค ุณภาพเครื่องมือตอไป
7.4 ความเชื่อมั่น (Reliability) เปนการพิจารณาแบบทดสอบวา มีความสามารถให
ผลการวัดคงทีแ่ นน อน ไมว าจะวดั กคี่ รง้ั ก็ตาม แบบทดสอบที่มคี าความเชื่อมน่ั สงู จะสามารถให ผลการวัด
ไดอยางคงเสนคงวา (Consistency) นั่นก็คือ เม่ือนําแบบทดสอบน้ันไปเก็บรวบรวมขอมูลหรือไปสอบ
วัดกับกลุมตัวอยางกี่ครั้งก็ตาม ผลท่ีไดจะเทาเดิมหรือใกลเคียงกับคาเดิม วิธีการหาคาความเช่ือมั่นท่ี
สําคัญและใชกันมากมีหลายวิธี ดังจะไดกลาวถึงโดยละเอียดในบทที่ 6 เรื่อง การวิเคราะหคุณภาพ
เครอ่ื งมือตอ ไป

-34-

8. ปรับปรุงแกไข และเมื่อทดลองสอบแลว นําผลการวิสอบมาวิเคราะหคุณภาพเพื่อคัดเลือก
ขอท่ีดีเก็บไวและหาทางปรับปรุงแกไขขอสอบที่บกพรองตอไป หรือขอใดที่คุณภาพต่ํามากอาจตัดทิ้ง
ดังนนั้ จงึ ควรออกขอ สอบใหม จี าํ นวนขอ สอบมากกวาที่ตองการ เพ่ือจะไดมีขอสอบเพียงพอหลังพิจารณา
ตัดท้งิ แลว

9. จัดพิมพแบบทดสอบฉบับจริง หลังจากคัดเลือกขอสอบที่มีคุณภาพไดตามเกณฑการ
พิจารณาแลว ใหพิจารณาเรียงขอเสียใหม โดยเรียงจากของายไปหาขอยาก แบบทดสอบจริงตอง
จัดรูปแบบใหเหมาะสม โดยคํานึงถึงความสะดวกของผูสอบเปนอับดับหน่ึง สวนความประหยัดและ
ความสวยงามเปนเร่ืองรองลงมา

การจดั เรียงขอคาํ ถามแตล ะขอ น้ันมีขอ เสนอแนะดงั นี้
1) ควรเรยี งตามเน้อื หาการถาม ถามเนือ้ หาเดยี วกนั จัดไวด วยกันและเรียงเน้ือหาท่ีใกลตัว

ของผตู อบไวก อ น
2) แตละเนื้อหาควรเรียงตามระดับความยากงายของขอคําถาม ขอท่ีงายเอาไวกอนแลว

คอ ยยากขน้ึ ตามลาํ ดับ
3) แตละขอคําถามตองมีหมายเลขขอ และควรเรียงตามลําดับจากขอ 1 เปนตนไป

แบบทดสอบชุดเดียวกันควรเรียงหมายเลขขอตอเนื่องกันต้ังแตตนจนจบ แมจะขึ้นตอนใหมหรือเน้ือหา
ใหมในแบบทดสอบชุดเดียวกันก็ใหหมายเลขขอตอเน่ืองกันไปไดเลย จะทําใหไมสับสนในการวิเคราะห
เพราะมีขอ 1 หรือขออน่ื ๆ กม็ เี พยี งขอเดียวในแบบทดสอบชุดนน้ั

4) ถาเปนแบบทดสอบเลือกตอบชนิด 4 หรือ 5 ตัวเลือก โดยตัวเลือกแตละตัวจะตองให
สญั ลักษณแทน อาจจะใหเปนอักษร ก ข ค ง จ หรือเปนตัวเลข 1, 2, 3 , 4 , 5 ก็ได จะใหอยางใดก็
ได แตจะตอ งใหเ หมอื นกนั ทกุ ขอ

5) การวางรปู คําถาม – คําตอบ ถาตองการใหประหยัดตัวคําตอบควรวางเปนสองแถวทั้ง
คาํ ถาม – คาํ ตอบกไ็ ด แตค วรแบง กระดาษเปน 2 สวน เรียงขอจากดานซายตอกันไปจนจบกอนแลว
จึงข้ึนดา นขวา สว นตัวคําตอบก็จะจดั เรยี งตอกนั ไปเลย ไมต องทําเปน 2 แถว

6) การเขียนคําสั่งหรือคําชี้แจง จะตองเขียนใหชัดเจนวาใหตอบอยางไร และควรมี
ตวั อยางการตอบไวใหดดู วย

7) แบบทดสอบแตละชุดควรทําหมายเลขไวดวย เพ่ือสะดวกในการเรียง การคนหาการ
ควบคุมและการสูญหาย

ปญหาการสรางแบบทดสอบ

การสรางแบบทดสอบเปนสิ่งที่สําคัญ มีกระบวนการสรางท่ีละเอียดออน ดังนั้นจึงมักเกิดปญหา
ในการสรา ง ดังน้ี

-35-

1. ในการวัดความรู ความเขาใจ ผูวิจัยสวนหนึ่งใชแบบทดสอบแบบเลือกตอบประเภท 2
ตัวเลือกหรือแบบตอบรับหรือปฏิเสธ ซ่ึงในแตละคําตอบมีโอกาสเดาคําตอบไดถูกตองถึงรอยละ 50
ดงั นน้ั ทางเลอื กทเี่ หมาะสมมากกวา ในการเก็บขอมูลเพ่ือการวิจัยจึงอาจใชเปนคําถามปลายเปดหรือแบบ
เลือกตอบหลายตวั เลือก

2. การใชแบบทดสอบกับกลุมเปาหมายท่ีเปนผูสูงอายุ จะมีปญหาเกี่ยวกับสายตาและ
ความสามารถในการอา น การเขียน จึงควรใชก ารสัมภาษณจะเหมาะสมมากกวา

3. ผูวิจัยไมเขาใจเนื้อหาที่ตองการสรางแบบทดสอบหรือทบทวนเอกสารท่ีเก่ียวของมาไม
เพียงพอ ทําใหไมทราบขอบเขตของมาตรฐานการเรียนรู ตัวช้ีวัด หรือจุดประสงคการเรียนรู รวมท้ัง
เนื้อหาสาระทั้งหมด ผูที่จะสรางแบบทดสอบในเรื่องใดก็ตาม ควรมีความรูในเรื่องนั้นๆ เปนอยางดี
เพราะจะทาํ ใหส ามารถเลอื กประเด็นที่ใชต งั้ คําถามไดอ ยางเหมาะสม

4. ในการสรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ ผูวิจัยมักไมสนใจท่ีจะทําตารางวิเคราะหหลักสูตร
กอนท่ีจะสรางขอสอบ ทําใหผูเชี่ยวชาญตัดสินใจยากในการตรวจสอบหาความเท่ียงตรงเชิงเน้ือหา
(Content Validity)

5. ผูวิจัยสวนหนึ่งนิยมนําแบบทดสอบที่ผูอื่นสรางไวมาใชโดยไมพิจารณาความเหมาะสมของ
บริบท ลกั ษณะของกลมุ เปาหมาย และความทันสมัยทางวชิ าการของแบบทดสอบนัน้

6. การใชขอความทางลบในแบบทดสอบ อาจทําใหเกิดการสรางขอความรูท่ีผิดไดเชนการใช
ขอสอบแบบถูก-ผดิ กับเด็ก ท้งั นี้เพราะ ในการทดสอบความรู ความเขา ใจดว ยแบบทดสอบน้ัน ผูวิจัยสวน
ใหญไมม ีการเฉลยคาํ ตอบท่ถี กู ตองแกกลุมเปา หมาย เด็กจะจําคําถามไปใช ดังตวั อยางเชน

1) การแปรงฟนวนั ละคร้ังเพียงพอแลว เพื่อการประหยดั น้าํ  ใช  ไมใช

2) อาบน้ําเมื่อเน้ือตวั สกปรก  ใช  ไมใ ช

3) ลางมือดวยสบูท ุกคร้งั กอ นรบั ประทานอาหารในบา น  ใช  ไมใ ช

4) ลา งมอื ดว ยนํา้ สะอาดหลงั เขา หองน้ําทุกครง้ั  ใช  ไมใช

ขอ ดีและขอ จํากดั ของแบบทดสอบ

ขอดี
ขอดีของแบบทดสอบแบบเขียนตอบ ไดแก สามารถวัดความสามารถที่ซับซอนไดดี วัด

พฤติกรรมดานความคิดดานสังเคราะหและการประเมินคาไดดี วัดความคิดริเร่ิมและความคิดเห็นไดดี

สรางไดงาย รวดเร็ว ประหยัด เดายาก และสงเสริมพัฒนาทักษะการเขียนและนิสัยรักการเขียนอยางมี

ประสิทธิภาพ สวนขอดีของแบบทดสอบแบบเลือกตอบ ไดแก สามารถวัดระดับพฤติกรรมทางสมองได

ลึก สามารถจัดสอบกับผูสอบจํานวนมาก ขอสอบท่ีไดรับการวิเคราะหและมีคุณภาพดี สามารถเลือก

-36-

เก็บไวใชอีก สามารถสอบวัดรายละเอียดเนื้อหายอย ๆ ได สามารถวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไดอยาง
ละเอยี ด และตรวจงายและทราบผลเรว็ และการใหคะแนนมคี วามหมายเหมอื นกนั

ขอ จาํ กัด
ขอจํากัดของแบบทดสอบแบบเขียนตอบ ไดแก วัดเนื้อหาไดไมครอบคลุมเพราะขอสอบ

ถามไดนอยขอ ตรวจใหคะแนนยาก เสียเวลามาก ผูสอบมีจํานวนไมมากนัก ทักษะดานภาษามีอิทธิพล
ตอการตรวจ ผูสอบท่ีขาดความสามารถในการเขียนและทักษะทางภาษา จะมีปญหากับการเขียนตอบ
คะแนนไมแนนอน มีความเท่ียงนอย และวินิจฉัยขอบกพรองของผูเรียนไมได สวนขอจํากัดของ
แบบทดสอบแบบเลือกตอบ ไดแ ก ตอ งมเี วลาออกขอสอบมาก แตมีเวลาตรวจขอสอบนอย สรางยาก จึง
จะไดข อ สอบที่ดี ตอ งวเิ คราะหคุณภาพของขอ สอบจึงจะไดขอสอบท่ีมีคุณภาพดี และมีโอกาสเดาได

บทสรปุ

แบบทดสอบเปนเคร่ืองมือที่ใชวัดคุณลักษณะและพฤติกรรมดานพุทธิพิสัย และดานทักษะพิสัย
แบง ออกตามวธิ ตี อบเปนเกณฑ ไดแก เขียนตอบ ปรนัย และใหปฏิบัติ แบงตามวิธีดําเนินการสอน ไดแก
รายบุคคล เปนกลุม จํากัดอัตราเร็ว ใหสอบเต็มความสามารถ ขอเขียน และปากเปลา แบงตามการนํา
ผลการสอบไปใชและวิธีการสราง ไดแก ครูสรางเอง และตามมาตรฐาน แบงตามสิ่งที่ตองการวัด ไดแก
วดั ผลสัมฤทธ์ิ วดั ความถนัด วดั บคุ ลกิ ภาพและการปรบั ตัว วัดความสนใจ และ วัดเจตคติ สวนรูปแบบ
ของแบบทดสอบ แบงออกเปน 2 ลักษณะตามการตอบ ไดแก แบบความเรียง และ แบบตอบสั้นและ
เลือกตอบ การเขียนขอคําถามของแบบทดสอบแบงออกตามแนวคิดของบลูม (Bloom) ไดแก ความรู
ความจํา ความเขาใจ การนําไปใช การสังเคราะห และการประเมิน โดยยึดเกณฑภายใน และเกณฑ
ภายนอก การเขยี นขอคําถามแบบตอบส้ัน แบบถูกผดิ และแบบเลือกตอบ

การสรางแบบทดสอบเริ่มตนดวยการกําหนดวัตถุประสงค ศึกษาเนื้อหาและบทเรียน
จดุ มงุ หมายการสอน สรา งตารางวิเคราะหห ลกั สูตร กาํ หนดรูปแบบของขอ สอบ เขียนขอ สอบตามจํานวน
แลวจึงนํามาหาคุณภาพของขอสอบ ไดแก ความเท่ียงตรงเชิงพินิจ คาความยากงาย คาอํานาจจําแนก
และความเช่อื มั่น ปรบั ปรงุ แกไข และจัดพิมพฉบับจรงิ กอ นนาํ ไปใชจรงิ

จะเห็นไดวาการสรางแบบทดสอบเปนกระบวนการที่ตองใชความรูความเขาใจในเร่ืองท่ี
เก่ียวของ ผูสรางจะตองศึกษาวิธีการสรางแบบทดสอบใหเขาใจอยางละเอียดเพราะหากสราง
แบบทดสอบไมตรงกบั จุดมุงหมายของการวิจัยกจ็ ะทําใหการวิจยั นนั้ ขาดคุณภาพ มคี วามคลาดเคล่ือนอัน
เน่อื งมาจากเครือ่ งมอื ทใ่ี ชในการเกบ็ รวบรวมขอมลู เพ่ือการวจิ ัย

บทที่ 3
แบบสอบถาม

การวิจัยท่ีมีจุดมุงหมายเพ่ือศึกษาคุณลักษณะหรือพฤติกรรมดานจิตพิสัย และดานทักษะพิสัย
นนั้ การเก็บรวบรวมขอมูลขอมูลที่นยิ มใชก ันมากอกี วิธีการหนึ่งไดแกการใชแบบสอบถาม เนื่องจากเปน
วิธีการเก็บรวบรวมขอมูลท่ีสะดวกและไมกดดันกลุมเปาหมายในการตอบคําถาม สามารถเก็บรวบรวม
ขอมูลไดครั้งละมากๆ ไมวาจะเปนการแจกแบบสอบถามดวยตัวเอง แจกดวยการสงทางไปรษณีย หรือ
ทางระบบออนไลน ท้ังน้ีแบบสอบถามจะตองมีความชัดเจน เพื่อใหกลุมเปาหมายสามารถเขาใจไดงาย
และตอบตรงประเด็นตามที่ผูวิจัยตองการ ดังนั้นในการสรางแบบสอบถามผูวิจัยจะตองเขาใจ
ความหมายลักษณะของแบบสอบถาม โครงสรางของแบบสอบถาม ชนิดของคําถาม และ วิธีการสราง
แบบสอบถามประเภทตางๆ โดยละเอียดและชดั เจน

ความหมายของแบบสอบถาม

การใชแบบสอบถามเปนเครื่องมือท่ีใชเก็บรวบรวมขอมูลเพ่ือการวิจัยที่มีจุดมุงหมายศึกษา
คุณลักษณะหรือพฤติกรรมดานจิตพิสัยและดานทักษะพิสัยน้ันเปนลักษณะของรายงานตนเองของผูให
ขอมลู มผี ูใหค วามหมายของแบบสอบถามไดพอสังเขปดังนี้

วิเชียร เกตุสิงห (2524, น.79) ไดใหความหมายของแบบสอบถามวาหมายถึงขอคําถาม
ทั้งหลายท่ีรวมกันเขาเปนชุดๆ โดยทั่วไปแบบสอบถามมีความหมายเปนอิสระโดยมุงจะถามเพื่อหา
คําตอบโดยทั่ว ๆ ไปไมจํากัด เชน อยากทราบความถนัด ความสนใจ บุคลิกภาพ หรือตองการ
ประมาณคา เจตคติ และคา นิยม เปน ตน

บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์ (2534, น.92) ไดใหความหมายของแบบสอบถามวา เปนชุดของ
คาํ ถามซงึ่ จัดเรยี งอยางเปนระบบระเบียบ สําหรับสง ใหผูตอบอานและตอบเอง

ชวาล แพรัตกุล (2552, น.66) ไดกลา วถึงแบบสอบถามวาเปนคําถามตางๆ ที่ตองการใหผูตอบ
ไดตอบดวยการกรอก หรือเขียนตอบ อาจเปนแบบใหกรอกคําเดียว หรือตอบยาวๆ ก็ได รูปแบบคลาย
กบั แบบทดสอบประเภทเติมคําหรอื เติมความ

สมถวลิ วจิ ติ รวรรณา และคณะ (2556, น. 30) ไดใ หค วามหมายของแบบสอบถามไวว า เปนชุด
ของขอคําถามท่ีสรางข้ึน เพ่ือรวบรวมขอมูลในดานตางๆ เชน ขอเท็จจริง ความคิดเห็น ความรูสึก เปนตน
โดยไมมีการตัดสนิ วา คําตอบน้ันถูกหรือผดิ

สรุปไดวา แบบสอบถามก็คือเคร่ืองมือที่สรางข้ึนเพ่ือเก็บรวบรวมขอมูลเพ่ือใหไดมาซึ่งปริมาณ
หรือคุณภาพของพฤติกรรม แบบสอบถามสวนใหญอยูในรูปของคําถามเปนชุด ๆ แตละชุด
วัดพฤติกรรมหรือคุณลักษณะท่ีตองการวัดเดียวกัน ขอคําถามจะกระตุนเรงเราใหบุคคลแสดง


Click to View FlipBook Version