The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อการวิจัย รองศาสตราจารย์ ดร.วิเชียร อินทรสสมพันธ์ คณบดีคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อการวิจัย

เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อการวิจัย รองศาสตราจารย์ ดร.วิเชียร อินทรสสมพันธ์ คณบดีคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

-138-

ภาพท่ี 7.18 ตวั อยา งขอมูลท่ัวไปของผูตอบแบบสอบถาม เกยี่ วกบั “เพศ”
(ท่ีมา : https://docs.google.com/forms/d/........./edit )

2) การเพิ่มขอคําถาม กดเลือก แลวพิมพขอมูลทั่วไปของผูตอบ

แบบสอบถามขอท่ี 2 เก่ียวกับ “ช้ันป” ในท่ีน้ีใชการเลือกตอบแบบ “หลายตัวเลือก” ภาพตัวอยาง

ดังนี้

ภาพที่ 7.19 ตัวอยางขอ มูลทั่วไปของผตู อบแบบสอบถาม เกยี่ วกับ “ชนั้ ป”
(ท่มี า : https://docs.google.com/forms/d/....../edit )

ในการสรา งขอคําถามที่เกี่ยวกับขอมลู ท่วั ไปของผูต อบแบบสอบถาม เชน อายุ ตําแหนง ผล
การเรยี น สาขาวิชา ภมู ลิ ําเนา อาชพี ของบิดา มารดา ฯลฯ ตองสรา งใหครบตามท่ีกาํ หนดเปนตวั แปร
ของการวิจยั ไว

-139-

3) ในการเพิ่มตอนท่ี 2 ดวยการกดเลือก เพ่ือศึกษารายละเอียด

ของตัวแปรการวิจัย ในที่น้ีขอยกตัวอยาง “ความคิดเห็นเกี่ยวกับระดับจิตสาธารณะ” แลวสรางขอ

คําถามที่ 1 ในทน่ี ีข้ อยกตัวอยางการเลือกตอบแบบ “สเกลเชิงเสน” และกรอกรายละเอียดของระดับ

มาตรทีต่ อ งการวัด ภาพตัวอยางดังนี้

ภาพท่ี 7.20 ตวั อยางการเพิ่มตอนที่ และการสรา งขอคําถามทใ่ี ชการเลือกตอบแบบ “สเกลเชิงเสน”
(ทีม่ า : https://docs.google.com/forms/d/....../edit )

ตัวอยางการแสดงคําถามขอที่ 1 ใชการเลือกตอบแบบ “สเกลเชิงเสน” และกําหนดระดับ
การวัด “นอยท่ีสุด” และ “มากท่ีสุด” ของขอคําถามขอท่ี 1 สําหรับผูตอบแบบสอบถาม ภาพ
ตวั อยา งดังนี้

ภาพที่ 7.21 ตวั อยา งการแสดงคาํ ถามเลอื กตอบแบบ “ สเกลเชิงเสน ”
(ทีม่ า : https://docs.google.com/forms/d/...../edit )

-140-

4) เพิ่มขอที่ 2 ดวยการกดเลือก แลวสรางขอคําถามที่ 2

สามารถเลอื กตอบไดห ลายแบบ ในทนี่ ชี้ ก ารเลือกตอบแบบ “หลายตวั เลือก” ภาพตวั อยา งดังน้ี

ภาพท่ี 7.22 ตัวอยา งการสรา งคําถามใชก ารเลือกตอบแบบ “หลายตวั เลอื ก”
(ท่มี า : https://docs.google.com/forms/d/...../edit )

ตัวอยางการแสดงคําถามท่ีใชการเลือกตอบแบบ “หลายตัวเลือก” ของขอคําถามขอที่ 2
สําหรบั ผูตอบแบบสอบถาม ภาพตัวอยา งดงั นี้

ภาพที่ 7.23 ตัวอยางการแสดงตวั อยา งคําถามเลอื กตอบแบบ “ หลายตวั เลือก”
(ท่ีมา : https://docs.google.com/forms/d/...../edit )

-141-
5) ตัวอยางของการสรางขอคําถามท่ีใชการเลือกตอบแบบ “ตารางกรีดชองทํา
เคร่อื งหมาย” ภาพตวั อยางดังนี้

ภาพที่ 7.24 ตวั อยางการสรางคาํ ถามทีใ่ ชการเลอื กตอบแบบ “ตารางกรดี ชองทําเครอ่ื งหมาย”
(ทมี่ า : https://docs.google.com/forms/d/...../edit )

ตัวอยางการแสดงคําถามท่ีใชการเลือกตอบแบบ “ตารางกรีดชองทําเคร่ืองหมาย” สําหรับ
ผูตอบแบบสอบถาม ภาพตัวอยางดังนี้

ภาพท่ี 7.25 ตัวอยา งการแสดงคาํ ถามเลอื กตอบแบบ “ตารางกรีดชองทาํ เครื่องหมาย”
(ท่มี า : https://docs.google.com/forms/d/...../edit )

-142-
6) ตัวอยางของการสรางคาํ ถามท่ีใชเลือกตอบแบบอ่นื ๆ แสดงตวั อยางไดดงั ตอ ไปน้ี

6.1) ตัวอยางของการสรางคําถาม และการแสดงตัวอยางของคําถามสําหรับผูตอบ
แบบสอบถามใชก ารเลอื กตอบแบบ “เลือ่ นลง”

ภาพท่ี 7.26 ตวั อยางการสรางคําถามและการแสดงขอคาํ ถามเลอื กตอบแบบ “เลื่อนลง”
(ท่ีมา : https://docs.google.com/forms/d/...../edit )

6.2) ตัวอยางของการสรางคําถาม และการแสดงตัวอยางของคําถามสําหรับผูตอบ
แบบสอบถาม ใชก ารเลอื กตอบแบบ “คําตอบสั้น”

ภาพท่ี 7.27 ตวั อยา งการสรางคําถามที่ใชการเลือกตอบแบบ “คําตอบสน้ั ”
(ท่มี า : https://docs.google.com/forms/d/...../edit )

-143-
6.3) ตัวอยางของการสรางคาํ ถาม ใชก ารเลือกตอบแบบ “ยอหนา”

ภาพท่ี 7.28 ตวั อยา งการสรางคาํ ถามทใี่ ชก ารเลอื กตอบแบบ “ยอ หนา”
(ทีม่ า : https://docs.google.com/forms/d/...../edit )

1.5 แสดงตัวอยาง เพ่ือตรวจสอบผลการสรางดวยการกดเลือก เปนการ

แสดงรูปแบบของแบบสอบถามเสมือนจริงตามท่ีผูตอบแบบสอบถามจะมองเห็นได โดยแสดงใหเห็น

ภาพเสมือนจริงแบงตามตอนหรือสว นท่ไี ดกาํ หนดไว ตวั อยางของการแสดงตัวอยาง ภาพตัวอยางดังน้ี

ภาพท่ี 7.29 ตวั อยา งของการแสดงตวั อยางแบบสอบถามเสมือนจริง
(ทม่ี า : https://docs.google.com/forms/d/...../formResponse)

3. การสง และการตรวจสอบผลการสง แบบสอบถามเพื่อเกบ็ รวบรวมขอมูล
2.1 การสงแบบสอบถาม ในการสงแบบสอบถามนั้น มีขน้ั ตอนในการสงดงั น้ี

1) กดเลอื กเมนู
2) เลือกสงตามทีผ่ วู ิจัยสามารถเลือกชองทางสงผานในระบบออนไลนทาง Google ,
Facebook, Line, Twitter หรือจะเปน สง Link กส็ ามารถทําได ภาพตัวอยา งดงั นี้

-144-

ภาพท่ี 7.30 ตวั อยา งการเลอื กสง แบบสอบถามดวย Google Form
(ท่ีมา : https://docs.google.com/forms/d/...../ edit#responses )
2.2 การตรวจสอบผลการสงแบบสอบถาม มีขั้นตอนในการตรวจสอบดงั นี้

1) เลือกเมนูการตอบกลบั จะแสดงผลการตอบกลบั ซง่ึ จะแสดงเปนกราฟวงกลม
กราฟแทง กราฟเชิงเสน หรืออนื่ ๆ ผูสรางสามารถเลือกได ตัวอยา งการแสดงผล การตอบกลบั ภาพ
ตวั อยางดังน้ี

ภาพที่ 7.31 ตัวอยา งการตรวจสอบการตอบกลับการสง แบบสอบถาม
(ที่มา : https://docs.google.com/forms/d/...../ edit#responses)

-145-

2) เลอื กเมนู เพือ่ ดาวนโหลดขอมูลการตอบกลับ เปนไฟล Excel สามารถ

นาํ ขอ มูลท่ไี ดมาสรุปหรอื รายงานผลการสอบถาม ภาพตัวอยางดงั นี้

ภาพท่ี 7.32 ตัวอยางขอมูลการตอบกลบั แบบสอบถามจากการดาวนโ หลด
(ท่มี า : https://docs.google.com/forms/d/...../ edit#responses)

สรุปไดวา การสรางแบบสอบถามดวย Google Form เริ่มจากการนํารางแบบสอบท่ีสราง
ตามกระบวนการ มาสรางบน Google Form ดวยการกําหนดช่ือเร่ืองของแบบสอบถาม การกําหนด
คาํ ถามเพื่อเก็บขอ มูลทัว่ ไปของผูตอบแบบสอบถาม การสรางขอคําถามและคําตอบแบบตางๆ การสง
ในระบบออนไลน สามารถนําไปใชในการเก็บรวบรวมขอมูลเพ่ือการวิจัยดวยแบบสอบถามไดเปน
อยางดี

-146-

บทสรุป

การประยุกตใช Google Form สรางเครื่องมือการวิจัย เปนการนําเทคโนโลยีระบบ
ออนไลนเขามาชวยในการสรางเคร่ืองมือและเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อการวิจัยดวยความรวดเร็ว
ประหยัดท้งั เวลา คาใชจาย และแรงงาน กระบวนการสรางเคร่ืองมือดวย Google Form เริ่มตนจาก
การลงทะเบียนเปนสมาชิกของ Gmail หรือ Google mail แลวจึงลงทะเบียนใชอีเมลและเขา
หนา ตา งของเวปไซทด ว ย Google แลว ลงทะเบยี นผใู ช

การสรางเคร่ืองมือดวย Google Form จะตองรูจักเมนูท่ีใชในการสรางเคร่ืองมือ ซ่ึงแบง
ออกเปนเคร่ืองมือท่ีใชในการเพิ่มขอคําถาม สรางตอนที่ การแทรกรูปภาพ เมนูสําหรับเลือกตอบก็
สามารถเลือกใชแบบเติมคํา แบบบรรยาย 1 ยอหนา เมนูสําหรับเลือกตอบแบบหลายคําตอบ แบบ
เลือกที่ถูกที่สุด และแบบเลื่อนลง นอกจากน้ันยังมีเมนูชวยเหลืออื่นๆ ไดแก เมนูปรับตกแตงธีมของ
แบบฟอรม แสดงตัวอยาง สง แบบฟอรม แกลเลอรี่เทมเพลต และเมนูต้ังคา

การสรางแบบทดสอบดวย Google Form จะตองรางแบบทดสอบและหาคุณภาพความ
เท่ียงตรง แลวจึงนําขอสอบมาสราง โดยเริ่มจากการเขาหนาตางแรก แลวเลือกแกลเลอร่ีเทมเพลต
และเลือกแบบทดสอบเปลา กําหนดชื่อ สรา งขอ คาํ ถามขอ มูลสวนบคุ คล แลวจึงสรางขอสอบพรอมท้ัง
เฉลยคําตอบ การเลือกใชแบบเลือกตอบจะตองพิจารณาใหเหมาะสมกับวัตถุประสงคของการวิจัยให
มากท่ีสุด การสงแบบทดสอบใหผูทดสอบดวยระบบออนไลนและการตรวจสอบการตอบกลับกระทํา
ไดท ้งั ดูผลสรปุ จากหนาตางและจากการดาวนโ หลดไฟลข อมูล

การสรางแบบสอบถามดวย Google Form เริ่มจากเขาหนาตางแรก แลวเลือก
แบบฟอรม เปลา แลวจึงดําเนนิ การสรางตามขัน้ ตอนของแบบสอบถาม ซ่ึงมีลักษณะการสรางคลายกับ
แบบสอบทดสอบ การสงแบบสอบถามและการตรวจสอบผลการสงกลับการสอบถามก็สามารถทําได
ในลักษณะเชน เดียวกัน

บรรณานุกรม

จมุ พล สวัสดิยการ. หลักและวธิ ีการวจิ ัยทางสังคมศาสตร. กรุงเทพฯ : สุวรรณการพมิ พ. 2520.
ดวงเดือน พันธุมนาวิน และเพ็ญแข ประจนปจจนึก. จริยธรรมของเยาวชนไทย. รายงานการวิจัย

ฉบับที่ 21. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยพฤตกิ รรมศาสตร มหาวทิ ยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ. 2520.
ดวงเดือน พนั ธุมนาวนิ . จิตวิทยาจรยิ ธรรมและจิตวทิ ยาภาษา. กรุงเทพฯ: ไทยวฒั นาพานชิ . 2524.
ธานินทร กรัยวิเชียร องคมนตรี. คุณธรรมและจริยธรรมของผูบริหาร, สํานักงานคณะกรรมการ

ขา ราชการพลเรือน : กรงุ เทพมหานคร, 2550.
ชวาล แพรตั กุล. เทคนคิ การวดั ผล. พิมพครั้งที่ 7 . กรงุ เทพฯ : มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ. 2552.
โชติกา ภาษีผล. การสรางและการพัฒนาเครื่องมือในการวัดและประเมินผลการศึกษา.

พมิ พค รงั้ ที่ 2. กรุงเทพฯ : จฬุ าลงกรณม หาวิทยาลัย. 2554.
เทียนฉาย กีรนันทน. สงั คมศาสตรวจิ ัย. กรงุ เทพฯ : สาํ นกั พมิ พโ อเดียนสโตร. 2526.
นิภา ศรีไพโรจน. หลักการวิจัยเบื้องตน . พิมพค รัง้ ท่ี 2. กรุงเทพฯ : ศึกษาพร. 2531.
บญุ ชม ศรสี ะอาด. การวิจยั สําหรับคร.ู กรงุ เทพฯ : สุวรี ยิ าสาสน . 2546.
บุญเชิด ภิญโญอนันตพงษ. การทดสอบแบบอิงเกณฑ : แนวคิดและวิธีการ. กรุงเทพฯ :

โอเดียนสโตร. 2527.
บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธ์ิ. เทคนิคการสรางเครื่องมือรวบรวมขอมูลสําหรับการวิจัย. พิมพครั้งท่ี 3.

กรุงเทพฯ : บแี อนดบ ี การพมิ พ. 2534.
บญุ เรยี ง ขจรศิลป. วธิ ีวิจยั ทางการศกึ ษา. กรงุ เทพฯ : พ.ี เอ็น. การพิมพ. 2543.
ประภาเพ็ญ สุวรรณ. ทัศนคติ : การวัดการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมอนามัย. กรุงเทพฯ :

ไทยวฒั นาพานิช. 2520.
เยาวดี วบิ ลู ยศ ร.ี หลักการวัดและการสรางขอสอบ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลัย. 2528.
ลว น สายยศ และอังคณา สายยศ. การวดั ดา นจติ พิสยั . กรุงเทพฯ : สุวรี ยิ าสาสน . 2543.
-------------. เทคนิคการวจิ ัยทางการศึกษา. พมิ พคร้งั ที่ 2. กรงุ เทพฯ : สวุ รี ยิ าสาสน. 2538.
-------------. เทคนิคการวดั ผลการเรยี นรู. พิมพค ร้ังที่ 2. กรงุ เทพฯ : สวุ รี ิยาสาสน. 2543.
วิเชียร เกตุสิงห. หลักการสรางและวิเคราะหเครื่องมือที่ใชในการวิจัย. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ:

เรือนอกั ษร. 2524.
วิเชียร อินทรสมพันธ. ปจจัยที่สงผลตอจิตสาธารณะของนิสิตมหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จ

เจาพระยา. สํานักวิจัยและพัฒนา . กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา.
2555.

-148-

-------------. ทักษะชีวิตของนิสิตคณะครุศาสตรมหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา.
สํานกั วิจัยและพฒั นา. กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลัยราชภัฏบานสมเดจ็ เจาพระยา. 2556.

วิเชียร อินทรสมพันธ และคณะ. การจัดการขอมูลการวัดและประเมินผลการทดสอบ O-NET ของ
นักเรียนประถมศึกษาปท่ี 6 และมัธยมศึกษาปท่ี 3 ขอมูลป 2553 และ 2556 ในเขตพ้ืนท่ี
การศึกษาจังหวัดกรุงเทพมหานคร. สํานักวิจัยและพัฒนา. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏ
บา นสมเดจ็ เจา พระยา. 2558.

------------. การติดตามการใชหลักสูตรครุศาสตร 5 ป ของมหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จ
เจา พระยา. กรุงเทพฯ : สํานักงานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา. 2551.

วริ ชั วรรณรัตน. การตรวจสอบคณุ ภาพเคร่ืองมอื ในการวัดผลและการวจิ ยั . กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒ. 2532.

สาขาประเมินผลและวิจัยทางการศึกษา, เอกสารประกอบการสอน วิชา การวัดและประเมินผล
ทางการศกึ ษา. คณะครศุ าสตร มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏบา นสมเด็จเจาพระยา. กรุงเทพฯ :
21 เซนจูร่ี การพิมพ. 2550.

------------. เอกสารประกอบการสอน วิชา การวิจัยทางการศึกษา. คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัย
ราชภัฏบา นสมเดจ็ เจาพระยา. กรุงเทพฯ : 21 เซนจูรี่ การพมิ พ. 2550.

สมุ ลมาลย สรอยรัตน. การมีสวนรวมของประชาชนในการดําเนินงานวิทยุชุมชนในเขตอําเภอเมือง
จังหวัดจันทบุรี. วิทยานิพนธ นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช. 2548.

สุภรณ ลิ้มบริบูรณ. การวิจัยทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏ
บานสมเด็จเจาพระยา. 2548.

สุวิมล ติรกานันท. การสรางเครื่องมือวัดตัวแปรในการวิจัยทางสังคมศาสตร : แนวทางสูการ
ปฏิบตั .ิ กรุงเทพฯ : จฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลัย. 2550.

สําเริง บุญเรืองรัตน. ทฤษฎีการวัดและการประเมินผลการศึกษา. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมติ ร. 2527.

อุทุมพร จามรมาน. การสรางและพัฒนาเคร่ืองมือวัดลักษณะผูเรียน. กรุงเทพฯ : ฟนนีพับลิซซิง.
2532.

-------------. แบบสอบถาม : การสรางและการใช. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั . 2530.

-149-

Allport, G.W., Vernon, P.E. and Lindszey, G. Study of Values : A Scale for Measuring
the Dominant Interests in Personality. Boston : Houghton Co. 1960.

Baker, Therese L. Doing Social Research. New York : McGraw–Hill Book Company,
1988.

Best, John W. Research in Education. New Jersey : Prentice Hall Inc., 1986.
Bloom, Benjamin S. Taxonomy of Educational Objectives : The Classification of

Educational Goals. Handbook I Cognitive Domain. 2nd ed. London: Longman.
1979.
-------------. Taxonomy of Educational Objectives : The Classification of Educational
Goals. Handbook II Affective Domain. London: Longman. 1979.
Brown, Frederick G. Principles of Educational and Psychological Testing. New York :
Holt, Rinehart and Winston, 1976.
Cronbach, L. J. Essentials of psychological testing. New York : John Wiley and Son. 1964.
Ebel, Robert L. and Frisbie, David A. Essentials of Educational Measurement.
New Jersey : Prentice Hall Inc., 1986.
Edwards, Allen L. Techniques of Attitude Scale Construction. New York : Appleton-
Century Crofts, Inc. , 1957.
Ferguson, George A. and Takane, Yoshio. Statistical Analysis in Psychology and
Education. New York : McGraw – Hill International Editions 1989.
Green, John A. Teacher Made Test. New York : Harper & Row. 1963.
Greene, Edward B. Measurement of Human Behavior. New York : The Odysser Press.
1952.
Gronlund, Normal E. Measurement and Evaluation in Teaching. New York : McMillan
Publishing, 1985.
Hopkins, Kenneth D. and Stanley, Julian C. Educational and Psychological
Measurement and Evaluation. New Jersey : Prentice – Hall, Inc., 1981.
Isaac, Stephen and Michael, William B. Handbook in Research and Evaluation.
San Diego : Robert R. Knapp Publisher. 1974.
Kerlinger, Fred N. Foundations of Behavioral Research. Tokyo : CBB Publishing Japan Ltd.,
1986.

-150-

Lewin, Miriam. Understanding Psychological Research. New York : John Wiley &
Sons. 1979.

Likert, Rensis. A Technique for the Measurement of Attitude. In. G. F. Summer(ed.).
Attitude Measurement. Chicago : Rand McNally. 1970. pp. 149-158.

Lyman, Howard B. Test Scores and What They Mean. Englewood Cliffs. New Jersey
: Prentice – Hall Inc., 1971.

McIver, John P. and Carmines Edward G. Unidimensional Scaling. London: Sage
Publications, 1981.

Mehrens, William A. and Irvin J. Lehman. Measurement and Evaluation in
Education and Psychology. Holt Rinehart and Winston, Inc., 1973.

Moser, C.A. and Kalton, G. Survey Methods in Social Investigation. London :
Hninemann Educational Books, 1979.

Newcomb, T. M. Personality and social change; attitude formation in a student
community. Ft Worth, TX, US: Dryden Press. 1943.

Noll, Victor H. Introduction to Educational Measurement. Houghton Mifflin Co.,
1957.

Ober, Richard; Ernest L. Bently and Edith Miller. Systematic Observation of
Teaching. New Jersey : Prentice – Hall, 1971.

Osgood C. E. , Suci, C.J. and Tannenbaum, P.H. The Measurement of Meaning.
Urbana: University of Illinois Press, 1957.

Popham, W. James. Modern Educational Measurement. New Jersey: Prentice – Hall,
Inc. ,1981.

Remmers, H. H.; N. L. Gage and Francis J. Rummel. A Practical Introduction to
Measurement and Evaluation. New York : Harper & Row. 1966.

Roscoe, John T. Fundamental Research Statistics for the Behavioral Sciences.
New York: Holt, Rinehart and Winston Inc. 1975.

Smith, H. W. Strategies of Social Research. New Jersey : Prentice – Hall, Inc. 1981.
Thrustone, L.L. Attitude Can Be Measured. In G. F. Summer(ed.). Attitude

Measurement. Chicago : Rand McNally. 1970. pp. 127-141.
Thurstone, L.L. Comments. American Journal of Sociology. 52, 1964. P. 39-40.

ภาคผนวก ก

ตัวอยางแบบสอบถาม

แบบสอบถามการวิจัย
เรื่อง ทักษะชีวติ ของนสิ ติ คณะครุศาสตรม หาวิทยาลยั ราชภฏั บา นสมเด็จเจา พระยา

แบบสอบถามนี้มีวัตถุประสงคเพ่ือเก็บรวบรวมขอมูลในการทําวิจัยเร่ือง ทักษะชีวิตของนิสิตคณะครุศาสตร
มหาวิทยาลยั ราชภัฏบานสมเด็จเจา พระยา ดงั นนั้ จงึ ใครขอความรวมมือนิสิตในการตอบแบบสอบถาม โดยขอใหนิสิต
ตอบทกุ ขอ ทกุ ข้นั ตอน เพอ่ื ความถูกตอ งและแมนยําคําตอบของนิสิตถือเปนความลับและไมมีผลกระทบตอผูตอบ
แบบสอบถาม ขอความรวมมือจากนิสิตดงั นี้

ตอนท่ี 1 เปน แบบสอบถามขอมูลทั่วไปเก่ียวกับผูตอบแบบสอบถาม ไดแก เพศ อายุ หลักสูตร สาขาวิชา
ช้ันปการศกึ ษา และผลการเรยี นเฉล่ยี

ตอนที่ 2 เปนแบบสอบถามขอมูลเกี่ยวกับปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอทักษะชีวิต ไดแก สัมพันธภาพกับครอบครัว
สัมพนั ธภาพกับเพื่อน และการรบั สารนิเทศจากสือ่ มวลชน

ตอนที่ 3 เปนแบบสอบถามขอ มลู เกี่ยวกบั ทักษะชีวิตของนิสติ คณะครศุ าสตรม หาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จ
เจาพระยา ประกอบดวยตัวแปรสังเกตได 9 ตัวแปรไดแก การสื่อสารอยางมีประสิทธิภาพ การสรางสัมพันธภาพ
ระหวางบุคคล ความตระหนักในตนเอง ความเห็นอกเห็นใจผูอ่ืน การจัดการกับอารมณและความเครียด ความคิด
วเิ คราะหวิจารณ ความคดิ สรางสรรค การตัดสินใจ และการแกปญ หา

ตอนที่ 4 แบบสอบถามขอมลู เก่ยี วกบั ขอเสนอแนะหรือความคิดเหน็ อื่น ๆ

ขอความกรณุ าตอบทุกขอ เพราะถา ขาดขอใดขอหนงึ่ จะไมสามารถนํามาวิเคราะหไ ด คําตอบของนิสิตจะเก็บ
เปนความลับ และไมมีผลใดๆ ตอ การเรยี นในมหาวทิ ยาลัย คําตอบของนิสิตจะมีประโยชนเปนอยางย่ิงตอการวิจัยและ
การพฒั นานสิ ติ

ขอขอบคุณทกุ ทา นทใี่ หความรว มมือในการใหข อมลู
ดร.วเิ ชยี ร อนิ ทรสมพนั ธ

คณะครศุ าสตร มหาวิทยาลยั ราชภฏั บานสมเดจ็ เจาพระยา

-152-

ตอนท่ี 1 ขอ มลู ทว่ั ไปเกี่ยวกบั ผตู อบแบบสอบถาม

คาํ ชีแ้ จง : โปรดเตมิ คําในชอ งวา งหรือทําเครื่องหมาย  ลงในชอง  หนาขอ ความท่ีตรงกบั ความคิดเห็น

ของนสิ ิต ใหค รบถวนทุกขอ

1. เพศ  ชาย  หญงิ

2. ช้นั ป  ปท ่ี 1  ปท่ี 2

 ปท ี่ 3  ปท ี่ 4  ปที่ 5

3. ผลการเรียนเฉลีย่ ที่ผา นมา

 2.00 - 2.50  2.51-3.00

 3.01- 3.50  3.51-4.00

4. หลกั สูตร  4 ป  5 ป

5. สาขาวชิ า .........................................................

ตอนท่ี 2 สอบถามความคิดเห็นเกยี่ วกับปจ จัยทีม่ อี ทิ ธพิ ลตอ ทกั ษะชวี ติ ไดแ ก สัมพนั ธภาพกับครอบครวั

สัมพันธภาพกับเพ่อื น และการรับสารนิเทศ ขอใหน ิสติ อา นขอ ความแลว ตอบโดยทาํ เครื่องหมาย  ลงใน

ชอ งทต่ี รงกบั ความเปนจริงของนิสติ มากทส่ี ุด โดยมีเกณฑการใหค ะแนนและแปลความหมายดงั นี้

5 หมายถึง ขอความนั้นเปน จริงท่สี ุดหรือเปนจรงิ มากท่สี ดุ

4 หมายถึง ขอ ความนัน้ เปน จรงิ มาก

3 หมายถงึ ขอความน้ันเปน จรงิ บางหรือเปนจรงิ ปานกลาง

2 หมายถงึ ขอ ความนัน้ เปน จรงิ นอ ย

1 หมายถึง ขอ ความน้ันเปน จริงนอยทส่ี ดุ หรือไมจ รงิ

2.1 สัมพนั ธภาพกบั ครอบครัว

ขอ สัมพันธภาพกบั ครอบครวั ระดับความเปน จรงิ

5432 1

ขา พเจา มีสมั พนั ธภาพกับครอบครัวโดย...........................

1 เม่ือมีปญหากส็ ามารถปรกึ ษาคนในครอบครัวได

2 ยามเม่อื เจบ็ ปว ยผูป กครองจะสังเกตเห็นโดยท่ีไมต อ งบอก

3 บุคคลในครอบครัวไมม ีการทะเลาะวิวาทกนั

4 บุคคลในครอบครวั จะคอยชวยเหลือกัน

5 ในวันหยุด ผปู กครองมเี วลารว มทาํ กิจกรรม

6 ผูปกครองจะโอบกอดขาพเจา ตามความเหมาะสม

7 เม่อื ผูปกครองตกั เตอื นขาพเจา จะไมโ ตเถยี ง

8 รสู กึ วา ในครอบครัวเตม็ ไปดว ยความอบอุน

9 มสี ว นรวมในการแสดงความคดิ เหน็ ในครอบครัว

10 รูสกึ วาครอบครวั ของขา พเจาไมไ ดต างคนตา งอยู

-153- ระดบั ความเปน จริง

2.2 สัมพันธภาพกบั เพือ่ น 5432 1

ขอ สัมพันธภาพกบั เพือ่ น ระดับความเปนจริง
5432 1
ขาพเจา มีสมั พนั ธภาพกับเพือ่ น โดย......................................
1 รสู ึกวา ตนเองมเี พ่ือนอยเู สมอ
2 เมอื่ ไมส บายใจขา พเจาสามารถปรกึ ษากับเพอ่ื นได
3 ยอมรบั ฟงเมอ่ื เพ่ือนมีความคิดเหน็ แตกตา งจากขาพเจา
4 ยอมรับความผดิ รว มกบั เพอื่ นเมือ่ ทํางานกลุมผดิ พลาด
5 รบั ฟง ความคิดเหน็ ของเพ่ือนดว ยความใสใ จ
6 ทําการชวยเหลือดวยความเตม็ ใจเมอื่ เพือ่ นขอรอ ง
7 ยิ้มทักทายกับเพอ่ื น
8 รสู ึกยินดีเมื่อเพอื่ นไดรับการชมเชยจากครู
9 ชอบทํางานรว มกบั เพือ่ นมากกวาทาํ งานตามลําพัง
10 คอยไกลเ กล่ยี ใหค ืนดีกันเมอื่ เพอื่ นทะเลาะกนั

2.3 การรับสารนเิ ทศจากสอื่ มวลชน

ขอ การรบั สารนิเทศจากส่ือมวลชน

ขาพเจา รบั สารนิเทศจากสื่อมวลชนดวยการ..................................
1 ตดิ ตามขา วสารจากอนิ เตอรเ นต หนงั สือพมิ พ วิทยุ หรอื โทรทศั น
2 ฟงเพลงจากอินเตอรเนต วิทยุ หรอื โทรทัศน
3 ดูภาพยนตร ละคร จากอินเตอรเ นต หรอื โทรทศั น
4 เรยี นรจู ากอนิ เตอรเนต หนังสือพมิ พ วิทยุ หรอื โทรทศั น
5 เรยี นรูวธิ คี ดิ วเิ คราะหเ พ่ือการปรับตวั จากส่อื ตา งๆ
6 เรียนรวู ธิ ีการแกป ญ หาจากส่อื ตางๆ
7 รจู กั พิจารณาเชือ่ หรือไมเช่ือขอ มลู ขา วสารจากสอ่ื ตางๆ
8 รบั ความบันเทิงจากอินเตอรเ นต หนงั สือพิมพ วทิ ยุ หรอื โทรทศั น
9 รับขอ มูลตา งๆ ทาํ ใหขา พเจา รจู ักชีวติ มากข้นึ
10 เรียนรทู ีจ่ ะทาํ ใหข า พเจา รูส กึ อยากเลียนแบบความคดิ น้ัน

-154-

ตอนที่ 3 เปน แบบสอบถามขอ มูลเกีย่ วกับทักษะชีวติ ของนิสติ คณะครศุ าสตรมหาวทิ ยาลัยราชภฏั
บา นสมเด็จเจาพระยา ประกอบดวยตวั แปรสังเกตได 9 ตวั แปรไดแ ก การส่อื สารอยา งมีประสิทธิภาพ การ
สรา งสมั พนั ธภาพระหวางบุคคล ความตระหนกั ในตนเอง ความเหน็ อกเห็นใจผูอ่นื การจัดการกับอารมณ
และความเครยี ด ขอใหนสิ ิตอา นขอความแลวตอบโดยทาํ เครือ่ งหมาย  ลงในชอ งทตี่ รงกับความเปน
จริงของนิสิตมากท่ีสุด โดยมเี กณฑก ารใหคะแนนและแปลความหมายดังนี้

5 หมายถึง ขอความนั้นเปน จรงิ ทสี่ ุดหรอื เปนจริงมากทีส่ ดุ
4 หมายถึง ขอ ความน้ันเปนจรงิ มาก
3 หมายถึง ขอ ความน้ันเปน จรงิ บา งหรอื เปนจรงิ ปานกลาง
2 หมายถึง ขอ ความน้นั เปน จริงนอย
1 หมายถึง ขอความนั้นเปนจริงนอยทีส่ ดุ หรือไมจรงิ

3.1 การส่ือสารอยา งมปี ระสิทธภิ าพ ระดบั ความเปน จรงิ
54321
ขอ การสอื่ สารอยางมีประสิทธภิ าพ

ขาพเจาเปนผูท ่ีสามารถ…………………………………….........
1 อธบิ ายเรอื่ งยากๆ ใหเ พื่อนเขาใจไดง า ย
2 อธบิ ายเหตผุ ลใหผ ูอื่นเขาใจไดเมื่อความคดิ เห็นของเราไมตรงกนั
3 พดู สรปุ เกี่ยวกบั บทความที่อานใหผ อู ่ืนเขา ใจไดอ ยา งถกู ตอง
4 เขียนสรปุ ประเดน็ ทผ่ี ูอ ่นื สนทนาไดอยางชดั เจน
5 พูดนําเสนอในทส่ี าธารณะใหผูอ ืน่ เขาใจได
6 เลา เร่ืองทไ่ี ดฟง ใหผ อู ่ืนใหเ ขาใจได
7 แยกแยะรายละเอยี ดจากเนื้อหาทอี่ านใหผ ูอ่นื เขา ใจได
8 พูดทํานายเร่อื งราวใหผ อู น่ื เขาใจได
9 ตอบคําถามดว ยการอธบิ ายใหผ ูอ นื่ เขา ใจได
10 แสดงความคดิ เหน็ จากสง่ิ ท่ีไดฟง ไดอ ยางชัดเจน

-155- ระดับความเปน จริง
54321
3.2 การสรางสัมพันธภาพระหวางบุคคล
ระดบั ความเปน จริง
ขอ การสรางสมั พนั ธภาพระหวางบคุ คล 54321

ขาพเจา เปนบุคคลท.่ี ..............................
1 มมี นุษยส มั พนั ธท ด่ี ีกบั ผอู ่ืน
2 เขากบั เพอื่ นไดด ี
3 เปน ทีไ่ ววางใจของเพือ่ น
4 ไดร บั ความไวว างใจของอาจารย
5 มีความสมั พันธท ด่ี กี ับอาจารย
6 เปนมิตรกบั ผูอ่ืนเสมอ
7 เปนสมาชกิ ทดี่ ีของสาขาวิชา
8 เปนสมาชิกทีด่ ีของครอบครวั
9 มีความสขุ เมื่อไดทาํ กจิ กรรมรวมกบั ผูอ ื่น
10 มีความสมั พนั ธกับเพื่อนดว ยดี

3.3 ความตระหนักในตนเอง

ขอ ความตระหนักในตนเอง

ขา พเจา มีความตระหนกั ในตนเองโดย………………………………
1 รจู ักตนเองดีวาขาพเจาเปน ใคร
2 รจู ักตนเองดวี า ขา พเจา มคี วามสนใจเกี่ยวกบั อะไร
3 รวู า ตนเองมีนสิ ยั อยา งไร
4 รวู า ตนเองมีชอบเรยี นรูเ กยี่ วกบั สงิ่ ใด
5 รวู าตนเองมขี อ ดขี อเสียอยางไร
6 รวู า ตนเองมีขอ บกพรอ งในเร่อื งใด
7 รูว า ตนเองตางจากบุคคลอน่ื อยางไร
8 รูหนาท่ขี องตนเองเสมอ
9 รจู ักเลอื กคบเพื่อนเสมอ
10 รจู ักความรัก ความผูกพันจากสมาชกิ ในครอบครวั ของตนเอง
11 รูวา เพือ่ นมีความสาํ คญั ตอขา พเจา
12 รูวาตนเองเปนคนมีสุขภาพเปนอยา งไร
13 รวู ธิ กี ารดูแลสุขภาพของตนเองใหแข็งแรงอยูเสมอ
14 มสี ติทกุ ครงั้ ทก่ี าํ ลงั โกรธ
15 รูวาพอ และแมร ักขา พเจามากเพยี งใด

-156-

3.4 ความเห็นอกเหน็ ใจผูอน่ื

ขอ ความเหน็ อกเหน็ ใจผูอ นื่ ระดบั ความเปนจรงิ
54321
ขา พเจา มีความเหน็ อกเหน็ ใจผูอน่ื โดย................................................
1 ไมซ ํ้าเตมิ เพอ่ื นเม่ือเพอื่ นมที กุ ข ระดับความเปนจริง
2 ไมล อ เลียนปมดอ ยของเพอื่ น 54321
3 ยนิ ดที ีจ่ ะแบง ปนอุปกรณการเรียนแกผูอื่น
4 ไมรสู ึกโกรธผทู ่ีมีความคดิ ตา งจากขา พเจา
5 เตม็ ใจที่จะชวยเหลือผูอ ่นื ดว ยความยินดี
6 เหน็ ใจและเขา ใจเมอ่ื ผูอ่ืนมคี วามทกุ ข
7 คอยเปนกาํ ลังใจใหผ อู ่นื เสมอ
8 มคี วามรสู กึ หวังดแี ละปรารถนาดกี ับผูอ ืน่ เสมอ
9 แสดงความยนิ ดเี มื่อผอู ื่นประสบความสาํ เรจ็
10 มักจะหาแนวทางแกป ญหาใหเ พ่ือนอยเู สมอ
11 เมื่อเพอ่ื นทาํ ผดิ ขา พเจา จะถามเหตุผลของเพือ่ นกอนเสมอ
12 ใหโ อกาสคนท่ที ําผดิ ปรับปรงุ ตนเองเสมอ
13 คดิ วา ทกุ คนตองมีปญหาเสมอ
14 คดิ วา ความทุกขข องเพื่อนก็เหมือนความทกุ ขข องขา พเจา

3.5 การจัดการกบั อารมณแ ละความเครียด

ขอ การจดั การกับอารมณและความเครยี ด

ขาพเจาจัดการกับอารมณแ ละความเครียด เมือ่ ....................................
1 โดนเพอ่ื หยอกลอ นสิ ติ จะรสู ึกพอใจและไมห งุดหงดิ งา ย
2 ผดิ หวังจะไมท กุ ขใ จ เพราะรูวา ไดพ ยายามทาํ จนสดุ ความสามารถ
3 มีใครมาชวนคุยตอนทกี่ ําลงั หงุดหงิด จะไมแ สดงความไมพ อใจ
4 ตอ งออกไปรายงานหนาช้ันเรยี น จะไมร ูสกึ ประหมา
5 ถึงเวลาสอบขา พเจา จะรสู ึกไมเ ครยี ดหรือวติ กกงั วลมาก
6 ตอบคําถามผดิ ตอ หนาเพือ่ นในหอง ขาพเจา คดิ วา เปน เรอื่ งธรรมดา
7 ผลการเรยี นยงั ไมเ ปนทพี่ งึ พอใจ ก็จะพยายามมากกวา นี้ เดย่ี วก็ดีขึ้น
8 บางคร้งั ตองทํางานมากกวา เพ่อื นในกลุม ขาพเจา ก็เตม็ ใจทํา
9 เพ่ือนคัดคา นความคดิ เหน็ ของขาพเจาในเรอื่ งตา งๆ ขา พเจาจะตัง้ ใจรับฟง

เหตผุ ลของเพอ่ื นทค่ี ัดคา นนน้ั
10 มีเร่ืองสนกุ สนานในหอ ง ขาพเจาจะเปน ผูหนงึ่ ทีม่ ีอารมณข ันเสมอ

-157-

คาํ ชี้แจง แบบสอบถามน้จี ะสอบถามความรสู ึกเก่ียวกับทักษะชีวิตของนสิ ติ ดา นการตดั สนิ ใจ การแกปญหา ความคดิ
สรางสรรค ความคิดวิเคราะหว ิจารณ ขอใหนิสิตอา นขอ ความแลวตอบโดยทาํ เครอื่ งหมาย X หรอื  ลงบน ก., ข.,
หรอื ค. หนาขอ ความทีต่ รงกับความเปน จริงมากที่สุดเพียงขอเดยี วเทานั้น

1. นักพยากรณภ ยั พบิ ัตไิ ดทาํ นายวา อกี 5 ป “ในวันปใหมจ ะเกดิ แผนดนิ ไหว เขือ่ นในจังหวัดตากจะแตก ผคู นจะลม
ตายมากมาย ซึ่งกอนหนา น้ี นกั พยากรณไ ดอ อกมาบอกวา ตนไดทาํ นายเหตุการณท เ่ี กิดขน้ึ จรงิ ถกู ตอ งมา 2 ครงั้
แลว“ นิสติ มคี วามคดิ เหน็ อยา งไรกับบทความขางตน
ก. เชอ่ื ทนั ที เพราะทาํ นายถกู ตองมาสองครงั้ แลว
ข. ไมเช่ือเพราะไมม ีทางเปนไปได เขอื่ นมีความแข็งแรง ทนตอ การสนั่ สะเทอื น
ค. ไมเ ชอ่ื ในทนั ที ตองศกึ ษาขอ มูลเพมิ่ เตมิ ดา นความแข็งแรงของเข่อื น สถิตกิ ารเกดิ แผน ดนิ ไหว และความ
รุนแรงในบริเวณพนื้ ทใ่ี กลเ คียง

2. โรงเรียนประสบภัยนํ้าทวมทําใหต อ งเลอื่ นเปด เทอมออกไปและมกี ารสอนชดเชยในวันเสาร ซง่ึ ในวนั เสารน้นั
นสิ ิตไดส มัครเรียนพเิ ศษไวก อ นแลว นสิ ติ จะทาํ อยา งไรดี
ก. เรียนทโ่ี รงเรียน เพราะอาจารยเ ชค็ ชือ่ ถาขาดจะโดนตัดคะแนนและขอเปลย่ี นวันเรยี นกวดวิชาไปเปน วัน
อาทิตยแทน
ข. เรียนทีโ่ รงเรยี นเพราะเปน หนาท่ี เนอื้ หากส็ าํ คัญ และขอเปลีย่ นวนั เรียนเพมิ่ เตมิ ไปเปน วนั อาทติ ยแทน
ค. ไมไ ปเรยี นที่โรงเรียน เพราะเรยี นกวดวิชาไดเนอื้ หาทตี่ อ งเรยี นในช้นั เรยี นโดยสรุปอยูแลว

3. เกง มีนองสาว 1 คน กาํ ลังเรียนอยชู ั้นมัธยมศกึ ษาตอนตน วนั หนง่ึ มีคนท่บี านแม บอกวา จับนอ งสาวเรียกคาไถ และ
มีเสยี งผหู ญงิ รอ งขอความชว ยเหลอื ดังออกมาจากโทรศัพท ถานสิ ติ เปนเกง จะทําอยางไร
ก. โทรหานองเพือ่ ตรวจสอบกอ น แลว จึงเลาเหตกุ ารณใหผ ูปกครองฟง
ข. โทรแจง ตาํ รวจเพ่ือขอความชว ยเหลอื ทนั ที
ค. คิดวา เปน เรือ่ งโกหก เพราะมีออกขาวบอยๆ จงึ ไมท ําอะไร

4. ก่ิงเปนคนท่มี รี ูปรางอวน วนั หนึง่ ก่ิงเหน็ โฆษณาผลติ ภณั ฑล ดนาํ้ หนกั ชนิดหนึง่ ระบุวา “ 1 เดือนลดน้ําหนกั ได 5
กโิ ลกรมั ” และมเี พือ่ นในหองใชอยู ถานสิ ติ เปนกิ่ง จะทําอยา งไร
ก. รอดูกอนวาเพ่อื นในหอ งใชแลว ไดผลเปน อยา งไร
ข. ศึกษาขอมูลเพม่ิ เติมกอนวา ผลติ ภัณฑน ี้มาจากไหน เชอ่ื ถือไดห รอื ไม และมีผลขางเคียงหรอื เปลา
ค. ซื้อใชทนั ที เพราะเพือ่ นในหอ งก็ใช

5. เตยไปซอ้ื ของในหา งหนง่ึ เหน็ ซอกโกแลต็ ยหี่ อหน่ึง ตดิ ราคาไวอ นั ละ 14 บาท และทีม่ ัดเปนคูไวด ว ยบรรจภุ ณั ฑท่ี
สวยงาม คูล ะ 30 บาท ถา นสิ ติ เปน เตย ซึง่ ตองการซอ้ื ซอกโกแล็ต 2 อนั นิสติ จะทาํ อยางไร
ก. ซือ้ แบบท่มี ดั เปนคู เพราะซื้อคตู องถูกกวา อยแู ลว
ข. ซื้อแบบแยก 2 อนั เพราะเปรียบเทียบแลว ถกู กวา
ค. ซอ้ื แบบทีม่ ดั เปน คู เพราะหยบิ งาย

6. ชั่วโมงศิลปะวันน้ี อาจารยม อบหมายใหไ กแ ละเพื่อนๆ ในหอ งวาดภาพสง ในชั่วโมง แตไ กเ ตรียมอุปกรณวาดภาพมา
ไมค รบ ถา นสิ ิตเปนไกจะทาํ อยา งไร
ก. ขอยมื อุปกรณส ว นที่ขาดจากเพอ่ื นและใหเพ่ือนยืมอปุ กรณของตน
ข. วาดภาพสงครู โดยใชอ ุปกรณเ ทา ท่ีตนมี
ค. ไปซ้ืออุปกรณวาดภาพมาใหม

-158-

7. ตุยตอ งการพบั เครือ่ งบนิ ใหนองเลน ตยุ มีกระดาษ แตไ มมีกรรไกรและไมม ีคดั เตอร ถานสิ ิตเปน ตยุ จะทาํ อยา งไร
ก. พบั กระดาษแบบไมต อ งตดั เครอ่ื งบนิ ไมสวยไมเ ปนไร
ข. บอกนองวา พบั ไมได ไมม ีกรรไกร ไวค ราวหนา จะพับให
ค. กรดี กระดาษใหค ม แลว ฉีกดว ยมอื หรอื ใชกระดาษตดั กระดาษ

8. เสื้อของต๋ิวไปเกย่ี วกิ่งไมเ ปน รอยขาดมีขนาดประมาณเหรยี ญ 10 บาท บริเวณไหลเ สอ้ื ถา นสิ ิตเปนต๋ิวจะทําอยางไร
ก. นําไปทาํ เปน ผา ขรี้ วิ้
ข. ปะตรงรอยขาดแลวนาํ ไปใสใ หม
ค. ตกแตง รอยปะใหเ ปนลวดลายดอกไม ทาํ ใหด เู หมือนเสอื้ ตัวใหม

9. อาจารยใ หน ิสติ ทําโครงงานจัดกจิ กรรมเปนกลมุ นสิ ติ จะมวี ิธเี ลือกหวั ขอในการทําโครงงานอยางไร
ก. เลือกทําโครงงานทีท่ าํ เสร็จไดง า ย ไมต อ งใชอ ปุ กรณห รอื วิธกี ารทซ่ี ับซอ น
ข. เลือกโครงงานท่นี าสนใจและมคี วามแปลกใหม
ค. เลือกทําโครงงานท่เี พ่ือนเสนอจะไดไ มต องคิดเอง

10. ในวิชาภาษาไทย อาจารยใหนสิ ติ เขยี นเรยี งความเร่อื ง ครใู นฝนของฉนั นิสติ มวี ธิ กี ารเขียนเรียงความอยา งไร
ก. ดูของเพ่ือนเปนตัวอยาง แลว เขยี นตามแบบเพ่อื น
ข. นาํ เสนอเน้อื หาเปนลําดบั ข้นั ตอน โดยออกแบบการนําเสนอใหนา สนใจ
ค. นาํ เสนอเนอื้ หาเปน ลําดับขน้ั ตอนตามหัวขอหลักทคี่ รูใหม า

11. กอยพบเงินตกอยู 100 บาท ทโ่ี รงอาหารของมหาวทิ ยาลัย ถานสิ ติ เปน กอ ยจะทาํ อยางไร
ก. เกบ็ ไวใ ชเ อง เพราะคาขนมหมดพอดี
ข. นาํ ไปสงครู เพราะทางบานไมเ ดือดรอนเรื่องเงนิ
ค. นาํ ไปสง ครู เพราะคดิ วาคนทีท่ าํ เงนิ ตกอาจเดือดรอ น

12. เมื่อคนื อน ดูการแขง ขันฟตุ บอลจนดึกมาก ทําใหเชา นอี้ นต่นื สาย แตอ น ตองไปเรยี น ถา นสิ ิตเปน อน จะทาํ อยางไร
ก. ไปเรยี น เพราะไมไ ปจะโดนแมด ุ และจะถกู งดดูอีก
ข. ไปเรยี น เพราะรูวา การไปเรียนเปนหนา ท่ีท่สี ําคญั
ค. โดดเรียน เพราะถาไปเรยี นจะโดนอาจารยด ุ ทาํ ใหอ ายเพอ่ื น

13. เพือ่ นๆ ชวนอัม้ โดดเรยี นเพื่อไปดหู นงั ถา นิสิตเปนอมั้ จะทาํ อยางไร
ก. โดดเรียนไปดหู นัง เพราะถาไมไ ปจะเสยี เพ่ือน
ข. เขาเรยี น เพราะกลวั โดนจับได แตกร็ ูสึกเสยี ดายทไ่ี มไดไปดู
ค. เขาเรียน เพราะสามารถไปดูหนงั วนั หยดุ ได

14. เน่ืองจากมรี ายงานหลายวชิ า ทาํ ใหน นทนนั ทท าํ รายงานสงอาจารยไมทันตามกาํ หนด ถาเปน นสิ ิตเปน
นนทนนั ท จะทาํ อยางไร
ก. ลาปว ย เพอื่ อยทู ํารายงานใหเ สร็จ
ข. ไปบอกอาจารยวายงั ทาํ รายงานไมเสร็จ และขอสงชาหนอ ย
ค. ไมสง รายงาน รออาจารยทวง คอยสง

-159-

15. มณตี อ งการเลือกซอ้ื ของขวญั วันเกิดใหแม ถานิสติ เปนมณจี ะเลอื กซอื้ อยางไร
ก. เลอื กซื้อของท่ีมรี าคาแพง เพราะคดิ วา ของแพงตองเปน ของดแี นๆ
ข. เลือกซ้อื ของทีแ่ มน า จะชอบและราคาแพง เพราะคดิ วา แมนา จะชอบมากกวาของราคาถกู
ค. เลือกซือ้ ของทีแ่ มน าจะชอบ และราคาไมแ พงมาก เพราะเปนนสิ ติ ยังไมม เี งินเดือน

16. ทกุ เชา บว ยจะรับประทานอาหารเชาทีบ่ า นกอนไปมหาวิทยาลยั แตวนั น้แี มข องบวยไมอยบู า น เน่ืองจากไปทําธรุ ะ
ตา งจังหวดั ถา นิสิตเปน บวยจะทําอยางไร
ก. ไปตามปกติ แตไ มทานอาหารเชา เพราะไมอยากรีบ
ข. ไปตามปกติ ถาไปถงึ มหาวิทยาลัยกอนเวลาเขา เรยี นก็จะรบั ประทาน
ค. รีบไป เพื่อรับประทานอาหารเชาท่มี หาวิทยาลยั เพราะอาหารมอ้ื เชา สําคัญทสี่ ดุ

17. หมบู า นของสม มปี ระกาศวา ในวันพรุง น้ี (วันเสาร) นํ้าจะไมไ หลตัง้ แต 8.00-15.00 น. เนื่องจากจะมีการซอมทอ
ประปา ถานสิ ติ เปนสม จะทําอยางไร
ก. รีบตื่นแตเ ชามาอาบนาํ้ แลว ออกไปเท่ยี วบานเพือ่ น
ข. รองนํา้ ใสถังใบใหญไวตง้ั แตว นั นี้ เพื่อไวใชในวันพรงุ นี้
ค. ตื่นขนึ้ มาเตรียมนาํ้ ใสถ งั ตอนเชา ถา ตนื่ ไมท ันกไ็ มเปน ไร ไมไ ดออกไปไหน

18. ตามปกติแมจะพานองของเนตรไปสงโรงเรียน แตวันนี้แมไมส บาย ทาํ ใหไปสงนองไมไ ด ถานสิ ิตเปนเนตรจะทํา
อยางไร
ก. ต่ืนแตเชา เพอ่ื ที่จะไปสง นองดว ยรถประจําทาง แลวไปเรยี นทม่ี หาวิทยาลยั
ข. ตื่นตามปกติ แลว ข้นึ แท็กซไี่ ปสง นอ ง แลวไปเรยี นทีม่ หาวิทยาลยั
ค. บอกใหแมไ ปสงนองดวยแท็กซ่ี สว นตวั เองไปเรียนตามปกติ

19. วันน้หี องเรยี นของตา ยมเี รยี นวชิ าภาษาไทย แตต า ยลมื นําหนังสอื มาเพราะจดั ตารางเรยี นผดิ วัน ถานสิ ิตเปน ตายจะ
ทาํ อยางไร
ก. ไปยมื หนังสือเพ่ือนหอ งขางๆ ไวสําหรับใชดู
ข. นั่งดหู นงั สือกับเพือ่ นที่นัง่ อยูตดิ กัน แลว บอกอาจารยว าจดั ตารางสอนผดิ
ค. บอกอาจารยวา ลมื นําหนงั สอื มา ขอนงั่ ฟง อยางเดียว

20. ปรชี ากําลงั ระบายสีภาพเพื่อสง ประกวด ซึง่ สที ่ีใชเ ปนสนี า้ํ บังเอญิ นองของปรชี ามาเลน ใกลๆ ทาํ ใหส นี าํ้ หยดเปอน
ภาพเลก็ นอย ถา นสิ ติ เปนปรีชาจะทาํ อยา งไร
ก. ทิง้ ภาพท่ีเสียแลว เรม่ิ วาดภาพใหม
ข. แกไขจดุ ทเี่ ปอนใหเปน ภาพใหม
ค. เลกิ วาดไมส งเขา ประกวด

ตอนท่ี 3 ขอเสนอแนะ
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................

ขอบคุณครับ



ภาคผนวก ข
ตวั อยางแบบวัดเจตคติ

ก. ตัวอยา งแบบวดั เจตคตทิ ่มี โี ครงสรางแบบวัดตามแนวคิดของลเิ คอรท (Likert)

แบบวดั เจตคตติ อการเรียนวชิ าคณิตศาสตร

คําช้ีแจง โปรดใสเครื่องหมาย  ในชอ งวา ง ใหตรงกับขอเทจ็ จรงิ มากที่สุด

สว นที่ 1 ขอ มูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม

1. เพศ  ชาย  หญงิ

2. ชนั้ มธั ยมศึกษาปท่ี  1 2 3

3. ผลการเรียน โดยเฉลีย่ ประมาณ

 ตาํ่ กวา 1.00  1.00 – 2.00

 2.01 – 3.00  3.01 – 4.00

สวนที่ 2 เจตคติตอการเรียนวชิ าคณติ ศาสตร

เกณฑการใหค ะแนน 5 หมายถึง มีความคิดเหน็ ดว ยอยา งยงิ่

4 หมายถงึ มคี วามคดิ เห็นดว ย

3 หมายถงึ ไมแนใ จ

2 หมายถงึ ไมเ หน็ ดวย

1 หมายถึง ไมเหน็ ดว ยอยางยิง่

ที่ เจตคตติ อ วชิ าคณติ ศาสตร 5 43 2 1

1. วชิ าคณติ ศาสตรเปนวิชาที่ไรสาระ

2. วิชาคณิตศาสตรเปน วิชาทีเ่ รียนรูไ ดยาก

3. ขา พเจา ชอบศกึ ษาและทําความเขา ใจในเนื้อหาวิชา

คณิตศาสตรท่คี รจู ะสอนลว งหนา

4. วชิ าคณติ ศาสตรเปน วชิ าทม่ี เี น้ือหาทา ทายความคิด

ของมนษุ ย

5. ถา เลือกไดขา พเจาจะเลือกไมเ รยี นวิชาคณิตศาสตร

6. ขาพเจา ชอบเลนเกมคณิตศาสตร

มตี อ หนา ............../

-162-

ที่ เจตคติตอวชิ าคณิตศาสตร 5 4321
7. ขาพเจา ชอบทาํ การบา นวชิ าคณิตศาสตรดวยตนเอง
8. ถา เลอื กไดขาพเจาอยากเรยี นสายอืน่ ท่ไี มม วี ิชา

คณิตศาสตร
9. ขา พเจา ใฝฝน ท่ีจะเขาแขงขนั ตอบปญหาเกย่ี วกบั

คณิตศาสตร
10. วชิ าคณิตศาสตรท ําใหข า พเจามคี วามวิตกกงั วล
11. ขาพเจา ชอบทํากจิ กรรมทางคณติ ศาสตรม ากกวา

กจิ กรรมอื่น
12. ขา พเจา ใหความสาํ คัญในการสอบวชิ าคณติ ศาสตร
13. เปนการเสียเวลาโดยใชเ หตุทต่ี อ งมาน่ังแกส มการ

14. วิชาคณิตศาสตรท าํ ใหข าพเจามคี วามเครียด

15. วชิ าคณติ ศาสตรไมไดชวยในการประกอบอาชพี
16. วชิ าคณิตศาสตรชว ยพัฒนาสมอง
17. วชิ าคณิตศาสตรม ีประโยชนส ามารถนําไปใชใน

ชีวิตประจําวนั ได
18. วชิ าคณิตศาสตรท าํ ใหข า พเจา มีไหวพรบิ ดี
19. วชิ าคณิตศาสตรท ําใหข าพเจา หมดกาํ ลังใจ
20. วชิ าคณิตศาสตรช วยพัฒนาความเจรญิ ทางดาน

เทคโนโลยี

สว นท่ี 3 ขอ เสนอแนะหรือขอคดิ เห็นอนื่ ๆ
................................................................................................................................................. .................
................................................................................................................................ ..................................

............................................................................................................... ...................................................

.............................................................................................. ....................................................................
ขอบคุณครบั

162

-163-

ข. ตัวอยา งแบบวดั เจตคตทิ ม่ี ีโครงสรางแบบวดั ตามแนวคิดของออสกูด (Osgood)

แบบวดั เจตคตติ อการเรียนวิชาวิทยาศาสตร

คาํ ชีแ้ จง โปรดใสเ ครอ่ื งหมาย  ในชอ งวา ง ใหต รงกับขอเทจ็ จริงมากท่สี ดุ

สว นที่ 1 ขอ มูลท่ัวไปของผูตอบแบบสอบถาม

1. เพศ  ชาย  หญิง

1. แผนการเรียน  วทิ ยาศาสตร  ศลิ ป-ภาษา  อน่ื ๆ ...........

2. ผลการเรยี น โดยเฉล่ียประมาณ

 ต่ํากวา 1.00  1.00 – 2.00

 2.01 – 3.00  3.01 – 4.00

สวนท่ี 2 เจตคตติ อการเรียนวิชาวิทยาศาสตร

คําช้ีแจง โปรดทาํ เคร่ืองหมาย  ลงในชองคะแนน ตรงกับความคิดเห็นหรอื ความรสู กึ ของทา นมาก

ที่สุด

ดี 3 2 1 0 -1 -2 -3 เลว

เชื่องชา -3 -2 -1 0 1 2 3 วอ งไว

ฉลาด 3 2 1 0 -1 -2 -3 โง

ทุกข -3 -2 -1 0 1 2 3 สุข

สําเรจ็ 3 2 1 0 -1 -2 -3 ลม เหลว

เรียนหนัก -3 -2 -1 0 1 2 3 เรียนสบาย

ซ่ือสตั ย 3 2 1 0 -1 -2 -3 คดโกง

เครียด -3 -2 -1 0 1 2 3 สนุกสนาน

มคี ณุ คา 3 2 1 0 -1 -2 -3 ไรคณุ คา

ใจราย -3 -2 -1 0 1 2 3 ใจดี
มตี อ หนา ............../

163

-164- -3 ออ นแอ
แขง็ แรง 3 2 1 0 -1 -2 3 นมุ นวล
หยาบกระดาง -3 -2 -1 0 1 2 -3 บาง
หนา 3 2 1 0 -1 -2 -3 ชา
รวดเร็ว 3 2 1 0 -1 -2 3 อบอนุ
โดดเดี่ยว -3 -2 -1 0 1 2 3 ขยัน
ขี้เกียจ -3 -2 -1 0 1 2 -3 เฉอื่ ยชา
คลอ งแคลว 3 2 1 0 -1 -2 -3 ไรร ะเบยี บ
มีระเบียบ 3 2 1 0 -1 -2 3 ลําเอียง
ไมลําเอียง -3 -2 -1 0 1 2 -3 ขาดความเช่ือมนั่
เชอ่ื ม่นั 3 2 1 0 -1 -2 -3 กระฉบั กระเฉง
อดึ อาด 3 2 1 0 -1 -2 3 รกั
เกลียด -3 -2 -1 0 1 2 -3 นา เบ่อื
สนุก 3 2 1 0 -1 -2 -3 ไรป ระโยชน
มีประโยชน 3 2 1 0 -1 -2

สว นที่ 3 ขอเสนอแนะหรือขอคดิ เหน็ อืน่ ๆ
................................................................................................................................................. .................

................................................................................................................................ ..................................

............................................................................................................... ...................................................
.............................................................................................. ....................................................................

ขอบคุณครับ

164

-165-

ค. ตวั อยางแบบวัดเจตคตทิ ีม่ โี ครงสรา งแบบวดั ตามแนวคิดของเทอรสโตน (Thurstone)

แบบวดั เจตคตติ ออาชพี ครู

คําช้แี จง โปรดใสเคร่อื งหมาย  ในชองวาง ใหตรงกับขอเท็จจริงมากทส่ี ุด

สวนที่ 1 ขอ มูลทวั่ ไปของผูตอบแบบสอบถาม

1. เพศ  ชาย  หญิง

2. สาขาวชิ า …………………………………..

2. ผลการเรยี น โดยเฉลี่ยประมาณ

 ตํา่ กวา 1.00  1.00 – 2.00

 2.01 – 3.00  3.01 – 4.00

สวนที่ 2 เจตคติตออาชพี ครู

คาํ ช้แี จง โปรดทําเครอ่ื งหมาย  ลงในชองคะแนน ตรงกับความคิดเห็นหรือความรูสกึ ของทานมาก

ทส่ี ดุ

ขอ ความ ระดับเจตคติ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11

1. อาชพี ครูเปนอาชีพทมี่ ีเกยี รติสงู

2. อาชีพครูเปนเสมอื นศาลาพักรอน

3. ผทู ่ปี ระกอบอาชีพครเู ปน บุคคลท่ีไมท ันสมัย

4. อาชพี ครูเปนอาชีพทีม่ ีหลกั ประกนั

5. งานอาชพี ครเู ปนงานทีน่ า เบ่ือหนา ย

6. ผทู ี่ยดึ อาชีพครูเปน ผทู ่ไี มมีอนาคต

7. ผูที่มอี าชพี ครูเปนผูที่มีคุณธรรม จรยิ ธรรมสงู

8. อาชีพครูเปน อาชีพท่มี ีคุณคามหาศาล

9. อาชพี ครูเปน อาชีพท่มี รี ายไดนอ ย

10. อาชีพครูเปนเหมือนเรือจาง

11. อาชพี ครูเปน ผปู ดทองหลังพระ

12. อาชีพครูมคี ุณคาสูงสงทางจติ ใจ

13. อาชีพครรู ายไดไมพอกิน

14. ใครๆ กป็ ระกอบอาชพี ครูได

15. มองเห็นครูแลวเบ่อื หนา ย

165

-166-

ขอ ความ ระดบั เจตคติ

16. อยากเปนครตู องทันสมยั เสมอ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11
17. อาชพี ครูน้นั ขาดความม่นั คงทางเศรษฐกจิ
18. อยากรวยตองไมเ ปน ครู
19. ใครๆ ก็ใหเ กยี รตเิ มื่อเปนครู
20. เปน ครูใครๆ กย็ กยอง
21. อาชพี ครูเปนอาชีพทีส่ วยหรู
22. อาชีพครเู ปน อาชีพทีต่ ํ่าตอย
23. ชุดเครอ่ื งแบบของครดู ูอดึ อัด
24. ชุดเคร่ืองแบบของครูดูสงา งาม
25. อาชพี ครูใครๆ กร็ ักใคร

สว นท่ี 3 ขอเสนอแนะหรือขอคดิ เหน็ อนื่ ๆ
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................

ขอบคุณครบั

166

ปรปะวรัตะวิผตัูเขิผียูเ ขนยี น

ผูชวยศาสตราจารย ดร.วิเชียร อนิ ทรสมพนั ธ

การกศากึ รษศพปปึกา.รรศษญญิิ พปป. าญญ.2รรศญิิญ5าา.2ตโญญ26ทร5าาี2ตโก6ทราีรกศาึกรษศากึ บษัณาบฑณัติ รฑสอติางศขสาาาภสขตาาษรภาาาจอษาังรากยอฤังษดกรฤ.มษวหเิ ชามยี วหรทิ ายอวานิ ิทลทยัยราศสลรมัยีนพศครันรีนธนิ ค ทรรินวทโิ รรฒวิโรวฒทิ ยวาิทเขยตาเบขาตงบเขานงเขน

พ.ศพ. .2ศ5.4225ก42ารกศากึ รษศากึ มษหาามบหัณาบฑัณติ ฑสติาขสาาภขาาษภาาอษงั ากอฤงั ษกฤมษหามวหิทายวาทิ ลยยั าศลรัยีนศครรนี ินคทรรนิ วทิโรฒวโิ รฒ
ปรญิ ปญริญาเญอากเอก
พ.ศพ. 2.ศ5.426546การกศาึกรษศาึกดษษุ าฏดีบษุ ัณฏีบฑณัิตฑสิตาขสาากขาารกวาิจรัยวแจิ ลยั ะแพลฒั ะพนฒัาหนลาักหสลูตักรสตูมรหามวหิทายวาิทลยัยาศลรยั ีนศครรีนินคทรรินวทโิ รฒวโิ รฒ
งานบวทจิ คยั วามวิจัย
วิเชียร อินทรสมพันธ กฤษดา ผองพิทยา และ อัครเดช เกตุฉ่ํา. (2561). การจัดการขอมูลการวัดและ
วิเชียร อินทปรรสะมเมพินันผธล.กา(2ร5ท5ด5ส)อบปOจ-จNัยEทTี่สขงอผงลนตักอเรจียิตนสชาั้นธปารรณะถะมขศอึกงษนาิสปิตทม่ี 6หาวแิทละยมาัธลยัยมรศาึชกษภาัฏปบทาี่ น3สมขเอดม็จูลป

เกจาา รพศรึกะษยาา.2ส5ํา5น3กั วแจิ ลัยะแ2ล5ะ5พ6ฒั นในาเ.ขกตรพุง้ืนเททพี่กฯาร:ศมึกหษาาวจิทังยหาวลัดัยกรราุงชเภทัฏพบมาหนาสนมคเรด.็จคเจราุศพารสะตยราส.าร. ปที่ 12
…………………ฉ.บบั(2ท5่ี 516).มกราคทมักษ–ะมชิถีวนุ ิตาขยอนง2น5ิส6ิต1ค. ณหนะาคร2ุศ4า5ส-2ต6ร6ม. หาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา.
ว…ิเ…ชยีวว…ิิเเร…ชชอียีย…ินรร…ท…ออรสบมศวิน.สินําาหาึกทมนรทนษา(พสรกัว2รสาสาวันิทสม5ศรมิจธมยเ5ามยัดพาพส8แนแลจ็ันตัน)ลลุษยัเ.ธรธะจะรย.กคาพามกศ(พณาชฒัส2ฤาภรร5ะธษสนะจฏั5..ตดายัด7บ(ปร.า2า)ากแทก5.ผนลาี่ร5ท1อสกุงะร1ัก0เมงรส)ขทษพงุเงัฉกอดพเคะิททบาจ็มฯชมรยพับเูลีวศจตา:ฯทิตากาิดม่ีแพขส:ตา2หลอรสตราากะะงาํรมววนรยวน.ิทักดกิากิสกั ายแปฏดิรตงราวทามาลคใลยคนช่ีะณัย8ศรมคหปรปูะุขณฉลา–รคแธชบกัะะรบณธภสับกุศเบันัฏีมูตรทา(กวรบิรส2นี่ าาม1คา5ตคผรกนร6รสมมลาศุสม0อกรกา2มห)นรก.ส5าเาาตาดกต6รควรา็จ0าริททมอมเร.จุดยดแ5พ–หาามนสธัฒนปพลศวนัอาัยรึกนควขบะรษิด1าาอยาค0จจาชงาO.9ิมติตม.ภ--วสห1ัN2ฏิทา2า5บEธย0ว5าาTา.ิท7นรร,ยณวสขหามมะอลนสเขงัยดามอนร็จัย4งาัเก.0จนชเว-าักภ4ราพศี8ัฏยรร.ึกนสะษายราา.

............ป...ร..ะ.ถ...ม. ศ(2ึก5ษ5า5ป)ท่ี 6ปจจแัยลทะม่ีสัธงผยลมตศอึกจษิตาสปาทธ่ี า3รณขะอขมอูลงปนิส2ิต5ม5ห3าวแิทลยะาล2ัย55รา6ชภใันฏเบขาตนพสื้นมทเดี่ก็จาเรจศาึกพษราะยา.
จคังรหศุ าวสัดตกรรสุงาเรท.พปมทหี่ 6านฉคบรับ.ทส่ี 2ํานปัก วาิจรศัยกึแษลาะพ2ั5ฒ5น5าห. นการุง1เ9ท-พ25ฯ. : มหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จ

……………เจ…า พ…ร.ะ(2ย5า.46) “การบูรณาการจริยธรรมในหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน.” วารสารการวัดผลทาง
การศึกษา. 25,74 (ก.ย.-ธ.ค. 2546). หนา 37-50.

-168-
รายวิชาทสี่ อน

1198211 การพฒั นาเคร่ืองมือวดั จิตพิสยั
1009204 การพฒั นาเครื่องมือวดั เจตคติ
1198101 เคร่ืองมือที่ใชใ นการเกบ็ รวบรวมขอ มลู เพื่อการวิจยั
1009201 การวัดและประเมินผลการศกึ ษา
1103301 การวดั และประเมินผลการเรยี นรู
1306106 การวิจัยทางการบริหารการศึกษา


Click to View FlipBook Version