The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Brands Summer Camp ครั้งที่ 27 วิชาสังคมศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by BS_Library, 2019-12-01 07:04:52

Brands Summer Camp ครั้งที่ 27 วิชาสังคมศึกษา

Brands Summer Camp ครั้งที่ 27 วิชาสังคมศึกษา

Keywords: สังคมศึกษา

การเงิน ยทุ ธศาสตร์
1) ยุทธศาสตรก์ ารสรา้ งความเปน็ ธรรมในสังคม
2) ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนส่สู งั คมแหง่ การเรยี นรตู้ ลอดชีวติ อย่างย่ังยนื
3) ยทุ ธศาสตร์ความเข้มแขง็ ภาคเกษตร ความม่นั คงของอาหารและพลังงาน
4) ยุทธศาสตรก์ ารปรับโครงสรา้ งเศรษฐกิจสูก่ ารเตบิ โตอยา่ งมคี ณุ ภาพและยั่งยืน
5) ยุทธศาสตร์การสร้างความเช่ือมโยงกับประเทศในภูมิภาคเพื่อความมั่นคง ทาง

เศรษฐกิจและสังคม
6) ยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมอย่างยั่งยืน

เงิน (money) คือ สง่ิ ใดๆ ก็ตามท่ีเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่าใช้เป็นสื่อกลางในการ
แลกเปลีย่ น เงินมีหน้าท่สี ําคญั 4 ประการคือ
1. เป็นส่อื กลางในการแลกเปลีย่ น
2. เปน็ มาตรฐานการวัดคา่
3. เปน็ เคร่ืองเกบ็ รักษามลู คา่
4. เปน็ มาตรฐานในการชําระหน้ีในอนาคต.

ตลาดการเงิน ปริมาณเงิน (money supply) คือ จํานวนเงินที่หมุนเวียนอยู่ในระบบเศรษฐกิจ
(financial market) หรือเรียกอีกอยา่ งหนึง่ ว่าอปุ ทานของเงิน ปริมาณเงินในความหมายแคบ (M1) ได้แก่
เหรยี ญกษาปณ์ ธนบัตร และเงินฝากกระแสรายวัน ส่วนปรมิ าณเงนิ ในความหมายกว้าง
(M2) ได้แก่ เหรียญกษาปณ์ ธนบัตร และเงินฝากกระแสรายวัน เงินฝากออมทรัพย์
เงนิ ฝากประจํา และสิง่ อืน่ ที่ใกล้เคยี งกบั เงนิ ดว้ ย

ตลาดเงิน (money market) เป็นตลาดท่ีมีการระดมเงินทุนและการให้สินเชื่อระยะสั้น
ไม่เกิน 1 ปี การโอนเงนิ การซ้ือขายหลักทรพั ย์ทางการเงินทมี่ อี ายกุ ารไถถ่ อนระยะสั้น
1. ตลาดเงินในระบบประกอบด้วยสถาบันการเงินท่ีจัดตั้งข้ึนตามกฎหมาย ได้แก่

ธนาคารพาณชิ ย์ บริษทั เงินทุนและหลักทรัพย์ ธนาคารกลาง
2. ตลาดเงินนอกระบบท่ีไม่มีกฎหมายรองรับสถานภาพ เช่น การเล่นแชร์ การให้กู้

การขายฝาก เป็นต้น.

ตลาดทุน (capital market) เป็นตลาดที่มีการระดมเงินออมระยะยาวและการให้
สินเช่ือระยะยาวต้งั แต่ 1 ปีข้ึนไป ได้แก่ เงินฝากประจํา หุน้ กู้ หนุ้ สามัญ และพันธบัตร
ทั้งของรัฐบาลและเอกชน สถาบันในตลาดทุนได้แก่ ธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน
และหลกั ทรัพย์ ตลาดหลักทรพั ย์แหง่ ประเทศไทย บรษิ ัทประกันชีวติ เปน็ ตน้ .

ตลาดการเงินมีความสําคัญดังนี้ ช่วยระดมทุนจากหน่วยเศรษฐกิจที่มีเงินออม
เกิดการจัดสรรทุนอย่างมีประสิทธิภาพ ช่วยสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
และช่วยแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ เช่น เม่ือเกิดปัญหาภาวะเงินเฟ้อ ธนาคารกลางอาจ
ใช้นโยบายการเงนิ ช่วยแก้ปัญหาโดยการขายพันธบัตรรฐั บาล

โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27 _____________________สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (49)

ธนาคารกลาง ธนาคารกลางหรือธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) เป็นสถาบันการเงินที่อยู่

ภายใต้การกํากับดูแลของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ธนาคารกลางมีอํานาจ

หน้าทด่ี ังน้ี

ออกธนบตั ร

เปน็ นายธนาคารของรฐั บาล

เป็นนายธนาคารของธนาคารพาณชิ ย์

ดาํ เนินนโยบายการเงิน

กํากบั และตรวจสอบสถาบนั การเงิน

ควบคมุ การแลกเปล่ยี นเงินตราตา่ งประเทศ

เงินเฟอ้ (inflation) เงินเฟ้อ คือ ภาวะท่ีระดับราคาสินค้าโดยทั่วไปสูงข้ึนไปเรื่อยๆ อย่างต่อเน่ือง

(ข้อสังเกต ราคาที่ว่าน้ีไม่ใช่ราคาสินค้าชนิดหนึ่งหรือราคาสินค้าทุกชนิดในระบบ

เศรษฐกจิ )

สาเหตขุ องเงินเฟ้อ

1. สาเหตุของเงินเฟ้อด้านอุปสงค์ (เงินเฟ้อท่ีเกิดขึ้นจากแรงดึงของอุปสงค์) เช่น

ปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจเพ่ิมข้ึนเน่ืองจากรัฐบาลพิมพ์ธนบัตรออกมาใช้จ่าย

มากเกินไปหรือรฐั บาลใช้นโยบายงบประมาณขาดดุลมากเกินไปและอย่างต่อเนอ่ื ง.

2. สาเหตุของเงินเฟ้อด้านอปุ ทาน (เงินเฟ้อที่เกิดขึ้นจากแรงดันของต้นทุนการผลิต)

เชน่ คา่ จา้ งแรงงานเพิ่มสูงข้ึน ผู้ผลิตบวกกําไรในราคาขายเพิ่มข้ึน ราคาเช้ือเพลิง

และวัตถดุ ิบนาํ เขา้ เพม่ิ ข้ึน

การคลังภาครัฐบาล รายรับของรัฐบาลน้ันมาจาก 2 แหล่งใหญ่คือ รายได้ของรัฐบาล และเงินกู้ ซึ่ง

(public finance) รายได้ของรัฐบาลมาจากรายได้จากภาษีอากร รายได้จากการขายสิ่งของและบริการ

รายได้จากรัฐพาณชิ ย์ และรายไดอ้ น่ื ๆ เช่น คา่ แสตมปฤ์ ชา คา่ ปรับ.

1. ภาษที างตรง : ภาษที ีผ่ ู้เสยี ภาษีไม่สามารถผลักภาระไปให้ผู้อ่ืนได้ เช่น ภาษีเงินได้

บุคคลธรรมดา ภาษีเงนิ ไดน้ ิตบิ ุคคล ภาษเี งินไดป้ โิ ตรเลยี ม

2. ภาษีทางอ้อม : ภาษีที่ผู้เสียภาษีสามารถผลักภาระไปให้ผู้อ่ืนได้ เช่น

ภาษมี ลู คา่ เพ่มิ ภาษีศุลกากร ภาษสี รรพสามติ อากรแสตมป์ ภาษีการขายเฉพาะ

เชน่ ภาษนี ํ้ามันและผลิตภัณฑ์น้ํามนั ค่าภาคหลวงแร่

รายจา่ ยของรัฐบาล

1. งบประมาณแผ่นดิน คือ แผนการเงินที่แสดงถึงรายได้และรายจ่ายของรัฐบาล

งบประมาณแผน่ ดนิ แบง่ ออกเป็น 3 ประเภทคือ งบประมาณเกินดุล งบประมาณ

ขาดดลุ และงบประมาณสมดลุ

2. กรณีที่ภาวะเศรษฐกิจตกต่ํา รัฐบาลจะจัดทํางบประมาณแบบขาดดุล (กําหนด

รายได้น้อยกว่ารายจ่าย) ซึ่งเป็นการอัดฉีดเงินเข้าไปในระบบเศรษฐกิจให้มากข้ึน

ในขณะเดียวกันก็จะเก็บภาษีให้ตํ่ากว่ารายจ่าย ซึ่งจะทําให้เกิดการกระตุ้นให้มีการ

จ้างงาน การผลติ สนิ คา้ และบริการก็จะเพิ่มสงู ขนึ้ .

สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (50) _____________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปที ่ี 27

3. งบประมาณมีความสําคัญดังนี้

เป็นเครื่องมอื หนง่ึ ของนโยบายการคลังทใ่ี ช้แก้ปญั หาภาวะเงนิ เฟ้อและเงนิ ฝืด

เป็นเครื่องมือของรัฐบาลที่ใช้กําหนดงานของหน่วยราชการให้ประสานกับ

ทรพั ยากรของประเทศ

เปน็ ส่ือกลางท่ชี ว่ ยใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจและความสมั พันธร์ ะหว่างฝ่ายนิติบัญญัติ

กบั ฝ่ายบริหาร

เปน็ เคร่อื งมอื ทีช่ ว่ ยวัดประสิทธภิ าพในการดําเนินงานของรฐั บาล.

หนี้สาธารณะ (public debt) คือหนี้สินของรัฐบาลซึ่งรวมท้ังการยืมโดยตรง

(การก่อหนี้ภายในประเทศ และการก่อหน้ีต่างประเทศ) และการค้ําประกันเงินกู้ของ

รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ เงินกู้ถือเป็นรายรับส่วนหน่ึงของรัฐบาล ในกรณีที่รัฐบาลมี

รายจ่ายมากกว่ารายได้ รฐั จาํ เป็นตอ้ งก่อหน้สี าธารณะ.

นโยบายการเงินกับ นโยบายการเงนิ : การควบคุมปรมิ าณเงนิ และสินเชอ่ื โดยธนาคารกลาง

การแก้ไขปัญหาทาง 1. นโยบายการเงินแบบหดตัว มีวัตถุประสงค์เพื่อลดปริมาณเงินหรือดึงปริมาณ

เศรษฐกจิ เงินออกจากระบบซึ่งมักใช้ในกรณเี กิดปัญหาเงินเฟ้อ ธนาคารกลางจะใช้มาตรการ

ทางการเงินดังนี้ เพิ่มอัตราดอกเบ้ีย เพิ่มอัตราเงินสดสํารอง เพิ่มอัตรารับช่วง

ซ้ือลด ขายพันธบัตรรัฐบาล ซ่ึงมีผลทําให้ปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจลดลง

อัตราดอกเบี้ยเพิ่มข้ึน การกู้ยืมทําได้ยากข้ึน การใช้จ่ายโดยรวมลดลง การลงทุน

และการจ้างงานลดลง เศรษฐกิจชะลอตัวลง.

2. นโยบายการเงินแบบขยายตัว มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มปริมาณเงินในระบบซึ่งมัก

ใช้ในช่วงที่เศรษฐกิจตกต่ําหรือเกิดปัญหาเงินฝืด ธนาคารกลางจะใช้มาตรการ

ทางการเงินดังนี้ ลดอัตราดอกเบ้ีย ลดอัตราเงินสดสํารอง ลดอัตรารับช่วงซื้อลด

ซ้ือพันธบัตรรัฐบาล ซ่ึงมีผลทําให้ปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจเพิ่มข้ึน อัตรา

ดอกเบยี้ ลดลง การกู้ยืมทําได้ง่ายข้นึ การใช้จา่ ยโดยรวมเพิม่ ขนึ้ การลงทนุ และการ

จ้างงานเพิม่ ขนึ้ กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ เพมิ่ ข้นึ เศรษฐกจิ ขยายตวั ข้ึน

นโยบายการคลังกับ นโยบายการคลัง : นโยบายเกี่ยวกับการใช้รายได้และรายจ่ายของภาครัฐ เช่น

การแก้ไขปัญหาทาง นโยบายดา้ นรายได้หรือนโยบายภาษีอากร นโยบายด้านรายจ่ายหรอื นโยบายงบประมาณ

เศรษฐกิจ นโยบายหนี้สาธารณะ

1. นโยบายการคลังแบบหดตัว ในกรณีปัญหาเงินเฟ้อ ภาครัฐจะใช้มาตรการ

ทางการคลังดังน้ี ลดการใช้จ่ายของภาครัฐ เพ่ิมภาษี ใช้งบประมาณแบบเกินดุล

(ใชจ้ ่ายนอ้ ยกว่ารายไดท้ หี่ ามา) กจ็ ะทาํ ใหอ้ ุปสงคม์ วลรวมของประเทศลดลงหรือ

ความต้องการใช้จ่ายมวลรวมลดลง กําลังซื้อลดลง การลงทุนและการจ้างงาน

ลดลง รายไดร้ วมของประเทศลดลง เศรษฐกิจจะชะลอตัวลง.

2. นโยบายการคลังแบบขยายตัว ในกรณีเกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ํา ภาครัฐจะใช้

มาตรการทางการคลังดังน้ี เพ่ิมการใช้จ่ายของภาครัฐ ลดภาษี ใช้งบประมาณ

แบบขาดดลุ (ใช้จ่ายให้มากกวา่ รายไดท้ ี่ได้มา)

โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27 _____________________สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (51)

สรุปการแก้ไขปัญหา นโยบายการเงินแบบหดตวั นโยบายการคลังแบบหดตวั

ภาวะเงินเฟอ้ เพอื่ ลดปริมาณเงินในระบบ เพือ่ ลดการใชจ้ ่ายของภาครฐั

เพ่มิ อตั ราดอกเบ้ยี ลดการใช้จา่ ยของภาครัฐ

เพ่มิ อัตราเงนิ สดสาํ รอง เพ่มิ อตั ราภาษี

เพม่ิ อัตรารับช่วงซื้อลด ใช้งบประมาณแบบเกนิ ดลุ

ขายพนั ธบตั รรัฐบาล

ลดการขยายเครดิตของธนาคาร

พาณิชย์

ลดหรือควบคุมการปล่อยสินเชอ่ื

สรุปการแก้ไขปัญหา นโยบายการเงนิ แบบขยายตัว นโยบายการคลงั แบบขยายตัว

ภาวะเงนิ ฝดื เพอ่ื เพิ่มปริมาณเงนิ ในระบบ เพื่อเพ่ิมการใช้จ่ายของภาครัฐ

ลดอตั ราดอกเบย้ี เพมิ่ การใช้จ่ายของภาครฐั

ลดอตั ราเงินสดสาํ รอง ลดอตั ราภาษี

ลดอัตรารบั ช่วงซื้อลด ใช้งบประมาณแบบขาดดุล

ซ้ือพันธบัตรรัฐบาลคนื จากประชาชน

เพิ่มการขยายเครดิตของธนาคาร

พาณิชย์

เพิ่มหรอื ขยายการปลอ่ ยสินเช่อื

ก า ร ค้ า ร ะ ห ว่ า ง การค้าระหว่างประเทศ คือ การซื้อขายสินค้าและบริการระหว่างประเทศหน่ึงกับ

ประเทศ ประเทศอ่ืนๆ สาเหตุที่ก่อให้เกิดการค้าระหว่างประเทศได้แก่ ความแตกต่างทาง

ภมู ศิ าสตร์ ความแตกตา่ งทางทรพั ยากรธรรมชาติ ความได้เปรยี บทางการผลติ

นโยบายการคา้

1. นโยบายการค้าเสรี เป็นนโยบายที่เปิดให้มีการติดต่อค้าขายได้โดยเสรี ไม่มี

อุปสรรคใดมาขวางกัน ไม่มีข้อจํากัดทางการค้า ประเทศที่มีการค้าค่อนข้างเสรีจะ

เกบ็ ภาษนี าํ เขา้ ในอตั ราตาํ่ .

2. นโยบายการค้าคุ้มกัน เป็นนโยบายท่ีรัฐเข้ามาแทรกแซงเพื่อมิให้สินค้าจาก

ต่างประเทศเข้ามาแข่งขันกับสินค้าท่ีผลิตได้ภายในประเทศ โดยใช้มาตรการทางภาษี

(คือการเกบ็ ภาษีนําเขา้ และภาษสี ่งออก) และมาตรการทม่ี ใิ ช่ภาษี เช่น
การต้ังกาํ แพงภาษี
การกําหนดโควตานําเขา้
การจัดเกบ็ ค่าธรรมเนียมการนําเข้า
การเลือกปฏิบัตโิ ดยการเกบ็ ภาษหี ลายอัตรา
การทมุ่ ตลาด (dumping)
การใหส้ ทิ ธิประโยชน์ต่างๆ แก่ผผู้ ลิตภายในประเทศ
การกําหนดมาตรฐานคุณภาพสนิ คา้ นาํ เขา้ ไว้สงู

สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (52) _____________________โครงการแบรนด์ซมั เมอร์แคมป์ ปีท่ี 27

การลงทุนระหว่าง การลงทุนระหว่างประเทศ แบง่ ออกเปน็

ประเทศ 1. การลงทุนทางตรง เป็นการลงทุนท่ีผู้เป็นเจ้าของทุนเป็นผู้ดําเนินกิจการเอง เช่น

ชาวญี่ปุ่นนําเงินทุนเข้ามาโรงงานอุตสาหกรรมประกอบรถยนต์ในประเทศไทย

ผลตอบแทนของการลงทุนทางตรงคือกําไร.

2. การลงทุนทางอ้อม เป็นการลงทุนท่ีผู้เป็นเจ้าของทุนไม่ได้ดําเนินกิจการเอง เช่น

การโยกย้ายเงินทุนไปลงทุนในตลาดเงินหรือตลาดทุน โดยการนําเงินทุนไปซ้ือ

หลักทรัพย์ของรัฐบาลและเอกชนในต่างประเทศซ่ึงมักจะเป็นการลงทุนระยะสั้น

และมีผลกระทบต่อเสถียรภาพของอัตราการแลกเปล่ียน ผลตอบแทนของการ

ลงทนุ ทางออ้ มคอื เงินปันผลและดอกเบย้ี

ดุ ล ก า ร ชํ า ร ะ เ งิ น ดุลการชําระเงิน เป็นรายการท่ีแสดงถึงการรับและการจ่ายเงินตราต่างประเทศ

ระหวา่ งประเทศ ดุลการชําระเงินประกอบด้วย ดุลบัญชเี ดินสะพดั และดุลบัญชีเงนิ ทนุ

ดุลบัญชีเดินสะพัด เป็นส่วนหนึ่งของดุลบัญชีการชําระเงิน ดุลบัญชีเดินสะพัด

ประกอบด้วย ดลุ การค้า ดุลบริการ ดุลเงนิ โอนหรอื บรจิ าค รายได้

บัญชีเงนิ ทุน ประกอบดว้ ยบญั ชีทุน และบัญชกี ารเงิน

ทุนสํารองระหว่างประเทศ เป็นหลักทรัพย์เพื่อใช้ชําระหนี้ต่างประเทศ ทุนสํารอง

ระหวา่ งประเทศประกอบด้วยทองคํา เงินตราต่างประเทศที่เป็นสกุลหลัก ทุนสํารอง

ระหว่างประเทศนั้นสัมพันธ์กับดุลการชําระเงิน ในกรณีที่ดุลการชําระเงินขาดดุล

(ยอดรายรับเงนิ ตราตา่ งประเทศนอ้ ยกว่ายอดรายจ่ายเงินตราต่างประเทศ) มีผล

ทาํ ให้ทนุ สํารองระหว่างประเทศลดลง เพราะต้องนําเอาส่วนใดส่วนหนึ่งของทุนสํารอง

นั้นมาชดเชยส่วนท่ีขาดดุล ในทางกลับกันถ้าดุลการชําระเงินเกินดุล (ยอดรายรับ

เงินตราต่างประเทศมากกว่ายอดรายจ่ายเงินตราต่างประเทศ) ก็จะทําให้ทุนสํารอง

ระหว่างประเทศเพม่ิ ข้ึน.

ดุลการชาํ ระเงนิ = บัญชเี ดินสะพดั บญั ชเี งินทุน (เคลอื่ นย้าย)

ดลุ การคา้

ดลุ บริการ

ดุลเงินโอนหรือบรจิ าค

รายได้

สรุป ดลุ การคา้ ขาดดุล : ดลุ การชําระเงินไม่จําเป็นต้องขาดดลุ

ดุลการชําระเงนิ ขาดดลุ : ดุลการค้าไมจ่ ําเปน็ ตอ้ งขาดดุล

ดุลการชาํ ระเงนิ ขาดดลุ : ดุลบัญชีเดินสะพัดไมจ่ ําเปน็ ต้องขาดดุล

ดลุ การชําระเงนิ ขาดดุล : ยอดรายรบั นอ้ ยกวา่ ยอดรายจา่ ยเงินตราต่างประเทศ
ดุลการชาํ ระเงนิ ขาดดุล : ทุนสํารองระหว่างประเทศลดลง ยอดบัญชีทุนสํารองมี

คา่ เปน็ บวก
ดลุ การชําระเงินเกินดลุ : ทุนสํารองระหวา่ งประเทศเพ่มิ ขึ้น ยอดบญั ชที นุ สํารองมี

คา่ เปน็ ลบ

โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27 _____________________สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (53)

y ถา้ รบั เงนิ ตราต่างประเทศเขา้ มา : ต้องบนั ทึกรายการด้านเครดิต

y ถา้ จา่ ยเงินตราตา่ งประเทศออกไป : ต้องบันทึกรายการดา้ นเดบิต
y การแก้ไขปัญหาดุลการชําระเงินขาดดุลมีมาตรการดังนี้ ส่งเสริมการส่งออก

ลดการนําสินค้าเข้า ส่งเสริมการท่องเที่ยวในประเทศ ลดรายจ่ายของ

ภาครฐั บาล ลดค่าเงนิ บาท.

อตั ราการแลกเปล่ียน อตั ราการแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศของไทยกับสหรัฐอเมริกาเท่ากับ 35 บาท

เงนิ ตราต่างประเทศ หมายความว่า 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ แลกเปน็ เงนิ ไทยได้ 35 บาท

ตัวอย่าง การที่อัตราแลกเปล่ียนจาก 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 35 บาทเป็น 1

ดอลลารส์ หรฐั ฯ เท่ากับ 30 บาท แสดงว่า

y เงินบาทมีค่าแข็งขึ้น เพราะใช้เงินบาทจํานวน (มากขึ้น / น้อยลง) ในการแลก

ดอลลาร์

y เงิน 1 บาทแลกดอลลาร์ได้จํานวน (มากขน้ึ / น้อยลง)
y เงิน 1 ดอลลาร์แลกบาทไดจ้ าํ นวน (มากขน้ึ / น้อยลง)
y ราคาสนิ คา้ จากต่างชาติ (แพงขึ้น / ถกู ลง) ในสายตาคนไทย

y ราคาสินค้าไทย (แพงขึ้น / ถกู ลง) ในสายตาชาวต่างชาติ

y ชาวตา่ งชาติเขา้ มาเทีย่ วในประเทศไทย (เพมิ่ ขน้ึ / ลดลง)
y ราคาสนิ ค้าออก (สงู ขนึ้ / ลดลง) p ปริมาณการส่งออก (สงู ขน้ึ / ลดลง)
y ราคาสินคา้ เขา้ (สงู ขน้ึ / ลดลง) p ปรมิ าณการนาํ เข้า (สูงขน้ึ / ลดลง)

y การสั่งสินค้าเข้าจากต่างประเทศ (เพิ่มข้ึน / ลดลง) เพราะซ้ือสินค้าเข้าโดย

จา่ ยเงนิ บาทเป็นจาํ นวนนอ้ ยลง

y ดลุ การคา้ ขาดดุล (เพิม่ ขนึ้ / ลดลง)
y การแข่งขนั ทางคา้ การกบั ประเทศคู่แขง่ (ยากขน้ึ / ง่ายข้นึ )

ปัจจุบันประเทศไทยใช้ระบบอัตราแลกเปล่ียนลอยตัวแบบจัดการ (managed

float exchange rate system) เป็นระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบยืดหยุ่นคือธนาคาร

แห่งประเทศไทยสามารถเข้าไปแทรกแซงได้เพ่ือให้ค่าเงินเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางท่ี

เหมาะสม

การรวมกลมุ่ ทาง การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ

เศรษฐกิจ 1. เขตการค้าเสรี (FTA : Free Trade Area) เปน็ การรวมกลุม่ ทางเศรษฐกิจทมี่ กี าร

ยกเว้นภาษีศุลกากรระหว่างกันในประเทศสมาชิก แต่ละประเทศยังคงมีอิสระใน

การกําหนดอัตราภาษีศุลกากรกับประเทศคู่ค้านอกกลุ่ม ตัวอย่าง เขตการค้าเสรี

ยุโรป (EFTA : European Free Trade Association), เขตการค้าเสรีอาเซียน

(AFTA : ASEAN Free Trade Area), ข้อตกลงเขตการค้าเสรีอเมริกาเหนือ

(NAFTA : North American Free Tade Area)

สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (54) _____________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปีที่ 27

2. สหภาพศุลกากร (Customs Union) เป็นการรวมกลุ่มท่ีมีการยกเลิกภาษี
ศุลกากรและข้อจํากัดทางการค้าระหว่างกันในกลุ่ม นอกจากน้ีประเทศสมาชิกทุก

ประเทศต้องใชข้ ้อกาํ หนดอัตราภาษศี ุลกากรกบั ประเทศคู่คา้ นอกกล่มุ ในอตั ราเดียวกัน
ตัวอย่าง สหภาพศุลากรบาวาเรีย (Bavaria-Wurttemberg customs union),
สหภาพศลุ กากรเยอรมนั กลาง (Middle German commercial union), สหภาพ
ศุลกากรมอนโดเวียน วอลลาเชี่ยน (mondovian customs union) ในประเทศ
โรมาเนยี .

3. ตลาดร่วม (Common Market) เป็นการรวมกลุ่มท่ีมีลักษณะเหมือนกับสหภาพ
ศุลกากร มีเพิ่มเติมคือให้มีการเคล่ือนย้ายปัจจัยการผลิตระหว่างประเทศสมาชิก
เช่น แรงงานและทุน ได้อย่างเสรี ตัวอย่าง ตลาดร่วมอเมริกากลาง (CACM :
Central American Common Market)

4. สหภาพเศรษฐกิจ (Economic Union) เป็นการรวมกลุ่มท่ีมีลักษณะเหมือนกับ

ตลาดรว่ ม มเี พม่ิ เติมคอื ให้ประเทศสมาชิกร่วมกันกําหนดนโยบายทางเศรษฐกิจต่างๆ
เปน็ รปู แบบเดียวกัน เช่น นโยบายการเงนิ นโยบายการคลัง การลงทุนและการค้า

กับต่างประเทศ.
5. สหภาพเหนือชาติ (Supranational Union) เป็นการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจข้ัน

สงู สุดโดยมวี ตั ถุประสงค์เพื่อรวมกันเป็นชาติเดียวกัน รัฐบาลของแต่ละประเทศไม่
สามารถกําหนดนโยบายของตนเองได้ แต่สหภาพจะกําหนดนโยบายให้ประเทศ
สมาชิกดาํ เนนิ การเอง ปจั จบุ นั ยังไมม่ กี ารรวมกล่มุ ในรูปแบบสมบูรณ์ทีส่ ุดดงั กล่าว

องคก์ ารความ y ระดบั โลก เชน่ WTO ; IMF ; World Bank ; UNCTAD

รว่ มมอื ทางเศรษฐกจิ y ระดบั ภมู ิภาค เชน่ OPEC ; APEC ; EU ; NAFTA ; ASEAN ; AFTA

ทีส่ าํ คัญ y ระดับอนภุ มู ิภาค เช่น GMS ; ACMECS

องคก์ ารการค้าโลก WTO : World Trade Organization องค์การการค้าโลกเป็นองค์การท่ีพัฒนามา
จากแกตต์ (GATT : General Agreement on Tariffs and Trade ข้อตกลงท่ัวไปว่า
ด้วยพิกัดอัตราภาษีศุลกากรและการค้า) ทําหน้าท่ีเป็นเวทีเจรจาการค้าและระงับข้อ
พิพาทของประเทศสมาชิก ซ่ึงองค์การน้ีจัดทําอยู่ในรูปแบบของความตกลงระดับ
พหภุ าคี (multilateral agreements) และใช้ระบบการตัดสินใจในลักษณะฉันทามติ
(consensus) WTO มีสํานกั งานใหญอ่ ยู่ที่กรงุ เจนีวา ประเทศสวิตเซอรแ์ ลนด์

กองทนุ การเงิน IMF : International Monetary Fund กองทุนการเงินระหว่างประเทศมี
ระหว่างประเทศ วัตถุประสงค์เพ่ือดูแลเสถียรภาพของระบบการเงินระหว่างประเทศ แก้ไขปัญหา
การเงินระหว่างประเทศ สนับสนุนให้การค้าระหว่างประเทศขยายตัวอย่างสมดุล
เสรมิ สร้างเสถียรภาพในอตั ราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศ ป้องกนั การแขง่ ขัน
ลดค่าเงินเพื่อชิงความได้เปรียบทางการค้า และควบคุมการแลกเปล่ียนเงินตราเพ่ือ
นําไปสู่ระบบเสรี นอกจากนี้ IMF ได้สร้างระบบการเงินระหว่างประเทศขึ้นมาชนิดหนึ่ง
ในกองทุนสํารองเรียกว่า สิทธิพิเศษถอนเงิน (SDRs : Special Drawing Rights)
IMF มสี ํานักงานใหญ่อยู่ทีก่ รงุ วอชงิ ตัน ด.ี ซ.ี

โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27 _____________________สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (55)

ธนาคารโลก World Bank ธนาคารโลกหรือธนาคารเพื่อการบูรณะและพัฒนาระหว่างประเทศ
อังถัดภ์ (IBRD : International Bank for Reconstruction and Development) มี
โอเปก วัตถุประสงค์ให้กู้ยืมแก่ประเทศกําลังพัฒนานําไปใช้จ่ายในการพัฒนาประเทศ ได้แก่
นาํ ไปพฒั นาโครงสร้างพ้ืนฐาน (infrastructure) หรือกิจการสาธารณูปโภคพื้นฐาน
เช่น สร้างถนน เขื่อน ไฟฟ้าและประปา แก้ไขปัญหาความยากจนและยกระดับความ
เปน็ อยขู่ องประชาชนในประเทศกําลงั พฒั นา โดยยดึ หลกั การสําคญั คือต้องการให้เกิด
การพัฒนาทางสังคมและเศรษฐกิจที่ย่ังยืน World Bank จัดว่าเป็นแหล่งเงินกู้ท่ีมี
ต้นทนุ ตํา่ มีเวลาชาํ ระคืนนาน และมีเงื่อนการใหท้ ี่ยดื หย่นุ กว่าแหล่งเงินทุนอื่น World
Bank มสี าํ นักงานใหญ่อยทู่ ี่กรงุ วอชงิ ตนั ด.ี ซี.

UNCTAD : United Nations Conference on Trade and Development
อังถัดภ์หรือการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการค้าและการพัฒนา มีวัตถุประสงค์
เพ่อื แกไ้ ขปญั หาการค้าระหวา่ งประเทศและการพัฒนาของประเทศกําลังพัฒนา อังถัดภ์
มีบทบาทสําคัญต่อประเทศกําลังพัฒนาอย่างมาก เน่ืองจากเป็นการเปิดโอกาสให้
ประเทศกําลังพัฒนาได้เสนอข้อเรียกร้องต่อประเทศที่พัฒนาแล้วให้หันมาช่วยเหลือ
ผ่อนคลายมาตรการท่ีเป็นอุปสรรคต่อประเทศกําลังพัฒนา ประเทศกําลังพัฒนา
คาดหวังว่าอังถัดภ์จะเป็นกลไกหลักในการคานอํานาจการช้ีนําของประเทศพัฒนา
และสร้างสมดุลในการกําหนดทิศทางและนโยบายเศรษฐกิจของโลก UNCTAD มี
สํานกั งานใหญ่อยทู่ ก่ี รุงเจนีวา ประเทศสวติ เซอร์แลนด.์

OPEC : organization of Petroleum Exporting Countries โอเปกหรือกลุ่ม
ประเทศผู้ส่งออกน้าํ มัน เป็นกลุ่มประเทศที่ร่วมมือกันในการกําหนดนโยบายด้านการ
ผลิตและการต้ังราคาน้ํามันดิบในตลาดโลก โอเปกมีอิทธิพลอย่างมากต่อระบบ
เศรษฐกจิ และการเมืองระหว่างประเทศ ประเทศทมี่ ีปริมาณนํา้ มันดิบสาํ รองมากท่ีสุด
ในโลกคอื ซาอุดีอาระเบีย OPEC มีสํานักงานใหญ่อยู่ท่ีกรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย
(การรวมตัวเป็นกลุ่มโอเปกน้ีนับเป็นตัวอย่างหน่ึงของกลุ่มผูกขาด ท่ีเรียกว่า cartel
ของผูผ้ ลติ ในตลาดผู้ขายน้อยราย)

ปัจจุบันมีสมาชิก 12 ประเทศ ได้แก่ ซาอุดีอาระเบีย อิรัก อิหร่าน คูเวต
เวเนซเุ อลา สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ กาตาร์ ไนจีเรีย แอลจีเรีย ลิเบีย เอกวาดอร์ และ
แองโกลา

สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (56) _____________________โครงการแบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ ปีที่ 27

เอเปก APEC : Asia-Pacific Economic Coorperation เอเปกหรือความร่วมมือทาง
เศรษฐกิจในภมู ิภาคเอเชีย-แปซฟิ ิก มวี ตั ถปุ ระสงคข์ องดงั นี้
สหภาพยุโรป 1. ส่งเสริมความร่วมมือทางการค้า การลงทุน การถ่ายทอดเทคโนโลยี และการ
นาฟตา
พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพื่อความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในภูมิภาคและ
เศรษฐกจิ โลก
2. ส่งเสริมระบบการค้าหลายฝ่ายหรือระบบพหุภาคีที่เปิดเสรีภายใต้ระบบองค์การ
การคา้ โลก
3. ลดอุปสรรคทางการค้า การบริการและการลงทุน
4. ไมเ่ ป็นการรวมกล่มุ ทางการค้าแบบปิด
5. ปรึกษาและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเก่ียวกับภาวะเศรษฐกิจ และแนวทางแก้ปัญหา
ทางเศรษฐกิจท้งั ของสมาชกิ และของภมู ิภาค.
ปัจจุบันเอเปคมีสมาชิกท้ังส้ิน 21 เขตเศรษฐกิจ (19 ประเทศ 2 เขตเศรษฐกิจ)
ประกอบดว้ ยประเทศมหาอํานาจทางการเมืองและเศรษฐกิจท่ีสําคัญ คือ สหรัฐอเมริกา
รัสเซีย จีน ญ่ีปุ่น รวมท้ังสมาชิกอาเซียน และประเทศในอเมริกาเหนือและใต้
ซึง่ ประกอบด้วย
ไทย / บรไู น / อนิ โดนีเซีย / ฟิลปิ ปนิ ส์ / มาเลเซีย / สงิ คโปร์ / เวียดนาม
จีน / ญปี่ นุ่ / เกาหลีใต้
ไตห้ วนั / ฮ่องกง
ออสเตรเลยี / นวิ ซีแลนด์ / ปาปัวนิวกินี
รัสเซีย / สหรฐั อเมริกา / แคนาดา / เม็กซิโก / ชลิ ี / เปรู
- เอเปกมีสมาชิก 21 เขตเศรษฐกิจใน 4 ทวีปคือ เอเชีย ออสเตรเลีย อเมริกาเหนือ
อเมริกาใต้ และเป็นกลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจท่ีมีพลังและพลวัตของการ
เจริญเตบิ โตสูงสดุ ของโลก

EU : European Union สหภาพยุโรปหรืออียู พัฒนามาจาก EC (European
Community ประชาคมยุโรป) ซ่ึงประชาคมยุโรปนี้เกิดจากการรวม 3 องค์กร
เข้าด้วยกันคือ ประชาคมถ่านหินและเหล็กกล้ายุโรป (ECSC : European Coal and
Steel Community) ประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (EEC : European Economic
Community) และประชาคมพลังงานปรมาณูแห่งยุโรป (EURATOM : European
Atomic Energy Community) ปจั จุบัน EU มีสมาชกิ ทง้ั หมด 27 ประเทศ

NAFTA : North American Free Trade Area นาฟตาหรือเขตการค้าเสรีอเมริกาเหนือ
ประกอบด้วยประเทศสมาชิก 3 ประเทศได้แก่ สหรัฐอเมริกา แคนาดา และเม็กซิโก
นาฟตามีวัตถุประสงค์เพื่อขจัดอุปสรรคทางการค้าการลงทุนและการบริการระหว่าง
ประเทศสมาชิก และยังร่วมมือกันเพ่ือเพ่ิมมาตรฐานการคุ้มครองสิทธิในทรัพย์สิน
ทางปัญญา และเพมิ่ ศกั ยภาพการแขง่ ขนั กับประเทศอนื่ ๆ

โครงการแบรนดซ์ ัมเมอร์แคมป์ ปที ่ี 27 _____________________สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (57)

อาเซยี น ASEAN : Association of Southeast Asia Nations อาเซียนหรือสมาคม

ประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ก่อต้ังขึ้นเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510

ตามปฏิญญาณกรุงเทพฯ (Bangkok Declaration) ปัจจุบันอาเซียนมีสมาชิก

ทั้งหมด 10 ประเทศ วัตถุประสงค์ของการก่อต้ังอาเซียนก็เพื่อส่งเสริมความร่วมมือ

และความช่วยเหลือซ่ึงกันและกันในด้านต่างๆ ของประเทศสมาชิก ทั้งทางด้าน

เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ รวมไปถึงสันติภาพและความ

มั่นคงในภูมิภาค ท้งั น้เี พื่อให้ประชาชนในอาเซยี นมีความเปน็ อย่แู ละคณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ี

กฎบัตรอาเซียน ASEAN Charter กฎบัตรอาเซียน คือ ธรรมนูญของอาเซียนที่จะทําให้อาเซียนมี

สถานะเป็นนิติบุคคล เป็นการวางกรอบกฎหมายตลอดจนโครงสร้างองค์กรให้กับ

อาเซียน เพ่ือให้อาเซียนทํางานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เสริมสร้างกลไกการ

ติดตามความตกลงต่างๆ ให้มีผลเป็นรูปธรรม และช่วยให้อาเซียนเป็นประชาคมเพ่ือ

ประชาชนอย่างแท้จริง ความสําคัญของกฎบัตรอาเซียนคือ เพื่อการรวมตัวเป็น

ประชาคมอาเซียนใน พ.ศ. 2558 ทําให้อาเซียนเป็นเขตการค้าเสรีภายในประเทศ

สมาชิก และมีอํานาจต่อรองกับกลุ่มประเทศอื่นๆ ท่ีมีการรวมตัวกันเป็นประชาคม

หรือเป็นสหภาพ อีกท้ังเพ่ือให้มีการร่วมมือกันทางด้านต่างๆ ของประเทศสมาชิกดี

ย่ิงขน้ึ ยง่ิ กว่าการรว่ มมือกันในปฏิญญาอาเซยี น.

คําขวัญของอาเซียน คือ One Vision, One Identity, One Community

หน่งึ วิสยั ทัศน์ หน่ึงอัตลักษณ์ หนง่ึ ประชาคม

ประชาคมอาเซียน ASEAN Community ประชาคมอาเซียน ประกอบดว้ ย 3 เสาหลกั คอื

1. ประชาคมการเมืองความมั่นคงอาเซียน (APSC : ASEAN Political Security

Community)

2. ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น (AEC : ASEAN Economic Community)

3. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASCC : ASEAN Socio-Cultural
Community)

เ ป้ า ห ม า ย ข อ ง 1. การมีกฎเกณฑ์และค่านยิ มร่วมกนั

ประชาคมการเมือง 2. การรักษาสนั ติภาพและความมั่นคง
ความมั่นคงอาเซียน 3. การทําใหป้ ระชาคมเป็นภมู ิภาคท่เี ปดิ กว้าง มีพลวตั รและปฏสิ มั พันธ์กับโลกภายนอก
(APSC)

เ ป้ า ห ม า ย ข อ ง 1. เปน็ ตลาดและฐานการผลิตร่วมกัน

ประชาคมเศรษฐกิจ 2. สรา้ งขีดความสามารถทางเศรษฐกจิ

อาเซียน (AEC) 3. สร้างความเท่าเทยี มในการพัฒนาทางเศรษฐกิจ

4. การบรู ณาการเขา้ กับเศรษฐกจิ โลก

สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (58) _____________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปที ี่ 27

เ ป้ า ห ม า ย ข อ ง 1. การพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ย์
ประชาคมสังคมและ 2. การค้มุ ครองสิทธิและสวัสดิการสังคม
วัฒนธรรมอาเซียน 3. สทิ ธิและความยุติธรรมทางสังคม

(ASCC) 4. ความยั่งยืนด้านสง่ิ แวดลอ้ ม
5. การสรา้ งอัตลักษณ์อาเซียน
6. การลดช่องว่างทางการพัฒนา

ประเทศอาเซียนกับ 1. พม่า : สาขาผลิตภัณฑเ์ กษตรประมง
สาขาการผลิตสินค้า 2. มาเลเซยี : สาขาผลิตภณั ฑย์ างและส่งิ ทอ

และบริการ 3. อินโดนีเซีย : สาขายานยนต์และผลติ ภณั ฑ์ไม้
ตามความถนัด 4. ฟิลปิ ปินส์ : สาขาอเิ ล็กทรอนกิ ส์
5. สงิ คโปร์ : สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและสขุ ภาพ
6. ไทย : สาขาการท่องเทยี่ วและการบิน

7. เวียดนาม : สาขาโลจสิ ติกส์

8 อาชีพเสรี 1. วศิ วกรรม
ในอาเซียน 2. การสาํ รวจ
3. สถาปัตยกรรม
4. แพทย์

5. ทันตแพทย์
6. พยาบาล
7. บญั ชี
8. การบรกิ าร/การท่องเทยี่ ว

บทบาทของอาเซียน 1. ปฏิญญาว่าด้วยเขตสันติภาพ เสรีภาพและความเป็นกลาง (ZOPFAN : Zone of

ด้านการเมืองและ Peace, Freedom and Neutrality)

ความมน่ั คง 2. สนธิสัญญาไมตรีและความร่วมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (TAC :

Treaty of Amity and Cooperation)

3. การประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความม่ันคงในภูมิภาค

เอเชีย-แปซิฟกิ (ARF : ASEAN Regional Forum)
4. สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

(SEANWFZ : Treaty on the Southeast Asian Nuclear Weapon Free Zone)

โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27 _____________________สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (59)

บทบาทของอาเซียน 1. การต้ังเขตการคา้ เสรอี าเซียน (AFTA : ASEAN Free Trade Area)

ด้านเศรษฐกิจ 2. กรอบความตกลงด้านการค้าบริการของอาเซียน (AFAS : ASEAN Framework

Agreement on Services)

3. โครงการความรว่ มมอื ด้านอุตสาหกรรมของอาเซียน (AICO : ASEAN Industrial

Cooperation)

4. เขตการลงทุนอาเซยี น (AIA : ASEAN Investment Area)

5. กรอบความตกลงด้านอิเลก็ ทรอนิกสข์ องอาเซียน (e-ASEAN Framework Agreement)
6. ความร่วมมือด้านการขนสง่ ของอาเซียน เชน่ AFAFGIT , AFAFIST , AFAMT

ศัพทอ์ าเซยี น ASEAN+3 อาเซียน + จีน ญป่ี นุ่ เกาหลีใต้

ASEAN+6 อาเซียน + จนี ญป่ี นุ่ เกาหลใี ต้ + อินเดีย ออสเตรเลีย นวิ ซแี ลนด์

ASEAN+8 อาเซียน + จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ + อินเดีย ออสเตรเลีย

นวิ ซีแลนด์ + USA รสั เซยี

ASEM อาเซมหรอื การประชมุ เอเชยี -ยโุ รป (ASEM : Asia-Europe Meeting)

EWEC ระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก (East-West Economic
Corridor) เป็นการเชื่อมระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกทางตะวันออก
และมหาสมุทรอินเดียทางตะวันตก เริ่มต้นจากเมืองดานัง ประเทศ
เวียดนาม เมืองท่าสําคัญของเวียดนาม ตัดผ่านลาวและไทย มายัง
เมอื งมะละแหม่งในพมา่

NSEC ระเบียงเศรษฐกิจเหนือ-ใต้ (North-South Economic Corridor)
เช่ือมจีนตอนใต้ ลาว พม่า และไทย และจีนตอนใต้กับเวียดนาม
จุดเร่มิ ต้นในแนวเหนอื -ใตค้ ือเมืองคุนหมิง ส่วนจุดปลายจะแยกเป็น
สองสายคือไทยและเวียดนาม

SEC ระเบียงเศรษฐกิจตอนใต้ (Southern Economic Corridor) เช่ือม
ระหว่างไทย กมั พูชา และเวยี ดนาม

ความ ร่ วม มื อท า ง UPMEC โครงการความร่วมมืออนุภูมิภาคลุ่มน้ําโขงตอนบน (Quadrangle

เศรษฐกจิ ระดบั Quadrangle Economic Coorperation หรือ Upper Mekhong Economic

อนภุ ูมภิ าค Coorperation) มสี มาชิก ไดแ้ ก่ ไทย ลาว พม่า จนี (มณฑลหยนุ หนาน)

ACMECS ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ อิรวดี-เจ้าพระยา-แม่โขง
(Ayeyawady-Chao Phraya-Mekong Economic Coorperation
Strategy) มสี มาชกิ ได้แก่ ไทย กมั พชู า ลาว พม่า เวียดนาม

GMS ความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่นํ้าโขง (Greater
Mekong Subregion Economic Coorperation) หรือหกเหลี่ยม
เศรษฐกจิ มสี มาชิก ไดแ้ ก่ ไทย จนี กัมพชู า ลาว พมา่ เวียดนาม

สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (60) _____________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27

BIMSTEC ความริเร่ิมแห่งอ่าวเบงกอล (Bay of Bengal Initiative for Multi-
Sectoral Technical and Economic Cooperation Ministerial
Meeting) มีสมาชกิ ได้แก่ บงั กลาเทศ อนิ เดยี พม่า ศรีลังกา ไทย
เนปาล ภฏู าน

MGC ความร่วมมือลุ่มแม่นํ้าโขง-คงคา (Mekong-Ganga Cooperation)
มีสมาชิก ไดแ้ ก่ ไทย อนิ เดีย พม่า ลาว กัมพูชา เวียดนาม

วิกฤตเศรษฐกิจโลก วิกฤตต้มยํากงุ้ (พ.ศ.2540)
สาเหตวุ ิกฤตการณต์ ้มยํากงุ้ (พ.ศ.2540) เกดิ จาก
1. การเปิดเสรีทางการเงินโดยการต้ังกรุงเทพวิเทศธนกิจ (BIBF : Bangkok

International Banking Facilities) ทําให้ภาคเอกชนก่อหน้ีต่างประเทศเป็น
จํานวนมหาศาลและหนี้เงนิ กเู้ พม่ิ ขนึ้ เปน็ เทา่ ตัว เม่ือรัฐบาลปล่อยคา่ เงนิ บาทลอยตัว
2. จากการลงทนุ ในธุรกิจท่ีไม่ก่อให้เกิดการผลิต เช่น การเก็งกําไรที่ดินและตลาดหุ้น
ไทย การลงทุนสร้างอสังหาริมทรัพย์ท่ีเกินความต้องการ เช่น คอนโดมิเนียม
บา้ นจัดสรร ทาํ ใหเ้ กดิ ภาวะฟองสบ่แู ตก

3. รฐั บาลดาํ เนนิ โยบายผิดพลาดโดยการใช้เงินกองทุนฟ้ืนฟูและพัฒนาระบบสถาบัน

การเงนิ น้ันไปช่วยเหลอื สถาบันการเงนิ จนเกดิ ความเสียหายอย่างหนัก และจําต้อง

ปดิ บริษทั ไฟแนนซ์ 56 แห่งซง่ึ ทาํ ให้ปรมิ าณหนี้ท่ีไมก่ ่อให้เกิดรายได้ (NPL : non-
performing loan) อยู่ในสัดส่วนที่สูงมากเนื่องจากลูกหนี้ประสบกับภาวการณ์

ขาดทนุ และล้มละลายเปน็ จํานวนมาก

4. การที่รัฐบาลนําเงินทุนสํารองระหว่างประเทศไปปกป้องการโจมตีค่าเงินบาท

จนนําไปสู่วิกฤตการณ์เงินทุนสํารอง ทําให้เงินบาทขาดเสถียรภาพนับต้ังแต่การ

ตัดสินใจเปลี่ยนระบบอัตราการแลกเปลี่ยนจากระบบตะกร้าเงินมาเป็นระบบ

ลอยตวั เม่ือวนั ท่ี 2 กรกฎาคม พ.ศ.2540.

วิกฤตแฮมเบอร์เกอร์
วิกฤตการณ์แฮมเบอร์เกอร์เป็นวิกฤตการณ์การเงินที่มีจุดเริ่มต้นจากปัญหาเร่ือง
Subprime หรอื สนิ เช่ือทมี่ ีความน่าเช่อื ตํ่าถือในธรุ กิจอสังหารมิ ทรัพยข์ องสหรัฐอเมริกา
แล้วไดล้ ุกลามไปยงั สินเช่อื ประเภทอน่ื และส่งผลกระทบต่อสถาบนั การเงินต่างๆ จนนําไปสู่
การขาดความเชือ่ ม่ันต่อสถาบนั การเงินและปัญหาสภาพคล่องในระบบการเงินทั่วโลก

โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปที ี่ 27 _____________________สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (61)

พชิ ติ ...สอบตรงรฐั ศาสตร ป 2559

จงเลอื กคาํ ตอบทถ่ี ูกต้องทสี่ ดุ

1. วันสง่ิ แวดล้อมโลกตรงกับวนั ใด 2) 22 มีนาคมของทกุ ปี
1) 5 มิถนุ ายนของทุกปี 4) 4 ธนั วาคมของทกุ ปี
3) 22 เมษายนของทกุ ปี

2. สามเสาหลักของประชาคมอาเซยี นคือข้อใด
1) เศรษฐกิจ /สังคม / การท่องเทีย่ ว

2) เศรษฐกจิ / วัฒนธรรม / การศึกษา
3) การเมอื งความมนั่ คง / สังคมและวัฒนธรรม / การกฬี า
4) การเมอื งความมั่นคง / เศรษฐกจิ / สงั คมและวัฒนธรรม

3. การเคลอื่ นย้ายแรงงานในประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี นไมค่ รอบคลมุ วชิ าชพี ใด

1) นกั วจิ ยั 2) นกั บัญชี 3) สถาปนกิ 4) นกั สํารวจ

4. ความร่วมมือขององค์กรทางเศรษฐกิจในข้อท่ีสนับสนุนโครงการสะพานมติ รภาพไทย-ลาว แหง่ ที่ 4

1) CLMV 2) GMS 3) ACMECS 4) BIMSTEC

ACMECS ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ อิรวดี-เจ้าพระยา-แม่โขง
(Ayeyawady-Chao Phraya-Mekong Economic Coorperation
Strategy)

BIMSTEC ความริเริ่มแห่งอ่าวเบงกอล (Bay of Bengal Initiative for
Multi-Sectoral Technical and Economic Cooperation Ministerial
Meeting) มี

GMS ความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่นํ้าโขง (Greater
Mekong Subregion Economic Coorperation)

MGC ความร่วมมอื ลุ่มแมน่ ํ้าโขง-คงคา (Mekong-Ganga Cooperation)

5. อาเซียน+8 หมายถงึ กรอบความร่วมมือระหว่างอาเซียนกบั ประเทศใด
1) จีน / ญปี่ นุ่ / เกาหลีใต้ / อินเดีย / แคนาดา / เมก็ ซิโก / สหรัฐอเมรกิ า / รัสเซีย
2) จนี / ญี่ป่นุ / เกาหลีใต้ / อนิ เดีย / ออสเตรเลยี / นวิ ซแี ลนด์ / สหรัฐอเมรกิ า / รสั เซีย
3) จีน / ญ่ีปนุ่ / เกาหลีใต้ / อินเดีย / ภูฏาน / เนปาล / สหรฐั อเมรกิ า / รสั เซยี
4) จนี / ญ่ปี ุ่น / เกาหลใี ต้ / อินเดีย / ภฏู าน / ศรลี งั กา / สหรฐั อเมรกิ า / รัสเซยี

6. กลุม่ ประเทศในขอ้ ใดมกี ารปกครองระบอบประชาธิปไตยท่ีมปี ระธานาธิบดีเปน็ ประมุขของประเทศ

1) เยอรมนี / เนเธอร์แลนด์ / เบลเยียม 2) เดนมารก์ / นอรเ์ วย์ / สวีเดน

3) เกาหลใี ต้ / มาเลเซยี / อสิ ราเอล 4) ฝร่ังเศส / อินเดยี / อนิ โดนเี ซยี

สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (62) _____________________โครงการแบรนด์ซมั เมอรแ์ คมป์ ปที ี่ 27

7. “อังถดั ภ”์ เปน็ ความรว่ มมอื ระดับพหุภาคที่เกี่ยวกบั เร่ืองใด

1) การค้า และ การพฒั นา 2) การเงนิ และ การลงทนุ

3) เศรษฐกิจ และ ความมัน่ คง 4) การลงทุน และ การค้า

8. ประเทศใดใช้ดชั นคี วามสุขมวลรวมประชาชาติ (GNH) เป็นประเทศแรก

1) เนปาล 2) ภฏู าน 3) ศรีลังกา 4) อินเดยี

9. ประเทศใดบรหิ ารประเทศแบบกง่ึ ประธานาธบิ ดี

1) ซาอุดิอาระเบยี 2) มองโกเลยี 3) กาตาร์ 4) บรูไน

10. ประเทศใดมีสิทธิใช้อํานาจยบั ยง้ั (Veto) ในการลงมติของคณะมนตรีความม่นั คงแหง่ องค์การสหประชาชาติ

1) จนี 2) เกาหลี 3) เยอรมนี 4) เนเธอร์แลนด์

11. ผลงานในข้อใดจดั อยใู่ นสาขาของรางวลั โนเบล

1) เศรษฐศาสตร์ 2) นิติศาสตร์ 3) รฐั ศาสตร์ 4) วิทยาศาสตร์

12. รูปสลักหน้าประธานาธบิ ดีอเมรกิ ันท่านใดไมป่ รากฏอย่บู นหน้าผาหินทีเ่ มานตร์ ชั มอร์
1) จอร์ช วอชงิ ตัน 2) โทมัส เจฟเฟอร์สัน 3) ธโี อดอร์ รูสเวลท์ 4) วดู โรว์ วิลสัน

13. ประเทศใดในทวปี แอฟรกิ าท่เี ป็นสมาชกิ OPEC 2) เอธโิ อเปีย / จอร์เจีย / อาร์เมเนยี
1) ตูนเี ซยี / แซมเบีย / แทนซาเนยี 4) แกมเบีย / ไลบเี รยี / ซีเรีย
3) ลเิ บยี / ไนจีเรีย / แอลจเี รยี

14. ทาํ เนียบรฐั บาล เป็นสถาปตั ยกรรมท่ีมีศิลปะแบบใด

1) Neo Classic 2) Venetian Gothic 3) Baroque-Rococo 4) Renaissance

15. หลงั สงครามโลกคร้งั ท่ี 2 บุคคลใดทไี่ ดช้ ือ่ ว่าเปน็ “นายกรัฐมนตรขี ดั ตาทพั ”

1) นายควง อภัยวงศ์ 2) นายทวี บุณยเกตุ

3) นายพจน์ สารสนิ 4) นายสญั ญา ธรรมศกั ดิ์

16. ขบวนการตอ่ ตา้ นญี่ปุน่ ระหวา่ งสงครามโลกคร้ังที่ 2 ท่ใี ชร้ หัสว่า X.O.Group เป็นขบวนการของชนชาติใด

1) ไทย 2) พมา่ 3) สิงคโปร์ 4) เวยี ดนาม

17. วนั ปรีดี พนมยงค์ ตรงกับวนั ท่เี ทา่ ไรของทุกปี 4) 23 ตุลาคม
1) 11 พฤษภาคม 2) 29 กรกฎาคม 3) 7 สงิ หาคม

18. เหตุการณใ์ ดที่ทาํ ใหป้ ระเทศไทยกลายเป็นฐานทัพปฏิบัตกิ ารของสหรฐั อเมริกา

1) สงครามเกาหลี 2) สงครามมหาเอเชียบรู พา

3) สงครามเวยี ดนาม 4) สงครามอนิ โดจนี

19. การตัดความสมั พันธ์ทางการทตู ถือเป็นการแก้ไขความขัดแยง้ แบบใด

1) Retortion 2) Arbitration 3) Reprisal 4) Reformation

20. “Ask not what your country can do for you ; Ask what you can do for your country”

ประโยคนเ้ี ป็นคํากล่าวของใคร 3) จอห์น เอฟ เคเนดี้ 4) โทมสั เจฟเฟอร์สัน
1) อบั ราฮมั ลินคอล์น 2) โรนัลด์ เรแกน

โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27 _____________________สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (63)

21. พระสันตะปาปาฟรานซิสที่ 1 พระสันตะปาปาองคป์ จั จุบันมาจากทวีปใด
1) ทวปี อเมริกาเหนือ 2) ทวีปอเมรกิ าใต้ 3) ทวีปยโุ รปเหนอื 4) ทวีปยุโรปใต้

22. ประเทศไทยไดร้ ว่ มลงนามรบั รองปฏญิ ญาสากลว่าด้วยสทิ ธมิ นุษยชนแหง่ สหประชาชาตเิ มอ่ื ใด

1) 3 มกราคม พ.ศ. 2483 2) 10 ธันวาคม พ.ศ. 2491

3) 15 มกราคม พ.ศ. 2500 4) 19 ธันวาคม พ.ศ. 2507

23. ตามความเชอื่ ของชาวอินเดียโบราณ วรรณะใดเกิดจากขาของพระพรหม

1) กษตั รยิ ์ 2) พราหมณ์ 3) แพศย์ 4) ศูทร

24. ประวัตศิ าสตรส์ มยั ใหม่ของอนิ เดยี เริ่มต้นเม่อื ใด 2) เมือ่ ตกเป็นอาณานคิ ม
1) สมยั ราชวงศ์โมกลุ 4) หลงั การแบง่ แยกอินเดีย-ปากสี ถาน
3) หลังจากไดร้ บั เอกราช

25. วัฒนธรรมฮัวบเิ นยี นทพี่ บในดนิ แดนเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้อยู่ในยุคใด

1) ยุคหินเกา่ 2) ยคุ หนิ กลาง 3) ยุคหนิ ใหม่ 4) ยุคสาํ ริด

26. การรับรองอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ทําให้รัฐชายฝั่งมีอํานาจอธิปไตย

เหนอื ทะเลอาณาเขตในระยะความกวา้ งไม่เกนิ เทา่ ใด

1) 12 ไมล์ทะเล 2) 15 ไมล์ทะเล 3) 18 ไมล์ทะเล 4) 20 ไมลท์ ะเล

27. “มลาบร”ี คือกลมุ่ ชาตพิ นั ธุ์ใด

1) ลัวะ 2) เม็ง 3) มอแกน 4) ผีตองเหลอื ง

28. ดนิ แดนใดในเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ทไี่ ดร้ บั อิทธพิ ลของจีนมากทีส่ ดุ

1) เวยี ดนาม 2) อินโดนเี ซีย 3) กมั พชู า 4) มาเลเซีย

29. วัฒนธรรมใดคือร่องรอยความเจริญของอนุทวีปอินเดียก่อนการเข้ามาของชาวอารยันเม่ือ 1,500 ปีก่อน

คริสตร์ าช

1) ฮนิ ดู 2) บ้านเชยี ง 3) ดองซอน 4) ฮารปั ปา

30. ขอ้ ใดไมเ่ กีย่ วข้องกบั อยี ิปต์โบราณ 2) มัมม่ี (Mummy)
1) เทพเจ้าเร (Re) 4) ศิลาจารึกโรเซตตา (Rosetta Stone)
3) ซิกกูแรต (Ziggurat)

31. กล่มุ ชนใดมีอทิ ธิพลต่อศิลปวัฒนธรรมของโรมันมากทสี่ ดุ

1) ฮิบรู 2) อารยนั 3) อาหรับ 4) อีทรสั กัน

32. หลักการใดอยใู่ นหลกั 6 ประการของคณะราษฎร

1) สามัคคี 2) สถาบนั 3) เอกภาพ 4) ปลอดภยั

33. ผ้ใู ดเปน็ ทนายความของฝา่ ยไทยในคดพี ิพาทปราสาทพระวหิ ารที่ศาลโลก

1) ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช 2) นายปรีดี พนมยงค์

3) ม.ร.ว.คกึ ฤทธิ์ ปราโมช 4) นายควง อภัยวงศ์

สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (64) _____________________โครงการแบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ ปีที่ 27

34. สมเด็จพระเอกาทศรถทรงสง่ คณะราชทตู ไปเจริญสมั พันธไมตรที างการคา้ กบั ชาตใิ ด

1) สเปน 2) อังกฤษ 3) ฝรงั่ เศส 4) ฮอลันดา

35. ชาติใดเป็นชาตแิ รกทม่ี ีสนธสิ ญั ญายกเลกิ สิทธิสภาพนอกอาณาเขตกบั ไทย

1) อังกฤษ 2) ฝรั่งเศส 3) อิตาลี 4) สหรฐั อเมรกิ า

36. ประเทศไทยได้สถาปนาความสมั พันธท์ างการทตู กบั ประเทศใดต้ังแต่ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2

1) อนิ เดยี 2) มาเลเซีย 3) ออสเตรเลยี 4) สหรัฐอเมริกา

37. การทีพ่ ระมหากษัตรยิ ท์ รงปฏบิ ัติพระราชกรณียกจิ ด้วยความซือ่ ตรงสอดคลอ้ งกบั ทศพิธราชธรรมประการใด

1) มทั ทวะ 2) อาชชวะ 3) อวิหงิ สา 4) อวโิ รธนะ

38. เลขาธกิ ารอาเซยี นคนปัจจบุ นั (เริ่มดาํ รงตําแหนง่ เม่อื วันท่ี 1 มกราคม 2556) คือใคร

1) เล เลอื ง มินห์ ชาวเวียดนาม 2) ทองสิง ทํามะวง ชาวลาว

3) ลี เซียนลงุ ชาวสงิ คโปร์ 4) นาจิบ ราซะก์ ชาวมาเลเซีย

39. ประเทศใดรว่ มกนั จดั ต้ังสมาคมอาสา (ASA) 2) ไทย / มาเลเซยี / อนิ โดนเี ซยี
1) ไทย / มาเลเซีย / สิงคโปร์ 4) ฟลิ ปิ ปนิ ส์ / มาเลเซีย / อินโดนีเซีย
3) ไทย / มาเลเซีย / ฟิลิปปินส์

40. อาเซียนถือกําเนิดจากคาํ ปฏิญญากรุงเทพฯ ลงนามที่สถานท่ีใด

1) วังไกลกงั วล 2) วงั สราญรมย์ 3) ตึกไทยค่ฟู ้า 4) ตกึ สนั ติไมตรี

41. ประเทศใดในอาเซียนทใ่ี ชธ้ งชาตพิ ้นื สีแดง ดาวสีเหลอื ตรงกลาง

1) พมา่ 2) กมั พชู า 3) สปป.ลาว 4) เวียดนาม

42. ขอ้ ใดกล่าวถึงสญั ลักษณ์อาเซียนไม่ถูกตอ้ ง 2) สีนา้ํ เงนิ = สันติภาพและความมนั่ คง
1) สีขาว = ความบรสิ ทุ ธิ์ 4) สแี ดง = ความกล้าหาญ ความก้าวหนา้
3) สเี หลือง = ความเปน็ เอกราช

43. ดอกไมป้ ระจาํ ชาตขิ องอาเซยี น ข้อใดไม่สมั พันธก์ นั

1) ไทย - ดอกบวั 2) สหภาพเมียนมาร์ - ดอกประดู่

3) กัมพูชา - ดอกลาํ ดวน 4) มาเลเซยี - ดอกชบา

44. คาํ ทกั ทายของกลมุ่ ประเทศอาเซียน ข้อใดผิด 2) เวียดนาม - ซินจา่ ว
1) พมา่ - มงิ กาลาบา 4) กัมพชู า - ซาลามัต ดาตงั
3) ฟลิ ิปปนิ ส์ - กมู สู ตา

45. บุคคลใดท่ไี ม่เคยดาํ รงตําแหน่งสาํ คญั ในอาเซยี น

1) ดร.ถนดั คอมนั ตร์ 2) แผน วรรณเมธี

3) ดร.สรุ ินทร์ พศิ สวุ รรณ 4) ดร.ศุภชัย พาณิชภักดิ์

โครงการแบรนดซ์ ัมเมอร์แคมป์ ปีท่ี 27 _____________________สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (65)

พิชติ ...สอบตรงนิติศาสตร ป 2559

จงเลือกคาํ ตอบทถี่ กู ต้องทส่ี ดุ

46. กฎหมายใดที่มีศกั ดต์ิ ่ําสดุ 2) ประมวลกฎหมาย
1) พระราชบญั ญตั ิ 4) ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร
3) พระราชกําหนด
5) พระราชกฤษฎีกา

47. กฎหมายในรปู แบบใดไดช้ อ่ื วา่ เปน็ “กฎหมายช่ัวคราว”

1) รฐั ธรรมนูญ 2) พระราชบญั ญตั ิประกอบรัฐธรรมนญู
3) พระราชบัญญัติ 4) พระราชกําหนด
5) พระราชกฤษฎีกา

48. กฎหมายในรูปแบบใดตอ่ ไปนที้ ีไ่ ม่จาํ เป็นตอ้ งนาํ มาขอความเหน็ ชอบจากรัฐสภา

1) รฐั ธรรมนูญ 2) พระราชกฤษฎกี า
3) พระราชบัญญตั ิ 4) พระราชกําหนด
5) พระราชบญั ญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนญู

49. หากรฐั บาลมคี วามจาํ เป็นเรง่ ดว่ นในการบังคับใช้มาตรการป้องปัดภัยพิบัติสาธารณะเน่ืองจากหลายจังหวัด

ในภาคกลางประสบภาวะนํ้าทว่ ม รัฐบาลควรออกกฎหมายในรปู แบบใด

1) พระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนูญ 2) พระราชบัญญัติ

3) พระราชกาํ หนด 4) พระราชกฤษฎกี า

5) กฎกระทรวง

50. ใครเปน็ ผ้ใู หค้ วามยินยอมแกค่ นเสมือนไร้ความสามารถในการทํานติ กิ รรมบางประเภท

1) บิดามารดา 2) ผแู้ ทนโดยชอบธรรม 3) ผพู้ ทิ กั ษ์
4) ผู้อนบุ าล 5) ผู้ใช้อํานาจปกครอง

51 บคุ คลใดอาจถกู ศาลสัง่ ให้เปน็ คนเสมอื นไร้ความสามารถ

1) ผเู้ ยาว์ 2) คนไร้ความสามารถ 3) คนปัญญาออ่ น

4) คนวิกลจริต 5) ผพู้ ิทักษ์

52. กจิ การใดทค่ี นเสมอื นไรค้ วามสามารถทาํ ได้ โดยไมต่ อ้ งได้รับความยินยอมของผูพ้ ิทักษ์

1) ทาํ สัญญาประนปี ระนอมยอมความในศาล 2) รับชาํ ระหน้เี งนิ กู้ ซ่ึงบดิ าให้ผ้อู ื่นยมื ไป

3) ปลกู สรา้ งบา้ นเรอื นใหม่ 4) บอกสละมรดกทต่ี กทอดมาถึงตน

5) ทาํ พนิ ัยกรรม

สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (66) _____________________โครงการแบรนด์ซมั เมอรแ์ คมป์ ปที ี่ 27

53. ขอ้ ใดต่อไปนี้ทําให้นติ กิ รรมเปน็ โมฆะ
1) สดุ หลอ่ อายุ 17 ปี สมรสกับสุดสวยอายุ 21 ปี โดยบิดาของสดุ หล่อยนิ ยอม
2) สดุ ปลืม้ คนเสมือนไรค้ วามสามารถสามารถบอกปัดไมร่ ับชําระหนี้
3) สดุ เท่ห์ถูกกลฉอ้ ฉลจึงซือ้ แหวนจากสุดสวย
4) สดุ ยอดอายุ 14 ปี ทาํ พนิ ัยกรรมโดยบิดายินยอม

5) สดุ สดุ ถกู ข่มข่จู งึ ปลดหนใ้ี หส้ ดุ ซ้ึง

54. หญิงอายุ 16 ปี สามารถทําการสมรสไดใ้ นกรณใี ด
1) ได้รบั อนญุ าตจากศาล
2) ศาสนาทีต่ นนับถอื ยู่ไมห่ ้าม

3) ไมม่ ีสทิ ธิทีจ่ ะทาํ การสมรสไดเ้ ลยไม่วา่ ในกรณีใดๆ
4) ไดร้ บั การยินยอมจากบดิ ามารดาหรอื ผ้แู ทนโดยชอบธรรม
5) บดิ ามารดาถึงแกค่ วามตายหรือถกู ถอนอํานาจปกครองทั้งสองคน

55. บคุ คลจะยกความไม่รู้กฎหมายข้นึ แกต้ วั ใหพ้ น้ ผิดได้เพยี งใด

1) แก้ตัววา่ ไมม่ คี วามผดิ ได้ 2) แกต้ ัวยกเวน้ โทษได้
3) แก้ตัวให้พน้ ผิดไม่ได้ 4) แกต้ วั ไมต่ อ้ งรับผดิ ได้
5) แก้ตวั วา่ ไมม่ ีเจตนาได้

56. การใช้กฎหมายโดยหลักเทยี บเคียงนัน้ ในกฎหมายไทยยอมรบั หรือไม่
1) ไมย่ อมรับ เพราะจะไม่เกิดความไมเ่ ปน็ ธรรมกับผไู้ มร่ กู้ ฎหมาย

2) ไมย่ อมรับ เพราะกฎหมายจะบังคับได้ต้องมีบัญญตั ิไวโ้ ดยตรง
3) ไมย่ อมรบั เพราะกฎหมายต้องใชต้ ามตวั อักษร
4) ยอมรับ ให้ใชไ้ ด้ทั้งแพ่งและอาญา
5) ยอมรบั โดยบัญญตั ิไวใ้ นการอุดช่องวา่ งในกฎหมายแพง่

57. ลักษณะสําคญั ของกฎหมายในสกลุ โรมาโน-เยอรมนั นคิ คอื ขอ้ ใด

1) ยดึ ถือจารีตประเพณเี ปน็ ใหญ่ 2) ยึดถือคาํ พพิ ากษาเปน็ ใหญ่

3) ยึดถอื ตวั บทกฎหมายเปน็ ใหญ่ 4) ยึดถือผลประโยชน์ของสังคมเปน็ ใหญ่

5) ยึดถอื กฎเกณฑ์ทางธรรมชาตเิ ป็นใหญ่

58. การแบ่งกฎหมายออกเป็นกฎหมายแพ่งและกฎหมายอาญาน้ัน เป็นการแบ่งโดยยึดถืออะไรเป็นเกณฑ์ใน

การแบ่ง 2) สภาพบงั คับ
1) เนอ้ื หาสาระของกฎหมาย 4) บทบาทของกฎหมาย
3) ลักษณะของกฎหมาย
5) ความสมั พันธร์ ะหว่างรัฐกบั เอกชน

โครงการแบรนด์ซมั เมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27 _____________________สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (67)

59. ข้อใดไม่เป็นส่วนหน่งึ ของราชอาณาจกั รไทย 2) ทะเลสาบสงขลา
1) เรอื ไทยจอดที่ท่าเรืออังกฤษ 4) ที่ทําการสถานทตู สงิ คโปรใ์ นประเทศไทย
3) ทะเลในรศั มี 12 ไมล์ทะเลจากพ้นื ดิน
5) ท่ีทาํ การสถานทูตไทยในประเทศสงิ คโปร์

60. ประเทศใดทร่ี ฐั ธรรมนญู มกี ารบญั ญตั ไิ วเ้ ปน็ ลายลักษณ์อักษรเปน็ ประเทศแรกในโลก

1) องั กฤษ 2) สหรฐั อเมริกา 3) ฝร่ังเศส 4) เยอรมนี 5) อิตาลี

61. หลกั ทว่ี า่ “พระมหากษตั รยิ ท์ รงดํารงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้” ปรากฏอยู่

ในกฎหมายใด

1) กฎหมายตราสามดวง 2) กฎมณเฑียรบาล

3) ประกาศพระบรมราชโองการ 4) รัฐธรรมนูญ

5) กฎหมายอาญา

62. รฐั ธรรมนญู ลายลักษณอ์ กั ษรฉบับแรกของประเทศไทย ใชช้ อื่ อยา่ งเป็นทางการวา่ อย่างไร
1) พระราชบัญญัตธิ รรมนูญการปกครองแผน่ ดินสยามชัว่ คราว พ.ศ. 2475
2) ธรรมนูญการปกครองแผน่ ดนิ สยามชั่วคราว พ.ศ. 2475
3) รฐั ธรรมนูญการปกครองแผ่นดนิ สยามชว่ั คราว พ.ศ. 2475
4) รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2475
5) รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รสยาม พ.ศ. 2475

63. ประมวลกฎหมายท่ไี ด้ชอ่ื วา่ เป็นประมวลกฎหมายทีท่ นั สมัยฉบบั แรกของไทยคอื ฉบบั ใด

1) กฎหมายลักษณะผวั เมยี 2) กฎหมายตราสามดวง

3) กฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ. 127 4) ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์

5) ประมวลกฎหมายอาญา

64. บุคคลธรรมดาเรมิ่ มสี ิทธิตามกฎหมายเมือ่ ใด
1) ตงั้ แตม่ ารดาเริ่มตั้งครรภ์ แมว้ า่ ได้ตายก่อนเกดิ มามีชวี ิตรอดอยู่
2) ต้ังแต่เปน็ ทารกในครรภม์ ารดา หากว่าภายหลังเกิดมามีชีวติ รอดอยู่
3) เมื่อบดิ ามารดาแจง้ การเกดิ ตอ่ เจ้าหน้าท่ภี ายในระยะเวลาท่กี ฎหมายกําหนด
4) เมือ่ คลอดแล้วอยู่รอดเป็นทารก จนมีอายุครบ 15 ปีบรบิ ูรณ์
5) เม่ือคลอดแล้วอยรู่ อดเปน็ ทารก จนมอี ายคุ รบ 20 ปบี ริบรู ณ์

65. นายชูชาติอายุ 19 ปี นํารถยนต์ของบิดาไปขับโดยบิดาไม่รู้เห็น แต่เพราะนายชูชาติประมาทจึงขับรถชน
รถยนต์ของนางสาวรื่นฤดี เสียหายเป็นจํานวนเงิน 10,000 บาท นางสาวรื่นฤดีเรียกให้นายชูชาติรับผิด
ดังน้นั นายชูชาติตอ้ งรับผดิ หรอื ไม่
1) ไมต่ อ้ ง เพราะนายชชู าตเิ ป็นผู้เยาว์
2) ไมต่ อ้ ง เพราะบิดาของนายชชู าติไม่ให้ความยินยอม
3) ตอ้ ง เพราะถอื วา่ บิดาของนายชูชาตใิ หค้ วามยนิ ยอมโดยปริยายแลว้
4) ต้อง เพราะความรับผดิ ดังกล่าวไม่ใชน่ ิตกิ รรม
5) ไมม่ ขี อ้ ใดถูก

สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (68) _____________________โครงการแบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ ปที ี่ 27

66. นิติกรรมใดทกี่ ฎหมายกาํ หนดแบบให้ต้องจดทะเบียนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

1) การสมรส 2) การทาํ พินัยกรรม 3) การซอ้ื ขายรถยนต์

4) การซือ้ ขายอาวธุ ปืน 5) การซ้ือขายแพทอ่ งเทยี่ ว

67. ข้อใดเป็นสนิ สมรส
1) แหวนหม้ันของภรยิ า
2) รถยนตท์ ีภ่ รยิ าได้มาระหว่างสมรสโดยบดิ ายกให้
3) แมว่ วั ท่ภี ริยาไดม้ าระหวา่ งสมรสโดยการรบั มรดก
4) เครือ่ งโกนหนวดของสามีท่ีซอื้ มาด้วยเงนิ สนิ สมรส
5) ไมม่ ขี อ้ ใดเป็นสนิ สมรสเลย

68. แดงทําสญั ญาเช่าซอื้ รถยนต์จากดํา แตต่ กลงกันดว้ ยวาจา ทา่ นคิดวา่ จะใชไ้ ดห้ รอื ไม่ เพราะเหตุใด
1) ใช้ได้ เพราะสญั ญาเชา่ ซอื้ ไม่มีแบบ
2) ใช้ได้ แตถ่ า้ จะฟอ้ งรอ้ งต้องมหี ลกั ฐานเป็นหนงั สอื
3) ใช้ได้ แต่ตอ้ งมพี ยานรบั รองอย่างนอ้ ย 2 คน

4) ใช้ไมไ่ ด้ เพราะต้องไปจดทะเบยี นตอ่ พนกั งานเจา้ หน้าท่ี
5) ใชไ้ ม่ได้ เพราะตอ้ งทาํ เป็นหนงั สือ

69. นายสนทําสัญญาเช่าซ้ือรถยนต์จากนายจอม 15 เดือน นายสนชําระเงินมาถูกต้องทุกงวด แต่ใน 2 งวด
สดุ ทา้ ย นายสนผดิ นัดไมช่ าํ ระ นายจอมจะบอกเลกิ สัญญาเชา่ ซอ้ื ทันทไี ดห้ รือไม่ เพราะเหตใุ ด
1) ไมไ่ ด้ เพราะยงั ไม่ครบ 15 เดือน

2) ไม่ได้ เพราะไม่มหี ลกั ฐานเปน็ หนงั สอื
3) ได้ เพราะสนผิดนัดไมช่ าํ ระหนีเ้ พยี งครง้ั เดียวกบ็ อกเลกิ สญั ญาไดแ้ ล้ว
4) ได้ เพราะผ้ใู ห้เช่าซอ้ื มีสิทธิบอกเลิกสัญญาเวลาใดเวลาหนึ่งได้
5) ได้ เพราะสนผดิ นดั ไม่ชําระหน้ี 2 คราวตดิ ต่อกนั

70. การเช่าอสงั หารมิ ทรัพย์ที่เพยี งแต่ทาํ เปน็ หนังสือไวโ้ ดยมิได้นาํ ไปจดทะเบยี นตอ่ พนักงานเจา้ หน้าทจ่ี ะฟอ้ งร้อง

บงั คบั คดไี ดก้ ่ีปี

1) 1 ปี 2) 2 ปี 3) 3 ปี 4) 5 ปี 5) 10 ปี

71. นายไกโ่ ทรศัพท์มาขู่นางนกวา่ ถา้ นางนกไมย่ อมนาํ เงินไปให้ที่ป้ายรถเมล์พรุ่งนี้ตอนเที่ยง จะมาฆ่าสามีและ
ลกู ใหต้ าย นางนกกลวั มากจงึ นาํ เงินไปให้ พฤติกรรมของนายไกม่ ีความผิดตามกฎหมายอาญาฐานใด

1) กรรโชกทรัพย์ 2) ชิงทรพั ย์ 3) ข่มขูเ่ อาทรพั ย์
4) รดี เอาทรัพย์ 5) ยกั ยอกทรพั ย์

72. ขอ้ ใดเป็นสภาพบงั คบั ทางแพ่ง

1) การอายดั ของกลาง 2) การยดึ ทรพั ย์ 3) การรบิ ทรพั ย์สนิ

4) การเรยี กประกันทณั ฑ์บน 5) การปรับ

โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27 _____________________สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (69)

73. ในกรณีใดทก่ี ฎหมายบงั คับใหศ้ าลต้องทาํ การไต่สวนมูลฟ้องกอ่ น

1) ราษฎรเปน็ โจทกฟ์ ้องคดีอาญา 2) ตํารวจฟอ้ งคดีอาญา

3) พนักงานอยั การฟ้องคดีอาญา 4) การฟอ้ งความผิดต่อส่วนตัว

5) การฟอ้ งความผดิ ลหุโทษ

74. ทนายความแผน่ ดินหมายถึงบุคคลใด

1) พนกั งานสอบสวน 2) พนกั งานอยั การ 3) พนกั งานบังคับคดี

4) พนักงานราชทัณฑ์ 5) พนกั งานคมุ ประพฤติ

75. บุคคลใดต่อไปนไ้ี ม่ใช่ผู้ดําเนนิ การบังคบั ให้เป็นไปตามกฎหมาย
1) ผวู้ า่ ราชการจงั หวัด / นายอําเภอ / ตาํ รวจ / พนักงานอัยการ
2) ผู้ใหญบ่ า้ น / กํานนั / ปลดั อาํ เภอ / พนักงานศลุ กากร
3) พนักงานสอบสวน / พนักงานปา่ ไม้ / พนักงานสรรพสามิต / พนักงานตรวจคนเขา้ เมือง
4) ทนายความ / พนักงานราชทัณฑ์ / พนกั งานคุมประพฤติ / พนกั งานบังคบั คดี
5) กาํ นัน / ผใู้ หญ่บ้าน / ตาํ รวจ / นายอาํ เภอ

76. ขอ้ ใดเป็นบคุ คลผู้มสี ิทธสิ มคั รรับเลือกต้ังเปน็ สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎรและสมาชิกวฒุ สิ ภา

1) บุคคลลม้ ละลาย 2) บคุ คลทตี่ ดิ ยาเสพติดใหโ้ ทษ

3) บคุ คลตาบอดหรอื หูหนวก 4) บคุ คลท่ีถูกคุมขงั อยโู่ ดยหมายของศาล

5) บคุ คลทเี่ คยถกู ให้ออกจากราชการหรอื รฐั วิสาหกจิ

77. นับแต่วันท่ีเจ้ามรดกถึงแก่ความตายเป็นระยะเวลาเท่าใด ที่ไม่อาจถือว่าทารกที่เกิดมีชีวิตเป็นทายาทของ

เจ้ามรดก

1) 210 วัน 2) 260 วนั 3) 290 วัน 4) 310 วนั 5) 365 วนั

สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (70) _____________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27

พิชติ ...สังคม 7 วชิ าสามญั

จงเลอื กคาํ ตอบที่ถูกต้องท่สี ุด

78. ขอ้ ใดเป็นผลดขี องตลาดแข่งขนั สมบรู ณใ์ นทัศนะของผ้บู รโิ ภคเมือ่ เปรียบเทียบกบั ตลาดอื่นๆ
1) ผู้ผลติ แตล่ ะรายตา่ งไม่แสวงหากําไรสูงสดุ
2) ผผู้ ลติ แต่ละรายไม่มีอํานาจกาํ หนดราคาขาย
3) ผบู้ ริโภคไมต่ อ้ งรับภาระค่าใชจ้ ่ายในการโฆษณา
4) ผู้บรโิ ภคมน่ั ใจวา่ อุปทานของสนิ คา้ มีมากเพยี งพอ
5) ผูผ้ ลติ จะต้องผลิตสินคา้ ตามความต้องการของผบู้ ริโภค

79. ตลาดผูกขาดก่อให้เกดิ ผลดแี ก่สงั คมได้อยา่ งไร เพราะเหตุใด
1) ต้งั ราคาสนิ ค้าได้ต่าํ เพราะเป็นการต้ังราคาตามตน้ ทนุ
2) ตน้ ทนุ การผลติ เฉลีย่ ต่อหน่วยต่าํ เพราะเปน็ การผลติ ขนาดใหญ่
3) สอนงความตอ้ งการของผบู้ ริโภคไดอ้ ย่างทั่วถึง เพราะผลติ จํานวนมาก
4) ไม่ต้องเสียทรพั ยากรในการโฆษณาประชาสัมพนั ธ์ เพราะไมม่ ีคู่แข่งขนั
5) ทํารายไดใ้ หร้ ัฐบาลมาก เพราะมกี าํ ไรสงู จึงตอ้ งจ่ายภาษีเงนิ ได้ในอตั ราสงู

80. ระบบเศรษฐกจิ แบบผสมมขี ้อดีเหนือระบบเศรษฐกจิ สงั คมนยิ มในขอ้ ใด เพราะเหตุใด
1) ประสิทธิภาพการผลติ สูงกวา่ เพราะมีการแข่งขันกันประกอบธุรกิจ
2) เศรษฐกิจมีเสถียรภาพสงู กว่า เพราะใชก้ ลไกราคาจดั สรรปัจจัยการผลิต
3) การผูกขาดการผลิตหมดไป เพราะรัฐบาลใหเ้ อกชนผลิตแขง่ ขันกบั รฐั บาลได้
4) เอกชนมีเสรีภาพในการตดั สนิ ใจทางธุรกจิ เพราะรฐั บาลไม่ดําเนินธุรกิจแขง่ ขนั กบั เอกชน
5) การกระจายรายไดเ้ ท่าเทยี มกนั มากกว่า เพราะรัฐบาลสามารถใช้มาตรการทางภาษีและรายจ่ายอย่างมี
ประสิทธิภาพ

81. สมมติให้เดิมตลาดแรงงานเป็นตลาดเสรี ดุลยภาพของตลาดอยู่ที่จุด E ตามรูป ต่อมาให้รัฐบาลกําหนด

ราคาค่าจา้ งข้ันต่าํ วันละ 300 บาท จะทําให้เกิดผลอยา่ งไร บาท M NS
300 E
1) แรงงานตกงานเท่ากับ L1L0 คน 280
2) แรงงานต้องการทํางาน OL1 คน

3) แรงงานสมัครใจว่างงาน L0L2 คน D
4) ความตอ้ งการจา้ งงานลดลง L1L2 คน
5) แรงงานนอกฎหมายเท่ากบั L1L2 คน 0 L1 L0 L2 แรงงาน

โครงการแบรนด์ซมั เมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27 _____________________สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (71)

82. ข้อใดเป็นสาเหตุสําคัญที่ทําให้การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยหันมายึดหลักปรัชญา

เศรษฐกิจพอเพียงนําทางในการพัฒนา

1) วิกฤตการณ์ทางเศรษฐกจิ ท่เี กดิ ขึ้นอย่างรนุ แรงในปี 2540

2) ความแตกต่างของรายไดร้ ะหวา่ งเมืองและชนบททมี่ ีมากขน้ึ

3) ความไม่สมดุลระหวา่ งการพฒั นาเศรษฐกิจกับการพฒั นาสังคม

4) การใชจ้ า่ ยเกนิ ตัวทั้งในภาคเอกชนและภาครฐั ชว่ ง พ.ศ. 2540-2544
5) ความเสือ่ มโทรมของทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมอย่างรวดเร็วและรุนแรง

83. สังคมไทยไม่ไดป้ ฏิบัตติ ามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงข้อใดมากทส่ี ดุ จึงทําให้เกิดวิกฤตเศรษฐกจิ พ.ศ. 2540

1) การวางแผนลว่ งหน้า 2) การเออ้ื เฟ้ือเผอื่ แผ่กัน

3) ความอดทนหมน่ั เพียร 4) การดําเนินทางสายกลาง

5) การใชส้ ตปิ ัญญาแก้ปญั หา

84. ทฤษฎีใหม่ขน้ั ท่ี 1 มวี ัตถปุ ระสงค์เพ่อื การใดเปน็ หลัก

1) การผลิตและการแลกเปล่ยี นในชมุ ชน

2) การผลติ เพ่อื การบริโภคข้นั พน้ื ฐานของครอบครัว

3) การแกป้ ญั หาการขาดแคลนเงินออมและเงินลงทุน

4) การลดความเส่ียงจากการขาดแคลนแหล่งนาํ้ กนิ น้าํ ใช้

5) การลดต้นทนุ คา่ เสยี โอกาสในการใชท้ ่ีดินใหเ้ กิดประโยชน์

85. ชุมชนที่ต้องการพ่ึงตนเองและช่วยเหลือกันด้านเงินทุนในการใช้จ่ายเม่ือมีความจําเป็นควรจัดตั้งสหกรณ์

ประเภทใดขึ้นในชมุ ชน

1) สหกรณ์นิคม 2) สหกรณร์ า้ นค้า 3) สหกรณ์บริการ

4) สหกรณ์การเกษตร 5) สหกรณอ์ อมทรพั ย์

86. ขอ้ ใดเปน็ มาตรการของนโยบายการคลงั เพอ่ื สร้างความเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกิจ

1) โครงการเบ้ยี ยังชีพผสู้ ูงอายุ 2) โครงการรบั จํานําขา้ วเปลอื ก

3) การจัดทํางบประมาณขาดดลุ 4) การลดอตั ราภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล

5) การปรับอตั ราคา่ จ้างขั้นตาํ่ ให้เท่ากนั ทกุ จังหวดั

87. ข้อใดเป็นมาตรการของนโยบายการคลังในการสรา้ งการเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกจิ

1) การลงทนุ ด้านปจั จัยพ้ืนฐานทางเศรษฐกจิ

2) การสง่ เสริมการจดั ตั้งสหกรณ์การเกษตรในทอ้ งถน่ิ

3) การจดั สรรงบประมาณเพ่ือจัดหาสวัสดกิ ารให้ประชาชน

4) การเพม่ิ วงเงินให้ก้ยู ืมเพ่ือการศึกษาข้ันอุดมศกึ ษาทกุ ระดับ

5) การปรบั ปรงุ อัตราภาษีเงินไดบ้ คุ คลธรรมดาและนติ บิ คุ คลให้เปน็ อตั ราก้าวหนา้ มากข้นึ

สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (72) _____________________โครงการแบรนด์ซมั เมอร์แคมป์ ปที ่ี 27

88. ในระยะทเ่ี กดิ ภาวะเงินเฟอ้ ในอตั ราสงู ใครไดร้ บั ประโยชน์มากทีส่ ุด เพราะเหตุใด
1) ผู้ผลติ เพราะสามารถขายสินคา้ ไดใ้ นราคาทส่ี งู ข้นึ
2) แรงงาน เพราะอัตราเงินเฟอ้ ตํา่ กวา่ อัตราค่าจ้างขั้นตา่ํ
3) รัฐบาล เพราะจ่ายอัตราดอกเบีย้ พันธบตั รในอัตราเดิม
4) ผูเ้ ชา่ บา้ น เพราะเจา้ บา้ นไม่สามารถขึน้ ค่าเช่าได้ทุกเดอื น

5) ขา้ ราชการบาํ นาญ เพราะรายไดท้ ีแ่ ท้จริงจากเงนิ บํานาญสูงข้ึน

89. ขอ้ ใดเป็นผลดีของการลงทนุ ทางตรงจากตา่ งประเทศ

1) อัตราดอกเบยี้ ในประเทศลดลง 2) ระดบั ราคาสนิ คา้ ในประเทศลดลง

3) ระดบั การจ้างงานในประเทศสูงขึน้ 4) ดชั นรี าคาหุ้นในตลาดหลักทรัพย์สูงขึน้

5) การผลติ สนิ ค้าเลยี นแบบตา่ งประเทศลดลง

90. การเปดิ เสรที างด้านการค้าและการเงินระหว่างประเทศทาํ ให้ประเทศไทยต้องประสบปัญหาสาํ คัญขอ้ ใด

1) การขาดดลุ ของบัญชเี งินทุน 2) การผนั ผวนของภาวะเศรษฐกิจ

3) การเปลยี่ นแปลงรัฐบาลบ่อยครั้ง 4) การขาดแคลนแรงงานภายในประเทศ

5) การสญู เสียความสามารถในการแข่งขันกบั ตา่ งประเทศ

91. นติ กิ รรมในขอ้ ใดมีผลเปน็ โมฆียะ 2) เอือ้ ยทาํ พินยั กรรมเมอื่ อายุ 15 ปี
1) อัม้ หม้ันกับออ้ ยเมือ่ อายุ 16 ปี 4) อดู๊ จดทะเบยี นสมรสซ้อนเม่ืออายุ 19 ปี
3) อน้ ทําสญั ญาขายที่ดนิ เมื่ออายุ 18 ปี
5) อนั๋ รับรอง ด.ช.ออ๊ ดเป็นบุตรเมอื่ อายุ 17 ปี

92. นายบุญน้อยอาศัยอยู่กับพ่อแม่และน้องชายชื่อนายบุญเนื่อง ตัวนายบุญน้อยเองเป็นม่ายและมีลูกสาว

เพยี งคนเดียวชือ่ นอ้ งนิดหน่อย หากนายบุญน้อยตายโดยไม่ได้ทําพินัยกรรมไว้และมีมรดก 1 ล้าน 2 แสนบาท

น้องนดิ หน่อยจะได้รับมรดกเทา่ ใด

1) 3 แสนบาท 2) 4 แสนบาท 3) 6 แสนบาท

4) 8 แสนบาท 5) 1 ลา้ น 2 แสนบาท

93. หากจดั ประเภทของวฒั นธรรมตามเน้ือหา ข้อใดจัดอยใู่ นประเภทของสหธรรม

1) จารีต 2) ศาสนา 3) ศลี ธรรม

4) มารยาท 5) กฎหมาย

94. กจิ กรรมใดเปน็ การอนุรกั ษ์วฒั นธรรมไทยในด้านสหธรรม

1) การเลน่ ดนตรีไทย 2) การไหวท้ กั ทายกนั

3) การทําบญุ ตกั บาตร 4) การปลูกบา้ นทรงไทย

5) การบรโิ ภคอาหารไทย

95. สถาบนั สงั คมในข้อใดมบี ทบาทสาํ คญั ในการกําหนดสถานภาพของคนในสังคม

1) สถาบันการศกึ ษาและสถาบันศาสนา 2) สถาบันการศาสนาและสถาบนั ครอบครวั

3) สถาบนั เศรษฐกจิ และสถาบันการเมอื ง 4) สถาบนั การเมอื งและสถาบันการศกึ ษา

5) สถาบันครอบครัวและสถาบันเศรษฐกจิ

โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27 _____________________สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (73)

96. สถานภาพทางสงั คมมคี วามหมายสอดคลอ้ งกบั ขอ้ ใดมากทสี่ ดุ

1) หนา้ ที่ทางสงั คม 2) บทบาททางสังคม

3) ตาํ แหน่งทางสงั คม 4) แบบแผนทางสงั คม

5) มาตรฐานทางสงั คม

97. พลเมอื งกล่มุ ใดมลี ักษณะท่ีเปน็ อนั ตรายตอ่ ประเทศชาติและประชาชนมากท่ีสุด
1) กล่มุ คกึ คัก แสดงพลงั คดั ค้านทุกประเดน็ การเมืองท่ีไมเ่ หน็ พ้องด้วย
2) กลมุ่ คา้ งคาว โจมตีผูม้ ีความเห็นขดั แย้งดว้ ยถ้อยคาํ ทก่ี า้ วร้าวรนุ แรง
3) กลุ่มคุดคู้ ไมม่ ีจุดยืน เปลี่ยนแปลงความคดิ ไปตามกระแสความนยิ ม
4) กลุ่มคดั เคา้ ยอมรบั นกั การเมืองทุจรติ ท่เี อือ้ ประโยชน์แก่กลุ่มของตน

5) กลมุ่ ครน้ื เครง ชอบความสนกุ สนานบนั เทงิ ไม่สนใจปญั หาบา้ นเมอื ง

98. องคก์ ารระหวา่ งประเทศใดมีบทบาทเกี่ยวขอ้ งกับการแก้ไขปัญหาการค้าหญงิ มากทสี่ ุด

1) AI 2) ILO 3) UNHCR 4) GAATW 5) UNICEF

99. ประเทศในขอ้ ใดอยใู่ นกลุม่ อาเซียน+3 2) ญ่ีปนุ่ และเกาหลใี ต้
1) จนี และอนิ เดยี 4) สหรฐั อเมรกิ าและจนี
3) เกาหลีใตแ้ ละอินเดีย
5) ออสเตรเลยี และนิวซแี ลนด์

100. ประเทศคูใ่ ดมรี ูปแบบของรัฐและลักษณะการปกครองคล้ายคลงึ กนั มากที่สุด

1) กมั พชู า / เวียดนาม 2) ฟิลิปปินส์ / เกาหลใี ต้

3) มาเลเซีย / อนิ โดนีเซีย 4) ออสเตรเลีย / นวิ ซแี ลนด์

5) สิงคโปร์ / บรู ไนดารสุ ซาลาม

101. เพือ่ สนับสนุนการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย รัฐควรส่งเสริมให้หน่วยงานใดเป็นหน่วยงานหลักใน

การจัดทาํ บริการสาธารณะ

1) หน่วยการปกครองทอ้ งท่ี 2) องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ

3) หนว่ ยงานสว่ นภมู ิภาคระดับอาํ เภอ 4) หนว่ ยงานส่วนภูมภิ าคระดับจงั หวัด

5) กรมหรือส่วนราชการทมี่ ีฐานะเป็นกรม

102. ความในข้อใดสอดคล้องกับลักษณะของการปกครองระบอบเผดจ็ การมากท่ีสดุ

1) กฎหมายตอ้ งศักด์ิสทิ ธ์ิ 2) รฐั บาลต้องมีอาํ นาจมน่ั คง

3) พลเมืองต้องมีหนา้ ทตี่ อ่ รัฐ 4) ประชาชนต้องเท่าเทยี มกนั

5) บา้ นเมืองต้องสงบเรียบรอ้ ย

สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (74) _____________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอร์แคมป์ ปีท่ี 27

เฉลย

TEST…พิชติ สอบตรงรฐั ศาสตร ป 2559 7. 1 8. 2 9. 2 10. 1
17. 1 18. 3 19. 1 20. 3
1. 1 2. 4 3. 1 4. 3 5. 2 6. 4 27. 4 28. 1 29. 4 30. 3
11. 1 12. 4 13. 3 14. 2 15. 2 16. 1 37. 2 38. 1 39. 3 40. 2
21. 2 22. 2 23. 3 24. 1 25. 2 26. 1
31. 4 32. 4 33. 1 34. 4 35. 4 36. 4
41. 4 42. 3 43. 1 44. 4 45. 4

TEST…พิชิตสอบตรงนิตศิ าสตร ป 2559 52. 5 53. 4 54. 1 55. 3
62. 1 63. 3 64. 2 65. 4
46. 5 47. 4 48. 2 49. 3 50. 3 51. 3 72. 2 73. 1 74. 2 75. 4
56. 5 57. 3 58. 2 59. 5 60. 2 61. 4
66. 1 67. 5 68. 5 69. 5 70. 3 71. 1
76. 3 77. 5

TEST…พชิ ติ สงั คม 7 วิชาสามญั 83. 4 84. 2 85. 5 86. 3 87. 1
93. 4 94. 2 95. 5 96. 3 97. 4
78. 2 79. 2 80. 1 81. 4 82. 1
88. 1 89. 3 90. 2 91. 3 92. 2
98. 4 99. 2 100.2 101. 2 102. 2

————————————————————

โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27 _____________________สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (75)

ประวตั ศิ าสตร

1. ความหมายของประวัติศาสตร

เทคนิค ความหมายของประวตั ศิ าสตร1์
พี่หมุย
.................... เป็นเพียงบางสว่ นของพฤติกรรมมนษุ ยท์ ม่ี ีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ดังน้ัน ประวัติศาสตร์
เปลีย่ นแปลงได้ หากพบหลักฐานใหม่
.................... ในความหมายกว้าง หมายถึง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต ในความหมายแคบ คือ
.................... เหตกุ ารณ์ทผ่ี า่ นไปแลว้ นานกวา่ 10 ปี
เป็นเหตุการณห์ รือส่ิงทกี่ ระทาํ โดยมนุษย์ (รวมท้งั ความคดิ ความรู้สึก และความหวัง)
.................... เป็นพฤติกรรมของมนษุ ย์ที่มีผลกระทบต่อสังคมมนษุ ยใ์ นส่วนรวม ไม่วา่ จะเป็นผลดี หรือ
ผลเสียกต็ าม ดงั นัน้ ประวัตศิ าสตร์จงึ ไม่ใชเ่ ร่ืองของทุกคน และใหค้ วามสําคัญกับพฤตกิ รรม
ของผูน้ ํา หรอื กล่มุ ของผู้นาํ สงั คม

สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (76) _____________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27

2. วิธีการทางประวัตศิ าสตร

เทคนิค วิธีการ
พีห่ มยุ

.................... กําหนด ประเด็น วา่ จะศึกษา อะไร ทไ่ี หน เม่อื ไร เกีย่ วขอ้ งกบั ใคร
.................... รวบรวม ค้นคว้าขอ้ มูลหลกั ฐานตา่ งๆ ทีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั เรื่องทจ่ี ะศึกษา ไดแ้ ก่ ...................
.................... การ จัดระบบ ขอ้ มลู นําข้อมลู มาจดั หมวดหมู่ เชน่ เรียงลําดบั เวลา เรียงตามลกั ษณะขอ้ มลู
การ วเิ คราะห์ หรอื ตรวจสอบความจริงจากหลักฐานและการตคี วามหลักฐาน
.................... การตรวจสอบหลกั ฐานทําได้ 2 วธิ ี ได้แก่

- การตรวจสอบภายนอก คอื ดูว่าหลกั ฐานน้ันเป็นของแท้
หรือไม่ เชน่ ดูว่าหลกั ฐานเขยี นเมอ่ื ใด ภาษาสอดคล้อง
กับยุคหรอื ไม่ ใครเขยี น มอี คติหรอื ไม่ .........................

- การตรวจสอบภายใน คอื ดวู ่าเนอ้ื หานน้ั มีคณุ คา่
ทางประวตั ิศาสตร์ และขัดแย้งกบั ข้อมลู ทางประวตั ศิ าสตร์
อน่ื หรือไม่ ..............................................................

.................... การ เรียบเรียง และนําเสนอ หรือการสังเคราะห์ สรุปข้อมูลข้อเท็จจริง เพราะ
ประวัติศาสตร์ “ไม่ใช่” การรวบรวมข้อเท็จจริงว่ามีอะไรเกิดในอดีต แต่เป็นการอธิบาย
ลําดบั เหตุการณใ์ นแงข่ องความสัมพนั ธท์ เ่ี ป็นเหตุเป็นผลสืบเนื่องกัน และข้ันตอนน้ีถือเป็น
ขน้ั ตอนของการตอบประเดน็ ปญั หาทต่ี ง้ั ไวใ้ นขั้นตอนแรก

ขอ้ สงั เกต
• ขน้ั ตอนที่ 2 การรวบรวมขอ้ มลู และ ข้ันตอนที่ 3 การจัดระบบขอ้ มูล อาจมองเป็นขน้ั ตอนเดยี วกนั
• ขัน้ ตอนท่ี 4 การพจิ ารณาข้อมลู ในตัวหลักฐาน เรียกว่า ข้อเทจ็ จริง หรอื ข้อสนเทศ ในหลักฐานแต่ละชั้น

*หากตรวจสอบและตีความหลักฐานแล้วผลลัพธ์ท่ีได้จากการตรวจสอบจะกลายเป็น ข้อเท็จจริงทาง
ประวตั ศิ าสตร์
• ขัน้ ตอนที่ 5 การเรียบเรยี งและนาํ เสนอ อาจเรยี กวา่ ขั้นตอนการ สังเคราะห์ ขอ้ มลู

โครงการแบรนดซ์ ัมเมอร์แคมป์ ปที ี่ 27 _____________________สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (77)

แบบฝกหดั

1. การคน้ ควา้ วิจยั เรอื่ ง “คนไทยมาจากไหน” พบว่า “คนไทยมาจากกัมพูชา” โดยมเี หตผุ ลสนับสนุน
ด้านภาษาศาสตร์ คือ ในภาษาไทยโบราณมคี าํ ที่มาจากภาษาเขมรจํานวนมาก เช่น เดิน เกดิ จากคํากลา่ ว
ขา้ งตน้ อยากทราบว่างานวจิ ยั ดังกลา่ วอยูใ่ นขนั้ ตอนของวธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์ในข้อใด
(แนวขอ้ สอบ O-NET 58)
1) การเรียบเรยี ง/อธิบายผลการศกึ ษา
2) วิเคราะหแ์ ละสังเคราะห์ข้อมลู
3) การประเมนิ คณุ คา่ ของหลกั ฐาน
4) การรวบรวมหลักฐาน
5) กาํ หนดหัวเร่อื งการศกึ ษา

2. วิพากษว์ ิธที างประวัตศิ าสตรห์ มายถึงวธิ กี ารใด (O-NET 54)
1) การตคี วาม
2) การประเมนิ
3) การวิเคราะห์
4) การสังเคราะห์

3. ขน้ั ตอนใดคอื ขัน้ ตอนแรกของวิธกี ารทางประวตั ิศาสตร์ (O-NET 51)
1) การค้นหาขอ้ มลู และรวบรวมหลักฐาน
2) การตงั้ คาํ ถาม และกาํ หนดประเด็นของการศึกษา
3) การอธบิ ายทม่ี ีเหตุผล และมีคาํ ตอบท่ีชดั เจน
4) การแสวงหาความหมาย และความสมั พันธข์ องข้อมูล

4. ถา้ ต้องการวิจยั เรอ่ื ง เรือกับวถิ ีชีวิตชาวเล จะต้องใชว้ ิธกี ารทางประวตั ิศาสตร์ในข้ันตอนใด เพอื่ ให้ไดข้ อ้ มูล
ที่สมบรู ณ์ (O-NET 50)
1) การต้งั ประเดน็ คาํ ถามเรือ่ งราวท่ีอยากรู้
2) การค้นหาและรวบรวมหลกั ฐาน
3) การวพิ ากษ์และตีความหลกั ฐาน
4) การสรปุ ข้อเทจ็ จรงิ ทางประวัติศาสตร์

5. วธิ ีการในข้อใดเป็นการนาํ เสนอข้อเท็จจริงทางประวตั ิศาสตร์ให้เปน็ เร่อื งราว (O-NET 49)
1) การค้นควา้ และการตคี วาม
2) การวิเคราะห์และการสงั เคราะห์
3) การตีความและการสังเคราะห์
4) การรวบรวมขอ้ มูลและการวเิ คราะห์

สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (78) _____________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27

3. การนับศกั ราช * รชั สมัย สมยั
คาํ ศพั ท์ ยุค
๕๔๓ ๑๑๒๒

๖๒๑ ๑๑๘๑ ๒๓๒๔

ครสิ ต์...........................
พทุ ธ............................
ฮิจเราะห.์ ......................

4. การเปรยี บเทยี บศักราชตางๆ

ฮจิ เราะห์ศักราช พ.ศ. - ..................................2

รตั นโกสนิ ทรศ์ ก พ.ศ. - .................................

ครสิ ต์ศกั ราช พ.ศ. - .................................

จุลศกั ราช พ.ศ. - .................................

ถา้ เทยี บจากพทุ ธศักราชเปน็ ศักราชอ่นื ใช้ -, ถ้าเทยี บจากศกั ราชอื่นเป็นพุทธศักราช ใช้ +

โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปที ี่ 27 _____________________สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (79)

แบบฝกหดั

1. ในพ.ศ. 2475 ตรงกับรชั สมัยของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจา้ อยูห่ วั มพี ระราชพิธีสมโภชพระนคร
ครบ 150 ปี อยากทราบว่าถ้าใช้รตั นโกสินทร์ศก หรอื ร.ศ. จะตรงกับปีอะไร (แนวขอ้ สอบจรงิ O-NET 58)
1) ร.ศ. 150
2) ร.ศ. 151
3) ร.ศ. 152
4) ร.ศ. 153

2. สงครามประกาศอิสรภาพของสหรฐั อเมริกา (ค.ศ. 1775-1783) ตรงกับชว่ งรัชสมยั ของพระมหากษัตรยิ ไ์ ทย
พระองค์ใด (แนวข้อสอบจรงิ O-NET 57)
1) สมเดจ็ พระบรมราชาที่ 4
2) สมเดจ็ พระท่นี งั่ สรุ ิยาศน์อมั รนิ ทร์
3) สมเดจ็ พระสรรเพชญ์ที่ 9
4) พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
5) พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลศิ หลา้ นภาลัย

3. ถ้าในปจั จุบันประเทศไทยยังใชร้ ะบบศกั ราชแบบรัตนโกสินทร์ศก (ร.ศ.) ปีพทุ ธศักราช 2550 จะตรงกับ
รตั นโกสนิ ทร์ศกใด (O-NET 50)
1) ร.ศ. 224
2) ร.ศ. 225
3) ร.ศ. 226
4) ร.ศ. 227

Note

...............................................................................................................................................

...............................................................................................................................................

...............................................................................................................................................

...............................................................................................................................................

...............................................................................................................................................

...............................................................................................................................................

...............................................................................................................................................

สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (80) _____________________โครงการแบรนด์ซมั เมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27

5. ความเปน มาและการตั้งถน่ิ ฐานในดินแดนไทยปจ จบุ นั

แนวคิด ผูเ้ สนอ เหตผุ ลสนบั สนนุ เหตผุ ลคัดค้าน

ชนชาตไิ ทยเดิม • ดร. วิลเลียม ดอดด์ • เชื่อว่าคนไทยเดมิ อาศัยอยู่ • คนไทยปลกู ข้าว ไม่ไดล้ า่ สตั ว์
อาศยั อย่ใู น • มีอิทธพิ ลตอ่ ทางแถบภูเขาอลั ไต แบบมองโกล
เอเชยี กลาง ขุนวิจติ รมาตรา • ถกู จนี รกุ ราน จงึ ยา้ ยเขา้ มา • คนไทยไมน่ ่าจะมาไกลขนาดนั้น
หรือตะวนั ออก (รองอาํ มาตยโ์ ทสงา่ ตั้งถิน่ ฐานในไทยทางภาคเหนือ และการเดินทางมาไทยตอ้ งผ่าน
กาญจนาคพนั ธ)์ ทะเลทราย ท่อี ากาศร้อนจัด
เฉยี งเหนอื ของ ผูเ้ ขียนหลักไทย • อากาศหนาวเกนิ ไป
จีน • วฒั นธรรมแถบเทือกเขาอัลไต
ไมม่ อี ะไรเหมอื นกับไทยเลย

คําท่อง อัล............... ไกล............... พษิ ...............

**ปัจจุบันแนวคิดนี้ไม่ได้รับการยอมรบั จากนักประวตั ศิ าสตรแ์ ล้ว**

• แตร์รีออ เดอ ลาคู • หลกั ฐานประเภท • หลักฐานไม่ชัดเจน
เปอรี ภาษาศาสตร์ • ชนชาตไิ ทยไมน่ า่ จะมถี ิน่ ฐาน
ได้รับการสนับสนุนโดย • หลักฐานจากเอกสารจีน ดง้ั เดิมอยไู่ กลถึงภาคเหนอื ของ

ชนชาตไิ ทยเดิม • สมเดจ็ พระเจ้าบรม จีน
อยใู่ นบรเิ วณ วงศ์เธอกรมพระยา
ตอนกลาง ดํารงราชานุภาพ
• พระบรหิ ารเทพธานี
ของจนี • หลวงวิจติ รวาทการ
• พระยาอนมุ านราชธน

คําทอ่ ง จนี ............... ห่าง............... ใช้............... พระยา...............

**ปัจจุบนั แนวคดิ น้ไี มไ่ ด้รับความเชอ่ื ถือ เพราะหลักฐานน้อยมาก**

โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27 _____________________สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (81)

แนวคิด ผ้เู สนอ เหตุผลสนบั สนนุ

• อาร์ซิยอลด์ รอสส์ • หลักฐานดา้ น มานุษยวทิ ยา

คอนคนู • หลักฐานดา้ น ภาษาศาสตร์

ได้รับการสนบั สนุน เปน็ แนวคิดท่ีนา่ เช่ือถือท่สี ดุ ในปัจจบุ นั ดว้ ยเหตุผล ดังนี้

โดย - บริเวณตะวันออกเฉียงใต้หรือตอนใต้ของจีน อยู่ใกล้กับ

• ศ. วลิ เลียม เจ ประเทศไทย มีสภาพอากาศไม่ต่างกับไทยมากนัก สภาพอากาศ

ชนชาตไิ ทยเดมิ เกดนยี ์ แบบรอ้ นชน้ื เหมาะแก่การ ทํานา ซึ่งเป็นอาหารหลักของคนไทย

อยบู่ ริเวณ • หลีฟ่ งั กว้ ย - ปัจจุบันมีคนไทยท่ีพูดไทย และวัฒนธรรมแบบไทย แต่เรียก

ตะวันออก • ศ. โวลฟก์ ัง อี ตัวเองต่างกันไป อยู่บริเวณทางตอนใต้และตะวันออกเฉียงใต้ของจีน

เฉยี งใต้หรือ เบอรฮ์ าร์ด ได้แก่ มณฑลกวางตุ้ง, กวางสี, กุ้ยโจว และแคว้นสิบสองปันนา

ตอนใตข้ องจนี • ศ. ขจร สขุ พานชิ ในมณฑลยูนนาน

(ตอนเหนอื • ศ. ประเสริฐ ณ • มีหลักฐานทางด้านประวัติศาสตร์, ภาษาศาสตร์, มานุษยวิทยา

ของเอเชยี นคร และอนื่ ๆ สนบั สนนุ

ตะวันออก

เฉียงใต)้

คําท่อง ตอน............... คล้าย............... อาชีพ............... น่า...............
**ปจั จุบนั แนวคิดน้ี นา่ เชอ่ื ถือท่ีสดุ **

แนวคดิ ผเู้ สนอ เหตผุ ลสนบั สนนุ เหตผุ ลคดั คา้ น

ชาวไทยไม่ได้ • ดร. คอรชิ เวลส์ • หลกั ฐานขุดพบโครงกระดูก • โครงกระดูกทพี่ บไมอ่ าจสรปุ
มาจากไหน ไดร้ บั การสนบั สนนุ คลา้ ยคนไทยเก่าแกน่ ับหมนื่ ปี ได้วา่ เปน็ คนไทย เพราะโครง
แต่อย่ทู ีไ่ ทย โดย • อา้ งอิงจากหลักฐานทางดา้ น กระดูกในภูมิภาคนม้ี ลี ักษณะ
• พอล เบเนดิกส์ โบราณคดี และมานุษยวทิ ยา คล้ายๆ กนั
• ศ. นายแพทย์สุด • คนที่อยู่ในเขตประเทศไทย
แสงวเิ ชียร สมัยกอ่ น ไมไ่ ดใ้ ช้ภาษาไทย
• ศ. ชนิ อย่ดู ี เพราะศลิ าจารกึ ทพ่ี บสมยั
• รอง ศ. ศรศี กั ด์ิ สโุ ขทยั เป็นภาษา มอญ ขอม
วัลลิโภดม และสันสกฤต
• สุจิตต์ วงศ์เทศ

คําทอ่ ง อย.ู่ .............. ใช้............... ไข...............

สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (82) _____________________โครงการแบรนด์ซมั เมอรแ์ คมป์ ปที ี่ 27

แนวคดิ ผู้เสนอ เหตผุ ลสนับสนุน เหตุผลคดั ค้าน

• รูธ เบเนดิกต์ • การนําเอาคําของชนชาติไทย, • การนําคําบางคําของภาษาที่
ไดร้ บั การสนับสนุน
โดย อินโดนีเซยี , ฟิลปิ ปนิ ส์ และ ใชใ้ นปัจจบุ ัน ซ่งึ ออกเสียง
• นายแพทย์สมศักด์ิ
พันธสุ์ มบรู ณ์ เวียดนามมาศกึ ษาเทียบกัน คล้ายกนั มาสรปุ ว่าในอดีตเป็น
• นายแพทย์ประเวศ
วะสี พบว่ามีความหมายคลา้ ยกนั พวกเดียวกันไมถ่ ูกตอ้ ง

• การวิจัยทางความถ่ีของยีน • การตรวจวเิ คราะห์กลุ่มเลือด

และหมเู่ ลอื ด เสนอว่าหม่เู ลอื ด พบว่าดนิ แดนทม่ี ีคนเม็ดเลือด

ชนชาตไิ ทยเดิม ของคนไทยคล้ายกบั คนทางใต้ แดงสูงมาก เพราะวา่ มเี ชอ้ื โรค
อยูบ่ รเิ วณ
ไมเ่ หมอื นกับจีน และ ไข้มาเลเรียมาก
หมเู่ กาะทางใต้
และคาบสมทุ ร ฮโี มโกลบนิ E ทมี่ มี ากในคนไทย • การศกึ ษาขากระดูกกรรไกร

มลายู ไม่พบในคนจีน และฟนั พบว่าชาวไทดาํ และผู้

•แนวคดิ น้ีอ้างอิงจากหลกั ฐาน ไทมีลกั ษณะคลา้ ยคลงึ กบั จีน

ทางดา้ นมานษุ ยวทิ ยา และ มากกวา่

พนั ธศุ าสตร์ • และขดั แยง้ กบั หลกั

ขอ้ เท็จจริงเรือ่ ง การอพยพ

ของผคู้ น และการเคลอื่ นยา้ ย

ทางวัฒนธรรม

คาํ ทอ่ ง พันธุ............... มลา............... หมู่...............

สรปุ ไม่มแี นวคดิ ใดเพียงพอทีจ่ ะบอกได้ ตอ้ งพิจารณาไปพรอ้ มกบั หลักฐานอนื่ ๆ ควบคูไ่ ปดว้ ย

โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปที ่ี 27 _____________________สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (83)

เทคนิคครูพี่หมยุ สรุปคาํ ท่อง

อลั ................. ไกล................. พษิ .................

จนี ................. ห่าง................. ใช.้ ................ พระยา.................

ตอน................. คล้าย................. อาชพี ................. นา่ .................

อยู่................. ใช้................. ไข.................

พนั ธ.ุ ................ มลา................. หมู่.................

สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (84) _____________________โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27

แบบฝก หดั

1. แนวคิดเร่ืองถ่ินกําเนิดชนชาติไทยอยู่บริเวณตอนใต้และตะวันออกเฉียงใต้ของจีนมีหลักฐานใดที่ใช้ในการ
สนบั สนุน (แนวขอ้ สอบจริง O-NET 57)
1) การใชภ้ าษาและวฒั นธรรมทค่ี ล้ายคลงึ กนั
2) โครงกระดูกมนุษยโ์ บราณทข่ี ุดคน้ พบ
3) การวิจยั ความถ่ขี องยนี และกร๊ปุ เลือด
4) ภาพสลกั ขบวนทหารสยาม
5) จารกึ ที่พบบรเิ วณใกล้เคยี ง

2. หลกั ฐานประเภทใดสนบั สนุนแนวคดิ ทีว่ า่ กลุ่มชนชาติไทยอยใู่ นบริเวณตอนใตข้ องจีน (O-NET 53)
ตอบมากกวา่ 1 ขอ้
1) หลกั ฐานทางดา้ นโบราณคดี
2) หลกั ฐานทางด้านภาษาศาสตร์
3) หลกั ฐานทางด้านมานุษยวทิ ยา
4) หลกั ฐานทางดา้ นพนั ธศุ าสตร์

3. ข้อใดคอื แนวคดิ เรื่องถิ่นกาํ เนิดชนชาติไทยทน่ี กั ประวัตศิ าสตรไ์ ทยในปัจจบุ ันไมย่ อมรับ (O-NET 51)
1) อยู่ทางตอนใต้ของประเทศไทย
2) อยูบ่ รเิ วณเทอื กเขาอัลไต
3) อย่บู รเิ วณตอนใตข้ องจนี
4) อยู่บริเวณประเทศไทยปัจจบุ ัน

Note

...............................................................................................................................................

...............................................................................................................................................

...............................................................................................................................................

...............................................................................................................................................

...............................................................................................................................................

...............................................................................................................................................

...............................................................................................................................................

โครงการแบรนด์ซมั เมอร์แคมป์ ปที ่ี 27 _____________________สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (85)

สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (86)______________________โครงการแบรนด์ซมั เมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27 6. อาณาจกั รโบราณในดินแดนประเทศไทยปจจบุ ัน

อาณาจกั ร ศูนยก์ ลางและอาณาเขต การเมอื งการปกครอง วิถชี ีวิต ศาสนา ความเชื่อ หลักฐาน การลม่ สลาย

ฟนู นั • เดมิ ต้ังอยู่บริเวณ • รบั แนวคิดเกีย่ วกบั • วฒั นธรรมคลา้ ย • บันทึกของทตู จนี ถูกอาณาจักรเจนละ
(6-11) ลุ่มแมน่ ้ําเจ้าพระยา กษตั รยิ จ์ ากอินเดีย อินเดยี มาก นบั ถอื
• ต่อมาย้ายไปอยูแ่ ถบ ทรงมีฐานะเป็นเจา้ ชีวติ ศาสนาพราหมณ-์ ฮินดู ช่อื คังไถ บอกวา่ ยึดครอง
พระนครหลวง ลุ่มนาํ้ โขงตอนลา่ ง เปน็ สมมติเทพ และศาสนาพุทธ
หรือขอม • มกี ารใช้กฎหมาย อาณาจักรฟนู นั รุ่งเรอื ง
(14-20) พระมนูธรรมศาสตร์
• มคี วามสัมพนั ธ์ มตี วั อกั ษรใช้ แต่เปน็
ทางการทตู กบั อินเดยี
และจนี ตัวอักษรของอินเดีย

• บันทกึ ของพ่อคา้

นักเดนิ เรอื และภิกษชุ าวจนี

• พระพทุ ธรปู ศลิ ปะคปุ ตะ

ของอนิ เดยี , ลกู ปัด,

เหรยี ญเงนิ , เทวรปู

เมืองจันเสน

คําท่อง ฟ.ู .............. จนั ............... เนน้ ............... ใช.้ ..............

• มีดนิ แดนครอบคลมุ • ท่ไี ด้รบั อิทธิพลความ • ไดร้ ับอทิ ธพิ ลทาง • ปราสาทหนิ พมิ าย เสอื่ มอาํ นาจลง
ประเทศลาว, กัมพชู า, เช่อื จากศาสนาพราหมณ-์ วัฒนธรรมจากเขมร • ปราสาทพนมรุ้ง ภายหลงั การ
เวยี ดนามตอนลา่ ง, ฮินดู ปกครองโดยใช้ และมอญ ซงึ่ รบั มาจาก • ปราสาทพนมวนั ส้ินพระชนม์ของ
ภาคตะวันออก และ แนวคดิ เทวราชา อนิ เดยี • ศิวลงึ ค์ พระเจา้ ชัยวรมนั ท่ี 7
ตะวันออกเฉยี งเหนอื • มกี ารจดั พระราชพธิ ี • ชนชนั้ ปกครองนบั ถอื ดินแดนตา่ งๆ ใน
ของไทย บรมราชาภเิ ษก ศาสนาพทุ ธ นกิ าย ประเทศไทยจงึ ตั้งตน
• ใชจ้ ตุสดมภ์ มหายาน ผสม เป็นอิสระ
• มกี ารลงโทษแบบ พราหมณ-์ ฮินดู
จารีตนครบาล

คําทอ่ ง ขอม จอม............... ชาต.ิ .............. เปน็ ..............................

อาณาจักร ศนู ยก์ ลางและอาณาเขต การเมอื งการปกครอง วิถีชวี ิต ศาสนา ความเชอ่ื หลักฐาน การล่มสลาย
หริภญุ ชยั
(13-19) • ลุม่ แมน่ ้ําวงั และ • ระบบกษัตริย์แบบ • นับถอื ศาสนาพทุ ธ • เอกสารจนี เรียกวา่ ถูกผนวกเปน็ สว่ นหน่ึง
แมน่ ้ําปิงตอนบน สมมตเิ ทพ นิกายเถรวาท
โครงการแบรนดซ์ ัมเมอร์แคมป์ ปีท่ี 27_____________________ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (87) ล้านนา (19-25) ศูนยก์ ลางในปจั จบุ นั คอื ภาษามอญ หนห่ี วังกก๊ แปลวา่ ของอาณาจักรล้านนา
จ. ลาํ พนู
• ต่อมาในสมยั ของพระ อาณาจกั รทมี่ ผี ู้หญิง (พระยามงั ราย ยกทพั
เจา้ อาทิตยราช เปลี่ยน
ชอื่ เปน็ ลาํ พนู ชยั เปน็ ใหญ่ มาต)ี

• ตาํ นานจามเทวีวงศ์

• เจดยี ก์ ู่กุด

• ภาชนะดนิ เผา

• พระบรมธาตหุ รภิ ุญชัย

คาํ ทอ่ ง หร.ิ .............. ย่ิงใหญ.่ .............. องิ ............... หน.ี่ ..............

• เดมิ เมืองหลวงอยู่ที่ • ปฐมกษัตรยิ พ์ ่อขุน- • นบั ถือพระพทุ ธศาสนา • มกี ารใช้เหรยี ญ ภายหลงั เสื่อมอาํ นาจ
เชยี งราย (จนี รุกรานได้ มังรายมหาราช นิกายลงั กาวงศ3์ กษาปณ์ท่เี รยี กวา่ “เงนิ ตกอยู่ใตอ้ าํ นาจของ
ง่าย และขยายอาณา • ปกครองระบอบ • มกี ารใช้ตวั อกั ษรเปน็ จาด” เปน็ สอ่ื กลางใน อยุธยา สลบั กับพม่า
เขตไม่ได)้ สมบรู ณาญาสทิ ธริ าชย์ ของตนเอง เรียกว่า การแลกเปล่ยี น และตกเปน็ เมอื งขน้ึ
• ตอ่ มาย้ายมายงั เวียง • มกี ารบญั ญัติ อกั ษรธรรม (นยิ มใน • วัดเจดีย์เจ็ดยอด, วัด ของไทยในสมัยธนบรุ ี
กมุ กาม กฎหมายขน้ึ เรยี กว่า เรอ่ื งเก่ยี วกบั วหิ ารหลวง, พระธาตุ จนถงึ สมยั ร.5 ถูก
• หลังจากนนั้ ยา้ ย มังรายศาสตร์ พระพุทธศาสนา), ลําปางหลวง ผนวกเปน็ ส่วนหนง่ึ ของ
มายงั นพบรุ ีศรนี คร อักษรฝักขาม • พระพุทธสิหงิ ค์ ราชอาณาจกั รไทย
พิงค์เชยี งใหม่ (ดัดแปลงจากลายสอื • คัมภรี ์ทางพระพทุ ธ
• ดนิ แดนครอบคลุม ไท) และอกั ษรไทย ศาสนา เชน่ ชนิ กาล
ภาคเหนอื ของไทย นิเทศ มาลปี กรณ,์ ตํานานมลู
ศาสนา

สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (88)______________________โครงการแบรนด์ซมั เมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27 อาณาจักร ศนู ยก์ ลางและอาณาเขต การเมอื งการปกครอง วิถชี วี ติ ศาสนา ความเช่ือ หลักฐาน การล่มสลาย

ตามพรลิงค์ • มีความสมั พนั ธ์ท่ีดี
(7-19) กับพอ่ ขนุ รามคําแหง
มหาราช และพ่อขนุ -
งาํ เมือง
• เจรญิ ร่งุ เรืองท่ีสุด
สมัยพระเจา้ ติโลกราช

คาํ ทอ่ ง ลา้ น............... ลังกา............... องค์............... อิง............... ปราชญ.์ .............. ยํ้า...............

• ต้งั อยู่บนสนั ทราย • ปกครองระบอบ • นับถือศาสนา • ปรากฏในเอกสาร ตกเปน็ เมืองขนึ้ ของ
รมิ ทะเล เปน็ ที่ดอน สมบรู ณาญาสทิ ธริ าชย์
เหมาะสมในการตั้ง พราหมณ-์ ฮินด,ู พทุ ธ อนิ เดีย ชอ่ื ตมลงิ หรอื สุโขทยั ในสมัยพ่อขุน
บ้านเรอื น เพาะปลกู
• เป็นเมืองทา่ สําคัญ นกิ ายเถรวาท และ ตมั พลิงค์ หรือตมพลิงค รามคาํ แหง และตอ่ มา
• ศนู ยก์ ลาง คอื เมอื ง หรือตมพลิงคม
นครศรีธรรมราช มหายาน ถกู ผนวกรวมเปน็ สว่ น
• ครอบคลุมภาคใต้ • ต่อมารบั พระพทุ ธศาสนา • เอกสารจีนสมยั
ของไทย-แหลมมลายู นกิ ายเถรวาท (ลัทธิ ราชวงศถ์ ัง เรยี กวา่ หนึ่งของอยุธยา
• ต่อมาเปลี่ยนชอ่ื เปน็
นครศรธี รรมราช ใน ลังกาวงศ)์ รบั มาจาก ถ่ามเหร่ง สมยั ราชวงศ์
สมัยพระเจา้ ธรรมโศก- ลงั กา ซง่ เรียกว่า ต่านหม่าลงิ่
ราช • เปน็ ศนู ย์กลางของ • ในศลิ าจารึกของพ่อ
ลัทธิลังกาวงศ์ และเผย ขนุ ราม เรียกวา่
ศรธี รรมราช ต่อมา
แผ่ไปยงั สุโขทัย
กลายเปน็

นครศรธี รรมราช

• โปรตุเกส เรียกว่า

ลกิ อร์ หรือละกอร์

• ปรากฏในคมั ภรี ์ มหา-

นเิ ทส ของพระไตรปฎิ ก

อาณาจกั ร ศนู ยก์ ลางและอาณาเขต การเมอื งการปกครอง วิถชี ีวิต ศาสนา ความเชอ่ื หลกั ฐาน การล่มสลาย

โครงการแบรนดซ์ ัมเมอร์แคมป์ ปีท่ี 27 _____________________สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (89) • วดั มหาธาตุ
จ.นครศรีธรรมราช
• พระโพธิสัตว์
อวโลกิเตศวร
• เครอ่ื งมือหนิ ขดั
และกลองมโหระทกึ

คําท่อง ตาม............... ตม............... นคร............... ด.ี .............. ลังกา............... ยนื ยง...............

• ศนู ยก์ ลางยงั ไมม่ ี • ปกครองแบบเทวราชา • นบั ถอื ศาสนา • บนั ทกึ ชาวจีน เสอ่ื มลง เพราะปญั หา
ข้อสรปุ ทช่ี ดั เจน4 ตามแบบอนิ เดยี พราหมณ-์ ฮินดแู ละ เรียกวา่ “ซิลโิ ฟช”ิ ทางเศรษฐกิจ เพราะ
• ครอบคลมุ ภาคใต้ พระพุทธศาสนา นกิ าย • ในศลิ าจารกึ พ.ศ. จนี ออกกฎหา้ มคา้ ขาย
ของไทย-แหลมมลายู เถรวาท และมหายาน 1318 กล่าวถึงพระเจา้ กับพ่อค้าคนกลาง
(รงุ่ เรืองมาก) กรุงศรวี ชิ ัย
• ควบคมุ เสน้ ทาง • พระบรมธาตไุ ชยา
เดินเรอื การคา้ ขาย สถปู เจดียท์ รงมณฑป
ชายฝงั่ เมอื งทา่ • สถูปวัดมหาธาตุ
วรวิหาร สถูปเจดีย์
ศรีวิชยั ทรงกลม
(12-18) • พระโพธสิ ัตว์
อวโลกิเตศวร
• กลองมโหระทึก
• เทวรูปสํารดิ เชน่
พระโพธสิ ัตว์

คาํ ท่อง ศร.ี .............. ใต.้ .............. พราหมณ.์ .............. ขดุ ............... วจิ ิตร.............................. สมา...............

สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (90)______________________โครงการแบรนด์ซมั เมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27 อาณาจกั ร ศนู ยก์ ลางและอาณาเขต การเมอื งการปกครอง วถิ ีชีวติ ศาสนา ความเชอ่ื หลกั ฐาน การลม่ สลาย

ทวารวดี • ศนู ยก์ ลางทรี่ าบล่มุ • เปน็ อาณาจกั รท่มี ี • สว่ นใหญน่ บั ถือ • บันทึกของพระเฮียนจงั • ขอมยกทัพมาตี และ
(11-16) แมน่ ํ้าเจา้ พระยา การบนั ทกึ เปน็ หลักฐาน ศาสนาพทุ ธ นกิ ายเถรวาท หรือถงั ซมั จ๋งั เรียกวา่ ตกอยใู่ นอํานาจ
• เมืองสําคัญ คือ ที่แนน่ อนแหง่ แรก • แต่มนี บั ถือ “โถโลโปต”ี้ หรอื • การเปลี่ยนเสน้ ทาง
นครปฐม, สพุ รรณบุรี ในดนิ แดนไทย พราหมณ-์ ฮินดูด้วย “จยุ ลอ่ พดั ต”ี้ ของนํ้า ทําให้ขาดแคลนนํา้
และอทู่ อง • แนวคดิ เทวราชา รบั • ทาํ เกษตรกรรม ปลกู • หลกั ฐานเหรยี ญเงนิ
จากพราหมณ-์ ฮินดู ข้าว คา้ ขายทางทะเล ท่จี งั หวัดนครปฐม
• มกี ษัตริยป์ กครอง พบอักษรจารกึ ช่อื วา่
ศรีทวารวดี ศวรปณุ ยะ
แปลวา่ บุญกศุ ลของ
พระราชาแหง่ ศรที วารวดี
• ผงั เมอื งเปน็ รปู ไข่
หรือไมแ่ นน่ อน แตม่ คี ู
น้ําและคนั ดนิ รอบเมอื ง
• ก่อสร้างโดยใชศ้ ลิ าแลง
หรอื อฐิ ทีก่ อ่ ด้วยดนิ
เหนยี วและยางน้าํ ออ้ ย
• ธรรมจกั รกับกวาง
หมอบ
• พระปฐมเจดียอ์ งคเ์ ดมิ
• พระพุทธรปู นง่ั ห้อย
พระบาท (พระพกั ตร์
แบน จมกู หนา ปากหนา)

คาํ ท่อง ทวา...............ศร.ี ............................. ทํานา............... ปัก............... ร่งุ เรอื ง...............

อาณาจกั ร ศนู ยก์ ลางและอาณาเขต การเมอื งการปกครอง วิถีชีวติ ศาสนา ความเช่ือ หลักฐาน การลม่ สลาย

โครงการแบรนดซ์ ัมเมอร์แคมป์ ปีท่ี 27 _____________________สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (91) ละโว้ • ศูนย์กลาง จ. ลพบรุ ี • มีกษตั รยิ ป์ กครอง • เริ่มแรกนับถอื พทุ ธ • บนั ทกึ ชาวจีน ถูกผนวกเปน็ ส่วนหน่งึ
(11-19) ในภาคกลาง และ • มชี นชั้นในสงั คม เถรวาทผสมกบั พทุ ธ เรียกว่า “หลอหู” ของอาณาจกั รอยุธยา
เมอื งพิมายในภาค • ตกเปน็ เมอื งขน้ึ ของ แบบมหายาน • รบั วฒั นธรรมเขมร
ตะวันออกเฉยี งเหนอื ขอม (สมยั พระเจ้า • ตอ่ มาเปลีย่ นไป ศิลปะแบบบายน
• ครอบคลุมพน้ื ท่ีลมุ่ ชยั วรมนั ที่ 1) นับถอื ศาสนาพราหมณ์ • มกี ารสร้างปราสาท
แมน่ าํ้ เจา้ พระยา และ ศาสนาพทุ ธนกิ าย ตามแบบเทวสถานของ
ฝงั่ ตะวนั ออก มหายาน เขมร คอื ปราสาทหนิ
• มีแมน่ ํา้ ไหลผา่ น 3 • ความเชือ่ เรอ่ื ง ปราสาทอิฐ และศลิ า
สาย คอื เจา้ พระยา ปา่ บรรพบรุ ุษ แดง เปน็ ศาสนสถาน
สกั และลพบรุ ี ประจาํ ชมุ ชน (มีบาราย
หรอื สระนํา้ ล้อมรอบ)
• ผังเมืองมีลักษณะ
เปน็ สีเ่ หลี่ยมผนื ผ้า
จําลองจักรวาลคตขิ อง
ฮนิ ดู
• ต่อมามกี ารสร้าง
ธรรมศาลา และ อโรคย
ศาลา (โรงพยาบาล)
อกี ด้วย
• ศิลปะเดน่ เช่น
พระปรางสามยอด,
พระพุทธรูปปางนาคปรก,
เทวรูปพระนารายณ,์
พระโพธิสตั ว์

คาํ ทอ่ ง ละโว้............... อิง............... กาง............... ประสาน............... ไมข่ ดั สน............... มากมาย...............

เทคนิคครพู ี่หมยุ สรปุ คาํ ทอ่ ง

ฟ.ู .............. จนั ............... เนน้ ...............ใช้...............
ขอม จอม............... ชาติ............... เป็น...............

หริ............... ยิ่งใหญ่............... อิง............... หนี.่ ..............
ล้าน............... ลังกา............... องค.์ ..............อิง...............ปราชญ์...............ย้ํา...............
ตาม............... ตม............... นคร............... ดี...............ลังกา...............ยืนยง...............
ศรี............... ใต.้ .............. พราหมณ์............... ขุด............... วิจิตร...............สมา...............

ทวา.............. .ศรี............... ทาํ นา...............ปัก............... รุ่งเรือง...............
ละโว้............... องิ ............... กาง............... ประสาน............... ไมข่ ดั สน............... มากมาย...............

สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (92) _____________________โครงการแบรนด์ซมั เมอร์แคมป์ ปีท่ี 27

แบบฝกหัด

1. ข้อใดเป็นหลกั ฐานท่ีพบว่ามกี ารจารกึ อกั ษรภาษาสันสกฤตความวา่ “ศรีทวารวดี ศวรปุณย”
(แนวข้อสอบจรงิ O-NET 57)
1) ศิลาจารกึ
2) เหรยี ญเงิน
3) กลองมโหระทึก
4) ฐานพระพทุ ธรปู
5) เครือ่ งป้นั ดินเผา

2. ท่ีตงั้ ของแคว้นตามพรลิงคต์ รงกับบริเวณใดในปัจจุบนั (O-NET 53)
1) ไทรบรุ ี
2) ปตั ตานี
3) สรุ าษฎรธ์ านี
4) นครศรีธรรมราช

3. หากตอ้ งการชมปราสาทหนิ ทีส่ รา้ งตามคตพิ ทุ ธนิกายมหายาน ท่านจะไปทีใ่ ด (O-NET 52)
1) ปราสาทพนมรงุ้ จังหวดั บรุ รี มั ย์
2) ปราสาทหนิ พมิ าย จงั หวัดนครราชสีมา
3) ปราสาทพระวิหาร จังหวดั ศรีสะเกษ
4) ปราสาทตาเมอื งธม จังหวัดสรุ นิ ทร์

4. ธรรมจกั รและกวางหมอบเปน็ โบราณวตั ถใุ นยุคใด (O-NET 51)
1) ฟนู ัน
2) ละโว้
3) ศรวี ิชยั
4) ทวารวดี

Note

...............................................................................................................................................

...............................................................................................................................................

...............................................................................................................................................

...............................................................................................................................................

โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปที ี่ 27 _____________________สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (93)

7. การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองการปกครองของไทย

1. สมัยสโุ ขทยั

1.1 ราชธานี - กรุงสโุ ขทยั (ตอ่ มาในสมัยพระมหาธรรมราชาที่ 1 ย้ายไปยงั พษิ ณโุ ลก)
• ที่ประทบั ของพระมหากษตั ริย์
• เปน็ ศูนยก์ ลางทางการปกครอง และเป็นศูนยก์ ลางความเจรญิ ของบา้ นเมืองในดา้ นตา่ งๆ
• ระบอบการปกครอง

เทคนิคครูพ่ีหมยุ ลักษณะการปกครอง

ปติ ุลา..................... ปกครองแบบพ่อปกครองลูก ผปู้ กครองเรียกว่า “พ่อขุน” สว่ นประชาชนและ
ขนุ นางเรียกว่า “ลกู ขุน”

ดูแล....................... มีความสัมพันธท์ ่ใี กลช้ ิดเสมอื นคนในครอบครัว

ติดกระดิ่ง................. ประชาชนทม่ี เี รอ่ื งเดอื ดร้อนสามารถมาร้องเรียนไดโ้ ดยการส่ันกระดิง่ ทต่ี ิดไวท้ ีห่ นา้
พระราชวงั

อาจารย์................... สนบั สนุนศาสนาพุทธ และศีลธรรมของประชาชน (ทุกวันพระจะมานั่งบนพระแท่น
มนงั คศิลาบาตรเพ่ือเทศนใ์ ห้ประชาชนฟงั )

นําความ.................. เน้นการแสวงหาความรว่ มมอื มากกวา่ ใช้อาํ นาจ

สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (94) _____________________โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27

1.2 การปกครองสว่ นภูมิภาค - แบ่งตามระดบั ความสําคัญ โดยแบง่ เปน็ 3 แบบ คอื
• หัวเมืองชน้ั ใน5 (เมืองลกู หลวง หรอื เมอื งหนา้ ด่าน)
- เมืองสําคัญที่ล้อมรอบเมืองหลวงทั้ง 4 ทิศ มีความสําคัญท้ังทางด้านยุทธศาสตร์และ

เศรษฐกจิ
- พระมหากษัตรยิ ์จะสง่ พระราชโอรส หรอื พระราชวงศ์ชน้ั สูงไปปกครอง เพ่ือฝึกราชการให้ข้ึน

เปน็ กษตั ริย์องคต์ ่อไป
- มีระยะห่างจากสโุ ขทยั เป็นระยะทางเดินเท้า 2 วัน

• หวั เมอื งช้นั นอก6
- อยหู่ ่างไกลจากราชธานีและหัวเมืองชนั้ ในออกไปพอสมควร
- พระมหากษัตริยจ์ ะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตงั้ เจ้านายหรือข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ หรือ

ขุนนาง

โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปที ี่ 27 _____________________สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (95)

• หัวเมอื งประเทศราช (เมืองขึ้น หรือ เมอื งออก)7
- อยู่หา่ งไกลจากราชธานีมาก
- ผนวกมาได้โดยการทาํ สงคราม หรือการยอมอ่อนน้อมต่อสุโขทยั
- เจา้ ท้องถิ่นเปน็ ผู้ปกครอง
- มีอิสระในการปกครองตนเอง แตต่ ้องส่งเครอ่ื งราชบรรณาการ (ต้นไมเ้ งนิ ต้นไมท้ อง) และ

กําลังพลมาช่วยสโุ ขทัยเม่อื เกดิ สงคราม

2. สมยั อยธุ ยา

1. รัชสมัยสมเดจ็ พระรามาธบิ ดีที่ 1 (พระเจา้ อ่ทู อง)
1.1 ราชธานี - กรุงศรีอยุธยา
• ระบอบการปกครอง

เทคนคิ ครพู ีห่ มุย ลกั ษณะการปกครอง

- รับแนวคดิ มาจากศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู (ผ่านทางเขมร)
เทว........................ - พัฒนามาจากระบอบปิตุลาธิปไตย เพราะต้องการความมั่นคงของอาณาจักรท่ีมี

ขนาดใหญก่ ว่าเดิม

สมมติ..................... ถือว่ากษตั รยิ เ์ ป็นองค์อวตารของเทพ เป็นเสมอื นเจา้ ชวี ติ

เสพ....................... มอี ํานาจรวมศูนยแ์ ละสมบูรณ์

มาด....................... เน่ืองจากอาณาจักรกว้างขวางข้ึน และคนเยอะข้ึน ทําให้ความสัมพันธ์ของ
ประชาชนเป็นไปอยา่ งห่างเหิน ไมใ่ กล้ชดิ เพือ่ ความม่ันคงและการขยายอาณาจักร

เดิน....................... ยึดหลักธรรมในการปกครอง เช่น ทศพิธราชธรรม จักรวรรดิวัตร 5 และ 12,
ราชสงั คหวตั ถุ 4

สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (96) _____________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปที ่ี 27

1.2 การปกครองสว่ นกลาง
• จตสุ ดมภ์ แบง่ ออกเปน็ 4 กรม

กรม หัวหนา้ หนา้ ที่ ปัจจุบัน

- รักษาความสงบเรียบรอ้ ยของพระนคร - กระทรวงกลาโหม
เวยี ง ขนุ เวยี ง - ปราบปรามโจรผู้ร้าย

- ลงโทษผ้กู ระทาํ ความผดิ

วงั ขนุ วัง - ดแู ลกจิ การของราชสาํ นกั - สาํ นกั พระราชวัง
- พจิ ารณาตัดสนิ คดคี วาม - กระทรวงยุตธิ รรม

- ดูแลผลประโยชน์ของแผ่นดิน - กระทรวงการคลงั

คลัง ขนุ คลงั - เกบ็ รกั ษาพระราชทรพั ย์ - กระทรวงการต่างประเทศ

- การค้า การต่างประเทศ และภาษีต่างๆ - สาํ นักงานทรัพย์สนิ สว่ นพระมหากษัตรยิ ์

นา ขุนนา - การออกสิทธ์ิในการทําไรท่ ํานา - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
- เกบ็ ภาษีและผลผลิตเขา้ สศู่ ูนย์กลาง

โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27 _____________________สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (97)

รู้ช่ะ?

หนว่ ยงานในการตดิ ต่อค้าขายกับตา่ งชาติ
1. กรมท่าขวา (พระยาจุฬาราชมนตรี - แขก) ดูแลการค้ากับดินแดนทางตะวันตก เช่น
แขก อนิ เดีย เปอรเ์ ซีย มัวร์ อาหรับ
2. กรมทา่ ซา้ ย (พระยาโชฎึกราชเศรษฐี - จีน) ดูแลการค้ากับดินแดนทางตะวันออก เช่น
จนี เวียดนาม ญปี่ นุ่
3. กรมทา่ กลาง (มขี ึ้นทีหลงั ) ดแู ลชาวตะวันตก

1.3 การปกครองสว่ นภมู ิภาค - แบง่ ออกเปน็ 4 สว่ น
• เมอื งหนา้ ด่าน (เมืองลูกหลวง)8
- ห่างจากราชธานี 2 วัน (เดนิ เทา้ )
- ป้องกนั ราชธานี 4 ทศิ
- ผปู้ กครอง คอื พระราชโอรส หรอื เชอื้ พระวงศช์ ้ันสูง
• หัวเมืองช้นั ใน9
- หัวเมอื งสําคญั ไมไ่ กลจากราชธานีมากนัก
- ติดต่อกนั ไดส้ ะดวก
- ราชสํานักแตง่ ตั้งขุนนางไปปกครอง ต้องปฏบิ ัติตามนโยบายอย่างเครง่ ครัด
• หวั เมืองช้นั นอก (เมอื งพระยามหานคร)
- อย่ไู กลจากราชธานพี อสมควร
- ผ้ปู กครอง คือ เจ้าท้องถิ่น หรอื ขุนนาง
• หวั เมอื งประเทศราช
- ผนวกได้จากการทาํ สงคราม หรือการอ่อนนอ้ มรับในอาํ นาจของอยุธยา
- ผปู้ กครอง คอื เจา้ เมืองเดมิ และมอี สิ ระในการปกครองตนเองอย่างเต็มท่ี
- ต้องสง่ เครื่องราชบรรณาการถวายแกก่ ษตั รยิ แ์ ห่งอยธุ ยา
- เมอ่ื เกิดสงครามต้องส่งกองทพั เขา้ รว่ มรบกบั อยธุ ยา

Note

...............................................................................................................................................

...............................................................................................................................................

...............................................................................................................................................

...............................................................................................................................................

สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (98) _____________________โครงการแบรนด์ซมั เมอร์แคมป์ ปีท่ี 27


Click to View FlipBook Version