The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อการวิจัย รองศาสตราจารย์ ดร.วิเชียร อินทรสสมพันธ์ คณบดีคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อการวิจัย

เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อการวิจัย รองศาสตราจารย์ ดร.วิเชียร อินทรสสมพันธ์ คณบดีคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

-88-

3.2 การสงั เกตในงานวิจยั เชงิ คุณภาพ เปนการสังเกตส่ิงท่ีเก่ียวของท้ังหมด มักเรียกการ
สังเกตนี้วา การสังเกตตามธรรมชาติ (Natural Observation) โดยจะตองทําการบันทึกและตรวจสอบ
ความถูกตอ งทันที นอกจากน้ียงั อาจใชก ารถายวดิ ีโอชวยในการเก็บขอ มูลดว ย

4. แบงตามระยะเวลาการสงั เกต แบงออกเปน 2 ประเภทดังนี้
4.1 การสงั เกตเปน ระยะ เชน การสงั เกตพฤติกรรมชวง 10 นาทแี รก ของทุกชั่วโมง
4.2 การสังเกตหลังเกิดเหตุการณ เชน การสังเกตนักเรียนในชั้นเรียนเม่ือสงนักเรียนบาง

คนไปพอผูอาํ นวยการ เปน ตน

หลกั การสงั เกตทีด่ ี
ในการสงั เกตท่ีจะใหไดขอมูลทเี่ ทย่ี งตรงและเชือ่ ถือไดนนั้ จะตองมหี ลกั ในการสังเกตดงั น้ี

1. กําหนดการสังเกต วางแผนการสังเกต วิธีการสังเกตจะตองเปนระบบ (Systematic)
มรี ะเบียบแบบแผน มกี ารเตรยี มสภาพการณลว งหนา มีการนัดหมายติดตอ เตรียมเครื่องมืออยางพรอม
เพรยี ง

2. ตอ งมีจดุ มุงหมายทส่ี งั เกตอยางชดั เจน เฉพาะเจาะจง วาจะสงั เกตอะไร และสงั เกตอยางไร
3. สงั เกตอยางตง้ั ใจและปราศจากความลาํ เอียงสว นตัว
4. สงั เกตอยางพินิจพิเคราะหจ นเขาใจพฤติกรรมอยางลกึ ซ้งึ
5. มีการจดบันทึกประกอบอยางตรงไปตรงมา และรวดเร็วเทาที่สุดเทาท่ีจะทําได
เพือ่ หลีกเล่ยี งความจํา ความคดิ เห็น และความเชือ่ ของผูส ังเกตเขามามอี ทิ ธิพลทําใหขอมลู บิดเบือน
6. มีการตรวจสอบการสังเกตซ้าํ เพื่อความแนใ จ
7. ใชเครือ่ งมอื ประกอบการสังเกตที่เหมาะสม เชน แบบตรวจสอบรายการหรือตารางบันทึกที่
ออกแบบโดยเฉพาะ เปนตน

ลกั ษณะของผูสังเกต
วิเชียร เกตสุ งิ ห (2538, น. 155) ไดอธิบายลกั ษณะของผูสังเกตทด่ี คี วรจะตอ งมีลักษณะพ้ืนฐาน
ดงั ตอไปน้ี
1. ความต้ังใจของผูสังเกต (Attention) ในการสังเกตพฤติกรรมของสิ่งใดหรือผูใด ผูสังเกต
จะตองมีจุดมุงหมายท่ีจะสังเกตวาจะศึกษาสิ่งใด ก็จะตองต้ังใจอยางแนวแนในการสังเกต จิตใจ ไม
ไขวเขว และควรสังเกตทีละอยาง เชน ถาตองการสังเกตพฤติกรรมกาวราวของนักเรียนก็ตองสังเกต
เฉพาะพฤตกิ รรมกา วรา วเทาน้ัน หรือการสังเกตการแสดงทางดานการเรียนรูของนักเรียน ก็ไมควรจะไป
สังเกตในปญหาสวนตัวของนักเรียน หรือพฤติกรรมที่ไมเกี่ยวของกับการเรียนของนักเรียนเปนอันขาด
นอกจากนผ้ี ูสังเกตยงั ตอ งขจัดปญ หาสวนตวั หรอื ความลาํ เอยี งสว นตัวออกไปในระยะทส่ี งั เกตน้นั

-89-

2. ประสาทสัมผัส (Sensation) ในการสงั เกตจะตองแนใจวาประสาทสัมผัสของผูสังเกตจะตอง
ทํางานเปนปกติ เชน ไมหหู นวก ตาบอด รวมทง้ั รา งกายตอ งเปน ปกตซิ ึ่งจะสงผลตอประสาทสัมผัสอยูใน
สภาพดี และวอ งไวตอ การสมั ผัสส่ิงทีก่ ําลงั สังเกตได

3. การรับรู (Perception) ในการสังเกต ผูสังเกตจะตองมีการรับรูท่ีดี เมื่อรับรูมาแลว
กส็ ามารถทจี่ ะแปลความหมายออกมาไดอยา งรวดเร็วและถูกตอ ง

นอกจากน้ันสาขาการประเมินผลและวิจัยทางการศึกษา (2550, น. 36) ไดเสนอวา การสังเกต
จะไดผลดี ผสู งั เกตควรมลี กั ษณะ ดงั น้ี

1. ผูสังเกตควรมีความรูในเรื่องท่ีสังเกตและไดรับการฝกฝนมาสําหรับการสังเกตในเรื่องนี้
โดยเฉพาะจนสามารถเชื่อไดวาจะสามารถทําการสังเกตตามกระบวนการและรายงานผลการสังเกตได
ถกู ตอง ซึ่งจะชว ยใหขอมูลที่ไดจากการสังเกตมคี วามเชอ่ื มั่นและความเทีย่ งตรงสงู

2. ผูสังเกตควรมีประสาทสัมผัส( ตา-หู)ที่ไว มีสุขภาพรางกายเปนปกติ ไมงวงหรือปวดศีรษะ
ขณะที่สังเกต

3. ผูสังเกตตองมีความสามารถในการประเมินพฤติกรรม หรือปรากฏการณท่ีสังเกตได
ถกู ตอ งและแมนยํา

4. ผูส ังเกตจะตองมคี วามเปนปรนัยคือมีความชัดเจน ไมมีอคติสวนตัว จะตองไมใหอคติหรือ
ความลําเอียงเขา มามอี ิทธิพลตอการสังเกตและการบนั ทึก

5. ผูสังเกตจะตองบันทึกผลการสังเกตตามขอเท็จจริงท่ีไดโดยไมใสความเห็นหรือแปล
ความหมายขอ มูลที่ไดในขณะทีส่ งั เกต แตจ ะนํามาแปลความหมายหลงั จากทสี่ ังเกตเรยี บรอ ย

เคร่อื งมือทใี่ ชใ นการสงั เกต
ในการสังเกตโดยท่ัวไปจะตองมีการบันทึกส่ิงท่ีสังเกตไวเสมอ ซ่ึงอาจบันทึกไดหลายลักษณะ
เคร่ืองมือประกอบการสังเกตอาจแบงไดเปน 2 ประเภท ไดแก เคร่ืองบันทึก (Instrument
Hardware) และแบบบนั ทึก (Checklist and Schedule)

1. เคร่ืองบันทึก เปนเคร่ืองมือที่ชวยในการสังเกตใหประสบความสําเร็จ ในยุคปจจุบัน
มีมากมายหลากหลาย เชน กลองถายวีดีทัศน กลองถายรูป เทปบันทึกเสียง ในท่ีน้ีรวมถึง นาฬิกาจับ
เวลา เครือ่ งวัดแสง เคร่ืองวัดเสียง ซงึ่ เคร่อื งบนั ทกึ เหลานี้

2. แ บ บ บั น ทึ ก มี ห ล า ย ช นิ ด ท่ี นิ ย ม ใ ช ไ ด แ ก แ บ บ ต ร ว จ ส อ บ ร า ย ก า ร
แบบมาตรประมาณคา และสมุดบันทึก ซึ่งสามารถใชผสมผสานกัน เพื่อใหไดขอมูลประกอบการสังเกต
ใหไดมากท่ีสุด ซ่ึงแลวแตความเหมาะสม ความถนัดและความสะดวกของผูวิจัย ซ่ึงแบงออกเปน 2
แบบ ดังนี้

-90-

ก. แบบบนั ทกึ ท่ีมโี ครงสรา ง (Structured Observation Form) เปน แบบสงั เกตที่
จัดทําอยางเปนระบบ ตามวิธีการสรางของแบบสอบถาม มีการตรวจสอบคุณภาพกอนนําไปใช แบบ
สังเกตอยางมโี ครงสรางเปนการเตือนความจําของผูสังเกตไมใหลืมประเด็นการสังเกต สวนใหญมักนิยม
ใช 2 แบบ คอื แบบตรวจสอบรายการ (Check-list) และแบบมาตรประมาณคา (Rating Scale)

ข. แบบบันทึกท่ีไมมีโครงสราง (Unstructured Observation Form) เปนแบบบันทึก
การสังเกตท่ีมีแตหัวขอการสังเกตโดยไมตองมีรายละเอียด ตองอาศัยตัวผูสังเกตเองในการกําหนด
รายละเอียดและบันทกึ ขอ มลู วิธกี ารนี้ ผูวจิ ยั ตอ งมคี วามรอบคอบและควรเก็บรวบรวมขอมูลดวยตนเอง

ข้นั ตอนของการสรา งแบบบันทกึ การสังเกต
การสรา งแบบบนั ทกึ การสังเกต สามารถทําไดโดยมีขนั้ ตอนดังตอ ไปน้ี
1. ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับพฤติกรรมที่ตองการสังเกตประกอบดวยรายละเอียดของ
พฤตกิ รรม และความถ่ีในการเกดิ พฤติกรรม
2. กําหนดลักษณะท่ีไดจากการสังเกตเปนพฤติกรรมท่ีบงช้ีใหชัดเจน วาเปนเหตุการณท่ี
เกดิ ขน้ึ เพียงครั้งเดียว หรอื เปน การกระทําประจาํ ๆ หรือเปนพฤติกรรมตอเนอื่ ง
3. สรางแบบบนั ทึกการสงั เกตแบบมีโครงสรางจําแนกเปนแบบตรวจสอบรายการ (Check-
list) หรอื แบบมาตรประมาณคา (Rating Scale) หรือ แบบบนั ทึกแบบไมมโี ครงสรา ง
4. ตรวจสอบพฤติกรรมหรือรายการท่ีบงชี้ถึงพฤติกรรมวามีความซ้ําซอนกับรายการอื่น
หรอื ไม ตองปรบั แกไ ขและเรยี งลาํ ดบั ใหเ หมาะสม
5. นาํ แบบบันทกึ การสังเกตไปทดลองใช
6. ตรวจสอบคุณภาพของแบบบันทกึ การสังเกต ทําการแกไขปรับปรงุ กอนนําไปใชจรงิ

ตัวอยา งแบบบนั ทกึ การสังเกต
1. แบบตรวจสอบรายการ (Check-list) เปนการสรางรายการพฤติกรรมที่เกี่ยวของแลว
ใชสงั เกตวา มีพฤติกรรมท่ีสนใจเกิดข้ึนหรือไม ปฏบิ ัติหรือไมปฏิบัติ ทําหรือไมทํา ดังตัวอยางแบบบันทึก
พฤติกรรมการรักษาความสะอาดของนักเรียนช้นั ประถมศึกษา ตอไปน้ี

-91-

แบบบนั ทกึ พฤติกรรมการรักษาความสะอาดของนกั เรียนชัน้ ประถมศึกษา

ชอื่ ผูบันทกึ ..............................................วันเดอื นปทบี่ นั ทึก .....................................

ผถู กู สังเกตพฤติกรรม ...............................................................................................

การรกั ษาความสะอาด พฤติกรรม
ทํา ไมท าํ

1. ทิง้ ขยะในถังขยะ

2. เกบ็ ถุงพลาสติกหรือเศษอาหารตามทีต่ างๆ

3. รวมขยะเพอ่ื นาํ ไปท้ิงในถังขยะ

4. คดั แยกการทิง้ ขยะ เปน ขยะเปย ก ขยะแหง ออกจากกนั กอน

ทิง้ ขยะ

5. ขดี เขียนตามฝาผนงั สถานทต่ี างๆ

6. ขีดเขยี นตามโตะเรยี นเพื่อแสดงความเปนเจา ของ

ภาพที่ 5.2 ตวั อยา งแบบบันทึกการสังเกตดว ยแบบตรวจสอบรายการแบบท่ี 1

นอกจากนั้นยังสามารถทําแบบตรวจสอบรายการเปนแบบเลือกตอบไดมากกวา 1 ขอตาม
พฤติกรรมที่สังเกต ดังตัวอยางของแบบบันทึกพฤติกรรมการปรับตัวสวนบุคคลและสังคมของนักเรียน
ตอไปน้ี

แบบบันทึกพฤติกรรมการปรับตัวสวนบุคคลและสงั คม
ชอ่ื นกั เรยี น .................................................................... ชน้ั ................... โรงเรียน ....................

วันที่ .................................................................. ผสู งั เกต .......................................................

.

คําช้แี จง เมอ่ื สงั เกตพบพฤติกรรมใดใหเ ขยี นเครื่องหมาย  ลงหนาขอ ความทร่ี ะบุพฤติกรรมนนั้ ๆ
......................... 1. มคี วามรสู กึ ไวตอความตอ งการและปญ หาของคนอ่ืนๆ

......................... 2. ชอบเลนกบั เด็กอายนุ อยกวา
......................... 3. ยอมรบั นบั ถือทัศนะและความคิดเหน็ ของเพอ่ื นๆ

......................... 4. ชวยเหลอื นกั เรยี นคนอ่นื ๆ เมื่อมีปญ หา

......................... 5. ยอมรบั นบั ถือคุณสมบตั ิของเดก็ คนอ่ืนๆ
......................... 6. ยอมรับการแนะนําอยางเตม็ ใจ

......................... 7. รวมแรงรวมใจในการทํางานรวมกับเดก็ คนอ่ืนๆ

ภาพที่ 5.3 ตวั อยา งแบบบันทึกการสังเกตดว ยแบบตรวจสอบรายการแบบท่ี 2

-92-

2. แบบมาตรประมาณคา (Rating Scale) นยิ มใชสังเกตวา มพี ฤติกรรมทม่ี คี วามถใี่ น
การแสดงออกเทาไร แลวแสดงระดับการประมาณคา รายละเอียดไดกลาวไวในบทท่ี 4
เร่ืองมาตรประมาณคาและแบบวัดเจตคติ ในที่น้ีขอนําเสนอตัวอยางเพื่อใหเขาใจมากยิ่งขึ้น
ไดแกตัวอยางของแบบบันทึกจากวัตถุประสงคการวิจัยเพื่อศึกษาพฤติกรรมการรับรูขาวสารทาง
การเมืองของนสิ ติ ดังมรี ายละเอียดดังน้ี

แบบบันทึกพฤติกรรมการรับรูข าวสารทางการเมืองของนิสิต

ชอื่ ผบู ันทกึ ..............................................วนั เดอื นปท ่บี นั ทึก .....................................

ผถู กู สังเกตพฤติกรรม ...............................................................................................

พฤติกรรม

การรับรูขาวสารทางการเมืองของนสิ ิต ทกุ วนั 2-3 ครง้ั / 2-3 ครงั้ / ไมเคยเลย
สปั ดาห เดือน

1. อา นขาวการเมืองทางหนังสือพิมพ

2. ดูรายการขา วการเมืองทางทวี ี

3. ฟงรายการขาวการเมอื งทางวิทยุ

4. อานแผน ใบปลวิ ทนี่ ักการเมืองนํามาแจก

5. สอบถามเพื่อนนิสิตเกยี่ วกบั การเมอื ง

ฯลฯ

ภาพท่ี 5.4 ตัวอยา งแบบบนั ทึกการสังเกตดวยแบบมาตรประมาณคา

ขอดีและขอจํากดั ของการสังเกต
ขอ ดี
1. การสังเกตชวยใหไดมาซ่ึงขอมูลที่ผูถูกสังเกตหรืออธิบายไมถูก หรือเปนเรื่องท่ียาก

แกการอธบิ ายเปน คําพูดได
2. การสังเกตชวยใหไดมาซึ่งขอมูลที่ผูถูกสังเกตไมไดบอกเลาใหฟงดวยเหตุท่ีเห็นวาเปน

เรอ่ื งธรรมดาทไ่ี มสาํ คญั

3. การสังเกตชวยใหไดมาซึ่งขอมูลท่ีผูถูกสังเกตไมเต็มใจหรือไมพอใจที่จะบอกเลาออกมา
เปนคําพดู อยา งจรงิ ใจ เพราะเกรงวาจะเปน ภยั ตอตนเอง เปน ส่งิ ทส่ี งั คมไมยอมรบั หรือเปนการเสยี หนา

4. การสังเกตชว ยใหไดมาซ่งึ ขอมูลจากเหตกุ ารณท ี่เกิดขึ้นจริง ๆ ซงึ่ มกั มคี วามคลาดเคล่ือน

นอยกวาจากคําบอกเลา

-93-

ขอจาํ กดั
1. การสังเกตบางคร้ังกระทําไมได ถาหากเรื่องที่จะสังเกตน้ันไมเกิดขึ้นในชวงเวลาท่ีทําการ
สังเกต
2. การสังเกตบางคร้ังกระทําไมไดโดยสะดวก เชน เรื่องสวนตัว เรื่องภายในครอบครัวที่
เจาของเหตกุ ารณไมยอมใหผูวิจัยเขาไปสงั เกตได
3. การสังเกตจะกระทําไดไมครบถวนทุกแงทุกมุมตามที่ตองการและบางคร้ังอาจจะ ไมได
สงั เกตพฤตกิ รรมที่ควรสังเกต
4. การสรุปผลอาจจะคลาดเคล่ือน เน่ืองจากคนสังเกตในชวงเวลาหน่ึง แตสรุปผล
ครอบคลมุ ไปถึงชว งเวลาอืน่ ดวย และบางครงั้ อาจมีอคติหรือความลาํ เอยี งสวนตวั มาเกี่ยวของดว ย

บทสรุป

การสัมภาษณ เปนการรวบรวมขอมูลโดยใชผูสัมภาษณเพ่ือสอบถามแหลงท่ีใหขอมูลหรือผูถูก
สัมภาษณ การสัมภาษณแบงออกตามรูปแบบของการสัมภาษณ ไดแก แบบมีโครงสรางและไมมี
โครงสราง แบงออกตามบทบาทของผูสัมภาษณกับผูใหสัมภาษณ ไดแก การสัมภาษณโดยไมจํากัด
คําตอบ สัมภาษณเชิงลึก และการสัมภาษณแบบปฏิบัติการซํ้า แบงตามจํานวนของ ผูใหสัมภาษณใน
เวลาเดียวกัน ไดแก การสัมภาษณเปนรายบุคคล และเปนกลุม การสัมภาษณท่ีดีจะตองกําหนด
จุดมุงหมายใหชัดเจน เตรียมตัวและวัสดุอุปกรณใหพรอม เตรียมตัวผูใหสัมภาษณ สรางความสัมพันธ
คุนเคย พูดคุยและสรางบรรยากาศท่ีดี จัดเรียงคําถามกอนหลัง ใชภาษาที่เหมาะสม จดบันทึกอยาง
ระมัดระวัง และใหบรรยากาศเปนอิสระ โดยมีขั้นตอนการสัมภาษณอยู 4 ข้ันตอนไดแกขั้นการ
เตรียมการ ขั้นสัมภาษณ ขั้นการบันทึกผล และข้ันปดการสัมภาษณ การสัมภาษณจะใชแบบสัมภาษณ
เพื่อบันทึกการสัมภาษณ โดยมีขั้นตอนการสรางคลายกับแบบสอบถาม โดยทําการตรวจสอบคุณภาพ
ดว ยการหาความเที่ยงตรง และการหาความเชอ่ื ม่นั การสัมภาษณม ีทั้งขอดีและขอจํากัดท่ีแตกตางจาก
เครอ่ื งมอื อ่นื ๆ

การสังเกตเปนการเก็บรวบรวมขอมูลท่ีเก่ียวกับพฤติกรรมดานจิตพิสัย และดานทักษะพิสัย
ซ่ึงตอ งอาศยั ทกั ษะหรือความชาํ นาญการในการสังเกต รวมทั้งอาศัยประสาทสัมผัส ความต้ังใจ และการ
รับรูท่ีดีของผูสังเกต แบงประเภทของการสังเกตตามโครงสรางของการสังเกต ไดแก แบบมีโครงสราง
และแบบไมม ีโครงสราง แบงตามบทบาทและวิธีการสังเกต ไดแก การเขาไปมีสวนรวม ไมเขาไปมีสวน
รวม และแบงตามชนิดของการวิจัย ไดแก เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ แบงตามระยะเวลาของการ
สังเกต ไดแก เปนระยะกับหลังเกิดเหตุการณ โดยใชเคร่ืองมือประกอบการสังเกต ไดแก เคร่ืองบันทึก
และ แบบบันทึก ซึ่งแบงออกเปนแบบตรวจสอบรายการ และแบบมาตรประมาณคา การสังเกตมีท้ัง
ขอ ดแี ละขอ จาํ กัดท่ีแตกตา งจากเครื่องมืออน่ื ๆ



บทท่ี 6
การวิเคราะหคุณภาพเครื่องมอื

การท่ีจะทราบวาเคร่ืองมือท่ีสรางขึ้นมานั้นมีคุณภาพหรือไม จะตองมีการวิเคราะหหา
คุณภาพเครื่องมือ เพราะการใชเครื่องมือที่มีคุณภาพยอมทําใหการเก็บรวบรวมขอมูลถูกตอง
เท่ียงตรง เชื่อมั่นได การวิเคราะหขอมูลแบงเปน การวิเคราะหหาความเท่ียงตรง ความเชื่อมั่น
คา อาํ นาจจําแนก และ ความยากงาย เคร่ืองมือแตละชนิดมีการตรวจสอบหาคุณภาพที่คลายกันและ
แตกตางกันตามลักษณะของเครื่องมือ ผูวิจัยจะตองทําความเขาใจ วิเคราะหหาคุณภาพและนํามา
ปรบั ปรุงเครือ่ งมอื เก็บรวบรวมขอมูลเพื่อนําไปใชใ นงานวจิ ัยไดอยา งถูกตองและเหมาะสมที่สดุ

การวิเคราะหคุณภาพเคร่ืองมอื

คุณภาพของเครื่องมือนั้น ประกอบดวย ความเที่ยงตรง คาความเชื่อมั่น อํานาจจําแนก
ความยาก และความเปนปรนัย ซึ่งการวิเคราะหคุณภาพเคร่ืองมือ สามารถจัดกระทําไดตามลักษณะ
หรือประเภทของเครื่องมือ การวิเคราะหคุณภาพของเครื่องมือเก็บรวบรวมขอมูลทุกประเภท ไดแก
แบบสอบถาม แบบทดสอบ มาตรประมาณคา แบบวัดเจตคติ แบบสัมภาษณ แบบตรวจสอบรายการ
และอ่ืนๆ จําเปนท่ีจะตองวิเคราะหคุณภาพในลักษณะที่สําคัญคลายกัน คือ การหาความเที่ยงตรง
(Validity) การหาความเชื่อมั่น(Reliability) และอํานาจจําแนก (Discrimination) สวนการตรวจสอบ
คณุ ภาพเพ่ือหาคาความยาก (Difficulty) เปนลักษณะเฉพาะของแบบทดสอบ มักจะทําการวิเคราะห
ควบคูไปกับการหาอํานาจจําแนก (Best, 1981, p. 289) ดังน้ันการวิเคราะหหาคุณภาพเครื่องมือเก็บ
รวบรวมขอมูลเพ่ือการวิจัยจึงจําเปนท่ีจะตองดําเนินการตรวจสอบเพื่อที่จะไดทราบถึงคุณภาพของ
เคร่ืองมือกอนที่จะนําไปใชเก็บรวบรวมขอมูลในงานวิจัยจริง ในบทน้ีจะไดนําเสนอวิธีการวิเคราะห
คณุ ภาพเครอ่ื งมือโดยละเอียดดงั ตอ ไปนี้

การวเิ คราะหความเทีย่ งตรง

ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห ห า คุ ณ ภ า พ เ ค รื่ อ ง มื อ เ ก็ บ ร ว บ ร ว ม ข อ มู ล ทุ ก ช นิ ด จํ า เ ป น ท่ี จ ะ ต อ ง ห า
ความเท่ียงตรง สมมติวาถาเราสรางเครื่องชั่งขึ้นมา 1 เคร่ือง เราจําเปนที่จะตองทราบวามีความ
เท่ียงตรงมากนอยเพียงใด เราก็นําสิ่งของมาช่ังดวยเคร่ืองช่ังท่ีเราสราง สมมติวาได 1 กิโลกรัม ก็นํา
ส่ิงของน้ันไปชั่งกับเครื่องช่ังท่ีเปนมาตรฐาน ถาไดเทากัน แสดงวาเครื่องช่ังนั้นมีความเที่ยงตรง
เชนเดียวกันเม่ือผูวิจัยสรางเครื่องมือเก็บรวบรวมขอมูลขึ้นมา ก็จําเปนตองหาคุณภาพความเที่ยงตรง
เพอื่ ตรวจสอบวา เครอ่ื งมือน้ันมคี วามเทย่ี งตรงตามมาตรฐานที่กําหนดหรือไม

-96-

ความเที่ยงตรง (Validity) หมายถึง เคร่ืองมือเก็บรวบรวมขอมูลนั้นวาสามารถวัดไดตรง
ตามที่สิ่งที่ตองการวัด เคร่ืองมือเก็บรวบรวมท่ีดีจะตองมีความเท่ียงตรงในการวัดสูง กลาวคือ
เครื่องมือนั้นวัดไดตรงตามวัตถุประสงคของการวิจัย ตรงตามพฤติกรรมที่ตองการวัด ตรงตาม
มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด โดยวัดไดครอบคลุม ครบถวน และวัดไดถูกตองตรงความเปนจริง
เชน ตองการวัดความสามารถในการบวกเลขสองหลัก เคร่ืองมือน้ันตองวัดความสามารถในการบวก
เลขสองหลักจริง หรืออีกตัวอยางหนึ่ง ถาตองการวัดความรูความจําเกี่ยวกับคําศัพทภาษาอังกฤษ
เคร่ืองมือนั้นตองวัดความสามารถดานความรูความจําเกี่ยวกับคําศัพทภาษาอังกฤษจริง ความ
เทย่ี งตรงแบง ไดเ ปน 3 ประเภท ดังนี้

1. ความเทยี่ งตรงเชิงเน้ือหา(Content Validity) เปนการหาคุณภาพของเครื่องมือนั้นวา
วัดไดตรงกับเนื้อหาสาระ คุณลักษณะ ระดับของพฤติกรรมที่ตองการวัด โดยจะมีขอคําถามตรงตาม
มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด คุณลักษณะ ระดับของพฤติกรรม หรือนิยามศัพทเฉพาะตามท่ีตองการ
วดั เนอ้ื หาใดมคี วามสาํ คัญมากก็วดั มากๆ เนื้อหาใดมีความสําคัญนอยก็วัดนอยๆ ผูสรางเครื่องมือเก็บ
รวบรวมขอ มูลจะตอ งใหผเู ช่ียวชาญจํานวนอยางนอย 3 คนตรวจสอบและพิจารณาคําถามเปนรายขอ
ตามลักษณะของเครอ่ื งมือ ดงั น้ี

1.1 แบบทดสอบ การวิเคราะหความเที่ยงตรงจะตองพิจารณาวา แบบทดสอบนั้น
มีขอสอบแตละขอตรงตามเนื้อหา ตลอดจนจํานวนขอมีความสอดคลองกับตารางวิเคราะหหลักสูตร
(Table of Specification) การพิจารณาใหคะแนนสามารถทําไดในรูปของตารางหาคาดัชนีความ
สอดคลอง (Item Objective Congruency: IOC) ระหวางขอคําถามกับตัวชี้วัด ขอคําถามกับ
จดุ ประสงคก ารเรียนรู ขอคําถามกบั นยิ ามศพั ทเ ฉพาะ ซง่ึ แบง ออกตามระบบการวดั ผล (ลวน สายยศ,
2538, น.196)

แบบฟอรมการพิจารณาความเที่ยงตรงเชิงเน้ือหาของแบบทดสอบระหวางขอคําถามกับ
จดุ ประสงคก ารเรยี นรู ดงั ตวั อยา งตอ ไปนี้

-97-

แบบฟอรมการพิจารณาความเทีย่ งตรงเชิงเนอื้ หาของแบบทดสอบ

ระหวางขอ คําถามกับจดุ ประสงคก ารเรียนรู

ผลการ ความ
พจิ ารณา คิดเห็น
จุดประสงคเชิงการเรียนรู ขอ สอบ

+1 0 -1 เพม่ิ เติม

1. ยกตัวอยางพฤติกรรมทเ่ี กีย่ วกับ 1. ขอใดเปนการวดั ผล

การวัดไดถ ูกตอง

2. ยกตัวอยางพฤติกรรมที่เก่ยี วกับ 2. ขอใดเปนการประเมนิ

การประเมนิ ไดถกู ตอง

3. สรุปผลการวเิ คราะหไ ดถกู ตอง 3. ถาขอสอบขอหนง่ึ มีคา p

=0.50 และคา r = 0.85

จะสรปุ ผลการวเิ คราะห

ขอสอบไดวา อยางไร

ภาพท่ี 6.1 ตัวอยางแบบฟอรมการพจิ ารณาความเที่ยงตรงเชงิ เนื้อหาของแบบทดสอบระหวา งขอ

คาํ ถามกบั จุดประสงคการเรยี นรู

นอกจากน้ันยังสามารถตรวจสอบความเท่ียงตรงเชิงเน้ือหาของแบบทดสอบโดยพิจารณา
ความสอดคลองระหวางขอสอบกับระดับพฤติกรรมทางการศึกษาดานพุทธิพิสัย (Cognitive
Domain) ตามแนวคิดของบลูม (Bloom) ตามระดับความรู ความจํา ความเขาใจ การนําไปใช
การวิเคราะห การสังเคราะห และการประเมินคา โดยผูเช่ียวชาญจะพิจารณาถึงวามีความสอดคลอง
ระหวางขอสอบกับระดับพฤติกรรมหรือไม แบบฟอรมการพิจารณาความเท่ียงตรงเชิงเนื้อหาของ
แบบทดสอบระหวา งขอ คําถามกับระดบั พฤตกิ รรม ดังตวั อยางตอไปนี้

-98-

แบบฟอรมการพจิ ารณาความเทีย่ งตรงเชงิ เนอ้ื หาของแบบทดสอบ

ระหวา งขอคําถามกับระดบั พฤติกรรม

ขอ สอบ ระดับ ผลการ ความ
พฤตกิ รรม พิจารณา คิดเห็น
เพ่มิ เตมิ
+1 0 -1

1. ใบไม เปรยี บเหมือนบุคคลใด ความเขา ใจ –

ก. นายแพทย แปลความ
ข. ครู

ค. วิศวกร

ง. พอ ครัว

6. ถา อากาศเย็นลงอยางกะทนั หนั เด็กๆ จะปว ย การวเิ คราะห –

เปน อะไรกนั มาก ความสัมพนั ธ
ก. ทองเสยี

ข. ปวดศรี ษะ

ค. ไขหวดั

ง. ตาแดง

จ. ตวั รอ น

ภาพท่ี 6.2 ตวั อยางแบบฟอรมการพจิ ารณาความเทย่ี งตรงเชิงเน้อื หาของแบบทดสอบระหวางขอ

คาํ ถามกับระดบั พฤตกิ รรม

การพิจารณาเปนรายขอตามแบบฟอรมโดยผูเชี่ยวชาญ มีการกําหนดน้ําหนักคะแนนของ
ความสอดคลอง มคี วามหมายไดด ังน้ี

คะแนน +1 หมายความวา ขอคาํ ถามมคี วามสอดคลองกับส่งิ ทต่ี อ งการวัด
คะแนน 0 หมายความวา ไมแนใจวา ขอคําถามมคี วามสอดคลองกับสิง่ ทตี่ องการวดั
คะแนน -1 หมายความวา ถา ขอคาํ ถามไมม ีความสอดคลองกับส่งิ ทตี่ องการวดั
เมื่อผูเช่ียวชาญจํานวนอยางนอย 3 คนใหคะแนนแลว ก็นําคะแนนที่ไดแตละขอมา
คํานวณหาดชั นคี วามสอดคลอ งโดยใชสตู รดังน้ี

IOC = ∑ R

N

โดย ∑R คอื ผลรวมของคะแนนความคิดเห็นของผูเ ชีย่ วชาญ
N คอื จํานวนผูเชีย่ วชาญทัง้ หมด

-99-

และเกณฑใ นการพิจารณาคา ดชั นีความสอดคลอ งดงั น้ี
IOC ≥ 0.50 แสดงวา ขอคําถามน้นั มคี วามเท่ยี งตรงเชิงเน้ือหาระดบั ดี นําไปใชไ ด
IOC < 0.50 แสดงวา ขอ คาํ ถามนนั้ มีความเท่ียงตรงเชิงเนื้อหาระดับพอใช ตอ งปรับปรุง
IOC ≤ 0.00 แสดงวา ขอ คําถามนัน้ ไมม ีความเทยี่ งตรงเชงิ เน้อื หา ใหค ดั ทง้ิ ไป

1.2 เคร่ืองมือเก็บรวบรวมอื่นๆ ไดแก แบบสอบถาม มาตรประมาณคา และแบบ
ตรวจสอบรายการ จะตองพิจารณาวา เครื่องมือเก็บรวบรวมขอมูลนั้นมีขอคําถามแตละขอตรงตาม

นิยามศัพทเฉพาะท่ีไดนิยามเชิงปฏิบัติการไว โดยใชแบบฟอรมเพื่อใหผูเช่ียวชาญจํานวนอยางนอย 3

คน พิจารณาเปนรายขอ โดยมีวิธีการระบุนํ้าหนักคะแนนและวิธีการคิดคะแนนหาคาดัชนีความ
สอดคลองเชนเดียวกับการหาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาของแบบทดสอบแตมีแบบฟอรมที่แตกตาง

ตวั อยางเชน

แบบฟอรมการพจิ ารณาความเที่ยงตรงเชงิ เน้อื หาของแบบสอบถาม

นิยามศัพทเฉพาะ ขอ ความในแบบสอบถาม ความ ความ
สอดคลอ ง คิดเห็น
เพมิ่ เติม
1 0 -1

1. ก า ร ว า ง แ ผ น ห ม า ย ถึ ง 1. หนวยงานไดกําหนดวิสัยทัศนของ
กระบวนการของการตัดสินใจใน องคก รไวอยางชดั เจน

การกาํ หนดสิ่งท่ีตองการกระทําไว 2. หนวยงานไดกําหนดวัตถุประสงคใน

ลวงหนา เพื่อทําใหวัตถุประสงค การทํางานขององคกรเกิดจากการ

ขององคการบรรลุความสําเร็จ วางแผนรวมกัน

อยางมีระสิทธิภาพในความเขาใจ 3. มีการกําหนดภาระหนาท่ีและสิ่งท่ี
ของคนทั่วไป
ตองปฏบิ ัตไิ วอยา งชดั เจน

ภาพที่ 6.3 ตวั อยางแบบฟอรมการพิจารณาความเทย่ี งตรงเชิงเนือ้ หาของแบบสอบถาม

2. ความเที่ยงตรงเชิงโครงสราง (Construct Validity) เปนคุณภาพของเคร่ืองมือที่
สามารถวัดไดต รงตามทฤษฎี กรอบแนวคิดหรอื ตามคุณลักษณะของโครงสรางน้ัน เชน แบบทดสอบที่
ใชวัดพฤติกรรมดานพุทธิพิสัย มีโครงสรางการวัด 6 ระดับ ไดแก ความรูความจํา ความเขาใจ การ

นําไปใช การวิเคราะห การสังเคราะห การประเมินคา หรือแบบวัดเชิงจริยธรรมตามแนวคิดทฤษฎี

การพัฒนาทางปญญาของโคลเบิรก (Kohlberg’s Stages of Moral Development) มีโครงสราง
การวัด 6 ระดับ ไดแก ระดับท่ี 1 ความกลัวถูกลงโทษหรือการใหรางวัล ระดับท่ี 2 การชักชวน

-100-

แลกเปลี่ยน ระดับท่ี 3 การปฏิบัติตามกลุม ทําใหกลุมชอบใจ ระดับท่ี 4 การทําตามหนาท่ี กฎหมาย

และหลักศาสนา ระดับท่ี 5 การทําตามสัญญาประชาคม ประโยชนของสังคมสวนใหญ ระดับท่ี 6

การทําตามอุดมการณสากล เปนตน หรือวัดไดตรงตามทฤษฏี เชน ตองการวัดทักษะการบริหาร

ก็สามารถวัดไดจากทักษะการบริหารจัดการ ทักษะมนุษยและทักษะทางเทคนิค เปนตน ดังน้ัน

เม่ือสรางเครื่องมือหรือแบบวัดขึ้นโดยใหมีความสัมพันธหรือสอดคลองกับกรอบแนวคิดหรือทฤษฏี

ที่กําหนดเม่ือนําเครื่องมือนั้นไปทดสอบกับกลุมตัวอยางแลวพบวาเปนจริงตามทฤษฏีแสดงวา

เครอ่ื งมอื นนั้ จะมีความตรงตามโครงสรา ง

การตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงโครงสรางทําไดหลายวิธี ไดแ ก

2.1 การหาความสัมพันธระหวางเครื่องมือท่ีมีโครงสรางของคุณลักษณะเหมือนกัน

เปนการศึกษาความสัมพันธระหวางผลการวัดที่ไดจากเครื่องมือที่สรางขึ้นกับผลของเคร่ืองมือ

มาตรฐานทมี่ โี ครงสรางเหมอื นกัน โดยมีขอ คาํ ถามท่เี ปนลกั ษณะคูขนานกันขอตอขอ หรืออาจเปนการ

วัดดวยแบบวัดชุดเดยี วกบั กลมุ ตัวอยา งกลมุ เดิมจํานวน 2 คร้ัง หรืออาจใชวิธีการแบงคร่ึงฉบับแบบวัด

ทมี่ ีการสรา งขอ คําถามเปนลกั ษณะคูขนานกัน เปนการหาคํานวณหาความเท่ียงตรงโดยเอาคะแนนท่ี

ไดจากการวัดทั้ง 2 ชุดไปคํานวณหาคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธตามวิธีการของเพียรสัน (Pearson

Product Moment Correlation Coefficient) (ลวน สายยศ, 2538, น. 197) จากสตู รดงั นี้

rxy = N ∑ XY − ∑ X ∑ Y

{ }{ }N ∑ X2 − (∑ X)2 N ∑ Y2 − (∑ Y)2

เม่อื rxy คือ คาสมั ประสิทธ์สิ หสัมพนั ธ ในทีน่ ค้ี อื ความเทย่ี งตรง

N คอื จํานวนผูเขาสอบ

X คือ คะแนนของแบบทดสอบทสี่ รา งขึ้นทตี่ องการหาความตรง

Y คือ คะแนนของแบบทดสอบมาตรฐานทีม่ โี ครงสรา งเหมือนกัน

2.3 การวิเคราะหองคประกอบ (Factor Analysis) เปนเทคนิคทางสถิติสําหรับ

จับกลุมหรือรวมตัวแปรท่ีมีความสัมพันธกันไวในกลุม ทําใหเขาใจลักษณะของขอมูล แบบแผน

โครงสรา ง ความสมั พันธ เชน ทักษะของผบู ริหารวัดไดจากทักษะการบริหารจัดการ ทักษะมนุษยและ

ทักษะทางเทคนิค ดังนั้นเครื่องมือที่สรางเพื่อวัดทักษะของผูบริหารจะตองประกอบดวยขอคําถามท่ี

ประกอบดวย 3 ทักษะดังกลาว การตรวจสอบความเที่ยงตรงตามโครงสรางโดยอาศัยการวิเคราะห

องคประกอบ สามารถทําไดโดยใชการวิเคราะหองคประกอบเชิงสํารวจ (Exploratory Factor

Analysis) ในกรณีที่ยังไมแนนอน หรือการวิเคราะหองคประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory Factor

Analysis) ในกรณีท่ีชัดเจนวาเปนทฤษฏีที่แนชัด (โชติกา ภาษีผล, 2554, น. 64-65) ในปจจุบัน

สามารถทาํ การวิเคราะหองคป ระกอบโดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอรสําเร็จรูป ตัวอยางผลการวิเคราะห

องคประกอบเชิงสาํ รวจเครื่องมือวดั ทักษะการบริหารของผูบริหาร เพื่อหาความตรงเชิงโครงสรางของ

เครอื่ งมือ ดังตารางตอไปน้ี

-101-

ตารางที่ 6.1 ผลการวเิ คราะหอ งคประกอบเคร่ืองมือวดั ทักษะของผูบริหาร

ขอ Component ทักษะทางเทคนคิ
ทกั ษะการบริหารจดั การ ทกั ษะมนุษย

1 .768

2 .779

3 .583

4 .584

5 .472

6 .480

7 .564

8 .318

9 .314

10 .591

11 .794

12 .616

13 467

14 .562

15 .448

Extraction Method : Principal Component Analysis : 3 Components extracted

จากตารางท่ี 6.1 แสดงใหเห็นวา เครื่องมือที่สรางข้ึนท้ัง 15 ขอ สามารถวัดทักษะผูบริหาร
ออกเปน 3 กลุม โดยในทักษะการบริหารจัดการ ขอท่ีวัดทักษะนี้ไดดีท่ีสุด ดูจากคาน้ําหนัก
องคประกอบในตารางคือ ขอ 2 รองลงมาไดแก ขอ 1 ทักษะมนุษย มีขอที่วัดทักษะน้ีไดดีที่สุด ไดแก
ขอ 10 รองลงมาคือ ขอ 7 สําหรับทักษะเทคนิค มีขอท่ีวัดทักษะนี้ไดดีท่ีสุดไดแก ขอ11 รองลงมา
ไดแกขอ 15 สรุปไดวา เครื่องมือที่สรางข้ึนเพ่ือวัดทักษะผูบริหารนี้มีความเท่ียงตรงเชิงโครงสราง
เพราะคาท่วี ัดไดม ีการเกาะกลมุ กนั ตามโครงสรางที่สรางไว

2.4 การเทียบกับกลุมที่รูชัด (Known-group) เปนวิธีการเปรียบเทียบกับกลุมท่ีรูชัด
โดยตอ งทราบถึงกลมุ ท่มี ีคุณลกั ษณะเดยี วกับส่ิงทจี่ ะวัดกอน เชน ตอ งการตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิง
โครงสรางของแบบวัดเจตคติตอการเปนครู ก็ตองทราบวา กลุมท่ีศึกษามีใครอยูกลุมที่มีเจตคติ
ทางบวกและลบตอการเปนครู แลวแบงเปน 2 กลุม คือ กลุมท่ีมีเจตคติทางบวก และกลุมที่มีเจตคติ
ทางลบ แลวใหท้ัง 2 กลุมทําแบบวัด ตอจากนั้นก็นําคะแนนเฉล่ียของแตละกลุมมาเปรียบเทียบกัน

-102-

โดยใชสถิติ t-test for independent sample ถาพบความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ
แสดงวา แบบวัดทสี่ รา งขึ้นมีความเท่ยี งตรงเชิงโครงสรา ง

3. ความเที่ยงตรงเชิงสัมพันธกับเกณฑ (Criterion-related Validity) เปนความสามารถ
ของเครอ่ื งมือเก็บรวบรวมขอมูลทีว่ ดั ไดส อดคลองกบั เกณฑภายนอกซ่ึงวัดไดจากความสัมพันธระหวาง
เคร่ืองมอื ทส่ี รางกับเกณฑภายนอกบางอยางเพื่อใชการพยากรณ ความเทียงตรงเชิงสัมพันธกับเกณฑ
แบงออกเปน 2 ประเภท ไดแก

3.1 ความเที่ยงตรงตามสภาพ (Concurrent Validity) หมายถึง เคร่ืองมือนั้นวัดได
ตรงตามสภาพความเปนจริงของผูท่ีถูกวัด เชน นางสาวมาลีมีทักษะทางภาษาไทยสูงกวาเกณฑ
เม่ือวัดดวยเครื่องมือการวัดผลการเรียนรูก็ไดสูงกวาเกณฑ สวนนางสาววิไลมีทักษะทางภาษาไทย
ต่ํากวาเกณฑ เม่ือวัดดวยเคร่ืองมือก็บอกไดวาตํ่ากวาเกณฑไปดวย จึงเรียกวา เคร่ืองมือวัดไดตรง
ตามสภาพ

การหาความเท่ียงตรงตามสภาพ (Concurrent Validity) เปนการหาสัมประสิทธ์ิ
ความเท่ียงตรง (Validity Coefficient) โดยการคํานวณหาคาสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธดวยวิธีการของ
เพยี รส นั ระหวางคะแนนจากแบบทดสอบหรอื แบบวดั ทีต่ องการตรวจสอบความเทย่ี งตรงเชิงสภาพกับ
คะแนนจากแบบวดั ทใี่ ชเ ปน เกณฑ โดยวัดคุณลกั ษณะเดียวกนั และมีคณุ ภาพดี

3.2 ความเที่ยงตรงเชิงพยากรณ (Predictive Validity) หมายถึง เคร่ืองมือวัดแลว
พยากรณหรือบอกลวงหนาไดวาผูที่ถูกวัดมีความสามารถเดนดานใด สามารถไปเรียนวิชาใด หรือ
ประกอบอาชีพอะไรจึงจะประสบผลสําเร็จ เชน เครื่องมือฉบับหน่ึงวัดไดวา เด็กชายมานะ
มคี วามสามารถทางคณติ ศาสตรส ูงกวาวชิ าอ่ืน กส็ ามารถบอกตอไปไดวา เด็กชายมานะจะไปเรียนวิชา
ที่ใชความสามารถทางคณิตศาสตรป ระสบความสําเร็จกวาวิชาที่ใชความสามารถดานอ่ืน และเด็กชาย
มานะก็ประสบความสําเรจ็ จรงิ ตามพยากรณ

การหาความเที่ยงตรงเชิงพยากรณ เปนการหาสัมประสิทธ์ิความเท่ียงตรง (Validity
Coefficient) โดยการคํานวณหาคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธดวยวิธีการของเพียรสัน ระหวาง
แบบทดสอบหรือแบบวัดท่ีตองการตรวจสอบความตรงเชิงพยากรณกับคะแนนจากแบบวัดมาตรฐาน
ทใ่ี ชเ ปน เกณฑ การคาํ นวณหาความเทย่ี งตรงเชงิ สมั พนั ธกับเกณฑน้ี สามารถใชโปรแกรมคอมพิวเตอร
สําเร็จรปู วเิ คราะห ผลการวิเคราะหข อมูลแสดงไดด ังตัวอยางตอ ไปนี้

-103-

ตารางท่ี 6.2 คา สมั ประสิทธิส์ หสมั พนั ธร ะหวางแบบวดั ท่ีสรางขึ้นกบั แบบวัดมาตรฐานท่ีใชเปน เกณฑ

แบบวัดทสี่ รา งขึ้น แบบวัดมาตรฐานท่ีใชเปน เกณฑ

แบบวัดทีส่ รา งขนึ้ Pearson Correlation 1 0.768

Sig. (2-tailed) - 0.009

n 10 10

แบบวัดมาตรฐาน Pearson Correlation 0.768 1

ท่ใี ชเปน เกณฑ Sig. (2-tailed) 0.009 -

n 10 10

*** Correlation is significant at the .01 level (2 tailed)

การแปลผลความเที่ยงตรงตามสภาพท่ีมีคาเขาใกล 1.00 แสดงวา มีคาความเท่ียงตรงเชิง
สภาพสูง สัมประสิทธ์ิความเท่ียงตรงเชิงสภาพจากตัวอยางเทากับ 0.768 แสดงวา มีความเท่ียงตรง
คอ นขา งสูง

นอกจากการใชคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธดวยวิธีการของเพียรสัน เพื่อหาความเท่ียงตรงเชิง
สภาพแลว ยังสามารถใชสถิติหาคาความสัมพันธอื่นๆ ได ในกรณีที่เครื่องมือเปนมาตรวัดนามบัญญัติ
หรือเรียงอันดับ เชน สัมประสิทธ์ิฟ (Phi Correlation) คาสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธแบบสเปยรแมน
(Spearman) กไ็ ด

การวิเคราะหความเช่อื มั่น

ในการสรางเครื่องมือเก็บรวบรวมขอมูลท่ีดีจําเปนตองหาคุณภาพดานความเช่ือม่ัน เพราะ
ความเชื่อมั่นเปนส่ิงท่ีสรางความม่ันใจใหแกผูวิจัย เพราะถาหากเครื่องมือที่ใชเก็บรวบรวมขอมูลเพ่ือ
การวิจัยมีความเชื่อม่ันสูง นั่นหมายถึงผูวิจัยสามารถนําเครื่องมือเก็บรวบรวมขอมูลนั้นไปใชกี่คร้ัง
ก็ยงั เชอ่ื มัน่ วา จะไดผลเชน เดมิ

ความเชื่อมั่น (Reliability) หมายถึง ความคงท่ีในการวัดของเคร่ืองมือท้ังชุด ใหผลการวัด
คงท่ีแนนอนไมวาจะวัดก่ีครั้งก็ตามก็ไดผลการวัดเทาเดิมหรือใกลเคียงกัน เคร่ืองมือวัดที่มีคาความ
เชอ่ื ม่นั สงู จะสามารถใหผลการวัดไดอยางคงเสนคงวา (Consistency) น่ันก็คือ เม่ือนําเครื่องมือนั้นไป
เก็บรวบรวมขอ มูลหรือไปสอบวดั กลุมตัวอยางกลุมเดิมกี่ครั้งก็ตาม ผลที่ไดจะเทาเดิมหรือใกลเคียงกับ
คาเดิม (ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ, 2543, น. 209)

-104-

วธิ ีการตรวจสอบความเชือ่ มน่ั สามารถอาจแยกไดเ ปน 3 ลกั ษณะ ดงั นี้

1. ความเช่ือม่ันเชิงคงตัว (Reliability of Stability)เปนการหาความเช่ือมั่นดวย
การวัดซ้ํา (Test-Retest Method) วิธีน้ีหาไดโดยเอาแบบทดสอบหรือเคร่ืองมือท่ีสรางข้ึนไปสอบ

กลุมตัวอยางกลุมเดียวกันสองครั้งในเวลาที่แตกตางกัน แลวนําคะแนนของแตละคนท่ีไดในการสอบ

ท้ังสองคร้ังไปหาสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธอยางงายแบบเพียรสัน (Pearson Product Moment

Correlation) คาสมั ประสิทธสิ์ หสัมพันธท ไี่ ดเปนคา ความเชือ่ ถอื เชงิ คงตัว โดยมสี ตู รดงั นี้

rxy = n ∑ XY − ∑ X ∑ Y

โดย rxy {n ∑ X2 − (∑ X)2}{n ∑ Y2 − (∑ Y)2}
n
คอื คา สมั ประสิทธิ์สหสัมพนั ธในที่น้คี อื ความเชอื่ มั่น
คอื จาํ นวนกลมุ ตวั อยาง

∑XY คือ ผลบวกของผลคูณคะแนนครั้งแรกและครั้งทส่ี องเปน คูๆ
∑ X คอื ผลบวกของผลคูณคะแนนการสอบคร้ังแรก
∑Y คอื ผลบวกของผลคูณคะแนนการสอบครง้ั ทส่ี อง
X2 คอื ผลบวกของผลคณู คะแนนคร้ังแรกและคร้ังท่ีสองเปนคูๆ
Y2 คือ ผลบวกของผลคณู คะแนนคร้ังแรกและคร้งั ท่ีสองเปนคๆู

ตวั อยางของการวิเคราะหความเช่ือม่ันคงตัว เชน แบบทดสอบชุดหนึ่งนําไปสอบวัดนักเรียน

5 คน จํานวน 2 คร้ัง สอบครั้งแรกและครัง้ หลงั หา งกัน 5 สัปดาหเพ่ือใหลืมขอสอบท่ีเกิดจากการ

สอบครง้ั แรก ผลการสอบไดสามารถนาํ มาคํานวณได ดงั น้ี

ตารางที่ 6.3 ตัวอยางคะแนนเพอื่ วิเคราะหความเชอ่ื ม่ันคงตัว X2 Y2 XY
25 64 40
คนที่ สอบครง้ั แรก (X) สอบครง้ั ที่ 2 (Y) 25 81 45
16 64 32
15 8 9 36 18
9 49 21
25 9
84 294 156
34 8

43 6

53 7

รวม 20 38

-105-

หาคา สัมประสิทธิส์ หสัมพนั ธด ว ยสูตร

rxy = n ∑ XY − ∑ X ∑ Y
{n ∑ X2 − (∑ X)2}{n ∑ Y2 − (∑ Y)2}

แทนคา ในสตู ร = 5(156) - (20)(38)

(5(84) - 400))((5(294) - (1444))

= 20

(20)(26)

= 0.877

สรุปไดว า ความเช่ือม่ันของแบบทดสอบฉบับน้ีมีคาเทากับ 0.877 แสดงวาแบบทดสอบชุดนี้

มคี วามเชือ่ มนั่ สูง

2. ความเชื่อมั่นเชิงเทาเทียมกัน (Reliability of Equivalence) เปนการหาความเชื่อมั่น

คลายกันเปนการหาคาสัมประสิทธิ์ของความเช่ือมั่นเชิงคงตัว โดยวิธีการคํานวณหาคาโดยใชกลุม

ตวั อยา งเดียวกัน ทําการทดสอบดวยแบบทดสอบสองชดุ ในเวลาไลเลยี่ กัน แตแบบทดสอบท้ังสองชุด

จะมีลักษณะเหมือนกันหรือคูขนาน (Equivalent Form) คือ วัดส่ิงเดียวกัน มีความยากงายพอๆ กัน

จํานวนขอเทากัน เม่ือไดคะแนนจากการวัดแลวก็นํามาคํานวณหาคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ

แบบเพียรส นั คา ท่ีไดก ็จะเปนคาความเช่ือมั่นเชิงเทาเทยี มกนั ของแบบทดสอบชุดน้ัน

วิธีน้ีควรคํานึงถึง คือเวลาที่ใชสอบระหวางแบบทดสอบท้ังสองชุด ถาหางกันมากจะทําให

คาความเช่ือม่ันตํ่าและอีกประการหนึ่งคือ การสรางขอสอบใหมีลักษณะเหมือนกันนั้นทําไดยาก ใน

การหาคาสัมประสทิ ธิ์สหสัมพันธอยางงา ย มสี ูตรดงั น้ี

rxy = n ∑ XY − ∑ X ∑Y
{n ∑ X 2 − (∑ X )2}{n ∑Y 2 − (∑Y )2}
โดย rxy
n คือ คาสมั ประสทิ ธส์ิ หสัมพันธใ นทีน่ ้คี ือความเชอื่ มั่น

คอื จาํ นวนกลุม ตัวอยาง

ในทน่ี ้ี X และ Y คอื คะแนนของกลมุ ตวั อยา งจากแบบทดสอบที่เปน คูขนานกัน

3. ความเชื่อมั่นเชิงสอดคลองภายในหรือคงท่ีภายใน (Reliability of Internal
consistency) เปนวิธีท่ีการท่ีใชวัดคร้ังเดียว การหาความเชื่อมั่นเชิงสอดคลองภายในมีวิธีการหา
ดงั น้ี

3.1 แบบแบงครึ่ง (Split–half Method ) วิธีนี้ใชเคร่ืองมือเก็บรวบรวมขอมูลที่เปน
แบบวัดเพยี งฉบับเดียว ทําการวัดครั้งเดียว แลวแบงครึ่งแบบวัดออกเปนสองชุด โดยแบงคร่ึงแบบวัด

ที่มีการวัดคุณลักษณะเดียวกันออกเปนชุดขอคูกับชุดขอคี่ หรือแบงเปนชุดครึ่งแรกกับชุดคร่ึงหลัง

-106-

สวนใหญว ิธีแบง ครึ่งฉบับแบบขอคูขอค่ี ไดรับความนิยมมากกวาเน่ืองจากแบบวัดเดียวกันจะมีการขอ
คาํ ถามทีว่ ัดคุณลกั ษณะเดียวกันอยูในอันดับหรือขอท่ีใกลเคียงกัน ทั้งนี้ตองวางแผนการสรางแบบวัด
ใหท้ังสองสวนน้ีเปนลักษณะคูขนานกันกอน จากน้ันไปหาคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธอยางงายแบบ
เพียรส นั คา สัมประสทิ ธิ์สหสมั พันธท ี่หาไดเ ปนคา สัมประสทิ ธิส์ หสัมพันธ โดยใชสตู รดงั น้ี

rxy = n ∑ XY − ∑ X ∑Y
{n ∑ X 2 − (∑ X )2}{n ∑Y 2 − (∑Y )2}

โดย rxy คอื คาสมั ประสิทธ์สิ หสัมพนั ธใ นทน่ี ค้ี ือความเชือ่ ม่ัน
n คือ จาํ นวนกลมุ ตวั อยาง

ในท่ีน้ี X คือ เปนคะแนนขอ คหู รอื คร่ึงแรกแลวแตก รณี

Y คือ เปน คะแนนขอ คี่หรือครึ่งหลังแลว แตก รณี

คา rxy ท่ีไดเปนความเช่ือม่ันของแบบวัดฉบับยอยท่ีเปนครึ่งฉบับหรือแยกออกเปน 2 สวน
แลว นํามาปรับขยายเปน คา สหสมั พันธทั้งฉบบั (rtt ) โดยใชสูตรของสเปยรแมน (Spearman Brown)
ดงั น้ี

rtt = 2rhh
1 + rhh
rtt คือ คาความเชอื่ ม่ันของแบบวัดทง้ั ฉบบั

rhh คือ คา ความเช่อื ม่นั ของแบบวัดครง่ึ ฉบับ

ตัวอยางการหาความเชื่อม่ันเชิงสอดคลองภายใน เชน แบบทดสอบชุดหน่ึง 20 ขอ ใชสอบ

นักเรียน 5 คน เมอ่ื แบงเปน ขอคู และขอ คแ่ี ลว ปรากฏวาแตละคนไดค ะแนน ดงั นี้

ตารางท่ี 6.4 ตวั อยางคะแนนเพ่ือวิเคราะหค วามเชอ่ื มั่นเชงิ สอดคลอ งภายในแบบแบง ครง่ึ
คนที่ คะแนนขอคู (X) คะแนนขอคี่ (Y) X2 Y2
XY

13 6 9 36 18

23 7 9 49 21

35 8 25 64 40

45 9 25 81 45

54 8 16 64 32

ผลรวม 20 38 84 294 156

-107-

หาคาสมั ประสทิ ธิ์สหสมั พันธด ว ยสตู ร

rxy = n ∑ XY − ∑ X ∑Y

{n ∑ X 2 − (∑ X )2}{n ∑Y 2 − (∑Y )2}

= 5(156) - (20)(38)
(5(84) - 400))((5(294) - (1444))

= 0.877

นําคาที่ไดแทนคาในสูตรของสเปยรแมน (Spearman Brown) จะไดคาความเช่ือม่ันของ

แบบทดสอบท้ังฉบับ ดงั นี้

rtt = 2rhh

1 + rhh

= 2 × 0.877
1 + 0.877
= 0.93446989 = 0.93

ความเช่ือมน่ั ของแบบทดสอบชุดน้ีเทา กบั 0.93 แสดงวา มคี วามเชอื่ มั่นของแบบทดสอบสงู

3.2 ใชวิธีการของคูเดอร-ริชารดสัน (Kuder–Richardson) การหาคาความเช่ือม่ัน

แบบนี้คเู ดอร และริชารด สนั ไดเสนอไวใ นป ค.ศ. 1937 เปนวิธีการทแี่ กจุดออนวิธีแบบแบงคร่ึง ผลท่ี

ไดค าแตกตางกนั วธิ นี ท้ี าํ การวัดเพียงครง้ั เดียว วธิ กี ารนีม้ ี 2 สูตร คือ KR20 และ KR21 โดยมีขอตกลง

วา เคร่ืองมือที่จะใชตองมีลักษณะองคประกอบรวมกัน มีความสอดคลองภายใน และการตรวจให

คะแนนตอ งเปน 0 - 1 คือตอบผิดได 0 ตอบถูกได 1 เทานั้น วิธีการของคูเดอร-ริชารดสันมีแนวคิดวา

เครื่องมือท่ีวัดคุณลักษณะเดียวกันและสัดสวนของผูท่ีตอบถูก (p) ใกลเคียงกันทุกขอจะไดคาความ

เชื่อมั่นใกลเคียงกัน และเปนการคํานวณหาคาความเชื่อมั่นที่ไดคาโดยประมาณท่ีมีคาต่ําที่สุด โดยมี

สตู รดงั นี้

สูตร K R20 = ∑k 1 - pq 
2 
k -1 s t

เมือ่ k คือ จํานวนขอ สอบ
p คือ สดั สว นของผูต อบถูกในขอ นัน้
q คือ สัดสวนของผูต อบผิดในขอ น้นั
S2t คอื ความแปรปรวนของคะแนนรวม

สูตร KR21 = k 1 - X[k - X] 
k -1
ks 2
t

เมอ่ื k คือ จาํ นวนขอ ของขอ สอบ

X คอื คะแนนเฉลยี่ ของคะแนนรวม
S2t คอื ความแปรปรวนของคะแนนรวม

-108-

ตัวอยางการหาความเช่ือม่ันตามวิธีการของคูเดอร ริชารดสัน เชน แบบทดสอบชุดหน่ึง
มจี าํ นวน 8 ขอ นําไปทดสอบนกั เรยี นจํานวน 6 คน ใหคะแนนสอบแบบศูนยหน่ึง คือตอบถูกให 1
ตอบผดิ ให 0 ไดผ ลการสอบดงั ตาราง แลว หาคา ความเชอื่ มนั่ โดยวธิ ีของคูเดอรและรชิ ารด สนั ดังน้ี

ตารางที่ 6.5 ตัวอยางคะแนนเพื่อวิเคราะหความเช่ือมั่นเชิงสอดคลองภายในตามวิธีการของคูเดอร

ริชารดสัน

คนที่ ขอ ท่ี
1 2 3 4 5 6 7 8 รวม(x) X2

1 1 1 0 1 1 1 1 1 7 49

2 1 1 1 1 0 0 1 0 5 25

3 0 1 0 1 1 0 0 1 4 16

4 1 1 1 0 1 0 0 0 4 16

5 0 1 1 1 1 1 0 0 5 25

6 00110000 2 4

จาํ นวนผทู ี่ตอบถูก 3 5 4 5 4 2 2 2 27 135

สัดสวนที่ตอบถูก(p) .50 .83 .67 .83 .67 .33 .33 .33

สัดสวนท่ีตอบผดิ (q) .50 .17 .33 .17 .33 .67 .67 .67

pq .25 .14 .22 .14 .22 .22 .22 .22 1.63

โดยแทนคาในสูตรหาคา X = ∑X = 27 = 4.50
S2t = N 6 = 2.25
= 0.32
∑X2 - ∑X  2 = 0.14

N N

= 135 - 27 2

6 6

แทนคา สูตร สตู ร KR20 = ∑k 1 - pq 
k -1 2 
s t

= 8 1 - 1.63 
8 -1  2.25 

แทนคา ในสตู ร สตู ร KR21 = k 1 - X[k - X] 
k -1
ks 2
t

= 8 1- 4.5[8 - 4.5] 
8 -1 8(2.25)

-109-

สูตร KR21 ของคูเดอร ริชารดสัน ใชสะดวกมาก เพราะตองการเพียงคาเฉล่ีย คาความ
แปรปรวน และจํานวนขอสอบก็สามารถหาความเชื่อมั่นได คาความเชื่อมั่นที่ไดเปนคาโดยประมาณ

อยางครา วๆ เทา นน้ั

3.3 วธิ ีการหาสมั ประสิทธิอัลฟา (Alpha Coefficient) โดยครอนบาช(Cronbach)

ไดค ิดคน วิธีการหาความเช่ือม่ันเชิงความสอดคลองภายในเหมือนกับวิธีของคูเดอร-ริชารดสัน (Kuder-

Richardson) แตจะใชไดกับเครื่องมือท่ีเปนแบบอัตนัย แบบสอบถาม หรือแบบมาตรประมาณคา ซึ่งไมไดมี

การใหคะแนนแบบ 0-1 โดยมีสตู รในการคํานวณดังนี้

∑= s 2
สูตร α k (1- xi )
k -1
s 2
tt

เมอ่ื α คอื คาความเชอ่ื ม่ันของเคร่อื งมือ

k คอื จาํ นวนขอ ของแบบวัด
S2xi คอื ความแปรปรวนของคะแนนรายขอ
S2tt คือ ความแปรปรวนของคะแนนรวมทั้งฉบับ
ตัวอยางการหาความเช่ือมั่นดวยวิธีการหาสัมประสิทธ์ิอัลฟา เชน แบบสอบถามชุดหนึ่ง

วัดความคิดเห็นเก่ียวกบั การจัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาทักษะการคิดของนักเรียน เปนแบบประมาณคา 5

ระดับจํานวน 5 ขอ นําไปทดลองกับกลุมตัวอยาง 10 คน ใหคะแนนแตละขอตามมาตรประมาณคา

ตง้ั แต 1–5 คะแนน ผลการสอบดงั ตาราง แลว หาคา ความเช่อื มั่นโดยวิธีการหาสมั ประสิทธอิ ลั ฟา ดงั น้ี

ตารางที่ 6.6 ตวั อยางคะแนนเพอ่ื วิเคราะหความเชอ่ื มนั่ โดยวิธกี ารหาสมั ประสิทธิอัลฟา ตอนท่ี 1

คนท่ี แบบสอบถามขอท่ี

123 45

11 2 4 25

24 1 2 42

33 4 5 45

41 2 3 45

52 1 4 51

63 4 1 54

75 1 2 34

85 5 4 32

92 3 3 11

10 4 4 5 45

-110-

วธิ ีทํา หาคา Si2 หรอื คาสวนเบยี่ งเบนมาตรฐานรายขอหา จากสูตร

Si2 = ∑ X2  ∑X  2
N  N 


ดงั น้นั จึงทําตารางเพ่ือหาคา ตามสูตรดงั นี้

ตารางที่ 6.7 ตวั อยางคะแนนเพือ่ วิเคราะหความเช่ือมนั่ โดยวธิ กี ารหาสัมประสิทธิอัลฟา ตอนท่ี 2

คน ขอ ท่ี 1 ขอ ที่ 2 ขอที่ 3 ขอ ที่ 4 ขอที่ 5 รวม
ที่ X1 X12 X2 X22 X3 X32 X4 X42 X5 X52 Xtota Xtotall2

11 1 24 4 16 24 5 25 ll

14 196

2 4 16 1 1 2 4 4 16 2 4 13 169

3 3 9 4 16 5 25 4 16 5 25 21 441

4 1 1 2 4 3 9 4 16 5 25 15 225

5 2 4 1 1 4 16 5 25 1 1 13 169

6 3 9 4 16 1 1 5 25 4 16 17 289

7 5 25 1 1 2 4 3 9 4 16 15 225

8 5 25 5 25 4 16 3 9 2 4 19 361

9 2 4 3 9 3 9 1 1 1 1 10 100

10 4 16 4 16 5 25 4 16 5 5 22 484

∑xi 30 110 27 93 33 125 35 137 34 142 159 2659
1.61 1.45 2.64 13.09
Si2 2.00 2.01

สามารถแสดงวิธที าํ ทีรายขอ ไดด งั น้ี

หา Si12 = 110 −  30  2 = 11 - (3.0) 2 = 2.00
10 10  = 2.01
= 1.61
หา Si22 = 93  27  2 = 9.3 - (2.7) 2 = 1.45
10  10  = 2.64
− = 13.09

หา Si32 = 125 −  33  2 = 12.5 - (3.3) 2
10 10 

หา Si42 = 137 −  35  2 = 13.7 – (3.5) 2
10 10 

หา Si52 = 142 −  34  2 = 14.2 – (3.4) 2
10 10 

หา Sitatall2 = 2659 − 159  2 = 265.9 – (15.9) 2
10  10 

-111-

แทนคาในสูตร α = k 1 (1 - ∑s2 )
k- xi
s2
tt

α = 5 ( 1- 9.71 )
5-1 13.09
= 1.25 (0.26)

= 0.325

ไดคาความเช่ือม่ันเชิงความสอดคลองภายในเทากับ 0.325 แสดงวา แบบสอบถามชุดนี้

มีความเชือ่ ม่นั อยูในระดบั ต่ํา (เนือ่ งจากมขี อ คําถามนอ ย)

การแปลผลคาความเชอ่ื ม่ัน

คา ความเชื่อม่ันที่ไดจากการคํานวณ มีคาต้ังแต – 1.00 ถึง + 1.00 ถาคาความเชื่อม่ันสูง

ต้ังแต 0.80 - 1.00 แสดงวา แบบทดสอบนั้นเช่ือมั่นไดสูงมาก และตรงกันขามถาคาความเช่ือม่ัน

ของแบบทดสอบตา่ํ ใกลเคยี ง 0 หรอื มีคาเปน ลบ แสดงวา แบบทดสอบนน้ั ขาดความเชอ่ื มน่ั

คา ความเชื่อมัน่ ทป่ี ระมาณไดด วยวิธที งั้ หมดทกี่ ลาวมา เปนสัมประสิทธิ์ของความเช่ือมั่น ซ่ึงมี

ความหมายคลายกับคาสมั ประสิทธส์ิ หสมั พันธ กลาวคือ เมื่อนําเอาคาสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธยกกําลัง

สอง และคณู ดว ย 100 หรือทําเปนรอยละ จะกลายเปนคาสัมประสิทธิ์ของความแปรผันรวมซ่ึงจะบอก

ถึงสัดสวนหรือรอยละของความแปรผันรวมกันของตัวแปรสองตัว เชน ถาไดคาความเช่ือมั่นเทากับ

0.90 ดังน้ันถานํามาหาคาสัมประสิทธิ์ของความแปรผันไดเทากับ 0.90 x 0.90 x 100 เทากับรอยละ 81

จะแปลผลไดวา เครื่องมือน้ันใชวัดคร้ังแรกกับครั้งหลังจะมีความแปรผันรวมกันรอยละ 81 หรือ

ถา นําเครื่องมอื นน้ั ไปวดั ซา้ํ อกี ครง้ั จะไดผ ลเหมือนเดิมรอยละ 81 (Kerlinger, 1986, p. 428)

การวิเคราะหอาํ นาจจําแนก

อํานาจจําแนก (Discrimination) เปนความสามารถของเคร่ืองมือท่ีจะจําแนกหรือ
แยกผูตอบออกไดต ามระดับความสามารถ โดยแยกออกเปน กลุม เกง กบั กลมุ ออน กลุมที่รอบรูกับกลุม
ที่ไมรอบรู กลุมที่มีเจตคติสูงกับเจตคติตํ่า หรือกลุมอ่ืนๆ ตามลักษณะของเครื่องมือวัด ซ่ึงไดแก
แบบทดสอบ แบบสอบถาม มาตรประมาณคา กลุมขอคําถามที่มีคาอํานาจจําแนกดีในแบบทดสอบจะ
จําแนกไดวากลุมเกงทําถูก กลุมออนทําไมถูก ในแบบวัดจิตพิสัยหรือแบบวัดทางจิตวิทยาที่วัดเจตคติ
จะจําแนกกลุมมีเจตคติสูงทําแบบวัดไดคะแนนสูง กลุมมีเจตคติต่ําทําแบบวัดไดคะแนนตํ่า ขอสอบ
หรือขอ คาํ ถามทจ่ี าํ แนกตรงกนั ขา มกับความเปนจริง จะจําแนกไดวา กลุมเกงทาํ ไมถูก สวนกลุมออนทํา
ถกู หรอื กลุมสงู ทาํ คะแนนไดน อ ย สว นกลุมตํา่ ทาํ คะแนนไดม าก และ ขอสอบหรือขอคําถามที่จําแนก
ไมได จะหมายถึง กลุมเกงและกลุมออนทําไดเทากัน หรือทําไมไดเทากัน หรือกลุมสูงและกลุมต่ํา
ทําไดค ะแนนเทาๆ กนั

-112-

1. การวเิ คราะหอ ํานาจจาํ แนกของแบบทดสอบ

อํานาจจําแนกของแบบทดสอบเปนความสามารถของขอสอบในการจําแนกบุคคลออกเปน

2 กลุมทต่ี า งกัน คือ กลมุ เกง กลมุ ออ น หรือ กลมุ รอบรู กบั กลุม ไมรอบรู ในเร่ืองที่เปนสมรรถภาพทาง

สมอง ดานพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) เปนการวิเคราะหหาคุณภาพรายขอ คาอํานาจจําแนก

จะอยูระหวาง -1.00 ถึง 1.00 นิยมแทนดวยสัญลักษณ r ในกรณีท่ีมีผูสอบจํานวนมากเปนรอย

คนข้ึนไปก็สามารถใชเทคนิค 27% ของ Chun The Fan แตถาหากผูสอบเขาสอบจํานวนนอยก็

สามารถใชวิธีการแบงครึ่งกลุมสูง กลุมต่ํา แบบ 50% ไดเลย การหาอํานาจจําแนกของแบบทดสอบ

สามารถหาดว ยเทคนคิ 50% หรอื 27% โดยวเิ คราะหขอมูลจากสูตรดังนี้

r= H-L
n
เมื่อ r คอื อาํ นาจจําแนก

H คือ จํานวนผูตอบถูกในกลุมสูง

L คือ จํานวนผตู อบถูกในกลมุ ต่าํ

n คอื จํานวนผตู อบทั้งหมดในกลมุ สงู หรือกลุมตํา่

เน่ืองจากการวิเคราะหคาอํานาจจําแนกของแบบทดสอบมีวิธีการวิเคราะหควบคูไปกับการ

วิเคราะหห าคา ความยาก (Difficulty) ของแบบทดสอบ ดังนั้นจะไดกลาวโดยละเอียดอีกครั้งในหัวขอ

เรื่องการวิเคราะหข อ สอบโดยเฉพาะตอไป

2. การวิเคราะหอํานาจจาํ แนกของแบบสอบถาม
การหาคาอํานาจจําแนกของแบบสอบถามและเครื่องมือวัดอ่ืนๆ ที่มีแบบวัดเปนมาตร
ประมาณคาจะแตกตางจากการหาคาอํานาจจําแนกของแบบทดสอบ เนื่องจากแบบสอบถามคําตอบ
ไมม ีถูกหรือผิด จึงตองหาคาอํานาจจําแนกแบบอื่น ในกรณีที่แบบสอบถามมีขอคําถามเปนแบบมาตร
ประมาณคา ไมวาจะใชวิธีการกําหนดนํ้าหนักตามวิธีของลิเคริท (Likert) หรือใชวิธีอ่ืนก็ตาม เรา
สามารถหาคาอํานาจจําแนกของขอคําถามแตละขอไดโดยอาศัยหลักท่ีวา ขอคําถามที่ดีควรแยกไดวา
ใครมีความคิดเห็นในทางบวกหรือลบนอยกวากัน การหาคาอํานาจจําแนกดังกลาวหาไดโดยการใช
การทดสอบ t-test for Independent Sample โดยวิเชียร เกตุสิงห (2524, น. 37) ไดเสนอ
ขน้ั ตอนในการวิเคราะหไ วด ังตอ ไปน้ี

2.1 แบบสอบถามที่จะวิเคราะหตองเปนแบบที่ใหคะแนนแบบเดียวกันทุกขอ
เชน ในแตละขอมีคะแนนเปน 1 2 3 4 5 และตามลักษณะการตอบ ไมเห็นดวยอยางยิ่ง
ไมเ หน็ ดวย เฉยๆ หรอื ไมแ นใ จ เหน็ ดวย และเหน็ ดว ยอยา งยง่ิ

2.2 ตรวจคะแนนแตละขอ ตามขอ 1 แลวรวมคะแนนของทุกขอ (ของแตละคน)เขา
ดว ยกนั

-113-

2.3 แบงกลุมตัวอยางเปนสองกลุม คือ กลุมสูงและกลุมตํ่า การแบงนี้ ควรใชกลุมสูง
จํานวน 25% และกลุมต่ําจํานวน 25% คือ เอากลุมท่ีไดคะแนนสูงสุดมา 1 ใน 4 เปนกลุมสูงและ
กลุมตํ่า

2.4 ในแตละขอของแบบสอบถามท่ีมีขอคําถามเปนมาตรวัดจําแนกระดับใหนับดูวา
มีคนในกลุม ที่ไดคะแนนสูงและกลุมท่ีไดคะแนนตํ่าทําคะแนนในแตละขอไดเทาไร แลวนําคะแนนของ
ทุกคนในแตละกลุมไปหาคาเฉล่ีย ( X ) และความแปรปรวน (S2) สําหรับแบบสอบถามแตละขอ
ตองหาคาทั้งสองนี้จนหมดทุกขอท้ังสองกลุม ดังนั้น ในแตละขอจึงมีคาเฉล่ีย 2 คา คือ กลุมตํ่า 1 คา
และกลุมสูง 1 คา และคาความแปรปรวนก็ไดคา ในทํานองเดียวกนั

2.5 คาํ นวณหาคา อาํ นาจจาํ แนกโดยแทนคา ในสูตรดังน้ี

t = XH -XL
S2 + S2
H L

n

โดย XH หมายถึง คา เฉลยี่ รายขอ ของกลมุ สูง

XL หมายถงึ คาเฉล่ียรายขอของกลุมตา่ํ

S2H หมายถึง คา ความแปรปรวนรายขอ ของกลมุ สูง
S2L หมายถึง คาความแปรปรวนรายขอ ของกลุมตา่ํ
nH หมายถงึ จํานวนคนในกลมุ สูง
nL หมายถึง จาํ นวนคนในกลุมตา่ํ
1.6 แบบสอบถามขอใดที่มีคา t ตั้งแต 1.75 ขึ้นไปถือวา มีคาอํานาจจําแนกสูง อยูใน

เกณฑท ีใ่ ชได

ตัวอยางการวิเคราะหหาอํานาจจําแนกของแบบสอบถาม เชน แบบสอบถาม ขอท่ี 1

มีผตู อบแบบสอบถามจํานวน 100 คน ขอคําถามเปนแบบมาตรประมาณคา 5 ระดับ ผลการวิเคราะห

ขอ มลู ไดด งั นี้

-114-

ตารางที่ 6.8 ตัวอยางคะแนนเพ่ือวเิ คราะหอาํ นาจจําแนกของแบบสอบถาม

ระดับคาํ ตอบ กลมุ สูง กลมุ ต่ํา

คะแนน ความถี่ x2 fx fx2 คะแนน ความถี่ x2 fx fx2
(x) (f) (x) (f)

เห็นดว ยอยางยิ่ง 4 15 16 60 240 4 2 16 8 32

เหน็ ดว ย 3 20 9 60 180 3 3 9 9 27

ไมแ นใจ 2 10 4 20 40 2 20 4 40 80

ไมเ ห็นดวย 1 4 1 4 4 1 15 1 15 15

ไมเหน็ ดว ยอยางยิง่ 0 1 0 0 0 0 10 0 0 0

ผลรวม (Σ) 50 30 144 464 50 30 72 154

XH = ∑ fx = 144 = 2.88 XL = ∑ fx = 72 = 1.44
n n 50
50

= n(∑ fx2 ) - (∑ fx)2 fx2 ) - ( fx)2
n(n - 1) n(n -1)
S2H ∑ ∑SL2 = n(

= 50(464) - (144)2 = 1.06 = 50(154) - (72)2 = 1.27

50(49) 50(49)

จากสูตร t = XH -XL

S2 + S2
H L

n1 n2

= 2.88 -1.44

1.27 + 1.06
50 50

= 6.67

จากผลการวิเคราะห ไดคา t เทากับ 6.67 ซ่ึงมากกวาคาวิกฤต 1.75 จึงถือวาขอคําถามของ

แบบสอบถามขอน้ีสามารถจาํ แนกกลุม สงู กลมุ ต่ําสามารถนําไปใชได

การวิเคราะหขอ สอบ

การวิเคราะหคุณภาพของขอสอบ (Item Analysis) เปนการตรวจสอบคุณภาพของขอสอบ
เปนรายขอ โดยนําผลที่ไดจากการสอบของผูเรียนมาวิเคราะหหาดัชนีบงช้ีคุณภาพของขอสอบ ไดแก
ความเท่ยี งตรง ความเชื่อม่นั ความยาก และอํานาจจําแนก ซ่ึงการหาวิเคราะหหาความเท่ียงตรง และ
ความเช่ือมั่นดังไดกลาวไปแลวตอนตน ในที่น้ีจะกลาวถึงการวิเคราะหหาความยาก และคาอํานาจ
จําแนกซึ่งเปน การหาคุณภาพทแ่ี ตกตา งจากเครื่องมือประเภทอน่ื ๆ โดยมีความหมายดังน้ี

-115-

ความยาก (Difficulty) หมายถึง สัดสวนของจํานวนผูตอบขอสอบรายขอไดถูกตอจํานวน
ผูตอบท้ังหมด หรือเปนคะแนนเฉลี่ยของขอสอบขอน้ัน โดยถาขอคําถามนั้นยากเกินไป หมายถึง
ผูตอบทั้งกลุมเกงและกลุมออนไมมีใครตอบถูกเลย ถาขอคําถามงายเกินไป หมายถึง ผูตอบ
กลุมเกง และกลุมออ นตอบถูกหมดทกุ คน สวนขอ คาํ ถามทดี่ ีควรจะมีความยากงายพอเหมาะคือ ผูตอบ
ครง่ึ หนง่ึ ของท้งั สองกลุม ตอบถูก โดยกลมุ เกงตอบถูกสว นกลมุ ออ นตอบไมถูก

อํานาจจําแนก (Discrimination) เปนความสามารถในการแยกแยะของขอสอบแตละขอ
โดยแยกผูทดสอบออกเปนกลุมเกงและกลุมออน น่ันก็คือ ขอสอบที่จําแนกดี กลุมเกงจะตอบถูก
กลุมออนจะตอบผิด ขอสอบที่จําแนกผิด กลุมเกงจะตอบผิด กลุมออนจะตอบถูก และขอสอบ
ที่จาํ แนกไมได กลุมเกงและกลมุ ออ นตอบไมไดหรือตอบไดเทาๆ กนั

การวิเคราะหขอสอบน้ันจะกลาวถึงการวิเคราะหขอสอบโดยใชทฤษฏีการสอบแบบด้ังเดิม
(Classical Test Theory) แบบอิงกลุมท่ีแบงแบบทดสอบเปนประเภทเลือกตอบ และแบบทดสอบ
ประเภทความเรยี ง และ การวเิ คราะหขอสอบแบบอิงเกณฑ

1. การวิเคราะหขอสอบรายขอสอบแบบอิงกลุม

วิธีการตรวจสอบคุณภาพของขอสอบแบบอิงกลุม (Norm-referenced Test) ใชคาความยาก

และคา อาํ นาจจาํ แนก มีรายละเอยี ดดังนี้

ความยากเปนสัดสวนที่แสดงวาขอสอบนั้นมีคนทําถูกมากหรือนอย ถามีคนทําถูกมากแสดง

วาขอสอบงาย ถามีคนทําถูกนอยแสดงวาเปนขอสอบยาก การหาคาความยากมีลักษณะเปนการ

วิเคราะหรายขอ (Item Analysis) ไมใชเปนการวิเคราะหภาพรวมท้ังฉบับ คาความยากอยูระหวาง

0.00 ถงึ 1.00 นยิ มเขียนแทนดว ย p ในกรณี ท่คี ํานวณจากคะแนนของผูสอบ โดยการแบงออกเปน

กลุม สูง และกลุม ต่ํา สามารถคํานวณจากสตู รดังน้ี

p = H+L
N
เมอื่ p คือ ดัชนีความยากงา ย

H คือ จํานวนผูต อบถูกในกลมุ สูง

L คอื จาํ นวนผูตอบถกู ในกลุมตา่ํ

N คือ จํานวนผูเขาสอบในกลุมสูงและกลมุ ตํ่า

เมื่อคํานวณไดค าดัชนีความยากแลว จะมเี กณฑการแปลความหมายดังนี้

-116-

ดัชนีความยาก (p) ระดบั ความยาก ระดบั คุณภาพ การนําไปใช
0.81 - 1.00 งา ยมาก ไมด ี คดั ทิ้งหรือปรับปรงุ ใหม

0.61 - 0.80 คอนขางงาย พอใช คดั เลือกไวใช
0.41- 0.60 พอเหมาะ ดีมาก คัดเลอื กไวใ ช
0.21 - 0.40 คอ นขางยาก พอใช คัดเลอื กไวใช

0.00 - 0.20 ยากมาก ไมด ี คัดท้งิ หรือปรบั ปรุงใหม

ขอสอบทคี่ ัดเลือกมาใชใ นการเก็บรวบรวมขอมูลควรเปนขอสอบท่ีมีคาความยากปานกลาง คือ

ประมาณ 0.50 ซ่ึงเปนคาท่ีเหมาะสมที่สุด เปนคาที่อยูในอุดมการณแตในความเปนจริงนั้นเกิดข้ึน

คอ นขา งยากท่ีจะไดคาเทา กับ 0.50 ดงั นัน้ ในทางปฏิบัตมิ กั กาํ หนดเกณฑระดับความยากของขอสอบที่

จะเลอื กไวในในชว งระหวาง 0.21 – 0.80

สวนอํานาจจําแนกเปนความสามารถของขอสอบในการจําแนกบุคคลออกเปน 2 กลุม ท่ี

ตางกัน คือ กลุมเกง กลุมออน หรือ กลุมรอบรู กับกลุมไมรอบรู ในเร่ืองที่เปนสมรรถภาพทางสมอง

ดานพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) เปนการวิเคราะหรายขอ คาอํานาจจําแนกจะอยูระหวาง

(-1.00) ถึง (+1.00) นิยมแทนดว ยสัญลักษณ r การหาอํานาจจําแนกของแบบทดสอบ จะหาไดจาก

สตู รดังนี้

r = H-L
n
เมอ่ื r คือ อํานาจจาํ แนก

H คอื จํานวนผตู อบถูกในกลุมสงู

L คอื จาํ นวนผตู อบถกู ในกลมุ ต่ํา

n คือ จาํ นวนผตู อบทั้งหมดในกลุมสงู หรอื กลุมตาํ่

เมอ่ื คาํ นวณไดค าดชั นีอํานาจจําแนกแลว จะมคี วามหมายดงั นี้

อาํ นาจจําแนก(r) ความหมาย ระดับคณุ ภาพ
0.40 - 1.00
0.30 - 0.39 ดีมาก คดั เลอื กไว ใช
0.20 - 0.29
ดี คัดเลือกไวใช
0.01 - 0.19
0.00-คา ตดิ ลบ พอใช คดั เลือกไวใช

ไมดี คดั ทงิ้ หรือปรบั ปรงุ ใหม

จําแนกไมไ ด หรอื จาํ แนกตรงกันขา ม คัดทิง้

กับความเปน จรงิ

-117-

นอกจากการคํานวณหาคาความยากและคาอํานาจจําแนกจากตัวถูกเพ่ือดูคุณภาพรายขอ

แลว การตรวจสอบความยากและอํานาจจําแนกของตัวลวงก็เปนการตรวจสอบคุณภาพของขอสอบ

ดวย ลักษณะของตวั ลวงทดี่ จี ะตองลวงกลมุ ออ นมากกวากลมุ เกง นน่ั คือกลุม ออนตองเลือกตอบตัวลวง

มากกวากลุมเกง ซง่ึ ตรงกนั ขามกบั ตวั ถกู

การคํานวณคาความยากจากตัวลวงโดยใชสูตรเดียวกับการหาคา p ของตัวถูก และใชเกณฑ

พิจารณาวาตัวลวงนั้นใชได ต้ังแต 0.05 -1.00 ซึ่งดัชนีความยากของตัวลวงจะเปนตัวบงช้ีวา

มนี กั เรียนเลือกตอบตัวลวงเปนสัดสวนเทา ใด ถาคา p ตา่ํ มาก แสดงวา ตัวลวงน้ันไมคอยมีใครเลือก

เห็นสมควรจะตองปรบั ปรุง เพราะไมเ กิดประโยชนใ ดๆ ที่จะเขียนไวเ ฉยๆ โดยไมม ีใครเลือกตอบ

สูตรหาคา ความยากตวั ลวง คอื P= H+L
2n

สตู รหาคาอาํ นาจจําแนกตัวลวง คือ r= L-H
n
เมือ่ P คือ ความยาก

r คอื คาอํานาจจําแนก

H คือ จาํ นวนผูตอบตวั ลวงนน้ั ในกลมุ สูง

L คอื จํานวนผูต อบตวั ลวงนัน้ ในกลุมตาํ่

n คือ จาํ นวนผตู อบท้งั หมดในกลุม สูง หรือกลมุ ตา่ํ

โดยมีหลักในการพิจารณาคา P เหมอื นตวั ถูก สวนการพิจารณาคา r มีดงั นี้

ถา คา r ตดิ ลบ แสดงวา ตัวลวงนน้ั ไมดีตองแกไข

ถาคา r เปน ศูนย แสดงวา ตวั ลวงน้ันไมด ีตอ งแกไ ข

ถา คา r เปน บวก แสดงวาตวั ลวงนั้นเปน ตวั ลวงที่ดี

ดังน้ันในการคัดเลือกขอสอบท่ีมีคุณภาพดี เพื่อนําไปใชจะตองมีดรรชนีความยากระหวาง

0.20 ถงึ 0.80 และมีคาอํานาจจําแนกตั้งแต 0.20 -1.00 ฉะน้ันเม่ือนํามาสรางเปนกราฟก็แสดงให

เหน็ คณุ ภาพของขอ สอบแตละขอชัดเจนข้ึน ดงั นี้

P

1.00

0,80

0.60
0.40 คณุ ภาพขอสอบรายขอทดี ี

0.20

-0.40 - 0.20 0.00 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00 r

ภาพท่ี 6.4 กราฟแสดงการคัดเลอื กคุณภาพขอสอบรายขอ

-118-

ในการวิเคราะหขอสอบรายขอสอบแบบอิงกลุมสามารถทําไดตามลักษณะของแบบทดสอบ
ดงั น้ี

1.1 การวิเคราะหขอ สอบแบบเลือกตอบ
การวิเคราะหขอสอบโดยการคํานวณหาความยากงายและอํานาจจําแนกของ

แบบทดสอบแบบเลือกตอบ มีขน้ั ตอนการดาํ เนนิ งานดังน้ี
1) ตรวจใหคะแนนแกผ ูสอบโดยรวมคะแนนเปน รายบุคคล
2) เรียงกระดาษคาํ ตอบตามลําดับคะแนนจากมากไปนอย คะแนนทซ่ี า้ํ กันเอาไวดวยกนั
3) แบงกระดาษคําตอบออกเปน 2 กลุม เทาๆ กัน กลุมท่ีไดคะแนนรวมมากใหชื่อกลุมวา

กลุมสูง (H) สวนกลุมที่ไดคะแนนนอยใหชื่อกลุมวา กลุมตํ่า (L) โดยมีแนวทางในการแบง
กระดาษคําตอบวา ถาจํานวนกระดาษคําตอบมีนอยใหแบงกลุมสูง กลุมตํ่า กลุมละ 50% ถาจํานวน
กระดาษคําตอบมีจํานวนมากเปนรอย ใหแบงกลุมสูง กลุมตํ่า กลุมละ 27 % สวนที่เหลืออีก 46 %
ไมต อ งนํามาวิเคราะห

4) นบั จาํ นวนนักเรียนที่ตอบถูกของแตล ะขอ ของกลมุ สงู และกลมุ ต่ําแยกกัน ดงั ตวั อยาง
ของขอสอบขอ 1 และ ขอ 2 ตอ ไปน้ี

ตารางท่ี 6.9 ตวั อยา งคะแนนเพ่อื วเิ คราะหข อสอบ

ขอ กลุมสูง ( H ) กลุมต่ํา ( L )

ที่ ก ข ค ง จ ว รวม ก ข ค ง จ ว รวม

1 0 (20) 0 0 0 - 20 5 (0) 3 5 6 - 20

2 4 3 (5) 5 3 - 20 4 2 (3) 7 4 - 20

หมายเหตุ ( ) คอื จํานวนนกั เรียนท่ตี อบถูก

5) คาํ นวณหาคาความยากและคา อาํ นาจจําแนกตามสตู รทก่ี ลาวมาขา งตน จากผล
การตอบในขอ 1 และขอ 2 สามารถนํามาคํานวณ คาความยาก และคาอาํ นาจจําแนกได ดงั น้ี

-119-

ตารางท่ี 6.10 ตวั อยางผลการวเิ คราะหขอสอบ

ขอ ความหมาย
ที่
ตัวเลอื ก p r ความยาก อํานาจ การ
จาํ แนก นาํ ไปใช

1 ก (0+5)/40 = 0.12 (5-0)/20 = 0.25 ใชได ดี นาํ ไปใชได
(ข) (20+0)/40= 0.50 (20-0)/20 = 1.00
ค (0+3)/40 = 0.07 (3-0)/20 = 0.15 พอเหมาะ ดีมาก นําไปใชได
ง (0+5)/40 = 0.12 (5-0)/20 = 0.25
ใชได ดี นาํ ไปใชไ ด
จ (0+6)/40 = 0.15 (6-0)/20 = 0.30
ใชไ ด ดี นาํ ไปใชได
2 ก (4+4)/40= 0.20 (4-4)/20 = 0.00
ใชไ ด ดี นําไปใชได
ข (3+2) /40= 0.12 (2-3)/20 = -0.05
(ค) (5+3) /40= 0.20 (3-5)/20 = -0.1 ใชได ไมด ี ตัดทิ้ง
ง (5+7) /40= 0.30 (5-7)/20 = -0.10
จ (3+4) /40= 0.17 (4-3)/20 = 0.05 ใชได ไมด ี ตัดทงิ้

ยากมาก ไมไ ด ตัดทง้ิ

ใชไ ด ไมด ี ตดั ท้งิ

ใชได ดี นําไปใชไ ด

จากผลการวิเคราะหพบวา ขอสอบขอที่ 1 สามารถนําไปใชได สวนขอสอบขอที่ 2 ตองปรับปรุง หรือ
คัดทิ้งจะดกี วา โดยเมอ่ื พิจารณาตัวลวงแลว พบวา ตัวลวงก็ไมม ปี ระสทิ ธภิ าพดว ย

การวิเคราะหขอสอบรายขอโดยแบงคะแนนของขอสอบเปนกลุมสูงและกลุมต่ําน้ีสามารถ
หาคาดัชนคี วามยากและคาอํานาจจําแนกไดโดยวิธีของ Chung The Fan กลาวคือ หลังจากจํานวน
นักเรียนท่ีตอบถูกของแตละขอในกลุมแลว นําแตละกลุมมาหาสัดสวนดวยการเอาจํานวนคนท่ีตอบ
ถูกหารดวยจํานวนคนทั้งหมดของแตละกลุม จากนั้นนําไปเปดหาคา p และ r จากตารางวิเคราะห
ขอ สอบรายขอ สาํ เรจ็ รปู ของ Chung The Fan กจ็ ะไดค า ตามตองการ ผสู นใจจะหาดว ยวิธีการนี้ตอง
หาตารางสําเรจ็ รูปดงั กลา ว ซึ่งอธบิ ายวธิ ีการหาไวช ดั เจนแลวและมีขายอยูในทองตลาดท่วั ไป

1.2 การวเิ คราะหข อ สอบแบบความเรียง
การวิเคราะหขอสอบแบบความเรียง มีข้ันตอนในการวิเคราะหหาคุณภาพเชนเดียวกับ
แบบทดสอบแบบเลือกตอบ แตเน่ืองจากมีคะแนนแตละขอไมใช 0 หรือ 1 ดังน้ันสูตรในการ
คํานวณหาคาดชั นีความยากและคา อํานาจจําแนก จึงมคี วามแตกตา งดงั นี้

-120-

สตู ร p = ∑XH + ∑XL
I(nH + n L )
r
= ∑XH -∑XL
เมื่อ ∑XH
∑XL I(nHor nL )

คือ ผลรวมของคะแนนรายขอแตล ะคนในกลุม สูง
คือ ผลรวมของคะแนนรายขอแตล ะคนในกลุมต่าํ

nHor nL คือ จาํ นวนผูเ ขา สอบกลมุ สงู หรือกลุมต่ํา
I คอื คะแนนเต็มของขอ น้ันๆ

ตัวอยางการวิเคราะหความยากและอํานาจจําแนกของขอสอบแบบความเรียง เชน ขอสอบ

ขอหนึ่งเปนขอสอบความเรียงที่มีคะแนนเต็ม 10 คะแนน เมื่อตรวจและนับคะแนนแลวทําการแยก

เปน กลมุ สูงและกลมุ ต่ํา กลมุ ละ 20 คน ผลของการตรวจและใหคะแนน มดี งั น้ี

ตารางท่ี 6.11 ตวั อยา งคะแนนเพอ่ื การวิเคราะหขอสอบแบบความเรียง

คะแนนทีไ่ ด กลุมสูง (20 คน) กลุมตา่ํ ( 20 คน)

(x) ความถี่ (f) fx ความถ่ี (f) fx

9 6 54 1 9

8 3 24 3 24

7 3 21 1 7

6 6 36 5 30

5 2 10 5 25

4 - - 3 12

3 -- 2 6

รวม 20 145 20 113

จากสูตร p = ∑X H +∑XL

I(nH + nL )

p = 145 +113
10(20 + 20)

p = 0.65

-121-

r = ∑X H -∑XL

I(nH or nL )

r = 145 -113
10(20)

r = 0.16

จากผลการวิเคราะหสามารถแปลผล ไดวา ขอสอบความเรียงขอนี้มีดัชนีความยากเทากับ

0.65 และคา อาํ นาจจาํ แนกเทากบั 0.16 สรปุ วา ขอ สอบขอน้ีเปนขอท่ียากงายพอเหมาะและสามารถ

จําแนกผสู อบพอใช

2. การวเิ คราะหขอ สอบรายขอ สอบแบบองิ เกณฑ

การวิเคราะหขอสอบอิงเกณฑนั้นแตกตางจากการวิเคราะหขอสอบแบบอิงกลุมเน่ืองจาก

แบบทดสอบองิ เกณฑเ ปนการวดั วาผูเ รียนมคี วามรอบรูในเนื้อหา หรือมีคุณลักษณะที่ตองการวัดตาม

จดุ ประสงคเชิงพฤตกิ รรม มากกวาจําแนกผูเรียนเหมอื นแบบทดสอบอิงกลุม ขอสอบอิงเกณฑไมเนนท่ี

ความยากงาย หรืออํานาจจําแนก ขอสอบอิงเกณฑจะยากหรืองายขึ้นอยูกับพฤติกรรมที่จัดใหเรียนรู

และทีต่ อ งการใหวดั ในขณะเดียวกนั เม่อื วดั ออกมาแลว จึงวิเคราะหหาประสิทธิภาพของขอสอบราย

ขอดวยการวัดผลของการสอนเรียกวาผูเรียนผานหรือไมผานตามเกณฑนั้นหรือไม ดังนั้นขอสอบอิง

เกณฑอาจมีผูเรียนทุกคนทําถูกหมดก็ยอมเปนไปได และแบบทดสอบอิงเกณฑมีแนวคิดท่ีวา

กระบวนการเรยี นการสอนสงผลตอ การเรยี นของผูเรยี นหรือไม ดังนนั้ จงึ ตองมีผูเรียนตอบถูกหลังเรียน

มากกวา กอนเรียน การวิเคราะหขอสอบแบบอิงเกณฑจึงอาศัยดัชนีความไว (Index of

Sensitivity) ของขอสอบท่ีมตี อผลการสอน โดยมสี ูตรในการวิเคราะหด ังน้ี

S= RA - RB
T
เมอื่ S คือ ดชั นีความไวของขอสอบ

RA คอื จาํ นวนนกั เรยี นทตี่ อบถกู หลงั การสอน
RB คือ จาํ นวนนกั เรยี นท่ตี อบถูกกอนการสอน
T คอื จาํ นวนนกั เรยี นท้ังหมด

การแปลความหมายของดชั นีความไว สามารถทําไดโดยเทยี บกับเกณฑดงั น้ี

ดชั นคี วามไว (S) ความหมายและระดับคณุ ภาพ

0.50 – 1.00 ขอสอบมคี ุณภาพดี ผเู รยี นตอบถกู หลังเรียนมากกวา กอ นเรียน

0.01 – 0.49 ขอสอบมีคุณภาพนอยถึงปานกลาง ผูเรียนตอบถูกหลังเรียน

มากกวา กอนเรียน นอยถึงปานกลาง

-1.00 -0.00 ขอสอบมีคุณภาพไมดี คอื ไมม คี วามแตกตางระหวางกอนเรียนและ

หลงั เรยี น

-122-

ตวั อยา งการวิเคราะหขอสอบรายขอ แบบองิ เกณฑ เชน ผวู จิ ัยตอ งการหาคาประสิทธิภาพของ
วิธีสอนแบบกลมุ สมั พนั ธ โดยการวัดดวยขอสอบอิงเกณฑช ดุ หนึ่ง 5 ขอ นักเรียนที่จะทดลองมีจํานวน
5 คน กอนทดลองทําการทดสอบกอนเรียน แลวทําการสอนจนครบตามกําหนดใชเวลา 12 ชั่วโมง
จงึ ทาํ การทดสอบดว ยขอสอบชุดเดมิ การทดลองสามารถแสดงการตอบของนักเรียนท้งั 5 คน ดังนี้

ตารางที่ 6.12 ตัวอยา งผลการตอบขอ สอบรายขอแบบอิงเกณฑ

ขอ ที่ 1 2 3 4 5
คนท่ี กอ นเรียน หลังเรยี น กอ นเรียน หลงั เรียน กอ นเรียน หลงั เรียน กอ นเรยี น หลังเรียน กอนเรียน หลังเรยี น

1 - - -  - - -
2 - - -  - - -
3 - - -  - - 
4 - - -  - - 
5 - - -  - 

หมายเหตุ - หมายถึงตอบผดิ ( incorrect )  หมายถึงตอบถูก ( Correct )

วเิ คราะหค วามไวของขอสอบแตละขอที่มีตอ ผลของวิธีการสอนหาได ดังน้ี

S1 = 0-0 = 0.00
5
5-0
S2 = 5 = 1.00

S3 = 5-5 = 0.00
5
0-5
S4 = 5 = -1.00

S5 = 3-1 = 0.40
5
ผลการวิเคราะหป ระสิทธภิ าพของขอ สอบรายขอปรากฏ ดงั น้ี

ขอสอบขอ 1 มีคุณภาพไมด ี กอนและหลังเรียนมใี ครทาํ ถกู เลย แสดงวา การสอนไมด ี

ขอสอบขอ 2 มีคุณภาพดี ผูเ รยี นตอบถูกหลังเรียนมากกวากอ นเรียน แสดงวา การสอนดี

ขอสอบขอ 3 มีคุณภาพไมดี ไมมีความแตกตางระหวางกอนเรียนและหลังเรียนวัดประสิทธิภาพ

การสอนไมได

ขอสอบขอ 4 มีคุณภาพไมดี ผูเรียนตอบถูกกอนเรียนมากกวาหลังเรียนแสดงวัด

ประสิทธิภาพการสอนไมได

ขอ สอบขอ 5 มีคุณภาพดี ผูเรียนตอบถกู หลังเรยี นมากกวา กอ นเรยี น แสดงวา การสอนดี

-123-

สรุปไดว าขอสอบทีม่ ีประสทิ ธิภาพดจี ะตองมีดัชนีความไวระหวาง 0.50 – 1.00 ย่ิงมีคาเปน
บวกมากก็มีความไวที่วัดการสอนไดมากเทาน้ัน สวนขอที่มีคาดัชนีความไว เทากับ 0 หรือมี
เครอ่ื งหมายตดิ ลบจะเปนขอสอบทไ่ี มม ีประสิทธิภาพ

ในปจจุบันการวิเคราะหขอสอบโดยใชทฤษฏีการทดสอบแบบด้ังเดิมไดพัฒนาเปนโปรแกรม
สําเร็จรูปท่ีใชวิเคราะหดวยคอมพิวเตอร ซ่ึงมีอยูหลายโปรแกรม แตท่ีจะแนะนําโปรแกรมท่ีเรียนรูได
งาย คือ โปรแกรม TAP (Test Analysis Program) โปรแกรม Zipgrade สําหรับใชวิเคราะหขอสอบ
แบบเลือกตอบ และโปรแกรม B-Index ใชสําหรับวิเคราะหขอสอบอิงเกณฑ ขอสอบแบบความเรียง
หรือ แบบอตั นยั และแบบสอบถาม โดยสามารถดาวนโหลดไดจาก Google Website

บทสรปุ

การวิเคราะหคุณภาพของเครื่องมือเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ
เก่ียวกับความเที่ยงตรง ความเช่อื ม่ัน อาํ นาจจําแนก และความยากงาย โดยเครื่องมือแตละประเภทมี
การตรวจสอบคุณภาพท่ีคลายคลงึ กันและแตกตางกนั ไปตามลกั ษณะของเคร่ืองมือ

การวิเคราะหความเที่ยงตรง เปนการหาคุณภาพของเคร่ืองมือรายขอ แบงออก 3 ลักษณะ
ประการแรกไดแก การวิเคราะหความเท่ียงตรงเชิงเนื้อหา กรณีเปนแบบทดสอบจะวิเคราะห
ความเที่ยงตรงตามระบบของการวัดผล ไดแก แบบทดสอบอิงเกณฑ และแบบทดสอบอิงกลุม
สวนแบบสอบถาม แบบมาตรประมาณคา จะพิจารณาจากนิยามศัพทและขอคําถาม ตอมาเปน
การวิเคราะหความเท่ียงตรงเชิงโครงสราง ดวยการหาความสัมพันธระหวางเคร่ืองมือที่มีโครงสราง
เหมือนกัน การวิเคราะหองคประกอบ การตรวจสอบดวยการเทียบกับกลุมที่รูชัด และสุดทายเปน
การวิเคราะหความเที่ยงตรงเชิงสัมพันธกับเกณฑ แบงออกเปน ความเท่ียงตรงตามสภาพและ
ความเท่ยี งตรงเชงิ พยากรณ

การวิเคราะหความเชื่อม่ัน เปนการหาคุณภาพของเคร่ืองมือทั้งชุด แบงออกเปน
3 ลักษณะ ไดแ ก ความเชื่อมั่นเชิงคงตัว ความเชื่อม่ันเชิงเทาเทียมกัน และความเช่ือมั่นเชิงสอดคลอง
ภายใน แบงออกเปน 3 วิธี ไดแก แบบแบงคร่ึง ใชวิธีการของคูเดอรและริชารดสันและวิธีการหา
สมั ประสิทธิอลั ฟาของคอนบาช

การหาคาอํานาจจําแนกเปนการหาคุณภาพรายขอ เปนคุณภาพของขอสอบเมื่อสามารถ
จําแนกเปนกลุมสูงและกลุมต่ํา สวนแบบสอบถามแบบมาตรประมาณคา ใชวิธีการทดสอบคาสถิติ t-
test for independent

การวิเคราะหข อสอบ เปน การวเิ คราะหหาคุณภาพรายขอ ซ่งึ จะตอ งหาความยาก และอํานาจ
จาํ แนก โดยแบง การทดสอบแบบองิ กลมุ ประเภทเลือกตอบ และประเภทความเรียง และการทดสอบ
แบบองิ เกณฑด วยการหาดัชนคี วามไวของขอสอบ



บทที่ 7
การประยกุ ตใช Google Form สรางเครือ่ งมอื การวิจัย

ในปจจุบันการใชเทคโนโลยีเครือขายออนไลนเปนส่ิงที่จําเปนตอชีวิตประจําวัน การเก็บ
รวบรวมขอมูลเพื่อการวิจัยอีกแนวทางหน่ึงดวยวิธีการผานเครือขายออนไลน Google ไดพัฒนา
ระบบแอพพลิเคชั่น (Application) เรียกวา Google Form ซ่ึงเปน โปรแกรมท่ีอํานวยความสะดวกใน
ดานตางๆ ท่ีออกแบบมาใชในคอมพิวเตอร แท็บเล็ต โทรศัพทเคลื่อนที่ ทําใหเราสามารถส่ือสาร
คนควา ขอมูล ออกแบบงาน รวมทั้งสรา งเคร่ืองมอื เกบ็ รวบรวมขอมลู เพ่อื การวจิ ยั

การสรางเคร่ืองมือเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลบนระบบออนไลนดวย Google Form ซึ่งเปนสวน
หน่ึงในบริการของกลุม Google Docs ที่ชวยใหสรางเคร่ืองมือบนระบบออนไลนหรือใชสําหรับเก็บ
รวบรวมขอมูลไดอยางรวดเร็วโดยท่ีไมตองเสียคาใชจาย ในการใชงาน Google Form ผูใชสามารถ
นําไปปรับประยุกตใชงาน ไดหลายรูปแบบอาทิ เชน การสรางแบบทดสอบ แบบสํารวจความคิดเห็น
แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบลงทะเบียน แบบการลงคะแนน เปนตน ท้ังนี้การใชงาน Google
Form น้ัน ผูท่ีจะสรางแบบฟอรมจะตองมีบัญชี ของ Gmail หรือ Account ท่ีเปนของ Google
เสียกอน หลังจากนั้นผูใชงานสามารถเขาใชงานสรางเครื่องมือการวิจัยหรือแบบฟอรมตางๆ ผาน
Web Browser ไดเ ลย โดยทไ่ี มตองติดตงั้ โปรแกรมใดๆ

การประยกุ ตใช Google Form เพอี่ สรา งเครื่องมือการวจิ ยั ในทน่ี จี้ ะขอแนะนําเฉพาะในสวน
ที่สามารถนํามาประยุกตสรางเคร่ืองมือเพ่ือใชในการเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อการวิจัยท่ีเปนที่นิยมกัน
ไดแก แบบทดสอบ และแบบสอบถาม

ขอ ตกลงเบ้อื งตนในการสรา งเคร่อื งมือการวจิ ยั ดว ย Google Form

การสรางแบบทดสอบและแบบสอบถามในบทนี้ มีขอตกลงเบื้องตนในการใชระบบเครือขาย
ออนไลนด งั ตอไปนี้

1. การใช Google Form เพ่ือสรางแบบทดสอบหรือแบบสอบถาม เปนชองทางในการเก็บ
รวบรวมขอมูลเพ่ือการวจิ ัยในลกั ษณะหนึง่

2. การสรางเคร่ืองมือดวย Google Form เปนข้ันตอนของการสรางเคร่ืองมือหลังจากที่หา
คุณภาพเคร่อื งมือแลว ดังนัน้ ตองทําการสรา งแบบทดสอบหรือแบบสอบถามดวยวิธีการสรางท่ีถูกตอง
ตามหลักการสรางเครื่องมือการวจิ ัยใหเ รียบรอ ยกอนนํามาสรา งดว ย Google Form

3. ตองสรางแบบทดสอบหรือแบบสอบถามจนถึงข้ันการตรวจสอบความเที่ยงตรงให
เรยี บรอ ยกอ นนาํ มาประยุกตส รา งดว ยระบบเครือขา ยออนไลน

4. ตองสมคั รอีเมล ของ Google ทใี่ ชนามสกลุ เปน .gmail กอนดําเนนิ การเขาใชโปรแกรม

-126-

5. ตองทําการลอกอิน (Login) ดวย Gmail ของผูใชใหเรียบรอยกอนทําการสราง
แบบทดสอบหรอื แบบสอบถาม

แถบเมนู (Menu Bar) ทีใ่ ชใ น Google Form

แถบเมนู (Menu Bar) ท่พี บบน Google Form สามารถแบงออกไดตามลักษณะของการใช
ดงั ตอไปน้ี

1. แถบเมนูจัดการเก่ียวกบั ขอคําถาม มีทัง้ หมด 5 เมนูดงั น้ี

1.1 เพ่ิมคําถาม เปนเมนูใชเมื่อตองการสรางขอคําถาม
หรอื เพมิ่ เตมิ ขอ คําถามของแบบทดสอบหรอื แบบสอบถามตอนน้ัน

1.2 เพื่มช่ือและรายละเอียด เปนเมนูสําหรับ
เพ่ิมเติมรายละเอียดเกี่ยวกับเคร่ืองมือการวิจัย เชน รายละเอียดของแบบทดสอบ รายละเอียดของ
แบบสอบถาม หรอื ขอ มูลที่ตอ งการช้ีแจงใหท ราบ เปน ตน

1.3 เพิ่มรูปภาพ เปนเมนูสําหรับการแทรกรูปภาพเขาไป
ในขอสอบหรือขอคําถาม เพื่อใชในการประกอบกับการต้ังคําถาม เชน แทรกภาพ แลวถามคําถาม
เก่ียวกับภาพน้นั ใหผ ูตอบแบบทดสอบหรอื แบบสอบถามไดตอบขอคําถามจากภาพนัน้

1.4 เพิ่มวีดีโอ เปนเมนูเพื่อการแทรกคลิปวีดีโอ ส้ันๆ ให
ผตู อบแบบทดสอบหรอื แบบสอบถามไดดู แลวตอบคาํ ถามเกีย่ วกบั คลิปวีดีโอนั้น

1.5 เพิม่ สวน เปนเมนูเพื่อเพ่ิมสวนใหม หรือ ตอนใหมของ
แบบทดสอบเชน ตอนที่ 1 Reading Test ตอนที่ 2 Vocabulary หรือของแบบสอบถาม เชน ตอน
ที่ 1 เปนขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 เปนการสอบถามจิตสาธารณะของนักศึกษา
ตอนท่ี 3 เปน ขอ เสนอแนะ เปนตน

2. แถบเมนูการสรางตัวเลอื ก สามารถจาํ แนกตามลักษณะของตวั เลอื ก ไดด งั น้ี
2.1 ประเภทเตมิ คําหรอื แบบปลายเปด มีทัง้ หมด 2 เมนดู งั นี้

1.1) คําตอบสั้นๆ เปนเมนูเพื่อสรางตัวเลือกแบบเติม
คาํ ตอบสัน้ ๆ เพ่อื ใหขอมลู ตามขอคาํ ถามนนั้ แบบสัน้ ๆ เพียง 1บรรทัด

-127-

1.2) ยอหนา เปนเมนูเพ่ือสรางตัวเลือกแบบเติมคําตอบ โดย
ผตู อบสามารถอธบิ ายรายละเอียดใหข อ มูล ในลกั ษณะเขยี นเปน ยอหนา

2.2 ประเภทเลือกตอบ มีท้งั หมด 3 เมนูดังน้ี

2.1) หลายตัวเลือก เปนเมนูเพ่ือสรางตัวเลือกแบบ
เลือกตอบที่มีตัวเลือกหลายตัวเลือก ผูสรางสามารถพิมพตัวเลือก เพิ่มตัวเลือกตามท่ีตองการ ผูตอบ
เลอื กตอบไดเพียง 1 ตัวเลือกตามที่กําหนดให รูปรางของเมนูจะเปนรูปวงกลมเพ่ือกดเลือกจะเปนจุด
ตรงกลาง  ในชองตัวเลอื ก

2.2) ชองทําเครอ่ื งหมาย เปนเมนูเพื่อสรางตัวเลือกแบบ
เลือกตอบท่ีมี ลักษณะแบบเดียวกับเมนูแบบหลายตัวเลือก แตรูปรางของเมนูจะเปนส่ีเหลี่ยมเพื่อทํา
เครอื่ งหมายถกู  ในชอ งตัวเลือก

2.3) เลื่อนลง เปนเมนูเพ่ือสรางตัวเลือกแบบเลือกตอบท่ีมี
หลายตัวเลือกลักษณะแบบเดียวกับเมนูแบบหลายตัวเลือก แตรูปรางของเมนูจะเปนการกดตรง
แลว เลอื กจากตัวเลอื กทเ่ี ลอื่ นลงมา

2.3 ประเภทอัปโหลดไฟล มรี ายละเอยี ดดงั นี้

อัปโหลดไฟล เปนเมนูการสรางตัวเลือกจากไฟลท่ีมีอยูกอน
แลว สามารถอัปโหลดไฟล แลวนํามาใชในการสรางแบบสอบถามได ซึ่งเปนไฟลขอมูลตัวเลือกจาก
แบบทดสอบหรือตวั เลอื กท่ีสรางไวในไฟล

2.4 ประเภทมาตรประมาณคาหรอื จบั คู มีท้งั หมด 3 เมนูดงั น้ี

4.1) สเกลเชิงเสน เปนเมนูเพื่อสรางตัวเลือกแบบมาตร
ประมาณคา (Rating Scales) ผูสรางสามารถเลือกจํานวนระดับของมาตรประมาณคา และยัง
สามารถใหคําอธบิ ายในลกั ษณะคาํ ตรงกันขา ม (Semantic Differential Scales)

4.2) ตารางตัวเลือกหลายขอ เปนเมนูเพื่อสราง
ตัวเลือกแบบจับคูใหเลือกเปน 2 คอลัมน สามารถเพ่ิมไดท้ังตัวเลือกและคูคําตอบ ลักษณะของ
ตวั เลอื กจะเปน วงกลม

-128-

4.3) ตารางกริดชองทําเครื่องหมาย เปนเมนู
เพ่อื สรางตัวเลือกแบบจับคูใหเลือกเปน 2 คอลัมน ลักษณะคลายกับเมนูแบบตารางตัวเลือกหลายขอ
แตกตา งตรงที่ลักษณะของตวั เลือกจะเปนส่เี หล่ยี ม

2.5 ประเภทวนั ท่ี และเวลา มี 2 เมนูดงั น้ี

5.1) วันที่ เปนเมนูเพื่อสรางตัวเลือกโดยใหผูตอบเลือกวันที่
เดือน ป โดยเลอื กจากการเลือ่ นในเมนูวนั ที่ เดอื น และป

5.2) เวลา เปนเมนูเพื่อสรางตัวเลือกโดยใหผูตอบพิมพเวลา โดย
แสดงเปนช่วั โมง และนาที

3. แถบเมนูชว ยเหลืออืน่ ๆ มที ัง้ หมด 4 เมนูดังน้ี

3.1 ปรับแตงธีม เปนเมนูในการปรับสี และรูปภาพพื้นหลังของ
แบบฟอรมเพอ่ื ความสวยงาม

3.2 แสดงตัวอยาง เปนเมนูเพื่อแสดงตัวอยางของแบบฟอรม เปน
การตรวจสอบแบบสอบถามวา เปน ไปตามวตั ถปุ ระสงคของผูสรา งหรอื ไม

3.3 ต้ังคา เปนเมนูเพ่ือต้ังคาในการตอบแบบฟอรมกอนสงที่จะสง
แบบฟอรม โดยมีตัวเลือกเชน การรวบรวมที่อยูอีเมล การจํากัดใหตอบกลับไดเพียง 1 ครั้ง การแกไข
หลังจากสง การดูแผนภูมสิ รุปและขอความตอบกลบั และอนื่ ๆ

3.4 แกลเลอร่ีเทมเพลต เปนเมนูท่ีแสดงแกลเลอร่ี
เทมเพลตของแบบฟอรมตางๆ ใหผูใชไดเลือกสราง จัดรูปแบบของเทมเพลตของแบบฟอรมเปน
หมวดหมไู ดแก ใชล า สุด สว นตัว งาน และการศกึ ษา

3.5 สง เปนเมนูเพื่อสงแบบฟอรม ซึ่งสามารถกําหนดใหสงทาง
อเี มล คดั ลอก URL เพ่อื สง ทาง Line Facebook หรือ โปรแกรมประยกุ ตบนระบบออนไลนอน่ื

สรุปไดวา แถบเมนู (Menu Bar) ท่ีพบบน Google Form จะชวยในการสรางแบบทดสอบ
และแบบสอบถาม หรือแบบฟอรมอ่ืนไดงายข้ึน มีทั้งเมนูที่ใชในการสรางเพิ่มขอคําถาม การแทรก
รปู ภาพ การสรางตอนที่ เมนูท่ีใชในการสรางคําตอบที่มีทั้งแบบเติมคํา แบบเลือกตอบ และแบบจับคู

-129-

และยังมเี มนูทใี่ ชในการสง การเลือกเทมเพลต การตัง้ คา ชวยเหลอื ในการสรา งแบบฟอรมใหดูสมบูรณ
ยงิ่ ขนึ้

การสรางแบบทดสอบ

การประยุกตสรางแบบทดสอบดวย Google Form เพ่ือเก็บรวบรวมขอมูลการวิจัยท่ีมุง
ศึกษาพฤติกรรมพุทธิพิสัย หรือศึกษาพฤติกรรมทักษะพิสัยนั้น เริ่มตนจากการพิจารณากรอบแนวคิด
การวิจัยที่เกี่ยวของกับแนวคิด ทฤษฏี มาตรฐานการเรียนรู ตัวช้ีวัด การกําหนดตัวแปรการวิจัยและ
คุณลักษณะที่ตองการศึกษา ศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวของกับตัวแปรการวิจัยท่ีจะสราง
แบบทดสอบ แลว จึงนิยามศพั ทเฉพาะ กําหนดจุดประสงคเชิงพฤติกรรม ทําตารางวิเคราะหหลักสูตร
เลือกลักษณะของรูปแบบขอคําถามและคําตอบใหเหมาะสมกับตัวแปร เขียนขอคําถามและตัวเลือก
นําไปหาคุณภาพดานความเที่ยงตรงกอน แลวจึงนํามาแบบทดสอบนั้นมาสรางดวย Google Form
การสรางแบบทดสอบออนไลนดวย Google Form จะแบงสวนของการนําเสนอออกเปน 2 สวน
ไดแก ขั้นตอนการสรางแบบทดสอบดวย Google Form และการสงและการตรวจสอบผลการตอบ
กลบั ของแบบทดสอบ

1. ขนั้ ตอนการสรางแบบทดสอบดวย Google Form มรี ายละเอยี ดดงั ตอ ไปนี้
1.1 เขา Google Form โดยพิมพ Google Form ท่ีเมนู Search ใน Chrome แลว

เลือกเขาในหนาแรกจะพบหนาตา ง ตวั อยางภาพ ดงั น้ี

ภาพที่ 7.1 ตัวอยางหนา ตางแรกของ Google Form เพ่ือสรา งแบบทดสอบ
(ท่มี า : https://www.google.com/intl/th_th/forms/about/)

1.2 เลือกเทมเพลต “แบบทดสอบเปลา” กดเลือก เพ่ือเลือก
เทมเพลต “แบบทดสอบเปลา ” ในเทมเพลตกลุมการศกึ ษา ตัวอยา งภาพ ดังน้ี

-130-

ภาพที่ 7.2 ตวั อยา งเทมเพลทกลมุ การศกึ ษา “แบบทดสอบเปลา ”
(ทมี่ า : https://docs.google.com/forms/u/0/?ftv=1)

1.3 ต้ังชื่อแบบทดสอบ กําหนดชื่อและรายละเอียดของแบบทดสอบท่ีจะสราง
ตวั อยา งดัง ตวั อยา งภาพดงั น้ี

ภาพท่ี 7.3 ตวั อยางการตั้งชอ่ื ของแบบทดสอบ
(ท่ีมา : https://docs.google.com/forms/d/..../edit)
1.4 กําหนดรายละเอียดของผูตอบแบบทดสอบ เลือกสรางขอคําถามเกี่ยวกับขอมูล
เบ้ืองตนของผูตอบทดสอบไดแก ชื่อ นามสกุล เลขที่ หมูเรียน หรืออื่นๆ โดยเลือกประเภทการ
เลือกตอบแบบ “ตอบแบบสนั้ ” และ “หลายตวั เลอื ก” ตัวอยาง ภาพท่ี 7.4

ภาพที่ 7.4 ตวั อยางการกําหนดรายละเอยี ดของผตู อบแบบทดสอบ
(ทีม่ า : https://docs.google.com/forms/d/..../edit)

-131-

1.4 สรา งขอคําถาม ตามรายละเอยี ดของแบบสอบถามที่ไดร างไว ดังตวั อยางตอไปนี้

1) เพ่ิมตอนท่ี ดวยการกดเลือก เพ่ือแบงตอนสรางขอคําถาม
แบบเลอื กตอบ กรอกรายละเอยี ดของคาํ สัง่ ภาพตัวอยา งดงั น้ี

ภาพที่ 7.5 ตัวอยางการเพม่ิ ตอนที่ และกรอกรายละเอยี ด
(ที่มา : https://docs.google.com/forms/d/..../edit)

2) เพ่ิมขอคําถาม ดวยการกดเลือก แลวสรางขอคําถามที่ 1

พรอมท้ังเฉลยคําตอบ การเลือกตอบสามารถเลือกตอบไดหลายแบบ ในที่นี้ใชการเลือกตอบแบบ

“หลายตัวเลอื ก” ภาพตวั อยา งดงั นี้

ภาพท่ี 7.6 ตวั อยา งการเพ่มิ ขอ คําถามแบบเลอื กตอบ “หลายตวั เลอื ก”
(ทมี่ า : https://docs.google.com/forms/d/..../edit)

การแสดงตวั อยา งคําถามทใี่ ชการเลือกตอบแบบ “หลายตัวเลือก”สามารถกด
เพ่อื แสดงตวั อยาง แสดงไดดงั นี้

-132-

ภาพท่ี 7.7 ตวั อยา งการแสดงตัวอยา งขอคําถามแบบเลือกตอบ “หลายตัวเลอื ก”
(ที่มา : https://docs.google.com/forms/d/..../ formResponse)
3) เพ่มิ ขอ คาํ ถามใหม ดว ยวิธีการเดิม แลวสรางขอคําถามขอตอไป พรอมท้ังเฉลย

คําตอบ ในท่ีน้ีเปนตัวอยางขอคําถามเลือกตอบแบบ “ชองทําเครื่องหมาย” และแสดงตัวอยาง ภาพ
ตวั อยางดังน้ี

ภาพที่ 7.8 ตวั อยางการเพมิ่ ขอคําถามและแสดงตัวอยา งแบบเลอื กตอบ “ชอ งทําเคร่ืองหมาย”
(ทีม่ า : https://docs.google.com/forms/d/..../edit)

4) การเพิ่มขอคําถามประเภท “เล่ือนลง” สามารถทําไดดวยวิธีการเดียวกัน แลว
สรา งขอ คาํ ถาม พรอ มทัง้ เฉลยคาํ ตอบ และการแสดงตัวอยาง ตัวอยา งดังภาพ ท่ี 7.9

ภาพท่ี 7.9 ตัวอยา งการเพ่ิมขอคําถามและแสดงตัวอยางแบบเลอื กตอบ “เลื่อนลง”
(ที่มา : https://docs.google.com/forms/d/..../edit)

-133-

1.5 แสดงตัวอยางเพื่อตรวจสอบผลการสรางดวยการกดเลือก เปนการ

แสดงรปู แบบของแบบทดสอบเสมือนจริงตามที่ผตู อบแบบทดสอบจะสามารถมองเห็นได โดยแสดงให

เหน็ ภาพเสมอื นจรงิ แบงตามตอนหรือสวนที่ไดกาํ หนดไว ตัวอยา งดงั ภาพท่ี 7.10

ภาพท่ี 7.10 ตวั อยางการแสดงตัวอยางของแบบทดสอบเสมอื นจรงิ
(ทม่ี า : https://docs.google.com/forms/d/...../formResponse)

2. การสงและการตรวจสอบผลการตอบกลบั แบบทดสอบ
2.1 การสง แบบทดสอบ ในการสงแบบทดสอบนนั้ มีขน้ั ตอนในการสงดังนี้

1) กดเลือกเมนู
2) เลือกสงตามทผ่ี ูวจิ ยั สามารถเลอื กชอ งทางสงผานในระบบออนไลนทาง Google ,
Facebook, Line, Twitter หรือจะเปนสง Link กส็ ามารถทาํ ได ดังภาพท่ี 7.11

-134-

ภาพที่ 7.11 ตัวอยางการเลือกสง แบบทดสอบดว ย Google Form
(ท่มี า : https://docs.google.com/forms/d/...../ edit#responses )
2.2 การตรวจสอบผลการทาํ แบบทดสอบ มขี ั้นตอนในการตรวจสอบดังนี้

1) เลือกเมนกู ารตอบกลบั จะแสดงผลการตอบกลบั ซ่งึ จะแสดงเปนกราฟแทง กราฟ
วงกลม กราฟเชงิ เสน หรืออนื่ ๆ ผสู รา งสามารถเลือกได ตัวอยางการแสดงผล การตอบกลับ ภาพ
ตวั อยา งดังนี้

ภาพที่ 7.12 ตวั อยา งการตรวจสอบการตอบกลบั การสง แบบทดสอบ
(ท่มี า : https://docs.google.com/forms/d/...../ edit#responses)
2) การแสดงผลการทดสอบ สามารถเลือกใหแ สดงคะแนนสอบของผูทดสอบแตละคน
หรอื รายละเอียดการตอบรายขอ ภาพตวั อยางดงั นี้

-135-

ภาพท่ี 7.13 ตวั อยางการแสดงผลการทดสอบ ตามคาํ ถาม และรายการ
(ทมี่ า : https://docs.google.com/forms/d/...../ edit#responses)

3) ดาวนโหลดขอมลู การตอบกลับ เลือกเมนู ดาวนโหลดขอ มูลการตอบ

กลับ เปนไฟล Excel สามารถนําขอ มูลท่ีไดมาสรุปหรือรายงานผลการทดสอบได ภาพตวั อยา งดงั นี้

ภาพที่ 7.14 ตัวอยางขอมลู การตอบกลับของแบบทดสอบจากการดาวนโหลด
(ท่มี า : https://docs.google.com/forms/d/...../ edit#responses)

สรุปไดวา การสรา งแบบทดสอบดว ย Google Form เร่ิมจากการนํารางแบบทดสอบที่สราง
ตามกระบวนการมาสรางบน Google Form ดวยการกําหนดช่ือเร่ืองของแบบทดสอบ การกําหนด
คําถามเพื่อเก็บขอมูลผูตอบแบบทดสอบ การสรางขอคําถามและคําตอบแบบตางๆ การสงในระบบ

-136-
ออนไลน ผูสรางแบบทดสอบดวย Google Form สามารถเลือกวิธีการ รูปแบบใหเหมาะสมและ
สอดคลองกับงานวิจยั ใหมากทส่ี ุด

การสรา งแบบสอบถาม

ในการสรางแบบสอบถามดวย Google Form เพ่ือเก็บรวบรวมขอมูมเพื่อการวิจัยน้ัน
ผูวิจัยจะตองพิจารณากรอบแนวคิดการวิจัย มาตรฐานการเรียนรู ตัวช้ีวัด กําหนดตัวแปรการวิจัย
และคุณลักษณะท่ีตองการศึกษา ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับตัวแปรที่จะสราง
แบบสอบถาม แลวจึงนิยามศัพทเฉพาะและเลือกรูปแบบและลักษณะของแบบวัดท่ีจะใชในการเก็บ
รวบรวมขอมูลใหเ หมาะสมกับตัวแปรแตล ะตัวแปร เขียนแบบสอบถาม ขอคําถาม และตัวเลือก นําไป
หาคุณภาพ แลวจึงนํามาสรางดวย Google Form การสรางแบบสอบถามออนไลนดวย Google
Form ในท่ีน้ีจะแบงสวนของการนําเสนอออกเปน 2 สวน ไดแก ขั้นตอนการสรางแบบสอบถาม
ดว ย Google Form และการสง และการตรวจสอบผลการตอบกลับแบบสอบถาม

1. ข้ันตอนการสรา งแบบสอบถามดวย Google Form มรี ายละเอียดดงั ตอ ไปน้ี
1.1 เขา Google Form โดยพิมพ Google Form ที่เมนู Search ใน Chrome หรือ

Explorer แลวเลือกเขาในหนา แรกจะพบหนาตา ง ภาพตวั อยางดังนี้

ภาพท่ี 7.15 ตัวอยา งหนาตา งแรกของ Google Form เพื่อทาํ แบบสอบถาม
(ทม่ี า : https://www.google.com/intl/th_th/forms/about/)

1.2 กดเลือก “ไปที่ Google ฟอรม” เพื่อสรางแบบสอบถามจะพบหนาตางเมนูเพื่อ
เลือกแบบฟอรมตา งๆ เรม่ิ ตนดว ยการกดเลือก “เริม่ แบบฟอรม ใหม” ภาพตัวอยา งดังนี้

-137-

ภาพที่ 7.16 ตวั อยา งการเรม่ิ แบบฟอรม ใหม
(ทม่ี า : https://docs.google.com/forms/u/0/)

1.3 ต้ังชื่อแบบฟอรม และรายละเอียดของแบบสอบถามที่จะสราง ดังนั้นผูสราง
จะตองกรอกชื่อแบบสอบถามและรายละเอยี ดตามตวั อยาง ภาพตัวอยา งดงั นี้



ภาพท่ี 7.17 ตัวอยางการกรอกชื่อฟอรม และรายละเอียด
(ท่มี า : https://docs.google.com/forms/u/0/)

1.4 สรา งขอ คําถาม ตามรายละเอยี ดของแบบสอบถามท่ีไดรา งไว ดงั ตัวอยา งตอ ไปนี้

1) การเพิ่มตอนที่ 1 ดวยการกดเลือก พิมพตอนที่ 1 ขอมูล

ท่ัวไปของผูตอบแบบสอบถามและสรางขอคําถามขอท่ี 1 เก่ียวกับ “เพศ” เลือกวิธีการตอบไดหลาย

รูปแบบ ในท่ีนใ้ี ชการเลอื กตอบแบบ “ชองทาํ เครื่องหมาย” ภาพตวั อยางดงั น้ี


Click to View FlipBook Version