The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อการวิจัย รองศาสตราจารย์ ดร.วิเชียร อินทรสสมพันธ์ คณบดีคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อการวิจัย

เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อการวิจัย รองศาสตราจารย์ ดร.วิเชียร อินทรสสมพันธ์ คณบดีคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

-38-

พฤติกรรมตาง ๆ ที่สามารถวัดออกมาเปนปริมาณได แบบสอบถามใชเก็บรวบรวมขอมูลท่ีเปน
คณุ ลกั ษณะท่ตี อ งการศึกษาหรือพฤติกรรมทางการศึกษาดานจติ พสิ ัย ดา นทกั ษะพิสัย

ประเภทของแบบสอบถาม

แบบสอบถามเปนเครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลซ่ึงประกอบดวยรายการคําถามท่ี
สรางอยางถูกตองตามจุดมุงหมายของการวิจัย เพื่อรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นหรือขอมูล

คุณลกั ษณะทต่ี อ งการศึกษา โดยสงใหผ ูตอบไดต อบหรอื รายงานตนเองดวยความสมัครใจ แบบสอบถาม

ทน่ี ิยมใชโดยท่วั ไปแบงเปน 2 ประเภท ดงั น้ี
1. แบบสอบถามปลายปด (Closed form) เปนแบบสอบถามท่ีมีลักษณะคําถามที่ผูวิจัย

เลือกกําหนดแนวคําตอบไวลวงหนาแลววา ปญหาน้ันๆ ควรตอบไดในแนวใดบาง ซ่ึงก็มีวิธีการเขียนได

หลายแบบ เชน
1.1 แบบเลือกคําตอบท่ีเห็นวาถูกตองเพียงคําตอบเดียว โดยกําหนดคําตอบไวหลายๆ

แนว ตัวอยางเชน

1) ทา นรจู ักช่อื ของมหาวิทยาลัยราชภฏั บานสมเดจ็ เจาพระยามาแลวกีป่ 

 ตา่ํ กวา 1 ป  1 – 5 ป  6 – 10 ป

 11 – 15 ป  16 -20 ป  21 ป ขึน้ ไป

1.2 แบบใหตอบรับหรือปฏิเสธ เปนแบบท่ีใหตอบสั้นๆ เพียงคําตอบเดียววา “ใช” หรือ
“ไมใ ช” “มี” หรอื “ไมมี” ตวั อยางเชน

1) ในคณะของทานมีการเชญิ วทิ ยากรในทองถ่ินมาบรรยายหรือไม
 มี  ไมม ี

1.3 แบบเลอื กคําตอบทีถ่ ูกตองตรงตามขอเท็จจริงมากทีส่ ุด เพียงคําตอบเดียว นัน่ ก็คือ
คําตอบนนั้ อาจจะมไี ดหลายอยาง แตจ ะมีคําตอบเดียวท่ถี ูกตองท่ีสดุ ตัวอยางเชน

1) คณะทีท่ านกาํ ลงั ศกึ ษาไดจัดประชมุ นิสิตรว มกบั อาจารยมากนอยเพียงใด

 สัปดาหล ะครง้ั  เดือนละครั้ง

 ภาคเรยี นละครั้ง  ปล ะครั้ง  ไมเคยเลย

1.4 แบบจัดลําดับความสําคัญ ผูตอบจะตองจัดลําดับความสําคัญของทุกตัวเลือก
ไมใชต อบเพียงแคตวั เลอื กเดยี ว ตวั อยางเชน

-39-

1) ถาใหทานเลือกเรยี นในมหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเดจ็ เจาพระยา

ทา นตองการเลอื กเรียนในคณะใดมากท่ีสุด (เรียงลาํ ดับที่ 1 ไปจนถงึ ลําดับท่ี 4)

 คณะครุศาสตร  คณะมนุษยศาสตรแ ละสงั คมศาสตร

 คณะวิทยาศาสตร  คณะวิทยาการจัดการ

1.5 แบบเลือกจากคําตอบหลายคําตอบ ไดแก คําถามที่กําหนดคําตอบไวหลายๆ ขอ

ซ่ึงผูตอบมีสิทธิจะเลือกคําตอบเดียวหรือหลายคําตอบแลวแตวาจะใกลเคียงกับคําตอบของตนมากท่ีสุด

ตัวอยางเชน

1) ในศกึ ษารายละเอียดเก่ยี วกับการเลอื กสาขาวิชาทเ่ี รียน ทา นไดรบั ความรู

จากสือ่ ทางใดบาง (เลือกไดมากกวา 1 ขอ)

 เอกสารประชาสมั พนั ธ  ฝายแนะแนว

 สื่อโทรทัศน  ส่ือวิทยุ

 อนิ เตอรเนท  หนงั สอื พิมพรายวนั วารสาร

 ปา ยประกาศ  อ่นื ๆ (โปรดระบ)ุ ...................

2. แบบสอบถามปลายเปด (Open-form) เปนแบบสอบถามท่ีเปดโอกาสใหผูตอบไดแสดง
ความคิดเห็นและใชค ําพดู ของตนเองไดอยางอิสระ ซึ่งคาดวานาจะไดคําตอบท่ีแนนอน สมบูรณ ตรงกับ
สภาพความเปนจริงไดมากกวาคําตอบท่ีจํากัดใหตอบ ขอดีประการหน่ึงของแบบสอบถามแบบนี้ก็คือ
เปนแบบที่ชวยแกไขขอบกพรองของคําถามแบบแรก ลักษณะของคําถามจึงต้ังไวกวางๆ และมีที่วาง
(Space) สําหรับใหผูตอบไดตอบอยางเพียงพอ สวนขอจํากัดของแบบสอบถามนี้คือ มักจะถามไดไม
คอ ยมากนกั การรวบรวมความคิดเหน็ และการแปลผลมักจะมคี วามยุงยาก ตัวอยา งเชน

1) ทา นคดิ วา คณะครุศาสตรค วรจัดกจิ กรรมพฒั นาคุณลักษณะบัณฑิตดานใดบาง
(ความเปนครู จติ สาธารณะ บุคลกิ ภาพ ผนู าํ นักศึกษา และอื่นๆ )
……….….......................................................................................................................

2) ทานคดิ วา การจดั กจิ กรรม ควรจดั ขึ้นทใี่ ด ..................................................................
....................................................................................................................................

โครงสรา งของแบบสอบถาม

โดยทั่วไปแบบสอบถามจะแบงเน้ือหาออกเปนตอนๆ ตามจุดมุงหมายของการวิจัยที่ตองการ

ทราบ ซ่ึงอยา งนอ ยจะประกอบดวย 2 สวน คือ

-40-

สวนแรก เปนช่ือของแบบสอบถามและคําชี้แจงเกี่ยวกับความสําคัญ หรือความจําเปนที่
จะตองไดขอมูลจากผูตอบ หรือเหตุผลที่ผูตอบถูกเลือกเปนกลุมตัวอยาง และอาจมีขอความท่ีเปน
แรงจงู ใจ แมจะเปน ส่ิงเล็กนอย เชน ลายเซ็นของอธิบดีผูเปนผูบังคับบัญชาของผูตอบหรือผูมีช่ือเสียงท่ีเปน
ท่ียอมรับนับถือในหมูพวกของผูที่ถูกเลือกเปนตัวอยาง และหากมีการระบุวา “ผูตอบไมตองลงช่ือ”
หรืออาจระบุวา “จะเก็บขอมูลของเขาไวเปนความลับ” หรือ “จะไมมีผลกระทบตอตัวบุคคลแตอยาง
ใด” อาจชว ยใหการตอบเปน ไปตามความจริงมากขน้ึ

สว นท่ีสอง เปน การเกบ็ รวบรวมขอ มลู เพอ่ื การวจิ ยั โดยแบง เปน ตอนๆ ดังนี้
ตอนท่ี 1 ขอมูลสวนตัว ไดแก เพศ อายุ การศึกษา อาชีพ รายได ท่ีอยูอาศัย ฯลฯ

ขอ มูลสวนตัวนจ้ี ะมีมากหรือนอ ยขนึ้ อยูกับความตองการและตวั แปรท่ตี องการศึกษา
ตอนท่ี 2 และตอนตอๆ ไป จะถามเน้ือหาสาระท่ีตองการ โดยแบงออกเปนตอนๆ

ตามวัตถุประสงคของการวจิ ัย
ตอนสุดทาย เปนขอเสนอแนะและขอคิดเห็นอ่ืนๆ เพื่อเปดโอกาสใหผูตอบ

แบบสอบถามไดแสดงความคิดเห็นเพม่ิ เตมิ ได

ข้นั ตอนการสรา งแบบสอบถาม

การสรา งแบบสอบถามจะตองมีความละเอียดถี่ถวนเปนพิเศษ เพราะไมมีผูท่ีคอยใหคําแนะนํา
ชี้แจงขอสงสัยเม่ือผูตอบไมเขาใจในขอคําถามดังเชนการสัมภาษณ ดังนั้นถอยคําภาษาที่ใชใน
แบบสอบถามจะตอ งชดั เจน แนวทางในการสรางแบบสอบถามเพอื่ การวจิ ัยมีดงั นี้

1. กําหนดตัวแปรการวิจัย โดยพิจารณากรอบแนวคิดการวิจัย แนวคิด ทฤษฏีที่เกี่ยวของ
รวมท้ังพิจารณาวัตถุประสงคของการวิจัยวามีจุดมุงหมายของการวิจัยวาตองการศึกษาตัวแปรหรือมี
คุณลักษณะอะไรที่ตองการศึกษา มีตัวแปรอิสระและตัวแปรไดแกอะไร ตัวแปรทั้งสองน้ีถือวาเปน
ตัวแปรหลักทีผ่ ูวิจยั ตองการศึกษา ตัวอยา งเชน

1) วัตถุประสงคก ารวจิ ัย : เพือ่ ศกึ ษาปญหาการบริหารงานวิชาการของโรงเรียน
ตัวแปรการวจิ ัย ไดแ ก ปญ หาการบริหารงานวิชาการ

2) วัตถปุ ระสงคก ารวิจยั : เพือ่ ศึกษาจติ สาธารณะของนสิ ติ
ตวั แปรการวิจัย ไดแก จติ สาธารณะ

3) วัตถุประสงคการวิจัย : เพื่อศึกษาเจตคติตอการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปที่ 5 ท่ีเรยี นรดู ว ยกจิ กรรม 3WHR รว มกับการใชผงั มโนทศั น

ตัวแปรอสิ ระ ไดแ ก กิจกรรม 3WHR รวมกบั การใชผงั มโนทัศน
ตวั แปรตาม ไดแก เจตคติตอ การเรียนภาษาอังกฤษ

-41-

นอกจากนีก้ ม็ ตี วั แปรท่ีเปนภูมิหลังของผูตอบ เชน เพศ อายุ อาชีพ ระดับการศึกษา และอื่นๆ
ตัวแปรเหลานี้จะชวยใหทราบถึงคุณลักษณะของกลุมผูตอบตาง ๆ กันไป ตัวแปรประเภทน้ีจะถาม
เฉพาะทจี่ าํ เปนและเกยี่ วของเทา นัน้

2. ศึกษารายละเอียดของตัวแปรการวิจัย ดวยการศึกษาและทบทวนแนวคิด ทฤษฏี
และงานวิจัยที่เก่ียวของ เปนการศึกษาเกี่ยวกับตัวแปรที่ตองการจะสรางเคร่ืองมือ โดยพิจารณา
ดงั ตอไปน้ี

2.1ความหมายของตัวแปร ลักษณะของพฤติกรรมที่แสดงออกของตัวแปร
หรือองคป ระกอบของตัวแปร

2.2 เครอื่ งมอื ทีใ่ ชใ นงานวจิ ัยท่ผี า นมาวา ใชเครอื่ งมือชนิดใด มีความเหมาะสมหรอื ไม
2.3 วธิ กี ารสรางและตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมอื ผูวจิ ัยควรพิจารณาวา มีข้ันตอนการสราง
เครื่องมือถูกตองหรือไม และมีการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือหรือไม ผลการตรวจสอบคุณภาพเปน
อยางไร
2.4 ผลที่ไดจากเครื่องมือ หมายถึง ขอมูลที่ไดจากเคร่ืองมือหลังจากการสรางเสร็จแลว
เมอ่ื นาํ ไปใชก ับกลมุ ตัวอยางหรอื ประชากรเปาหมาย มีผลการใชเปนอยา งไร
ผูวิจัยควรทําความเขาใจกับตัวแปรหลักที่กําหนดไวใหชัดเจน โดยศึกษาหาความรูเก่ียวกับตัว
แปรนน้ั จากเอกสารตาํ ราแนวคิดทฤษฏีและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ เพ่ือใหทราบวา ตัวแปรหลัก ท่ีตองการ
ศึกษานนั้ หมายถึงอะไร มีลักษณะอยางไร ประกอบดวยตัวแปรยอยหรือคุณลักษณะอะไรบางหรือไม
ตัวแปรยอย ๆ เหลานี้ไดมาจากการศกึ ษาแนวคิดทฤษฏีและงานวจิ ัยทเี กยี่ วขอ ง ตวั อยา งเชน

1) ตัวแปรหลัก ไดแ ก ความตอ งการการนิเทศภายใน
ตวั แปรยอย ไดแก ดา นหลกั สูตรและการนาํ หลกั สตู รไปใช
ดา นกจิ กรรมการเรยี นการสอน
ดา นส่ือการเรยี นการสอน
ดา นการวัดและประเมินผล

2) ตัวแปรหลัก ไดแก การบริหารโรงเรยี น
ตวั แปรยอย ไดแก การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงบประมาณ
การบริหารงานบคุ ลากร
การบริหารงานทว่ั ไป

-42-

3. นิยามศัพทเฉพาะตัวแปร เปนการนิยามเชิงปฏิบัติการ เปนการใหความหมายหรือ
รายละเอียดเกี่ยวกับตัวแปรการวิจัยทั้งตัวแปรหลักและตัวแปรยอยท่ีระบุในข้ันท่ี 2 เพื่อใหทราบวาตัว
แปรน้นั ประกอบดวยอะไรหรือ มตี วั บง ช้ีอะไรบา ง ตัวอยางเชน

1) ความตอ งการการนเิ ทศภายใน หมายถึง ความตองการของครูท่ีเกี่ยวของกับการ
ใหความรู การเสริมสรางความแข็งแกรงทางวิชาการในโรงเรียนดานการเรียนการสอน
ซึง่ ประกอบดวยการนิเทศภายในทัง้ 4 ดาน ไดแ ก

1.1) ดานหลักสูตรและการนําหลักสูตรไปใช หมายถึง การใหความรูแกครู
เกี่ยวกับการศึกษาหลักสูตร แผนการจัดการเรียนรู คูมือครู และเอกสารเกี่ยวกับหลักสูตร
แนะนาํ ใหครพู ฒั นาหลักสตู รใหส อดคลอ งกบั ความตอ งการของทอ งถิ่น วิเคราะหหลักสูตรเพื่อ
นาํ ไปใชใ นการจดั ทําแผนการจดั การเรียนรู การจัดหองเรียนท่เี อ้ือตอการจัดการเรียนการสอน
ใหตรงตามหลักสูตร จัดใหมีการประชุมสัมมนาเกี่ยวกับการใชหลักสูตร จัดใหมีการนิเทศ
ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการใชหลกั สตู รภายในโรงเรียน

4. กําหนดพฤติกรรมบงช้ีของตัวแปร จากนิยามเชิงปฏิบัติการท่ีไดกําหนดไวในขอ 3
จะแสดงใหเ หน็ ถึงพฤติกรรมยอยๆ ที่แสดงใหเห็นลักษณะของตัวแปรนั้น ผูวิจัยจึงควรสรางตารางแสดง

รายละเอยี ดของพฤติกรรมบง ชีใ้ หช ดั เจนเสียกอ น ตวั อยางเชน

ตารางท่ี 3.1 ตัวอยางการกําหนดพฤติกรรมบงชี้ของตวั แปรการวจิ ัย

ตัวแปรการวจิ ัย พฤติกรรมบงชี้

ความตองการการนิเทศภายใน 1. การใหความรูแกครูเก่ียวกับการศึกษาหลักสูตร แผนการ

ดานหลกั สตู รและการใช จดั การเรยี นรู คูมอื ครู และเอกสารเกีย่ วกบั หลักสตู ร

หลกั สตู ร 2. แนะนําใหครูพัฒนาหลักสูตรใหสอดคลองกับความตองการ

ของทองถิ่น

3. การใหความรูเกี่ยวกับการวิเคราะหหลักสูตรเพื่อนําไปใชใน

การจัดทาํ แผนการจดั การเรยี นรู

4. สงเสริมใหจัดหองเรียนที่เอ้ือตอการจัดการเรียนการสอนให

ตรงตามหลกั สูตร

5. จดั ใหม ีการประชมุ สัมมนาเกีย่ วกับการใชห ลักสูตร

-43-

5. พิจารณาชนดิ ของขอ คําถามและสรางแบบสอบถาม โดยพิจารณาวาขอมูลที่ตองการนั้น
ควรมีลักษณะอยางไรจึงจะตอบคําถามตามวัตถุประสงคของการวิจัยได เชน ควรใชคําถามแบบ
ปลายเปดหรือปลายปดชนิดใด ถาเปนมาตรประมาณคา ขอมูลท่ีไดจะบอกถึงระดับมากนอย
โดยพิจารณาถึงขอมูลท่ตี องการเก็บรวบรวม จาํ แนกตามโครงสรางของแบบสอบถาม ในที่นี้ จะกลาวถึง
การสรา งแบบสอบถามตามลกั ษณะของตัวแปรดังน้ี

5.1 การสรางแบบสอบถามตัวแปรเด่ียว ในที่น้ี หมายถึง ตัวแปรท่ีสามารถถามดวย
คําถามงายๆ สวนใหญมีคําตอบเพียงคําตอบเดียว ไมตองการแสดงผลควบคูกับตัวแปรอ่ืนๆ
ประกอบดวยลักษณะทางกายภาพของกลุมเปาหมาย เชน เพศ น้ําหนัก สวนสูง และภูมิหลังของ
กลุมเปาหมาย เชน ระดับการศึกษา รายได เกรดเฉล่ีย หลักสูตร สาขาวิชา ตําแหนงหนาที่ เปนตน
ตัวอยา งเชน

ตัวแปร “เพศ”
คําชแ้ี จง โปรดตอบเขยี นตอบตามความเปน จรงิ
(ขอ 1) เพศ ....................

หรือ
คําชแ้ี จง โปรดทําเครอ่ื งหมาย  ในชอ ง  ตามความเปนจรงิ
(ขอ 1) เพศ  ชาย  หญงิ

ตวั แปร “ระดับการศึกษา”

คาํ ช้ีแจง โปรดตอบเขยี นตอบตามความเปน จริง

(ขอ 2) ระดับการศกึ ษา ............................

หรอื

คําชแี้ จง โปรดทําเคร่ืองหมาย  ในชอง  ตามความเปน จริง

(ขอ 2) ระดับการศึกษา  ประถมศกึ ษา  มธั ยมศกึ ษา

 ปริญญาตรี  สูงกวาปรญิ ญาตรี

5.2 การสรา งแบบสอบถามตวั แปรผสม ในท่นี ้ีเปน การนําตวั แปรที่รวมตัวแปรเด่ียวตางๆ
เขาเปนอีกตัวแปรหน่ึงท่ีมีความหมายรวมของตัวแปรทั้งหมด เชน การใชเวลาในการเรียนรูวิชา

วิทยาศาสตรข องนักเรยี น จะเก่ยี วขอ งกับการฟงบรรยาย การทาํ โครงงาน การฝกปฏิบัติ การเรียนพิเศษ

การทบทวน เปน ตน ซงึ่ สามารถสรางแบบสอบถามไดด งั ตวั อยา งตอไปนี้

-44-

1) การใชเ วลาในการเรียนรูวิชาวิทยาศาสตรของนกั เรยี น
เวลาที่ใชใ นการฟงการบรรยายในช้ันเรยี น ............................. ชม./สปั ดาห
เวลาทีใ่ ชใ นการทําโครงงาน .................................................. ชม./สัปดาห
เวลาท่ีใชใ นการฝก ภาคปฏบิ ตั ิ ............................................... ชม./สปั ดาห
เวลาทใี่ ชใ นการเรยี นพิเศษ ................................................... ชม./สัปดาห
เวลาที่ใชใ นการทบทวน ........................................................ ชม./สปั ดาห

5.3 การสรางแบบสอบถามตัวแปรท่ีเปนคุณลักษณะตามพฤติกรรมบงช้ี ในท่ีนี้
หมายถึง ตัวแปรหลัก ตัวแปรยอย และพฤติกรรมบงชี้ ตามท่ีไดกลาวไวในขอ 4 เนื่องจากคุณลักษณะ

ตามพฤติกรรมบงช้ีเหลานี้มีลักษณะที่หลากหลาย ดังนั้นควรพิจารณาคําตอบของแบบสอบถามที่
ตองการเก็บรวบรวมขอมูลซึ่งระบุเปนความถ่ี ระดับของความคิดเห็น ระดับการประเมินตนเอง ดังน้ัน

จงึ สามารถสรางแบบสอบถามไดห ลายลกั ษณะดังตวั อยางตอไปน้ี

5.3.1 พฤตกิ รรมทเ่ี กดิ เพียงครั้งเดยี ว ตัวอยา งเชน

00) การมสี วนรวมในการวางแผน  ทํา  ไมท าํ

5.3.2 พฤตกิ รรมเกิดขน้ึ อยา งสม่ําเสมอ ตวั อยา งเชน

00) การใชเวลาวา งในการเรยี นรผู านระบบออนไลน

 ทําทุกวนั  4-5 วัน/สัปดาห

 2-3 วนั /สปั ดาห  1 วนั /สัปดาห

 ไมเ คยทําเลย

5.3.3 ในกรณีที่ใชมาตรประมาณคา (Rating Scale) ระดับคําตอบข้ึนอยูกับระดับ
ความถีใ่ นการเกิดพฤตกิ รรม และความสามารถในการตดั สนิ ใจของกลุมเปา หมาย ดังตวั อยางตอไปน้ี

5.3.3.1 ความถีใ่ นการเกิดพฤติกรรม ตัวอยางเชน

00) นสิ ิตไดต รวจสขุ ภาพประจําป  ไมเ คยตรวจเลย
 เปนประจาํ ทกุ ป  เปน บางป  ไมเ คยเลย

01) นิสติ ไปทําบญุ
 เปนประจําทุกวัน  เปน บางครัง้

-45-

5.3.3.2 ความสามารถในการตัดสนิ ใจของกลมุ เปาหมาย ตวั อยา งเชน

00) การตดิ ตามขา วสารเกยี่ วกบั อัตราการวางงานของนิสิตครู

 เปน ประจาํ  เปนบางครั้ง  ไมเคยเลย

01) การตดิ ตามขาวสารเก่ียวกับหนวยงานทีร่ ับสมคั รงานของนิสติ ครู

 เปน ประจําทกุ วัน  เกือบทุกวนั  เปน บางวนั

 นานๆ ครัง้  ไมเ คยทาํ เลย

5.3.4 ในกรณีที่สรางแบบสอบถามท่ีเปนมาตรประมาณคา ที่ใหคําตอบเหมือนกัน
หลายๆ ขอ สามารถทําในรปู แบบตาราง ตัวอยางการวิจัยเรื่อง “ความตองการนิเทศภายในของครู” ได
นิยามศัพทเฉพาะเกี่ยวกับ “ความตองการดานนิเทศภายในดานหลักสูตรและการใชหลักสูตร” วา
หมายถึง การใหความรูแกครูเกี่ยวกับการศึกษาหลักสูตร แผนการจัดการเรียนรู คูมือครู และเอกสาร
หลักสูตร พัฒนาหลักสูตรใหสอดคลองกับความตองการของทองถิ่น วิเคราะหหลักสูตรเพ่ือนําไปใชใน
การจัดทําแผนการจัดการเรียนรู การจัดหองเรียนท่ีเอื้อตอการจัดการเรียนการสอน จัดการ
ประชุมสมั มนาเกี่ยวกบั การใชหลกั สูตร การนเิ ทศติดตามและประเมนิ ผลการใชหลักสูตร สามารถนํามา
สรา งเปน แบบสอบถามไดต ามตัวอยา งบางประเดน็ เชน

ตารางที่ 3.2 ตวั อยา งแบบสอบถามท่ีเปน มาตรประมาณคา

ระดบั ความตองการ

ความตองการการนเิ ทศภายใน มาก มาก ปาน นอย นอย
ทีส่ ดุ กลาง ท่ีสดุ
ดานหลักสูตรและการใชหลกั สตู ร
1. จัดใหมีการใหความรูแกครูเก่ียวกับการศึกษาหลักสูตร

แผนการจดั การเรียนรู คมู ือครู และเอกสารหลกั สตู ร
2. แนะนําใหครูพัฒนาหลักสูตรใหสอดคลองกับความ

ตอ งการของทองถ่ิน
3. จัดใหมีการใหความรูเกี่ยวกับการวิเคราะหหลักสูตรเพ่ือ

นาํ ไปใชในการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู
4. สงเสริมใหจัดหองเรียนที่เอื้อตอการจัดการเรียนการสอน

ใหต รงตามหลกั สูตร
5. จดั ใหมีการประชมุ สมั มนาเก่ียวกบั การใชหลักสตู ร
6. จัดใหม ีการนิเทศตดิ ตามและประเมินผลการใชหลักสตู ร

ภายในโรงเรียน

-46-

6. หาคุณภาพของแบบสอบถาม
6.1 ความเที่ยงตรงของของแบบสอบถาม โดยผูวิจัยทําการตรวจสอบดวยตนเองในดาน

ความชัดเจน การใชภาษา เนื้อหาครบ ความครอบคลุม การเรียงลําดับ แลวจึงทําการตรวจสอบความ
เท่ยี งตรงเชิงเนือ้ หา (Content Validity) โดยเชิญผูเช่ียวชาญอยางนอยจํานวน 3 ทาน เพื่อพิจารณาวา
ขอคําถามตางๆ สอดคลองกับนิยามศัพทเฉพาะและครอบคลุมประเด็นท่ีตองการวัด แลวนําคะแนนท่ี
ผูเชีย่ วชาญใหม าหาคา เฉลีย่ เปน รายขอ

6.2 หาอาํ นาจจําแนกและคาความเชื่อม่ัน เปนการพิจารณาหาคุณภาพตามระดับของ
มาตรวัด (Scale) ท่ีใชวัด หากมีมาตรวัดในแบบสอบถาม ตองหาคุณภาพดานอํานาจจําแนกและความ
เช่อื มัน่ โดยนําแบบสอบถามไปทดลองใชก ับกลุมที่ไมใชประชากรเปาหมายหรือกลุมตัวอยาง เพ่ือนํามาหา
คาอํานาจจําแนก แบงเปนกลุมสูงและกลุมตํ่า ถาเปนแบบสอบถามท่ัวไปไมจําเปนตองหาคาอํานาจจําแนก
สว นใหญท าํ เฉพาะแบบวัดทางจติ วิทยา และหาคาความเชื่อมั่นซึ่งเปนการตรวจสอบคุณภาพรวมเฉพาะที่
เปนมาตรวัดคุณลักษณะเดียวกันวา เชื่อมั่นไดมากนอยเพียงใด วัดหรือเก็บขอมูลกี่คร้ังก็ยังไดขอมูล
เชนเดมิ

สําหรับรายละเอียดของการหาคุณภาพจะไดกลาวโดยละเอียดในบทท่ี 6 เรื่อง การวิเคราะห
คณุ ภาพเคร่อื งมอื ตอ ไป

7. ปรับปรุงแกไขกอนนําไปใชจริง หลังจากที่ไดทําการหาคุณภาพของแบบสอบถามแลว จะ
พบวา ขอ คําถามบางขอ ไมช ดั เจน ไมเหมาะสม การถามคาํ ถามไมค ลอบคลุม คําถามยากไมเหมาะสมกับ
ผตู อบแบบสอบถาม ดงั นนั้ ผวู จิ ัยจะตอ งพจิ ารณาปรบั ปรงุ แกไขแบบสอบถามอีกคร้ังหนึ่งใหมีคุณภาพอยู
ในระดับทนี่ า พอใจกอนนําไปใชจรงิ

ตัวอยา งการสรา งแบบสอบถาม
เพ่อื ใหเกดิ ความรู ความเขาใจ ในการสรา งแบบสอบถามสําหรับเก็บรวมรวมขอมูลเพ่ือการวิจัย
มากยิ่งขึ้น จึงขอแสดงตัวอยางการสรางแบบสอบถามที่เปนการเก็บขอมูลคุณลักษณะรวมของบุคคล
ดงั น้ี
ขัน้ ท่ี 1 กาํ หนดตัวแปรการวจิ ยั งานวจิ ัยคร้งั น้ี ผวู ิจัยไดกาํ หนดวตั ถปุ ระสงคการวิจัยไววา

วัตถุประสงคก ารวิจัย : เพ่อื ศึกษาคุณลักษณะผูนํานิสิตที่พึงประสงคของมหาวิทยาลัย
ราชภัฏบานสมเด็จเจา พระยา

ดังน้ัน “ตัวแปรหลัก” ของการวจิ ัยครง้ั น้ี ไดแ ก คณุ ลักษณะผนู ํานสิ ิต
ขั้นที่ 2 ศึกษารายละเอียดของตัวแปรการวิจัย จากการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของพบวา
คณุ ลักษณะผูนํานิสิต มี “ตัวแปรยอ ย” ทีเ่ กย่ี วของดังนี้

-47-

1. มจี ิตใจมุงมน่ั พัฒนา
2. มีความซ่ือสัตย
3. มีจิตใจเปนกุศล
4. ยอมรบั ความรูใหมๆ
5. มคี วามเชอ่ื มัน่ ในตนเอง
6. มเี จตคติแบบประชาธิปไตย
7. มีความสามารถในการจูงใจ
8. มคี วามรักและสามคั คใี นหมูคณะ
ขั้นท่ี 3 นิยามศัพทเฉพาะตัวแปร ผูวิจัยไดนิยามศัพทเฉพาะตามความรูที่ไดจากการศึกษา
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ดังน้ี
“คุณลักษณะผูนํานิสิต หมายถึง พฤติกรรมตางๆ ของนิสิตท่ีสมาชิกในคณะหรือมหาวิทยาลัย
ใหก ารยอมรับ ยอมปฏบิ ัติตาม หรือใหความรวมมือในการปฏิบัติงานใหสําเร็จตามวัตถุประสงคของกลุม
ในการจัดกิจกรรมนิสิต ซ่ึงผูนํานิสิตนี้จะเปนท้ังผูนําอยางเปนทางการและไมเปนทางการ และเปน
พฤตกิ รรมของผนู าํ นสิ ิตท่ีเอื้อตอการจัดกจิ กรรมนิสติ ประกอบดว ย
1. มีจิตใจมุงมั่นพัฒนา หมายถึง คุณลักษณะของนิสิตในการทํางานหรือทํากิจกรรมดวย
ความกระตอื รือรน มีความมานะพยายาม ทาํ งานอยางมีเปา หมาย
2. มคี วามซื่อสัตย หมายถึง คุณลักษณะของนิสิตในการทํางานหรือทํากิจกรรมดวยความตั้งใจ
ทาํ งานในหนาทอ่ี ยา งตรงไปตรงมา ไมทจุ รติ
3. มีจิตใจเปนกุศล หมายถึง คุณลักษณะของนิสิตในการทํางานหรือทํากิจกรรมในลักษณะ
ที่ชอบชวยเหลอื เอื้อเฟอ ตอผอู ่ืน โดยไมห วังผลตอบแทน สนใจหว งใยสวนรวมอยเู สมอ
4. ยอมรับความรูใหมๆ หมายถึง คุณลักษณะของนิสิตในการทํางานหรือทํากิจกรรมดวย
การศกึ ษาหาความรู ทักษะ ความคดิ วิธกี าร เคร่ืองมือ และผลติ ภัณฑใ หมๆ เสมอ
5. มีความเช่ือมั่นในตนเอง หมายถึง คุณลักษณะของนิสิตในการทํางานหรือทํากิจกรรมดวย
ความกลาท่ีจะกระทําส่ิงตางๆ ใหสําเร็จตามท่ีตั้งใจมีความคิดอิสระ พ่ึงตนเอง ไมเช่ือ หรือกระทําตาม
ผูอ ่นื โดยปราศจากเหตผุ ลอนั ควร
6. มีเจตคติแบบประชาธิปไตย หมายถึง คุณลักษณะของนิสิตในการทํางานหรือทํากิจกรรม
ดวยจิตใจที่เคารพ ยอมรบั ความเทา เทียมกนั ของเพอ่ื นนิสติ ดว ยกนั
7. มีความสามารถในการจูงใจ หมายถึง คุณลักษณะของนิสิตในการทํางานหรือทํากิจกรรม
ดวยความสามารถในการใชศิลปะในการจูงใจใหผูอ่ืนรวมมือปฏิบัติงาน เพ่ือวัตถุประสงคใด
วัตถปุ ระสงคห น่ึง

-48-

8. มีความรักและสามัคคีในหมูคณะ หมายถงึ คณุ ลกั ษณะของนสิ ิตในการทํางานหรอื ทํากิจกรรม
ดวยความสามารถในการสรางความรกั ความสามัคคีสรา งความสมานฉันทใ หแกหมคู ณะ

ขั้นที่ 4 กาํ หนดพฤติกรรมบง ชข้ี องตวั แปร จากนิยามศพั ทเฉพาะท่ีผวู ิจัยไดศึกษาและกําหนด
ไวเ ปนนยิ ามเชิงปฏิบตั กิ าร สามารถสรา งตารางแสดงพฤติกรรมบงช้ีไดด งั นี้

ตารางท่ี 3.3 ตัวอยางพฤตกิ รรมบง ชี้กบั ตัวแปรการวจิ ยั คุณลักษณะผนู าํ นสิ ติ

คณุ ลกั ษณะผูน ํานิสติ พฤตกิ รรมบงชี้

1. มจี ติ ใจมุงมั่นพัฒนา 1.1 มคี วามกระตือรือรน

1.2 มคี วามมานะพยายาม

1.3 ทํางานอยางมีเปา หมาย

2. มคี วามซ่ือสัตย 2.1 ต้งั ใจทํางานในหนา ทีอ่ ยา งตรงไปตรงมา ไมท จุ รติ

3. มจี ติ ใจเปนกุศล 3.1 ชว ยเหลอื เอ้ือเฟอตอผูอ น่ื โดยไมหวงั ผลตอบแทน

3.2 สนใจ หวงใยสว นรวมอยูเสมอ

4. ยอมรับความรูใหมๆ 4.1 ศึกษาหาความรู ทักษะ ใหมๆ

4.2 มีความคิดสรา งสรรค

5. มคี วามเช่ือมนั่ ในตนเอง 5.1 กลาทจ่ี ะตดั สนิ ใจอยางมีเหตผุ ล

6. มเี จตคตแิ บบประชาธปิ ไตย 6.1 เคารพ ยอมรับ ความเทาเทยี มกนั ของเพื่อนนิสิตดว ยกัน

7. มคี วามสามารถในการจูงใจ 7.1 ความสามารถในการจงู ใจใหผอู ่นื รว มมอื ปฏิบตั งิ าน

8. มคี วามรกั และสามัคคใี นหมูคณะ 8.1 ความสามารถในการสรางความรกั ความสามคั คี สรา ง

ความสมานฉนั ทใหแกหมูคณะ

ขนั้ ท่ี 5 พิจารณาชนิดของขอคําถามและสรางแบบสอบถาม เจตนาของแบบสอบถามน้ี
ตองการทราบคณุ ลกั ษณะผูนํานิสติ วา มีลกั ษณะตา งๆ ทก่ี ําหนดในนิยามปฏิบัติการหรือไม และตองการ
ทราบวามีลักษณะใดบาง ลักษณะคําตอบของขอคําถามจึงเปนแบบมาตรประมาณคาประเภท 4 ระดับ
เพือ่ ใหผ ูต อบสามารถเลือกตดั สนิ ใจไดอ ยา งละเอียดยง่ิ ข้ึน

การสรางแบบสอบถามสามารถสรางขอคําถามของตัวแปร “คุณลักษณะผูนํานิสิต” โดยนํา
พฤติกรรมบงช้มี าเช่ือมโยงกบั กจิ กรรมนิสิตทเี่ กดิ ข้นึ ในมหาวิทยาลยั จากน้นั สรางขอคําถามใหสอดคลอง
กบั พฤติกรรมบงชที้ กุ ขอ คําถาม

สิ่งท่ีควรพิจารณาในขั้นตอนนี้ คือ จากการทบทวนเอกสารที่เก่ียวของพบวา “ตําแหนงทาง
สังคม” มีผลตอคุณลักษณะผูนํานิสิต ดังนั้นผูวิจัยจึงนํา “ตําแหนงทางสังคม” มาเปนตัวแปรอิสระจึง

-49-

เปนตวั แปรแทรกซอนในเร่ืองน้ี ดังนน้ั การออกแบบการวดั ตวั แปรจึงมีการควบคุมตัวแปรแทรกซอนดวย
การนําตัวแปร ตําแหนงทางสังคม เขามาศึกษารวมดวย การสรางขอคําถามจึงตองเพิ่มคําถามเกี่ยวกับ
ตําแหนงทางสังคมจํานวน 3 ขอ เพ่ือใชในการตรวจสอบขอมูลที่ได โดยคําถามเหลาน้ีควรอยูกอน
คําถามคณุ ลกั ษณะผนู าํ นิสิต เพือ่ ใหเกดิ ความตอ เน่ืองในการตอบคาํ ถาม ดงั นี้

1. เมอ่ื มกี ารทํางานรว มกันในระดับคณะ ใครท่ีเปนหัวหนา ในการทํางาน

 ประธานชมรม  ประธานนิสิตของสาขา  นายกสโมสรนสิ ิต

 นายกองคการบริหารนสิ ิต  นายกสภานิสติ  สมาชกิ สโมสรนิสิต

2. เมอ่ื มกี ารทํางานรวมกนั ในระดบั มหาวทิ ยาลัย ใครท่ีเปนหวั หนา ในการทํางาน

 ประธานชมรม  ประธานนิสิตของสาขา  นายกสโมสรนสิ ติ

 นายกองคการบริหารนิสิต  นายกสภานสิ ิต  สมาชกิ สโมสรนิสิต

3. เม่ือนสิ ิตมีปญหาในเรอ่ื งกจิ กรรม บุคคลแรกในมหาวทิ ยาลัยท่ที า นไปขอความชว ยเหลอื คอื

 ประธานชมรม  ประธานนิสิตของสาขา  นายกสโมสรนสิ ติ

 นายกองคการบริหารนสิ ิต  นายกสภานิสติ  สมาชกิ สโมสรนิสิต

กําหนดคําถามเกี่ยวกับคุณลักษณะผูนํานิสิต โดยสรางเปนแบบมาตรประมาณคา โดยคําถาม
แตล ะขอ จะแสดง ( ) ระบุคณุ ลกั ษณะตามนิยามศัพทแ ตละขอไว ดังตารางตอไปน้ี

-50-

ตารางท่ี 3.4 ตวั อยางแบบสอบถามคณุ ลักษณะผูนํานสิ ิต ระดบั การปฏิบัติ

คุณลักษณะผูนํานิสิต ทําทุก เปน นานๆ ไมเคย
ครั้ง บางคร้งั คร้ัง เลย
ผูนาํ นิสิตของทานมคี ุณลักษณะตอ ไปน้ีอยา งไร
1. รบี จัดการใหมีการแกไขทนั ทเี มือ่ กจิ กรรมมปี ญหา (1.1)
2. พยายามตดิ ตอ ขอความชว ยเหลือจากกลมุ หรือหนวยงานอื่นๆ เมื่อ

กจิ กรรมมปี ญหา (1.2)
3. กําหนดเปา หมายของการจดั กิจกรรมไวอยางชัดเจน (1.3)
4. มีการจดั กจิ กรรมอยา งตรงไปตรงมา สามารถตรวจสอบได (2.1)
5. เขา มาชว ยเหลอื ทุกคร้งั ทม่ี ีความเดอื ดรอนเกีย่ วกบั กิจกรรม (3.1)
6. เขา มาเยี่ยมเยียน พบปะ สอบถามเก่ยี วกับการจัดกิจกรรมอยบู อยๆ

(3.2)
7. นําความรใู หมๆ เก่ยี วกับการจัดกจิ กรรมมาแจงอยูเสมอ (4.1)
8. นาํ อปุ กรณ เครอ่ื งมือใหมๆ มาพัฒนาในการจดั กจิ กรรมนิสิตเสมอ

(4.2)
9. ตดั สินใจทํางานอยา งไมลงั เลใจ (5.1)
10. จัดสรรงบประมาณการจัดกจิ กรรมใหแกสมาชกิ เทาเทียมกัน(6.1)
11. มศี ลิ ปะในการพูดเชิญชวนใหนิสติ เขามารว มกจิ กรรมอยางตอเนอื่ ง

(7.1)
12. ประสบความสําเรจ็ ในการจัดกิจกรรมที่สรา งสามัคคีใหหมูนิสติ (8.1)

หลกั เกณฑการเขียนขอคําถาม
การเขียนขอคําถาม ควรคาํ นึงถึงส่งิ ตา ง ๆ ตอไปนี้
1. หลกี เลยี่ งคําถามนํา ซึ่งมลี ักษณะชักชวนใหต อบความตอ งการของผูวจิ ยั

2. ไมควรใหศพั ทเ ทคนคิ ศพั ททางวชิ าการและคําท่ใี ชก นั เฉพาะกลุม
3. หลีกเลี่ยงประโยคคําถาม ปฏิเสธซอนปฏิเสธ ถาจําเปนตองใช ใหขีดเสนใตคําวา “ไม”
ใหช ัดเจน เชน “ทา นไมเห็นดวยกบั การทไ่ี มใหน กั ศึกษาใชเครื่องไฟฟา ทุกชนิดในหองพักของหอพกั ”

-51-

4. ไมค วรใชค าํ ยอ ตา งๆ เชน อ.ค.ป. ลส.ชบ. กศ.บพ.
5. หลีกเลีย่ งคาํ ถามซอ นในประโยคเดยี วกนั เชน “ทานเห็นดวยหรือไมท่ีวาอาชีพครูเปนอาชีพ
ทม่ี ีคุณคา และมีโอกาสที่จะกา วหนา”
6. ไมควรใชคําศัพทและคําวิเศษณ คํานามธรรม เพราะคําเหลานี้สื่อความหมาย
ไดหลายความหมาย เชน บอย มาก นอ ย หลาย ฯลฯ
7. หลกี เลย่ี งคาํ ถามท่ีเกีย่ วพนั กบั คานยิ มหรอื บรรทดั ฐานของสงั คมเพราะจะทาํ ใหไดร ับ
คําตอบทไี่ มเปน จรงิ เชน “ทานไปทํางานสาย บอยหรอื ไม”
8. หลีกเลย่ี งคําถามทจ่ี ะทาํ ใหผ ตู อบตองเกดิ ความลําบากใจหรืออึดอดั ใจท่ีจะตอบ

ขอดี ขอ จาํ กดั ของแบบสอบถาม

ขอดี
ขอดขี องแบบสอบถามไดแก

1. ประหยัดคาใชจาย เวลา และแรงงานในการเก็บรวบรวมขอมูลเมื่อเทียบกับการเก็บขอมูล
ดว ยวธิ ีอ่นื เพราะสามารถแจกแบบสอบถามใหผ ูตอบพรอมกนั เปนจํานวนมาก ๆ ได

2. ไดขอ มูลทเ่ี ปนมาตรฐานเดยี วกัน งายแกก ารวเิ คราะหข อมลู
3. ผตู อบมคี วามสบายใจในการตอบและกลาตอบขอคําถามท่ีไมอยากจะตอบเพราะไมตอง
เปดเผยชื่อตวั เองและไมต อ งเผชิญหนากับผถู าม
4. ผูตอบมีเวลาคิดและพจิ ารณาคําถามแตล ะขอมากกวา การสัมภาษณ จะใชเวลาตอบมาก
หรือนอยกไ็ ดตามแตตอ งการ สะดวกแกผ ูตอบ
5. ผูตอบสามารถจะตอบเวลาไหนก็ได แลวแตจะสะดวก และไดคําถามที่มีรูปแบบ
เหมือนกันทุกคน
ขอ จาํ กดั
ขอจาํ กดั ของแบบสอบถามไดแก
1. ไดรบั แบบสอบถามคนื มานอย หรอื บางฉบับตอบไมสมบูรณ
2. ผูตอบอาจไมใชกลุมตัวอยางท่ีกําหนด ในกรณีท่ีสงแบบสอบถามไปยังผูตอบ ผูที่ไดรับ
อาจจะใชค นอ่ืนตอบแทน โดยท่ผี ูว ิจยั ไมสามารถทราบได
3. ถาผูตอบไมเขาใจคําถามหรือเขาใจเปนอยางอื่นทําใหไดคําตอบไมถูกตองหรืออาจจะไม
ตอบเลยก็ได
4. ใชไดเฉพาะกลมุ คอื ผูท่อี านหนังสอื ไดเ ทา น้ัน ผตู อบอาจจะลอกคาํ ตอบกัน

-52-

บทสรุป

แบบสอบถามเปนเครือ่ งมือที่ใชเก็บรวบรวมขอมูลเพ่ือการวิจัยท่ีเกี่ยวกับการศึกษาคุณลักษณะ
หรือพฤตกิ รรมทางการศึกษาดานจิตพสิ ยั หรือทกั ษะพสิ ัย มีลักษณะเปนชุดของ ขอคําถามแบบปลายปด
และแบบปลายเปด มีโครงสรางแบงออกเปนสวนๆ ซึ่งสวนแรกเปนขอมูลทั่วไป สวนตอๆ ไปเปน
การศึกษาตัวแปรของการวิจัย และสว นสุดทา ยเปน ขอเสนอแนะ

การสรางแบบสอบถามเร่ิมจากกําหนดตัวแปรการวิจัย ศึกษารายละเอียดของตัวแปร นิยาม
ศัพทเฉพาะตัวแปร กําหนดพฤติกรรมบงชี้ของตัวแปร พิจารณาชนิดของขอคําถามและ สราง
แบบสอบถาม แลวจงึ นาํ ไปหาคณุ ภาพดานความเท่ียงตรง คาอํานาจจําแนก และความเชื่อมั่น ปรับปรุง
แกไ ขกอนนําไปใชจริง ซง่ึ การใชแบบสอบถามนั้นมีทง้ั ขอดี และขอ จํากดั ทีจ่ ะตอ งระมัดระวังในเรื่องของ
การสรา งและการนาํ ไปใชเสมอ

การสรางแบบสอบถามจะตองศึกษาวิธีการ รูปแบบ ลักษณะเฉพาะของแบบสอบถาม รวมทั้ง
การหาคุณภาพของแบบสอบถาม เพื่อใหไดเครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อการวิจัยที่มี
คณุ ภาพมากทส่ี ุด

บทที่ 4
แบบมาตรประมาณคา และแบบวดั เจตคติ

การวจิ ัยทม่ี จี ุดมุง หมายการวจิ ยั เพอ่ื ศกึ ษาพฤตกิ รรมดา นจิตพสิ ัยหรือความรูส ึกของจิตใจ น้ัน
ผูวิจัยสามารถใชแบบมาตรประมาณเปนเคร่ืองมือที่ใชเก็บรวบรวมขอมูลไดอีกวิธีการหน่ึงท่ีเก่ียวของ
กับความคิดเห็น ความพึงพอใจ คานิยม คุณธรรม จริยธรรม และอื่นๆ ท่ีสามารถแจกแจงระดับของ
ความรูสึกออกมาได สวนแบบวัดเจตคติเปนลักษณะหนึ่งของมาตรประมาณคา ซึ่งใชวัดเจตคติหรือ
ความรูสกึ ชอบหรือ ไมชอบ ดีหรอื ไมด ี รักหรอื ไมร ัก แบบมาตรประมาณคาและแบบวัดเจตคติเปนการ
สรางสถานการณใหผูตอบแบบวัดไดตอบหรือรายงานตนเองตามความรูสึกของตนเอง ผูวิจัยจึงตอง
ศกึ ษาและทําความเขา ใจถงึ ลักษณะและวิธกี ารสรา งใหล ะเอียด

แบบมาตรประมาณคา

ความหมายของแบบมาตรประมาณคา
แบบมาตรประมาณคามลี กั ษณะท่ีมคี วามหมายดงั ตอไปน้ี
วเิ ชียร เกตุสิงห (2524, น. 88) ไดใ หค วามหมายของ แบบมาตรประมาณคา(Rating Scale)
วา หมายถงึ แบบวดั ท่ีมีขอ คําถามหรอื ขอ ความเกีย่ วกับเรอ่ื งท่ีจะใหผ ตู อบพิจารณาพรอมกับมีคําตอบท่ี
แสดงความเขมของความเห็นเก่ียวกับเร่ืองน้ัน เปนระดับมาก-นอย สูง-ต่ํา สวนใหญใชไดต้ังแต 3
ระดับขนึ้ ไป
สวนวริ ชั วรรณรัตน (2532, น. 15) ไดกลาววา มาตรประมาณคาเปนมาตรวัดที่ใชเราบุคคล
ใหตอบสนองในรูปของความรูสึกหรือทัศนคติท่ีมีตอลักษณะ คุณคา บุคลิกภาพ หรือ ความตองการ
แลวใหน้ําหนักคะแนนแทนความรูสึกหรือเจตคตินั้น โดยมาตรประมาณคาเปนเคร่ืองมือท่ีใชในการ
ประเมินคาของสถานการณหรือคุณลักษณะท่ีไมสามารถวัดออกมาเปนตัวเลขโดยตรงได เม่ือจะวัด
จะตองแปลงแตละคุณลักษณะออกมาเปนระดับตางๆ ตามคุณลักษณะของส่ิงนั้น เชน ดีมาก ดี
ปานกลาง ไมด ี ไมด เี ลย หรือออกมาเปน ระดับตวั เลข โดยเรยี งคา จากดมี ากไปจนถึงไมด เี ลย คือ 5, 4,
3, 2, 1 เปน ตน
บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธ์ิ (2534, น. 113) ไดนิยามความหมายของมาตรประมาณคา
วา เปนเคร่ืองมือวัดส่ิงที่เปนนามธรรมดวยการแปลงเปนปริมาณในเชิงเปรียบเทียบ นิยมใชวัด
พฤติกรรมหรือสิ่งตางๆ ที่ไมสามารถวัดออกมาเปนตัวเลขโดยตรงได เชน ความดี ความซื่อสัตย
คานยิ ม เจตคติ ความเช่ือ ความสะอาด ความเหมาะสม

-54-

สรุปไดวา มาตรประมาณคา เปนเครื่องมือที่ใชวัดเก่ียวกับความรูสึก ความคิดเห็น เจตคติ
ความเชื่อ ความพึงพอใจความคิดเหน็ หรือตวั แปรการวิจยั ที่เกย่ี วของกับพฤติกรรมทางดานจิตใจ โดย
แบบวัดจะกระตุนใหผูตอบไดแสดงความรูสึกออกมาโดยการใหเปนน้ําหนักหรือคะแนนเพ่ือใชแทน
ความรสู ึก ความนึกคิด หรือ จติ ใจท่มี ีตอ ส่งิ นน้ั

ประเภทของแบบมาตรประมาณคา
การจัดแบงประเภทของแบบมาตรประมาณคา สามารถแบงออกเปนหลายลักษณะ ดังที่

โชติกา ภาษีผล (2554, น. 55) และสาขาวิชาการประเมินผลและวิจัยทางการศึกษา (2550, น. 28)

ไดแ บง มาตรประมาณคาออกเปน 5 ประเภท ดังนี้
1. มาตรประมาณคาแบบบรรยาย เปนมาตรวัดในรูปของการบรรยายทางภาษา แตละขั้น

ตองเขียนคําบรรยายไวดวย ปกติจะแบงออกเปน 3-7 ระดับ เม่ือเลือกข้ันใดข้ันหนึ่ง แลวก็ตองทํา

การบันทึกลงในข้ันทเ่ี ลือกนนั้ โดยทาํ เครื่องหมายเอาไว เชน

1) ความสะอาดของหองเรยี น

- สกปรกมาก มีขยะในถงั ขยะ กระดานสกปรก พืน้ ไมก วาด

มหี ยากไย มฝี ุนบนโตะและเกาอ้ี

- พอใช มีขยะเล็กนอย กระดานสะอาด พื้นไมไดกวาด

ไมมีหยากไย ไมมฝี ุนบนโตะและเกาอ้ี

- ปานกลาง : มีขยะเล็กนอ ย กระดานสะอาด พนื้ กวาด

ไมมหี ยากไย ไมมีฝุน บนโตะและเกา อ้ี

- ดี ไมม ีขยะ กระดานสะอาด พื้นกวาด ไมม ีหยากไย

ไมมฝี นุ บนโตะ และเกา อ้ี

- ดีเย่ยี ม หอ งสะอาดตลอดสปั ดาห

มาตรประมาณคาแบบนใ้ี ชจดั อนั ดบั พฤตกิ รรม (Behavior Descriptive) อาจจะสรางไวเพ่ือ
วัดเกี่ยวกับความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย ความคิดสรางสรรค การจินตนาการ หรือการวัดทาง
ดา นจติ ใจอื่นๆ

2. มาตรประมาณคาแบบตัวเลข มาตรแบบนี้ทําข้ึนโดยใชรหัสตัวเลขสําหรับวัดลักษณะ
ตางๆ ของแตละบุคคล รหัสตัวเลขท่ีใชน้ีแทนคําบรรยาย เชน 1 หรือ 0 แทนส่ิงท่ีไมปฏิบัติ
หรือ 2 แทน นานๆ ถึงจะปฏิบัติสักคร้ัง 3 แทน ปฏิบัติเปนครั้งคราว 4 แทนปฏิบัติบอยๆ และ 5
แทนการปฏิบัติเปนประจํา ตัวอยางเชนการจัดอันดับพฤติกรรมจริยธรรมดานความรับผิดชอบของ
นกั เรยี น สามารถทาํ รายการสําหรบั การสังเกตพฤตกิ รรมทง้ั หมดตามแนวท่ีตองการ ดังตวั อยา งตอ ไปนี้

-55-

ตารางท่ี 4.1 ตวั อยางมาตรประมาณคาแบบตวั เลขแบบท่ี 1

ความรับผดิ ชอบ วินัย ชื่อนักเรียน ปวีณา
มานะ สมศักด์ิ มาลัย
1. นาํ อปุ กรณการเรียนมาครบ 5 5
2. ทาํ งานท่ีไดรบั มอบหมายดวยตนเอง 5 134 5
3. ทํางานรว มกบั เพือ่ นตามที่ไดร บั มอบหมาย 4 125 5
4. เขาเรยี นตรงตามเวลา 4 234 5
5. สง งานตรงตามเวลาท่กี ําหนด 4 135 5
224

นอกจากนี้ยังสามารถกําหนดตัวเลขในการถามความคิดเห็นตอสิ่งใดส่ิงหนึ่ง แลว
แปลความหมายตวั หนังสอื ออกมาเปนตวั เลข เขน 5 แทน ชอบมากที่สุด 4 แทน ชอบมาก 3 แทน
ปานกลาง 2 แทนไมช อบ และ 1 แทนไมช อบทส่ี ุด ดงั ตวั อยา งเชน

ตารางที่ 4.2 ตัวอยางมาตรประมาณคา แบบตวั เลขแบบที่ 2

ขอความ 5 ระดับความคิดเหน็ 1
432
1. การฟงเพลงเปน ส่ิงที่โปรดปราน
2. ดนตรีไทยเปนสิ่งท่ีฟงไมเ บื่อ
3. ดนตรีสากลทําใหร ูท ันสงิ่ ใหม
4. ฟงเพลงแลว ทําใหชีวิตสดช่ืน
5. ไมไดฟง เพลงแลวหงดุ หงิด

3. มาตรประมาณคาแบบเสนหรือแบบกราฟ เปนการจัดอันดับคุณภาพเพื่อแสดงถึง
ระดับความมากนอย ความถ่ีของพฤติกรรม ความคิดเห็น ความสามารถ ความรูสึกนึกคิดในแนว

เสน ตรง จะอยูในแนวนอนหรอื ในแนวตัง้ ก็ได แตทนี่ ยิ มคือ ในแนวนอน ตวั อยางเชน

00) ครขู องทานเอาใจใสใ นการสอนเปน อยา งไร เอาใจใสมาก
ไมเอาใจใสเลย

01) โดยทั่วๆ ไป ทา นสนใจในวิชาท่คี รูสอนเพียงใด เอาใจใสม าก
ไมเ อาใจใสเ ลย

-56-

4. มาตรประมาณคาแบบภาพ เปน มาตรประมาณคาท่ใี ชภาพแทนตวั หนังสอื เชน ใชภาพ
ของใบหนา คนท่ีแสดงความรูสึกถึงความชอบ หรือไมชอบ ซ่ึงมาตรวัดแบบนีเ้ หมาะสําหรับผูตอบทเ่ี ปน
เด็ก ตวั อยางเชน

ตารางท่ี 4.3 ตวั อยางมาตรประมาณคา แบบภาพ 

ขอความ
1. กจิ กรรมนันทนาการภาคเชา สนกุ สนาน
2. กจิ กรรมนันทนาการภาคบายสนุกสนาน
3. วิทยากรใหค วามรูไดอยา งดเี ย่ียม
4. กิจกรรมตรงกบั ความตอ งการของนักเรยี น
5. สามารถนําความรูไปใชป ระโยชน

5. มาตรประมาณคาแบบเปรียบเทียบ มาตรประมาณคาแบบนี้เปนการวัดที่ตองอาศัย
เกณฑท ีก่ าํ หนดไว แลว นําส่ิงทจี่ ะวดั มาเปรยี บเทียบกบั เกณฑวาแตกตางไปจากเกณฑมากนอยเพียงใด

เชน การศึกษาความคิดสรางสรรคทางคณิตศาสตร ก็จะตองมีเกณฑความคิดสรางสรรคทาง

คณิตศาสตรอยูแลว เม่ือนําเอาผลงานความคิดสรางสรรคทางคณิตศาสตรของนักเรียนแตละคนมา
เปรียบเทียบกับเกณฑนี้ ถาใครมีความคิดสรางสรรคไดตามเกณฑนี้ก็ไดคะแนนมาก และถาพบวาตํ่า

จากเกณฑน้ีมากก็ไดคะแนนนอย

การสรา งแบบมาตรประมาณคา
ในการสรา งแบบมาตรประมาณคา มีลักษณะเดียวกันกับการสรางแบบสอบถามดังที่ไดกลาว
ไวในบทท่ี 2 อยางไรก็ตามการสรางแบบมาตรประมาณคามีลักษณะท่ีแตกตางจากการสราง
แบบสอบถามอยูบา ง ดงั ที่โชตกิ า ภาษีผล (2554, น. 55) ไดเสนอแนะวธิ ีการสรางแบบมาตรประมาณ
คาไว 7 ข้นั ตอนดงั นี้
1. กําหนดตัวแปรการวิจัยที่เปนคุณลักษณะ ดวยการพิจารณากรอบแนวคิดการวิจัยวามี
แนวคิด ทฤษฏีท่ีเกี่ยวของ คุณลักษณะ มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด หรือจุดประสงคการเรียนรู
อะไรบาง กําหนดตัวแปรการวิจัยท่ีตองการศึกษา เชน ความคิดเห็น ความพึงพอใจ ความสนใจ
คา นิยม คณุ ธรรม จริยธรรม เจตคติทต่ี องการตรวจสอบหรอื วดั
2. ศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวของ ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีสนับสนุน รวมทั้งงานวิจัย
ที่เกยี่ วของตวั แปรทีต่ องการนํามาศกึ ษาใหชดั เจน

-57-

3. นิยามศัพทเฉพาะ เปนการกําหนดรายละเอียดพฤติกรรมหรือรายการท่ีบงชี้ถึง
คุณลักษณะ ความคิดเห็น ความพึงพอใจ ความสนใจ คานิยม คุณธรรม จริยธรรม เจตคติท่ีตองการ
ตรวจสอบหรือวัด โดยนิยามศัพทเฉพาะเชิงปฏิบัติการเพื่อใหตรวจสอบพฤติกรรมหรือคุณลักษณะที่
ตองการวัดได

4. เลือกรูปแบบของมาตรประมาณคา ท่ีตองใชวัด ใหเหมาะสมกับคุณลักษณะ ความคิดเห็น
ความพงึ พอใจ ความสนใจ คา นิยม คุณธรรม จรยิ ธรรม เจตคติ หรอื ตวั แปรทตี่ อ งการวัด

5. เขียนขอความหรือขอคําถามที่เปนพฤติกรรมหรือรายการท่ีบงชี้ถึงคุณลักษณะ
ความคดิ เหน็ ความพึงพอใจ ความสนใจ คานิยม คุณธรรม จริยธรรม เจตคติที่ตองการตรวจสอบ
หรือตอ งการวดั

6. ตรวจสอบเท่ียงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) โดยเชิญผูเชี่ยวชาญอยางนอย
จํานวน 3 ทาน เพื่อพิจารณาวาขอคําถามตางๆ สอดคลองกับนิยามศัพทเฉพาะและครอบคลุม
ประเด็นที่ตอ งการวัด แลว นําคะแนนทีผ่ ูเช่ยี วชาญใหมาหาคา เฉล่ยี เปน รายขอ

7. นําไปทดลองใชกับกลุมตัวอยางเพื่อหาคุณภาพของเครื่องมือ เปนการหาคาความเชื่อม่ัน
และคา อํานาจจาํ แนก ดังจะไดกลา วตอ ไปในบทท่ี 6 เรอื่ งการวิเคราะหคุณภาพเครอ่ื งมอื

8. ปรับปรุงแกไขแบบสอบถามโดยการพิจารณาจากความเที่ยงตรง ความเชื่อม่ัน
คาอํานาจจําแนก รวมท้ังปรับปรุงรูปแบบของแบบมาตรประมาณคาใหเหมาะสมกับการนําไปใชเปน
เครื่องมือเกบ็ รวบรวมขอมูลเพื่อการวิจยั

แบบวดั เจตคติ

แบบวัดเจตคติเปน เคร่อื งมือทใ่ี ชเ ก็บรวบรวมขอมูลเพ่ือการวิจัย แบบวัดเจตคติวัดพฤติกรรม
ทางการศึกษาดานจิตพิสัย และ ซึ่งมีลักษณะเปนมาตรประมาณคา มีลักษณะ รูปแบบ และวิธีการ
สรางท่ีแตกตางกนั ตามแนวคิดของแตล ะคน การสรางแบบวดั เจตคติจําเปนท่ีจะตองศึกษาวิธีการสราง
ใหเขา ใจโดยละเอยี ด จงึ จะทาํ ใหไ ดเครอ่ื งมือท่ีใชเ ก็บรวบรวมขอ มลู ทถี่ ูกตองและเหมาะสม

ความหมายของเจตคติ
เจตคติ ตรงกับภาษาอังกฤษวา Attitude หมายถึง ความโนมเอียง ความเหมาะสม มีผูใช
คําอน่ื ในความหมายเดยี วกนั เชน ทศั นคติ หรอื เจตนคติ ซึ่งมีนักการศึกษาและนักจิตวิทยา ไดนิยาม
หรือคําจาํ กดั ความ พอสรปุ ไดดังน้ี
ดวงเดือน พันธุมนาวิน (2524, น.3) ไดนิยามคําวา เจตคติ หมายถึง ความรูสึกท่ีแสดงออก
อยางมั่นคงตอบุคคล หรือสถานการณใดๆ ที่อาจเปนไปในทางท่ีดี (Positive) ขัดแยง (Negative)
หรือเปนกลาง (Neutral) ก็ได ซึ่งเปนผลของการรับรูเก่ียวกับลักษณะที่ดีหรือเลวของบุคคล
หรือสถานการณนนั้

-58-

อัลพอรท (Allport, 1935, p. 810) ไดนิยามวา เจตคติ หมายถึง สภาพความพรอมของ
สมองและประสาท อันไดจากประสบการณและการตอบสนองท้ังทางตรง และโดยอิทธิพลของแตละ
บุคคลทีม่ ีตอ ส่งิ ตางๆ และสถานการณท ัง้ หลายทเ่ี ก่ียวโยงกัน

สวนนิวโคม (Newcomb, 1943, p. 28) กลาววา เจตคติ หมายถึง ความรูสึกเอนเอียงของ
จติ ใจท่ีมตี อ ประสบการณที่คนเราไดรับ อาจมากหรือนอยก็ได เจตคติแสดงออกไดทางพฤติกรรมซึ่ง
แบง ออกไดเ ปน 2 ลกั ษณะคอื แสดงออกในลักษณะพึงพอใจ เห็นดวยหรือชอบ ถาคนมีลักษณะตอส่ิง
เรา อยางไดอยางหนึ่ง ทําใหเกิดความเบื่อหนาย ชักชา อยากหนีใหหางจากสิ่งน้ัน ลักษณะน้ีเรียกวา
เจตคตเิ ชิงนเิ สธ หรือถาจะแบง ใหล ะเอยี ดก็นาจะมีเจตคตอิ ีกแบบหน่ึง คือรูสึกเฉยๆ ไมถึงกับชอบหรือ
เกลียดชงั เรียกวา เจตคติแบบกลาง

จากความหมายของเจตคติดังกลาวสามารถสรุปความหมายของเจตคติไดวาเจตคติเปน
พฤติกรรมหรือความรูสึกทางดานจิตใจของบุคคลท่ีมีตอส่ิงเราหรือสิ่งใดสิ่งหน่ึงในทางสังคม รวมทั้ง
เปนความรูสึกท่ีเกิดจากการเรียนรูเก่ียวกับสิ่งเราหรือเกี่ยวกับประสบการณในเร่ืองใดเรื่องหน่ึงแลว
แสดงออกมาเปน เชิงบวกหรอื เชงิ ลบตอส่ิงนนั้

การสรา งแบบวัดเจตคติ
แบบวดั เจตคติ (Attitude Test) เปน แบบมาตรประมาณคาลักษณะหน่ึงท่ีใชวัดเจตคติ เปน
เคร่ืองมือที่ใชวัดเจตคติหรือความเชื่อของแตละบุคคล มีวิธีการสรางตามแนวคิดท่ีแตกตางกันไป
โดยมคี วามเชื่อเกี่ยวกับเจตคติ (Attitude) วา เปนสภาพการแสดงออกของจิตใจในการตอบสนองตอ
สงิ่ หนึ่งส่งิ ใด เชน ความรสู ึกชอบ ไมชอบ ความรูสึกเชื่อในสิ่งตาง ๆ เปนตน ซ่ึงเจตคติน้ันเปนลักษณะ
นามธรรม เปน การแสดงออกท่ีคอนขางซับซอน ยากแกการวัดโดยตรง แตสามารถท่ีจะวัดโดยออมได
โดยวัดความคิดเหน็ ของบุคคลเหลานั้นแทน และใชความคิดเห็นน้ันเปนเคร่ืองช้ีในการวัดเจตคติ และ
การใชความคิดเห็นเปนตัวอยางการบงชี้ใหเห็นถึงเจตคติของแตละบุคคลน้ันอาจจะทําใหเกิดความ
คลาดเคลอื่ นข้นึ ถา บุคคลเหลา นน้ั แสดงความคดิ เห็นไมต รงกับความรูส ึกทีแ่ ทจรงิ ออกมา
การสรางแบบวัดเจตคติ ไดมีผูเสนอแนะวิธีการสรางแบบวัดเจตคติไวหลายวิธีดวยกัน ใน
ท่ีน้ีจะขอกลาวถึง 3 วิธีท่ีนิยมกันมากไดแก แบบวัดเจตคติของลิเคอรท (Likert’s Scale) แบบวัด
เจตคติโดยใชความหมายทางภาษาของออสกูด (Osgood’s Semantic Differential Technique)
และแบบวัดเจตตขิ องเทอรส โตน (Thurstone’s Scale) ดังจะไดก ลาวโดยละเอยี ดดังนี้

1. แบบวดั เจตคติตามรูปแบบของลิเคอรท (Likert’s Scale)
แนวคิดของลิเคอรทเก่ียวกับการวัดเจตคตินี้เปนวิธีท่ีหาคาความเชื่อมั่นไดสูงกวาวิธีอื่น
ตลอดจนสามารถวัดเจตคติไดกวางขวางกวาวิธีอ่ืน (วิรัช วรรณรัตน, 2532, น. 21) ในการถาม
ความรูสึกหรือเจตคติเกี่ยวกับเรื่องใดเร่ืองหน่ึงนั้นทําไดโดยการสรางขอความในเร่ืองนั้นๆ ใหบุคคล

-59-

พิจารณาหรือหาคาของมาตรวัด โดยใหพิจารณาเห็นดวย หรือไมเห็นดวยตอขอความน้ัน แตละ
ขอความจะแบงมาตรออกเปน 5 ชวง คือ เห็นดวยอยางยิ่ง เห็นดวย ไมแนใจ ไมเห็นดวย และไมเห็น
ดวยอยางยิ่ง และหลังจากผูตอบไดพิจารณาแลวจะนําคําตอบนั้นมาใหนํ้าหนัก(ในปจจุบันมัก
กําหนดคานาํ้ หนกั ในแตล ะขอความเปน 1 – 2 – 3 – 4 – 5 )

เทคนิคการสรางแบบวัดเจตคติของลิเคอรทนน้ั ประกอบดว ยหลักในการสรางคือ
1. ขอความเจตคติที่จะสรา งตองครอบคลุมตัวแปรเจตคตหิ รือคุณลกั ษณะที่ตองการวดั
2. การตอบขอความเจตคติแตละขอความไมไดบงบอกถึงเจตคติของแตละบุคคลที่มีอยู
จึงตองสรา งขอ ความเจตคติจาํ นวนหลายๆ ขอ ความเพ่อื นํามารวมกันเปนเจตคตขิ องบุคคลน้นั
3. เจตคตขิ องแตล ะบุคคลพิจารณาไดจากการรวมนํ้าหนักคะแนนของคําตอบจากขอความ
ตา งๆ ทกุ ขอความในมาตรนนั้

การสรางแบบวัดเจตคตติ ามรปู แบบของลเิ คอรท
ข้ันตอนการสรางแบบมาตรวัดเจตคติของลิเคอรท มีลักษณะการสรางเชนเดียวกันกับการ
สรางแบบสอบถาม และแบบมาตรประมาณคา (โชติกา ภาษีผล, 2554; บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธ์ิ,
2534) แตม บี างสวนทแ่ี ตกตา ง ดังข้นั ตอนโดยสรปุ ตอ ไปนี้
1. กําหนดตัวแปรหรือเจตคติท่ีจะวัดใหชัดเจน โดยพิจารณาจากกรอบแนวคิดการวิจัย
วา ตวั แปรเจตคตมิ อี งคประกอบอะไรบา ง พจิ ารณาวัตถุประสงคการวิจัยวาจะวัดเจตคติของใครท่ีมีตอ
ส่ิงใด หรอื เปาเจตคติคอื อะไร
2. ศึกษาเอกสารและงานวิจยั ท่เี กย่ี วขอ ง และนยิ ามศัพทเ ฉพาะ วามีองคประกอบของเจต
คติท่ีตองการวัดมีอะไร มีคุณลักษณะอยางไรบาง กําหนดเปนนิยามศัพทเฉพาะท่ีนํามาสรางเปน
เครอ่ื งมอื ได
3. เขียนขอความที่เก่ียวของ ใหตรงกับเจตคติที่ตองการจะศึกษาใหไดมากท่ีสุด และเขียน
เปนขอความวัดเจตคติใหไดจํานวนที่มากที่สุด เพื่อใหไดผลรวมของขอความเปนลักษณะเจตคติของ
บุคคลนั้นๆ โดยขอความเหลานั้นควรเปนท้ังในทางท่ีดีหรือทางบวก และทางที่ไมดีหรือทางลบ
โดยใหขอความทั้งสองประเภทน้ันมีจํานวนขอพอๆ กัน และในแตละขอความจะตองมีความหมาย
เดียวในหนง่ึ ขอ ความ ใชภาษาทง่ี าย และไมควรใชข อ ความปฏิเสธซอนปฏเิ สธ
4. ตรวจสอบขอ ความท่สี รา งข้นึ ดว ยตนเอง โดยการพิจารณาความชัดเจนของภาษา ความ
เหมาะสม
5. กําหนดตัวเลือกและคานํ้าหนักของคะแนน ซึ่งแตเดิมนั้นใช 5 ตัวเลือกไดแก เห็นดวย
อยางยิ่ง เห็นดวย ไมแนใจ ไมเห็นดวย ไมเห็นดวยอยางยิ่ง โดยกําหนดคาคะแนนสําหรับขอความที่
เปน ทางบวกหรือทางลบสามารถกาํ หนดไดด ังนี้

-60-

ความคิดเห็น ขอความทางบวก ขอ ความทางลบ
เห็นดวยอยา งยง่ิ 5 1
เหน็ ดวย 4 2
ไมแนใจ 3 3
ไมเ ห็นดว ย 2 4
ไมเหน็ ดว ยอยา งยงิ่ 1 5

6. นําขอความที่คัดเลือกมาเรียบเรียงเปนแบบวัดเจตคติ โดยมีคําช้ีแจงในการตอบแบบ
วัดอยางชัดเจน โดยระบุวา ใหผูตอบแบบวัดเขียนเครื่องหมายใหตรงกับความรูสึกของตนเองที่มีตอ
ขอ ความแตล ะขอ ความน้ัน

7. ตรวจสอบความเท่ียงตรง (Validity) นําขอความวัดเจตคติไปใหผูเช่ียวชาญพิจารณา
และตัดขอความท่ผี ูเชยี่ วชาญสวนใหญเ ห็นพองกนั วาเปนขอ ความท่ีเชิงกลางๆ ออก

8. นําแบบวัดเจตคติไปทดลองหาคาอํานาจจําแนกรายขอ โดยการเปรียบเทียบกับ
ระหวางกลมุ สงู กลมุ ตํ่าดว ยการทดสอบคาที (t-test) และคดั เลือกขอ ที่มีคา ตัง้ แต 1.75 ขึ้นไป

9. หาคุณภาพรวมทั้งฉบับโดยการหาคาความเชื่อม่ัน (Reliability) โดยการหา

สัมประสิทธ์ิแอลฟาตามวิธีของครอนบาช โดยควรมีคาความเชื่อมั่นสูง (คา α ระหวาง 0.80-1.00)
ดังจะไดกลาวไวโดยละเอียดในบทที่ 6 เร่อื งการวเิ คราะหค ุณภาพเครอื่ งมอื วัดจติ พสิ ยั

10. จัดพมิ พแบบวดั เจตคติตามวธิ กี ารของลเิ คอรท ใหส วยงาม ตรวจสอบระบบการพิมพ
กอนนาํ ไปใชเก็บรวมรวมขอมลู เพ่อื การวิจยั

ตัวอยาแบบวัดเจตคติตามโครงสรางแบบวัดแนวคิดของลิเคอรทสามารถแสดงไดดังภาพ
ตอไปนี้

-61-

คําชแ้ี จง ใหท า นทาํ เครอ่ื งหมาย  ลงในแบบวดั เจตคตติ ออาชพี ครตู ามความรูส ึกที่แทจ ริงของทาน

ขอความ เหน็ ดวย เห็น ไม ไม ไม
อยางยงิ่ ดวย แนใ จ
เหน็ เหน็ ดว ย
ดว ย อยางยง่ิ

1. อาชีพครูเปนอาชีพทม่ี ีเกียรติสูง

2. อาชพี ครเู ปนเสมอื นศาลาพกั รอ น

3. ผทู ่ีประกอบอาชีพครูเปน บคุ คลทไี่ มทนั สมัย

4. อาชีพครูเปน อาชพี ทม่ี หี ลกั ประกนั

5. งานอาชพี ครูเปนงานท่ีนา เบ่อื หนา ย

6. ผูที่ยดึ อาชีพครูเปน ผูท่ไี มม อี นาคต

7. ผทู ม่ี ีอาชีพครเู ปนผูที่มคี ณุ ธรรม จริยธรรมสงู

8. อาชีพครูเปนอาชพี ที่มคี ุณคา มหาศาล

9. อาชพี ครูเปน อาชพี ทม่ี รี ายไดนอ ย

10. ผูมีอาชีพครูตองนึกอยูเสมอวาตนเองเปนเหมือน

เรือจา ง

ภาพที่ 4.1 ตัวอยา งแบบวดั เจตคติตอ อาชพี ครูตามแนวคิดของลิเคอรท
ขอดี และขอ จาํ กัดของแบบวดั เจตคติของลเิ คอรท
ขอดี
การใชแบบวัดเจตคตขิ องลเิ คอรท มขี อ ดีไดแก ผวู ิจยั สามารถใชกับสถานการณตางๆ ไดอยาง

เหมาะสม สามารถที่จะดัดแปลงนําไปใชในลักษณะตางๆ ทางดานจิตพิสัย (Affective Domain)
ได สะดวกตอการใช และสามารถนํามาใชงาย เปดโอกาสใหผูตอบแสดงความคิดเห็นไดท้ังทางบวก

และทางลบ พรอ มท้งั แสดงใหเห็นถึงระดบั ของความคิดเห็นไดด ว ย
ขอ จาํ กัด
เน่ืองจากแบบวดั เจตคติตามแนวคิดของลเิ คอรทพิจารณาโดยใชคาเฉลี่ยรวมของขอความทุก

ขอความ และไมไดสนใจในคาของแตละขอความ ดังน้ันจึงไมสามารถนําเอาคะแนนของขอความ

แตละขอความไปใชพิจารณาได เชน นาย ก. และนาย ข. ไดคะแนนเจตคติที่วัดดวยแบบวัดที่มี
โครงสรางแบบวัดตามแนวคิดของลิเคอรท จํานวน 25 คะแนนเทากัน จากการท่ีนาย ก. แสดงความ

คิดเห็นในทางบวกตอขอความขอท่ี 2 , 4 , 6 , 8 , และ 9 ในขณะที่ นาย ข. อาจจะไดคะแนน 25

เทา ๆ กนั แตมาจากการทแี่ สดงความคดิ เหน็ ทางบวกตอขอความที่ 1 , 3 , 5 ,7 และ 11 เปนตน

-62-

2. แบบวัดเจตคติโดยใชความหมายทางภาษาของออสกูด (Osgood’s Semantic
Differential Technique)

ออสกูด (Osgood) มีความเช่ือวาภาษาเปนส่ือท่ีมีความหมายของมนุษยที่สามารถนํามาวัด
ความรสู ึก เจตคติและพฤติกรรมของมนุษยได การพัฒนาแบบวัดเจตคติโดยใชความหมายทางภาษา
นั้นอาศัยองคความรูเก่ียวกับการวัดความหมายของคํา ซึ่งคําท้ังหลายมีองคประกอบที่เปนพื้นฐานอยู
3 องคประกอบ โดยท่ีองคประกอบแตละดานจะมีคําคุณศัพท ที่แสดงลักษณะขององคประกอบ ซึ่ง
คาํ คุณศัพทเ หลาน้ีจะสามารถจัดเปนคู โดยมีความหมายตรงกันขามกัน (Bipolar Adjective) (วิเชียร
เกตสุ งิ ห, 2524, น. 94-95 ; วริ ัช วรรณรตั น, 2532, น. 29 ; บญุ ธรรม กจิ ปรดี าบรสิ ทุ ธ์ิ, 2534) ไดแก

1. องคประกอบดานการประเมินคา (Evaluation Factor) เชน ดี - เลว เมตตา – โหดราย
ซ่ือสตั ย– คดโกง ฉลาด- โง จรงิ – เทจ็ ยุตธิ รรม- ลําเอยี ง เปน ตน

2. องคประกอบดานศักยภาพ (Potency Factor) เชน แข็งแรง – ออนแอ หนัก – เบา
ใหญ – เลก็ ลกึ – ตื้น บอบบาง-ทนทาน เปน ตน

3. องคป ระกอบดา นกิจกรรม (Activity Factor) เชน วองไว –เฉื่อยชา เร็ว – ชา ราเริง
– หงอยเหงา รีบรอ น –เยน็ ชา อดทน – ออ นแอ เปนตน

การสรางแบบวัดเจตคติตามโครงสรา งแบบวัดตามแนวคิดของออสกูด
ในการสรางแบบมาตรประมาณคาวัดเจตคติตามแนวคิดของออสกูดน้ัน มีข้ันตอนในการ
สรางดังตอไปนี้
1. กําหนดความคิดรวบยอดของตัวแปรหรือเจตคติที่จะวัดใหชัดเจน วาจะวัดเจตคติใน
เร่อื งใด เร่ืองดังกลาวควรประกอบดว ยความคิดรวบยอดอะไรบาง เชน ตองการวัดเจตคติของนักเรียน
ท่ีมีตอเพ่ือนรวมช้ันเรียน และมีความคิดรวบยอดที่เกี่ยวกับเพ่ือนรวมช้ันเรียน จํานวน 3 ดาน
ประกอบดวย

1.1 ความคดิ รวบยอดดานคณุ ลกั ษณะ
1.2 ความคดิ รวบยอดดา นการเรยี น
1.3 ความคิดรวบยอดดา นครอบครวั
2. เลอื กคําคูคุณศพั ทท่ีมีความหมาย โดยเลือกคําที่เหมาะสมตอเปาหมายท่ีตองการจะวัด
โดยหาคําคุณศัพทที่เปนตัวแทนของคําคุณศัพทคูท่ีสัมพันธกันแตละความคิดรวบยอด โดยเลือก
คาํ คุณศพั ทท ั้ง 3 กลุมคอื ดานประเมินคา ดา นศกั ยภาพ และดานกิจกรรม
3. นําคําคุณศัพทมาสรางเปนมาตรวัด โดยแบงเปน 3 , 5, 7, หรือ 9 ชวง แตชวงท่ี
เหมาะสมคอื 7 ชว ง โดยสามารถสรางเปนมาตรวัดได 2 แบบดงั น้ี คอื

-63-

แบบท่ี 1 กําหนดคะแนนมากไวทางคําคุณศัพทที่เปนทางบวกใหมีคาสูงสุดเปน 7 แลว
ลดลงไปเรื่อยๆ จนถงึ คําคุณศพั ทท่เี ปน ทางลบใหมีคาเปน 1 ตัวอยา งเชน แบบวัดเจตคติเก่ียวกับเพ่ือน
ในหองเรียน สามารถทําเปน มาตรวัดไดด ังภาพตอ ไปน้ี

ดี 7 6 5 4 3 2 1 เลว

ดุราย 1 2 3 4 5 6 7 เมตตากรณุ า

ซ่อื สตั ย 7 6 5 4 3 2 1 คดโกง

มคี ณุ คา 7 6 5 4 3 2 1 ไมม ีคณุ คา

เครงเครยี ด 1 2 3 4 5 6 7 สบาย สบาย

ภาพที่ 4.2 ตวั อยา งแบบวดั เจตคติตามแนวคดิ ของออสกูดแบบท่ี 1

แบบที่ 2 กําหนดคะแนนใหจุดก่ึงกลางเปนศูนย (0) โดยใหคําคุณศัพทท่ีมีความหมาย
ทางบวก ใหม คี าเปนบวก สว นคาํ คณุ ศพั ททีม่ คี วามหมายทางลบ ใหม คี า เปนลบ เชน

ดี 3 2 1 0 -1 -2 -3 เลว

ดุรา ย -3 -2 -1 0 1 2 3 เมตตากรณุ า

ซื่อสตั ย 3 2 1 0 -1 -2 -3 คดโกง

มคี ณุ คา 3 2 1 0 -1 -2 -3 ไมม ีคณุ คา

เครงเครยี ด -3 -2 -1 0 1 2 3 สบาย สบาย

ภาพท่ี 4.3 ตัวอยา งแบบวดั เจตคตติ ามแนวคิดของออสกูดแบบที่ 2

3. นําแบบวัดเจตคติไปทดลองใชกับกลุมตัวอยาง ซึ่งกําหนดไววาจะไปวัดเจตคติกับกลุม
ตัวอยางท่ีมีคุณลักษณะใกลเคียงกับกลุมเปาหมายท่ีจะใชวัดจริง กลุมตัวอยางควรจะมีจํานวนอยาง
นอย 5 เทาของจํานวนขอความเพื่อใหเกิดความเช่ือมั่นในการวัดมากท่ีสุด (ลวน สายยศ และอังคณา
สายยศ, 2543, น. 101)

-64-

4. วิเคราะหคุณภาพของขอความแตละขอ วิธีการวิเคราะหคุณภาพของขอความ
เหมือนกับเทคนิคของลิเคอรท คือ หาคาอํานาจจําแนกแตละขอโดยใช t-test for independent
sample และหาคณุ ภาพทั้งฉบบั โดยการคํานวณหาคาความเช่ือม่ัน (Reliability) ของขอความแตละ
ขอโดยใชสัมประสิทธิ์อัลฟา (α-Coefficient) หรืออาจใชวิธีแบบแบงครึ่ง (Split-half) ซึ่งออสกูด
เสนอวา ไมค วรต่ํากวา 0.85 (Moser and Kalton, 1974, p. 343)

5. การวิเคราะหขอมูลจากแบบวัดเจตคติตามแบบของออสกูด การใหคะแนนข้ึนอยูกับ
จาํ นวนชองท่ผี ตู อบประมาณคา แลวนาํ มาหาคา เฉล่ีย ของแตละคน แตละกลุม สามารถนําเอาผลการ
วิเคราะหห าคา เฉลยี่ มาเปรียบเทยี บระดับเจตคติระหวางบุคคล ระหวางกลุม และระหวา งตวั แปร

ขอดแี ละขอ จํากดั ของแบบวดั เจตคตติ ามโครงสรางแบบวดั ตามแนวคดิ ของออสกูด
ขอ ดี
1. สรางงายใชง ายดว ยการหาคาํ คุณศพั ทตรงกันขา มท้ัง 3 องคประกอบ
2. สามารถนําไปใชเปรียบเทียบเจตคติของผูตอบ หรือกลุมของผูตอบท่ีมีตอเปาหมาย
ทต่ี างกนั แตม ีคณุ ลักษณะทค่ี ลา ยคลงึ กัน เชน ตองการเปรียบเทียบเจตคติของผูตอบท่ีมีตอการเรียน
วชิ าภาษาไทยกับภาษาองั กฤษ โดยใชแ บบวัดชดุ เดยี วกนั กส็ ามารถท่จี ะนําไปเปรียบเทียบกนั ได
3. ผตู อบไมมคี วามรสู ึกลาํ บากในการตอบ

ขอ จาํ กดั
1. เน่ืองจากขอความเปนคําคุณศัพทหรือวลี ผูตอบตางคนอาจจะแปลความหมายของ
คาํ คณุ ศพั ทคูเ ดียวกนั ตางความหมายของ “ดี” ของคนหนึง่ อาจจะตางจาก “ดี” ของอีกคนหนึง่ ก็ได
2. ความหมายของคําคุณศัพทเม่ือใชกับเปาหมายตางกันจะมีความหมายตางกัน เชน
คําวา “ยาก” ถาใชวัดเจตคติตอกิจกรรมการเรียนการสอนของครู จะมีความหมายตางจากคําวา
“ยาก” ในการวัดเจตคติของนักเรียนตอผูสอน ดังน้ันเม่ือตองการเปรียบเทียบเจตคติของผูตอบคน
เดียวหรอื กลมุ ของผตู อบ ในกรณีท่ีมเี จตคติตอ เปา หมายตางกัน โดยใชแ บบวัดชุดเดียวกันอาจจะทําให
เกดิ ปญหาดว ย
3. ถาใชวัดความคิดรวบยอดหลายดาน ผูตอบจะเกิดความเบ่ือหนาย และไมต้ังใจคอยตอบ
ในความคิดรวบยอดดานหลังๆ โดยเฉพาะถาวัดหลายๆ ดาน ใชคําคุณศัพทต้ังแต 10 คูหรือมากกวา
จะกอ ใหเกดิ ความเบอื่ หนายมากยิ่งขนึ้

-65-

3. แบบวัดเจตคติตามแนวคิดของเทอรสโตน (Thurstone’s Scale)
แบบวัดเจตคติตามวิธีของเทอรสโตน เปนมาตรวัดที่นิยมใช มีชื่อเรียกหลายอยาง ไดแก

Psychophysical Scale เพราะอาศัยวธิ กี ารทางจิตวทิ ยา ผนวกกบั ฟส ิกส โดยวัดความรูสึกของบุคคล
ที่มีตอส่ิงเรา เรียกวา Priori Approach เพราะวา ไดกําหนดคุณลักษณะของบุคคลต้ังแตมากที่สุด
ไปจนถึงนอยที่สุด โดยคานํ้าหนักของแตละขอไดมาจากการพิจารณาของผูเช่ียวชาญ และดวยวิธีการ
ที่ใหแตละชวงมีนํ้าหนักคะแนนเทากัน เรียกวา Equal-appearing Interval Scale โดยแบงเปน
จํานวน 11 ชวง เทาๆ กัน จึงเรียกวา Judgment Method เพราะเปนวิธีการวัดที่อาศัยผูเช่ียวชาญ
พิจารณาตัดสินขอความเพื่อกําหนดมาตรวัดแตละขอวา ขอความแตละขอความจะอยูในตําแหนงใด
ของมาตรวดั และเรียกวา Thurstone’s Method เพราะวา เขาสรา งแบบวัดนี้ เพื่อใชวัดทัศนคติของ
คนตอศาสนา ตอบทลงโทษของกฎหมายบานเมืองและตอลัทธิคอมมิวนิสต (วิรัช วรรณรัตน, 2532,
น. 34)

หลักการวัดโดยวิธีนี้ ตองอาศัยบุคคลเปนผูพิจารณาตัดสิน ผลการพิจารณาจะสรุปไดเปน
มาตรวัดท่ีมีคาประจําขอแตละขอแตกตางกันไป โดยถือวา ตัวเลขที่ไดอยูในมาตรวัดแบบอันตรภาค
ชนั้ (Interval Scale)

การสรา งแบบวดั เจตคตติ ามวิธีของเทอรสโตน
การสรา งแบบวัดเจตคติตามรูปแบบของเทอรส โตนมักใชวัดเจตคติ ความคิดเห็นหรือ ทัศนะ
ที่มีตอเร่ืองใดเรื่องหนึ่ง วิเชียร เกตุสิงห (2524, น. 91-94) ไดเสนอแนะวิธีการสรางแบบวัดเจตคติ
ตามวิธขี องเทอรส โตนตามขนั้ ตอนดงั ตอ ไปนี้
1. กาํ หนดตัวแปรทีจ่ ะวัด พจิ ารณากรอบแนวคิดการวิจยั วัตถปุ ระสงคของการวิจัย และตัว
แปรของการวิจัยหรือเปาเจตคติท่ีตองการวัด ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของ นิยามศัพทเฉพาะการวิจัย
และกาํ หนดจดุ ประสงคใหชัดเจนวา จะวดั เจตคตติ อสง่ิ ใด วดั ได จากใคร จากอะไร และอยา งไร
2. เขียนขอ ความท่เี กีย่ วของกบั เรอื่ งที่ศึกษาใหไดมากท่ีสุด ซึ่งขอความที่เขียนน้ันควรจะมี
ลักษณะที่เกี่ยวของกับเหตุการณในปจจุบัน มีความหมายเดียวในหน่ึงขอความ ใชภาษาที่งายและ
ชัดเจน ไมเ ปน ขอ ความทปี่ ฏเิ สธซอ นปฏเิ สธ โดยสามารถเรียงลําดับของความรูสกึ ชอบหรือไมชอบจาก
นอ ยไปมากหรอื จากมากไปนอ ย
3. นําขอความท่ีรวบรวมไดไปใหผูเชี่ยวชาญพิจารณาตัดสิน (Judge) ซ่ึงกลุมของ
ผตู ัดสินนั้นควรจะเปนสวนหนึ่งของสมาชิกของกลุมประชากรท่ีจะศึกษาเจตคติ แตไมใชกลุมเดียวกับ
กลุมตัวอยางท่ีจะศึกษาประมาณ 50 ถึง 100 คน โดยใหผูตัดสินแบงขอความท้ังหมดเปน 11
กลุมตามลําดับของความเขมขนของขอความจากนอยที่สุดไปสูมากท่ีสุด ซึ่งมีลําดับคาจาก 1 ถึง 11
แลวใหผูตัดสินทําการพิจารณาวาขอความแตละขอความควรจะจัดอยูในระดับใดคือใหตัดสินวาเปน
ขอ ความทม่ี คี วามหมายในทางสนับสนุนมากนอ ยแคไหน รปู แบบของการสรางมาตรวัดดงั ภาพตอไปน้ี

-66-

ขอ ความ ระดบั เจตคติ

1. อาชพี ครูเปน อาชีพทม่ี ีเกยี รติสงู 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11
2. อาชีพครเู ปนเสมือนศาลาพกั รอ น
3. ผทู ป่ี ระกอบอาชพี ครเู ปน บุคคลทไ่ี มทันสมยั

ภาพท่ี 4.4 ตวั อยางแบบวดั เจตคตติ ามแนวคดิ ของเทอรสโตนกอนหาคา ประจําขอ

4. รวบรวมขอมูลตางๆ จากผูตัดสิน แลวทําการแจกแจงความถี่ของแตละขอความ แลว
นํามาหาคาประจําขอ (Scale-Value) ของแตละขอความโดยการหาคามัธยฐานและคาเบี่ยงเบน
ควอไทล โดยท่ี

4.1 คา ประจาํ ขอ (Scale Value) หรอื คามัธยฐาน (Median) ใชสัญลักษณ S เปนคา
ประจาํ ขอความแตละขอ ซ่งึ เปนคาที่แสดงใหทราบถึงความคิดเห็นของผูตัดสินตอขอความน้ัน โดยถา
ขอความท่ีมีคาประจําขอ (S) สูง จะเปนขอความที่แสดงถึงเจตคติท่ีดี สวนขอความท่ีมีคาประจําขอ
(S) ตาํ่ จะเปน ขอ ความทีม่ เี จตคตทิ ไ่ี มดี

4.2 คาเบี่ยงเบนควอไทล หรือคาพิสัยควอไทล (Inter quartile Range) ใช
สัญลักษณ Q โดยถาขอความท่ีมีคาเบ่ียงเบนควอไทลสูง หมายถึง ความคิดเห็นของผูตัดสินตอ
ขอความน้ันกระจายจากกันมากแสดงวาความคิดเห็นไมคอยเหมือนกัน สวนขอความที่คาเบี่ยงเบน
ควอไทลต ํ่า หมายถงึ ความคดิ เห็นของผตู ดั สนิ ตอขอ ความนั้นคอนขางจะเหมือน ๆ กนั

5. ตัดขอความท่ีมีคาคาเบ่ียงเบนควอไทลสูงออก (Q > 1.67 ถือวาไมดี) เนื่องจาก
ความคิดเหน็ ของผตู ัดสนิ กระจายกันมาก แสดงวาขอ ความอาจไมม ีความชดั เจน

6. เลือกขอความที่เหลือโดยขอความท่ีมีคาตางกันเปนชวงๆ ชวงละเทาๆ กัน หรือ
อีกนยั หนง่ึ ก็คอื เลอื กขอ ความที่มคี าประจาํ ขอ (S) ปะปนกนั ไปท้ังสูง กลาง ต่ํา โดยแตละชวงควรจะมี
ขอ ความเทาๆ กนั

ตัวอยางการคํานวณหาคาประจําขอ (S) และ คาเบ่ียงเบนควอไทล (Q) ของแตละขอความ
โดยคณะผูตัดสินจํานวน 100 คน ไดพิจารณาขอความที่ 1 ในแบบวัดเจตคติ ผลของการตัดสิน
ผูพจิ ารณาไดเ ลือกใหคะแนน ผลรวมของคะแนนแตละมาตรวัดแสดงไดด งั ตอไปน้ี

-67-

ตารางที่ 4.4 ตวั อยางคะแนนเพ่ือการคํานวณหาคาประจําขอและคาเบีย่ งเบนควอไทล

ขอ ความ ระดับคะแนนของผูตดั สินประจําขอความที่ 1
1. อาชีพครเู ปน อาชพี ท่มี ีเกยี รติสูง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11

0 0 0 5 5 10 3 60 10 4 3

นํามาหาคาประจําขอ S โดยการหาคามธั ยฐานจากสตู ร

S= n − cf 
 f 
Lo +  2 i




โดยที่ S แทน คาประจาํ ขอ

L0 แทน คาจาํ กดั ลางของช้นั ที่มมี ัธยฐานอยู
n แทน จาํ นวนผูตัดสนิ
cf แทน ความถี่สะสมของชั้นกอ นท่จี ะมคี า มธั ยฐาน

f แทน คาความถี่ของช้นั ทม่ี ีมัธยฐานอยู
i แทน อนั ตรภาคชั้น

ผลการวเิ คราะหค า สถิติการใหคะแนนของผูตัดสนิ ประจําขอ ความที่ 1 มีดังตอ ไปนี้

ตารางท่ี 4.5 ผลการวเิ คราะหค าสถติ ิการใหค ะแนนของผตู ดั สนิ ประจาํ ขอ

รายการ ระดบั คะแนนของผตู ดั สินประจําขอความท่ี 1 11
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 3
100
จํานวน ผูตอบ (f) 0 0 0 5 5 10 3 60 10 4

ความถ่สี ะสม (cf) 0 0 0 5 10 20 23 83 93 97

แทนคา ในสตู ร คา มธั ยฐาน S n − cf 
 f 
S = Lo +  2 i
Q 



= 7.5 +  50 − 23 1
 60

= 7.5 + 0.45

= 7.95

= Q3 - Q1

-68-

 3n − cf 
 f 
Q3 = Lo +  4 i




= 7.5 +  75 − 23 1
 60

= 7.5 + 0.87

Q3 = 8.37

 1n − cf 
 f 
Q1 = Lo +  4 i




= 7.5 +  25 − 23 1
 60

= 7.5 + 0.03

Q1 = 7.53

สรุปไดวา Q = Q3 - Q1
= 8.37 – 7.53
= 0.84

S = 7.95 , และ Q = 0.84

7. หลังจากน้ันตัดขอความท่ีมีคาเบี่ยงเบนควอไทล (Q) สูง ๆ ท้ิงไป แลวทําการเลือก
ขอความอีกครั้งหนึ่งโดยพิจารณาคามัธยฐาน (S) เปนชวง ๆ ในแตละชวงควรจะเลือกขอความ

ประมาณ 2-3 ขอความเปนอยางนอย และควรจะมีขอความท่ีเทาๆ กัน ในแตละชวง ดังน้ันถาเลือก

ขอ ความชวงละ 3 ขอ ความ แบบวัดเจตคติจะประกอบดว ยขอความทงั้ หมด 33 ขอ ความ
8. นําขอความที่เลือกไวนั้นมาเรียงคละกันไป และจัดใหอยูในรูปแบบของแบบวัด โดยมี

คําชี้แจงในการตอบโดยระบุวาผูตอบแบบวัดนั้นควรจะเขียนเครื่องหมาย “” ลงหนาหรือหลัง

ขอความท่ตี รงกบั ความรูสกึ ของตนเองมากทีส่ ดุ
9. นําแบบวดั นั้นไปทดลองเก็บขอมูลกับกลุมตัวอยางท่ีมีลักษณะเหมือนกับกลุมตัวอยาง

จริง หรือเปนสมาชิกของประชากรแตไมใชกลุมตัวอยางท่ีจะวัดเจตคติจริง เพ่ือท่ีจะพิจารณาเลือก
ขอความทไี่ มเ กีย่ วของออก

10. พจิ ารณาตดั ขอ ความท่ไี มเ กย่ี วขอ งออก โดยพจิ ารณาจากขอ ความที่มีคาประจําขอ (S)
เทาๆ กัน ถามีคนเลือกขอความใดขอความหน่ึงแลว เลือกขอความอ่ืนๆ ท่ีมีคาประจําขอ (S) เทากัน

-69-

แสดงวา ขอความเหลานั้นเกี่ยวของกัน แตถาเลือกเปนบางขอ และบางขอไมไดรับการเลือกแสดงวา
ขอ ทไ่ี มไดรบั การเลือกเปน ขอท่ไี มเก่ียวของกับขอความอนื่ ๆ

11. นาํ ขอ ความทคี่ ดั เลอื กแลว มาเรียบเรียงเปน แบบวัด โดยเรียงขอความเหลานั้นคละกัน
ไปแบบสมุ พรอ มทั้งมีคาํ ชีแ้ จงรายละเอียดในการตอบแบบวัดใหช ดั เจน

การนาํ แบบวัดเจตคติท่มี โี ครงสรา งแบบวดั ตามแนวคดิ ของทอรส โตนไปใช
การนาํ แบบวัดเจคตติ ามวิธีการของเทอรสโตนไปใชเกบ็ รวบรวมขอมูลเพื่อการวิจัยที่ตองการ
วัดเจตคติ โดยการถามจะถามเพียงวา เห็นดวย หรือไมเห็นดวยกับขอความแตละขอในชุดนั้น โดยไม
ตอ งระบรุ ะดับความคิดเหน็ แลว นาํ เอาคาประจาํ ขอทไี่ ดม าหาคาเฉลยี่ โดยใชส ูตร คือ

S = ∑ Si
k

ตวั อยางของมาตรวดั เจตคติตออาชีพครูตามวิธีการสรางของเทอรสโตนท่ีปรับใชหลังจากหา
คาประจาํ ขอแลว แสดงไดดงั ภาพตอไปนี้

คําช้แี จง โปรดทําเครื่องหมาย  ในชอง  เฉพาะขอความทท่ี านเห็นดว ย

1) อาชพี ครเู ปนอาชีพที่มคี ุณคา มหาศาล  เหน็ ดว ย  ไมเห็นดวย

2) อาชพี ครูเปน อาชพี ที่มีหลกั ประกนั  เหน็ ดว ย  ไมเหน็ ดว ย

3) อาชพี ครูเปนอาชีพท่มี ีรายไดนอย  เห็นดว ย  ไมเ หน็ ดว ย

ฯลฯ

ภาพที่ 4.5 ตวั อยา งแบบวดั เจตคตติ ามแนวคดิ ของเทอรสโตนหลังหาคา ประจําขอ

เม่ือไดผลการวัดเจตคติจากกลุมตัวอยางของการวิจัยแลว ก็นํามาคํานวณหาคาเฉล่ียของ

แตล ะคน และหาคาเฉลยี่ ของแตล ะกลมุ ดังนี้

1. การคํานวณคะแนนเจตคติของแตละคน ทําไดโดยนําคาประจําขอ (S) ของขอความ

ท่ผี ูต อบตอบวาเหน็ ดว ย มาหาคาเฉลย่ี เชน ผตู อบ ตอบวาเหน็ ดว ยในขอ 1, 3, 5 ซึ่งเปนขอความท่ีมี

คา ประจาํ ขอ (S) ตามลําดับดังน้ี 10.3, 8.7, 7.5 ดังนั้นการคํานวณเพ่ือหาคะแนนเจตคติของผูตอบ

คนน้ี โดยใชสูตร คอื

S = ∑ Si
k

โดยที่ S แทน คะแนนเจตคติของแตละคน

Si แทน คา ประจาํ ขอ
k แทน จํานวนขอ

-70-

แทนคา ในสตู ร =S 10.3 + 8.7 + 7.5
3
S = 8.83

จากคา S ท่ีไดคะแนนของผูตอบน้ีคอนขางสูง แสดงวาผูตอบคนน้ีมีเจตคติท่ีคอนไปใน

ทางบวก

2. การคํานวณคะแนนเจตคติของบุคคลทั้งกลุมทําไดโดยนําคาเจตคติ (S) ของทุกคนใน

กลุมรวมกันแลวหาคาเฉลี่ย เชน กลุมตัวอยาง จํานวน 10 คน มีคาเจตคติของแตละคนดังนี้ 3.2,
1.5, 2.4, 3.0, 2.9, 4.2, 5.4, 3.4, 3.5, 2.5 สามารถคาํ นวณเจตคติของบุคคลทั้งกลุมไดโดยใช

สูตรดงั น้ี

S = ∑S
N

โดยท่ี S แทน คะแนนเฉล่ียเจตคตขิ องกลุม

S แทน คะแนนเจตคติของแตละคน

N แทน จาํ นวนขอ

แทนคา ในสตู ร S = 3.2 +1.5 + 2.4 + 3.0 + 2.9 + 4.2 + 5.4 + 3.4 + 3.5 + 2.5

10

S = 3.84

จากคา S ที่ไดค ะแนนของผูตอบกลมุ นีค้ อนขางตาํ่ แสดงวาบคุ คลกลุมนี้มีเจตคติคอนไป
ทางลบ

ขอ ดแี ละขอจํากัดของแบบวดั เจตคติแบบเทอรสโตน
ขอ ดี
1. นําไปใชไดงาย เพราะผูตอบคําถาม ตอบเพียงแสดงความรูสึก หรือความคิดเห็นตอ

ขอคาํ ถามเพยี ง 2 คําตอบคือ เหน็ ดวยกบั ไมเหน็ ดวยเทา นั้น
2. เปดโอกาสใหผูตอบแสดงความคิดเห็นไดทั้งทางบวกและทางลบ ผูตอบไมมีความรูสึก

ลําบากในการตอบ

3. การวิเคราะหผลการวดั ทําไดง า ย เพราะมคี า ประจําขอ (S) อยแู ลว
ขอจาํ กดั
1. วิธีการสรางยาก ซับซอน เพราะตองใชผูตัดสินใหคะแนนตอคาประจําขอ กอนนําไปใช

จรงิ
2. การใชผูตัดสินใหพิจารณาคานํ้าหนักประจําขออาจจะมีความคลาดเคล่ือน เน่ืองจาก

การที่ผตู ัดสนิ อาจใหน้ําหนกั ทผี่ ดิ ได

-71-

3. ถาใชวัดความคิดรวบยอดหลายดาน ผูตอบจะเกิดความเบ่ือหนาย และไมต้ังใจคอยตอบ
ในความคดิ รวบยอดดา นหลงั ๆ โดยเฉพาะถา วดั หลายๆ ดาน จะกอ ใหเ กิดความเบ่อื หนายมากย่งิ ขนึ้

บทสรปุ

เจตคติเปนความรูสึกท่ีซอนเรนอยูภายใน เปนความรูสึกชอบหรือไมชอบ ยังไมแสดงออกมา
เปนพฤติกรรม เก่ียวของกับความเช่ือ ศรัทธาตอสิ่งใดส่ิงหน่ึง อาจจะเปนไปในทางท่ีดี เราเรียกวา
เจตคติเชิงบวก หรืออาจจะเปนไปในทางท่ีไมดี เราเรียกวา เจตคติเชิงลบ เจตคติประกอบไปดวย
ความรูสึกและเปาเจตคติ ซึ่งมีความโนนเอียงท่ีจะตอบสนอง มีความคงทน มีความคงเสนคงวา และ
มที ศิ ทาง

ทฤษฏีการเรียนรูเปนกลไกท่ีกอใหเกิดเจตคติจากการเรียนรูจากการเช่ือมโยงสัมพันธ
การเสริมแรง และการเลียนแบบ นอกจากน้ันทฤษฏีแรงจูงใจใหความสําคัญกับประสบการณของ
บุคคลที่เปนสิ่งจูงใจใหบุคคลเกิดเจตคติ พิจารณาตัดสินใจใหนํ้าหนักของเจตคติตามประโยชนหรือ
โทษของตอ เปาเจตคตนิ น้ั

การสรางแบบวัดเจตคติตามแนวคิดของคิเคอรท แนวคิดของออสกูด และแนวคิดของ
เทอรสโตน ท้ัง 3 รูปแบบมีแนวคิดการวัดเจตคติที่แตกตางกันไป เมื่อวัดเจตคติแลวไดผลเปนคะแนน
ซึ่งเปนตัวแทนของเจตคติโดยรวมของบุคคล การใชแบบวัดแตละแนวคิดจะตองเลือกใชใหเหมาะสม
กับวตั ถุประสงคข องการวัดเจตคติที่ตอ งการ



บทที่ 5
การสมั ภาษณ และการสงั เกต

การสัมภาษณ และการสังเกตเปนวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลท่ีสําคัญสําหรับการวิจัยที่มี
จุดมุงหมายเพ่ือศึกษาคุณลักษณะหรือพฤติกรรมดานจิตพิสัยพฤติกรรม หรือดานทักษะพิสัย ท่ีไม
สามารถจัดกระทําไดจากการเก็บรวบรวมขอมูลจากแบบทดสอบ แบบสอบถาม และมาตรประมาณคา
ได เพราะท้งั การสมั ภาษณและการสงั เกตเปนกระบวนการเก็บรวบรวมขอมูลท่ีไดขอมูลเชิงคุณภาพหรือ
ขอ มูลประเภทการบรรยายดว ยถอยคาํ ท่เี ก่ียวกับ ทั้งนี้เนื่องจากการทดสอบและการสอบถามไมสามารถ
ใหคําตอบท่ีชัดเจน การสัมภาษณและการสังเกตเปนวิธีการท่ีเก็บรวบรวมขอมูลที่ตองมีการปฏิสัมพันธ
ระหวางผูวิจัยและกลุมเปาหมาย ทําใหไดขอมูลตรงตามวัตถุประสงคการวิจัยมากย่ิงข้ึน การสัมภาษณ ใช
แบบสัมภาษณเพ่ือบันทึกขอมูลที่ไดดวยวิธีการเขียนบรรยาย สวนการสังเกตใชแบบตรวจสอบรายการ
เพื่อบันทึกรายละเอียดของขอมูลท่ีเก็บรวบรวมได การสรางเคร่ืองมือประกอบการสัมภาษณและการ
สงั เกตเปน สิ่งทีผ่ ูว ิจัยควรรูแ ละเขาใจในรายละเอียดอยางถถ่ี ว น

การสัมภาษณ

ความหมายของการสัมภาษณ
ไดมีผูใ หความหมายของการสัมภาษณไ ว พอสงั เขปดงั น้ี
บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์ (2534, น. 53) ไดใหความหมายของการสัมภาษณวาเปนการใช
เทคนิควธิ ีการทีม่ ีการพบปะสนทนากนั อยา งมจี ดุ มงุ หมาย เปนการพบปะถามตอบกันโดยตรง หากมีขอ
สงสัยหรอื คาํ ถามใด คาํ ตอบใดไมชดั เจนก็ถามซา้ํ หรือทาํ ความชัดเจนไดและสามารถทําไดทันที เปนการ
สรางความม่ันใจใหท้ังผูตอบและผูทําวิจัย ถาผูสัมภาษณเปนผูมีประสบการณ มีความชํานาญจะทําให
การเก็บรวบรวมขอมูลไดดีกวาวิธีอื่น เหตุผลสําคัญประการหนึ่งก็คือ คนเราน้ันเต็มใจท่ีจะพูดมากกวา
เขียน
วิเชียร เกตุสิงห (2524, น. 104) ไดกลาวไววา การสัมภาษณเปนวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลวิธี
หนึ่งใชกันมากในการวิจัยเชิงสํารวจ (Survey Research) หรือ การวิจัยภาคสนาม (Field Study)
เปนวิธีท่ีดีวิธีหน่ึง ดวยการสนทนาอยางมีจุดมุงหมาย การสัมภาษณประกอบดวยผูสัมภาษณ กับผูถูก
สัมภาษณ การสัมภาษณมักทํากันตัวตอตัวเทานั้น ยกเวนในบางกรณีอาจมีผูถูกสัมภาษณหรือผู
สัมภาษณมากกวา หนง่ึ คน

-74-

สวนเบสท (Best, 1981, p.164) ไดใหความหมายของการสัมภาษณเปนกระบวนการ
เก็บรวบรวมขอมูลท่ีตองอาศัยวิธีการสนทนาอยางมีจุดมุงหมายระหวางผูสัมภาษณกับผูใหสัมภาษณ
การสัมภาษณเหมือนกับเปนแบบสอบถามปากเปลา (Oral Questionnaire) แทนท่ีจะอานและเขียน
ตอบดวยตนเองก็เปนการฟงและพูดตอบ ทั้งน้ีเพราะการสัมภาษณใหขอมูลเชิงลึก ทําใหไดขอมูลเชิง
คณุ ภาพ และไดขอ มูลที่ตองการบางลักษณะทไี่ มสามารถเก็บขอมูลดว ยแบบวัดอนื่ ๆ

สรุปไดวา การสัมภาษณ เปนการเก็บรวบรวมขอมูลเพ่ือการวิจัยเชิงคุณภาพดวยการสนทนา
อยางมีจุดมุงหมายระหวางผูสัมภาษณ กับ ผูถูกสัมภาษณ เปนวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลท่ีละเอียด ทั้ง
รูปแบบท่ีมีโครงสรางและแบบเชิงลึก ขอมูลที่เก็บรวบรวมไดเปนลักษณะขอมูล เชิงคุณภาพหรือการ
บรรยาย

ประเภทของการสัมภาษณ
เทคนิควิธีการสัมภาษณเพื่อใชในการรวบรวมขอมูล สําหรับการวิจัยทางสังคมศาสตรน้ัน
สามารถแบง ประเภทไดห ลายลกั ษณะสุดขึน้ อยูกบั การใชเกณฑทกี่ าํ หนด สามารถแบงตามเกณฑไดด งั น้ี
1. แบงตามลักษณะของการสัมภาษณ สามารถแบงเปน 2 ประเภท (Kerlinger, 1986,
p. 481) คอื

1.1 การสัมภาษณแบบมีโครงสราง (Structured Interview) เปนการสัมภาษณที่มี
รูปแบบเปนขั้นตอนในการถาม และจะตอ งถามหรือสัมภาษณ ไปตามแบบฟอรมคําถามเหลานั้นตั้งแต
ตนจนจบ เมื่อหมดคําถามก็เปนการจบการสัมภาษณ ผูใหสัมภาษณทุกคนจะถูกถามในลักษณะ
เดียวกันหมด การสัมภาษณในลักษณะนี้ตองใชแบบสัมภาษณ ซ่ึงจะตองสรางและจัดเตรียมมาเปน
อยา งดี

1.2 การสัมภาษณแบบไมมีโครงสราง( Unstructured Interview) วิธีการสัมภาษณ
แบบนี้ตรงกันขามกับแบบแรก คือ ยืดหยุนและเปดกวาง จะถามอะไรกอนหลังก็ได และไมจําเปน
จะตองถามเหมือนกันทุกคน ผูสัมภาษณมีอิสระในการถามไดอยางเต็มที่ แตตองพยายามคนหา
คําตอบตามทีต่ องการในการวิจยั ใหได

2. แบง ตามบทบาทของผสู ัมภาษณกบั ผูใ หสัมภาษณ จะแบงเปน 3 ประเภท ไดแก
2.1 การสมั ภาษณโดยไมจ ํากัดคาํ ตอบ วธิ กี ารสัมภาษณแบบนี้จะปลอยใหผูสัมภาษณพูดไป

เร่ือย ๆ ตามความพอใจ ผูสัมภาษณทําตนเปนผูฟงท่ีดี ถามนําเพียงประโยคสองประโยคเทานั้น
นอกน้ันก็จดบันทึกคําพูดและแนวคิดตาง ๆ ไวปลอยใหพูดไปเรื่อยจนกวาจะครอบคลุมครบถวนตามที่
ตอ งการหรอื ผใู หส ัมภาษณหมดขอ มลู ที่จะให

2.2 การสัมภาษณเชิงลึก วิธีการสัมภาษณแบบน้ีเปนการถามเจาะลึกเพ่ือใหไดคําตอบ
อยางละเอียด อยางครบถวนเทาท่ีผูใหสัมภาษณรู การถามนอกจากจะถามใหอธิบายแลวจะตองถาม

-75-

ถึงเหตุผลดวย เพ่ือจะไดใชตัดสินวา ขอความที่ตอบน้ันถูกตองชัดเจนและเช่ือถือไดเพียงใด
เชน ในการสัมภาษณการเลอื กเขามหาวิทยาลัยของนักเรยี น

2.3 การสัมภาษณแบบปฏิบัติการซ้ํา การสัมภาษณแบบน้ีพิจารณาได 2 ลักษณะ
คือ สัมภาษณซ้ําในขณะเดียวกัน โดยสัมภาษณเร่ืองอ่ืนไปกอนสักพักแลวหวนกลับมาถามเรื่องเดิมอีก
เพ่ือใหไ ดค าํ ตอบทีแ่ นนอน หรือใชวิธกี ารสัมภาษณซ้ําโดยเวน ระยะเวลาใหหางกันแลวกลับมาสัมภาษณ
ใหม ท้ังนี้เพ่ือดูการเปลี่ยนแปลงของผูใหสัมภาษณเปนการติดตามความเคลื่อนไหวและ
การเปล่ยี นแปลงของบคุ คล

3. แบงตามจํานวนผูใหสัมภาษณในเวลาเดียวกัน จะแบงเปน 2 ประเภท (Van Dalen,
1979, p.159) ไดแ ก

3.1 การสัมภาษณเปนรายบุคคล เปนการสัมภาษณที่มีผูใหสัมภาษณเพียงคนเดียว
เผชิญหนากับผูสัมภาษณ วิธีนี้นับวาเปนวิธีการที่เก็บขอมูลเฉพาะเจาะจงและตองการใหไดขอมูลที่
มีรายละเอียดเปนรายบุคคล แตคอนขางใชเวลาในการสัมภาษณมาก นิยมใชเก็บขอมูลเชิงคุณภาพ
ท่ีเก่ียวกับอัตชีวประวัติ การศึกษารายกรณีหรือรายบุคคลที่ไมสามารถเก็บขอมูลจากการเก็บดวย
เคร่ืองมอื ชนดิ อื่นๆ ได

3.2 การสัมภาษณเปนกลุม เปนการสัมภาษณท่ีมีผูใหสัมภาษณหลายคน หรือมี
การรวมกลุมเลก็ ๆ วธิ นี ผี้ ูส ัมภาษณจะแจงวัตถุประสงคแ ละปอ นคําถามโดยอธบิ ายใหกลุมผูใหสัมภาษณ
เขาใจอยางชัดเจน แลวใหแตละคนตอบ ในขณะตอบถามีใครสงสัยก็ถามทวนได วิธีการสัมภาษณ
แบบน้ีมักไดผลไมคอยดีนัก เน่ืองจากผูใหสัมภาษณอาจปดบังอําพรางขอมูลบางรายการหรือใหขอมูล
ทโ่ี นมเอยี ง เนอ่ื งมาจากอาจไดร บั อทิ ธิพลจากกลมุ ผูใหส มั ภาษณดว ยกัน

หลักการสัมภาษณท ีด่ ี
การสัมภาษณเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลในการวิจัยจะสําเร็จมากนอยเพียงใด ข้ึนอยูกับ
ความสามารถของผูสัมภาษณท่ีจะสนทนา ซักถามและสรางความเปนกันเองเพื่อใหไดคําตอบจากผูให
สัมภาษณไดมากนอยเพียงใด ดังนั้นในการสัมภาษณจึงตองกําหนดจุดมุงหมายและขั้นตอนใน
การสัมภาษณ รวมท้ังเตรียมการสัมภาษณไวอยางชัดเจนสมบูรณกอนออกสัมภาษณ เพื่อใหไดขอมูล
ท่ตี อ งการและเชอื่ ถือได ในการสมั ภาษณค วรมหี ลกั ปฏิบตั ิดังนี้
1. กําหนดจุดมุงหมายและขั้นตอนในการสัมภาษณใหชัดเจน ตองการขอมูลอะไรบาง
ตองกําหนดไวใหชัดเจน และจะถามอะไรกอนหลัง จะเริ่มการสัมภาษณอยางไร และปดการสัมภาษณ
อยา งไรจะตอ งกําหนดเตรียมการไวลว งหนา
2. เตรียมตัวและวัสดุอุปกรณใหพรอม นั่นคือตองศึกษาหาความรูเรื่องเก่ียวกับท่ีตองการ
สมั ภาษณใหกวางขวางอยางเพียงพอ รวมทั้งศึกษาประวัติสวนตัวและลักษณะพิเศษของผูใหสัมภาษณ

-76-

ดวยจะไดสรางบรรยากาศใหเอื้ออํานวยตอการสัมภาษณ สวนวัสดุอุปกรณ เชน เครื่องบันทึกเสียง
เครอื่ งบันทกึ ภาพและแบบสัมภาษณ ควรเตรียมใหพรอมกอนเร่ิมการสัมภาษณ

3. เตรียมผูใหสัมภาษณ เปนการเลือกผูที่รูหรือมีขอมูลที่ตองการอยางแทจริง รวมทั้งมี
อํานาจหรือฐานะที่จะใหขอมูลนั้นไดดวย เพราะไมมีประโยชนอะไรที่จะไปสัมภาษณผูที่ไมรูหรือผูที่ไม
สามารถใหขอ มลู น้นั ได รวมทั้งจะตอ งศกึ ษาประวตั ทิ ั้งอดีตและปจจุบันอยางละเอียด วามีความสัมพันธ
เกี่ยวของกับขอมูลที่เราตองการมากนอยเพียงใด มีความลําเอียงท่ีจะบิดเบือนขอมูลน้ันหรือไมอยางไร
เปน ตน

4. สรางความสัมพันธคุนเคยและเปนกันเองกับผูใหสัมภาษณ เพื่อใหเขามั่นใจ แนใจ
และใหความรว มมือในการตอบคําถาม

5. พูดคุยและสรางบรรยากาศทดี่ ี ขณะสมั ภาษณต อ งสงเสริมใหผูใหสัมภาษณตองการอยาก
ตอบคําถามและอยากพูดคยุ ดวย แตการพูดคุยนนั้ ตอ งไมเปน การเสนอแนะคําตอบให

6. จัดเรียงคําถามตามลําดับกอนหลัง ถาสัมภาษณแบบเปนมาตรฐานก็ตองสัมภาษณไป
ตามแบบสัมภาษณนั้น มิฉะนน้ั อาจจะทําใหหลงลืมบางคําถามที่ไมไดถาม นอกจากน้ันลักษณะคําถามที่
ใชก็ไมควรเปนคําถามบังคับ ถาผูใหสัมภาษณไมตอบก็ไมควรใช แตควรหาวิธีการอื่นพยายามใหผูให
สมั ภาษณตอบ ถา ไมตอบโดยตรงจะตอบออ ม ๆ ก็ได

7. ใชภ าษาทส่ี มั ภาษณเ หมาะสม โดยตองเหมาะสมกับวัยและฐานะของผูใหส ัมภาษณ
8. จดบันทึกอยา งระมดั ระวงั ไมควรตงั้ หนา ตัง้ ตาจดจนเปน ทีน่ ารําคาญของผใู หสัมภาษณ
9. บรรยากาศในการสัมภาษณควรเปนอิสระ ปราศจากส่ิงรบกวนท้ังหลาย ถาจัดเปน
สถานทีเ่ ฉพาะไดจ ะทาํ ใหส ะดวกในการพูดคยุ กนั ย่ิงข้ึน

ข้นั ตอนการสัมภาษณ
วธิ ีการสัมภาษณอ าจแบง ไดเปน 4 ขน้ั ตอน ดงั นี้
1. ขน้ั เตรียมการ เปนขนั้ ที่เตรยี มการและวางแผนดําเนินการสัมภาษณทั้งหมดซึ่งตองวางแผน
และเตรียมการดงั นี้

1.1กําหนดวัตถุประสงคของการสัมภาษณ ตองกําหนดไวอยางชัดเจนแนนอน
โดยพิจารณาจากวัตถุประสงคของการวิจัยวา ตองการขอมูลอะไรบาง แยกแยะเปนประเด็นไวอยาง
ชดั เจน และครอบคลมุ เนอื้ หาท้ังหมด

1.2 เลอื กผูใหสัมภาษณ ตอ งคดั เลือกวาจะไปสัมภาษณใ ครบา ง ใครเปนผูรู หรือมีขอมูล
ตามท่ีตองการ ผูน้ันมีอํานาจหรืออยูในฐานะที่จะใหขอเท็จจริงเหลานั้นไดเพียงใด รวมทั้งตองใชผูให
สมั ภาษณจ าํ นวนเทา ใดจึงจะเปนตัวแทนของประชากรดวย

-77-

1.3 กําหนด นัดแนะเวลาและสถานท่ี ผูสัมภาษณจะตองทาบทามผูใหสัมภาษณติดตอ
นัดแนะเวลาและสถานที่สําหรับสมั ภาษณไวลวงหนา

1.4 เลือกประเภทการสัมภาษณ ตองเลือกวาจะใชการสัมภาษณประเภทใด ใชวิธีการแบบ
มาตรฐานหรือไมเปน มาตรฐาน แบบไมจ าํ กดั คาํ ตอบ แบบลกึ หรอื แบบปฏิบตั กิ ารซาํ้ หรือวาจะใชผสม
กันอยางไร ตอ งกาํ หนดใหแ นนอน

1.5 เตรียมคําถามและวัสดุอุปกรณ ตองจัดเตรียมคําถาม ถาใชแบบเปนมาตรฐานตอง
จัดเตรียมสรางแบบสัมภาษณจัดนําไปใหเรียบรอยและเพียงพอ สวนวัสดุอุปกรณประกอบ
เชน เครอ่ื งบนั ทึกเสียง บนั ทึกภาพ ถาจาํ เปนกต็ องจัดเตรียมไปดวย

แบบสัมภาษณท ีจ่ ัดเตรียมไปน้ันควรทําใหมีรูปแบบท่ีแนนอนเรียงลําดับการสัมภาษณกอนหลัง
โดยทั่วไปคําถามในแบบสัมภาษณจะเกี่ยวกับเรื่องความจริง ความรูความคิดเห็นซ่ึงอาจจะสรางไวเปน
แบบปดหรือเปดก็ไดแลวแตเหมาะสม ถาเปนแบบปดก็สะดวกในการจดบันทึกและการวิเคราะห
การสรางแบบสัมภาษณค ลา ยกับสรา งแบบสงั เกตและแบบสอบถาม จึงขอใหศึกษาเพ่ิมเติมในการสราง
แบบสังเกตและแบบสอบถามดว ย

1.6 ทดลองเคร่ืองมือหรือวัสดุอุปกรณ กอนไปสัมภาษณจริงตองนําวัสดุและอุปกรณที่
จาํ เปน ไปทดลองใชด ูกอน เพ่ือใหอยูในสภาพที่ใชการได สวนแบบสัมภาษณก็ควรนําไปทดลองใชกับกลุม
ตัวอยางดกู อ น เพ่ือดูความเขา ใจในการถาม การตอบ การเรียงลําดับคําถาม รวมทั้งความยากงาย อํานาจ
จําแนกของคําถามแตละขอ และความตรง ความเท่ียงของแบบสัมภาษณท้ังชุดเพื่อใหสามารถใชสัมภาษณ
และจดบนั ทึกไดอยา งถูกตองครบถวน นอกจากน้ันจะไดทดลองดูวาตองใชเวลาสัมภาษณแตละรายเทาใด
ดวยเพื่อกําหนด และวางแผนการสัมภาษณใหไดอยางประหยัด และเสยี เวลานอยที่สุด

1.7 ศึกษาขอมูลและประวัติผูใหสัมภาษณ ผูสัมภาษณตองศึกษาเรื่องราวขอมูลที่
ตองการอยางละเอียด และศึกษาประวัติสวนตัวของผูที่จะไปสัมภาษณ รวมท้ังสภาพแวดลอมที่
เก่ียวของกับผูใหสัมภาษณ เชน สภาพชุมชน อาชีพทั่วไป รวมท้ังขนบธรรมเนียมประเพณีที่ผูให
สัมภาษณเ กยี่ วของอยู เปน ตน

1.8 ฝกอบรมผูสัมภาษณ กรณีที่ตองใชผูสัมภาษณหลายคนจะตองมีการฝกอบรมทํา
ความเขา ใจใหม คี วามรคู วามเขา ใจตรงกนั กอนการอบรมควรมีการใหทดลองสัมภาษณดวย โดยเฉพาะ
ในเรื่องตอไปนี้

1.8.1 วัตถุประสงคและประโยชนของการวจิ ัย
1.8.2 ขัน้ ตอนของการสมั ภาษณ
1.8.3 คาํ ถามที่ใชถามทั้งหมด
1.8.4 การจดบันทกึ ขอมูล

-78-

2. ข้ันการสัมภาษณ เปนข้ันการสัมภาษณจริง ซึ่งผูสัมภาษณและผูใหสัมภาษณพบปะและ
พูดคยุ ซกั ถามกนั ในขั้นนค้ี วรปฏบิ ตั ิดังน้ี

2.1 แนะนําตัวและวัตถุประสงคของการสัมภาษณ เม่ือเขาไปสัมภาษณตองแนะนํา
ตัวเองวาเปนใครมาจากไหน มาทําไม มีจุดมุงหมายและขอบเขตของการสัมภาษณอยางไร
สรางความสําคัญใหแกผูใหสัมภาษณและใหความมั่นใจวา สิ่งที่ใหสัมภาษณไปจะถือเปนความลับจะ
นําไปใชประโยชนเฉพาะการวิจัยนเ้ี ทา นั้น จะไมนําไปใชอยางอ่นื หรอื เปดเผยใหผ ูอื่นรูอยางเดด็ ขาด

2.2 เร่ิมการสัมภาษณ ดวยการพูดคุยซักถามที่กําหนดไวกอนหลังในการพูดคุยซักถาม
ควรปฏบิ ตั ดิ ังน้ี

2.2.1 พยายามใหผสู ัมภาษณพดู มากกวาปลอ ยใหน ิ่งเฉย ๆ
2.2.2 ใชภาษาสุภาพนาฟง ไมข มขูท ้ังดวยนา้ํ เสยี งและทา ทาง
2.2.3 ถามดวยภาษางาย ๆ พูดคยุ ตามสบาย แตไมควรใชค าํ ถามนาํ
2.2.4 พยายามตะลอมใหตอบตรงประเด็น เนน จดุ สําคัญ
2.2.5 คําถามบางอยางอาจไดคําตอบจากการสังเกต หรือคําถามอ่ืนก็ไมจําเปนตอง
ถามอกี
2.2.6 ถาสมั ภาษณเ ปนกลมุ ควรพูดคยุ ซกั ถามคนท่มี อี าวุโสกอน
2.2.7 ถาการสัมภาษณต อ งใชเ วลานาน ตองหาทางผอนคลายความตึงเครียดหรือใหมี
การเปลยี่ นอิริยาบถบาง อาจจะใชค าํ ถามเบา ๆ หรือคําถามนองเรอ่ื งมาพดู คยุ กนั ก็ได
2.2.8 ในขณะพูดคุยกัน ผูสัมภาษณตองไมแสดงอาการหรือทาทีเบื่อหนายตอการ
สัมภาษณห รือตอ ตัวผูใหสัมภาษณ
3. ขั้นการบนั ทกึ ผล การบันทกึ ผลการสัมภาษณค วรปฏิบตั ิดังนี้
3.1 บันทึกผลทันที อาจบันทึกระหวางการสัมภาษณหรือหลังการสัมภาษณเสร็จไมควร
ท้งิ ไวน าน อาจหลงลืมหรือคลาดเคลอ่ื นได
3.2 บันทึกคําตอบตามแบบฟอรม ถาคําถามเปนแบบฟอรมใหบันทึกตามแบบฟอรม
เชน ถาใชเ ปน แบบสัมภาษณก ค็ วรบันทกึ ตามแบบสัมภาษณน น้ั
3.3 บันทึกอยางละเอียดชัดเจน ถาคําถามเปนแบบเปด อาจบันทึกถอยคําเดิมของผูให
สัมภาษณไวท้ังหมด แตถาคําตอบยาวมาก ควรบันทึกเฉพาะเน้ือหาสาระที่ตองการและใชภาษาท่ี
ชัดเจน ไมคลุมเครือ
3.4 บนั ทกึ ตามความเปนจริง อยามีอคติ หรือเตมิ ความเห็นของตนใสเขา ไป
3.5 ไมค วรเวน คาํ ถามใหว า งไวโ ดยไมม ีผลการบันทึก ถาไมมีคําตอบตองบันทึกลงไปวา
เพราะเหตใุ ด

-79-

3.6 บนั ทึกใหค รบ ขอ ความในบนั ทึกควรประกอบดว ย
- ช่ือและที่อยูของผูใ หสัมภาษณ
- วัน เดือน ป ท่ีสัมภาษณ
- ผลการสัมภาษณ ซึ่งจะตอ งจดบนั ทึกทั้งคาํ ถาม คาํ ตอบ รวมท้ังขอสังเกตท่ีได

ขณะสัมภาษณ และขอ เสนอแนะของผูใหสมั ภาษณดวยวา มีอยางไรบา ง
- สรปุ ผลการสัมภาษณ

4. ขั้นปดการสัมภาษณ การปดการสัมภาษณเปนข้ันสุดทายของกระบวนการสัมภาษณ
ซ่ึงถือวามีความสําคัญมากข้ันหนึ่ง ซ่ึงผูสัมภาษณจะตองปฏิบัติกอนปดการสัมภาษณ ในการปดการ
สมั ภาษณค วรปฏบิ ัติดงั นี้

4.1 กลาวขอบคณุ ผูใหสัมภาษณ ขอบคุณท่ีใหความรวมมือและยํ้าวาความสําเร็จของการ
ไดข อมูลน้นั สว นหน่ึงขึ้นอยูก บั ผูใหส มั ภาษณ ทําใหผใู หสมั ภาษณม ีความภูมิใจและสบายใจ

4.2 ทบทวนความถูกตองและเช่ือถือไดของขอมูลที่ได ซ่ึงผูสัมภาษณอาจจะทบทวนเอง
กอ นปดการสมั ภาษณก ไ็ ด โดยถามทบทวนคาํ ถามใหแนใ จวา ผูใหส ัมภาษณต อบเชน น้นั จริง ๆ

แบบสมั ภาษณ
แบบสัมภาษณ (Interview Form) เปนเคร่ืองมือวัดที่ประกอบดวยกลุมของคําถามที่ใชถาม
และใชจดบันทึกผลการสัมภาษณ ซึ่งแตกตางกับแบบสอบถามตรงท่ีแบบสัมภาษณนั้นผูตอบไมมีโอกาส
เหน็ คาํ ถาม-คําตอบเลย ผสู ัมภาษณจะเปนผูอานใหฟง และบันทึกคําตอบเอง การสรางแบบสัมภาษณ
เหมือนกับการสรางแบบสอบถามอยางมาก แบบสอบถามอาจปรับเปลี่ยนเปนแบบสัมภาษณได
และแบบสัมภาษณกอ็ าจปรับเปลยี่ นเปน แบบสอบถามไดเชนเดยี วกัน

แบบสัมภาษณโ ดยทั่วไปจะถามขอ มลู 3 ประเภท (Kerlinger, 1986, p.441) ไดแ ก
1. ขอมลู ประเภทสาํ มะโน (Census-type Information) ไดแ ก ขอเทจ็ จริงเกี่ยวกบั ตัว

ผตู อบ เชน อายุ การศึกษา สถานภาพสมรส รายได ศาสนา เปนตน
2. ขอ มลู พฤตกิ รรม (Face Sheet Information) ไดแก พฤติกรรม ความคิดเหน็ และ

เจตคติ
3. ขอ มูลท่เี ปน ปญ หา (Problem Information) ไดแ ก เหตผุ ลหรือสาเหตขุ องการมี

พฤตกิ รรม ความคิดเห็น และเจตคตนิ น้ั
รูปแบบคําถามท่ีใชท่ัวไปก็มี 2 แบบ คือ แบบคําถามใหเลือกตอบ (Fixed Alternative

Items) กับแบบคําถามเปด (Open – ended Items) โดยที่แบบคําถามใหเลือกตอบมีรูปแบบคําถามให
เลือกตอบโดยทวั่ ไปจะกาํ หนดคาํ ถามในลักษณะใหต อบวา ใช - ไมใ ช ถกู – ผิด เห็นดวย – ไมเห็นดวย และ
อาจเพมิ่ เปน 3 ตัวเลือกโดยเพ่มิ ไมทราบหรือไมแนใจเขาไปดวยก็ได เชนเดียวกับแบบสอบถามท่ีมีมาตร

-80-

วัดหลายประเภทในแบบเดียวกัน อาจเปนแบบเลือกตอบ แบบมาตรประมาณคา แบบตรวจสอบ
รายการ หรือแบบวัดเจตคติที่นํามาใชในการสัมภาษณดวยการถามตอบระหวางผูสัมภาษณและผูให
สัมภาษณแทนการเขียนตอบ สวนคําถามปลายเปดจะเปดกวางใหผูถูกสัมภาษณตอบอยางอิสระ
ผูสัมภาษณค อยกาํ หนดขอบเขตหรือดงึ การสนทนา ใหเขาสูป ระเด็นท่ตี อ งการ

ขนั้ ตอนการสรา งแบบสัมภาษณ
การสรางแบบสัมภาษณแบงข้ันตอนการสรางโดยสรุปจากแนวคิดของสุวิมล ติรกานันท (2550,
น. 133-134) ไดดงั ตอไปน้ี
1. กําหนดตัวแปรการวิจัยที่ตองการสัมภาษณ พิจารณากรอบแนวคิดการวิจัย มาตรฐานการ
เรียนรู ตัวชี้วัด วัตถุประสงคการวิจัย และกําหนดคุณลักษณะของตัวแปรการวิจัยที่ตองการวัด
การสรา งเครือ่ งมือทาํ ไดเชน เดยี วกับการสรา งแบบสอบถาม
2. ศึกษาเอกสารท่ีเกี่ยวของ นิยามศัพทเชิงทฤษฏี การใหนิยามศัพทเชิงปฏิบัติการใหแกตัว
แปรการวิจยั จากนน้ั เรยี บเรยี งประเด็นทต่ี อ งการถาม
3. จดั รปู แบบของแบบสัมภาษณโดยแบง เปน สว นคาํ ถาม และสว นคาํ ตอบ
4. กาํ หนดความยาวของแบบสัมภาษณ ซ่ึงความยาวของแบบสัมภาษณจะข้ึนอยูกับ เนื้อหาซ่ึง
ไดม าจากการทบทวนเอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี กีย่ วของ และระยะเวลาที่ใชใ นการสัมภาษณ
5. สรางขอ คาํ ถาม ซึง่ ในการเขยี นขอคําถามควรมีลักษณะที่เขาใจงาย ไมตองอธิบายหลายครั้ง
มีใจความหลักเพียงอยางเดียว นาสนใจ ไมละเมิดสิทธิของผูอ่ืน ไมแนะคําตอบ และเรียงลําดับอยาง
ตอ เน่ือง
6. นําแบบสัมภาษณไปทดลองใช เพ่ือความชัดเจนและความถูกตองของขอคําถาม ดังนั้นจึง
ตอ งทําสถานการณใ หเ หมือนกับการสัมภาษณจ รงิ ทุกอยา ง
7. ตรวจสอบคุณภาพของแบบสัมภาษณ ทําการแกไขปรับปรุงกอนนําไปใชสัมภาษณเพ่ือเก็บ
ขอ มลู จรงิ
8. ในการสรางแบบสัมภาษณเพ่ือการวิจัยเชิงคุณภาพ จะตองศึกษาลักษณะความเปนอยู
ขนบธรรมเนียม ประเพณีของกลุมเปาหมายเพื่อหาแนวทางสรางความคุนเคยกอนการสัมภาษณ
ซกั ซอมการใชค าํ ถามแตล ะประเดน็ ตรวจสอบความถูกตอ งกอนออกไปใชจริง

ในการจัดทําแบบสัมภาษณ สามารถศึกษาจากตัวอยางของแบบสัมภาษณ การวิจัยเร่ือง
ผลการใชชดุ ฝกทักษะท่ีมีผลตอทักษะสังเกตของนักเรยี น ดงั น้ี

-81-

คําช้ีแจง แบบสัมภาษณฉบับน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อใชในการรวบรวมความคิดเห็นของนักเรียนเก่ียวกับ
การใชช ดุ ฝก ทักษะการสังเกต สาํ หรับใชเ ปน ประโยชนในการพฒั นาการเรยี นการสอน

ตอนท่ี 1 ขอมลู ท่วั ไป
1. ชือ่ – สกุล ผถู กู สัมภาษณ …………………………………………………………..
2. ระดับชัน้ ม. …………………โรงเรียน ……………………………………………..

3. ชอ่ื ผสู ัมภาษณ……………………………………………………………………….

4. สัมภาษณเวลา …………น. วนั ที่ ……..เดอื น ……………พ.ศ. ………………..

ตอนที่ 2 แบบสัมภาษณนใ้ี ชส มั ภาษณโ ดยครูผสู อนหลังจากทีน่ ักเรียนไดใชช ดุ ฝกทกั ษะการสังเกต

เสร็จสนิ้ แลว โดยมขี อคําถามในการสมั ภาษณดงั นี้

รายการขอ คาํ ถาม คําตอบการสมั ภาษณ

1. นักเรียนไดทาํ กิจกรรมอะไรบา งใน

ชุดฝก ทกั ษะการสังเกต

2. กิจกรรมในชดุ ฝก ทักษะการสังเกตสง เสริมให
นกั เรียนไดพัฒนาทักษะการสังเกตหรือไม

3. นกั เรียนคิดวากจิ กรรมในชุดฝกทกั ษะการ
สงั เกตมีประโยชนต อ การเรียนวิทยาศาสตร
หรอื ไม อยางไร

4. นกั เรียนจะนําทักษะการสังเกตไปใชไ ดใ น
โอกาสใดบา ง

5. นักเรยี นคดิ วาหลงั การใชช ุดฝกทกั ษะการ
สงั เกตน้แี ลวนกั เรียนมีทกั ษะการสังเกต
เพมิ่ ขนึ้ หรือไม อยางไร

ฯลฯ

ภาพที่ 5.1 ตวั อยา งแบบสัมภาษณก ารใชช ุดฝก ทกั ษะการสังเกต

-82-

การตรวจสอบคุณภาพของการสมั ภาษณแ ละแบบสมั ภาษณ

การวิเคราะหหาคุณภาพของแบบสัมภาษณท่ีตองตรวจสอบไดแก ความเที่ยงตรงตามเนื้อหา

และความเชอื่ มัน่ ความเท่ียงตรงตามเน้ือหาตรวจสอบไดโ ดยใหผ ูเ ชี่ยวชาญทางเน้อื หาเปน ผูตรวจสอบ

ดังจะไดกลาวโดยละเอียดในบทที่ 6 เรื่อง การวิเคราะหคุณภาพเครื่องมือ สวนความเช่ือม่ันน้ัน

จะตรวจสอบหาความสอดคลองของการตอบ ซงึ่ มวี ธิ ีการตรวจหลายวธิ ี (Best, 1981, p.167) ไดแก

1. ใชการสัมภาษณซ ํา้ วธิ ีน้ีใชผูสัมภาษณคนเดียวไปสัมภาษณกลุมตัวอยางคนเดียวซ้ํากันสอง

ครงั้ แลวนาํ ผลท้งั สองคร้ังมาหาคาสหสัมพันธกัน หรือนํามาหาคารอยละของความคงที่ในผลการตอบ

สองครั้ง ถาพบวามีคาสหสัมพันธสูงหรือไดรอยละของความถี่สูง ก็แสดงวาการสัมภาษณนั้นมีความ

เที่ยงสูง

2. ใชผูสัมภาษณหลายคนสัมภาษณขอมูลเดียวกันแลวนํามาหาสัมประสิทธิ์ของความ

สอดคลองกันระหวา งขอมูลทไี่ ดจ ากการสัมภาษณเหลา นั้น ซึง่ สามารถคาํ นวณหาได 2 วธิ ี ดงั นี้

2.1 หาสัมประสิทธค์ิ วามสอดคลองโดยใชสูตรของ Kendall (วิเชียร เกตุสิงห, 2524, น.122)

ดังนี้

∑W =
12 D2
m2n(n2 −1)

เมอื่ W คอื สมั ประสทิ ธิ์ความสอดคลอ งกนั

D คือ ผลตางระหวางผลรวมของอันดับท่ีคะแนนของกรรมการสัมภาษณ

ท่ีใหแ กผ ูใ หส ัมภาษณแตล ะคนกับคาเฉล่ียของผลรวมของอันดับที่ทั้งหมด

m คือ จํานวนกรรมการ

n คือ จาํ นวนกลมุ ตัวอยา ง

การหาคุณภาพความสอดคลอ งโดยใชสตู รของ Kendall สามารถอธิบายเพม่ิ เติมดวยตัวอยางของ
ผลการใหค ะแนนการสมั ภาษณของกรรมการจาํ นวน 5 คน สัมภาษณนักศึกษาจํานวน 6 คน กรรมการ
แตล ะคนใหคะแนนเปนอนั ดับดงั นี้

-83-

ตารางที่ 5.1 ตัวอยางคะแนนเพื่อการวเิ คราะหคา สัมประสิทธ์ิความสอดคลองโดยใชสูตรของ Kendall

นกั ศึกษา อนั ดบั คะแนนของกรรมการสัมภาษณคนที่ ผลรวม D D2
1 2345 อันดบั ท่ี
1
2 2 1 2 1 3 9 8.5 72.25
3
4 4 3 5 2 4 18 -0.5 0.25
5
6 6 5 6 4 5 26 -8.5 72.25

3 2 4 3 2 14 3.5 12.25

1 4 3 5 1 14 3.5 12.25

5 6 1 6 6 24 -6.5 42.25

รวม 105 211.25

การหาคา เฉลย่ี ของผลรวมของอันดับที่ หาไดโดยการเอาผลรวมอันดับที่ท้ังหมดหารดวยจํานวน
นักศึกษา ไดเ ทากับ 105/6 = 17.5 แลว นําคาเฉลย่ี ท่ีได ไปลบออกจากผลรวมอนั ดบั ที่ ตัวอยางเชน

คา D ของนักศกึ ษาคนที่ 1 จะเทากับ 17.5 - 9 = 8.5
คา D ของนักศึกษาคนที่ 2 จะเทา กับ 17.5 -18 = 0.5
นกั ศกึ ษาคนอน่ื ๆ ก็คดิ เชนเดียวกนั แลวจงึ แทนคาในสตู รไดดงั นี้

W = 12∑ D2
m2n(n2 − 1)

= 12(211.25)
25(6)(36 -1)

= 2535
5250
= 0.48

สรปุ ไดวา แบบสมั ภาษณชุดนมี้ คี า ความเชอื่ ม่ันเทา กับ 0.48

2.2 ใชวิธีวิเคราะหหาความแปรปรวนตามวิธีของฮอยท (Hoyt’s Analysis of

Variance) ซึ่งผูสัมภาษณแตละคนจะใหผลการสัมภาษณมาเปนคะแนน แลวนําคะแนนมาทําเปน

ตาราง 2 ทางจําแนกตามผูสัมภาษณก ับผูถูกสัมภาษณ วิเคราะหความแปรปรวนและหาคาความเชื่อม่ัน

ดว ยสูตร ดังนี้ (บญุ ธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์, 2534, น. 105-107)

rtt = 1 - MSe

MSp

-84-

การวิเคราะหหาความแปรปรวนตามวิธีของฮอยท สามารถอธิบายดวยตัวอยางเชน กรรมการ
สัมภาษณจํานวน 3 คน สัมภาษณนักศึกษาเขาศึกษาตอจํานวน 5 คน กรรมการแตละคนใหคะแนน
นักศึกษา โดยใหค ะแนนเต็ม 10 คะแนน ดงั น้ี

ตารางท่ี 5.2 ตัวอยางคะแนนเพ่ือการวิเคราะหหาความแปรปรวนตามวธิ ีของฮอยท

นกั ศึกษา กรรมการสัมภาษณคนท่ี รวม

12 3 17
16
1 56 6 26
22
2 65 5 24
105
3 89 9
765
4 78 7

5 97 8

Σx 35 35 35

Σx2 255 255 255

การคํานวณ ตามขั้นตอนดงั นี้ = Σxt2- (∑ X)2
1. หา SS ของผลรวม โดยใชสตู ร SSt
nt
2. หา SS ของคอลมั นโ ดยใชสูตร SSc
= 765 - (105)2
3. หา SS ของแถวโดยใชสูตร SSr 3x5
4. หา SS คลาดเคลือ่ น โดยใชสตู ร SSe = 30

= ∑(∑Xc)2 - (∑X)2
n nt

= 352 + 352 + 352 - (105)2

5 3x5

=0

= ∑(∑Xr )2 - (∑X)2

n nt

= -172 +162 + 262 + 222 + 242 (105)2

3 3x5

= 25

= SSt - SSc - SSr
= 30 – 0 -25

=5

-85-

5. หา MSe โดยใชสตู ร MSe = SSe

n(k -1)

= 5
5(3 -1)

= 0.5

6. หา MSp โดยใชสูตร MSp = SSr

k -1

= 25
3-1
= 12.5

7. หา rtt โดยใชส ูตร rtt = 1- MSe

MSp

= 1- 0.5
12.5
= 1- 0.04

= 0.96

สรปุ ไดว า ความเชอ่ื ม่ันของการสัมภาษณเ ทากบั 0.96 ซึง่ ถอื วา เปนคาความเชื่อมั่นสงู

ขอดี และขอ จํากดั ของการสมั ภาษณ
ขอดี
การรวบรวมขอมลู ดวยการสัมภาษณดีกวาวธิ อี ืน่ หลายประการโดยเฉพาะ
1. ไดรับคําตอบจากผใู หสมั ภาษณอยางครบถวนท้งั จาํ นวนและลักษณะขอมลู ท่ตี อ งการ
2. ขอมูลที่ไดรับมีความคลาดเคลื่อนนอย เชื่อถือไดมาก เพราะไดไปสัมภาษณเก็บขอมูล
โดยตรงจากแหลง ขอมลู
3. สรางความเชื่อมัน่ ใหแกท งั้ ผูใ หส มั ภาษณแ ละผูวิจยั
4. หลังการสมั ภาษณแลว เปน การสรา งความสัมพนั ธเ ขา ใจกนั ดขี นึ้
5. เปน วิธที สี่ ามารถแยกขอ เท็จจรงิ ความเหน็ และอารมณอ อกจากกนั ได
6. รวบรวมขอมลู ไดเกือบทุกลักษณะทั้งท่ีเปนขอมูลสวนตัว ขอมูลที่ยุงยากซับซอนหรือขอมูล
ที่แอบแฝงดวยอารมณค วามรสู กึ ของผูใหส มั ภาษณ
7. เปนวิธีที่ทําใหไดขอเท็จจริงเพิ่มเติมจากที่ตองการ ดวยการสังเกตสีหนา ทาทาง การพูด
และคาํ ตอบดว ย
8. ในขณะสัมภาษณ ถาสงสัยของใจอะไรสอบถามทบทวนกันไดทันที และทําใหเขาใจกันได
ทุกประเด็นกอ นตอบ

-86-

ขอจํากดั
การสมั ภาษณเ พ่ือรวบรวมขอ มูลในการวิจัยมีขอจํากัดท่สี าํ คญั ดงั น้ี
1. สิ้นเปลอื งคา ใชจาย แรงงานและเวลามาก
2. ยากท่ีจะขจัดความลําเอียงของผูสัมภาษณออกจากผลการสัมภาษณได เชน กรณีที่รูจักกัน
กอนเปนการสว นตัว หรอื นิยมชมชอบผนู ้ันอยูกอ นแลว เปนตน
2. ผลการสัมภาษณข้ึนอยูกับตัวผูสัมภาษณอยางมาก ถาใชผูสัมภาษณไมดีผลท่ีไดเช่ือถือไม
คอ ยได ทัง้ นขี้ ึ้นอยูกับสภาพการณทจี่ าํ เปน ของผสู ัมภาษณดงั กลา วแลว
3. อาจไดข อ มลู ไมค รบถวน ถา ผูสัมภาษณหรือผูใหสัมภาษณกระวนกระวายใจ มีความเครียด
เกิดข้ึนระหวางการสมั ภาษณ
4. ถา ใชผ ูส มั ภาษณห ลายคนยากทจ่ี ะทําใหอยูใ นมาตรฐานเดียวกนั ได
5. ถา ผูใ หสมั ภาษณอยูก ระจัดกระจายมากจะเปน ผลตอการเดินทางมาก รวมท้ังตองส้ินเปลือง
เงนิ ทองและเวลามากดว ย
6. ภาษาอาจมีผลตอการสมั ภาษณดวย ถาผใู หสัมภาษณไ มเขา ใจภาษาของกนั และกัน

การสังเกต

การสังเกตเปนการใชประสาทสัมผัสอันไดแก ตา หู จมูก ลิ้น และกาย สังเกต หรือศึกษา
พฤติกรรมและปรากฏการณตางๆ ท่ีเกิดข้ึน เพ่ือหาขอสรุป หรือขอเท็จจริงตามที่ตองการทราบ
การสังเกตจะตองอาศัยประสาทสัมผัสของผูสังเกต แลวนําขอมูลท่ีเก็บรวบรวมไดไปวิเคราะห เปนการ
เกบ็ รวบรวมขอ มูลพฤตกิ รรมดานทักษะพสิ ัย และคณุ ลกั ษณะท่ีตอ งการศึกษาอีกหลายลกั ษณะ

ความหมายของการสงั เกต
ไดม ีผใู หค วามหมายของการสังเกตไวพอสังเขปดังน้ี
บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธ์ิ (2534, น. 39) ไดใหความหมายของการสังเกตในความหมาย
โดยแคบวาหมายถึง การสังเกตโดยตรงที่ผูสังเกตเปนผูใชประสาทสัมผัสเองโดยตรง ไมตองอาศัยสื่อ
หรือเคร่ืองมืออื่นไปกระตุนและสังเกตออกมา สวนความหมายอยางกวางหมายรวมถึง การสังเกตโดย
ออ มทตี่ องใชส อ่ื หรือเครื่องมือกระตุน และวัดออกมา เชน แบบทดสอบ แบบสํารวจ แบบสอบถาม เปน
ตน
สวน ลวน สายยศ (2538, น. 154-155) ไดกลาววา การสังเกต (Observation) เปนการ
แสวงหาความจริง ความเปนไป และความเปล่ียนแปลงของปรากฏการณตางๆ ท่ีตองการศึกษา
โดยอาศัยประสาทสัมผัสคือหูและตาของผูสังเกต ซ่ึงผูสังเกตอาจเปนผูวิจัยเองหรือผูชวยผูวิจัย ท่ีไดรับ
การฝก อบรมหรือชีแ้ นะเปน อยางดี

-87-

สรปุ ไดวา การสังเกต เปนวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลดวยการใชการรับรูอยางต้ังใจของ ผูสังเกต
โดยใชประสาทสัมผัสที่ดี รวดเร็ว และรอบคอบ เพื่อใหไดมาซึ่งความรู ความจริง นําขอมูลท่ีไดมาใชใน
การวจิ ัย

ประเภทของการสังเกต
ประเภทของการสงั เกตอาจแบงไดหลายแบบ ทั้งนี้ข้ึนอยูกับวาจะยึดอะไรเปนเกณฑในการแบง
ในที่นีจ้ ะแบง ประเภทของการสงั เกตตามเกณฑไดแก
1. แบงโดยใชลักษณะโครงสรางของการสังเกตเปนเกณฑ สามารถแบงการสังเกตออกเปน
2 ประเภท

1.1. การสังเกตแบบมีโครงสราง (Structured Observation) เปนการสังเกตท่ี
ผสู ังเกตกําหนดเร่อื งทจ่ี ะสงั เกตไวอยางแนนอนเปนการเฉพาะวา จะสังเกตพฤติกรรมหรือปรากฏการณ
อะไรบาง การสังเกตแบบนี้จึงมีเคร่ืองชวยสังเกตหรือบันทึกเตรียมไว เชน แบบตรวจสอบรายการ
แบบมาตราสว นประมาณคา เปนตน

1.2 การสังเกตแบบไมมีโครงสราง (Unstructured Observation) เปนการสังเกต
ที่ผูสังเกตไมไดกําหนดเรื่องเฉพาะท่ีมุงสังเกตเพียงอยางเดียว แตจะสังเกตเร่ืองตางๆ ที่เก่ียวของดวย
สวนใหญใชกับการศึกษาหรือสํารวจเร่ืองใหมโดยทั่วไป ผูท่ีสังเกตไมมีความรูหรือภูมิหลังมากอนจึงไม
สามารถกําหนดรูปแบบท่ีแนนอนได การสังเกตโดยวิธีนี้จะนําไปสูการสังเกตแบบมีรูปแบบที่แนนอน
ตอไป

2. แบง โดยใชบ ทบาทและวิธีการสังเกตเปน เกณฑส ามารถแบง การสังเกตออกเปน 2 ประเภท
ดงั น้ี

2.1 การสังเกตโดยเขาไปมีสวนรวม (Participant Observation) เปนการสังเกต
ท่ีผูสังเกตเขาไปมีสวนรวมหรือคลุกคลีในหมูผูถูกสังเกตและอาจรวมทํากิจกรรมดวยกัน คือ อาจเขาไป
รวมอยใู นฐานะเปนสมาชกิ คนหนึง่

2.2 การสังเกตโดยไมเขาไปมีสวนรวม (Non-participation Observation) เปนการ
สังเกตที่ผูสังเกตสังเกตอยูภายนอกกิจกรรมของผูถูกสังเกต กลาวคือ จะสังเกตในฐานะบุคคลภายนอก
ไมเขา รว มกระทาํ กจิ กรรมกบั ผถู กู สงั เกต

3. แบง ตามชนิดของการวิจัย แบงออกเปน 2 ประเภทดังน้ี
3.1 การสงั เกตในงานวิจยั เชิงปริมาณ ทาํ ไดโ ดยมีมาตรฐานของการสังเกต ประกอบดวย

การกาํ หนดคนท่ีจะทําการสังเกต ส่ิงทต่ี องการสังเกต สถานท่ีท่ีจะทําการสังเกต และวิธีการสังเกต ผลที่
ไดจากการสังเกตจะเปน คาในเชิงปรมิ าณ เชน จาํ นวนนับ ความถ่ี รอยละ เปนตน


Click to View FlipBook Version