The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Brands Summer Camp ปีที่ 27 : วิชาเคมี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by BS_Library, 2019-12-12 10:34:46

Brands Summer Camp ปีที่ 27 : วิชาเคมี

Brands Summer Camp ปีที่ 27 : วิชาเคมี

Keywords: เคมี

โครงสรางอะตอมและตารางธาตุ

โครงสรางอะตอม

แบบจําลองอะตอมแบบตา งๆ

แบบจําลองอะตอมของดอลตนั

ดอลตนั
- สสารทงั้ หลายเกดิ ขน้ึ จากอะตอม
- อะตอมไม่สามารถสรา้ งขึ้นใหม่ หรือถกู ทาํ ลายลงได้
- อะตอมของธาตชุ นิดเดียวกนั จะมลี กั ษณะเหมือนกนั และมลี กั ษณะตา่ งกนั ในธาตุตา่ งชนิดกัน
- ปฏกิ ริ ิยาเคมเี กดิ ขึ้นโดยการจดั เรียงตัวกันใหมข่ องอะตอม
- สารประกอบเกิดขน้ึ จากการรวมตวั กนั ของอะตอมของธาตุองค์ประกอบ
- แบบจําลองอะตอมของดอลตนั เปน็ เพียงแนวคิด โดยไม่มกี ารทดลองยืนยันหลกั คิดของตนเอง

โครงการแบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ ปที ี่ 27 ____________________________________ วทิ ยาศาสตร์ เคมี (99)

แบบจาํ ลองอะตอมของทอมสนั

ทอมสัน
- ทอมสันนําหลอดรงั สแี คโทดมาปรบั ปรุงแลว้ คน้ พบรังสีแคโทด หรืออเิ ลก็ ตรอน
- ทอมสันสามารถหาคา่ ประจุตอ่ มวลของรังสีแคโทดซึง่ เป็นคา่ คงทีเ่ ทา่ กับ 1.76 × 108 c/g
- มลิ ลแิ กนใช้การทดลองหยดน้าํ มนั เพือ่ หาคา่ ประจขุ องอเิ ลก็ ตรอน (1.6 × 10-19 c) และนาํ คา่ ประจทุ ไ่ี ด้
ไปคาํ นวณหามวลของอเิ ลก็ ตรอนได้ (9.1 × 10-27 g) โดยใชค้ ่าประจุต่อมวลของอิเลก็ ตรอนของทอมสนั
- แบบจําลองอะตอมของทอมสันเป็นรูปแบบ Plum pudding model ซึ่งอธิบายว่าอะตอม
ประกอบด้วยกลุ่มประจุลบท่ีฝงั อยู่ในเนื้ออะตอมทมี่ กี ลมุ่ ประจุบวก
- รังสีบวก (รังสีแอโนด) ที่ถูกค้นพบโดยโกลด์ชไตน์ก่อนหน้าการทดลองของทอมสัน ไม่ใช่โปรตอน
แต่เป็นไอออนบวกที่เกิดจากการที่อะตอมถูกพลังงานไฟฟ้าทําให้แตกออกเป็นอิเล็กตรอน (รังสีแคโทด) และ
ไอออนบวก ยกเว้นในกรณีที่ใช้แก๊สด้านในหลอดรังสีแคโทดเป็นแก๊สไฮโดรเจน ซึ่งจะทําให้รังสีบวกท่ีได้เป็น
โปรตอน (H+)
แบบจาํ ลองอะตอมของรทั เทอรฟ์ อรด์

รทั เทอร์ฟอร์ด
- การทดลองของรัทเทอร์ฟอร์ด คือ การทดลองยิงรังสีแอลฟาใส่แผ่นทองคําบาง ซึ่งส่ิงที่
รัทเทอร์ฟอร์ดคาดการณ์แต่แรก คือ รังสีทั้งหมดน่าจะทะลุผ่านแผ่นทองคําบางไปท้ังหมด แต่ผลการทดลอง
กลับไม่เป็นไปตามน้ันเพราะมีรงั สแี อลฟาบางสว่ นทีเ่ บ่ียงเบนทศิ ทางและสะทอ้ นกลับได้
- การทดลองของรัทเทอร์ฟอร์ดทําให้พบว่า อะตอมประกอบไปด้วย 2 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่มีความ
หนาแน่นสูงมาก (นวิ เคลยี ส) และส่วนทเี่ ปน็ ท่ีว่าง (พื้นท่ีของอิเล็กตรอน) โดยส่วนท่ีเป็นที่ว่างจะกินพื้นท่ีขนาด
กว้างกวา่
- แบบจําลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ดเป็นลักษณะที่ประจุบวกอัดรวมตัวกันแน่นอยู่ตรงกลาง
(นิวเคลยี ส) และมอี ิเลก็ ตรอนโคจรอยูบ่ ริเวณทีว่ ่างรอบนิวเคลยี ส

วทิ ยาศาสตร์ เคมี (100) ____________________________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปที ี่ 27

- รัทเทอร์ฟอร์ดเป็นผู้ค้นพบโปรตอนจากการทดลองยิงรังสีแอลฟาใส่แก๊สไนโตรเจน แล้วตรวจพบ
ประจุบวก ซ่ึงก็คือ โปรตอน (H+) และเจมส์ แชดวิก ได้ค้นพบนิวตรอน โดยเขาได้ทําการทดลองยิงอนุภาค
แอลฟาไปยังอะตอมของธาตแุ บรลิ เลียม (Be-9)

แบบจําลองอะตอมของบอร์

บอร์

- บอร์ทําการทดลองผ่านการตรวจสอบสเปกตรัมของแก๊สไฮโดรเจน ซึ่งเป็นผลให้ค่าตัวเลขที่ได้จาก

การทดลองทั้งหมดเปน็ ของธาตุไฮโดรเจน

- บอร์อาศัยความรู้เร่ืองความสัมพันธ์ระหว่าง พลังงาน ความถี่ ความยาวคลื่น จากสมการของ

แพลงค์ ดงั น้ี

E = hν
hc
E =
λ

- บอร์อธิบายเพ่ิมเติมเกี่ยวกับการเกิดเส้นสเปกตรัม โดยการท่ีอิเล็กตรอนถูกกระตุ้นจากสภาวะพ้ืนไป
สภาวะกระต้นุ หลังจากนน้ั จะพยายามกลบั ลงที่สภาวะพน้ื อีกครงั้ ด้วยการคายพลงั งานในรูปของแสง

- บอร์อธิบายเกี่ยวกับระยะห่างระหว่างระดับพลังงาน โดยการใช้ไฮโดรเจนเป็นรูปแบบหลัก ซ่ึงทําให้
เราพบวา่ ระยะหา่ งระหว่างระดับพลังงานจะมคี า่ นอ้ ยลงไปเร่ือยๆ ดงั รปู

Energy Excited States

Ground State

- จากการทดลองของบอร์ ทาํ ใหเ้ กิดการตรวจสอบชนิดของสารโดยการดูสีเปลวไฟ และสเปกตรัมของ
สารประกอบได้ โดยสามารถใชไ้ ดด้ ีกบั กลมุ่ ธาตทุ ่เี ปน็ โลหะ (เนื่องจากใหเ้ สน้ สเปกตรมั ในช่วงแสงทม่ี องเห็นได้)

- แบบจําลองอะตอมของบอร์มีลักษณะใกล้เคียงกับแบบจําลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด เพียงแต่
เพม่ิ สว่ นอธบิ ายการโคจรของอเิ ล็กตรอนทีม่ ลี ักษณะเป็นชน้ั ๆ คล้ายกับระบบสรุ ิยจักรวาล

โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27 ___________________________________ วทิ ยาศาสตร์ เคมี (101)

สญั ลกั ษณนวิ เคลยี ร

สัญลักษณ์นิวเคลียร์ คือ สัญลักษณ์ที่ใช้บอกชนิดของธาตุ ตลอดจนจํานวนอนุภาคมูลฐานทั้งหมดของ
ธาตนุ นั้ ๆ โดยจะประกอบดว้ ยส่วนสําคัญ 2 ส่วน ได้แก่

เลขมวล A X สญั ลกั ษณ์ธาตุ
เลขอะตอม Z

1. เลขอะตอม (Atomic Number, Z) คือ ตัวเลขท่ีแสดงจํานวนโปรตอนในนิวเคลียส เป็นตัวบ่งช้ีชนิด
และสมบตั เิ ฉพาะตัวของธาตนุ ้ันๆ

2. เลขมวล (Mass Number, A) คือ ตัวเลขท่ีแสดงผลรวมของจํานวนโปรตอน และนิวตรอนใน
นิวเคลยี ส

ไอโซโทป (Isotope) คือ อะตอมของธาตุเดียวกันที่มีเลขมวลต่างกันหรืออนุภาคที่มีจํานวนโปรตอน
เทา่ กัน ซง่ึ อนภุ าคท่เี ป็นไอโซโทปกันจะมีสมบตั ิทางเคมีคล้ายคลึงกัน แต่สมบัติทางกายภาพบางประการต่างกัน
โดยธาตหุ นึง่ ๆ อาจมีได้หลายไอโซโทป

ไอโซบาร์ (Isobar) คือ อะตอมของธาตตุ ่างชนดิ กันท่มี ีเลขมวลเท่ากัน
ไอโซโทน (Isotone) คือ อะตอมของธาตตุ ่างชนิดกนั ทม่ี จี ํานวนนิวตรอนเท่ากนั
ไอโซอิเลก็ ทรอนิก (Isoelectronic) คอื อะตอมหรอื ไอออนของสารทีม่ ีจํานวนอเิ ล็กตรอนเท่ากัน
ไอออน คือ อนุภาคที่เกิดการสูญเสียเสถียรภาพทางไฟฟ้า ทําให้เกิดธาตุที่มีประจุไฟฟ้า เพราะมีจํานวน
อิเล็กตรอนไม่เท่ากับจํานวนโปรตอน โดยถ้าหากว่าจํานวนอิเล็กตรอนมากกว่าจํานวนโปรตอน เรียกว่า
“ไอออนลบ” และถา้ หากว่ามจี าํ นวนอิเลก็ ตรอนน้อยกวา่ จาํ นวนโปรตอน เรียกวา่ “ไอออนบวก”

การจัดเรียงอเิ ลก็ ตรอน

การจดั เรยี งอิเลก็ ตรอน เป็นกระบวนการที่ใช้ในการแบ่งกลุ่มของอิเล็กตรอนโดยใช้สภาวะและบริเวณที่
อิเล็กตรอนแตล่ ะตัวอยู่ เพอื่ บอกตาํ แหนง่ ของธาตุในตารางธาตุ อกี ท้ังยงั สามารถอธิบายพฤติกรรมบางอย่างได้
จากการจัดเรียงอิเลก็ ตรอน โดยท่ัวไปเราสามารถแบ่งการจดั เรียงอิเล็กตรอนไดเ้ ปน็ 2 วิธี ไดแ้ ก่

1. การจัดเรียงอเิ ลก็ ตรอนในระดับพลงั งานหลัก (Core Shell Electron Configuration)
2. การจดั เรียงอเิ ลก็ ตรอนในระดบั พลงั งานย่อย (Sub Shell Electron Configuration)
การจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก เป็นกระบวนการจัดเรียงอิเล็กตรอนท่ีค่อนข้างสะดวก
เหมาะสําหรับการบอกตําแหน่งในตารางธาตุเท่านั้น ไม่สามารถอธิบายรายละเอียดของพฤติกรรมต่างๆ ของ
อะตอมได้ชัดเจนเหมือนกับการจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อย ซึ่งการจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับ
พลังงานหลักจะให้ข้อมลู เพียง 2 ชนิด ดงั นี้
1. ระดับพลงั งาน
2. จํานวนอเิ ล็กตรอนในระดับพลงั งานนน้ั ๆ

วิทยาศาสตร์ เคมี (102) ____________________________________โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปที ี่ 27

มีวธิ ีการดงั ตอ่ ไปน้ี
1. หาจาํ นวนอิเลก็ ตรอนทสี่ ามารถจุไดใ้ นระดบั พลังงานต่างๆ โดย

จํานวนอเิ ลก็ ตรอนที่สามารถจไุ ดใ้ นระดบั พลงั งาน = 2n2 โดย n = ระดบั พลงั งานที่ n
ดงั นั้น ท่รี ะดับพลังงาน n = 1 สามารถจุอเิ ลก็ ตรอนได้ = 2 × 12 = 2

ท่ีระดับพลงั งาน n = 2 สามารถจุอเิ ล็กตรอนได้ = 8
ที่ระดับพลงั งาน n = 3 สามารถจุอิเล็กตรอนได้ = 18
ที่ระดบั พลังงาน n = 4 สามารถจอุ ิเล็กตรอนได้ = 32
2. อิเล็กตรอนในระดับพลงั งานช้ันนอกสุด เรยี กวา่ เวเลนซ์อิเล็กตรอน มีไดไ้ ม่เกิน 8 อนภุ าค (ตามเลขหม)ู่
3. จํานวนระดับพลังงานบอกเลขที่คาบ (ธาตุในแนวนอน) จํานวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนบอกเลขท่ีหมู่
(ธาตุในแนวต้ัง) ได้เฉพาะธาตุพวกเรพรีเซนเตตีฟ (ธาตุพวก A) ส่วนธาตุแทรนซิชันในคาบที่ 4 ส่วนใหญ่
มีจํานวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนเป็น 2 ยกเว้นบางธาตุท่ีเป็น 1 (Cr และ Cu) และอิเล็กตรอนในระดับพลังงาน
รองสุดท้ายเปน็ 9 ถงึ 18

การจัดเรียงอเิ ลก็ ตรอนในระดับพลังงานยอย

การจดั เรียงอิเลก็ ตรอนในรูปแบบนี้จะมีการบอกรายละเอยี ดของอเิ ล็กตรอนอยู่ 3 ส่วนหลกั ไดแ้ ก่
1. ระดบั พลงั งาน
2. ออร์บทิ ลั
3. จํานวนอิเล็กตรอนท่อี ยใู่ นระดบั พลงั งานและออรบ์ ทิ ลั นน้ั ๆ

ระดบั พลังงานหลกั จํานวนอิเลก็ ตรอน

1s2

ระดับพลงั งานย่อย

โครงการแบรนดซ์ ัมเมอร์แคมป์ ปที ี่ 27 ___________________________________ วิทยาศาสตร์ เคมี (103)

โดยความแตกต่างระหว่างการจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลักและในระดับพลังงานย่อย คือ
“ออร์บิทัล (Orbital)” ซ่ึงหมายถึง บริเวณท่ีมีโอกาสพบอิเล็กตรอน ซ่ึงออร์บิทัลจะพบได้หลายลักษณะเป็น
รูปทรงตา่ งๆ ตามระดบั พลังงานของอเิ ล็กตรอน ซงึ่ เปน็ พลังงานจลนท์ ีเ่ กดิ จากการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนรอบ
นิวเคลียสและการหมนุ รอบตวั เองของอเิ ล็กตรอน โดยแต่ละระดบั พลงั งานยอ่ ยและออร์บิทัลมีรูปแบบเป็นดงั น้ี

ระดับพลังงานย่อย จาํ นวน ออรบ์ ิทลั จาํ นวนอเิ ลก็ ตรอน ลกั ษณะเสน้ สเปกตรมั
ออร์บิทัล ทบี่ รรจุได้

s1 s 2 เส้นบางเล็ก (sharp)

p 3 px, py และ pz 6 เส้นหนาชดั (principal)

d 5 dxy, dxz dyz, d(x2-y2) 10 สวา่ งกระจาย (diffuse)
และ dz2

f7 - 14 สวา่ งกระจาย (diffuse)

g9 - 18 สว่างกระจาย (diffuse)

zz zz

yy yy
xx xx

z z

y y
x x

z z
y
x z y
x
z y
y x
x
z

y
x

วิทยาศาสตร์ เคมี (104) ____________________________________โครงการแบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ ปีท่ี 27

ท้ังนี้ ในการจัดเรียงธาตุที่มีเลขอะตอมสูงมากๆ (เลขอะตอมมากกว่า 120) อาจจะพบ g-orbital และ
h-orbital

เนื่องจากการที่ระดับพลังงานมีค่าไม่เท่ากันและมีการเรียงที่ซ้อนกันในออร์บิทัลต่างๆ ทําให้อิเล็กตรอน
น้นั จะต้องถูกบรรจุอยู่ในระดบั พลงั งานและออร์บิทลั ที่มพี ลงั งานตา่ํ ทส่ี ดุ ก่อนเพ่อื ความเสถียร ดังน้ันการจัดเรียง
อเิ ล็กตรอนสามารถทาํ ได้โดยจดั ตามลําดบั ต่อไปน้ี

เรยี งลาํ ดบั พลังงานจากนอ้ ยไปหามากตามลูกศรน้ี
1s
2s 2p
3s 3p 3d
4s 4p 4d 4f
5s 5p 5d 5f 5g

หรือเรียงลาํ ดับได้ตามน้ี : 1s, 2s, 2p, 3s, 3p, 4s, 3d, 4p, 5s, 4d, 5p, 6s, 4f, 5d, 6p,
7s, ...

การจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อยจะมีประโยชน์มากในการศึกษาวิชาเคมีในระดับสูง เพราะ
สามารถนําการจัดเรียงอิเล็กตรอนรูปแบบน้ีไปใช้อธิบายปรากฏการณ์ต่างๆ ของอะตอมได้ โดยสามารถนําไป
สร้างแผนภาพออร์บทิ ลั (Orbital Diagram) เพ่ือขยายภาพพฤตกิ รรมของอเิ ล็กตรอนท่ีชัดเจนมากขึ้น

ขอ้ ควรระวงั ในการสร้างแผนภาพออร์บทิ ลั
1.

2.

โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27 ___________________________________ วิทยาศาสตร์ เคมี (105)

ความสมั พนั ธร์ ะหว่างตารางธาตแุ ละการจดั เรียงอเิ ลก็ ตรอนในระดบั พลงั งานย่อย

H ตารางธาตุ He
1s1 1s2
ความสัมพันธ์ระหวา่ งตาํ แหน่งและการจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลงั งานย่อย
Li Be (แสดงเฉพาะโครงสร้างอเิ ล็กตรอนออรบ์ ิทัลสุดท้ายท่ีสามารถบ่งชีถ้ ึงตาํ แหน่งได)้ B C N O F Ne
2s1 2s2 2p1 2p2 2p3 2p4 2p5 2p6

3s 3p

Sc Ti V Cr Mn Fe Co Ni Cu Zn 4p
4s 3d1 3d2 3d3 3d4 3d5 3d6 3d7 3d8 3d9 3d10
5s 4d 5p
6s 5d 6p
7s 6d 7p

La Ce Pr Nd Pm Sm Eu Gd Tb Dy Ho Er Tm Yb
4f1 4f2 4f3 4f4 4f5 4f6 4f7 4f8 4f9 4f10 4f11 4f12 4f13 4f14

5f

ตารางธาตุ

แนวโน้มคุณสมบตั ทิ ่วั ไปของธาตใุ นตารางธาตุ

โดยทว่ั ไปจะแบ่งคุณสมบัติทนี่ ่าสนใจของธาตุตา่ งๆ ออกเปน็ 5 คุณสมบัติ ไดแ้ ก่
1. ขนาดอะตอม และขนาดไอออน

คือ ระยะระหว่างจุดศูนย์กลางของอะตอมกับผิวของอะตอม ซ่ึงก็คือ อิเล็กตรอนวงนอกสุด ถ้าแรง
ยึดเหน่ียวระหว่างกันมาก จะทําให้อิเล็กตรอนอยู่ใกล้นิวเคลียส อะตอมจะมีขนาดเล็ก ปัจจัยที่มีผลต่อขนาด
อะตอม ได้แก่

1.1 ระดับพลังงานชนั้ นอกสุด : ถา้ อยรู่ ะดบั พลงั งานสูงกจ็ ะมขี นาดใหญ่
1.2 จาํ นวนโปรตอน : ถา้ มมี ากกจ็ ะดงึ อิเล็กตรอนให้เข้าใกล้นิวเคลยี ส อะตอมจะมีขนาดเลก็

1.3 จํานวนอิเล็กตรอน : ถ้ามีมากก็กระจายตัวรอบอะตอมไกลข้ึน อะตอมจะมขี นาดใหญ่

2. คา่ พลังงานไอออไนเซชนั (Ionization Energy : IE)
พลงั งานไอออไนเซชนั คือ พลงั งานปรมิ าณนอ้ ยสุดทที่ าํ ให้อิเล็กตรอนหลุดออกจากอะตอมในสถานะ

แก๊ส โดยทําให้ธาตุเปลี่ยนแปลงเป็นไอออนบวก ถ้าอิเล็กตรอนตัวแรกหลุดเรียกพลังงานไอออไนเซชันลําดับท่ีหน่ึง

(IE1) พลงั งานทที่ ําใหอ้ เิ ล็กตรอนในลาํ ดับตอ่ ๆ มาหลุดมคี า่ เปน็ IE2, IE3, ... ตามลาํ ดบั เช่น
B+(g) + e-
B(g) IE1 = 807 kJ/mol

B+(g) B2+(g) + e- IE2 = 2433 kJ/mol

จะพบวา่ ในธาตชุ นิดเดยี วกัน IE1 < IE2 < IE3 < ... < IEn

วทิ ยาศาสตร์ เคมี (106) ____________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปที ่ี 27

I.E. (MJ/mole)***ข้อควรระวัง***
ธาตุในหมู่ IIA และหมู่ VA มีการจดั เรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อยออร์บิทัลสุดท้ายเป็น ns2
และ np3 ตามลําดับ ซงึ่ รปู แบบดงั กลา่ วทําให้ธาตุหมู่ IIA มีลักษณะเป็น Full-fill orbital และของหมู่ VA เป็น
Half-fill orbital ซ่ึงทําให้ธาตุนั้นมีความเสถียรมากเป็นพิเศษ จึงทําให้ค่าพลังงานไอออไนเซชันลําดับที่ 1 ของ
ธาตุใน 2 หมู่นี้มีลักษณะมากกว่าท่ีควรจะเป็นตามแนวโน้ม แต่กรณีดังกล่าวจะมีผลน้อยลงสําหรับธาตุท่ีอยู่
ในคาบสูง เน่อื งจากประเดน็ เร่ืองการบดบงั ของอเิ ลก็ ตรอน ดังกราฟ

2.5

2.0

1.5

1.0

0.5

0.0
Li Be B C N O F Ne
Cs Ba Ti Pb Bi Po At Rn

3. ค่าสมั พรรคภาพอิเลก็ ตรอน (Electron Affinity : EA)
สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน คือ พลังงานท่ีเปล่ียนแปลงไปเม่ืออะตอมของธาตุในสถานะแก๊สได้รับ

อิเล็กตรอน 1 อนุภาคแล้วกลายเปน็ ไอออนลบในสถานะแก๊ส พลงั งานน้มี ักจะอยู่ในรูปคายพลังงานเพอื่ สรา้ งแรง
ยึดเหนี่ยวระหวา่ งนิวเคลยี สของอะตอมกับอเิ ลก็ ตรอนตัวใหม่ เชน่

Cl(g) + e- Cl-(g) EA = -349 kJ/mol

ทั้งนี้ธาตุท่ีมีค่า EA สูง หมายความว่า ธาตุน้ันรับอิเล็กตรอนได้ดีและเกิดเป็นไอออนลบที่เสถียร
(ย่ิงลบมากยิ่งเสถียร) แต่ถ้าค่า EA เป็นบวก แสดงว่าธาตุน้ันจะเป็นไอออนลบท่ีไม่เสถียรและเกิดการรับ
อเิ ลก็ ตรอนไดไ้ ม่ดี

***ข้อควรระวัง***
คลา้ ยกับกรณีของพลังงานไอออไนเซชนั ลาํ ดบั ท่ี 1

4. คา่ อิเลก็ โทรเนกาติวติ ี (Electronegativity : EN)
อิเล็กโทรเนกาติวิตี คือ ค่าท่ีแสดงถึงความสามารถของอะตอมของธาตุในการดึงดูดอิเล็กตรอนของ

อะตอมของธาตอุ ื่น ขณะสรา้ งพันธะเพือ่ รวมเป็นสารประกอบ ค่า EN ของธาตุไม่มีหน่วย เน่ืองจากเป็นค่าที่เกิด
จากการเปรยี บเทยี บ โดยคา่ อเิ ล็กโทรเนกาตวิ ติ ีของธาตหุ นึง่ ๆ จะมคี วามสัมพันธ์กับค่าไอออไนซันและค่าสัมพรรค-
ภาพอิเล็กตรอนด้วย ซึ่งการหาอิเล็กโทรเนกาติวิตีน้ันจะต้องใช้ตัวแปรสําคัญในการเปรียบเทียบ คือ พลังงาน
พันธะทีเ่ กิดข้นึ ระหวา่ งธาตทุ ี่ตอ้ งการกบั ธาตุทม่ี ี EN สูงทสี่ ดุ ในตารางธาตุอย่างฟลูออรีน (F) ดังนั้น หากธาตุใด
ไม่สามารถสร้างพันธะกับฟลูออรนี ได้ กจ็ ะไม่สามารถหาค่า EN ได้

โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปีที่ 27 ___________________________________ วทิ ยาศาสตร์ เคมี (107)

5. ความเป็นโลหะ และความเปน็ อโลหะ
ความเป็นโลหะ คือ มีความวอ่ งไวในการจา่ ยอเิ ล็กตรอน (ตัวรีดิวซ)์ ดังน้นั ความวอ่ งไวจะขึน้ กับความ

เป็นโลหะของธาตุน้ันๆ โดยยิ่งธาตุท่ีเป็นโลหะมาก ก็จะสามารถจ่ายอิเล็กตรอนได้ดี ความเป็นโลหะเพ่ิมข้ึนจาก
บนลงลา่ งในหมเู่ ดยี วกนั และลดลงจากซ้ายไปขวาในคาบเดยี วกนั โดยสังเกตไดจ้ ากคา่ พลังงานไอออไนเซชัน ย่ิงมี
ค่าน้อย ย่งิ จา่ ยอเิ ล็กตรอนได้ง่าย และยง่ิ มีความเป็นโลหะมาก

ความเป็นอโลหะ คือ มีความว่องไวในการรับอิเล็กตรอน (ตัวออกซิไดซ์) ดังนั้น ความว่องไวจะขึ้นกับ
ความเป็นอโลหะของธาตุนั้นๆ โดยย่ิงธาตุที่เป็นอโลหะมาก ก็จะสามารถรับอิเล็กตรอนได้ดี ความเป็นอโลหะ
เพิ่มขน้ึ จากลา่ งข้นึ บนในหมู่เดยี วกนั และเพม่ิ ขึ้นจากซ้ายไปขวาในคาบเดียวกัน โดยสังเกตได้จากค่าสัมพรรคภาพ
อิเล็กตรอนย่ิงมคี ่ามาก (เป็นลบมาก) ยิ่งรบั อิเลก็ ตรอนได้ดี และย่ิงมีความเป็นอโลหะมาก

เพิ่มเติม สําหรับหมู่ที่ VIIIA ความว่องไวในการทําปฏิกิริยาจะเพิ่มขึ้นจากบนลงล่าง (ไม่เหมือน
อโลหะหมู่อ่ืนๆ) เนื่องจากระดับพลังงานที่เพ่ิมมากขึ้น ทําให้อิเล็กตรอนที่ชั้นนอกสุดอยู่ห่างจากนิวเคลียสเพ่ิม
มากข้ึน จงึ ทาํ ใหเ้ กิดการสรา้ งพันธะโคเวเลนต์ได้

สรปุ แนวโนม้ คณุ สมบัตทิ ี่นา่ สนใจทงั้ 5 ได้ดงั นี้

ขนาดอะตอม / ความเป็นโลหะ

ขนาดอะตอม / IE1,EA,EN /
ความเปน็ โลหะ ความเป็นอโลหะ

IE1,EA,EN/ ความเปน็ อโลหะ ทิศทางหวั ลกู ศร แสดงถงึ ทศิ ทางการเพิ่มขนึ้

วทิ ยาศาสตร์ เคมี (108) ____________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปีท่ี 27

ตวั อย่าง ข้อใดเป็นสาเหตุท่ีทําให้พลังงานท่ีใช้ในการกระตุ้นอิเล็กตรอน 1 ตัวจาก 1s-subshell ของ 1H และ
2He+ ไปยัง 3s-subshell แตกตา่ งกนั

ก. จาํ นวนโปรตอนแตกตา่ งกนั

ข. จํานวนนิวตรอนแตกตา่ งกนั เม่ือพิจารณาจากการจัดเรียงอิเลก็ ตรอน

ค. จาํ นวนอิเล็กตรอนแตกต่างกัน

1) ข้อ ก. เท่าน้ัน 2) ขอ้ ข. เท่านนั้

3) ขอ้ ก. และ ข. 4) ขอ้ ก. และ ค.

เฉลย 1) ขอ้ ก. เท่านน้ั

ตวั อย่าง พิจารณาการจดั เรยี งอเิ ล็กตรอนของธาตุตอ่ ไปน้ี
A : [18Ar] 4s2 3d7
B : [10Ne] 3s2 3p4 4s1
C : [10Ne] 3s1
D : [10Ne] 3s2 3p3

จากข้อมลู ข้างต้น ขอ้ ใดถูก
1) ธาตุ A สามารถเกิดสารประกอบกบั B ไดส้ ารประกอบไอออนิกและสารประกอบเชงิ ซ้อน
2) ธาตุ B อยหู่ มูเ่ ดยี วกบั ธาตุ C
3) ธาตุ B มขี นาดใหญ่กวา่ ธาตุ C และธาตุ D
4) สูตรของสารประกอบระหวา่ งธาตุ B และธาตุ D คอื DB3 เท่าน้ัน

เฉลย 1) ธาตุ A สามารถเกิดสารประกอบกับ B ได้สารประกอบไอออนิกและสารประกอบเชิงซอ้ น

ตวั อยา่ ง อะตอมของไฮโดรเจน 2 โมล ได้รับพลังงาน 2,551 kJ พบว่าอิเล็กตรอนท้ังหมดเปล่ียนระดับ
พลงั งานไปที่ n = 6 หลังจากนัน้ อิเลก็ ตรอนคายพลงั งาน ได้เส้นสเปกตรัมในชว่ งทีต่ ามองเหน็ 4 เสน้ ดงั นี้

เสน้ สเปกตรมั ความยาวคลื่น (nm) ปริมาณอิเล็กตรอนท่ีคายพลังงาน (โมล)

สมี ว่ ง 400 0.025

สนี า้ํ เงนิ 420 0.5

สฟี ้า 500 0.025

สีแดง 660 0.5

ข้อใดถกู (h = 6.63 × 10-34 J ⋅ s, c = 3 × 108 m/s)
1) แสงสแี ดงมีความเขม้ สงู สุด
2) แสงสีนํา้ เงนิ มีความเขม้ สงู สดุ
3) พลงั งานของแสงสฟี า้ ท่ีไดอ้ อกมาทงั้ หมดมีค่าต่ําสุด
4) พลังงานของแสงสมี ว่ งทีไ่ ด้ออกมาท้ังหมดมีคา่ สงู สดุ

เฉลย 3) พลงั งานของแสงสฟี ้าทไ่ี ดอ้ อกมาท้ังหมดมีค่าตา่ํ สุด

โครงการแบรนด์ซมั เมอร์แคมป์ ปีท่ี 27 ___________________________________ วทิ ยาศาสตร์ เคมี (109)

ตัวอย่าง พิจารณาการจัดเรยี งอิเลก็ ตรอนของธาตสุ มมติตอ่ ไปน้ี
ธาตุ การจดั เรยี งอเิ ล็กตรอน
A [Ar] 4s1
D [Ar] 4s2 3d5
E [Ar] 4s2 3d10 4p4
G [Ar] 4s2 3d10 4p5

จากขอ้ มลู ข้างต้น ขอ้ ใดผดิ
1) เลขออกซเิ ดชันของ D มีค่าสงู สดุ เป็น +5
2) คา่ สัมพรรคภาพอิเลก็ ตรอนของ G > E > A
3) ธาตุ A เม่ือเกิดสารประกอบกบั คาร์บอนได้สูตรเป็น A4C
4) ธาตุ E สามารถเกิดสารประกอบไอออนิกกับ A ไดส้ ารที่มสี ูตรเป็น A2E
เฉลย 1) เลขออกซิเดชันของ D มีค่าสูงสุดเปน็ +5
ตวั อย่าง ขอ้ ความตอ่ ไปน้ี ข้อใดไมถ่ ูกตอ้ ง
1) ออร์บทิ ลั ชนดิ d จะเรม่ิ มใี นระดบั พลังงาน n = 3
2) ระดับพลงั งานยอ่ ย f ในระดับพลงั งาน n = 3 มีจาํ นวน 7 ออรบ์ ทิ ัล
3) ในระดบั พลังงาน n = 3 มีจาํ นวนออร์บิทัลทั้งหมด 9 ออร์บิทัล
4) ในระดบั พลงั งาน n = 4 มีจาํ นวนระดบั พลงั งานย่อยอยู่ 4 ระดับ
เฉลย 2) ระดบั พลังงานยอ่ ย f ในระดับพลังงาน n = 3 มจี าํ นวน 7 ออรบ์ ทิ ลั

วิทยาศาสตร์ เคมี (110) ____________________________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27

พันธะเคมี

พันธะเคมี คือ แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคของสาร เช่น ระหว่างอะตอมกับอะตอม หรือไอออนกับไอออน
เปน็ ต้น เราสามารถแบง่ ชนิดของพันธะเคมีได้ 3 ชนิด คอื พนั ธะไอออนิก พนั ธะโคเวเลนต์ และพันธะโลหะ

พันธะโคเวเลนต

เป็นพันธะท่ีเกิดจากการใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนร่วมกันของอะตอม เน่ืองจากแต่ละอะตอมท่ีเกิดพันธะ
โคเวเลนตน์ ั้นมักจะมีคา่ Electronegativity (EN) สูง จึงทาํ ใหเ้ กิดการใช้อิเลก็ ตรอนร่วมกัน

ตวั อยา่ งธาตุทรี่ วมกนั แลว้ สร้างพันธะโคเวเลนต์ ได้แก่
1. อโลหะกับอโลหะ เชน่ CH4, HCl, H2O, I2, C6H12O6 เป็นตน้
2. กง่ึ อโลหะกบั อโลหะ เชน่ BCl3, GeCl4, SiCl4 เป็นต้น
3. โลหะบางชนิด เชน่ Be, Sn กับอโลหะ เชน่ BeCl2, SnCl4 เป็นต้น
4. โลหะทรานซชิ ันกับอโลหะในไอออนเชงิ ซ้อน เชน่ MnO-4 , CrO24- , Cu(NH3)24+ เปน็ ตน้
หมายเหตุ ธาตุบางชนิดจะเกิดสารประกอบโคเวเลนต์แบบโครงผลกึ ร่างตาขา่ ยที่มีลักษณะและสมบัติ

ทแ่ี ตกต่างไป ซงึ่ จะกลา่ วถึงในหวั ข้อต่อไป

การเขยี นสตู รและเรยี กชื่อสารโคเวเลนต

1. การเขียนสูตรโมเลกลุ
- เรยี งลาํ ดบั ธาตใุ ห้ถกู ตอ้ งตามหลกั สากลได้ดงั น้ี
B Si C Sb As P N H Te Se S At I Br Cl O F ตามลาํ ดับ
- สัดส่วนการรวมตัวไม่แน่นอน เน่ืองจากอโลหะมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนมาก เมื่อรวมตัวกันสามารถ

รวมตวั กันได้หลายอัตราส่วน เชน่ N2O, NO, NO2, N2O3, N2O5 เปน็ ตน้
2. การอ่านช่ือ
- โมเลกลุ ที่เกดิ จากธาตุ 2 ชนิด AxBy
A อ่านชื่อธาตตุ ามปรกติ
B อ่านชอื่ ธาตุ แต่เปลี่ยนคําลงท้ายเป็น -ide
- บอกจาํ นวนธาตอุ งค์ประกอบ

จาํ นวน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
คาํ อา่ น mono di tri tetra penta hexa hepta octa nona deca

หมายเหตุ
- ถ้าอะตอมหนา้ ที่มีจาํ นวนเท่ากบั 1 ไม่ตอ้ งอา่ นเลขหอ้ ยไว้
- สารประกอบไฮโดรเจนไมต่ อ้ งอ่านเลขหอ้ ยท่ีกาํ กับมา

โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27 ___________________________________ วทิ ยาศาสตร์ เคมี (111)

ชนิดของพันธะโคเวเลนต

ในการเกิดสารประกอบโคเวเลนต์ อะตอมของธาตุในโมเลกุลโคเวเลนต์ จะนําเอาเวเลนซ์อิเล็กตรอนมาใช้
ร่วมกนั เพอ่ื ใหแ้ ต่ละอะตอมมเี วเลนซอ์ ิเลก็ ตรอนเทา่ กับ 8 ซึง่ เป็นไปตามกฎออกเตต ซ่งึ เราจะเรียกคู่อิเล็กตรอน
ทใ่ี ช้ร่วมกันน้ีว่า อิเล็กตรอนคู่รว่ มพนั ธะ (Shared Pair Electrons) ซง่ึ พนั ธะโคเวเลนต์ แบง่ ออกได้ 3 ชนดิ

1. พนั ธะเด่ียว (Single Bond) เกิดจากอะตอมใช้อิเลก็ ตรอนครู่ ว่ มพันธะ 1 คู่ เช่น H2
2. พนั ธะคู่ (Double Bond) เกดิ จากอะตอมใชอ้ เิ ลก็ ตรอนคูร่ ว่ มพันธะ 2 คู่ เช่น O2
3. พันธะสาม (Triple Bond) เกิดจากอะตอมใช้อเิ ล็กตรอนครู่ ว่ มพันธะ 3 คู่ เชน่ N2
ส่วนคู่อิเล็กตรอนบนอะตอมท่ีไม่ได้เกดิ การใช้ร่วมกันกับอะตอมอื่นเรียกวา่ อเิ ล็กตรอนค่โู ดดเด่ยี ว (Lone
Pair Electrons) ตวั อยา่ งเช่น

อเิ ล็กตรอนคูร่ ว่ มพันธะ
Cl Cl

อเิ ลก็ ตรอนคู่โดดเด่ยี ว

โคออร์ดเิ นตโคเวเลนต์ (Coordinated Covalent)
ยังมีพันธะอีกชนิดท่ีใช้คู่อิเล็กตรอนของอะตอมเพียงอะตอมเดียวมาสร้างพันธะ แทนท่ีจะให้อิเล็กตรอน
จากแตล่ ะอะตอมรว่ มกนั เราเรียกพันธะเช่นน้ีว่า พันธะโคออร์ดิเนตโคเวเลนต์ (Coordinated Covalent Bond)
เช่น O3

การเขยี นสูตรโครงสราง

- ในการเขยี นสตู รเราตอ้ งหาอะตอมกลางก่อน โดยทั่วไปธาตุที่มีค่า EN ตํ่ากว่ามักจะเป็นอะตอมกลาง
ยกเว้นไฮโดรเจน

- ทดลองวางตาํ แหน่งอะตอมของธาตุต่างๆ
- เขียนสูตรแบบเส้น หรือแบบจุด โดยเนน้ ใหแ้ ตล่ ะอะตอมมีเวเลนซอ์ เิ ลก็ ตรอนเปน็ 8 (ถา้ ทาํ ได้)
- กรณที ี่เปน็ ไอออน

ไอออนบวก หมายถึง ผลรวมของอิเล็กตรอนท้ังหมดจะมีการเสียอิเล็กตรอนไปตามจํานวนของ
ไอออนบวก เช่น หากเปน็ ไอออน +1 แสดงว่า อเิ ลก็ ตรอนรวมท้ังหมดจะมกี ารสญู เสยี ไป 1 อเิ ล็กตรอน

ไอออนลบ หมายถึง ผลรวมของอเิ ล็กตรอนทั้งหมดจะมกี ารรบั อิเล็กตรอนเพม่ิ เขา้ มาตามจํานวนของ
ไอออนลบ เชน่ หากเป็นไอออน -2 แสดงวา่ อิเล็กตรอนรวมทง้ั หมดจะมกี ารรบั เพ่มิ เข้ามา 2 อเิ ลก็ ตรอน

ลักษณะของสตู รโครงสรา ง

1. โมเลกุลที่เป็นไปตามกฎออกเตต อะตอมของธาตุจะใช้คู่อิเล็กตรอนร่วมกัน เพ่ือให้มีอิเล็กตรอน
วงนอกสดุ เปน็ ไปตามกฎออกเตต ซึง่ อะตอมของธาตุเหล่านั้นจะมีความเสถียรเหมือนอะตอมของธาตุหมู่ VIIIA
เชน่ H2O C3H6 S8 เปน็ ตน้

วิทยาศาสตร์ เคมี (112) ____________________________________โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27

2. โมเลกลุ ทไ่ี ม่เปน็ ไปตามกฎออกเตต
2.1 โมเลกุลท่ีเกินออกเตต ธาตุที่จะมีอิเล็กตรอนเกินออกเตตน้ันจะต้องอยู่ต้ังแต่คาบ 3 ลงมา

เน่อื งจากธาตุทอี่ ยคู่ าบดงั กลา่ วจะมี d ออรบ์ ิทลั ทีส่ ามารถรบั อิเล็กตรอนที่เกินมาได้ และธาตุท่ีเป็นอะตอมกลาง
จะตอ้ งมคี ่าอเิ ล็กโทรเนกาตวิ ติ ี (EN) ต่ํากวา่ อะตอมปลาย เชน่ PF5 H2SO4 เปน็ ตน้

2.2 โมเลกุลท่ไี มค่ รบออกเตต
- โมเลกลุ ที่มเี วเลนซ์อเิ ล็กตรอนรอบอะตอมใดอะตอมหนึ่งน้อยกว่าออกเตต (ไม่ครบ 8)
- บางโมเลกุลอาจมีอิเล็กตรอนเด่ียวซ่ึงมีความว่องไวในการทําปฏิกิริยา ซึ่งพบในโมเลกุลท่ีมี

ผลรวมเวเลนซอ์ เิ ลก็ ตรอนทุกอะตอมในโมเลกุลเปน็ เลขคี่

ความยาวพนั ธะและพลังงานพนั ธะ

ความยาวพันธะ ก็คือ ระยะหา่ งระหวา่ ง 2 นิวเคลียสของอะตอมที่สร้างพันธะกัน โดยที่ระยะห่างนี้จะทํา
ให้โมเลกุลมีความเสถียรมากท่ีสุด ซึ่งอะตอมในสารแต่ละชนิดก็จะมีความยาวพันธะต่างๆ กันไป แม้ว่าจะเป็น
อะตอมชนิดเดียวกันก็ตาม เช่น ความยาวพันธะระหว่าง C O ในสาร H2CO และ CO2 ก็จะมีค่าไม่เท่ากัน
ดังนั้น โดยท่ัวไปเราจึงใช้ค่าความยาวพันธะเฉล่ีย เราสามารถเรียงลําดับความยาวพันธะได้ดังนี้ คือ
พนั ธะเด่ยี ว > พันธะคู่ > พันธะสาม

พลังงานพันธะ คือ พลังงานท่ีอะตอมใช้ยึดเหน่ียวกัน หรือพลังงานที่ใช้ในการทําลายพันธะระหว่าง
อะตอมในสภาวะแก๊ส ซึ่งแม้จะเป็นอะตอมชนิดเดียวกัน สารแต่ละชนิดก็จะมีพลังงานพันธะท่ีไม่เท่ากัน ดังนั้น
เราจะใชพ้ ลังงานพนั ธะเฉลี่ยในการคํานวณ ซง่ึ ในอะตอมชนิดเดียวกันเราสามารถเรียงลําดับพลังงานพันธะได้ดังนี้
คือ พนั ธะสาม > พนั ธะคู่ > พันธะเดีย่ ว

การสลายพันธะและการเกดิ พนั ธะ

เมื่ออะตอมสองอะตอมเกดิ พันธะโคเวเลนตจ์ ะคายพลังงานออกมา ดังน้นั หากต้องการแยกอะตอมทั้งสอง
ออกจากกันจะต้องใช้พลังงานค่าหนึ่ง ซ่ึงพลังงานที่ใช้ในการสลายพันธะเรียกว่า พลังงานการสลายพันธะ
(Bond Dissociation Energy) เป็นการดูดพลังงาน ซ่ึงจะมีค่าเป็นบวก ในทางตรงกันข้าม พลังงานที่คาย
ออกมาจากการเกิดพันธะ จะมีค่าเป็นลบ เราสามารถคํานวณหาพลังงานของปฏิกิริยา (∆H) ได้ โดยที่การ
เกิดปฏิกิริยาจะต้องสลายพันธะเก่าของสารตั้งต้นซ่ึงจะเกิดการดูดพลังงานเข้าไป และสร้างพันธะใหม่ของ
ผลิตภัณฑ์ท่ีจะคายพลังงานออกมา ดังน้ัน หากเราทราบชนิดและจํานวนพันธะท่ีเกี่ยวข้องในปฏิกิริยาเราจะ
สามารถคํานวณหาพลังงานของปฏิกิริยาได้ ดังนั้น เมื่อพิจารณาในพลังงานของปฏิกิริยาเราสามารถแบ่ง
ปฏิกิริยาเคมีออกเป็น 2 ประเภท

1. ปฏกิ ริ ยิ าดดู พลังงาน (Endothermic Reaction) คือ ปฏิกิริยาซึ่งใช้พลังงานในการสลายพันธะเดิม
มากกว่าพลังงานท่ีคายออกมาเมื่อเกิดพันธะใหม่ ดังน้ันจึงเป็นปฏิกิริยาท่ีพลังงานถ่ายเทจากส่ิงแวดล้อมเข้าสู่
ระบบ และกาํ หนดใหก้ ารดูดพลงั งานมีเครือ่ งหมายของพลังงาน (∆H) เป็นบวก

2. ปฏิกิริยาคายพลังงาน (Exothermic Reaction) คือ ปฏิกิริยาซ่ึงใช้พลังงานในการสลายพันธะเดิม
น้อยกว่าพลังงานที่คายออกมาเมื่อเกิดพันธะใหม่ ดังน้ันจึงเป็นปฏิกิริยาท่ีพลังงานถ่ายเทจากระบบเข้าสู่
ส่งิ แวดล้อม และกาํ หนดให้การคายพลังงานมีเครอ่ื งหมายของพลังงาน (∆H) เปน็ ลบ

โครงการแบรนด์ซมั เมอร์แคมป์ ปีท่ี 27 ___________________________________ วิทยาศาสตร์ เคมี (113)

รูปรา งของโมเลกลุ

โครงสร้างของโมเลกุลโคเวเลนต์ใน 3 มิตินั้น สามารถพิจารณาได้จากการผลักกันของอิเล็กตรอนที่มีอยู่
รอบๆ อะตอมกลางเป็นสําคัญ ทฤษฎีท่ีใช้ทํานายรูปร่างของโมเลกุลโคเวเลนต์ คือ ทฤษฎีการผลักกันของคู่
อเิ ลก็ ตรอนวงนอกสดุ (Valence Shell Electron Pair Repulsion : VSEPR) ซ่งึ เราสามารถแบ่งรปู ร่างได้ดงั นี้

จํานวนคู่ อเิ ล็กตรอน โครงสรา้ ง ช่อื ขนาดของมมุ ตวั อยา่ ง
อเิ ลก็ ตรอน คู่โดดเดยี่ ว XX 180 HCl
เสน้ ตรง
10 Linear
เสน้ ตรง
21 X Linear 180 BeCl2
สามเหลยี่ มแบนราบ
0 X Trigonal Planar 120 BF3
3 X มมุ งอ
X Bend (V-shape) < 120 SO2
1 ทรงเหล่ียมสหี่ น้า
Tetrahedron 109.5 CH4
0 พรี ะมิด
Pyramid
41 X มมุ งอ < 109.5 NH3
Bend (V-shape)
2X พีระมดิ คูฐ่ านสามเหลีย่ ม << 109.5 H2O
0X Trigonal Bipyramid
ไม้กระดก 120, 90 PCl5
Irregular Tetrahedron
X (Seesaw) < 120, < 90 SF4
รูปตัวที
51 T-shape
ทรงเหล่ยี มแปดหน้า
2 X Octahedron < 90 ClF3
0 X พรี ะมดิ ฐานสเี่ หลยี่ ม 90 SF6
61 X Square Pyramid 90 IF5
2 X ส่ีเหล่ียมแบนราบ 90 XeF4
Square Planar

วทิ ยาศาสตร์ เคมี (114) ____________________________________โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27

สภาพข้วั ของโมเลกลุ โคเวเลนต

ขัว้ ของพันธะนัน้ สามารถพิจารณาไดจ้ ากความแตกตา่ งของคา่ EN เช่น
H H จัดเปน็ พนั ธะทไี่ ม่มีข้ัว
H F จัดเปน็ พนั ธะทม่ี ีขัว้

ซึ่งอาศัยขวั้ ของพนั ธะนี้เองเป็นตวั บง่ ช้ีถงึ ขว้ั ของโมเลกุล โดยการรวมเวคเตอร์ของขั้วต่างๆ ท่ีมีอยู่ในโมเลกุล
เข้าด้วยกัน เพ่ือหาเวกเตอร์ผลลัพธ์ท่ีจะบอกถึงข้ัวของโมเลกุลนั้น จึงต้องทราบถึงโครงสร้างในสามมิติของ
โมเลกุลเสยี ก่อน เช่น

OCO

คารบ์ อนไดออกไซดม์ ีขว้ั รวมเป็นศูนย์ เพราะขวั้ ลบของพันธะช้ีออกไปทางออกซเิ จนเท่าๆ กนั ใน 2 ทศิ ทาง
ทตี่ รงขา้ มกนั พอดี

H N HH

แอมโมเนียมีข้ัวลบชี้ข้ึนตรงๆ ทางด้านบน เพราะขั้วของพันธะมาเสริมกันในแนวแกน z แต่ในระนาบ
หกั ล้างกันหมดไป

โมเลกลุ ทไี่ มม่ ขี ้ัว ไดแ้ ก่
1. โมเลกลุ ของธาตชุ นิดเดยี วกัน เนื่องจากมีค่า EN เท่ากัน เชน่ H2, O2, S8, P4, N2 เป็นต้น
2. โมเลกุลที่ประกอบด้วยธาตุ 2 ชนิด มีจํานวนอะตอม 3 อะตอมข้ึนไป อะตอมกลางไม่มีอิเล็กตรอนคู่
โดดเดี่ยว รูปร่างโมเลกุลจะเป็นลักษณะสมมาตรทําให้สภาพข้ัวหักล้างกัน เช่น CO2, BeH2, CF4, PH5, SCl6
เปน็ ตน้
3. สารประกอบไฮโดรคารบ์ อน เช่น CH4, C2H6, C6H6 เป็นต้น
โมเลกุลท่ีมขี ้ัว ไดแ้ ก่
1. โมเลกุลทปี่ ระกอบด้วยอะตอมของธาตทุ ่ตี า่ งกนั 2 อะตอม เชน่ HCl, CO, NO เป็นตน้

แรงยึดเหนีย่ วระหวางโมเลกุลโคเวเลนต

โมเลกุลโคเวเลนต์โดยปกติจะไม่เชือ่ มต่อกันแบบร่างแหอย่างพันธะโลหะ หรือไอออนิก แต่จะมีขอบเขตที่
แน่นอน จึงต้องพิจารณาแรงยึดเหน่ียวระหว่างโมเลกุลด้วย ซ่ึงจะเป็นส่วนที่ใช้อธิบายสมบัติทางกายภาพของ
โมเลกุลโคเวเลนต์ อันได้แก่ ความหนาแน่น, จุดเดือด, จุดหลอมเหลว หรือความดันไอ ได้โดยแรงยึดเหน่ียว
ระหวา่ งโมเลกุลนน้ั เกดิ จากแรงดึงดดู เน่อื งจากความแตกต่างของประจเุ ปน็ สาํ คญั แรงตา่ งๆ เหลา่ น้ัน เชน่

แรงลอนดอน (London force)

เป็นแรงท่ีเกิดจากการดึงดูดทางไฟฟ้าของโมเลกุลท่ีไม่มีข้ัว ซ่ึงแรงดึงดูดทางไฟฟ้าน้ันเกิดได้จากการ
เคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนอย่างเสียสมดุลทําให้เกิดข้ัวขึ้นเล็กน้อย และขั้วที่เกิดข้ึนชั่วคราวนี้เอง จะเหนี่ยวนํากับ
โมเลกลุ ขา้ งเคียงให้มแี รงยดึ เหน่ียวเกดิ ขึ้น ดงั นั้นยิ่งโมเลกุลที่มีขนาดใหญ่ ก็จะย่ิงมีโอกาสท่ีอิเล็กตรอนเคลื่อนท่ี
เสียสมดุลได้มาก จึงอาจกล่าวได้ว่า แรงลอนดอน แปรผันตรงกับขนาดของโมเลกุล เช่น F2, Cl2, Br2, I2 และ
CO2 เปน็ ตน้

โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปที ี่ 27 ___________________________________ วิทยาศาสตร์ เคมี (115)

แรงไดโพล-ไดโพล (Dipole-Dipole Interaction)

เป็นแรงยึดเหน่ียวท่ีเกิดระหว่างโมเลกุลท่ีมีขั้วสองโมเลกุลขึ้นไป เป็นแรงดึงดูดทางไฟฟ้าท่ีแข็งแรงกว่า
แรงลอนดอน เพราะเป็นข้ัวไฟฟ้าที่เกิดข้ึนอย่างถาวร โมเลกุลจะเอาด้านที่มีประจุตรงข้ามกันหันเข้าหากัน ตาม
แรงดึงดูดทางประจุ เช่น H2O, HCl, H2S และ CO เป็นต้น

พันธะไฮโดรเจน (Hydrogen Bond)

เป็นแรงยึดเหน่ียวที่มีค่าสูง โดยเกิดระหว่างไฮโดรเจนกับธาตุขนาดเล็กท่ีมีค่า EN สูง และมีอิเล็กตรอนคู่
โดดเดี่ยวเหลืออยู่ ซึ่งได้แก่ F, O และ N โดยสารที่มีแรงยึดเหน่ียวชนิดน้ีจะต้องมีพันธะระหว่าง H กับธาตุ F, O
หรือ N ดังกล่าวจึงจะสามารถเกิดแรงยึดเหน่ียวระหว่างโมเลกุลที่เป็นพันธะไฮโดรเจนได้ ซึ่งสาเหตุท่ีทําให้พันธะ
ไฮโดรเจนเป็นแรงยึดเหน่ียวที่มีค่าสูง คือ ไฮโดรเจนที่ขาดอิเล็กตรอน อันเนื่องมาจากถูกส่วนที่มี EN สูงใน
โมเลกุลดึงไป จนกระท่ังไฮโดรเจนนั้นมีสภาพเป็นบวกสูง และจะต้องมีธาตุที่มีอิเล็กตรอนคู่โดดเด่ียวเหลือ และมี
ความหนาแน่นอิเล็กตรอนสูงพอให้ไฮโดรเจนที่กําลังขาดอิเล็กตรอนน้ัน เข้ามาสร้างแรงยึดเหนี่ยวด้วยได้ เช่น
H2O, HF และ NH3 เป็นต้น ส่วน HCl นั้นไม่สามารถเกิดได้เพราะอิเล็กตรอนไม่หนาแน่นพอที่จะให้ไฮโดรเจนเข้ามา
สร้างแรงยึดเหนีย่ วได้

สมบตั ขิ องสารประกอบโคเวเลนต

1. สถานะ สารประกอบโคเวนต์มีสถานะเป็นได้ท้ังของแข็ง ของเหลว และแก๊ส ท้ังนี้ข้ึนอยู่กับแรงยึดเหนี่ยว
ระหว่างอนุภาค โดยทีข่ องแขง็ จะมแี รงยดึ เหนย่ี วระหว่างอนุภาคมากกว่าของเหลวและแกส๊ ตามลาํ ดับ

2. จดุ เดือด-จุดหลอมเหลว โดยทว่ั ไปแลว้ สารประกอบโคเวเลนต์ส่วนมากจะมีจุดเดือดและจุดหลอมเหลว
ต่ํากว่าสารประกอบท่ีเกิดจากพันธะอ่ืนๆ เนื่องจากการเดือดและการหลอมเหลวทําลายที่แรงยึดเหน่ียวระหว่าง
โมเลกุล ไม่ไดท้ าํ ลายท่ีพนั ธะโคเวเลนต์นั่นเอง

แตถ่ า้ เปรยี บเทียบสารประกอบโคเวเลนต์ด้วยกันเองพบว่า หากมีขนาดโมเลกุลใกล้เคียงกันจุดเดือด
และจดุ หลอมเหลวจะเพ่ิมตามแรงยึดเหนยี่ วระหว่างโมเลกุลทเี่ พิม่ ขึน้

3. การละลาย โดยปกติน้นั สารท่มี ีแรงยดึ เหน่ยี วชนิดเดียวกันจะสามารถละลายซึง่ กันและกนั ได้ ดงั นนั้ จึง
อาจกล่าวได้ว่า โมเลกุลทม่ี ขี ั้วจะละลายกับโมเลกุลท่ีมีข้ัว และโมเลกุลที่ไม่มีข้ัวจะละลายกับโมเลกุลที่ไม่มีขั้ว โดย
โมเลกุลที่ไม่มีข้ัวส่วนมากจะไม่สามารถเข้าไปแทรกตัวละลายอยู่ในโมเลกุลที่มีขั้วได้ เพราะแรงดึงดูดระหว่างข้ัว
หรอื แรงไดโพล-ไดโพลนั้นแขง็ แรงมากกวา่ มาก

4. การนําไฟฟ้า โดยท่ัวไปนั้นสารประกอบโคเวเลนต์จะไม่นําไฟฟ้า เนื่องจากอิเล็กตรอนไม่สามารถ
เคลื่อนท่ไี ด้อยา่ งอิสระนนั่ เอง

สารโครงผลกึ รา งตาขา ย

เป็นสารประกอบโคเวเลนต์ท่ีเกิดการสร้างพันธะต่อเน่ืองกันไปเรื่อยๆ แบบสามมิติเกิดเป็นลักษณะคล้าย
โครงตาข่าย ซง่ึ สารชนดิ นจี้ ะมีจดุ เดือดและจุดหลอมเหลวสูงมาก ตวั อยา่ งเช่น เพชร แกรไฟต์

วทิ ยาศาสตร์ เคมี (116) ____________________________________โครงการแบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ ปที ่ี 27

สมบัติของสารโครงผลกึ รางตาขาย

1. ในภาวะปกติมสี ถานะเปน็ ของแขง็ ทแ่ี ขง็ มาก ยกเวน้ แกรไฟต์
2. บางชนดิ ไมน่ ําไฟฟา้ เชน่ เพชร บางชนิดนาํ ไฟฟา้ ได้ เชน่ แกรไฟต์
3. มีจดุ เดือดและจุดหลอมเหลวสูง เนื่องจากการเดือดหรือการหลอมเหลวต้องทําลายพันธะโคเวเลนต์
ซึ่งเปน็ พนั ธะที่แขง็ แรงมาก
4. ไมล่ ะลายนาํ้
5. ไม่มีสตู รโมเลกลุ มแี ตส่ ตู รอย่างงา่ ย

พนั ธะไอออนิก

พันธะไอออนิกเกดิ จากอะตอมของธาตุที่มีค่า EN ต่างกันมากๆ เช่น อะตอมของโลหะกับอโลหะมารวมตัวกัน
โดยท่ีอะตอมท่ีมีค่า EN ตํ่าจะเสียอิเล็กตรอนให้อะตอมท่ีมีค่า EN สูง เกิดเป็นไอออนบวกข้ึน ส่วนอะตอมท่ีมีค่า
EN สูงรับอิเล็กตรอนมาก็จะกลายเป็นไอออนลบ ไอออนที่มีประจุตรงกันข้ามน้ีจะดึงดูดกันด้วยแรงทางไฟฟ้า
(Electrostatic Force)

พลงั งานกบั การเกิดสารประกอบไอออนกิ

ในการเกิดสารประกอบไอออนิกชนิดหนึ่งๆ จะเกิดผ่านกระบวนการหลายขั้นตอน ซึ่งมีการเปล่ียนแปลง
พลงั งานเกิดขนึ้ ยกตัวอย่างเช่น การเกิดสารประกอบโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) จะมีขนั้ ตอนดังนี้

1. โลหะโซเดียมที่อยู่ในสภาวะของแข็งจะเกิดการดูดพลังงานเข้าไป เพ่ือเปลี่ยนสถานะให้กลายเป็น

ไอโซเดียม ด้วยกระบวนการระเหิด เราเรียกพลังงานท่ีใช้ในการเปล่ียนสถานะนี้ว่า พลังงานของการระเหิด

(∆HS : Heat of Sublimation)

Na(s) Na(g)… ∆Hs = 107.3 kJ/mol

2. แก๊สคลอรนี โดยปกติจะอยู่ในรูปของโมเลกุล ดังนั้นก่อนท่ีจะเกิดปฏิกิริยากับโซเดียมจะต้องแตกออก

เป็นอะตอมของคลอรีนกอ่ น โดยการดูดพลังงานเข้าไปเท่ากับพลังงานพันธะ เราเรียกพลังงานท่ีใช้ว่า พลังงาน

การสลายพนั ธะ (∆HD : Bond Dissociation Energy)
1 1
2 Cl2(g) Cl(g)… 2 ∆HD = 122 kJ/mol

3. อะตอมของโซเดียมในสภาวะแก๊สให้อิเล็กตรอนกลายเป็นโซเดียมไอออน โดยใช้พลังงานเท่ากับ

พลังงานไอออไนเซชันครั้งท่ี 1 (IE1 : Ionization Energy)
Na(g) Na+(g) + e-… IE1 = 495.8 kJ/mol

4. อะตอมของคลอรีนในสภาวะแก๊สรับอิเล็กตรอนกลายเป็นคลอไรด์ไอออน โดยคายพลังงานเท่ากับ

สัมพรรคภาพอเิ ลก็ ตรอน (EA : Electron Affinity)

Cl(g) + e- Cl-(g)… EA = -348.6 kJ/mol

5. โซเดียมไอออนและคลอไรด์ไอออนรวมตัวกันโดยคายพลังงานท่ีเรียกว่า พลังงานโครงผลึก

(∆HL : Lattice Energy) NaCl(s)… ∆HL = -787 kJ/mol
Na+(g) + Cl-(g)

โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปที ี่ 27 ___________________________________ วิทยาศาสตร์ เคมี (117)

พลังงานการเกิดสารประกอบไอออนิก (∆Hf) จะมีค่าเท่ากับผลรวมของการเปลี่ยนแปลงพลังงาน
ขน้ั ยอ่ ยๆ โดยทก่ี ําหนดให้

∆H มีคา่ เปน็ บวกเมื่อเกดิ การเปล่ียนแปลงแบบดูดพลงั งาน

∆H มคี า่ เป็นลบเม่อื เกิดการเปลี่ยนแปลงแบบคายพลังงาน

∆Hf = ∆HS + 1 ∆HD + IE1 - EA - ∆HL
2

การเขยี นสูตร

1. เขียนไอออนบวกไว้ด้านหน้าและไอออนลบไว้ด้านหลงั
2. ประจุรวมระหวา่ งไอออนบวกและไอออนลบของสารประกอบไอออนิกจะมีคา่ เปน็ ศนู ย์
3. เขียนแสดงสัดส่วนการรวมตัวอย่างต่ํา (สูตรเอมพิริคัล) ของแต่ละไอออนห้อยไว้ด้านล่าง เช่น NaCl
มีสัดส่วน Na+ : Cl- = 1 : 1 (หากสัดส่วนเป็นเลข 1 จะไม่แสดงเป็นตัวเลข) CaCl2 มีสัดส่วน Ca2+ : Cl- = 1 : 2
เปน็ ตน้

การเรียกชอื่ สารประกอบไอออนิก

1. การเรียกช่อื จะเรยี กชอ่ื ไอออนบวกตามดว้ ยไอออนลบแล้วลงท้ายด้วย -ide, -ate หรือ –ite แล้วแต่
ชนิดของไอออนลบนน้ั ๆ

2. โลหะทรานซิชนั ทีม่ ีประจบุ วกไดห้ ลายค่าใหร้ ะบุคา่ ประจุบวก เป็นตัวเลขโรมันในวงเลบ็ ทา้ ยช่อื โลหะด้วย

สมบตั ขิ องสารประกอบไอออนกิ

1. สถานะ สารประกอบไอออนิกเป็นผลึกของแข็งท่ีเปราะเนื่องจากเมื่อทําการทุบสารประกอบไอออนิก
จะทําใหไ้ อออนทมี่ ปี ระจุชนิดเดยี วกนั เลอื่ นมาเจอกันจะเกิดแรงผลกั ข้ึนทําให้ผลึกแตกออก

2. การนําไฟฟ้า สารประกอบไอออนิกในสภาวะปกติจะไม่นําไฟฟ้าเน่ืองจากแต่ละไอออนไม่สามารถ
เคล่ือนที่ไดอ้ ย่างอิสระ แตจ่ ะสามารถนาํ ไฟฟ้าได้เมือ่ หลอมเหลวหรือละลายนาํ้

3. จุดเดือดจุดหลอมเหลว สารประกอบไอออนิกมีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวที่สูงเน่ืองจากต้องสลาย
พันธะไอออนกิ ซ่งึ เป็นพนั ธะทีแ่ ข็งแรงมาก

4. การละลาย สารประกอบไอออนิกบางชนิดละลายน้ําได้ บางชนิดไม่ละลายหรือละลายได้น้อย เมื่อ
สารประกอบไอออนกิ ละลายนํา้ ไอออนบวกและไอออนลบจะแยกออกจากกัน โดยมีน้าํ มาลอ้ มรอบไอออนทงั้ สอง
นํ้าจะหันข้วั บวกเข้าหาไอออนลบ และจะหนั ขัว้ ลบเขา้ หาไอออนบวก

พลงั งานกบั การละลายน้ําของสารประกอบไอออนกิ

การละลายของสารประกอบไอออนิกจะมีพลังงานท่ีเกี่ยวข้องอยู่ 2 ชนิด คือ พลังงานแลตทิช และ
พลังงานไฮเดรชัน

1. ในขั้นแรกโมเลกุลของนํ้าจะดึงดูดกับไอออนในสารประกอบไอออนิก โดยจะต้องใช้พลังงานในการ
ทาํ ลายแรงยึดเหนีย่ วระหวา่ งไอออนภายในโครงผลึกเทา่ กบั พลังงานทไ่ี อออนยึดเหน่ียวกันซ่ึงก็คือ พลังงานแลตทิช
นั่นเอง

XY(S) X+(g) + Y-(g) ∆H = +L

วทิ ยาศาสตร์ เคมี (118) ____________________________________โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27

2. เม่ือไอออนหลุดออกมานํ้าก็จะเข้าไปล้อมรอบไอออนน้ันไว้โดยที่จะทําการคายพลังงานออกมา

ซึ่งพลงั งานทคี่ ายออกมาก็คอื พลังงานไฮเดรชัน

X+(g) + Y-(g) X+(aq) + Y-(aq) ∆H = -H

เม่อื พจิ ารณาผลตา่ งของการเปล่ียนแปลงพลังงานท้งั สองขัน้ จะได้ว่า

1. ถ้าพลังงานแลตทิชมากกว่าพลังงานไฮเดรชัน (L > H) การละลายนํ้าจะเกิดการดูดพลังงาน ทําให้

สารละลายเย็นลง

2. ถา้ พลงั งานแลตทิชนอ้ ยกวา่ พลังงานไฮเดรชัน (L < H) การละลายนํ้าจะเกิดการคายพลังงาน ทําให้

สารละลายรอ้ นขึน้

3. ถ้าพลังงานแลตทิชมากกว่าพลังงานไฮเดรชันมากๆ (L >> H) จะไม่เกิดการละลายนํ้า เน่ืองจาก

ไอออนยดึ เหนย่ี วกนั ด้วยแรงท่ีมากจนนา้ํ ไม่สามารถแยกไอออนออกจากกันได้

พันธะโลหะ

พนั ธะโลหะนัน้ เกิดขึ้นจากการรวมตวั ของอะตอมของโลหะหลายๆ อะตอมเข้ามาอยรู่ วมกัน ซ่งึ อะตอมของ
โลหะน้ันมีค่า EN ตํ่าจึงพยายามท่ีจะปลดปล่อยอิเล็กตรอนออกมา โมเลกุลที่เกิดจากพันธะโลหะไม่มีขอบเขต
ทีแ่ นน่ อน เพราะการเกาะตวั กันจะเกดิ ขน้ึ โดยตลอดทั่วท้ังก้อนโลหะนน้ั ทาํ ให้โลหะไมม่ ีแรงยึดเหนยี วระหวา่ งโมเลกลุ

สมบตั ขิ องโลหะ

1. โลหะสามารถที่จะถูกดึงออกเป็นเส้น หรือตัดให้ขาดออกจากกันด้วยมีดได้ และยังมีสมบัติท่ีสามารถ
เปล่ียนแปลงรูปร่างได้จากแรงกระทําภายนอก เช่น การตีหรือทุบ ให้โลหะบิดงอ เปลี่ยนรูปร่างไป โดยไม่เกิด
การแตกออกไดง้ า่ ยเหมอื นพนั ธะอนื่

2. สามารถนําไฟฟ้าได้ เนอื่ งจากอิเลก็ ตรอนสามารถที่จะเคลอื่ นท่ีได้อย่างอสิ ระ ไปไดท้ ัว่ ท้ังกอ้ นของโลหะ
ดังนั้นการใส่กระแสไฟฟ้าลงไป ซ่ึงก็คือการใส่อิเล็กตรอนลงไปน่ันเอง จะสามารถถ่ายเทอิเล็กตรอนเหล่าน้ันไป
บนก้อนโลหะไดโ้ ดยเกิดการเคล่อื นท่ี (Delocalized) ของอเิ ล็กตรอน

3. สามารถนําความร้อนได้ดี โดยท่ีอิเล็กตรอนท่ีอยู่ตรงตําแหน่งที่มีอุณหภูมิสูง จะได้รับพลังงานและ
เคล่อื นท่ี จงึ สามารถถ่ายเทความรอ้ นใหก้ ับส่วนอื่นๆ ได้

4. ผิวเป็นมนั วาว เนื่องจากอิเล็กตรอนทเ่ี คลือ่ นท่ไี ดอ้ ย่างอิสระน้ันจะรบั และกระจายแสงออกมา
5. จุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูง เนื่องจากพันธะโลหะเกิดจากแรงยึดเหน่ียวระหว่างอิเล็กตรอนอิสระ
ทัง้ หมดในก้อนโลหะกบั ไอออนบวก จงึ มคี วามแข็งแรงมาก

โครงการแบรนด์ซมั เมอรแ์ คมป์ ปที ี่ 27 ___________________________________ วทิ ยาศาสตร์ เคมี (119)

ตัวอย่าง สารประกอบในข้อใดมโี ครงสรา้ งเปน็ ทรงส่ีหนา้
1) SF4
2) POCl3
3) ICl4-
4) XeF4

เฉลย 2) POCl3

ตวั อย่าง จดุ หลอมเหลวของ MgO สูงกวา่ NaF เนอ่ื งจากสาเหตใุ ดต่อไปน้ี
ก. Mg2+ มีประจุบวกสงู กว่า Na+
ข. O2- มปี ระจลุ บสงู กว่า F-
ค. O2- ใหญก่ วา่ F-

1) ขอ้ ข. เท่านน้ั 2) ข้อ ก.และ ข.

3) ข้อ ก. และ ค. 4) ขอ้ ก. ข. และ ค.

เฉลย 2) ข้อ ก.และ ข.

ตัวอย่าง XY เปน็ สารประกอบไอออนกิ เมือ่ นําสารนี้ 1.00 กรัม มาละลายในนํ้า 100 กรัม ปรากฏว่าอุณหภูมิ

ของสารละลายลดลง 0.30 องศาเซลเซยี ส

กาํ หนดให้ น้าํ หนักโมเลกุลของ XY = 50

ความจุความรอ้ นจาํ เพาะของนํ้า = 4.2 J/g ⋅ °C

พลังงานไฮเดรชันของ XY = -30.0 กิโลจลู ต่อโมล

พลงั งานโครงรา่ งผลกึ ของ XY มคี า่ ก่กี ิโลจูลต่อโมล

1) 6.3

2) 7.3

3) 30.1

4) 36.3

เฉลย 4) 36.3

ตัวอยา่ ง ปฏิกิรยิ าใดตอ่ ไปนี้เกดิ ข้ึนไมไ่ ด้อยา่ งแน่นอน

1) ClF + F2 ClF3 2) PF3 + F2 PF5
3) SF2 + F2 SF4 4) SiF4 + F2 SiF6

เฉลย 4) SiF4 + F2 SiF6

วิทยาศาสตร์ เคมี (120) ____________________________________โครงการแบรนด์ซมั เมอร์แคมป์ ปีที่ 27

ตัวอยา่ ง การเกิดพนั ธะหรือแรงยดึ เหน่ยี วระหวา่ งอนภุ าคภายในผลึกต่อไปนี้

ก. ผลึกแอมโมเนยี เกิดพันธะไฮโดรเจน

ข. ผลกึ กํามะถนั เกิดแรงดงึ ดูดระหวา่ งขว้ั

ค. แกรไฟตเ์ กดิ พนั ธะโลหะ

ง. เพชรเกดิ พนั ธะโคเวเลนต์

จ. ผลกึ ZnS เกิดพันธะไอออนิก

ฉ. ซลิ กิ า (SiO2) เกิดพนั ธะไอออนิก
ข้อใดถกู

1) ก., ง. และ จ. 2) ก., จ. และ ฉ.

3) ข., ค. และ ง. 4) ข., ง. และ ฉ.

เฉลย 1) ก., ง. และ จ.

ตวั อย่าง พจิ ารณาปฏกิ ริ ยิ า Ca(s) + O2(g) CaO(s) พลังงานในขอ้ ใดไม่เก่ยี วขอ้ งกบั ปฏกิ ิรยิ าน้ี
1) พลังงานแลตทิช

2) พลงั งานการระเหิดของ Ca

3) พลงั งานไอออไนเซชันของธาตอุ อกซิเจน

4) พลังงานการสลายพันธะของธาตุออกซเิ จน

เฉลย 3) พลงั งานไอออไนเซชนั ของธาตุออกซิเจน

โครงการแบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ ปที ่ี 27 ___________________________________ วิทยาศาสตร์ เคมี (121)

สมบตั ิของธาตุตามตารางธาตุ

ตารางเปรียบเทียบคุณสมบัติทั่วไปทงั้ ทางกายภาพและคณุ สมบตั ทิ ัว่ ไปทางเคมีของโลหะและอโลหะ

คณุ สมบตั ิทางกายภาพ

สมบัตขิ องธาตุ โลหะ อโลหะ

สถานะ ของแข็ง ยกเวน้ Hg Ga Cs Fr มีท้ัง 3 สถานะ
การนาํ ไฟฟ้า
นําไฟฟ้าไดด้ ี ไมน่ ํา ยกเว้นแกรไฟต์ ฟอสฟอรสั ดํา

จดุ หลอมเหลว สูง ยกเว้นปรอท ตา่ํ ยกเวน้ คาร์บอน

ความหนาแน่น มีทง้ั สงู และต่ํา ตา่ํ ยกเวน้ คาร์บอน (เพชร)

คุณสมบตั ิทางเคมี

สมบตั ขิ องธาตุ โลหะ อโลหะ

เม่ือมกี ารรวมตวั (ทัว่ ไป) ตัวจา่ ยอเิ ล็กตรอน (Reducer) ตวั รบั อิเล็กตรอน (Oxidizer)

สารประกอบคลอไรด์ กลาง กรด

สารประกอบออกไซด์ เบส กรด

ยกเว้น Be, B และ Al ซ่ึงถือเป็นสารที่ให้สมบัติเป็นกรดหรือเบสก็ได้ (เป็นกลางไม่ได้) เรียกว่า
Amphoteric

เคมีนิวเคลยี ร

ธาตุกัมมันตรังสี คือ ธาตุท่ีมีสมบัติในการแผ่กัมมันตภาพรังสีซึ่งอาจเปล่ียนเป็นธาตุอ่ืนได้ โดยเปล่ียน
จํานวนอนุภาคในนิวเคลียส เช่น จํานวนโปรตอนและนิวตรอน โดยมีปัจจัยสําคัญที่ทําให้อะตอมปลดปล่อย
กมั มนั ตรงั สอี อกมาก็คือ เสถยี รภาพของนวิ เคลียส

ปัจจยั ทที่ ําใหเ้ ป็นธาตกุ ัมมนั ตรงั สี
1. นิวเคลยี สมีขนาดใหญเ่ กินไป (เลขอะตอมมากกวา่ 83) (ปรับเสถยี รภาพโดยการคายแอลฟา)
2. อตั ราส่วน n/p มากเกินไป (ปรบั เสถียรภาพโดยการคายอนภุ าคเบตาออกมา)
3. อตั ราสว่ น n/p นอ้ ยเกินไป (ปรบั เสถยี รภาพโดยการคายอนุภาคโพซิตรอนออกมาหรือรับเบตา)
4. พลงั งานมากเกนิ ไป (ปรับเสถยี รภาพโดยการคายแกมมา)

วิทยาศาสตร์ เคมี (122) ____________________________________โครงการแบรนด์ซมั เมอร์แคมป์ ปที ่ี 27

จากปจั จัยดงั กลา่ วจะทาํ ใหน้ วิ เคลยี สไมเ่ สถียรและปลดปล่อยกัมมนั ตภาพรังสีออกมา โดยกัมมันภาพตรังสี
ท่ถี กู ปลดปล่อยออกมา ได้แก่ อนภุ าค ดังน้ี

ช่ืออนภุ าค สัญลักษณ์ สัญลักษณ์ที่ใช้ใน คณุ สมบตั ิทว่ั ไป
1. โปรตอน สมการนวิ เคลยี ร์ -
2. นวิ ตรอน -
p 1 H
1

n 01n

0 มลี ักษณะเปน็ อนุภาค คือ เปน็ อเิ ล็กตรอนทอ่ี อกจาก
-1
3. เบตา β- e นิวเคลียส ความเรว็ สงู อาํ นาจเจาะทะลุมากกวา่ อนุภาค

แอลฟา

4. โพซิตรอน β+ 0 e คณุ สมบัติทัว่ ไปคล้ายกับเบตา แต่มปี ระจุเปน็ บวก
5. แอลฟา α +1

42He มลี ักษณะเปน็ อนุภาคท่ีมปี ระจุไฟฟา้ บวก มีอํานาจเจาะทะลุ
นอ้ ย

6. แกมมา γ 0 γ เป็นพลงั งานทีเ่ ปน็ คล่นื แม่เหลก็ ไฟฟ้า มอี าํ นาจเจาะทะลมุ าก
0 มคี วามยาวคล่นื สัน้

“โดยทั่วไปธาตุท่ีมีเลขอะตอมตั้งแต่ 83 ขึ้นไปถือว่าเป็นธาตุกัมมันตรังสีและธาตุกัมมันตรังสีท่ีมี
เลขอะตอมต้งั แต่ 93 ข้ึนไปเกดิ ขน้ึ จากการสงั เคราะห์ทัง้ หมด”

สมการนิวเคลียร์ (Nuclear Equation) คือ สมการที่แสดงปฏิกิริยานิวเคลียร์ สมการต้องดุลทั้งเลข
มวลและเลขอะตอมท้งั ดา้ นซา้ ยและด้านขวาของสมการเคมีให้เทา่ กัน กล่าวคอื ผลบวกของเลขมวลและเลขอะตอม
ของสารตงั้ ต้นเท่ากับของผลิตภณั ฑ์

ตัวอย่าง สมการการสลายตัวของธาตุกมั มันตรังสี

23920Th 20882 Pb + 6 4 He + 4 0 e
2 -1

ตวั อย่าง สมการการเกดิ ปฏิกริ ิยานวิ เคลียร์

235 U + 1 n 141 Ba + 92 Kr + 2 01n
92 0 56 36

โครงการแบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ ปีท่ี 27 ___________________________________ วิทยาศาสตร์ เคมี (123)

ปฏิกิริยานิวเคลียร์ คือ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นจากการเปล่ียนแปลงภายในนิวเคลียสของอะตอมแล้วได้

นิวเคลยี สของอะตอมใหม่เกิดขึน้ ซงึ่ จะทําให้เกดิ การคายพลังงานมหาศาล แบ่งออกไดเ้ ปน็ 2 ประเภท คือ

1. ปฏิกิริยาฟิชชัน (Fission Reaction) เป็นปฏิกิริยานิวเคลียร์ของนิวเคลียสของธาตุหนัก ซึ่งเกิด

จากการยิงอนุภาคนิวตรอนเข้าไปยังนิวเคลียสของธาตุหนัก แล้วทําให้นิวเคลียสของธาตุนั้นแตกออกเป็นสอง

ส่วนท่มี ีขนาดประมาณคร่งึ หน่งึ ของนิวเคลียสเดิม พรอ้ มท้งั ปลดปล่อยนวิ ตรอนออกมาอกี 2-3 อนภุ าค เพ่ือเข้า
ไปชนนิวเคลียสอื่นๆ อีก ทําให้เกิดเป็นปฏิกิริยาลูกโซ่ท่ีให้พลังงานสูง เช่น การทําระเบิดปรมาณู ในการ

เกิดปฏิกิริยานี้จําเป็นจะต้องมีมวลของสารที่เพียงพอต่อการเกิดปฏิกิริยาลูกโซ่ ซ่ึงเราเรียกมวลค่าน้ันว่า “มวล

วิกฤติ” (Critical Mass) U-235 Ba-141

n

U-235 Ba-141 n n
n

Kr-92

n U-235 Ba-141 n
n
Kr-92
n

n

Kr-92

แผนภาพการเกิดปฏกิ ิริยาฟิชชัน

2. ปฏิกิริยาฟิวชัน (Fusion Reaction) เป็นปฏิกิริยานิวเคลียร์ท่ีเกิดจากแก่นของอะตอมเบาหลอม
รวมกันเขา้ เป็นแก่นอะตอมท่ีหนกั แล้วคายพลงั งานมหาศาลออกมา โดยมีความเป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อมน้อยกว่า
ปฏิกิริยาฟิชชัน แต่ให้พลังงานมากกว่าปฏิกิริยาฟิชชัน ซ่ึงเชื่อว่าปฏิกิริยาฟิวชันเป็นปฏิกิริยาท่ีเกิดขึ้นภายใน
ดวงอาทิตย์ ตัวอย่างการใช้ประโยชน์จากปฏิกิริยานี้ คือ การทําระเบิดไฮโดรเจน ในการเกิดปฏิกิริยานี้จําเป็น
จะต้องมีอุณหภมู ขิ องสารที่เพยี งพอต่อการเกิดการหลอมนิวเคลยี ส ซ่ึงเราเรียกอุณหภูมคิ ่าน้ันว่า “อุณหภูมิวิกฤติ”
(Critical Ignition)

E

+ +
DD 3He N

Proton
Neutron

แผนภาพการเกิดปฏกิ ริ ิยาฟวิ ชัน

วทิ ยาศาสตร์ เคมี (124) ____________________________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอร์แคมป์ ปีที่ 27

คร่งึ ชวี ติ (Half Life)

คร่ึงชีวิต คือ ระยะเวลาท่ีธาตุกัมมันตรังสีเปล่ียนแปลงปริมาณไปจากเดิม โดยจะลดลงคร่ึงหน่ึงใน
ช่วงเวลาน้ันๆ ใช้สัญลักษณ์ t1/2 เช่น 222Ra มีคร่ึงชีวิต 40 วัน หมายถึง เมื่อเวลาผ่านไป 40 วัน Ra 1 กรัม
จะเหลือ Ra เพยี ง 0.5 กรมั นั่นเอง โดยมีสูตรทใ่ี ชใ้ นการคํานวณ ดังตอ่ ไปน้ี

Nt = N0/2n n = T/t1/2

เม่อื Nt = ปรมิ าณท่เี หลอื
T = เวลาท้งั หมดทีใ่ ช้
N0 = ปริมาณท่เี ริ่มต้น
t1/2= ครงึ่ ชวี ิตของธาตุใดๆ
n = จํานวนคร้ังทเี่ กดิ การสลายตวั

ตวั อย่าง พจิ ารณาขอ้ มูลการสลายตวั ของไอโซโทปกัมมนั ตรังสี A, B และ C ในตารางต่อไปนี้

ไอโซโทปกัมมันตรังสี ระยะเวลาท่ที ําให้สารหมดไป 87.5% (วัน)
A 24
B 6
C 12

ของผสมระหว่างไอโซโทปกัมมันตรังสี A, B และ C หนัก 14 กรัม หลังจากถูกทิ้งไว้ 8 วัน พบว่า
น้ําหนักของผสมลดลงเหลือ 3 กรัม โดยท่ีไอโซโทปกัมมันตรังสี B และ C เหลือเท่ากัน จากข้อมูลนี้มีไอโซโทป
กัมมันตรงั สี A หนกั กี่กรัมในของผสมตอนเรม่ิ ตน้

1) 2
2) 4
3) 6
4) 8

เฉลย 2) 4

โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27 ___________________________________ วทิ ยาศาสตร์ เคมี (125)

ตวั อยา่ ง แผนภาพการสลายตวั ของ U-238

238U

234Th 234Pa
234U

230Th

226Ra
222Rn

218Po

214Pb 214Bi
210Tl 214Po
210Pb
210Bi
206Pb 210Po

80 84 88 เลขอะตอม

ปฏิกิริยาการสลายตัวของ U-238 จะเกิดอย่างต่อเน่ืองให้รังสีอัลฟาและบีตา เปลี่ยนผ่านธาตุ
กัมมนั ตรังสีหลายชนิดกว่าจะได้เป็นนิวเคลียส Pb-206 ที่เสถียร โดยแกนนอนแสดงถึงเลขอะตอม แกนต้ังของ
แผนภาพนี้สมั พนั ธ์กับขอ้ มลู ใด

1) เลขมวล
2) จํานวนนิวตรอน
3) ผลต่างจํานวนนวิ ตรอนและโปรตอน
4) มคี ําตอบถูกมากกว่า 1 ข้อ

เฉลย 2) จํานวนนวิ ตรอน

ตวั อย่าง ผลรวมของเลขออกซิเดชันของธาตุแทรนซิชนั คูใ่ ดมคี า่ ต่ําทสี่ ดุ

1) [FeSCN]2+ กับ [Ni(NH3)6]Br2
2) [Fe(CN)6]3- กับ [Cu(NH3)4]SO4
3) K4[Ni(CN)4] กบั K3[Fe(CN)6]
4) K4[Fe(CN)6] กับ [CoCl(NH3)5]2+

เฉลย 3) K4[Ni(CN)4] กับ K3[Fe(CN)6]

วิทยาศาสตร์ เคมี (126) ____________________________________โครงการแบรนด์ซมั เมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27

ตัวอย่าง สารกัมมันตรังสชี นดิ หน่งึ มคี วามสัมพนั ธ์ระหวา่ งปรมิ าณสารกับเวลา ดงั รปู

1.25

1

0.75
N/N0 0.5

0.25

0 0 3 6 9 12
เวลา (ชั่วโมง)

ถ้าโรงพยาบาลแหง่ หนงึ่ ตอ้ งการใช้สารนี้จํานวน 10 กรมั จะตอ้ งใหห้ ้องปฏิบัติการนิวเคลียร์สังเคราะห์

สารนีป้ ริมาณกก่ี รัมจึงจะพอดใี ช้ ถา้ การขนสง่ จากห้องปฏบิ ตั ิการไปยงั โรงพยาบาลแหง่ น้ีตอ้ งใช้เวลา 1 วัน

1) 40 2) 80 3) 120 4) 160

เฉลย 4) 160

ตัวอยา่ ง ธาตุกัมมันตรังสี Pb-210 มีค่าคร่ึงชีวิต 20 ปี ในปี พ.ศ. 2500 นาย ก ได้นําตัวอย่างของช้ินส่วน

ซากส่งิ มชี วี ิตทีม่ ี Pb-210 มาวเิ คราะห์หาปริมาณรังสีได้ 400 Bq/kg และได้ทําการบันทึกไว้ ต่อมานาย ข ได้ทํา

การวเิ คราะห์ปรมิ าณรังสีจากซากสงิ่ มชี วี ติ น้ีอีกครง้ั พบวา่ ได้ 6.25 Bq/kg อยากทราบว่า นาย ข ทําการวิเคราะห์

ในปี พ.ศ. ใด

1) 2600 2) 2601 3) 2620 4) 2621

เฉลย 3) 2620

โครงการแบรนดซ์ ัมเมอร์แคมป์ ปีที่ 27 ___________________________________ วิทยาศาสตร์ เคมี (127)

ปริมาณสารสมั พนั ธ

กาํ หนดให้

12 C มีมวลเท่ากับ 12.000 amu (Atomic Mass Unit)
6

จากการทดลองพบวา่

12C 1 อะตอม หนกั 19.92648 × 10-24 กรัม
ดังนนั้
มีค่าเท่ากบั 19.92648 × 10-24 กรัม
12.00000 amu มีค่าเท่ากบั 19.92648 × 10-24 ÷ 12 กรัม
1.00000 amu
= 1.66054 × 10-24 กรัม
เพราะฉะนน้ั

1 amu มคี า่ เทา่ กบั 1.66054 × 10-24 กรัม

ถ้าต้องการความแม่นยําของตัวเลขด้วยทศนิยมตําแหน่งเดียว เราจะสามารถประมาณค่าน้ําหนักของ
อะตอมใดๆ จํานวน 1 อะตอมในหน่วย amu และหนว่ ยกรมั ไดด้ งั ตอ่ ไปนี้

A X 1 อะตอม จะมีน้ําหนกั เท่ากับ A.0 amu หรอื A.0 × (1.66 × 10-24) กรัม
Z

กําหนดให้

มวลอะตอมสมั พทั ธข์ อง A X = (มวลของ A X 1 อะตอม) ÷ 1 (มวลของ 12 C 1 อะตอม)
Z Z 12 6

(Relative atomic mass)

ข้อสงั เกต มวลอะตอมสัมพัทธ์ เปน็ ค่าเปรยี บเทียบ ดังนัน้ จะไม่มหี นว่ ย
แต่มวลของธาตุ หรือมวลของสาร มหี นว่ ยเปน็ กรัม

วทิ ยาศาสตร์ เคมี (128) ____________________________________โครงการแบรนด์ซมั เมอร์แคมป์ ปีท่ี 27

มวลอะตอมเฉล่ีย

เน่ืองจากธาตุแต่ละชนิดมีหลายไอโซโทป (Isotope) ทําให้อะตอมของธาตุท่ีอยู่ในสารประกอบต่างๆ
มีหลายไอโซโทปปะปนกันไป และเนื่องจากแต่ละไอโซโทปมีปริมาณไม่เท่ากันในธรรมชาติ ดังน้ันเม่ือจะคํานวณ
จึงต้องใช้ค่าท่ีได้จากการเฉลี่ยแบบถ่วงนํ้าหนัก เรียกอีกอย่างว่า Average atomic mass หรือ Atomic weight
(นา้ํ หนักอะตอม)

มวลอะตอมเฉล่ียของธาตุ ZX = Σ [(มวลอะตอมสมั พทั ธข์ องแต่ละไอโซโทป) × (รอ้ ยละทพ่ี บในธรรมชาต)ิ ]

100

มวลโมเลกุล

เน่อื งจากโมเลกลุ เกิดมาจากอะตอมรวมตัวกัน
เพราะฉะนั้น

มวลโมเลกลุ = Σ (มวลอะตอม)

มวลโมเลกลุ เฉลย่ี = Σ (มวลอะตอมเฉลีย่ )

หมายเหตุ มวลอะตอมเฉล่ียและมวลโมเลกุลเฉลี่ย ไม่มีหน่วย เน่ืองจากเป็นการเปรียบเทียบกับธาตุ
มาตรฐาน และอาจเรยี กอกี อย่างวา่ Molecular weight หรือนาํ้ หนกั โมเลกลุ

โมล

ในการบอกจํานวนอนภุ าคน้ันเรานยิ มบอกเป็นหน่วยโมล เพ่ือใหง้ า่ ยตอ่ การใช้งาน มากกว่าการบอกเป็น

จํานวนอะตอม หรอื โมเลกุล
จากมวลอะตอมเฉล่ยี จะได้ข้อสังเกตว่า

6C มีมวลอะตอมเฉลีย่ เท่ากับ 12.01 แสดงว่า
6C 12.01 × (1.66054 × 10-24) กรมั มีจํานวน 1 อะตอม
กรัม มจี ํานวน 1 ÷ (1.66054 × 10-24) อะตอม
6C 12.01
เทา่ กับ 6.02214 × 1023 อะตอม

เทา่ กับ 1 โมลอะตอม

เรียกตัวเลข 6.02214 × 1023 ว่าเลขอาโวกาโดร (Avogadro Number, NA)
เพราะฉะน้ัน

“หน่ึงโมล คือ ปริมาณของสารท่ีมีจํานวนอนุภาคเท่ากับจํานวนอะตอมของคาร์บอนบริสุทธ์ิ (12C)

12 กรมั ”

ดงั นั้น สารใดๆ กต็ าม 1 โมล จะมีจาํ นวนอนุภาคเทา่ กับ 6.02 × 1023 อนภุ าค

โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27 ___________________________________ วิทยาศาสตร์ เคมี (129)

และจะเหน็ ไดว้ า่ สาร 1 โมลจะหนกั เทา่ กบั มวลโมเลกลุ เฉล่ียหรือมวลอะตอมเฉล่ียของสารนั้นๆ และสําหรับ
สารท่ีอยู่ในสภาวะแก๊สปริมาณ 1 โมลที่ STP (สภาวะอุณหภูมิและความดันมาตรฐาน คือ 0°C, 1 atm)
จะมีปรมิ าตร 22.4 ลิตร โดยคํานวณมาจากกฎของแกส๊ ในอดุ มคติ (PV = nRT)

จาํ นวน
อนุภาค

โมล n= g = N = V
Mw 6.02 × 1023 22.4 L
มวล ปรมิ าตร

สารละลาย

สารละลาย คือ ของผสมเนอื้ เดยี วทไี่ มบ่ รสิ ทุ ธ์ิ เกดิ จากสารต้ังแต่สองชนิดข้ึนไปมารวมกัน ประกอบไปด้วย
ตัวทาํ ละลาย และตัวละลาย

ความเขม้ ขน้ ของสารละลาย

1. ร้อยละโดยนํ้าหนกั (%W/W) หมายถงึ มวลของตัวถกู ละลายทีล่ ะลายอยใู่ นมวลของสารละลาย 100 สว่ น
Wตวั ถกู ละลาย
%W/W = Wสารละลาย × 100

2. ร้อยละโดยปรมิ าตร (%V/V) หมายถงึ ปรมิ าตรของตวั ถกู ละลายที่ละลายอยู่ในปริมาตรของสารละลาย

100 สว่ น Vตัวถกู ละลาย
Vสารละลาย
%V/V = × 100

3. ร้อยละโดยมวลตอ่ ปริมาตร (%W/V) หมายถงึ มวลของตวั ถูกละลายท่ลี ะลายอยู่ในปรมิ าตรของ

สารละลาย 100 สว่ น Wตวั ถูกละลาย
Vสารละลาย
%W/V = × 100

4. โมลาร์รติ ี (Molarity, Molar, M) หมายถงึ จาํ นวนโมลของตวั ถูกละลายทล่ี ะลายอยใู่ นสารละลาย 1 ลิตร
nตัวถกู ละลาย
Molar = Vสารละลาย (L)

5. โมแลลติ ี (Molality, Molal, m) หมายถึง จาํ นวนโมลของตัวถูกละลายที่ละลายอย่ใู นตัวทาํ ละลาย 1 kg
nตัวถูกละลาย
Molal = Wตวั ทาํ ละลาย (kg)

6. สว่ นในล้านส่วน (ppm) หมายถงึ มวลของตัวถูกละลายทลี่ ะลายอยใู่ นสารละลาย 1000000 สว่ น

ppm = มวลของตัวถูกละลาย × 106
มวลของสารละลาย

วทิ ยาศาสตร์ เคมี (130) ____________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปที ่ี 27

การเตรียมสารละลาย

การเตรียมสารละลายสามารถทําไดห้ ลายวิธีดงั นี้

1. คํานวณแลว้ ชงั่ นํ้าหนกั หรอื ปรมิ าตรของตัวถูกละลายทแ่ี นน่ อน แลว้ มาปรับปรมิ าตรใหไ้ ด้ความเขม้ ข้นท่ี

ต้องการ n 1000
V
C = ×

2. นาํ มาเจอื จาง

C1 × V1 = C2 × V2

3. นําสารละลายต้ังแต่ 2 ความเขม้ ข้นขึ้นไปมาผสมกนั
CT × VT = C1 × V1 + C2 × V2 + C3 × V3 + ...

สมบัตคิ อลลเิ กทฟี (Colligative)

1. สารละลายจะมีจุดเดอื ดเพิ่มข้นึ จดุ เยือกแข็งต่าํ ลง เมื่อเทยี บกบั ตวั ทําละลายบริสุทธ์ิ
2. สมบัติคอลลิเกทีฟไม่ข้ึนอยู่กับชนิดของตัวถูกละลาย แต่จะขึ้นกับชนิดของตัวทําละลายและปริมาณของ
ตัวถูกละลาย (ความเข้มข้น) คือ ถ้าสารละลายมีความเข้มข้นในหน่วยโมแลลเท่ากัน (ตัวทําละลายชนิดเดียวกัน)
สารละลายนัน้ จะมีจุดเดือดและจดุ เยือกแขง็ เท่ากนั
3. ตวั ถกู ละลายตอ้ งเป็นสารท่ีระเหยยากและไม่แตกตัว (ถ้าตัวถูกละลายแตกตัวได้ จะทําให้จุดเดือดของ
สารละลายเพ่ิมข้ึนและจุดเยือกแข็งของสารละลายตํ่าลง แต่จะไม่เป็นไปตามสมบัติคอลลิเกทีฟ เพราะมีผลของ
แรงดงึ ดดู ทางไฟฟ้าของไอออน ทําให้ไอออนเคลือ่ นท่ไี มเ่ ป็นอสิ ระ)

∆Tb = Kb × m
∆Tf = Kf × m
โดยท่ี ∆Tb คอื จดุ เดือดท่ีเพ่มิ ขน้ึ
∆Tf คอื จุดเยอื กแข็งท่ตี าํ่ ลง
Kb คอื ค่าคงท่ขี องการเพม่ิ ข้ึนของจดุ เดอื ด
Kf คือ คา่ คงทข่ี องการลดลงของจดุ เยือกแขง็
m คอื ความเขม้ ข้นของสารละลายในหน่วย โมแลล (mol/Kg)

ระบบกบั สงิ่ แวดลอ ม

ระบบ คือ สิง่ ทเ่ี ราสนใจ สิง่ แวดล้อม คอื ส่งิ ทน่ี อกเหนอื ไปจากระบบ
เราสามารถแบ่งระบบออกเปน็ 3 ชนดิ ไดแ้ ก่
1. ระบบเปิด คือ ระบบท่ยี อมใหม้ กี ารแลกเปลี่ยนมวลและพลังงานกับสงิ่ แวดลอ้ มได้
2. ระบบปิด คือ ระบบทยี่ อมใหม้ กี ารแลกเปลย่ี นพลังงานกบั สิง่ แวดลอ้ มได้ แตไ่ ม่มีการแลกเปล่ยี นมวล
3. ระบบโดดเดีย่ ว คือ ระบบท่ไี มย่ อมให้มีการแลกเปลยี่ นมวลและพลังงานกับสิ่งแวดล้อมเลย

โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปที ่ี 27 ___________________________________ วิทยาศาสตร์ เคมี (131)

กฎทรงมวล

ในระบบที่ไม่มีการถ่ายเทมวลสาร (ระบบปิด และระบบแยกตัว) มวลของสารทั้งหมดก่อนทําปฏิกิริยา
จะตอ้ งเทา่ กับมวลของสารทั้งหมดหลังทาํ ปฏิกริ ิยา

กฎสดั สวนคงที่

เม่ือธาตุสองธาตุข้ึนไปรวมตัวกันเกิดเป็นสารประกอบ อัตราส่วนโดยมวลของธาตุที่เป็นองค์ประกอบจะ
คงทเ่ี สมอ ไม่วา่ จะเตรียมสารประกอบนั้นกีค่ รง้ั หรือเตรยี มดว้ ยวธิ ีการใดก็ตาม

กฎของเกย-ลสู แซก

อัตราส่วนโดยปริมาตรของแก๊สท่ีทําปฏิกิริยาพอดีกัน และปริมาตรของแก๊สท่ีได้จากปฏิกิริยา ซึ่งวัดท่ี
อณุ หภมู ิและความดนั เดยี วกัน จะเป็นเลขจํานวนเต็มลงตวั น้อยๆ

กฎของอาโวกาโดร

แกส๊ ท่มี ปี ริมาตรเทา่ กันภายใตอ้ ุณหภูมิและความดนั เดียวกัน จะมีจาํ นวนโมเลกุลเทา่ กนั
“จากกฎท้ังสองแสดงว่าที่สภาวะภายใต้อุณหภูมิและความดันเดียวกัน ปริมาตรของแก๊สและโมลจะ
สัมพนั ธ์กนั โดยตรง”

สูตรเคมี

สูตรอย่างง่าย (สูตรเอมพิริคัล) คือ สูตรที่แสดงอัตราส่วนอย่างต่ําระหว่างจํานวนอะตอมของธาตุท่ี
เปน็ องคป์ ระกอบ

วธิ กี ารหาสูตรอย่างง่าย (หาสดั สว่ นโดยโมล)
1. ต้องรสู้ ัดส่วนโดยน้ําหนักของธาตแุ ตล่ ะชนิดในสารประกอบ
2. ถ้าอะตอมทีเ่ ราต้องการทราบนาํ้ หนกั เปล่ยี นไปอยูใ่ นรูปของโมเลกลุ ให้ใช้กฎสดั ส่วนคงทชี่ ว่ ย
3. นาํ มาทําให้เป็นสดั สว่ นโดยโมล โดยการหารดว้ ยนา้ํ หนักอะตอม
4. ทําใหเ้ ปน็ สัดส่วนอยา่ งง่าย (จาํ นวนเต็ม)

: ตัวเลขควรมจี ดุ ทศนยิ มอย่างนอ้ ย 2 ตาํ แหน่ง
: 0.2-0.8 ห้ามปดั
: ใหเ้ อาเลขท่นี อ้ ยทส่ี ดุ หารตลอดแลว้ เอาเลขจํานวนเตม็ มาคูณจนกระทั่งปดั ได้

สูตรโมเลกุล

คอื สตู รทแ่ี สดงจํานวนอะตอมของธาตอุ งคป์ ระกอบทม่ี ีอยู่ใน 1 โมเลกุล
วธิ ีการหาสูตรโมเลกลุ

สตู รโมเลกุล = (สูตรอย่างง่าย)n
เราจะสามารถหาคา่ n ไดจ้ าก
น้าํ หนักโมเลกลุ = (ผลบวกน้ําหนกั อะตอมทงั้ หมดของสูตรอย่างงา่ ย) × n

วทิ ยาศาสตร์ เคมี (132) ____________________________________โครงการแบรนด์ซมั เมอร์แคมป์ ปีท่ี 27

การหาน้ําหนกั รอ ยละของธาตุ

นํ้าหนกั รอ้ ยละของธาตุ = นํ้าหนักของธาตุ × 100
น้ําหนักโมเลกุล

สมการเคมี

สมการที่แสดงถงึ การเปล่ยี นแปลงอนั เนื่องมาจากปฏิกิริยาเคมี โดยใช้สูตรเคมีบอกถึงส่วนประกอบของ
สารท่ีทําปฏิกริ ยิ ากัน และสารท่เี กดิ จากปฏิกริ ิยา ในการเขียนสมการเคมีนั้น ท้ังสองฝ่ังของสมการจะต้องดุลกัน
(อะตอมและประจุของธาตุตา่ งๆ ทง้ั สองฝัง่ ต้องเทา่ กนั ) ซ่งึ เป็นไปตามกฎทรงมวล

“ตัวเลขสัมประสิทธข์ิ า้ งหนา้ จะแสดงความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งจํานวนโมลของสาร แต่ไม่แสดงความสัมพันธ์
ระหว่างมวล”

สารกาํ หนดปริมาณ

เม่ือมีการใช้สารต้ังต้นมากกว่า 1 ชนิดในปฏิกิริยา อาจเป็นไปได้ว่าสารไม่ได้ทําปฏิกิริยากันหมดพอดี
หากมีการใส่สารหน่ึงมากกว่าอีกสารหนึ่ง ก็จะมีสารหนึ่งท่ีหมดก่อน เราเรียกสารท่ีหมดก่อนว่า สารกําหนด
ปริมาณ เนือ่ งจากพอสารตั้งต้นตวั หนึ่งหมด อีกตวั ก็จะไม่สามารถเกิดปฏิกริ ิยาต่อไปไดป้ ฏิกิรยิ าจงึ หยดุ อยู่แค่นั้น

รอยละของผลได

ร้อยละของผลได้ = ผลทไ่ี ด้จริง × 100
ผลท่ีไดต้ ามทฤษฎี

ผลที่ไดจ้ รงิ คือ ปรมิ าณของสารทไี่ ดจ้ ากการทดลองจรงิ ๆ

ผลทไ่ี ดต้ ามทฤษฎี คอื ปรมิ าณของสารทค่ี ํานวณไดจ้ ากสมการเคมี

ตัวอยา่ ง ธาตหุ นึ่งประกอบด้วยไอโซทป X, Y และ Z ซึ่งมีมวลอะตอม x, y และ z ตามลําดับ พบว่า ปริมาณ
ของไอโซโทปตา่ งๆ เปน็ ดังน้ี Y/X = 0.2 และ Z/Y = 4 จงหามวลอะตอมเฉล่ียของธาตุน้ี

1) (50x + 10y + 40z) / 100
2) (4x + 19y + 77z) / 100
3) (69x + 14y + 17z) / 100
4) (60x + 5y + 35z) / 100

เฉลย 1) (50x + 10y + 40z) / 100

โครงการแบรนดซ์ ัมเมอร์แคมป์ ปที ี่ 27 ___________________________________ วิทยาศาสตร์ เคมี (133)

ตวั อยา่ ง ของผสมระหว่าง BaCl2, NaCl และ Ba(NO3)2 หนัก 19 กรัม ถูกนํามาละลายในนํ้าแล้วทําให้
สารละลายมปี ริมาตร 100 cm3 แบง่ สารละลายออกเปน็ 2 สว่ นเทา่ ๆ กนั แลว้ นาํ ไปทําการทดลอง ดังน้ี

I. นําสารละลายส่วนท่ี 1 ไปหยดสารละลาย H2SO4 เข้มข้น 1 M ปริมาณมากเกินพอได้ตะกอน
ขาวหนกั 3.495 กรัม

II. นําสารละลายส่วนท่ี 2 ไปหยดสารละลาย AgNO3 เข้มข้น 1 M ปริมาตร 110 cm3 จะเกิด
ตะกอนขาวอยา่ งสมบรู ณ์

จากขอ้ มลู ขา้ งต้น มี BaCl2, NaCl และ Ba(NO3)2 อย่างละก่โี มลในของผสมหนกั 190 กรัม
(มวลอะตอม N = 14, O = 16, Na = 23, S = 32, Cl = 35.5, Ag = 108, Ba = 137)

1) 0.01, 0.2, 0.02 2) 0.05, 1, 0.1

3) 0.1, 2, 0.2 4) 0.2, 4, 0.4

เฉลย 3) 0.1, 2, 0.2

ตัวอย่าง นําสาร 4 ชนิดปริมาณชนิดละ 0.001 โมล ผสมกับนํ้า 1 กิโลกรัม พบว่าสารละลายท่ีได้มีจุดเดือด

แตกต่างกัน สารในข้อใดให้จุดเดือดสูงทสี่ ุด

1) NaCl 2) CaCl2 3) C6H12O6 4) CH3COOH

เฉลย 2) CaCl2

ตัวอยา่ ง เมื่อเผา MgCO3(s) จะได้ MgO(s) และ CO2(g) จากการนําสารผสมระหว่าง MgCO3(s) และ
MgO(s) จํานวน 16.00 กรมั มาเผาจนเกิดปฏิกิริยาสมบูรณ์ ปรากฏว่าเหลือของแข็งหนัก 11.60 กรัมมวลของ

MgCO3(s) ในสารผสมมีกีก่ รมั

1) 4.4 2) 5.9 3) 7.6 4) 8.4

เฉลย 4) 8.4

ตัวอยา่ ง นําผงซักฟอกชนดิ หนึง่ หนัก 0.620 กรมั มาเผาจนร้อนแดงเพื่อทาํ ลายสารอนิ ทรีย์แล้วนาํ มาเติมกรด

HCl ที่ร้อนจํานวนมากเกินพอ เพ่ือเปลี่ยนธาตุฟอสฟอรัสให้เป็นกรด H3PO4 ซึ่งสามารถทําปฏิกิริยากับ
สารละลายผสม Mg2+ และ NH+4 เพ่ือให้ตกตะกอน MgNH4PO4 ⋅ 6H2O เม่ือนําตะกอนไปเผาจะเหลือของแข็ง

Mg2P2O7 หนกั 0.222 กรัม ธาตุฟอสฟอรัสในผงซกั ฟอกชนิดน้มี ีปริมาณร้อยละเทา่ ใด

1) 5 2) 10 3) 15 4) 20

เฉลย 2) 10

วทิ ยาศาสตร์ เคมี (134) ____________________________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอร์แคมป์ ปที ี่ 27

ของแข็ง ของเหลว และแกส

ของแขง็

สมบัตขิ องแข็ง
1. ของแข็งแต่ละชนิดมีรูปรา่ งและปริมาตรท่แี น่นอน
2. ของแข็งชนดิ เดยี วกนั อาจมีรูปรา่ งได้หลายรปู แบบ (อญั รปู )
3. โดยทว่ั ไปของแขง็ จะมีการแพร่ช้ากวา่ แก๊สและของเหลว
4. โดยทัว่ ไปความหนาแน่นของของแข็งจะมากกวา่ แกส๊ และของเหลว
5. อุณหภมู ิและความดันจะมีผลน้อยมากเมอื่ เทียบกับปริมาตรท่เี ปลี่ยนไป
6. ของแข็งมีแรงระหว่างโมเลกุลทส่ี ูง
เราสามารถแบ่งชนดิ ของของแข็งได้เป็น 2 ชนดิ ตามรปู ร่างการจดั เรียงโมเลกลุ คือ
1. ของแข็งที่เป็นผลึก (Crystalline solid) เป็นของแข็งท่ีโมเลกุลมีตําแหน่งท่ีแน่นอนและเรียงตัวกัน
อยา่ งเป็นระเบียบ โดยมหี นว่ ยที่เล็กทสี่ ุดของผลึกท่ีแสดงลักษณะการเรยี งตวั ของอนุภาคได้อย่างสมบูรณ์ เรียกว่า
หน่วยเซลล์

ตารางชนิดและสมบัติบางประการของของแข็งทอี่ ยูใ่ นรูปผลกึ

ชนิดของผลกึ ชนดิ ของอนุภาค ชนดิ ของพันธะหรือ สมบัติท่วั ไป ตวั อยา่ ง
ในผลกึ แรงระหวา่ งอนภุ าค

ผลกึ โมเลกุล ธาตหุ รือ โมเลกุลมีข้ัว ออ่ นหรือแข็ง โมเลกุลมีข้ัว
สารประกอบ - แรงลอนดอน ปานกลาง - นาํ้ แขง็
ทีม่ รี ูปโมเลกลุ - แรงดึงดูดระหว่างขวั้ เปราะไม่มาก - แอมโมเนยี
- พนั ธะไฮโดรเจน - จุดหลอมเหลวตาํ่ โมเลกุลไมม่ ีขั้ว
ผลกึ โคเวเลนต์ อะตอมทีส่ ามารถ โมเลกุลไมม่ ขี ว้ั - ไมน่ าํ ความร้อน - น้าํ แขง็ แหง้
รา่ งตาข่าย สร้างพันธะ หรืออะตอม - แนฟทาลนี
โคเวเลนต์ - แรงลอนดอน และไฟฟ้า - กํามะถัน

พันธะโคเวเลนต์ - แข็ง - แกร์ไฟต์
- จุดหลอมเหลวสูง - เพชร
- ส่วนใหญ่ไม่นํา - ควอตซ์

ความรอ้ นและไฟฟา้

ผลกึ โลหะ อะตอมของโลหะ พนั ธะโลหะ - แข็ง - แมกนเี ซียม
- จุดหลอมเหลวสงู - เหล็ก
- นาํ ความร้อน - ทองแดง
- โซเดียม
และไฟฟ้าไดด้ ี

ผลกึ ไอออนิก ไอออน พันธะไอออนกิ - แขง็ เปราะ - โพแทส-
- จุดหลอมเหลวสงู เซยี มไนเตรต
- ไม่นําความรอ้ น
- ซิลเวอร-์
และไฟฟ้า คลอไรด์

โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปที ี่ 27 ___________________________________ วทิ ยาศาสตร์ เคมี (135)

2. ของแข็งอสัญฐาน (Amorphous) เป็นของแข็งท่ีโมเลกุลนั้นเรียงตัวกันอย่างไม่เป็นระเบียบ เช่น
แกว้ ยางพลาสติกของแข็งเป็นต้น

การเปลี่ยนสถานะของของแขง็
การหลอมเหลว คือ กระบวนการอย่างหน่ึงท่ีเกิดขึ้นกับของแข็งเปล่ียนสถานะเป็นของเหลวท่ีอุณหภูมิหน่ึง
วัดอุณหภูมิขณะหลอมเหลวอุณหภูมิคงท่ีถ้าเป็นสารบริสุทธ์ิ เรียกว่า จุดหลอมเหลวซ่ึงจะมีความหมายตรงกัน
ข้ามกับจุดเยือกแขง็ โดยจดุ หลอมเหลวปกตขิ องสารจะคดิ เทยี บจากความดันบรรยากาศท่ี 1 atm
ปจั จยั ของการหลอมเหลว คือ
z ชนิดของของแข็ง (แรงระหวา่ งโมเลกุล)
z ความดันบรรยากาศ

การระเหิด คือ กระบวนการอย่างหนึ่งท่ีของแข็งเปล่ียนเป็นไอ โดยไม่ต้องเปล่ียนเป็นของเหลวก่อน
ของแข็งท่ีระเหิดได้จะเกิดข้ึนในสารบางชนิดท่ีไม่มีขั้วหรือข้ัวน้อยมาก เนื่องจากอนุภาคมีแรงระหว่างกันน้อย
(แรงลอนดอน) และอนุภาคภายในของแข็งมีการสั่นตลอดเวลาทําให้มีการถ่ายเทพลังงาน ทําให้อนุภาคท่ี
ผิวหน้าสามารถเอาชนะแรงได้ ตัวอย่างของแข็งที่เกิดการระเหิด เช่น ลูกเหม็น (แนพทาลีน) การบูร ไอโอดีน
และนํา้ แข็งแหง้ เป็นต้น

ปัจจัยของการระเหิด คือ
z ชนิดของของแขง็ ; แรงระหวา่ งโมเลกุล
z อุณหภมู ขิ องระบบ
z ความดันบรรยากาศ
z พืน้ ทผี่ ิวของของแข็ง
z อากาศเหนอื ของแขง็

ของเหลว

สมบัตขิ องเหลว
1. ของเหลวมปี ริมาตรคงทแี่ ตร่ ูปร่างไม่คงที่
2. แรงระหว่างโมเลกลุ มากกวา่ แก๊สแตน่ อ้ ยกว่าของแข็ง
3. โดยทั่วไป การแพร่จะช้ากว่าแกส๊ แต่เร็วกว่าของแข็ง
4. โดยท่ัวไปของเหลวมคี วามหนาแน่นมากกวา่ แกส๊ แตน่ ้อยกวา่ ของแข็ง
5. เมอ่ื นํามาผสมกนั ปริมาตรกอ่ นและหลงั อาจเท่าหรือไม่เท่ากันกไ็ ด้
6. ปริมาตรจะเปล่ยี นแปลงไปนอ้ ยเมือ่ อณุ หภมู แิ ละความดนั เปลย่ี น

วิทยาศาสตร์ เคมี (136) ____________________________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอร์แคมป์ ปที ่ี 27

แรงดึงผวิ และความตึงผิว

แรงดงึ ผวิ (Tension Force) คือ แรงที่ดึงผิวของของเหลวเข้ามาภายในเพ่ือทําให้พื้นท่ีผิวของของเหลว
เหลือนอ้ ยที่สดุ

ความตึงผิว (Surface Tension) คือ งานท่ีต้องใช้ในการยืดหรือเพิ่มพ้ืนท่ีผิวของเหลว 1 หน่วยพ้ืนท่ีมี
หน่วย J/m2 หรือ N/m

ความตึงผวิ = งาน (J/m2) = แรง (N/m)
ความยาว
พนื้ ที่.

ปจั จัยทีม่ ตี อ่ ความตงึ ผวิ ของของเหลว คือ
z ชนิดของของเหลว (แรงระหว่างโมเลกลุ )
z อณุ หภูมิ
z การเตมิ สารบางชนดิ ลงในของเหลว

แรงเชื่อมแนน่ และแรงยดึ ตดิ
เมอ่ื ของเหลวสัมผสั กบั วัตถหุ รอื บรรจใุ นภาชนะจะทาํ ให้เกิดแรงระหวา่ งโมเลกลุ 2 ประเภท คือ
1. แรงเชื่อมแน่น (Cohesive Force) คือ แรงระหว่างอนุภาคหรือโมเลกุลของสารชนิดเดียวกัน เช่น
แรงระหว่างโมเลกุลของนาํ้ กับน้ําเอทานอลกับเอทานอล เป็นต้น
2. แรงยึดติด (Adhesive Force) คือ แรงระหว่างอนุภาคหรือโมเลกุลของสารต่างชนิดกัน เช่น แรง
ระหว่างโมเลกุลของน้ํากบั สารท่ีใช้ทําภาชนะ เปน็ ต้น

ความหนืด (Viscosity)
ความหนืดเปน็ ความสามารถของของไหลทจี่ ะตา้ นการไหล ย่ิงมีค่าความหนืดสูง ของไหลก็จะยิ่งไหลยาก
ความหนดื ของของเหลวจะลดลงเมอื่ อณุ หภูมขิ องสารสงู ข้ึน โดยทั่วไปของเหลวท่ีมีแรงระหว่างโมเลกุลสูงมักจะ
มีความหนดื สูงกว่าของเหลวทม่ี แี รงระหวา่ งโมเลกุลที่ตา่ํ กวา่

การเปล่ยี นสถานะของของเหลว
การระเหย (Evaporation)
การระเหย คือ การที่ของเหลวเปลี่ยนสถานะกลายเป็นไออย่างช้าๆ การระเหยเกิดขึ้นเฉพาะผิวหน้าของ
ของเหลวเท่านั้นนอกจากนนั้ การระเหยยงั สามารถเกิดได้ในทุกๆ อณุ หภูมิ โดยเกดิ จากการที่โมเลกุลในของเหลวนั้นมี
การเคล่ือนท่ีตลอดเวลา การเคล่ือนท่ีดังกล่าวทําให้เกิดการชนกันระหว่างโมเลกุล และเกิดการถ่ายเทพลังงาน
ทําให้บางโมเลกุลมีพลังงานจลน์เพ่ิมข้ึน บางโมเลกุลมีพลังงานจลน์ลดลง ซ่ึงทําให้ท่ีผิวหน้าของของเหลวมี
พลังงานทเี่ กดิ จากการสะสมมามากจนสามารถหลุดออกจากผิวหน้าของของเหลวกลายเปน็ ไอออกไปได้

โครงการแบรนด์ซมั เมอร์แคมป์ ปีที่ 27 ___________________________________ วิทยาศาสตร์ เคมี (137)

ปัจจัยที่มผี ลตอ่ การระเหยของของเหลว
z ชนดิ ของสาร; สารท่ีมแี รงระหว่างโมเลกลุ
z อณุ หภมู ขิ องระบบ
z พน้ื ท่ผี วิ ของของเหลว
z ความดันบรรยากาศ
z การคนหรอื การกวน
z อากาศเหนอื ของเหลว

ความดนั ไอกบั จุดเดอื ดของของเหลว
ความดนั ไอ (Vapour pressure) คอื แรงดันไออ่ิมตัวของของเหลวท่มี ีตอ่ พนื้ ที่ 1 ตารางหน่วย เมื่อเวลา
ผ่านไปจนอัตราการระเหย และควบแน่นมีค่าเท่ากัน เรียกปรากฏการณ์เช่นน้ีว่า “สมดุลไดนามิก” โดยความดันไอ
จะมีค่าสูงสุดเรียกว่าความดันไอสมดุล หรือ เรียกส้ันๆ ได้ว่า ความดันไอ ซ่ึงเป็นสมบัติจําเพาะของของเหลว
แตล่ ะชนดิ
เราสามารถบอกความสมั พนั ธ์ระหว่างความดันไอ กบั อตั ราการระเหยของของเหลวได้วา่

ความดันไอของของเหลวจะแปรผนั ตรงกบั อัตราการระเหยของของเหลว

การเดอื ด (Boiling) คือ กระบวนการที่ของเหลวเปลย่ี นสถานะเป็นไอทั่วทั้งก้อนของของเหลวที่อุณหภูมิ
สงู ถงึ จดุ หนึง่ โดยขณะนน้ั ความดนั ไอของของเหลวเท่ากบั ความดันบรรยากาศ

จุดเดือด (Boiling point) คือ อุณหภูมิขณะทขี่ องเหลวเปล่ียนสถานะเปน็ ไอทั่วท้งั ก้อนของของเหลว โดย
ของเหลวขณะนั้นมีความดันไอของของเหลวเท่ากับความดันบรรยากาศ ซึ่งจุดเดือดปกติคืออุณหภูมิขณะท่ี
ของเหลวมคี วามดันไอเทา่ กบั 1 บรรยากาศ

ความดนั ไอของของเหลวจะแปรผกผนั กับจดุ เดอื ดของของเหลว

ปจั จยั ทีอ่ ่นื ๆ มผี ลตอ่ จุดเดอื ดของของเหลว
ของเหลวจะมจี ดุ เดือดสงู เมอื่ มีปัจจัยดังต่อไปน้ี
z ชนดิ ของสาร ; สารท่มี ีแรงระหวา่ งโมเลกลุ
z ความดนั บรรยากาศ

วิทยาศาสตร์ เคมี (138) ____________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปที ี่ 27

แกส

เปน็ สถานะทีม่ ีปริมาตรและรูปร่างทไี่ ม่แน่นอนขึ้นกับภาชนะที่บรรจุ โดยอนุภาคของแก๊สมีแรงยึดเหน่ียว
กันน้อยมาก ทําให้อนุภาคของแก๊สสามารถเกิดการแพรแ่ ละฟุ้งกระจายไดเ้ ป็นอยา่ งดี

ประเภทของแกส

เพอื่ ความสะดวกในการศกึ ษาเรื่องแกส๊ เราได้แบง่ แก๊สออกเปน็ 2 ประเภทด้วยกัน ไดแ้ ก่
1. แก๊สจริง (Real Gas) เป็นแก๊สท่ีมีอยู่จริง มีพฤติกรรมและสมบัติต่างๆ เบี่ยงเบนออกจากกฎของ
แก๊สและทฤษฎจี ลน์ของแก๊ส อยา่ งไรกต็ ามท่ีสภาวะอณุ หภมู สิ ูง ความดันตาํ่ แก๊สจรงิ จะมีสมบัตแิ ละพฤติกรรม
ใกล้เคียงกับแกส๊ ในอุดมคติ
2. แก๊สในอุดมคติหรือแก๊สสมบูรณ์แบบ (Ideal Gas) เป็นแก๊สสมมติตามทฤษฎีท่ีไม่ว่าจะอยู่สภาวะ
แบบใดก็ตาม จะมีสมบัติหรือพฤติกรรมเป็นไปตามกฎต่างๆ ของแก๊สในอุดมคติ และยังมีสมบัติเป็นไปตาม
ทฤษฎีจลนข์ องแก๊สครบทกุ ขอ้ อกี ด้วย

ทฤษฎีจลนของแกส

เปน็ ทฤษฎที ่ีใช้อธิบายสมบัตทิ างกายภาพของแกส๊ ในอดุ มคติ ซึง่ มสี าระสําคัญดงั นี้
1. แกส๊ ประกอบด้วยอนุภาคจํานวนมากทม่ี ขี นาดเล็กมาก จนถอื ไดว้ า่ อนุภาคแก๊สไม่มีปริมาตรเมื่อเทียบ
กบั ขนาดภาชนะท่บี รรจุ ซึ่งจะถอื วา่ มมี วลแต่ไมม่ ีปริมาตร
2. โมเลกุลของแกส๊ อยหู่ า่ งกนั มาก ทําใหแ้ รงดึงดดู และแรงผลกั ระหว่างโมเลกลุ นอ้ ยมาก จนถอื ไดว้ า่ ไม่มี
แรงกระทาํ ตอ่ กนั (ไมม่ ีแรงยดึ เหนยี่ วระหวา่ งโมเลกุล)
3. โมเลกุลของแก๊สเคล่ือนที่อย่างรวดเร็วในแนวเส้นตรง เป็นอิสระด้วยอัตราเร็วคงที่ (แต่ว่าไม่จําเป็น
ต้องเท่ากันในแต่ละโมเลกุล) และไม่เป็นระเบียบจนกระทั่งชนกับโมเลกุลอื่นหรือชนกับผนังของภาชนะจึงจะ
เปลี่ยนทศิ ทางและอตั ราเร็ว
4. โมเลกุลของแก๊สที่ชนกันเองหรือชนกับผนังภาชนะ จะเกิดการชนแบบยืดหยุ่นโดยถ่ายโอนพลังงาน
ใหแ้ ก่กนั ได้ แต่พลงั งานรวมของระบบมีค่าคงที่
5. ณ อุณหภูมิเดียวกันโมเลกุลของแก๊สแต่ละโมเลกุลเคล่ือนที่ด้วยความเร็วไม่เท่ากัน แต่จะมีพลังงาน
จลนเ์ ฉลี่ยเท่ากัน โดยท่พี ลังงานจลน์เฉลยี่ ของแกส๊ จะแปรผันตรงกับอณุ หภูมิ (เคลวนิ )

ความสัมพนั ธข องปรมิ าตร ความดัน และอุณหภมู ิของแกส

จากคุณสมบัติและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส ทําให้การศึกษาเกี่ยวกับแก๊สจะต้องคํานึงถึงตัวแปรเก่ียวข้องที่
สาํ คญั ต่อไปน้ี

- จํานวนโมลของแกส๊ (n)
- ปริมาตร (V)
- ความดนั (P)
- อุณหภูมิ (T)

โครงการแบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ ปที ่ี 27 ___________________________________ วิทยาศาสตร์ เคมี (139)

กฎของบอยล์

“เมื่ออุณหภมู ิและมวลของแกส๊ คงที่ ปรมิ าตรของแกส๊ จะแปรผกผนั กบั ความดัน”
1
P∝ V

กฎของชารล์

“เม่ือความดนั และมวลของแกส๊ คงท่ี ปรมิ าตรของแก๊สแปรผนั ตรงกับอณุ หภมู ิ”

V∝T

กฎของเกย์-ลสู แซก

“เมอื่ ปรมิ าตรและมวลของแก๊สคงที่ ความดนั ของแก๊สแปรผนั ตรงกบั อณุ หภูมิ”

P∝T

กฎของอาโวกาโดร

“เมอ่ื ความดันและอุณหภมู ิของแก๊สคงที่ ปริมาตรของแกส๊ แปรผันตรงกบั จาํ นวนโมล”

V∝n

จากกฎต่างๆ ทําให้เราสามารถสร้างสมการท่ีรวบรวมตัวแปรต่างๆ ของแก๊สได้ โดยเราเรียกสมการนี้ว่า

สมการแกส๊ สมบรู ณ์ ดงั น้ี

PV = nRT

โดยสมการนม้ี กี ารบงั คับหนว่ ยตามค่าคงท่ีของแกส๊ (คา่ R) ดังตอ่ ไปน้ี
R = ค่าคงท่มี คี า่ เทา่ กบั 0.0821 L ⋅ atm ⋅ K-1 ⋅ mol-1
P = ความดัน (atm)
n = จาํ นวนโมล (mol)
V = ปรมิ าตร (L)
T = อุณหภูมิ (K)

การหาคา ความหนาแนน

D = PM
RT

ให้ D = ความหนาแน่นของแกส๊ มีหน่วยเป็น กรัมต่อลิตร (g/L)
M = น้าํ หนักโมเลกุลของสาร

การหาคา ความเขมขน ของแกส

C = P
RT

ให้ C = ความเขม้ ขน้ ของสารมหี นว่ ยเป็น โมลตอ่ ลติ ร (mol/L)

วทิ ยาศาสตร์ เคมี (140) ____________________________________โครงการแบรนด์ซมั เมอร์แคมป์ ปที ่ี 27

กฎความดนั ยอยของดอลตัน

“ความดันรวมของแก๊สผสมจะมีคา่ เทา่ กับผลรวมของความดนั ท่แี ก๊สแตล่ ะชนิดทําใหเ้ กดิ ขน้ึ ”
PT = P1 + P2 + P3 + ...

จากกฎความดนั ยอ่ ยของดอลตันทําให้เราทราบถงึ ความสัมพันธ์ระหว่างความดันของระบบและความดัน
ยอ่ ยของแก๊สแตล่ ะชนดิ ในระบบที่มอี ุณหภูมคิ งที่ ซึ่งสามารถสรุปเปน็ สมการไดด้ ังนี้

PรวมVรวม = P1V1 + P2V2 + P3V3 + ...

กฎการแพรผ านของเกรแฮม

การแพร่ หมายถึง การเคลือ่ นทข่ี องโมเลกลุ จากบริเวณท่ีมคี วามเขม้ ข้นมากไปหาบริเวณที่มีความเข้มข้น

น้อย การแพรใ่ นลักษณะน้ีสามารถพบได้ในชวี ติ ประจําวนั เชน่ การไดก้ ลน่ิ เปน็ ต้น

กฎการแพรผ่ า่ นของเกรแฮม มใี จความสาํ คัญอยู่ว่า

“ที่อุณหภูมิและความดันเดียวกัน อัตราการแพร่ผ่านของแก๊สเป็นสัดส่วนผกผันกับรากที่สองของความ

หนาแน่นของแกส๊ ”

เราสามารถสรุปเปน็ สมการทจ่ี ะนาํ ไปใชไ้ ด้ ดงั นี้

r1 = dd21 = MM21
r2

เมื่อ r = อตั ราเร็วของการแพร่ของแก๊ส
d = ความหนาแน่นของแก๊ส
M = มวลโมเลกุลของแกส๊

การคาํ นวณปรมิ าณสมั พันธของแกส

การคํานวณปริมาณสัมพันธ์ของแก๊ส คือ การคํานวณปริมาณสารสัมพันธ์ของสารในกรณีท่ีแก๊สน้ัน
สามารถทําปฏิกิริยาเคมีกันได้ แล้วเกิดเป็นสารตัวใหม่ ซ่ึงตัวแก๊สน้ันจะมีความซับซ้อนในการคํานวณมากกว่า
สารในสถานะอ่ืนๆ เนื่องจากตัวแก๊สน้ันมีตัวแปรที่มีอิทธิพลต่อจํานวนโมลของแก๊ส โดยเราสามารถทําการ
คํานวณได้โดยใชข้ ัน้ ตอนการพจิ ารณา ดงั น้ี

1. พิจารณาการทาํ ปฏกิ ิรยิ าของสาร เขยี นสมการเคมพี ร้อมทัง้ ดุลสมการเคมใี ห้เรียบร้อย
2. พิจารณาการเปลย่ี นสภาวะของแกส๊ เชน่ ความดัน ปรมิ าตร หรืออุณหภูมิ
3. คํานวณหาความสมั พันธข์ องการเปล่ยี นสภาวะที่ส่งผลกระทบต่อจํานวนโมล
4. พิจารณาปรมิ าณสารเริม่ ต้น เปล่ยี นแปลง และที่เหลอื
5. รวบรวมขอ้ มลู ท้ังหมด พร้อมตอบปัญหาในสิง่ ทโี่ จทยต์ ้องการ

โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปที ่ี 27 ___________________________________ วทิ ยาศาสตร์ เคมี (141)

ตวั อยา่ ง แก๊สชนิดหน่ึงถูกอัดให้มีปริมาตรเป็นคร่ึงหนึ่งของปริมาตรเริ่มต้น และพบว่าอุณหภูมิของแก๊สใน

หน่วยเคลวินเพม่ิ ขน้ึ 20% ความดันของแกส๊ นเี้ พมิ่ ขึ้นเท่าใด

1) 70% 2) 120%

3) 140% 4) 240%

เฉลย 3) 140%

ตวั อยา่ ง แก๊ส A และแกส๊ B ทาํ ปฏิกริ ิยากันในภาชนะที่มีปริมาตรและอุณหภูมิคงท่ี ได้สาร C ซ่ึงเป็นของแข็ง

ถ้าความดันเร่ิมต้นของแก๊ส A เท่ากับ 4 atm และความดันเริ่มต้นของแก๊ส B เท่ากับ 4 atm หลังจาก

เกดิ ปฏกิ ิริยาพบวา่ ความดนั รวมของแกส๊ ทเ่ี หลอื เท่ากับ 3.5 atm และผลไดร้ ้อยละของสาร C เท่ากับ 75% โดยที่

แก๊ส B เป็นสารกาํ หนดปริมาณ สูตรโมเลกลุ ของสาร C คอื ขอ้ ใด

1) AB 2) AB2
3) AB3 4) AB4

เฉลย 2) AB2

ตัวอย่าง แก๊ส X เคล่ือนท่ีในหลอดนําแก๊สอันหนึ่งได้ระยะทาง 30.0 เซนติเมตรใช้เวลา 0.2 วินาที แก๊ส Y
เคลอ่ื นที่ในหลอดนําแกส๊ อนั เดยี วกันนี้ได้ระยะทาง 216 เซนติเมตรใช้เวลา 8.0 วนิ าที แก๊ส X จาํ นวน 10 โมเลกุล
หนัก 1.34 x 10-21 กรมั มวลโมเลกลุ ของแก๊ส Y เปน็ เทา่ ใด (ม.ี ค. 52)

1) 25 2) 50
3) 75 4) 90

เฉลย 1) 25

ตัวอยา่ ง แก๊ส H2 หนัก 0.10 กรัม บรรจุในถังขนาด 400 มิลลิลิตร อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส แก๊ส CO2
หนกั 0.11 กรัม บรรจุในถังอกี ใบหนึง่ ขนาด 200 มลิ ลิลิตร อณุ หภูมิเท่ากัน เมื่อต่อท่อให้แก๊สท้ังสองชนิดผสมกัน

โดยไม่เกดิ ปฏกิ ริ ยิ าต่อกนั และหลังการผสมอุณหภมู ไิ มเ่ ปลีย่ นแปลง ความดันรวมของแก๊สผสมเปน็ ก่ีบรรยากาศ

1) 0.934 2) 1.541

3) 2.152 4) 3.634

เฉลย 3) 2.152

ตัวอย่าง ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งตัวแปรกาํ หนดสภาวะของแก๊สในข้อใดไม่เป็นเส้นตรง เมื่อกําหนดให้ตัวแปรอื่น

คงท่ี

1) ความดนั และอณุ หภมู ิ 2) ความดนั และจํานวนโมล

3) ปริมาตรและความดัน 4) ปรมิ าตรและอณุ หภมู ิ

เฉลย 3) ปริมาตรและความดนั

วทิ ยาศาสตร์ เคมี (142) ____________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปที ี่ 27

อตั ราการเกดิ ปฏกิ ิริยา

อตั ราการเกิดปฏิกิริยาเคมี = ปรมิ าณสารที่เปล่ยี นแปลง
เวลาทเี่ ปล่ยี นแปลง

จากปฏกิ ริ ยิ า aA + bB cC + dD

ความสัมพันธข์ องอตั ราการเกดิ ปฏิกิริยาจะได้

R = 1 RA = 1 RB = 1 RC = 1 RD
a b c d

ประเภทของอัตราการเกดิ ปฏิกิริยาเคมี

อตั ราการเกดิ ปฏิกิรยิ าของสารสามารถแยกได้เปน็ 3 ประเภท ดังน้ี
1. อัตราการเกดิ ปฏิกริ ยิ าเฉล่ีย (ต้ังแตเ่ ร่ิมตน้ จนส้นิ สดุ ปฏิกิรยิ า)
2. อัตราการเกิดปฏกิ ริ ยิ า ณ ชว่ งเวลาหนึ่ง
3. อัตราการเกดิ ปฏิกริ ิยา ณ ขณะใดขณะหนงึ่ หาได้ 2 วิธี

- จากความชนั ที่ได้จากการเขียนกราฟความสมั พนั ธ์ระหว่างความเขม้ ขน้ กับเวลา
- จากการหาอนุพันธ์ของสมการ (Differential Equation) ท่ีแสดงการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้น
เป็นฟังกช์ นั ของเวลา

แนวคิดเก่ียวกับการเกิดปฏกิ ริ ยิ าเคมี

มีแนวชนิดที่ใชห้ ลกั ๆ อยู่ 2 แนวคดิ ด้วยกันดังน้ี
1. ทฤษฎเี กีย่ วกับการชน

ทฤษฎีน้ีมีหลักการคิดสําคัญ คือ “ปฏิกิริยาเคมีจะเกิดขึ้นได้ต่อเม่ืออนุภาคของสารต้ังต้นจะต้องมี
การเคลือ่ นท่ชี นกันก่อน” ซง่ึ การชนน้นั อาจจะเกิดปฏิกริ ยิ าหรือไมเ่ กิดก็ได้ทั้งน้ขี น้ึ อยกู่ ับปจั จัยต่อไปนี้

- ทิศทางการชน จะต้องชนดว้ ยทิศทางที่ถกู ต้อง
- พลังงานจลน์ของอนุภาคทเ่ี คลอื่ นท่ีชนกัน คอื พลงั งานทเ่ี พียงพอที่จะทาํ ใหเ้ กดิ การสลายพันธะเก่า
แล้วสรา้ งพันธะใหมเ่ กดิ เปน็ สารผลติ ภณั ฑ์

โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปที ี่ 27 ___________________________________ วทิ ยาศาสตร์ เคมี (143)

พลงั งานกอ่ กมั มนั ต์ (Activation Energy : Ea)

ตัวอย่างเช่น H2(g) + O2(g) H2O(g)

E

Ea

H2 + O2 H2O
t

จากทฤษฎีจลน์ ที่อุณหภูมิหนึ่งๆ โมเลกุลของแก๊สจะเคล่ือนท่ีด้วยอัตราการเร็วที่ต่างกัน (ถึงแม้จะ
เปน็ โมเลกลุ ของแก๊สชนดิ เดยี วกันก็ตาม) โมเลกุลทเ่ี คล่ือนทีไ่ ด้ชา้ มพี ลังงานจลน์ตํ่า ส่วนโมเลกุลท่ีเคล่ือนที่ได้เร็ว
มีพลังงานจลนส์ งู หากโมเลกลุ ทีม่ ีพลังงานจลน์สงู มาชนกันพลงั งานทไ่ี ดจ้ ากการชนก็จะสูงด้วย และถ้าพลังงาน
น้ันสูงพอจนทําให้ชนกัน แล้วเกิดการสลายพันธะเก่าแล้วมีการสร้างพันธะใหม่เกิดเป็นสารใหม่ขึ้นมา แสดงว่า
เกดิ ปฏิกิรยิ าขึน้

ดังนั้น พลังงานทน่ี ้อยทส่ี ดุ ท่ีไดจ้ ากการชนกันแลว้ เกิดปฏิกริ ิยาได้ เราจะเรยี กว่า พลังงานก่อกัมมันต์
หรือพลังงานกระตุ้น (Ea) ค่าพลังงานกระตุ้นไม่เก่ียวข้องกับความร้อนของปฏิกิริยา แต่ผลต่างของพลังงาน
กระตุ้นของปฏิกิริยาไปข้างหน้าและย้อนกลับ จะเป็นตัวบอกพลังงานหรือความร้อนของปฏิกิริยา ค่าพลังงาน
กระตุ้นจะเป็นตัวบอกอัตราของปฏิกิริยา โดยถ้าพลังงานกระตุ้นสูงแสดงว่าปฏิกิริยาเกิดได้ช้า ส่วนพลังงาน
กระต้นุ ต่าํ แสดงว่าปฏกิ ริ ิยาเกดิ ไดเ้ รว็

2. ทฤษฎสี ารเชงิ ซอ้ นทถ่ี กู กระตุน้
ในระหว่างท่ีสารชนกันนั้น จะเกิดสารท่ีมีพลังงานสูงมากเรียกว่า สารเชิงซ้อนกัมมันต์ (Activated

Complex) ซึง่ เกิดจากการทพ่ี นั ธะเดิมระหว่างสารตั้งต้นยังไม่ขาดออกจากกัน ในขณะเดียวกันก็สร้างพันธะใหม่
อยู่ สภาวะเช่นน้ีไมเ่ สถียรเพราะพลังงานจะสูงมาก เราเรียกสภาวะนว้ี ่า สภาวะแทรนซิชนั (Transition State)

ตวั อย่างเช่น

AB AB AB
+ AB AB

AB

วทิ ยาศาสตร์ เคมี (144) ____________________________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอร์แคมป์ ปีท่ี 27

E
Eac

Ea
Er
Ep ∆E

t

“ผลของค่าพลังงานกระตุ้นต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาในปฏิกิริยาเคมตี า่ งๆ จะมีค่าพลังงานก่อกัมมันต์
ไม่เทา่ กัน”

พลังงานกบั การดําเนินไปของปฏกิ ิริยา
ในระหว่างที่สารเกิดปฏิกิริยาจะมีการเปล่ียนแปลงทางพลังงาน ซึ่งเมื่อเราเขียนกราฟระหว่างพลังงาน
และการดาํ เนินไปของปฏกิ ริ ิยาจะได้ปฏกิ ิรยิ า 2 แบบ ดงั นี้
• ปฏกิ ิริยาดูดพลังงาน หรือปฏิกริ ยิ าดดู ความรอ้ น (Endothermic Reaction)

หมายถงึ ปฏิกิรยิ าที่มกี ารถา่ ยเทพลงั งานจากส่ิงแวดล้อมเข้าสู่ระบบ ดังนั้นในปฏิกิริยาชนิดนี้สารตั้ง
ต้นจะมีพลังงานต่ํากวา่ ผลติ ภณั ฑ์

• ปฏกิ ริ ิยาคายพลังงาน หรือปฏกิ ริ ิยาคายความรอ้ น (Exothermic Reaction)
หมายถึง ปฏิกิริยาที่มีการถ่ายเทพลังงานจากระบบไปสู่ส่ิงแวดล้อม ดังนั้นในปฏิกิริยาคายพลังงาน

พลงั งานสารทเ่ี ป็นผลติ ภัณฑจ์ ะมีค่าตา่ํ กวา่ พลงั งานของสารต้ังต้น

ตวั อย่างปฏิกริ ยิ าดดู ความร้อน ตัวอยา่ งปฏกิ ิริยาคายความรอ้ น

พลังงาน (E) พลังงาน (E)

200 200

125

90

50

20

การดําเนนิ ไปของปฏิกริ ยิ า (t) การดาํ เนนิ ไปของปฏกิ ริ ิยา (t)

โครงการแบรนด์ซมั เมอร์แคมป์ ปที ่ี 27 ___________________________________ วิทยาศาสตร์ เคมี (145)

พลงั งานกบั การเกิดปฏกิ ิริยาเคมที ี่มีกลไกในการเกดิ หลายข้ันตอน

ปฏิกริ ยิ าเคมโี ดยส่วนมากไมไ่ ด้ชนกนั แคค่ ร้งั เดยี วก็เกิดปฏิกิริยาได้ แตต่ ้องชนหลายครั้ง เกิดเป็นปฏิกิริยา
เคมีหลายขั้นตอนข้ึน โดยต่อเน่ืองเป็นลําดับ เราเรียกกลไกของปฏิกิริยา (Reaction Mechanism) และใน
ระหว่างเกิดปฏิกิริยาในแต่ละข้ันจะเกิดสารที่ไม่ใช่ผลิตภัณฑ์รวมอยู่ด้วยและมีความไม่เสถียร เรียกสารนี้ว่า
สารมัธยนั ตร์ (Intermediate)

พลงั งาน (E)

A+B C+D
E

การดาํ เนินไปของปฏิกริ ิยา (t)

ปจั จัยทีม่ ีผลต่ออัตราการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมี
อัตราการเกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมีสามารถถูกควบคมุ ใหม้ ีค่ามากหรอื น้อยได้โดยปัจจยั ดงั ต่อไปน้ี
1. ความเข้มขน้ ของสารกบั อัตราการเกิดปฏกิ ิริยาเคมี

ในปฏิกิริยาเคมีส่วนใหญ่ อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะข้ึนอยู่กับความเข้มข้นของสารตั้งต้นท่ีเข้าทํา
ปฏิกิริยา ซึ่งสําหรับปฏิกิริยาท่ีมีสารต้ังต้นมากกว่าหนึ่งชนิด อัตราการเกิดปฏิกิริยาอาจข้ึนอยู่กับความเข้มข้น
ของสารใดสารหนง่ึ หรอื ทุกสารกไ็ ด้ หรอื อาจไม่ขน้ึ อยกู่ บั ความเข้มข้นของสารตั้งต้นเลย โดยในระยะเร่ิมต้นของ
ปฏิกิริยาเคมีความเข้มข้นของสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์จะเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว เน่ืองจากมีปริมาณของ
สารตั้งต้นอยู่มาก โอกาสที่สารตั้งต้นชนกันแล้วเกิดปฏิกิริยาเป็นผลิตภัณฑ์จึงมีสูง จากนั้นจะค่อยๆ ลดลง
จนกระทั่งสารตงั้ ต้นหมด หรือปริมาณสารทุกชนดิ คงที่ เมอ่ื ระบบเข้าส่สู ภาวะสมดลุ ถ้าเป็นปฏิกิริยาท่ีผันกลับได้

กฎอัตราและคา่ คงท่ีอตั รา (Rate Law and Rate Constant)

จาก Law of Mass Action ซึง่ เปน็ กฎทแ่ี สดงความสัมพันธ์ระหว่างการเกิดปฏิกิริยากับความเข้มข้น

ของสารตง้ั ต้น ซึง่ มใี จความว่า “อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีจะเป็นสัดส่วนโดยตรงกับความเข้มข้นของสารต้ังต้น

ท่เี ขา้ ทาํ ปฏิกริ ยิ า”

กาํ หนดปฏิกริ ิยาให้ดงั นี้ aA + bB cC + dD

จากใจความนีเ้ องทาํ ให้สามารถเขยี นอธบิ ายปฏกิ ริ ยิ าขา้ งบน ได้เป็น

R ∝ [A]n[B]m

วทิ ยาศาสตร์ เคมี (146) ____________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปีที่ 27

ซ่งึ จะได้สมการ กฎอัตรา (Rate Law) คือ

R = k[A]n[B]m

โดย R คอื อัตราการเกิดปฏิกริ ิยา
[ ] คอื ความเขม้ ขน้
k คือ ค่าคงทข่ี องอตั ราการเกดิ ปฏกิ ิริยาในปฏกิ ิริยาทอ่ี ุณหภมู ทิ ่กี ําหนด
n, m คือ เลขชก้ี ําลงั ความเขม้ ข้น อาจจะเปน็ จํานวนเตม็ บวกหรือลบหรอื เศษส่วนก็ได้
อันดบั ของปฏิกิริยา คือ ผลบวกของเลขชีก้ ําลงั ของความเขม้ ขน้ ของสารต้ังตน้ ในกฎอตั รา

กรณปี ฏิกริ ิยาเคมบี างตวั มกี ลไกหลายขน้ั ตอน ค่าของเลขช้กี ําลังความเขม้ ข้น (n, m) จงึ มีค่าไม่เท่ากับ
ตวั เลขขา้ งหน้าของสารต้ังต้นในสมการเคมีขั้นสุดท้ายที่ดุลแล้ว ทั้งนี้ เพราะว่าอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีขึ้นอยู่
กบั กลไกของขั้นตอนทช่ี า้ ทส่ี ดุ ซ่งึ เรียกได้วา่ ขัน้ กาํ หนดอตั รา หรอื Rate Determining Step

*** ดังนั้น n และ m จึงเป็นค่าที่หาได้จากการทดลอง จะเอาตัวเลขหน้าสารต้ังต้นจากสมการที่
สมดุลแล้วของปฏิกิริยามาใช้ไม่ได้ ยกเว้นหากทราบแล้วว่าปฏิกิริยาเกิดขั้นตอนเดียว หรือทราบกลไกของ
ปฏกิ ิรยิ า

2. พ้ืนท่ีผวิ ของสารกับอัตราการเกดิ ปฏิกริ ิยาเคมี

2 cm

2 cm 1 cm 1 cm
2 cm 1 cm

สารท่ีมพี นื้ ทผ่ี ิวมากๆ จะยิ่งเพมิ่ โอกาสท่สี ารจะชนกนั แล้วเกดิ ปฏิกริ ิยาได้มากกว่าสารที่มพี ้ืนที่ผวิ นอ้ ยๆ
เมอ่ื พ้นื ท่ีผิวของสารต้ังต้นที่เป็นของแข็งมากปฏิกิริยาจะเกิดเร็ว เพราะอนุภาคของสารตั้งต้นชนกันด้วยความถี่
สูง ในทางตรงกันข้ามเม่ือสารตง้ั ต้นทเี่ ปน็ ของแข็งมพี ้นื ท่ผี ิวน้อยปฏกิ ิรยิ าจะเกิดช้า เพราะอนุภาคของสารต้ังต้น
ชนกนั ดว้ ยความถ่ตี าํ่ โดยทว่ั ไปผลของการเพ่มิ พ้ืนท่ีผวิ จะมากกวา่ ผลของการเพ่มิ ความเข้มข้น

โครงการแบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ ปที ี่ 27 ___________________________________ วทิ ยาศาสตร์ เคมี (147)

3. อุณหภมู กิ บั อัตราการเกิดปฏกิ ริ ยิ าเคมี

อุณหภมู ิตา่ํ อุณหภมู สิ งู

เม่ือเพิ่มอุณหภูมิให้แก่ระบบของปฏิกิริยาเคมี จะทําให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาสูงข้ึน และในทาง
ตรงกันข้าม อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะลดลงเมื่อลดอุณหภูมิลง โดยการอธิบายผลของอุณหภูมิต่ออัตราการ
เกิดปฏิกิริยาเคมี สามารถอธิบายได้ด้วยทฤษฎีจลน์ คือ เม่ือเพิ่มอุณหภูมิโมเลกุลของแก๊สจะเคล่ือนท่ีด้วย
อัตราเร็วเฉล่ียเพ่ิมข้ึน ส่งผลให้พลังงานจลน์สูงข้ึนและพบว่า อัตราการเกิดปฏิกิริยาที่เพ่ิมข้ึนไม่ได้เป็นเพราะ
โมเลกุลมีโอกาสชนกันเพิ่มมากขึ้นเท่าน้ัน แต่ต้องอาศัยทฤษฎีการกระจายพลังงานท่ีสูงพอ เมื่ออุณหภูมิของ
ระบบสูงขน้ึ จาํ นวนโมเลกุลทีม่ ีพลงั งานจลนต์ ํ่ามีจํานวนน้อย แต่จํานวนโมเลกุลที่มีพลังงานเท่ากับหรือมากกว่า
พลังงานก่อกัมมันตจ์ งึ มจี าํ นวนมากขน้ึ ปฏกิ ริ ยิ าจงึ เกิดเร็วขนึ้

จํานวนโมเลกุล

T1
T2

พลงั งานกอ่ กัมมนั ต์

T2 > T1

พลังงาน

4. ตัวเร่งและตัวหนว่ งปฏิกิรยิ าเคมี
ตวั เร่งปฏกิ ิรยิ า คือ สารทเ่ี ตมิ ลงไปเพื่อทาํ ให้ปฏกิ ิรยิ าเกดิ ไดเ้ ร็วขน้ึ หรอื เพิม่ ขน้ึ และเม่ือส้ินสุดปฏิกิริยา

สารน้ันก็ยังคงแสดงสมบัติเช่นเดิม ตัวเร่งปฏิกิริยาอาจจะมีส่วนร่วมในปฏิกิริยานั้น แต่เม่ือสิ้นสุดปฏิกิริยา
ตัวเร่งก็จะกลบั คืนมาอย่างเดมิ โดยทัว่ ๆ ไป แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ

4.1 ตวั เร่งปฏิกิรยิ าเน้ือเดยี ว หมายถึง ตวั เร่งปฏิกิรยิ าที่อยใู่ นสถานะเดียวกับสารตง้ั ต้น
4.2 ตัวเรง่ ปฏกิ ิรยิ าเนอ้ื ผสม หมายถึง ตวั เร่งปฏิกริ ยิ าและสารตง้ั ตน้ อยูใ่ นสถานะต่างกนั

วิทยาศาสตร์ เคมี (148) ____________________________________โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27


Click to View FlipBook Version