The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Brands Summer Camp ปีที่ 27 : วิชาเคมี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by BS_Library, 2019-12-12 10:34:46

Brands Summer Camp ปีที่ 27 : วิชาเคมี

Brands Summer Camp ปีที่ 27 : วิชาเคมี

Keywords: เคมี

สุดยอดการติวสด

• พเิ ศษ เก็งขอสอบกวา 800 ขอ
• รวมสดุ ยอดตวิ เตอรชอ่ื ดังระดับประเทศ
• ติวเขม 8 วชิ า 6 วันเต็ม 4 ชองทาง วันท่ี 1-6 ตุลาคม 2558
1. ตวิ สด ณ อาคารจักรพนั ธเ พ็ญศริ ิ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร
และสงสญั ญาณผา นเครือขา ยนนทรีเนต็ www.ku.ac.th ไปยงั อีก
3 วิทยาเขต คอื นครปฐม ชลบุรี และสกลนคร
2. ตวิ พรอ มกันผานสัญญาณดาวเทยี ม
- ภาคเหนือ คณะเภสชั ศาสตร ม.เชียงใหม
- ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คณะเภสัชศาสตร ม.ขอนแกน
- ภาคใต คณะแพทยศาสตร ม.สงขลานครนิ ทร (หาดใหญ)

และมหาวิทยาลัยราชภัฏ จ.ยะลา
3. ตวิ ผา นสญั ญาณดาวเทยี มสามารถเขาดไู ดท ่ีชอ งทางการรับชมสถานีโทรทัศน

ดาวเทียม MCOT 1 (Live)
- กลอง GMM Z ชอ ง 279
- กลอง PSI ชอ ง 227
- กลอง True MPEG 4 ชอ ง 78
- กลอง True MPEG 2 ชอ ง 106
- กลอ ง CTH ชอ ง 180
- กลอง Sun Box ชอ ง 83
- กลอ ง Infosat ชอง 245
4. ตวิ ผานอนิ เตอรเนตท่ี https://www.facebook.com/BRANDSWorldThailand
5. ดยู อ นหลังผานทางสถานีวิทยโุ ทรทัศนก ารศกึ ษาทางไกลผานดาวเทียม สศทท.
วงั ไกลกงั วล ชอ ง สศทท.14 วนั ที่ 15-20 ตุลาคม 2558

รับรหสั เพื่อดาวนโหลดหนังสอื เก็งขอสอบ
แบรนดซ มั เมอรแ คมปไ ดท ี่

สอบครั้งสำคญั ...ทำใหเต็มท่ี สู สู



บทท่ี 1 ธาตแุ ละสารประกอบ

1.1 ชนิดของธาตุ แบง่ เปน็

โลหะ
- มสี ถานะเปน็ ของแข็งท่ีอณุ หภมู หิ อ้ ง (25°C) ยกเว้น ปรอท เป็นของเหลว
- จดุ หลอมเหลวและจุดเดอื ดสงู
- แรงยึดเหนย่ี วระหวา่ งอะตอมแขง็ แรงมาก
- นําไฟฟ้าและนําความร้อนไดด้ ี
- ตีแผ่เป็นแผน่ บางๆ และดงึ เปน็ เส้นได้
- บางชนดิ มีความหนาแนน่ ต่าํ เช่น แมกนีเซียม อะลูมเิ นียม โซเดียม
- บางชนดิ มีความหนาแน่นสูง เชน่ เหล็ก ทองแดง ปรอท เงนิ ทองคํา

อโลหะ
- มที ง้ั 3 สถานะท่ีอุณหภูมิหอ้ ง (มเี พียงโบรมีน ทเี่ ปน็ ของเหลว)
- จดุ หลอมเหลวและจุดเดือดตา่ํ
- แรงยึดเหนย่ี วระหวา่ งโมเลกุลนอ้ ย
- ไม่นําไฟฟ้า ยกเวน้ แกรไฟต์ และนําความรอ้ นไม่ดี
- มีความหนาแนน่ ตาํ่

กึง่ โลหะ
- มีสมบัติบางประการคล้ายโลหะและบางประการคล้ายอโลหะ เช่น โบรอน ซิลิคอน เจอร์เมเนียม
อาร์เซนิก หรอื สารหนู แอนตโิ มนหี รอื พลวง เปน็ ตน้

วทิ ยาศาสตร์ เคมี (2) ______________________________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27

ตารางธาตุ
ในปี พ.ศ. 2412 ดิมิทรี อิวาโนวิช เมนเดเลเอฟ นักเคมีชาวรัสเซีย เป็นคนแรกท่ีเสนอการจัดเรียงธาตุ
ตา่ งๆ ในรปู ของตารางธาตุ โดยจดั เรยี งตามนาํ้ หนกั อะตอม ซง่ึ พบวา่ ธาตุจะมีสมบตั ิซ้ํากันเปน็ ชว่ งๆ
ในตอนแรก ตารางธาตขุ องเมนเดเลเอฟยังไมส่ มบรู ณ์ เพราะมีธาตุบางชนิดที่ยังไม่รู้จักหรือยังไม่พบ แต่
กไ็ ดค้ าดการณ์ว่าจะตอ้ งมธี าตทุ มี่ สี มบตั เิ ชน่ น้อี ยู่ ณ ตาํ แหนง่ น้นั ๆ และเว้นที่ในตารางธาตุไว้
ปัจจบุ ันตารางธาตจุ ัดเรียงตามลาํ ดบั เลขอะตอมหรือจาํ นวนโปรตอน ตามการคน้ พบของเฮนรี กวนิ เจฟฟรสี ์
โมสลีย์ ได้ธาตุที่รู้จักทั้งหมด 115 ธาตุ ซึ่งเป็นธาตุที่พบในธรรมชาติ 90 ธาตุ นอกนั้นมนุษย์สังเคราะห์ข้ึนมา
ดังน้ี
แนวต้งั 18 แถว เรยี กวา่ หมู่ (Group) ดงั น้ี
ธาตหุ มู่ A หรือธาตสุ ามัญ มี 8 หมู่ 8 แถว
- หมู่ IA และ IIA มสี มบัตเิ ป็นโลหะ

หมู่ IA ได้แก่ ลิเทยี ม โซเดียม โพแทสเซียม รบู ีเดยี ม ซเี ซียม ฟรานเซียม
หมู่ IIA ได้แก่ เบริลเลยี ม แมกนีเซียม แคลเซยี ม สตรอนเซยี ม แบเรียม เรเดียม

- หมู่ IIIA ถึง VIIIA มีทง้ั ธาตุกงึ่ โลหะ และอโลหะ
หมู่ IIIA เช่น โบรอน อะลมู ิเนยี ม
หมู่ IVA เช่น คาร์บอน ซิลิคอน
หมู่ VA เช่น ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส
หมู่ VIA เชน่ ออกซิเจน ซลั เฟอร์

- หมู่ VIIA และ VIIIA มีสมบตั เิ ป็นอโลหะ
หมู่ VIIA ได้แก่ ฟลูออรนี คลอรีน โบรมีน ไอโอดีน แอสทาทีน
หมู่ VIIIA ไดแ้ ก่ ฮเี ลยี ม นอี อน อารก์ อน ครปิ ตอน ซนี อน เรดอน

IA IIA IIIA IVA VA VIA VIIA VIIIA

H He

Li Be B C N O F Ne

Na Mg Al Si P S Cl Ar

K Ca Br Kr

Rb Sr I Xe

Cs Ba At Rn

Fr Ra

ธาตุหมู่ B หรือธาตุแทรนซิชัน มี 8 หมู่ 10 แถว อยู่ตรงกลางของตารางธาตุ มีสมบัติทางกายภาพ
เหมอื นโลหะหมู่ IA และ IIA แตม่ ีสมบัติทางเคมีแตกต่างกัน เช่น สแกนเดียม ไทเทเนียม วาเนเดียม โครเมียม
แมงกานีส เหล็ก โคบอลต์ นิเกลิ ทองแดง สงั กะสี

Sc Ti V Cr Mn Fe Co Ni Cu Zn
แนวนอน 7 แถว เรยี กว่า คาบ (Period)

โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปที ี่ 27 _____________________________________ วทิ ยาศาสตร์ เคมี (3)

1.2 แนวโนม ความเปนโลหะและอโลหะของธาตุในตารางธาตุ

โลหะ ความเป็นโลหะจะมคี วามสัมพันธก์ ับความว่องไวในการเกดิ ปฏิกริ ิยาของโลหะ (การเสียอเิ ลก็ ตรอน)
- หมู่เดียวกัน
ธาตทุ อี่ ย่ดู ้านล่างของตารางธาตุจะมคี วามเปน็ โลหะมากกวา่ ธาตุดา้ นบน
- คาบเดียวกัน
ธาตทุ ีอ่ ยู่ดา้ นซา้ ยของตารางธาตจุ ะมคี วามเปน็ โลหะมากกว่าธาตดุ า้ นขวา

อโลหะ ความเปน็ อโลหะจะมคี วามสมั พันธ์กับความว่องไวในการเกดิ ปฏิกริ ยิ าของอโลหะ (การรับอเิ ล็กตรอน)
- หม่เู ดยี วกนั
ธาตุทอี่ ยดู่ า้ นบนของตารางธาตจุ ะมคี วามเป็นอโลหะมากกวา่ ธาตดุ า้ นลา่ ง
- คาบเดียวกนั
ธาตทุ ี่อยู่ดา้ นขวาของตารางธาตจุ ะมีความเป็นอโลหะมากกวา่ ธาตุด้านซ้าย

1.3 อะตอมและโครงสรางอะตอม

อะตอม เป็นหนว่ ยเลก็ ท่สี ุดของธาตุ ท่สี ามารถแสดงสมบัติของธาตุนัน้ ๆ
แบบจําลองอะตอม
ดอลตนั เสนอวา่ อะตอม มลี กั ษณะเปน็ ทรงกลมตนั และภายในไมม่ ปี ระจุไฟฟา้

ทอมสนั เสนอวา่ อะตอม ประกอบดว้ ยเนอื้ อะตอมท่มี ปี ระจบุ วกเรียกวา่ โปรตอน ซง่ึ จะมคี า่ เท่ากับประจลุ บ
เรียกวา่ อเิ ลก็ ตรอน โดยจะกระจายอยทู่ ั่วไป

+- +
-+ -

รทั เทอร์ฟอร์ด เสนอว่า อะตอม ประกอบดว้ ยนิวเคลียสทม่ี ีขนาดเล็กอยูต่ รงกลาง มีอนุภาคโปรตอนและ
นิวตรอน ซึ่งมีประจุเป็นกลางทางไฟฟ้า รอบนิวเคลียสเป็นที่ว่างและมีอิเล็กตรอนว่ิงรอบๆ นิวเคลียส และมี
จาํ นวนเท่ากบั โปรตอน

อเิ ล็กตรอน
+

วทิ ยาศาสตร์ เคมี (4) ______________________________________โครงการแบรนด์ซมั เมอร์แคมป์ ปที ี่ 27

นีลส์ โบร์ เสนอว่า อะตอม มีอิเล็กตรอนเคล่ือนท่ีเป็นวงโคจรรอบนิวเคลียสเป็นวงกลม คล้ายวงโคจร

ของดาวเคราะหร์ อบดวงอาทติ ย์ nnn === 657
nnn === 324
n=1

+

แบบจําลองแบบกลุ่มหมอก แสดงตําแหน่งและโอกาสที่อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ผ่านตําแหน่งต่างๆ รอบ
นวิ เคลียส โดยบริเวณใกล้ๆ นวิ เคลยี สเปน็ บริเวณท่ีมีความหนาแน่นของจุดมาก แสดงว่า มีอิเล็กตรอนเคลื่อนท่ี
ผ่านไปบ่อยคร้ังมาก หรือมีโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนบริเวณน้ันสูง แต่ย่ิงห่างนิวเคลียส โอกาสท่ีจะพบ
อิเล็กตรอนจะน้อยลง และอเิ ลก็ ตรอนสามารถเคล่ือนที่ไปได้ไม่มขี อบเขตจาํ กดั

1.3.1 สัญลกั ษณ์นิวเคลยี ร์ ประกอบดว้ ย
- สญั ลกั ษณ์ของธาตุ
- เลขอะตอม แทน จาํ นวนโปรตอนหรือจาํ นวนอเิ ลก็ ตรอน
- เลขมวล แทน จาํ นวนโปรตอนรวมกับจํานวนนิวตรอน

สญั ลกั ษณข์ องธาตุ

เลขมวล

เลขอะตอม

เชน่ 2131Na หมายถงึ
ธาตโุ ซเดยี ม มเี ลขมวล = 23
มเี ลขอะตอม = 11
แสดงว่า มีจาํ นวนโปรตอน = 11 อนุภาค
มจี าํ นวนอเิ ลก็ ตรอน = 11 อนภุ าค
มีจํานวนนวิ ตรอน = 12 อนภุ าค

โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27 _____________________________________ วิทยาศาสตร์ เคมี (5)

ไอโซโทป หมายถึง ธาตุชนิดเดียวกัน ท่ีมีเลขอะตอมเหมือนกัน แต่เลขมวลต่างกัน ซ่ึงจัดเป็นธาตุ

ชนดิ เดียวกนั ทมี่ ีสมบตั ทิ างเคมเี หมอื นกนั แตม่ สี มบัติทางกายภาพบางประการต่างกนั เชน่
1 2 3
1 H 1 H 1 H

หมายเหตุ : ธาตุชนิดเดียวกนั จะมีโปรตอนเทา่ กนั

: อะตอมของธาตุตา่ งๆ เป็นกลางทางไฟฟา้
: เลขอะตอม เป็นตวั บง่ ชส้ี มบัตเิ ฉพาะตวั ของธาตุ

1.3.2 การจดั ตัวของอิเล็กตรอนในอะตอม

- อิเล็กตรอนทอี่ ยู่ใกล้นิวเคลียสท่ีสุด จะมีจํานวนอิเล็กตรอนน้อยสุดและมีพลังงานน้อยสุด
เรยี กวา่ ระดับพลงั งานที่ 1

- จํานวนอิเลก็ ตรอนมากสดุ ทมี่ ีได้ในระดบั พลังงาน เท่ากบั 2n2 (n = ระดบั พลงั งาน)
- อเิ ลก็ ตรอนท่อี ยใู่ นระดับพลังงานชน้ั นอกสุด เรยี กว่า เวเลนซอ์ ิเลก็ ตรอน
- จาํ นวนเวเลนซ์อเิ ลก็ ตรอน จะมคี ่าเทา่ กับเลขหม่ขู องธาตุ
- จาํ นวนระดับพลงั งานของอิเล็กตรอน จะมคี ่าเทา่ กบั คาบของธาตุ

สมบตั ขิ องธาตใุ นตารางธาตุ
ธาตหุ มู่ IA ได้แก่ Li Na K Rb Cs Fr

- เป็นโลหะเนอื้ ออ่ น ใชม้ ีดตดั ได้
- มเี วเลนซ์อเิ ลก็ ตรอนเป็น 1 จงึ ถกู ดงึ ออกงา่ ยมาก ทาํ ให้มปี ระจุ +1
- มคี วามวอ่ งไวสูงมาก จึงไมพ่ บเป็นธาตอุ สิ ระ แตพ่ บในรปู ของสารประกอบไอออนกิ
- ลุกไหมใ้ นอากาศได้อย่างรวดเร็ว
- เกดิ ปฏกิ ิริยากับนํา้ หรอื ไอน้ํารวดเร็วและรุนแรง ไดแ้ ก๊สไฮโดรเจน
- เกิดปฏกิ ริ ยิ ากับแก๊สออกซเิ จน ไดอ้ อกไซด์ซง่ึ ละลายน้ํา มสี มบัติเป็นเบส

ตัวอยา่ ง : NaCl (เกลอื แกง / โซเดยี มคลอไรด)์ มมี ากในน้าํ ทะเล
NaOH (โซดาไฟ / โซเดียมไฮดรอกไซด์) ใชล้ า้ งทอ่ สบู่ กระดาษ
NaHCO3 (ผงฟู / โซเดยี มไฮโดรเจนคารบ์ อเนต) ใชท้ าํ ขนม
Na2SiO4 (โซเดียมซลิ เิ กต) ใช้ทําแกว้
KNO3 (ดนิ ประสวิ / โพแทสเซียมไนเตรต) ทําให้เนื้อสัตวม์ สี สี ด ใชท้ ําระเบดิ

ธาตหุ มู่ IIA ได้แก่ Be Mg Ca Sr Ba Ra
- มีความแขง็ และความหนาแนน่ มากกวา่ หมู่ 1A
- มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเป็น 2 จึงสญู เสยี ไดง้ ่าย ทําให้มีประจุ +2
- มคี วามว่องไวต่อปฏิกิริยาเคมมี ากแตน่ อ้ ยกวา่ หมู่ 1A
- ไมเ่ กิดปฏิกิริยากับนํ้าหรือไอนา้ํ ที่อุณหภูมิห้องปกติ
- ออกไซด์ของโลหะหมู่ 2A ละลายน้ํา ได้สารละลายทเ่ี ปน็ เบส

วทิ ยาศาสตร์ เคมี (6) ______________________________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27

ธาตหุ มู่ VIIA (Halogen)

• เป็นอโลหะ ไม่พบเป็นอะตอมอิสระ แต่อยู่เป็นโมเลกุลที่ประกอบด้วย 2 อะตอม ยึดเหน่ียวกันด้วย

พนั ธะโควาเลนซ์ เช่น F2 Cl2 Br2 I2
• มเี วเลนซ์อเิ ลก็ ตรอนเปน็ 7 จึงสามารถรับอิเล็กตรอนได้อีก 1 อนุภาค ให้เป็น 8 อนุภาค ซ่ึงครบตาม

จาํ นวนอเิ ล็กตรอนมากทส่ี ุดที่มไี ดใ้ นระดับพลังงาน จึงกลายเปน็ ไอออนทม่ี ปี ระจุ -1

• มคี วามว่องไวตอ่ ปฏกิ ริ ิยาเคมีมาก

• เกดิ สารประกอบกบั โลหะหมู่ 1A และ 2A ได้สารประกอบไอออนิก ทเี่ รียกว่า โลหะเฮไลด์

ตวั อยา่ ง : คลอรีน (Cl)

- ใช้ฆ่าเชอ้ื โรคในรปู แกส๊ คลอรีน (Cl2) หรอื แคลเซยี มไฮโปคลอไรด์ (CaOCl)
- ใช้เป็นสารฟอกจางสี

- ทาํ ปฏกิ ริ ยิ ากบั แก๊สแอมโมเนยี จะเกดิ สารไฮดราซนี (N2H2) ใช้เปน็ เช้ือเพลิงในจรวด
: ฟลอู อรีน (F) ใชผ้ สมในยาสฟี ัน ในรปู ฟลอู อไรดช์ ่วยป้องกันฟนั ผุ

: ไอโอดีน (I) ป้องกันโรคคอพอก จึงมีการเตมิ โพแทสเซยี มไอโอไดดล์ งในเกลอื อนามยั

ธาตหุ มู่ VIIIA
• เปน็ อโลหะ มสี ถานะเปน็ แก๊ส อยู่เป็นอะตอมอิสระได้
• มเี วเลนซ์อเิ ล็กตรอนเปน็ 8 จึงมคี วามเสถยี รมาก
• ไม่ว่องไวในการเกิดปฏิกิริยาเคมี จึงเรียกธาตุหมู่น้ีว่า ก๊าซเฉ่ือย (Inert Gas) ยกเว้น คริปทอน (Kr)
ซนี อน (Xe) และเรดอน (Rn) สามารถทําปฏกิ ิริยากับฟลอู อรนี และออกซิเจนได้
ตวั อย่าง : ฮเี ลียม (He) ใชบ้ รรจบุ อลลนู / เรอื เหาะ ใช้ดาํ นํ้าลกึ

: นีออน (Ne) ใช้บรรจหุ ลอดไฟให้สสี ม้ แดง
: ซีนอน (Xe) ใชบ้ รรจุหลอดไฟใหส้ ีมว่ ง / นา้ํ เงิน
: คริปทอน (Kr) ใช้บรรจหุ ลอดไฟให้สเี ขยี ว

ธาตุแทรนซชิ ัน

เชน่ สแกนเดียม ไทเทเนียม วาเนเดียม โครเมียม แมงกานสี เหลก็ โคบอลต์ นเิ กลิ ทองแดง สงั กะสี

- เปน็ โลหะ

- มสี มบตั ิทางกายภาพเหมือนหมู่ IA และ IIA แต่มสี มบตั ทิ างเคมแี ตกตา่ งกัน

- เกดิ สารประกอบไอออนกิ ท่ีเปน็ สมบัตพิ เิ ศษ เรยี กว่า สารประกอบเชงิ ซอ้ น มสี สี ดใสเฉพาะตวั

เชน่ ดา่ งทับทิม (KMnO4) สีชมพูอมม่วง

จนุ สี (CuSO4) สฟี า้

โพแทสเซยี มไดโครเมต (K2Cr2O2) สสี ้ม

โพแทสเซียมเฟอรโ์ รไซยาไนด์ (K4Fe (CN)6) สเี หลือง

นิกเกลิ ซลั เฟต (NiSO4 ⋅ 6H2O) สเี หลือง

โครงการแบรนด์ซมั เมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27 _____________________________________ วิทยาศาสตร์ เคมี (7)

ธาตกุ ัมมันตรังสี
คือ ไอโซโทปของธาตุท่ีมีจํานวนนิวตรอนต่างจากจํานวนโปรตอนมากๆ ทําให้ไม่เสถียร จึงสลายตัว โดย
การปลดปล่อยรงั สีออกมา ทําใหเ้ กดิ เปน็ ธาตุท่เี สถียรข้ึน
รังสีท่ีแผ่ออกมาอาจเปน็ รงั สีแอลฟา บีตา หรือแกมมา โดยขึ้นอยู่กับไอโซโทปแต่ละชนดิ
เครอ่ื งมอื สําหรบั ตรวจหาแหล่งและวดั ปริมาณของรังสี เรยี กวา่ ไกเกอรม์ ลู เลอร์เคานเ์ ตอร์
อัตราการแผ่รังสีเป็นสมบัติเฉพาะตัวและมีค่าคงที่ ไม่ขึ้นกับปัจจัยภายนอกใดๆ ท้ังส้ิน ไม่ว่าจะเป็น
ปริมาณสารตง้ั ตน้ อณุ หภูมิ หรือความดัน

ประโยชน์ของธาตกุ มั มนั ตรังสี
- ด้านการแพทย์

: ไอโอดนี - 131 ใช้ตรวจสอบความผดิ ปกติของตอ่ มไทรอยด์
: โซเดียม - 24 ใช้ตรวจระบบการไหลเวียนของเลอื ด
: โคบอลต์ - 60 และเรเดยี ม - 226 ใช้รักษาโรคมะเรง็
- ดา้ นเกษตรกรรม
: ใช้ปรับปรงุ พันธุ์พืช เช่น การนาํ เมล็ดพืชมาอาบรังสีนิวตรอน
: รงั สีแกมมาจากโคบอลต์ - 60 ใช้ถนอมอาหาร / ทําลายแบคทีเรียได้
- ด้านอตุ สาหกรรม
: ใชว้ ัดความหนาของวัตถุ
: ใช้ตรวจหารอยรว่ั ของท่อสง่ น้าํ มนั
: ใชเ้ ปลีย่ นแปลงสอี ญั มณี ให้สวยงามขึ้น เป็นการเพม่ิ คณุ คา่ ของอญั มณี
- ด้านพลงั งาน
: ยเู รเนียม - 238 และพลูโทเนยี ม - 239 เป็นวัตถุดิบในเครอ่ื งปฏิกรณป์ รมาณูเพื่อผลติ กระแสไฟฟ้า
- ด้านธรณวี ิทยา
: คารบ์ อน - 14 ใชห้ าอายขุ องวัตถโุ บราณทมี่ ธี าตุคาร์บอน

1.4 พันธะเคมี

คอื แรงยดึ เหนยี่ วระหวา่ งอะตอมหรอื ไอออนของธาตุใหอ้ ย่รู วมกนั เป็นโครงผลกึ หรือโมเลกุล โดยแบ่งเป็น
1.4.1 พันธะโลหะ
เกิดจากการที่เวเลนซ์อิเล็กตรอนท้ังหมดของอะตอมโลหะหลุดออกมาเป็นอิเล็กตรอนอิสระ

และจะเคลื่อนทไ่ี ปท่วั ทัง้ ก้อนโลหะ และดึงดดู กับไอออนบวกของโลหะ เพราะมปี ระจุไฟฟา้ ต่างกนั ทาํ ให้เกิดสมบัติ
ดงั นี้

- มีความแข็งแรงมาก
- มีจดุ หลอมเหลวและจุดเดอื ดสงู
- ส่วนมากมีความหนาแน่นสูง
- นําไฟฟ้าและนําความรอ้ น
- ผวิ ขึ้นเงาและมนั วาว
- สามารถตีแผ่เป็นแผ่นบางหรือดึงเปน็ เส้นได้

วทิ ยาศาสตร์ เคมี (8) ______________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปที ี่ 27

1.4.2 พนั ธะไอออนิก
เกิดจากการให้และรับอิเล็กตรอนระหว่างอะตอมของโลหะกับอโลหะ หรือเกิดจากแรงดึงดูด

ระหวา่ งประจไุ ฟฟ้าตา่ งชนิดกนั (โลหะ : ไอออน +, อโลหะ : ไอออน -)
เช่น NaCl (เกลอื แกง) CaO (ปนู ขาว) มสี มบัติดังนี้
- มีสถานะเป็นของแข็ง เปน็ โครงผลึก มรี ปู ทรงเรขาคณิต
- มจี ุดหลอมเหลวและจุดเดือดสูง
- นาํ ไฟฟ้าไดเ้ ม่ือหลอมเหลว

1.4.3 พนั ธะโควาเลนต์
เกิดจากการใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนร่วมกันระหว่างอะตอมของอโลหะกับอโลหะ เช่น H2 Cl2

CO2 CH4 มีสมบัติดงั นี้
- มีทัง้ สามสถานะ คือ ของแขง็ ของเหลว และแก๊ส
- มีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดต่ํา
- ไมน่ าํ ไฟฟา้

โครงการแบรนด์ซมั เมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27 _____________________________________ วทิ ยาศาสตร์ เคมี (9)

แบบฝกหัด

1. จากสญั ลักษณ์นิวเคลยี รข์ องธาตุคลอรีน 35 Cl ขอ้ ใดผดิ
17

1) มเี ลขมวลเทา่ กบั 35

2) มจี าํ นวนโปรตอนเทา่ กับ 17

3) มจี าํ นวนนวิ ตรอนเทา่ กับ 15

4) มีจาํ นวนอเิ ลก็ ตรอนเท่ากับ 15

2. อะตอมของธาตโุ ซเดยี มท่ีมสี ญั ลกั ษณ์นิวเคลียร์ 23 Na มกี ารจัดอิเลก็ ตรอนตามระดับพลังงานอยา่ งไร
11

1) 2, 3

2) 2, 8, 1

3) 2, 8, 2

4) 2, 8, 8, 5

3. ธาตใุ ดมีจาํ นวนเวเลนซอ์ เิ ล็กตรอนมากทสี่ ุด

1) 19 F
9

2) 23 Na
11

3) 32 S
16

4) 40 Ca
20

4. ขอ้ ใดไมใ่ ช่โลหะแทรนซิซัน
1) Mn
2) Ca
3) Co
4) Zn

5. ธาตุทเ่ี ลขอะตอมใดมสี มบัตแิ ตกต่างจากพวกมากทสี่ ดุ
1) 10
2) 18
3) 36
4) 56

วิทยาศาสตร์ เคมี (10) _____________________________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27

6. ข้อใดไม่ใช่สารประกอบไอออนิก
1) MgO
2) KCl
3) CO2
4) Na2SO4

7. ขอ้ ใดผิดเกี่ยวกับธาตุหมู่ 8A
1) เฉ่อื ยต่อปฏกิ ิริยา
2) พบในรูปอะตอมอสิ ระ
3) มเี วเลนซอ์ ิเล็กตรอนเท่ากับ 8
4) มสี ถานะเปน็ ของเหลว

8. ธาตใุ นข้อใดสามารถทําปฏกิ ิริยากับน้าํ อย่างรุนแรง
1) ลิเทียม
2) แคลเซยี ม
3) คลอรีน
4) ฮีเลียม

9. ขอ้ ใดคือโลหะเฮไลด์
1) CaO
2) KCl
3) Na2O
4) CaO

โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27 ____________________________________ วทิ ยาศาสตร์ เคมี (11)

เฉลย

1. 4) 2. 2) 3. 1) 4. 2) 5. 4) 6. 3) 7. 4) 8. 1) 9. 2)

1. เฉลย 4) มจี าํ นวนอเิ ล็กตรอนเทา่ กับ 15
เลขด้านบน คือ เลขมวล จะแสดงจาํ นวนโปรตอนรวมกับนวิ ตรอน
เลขดา้ นล่าง คอื เลขอะตอม จะแสดงจาํ นวนโปรตอนและอิเลก็ ตรอน
ดังนั้น จาํ นวนอเิ ลก็ ตรอน เท่ากับ 17

2. เฉลย 2) 2, 8, 1

จากสญั ลกั ษณน์ วิ เคลยี ร์

เลขดา้ นบน คือ เลขมวล แสดงจํานวนโปรตอนรวมกับนิวตรอน

เลขดา้ นลา่ ง คือ เลขอะตอม แสดงจํานวนโปรตอนและอิเลก็ ตรอน

แสดงวา่ โปรตอน = 11 อิเลก็ ตรอน = 11 นิวตรอน = 12

3. เฉลย 1) 19 F
9

เลขอะตอม แสดงจาํ นวนอิเลก็ ตรอน

เวเลนซอ์ เิ ลก็ ตรอน คอื อิเล็กตรอนวงนอกสดุ จะมคี ่าเทา่ กบั หมขู่ องธาตุ

1) เลขอะตอม 9 มีการจัดอเิ ลก็ ตรอนเปน็ 2, 7

2) เลขอะตอม 11 มีการจัดอิเลก็ ตรอนเป็น 2, 8, 1

3) เลขอะตอม 16 มีการจัดอเิ ล็กตรอนเป็น 2, 8, 6

4) เลขอะตอม 20 มกี ารจัดอเิ ล็กตรอนเป็น 2, 8, 8, 2

4. เฉลย 2) Ca
คือ แคลเซียม เป็นธาตุหม่ทู ่ี 2

5. เฉลย 4) 56
1) เลขอะตอม 10 มีการจดั เรียงอิเล็กตรอนเป็น 2, 8 (หมู่ = 8)
2) เลขอะตอม 18 มกี ารจัดเรยี งอิเล็กตรอนเป็น 2, 8, 8 (หมู่ = 8)
3) เลขอะตอม 36 มกี ารจัดเรียงอิเล็กตรอนเปน็ 2, 8, 18, 8 (หมู่ = 8)
4) เลขอะตอม 56 มีการจัดเรยี งอเิ ลก็ ตรอนเป็น 2, 8, 18, 18, 8, 2 (หมู่ = 2)

6. เฉลย 3) CO2
สารประกอบไอออนกิ คือ สารที่ประกอบดว้ ยโลหะและอโลหะ
ขอ้ 3) C เป็นธาตุหมู่ 4, O เป็นธาตหุ มู่ 6 เป็นอโลหะท้งั คู่

วทิ ยาศาสตร์ เคมี (12) _____________________________________โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27

7. เฉลย 4) มีสถานะเปน็ ของเหลว
ธาตหุ มู่ 8 เปน็ แก๊สเฉือ่ ย

8. เฉลย 1) ลเิ ทียม
ธาตุหมู่ 1 สามารถทําปฏิกิริยากับนา้ํ อย่างรุนแรงที่สุด

9. เฉลย 2) KCl
โลหะเฮไลด์ คอื สารประกอบระหวา่ งธาตุโลหะกับธาตหุ มทู่ ี่ 7

โครงการแบรนด์ซมั เมอรแ์ คมป์ ปที ี่ 27 ____________________________________ วทิ ยาศาสตร์ เคมี (13)

บทที่ 2 ปฏกิ ิริยาเคมี

เกิดจาก สารเริ่มต้นเข้าทําปฏิกิริยากัน ซึ่งจะมีการเปล่ียนแปลงเกิดข้ึน คือ มีการแตกสลายพันธะเดิม
และสรา้ งพนั ธะใหม่ ทําใหเ้ กดิ สารชนดิ ใหม่ เรียกวา่ ผลติ ภัณฑ์ แบง่ เปน็

- ปฏิกิริยาคายความร้อน (Exothermic Reaction) คือ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นแล้ว ให้พลังงานความร้อน
ออกมา ทาํ ใหส้ ่ิงแวดลอ้ มมีอุณหภมู ิสงู ขึน้

- ปฏิกริ ยิ าดดู ความร้อน (Endothermic Reaction) คือ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นแล้ว ดูดพลังงานความร้อน
จากส่งิ แวดลอ้ มเขา้ ไป แล้วทําใหส้ งิ่ แวดล้อมมอี ุณหภูมลิ ดลง

2.1 ปฏิกิริยาเคมีในชีวติ ประจําวันและผลกระทบตอสงิ่ แวดลอ ม

- ปฏิกิริยาการสังเคราะห์ด้วยแสง เกิดจากแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์กับน้ํา โดยมีแสงและคลอโรฟิลล์
เปน็ ตวั เรง่ ปฏิกิรยิ า จะไดก้ ลโู คสและแกส๊ ออกซเิ จน

6CO2 + 6H2O → C6H12O6 + 6O2
- ปฏิกริ ยิ าการเผาไหมเ้ ชอื้ เพลงิ

• สารประกอบไฮโดรคาร์บอน จะเกิดการเผาไหม้ท่ีสมบูรณ์ จะได้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และไอน้ํา
เปน็ ผลติ ภณั ฑ์

เชน่ แกส๊ หงุ ตม้ ซง่ึ ประกอบดว้ ย แก๊สโพรเพนและแก๊สบิวเทน
C3H8 + 5O2 → 3CO2 + 4H2O + พลงั งาน
2C4H10 + 13O2 → 8CO2 + 10H2O + พลงั งาน

• เช้ือเพลิงท่ีได้จากซากดึกดําบรรพ์ เช่น ถ่านหิน จะมีกํามะถัน (S) ปนอยู่ด้วย ดังน้ันเมื่อเกิดการ
เผาไหม้จะทําปฏกิ ริ ิยารวมตวั กบั ออกซิเจนได้เป็นแก๊สซลั เฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) ซึ่งสามารถเกิดปฏิกิริยากับแก๊ส
ออกซเิ จนต่อไป ไดแ้ กส๊ ซัลเฟอรไ์ ตรออกไซด์ (SO3)

เม่อื SO3 ถกู ความชื้นจะทําปฏิกิริยากับน้ํา เกิดเป็นกรดกํามะถัน (H2SO4) และถ้ามีปริมาณมาก
เม่ือฝนตกจะชะลงมากบั ฝน เรียกว่า ฝนกรด

S + O2 → SO2
2SO2 + O2 → 2SO3
SO3 + H2O → H2SO4
• เช้ือเพลิงที่มีไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ เมื่อเผาไหม้ไนโตรเจนและแก๊สออกซิเจนจะรวมตัวเกิด
แก๊สไนโตรเจนมอนอกไซด์ (NO) ซง่ึ สามารถรวมกบั แก๊สออกซิเจนต่อไปอีก เกดิ แก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2)
N2 + O2 → 2NO
2NO + O2 → 2NO2

วทิ ยาศาสตร์ เคมี (14) _____________________________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอร์แคมป์ ปที ี่ 27

แก๊ส NO2 สามารถรวมตวั กบั น้ํา เกิดกรดไนตริก (HNO3) ตกลงมากลายเปน็ ฝนกรด
ฝนกรด ทําให้ใบไม้ฟอกจากสี จนสังเคราะห์แสงไม่ได้ และยังทําให้ค่า pH ของแหล่งน้ําลดลง
มีผลกระทบต่อสัตว์นํ้า นอกจากน้ียังกัดกร่อนสิ่งก่อสร้างที่ทําจากหินปูนหรือแคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3)
และกดั กร่อนโลหะได้
แก๊สที่ทําให้เกิดฝนกรดจะเป็นอันตรายต่อมนุษย์ ทําให้เกิดอาการปวดเม่ือยเร้ือรัง โลหิตจาง เป็น
อนั ตรายต่อปอดและระบบทางเดินหายใจ
- ปฏิกิริยาการเกิดสนิม เกิดจาก เหล็กทําปฏิกิริยากับแก๊สออกซิเจนในบริเวณที่มีความชื้น ทําให้
กลายเป็นสนิม (Fe2O3)

2Fe + 3O2 → Fe2O3
- ปฏิกิรยิ าการสลายตวั ของโซเดยี มไฮโดรเจนคาร์บอเนตหรือผงฟู (NaHCO3) ด้วยความร้อนจะได้แก๊ส
CO2 และ H2O

2NaHCO3 → Na2CO3 + CO2 + H2O
: ใช้เป็นส่วนผสมของขนม เช่น เค้ก ขนมถ้วยฟู ขนมสาล่ี เพราะ CO2 ซึ่งแทรกตัวออกมา ทําให้
เกดิ เป็นโพรงอากาศในขนม ขนมจงึ พองและฟูข้นึ
: ใช้ในการดับไฟป่า โดยใช้การโปรยลงมาเหนือไฟป่า CO2 ที่เกิดข้ึนเป็นแก๊สท่ีหนักกว่าอากาศ จึง
ปกคลุมไมใ่ หเ้ ช้อื เพลิงไดร้ บั แก๊สออกซิเจน จงึ ช่วยลดการลกุ ไหม้
- ปฏิกิริยาการสลายตัวของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ (H2O2) ใช้ฟอกสีผมและฆ่าเช้ือโรค เมื่อได้รับแสง
และความร้อน จะสลายตัวใหน้ ํ้า และ O2 ดังน้นั จึงตอ้ งเก็บไวใ้ นท่มี ดื และเย็น หรือในภาชนะสีนํา้ ตาล

H2O2 → H2O + O2
- ปฏกิ ิริยาในแบตเตอร่ชี นดิ ต่างๆ เช่น

: แบตเตอรใี่ นรถยนต์ เปน็ ปฏกิ ิรยิ าระหว่างแผน่ ตะก่ัว (Pb) ทําหน้าที่เป็นข้ัวบวก และตะกั่วไดออกไซด์
(PbO2) ทําหน้าทเี่ ป็นข้วั ลบ กับกรดซัลฟวิ ริก (H2SO4) เข้มขน้ 30-38% โดยนาํ้ หนกั

: แบตเตอรี่ปรอทมีขนาดเล็ก เบา ใช้ในเคร่ืองมืออิเล็กทรอนิกส์ มีสังกะสี (Zn) เป็นข้ัวบวก และ
ปรอทออกไซด์ (HgO) เป็นข้ัวลบ ในสารผสมระหว่างโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ (KOH) กับสังกะสีไฮดรอกไซด์

(Zn(OH)2) และนา้ํ

โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปีที่ 27 ____________________________________ วทิ ยาศาสตร์ เคมี (15)

- ปฏกิ ิริยาการสลายตัวของหินปูน (CaCO3) ด้วยความร้อน ได้แก๊ส CO2 และปูนขาว (CaO) ใช้ในการ
ผลิตปนู ซเี มนต์

CaCO3 → CO2 + CaO
- ปฏิกิริยาระหว่างหินปูนกับกรดไนตริก / กรดซัลฟิวริก เกิดเป็นแคลเซียมซัลเฟต (CaSO4) หรือ

แคลเซียมไนเตรต (Ca(NO3)2) และแก๊ส CO2 ซ่ึงเป็นสาเหตุที่ทําให้เกิดการสึกกร่อนของสิ่งก่อสร้างท่ีทําจาก

หินปนู หรอื หนิ อ่อน และการเกดิ หนิ งอกหินย้อย
CaCO3 + H2SO4 → CaSO4 + CO2 + H2O
CaCO3 + 2HNO3 → Ca(NO3)2 + CO2 + H2O

2.2 อตั ราการเกดิ ปฏกิ ิรยิ าเคมี

2.2.1 การวดั อตั ราการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมี
หาได้จาก ปริมาณของสารเร่ิมต้นที่ลดลง ใน 1 หน่วยเวลา หรือปริมาณของผลิตภัณฑ์ท่ีเพิ่มข้ึน

ใน 1 หนว่ ยเวลา
2.2.2 ปจั จยั ที่มผี ลต่ออตั ราการเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมี
1. ความเขม้ ข้นของสารเร่ิมต้น (เขม้ ขน้ มาก > เขม้ ขน้ น้อย)
สารที่มคี วามเข้มข้นมาก จะมีจํานวนอนุภาคสารมากกว่า จึงเกิดการสัมผัสกันได้มากกว่า

จึงเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมีได้เร็วมากกว่าสารทม่ี ีความเขม้ ขน้ น้อย
2. พ้นื ท่ผี วิ สมั ผัสของสารที่เข้าทําปฏกิ ิรยิ า (ผง > กอ้ น)
สารที่เป็นผงเล็กๆ เป็นการเพิ่มพื้นที่สัมผัสของของแข็งให้สัมผัสกับของเหลวได้มากขึ้น

จงึ เกดิ ปฏิกิริยาเคมไี ด้เร็วกว่าสารท่เี ปน็ กอ้ นใหญ่ เช่น
ในการรับประทานอาหารควรเค้ียวอาหารให้ละเอียด เพื่อทําให้สัมผัสกับกรดและเอนไซม์

ในกระเพาะอาหารได้มากข้ึน จึงเกิดปฏิกิริยากันได้เร็วข้ึนอาหารจึงย่อยง่าย ป้องกันการจุกเสียด ท้องอืด
ท้องเฟอ้

3. อุณหภมู ิ (ร้อน > เย็น)
การเพ่ิมอุณหภูมิทําให้สารเคล่ือนที่ได้เร็วข้ึน จึงเกิดการสัมผัสกันมากขึ้น ทําให้

เกิดปฏิกิริยาได้เรว็ ขน้ึ เช่น
ถ้าร่างกายมีอุณหภูมิสูงขึ้น 1 องศาเซลเซียส เนื้อเย่ือจะต้องการแก๊สออกซิเจนเพ่ิมข้ึน

13% ทําใหอ้ ัตราการเตน้ ของชีพจรและการหายใจเพิ่มข้ึน
การนําผลไม้มาบ่มในภาชนะปิดและปกคลุมด้วยผ้า จะทําให้ผลไม้สุกได้เร็วกว่าวางไว้ที่

อณุ หภมู ปิ กติ เพราะทีอ่ ณุ หภูมิสงู เอนไซม์ทอี่ ยู่ในผลไมจ้ ะทํางานได้เร็วขนึ้
การเก็บผลไมไ้ วใ้ นที่เยน็ จะทาํ ใหผ้ ลไมค้ งความสดและอยู่ได้นาน เพราะช่วยลดการทํางาน

ของเอนไซม์และแบคทีเรยี ใหช้ ้าลง

วทิ ยาศาสตร์ เคมี (16) _____________________________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปที ี่ 27

4. ตัวเรง่ ปฏิกริ ยิ า (Catalyst) คอื สารทเ่ี พมิ่ เขา้ ไปในปฏกิ ริ ยิ า แลว้ ทําให้ปฏกิ ิริยาเกิดได้เร็วขึ้น
และเมือ่ ปฏิกิรยิ าสิ้นสุดลง ปริมาณและสมบตั ขิ องตวั เรง่ ปฏกิ ริ ยิ าจะไม่เปลีย่ นแปลง

ตวั หน่วงปฏกิ ิรยิ า (Inhibitor) คือ สารที่เติมเพิ่มเข้าไปแล้ว ทําให้ปฏิกิริยาเกิดช้าลง เช่น
เมื่อเตมิ โซเดยี มฟลูออไรด์ ลงไปในปฏกิ ิริยาระหว่างหนิ ปูนกบั กรด จะทําให้ปฏิกิริยาเกิดชา้ ลง ใช้ในการผลิตยาสฟี นั

5. ธรรมชาตขิ องสาร
สารแตล่ ะชนิดจะมีสมบัติเฉพาะตวั จงึ เกดิ ปฏิกิรยิ าเคมดี ว้ ยอัตราเรว็ ที่แตกตา่ งกัน เชน่
โลหะแมกนเี ซยี ม + กรดไฮโดรคลอริก → เกิดปฏกิ ริ ิยาเรว็ มาก
โลหะสังกะสี + กรดไฮโดรคลอริก → เกดิ ปฏิกิรยิ าช้า
โลหะทองแดง + กรดไฮโดรคลอริก → ไม่เกิดปฏิกริ ิยา
หรอื โซเดียม ทําปฏิกิรยิ ากับนา้ํ อย่างรวดเรว็ มาก
แมกนเี ซยี ม ทาํ ปฏกิ ิรยิ ากับนํ้า ไดช้ า้ มากๆ

โครงการแบรนด์ซมั เมอร์แคมป์ ปีท่ี 27 ____________________________________ วิทยาศาสตร์ เคมี (17)

แบบฝก หัด

1. ข้อใดไมใ่ ช่วิธีการวัดอัตราการเกดิ ปฏกิ ริ ิยา Mg + 2HCl Cu MgCl2 + H2
1) อตั ราการเกดิ แก๊สไฮโดรเจนใน 1 หนว่ ยเวลา
2) อัตราการหายไปของโลหะแมกนเี ซยี มใน 1 หน่วยเวลา
3) อตั ราการหายไปของโลหะทองแดงใน 1 หนว่ ยเวลา
4) ความเข้มขน้ ของกรดไฮโดรคลอรกิ ทีล่ ดลงใน 1 หนว่ ยเวลา

2. ข้อใดมีการเปลี่ยนแปลงทางเคมี
1) เมฆกลายเป็นน้ําฝน
2) เหลก็ งอเมื่อไดร้ บั ความร้อน
3) อากาศรอ้ นพวยพงุ่ จากกาน้าํ
4) เมอ่ื บีบมะนาวลงในเนอ้ื หมู ทาํ ให้สเี ปล่ยี น

3. ฝนกรดเป็นผลเสยี จากการใช้ถ่านหินท่ีมเี ปอรเ์ ซน็ ต์ของธาตใุ ดสงู
1) H
2) O
3) S
4) C

4. ขอ้ ใดมีผลทาํ ให้อตั ราการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมเี กดิ ไดช้ า้ ลง
1) ผลไมท้ ่ีเก็บไว้ในที่มอี ณุ หภมู สิ ูง
2) การเค้ยี วข้าวให้ละเอียดกอ่ นกลนื
3) การใช้แท่งแกว้ คนสารละลาย
4) การเตมิ น้าํ ลงในสารละลายอกี เทา่ ตัว

5. ทําไมก่อนกินยาบางชนิดต้องมกี ารเคี้ยวให้ละเอียดก่อนกลืน
1) ยาบางชนดิ จะละลายไดด้ ีในน้ําลาย
2) เพ่อื ใหย้ าเกดิ การย่อยสลายอยา่ งชา้ ๆ
3) เปน็ การเพิ่มพืน้ ที่ผิวสัมผัสใหย้ าละลายได้ดีขึ้น
4) ยาบางชนิดมีฤทธิเ์ ปน็ กรด จึงต้องเคีย้ วให้ละเอยี ดเพ่อื ป้องกันรสขม

วทิ ยาศาสตร์ เคมี (18) _____________________________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27

เฉลย

1. 3) 2. 4) 3. 3) 4. 4) 5. 3)
1. เฉลย 3) อัตราการหายไปของโลหะทองแดงใน 1 หนว่ ยเวลา

อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี วัดได้จากปริมาณสารเร่ิมต้นท่ีลดลงใน 1 หน่วยเวลา หรือปริมาณ
ผลติ ภัณฑท์ เี่ พ่ิมข้นึ ใน 1 หน่วยเวลา

โลหะทองแดงเขียนไว้บนลูกศร แสดงว่าทําหน้าที่เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาเคมี จึงไม่สามารถนํามา
วดั อตั ราการเกดิ ปฏิกิริยาเคมไี ด้ เน่อื งจากตวั เรง่ ปฏกิ ริ ยิ าเคมี เมือ่ สนิ้ สุดปฏิกิริยาจะได้กลบั คืน
2. เฉลย 4) เม่ือบีบมะนาวลงในเนอ้ื หมู ทําให้สเี ปลีย่ น

การเปล่ียนแปลงทางเคมี คือ การเปล่ียนแปลงจากสารเริ่มต้นเปลี่ยนเป็นสารใหม่ โดยสังเกต
ได้จากการเกดิ สีทีเ่ ปลยี่ นแปลงไป หรือการเกดิ ฟองแก๊ส
3. เฉลย 3) S

ถ่านหิน จะมีธาตุกํามะถันหรือซัลเฟอร์ (S) ซึ่งเมื่อเผาไหม้จะทําให้เกิดแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์
และแก๊สซัลเฟอร์ไตรออกไซด์ ซึง่ เป็นสาเหตุของฝนกรด
4. เฉลย 4) การเติมน้ําลงในสารละลายอีกเท่าตวั

การเตมิ นํ้า ทําให้สารละลายมีความเจือจางหรือมีความเขม้ ขน้ ลดลง อตั ราการเกิดปฏิกริ ยิ าจะช้าลง
5. เฉลย 3) เปน็ การเพ่ิมพ้นื ทผี่ ิวสมั ผสั ใหย้ าละลายได้ดีขน้ึ

การเคี้ยวเป็นการทาํ ให้ยามีขนาดเล็กลง เป็นการเพ่ิมพน้ื ท่ผี วิ สัมผสั

โครงการแบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ ปีที่ 27 ____________________________________ วิทยาศาสตร์ เคมี (19)

บทท่ี 3 สารชีวโมเลกุล

คือ สารท่ีสิ่งมีชีวิตสามารถนําไปใช้ในกระบวนการดํารงชีวิต มีองค์ประกอบหลักคือ ธาตุคาร์บอน
ไฮโดรเจนและออกซเิ จน มีโมเลกลุ ทง้ั ขนาดเล็กและขนาดใหญ่ ได้แก่

1. ไขมันและนํา้ มัน (C H O)
2. คารโ์ บไฮเดรต (C H O)
3. โปรตีน (C H O N)
4. กรดนวิ คลอี ิก (C H O N P)

3.1 ไขมนั และนาํ้ มนั

• เป็นโครงสร้างหลักของเย่ือหุ้มเซลล์
• ป้องกนั การสูญเสยี น้ํา ทําใหผ้ วิ หนงั ช่มุ ชนื้
• ปอ้ งกันการสญู เสียความร้อน ช่วยใหร้ ่างกายอบอุ่น
• ปอ้ งกนั การกระแทกต่ออวัยวะภายใน
• ช่วยทําให้ผมและเลบ็ มีสุขภาพดี
• ชว่ ยละลายวิตามิน A D E K
• ร่างกายสามารถนําไขมันที่สะสมใต้ผิวหนังมาย่อยสลายเพ่ือเปลี่ยนเป็นพลังงาน ในกรณีที่
ร่างกายไดร้ ับสารอาหารไม่เพยี งพอ โดยไขมนั 1 กรัม จะให้พลังงาน 9 กิโลแคลอรี

ไขมัน เปน็ สารประกอบทีเ่ รียกว่า ไตรกลีเซอไรด์ (Triglycerides) ซ่ึงเกิดจากการรวมตัวทางเคมีของกรด
ไขมัน (Fatty Acids) 3 โมเลกลุ กับ กลีเซอรอล (Glycerol) 1 โมเลกุล

ไตรกลีเซอไรด์ ท่ีมีสถานะเป็นของแข็ง เรียกว่า ไขมัน (Fat) แต่ถ้ามีสถานะเป็นของเหลว เรียกว่า
นา้ํ มัน (Oil)

O O

CH2 OH H O C R1 CH2 O C R1
O O
ตวั เรง่ ปฏกิ ริ ยิ า, ∆
CH OH + H O C R2 CH O C R2 + 3H2O
O O

CH2 OH H O C R3 CH2 O C R3

กลีเซอรอล กรดไขมัน ไตรกลีเซอไรด์ น้ํา

โครงสรา้ งของกรดไขมนั ประกอบดว้ ย
• สว่ นทมี่ ีธาตุคารบ์ อนตอ่ กันเปน็ สายยาวด้วยพันธะเดย่ี วหรอื พนั ธะคู่
• ส่วนท่เี ป็นหมคู่ าร์บอกซลิ ( COOH) มีสมบัติเป็นกรด

วิทยาศาสตร์ เคมี (20) _____________________________________โครงการแบรนด์ซมั เมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27

กรดไขมันในธรรมชาติ แบง่ ออกเป็น 2 ประเภท คอื
- กรดไขมนั อิ่มตัว เชน่ กรดลอรกิ กรดไมรสี ติก กรดปาลม์ มิตกิ กรดสเตยี ริก
- กรดไขมนั ไม่อิ่มตวั เชน่ กรดโอเลอิก กรดปาล์มมิโตเลอิก กรดไลโนเลอิก

กรดไขมัน อม่ิ ตวั ไม่อิม่ ตวั
ชื่อ
สูตร ลงท้ายดว้ ย - อิก ลงท้ายดว้ ย - เลอกิ
CnH2n+1COOH มไี ดห้ ลายสูตร
จุดหลอมเหลว (H มากกว่า) (H นอ้ ยกวา่ )
สถานะ สงู กว่า 25°C ตํา่ กวา่ 25°C
ของเหลว
แหลง่ ทพี่ บ ของแขง็ นา้ํ มนั พชื
ไขมันสัตว์ / นํ้ามนั มะพรา้ วและ
พันธะระหว่างคารบ์ อน คู่
ความว่องไวในการเกิดปฏกิ ริ ยิ า น้ํามันปาลม์ มาก
เดยี่ ว กรดโอเลอิก
ชนิดที่พบมากทีส่ ดุ นอ้ ย

กรดสเตยี รกิ

จาํ นวน จุด
อะตอม
ของ หลอม
คาร์
กรดไขมัน สูตรโครงสรา้ ง บอน เหลว แหลง่ ท่พี บ
องศา-

เซล

เซียส

ลอรกิ CH3(CH2)10COOH 12 43 มะพรา้ ว
CH3(CH2)12COOH 14
กรดไขมนั ไมริส ติก CH3(CH2)14COOH 16 54 ลกู จนั ทร์เทศ
อม่ิ ตัว CH3(CH2)16COOH 18
ปาลม์ ิ ตกิ 16 62 ปาลม์
กรดไขมัน CH3(CH2)5CH CH(CH2)7COOH 18
ไม่อิ่มตัว สเตียริก 18 69 ไขมนั สัตว์
ปาลม์ ิโตเล CH3(CH2)7CH CH(CH2)7COOH
CH3(CH2)4CH=CHCH2 18 0 เนย
อกิ CH=CH(CH2)7COOH
โอเลอกิ 13 มะกอก, ข้าวโพด
ไลโน CH3CH2(CH CHCH2)3(CH2)6COOH
เลอิก -9 ถวั่ เหลือง,
ไลโน ทานตะวนั
เลนิก
-11 ข้าวโพด

ขอ้ มูลจาก General, Organic & Biological Chemistry ; Karen C Timberlake (ค.ศ. 2002)

โครงการแบรนด์ซมั เมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27 ____________________________________ วทิ ยาศาสตร์ เคมี (21)

กรดไขมนั ไมอ่ ่มิ ตัว เมอื่ ทาํ ปฏิกิริยากบั แก๊สออกซเิ จนในอากาศ เกิดสารท่ีมีกล่ินเหม็นหืน แสดงว่า น้ํามัน

พชื จะเหม็นหนื ได้ง่ายกวา่ น้าํ มันสตั ว์

แตน่ ํ้ามนั พชื มีวติ ามิน E ซ่ึงเป็นสารยับย้ังการเกิดปฏิกิริยาน้ี แต่มีไม่มากพอ ดังน้ัน ในอุตสาหกรรมการ
ผลติ นา้ํ มนั พืช จงึ ตอ้ งเติมวิตามนิ E เพมิ่ เข้าไป

คารโ์ บไฮเดรตหรือโปรตนี สามารถเปล่ยี นไปเป็นไขมันได้

การผลิตเนยเทียมหรอื มาการนี
ทําไดโ้ ดย การเติมไฮโดรเจนลงในน้ํามันพืช ซ่ึงเป็นกรดไขมันไม่อิ่มตัวท่ีความดันสูงและมีตัวเร่งปฏิกิริยา
เชน่ แพลทินมั ทาํ ให้เปลี่ยนเป็นกรดไขมันอ่ิมตัว ซ่ึงจะมีสถานะเป็นของแข็งและมีจุดหลอมเหลวสูงข้ึน เรียกว่า
ปฏกิ ริ ยิ าไฮโดรจิเนชนั (Hydrogenation)

กรดไขมันท่ีจําเป็น (Essential Fatty Acid) คือ กรดไขมันที่มีพันธะคู่ระหว่างอะตอมคาร์บอนตั้งแต่

2 ตําแหนง่ ขึน้ ไป ซง่ึ รา่ งกายสังเคราะหเ์ องไม่ได้ เช่น กรดไลโนเลอิกและกรดไลโนเลนิก (พบในเมล็ดดอกคําฝอย
> เมลด็ ดอกทานตะวนั > ข้าวโพด)

ทารกทขี่ าดกรดไขมันท่ีจําเป็น จะทําให้เกิดโรคผิวหนังอักเสบ ลอกหลุด เป็นสาเหตุทําให้ติดเชื้อง่ายและ
แผลหายช้า

ไขมันในเลือด (คอเลสเทอรอล)
- เป็นสารเบื้องต้นในการสร้างฮอร์โมนเพศ นํ้าดี และสารสเตอรอลใต้ผิวหนังท่ีสามารถเปล่ียนเป็น
วิตามนิ D ได้ เมื่อได้รับแสงแดด

- เปน็ ฉนวนของเส้นประสาท
- ร่างกายสร้างได้เองแต่ไม่เพียงพอ พบมากในไข่แดง เครื่องในสัตว์และอาหารทะเล มีส่วนประกอบ
ทีม่ าจากกรดไขมันอ่ิมตวั ซ่งึ ถ้ามมี ากเกินไปจะเกาะตามผนังหลอดเลือด ซ่งึ อาจทําให้เกิดการอุดตนั ของหลอดเลือด
เกดิ เป็นโรคความดันโลหติ สงู หวั ใจขาดเลือด หรือถ้าเปน็ หลอดเลือดในสมอง อาจทําให้เปน็ อัมพาตได้

การใชป้ ระโยชนจ์ ากไขมัน
• การผลิตสบู่ จากปฏิกิริยาสะปอนนิฟิเคชัน (Saponification) ได้จาก การต้มไขมันกับเบสแก่
(โซเดยี มไฮดรอกไซด์ / NaOH)

OO

CH2 O C R1 CH2 OH Na+O- C R1
O O

CH O C R2 + 3NaOH ∆ CH OH + Na+O- C R2
OO

CH2 O C R3 CH2 OH Na+O- C R3

ไขมันและน้าํ มัน ด่าง กลีเซอรอล สบู่

- ถ้าใชน้ ํ้ามนั จากพชื และสตั วผ์ สมกนั จะได้สบ่ทู ม่ี เี น้อื น่มุ นวลนา่ ใช้
- สบผู่ สมลาโนลิน จะช่วยรกั ษาความชุ่มช้นื ของผิวหนงั

วทิ ยาศาสตร์ เคมี (22) _____________________________________โครงการแบรนด์ซมั เมอรแ์ คมป์ ปที ี่ 27

• ไข (wax)
ในพชื จะเคลอื บผวิ ผลไม้ ใบไม้ และก้าน
- เพอื่ ปอ้ งกันการสูญเสยี นํ้า
- ปอ้ งกนั การทาํ ลายจากเช้ือราและศตั รพู ชื
ในสัตว์ จะเคลือบผิวหนงั และขน
- ไขคาร์นูบาจากตน้ ปาลม์ บราซลิ และขี้ผ้งึ จากรงั ผง้ึ ใช้เคลือบผิวเฟอร์นิเจอร์ รถยนต์
- ไขโจโจบาจากเมล็ดโจโจบา ใช้ทาํ เทยี นไขและลปิ สติก
- ไขลาโนลนิ จากขนสตั ว์ ใช้ผสมในสบู่และครีมทาผวิ เพอ่ื สร้างความช่มุ ชื้นแก่ผวิ พรรณ

3.2 โปรตนี

- เปน็ สารประกอบท่ีมีขนาดใหญ่มากและโครงสรา้ งซบั ซ้อน
- เปน็ องค์ประกอบหลักในรา่ งกาย เชน่ กลา้ มเนอ้ื กระดกู ผวิ หนัง เลือด เอ็น อวัยวะ เสน้ ผม เลบ็
- ชว่ ยเสริมสร้างการเจริญเตบิ โตและซอ่ มแซมเน้ือเย่ือ
- ช่วยในรกั ษาสมดุลนา้ํ และสมดลุ กรด-เบส
- เป็นสว่ นประกอบของเอนไซม์ ฮอรโ์ มน เลือด และภูมคิ มุ้ กัน
- เป็นสารอาหารที่ให้พลังงาน โดย โปรตีน 1 กรัม ให้พลังงาน 4 กิโลแคลอรี โดยร่างกายต้องการ
โปรตีน วนั ละประมาณ 1 กรัม ตอ่ นํา้ หนักตวั 1 กิโลกรัม
- หนว่ ยย่อยของโปรตีน คอื กรดอะมิโน (Amino Acid) ซึ่งประกอบด้วย

O
H2N CH C OH

R

• หมคู่ าร์บอกซลิ (-COOH) มสี มบตั เิ ป็นกรด
• หมอู่ ะมโิ น (-NH2) มสี มบัตเิ ปน็ เบส
กรดอะมโิ น มีท้งั หมด 22 ชนดิ แบง่ เป็น
• กรดอะมิโนทจ่ี าํ เป็น เป็นกรดอะมโิ นที่ร่างกายสังเคราะห์เองไม่ได้ ต้องกินจากอาหารเข้าไป มี 8 ชนิด
ไดแ้ ก่ ไอโซลวิ ซนี เวลีน ทรปิ โตเฟน ฟีนิลอะลานีน ทริโอนีน เมไทโอนีน ไลซีน ลิวซีน สําหรับเด็กทารก ต้องการ
กรดอะมิโน เพมิ่ อกี 2 ชนดิ คอื อารจ์ นี ีน และฮีสตีดีน
• กรดอะมโิ นที่ไม่จําเป็น เปน็ กรดอะมโิ นท่ีรา่ งกายสงั เคราะห์ได้เอง

โปรตีน เกิดจากกรดอะมิโนจํานวนมากกว่า 50 หน่วย มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะเพปไทด์ (Peptide
Bond) ซง่ึ เป็นพันธะระหว่างหมคู่ าร์บอกซลิ ของกรดอะมโิ นโมเลกุลหนึ่งกบั หม่อู ะมโิ นของอกี โมเลกลุ หนึง่

OO OH O
H2N CH C OH + H2N CH C OH - H2O H2N CH C N CH C OH + H2O

R R′ R R′
พนั ธะเพปไทด์

โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปที ่ี 27 ____________________________________ วิทยาศาสตร์ เคมี (23)

โปรตนี ในธรรมชาติ มมี ากมายหลายลา้ นชนดิ มีหนา้ ทก่ี ารทํางานเฉพาะเจาะจง เนื่องจาก
- ความแตกต่างของชนิดของกรดอะมิโน
- ลําดับการเรยี งตัวของกรดอะมิโน
- สดั ส่วนการรวมตวั ของกรดอะมโิ น

โดยแบ่งเป็น
• โครงสร้างเปน็ กอ้ น เช่น ฮโี มโกลบิน ซึ่งพบในเซลลเ์ มด็ เลอื ดแดง
• โครงสร้างเปน็ เกลียว 3 เส้นพันกนั เช่น เคราตนิ ซ่ึงพบในเล็บ ผม ขน
คุณคา่ ของโปรตนี
เม่ือรับประทานโปรตีนเข้าไปในร่างกาย เอนไซม์เพปซินในกระเพาะอาหารจะย่อยสลายโปรตีนให้เล็กลง
โดยการทําลายพันธะเพปไทด์จนได้เป็นกรดอะมิโน ซึ่งเป็นโมเลกุลที่มีขนาดเล็กท่ีร่างกายสามารถดูดซึมผ่าน
ผนังลาํ ไส้เล็กได้ เพือ่ เขา้ สูก่ ระแสเลือด แล้วนําไปใชป้ ระโยชน์
• โปรตีนคุณภาพสูง คือ อาหารโปรตีนท่ีมีกรดอะมิโนที่จําเป็นครบถ้วนและย่อยสลายได้ง่าย ได้แก่
โปรตีนจากสตั ว์ เชน่ เนอ้ื สตั ว์ นม ไข่
• โปรตีนเกษตร คือ อาหารโปรตีนท่ีได้จากพืช ซ่ึงจะมีกรดอะมิโนที่จําเป็นไม่ครบถ้วน เช่น ถ่ัวเหลือง
ขาดเมโทโอนนี และทริปโตเฟน ข้าวสาลี ขา้ วเจา้ ขาดไลซีน
• คุณค่าทางชีววิทยา หมายถึง คุณภาพของอาหารโปรตีนที่สามารถนํามาใช้สร้างเป็นเน้ือเย่ือได้ เช่น
ไข่ มีคณุ คา่ ทางชีววทิ ยา 100% แสดงว่า ถา้ เรารับประทานไข่เข้าไป รา่ งกายสามารถนาํ ไปสร้างเปน็ เน้ือเยอื่ ได้หมด
รา่ งกายของคนแตล่ ะวยั ต้องการโปรตีนในปริมาณทแี่ ตกตา่ งกัน เชน่
- เด็กอ่อน (ช่วงอายุ 3-12 เดือน) มีความต้องการโปรตีนสูงสุด (ประมาณ 2 เท่าของน้ําหนักตัว)
รองลงมา คอื เด็กอายุ 1-6 ปี, 7-12 ปี และ 13-20 ปี ตามลําดับ
- หญิงมีครรภแ์ ละหญงิ ให้นมบุตร ต้องการโปรตนี ในปรมิ าณทีม่ ากกวา่ หญงิ ปกตทิ วั่ ไป
สารอาหารประเภทโปรตีน มีความจําเป็นต่อร่างกายและไม่สามารถทดแทนได้ด้วยสารอาหารชนิดอ่ืนๆ
หากได้รับโปรตีนไม่เพียงพอ จะเกิดโรคขาดโปรตีน ถ้าขาดโปรตีนอย่างรุนแรง จะมีลักษณะพุงโร ก้นปอด
กล้ามเนอ้ื ลีบ เจริญเตบิ โตช้า นา้ํ หนักไมไ่ ด้เกณฑ์ ผมแหง้ แดงและขาดง่าย มีอาการบวมนา้ํ ภูมิคุ้มกันต่ํา อ่อนล้า
เซ่อื งซมึ ฉุนเฉยี ว โกรธงา่ ย
การแปลงสภาพโปรตีน (Denaturation of Protein) คือ กระบวนการที่ทําให้โครงสร้างทางกายภาพ
ของโปรตีนถูกทําลายจนเปล่ียนสภาพไป ไม่สามารถทํางานได้เหมือนเดิม เช่น เกิดการแข็งตัว ตกตะกอน
ไม่ละลายน้ํา ซง่ึ มีสาเหตุดงั น้ี
- เมือ่ ไดร้ บั ความร้อน เช่น เนือ้ ไกท่ ีผ่ ่านการทอดจนกรอบ การต้มไข่ การทําความสะอาดเครื่องมือแพทย์
โดยการใชค้ วามร้อนในหม้อนึ่งอัดความดันท่อี ณุ หภมู ิ 120°C
- เมื่อได้รับสารละลายกรด-เบส เช่น การท่ีผิวหนังโดนกรด การบีบมะนาวใส่ในเนื้อสัตว์ ทําให้เกิด
ตะกอนข่นุ ขาว

วิทยาศาสตร์ เคมี (24) _____________________________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอร์แคมป์ ปที ่ี 27

- เมื่อได้รับไอออนของโลหะหนัก เช่น ไอออนของตะก่ัว สารหนู ปรอท แคดเมียม จึงปฐมพยาบาล
เบ้ืองต้นโดยการกินไขข่ าวดบิ หรอื นมสด เพ่อื ช่วยแกพ้ ษิ จากการกนิ ยาฆา่ แมลง

- เม่ือสัมผัสกับตัวทําละลายบางชนิด เช่น เอทิลแอลกอฮอล์ จึงใช้เช็ดผิวหนังผู้ป่วยก่อนฉีดยา
เนอื่ งจากแอลกอฮอล์จะทาํ ให้โปรตีนในแบคทีเรยี แปลงสภาพ เกิดการแขง็ ตวั ซ่ึงเปน็ การฆ่าเชื้อโรค

3.3 คารโบไฮเดรต

- ได้จากการสังเคราะห์แสงของพชื
- เปน็ ส่วนประกอบของเยือ่ ห้มุ เซลลข์ องส่ิงมชี วี ิตและกระดองสตั ว์
- เป็นแหลง่ พลงั งานหลักของร่างกายส่งิ มชี ีวติ โดยคารโ์ บไฮเดรต 1 กรัม จะให้พลังงาน 4 กโิ ลแคลอรี
- ใหค้ วามอบอนุ่ และชว่ ยควบคมุ อุณหภูมริ ่างกายให้คงท่ี
- เปน็ อาหารทจี่ ําเป็นของเซลล์และเน้อื เยื่อในสมอง
- ชว่ ยป้องกันกลา้ มเนอ้ื
- มสี ตู รทัว่ ไปเป็น (CH2O)n และมชี ือ่ เรียกอีกอยา่ งว่า แซ็กคาไรด์
แบ่ง 3 ประเภท ดังนี้

3.3.1 มอโนแซก็ คาไรด์ (นํ้าตาลโมเลกุลเดยี่ ว) แบ่งเปน็
• น้าํ ตาลทีม่ ีจาํ นวนคาร์บอน 5 อะตอม มสี ตู รโมเลกุลเปน็ C5H10O5 เชน่ ไรโบส
• นํ้าตาลท่ีมีจํานวนคาร์บอน 6 อะตอม มีสูตรโมเลกุลเป็น C6H12O6 แต่มีสูตรโครงสร้าง

ต่างกัน จึงมีสมบตั ิตา่ งกัน เช่น
- กลูโคส เป็นนํ้าตาลโมเลกุลเล็กที่สุดท่ีร่างกายสามารถดูดซึมและนําไปใช้ได้ทันที พบในผลไม้

เช่น องนุ่ อ้อย นาํ้ ผ้งึ ขา้ วและผักตา่ งๆ
- ฟรกุ โตส (ฟรกั โตส) เป็นนํา้ ตาลทมี่ รี สหวานท่ีสุด (หวานกวา่ นาํ้ ตาลทราย 2 เทา่ ) พบในผลไม้

เช่น ส้ม แอปเปล้ิ นาํ้ ผึง้ ข้าวโพด
- กาแลกโทส เปน็ น้ําตาลท่ีมใี นน้ํานม (คน 7% วัว 5%)
หมายเหตุ
- เซลลส์ มองและกล้ามเนอื้ ตอ้ งใชพ้ ลังงานจากน้ําตาลกลูโคส ดังนั้น ถ้าร่างกายมนี ํา้ ตาลกลูโคส

ในเลือดตํ่ากว่าปกติ คือ ตํ่ากว่า 90-100 มิลลิกรัมต่อเลือด 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร ทําให้เกิดอาการวิงเวียน
อ่อนเพลีย ไมม่ ีแรงและถ้าตํา่ มากลงไปอีก อาจเป็นลมหมดสติ

- ผปู้ ว่ ยทไ่ี มส่ ามารถรับประทานอาหารตามปกติได้หรือผู้ป่วยก่อนและหลังผ่าตัด จะได้รับนํ้าเกลือ
ผสมสารละลายนํ้าตาลกลูโคส 0.6-0.9% เขา้ ทางเสน้ เลอื ด

- น้ําตาลกลูโคสและฟรักโตส เมื่อนํามาหมักกับยีสต์จะเกิดการย่อยสลายเปล่ียนเป็นเอทิล-
แอลกอฮอล์หรือเอทานอล

โครงการแบรนด์ซมั เมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27 ____________________________________ วทิ ยาศาสตร์ เคมี (25)

3.3.2 ไดแซ็กคาไรด์ (น้าํ ตาลโมเลกุลคู่)
• เกิดจาก นํ้าตาลโมเลกุลเดี่ยว 2 โมเลกุล มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะเคมี พบมากที่สุด มีสูตร

โมเลกลุ เปน็ C12H22O11
- กลูโคส + กลโู คส = มอลโทส พบในข้าว เมล็ดพืช ใช้ในการทาํ เบยี ร์ อาหารทารก
- กลูโคส + ฟรกั โตส = ซโู ครส หรือน้าํ ตาลทราย พบมากในออ้ ย
- กลูโคส + กาแลกโทส = แลกโทส พบมากในนํา้ นม

หมายเหตุ : แซ็กคารินหรือขัณฑสกร เป็นสารใหค้ วามหวาน 300 เทา่ ของน้ําตาลทราย แต่ทําให้
เกดิ มะเรง็ ในสัตวท์ ดลอง

3.3.3 พอลิแซก็ คาไรด์ (นํ้าตาลโมเลกลุ ใหญ่)
เป็นคาร์โบไฮเดรต ท่ีประกอบด้วย นํ้าตาลกลูโคสจํานวนมากมาเช่ือมต่อกันด้วยพันธะเคมี มี

ลกั ษณะเป็นของแขง็ สขี าว ไม่ละลายนาํ้ ไมม่ รี สหวาน แบ่งเป็น
• แป้ง เกดิ จากกลูโคสหลายพนั โมเลกุลมาต่อเช่ือมกัน โดยมีโครงสร้างแบบสายยาว พบมากในพืช

ประเภทเมล็ดและหัว (ขา้ วเจ้า 75% ขา้ วโพด 50%)
- ละลายนํ้าไดเ้ ลก็ น้อย
- ร่างกายย่อยสลายได้ดว้ ยเอนไซมท์ ม่ี ีในนา้ํ ลาย (อะไมเลส) และนํา้ ย่อยในกระเพาะอาหาร
- เมือ่ แป้งถูกความร้อนจะสลายเปน็ เดก็ ซ์ตริน มีรสหวานเล็กนอ้ ย เหนยี วแบบกาว

• เซลลูโลส เกิดจากกลูโคสประมาณ 50,000 โมเลกุล มาเช่ือมต่อกันแบบสายยาว แต่ละสาย
เรียงขนานกันและมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างสาย ทําให้มีลักษณะเป็นเส้นใย เป็นคาร์โบไฮเดรตท่ีพบมากท่ีสุดใน
ธรรมชาตแิ ละเป็นองคป์ ระกอบทสี่ ําคญั ของผนงั เซลล์ในพืช พบในตน้ ไม้หรือลาํ ตน้ พืช

- ไม่ละลายนํา้
- ร่างกายคนไม่สามารถย่อยสลายได้ แต่วัว ควาย ม้า และสัตว์กีบ ในลําไส้จะมีแบคทีเรีย
และในกระเพาะมีเอนไซม์เซลลเู ลสท่ีสามารถยอ่ ยสลายเซลลูโลสใหเ้ ปน็ กลูโคสได้
- ช่วยกระตุ้นให้ลําไส้ใหญ่เคลื่อนไหว บางชนิดดูดซับน้ําได้ดี จึงทําให้อุจจาระอ่อนนุ่ม จึง
ขบั ถา่ ยได้ง่าย ท้องไมผ่ กู ลดการเกดิ โรคริดสดี วงทวาร ผนงั ลาํ ไส้โปง่ พอง มะเรง็ ลาํ ไส้ใหญ่
- ชว่ ยดดู ซบั กลโู คสและคอเลสเทอรอล ไม่ใหถ้ กู ดดู ซึมเขา้ สผู่ นงั ลําไส้
• ไกลโคเจน เกดิ จากกลูโคสจาํ นวนเปน็ แสนถึงล้านโมเลกุลมาต่อกัน มีโครงสร้างแบบกิ่งก้านสาขา
เป็นคารโ์ บไฮเดรตท่ีมีขนาดใหญท่ สี่ ุด โดยสะสมอยใู่ นเซลล์ของสตั ว์ พบมากในตับและกลา้ มเนอ้ื
เม่ือแป้งย่อยสลายจนได้กลูโคส และจะถูกดูดซึมท่ีลําไส้เล็ก เพื่อไปใช้สลายเป็นพลังงานให้
เพียงพอกับความตอ้ งการ อกี ส่วนหน่ึงจะถกู ลําเลียงไปเก็บไว้ที่ตับ เพ่ือนําไปใช้ในการรักษาระดับกลูโคสในเลือด
และสง่ ไปเลย้ี งสมอง ส่วนทเ่ี หลอื จะถกู เกบ็ สะสมไวใ้ นรปู ของไกลโคเจน ไวท้ ่ตี ับและกลา้ มเน้ือ
เมื่อร่างกายขาดแคลนพลังงาน ไกลโคเจนที่สะสมไว้จะถูกนํามาสลายเป็นกลูโคส โดยทํา
ปฏิกริ ยิ ากบั ก๊าซออกซิเจนที่หายใจเข้าไป ทําให้ไดพ้ ลังงานออกมา เรียกว่า ปฏิกิรยิ าการหายใจระดบั เซลล์

วิทยาศาสตร์ เคมี (26) _____________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปที ี่ 27

ฮอร์โมนอินซูลิน ทําหน้าท่ี ปรับกลูโคสในเลือดให้อยู่ในระดับปกติ คือ ถ้ามีกลูโคสในเลือดมาก
อนิ ซูลนิ จะกระตนุ้ ให้กลูโคสเปล่ียนเป็นไกลโคเจน เก็บสะสมไวท้ ตี่ บั และกล้ามเน้ือ

ดังนั้น ถ้าร่างกายขาดฮอร์โมนอินซูลิน ก็จะไม่เกิดการสร้างไกลโคเจน ทําให้ระดับกลูโคสในเลือดมี
ปริมาณเพ่มิ ขน้ึ ส่วนท่เี กินจะถูกขบั ออกมาทางปสั สาวะ ซง่ึ กค็ ือ อาการของโรคเบาหวาน

กรณที ่ผี ูป้ ว่ ยเปน็ โรคเบาหวานรุนแรง แพทย์จะใช้การฉีดฮอร์โมนอินซูลินเข้าท่ีใต้ผิวหนัง เพ่ือกระตุ้น
ให้ร่างกายไดน้ าํ กลูโคสส่วนเกินไปใช้

หมายเหตุ
- ไคตนิ เป็นพอลิแซก็ คาไรด์ ที่พบในเปลือกของแมลง หอย กงุ้ ปู เปน็ สารทพี่ บเป็นอนั ดบั สองรอง
จากเซลลูโลส นาํ มาใช้ประโยชนใ์ นการผลติ ผลติ ภณั ฑ์ยาและเคร่ืองสําอางได้
- แอสปาร์แทมหรือนํ้าตาลเทียม เป็นสารให้ความหวาน 160 เท่าของน้ําตาลทราย สําหรับ
ผ้ตู อ้ งการลดความอว้ นและผ้ตู อ้ งการควบคุมนํา้ ตาล
เมือ่ ร่างกายตอ้ งการพลังงาน จะเกิดการสลายคาร์โบไฮเดรตเป็นพลังงานในอันดับแรก หากพลังงาน
ยงั ไม่เพียงพอ ร่างกายจะสลายไขมนั และโปรตีน ตามลําดับ
ดังนั้น ถา้ ตอ้ งการลดความอ้วน จึงควรงดอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรต เช่น แป้งและน้ําตาล เพ่ือให้
รา่ งกายสลายไขมนั
การทดสอบสารชวี โมเลกลุ
• โปรตนี สามารถทาํ ปฏกิ ิริยากับสารละลายคอปเปอร์ (II) ซัลเฟต ในสภาพท่ีเปน็ เบส (โซเดียมไฮดรอกไซด์)
จะใหส้ ารที่มีสมี ่วงหรือชมพู
• นํ้าตาลโมเลกุลเดย่ี ว สามารถทาํ ปฏกิ ิริยากบั สารละลายเบเนดกิ ต์ (สฟี า้ ) จะไดต้ ะกอนสแี ดงอฐิ
• แปง้ สามารถทาํ ปฏกิ ริ ยิ ากับทงิ เจอร์ไอโอดนี (สีนาํ้ ตาล) จะได้สารท่ีมสี นี ้ําเงนิ
• แป้ง เตมิ กรดไฮโดรคลอรกิ สามารถทําปฏกิ ิริยากบั สารละลายเบเนดิกต์ จะได้ตะกอนสแี ดงอิฐ

3.4 กรดนวิ คลอี ิก

แบ่งเป็น 2 ชนดิ คือ
- กรดดีออกซีไรโบนิวคลีอิก (Deoxyribonucleic acid : DNA) พบในนิวเคลียสของเซลล์ ทําหน้าท่ี
เป็นสารพนั ธุกรรม
- กรดไรโบนิวคลีอิก (Ribonucleic acid : RNA) พบในนิวเคลียสและไซโทพลาสซึมของเซลล์ ทําหน้าท่ี
ในการสังเคราะหโ์ ปรตีนภายในเซลล์
ประกอบดว้ ยหนว่ ยยอ่ ย เรียกว่า นวิ คลีโอไทด์ แบง่ เปน็ 3 สว่ น คือ
1. โมเลกลุ นาํ้ ตาลไรโบส
2. ไนโตรเจน - เบส
3. หมฟู่ อสเฟต

โครงการแบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ ปีท่ี 27 ____________________________________ วทิ ยาศาสตร์ เคมี (27)

DNA ประกอบด้วย นิวคลีโอไทด์ ต้ังแต่แสนถึงหลายล้านหน่วย มาเช่ือมต่อกันด้วยพันธะเคมี เกิดเป็น
สายยาว 2 สายพันกนั เปน็ เกลียว โดยเกาะกนั ดว้ ยคู่ของไนโตรเจนเบสท่ีเฉพาะเจาะจง คอื

- อะดีนนี (A) กบั ไทมนี (T)
- กวานนี (G) กบั ไซโตซนี (C)
RNA ประกอบด้วย นิวคลีโอไทด์มาเชอ่ื มตอ่ กนั เพียง 1 สาย โดยมีไนโตรเจนเบส คือ อะดีนีน (A) กวานีน (G)
ไซโตซีน (C) และ ยูราซลิ (U)

CC

T

วิทยาศาสตร์ เคมี (28) _____________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27

แบบฝกหัด

พจิ ารณาตารางตอ่ ไปนี้ แลว้ ตอบคาํ ถามข้อ 1-2

กรด สตู รโครงสร้างอย่างงา่ ย จุดหลอม
ไขมนั เหลว (°C)

A CH3 (CH2)14 COOH 63
B CH3 (CH2)16 COOH 70
C CH3 (CH2)7 CH CH (CH2)7 COOH 13
D CH3 (CH2)4 CH CH CH2 CH CH (CH2)7COOH -9

1. ขอ้ ใดไมใ่ ชข่ ้อสรปุ ทไี่ ดจ้ ากตารางข้อมลู นี้
1) กรดไขมัน A และ B เป็นของแขง็ ที่อณุ หภูมหิ ้อง
2) ในน้าํ มนั สตั ว์มกี รดไขมนั A และ B มากกวา่ กรดไขมนั C และ D
3) กรดไขมนั C และ D เกดิ กลิ่นเหม็นหนื ยาก
4) กรดไขมันทีม่ ีจาํ นวนพันธะคูม่ ากกว่าจะมีจุดหลอมเหลวน้อยกวา่ หากมจี าํ นวนคารบ์ อนเท่ากัน

2. ขอ้ ใดผดิ เกี่ยวกบั อนิ ซลู ิน
1) เป็นโปรตีน
2) เป็นฮอรโ์ มน
3) ใช้ฉดี ให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานบางชนดิ
4) กระตุ้นให้ไกลโคเจนเปลยี่ นเปน็ กลูโคส

3. เซลลูโลสและแปง้ เหมอื นกนั อยา่ งไร
1) เปน็ แหลง่ พลังงานให้ร่างกาย
2) ชว่ ยกระตนุ้ ใหล้ าํ ไสใ้ หญเ่ คลอ่ื นไหว
3) ชนิดของมอนอแซ็กคาไรดท์ เ่ี ป็นองคป์ ระกอบ
4) พนั ธะเคมรี ะหวา่ งมอนอแซก็ คาไรดท์ เ่ี ปน็ องคป์ ระกอบ

4. สารในขอ้ ใดใหต้ ะกอนสีแดงอฐิ เมอื่ นาํ มาทําปฏิกิรยิ ากับสารละลายเบเนดิกต์
1) ขา้ วสวย
2) นํา้ มันพืช
3) ไข่ดาว
4) กลโู คส

โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27 ____________________________________ วทิ ยาศาสตร์ เคมี (29)

5. อาหารในข้อใดมคี ณุ ค่าทางชีววทิ ยาของโปรตนี สงู สุด
1) ถ่ัวลสิ ง
2) ขา้ วเจา้
3) ไข่
4) เน้ือหมู

6. ไนโตรเจนเบสชนิดใดไมพ่ บในกรดไรโบนิวคลอิ กิ
1) ไทมนี
2) ยรู าซลิ
3) กวานีน
4) ไซโตซนี

7. ส่วนใดพบอยู่ด้านในสุดของเกลียวดเี อน็ เอ
1) หมูฟ่ อสเฟต
2) หมู่คาร์บอกซิเลต
3) ไนโตรเจนเบส
4) น้ําตาลเพนโตส

8. สารใดมีชนิดของน้ําตาลที่เป็นองคป์ ระกอบหลากหลายมากทีส่ ดุ
1) เซลลูโลส
2) แลกโตส
3) มอลโตส
4) ไกลโคเจน

9. เมอ่ื รา่ งกายตอ้ งการพลงั งานจะสลายสารชวี โมเลกลุ ชนิดใดเป็นอันดับแรก
1) คาร์โบไฮเดรต
2) ไขมนั
3) โปรตีน
4) กรดนิวคลอี กิ

วิทยาศาสตร์ เคมี (30) _____________________________________โครงการแบรนด์ซมั เมอร์แคมป์ ปีท่ี 27

เฉลย

1. 3) 2. 4) 3. 3) 4. 4) 5. 3) 6. 1) 7. 3) 8. 2) 9. 1)

1. เฉลย 3) กรดไขมัน C และ D เกดิ กลิน่ เหม็นหืนยาก
กรดไขมัน C และ D มีพันธะคู่ แสดงว่า เป็นกรดไขมันชนิดไม่อิ่มตัว จะสามารถทําปฏิกิริยากับ

แกส๊ ออกซเิ จนได้งา่ ย ทําให้เกดิ กลนิ่ เหม็นหนื ได้ง่าย

2. เฉลย 4) กระตนุ้ ใหไ้ กลโคเจนเปลย่ี นเป็นกลโู คส
อินซูลิน เป็นฮอร์โมนท่ีช่วยกระตุ้นให้นํ้าตาลกลูโคสในเลือดเปล่ียนเป็นไกลโคเจน ทําให้ระดับ

น้าํ ตาลในเลือดลดลง ดงั นนั้ ถา้ ขาดฮอร์โมนอนิ ซลู นิ จะทําใหเ้ ปน็ โรคเบาหวาน
ฮอร์โมนทกุ ชนิด เปน็ สารประเภทโปรตีน

3. เฉลย 3) ชนิดของมอนอแซก็ คาไรด์ท่ีเป็นองคป์ ระกอบ
แป้งและเซลลูโลส เกิดจาก กลูโคสจํานวนมากมารวมกัน โดยแป้ง เป็นแหล่งพลังงานให้

รา่ งกาย ส่วนเซลลูโลสร่างกายคนย่อยสลายไม่ได้ แต่จะช่วยกระตุ้นให้ลําไส้ใหญ่เคลื่อนไหว มีประโยชน์ต่อ
ระบบขบั ถา่ ย
4. เฉลย 4) กลูโคส

สารทใ่ี ห้ตะกอนสแี ดงอฐิ เม่ือนาํ มาทําปฏิกิริยากับสารละลายเบเนดิกต์ คือ น้ําตาลโมเลกุลเดยี่ ว

5. เฉลย 3) ไข่
คุณค่าทางชีววิทยา คือ คุณภาพของอาหารประเภทโปรตีนท่ีใช้ในการสร้างเน้ือเยื่อ โดยไข่

สามารถสร้างเนือ้ เยอ่ื ได้ 100%

6. เฉลย 1) ไทมนี
ไนโตรเจนเบส ท่ีพบในกรดไรโบนิวคลีอกี หรือ RNA คอื อะดีนีน ยรู าซิล กวานนี ไซโตซนี

7. เฉลย 3) ไนโตรเจนเบส
DNA ประกอบด้วย พอลินวิ คลีโอไทด์ 2 สายพันเป็นเกลียววนขวา โดยด้านในสุดจะเกาะกันด้วย

คู่ไนโตรเจนเบสทีเ่ หมาะสม
8. เฉลย 2) แลกโตส

แลกโตส ประกอบด้วย นาํ้ ตาล 2 ชนิด คือ กลูโคสและกาแลกโตส ส่วนมอลโตส เซลลูโลส และ
ไกลโคเจน จะเกดิ จากนํา้ ตาลกลูโคสเท่าน้ัน
9. เฉลย 1) คาร์โบไฮเดรต

คารโ์ บไฮเดรต เป็นแหล่งพลังงานหลักของส่งิ มีชีวติ ซ่ึงร่างกายจะสลายนํามาใช้เป็นอันดับแรก
เช่น คน จะไดพ้ ลังงานหลักมาจากการกินขา้ ว (แปง้ )

โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปที ี่ 27 ____________________________________ วทิ ยาศาสตร์ เคมี (31)

บทที่ 4 ปโตรเลียม

4.1 การเกดิ และแหลงปโตรเลียม

ปโิ ตรเลียม จัดเปน็ เชือ้ เพลิงฟอสซิลหรือเช้ือเพลงิ ซากดึกดําบรรพ์ เกดิ จาก ซากพชื ซากสตั ว์ท่ีตายทับถม
อยู่ใต้ทรายและโคลนตมเป็นเวลานาน จนถูกย่อยสลายเกิดเป็นธาตุคาร์บอนและไฮโดรเจน เมื่อถูกกดทับอยู่ใต้
เปลอื กโลกทีม่ คี วามดันและอุณหภูมสิ ูง จะรวมตวั กนั เปน็ สารประกอบไฮโดรคาร์บอนหลายชนิดปะปนกนั

- มสี ถานะเปน็ ของเหลว คือ นํ้ามนั ดบิ หรอื นํ้ามันปิโตรเลียม
- มีสถานะเป็นแกส๊ คอื แกส๊ ธรรมชาติ
ปโิ ตรเลียมถูกกักเก็บภายใตพ้ น้ื โลกในชน้ั หินทรายทอ่ี ย่รู ะหวา่ งชนั้ หนิ ดนิ ดานที่โก่งตัวขึ้นเป็นรปู กระทะควํ่า
ท่รี ะดับความลกึ ประมาณ 1-3 กโิ ลเมตรจากผิวโลก เน่อื งจาก

หินทราย เป็นหินมีรูพรุนจึงยอมให้น้ําและปิโตรเลียมซึมผ่านได้ง่าย ปิโตรเลียมจึงสามารถแทรกอยู่ใน
ชอ่ งวา่ งระหว่างเมด็ ทราย

หนิ ดินดาน เปน็ หนิ ทึบ จงึ เป็นตัวกักเก็บและปอ้ งกันการระเหยของปิโตรเลียม
การสํารวจปโิ ตรเลียมเบอื้ งต้น คือ
- การสํารวจทางธรณวี ทิ ยา ด้วยการทําแผนทีภ่ าพถา่ ยทางอากาศ
- การสาํ รวจธรณพี นื้ ผวิ โดยการเก็บตัวอย่างหิน ศึกษาลักษณะของหิน วิเคราะห์ซากพืชซากสัตว์ที่อยู่
ในหิน เพ่ือช่วยคาดคะเนโอกาสพบโครงสร้างและชนิดของหินท่ีเอื้ออํานวยต่อการกักเก็บปิโตรเลียม โดยใช้
เคร่อื งมือตรวจสอบทางธรณีวทิ ยา เชน่ เครอ่ื งมือวดั ความเร็วของคลื่นไหวสะเทอื น

วทิ ยาศาสตร์ เคมี (32) _____________________________________โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27

- การสํารวจด้วยการวัดค่าความโน้มถ่วงของโลก เพ่ือทราบชนิดของช้ันหินใต้ผิวโลก จะช่วยกําหนด
ขอบเขตและโครงสร้างของแอ่งใต้ผวิ ดิน

- การสํารวจดว้ ยการวัดคลื่นไหวสะเทือน จะช่วยบอกให้ทราบตําแหน่ง รูปร่าง ลักษณะและโครงสร้าง
ของชน้ั หนิ ใต้ดิน

- การเจาะสาํ รวจ เพอื่ นํามาใชใ้ นการตดั สินถงึ ความเป็นไปได้ในเชงิ เศรษฐกิจ
ประเทศไทยพบแหล่งนํ้ามันดิบครั้งแรกที่ อําเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ (พ.ศ. 2464) ต่อมาพบท่ีอําเภอ
ลานกระบือ จงั หวัดกําแพงเพชร เรียกว่า แหล่งสิริกิติ์ ซ่ึงสามารถกลั่นน้ํามันได้ประมาณ 20,000 บาเรลต่อวัน
(1 บาร์เรล มีคา่ เท่ากับ 158.987 ลิตร)

แผนที่การค้นพบปิโตรเลียมในประเทศไทย
โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปที ี่ 27 ____________________________________ วทิ ยาศาสตร์ เคมี (33)

4.2 การกล่นั นา้ํ มันดิบและผลติ ภณั ฑ

นา้ํ มนั ดบิ สว่ นมากมสี ีดาํ หรอื สนี า้ํ ตาล มสี มบัตแิ ตกต่างกนั ตามแหลง่ ที่พบ ประกอบดว้ ยคาร์บอนร้อยละ
85-90, ไฮโดรเจนร้อยละ 10-15, กํามะถันร้อยละ 0.001-7 และออกซิเจนร้อยละ 0.001-5 นอกน้ันเป็น
ไนโตรเจนและโลหะอ่ืนๆ

การกลั่นนา้ํ มันปิโตรเลยี ม เรียกว่า การกลั่นลําดับส่วน มหี ลักการ คอื
• ใหค้ วามร้อนแก่นํา้ มนั ดิบ จนมอี ณุ หภูมสิ ูงประมาณ 350-400°C
• ฉีดน้ํามันดิบเข้าทางด้านล่างของหอกลั่น ซ่ึงจะมีอุณหภูมิสูงสุด และจะมีอุณหภูมิลดลงเรื่อยๆ ตาม
ความสงู ของหอกลน่ั
• สารประกอบไฮโดรคาร์บอนต่างๆ จะระเหยลอยขึ้นด้านบนและควบแน่นเป็นของเหลวในแต่ละช่วง
ของหอกล่ัน ได้ผลิตภณั ฑต์ า่ งๆ ท่มี ชี ่วงจุดเดอื ดลดหลั่นลงมา ตามลําดับ ดังน้ี

- ด้านบนสุดของหอกลั่น จะได้สารที่มีสถานะเป็นแก๊สออกมา ซ่ึงจะมีจุดเดือดตํ่าและมีปริมาณ
คาร์บอนน้อย เรียงตามลําดับ คือ แก๊สมีเทน (CH4) แก๊สอีเทน (C2H6) แก๊สโพรเพน (C3H8) แก๊สบิวเทน
(C4H10)

- ตรงกลางของหอกล่ัน จะได้สารที่มีสถานะเป็นของเหลว เรียงตามลําดับ คือ น้ํามันเบนซิน
น้าํ มันกา๊ ด นํา้ มนั ดีเซล น้ํามันหล่อล่ืน นา้ํ มันเตา

- ด้านลา่ งของหอกลั่น จะได้สารท่มี ีสถานะเป็นของแข็ง ซ่ึงมีจุดเดือดสูง และมีปริมาณคาร์บอนมาก
เรียงตามลาํ ดับ คือ ไข ยางมะตอย

ผลิตภณั ฑ์ทไ่ี ดจ้ ากการกล่ันปิโตรเลยี ม สมบตั ิ และการใชป้ ระโยชน์

ผลิตภณั ฑท์ ี่ได้ จุดเดอื ด สถานะ จาํ นวน การใชป้ ระโยชน์
(°C) C

แกส๊ ปโิ ตรเลยี ม < 30 แกส๊ 1-4 ทําสารเคมี เชื้อเพลิงแกส๊ หงุ ตม้
แนฟทาเบา 30-110 ของเหลว 5-7 ตัวทําละลาย
แนฟทาหนกั 65-170 ของเหลว 6-12 น้ํามันเบนซิน
น้าํ มนั กา๊ ด 170-250 ของเหลว 10-14 นํา้ มันกา๊ ด เช้ือเพลงิ เคร่อื งยนต์ไอพ่น
นาํ้ มันดเี ซล 250-340 ของเหลว 14-19 เครือ่ งยนตด์ ีเซล
น้าํ มนั หลอ่ ลน่ื > 350 เหลวข้น 19-35 น้าํ มันหล่อลืน่
นํา้ มันเตา > 400 เหลวหนดื 35-40 เชื้อเพลิงเคร่อื งจกั ร
ไข > 400 กง่ึ แขง็ กงึ่ เหลว 40-50 ใช้ทําเทียนไข เคร่อื งสาํ อาง จารบี
ยางมะตอย > 400 กง่ึ แข็งกง่ึ เหลว > 50 ยางมะตอย

วทิ ยาศาสตร์ เคมี (34) _____________________________________โครงการแบรนด์ซมั เมอรแ์ คมป์ ปที ี่ 27

4.3 การแยกแกสธรรมชาติและผลิตภณั ฑ

ประเทศไทยพบในบรเิ วณอา่ วไทย ในปี พ.ศ. 2516 และมปี ริมาณมากพอในเชิงพาณิชย์ นอกจากนี้ยังพบท่ี
อาํ เภอนา้ํ พอง จังหวดั ขอนแก่น ในปี พ.ศ. 2524

ประกอบด้วย สารไฮโดรคาร์บอนท่ีมีคาร์บอน 1 อะตอม เรียกว่า แก๊สมีเทน ซ่ึงพบประมาณร้อยละ 80-95
นอกนัน้ เป็นสารไฮโดรคารบ์ อนท่มี คี าร์บอน 2 - 5 อะตอม

การนํามาใช้ประโยชน์ต้องขุดเจาะข้ึนมา ซ่ึงมีท้ังของเหลวและก๊าซผสมกัน จึงต้องแยกออกจากกัน
แล้วสง่ แก๊สไปกําจัดสารเจือปน เชน่ ไอปรอท CO2 และน้ํา จากนั้นผา่ นแก๊สเข้าสูห่ อกล่ันเพ่ือแยกเปน็ แกส๊ ชนิดตา่ งๆ

4.4 สารประกอบไฮโดรคารบ อน

คือ สารทีป่ ระกอบดว้ ยธาตุ C และ H เทา่ น้นั
• เป็นสารทไ่ี ม่ละลายน้ํา
• เกดิ ปฏกิ ิรยิ าการเผาไหมไ้ ดด้ ี แบง่ เป็น

- ไฮโดรคาร์บอนอ่ิมตัว คือ มีพันธะระหว่างคาร์บอนเป็นพันธะเดี่ยวท้ังหมด มีสูตรเป็น CnH2n+2
(เมอื่ n คือ จํานวนอะตอมคารบ์ อน)

- ไฮโดรคาร์บอนไม่อิ่มตัว คือ มีพันธะระหว่างคาร์บอนเป็นพันธะคู่ (CnH2n) หรือพันธะสาม
(CnH2n-2)

สารประกอบไฮโดรคารบ์ อนท่ไี ด้จากการกลัน่ ปโิ ตรเลยี มและแก๊สธรรมชาตสิ ่วนใหญเ่ ป็นประเภทอิม่ ตัว
ปฏิกริ ยิ าเผาไหม้ หมายถึง ปฏกิ ริ ยิ าระหวา่ งสารไฮโดรคารบ์ อนกบั แก๊สออกซเิ จน แบ่งเปน็
- การเผาไหม้สมบูรณ์ เกิดขึ้นเม่ือมีแก๊สออกซิเจนเพียงพอ จะได้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ และนํ้า
ออกมา โดยไมม่ เี ถา้ ถ่าน แกส๊ พษิ หรอื ฝุ่นละอองเกิดข้ึน มีสูตรทั่วไป คือ

CXHY + (X + Y/4)O2 → XCO2 + Y/2(H2O) + พลังงาน
เช่น แก๊สมเี ทน จะเกิดการเผาไหม้ที่สมบรู ณ์จงึ จดั เปน็ พลังงานสะอาด เพราะไม่ทําให้เกิดมลภาวะ
ต่อส่งิ แวดล้อม
- การเผาไหม้ไม่สมบูรณ์ เกิดข้ึนเมื่อมีแก๊สออกซิเจนน้อย ทําให้เกิดแก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์
เพิ่มขน้ึ มา ซ่ึงเป็นอนั ตรายต่อระบบหายใจ
ถา้ ได้รับมากเกินไปอาจเสียชวี ติ เพราะแกส๊ คาร์บอนมอนอกไซดจ์ ะไปจบั กบั ฮีโมโกลบินในเม็ดเลือด
แดงทําใหเ้ ลอื ดลาํ เลียงออกซเิ จนไปสเู่ ซลล์ได้น้อยลง และรับกา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซดจ์ ากเซลล์มายงั ปอดได้นอ้ ยลง
ในกรณีไฟไหม้ จะมีแก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ เขม่าและแก๊สพิษเกิดข้ึน เม่ือเราหายใจเข้าไป
จะส่งผลให้ร่างกายขาดออกซิเจน จึงควรป้องกันโดยการใช้ผ้าชุบนํ้าเปียกปิดจมูกและปาก ทําตัวให้ตํ่าแล้วออก
จากบริเวณน้ันโดยเรว็

โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27 ____________________________________ วทิ ยาศาสตร์ เคมี (35)

4.5 เชือ้ เพลิงในชวี ติ ประจาํ วัน

- แกส๊ มีเทน เปน็ เช้ือเพลงิ สาํ หรบั ผลติ กระแสไฟฟา้ ใช้ในรถยนต์ เรยี กวา่ แกส๊ ธรรมชาติ สําหรับยานยนต์
: NGV ( Natural Gas for Vehicles) หรือแก๊สธรรมชาติอัด : CNG (Compress Natural Gas) เพื่อลดมลพิษ
จากไอเสีย

- แก๊สหุงต้ม ประกอบด้วย แก๊สโพรเพน (C3H8) และแก๊สบิวเทน (C4H10) ท่ีถูกอัดด้วยความดันสูง
จนทาํ ใหม้ สี ถานะเปน็ ของเหลว หรือเรยี กวา่ LPG (Liquified Petroleum Gas)

- นํ้ามันเบนซิน เป็นของผสมระหว่างไอโซออกเทน (C8H18) และเฮปเทน (C7H16) เป็นเช้ือเพลิง
ทีเ่ หมาะกับเครื่องยนตแ์ กส๊ โซลีน

เลขออกเทน (Octane Number) เปน็ ตัวเลขบอกคณุ ภาพของนา้ํ มนั เบนซิน โดยกาํ หนดให้
: ไอโซออกเทนบรสิ ทุ ธ์ิ มีประสิทธภิ าพการเผาไหม้ดี ทําใหเ้ ครือ่ งยนต์เดินเรยี บ เป็นเลขออกเทน 100
: นอร์มอลเฮปเทนบริสุทธ์ิ มีประสิทธิภาพการเผาไหม้ไม่ดี ทําให้เคร่ืองยนต์เกิดการกระตุก เป็น
เลขออกเทน 0 ตวั อย่างเช่น

เลขออกเทน 95 หมายถึง นํ้ามันเบนซินท่ีมีประสิทธิภาพการเผาไหม้เหมือนกับของผสมท่ีมี
อัตราสว่ นของไอโซออกเทน 95 สว่ น และเฮปเทน 5 ส่วน

แต่นํ้ามนั ทีก่ ลน่ั ได้ จะมีเลขออกเทนตํา่ กว่า 75 จึงตอ้ งมีการเติมสารเพอ่ื เพิ่มเลขออกเทน เชน่
• สารเตตระเมทลิ เลดหรอื เตตระเอทิลเลด แต่เมื่อเผาไหม้จะมีไอตะก่ัวออกมา จึงมีการห้ามใช้สารน้ี
ในปจั จบุ ัน
• เมทลิ เทอร์เชยี รบี ิวทิลอีเทอร์ (MTBE) ปัจจบุ นั ใชส้ ารนี้ เรยี กวา่ นํ้ามนั ไร้สารตะกัว่
- น้ํามันดีเซลหมุนเร็ว เป็นเช้ือเพลิงสําหรับเคร่ืองยนต์ดีเซล บอกคุณภาพโดยใช้เลขซีเทน
โดยเปรียบเทยี บกับ
: ซเี ทนบรสิ ุทธิ์ มีประสทิ ธภิ าพการเผาไหมด้ ี เปน็ เลขซีเทน 100
: แอลฟาเมทลิ แนฟทาลีนบริสุทธ์ิ มปี ระสิทธิภาพการเผาไหมไ้ ม่ดี เป็นเลขซีเทน 0
- เชื้อเพลิงฟอสซิล ได้แก่ ปิโตรเลียม แก๊สธรรมชาติ และถ่านหิน ปัจจุบันมีปริมาณลดลง โดยมี
การประเมนิ ว่า ปโิ ตรเลียมจะมีใช้ไดอ้ กี 50 ปี ส่วนถ่านหิน จะมใี ชไ้ ด้อีก 80-90 ปี แตเ่ ช้อื เพลิงฟอสซิล ก่อให้เกิด
มลภาวะทางอากาศมาก
- พลังงานทดแทน มีสิ่งท่ีตอ้ งคํานึงถงึ 2 ประการ คอื
• ควรเปน็ พลังงานสะอาด ไมท่ ําลายสิง่ แวดลอ้ ม หรอื มีผลน้อยมาก
• เป็นพลังงานที่ใช้ได้อย่างย่ังยืน หรือสามารถนํากลับมาใช้ใหม่ได้ เช่น พลังงานแสงอาทิตย์
โดยพลังงานความร้อนเพียง 1% ที่ส่องบนประเทศไทย สามารถนํามาแปลงเป็นพลังงานไฟฟ้า ได้เทียบเท่ากับ
การใชน้ ํา้ มนั ดิบ 5-7 ล้านตันต่อปี
การผลิตเอทานอลจากผลผลิตทางการเกษตร เพ่ือนํามาผสมกับน้ํามันเบนซิน ในอัตราส่วน 1 : 9
เรยี กว่า แกส๊ โซฮอล์ จะมีประสทิ ธิภาพใกลเ้ คียงกับนา้ํ มันเบนซิน 95

วิทยาศาสตร์ เคมี (36) _____________________________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27

แบบฝกหดั

1. ข้อใดถูกเก่ยี วการกล่ันนํา้ มันปโิ ตรเลียม
1) สารที่มีจํานวนคารบ์ อนนอ้ ยๆ จะออกมาดา้ นลา่ งของหอกล่นั
2) โรงกลั่นนาํ้ มันส่วนใหญ่ในประเทศไทย มักอยู่ใกลแ้ หล่งนาํ้ มนั ดบิ
3) ใช้แยกสารไฮโดรคาร์บอนตัง้ แต่ 1 ไปจนถงึ มากกว่า 50 อะตอม
4) เปน็ การใหค้ วามร้อนแก่นํา้ มันดิบ 150-200°C แล้วจงึ ฉีดเขา้ หอกลน่ั ท่มี ีอุณหภูมิลดหล่นั กัน

2. กระทรวงพลังงานส่งเสริมการใช้แก๊สธรรมชาติสําหรับรถยนต์ (เอ็นจีวี) แทนน้ํามันเบนซินโดยเฉพาะกับ
รถแทก็ ซ่ี แก๊สธรรมชาตทิ ใ่ี ช้เปน็ เช้อื เพลงิ ในรถยนตค์ อื แกส๊ อะไร
1) โพรเพน
2) บิวเทน
3) มีเทน
4) อีเทน

3. ข้อใดผดิ เก่ยี วกบั แก๊สหงุ ตม้
1) ไดจ้ ากการกลั่นปิโตรเลยี ม
2) ได้จากการแยกแก๊สธรรมชาติ
3) ขายในรูปของเหลวบรรจถุ ังเหล็ก
4) เปน็ ของผสมระหวา่ งโพรเพนและมเี ทน

4. ข้อใดไมถ่ กู ตอ้ งเกี่ยวกับปฏิกริ ิยาการเผาไหม้ที่สมบรู ณ์
1) ให้แกส๊ คาร์บอนมอนอกไซดแ์ ละนา้ํ
2) ไม่มเี ถ้าหรอื ฝนุ่ ละอองเกดิ ขน้ึ
3) ตอ้ งมปี ริมาณแก๊สออกซิเจนทีเ่ พียงพอ
4) เป็นปฏิกริ ิยาระหวา่ งสารไฮโดรคารบ์ อนกับออกซเิ จน

5. ขอ้ ใดผิด
1) การผลิตไบโอดีเซลใช้ปฏกิ ิรยิ าการเตรยี มเอสเทอร์
2) แกส๊ โซฮอล์เปน็ น้ํามันเชือ้ เพลิงที่มสี ่วนผสมของเอทานอล
3) เมลด็ สบู่ดําเป็นสว่ นของพืชทีน่ ํามาเตรียมเป็นแก๊สโซฮอล์ได้
4) ไบโอดเี ซลเป็นน้าํ มนั เชอ้ื เพลงิ ที่ได้จากน้ํามันพชื หรือไขมนั สตั ว์

6. ข้อใดกล่าวถงึ เลขออกเทนไม่ถูกต้อง
1) เป็นตวั แสดงคณุ ภาพของนํ้ามันดเี ซลและเบนซนิ
2) นํา้ มันไรส้ ารตะก่ัวมกี ารเติมเมทิลเทอร์เชียรบี ิวทลิ อเี ทอร์ เพ่ือเพ่ิมเลขออกเทน
3) สารเตตระเมทลิ เลดช่วยเพิม่ เลขออกเทน แตก่ ารเผาไหม้จะให้ไอของตะกว่ั
4) น้ํามันที่มีเลขออกเทน 95 มีประสิทธิภาพการเผาไหม้เหมือนกับของผสมที่มีไอโซออกเทน 95% และ
นอรม์ อลเฮปเทน 5%

โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27 ____________________________________ วทิ ยาศาสตร์ เคมี (37)

7. น้ํามนั ชนิดใดมจี ดุ เดอื ดต่ําท่สี ดุ
1) นํา้ มนั ก๊าด
2) นา้ํ มนั เบนซิน
3) นํา้ มนั ดีเซล
4) นาํ้ มันหลอ่ ล่ืน

8. น้ํามันเบนซินท่ีมีเลขออกเทนเป็น 75 มีประสิทธิภาพการเผาไหม้เหมือนของผสมของไอโซออกเทน 75
สว่ นกับสารใดอีก 25 สว่ น
1) เอทานอล
2) เฮปเทน
3) ซเี ทน
4) เมทิลเทอร์เชยี รีบิวทิลอีเทอร์

วิทยาศาสตร์ เคมี (38) _____________________________________โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27

เฉลย

1. 3) 2. 3) 3. 4) 4. 1) 5. 3) 6. 1) 7. 2) 8. 2)

1. เฉลย 3) ใชแ้ ยกสารไฮโดรคาร์บอนตัง้ แต่ 1 ไปจนถึงมากกวา่ 50 อะตอม
การกลั่นนํ้ามันปิโตรเลียม เรียกว่า การกลั่นลําดับส่วน โดยเป็นการให้ความร้อนแก่นํ้ามันดิบ

350-400°C แล้วจึงฉีดเข้าหอกล่ันท่ีมีอุณหภูมิลดหลั่นกัน สารที่มีจํานวนคาร์บอนน้อยๆ จะออกมา
ดา้ นบนของหอกล่ัน

โรงกลั่นน้าํ มันส่วนใหญ่ในประเทศไทย มักอยู่ใกล้แหล่งแก๊ส เนื่องจากประเทศไทยมีแหล่งแก๊ส
ทใี่ หป้ ริมาณแก๊สมากกว่าปริมาณน้าํ มนั จากแหล่งนํ้ามัน เช่น โรงกล่ันมาบตาพุด จ.ระยอง โรงกล่ันขนอม
จ.นครศรีธรรมราช ซงึ่ อย่ใู กลแ้ หล่งแก๊สบงกช กลางอา่ วไทย
2. เฉลย 3) มีเทน

แก๊สมเี ทน (CH4) ใชเ้ ปน็ แกส๊ ธรรมชาตสิ ําหรบั รถยนต์ (เอ็นจีวี) แทนนํา้ มันเบนซิน
3. เฉลย 4) เป็นของผสมระหว่างโพรเพนและมีเทน

แกส๊ หงุ ต้ม เปน็ ของผสมระหว่างโพรเพนและบวิ เทน
4. เฉลย 1) ใหแ้ ก๊สคาร์บอนมอนอกไซดแ์ ละนาํ้

ปฏิกิริยาการเผาไหม้ที่สมบูรณ์ เป็นปฏิกิริยาระหว่างสารไฮโดรคาร์บอนกับออกซิเจน โดยมี
ปรมิ าณแก๊สออกซิเจนท่เี พียงพอ ให้แกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์และนาํ้ โดยไมม่ ีเถา้ หรือฝนุ่ ละอองเกิดขึน้
5. เฉลย 3) เมล็ดสบดู่ ําเป็นส่วนของพืชท่ีนาํ มาเตรียมเป็นแกส๊ โซฮอล์ได้

ผิด เพราะเมลด็ สบ่ดู าํ เปน็ สว่ นของพชื ที่นํามาเตรียมเปน็ ไบโอดเี ซล
6. เฉลย 1) เปน็ ตวั แสดงคณุ ภาพของนํ้ามันดเี ซลและเบนซนิ

เลขออกเทน เป็นตวั เลขแสดงคณุ ภาพของนาํ้ มนั เบนซิน
เลขซเี ทน เปน็ ตวั เลขแสดงคณุ ภาพของนํา้ มันดเี ซล
7. เฉลย 2) นา้ํ มันเบนซิน
นํา้ มนั ทมี่ ีจุดเดือดตาํ่ จะกลนั่ ตวั ออกมากอ่ น เรียงตามลําดับ ดังนี้ เบนซิน ก๊าด ดีเซล หลอ่ ลนื เตา
8. เฉลย 2) เฮปเทน
น้าํ มนั เบนซนิ เป็นของผสมระหว่างไอโซออกเทนกับเฮปเทน

โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปที ่ี 27 ____________________________________ วิทยาศาสตร์ เคมี (39)

บทท่ี 5 พอลิเมอร

คือ สารประกอบท่มี โี มเลกลุ ขนาดใหญ่ ท่ปี ระกอบดว้ ยหนว่ ยยอ่ ยซํ้าๆ กัน จํานวนมากมาเชื่อมต่อกันด้วย
พนั ธะเคมี ซ่ึงเรยี กวา่ มอนอเมอร์

: ถา้ มอนอเมอร์เปน็ สารชนดิ เดยี วกัน เรยี กวา่ โฮโมพอลิเมอร์ เช่น แป้ง เซลลโู ลส ยางพารา
: ถ้ามอนอเมอร์เป็นสารตา่ งชนดิ กนั เรยี กวา่ โค-พอลเิ มอร์ หรอื พอลเิ มอรร์ ว่ ม เชน่ โปรตีน

5.1 พอลเิ มอรธ รรมชาติ และพอลิเมอรส งั เคราะห

- พอลิเมอร์ธรรมชาติ คือ พอลิเมอร์ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เช่น แป้ง เซลลูโลส โปรตีน
กรดนิวคลีอกิ ยางพารา

- พอลิเมอรส์ งั เคราะห์ คือ การนาํ มอนอเมอร์มาทําปฏิกิริยาเคมี ภายใต้สภาวะที่เหมาะสม จนเกิดเป็น
สารท่ีมขี นาดใหญ่ เชน่ เส้นใยสงั เคราะห์ ยางสงั เคราะห์ พลาสตกิ

5.2 การเกิดพอลิเมอร

กระบวนการเกดิ พอลเิ มอร์ เรียกว่า ปฏิกริ ยิ าพอลเิ มอไรเซชนั (Polymerization) แบง่ เป็น
- แบบควบแนน่ เกดิ จาก มอนอเมอร์รวมตัวกนั ทางเคมีในสภาวะที่เหมาะสม แล้วได้พอลิเมอร์และสาร
โมเลกุลเล็ก เช่น นํ้าหรอื สารอ่ืนเกิดข้ึนดว้ ย เช่น การเกิดแป้ง เกดิ จากกลโู คสจาํ นวนมากมารวมตวั กันทางเคมี

กลูโคส + กลูโคส + กลโู คส + ............................. → แปง้ + น้ํา
นอกจากนี้ ยงั มีพอลิเมอร์อ่นื ๆ อีก เช่น เซลลโู ลส โปรตีน ไนลอน
- แบบเตมิ เกดิ จาก มอนอเมอรร์ วมตวั กนั ทางเคมีในสภาวะที่เหมาะสม แลว้ ไดพ้ อลเิ มอรเ์ พยี งอยา่ งเดียว
โดยไมม่ สี ารอ่นื เกิดขึ้นดว้ ย เชน่ การเกดิ พอลิเอทิลนี เกิดจาก เอทิลนี จาํ นวนมากมารวมตวั กันทางเคมี
เอทิลนี + เอทิลีน + เอทิลนี + ............................. → พอลเิ อทิลีน
สารมอนอเมอรส์ ่วนใหญเ่ ปน็ ไฮโดรคาร์บอนไม่อ่ิมตัว ซึ่งเป็นผลพลอยได้จากการกล่ันปิโตรเลียมและ
การแยกแกส๊ ธรรมชาติ เช่น
- เอทิลีน เป็นมอนอเมอร์ท่ีมีขนาดเล็กที่สุดได้มาจากการแยกแก๊สธรรมชาติ ซึ่งเมื่อรวมตัวกัน
แบบเติมได้เป็นพอลิเอทิลีน เป็นพอลิเมอร์ที่เป็นของแข็งสีขาว มีความเหนียวและไม่ทําปฏิกิริยากับสารเคมี
นาํ มาหลอมแลว้ ขึน้ รปู ได้ เชน่ ถุง ขวดใสน่ ํ้า สายยาง ฟลิ ม์ ของเล่น ถาดทาํ น้ําแขง็ แผน่ ฟลิ ์มห่อของ
- เม่อื นาํ เอทิลีนมาทําปฏิกิริยากับฟลูออรีน จะได้เตตระฟลูออโรเอทิลีน ซ่ึงรวมตัวกันแบบเติมเกิด
เป็นพอลิเมอร์ คือ พอลิเตตระฟลูออโรเอทิลีน หรือเรียกว่า เทฟลอน ใช้เคลือบภาชนะหุงต้ม ช่วยป้องกันไม่ให้
อาหารติดภาชนะ
- เมือ่ นาํ เอทลิ ีนมาทาํ ปฏกิ ริ ยิ ากับคลอรนี จะได้ไวนิลคลอไรด์ ซึ่งรวมตัวกันแบบเติมเกิดเป็นพอลิเมอร์
คอื พอลิไวนิลคลอไรด์ (Polyvinyl Chloride) หรือเรียกว่า PVC มีความทนทานต่อกรด-เบส และสารเคมีต่างๆ
ได้ดี แตเ่ ปราะงา่ ยเม่อื ถกู ความรอ้ น ใช้ทาํ ทอ่ น้าํ ฉนวนหมุ้ สายไฟ กระดาษตดิ ผนงั และภาชนะบรรจุสารเคมี

วิทยาศาสตร์ เคมี (40) _____________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27

5.3 โครงสรา งพอลเิ มอร แบ่งเป็น 3 แบบ

5.3.1 แบบเส้น เกิดจาก มอนอเมอร์เชื่อมต่อกันเป็นโซ่ยาว โดยจะเรียงชิดกันมากที่สุด จึงมีความ
หนาแนน่ จุดหลอมเหลวสูง มลี ักษณะแข็งและขุ่นเหนียวมาก เช่น พอลิไวนิลคลอไรด์ พอลิสไตรีน พอลิเอทิลีน
ชนดิ ความหนาแนน่ สงู

5.3.2 แบบกิง่ เปน็ โครงสร้างทมี่ โี ซก่ งิ่ แยกจากโซ่ยาว ทําใหไ้ ม่สามารถจดั เรยี งชิดได้ จึงมีความหนาแน่น
จุดหลอมเหลวต่ํากว่าโครงสร้างแบบเส้น มีลักษณะยืดหยุ่น ความเหนียวตํ่า โครงสร้างเปลี่ยนรูปได้ง่ายเมื่อ
อณุ หภูมเิ พมิ่ ข้ึน เช่น พอลเิ อทลิ นี ชนดิ ความหนาแน่นต่ํา

5.3.3 แบบรา่ งแห เป็นโครงสรา้ งที่ประกอบด้วยโซห่ ลักหรือโซ่กิง่ มาเชื่อมโยงกัน มลี กั ษณะคล้ายตาข่าย
มีลักษณะยืดหยุ่น อ่อนตัว แต่ถ้ามีจํานวนพันธะมากจะแข็ง ไม่ยืดหยุ่น เปราะหักง่าย เมื่อข้ึนรูปแล้วไม่สามารถ
หลอมหรอื เปล่ยี นแปลงรูปร่างกลบั ไปมาได้ แตเ่ มอ่ื รบั ความรอ้ นสงู จะแตกหัก เช่น เบกาไลต์ เมลามีน

หมายเหตุ : กาว เป็นพอลิเมอร์ ท่มี โี ครงสรา้ งแบบเสน้ แบ่งเปน็
- กาวท่ีเป็นของเหลวสขี าว ทํามาจาก พอลไิ วนิลแอซเี ตต
- กาวที่เป็นของเหลวใส ทํามาจาก พอลิไวนิลแอลกอฮอล์

5.4 ผลติ ภณั ฑจากพอลิเมอร

5.4.1 พลาสติก
สมบัติ คอื แขง็ แรงแต่นาํ้ หนกั เบา ทนทานต่อนํ้า อากาศ และสารเคมี เป็นฉนวนไฟฟ้าและความ

รอ้ นทีด่ ี นาํ ไปขึ้นรปู ทรงต่างๆ ได้ แบ่งเปน็ 2 ประเภท
• เทอรม์ อพลาสติก (Thermoplastic) มีโครงสรา้ งแบบโซต่ รงหรอื โซ่ก่ิง
- เมอื่ ได้รบั ความรอ้ นจะอ่อนตัว แตถ่ ้าอณุ หภมู ลิ ดลงจะกลับมาแขง็ ตวั
- ยืดหยุ่น และโคง้ งอได้
- สามารถเปลยี่ นรปู รา่ งกลับไปมาไดห้ รือนํากลบั มาใชใ้ หมไ่ ด้
- สมบัตไิ มม่ ีการเปลย่ี นแปลง

เชน่ พอลิเอทลิ นี พอลโิ พรพลิ นี พอลเิ ตตระฟลอู อโรเอทลิ ีน พอลไิ วนิลคลอไรด์
• เทอรม์ อเซต (Thermoset) มโี ครงสร้างแบบรา่ งแห มีสมบัตดิ ังน้ี
- เมือ่ ได้รบั ความรอ้ นจะไม่อ่อนตวั แตจ่ ะเกดิ การแตกหกั
- มคี วามแข็งแรงมาก
- ไมส่ ามารถเปลี่ยนรูปรา่ งได้หรือนาํ กลับมาใช้ใหม่ไม่ได้
- สมบตั ิมีการเปล่ยี นแปลง

เชน่ เบกาไลต์ ใชท้ ําด้ามจบั กระทะ ด้ามจับเตารดี และปล๊กั ไฟฟา้
พอลยิ เู รยี ฟอร์มาลดีไฮด์ ใช้ทาํ เตา้ เสียบไฟฟ้า และแผน่ ฟอร์ไมกา
อพิ อกซี ใชท้ าํ กาว

หมายเหตุ : โฟม เป็นพลาสตกิ ท่มี รี พู รุนเหมือนฟองน้าํ มีนา้ํ หนกั เบา แบ่งเป็น
- ชนิดเทอร์โมพลาสตกิ เช่น โฟมพอลสิ ไตรนี ใชท้ ํากล่องนํ้าแข็ง ใช้กันกระแทก ใช้ทําหมวก

นิรภยั ถาดอาหาร
- ชนิดเทอร์โมเซต เช่น โฟมพอลิยูรีเทน ใช้ทําฉนวน ใช้ในรถยนต์ ใช้พ่นเคลือบหลังคา

และผนังเพื่อกนั เสยี งรบกวน ใช้เคลอื บสเี ฟอรน์ เิ จอรไ์ ม้

โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปที ี่ 27 ____________________________________ วิทยาศาสตร์ เคมี (41)

ชนิด ประเภท สมบตั บิ างประการ ตัวอยา่ ง
ของพลาสติก ของพลาสติก การนาํ ไปใช้ประโยชน์
สภาพการไหม้ไฟ ขอ้ สังเกตอ่ืน

เทอรม์ อ เปลวไฟสนี ้ําเงนิ ขอบเหลอื ง เล็บขดี เป็นรอย ไม่ละลาย ถงุ ภาชนะ ฟิล์ม
พลาสติก
พอลิเอทลิ นี กล่นิ เหมอื นพาราฟนิ ในสารละลายทวั่ ไป ลอยนํา้ ถา่ ยภาพ ของเล่นเด็ก

เปลวไฟไม่ดบั เอง ดอกไม้พลาสตกิ

พอลโิ พรพิลนี เทอรม์ อ เปลวไฟสนี า้ํ เงนิ ขอบเหลอื ง ขีดดว้ ยเล็บไมเ่ ปน็ รอย โตะ๊ เกา้ อี้ เชอื ก พรม
พลาสตกิ ควนั ขาว กล่นิ เหมือน ไมแ่ ตก บรรจุภณั ฑอ์ าหาร
พาราฟิน ช้นิ สว่ นรถยนต์

เทอรม์ อ เปลวไฟสเี หลือง เขมา่ มาก เปราะ ละลายได้ในคารบ์ อน- โฟม อปุ กรณไ์ ฟฟา้ เลนส์
พลาสตกิ
พอลิสไตรีน กล่นิ เหมอื นกา๊ ซจุด เตตระคลอไรด์ และโทลูอีน ของเลน่ เด็ก อุปกรณ์

ตะเกียง ลอยน้าํ กฬี า เครือ่ งมอื สือ่ สาร

พอลไิ วนิล เทอร์มอ ตดิ ไฟยาก เปลวสีเหลอื ง อ่อนตัวไดค้ ลา้ ยยาง กระดาษตดิ ผนงั
คลอไรด์ พลาสตกิ ขอบเขียว ควนั ขาว กลนิ่ ลอยนา้ํ รองเท้า กระเบ้ืองปูพืน้
กรดเกลือ ฉนวนหุ้มสายไฟ
ทอ่ พวี ีซี

ไนลอน เทอรม์ อ เปลวไฟสนี ้าํ เงินขอบเหลอื ง เหนยี ว ยืดหย่นุ ไมแ่ ตก เครือ่ งนงุ่ หม่ ถุงนอ่ งสตรี

พลาสติก กลิ่นคลา้ ยเขาสตั ว์ตดิ ไฟ จมนา้ํ พรม อวน แห

พอลยิ เู รยี เทอร์มอเซต ติดไฟยาก เปลวสีเหลอื ง แตกร้าว จมน้ํา เต้าเสยี บไฟฟ้า วสั ดเุ ชงิ
ฟอรม์ าลดีไฮด์ ออ่ น ขอบฟา้ แกมเขียว วศิ วกรรม
กล่นิ แอมโมเนีย

อีพอกซี เทอร์มอเซต ตดิ ไฟง่าย เปลวสีเหลอื ง ไมล่ ะลายในสาร กาว สี สารเคลอื บ
ควันดํา กลน่ิ คลา้ ยข้าวค่วั ไฮโดรคาร์บอนและนา้ํ ผวิ หน้าวัตถุ

พอลิเอสเทอร์ เทอรม์ อ ติดไฟยาก เปลวสีเหลอื ง อ่อนตัว ยดื หยุ่น เส้นใยผ้า
พลาสตกิ ควนั กลนิ่ ฉนุ
ตวั ถงั รถยนต์ ตัวถังเรอื
เทอรม์ อเซต ตดิ ไฟยาก เปลวสเี หลือง เปราะหรอื แข็ง เหนียว ใช้บุภายใน
ควนั ดาํ กลิ่นฉุน

การลดปัญหาในการกําจัดพลาสติก เช่น
- พลาสติกท่ีย่อยสลายทางชีวภาพ (Biodegradable) คือ พลาสติกที่สามารถย่อยสลายได้เองตาม
ธรรมชาติหรือจลุ นิ ทรีย์
- พลาสติกท่ีแปรรปู เพื่อใช้ใหม่ (Recycle) คอื พลาสติกทใ่ี ชแ้ ล้ว สามารถนาํ กลับไปผา่ นขน้ั ตอนการผลิต
แล้วสามารถนาํ กลบั มาใชใ้ หม่ได้

วทิ ยาศาสตร์ เคมี (42) _____________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปีท่ี 27

สัญลักษณแ์ ยกประเภทของพลาสติกรไี ซเคิล
พอลเิ อทิลีน เทเรฟทาเลต (polyethylene terephthalate)

พอลเิ อทลิ ีน ที่มีความหนาแนน่ สูง(high-density polyethylene)

พอลิไวนิลคลอไรด์ (polyvinyl chloride)

พอลเิ อทิลีน ท่ีมีความหนาแน่นตาํ่ (low-density polyethylene)

พอลโิ พรพิลนี (polypropylene)

พอลสิ ไตรีน (polystyrene)

อ่ืนๆ

5.4.2 ยาง แบ่งเปน็
• ยางธรรมชาติ เกิดจาก มอนอเมอร์ ท่ีเรียกว่า ไอโซปรีน (C5H8) จํานวน 1,500 ถึง 150,000 หน่วย
มารวมตัวกันเป็นพอลิเมอร์ เรยี กวา่ พอลไิ อโซปรนี มีสมบตั ิดงั นี้

- มแี รงดึงดูดระหว่างโซ่ของพอลิเมอรส์ งู จงึ ทําใหย้ างยดื หยนุ่
- ทนต่อแรงดึง ทนต่อการขดั ถู
- เป็นฉนวนไฟฟา้ ท่ดี ี
- ทนนา้ํ น้ํามนั พืชและสัตว์ แต่ไมท่ นนํา้ มนั เบนซินและตวั ทําละลายอินทรีย์
- เมอ่ื ได้รบั ความเย็นจะแข็งและเปราะ แต่เมื่อไดร้ บั ความร้อนจะออ่ นตวั และเหนยี ว
การปรับปรงุ คุณภาพยางธรรมชาติ ทาํ ได้โดย นาํ ยางมาคลกุ กับกาํ มะถนั และใหค้ วามร้อนสูง จะทําให้
ได้ยางท่ีมคี วามคงตวั ทีอ่ ณุ หภูมิต่างๆ ทนตอ่ แสง ความร้อน และตัวทําละลายได้ดี เรียกว่า กระบวนการวัลคาไน
เซชัน ค้นพบโดย ชารล์ กดู๊ เยียร์

โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปที ี่ 27 ____________________________________ วทิ ยาศาสตร์ เคมี (43)

• ยางสังเคราะห์ (ยางเทียม) เชน่
: ยาง IR (Isoprene Rubber)
- มโี ครงสร้างเหมือนยางธรรมชาติ
- จุดเดน่ คือ มีส่ิงเจือปนนอ้ ย คณุ ภาพสมา่ํ เสมอทงั้ ก้อน มสี ขี าว
- ใช้ทําจกุ นมยางและอปุ กรณก์ ารแพทย์
: ยาง SBR (Styrene-Butadiene Rubber)
- ทนทานตอ่ การขัดถมู าก แต่ทนตอ่ แรงดึงต่ํา
- ใช้ทาํ พนื้ รองเท้า สายยาง สายพาน ยางปูพ้ืน

5.4.3 เสน้ ใย แบ่งเป็น
1. เส้นใยธรรมชาติ แบง่ เปน็
• เส้นใยจากพืช เป็นสารประเภท เซลลูโลส มีมอนอเมอร์ คือ กลูโคส เช่น ฝ้าย นุ่น ปอ ป่าน

มะพร้าว
• เสน้ ใยจากสตั ว์ เปน็ สารประเภท โปรตีน มมี อนอเมอร์ คือ กรดอะมิโน เชน่ ไหม ผม ขนสตั ว์ตา่ งๆ
• เส้นใยจากแร่ธาตุ เช่น แร่ใยหิน มีสมบัติทนต่อการกัดกร่อนของสารเคมี ไม่นําไฟฟ้า ทน

ความรอ้ นสงู จงึ นิยมนํามาทาํ ชุดดับเพลิง กระเบื้องยาง ม่านเวที แต่ใยหินมีอันตรายต่อระบบหายใจ ซ่ึงอาจทํา
ให้เกดิ โรคมะเรง็

2. เส้นใยกึ่งสังเคราะห์
เกิดจาก เปน็ การนําเสน้ ใยธรรมชาติ มาปรบั ปรุงโครงสรา้ งใหเ้ หมาะสมกบั การใช้งาน เชน่
- เส้นใยเซลลูโลสแอซีเตต เตรียมได้จากปฏกิ ริ ิยาระหว่างเซลลูโลสจากพืชกับกรดแอซีติก โดยมี

กรดซลั ฟิวริกเขม้ ข้นเปน็ ตัวเร่งปฏกิ ริ ิยา ใชผ้ ลติ แผน่ พลาสติก ทาํ แผงสวติ ซแ์ ละหมุ้ สายไฟ
- เส้นใยคิวปราโมเนียมเรยอน เตรียมได้จากการนําฝ้าย (เซลลูโลส) มาละลายในสารละลาย

แอมโมเนีย แล้วนาํ มาทาํ ปฏิกิรยิ ากับสารคอปเปอร์ (II) คารบ์ อเนต จะเกิดสารใหม่ มีลักษณะของเหลว เหนียว
และข้น เม่ือนํามาอัดผา่ นรูเลก็ ๆท่จี ุ่มในสารละลายกรดซัลฟิวริก จะไดเ้ ส้นใยทยี่ าว นาํ มายอ้ มสี และป่ันให้เป็นเส้น
ท่มี คี วามยาวตามตอ้ งการ

3. เสน้ ใยสงั เคราะห์
เช่น ไนลอน โอรอน ดาครอนหรอื โทเรเทโทรอน พอลิเอสเทอร์
อะคลโิ ลไนไตรต์ มีสมบัตทิ ี่ต่างจากเส้นใยธรรมชาติ ดงั นี้
- ไมด่ ูดนา้ํ ซกั งา่ ย แหง้ เรว็
- ทนเช้ือราและจลุ นิ ทรีย์ ทนตอ่ สารเคมี
- ไม่ยับง่าย

วิทยาศาสตร์ เคมี (44) _____________________________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอร์แคมป์ ปที ่ี 27

เสน้ ใย

เส้นใยธรรมชาติ เส้นใยก่ึงสงั เคราะห์ เส้นใยสงั เคราะห์

เซลลูโคส โปรตีน ใยหิน เรยอน พอลิเอสเทอร์ พอลิอะคริโลไนไตรด์

พอลิเอไมด์ อนื่ ๆ

หมายเหตุ : พอลิเมอร์ ทผี่ ลิตจากมอนอเมอรท์ ่ีเปน็ สารประกอบไฮโดรคารบ์ อน แบ่งเปน็
- ไฮโดรคาร์บอนทเี่ ป็นสารอินทรยี ์ เชน่ พลาสตกิ ยางสังเคราะห์ เสน้ ใย
- ไฮโดรคารบ์ อนท่เี ป็นสารอนนิ ทรยี ์ เชน่ ซิลิคอนไดออกไซด์ (SiO2)
เมือ่ นํา SiO2 มาทําปฏกิ ริ ิยากบั สารอลั คิลคลอไรด์ (RCl) จะได้มอนอเมอร์ ที่นํามาผลิตพอลิเมอร์
ที่เรียกวา่ ซลิ โิ คน
ซิลิโคนมีหลายชนิด ข้ึนอยู่กับมอนอเมอร์ตั้งต้น มีลักษณะคล้ายยาง แต่ทนต่อความร้อนและ
สารเคมีได้ดีกว่า ไม่เปียกนํ้า เป็นฉนวนไฟฟ้า และไม่ทําปฏิกิริยากับร่างกายมนุษย์ จึงนิยมใช้ทําอวัยวะเทียม
ทําแบบหลอ่ ผลิตภณั ฑ์ ใช้ประสานกระจกกนั นํา้

โครงการแบรนด์ซมั เมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27 ____________________________________ วทิ ยาศาสตร์ เคมี (45)

แบบฝก หัด

1. มอนอเมอรข์ องพอลเิ มอร์ A-B-A-B-A-B-A- คืออะไร
1) A
2) B
3) A-B
4) A-B-A

2. ข้อใดจับคู่ มอนอเมอร์ : พอลเิ มอร์ ไมถ่ ูกตอ้ ง
1) กรดอะมโิ น : โปรตีน
2) ฟรักโทส : เซลลูโลส
3) ไอโซปรีน : ยางธรรมชาติ
4) เตตระฟลอู อโรเอทลิ ีน : เทฟรอน

3. ข้อใดไมใ่ ชพ่ อลิเมอรท์ ่ีสําคัญในส่ิงมีชวี ิต
1) แป้ง
2) ดีเอน็ เอ
3) เซลลโู ลส
4) คอเลสเทอรอล

4. การดูแลรกั ษาสิ่งแวดล้อมในขอ้ ใดไมค่ วรทาํ
1) ฤดวี รรณคดั แยกประเภทขยะกอ่ นทิ้ง
2) มารศรีใช้ถงุ ผ้าไปจ่ายตลาดแทนการใช้ถงุ พลาสติก
3) เกตวุ ดนี ิยมซอื้ ขนมทีห่ อ่ ดว้ ยใบตองมากกว่าบรรจุในถาดโฟม
4) สุดสงวนนําขวดพลาสตกิ ใสบรรจุนา้ํ ด่มื มาใช้ใสน่ ้าํ อกี หลายครั้ง

5. ขอ้ ใดไมใ่ ช่ข้อดีของเสื้อผ้าท่ที าํ จากเส้นใยสงั เคราะห์
1) ยบั ยาก
2) ซักง่ายแห้งเรว็
3) อากาศผ่านไดด้ ี
4) ทนตอ่ เชื้อราและจลุ นิ ทรยี ์อ่ืนๆ

6. ผลิตภณั ฑ์ชนิดใดท่ีผลิตจากพลาสตกิ ประเภทที่แตกต่างจากชนิดอ่ืน
1) โฟม
2) กาว
3) อวน
4) ฟิล์มถา่ ยภาพ

วิทยาศาสตร์ เคมี (46) _____________________________________โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27

7. พลาสติกชนดิ ใดมคี วามเปราะมากท่ีสุด
1) พอลิสไตรนี
2) พอลิไวนิลคลอไรด์
3) พอลเิ อสเทอร์
4) พอลิเอทิลนี

8. พอลิเมอร์ชนิดใดมอี งค์ประกอบหลักแตกต่างจากขอ้ อื่น
1) เทฟลอน
2) ซลิ ิโคน
3) เรยอน
4) พลาสติก

9. ข้อใดไม่ถูกตอ้ ง
1) พลาสติกชนิดเทอร์โมพลาสติกสามารถนาํ มาแปรรูปใชใ้ หม่ได้
2) ยางธรรมชาติ ยดื หยนุ่ แต่ไมท่ นความรอ้ น
3) ยาง IR มคี ุณภาพสมํ่าเสมอ จงึ ใช้ทาํ จุกนมยาง
4) เสน้ ใยไหม เปน็ พอลิเมอร์ประเภทโปรตนี

10. ข้อใดไม่ใชพ่ อลิเมอร์ธรรมชาติ
1) กรดนวิ คลอี กี
2) พอลิไอโซพรนี
3) พอลิเอทิลีน
4) พอลิแซ็คคาไรด์

โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27 ____________________________________ วทิ ยาศาสตร์ เคมี (47)

เฉลย

1. 3) 2. 2) 3. 4) 4. 4) 5. 3) 6. 2) 7. 1) 8. 2) 9. 4) 10. 3)

1. เฉลย 3) A-B
มอนอเมอร์ คอื องค์ประกอบทม่ี ีขนาดเล็กหรอื หนว่ ยย่อย

2. เฉลย 2) ฟรกั โทส : เซลลูโลส
เซลลูโลส มมี อนอเมอร์ คอื กลโู คส

3. เฉลย 4) คอเลสเทอรอล
พอลิเมอร์ คือ สารท่ีมีขนาดใหญ่ ซ่ึงเกิดจากสารขนาดเล็ก (มอนอเมอร์) หลายๆ โมเลกุลมา

รวมกัน
คอเลสเทอรอล เปน็ ไขมนั เกดิ จากการรวมตัวของกรดไขมัน 3 โมเลกุลและกลีเซอรอล 1 โมเลกุล

จึงไมใ่ ชพ่ อลิเมอร์
4. เฉลย 4) สุดสงวนนําขวดพลาสติกใสบรรจุน้ําดื่มมาใชใ้ สน่ าํ้ อกี หลายครัง้

ขวดพลาสติกใสบรรจุนํ้าดื่มมาใช้ใส่นํ้าอีกหลายๆ คร้ัง อาจทําให้เกิดสารปนเปื้อนและไม่ได้ผ่าน
การฆา่ เชือ้ โรคทุกครั้ง
5. เฉลย 3) อากาศผ่านไดด้ ี

เส้นใยสงั เคราะหม์ ขี นาดเลก็ เมื่อนาํ มาทอเป็นผนื จะทําให้เส้นใยชิดกันได้มาก ซ่ึงจะทําให้อากาศ
ผา่ นไดย้ าก
6. เฉลย 2) กาว

กาวหรืออิพอกซี เป็นพลาสติกประเภทเทอร์โมเซต ที่มีความแข็งแรง ทนต่อความร้อน และไม่
สามารถเปล่ียนรปู ร่างกลับไปมาได้
7. เฉลย 1) พอลสิ ไตรนี

พอลิสไตรีน ใช้ทําโฟม จงึ มีความเปราะมากท่สี ุด
2) พอลไิ วนลิ คลอไรด์ หรือ PVC ใช้ทําท่อน้ํา
3) พอลเิ อสเทอร์ ใช้ทําเส้นใย ตวั ถงั รถ
4) พอลเิ อทลิ ีน ใช้ทําถุงพลาสตกิ ขวดนาํ้ สายยาง
8. เฉลย 2) ซลิ ิโคน

ซลิ โิ คนเปน็ พอลเิ มอรท์ ี่มีองค์ประกอบหลักเปน็ สารอนินทรยี ์ ประกอบด้วยธาตซุ ลิ กิ อน จึงไม่ว่องไว
และทาํ ปฏิกิรยิ ากบั รา่ งกายมนษุ ย์

วิทยาศาสตร์ เคมี (48) _____________________________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอร์แคมป์ ปที ี่ 27


Click to View FlipBook Version