The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Brands Summer Camp ครั้งที่ 27 วิชาสังคมศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by BS_Library, 2019-12-01 07:04:52

Brands Summer Camp ครั้งที่ 27 วิชาสังคมศึกษา

Brands Summer Camp ครั้งที่ 27 วิชาสังคมศึกษา

Keywords: สังคมศึกษา

สุดยอดการติวสด

• พเิ ศษ เก็งขอสอบกวา 800 ขอ
• รวมสดุ ยอดตวิ เตอรชอ่ื ดังระดับประเทศ
• ติวเขม 8 วชิ า 6 วันเต็ม 4 ชองทาง วันท่ี 1-6 ตุลาคม 2558
1. ตวิ สด ณ อาคารจักรพนั ธเ พ็ญศริ ิ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร
และสงสญั ญาณผา นเครือขา ยนนทรีเนต็ www.ku.ac.th ไปยงั อีก
3 วิทยาเขต คอื นครปฐม ชลบุรี และสกลนคร
2. ตวิ พรอ มกันผานสัญญาณดาวเทยี ม
- ภาคเหนือ คณะเภสชั ศาสตร ม.เชียงใหม
- ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คณะเภสัชศาสตร ม.ขอนแกน
- ภาคใต คณะแพทยศาสตร ม.สงขลานครนิ ทร (หาดใหญ)

และมหาวิทยาลัยราชภัฏ จ.ยะลา
3. ตวิ ผา นสญั ญาณดาวเทยี มสามารถเขาดไู ดท ่ีชอ งทางการรับชมสถานีโทรทัศน

ดาวเทียม MCOT 1 (Live)
- กลอง GMM Z ชอ ง 279
- กลอง PSI ชอ ง 227
- กลอง True MPEG 4 ชอ ง 78
- กลอง True MPEG 2 ชอ ง 106
- กลอ ง CTH ชอ ง 180
- กลอง Sun Box ชอ ง 83
- กลอ ง Infosat ชอง 245
4. ตวิ ผานอนิ เตอรเนตท่ี https://www.facebook.com/BRANDSWorldThailand
5. ดยู อ นหลังผานทางสถานีวิทยโุ ทรทัศนก ารศกึ ษาทางไกลผานดาวเทียม สศทท.
วงั ไกลกงั วล ชอ ง สศทท.14 วนั ที่ 15-20 ตุลาคม 2558

รับรหสั เพื่อดาวนโหลดหนังสอื เก็งขอสอบ
แบรนดซ มั เมอรแ คมปไ ดท ี่

สอบครั้งสำคญั ...ทำใหเต็มท่ี สู สู



เพ่มิ พลังสมอง ชารตความรู เรง สปด

สาระหนาท่พี ลเมอื ง วัฒนธรรม และการดําเนินชวี ติ ในสังคม

หน้าทีพ่ ลเมืองฯ เกง็ ข้อสอบปี 59

สงั คมวัฒนธรรม
วัฒนธรรม (ความหมาย ลักษณะ ความสําคัญ ประเภท
วัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมสากล ประเพณที ้องถ่นิ )
ศัพท์ เช่น โครงสร้างสังคม สถาบันสังคม การจัดระเบียบทาง
สังคม การขัดเกลาทางสังคม

รฐั และการเมืองไทย
คณุ ธรรม จริยธรรมของการเปน็ พลเมืองดี
รัฐ
การจัดระเบยี บการปกครองและการบริหาราชการแผ่นดนิ
ระบบรัฐบาล (รัฐสภา ประธานาธบิ ดี แบบกึ่ง)
ประชาธิปไตย (หลกั การ รูปแบบ ข้อดีข้อเสยี )
เผด็จการ (หลกั การ อํานาจนิยม เบด็ เสร็จนิยม ขอ้ ดีขอ้ เสยี )
การใชอ้ ํานาจอธปิ ไตย (ฝา่ ยนิติบญั ญัติ บรหิ าร ตุลาการ)
อาํ นาจหน้าทขี่ องรัฐสภา คณะรัฐมนตรี
ฐานะและพระราชอาํ นาจของพระมหากษตั ริย์
รัฐธรรมนญู
สถานการณ์การเมืองไทยปจั จบุ นั

สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (2) ______________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอร์แคมป์ ปีท่ี 27

หนา้ ท่พี ลเมืองฯ เกง็ ข้อสอบปี 59

สิทธิมนุษยชน

ความสัมพันธร์ ะหว่างประเทศ (อาเซยี น)

กฎหมาย
กฎหมายแพง่ (ผู้เยาว์ หมนั้ สมรส รับบุตรบุญธรรม มรดก นิติ
กรรมสัญญา กยู้ มื เงนิ จาํ นาํ จาํ นอง)
กฎหมายอาญา (ลักษณะสําคัญ โทษทางอาญา ความผิดต่อ
ส่วนตัว ความผิดเก่ียวกับชีวิตและร่างกาย ความผิดเก่ียวกับ
ทรพั ย์ บคุ คลที่เกย่ี วขอ้ งกับกระบวนการยุตธิ รรม)

สาระหนา้ ที่พลเมอื งฯ หา Error
สังคมวฒั นธรรม
___ 1. มนษุ ยแ์ ตกต่างจากสัตวส์ งั คมอื่น เพราะมนุษย์มีวฒั นธรรม
รฐั และการเมืองไทย
___ 2. ความสัมพันธ์ของกลุ่มคนท่ีมีบรรทัดฐานทางสังคมร่วมกัน
หมายถงึ สถาบนั สังคม

___ 3. พ่อแม่มีหน้าที่เลี้ยงดูอบรมบุตร บุตรมีหน้าท่ีกตัญญูต่อพ่อแม่
ข้อความน้แี สดงถงึ บทบาท

___ 4. “ใครมาถึงเรอื นชานตอ้ งตอ้ นรับ” เก่ียวข้องกบั จารตี
___ 5. วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคใต้ เช่น ประเพณีชักพระ ประเพณีสารท

เดือนสบิ ประเพณรี บั บัวโยนบัว

___ 6. ประเทศท่ีมรี ูปแบบของรัฐรวม เช่น อนิ เดีย ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์
มาเลเซยี พมา่

___ 7. การปกครองระบอบประชาธิปไตยของไทย ได้รับอิทธิพลจาก
ประเทศสหรฐั อเมรกิ า

8. ระบบเผดจ็ การเป็นระบบทีไ่ ม่มรี ัฐธรรมนญู

___ 9. หลักการสําคัญเก่ยี วกบั สทิ ธิมนษุ ยชนคอื หลกั ความเสมอภาค สิทธิ
เสรีภาพ และภราดรภาพ

___ 10. อาเซียน+8 คือ กรอบความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับประเทศจีน
ญีป่ นุ่ เกาหลใี ต้ อินเดีย ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ สหรฐั อเมริกา และ
แคนาดา

โครงการแบรนด์ซมั เมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27 ______________________สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (3)

สาระหน้าทพ่ี ลเมอื งฯ 32 หา Error
Z กฎหมาย
___ 11. กฎหมายที่ออกโดยฝ่ายบริหาร ได้แก่ พระราชบัญญัติ พระราช
กาํ หนด พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง

___ 12. บคุ คลทศี่ าลแต่งต้งั ให้เปน็ ผู้ดูแลคนไรค้ วามสามารถคือ ผู้อภิบาล
___ 13. หญิงอายุ 16 ปี สามารถทําการสมรสได้ในกรณีที่ได้รับการยินยอม

จากบดิ ามารดาหรอื ผแู้ ทนโดยชอบธรรม
___ 14. โทษทางอาญาที่จะลงแก่จําเลยผู้กระทําความผิดประกอบด้วย

ริบทรัพย์สิน ปรับ กกั กัน จําคกุ ประหารชวี ติ
___ 15. พนักงานท่ีเกี่ยวข้องกับกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ได้แก่

ตํารวจ อยั การ ศาล พนักงานคุมประพฤติ พนกั งานบังคับคดี

วัฒนธรรมและสงั คม

มนุษย์มลี กั ษณะ มนษุ ยม์ ลี ักษณะพิเศษแตกต่างจากสัตวอ์ นื่
พเิ ศษแตกต่างจาก y มีความสามารถในการใช้และสร้างสัญลกั ษณ์
สตั ว์อนื่ ๆ ประการใด y มีวัฒนธรรม เพราะการมีวัฒนธรรมทําให้สังคมมีระเบียบ มีชีวิตยืนยาว และ

มนุษย์สามารถสร้างความเจริญก้าวหน้าที่สัตว์อื่นไม่อาจทําได้ เน่ืองจากมนุษย์มี
มันสมองใหญ่กว่าสัตว์อื่น จึงมีระดับสติปัญญาและความคิดสร้างสรรค์เหนือกว่า
สตั วอ์ ืน่ ๆ จึงทําใหส้ ามารถสร้างวฒั นธรรมได้

สญั ลกั ษณ์คอื อะไร สัญลักษณ์ คือ สิ่งท่ีใช้แทนส่ิงอื่น เช่น วัตถุ การกระทํา กิริยาท่าทาง ภาษา

มคี วามสําคัญ สญั ลกั ษณ์มีความสาํ คัญตอ่ มนุษยม์ าก เพราะสัญลักษณ์เหล่าน้ีช่วยให้มนุษย์สามารถ

อยา่ งไรตอ่ มนุษย์ ติดตอ่ สมั พันธก์ นั ได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ สัญลักษณ์นน้ั ไมไ่ ดเ้ กิดข้ึนเองตามธรรมชาติ
แต่เปน็ ส่งิ ทม่ี นษุ ยเ์ ทา่ น้ันที่สรา้ งได้ ซ่ึงเกดิ จากการเรยี นรูโ้ ดยผ่านกระบวนการขัดเกลา

ทางสังคม

สังคมคืออะไร และ สังคมคือกลมุ่ คนขนาดใหญท่ ี่มลี ักษณะ

เพราะเหตุใดมนษุ ย์ y เปน็ กลุ่มคนทสี่ ามารถเลย้ี งตนเองได้

จึงตอ้ งอยู่รวมกัน y มวี ัฒนธรรมหรือวิถชี ีวิตเปน็ ของตนเอง

เปน็ สงั คม y มีอํานาจเหนือกล่มุ เล็กๆ ทอ่ี ยูภ่ ายในอาณาเขตของตน

สาเหตุท่มี นุษยต์ ้องมาอยู่รวมกันเปน็ สงั คม

y เพ่ือสนองความต้องการข้ันพ้ืนฐาน ได้แก่ ความต้องการทางชีวภาพ กายภาพ
จิตวทิ ยา และสงั คม

y เพื่อทําให้เป็นมนุษย์อย่างสมบูรณ์หรือแท้จริง โดยมีวัฒนธรรมเป็นตัวขัดเกลา
มนุษย์ให้เรยี นรใู้ นการอยูร่ ่วมกัน

y เพ่ือพ่ึงพาอาศยั กนั และสร้างความเจริญกา้ วหน้าใหก้ บั ตนเองและกลุ่ม

สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (4) ______________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปที ี่ 27

วัฒนธรรม อธิบาย วัฒนธรรม คือ แบบอย่างของพฤติกรรมทั้งหลายท่ีได้มาทางสังคมและถ่ายทอดกัน
ความหมาย ลักษณะ ไปทางสังคมโดยอาศัยสัญลักษณ์ เช่น กฎหมาย ศาสนาศีลธรรม การปกครอง
ประเภท ความสําคัญ รวมทง้ั ส่งิ ประดิษฐ์ทีเ่ ปน็ วตั ถุ เช่น เคร่อื งมือเคร่ืองจักร อาคาร
หนา้ ที่ ลกั ษณะของวฒั นธรรม

y วัฒนธรรมเป็นส่ิงท่ีมนุษย์สร้างข้ึนไม่ว่าจะเป็นรูปธรรมหรือนามธรรม และเป็น
ระบบสัญลักษณ์

y วัฒนธรรมเป็นวิถีชีวิต ก็คือแบบแผนการดําเนินชีวิตท่ีเกิดจากการเรียนรู้และ
สบื ทอดตอ่ กนั มา เชน่ ลูกต้องเล้ียงดพู อ่ แมเ่ มื่อยามทา่ นแกช่ รา

y วัฒนธรรมเป็นส่ิงท่ีได้มาจากการเรียนรู้ เช่น คนไทยยกมือไหว้ ชาวยุโรปใช้วิธี
สัมผัสมือ ฉะน้ันการท่ีสังคมแต่ละสังคมมีวัฒนธรรมไม่เหมือนกันก็เป็นผล
สบื เน่ืองมาจากการเรียนรหู้ รือการถา่ ยทอดพฤติกรรมทแ่ี ตกตา่ งกัน

y วฒั นธรรมเป็นมรดกทางสังคม ก็คือ วัฒนธรรมสามารถถ่ายทอดจากชนรุ่นหนึ่ง
ไปส่ชู นอีกรนุ่ ได้

y วัฒนธรรมมีการเปลยี่ นแปลงได้และปรับตวั ได้ เพราะสังคมไมเ่ คยหยดุ นิง่

ประเภทของวฒั นธรรม
1. วตั ถุธรรม : วัฒนธรรมทางวตั ถุ เชน่ เคร่อื งมอื เคร่ืองใช้
2. คติธรรม : วัฒนธรรมท่ีเกี่ยวกับหลักการดําเนินชีวิต ส่วนใหญ่เป็นเรื่องของจิตใจ

และไดม้ าจากทางศาสนา
3. เนตธิ รรม : วฒั นธรรมทางกฎหมาย
4. สหธรรม : วัฒนธรรมทางสงั คม ได้แก่ มารยาททางสงั คมตา่ งๆ เช่น การต้อนรับแขก

การแสดงความเคารพ การแต่งกาย

ความสําคัญของวฒั นธรรม
y วัฒนธรรมทําให้มนุษย์แตกต่างจากสัตว์อืน่
y วฒั นธรรมทําใหเ้ ปน็ มนษุ ย์อย่างสมบรู ณ์
y ช่วยให้มนุษย์สามารถแก้ปญั หาและสนองความตอ้ งการด้านตา่ งๆ ได้
y วัฒนธรรมช่วยให้มนษุ ยส์ ามารถอย่รู ว่ มกันไดอ้ ย่างสันตสิ ขุ เชน่ การออกกฎหมาย
y วฒั นธรรมชว่ ยสรา้ งความผกู พันและความเปน็ อนั หนึง่ อันเดยี วกนั
y วัฒนธรรมช่วยให้สังคมเจริญรุ่งเรือง เช่น ในสังคมท่ีมีวัฒนธรรมที่เอื้อต่อการมี

ระเบยี บวินัย ขยันหม่นั พยี ร ประหยดั
y วัฒนธรรมชว่ ยสรา้ งเอกลักษณข์ องสังคม

โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปที ี่ 27 ______________________สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (5)

ศัพทส์ งั คม หน้าทีข่ องวฒั นธรรม
y วัฒนธรรมกําหนดพฤติกรรมของมนุษย์ในสังคม เพราะวัฒนธรรมเป็นตัวกําหนด

คา่ นิยมว่าอะไรด-ี ช่วั อะไรถกู -ผดิ เช่น เด็กต้องมีพฤติกรรมที่นอบน้อมตอ่ ผ้ใู หญ่
y วัฒนธรรมกําหนดรูปแบบของสถาบัน เช่น รูปแบบของครอบครัว ในบางสังคม

สามมี ภี รรยาหลายคนได้
y วฒั นธรรมควบคุมสงั คม วฒั นธรรมเป็นตัวสร้างความเป็นระเบียบเรียบร้อยให้แก่

สังคม เชน่ บรรทัดฐานตา่ งๆ ความคดิ ความเช่อื
y วัฒนธรรมเป็นปัจจัยหล่อหลอมบุคลิกภาพทางสังคม ทําให้สมาชิกในสังคม

ส่วนใหญม่ บี คุ ลกิ ภาพคล้ายคลงึ กนั เช่น มคี วามกตัญญูกตเวที เคารพระบบอาวุโส

วฒั นธรรม
y วัฒนธรรมคือ วิถีการดําเนินชีวิต แบบแผนแห่งพฤติกรรม ผลงานที่มนุษย์ได้

สรา้ งสรรคข์ น้ึ รวมทัง้ ความคิดความเชือ่ ความร.ู้
โครงสร้างสังคม
y ระบบความสัมพนั ธข์ องสถาบันต่างๆ ของสังคมในขณะใดขณะหน่ึง
y รปู แบบความสัมพันธท์ ่ีมีบรรทัดฐานเป็นแนวทางทีใ่ ห้คนในสังคมยึดถือไว้ใช้ในการ

ทํากิจกรรมตา่ งๆ.
กลุ่มสงั คม (องค์การทางสังคม)
y กลุ่มบคุ คลทส่ี มาชิกในกล่มุ มีการติดต่อสมั พันธ์กันอย่างมีระบบแบบแผนที่ยอมรับ

กัน กลุ่มสังคมจะมีความรู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน โดยมีเอกลักษณ์ มีความ
สนใจคล้ายกัน ซ่ึงทาํ ให้กล่มุ มีลักษณะแตกตา่ งกับกลุม่ อ่นื ๆ
y กลุ่มคนตั้งแต่ 2 คนข้ึนไป ซ่ึงมีความรู้สึกเป็นพวกเดียวกันและมีการกระทําต่อกัน
เพอ่ื ให้ได้รบั ผลตามจดุ มุ่งหมาย
สถาบนั สังคม
y แบบแผนพฤตกิ รรมของสมาชิกในสังคมทีส่ นองความต้องการรว่ มกนั ในด้านตา่ งๆ
y กลุ่มของบรรทดั ฐานท่ีสงั คมกาํ หนดขน้ึ เพ่อื ใช้เปน็ หลักในการทาํ กจิ กรรมด้านต่างๆ
y ชดุ ของกฎเกณฑท์ ่สี ังคมกาํ หนดใหส้ มาชิกดําเนินกิจกรรมด้านต่างๆ
y ยอดรวมของรูปแบบความสัมพันธ์ กระบวนการและวัตถุอุปกรณ์ที่สร้างขึ้นเพ่ือ
สนองประโยชน์สําคัญๆ ทางสงั คมเรื่องใดเร่ืองหน่ึง.
บรรทดั ฐานทางสังคม
y กฎเกณฑ์หรือแบบแผนความประพฤติท่ีใช้เป็นแนวทางให้คนในสังคมได้ปฏิบัติต่อ
กนั เพ่ือใหเ้ กดิ ความเป็นระเบียบเรยี บรอ้ ยในสังคม.
y ระเบียบแบบพฤติกรรม กฎเกณฑ์ หรือคตินิยมท่ีสังคมกําหนดไว้เพ่ือเป็นแนวทาง
ให้บคุ คลซง่ึ เป็นสมาชิกของสังคมยึดถอื และปฏิบตั ใิ นสถานการณ์ต่างๆ

สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (6) ______________________โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27

การจัดระเบียบทางสังคม

y การวางรูปแบบพฤติกรรมของบุคคลในสังคมที่ต้องมากระทําต่อกันทางสังคม

เพ่ือใหค้ วามสมั พนั ธ์ของสมาชิกในสังคมดาํ เนนิ ไปอย่างราบรืน่

y วิธีการท่ีสังคมกําหนดแบบแผนพฤติกรรมให้สมาชิกประพฤติปฏิบัติเป็นแนวทาง

เดยี วกนั .

การควบคมุ ทางสงั คม

y การควบคุมทางสังคมคือ วิธีการท่ีสังคมใช้ควบคุมความพฤติกรรมของสมาชิก

ใหป้ ระพฤติปฏบิ ัติเป็นแนวทางเดียวกัน.

การขัดเกลาทางสงั คม

y กระบวนการปลูกฝังบรรทัดฐานของกลุ่มให้เกิดข้ึนในตัวบุคคลซ่ึงเป็นสมาชิกของ
สังคม เพอ่ื ใหส้ มาชิกสามารถอยู่รว่ มกนั และทาํ งานร่วมกับผ้อู นื่ ในสงั คมไดด้ ้วยดี

y วธิ กี ารท่ีสังคมถา่ ยทอดแบบแผนพฤติกรรมให้สมาชิกประพฤติปฏิบัติเป็นแนวทาง

เดียวกนั

y กระบวนการทางสังคมกับจิตวิทยาซึ่งมีผลทําให้บุคคลมีบุคลิกภาพตามแนวทางที่

สงั คมตอ้ งการ.

การเคลอื่ นท่ีทางสังคม

y การเคลื่อนท่ีทางสังคมคือ การเปล่ียนอาชีพหรือเลื่อนตําแหน่ง หน้าท่ี ฐานะทาง

สงั คม เชน่ สงั คมเมืองมกี ารเคล่ือนทีท่ างสังคมไดม้ ากกวา่ สังคมชนบท สังคมเมือง

มีการเคลอื่ นท่ีทางสังคมแนวตัง้ สังคมชนบทมกี ารเคลื่อนทีท่ างสงั คมแนวนอน.

คา่ นิยม

y แบบอย่างพฤตกิ รรมทีส่ ังคมถือวา่ มีคณุ คา่ เป็นแบบแผนที่ใชต้ ัดสนิ หรือประเมินค่า

สิง่ ตา่ งๆ

y ส่ิงที่กลุ่มบุคคลเชื่อและยึดถือเป็นเครื่องช่วยตัดสินใจและกําหนดการกระทําของ

ตนเอง

y เกณฑ์ท่ีระบุว่าควรประพฤติปฏิบัติอย่างไร หรือเกณฑ์ในการประเมินค่าความ

ประพฤติของสงั คม

องค์ประกอบของ y วฒั นธรรม : สถาบัน / สญั ลกั ษณ์ / ความเช่อื / บรรทัดฐาน / คา่ นิยม

วฒั นธรรม y โครงสรา้ งสังคม : กล่มุ ทางสงั คม / สถานภาพและบทบาท / สถาบันทางสงั คม

โครงสร้างสังคม y สถาบนั สังคม : กลุม่ ทางสงั คม / สถานภาพและบทบาท / หน้าท่ี / บรรทัดฐาน /

สถาบนั สังคม สญั ลกั ษณ์ / ค่านยิ ม

การจัดระเบียบทาง y การจัดระเบียบทางสังคม : บรรทัดฐาน / สถานภาพและบทบาท / การควบคุม
สงั คม มีอะไรบ้าง ทางสงั คม / คา่ นิยม

โครงการแบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ ปที ่ี 27 ______________________สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (7)

สถาบันทางสังคม สถาบันทางสังคมขั้นพื้นฐาน ได้แก่ สถาบันครอบครัว / สถาบันการเมือง

ขน้ั พ้นื ฐาน การปกครอง / สถาบนั เศรษฐกจิ / สถาบันศาสนา / สถาบันการศึกษา

มอี ะไรบ้าง y สถาบันครอบครัวเป็นสถาบันพื้นฐานแรกที่สุดและมีความสําคัญยิ่งต่อสังคม

เพราะเป็นสถาบนั ข้นั พ้ืนฐานทเ่ี ป็นจดุ เรม่ิ ตน้ ของสถาบนั อ่นื ๆ

สถาบนั ครอบครัว สถาบันครอบครัว

และสถาบนั ศาสนา y กล่มุ สงั คม เชน่ พอ่ แม่ ลกู วงศาคณาญาติ

มีองค์ประกอบใน y สถานภาพและบทบาท เช่น พ่อแม่มีหน้าที่เลี้ยงดูปกป้องให้ความรักแก่ลูก ลูกมี

รายละเอียด หนา้ ท่ตี อ้ งเคารพเชอ่ื ฟังพอ่ แม่

อะไรบ้าง y หน้าที่ เช่น ผลิตสมาชิกใหม่ ปลูกฝังและถ่ายทอดวัฒนธรรม อบรมให้เรียนรู้

ระเบียบของสังคม กําหนดสถานภาพของบุคคล ให้ความรักความอบอุ่น บําบัด

ความตอ้ งการทางเพศ

y บรรทัดฐาน (แบบแผนพฤตกิ รรม) เชน่ การหมน้ั การสมรส การก่อต้ังครอบครัว

การหยา่ รา้ ง

y สญั ลกั ษณ์ เช่น แหวนแต่งงาน ตราประจําตระกลู

y คา่ นยิ ม เช่น การรว่ มทกุ ขร์ ว่ มสขุ กัน

สถาบนั ศาสนา

y กล่มุ สังคม เช่น ภกิ ษุ สามเณร ศาสนิกชน วดั วทิ ยาลยั สงฆ์

y สถานภาพและบทบาท เช่น พระต้องสํารวมและประพฤติตามพระธรรมวินัย

มเี มตตาตอ่ สตั ว์โลก

y หน้าท่ี เช่น ส่ังสอนและเผยแผ่ธรรม สร้างความเป็นหนึ่งเดียวกันในสังคม กลไก

ควบคมุ ความประพฤตขิ องคนในสังคม เสริมสร้างความมน่ั คงด้านจิตใจ เป็นเครื่อง

สร้างความผกู พันระหว่างคนในชาติและวัฒนธรรมของสงั คม
y บรรทัดฐาน (แบบแผนพฤติกรรม) เช่น การทําบุญตักบาตร การถือศีลห้า

ชายไทยบวชเม่ืออายุครบ 20 ปี
y สญั ลกั ษณ์ เช่น พระพทุ ธรูป โบสถ์ ทาํ นองสวดมนต์
y คา่ นยิ ม เชน่ ความสันตสิ ุขของสังคม การยดึ ม่ันในคาํ สอน

ครอบครัวเดี่ยว และ y ครอบครัวเดี่ยว (Nuclear family) เป็นครอบครัวท่ีประกอบด้วยสามีภรรยา และลูกๆ

ครอบครัวขยาย อย่กู ันตามลาํ พัง

แตกตา่ งกนั อยา่ งไร y ครอบครัวขยาย (Extended family) เป็นครอบครัวท่ีประกอบด้วยญาติพี่น้อง

อาจมปี ู่ ยา่ ตา ยาย ลุง ป้า นา้ ฯลฯ

สถานภาพคอื อะไร สถานภาพ คือ ตําแหน่งของบุคคลในสังคมที่เกิดจากความสัมพันธ์ทางสังคม
มคี วามสําคัญ สถานภาพเปน็ ตัวกําหนดว่าใครเปน็ ใคร มีหนา้ ที่ความรบั ผิดชอบอยา่ งไร.
อยา่ งไร สถานภาพแบง่ เปน็ 2 ประเภท
และมีกปี่ ระเภท 1. สถานภาพติดตวั มา เชน่ เพศ สีผิว อายุ สัญชาติ วัย วรรณะ เชื้อพระวงศ์
2. สถานภาพท่ีได้มาภายหลังหรือได้มาโดยความสามารถ เช่น นักเรียน อาจารย์

ขา้ ราชการ นายกรัฐมนตรี ผจู้ ดั การบริษทั

สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (8) ______________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27

บทบาทคืออะไร บทบาท คือ พฤติกรรมที่สังคมคาดหวังให้บุคคลปฏิบัติตามสิทธิ หน้าที่ ความ
รบั ผดิ ชอบตามสถานภาพทเ่ี ปน็ อยู่
บรรทัดฐานมี y ย่ิงสังคมซบั ซอ้ นมากขึ้นเท่าไร บทบาทจะยิ่งแตกตา่ งไปมากขึน้ เท่านั้น
กีป่ ระเภท อะไรบ้าง y ความขัดแย้งในบทบาทอาจเกิดข้ึนได้ เมื่อบุคคลมีหลายสถานภาพ เช่น พ่อเป็น

การควบคมุ ทาง ตํารวจ ลกู เป็นโจร
สงั คมมกี ่ีประเภท y บุคคลจะแสดงบทบาทไม่ได้ ถ้าไม่มีคู่แสดงบทบาท หมายความว่า บุคคลจะ
อะไรบ้าง
การขัดเกลาทาง แสดงบทบาทของตนในสังคมแต่เพียงฝ่ายเดียวไม่ได้ แต่จะต้องแสดงบทบาท
สังคมมีก่ีประเภท สัมพนั ธ์กบั บคุ ลอืน่
อะไรบา้ ง y ถ้าสมาชิกของสังคมปฏิบัติตามบทบาทของตน (เข้าใจบทบาทอย่างเดียวไม่พอ)
อย่างถูกตอ้ งและเครง่ ครัด สงั คมก็จะมรี ะเบยี บ
y การไม่รู้ไม่เข้าใจบทบาทสามารถแกไ้ ขไดโ้ ดยการขดั เกลาทางสงั คม

บรรทัดฐานมี 3 ประเภท
1. วิถีชาวบ้าน : แนวทางปฏิบัติท่ีบุคคลในสังคมควรจะกระทํา กระทําจนเป็นนิสัย

และยังรวมถึงมารยาททางสังคมและสมัยนิยม เช่น การยกมือไหว้เมื่อพบผู้ใหญ่
การแต่งกายที่สภุ าพในทสี่ าธารณะ การกนิ ข้าวดว้ ยช้อนส้อม การเขียนหนังสือด้วย
มือขวา การลงช่ือตอนท้ายของจดหมาย การฝ่าฝืนวิถีชาวบ้านจะถูกสังคมลงโทษ
แบบไมเ่ ปน็ ทางการ เช่น ซุบซบิ นินทา หวั เราะเยาะ ตาํ หนิติเตียน.
2. จารตี : แนวทางปฏบิ ัตทิ ี่บุคคลในสงั คมจะต้องกระทาํ เกยี่ วขอ้ งกับศีลธรรม ความ
ด-ี ช่วั ความถกู -ผิด ความเป็นระเบียบเรียบร้อยและสวัสดิภาพของสังคม เช่น ลูก
ตอ้ งกตัญญูกตเวทตี ่อพอ่ แม่ สามีภรรยาตอ้ งซอื่ สตั ยต์ ่อกัน จารีตยังรวมถึงข้อห้าม
ด้วย เชน่ หา้ มพนี่ ้องร่วมบดิ ามารดาแต่งงานกัน การฝา่ ฝืนจารีตจะถูกสังคมลงโทษ
แบบไม่เป็นทางการ แต่จะจริงจังและรุนแรงกว่าวิถีชาวบ้าน เช่น การถูกรุม
ประชาทัณฑ์ การเลกิ คบคา้ สมาคมด้วย.
3. กฎหมาย : แนวทางทีท่ ุกคนตอ้ งทาํ

การควบคุมทางสงั คมมี 2 ประเภท
1. การควบคุมแบบเปน็ ทางการ ได้แก่ การใชก้ ฎหมาย
2. การควบคุมแบบไม่เป็นทางการ ได้แก่ การใชว้ ิถีชาวบา้ น และจารตี .

การขัดเกลาทางสงั คมมี 2 ประเภท
1. การขดั เกลาทางสงั คมทางตรง เช่น การที่พอ่ แมฝ่ ึกอบรมเด็กให้รู้จักพูดหรือรู้จัก

มารยาททางสังคม ครสู อนหนังสอื นกั เรียน
2. การขัดเกลาทางสังคมทางอ้อม เช่น การได้รับความรู้จากการอ่านหนังสือ

ดูโทรทัศน์ ฟังวิทยุ ฟังอภิปราย ฟังโต้วาที และการเรียนรู้จากการกระทําของ
ผู้อ่ืน เช่น เด็กเลียนแบบการใช้คําหยาบจากเพื่อน ดังนั้นการขัดเกลาทางสังคม
หรอื การอบรมสั่งสอนจึงเป็นวิธีการถ่ายทอดทางวัฒนธรรม ทําให้มนุษย์ได้เรียนรู้
วัฒนธรรมและสามารถปฏิบัติตนให้เข้ากับสังคมได้ถูกต้อง และทําให้วัฒนธรรม
เปน็ มรดกของสังคม

โครงการแบรนด์ซมั เมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27 ______________________สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (9)

ค่านยิ มมี ค่านิยมเป็นพ้ืนฐานสําคัญที่ก่อให้เกิดบรรทัดฐานทางสังคม ค่านิยมมีผลต่อ
ความสําคัญอยา่ งไร พฤตกิ รรมของบคุ คล และมผี ลตอ่ ความเจรญิ หรอื ความเสอ่ื มของสังคม.
y ลักษณะของ “ค่านิยม” คือ ตัวกําหนดพฤติกรรมและวิธีการจัดรูปแบบความ
สังคมไทยมลี กั ษณะ
โดยทัว่ ไปเปน็ ประพฤติของของบคุ คลในสังคม ส่วนลกั ษณะของ “ความนิยม” คอื การทําตัวตาม
อย่างไร คนอื่น โดยท่ีบางคร้ังตนเองมองไม่เห็นคุณค่าของการกระทําน้ัน เห็นสังคมกําลัง
นยิ ม ตนกน็ ิยมตามด้วย เช่น การไวผ้ ม ยาว การน่งุ กระโปรงสั้น เป็นตน้ .
วัฒนธรรมไทย y คา่ นยิ มเปน็ ความนิยมของสังคมหรือกลุ่มบุคคล ไม่ใช่ความนิยมของคนใดคนหนึ่ง
มลี ักษณะที่สาํ คัญ (ความนยิ มสว่ นบคุ คล เราเรียกวา่ รสนิยม)
ประการใด y คา่ นยิ มไมจ่ าํ เปน็ ตอ้ งเปน็ สง่ิ ท่ถี ูกต้องเสมอ
y ดงั น้ันคา่ นิยมมีท้ังทด่ี ีและไม่ดี ท้งั ทค่ี วรปลูกฝงั ในสังคมและค่านยิ มท่คี วรแกไ้ ข

สงั คมไทยมีลกั ษณะ
y สังคมไทยเปน็ เอกสงั คม
y สังคมเกษตรกรรม
y สงั คมเจ้าขนุ มูลนาย
y มพี ระมหากษตั ริยเ์ ปน็ ประมขุ
y สงั คมท่รี วมอาํ นาจไวท้ ่สี ว่ นกลาง
y มีศาสนาพุทธเป็นศาสนาประจาํ ชาติ
y มีการเปล่ยี นแปลงอยา่ งรวดเร็ว
y มกี ารศกึ ษาตา่ํ
y มีการอพยพไปสู่ถ่นิ อน่ื มากข้ึน
y มกี ารแบ่งชนชัน้
y มโี ครงสรา้ งแบบหลวมๆ คอื ไมค่ อ่ ยเคร่งครัดในระเบยี บวนิ ัย
y สังคมเปดิ

วฒั นธรรมมลี กั ษณะสาํ คญั
y เปน็ วฒั นธรรมแบบเกษตรกรรม
y เปน็ วัฒนธรรมผสมผสาน
y เปน็ วฒั นธรรมที่ถือระบบเครือญาติ
y เป็นวฒั นธรรมท่ีนยิ มความสนกุ สนาน
y เป็นวฒั นธรรมที่ยดึ ถอื พิธกี รรม
y เป็นวัฒนธรรมที่ยดึ ถอื ในการทาํ บญุ ทาํ กศุ ล

สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (10) _____________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปที ี่ 27

วฒั นธรรมไทยมี ที่มาของวฒั นธรรมไทย
ทีม่ าจากแหล่ง จากขนบธรรมเนียมประเพณไี ทยโบราณ เช่น การกตญั ญกู ตเวทีตอ่ ผูม้ พี ระคุณ
ใดบา้ ง จากลักษณะสังคมเกษตรกรรม เช่น การแห่นางแมว การแห่บ้ังไฟ การลงแขก
เก่ยี วข้าว การเตน้ กําราํ เคยี ว
ปัญหาสงั คมมี จากพิธีกรรมของพระพุทธศาสนา เช่น การสวดมนต์ไหว้พระ การทอดกฐิน การ
ลกั ษณะอยา่ งไร ทอดผา้ ป่า การบวช
จากพิธีกรรมของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู เช่น การต้ังศาลพระภูมิ การสะเดาะ
การเปลี่ยนแปลง เคราะหต์ อ่ อายุ การโกนจกุ การวางศิลาฤกษ์ การรดนา้ํ สงั ขใ์ นพิธมี งคลสมรส
ทางสงั คมและการ
เปลย่ี นแปลงทาง ปญั หาสังคมมีลกั ษณะ
วฒั นธรรม เปน็ สภาวการณท์ เ่ี กิดจากการกระทาํ ของมนษุ ย์
แตกตา่ งกันอยา่ งไร มผี ลกระทบต่อคนส่วนใหญใ่ นสงั คม อันเน่ืองมาจากการกระทําต่อกันทางสังคมที่
ไมเ่ ปน็ ไปตามบรรทัดฐานและกอ่ ใหเ้ กดิ ผลเสีย
การเปลย่ี นแปลง คนส่วนใหญ่ในสังคมจึงไม่ปรารถนาและรู้สึกว่าจะเป็นอันตรายหรือสร้างความ
ทางสงั คมและทาง เดือดร้อน
วฒั นธรรมเกิดจาก และพยายามหาทางแก้ไขหรือเสนอแนวทางแก้ไขสภาวการณ์นั้น ตัวอย่างปัญหา
สาเหตใุ ด สงั คม เชน่ วัยรนุ่ ติดยาเสพตดิ นักเรียนยกพวกตกี ัน.
ปัญหาท่ีเกิดจากปรากฏการณ์ธรรมชาติไม่ถือว่าเป็นปัญหาสังคม เช่น น้ําท่วม
แผน่ ดินไหว

การเปลี่ยนแปลงทางสังคม คือ การเปล่ียนแปลงรูปแบบหรือระบบของสังคม
และโครงสร้างหรือความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในสังคม เช่น ครอบครัวไทยใน
ปัจจุบันมีขนาดเล็กลง ผู้หญิงไทยมีบทบาททางการเมืองมากข้ึน ความสัมพันธ์
เปลยี่ นจากเพือ่ นเปน็ สามภี รรยา.
การเปล่ยี นแปลงทางวัฒนธรรม คอื การเปล่ยี นแปลงในสงิ่ ที่มนษุ ย์สร้างข้ึนท้ังสิ่ง
ทเ่ี ป็นวัตถุ และสิ่งที่ไม่ใช่วัตถุ (เช่น วิถีชีวิต ความคิด ความเช่ือ ทัศนคติ อุดมการณ์
บรรทัดฐาน ค่านิยม) เช่น การใช้รถยนต์แทนรถเทียมม้า การใช้ระบบเงินตราเป็น
สื่อกลางในการแลกเปลี่ยน คนไทยนิยมสินค้าไทยมากขึ้น คนเมืองมีความเช่ือทาง
ไสยศาสตรน์ ้อยลง

การเปลย่ี นแปลงทางสังคมและทางวฒั นธรรมเกดิ จาก
ปัจจัยภายใน ได้แก่ ปัจจัยทางประชากร เช่น การเพ่ิมขึ้นของประชากร ปัจจัย
สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ เช่น สภาพดินฟ้าอากาศภายในประเทศเปล่ียนแปลงไป
ทรพั ยากรธรรมชาตภิ ายในประเทศขาดความอดุ มสมบูรณ์
ปัจจัยภายนอก เช่น การรับเอาวิทยาการ เทคโนโลยี และการสื่อสารคมนาคมจาก
ตา่ งประเทศเข้ามา

โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปที ี่ 27 _____________________สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (11)

ภาค ประเพณี ศิลปะ เครอ่ื งดนตรี

เหนอื ขันโตก ฟ้อนเล็บฟ้อนเงย้ี ว ป่ี
ตานก๋วยสลาก ฟ้อนเทียน สะลอ้
ประเพณกี ารสบื ชะตา (ตอ่ อาย)ุ ตกี ลองสะบดั ไชย ซอ
ปอยส่างลอง (งานบวชลกู แกว้ เปน็ สามเณร) ขบั ซอ ซึง
งานทาํ ขวญั ผึง้ (สโุ ขทัย)
งานอุม้ พระดาํ นํ้า (เพชรบูรณ)์
ตเี หล็กนํ้าพี้ (อตุ รดิตถ์)

กลาง รบั บัวโยนบวั (สมทุ รปราการ) ราํ กลองยาว ระนาด
ตกั บาตรเทโว (อทุ ัยธานี) รําพัด ขลุย่
ตักบาตรน้ําผง้ึ (ฉะเชงิ เทรา) ราํ สนี วล ซอสามสาย
บชู ารอยพระพทุ ธบาท (สระบรุ ี) เตน้ กาํ ราํ เคียว จะเข้
ทิ้งกระจาด (เพชรบรู ณ)์ เพลงปรบไก่ ฆ้องวงใหญ่
แหเ่ จา้ พ่อเจ้าแมป่ ากนาํ้ โพ (นครสวรรค)์ เพลงลาํ ตดั กลองสองหน้า
ก่อพระเจดยี ์ทราย (ฉะเชิงเทรา) เพลงพวงมาลัย
กวนขา้ วทิพย์ (ชยั นาท) เพลงฉ่อย
ประเพณสี ่ขู วัญขา้ ว (นครนายก) เพลงแม่ศรี
ทําขวญั ขา้ ว (ภาคกลางและอีสาน) เพลงระบาํ ชาวไร่
เพลงอีแซว
ลิเก

อสี าน ฮตี สิบสอง คองสบิ ส่ี บุญผะเหวด ระบําสากตําข้าว แคน
บุญคนู ลาน บญุ ข้าวจ่ี รํากระทบไม้ โปงลาง
บุญบง้ั ไฟ บุญข้าวสาก รําผีฟา้ โหวด
ไหลเรือไฟ เซ้ิงโปงลาง ซอ
ผตี าโขนท่เี ลย เซง้ิ กระติบ พิณ
แหป่ ราสาทผง้ึ หมอลาํ หมอแคน

ใต้ บุญสารทเดอื นสิบ งานเจ้าแม่ลม้ิ กอเหนี่ยว รําโนรา ตะโพน
ฉ่งิ
แหผ่ า้ ข้ึนธาตุ แข่งนกเขาชวา ราํ ซดั ชาตรี ราํ มะนา
ไวโอลิน
ประเพณีชักพระ งานฮารีลายอ ระบาํ ศรีวิชยั

ประเพณีกินผัก หนังตะลงุ

รองเงง็

สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (12) _____________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปที ี่ 27

รฐั และการเมืองไทย

รัฐคืออะไร รัฐคอื ชมุ ชนทางการเมืองท่ปี ระกอบด้วย

1. ประชากร

2. ดนิ แดนทม่ี อี าณาเขตแน่นอน

3. รัฐบาล

4. อาํ นาจอธิปไตย

คําว่า “รัฐ” ยังรวมถึง รัฐธรรมนูญ กฎหมาย ศาล และข้าราชการทุกหน่วยทุก

ระดับการปกครองที่รวมกันขึ้นเป็นรัฐ เช่น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา

คณะกรรมการเลือกตง้ั

รัฐมีลักษณะความเป็นถาวร แม้ว่าจะมีการเปลี่ยนรัฐบาล แต่รัฐก็ยังคงดํารงอยู่

ตลอดไป

อาํ นาจอธิปไตย อํานาจอธิปไตย (Sovereignty) คือ อํานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ เป็นอิสระ

คอื อะไร จากการควบคุมของรัฐอ่ืนๆ เป็นอํานาจที่แบ่งแยกไม่ได้ และเป็นองค์ประกอบสําคัญ

ทสี่ ดุ ของรฐั เพราะแสดงถึงความมเี อกราช ลักษณะของอํานาจอธิปไตยมดี ังน้ี

แบ่งแยกมไิ ด้ : เป็นหน่ึงเดียว แบ่งแยกมิได้ ถ้ามีการแบ่งแยกอํานาจอธิปไตยจะทํา

ใหร้ ัฐเดิมสลายตัวไป และมีประเทศใหม่เกิดข้ึน เช่น กรณีสหภาพโซเวยี ตลม่ สลาย

มีความถาวร : มีอยู่ตลอดไป (ต่างจากรัฐบาลที่มีการเปล่ียนแปลงได้) รัฐจะคงอยู่

ไม่ได้ ถ้าอาํ นาจถูกทําลาย

มีความเดด็ ขาด : ไมม่ ีอํานาจใดเหนอื กวา่ อาํ นาจอธิปไตย

เป็นการทั่วไป : ครอบคลุมใช้ได้ทุกสถานท่ีภายในอาณาเขตของรัฐ อยู่เหนือทุก

อาํ นาจและกลุ่มบุคคล

รัฐเดี่ยวและรัฐรวม รัฐเดย่ี วและรฐั รวมแตกตา่ งกนั ตรงทีร่ ปู แบบของรัฐบาลหรอื จํานวนรฐั บาลภายในรัฐ

แตกตา่ งกนั อย่างไร 1. รัฐเดี่ยว (เอกรัฐ) : รัฐท่ีมีเพียงรัฐบาลเดียวใช้อํานาจปกครองดินแดนทั้งหมด เช่น

ไทย ญี่ปุ่น ลาว สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ ฝร่ังเศส ลิกเตนสไตน์ โมนาโก อิตาลี สวีเดน

องั กฤษ ตุรกี สเปน นิวซีแลนด์ นอร์เวย์ เดนมารก์ .

2. รฐั รวม (สหพนั ธรฐั ) : รฐั ที่มรี ัฐบาล 2 ระดบั ไดแ้ ก่ รัฐบาลกลางและรฐั บาลท้องถิ่น

หรือรฐั บาลมลรฐั เชน่ มาเลเซีย พม่า อินเดีย ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา แคนาดา

เยอรมนี รัสเซีย จนี

โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปที ี่ 27 _____________________สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (13)

อธบิ ายรูปแบบ กษัตรยิ ท์ รงเป็นประมขุ
การปกครองที่ใช้ y กษัตริย์ทรงเป็นประมุขของรัฐ คือ พระองค์จะทําหน้าที่เป็นเพียงประมุข ไม่ยุ่ง
ประมขุ ของรัฐเป็น
เกณฑก์ ารแบ่ง เกี่ยวกับการบริหารบ้านเมือง แต่มีนายกรัฐมนตรีทําหน้าที่แทน เช่น ไทย ญี่ปุ่น
องั กฤษ สวีเดน เดนมารก์ นอร์เวย.์
อธบิ ายระบบ y กษัตริย์ทรงเป็นประมุขของรัฐและทรงเป็นผู้นําฝ่ายบริหารด้วย เช่น บรูไน
รัฐบาล ซาอดุ ิอาระเบยี โอมาน.
ระบบประธานาธบิ ดี ประธานาธิบดเี ป็นประมุข
(เชน่ USA) y ประธานาธิบดีมาจากการเลือกตั้ง ทําหน้าท่ีเป็นประมุขของรัฐ แต่ไม่เป็นผู้นําฝ่าย
มีหลักการสําคัญ บริหาร เชน่ สงิ คโปร์ อินเดีย.
อย่างไร y ประธานาธิบดีมาจากการเลือกต้ัง ทําหน้าที่เป็นประมุขของรัฐและเป็นผู้นําฝ่าย
บริหาร เช่น สหรฐั อเมรกิ า ฟิลปิ ปนิ ส์
เปรยี บเทยี บระบบ
รัฐบาลแบบรัฐสภา y ระบบรฐั สภา เชน่ ไทย อังกฤษ สวีเดน ญปี่ ุ่น
และแบบ y ระบบประธานาธบิ ดี เชน่ สหรฐั อเมริกา ฟลิ ิปปินส์ อารเ์ จนตนิ า บราซลิ
ประธานาธบิ ดี y ระบบก่ึงรฐั สภากึ่งประธานาธิบดี เช่น ฝรง่ั เศส มองโกเลยี

ระบบประธานาธบิ ดมี หี ลักการสาํ คญั
y ยึดหลักการแบ่งแยกอํานาจ ระหว่างฝ่ายนิติบัญญัติ (รัฐสภา) ฝ่ายบริหาร

(ประธานาธิบดี) และฝา่ ยตลุ าการ (ศาล) โดยแตล่ ะฝา่ ยมีอาํ นาจและความเป็นอิสระ
ในการทําหน้าทขี่ องตน
y สภาและประธานาธิบดีต่างมาจากการเลือกตั้ง ในระบบประธานาธิบดีจะไม่มี
ตําแหน่งนายกรัฐมนตรี เพราะประธานาธิบดีจะทําหน้าท่ีเป็นทั้งประมุขและผู้นํา
รฐั บาล
y สภาไมม่ ีอํานาจควบคุมการทาํ งานของรัฐบาล
y ไม่มีการยุบสภา

รฐั สภา ประธานาธิบดี

y ประมุขกับผู้นําฝ่ายบริหารหรือรัฐบาล y ประมุขกับผู้นําฝ่ายบริหารเป็นคน

เปน็ คนละคนกัน เดียวกัน

y ประมขุ ไมต่ ้องรับผดิ ชอบทางการเมอื ง y ประมุขตอ้ งรบั ผิดชอบทางการเมอื ง

y สภามาจากการเลือกต้ัง แต่รัฐบาลมา y สภาและประธานาธิบดีต่างมาจากการ

จากความไว้วางใจจากสภา เลอื กตง้ั

y นายกรัฐมนตรีมาจากการเลือกตั้ง y ประธานาธิบดีมาจากการเลือกต้ังของ

ทางอ้อม ประชาชนท้ังประเทศ โดยผ่านคณะ

ผ้เู ลอื กตัง้

y สภามีอํานาจควบคุมการทํางานของ y สภาไมม่ อี ํานาจควบคุมการทาํ งานของ

รฐั บาล รฐั บาล

y มียุบสภา มีการเปิดอภิปรายท่ัวไปเพ่ือ y ไม่มยี ุบสภาและไม่มกี ารเปดิ อภิปรายฯ
ลงมตไิ ม่ไวว้ างใจ

สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (14) _____________________โครงการแบรนด์ซมั เมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27

การจัดระเบียบการ หลกั การรวมอํานาจ
ปกครองภายในรัฐ เป็นการให้กระทรวง ทบวง กรมมีอํานาจหน้าท่ีในการบริหารบ้านเมือง แล้วจัดส่ง
มีหลักการสําคญั เจ้าหนา้ ทข่ี องรัฐออกไปปฏบิ ตั หิ นา้ ทีย่ งั ส่วนตา่ งๆ ของประเทศ
อย่างไร ขอ้ ดี เชน่ การบรหิ ารงานมเี อกภาพ วางแผนพัฒนาไดง้ ่าย ประหยดั ค่าใชจ้ า่ ย
ข้อเสีย เช่น การบริหารงานไม่มีประสิทธิภาพ งานล่าช้า คนในท้องถิ่นไม่มีโอการ
ปกครองตนเอง

หลักการแบ่งอาํ นาจ
ส่วนกลางแตง่ ตงั้ ข้าราชการไปดแู ลส่วนภูมภิ าค
ข้อดี เชน่ ประชาชนไดร้ บั บริการรวดเร็วขึน้
ข้อเสีย เช่น ประชาชนในท้องถิ่นมีโอกาสปกครองตนเองได้น้อย เจ้าหน้าท่ีรัฐไม่เข้า
ใจความตอ้ งการของประชาชนในท้องถน่ิ อย่างแท้จริง

หลักการกระจายอาํ นาจ
เปน็ การให้ประชาชนในท้องถ่นิ มีส่วนร่วมในการปกครองตนเอง
ข้อดี เช่น ประชาชนมีโอกาสปกครองตนเอง ลดภาระจากส่วนกลาง แก้ไขปัญหาได้
ตรงเป้าหมาย
ข้อเสยี เช่น การบริหารขาดเอกภาพ เสยี คา่ ใช้จา่ ยมาก

การจดั ระเบียบ ราชการสว่ นกลาง ได้แก่ กระทรวง ทบวง กรม.
บรหิ ารราชการ ราชการสว่ นภมู ิภาค ไดแ้ ก่ จงั หวัด อําเภอ ตําบล หมบู่ า้ น.
แผน่ ดนิ มีรปู แบบ ราชการส่วนท้องถิ่น ได้แก่ องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล (เทศบาลนคร
อย่างไร เทศบาลเมือง เทศบาลตําบล) องค์การบริหารส่วนตําบล และส่วนท้องถิ่นรูปแบบ
พเิ ศษ ไดแ้ ก่ กรงุ เทพมหานคร เมอื งพทั ยา

ระบอบการ 1. การปกครองโดยคนๆ เดียว ได้แก่ สมบรู ณาญาสิทธิราชย์ เผดจ็ การ
ปกครองท่ี 2. การปกครองโดยคนสว่ นน้อย ได้แก่ อภิชนาธิปไตย คณาธิปไตย คอมมวิ นิสต์
พิจารณาจากผู้เปน็ 3. การปกครองโดยคนสว่ นมาก ไดแ้ ก่ ประชาธิปไตย
เจา้ ของอาํ นาจ
อธปิ ไตยนนั้ มี อภชิ นาธิปไตย : เปน็ การปกครองโดยคนสว่ นนอ้ ยทมี่ ีฐานะสูงกว่าคนทั่วไปในสังคม
รปู แบบใดบา้ ง เชน่ มีความรู้ ชาตติ ระกลู รํ่ารวย.

คณาธิปไตย : เป็นการปกครองเพ่ือผลประโยชน์ของกลุ่มตน แต่ไม่มีฐานะทาง
สังคมเหมอื นอภชิ นาธปิ ไตย

โครงการแบรนด์ซมั เมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27 _____________________สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (15)

ประชาธปิ ไตยมี ประชาธปิ ไตยมีหลกั การสําคัญ
หลักการทส่ี าํ คญั หลกั อํานาจอธิปไตยเปน็ ของประชาชน คือ ประชาชนเป็นเจ้าของอํานาจสูงสุดของรัฐ
อะไรบา้ ง ถือเปน็ หลักการทีส่ าํ คัญที่สดุ ในระบอบประชาธิปไตย
หลักความเสมอภาค คือ ความเทา่ เทยี มกนั ในศกั ดศ์ิ รแี ละคุณค่าความเปน็ มนุษย์
วิธกี ารใดบ้างทที่ ํา หลักสิทธิ เสรีภาพและหนา้ ท่ี
ใหร้ ฐั บาลมีอาํ นาจ หลักนติ ธิ รรม คอื การใช้กฎหมายเป็นหลักในการปกครอง
จาํ กดั ตามหลักการ หลักการยอมรับเสียงส่วนมาก การใช้เสียงมากจะต้องไม่ไปละเมิดสิทธิของเสียง
ประชาธปิ ไตย ส่วนน้อย
หลักการใชเ้ หตผุ ล เช่น การเลือกตัง้ เสรโี ดยเปดิ โอกาสให้ประชาชนตดั สนิ ใจเลือกคน
ประชาธิปไตยมกี ี่ ท่ีเหมาะสมไปเป็นตวั แทนของตนในการบรหิ ารประเทศ
รปู แบบ อะไรบ้าง หลักความยินยอม เชน่ เม่อื ครบวาระหรือมีการยุบสภาก็จะมีการเลือกตั้งใหม่ หาก
สมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรคนใดได้รบั ความไว้ใจจากประชาชนก็จะได้รับเลือกเข้ามาทํา
เผด็จการมี หน้าที่ต่อไป
หลกั การที่สําคัญ
อะไรบ้าง วธิ ีการท่ีทําให้รฐั บาลมีอาํ นาจจํากัดตามหลักการประชาธิปไตย
หลักนิติธรรม เป็นการใช้กฎหมายเป็นกรอบในการปกครอง กฎหมายท่ีว่าน้ีก็คือ
รฐั ธรรมนญู ดงั นนั้ ผู้ปกครองต้องอยู่ภายใต้กฎหมายและจะใช้อํานาจในการบริหาร
ประเทศตามอาํ เภอใจไมไ่ ด้
การแยกใชอ้ ํานาจอธปิ ไตย เพ่ือไม่ให้อาํ นาจท้งั หมดของรัฐอยใู่ นมือของคนคนเดียว
หรือคนกลุ่มเดียว แต่ละฝ่ายจะตรวจสอบและถ่วงดุลอํานาจซึ่งกันและกัน ไม่ให้มี
ฝา่ ยใดใชอ้ าํ นาจมากเกนิ ไปจนไปละเมดิ สิทธิเสรีภาพของประชาชน
การกระจายอํานาจ ทาํ ใหป้ ระชาชนในทอ้ งถิ่นปกครองตนเองไดม้ ากข้นึ

ประชาธิปไตยมี 2 รูปแบบ
1. ประชาธิปไตยทางตรง คือ ประชาชนมีส่วนร่วมในการปกครองโดยตรง

ประชาธิปไตยทางตรงเกิดขึ้นครั้งแรกที่เอเธนส์
2. ประชาธิปไตยทางออ้ ม (ประชาธิปไตยโดยตัวแทน) คือ ประชาชนเลือกผู้แทนเข้าไป

ปกครองประเทศแทนตน

เผด็จการมีหลกั การสาํ คัญ
ไมย่ อมรบั ความเสมอภาค
คัดค้านการปกครองโดยประชาชน
ผูกขาดอํานาจการปกครองไว้ทีผ่ นู้ ําเพยี งคนเดียวหรือกลมุ่ เดียว
รฐั อยู่เหนอื ประชาชน เนน้ อํานาจรฐั มากกวา่ เสรภี าพของประชาชน
ยดึ หลกั การรวมอํานาจไวท้ ีส่ ว่ นกลาง
มีรัฐธรรมนูญ มีการเลือกตั้ง มีพรรคการเมือง มีรัฐสภาได้ แต่เป็นไปเพ่ือสร้าง
อํานาจใหแ้ กบ่ คุ คลเท่านั้น.

สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (16) _____________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27

เผดจ็ การมี เผด็จการมี 2 ประเภท

กป่ี ระเภท อะไรบ้าง 1. เผดจ็ การอาํ นาจนยิ ม (เผดจ็ การทหาร)

2. เผดจ็ การเบ็ดเสรจ็ แบ่งเปน็ แบบฟาสซสิ ต์ และแบบคอมมิวนิสต์.

เผด็จการอํานาจนิยม (เผด็จการทหาร) รัฐควบคุมสิทธิเสรีภาพของประชาชน

เฉพาะด้านการเมอื งเทา่ นั้น แต่ประชาชนยงั คงมีสทิ ธเิ สรีภาพด้านเศรษฐกิจและสงั คม
เผด็จการเบ็ดเสร็จ รัฐควบคุมสิทธิเสรีภาพของประชาชนทุกด้าน ทั้งการเมือง

เศรษฐกจิ และสังคม

ขอ้ ดีและข้อเสีย ขอ้ ดี ข้อเสีย

ของระบอบ ประชาชนมีสิทธิและเสรภี าพ ดําเนินการยาก
ประชาธปิ ไตยมี ประชาชนปกครองตนเอง เสยี คา่ ใช้จ่ายสูง

อะไรบ้าง ประเทศมคี วามเจริญมน่ั คง ล่าช้าในการตดั สนิ ใจ

ขอ้ ดแี ละข้อเสีย ขอ้ ดี ข้อเสีย

ของระบอบเผดจ็ แ ก้ ปั ญ ห า บ า ง อ ย่ า ง ไ ด้ อ ย่ า ง มี มขี ้อผิดพลาดได้ง่าย
การมีอะไรบา้ ง ประสิทธภิ าพ เพราะไม่ตอ้ งฟงั เสียงสว่ น ไม่ให้โอกาสคนดีเข้ามามีส่วนร่วม เป็น

ใหญอ่ ภิปรายเพ่ือหาขอ้ ยุติ การจาํ กดั สทิ ธิเสรภี าพของประชาชน

ทํางานได้รวดเร็ว ทําใหป้ ระเทศพัฒนาล่าชา้

อาจนําประเทศไปสู่หายนะ ถ้าผู้นํามี

อํานาจมากเกินไป เช่น ฮิตเลอร์ของ

เยอรมันและนายพลโตโจของญี่ปุ่น
ในชว่ งสงครามโลกครงั้ ท่ี 2

สิทธมิ นษุ ยชน สิทธมิ นษุ ยชน หมายถงึ ศกั ดิศ์ รีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาค

คืออะไร ของบุคคลที่ไดร้ บั การรบั รองและคุม้ ครองตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย หรือ

ตามกฎหมายหรอื ตามสนธสิ ญั ญาท่ปี ระเทศไทยมีพันธกรณีที่จะต้องปฏบิ ัตติ าม.

แนวความคดิ เกีย่ วกับปฏิญญาสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติเกิดข้ึนหลังจากการ
ส้ินสุดสงครามโลกคร้ังท่ี 2 จนกระทั่งเมื่อวันท่ี 10 ธันวาคม ค.ศ. 1948 สมัชชาใหญ่

แห่งสหประชาชาติจึงได้มีมติยอมรับและประกาศใช้ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิ

มนุษยชนแห่งสหประชาชาติ ซ่ึงปฏิญญาสากลฯ มีวัตถุประสงค์และหลักการท่ัวไป

เกี่ยวกับมาตรฐานด้านสิทธิมนุษยชน แต่ไม่มีพันธะผูกพันในแง่ของกฎหมายระหว่าง

ประเทศ

องค์กรระหว่าง องค์กรระหว่างประเทศด้านสทิ ธิมนุษยชน

ประเทศดา้ นสทิ ธิ คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (The United Nations Human

มนุษยชนท่มี ี Rights Council)

บทบาทตอ่ องค์การนริ โทษกรรมสากล (AI : Amnesty International)

ประเทศไทย องคก์ ารแรงงานระหวา่ งประเทศ (ILO : International Labour Organization)
มูลนิธิความร่วมมือเพื่อต้านการค้าหญิง (GAATW : Global Alliance Against

Traffic in Women)

มูลนิธิเพื่อยุติการแสวงหาประโยชน์ทางเพศจากเด็ก (ECPAT : End Child

Prositiution In Asia Tourism)

โครงการแบรนด์ซมั เมอร์แคมป์ ปที ่ี 27 _____________________สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (17)

กฎหมาย

กฎหมายมลี ักษณะ กฎหมายมีลักษณะสําคญั

สําคญั อย่างไร y เปน็ คําสง่ั หรือข้อบังคับท่ีออกโดยรฏั ฐาธปิ ัตยห์ รอื ผมู้ ีอาํ นาจสูงสุดในรฐั

y เปน็ คาํ ส่ังหรอื ขอ้ บังคับที่ใช้กบั บคุ คลเท่านัน้ ซึง่ อาจจะเปน็ บุคคลหรือนติ ิบคุ คลก็ได้
y เป็นคําสั่งหรือข้อบังคับท่ีใช้ได้ทั่วไป คือ กฎหมายจะต้องใช้บังคับได้ทุกสถานท่ีและ

แกบ่ คุ คลทัว่ ไปโดยเสมอภาค

y เป็นคําสั่งหรือข้อบังคับท่ีใช้ได้เสมอไป คือ เม่ือประกาศใช้กฎหมายใดแล้ว ต้องใช้

กฎหมายนัน้ บงั คับไดเ้ สมอ จนกว่าจะมีประกาศยกเลิกหรือถูกลบล้างด้วยกฎหมายใหม่

ดังสภุ าษติ กฎหมายทก่ี ล่าววา่ “กฎหมายนอนหลบั บางคราว แต่ไมเ่ คยตาย”
y มีอํานาจผกู พนั ใหบ้ คุ คลต้องปฏิบัตติ าม

y ตอ้ งมีกระบวนการท่แี นน่ อน

y ตอ้ งมสี ภาพบังคบั .

กฎหมาย กฎหมายแบง่ ตามองค์กรท่จี ัดทาํ

มีก่ีประเภท y กฎหมายท่ีออกโดยฝ่ายนิติบัญญัติ ได้แก่ กฎหมายรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ
ประมวลกฎหมาย กฎมณเฑียรบาล

y กฎหมายที่ออกโดยฝ่ายบริหาร ได้แก่ พระราชกําหนด พระราชกฤษฎีกา

กฎกระทรวง

y กฎหมายที่ออกโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้แก่ เทศบัญญัติ ข้อบัญญัติ
องค์การบริหารส่วนจังหวัด ข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตําบล ข้อบัญญัติ

กรงุ เทพมหานคร ขอ้ บญั ญัติเมืองพัทยา

y กฎหมายที่ออกมาใช้ในกรณพี เิ ศษ เช่น กฎอัยการศกึ ประกาศคณะปฏิวัต.ิ

กฎหมายแบง่ ตามกรณีตอ่ ไปน้ี
y กฎหมายแบ่งตามรูปแบบ ได้แก่ กฎหมายลายลักษณ์อักษร กฎหมายไม่เป็นลาย

ลกั ษณ์อักษร
y กฎหมายแบ่งตามความสมั พนั ธข์ องคกู่ รณี ได้แก่ กฎหมายเอกชน กฎหมายมหาชน
y กฎหมายแบ่งตามหน้าท่ีหรือหลักของการใช้กฎหมาย ได้แก่ กฎหมายสารบัญญัติ

กฎหมายวธิ ีสบัญญตั ิ
y กฎหมายแบ่งตามแหล่งกําเนดิ ได้แก่ กฎหมายในประเทศ กฎหมายระหว่างประเทศ
y กฎหมายแบ่งตามสภาพบงั คับ ได้แก่ กฎหมายแพ่ง กฎหมายอาญา
y กฎหมายแบ่งตามวิธีบัญญัติหรือความมุ่งหมายของกฎหมาย ได้แก่ กฎหมายตาม

เนื้อความ กฎหมายตามแบบพิธี

สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (18) _____________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27

กฎหมายระบบ ระบบซวิ ิลลอว์ (Civil law)
ซิวิลลอว์และระบบ ระบบซิวิลลอว์หรือระบบกฎหมายลายลักษณ์อักษร หรือระบบประมวลกฎหมาย
คอมมอนลอว์ หรือระบบกฎหมายโรมาโน-เยอรมันนิค ระบบกฎหมายน้ีมีประวัติความเป็นมาจาก
แตกต่างกนั กฎหมายโรมนั ท่ีสาํ คัญ เชน่ กฎหมายสิบสองโตะ๊ และกฎหมายของจักรพรรดจิ สั ตเิ นยี น
อยา่ งไร ตัวอยา่ งประมวลกฎหมายที่สําคัญของไทย ได้แก่ ประมวลกฎหมายอาญา ประมวล
กฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ เป็นต้น
กฎหมายจารตี ระบบกฎหมายน้ีเป็นกฎหมายที่ใช้ในประเทศภาคพ้ืนยุโรป เช่น เยอรมนี ฝร่ังเศส
ประเพณีมีลักษณะ สวิตเซอรแ์ ลนด์ อติ าลี สเปน รวมทั้งประเทศไทยด้วย
สําคัญอย่างไร
ระบบคอมมอนลอว์ (Common law)
ความสําคญั ตาม ระบบคอมมอนลอว์หรือระบบกฎหมายที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร หรือกฎหมาย
ศักด์ขิ องกฎหมาย จารีตประเพณี หรือกฎหมายแองโกลแซกซอน ระบบกฎหมายนี้มีต้นกําเนิดมาจาก
เรยี งลาํ ดบั อยา่ งไร ประเทศอังกฤษ และเกดิ ขึน้ จากจารีตประเพณีและคําพิพากษาของศาล โดยนําเอา
คาํ พพิ ากษาของศาลในคดกี อ่ นของแต่ละคดี มาเปน็ หลักในการพิพากษาหรือวินิจฉัย
ในคดีหลังท่ีมีข้อเท็จจริงคล้ายกัน โดยตัดสินไปในแนวทางเดียวกันกับคดีก่อน
การศึกษากฎหมายก็ศกึ ษาจากคาํ พิพากษาของศาลน่ันเอง
ประเทศที่ใช้รูปแบบกฎหมายคอมมอนลอว์ เช่น สหรัฐอเมริกา อังกฤษและ
เครอื จักรภพ

กฎหมายจารตี ประเพณมี ีลกั ษณะสาํ คญั
เป็นกฎหมายทไ่ี มไ่ ดบ้ ญั ญตั ไิ ว้เปน็ ลายลกั ษณอ์ ักษร เปน็ สงิ่ ทปี่ ฏบิ ตั ิสบื เนอื่ งกนั มานาน
คนในท้องถ่นิ ปฏิบตั กิ นั ทวั่ ไป สมํ่าเสมอ โดยเปิดเผย จนเป็นที่ยอมรับของประชาชน
โดยทว่ั ไป
ไมไ่ ดเ้ ป็นคาํ สงั่ ท่ีมาจากรฏั ฐาธิปัตย์
ไม่ขัดต่อกฎหมายลายลกั ษณอ์ กั ษรและไม่ขัดต่อความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอัน
ดีของประชาชน
ความสําคัญของกฎหมายจารีตประเพณีคือ เมื่อไม่มีกฎหมายลายลักษณ์อักษรท่ีจะ
นํามาปรับแก่คดีได้ ให้นํากฎหมายจารีตประเพณีมาปรับคดีได้ก็แต่เฉพาะคดีแพ่ง
เท่านั้น แต่ถ้าจะนํากฎหมายจารีตประเพณีมาใช้ปรับคดีอาญาเพ่ือเป็นคุณหรือเป็น
ประโยชน์แกผ่ ู้ตอ้ งหาแล้ว สามารถทําได้ เชน่ การชกมวยบนเวทีตามกติกาแล้วทําให้
คตู่ ่อสถู้ งึ แกค่ วามตายแต่ไม่ต้องรับผิด

ศักด์ขิ องกฎหมายหรือฐานะของกฎหมายเรยี งลําดบั จากศักดส์ิ ูงสุดไปหาศกั ดิ์ต่าํ ไดด้ งั นี้
รัฐธรรมนูญ p พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ p พระราชบัญญัติ
พระราชกําหนด p พระราชกฤษฎีกา p กฎกระทรวง p ข้อบัญญัติองค์กร
ปกครองส่วนทอ้ งถิน่

กฎหมายที่มีศักด์ิตํ่ากว่า จะออกมาใช้บังคับได้ก็ต่อเมื่อกฎหมายที่มีศักดิ์สูงกว่าให้

อํานาจ หมายความว่า กฎหมายลูกจะออกมาใช้บังคับได้ จะต้องมีกฎหมายแม่หรือ

กฎหมายแม่บทให้อํานาจไว้

กฎหมายที่มีศักดติ์ ํ่ากว่า จะขดั หรอื แย้งกับกฎหมายท่มี ศี ักดิ์สูงกวา่ ไมไ่ ด้

โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27 _____________________สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (19)

ปพพ. การเรมิ่ ตน้ ปพพ.มาตรา 15 วรรคแรก บญั ญัตใิ หส้ ภาพบคุ คลเรมิ่ เมอื่ คลอดแลว้ อย่รู อดเป็นทารก

สภาพบคุ คลน้นั คลอดแล้ว หมายความว่า คลอดจากครรภ์ของมารดาหมดทั้งตัวโดยไม่มีอวัยวะส่วนใด

เริม่ เม่อื ไร เหลือติดอยู่ ส่วนจะมีการตัดสายสะดือหรือไม่น้ันไม่ถือว่าเป็นข้อสําคัญ สภาพบุคคล

สิ้นสุดลงเม่ือตายหรอื ศาลสงั่ ให้เป็นคนสาบสญู

การรอ้ งขอให้ศาล การที่บุคคลใดได้ไปจากภูมิลําเนาหรือถ่ินท่ีอยู่ และไม่มีใครรู้แน่ว่าบุคคลนั้นยังมีชีวิต

สง่ั ว่าบุคคลใดเปน็ อยู่หรอื ไม่ตลอดระยะเวลา 5 ปี เมื่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (คือผู้จะได้ประโยชน์หรือจะเสีย

“คนสาบสญู ” มี ประโยชน์หากศาลส่ังบุคคลใดเป็นคนสาบสูญ) หรือพนักงานอัยการร้องขอ ศาลจะส่ัง

หลกั เกณฑอ์ ยา่ งไร ให้บุคคลน้ันเป็นคนสาบสูญ แต่ในกรณีที่มีอันตรายจากการรบหรือสงคราม

ยานพาหนะอบั ปาง ถูกทาํ ลาย สูญหาย ระยะเวลาจะลดเหลอื 2 ปี

ผู้แทนโดยชอบธรรม ผู้แทนโดยชอบธรรม คือ ผู้ที่มีอํานาจทํานิติกรรมต่างๆ แทนผู้เยาว์หรือให้ความ

ผู้ใช้อํานาจ ยนิ ยอมแกผ่ ู้เยาวใ์ นการทํานิตกิ รรม ผู้แทนโดยชอบธรรม ได้แก่

ปกครอง 1. ผู้ใช้อํานาจปกครองคือ บิดา มารดา

ผปู้ กครอง 2. ผู้ปกครองคอื ผู้อ่ืนท่ีมิใช่บิดา มารดา แต่มีอํานาจตามกฎหมายในการปกครองดูแล

แตกตา่ งกันอยา่ งไร ผูเ้ ยาว์

กรณใี ดที่กฎหมาย ตามกฎหมายแล้วผู้เยาว์จะถกู จาํ กดั ความสามารถในเร่ืองที่จะทํานิติกรรม นิติกรรมใดๆ

ยกเว้นให้ผเู้ ยาวท์ ํา ท่ีผู้เยาว์ไดท้ าํ ลงไปโดยปราศจากความยินยอมของผู้แทนโดยชอบธรรม นิติกรรมนั้นตก

ไดเ้ องโดยลําพงั เป็นโมฆียะ แต่มีข้อยกเว้นที่กฎหมายกําหนดให้ผู้เยาว์ทํานิติกรรมบางอย่างได้เองและ

ไมจ่ าํ เป็นตอ้ งขอ มผี ลโดยสมบรู ณ์ โดยไม่ตอ้ งได้รบั ความยนิ ยอมจากผู้แทนโดยชอบธรรมกอ่ นดังน้ี

ความยนิ ยอมจาก นิติกรรมท่ีเป็นคุณประโยชน์แก่ผู้เยาว์ฝ่ายเดียว เช่น ผู้เยาว์ได้รับท่ีดินโดยเสน่หา

ผแู้ ทนโดยชอบธรรม เจ้าหนที้ าํ นิติกรรมปลดหนีใ้ ห้

กิจการทีผ่ ูเ้ ยาวต์ อ้ งทาํ เองเฉพาะตัว เชน่ การรบั รองบตุ ร การเขา้ สู่พิธีสมรส

กจิ การทผ่ี ู้เยาวท์ าํ เพื่อเลีย้ งชพี และเหมาะสมแกฐ่ านะ เชน่ ซ้อื อาหาร หนังสือ

ผเู้ ยาว์มีอํานาจทําพินัยกรรมไดเ้ องเม่อื มีอายคุ รบ 15 ปี (ถ้าผู้เยาว์ทําพินัยกรรมก่อน

อายุครบ 15 ปีบริบูรณ์ แม้ผู้แทนโดยชอบธรรมให้ความยินยอม พินัยกรรมน้ัน

ก็ตกเป็นโมฆะ).

ป.พ.พ.มาตรา 21 บัญญัติว่า “ผู้เยาว์จะทํานิติกรรมใดๆ ต้องได้รับความยินยอมจาก
ผู้แทนโดยชอบธรรมก่อน การใดๆ ที่ผู้เยาว์ได้ทําลงปราศจากความยินยอมเช่นว่านั้น
เป็นโมฆียะ เว้นแต่จะบัญญัติไว้เป็นอย่างอื่น” การใดๆ ในที่น้ีหมายความถึงเฉพาะการ
ทํา “นิติกรรม” เท่านั้น ถ้าเป็นการกระทําอย่างอ่ืนท่ีมิใช่นิติกรรม เช่น ผู้เยาว์กระทํา
ละเมิดต่อผู้อ่ืน ผู้เยาว์จะต้องรับผิดชอบในการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนเพ่ือการน้ัน
จะอา้ งวา่ การกระทาํ นนั้ มไิ ดร้ ับความยินยอมจากผแู้ ทนโดยชอบธรรมไมไ่ ด้

สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (20) _____________________โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27

คนไรค้ วามสามารถ คนไรค้ วามสามารถ
คนเสมือนไร้ คนไร้ความสามารถคือ บุคคลท่ีวิกลจริตซ่ึงศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถและจัดให้
ความสามารถ อยู่ในความดูแลของผู้อนุบาล และนิติกรรมท่ีคนไร้ความสามารถได้ทําลงไปมีผลเป็น
คนวิกลจรติ โมฆียะ (ยกเว้นการทําพินัยกรรม ถ้าคนไร้ความสามารถได้ทําลงไปมีผลเป็นโมฆะ)
แตกต่างกนั อย่างไร จะเห็นไดว้ ่าคนไร้ความสามารถน้ีถกู ศาลตดั สิทธแิ ละอาํ นาจในการทํานติ กิ รรมโดยสิ้นเชิง
ผู้อนุบาลตอ้ งเปน็ ผกู้ ระทาํ นิติกรรมใดๆ ในนามของคนไรค้ วามสามารถท้ังสน้ิ .

คนเสมอื นไรค้ วามสามารถ
คนเสมือนไร้ความสามารถคือ บุคคลท่ีไม่สามารถจัดทําการงานของตนเองได้ เพราะ
ร่างกายพิการ ตาบอด หูหนวก เป็นใบ้ จิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ ประพฤติสุรุ่ยสุร่าย
เสเพลเป็นประจาํ ตดิ สุรายาเสพตดิ หรือคนทมี่ ีอาการคุ้มดีคุ้มร้ายแต่ไม่ถึงกับเป็นคนบ้า
หรือคนวิกลจริต และศาลได้ส่ังให้เป็นคนเสมือนไร้ความสามารถ โดยปกติแล้วคน
เสมือนไร้ความสามารถมีความสามารถทาํ นิตกิ รรมได้โดยลาํ พัง แต่ยกเวน้ บางประเภทท่ี
กฎหมายกาํ หนด เช่น การนาํ ทรพั ย์สนิ ไปลงทุน การกู้ยมื หรือให้กยู้ ืมเงนิ การเช่าหรอื ให้
เช่าสังหาริมทรัพย์หรืออสังหาริมทรัพย์ ซ่ึงคนเสมือนไร้ความสามารถจะทําได้ก็ต่อเมื่อ
ได้รับความยินยอมจากผู้พิทักษ์ มิฉะนั้นนิติกรรมน้ันจะตกเป็นโมฆียะ แต่ในกรณีการ
ทําพินัยกรรม คนเสมือนไร้ความสามารถทําพินัยกรรมได้ด้วยตนเองโดยไม่ต้องได้รับ
ความยินยอมจากผ้พู ทิ กั ษ์ เพราะไมม่ ีกฎหมายหา้ มไว.้

คนวิกลจริต
คําว่า “วิกลจริต” หมายถึง อาการทางจิตที่ไม่ปกติหรือเป็นบ้า ซึ่งเป็นการขาดความ
รําลึก ขาดความรสู้ ึกและขาดความรบั ผดิ ชอบ รวมถงึ คนทป่ี ว่ ยด้วยโรคทางสมองและไม่
มอี าการรับรู้หรอื สตใิ ดๆ เป็นผลใหไ้ มส่ ามารถกระทาํ กิจการใดๆ ด้วยตนเองได้ บุคคลที่มี
อาการวิกลจริตซ่ึงศาลยังไม่ได้สั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถย่อมมีความสามารถทํานิติ
กรรมได้เช่นเดียวกับบุคคลธรรมดา หากบุคคลดังกล่าวกระทําการใดๆ ลงไปในขณะที่
จริตวิกลอยู่ และคู่กรณีอีกฝ่ายหน่ึงก็รู้อยู่แล้วว่าผู้กระทํานั้นเป็นคนวิกลจริต การนั้น
ย่อมตกเป็นโมฆยี ะ
ทรพั ย์และทรัพยส์ ิน ทรพั ย์ คือ วัตถทุ มี่ รี ปู ร่างจบั ต้อง มองเหน็ ได้ เช่น รถยนต์ ธนบัตร ทรพั ยแ์ บง่ ออกเป็น
แตกต่างกันอย่างไร 1. อสงั หาริมทรัพย์ 2. สังหาริมทรพั ย์

ทรัพย์สิน คือ วัตถุมีรูปร่างและวัตถุไม่มีรูปร่าง ซึ่งอาจมีราคาและถือเอาได้ เช่น
ลิขสิทธิ์ สทิ ธิบตั ร เครือ่ งหมายการค้า กระแสไฟฟ้า พลังน้ําตก พลงั ไอน้ํา เปน็ ตน้

โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27 _____________________สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (21)

อสงั หารมิ ทรัพย์ อสงั หารมิ ทรัพย์ คือ ทรพั ย์ทเี่ คลอ่ื นที่ไม่ได้ เช่น
สงั หาริมทรัพย์
และสังหารมิ ทรพั ย์ 1. ท่ดี นิ
ชนดิ พเิ ศษ
แตกต่างกันอยา่ งไร 2. ทรพั ยอ์ ันตดิ อย่กู ับที่ดนิ เชน่ บา้ น โรงเรือน ไมย้ ืนต้น

การหมน้ั ทีถ่ กู ต้อง 3. ทรพั ย์อนั ประกอบเป็นอนั เดียวกบั ที่ดนิ เชน่ แมน่ าํ้ ถนน หนิ ดิน ทราย
ตามกฎหมายต้อง
มีเงอ่ื นไขสาํ คญั 4. สิทธิอนั เกย่ี วกบั กรรมสิทธใ์ิ นทีด่ ิน เชน่ สิทธอิ าศยั สทิ ธิเก็บกิน ภาระจาํ ยอม เปน็ ต้น.
อยา่ งไรบา้ ง
สงั หารมิ ทรัพย์ ไดแ้ ก่

1. ทรัพย์ซ่ึงเคล่ือนที่จากแหง่ หนง่ึ ไปยังอีกแห่งหนงึ่ ได้ เช่น รถยนต์ ชา้ ง

2. กําลังแรงของธรรมชาติที่อาจมีราคาและถือเอาได้ เช่น กระแสไฟฟ้า พลังนํ้าตก

พลงั ไอน้ํา เปน็ ตน้

3. ไมล้ ้มลุกและธญั ชาติ เช่น ต้นข้าว พืชผกั สวนครัว

4. สทิ ธิอนั เกีย่ วกบั สังหารมิ ทรพั ย์ เชน่ กรรมสิทธิใ์ นสงั หาริมทรัพย์ สทิ ธจิ ํานาํ ลิขสิทธ์ิ

เปน็ ต้น.

สังหาริมทรพั ย์ชนดิ พิเศษ ไดแ้ ก่
1. เรอื กําปน่ั หรอื เรอื มีระวางตัง้ แต่ 6 ตนั ขึน้ ไป
2. เรอื กลไฟ หรอื เรอื ยนตม์ รี ะวางตัง้ แต่ 5 ตนั ขนึ้ ไป
3. แพ หมายความเฉพาะแต่แพท่ีเป็นทอี่ ยอู่ าศยั ของคน
4. สัตว์พาหนะ หมายความถึงสัตว์ท่ีใช้ในการขับข่ีลากเข็นและบรรทุกซ่ึงสัตว์เหล่าน้ี

ตอ้ งทาํ ตั๋วรูปพรรณแล้ว ได้แก่ ช้าง ม้า วัว ควาย ลอ่ .
การซื้อขายอสังหาริมทรัพย์และสังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษต้องทําเป็นหนังสือและ
จดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ มิฉะน้ันสัญญาซื้อขายที่ตกลงกันไว้แล้วน้ัน
จะเป็นโมฆะ.
การซ้ือขายสังหาริมทรัพย์ธรรมดาที่มีราคาซ้ือขายเกินกว่า 20,000 บาทข้ึนไป
ตอ้ งมีหลักฐานการซ้ือขายเป็นหนังสอื ลงลายมอื ชื่อฝ่ายทตี่ ้องรับผิด หรือต้องมีการ
วางมดั จาํ ไว้ หรือตอ้ งมีการชาํ ระหน้ีบางสว่ น ถ้าไม่ไดก้ ระทําการอย่างใดอย่างหนึ่งใน
สามอย่างที่กล่าวมาแลว้ กฎหมายหา้ มมิให้ฟอ้ งรอ้ งบงั คับคดีต่อศาล

เงอ่ื นไขของการหมนั้
ชายและหญงิ ตอ้ งมีอายุครบ 17 ปีบริบูรณ์ ถ้าฝ่ายใดอายุไม่ครบ 17 ปีบริบูรณ์ การ
หม้ันตกเป็นโมฆะ
ผเู้ ยาว์ทําการหม้นั จะต้องไดร้ ับความยินยอมจากผู้แทนโดยชอบธรรมก่อน ซึ่งอาจให้
ความยินยอมด้วยวาจาก็ได้ การหม้ันท่ีผู้เยาว์ทําโดยปราศจากความยินยอมดังกล่าว
ตกเปน็ โมฆียะ
การหมั้นต้องมีของหมัน้
การหมั้นจะสมบูรณ์ได้ก็ต่อเม่ือฝ่ายชายได้ส่งมอบหรือโอนทรัพย์สินท่ีเป็นของหมั้น
ให้แก่ฝ่ายหญิงแล้วในวันหมั้น หากให้ของหมั้นในวันอื่นจะถือว่าไม่เป็นของหม้ัน
เพราะของหมนั้ นน้ั ถอื ว่าใหเ้ ปน็ หลักฐานวา่ จะทาํ การสมรสกบั หญิง
กฎหมายกาํ หนดให้ของหม้ันตกเป็นสิทธิแก่หญิงเม่ือได้ทําการสมรสแล้ว (ของหมั้น
ถอื เป็นสินสว่ นตวั ของหญิงเมือ่ ไดท้ าํ การสมรสแลว้ )

สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (22) _____________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอร์แคมป์ ปีที่ 27

ตามกฎหมายการ ถ้าฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งผิดสัญญาหม้ันโดยไม่ยอมสมรสด้วย อีกฝ่ายหนึ่งจะถือเอาเป็น
สมรสมเี งื่อนไข เหตุไปฟ้องร้องศาลเพ่ือบังคับให้ฝ่ายท่ีผิดสัญญาต้องทําการสมรสด้วยไม่ได้ แต่ก็มี
สําคัญอย่างไรบ้าง สิทธิที่จะเรียกค่าทดแทนได้ เช่น ค่าทดแทนความเสียหายต่อร่างกายหรือชื่อเสียง
แห่งชายหรือหญิงน้ัน สรุปว่าการผิดสัญญาหมั้น ฝ่ายท่ีเสียหายสามารถเรียกค่า
ทดแทนได้ แต่จะให้ศาลบังคับให้มีการสมรสไม่ได้ เพราะว่าการสมรสน้ันข้ึนอยู่กับ
ความสมคั รใจของผู้จะสมรสเท่านัน้
หากชายหญิงอายุตํ่ากว่า 17 ปีจะทําการหมั้นไม่ได้ ถึงแม้ว่าบิดามารดาจะให้ความ
ยินยอมก็ตามหรือจะร้องขอต่อศาลให้ทําการอนุญาต ก็ไม่สามารถทําได้ เน่ืองจาก
กฎหมายไม่ได้ให้อาํ นาจไว้
การหมัน้ ต้องมีของหม้ันเสมอ แต่สนิ สอดจะมีหรือไมม่ ีกไ็ ด้
การหมน้ั ไมเ่ ปน็ เหตทุ ี่จะรอ้ งขอให้ศาลบงั คับให้สมรสได้ ถ้าได้มีข้อตกลงกันไว้ว่าจะให้
เบ้ยี ปรับเม่ือผิดสญั ญาหมน้ั ขอ้ ตกลงน้ันเป็นโมฆะ
ถ้าฝา่ ยหญงิ เปน็ ฝ่ายผิดสญั ญาตอ้ งคืนของหม้ันแก่ฝ่ายชาย แต่ถ้าฝ่ายชายผิดสัญญา
ฝ่ายหญิงรบิ ของหมน้ั ได้

เงอ่ื นไขของการสมรส
ชายและหญิงต้องมีอายุ 17 ปีบริบูรณ์ หากคู่สมรสคนใดคนหนึ่งมีอายุต่ํากว่า 17
ปีบริบูรณ์ การสมรสนั้นเป็นโมฆียะ แต่ถ้ามีเหตุอันควร ศาลอาจอนุญาตให้ทําการ
สมรสก่อนนั้นได้
ชายหรือหญิงต้องไม่เป็นคนวิกลจริตหรือเป็นบุคคลซึ่งศาลส่ังให้เป็นคนไร้ความ
สามารถ ถา้ ทาํ การสมรสโดยฝ่าฝืนบทบญั ญัตดิ งั กลา่ ว การสมรสตกเปน็ โมฆะ
ชายหรอื หญิงต้องไมเ่ ปน็ ญาตสิ บื สายโลหิตโดยตรงต่อกัน ถ้าทําการสมรสโดยฝ่าฝืน
บทบัญญัตดิ งั กลา่ ว การสมรสตกเปน็ โมฆะ
ชายหรือหญงิ จะสมรสในขณะทต่ี นมีคสู่ มรสอย่ไู ม่ได้ กล่าวคือ คู่สมรสจะต้องไม่เป็นคู่
สมรสของบุคคลอนื่ (สมรสซอ้ น) ถ้าทําการสมรสโดยฝา่ ฝนื บทบัญญัติดังกล่าว การ
สมรสตกเป็นโมฆะ
ผู้รับบุตรบญุ ธรรมและบุตรบุญธรรมจะสมรสกันไมไ่ ด้ แต่ไม่มีบทบัญญัติว่าถ้ามีการ
สมรสในลักษณะนีเ้ กิดขนึ้ การสมรสน้ันจะเปน็ โมฆะหรือโมฆียะ แต่มีบทบัญญัติให้ถือ
ว่าเป็นการยกเลกิ ไมเ่ ปน็ บตุ รบญุ ธรรมกันตอ่ ไป
หญิงหมา้ ยจะสมรสใหม่ได้ต่อเมื่อเวลาผ่านพ้นไปแล้วไม่น้อยกว่า 310 วันนับแต่ขาด
จากการสมรสเดิมไดผ้ ่านพ้นไปแลว้
การสมรสท่ีถูกต้องตามกฎหมายจะต้องจดทะเบียนสมรสต่อนายอําเภอหรือ
ผอู้ าํ นวยการเขต โดยมิจาํ เปน็ ตอ้ งจัดพธิ ีสมรสกไ็ ด้

โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27 _____________________สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (23)

การสมรสท่ีเป็น การสมรสทเี่ ปน็ โมฆยี ะมเี งอื่ นไขดังนี้

โมฆยี ะมเี งอื่ นไข y ชายหญงิ ที่ทาํ การสมรสกันก่อนอายคุ รบ 17 ปบี รบิ รู ณ์ และศาลไม่มีคําสัง่ อนญุ าต

สาํ คัญอย่างไรบา้ ง y ผ้เู ยาวท์ าํ การสมรสโดยไมไ่ ด้รบั ความยนิ ยอมจากบิดา มารดา หรอื ผูป้ กครอง

y การสมรสโดยถูกกลฉ้อฉลคือ หลอกหลวงใหอ้ ีกฝา่ ยสมรสดว้ ย

y การสมรสโดยสาํ คญั ผดิ ในตัวคู่สมรส
y การสมรสโดยถูกข่มขู่

สนิ ส่วนตัว สนิ ส่วนตัว ได้แก่

และสินสมรส y ทรพั ยส์ ินทีช่ ายและหญิงฝา่ ยหนง่ึ ฝ่ายใดมอี ย่กู ่อนสมรส

แตกตา่ งกนั อยา่ งไร y เป็นเคร่ืองใช้หรือของใช้ส่วนตัว เช่น เคร่ืองแต่งกาย เครื่องประดับท่ีผู้นั้นใช้ควรแก่

ฐานะของตน และให้รวมถึงเครอ่ื งมือเคร่ืองใช้สําหรับการประกอบอาชีพหรือวิชาชีพ

ของฝ่ายหนึ่งฝา่ ยใดด้วย

y ระหว่างสมรสหรือขณะเป็นสามีภรรยากันอยู่น้ัน หากฝ่ายหน่ึงฝ่ายใดได้มรดกหรือ

ไดร้ ับการใหโ้ ดยเสน่หา ทรพั ย์สนิ ทไี่ ดน้ ัน้ ก็เปน็ สินสว่ นตวั

y ของหม้นั

สนิ ส่วนสมรส ไดแ้ ก่

y ทรัพย์สินที่สามีและภรรยาได้มาระหว่างสมรส เช่น เงินเดือน เงินโบนัส เงินประจํา

ตาํ แหนง่

y สามีหรอื ภรรยาได้มาระหว่างสมรสโดยพินยั กรรมยกให้โดยระบุวา่ เป็นสนิ สมรส

y ดอกผลอนั เพม่ิ จากสินสว่ นตวั เช่น กาํ ไร ค่าเช่า เงินปันผล

ของหมัน้ และ ของหมนั้ คือ ทรพั ย์สินทีฝ่ ่ายชายได้ส่งมอบหรอื โอนใหแ้ ก่หญิง เพ่อื เป็นหลักฐานการหม้ัน
สินสอด และประกันว่าจะสมรสกับหญิงน้ัน เม่ือหมั้นแล้ว ของหม้ันเป็นสิทธิแก่หญิง ของหม้ัน
แตกต่างกันอย่างไร จะมีราคามากน้อยเพียงใดและเป็นทรัพย์สินใดก็ได้ ข้อสังเกต การหมั้นที่ไม่มีของหมั้น
ไม่ถือวา่ เป็นการหม้นั ตามกฎหมาย
สินสอด คือ ทรัพย์สินซ่ึงฝ่ายชายให้แก่บิดามารดา ผู้รับบุตรบุญธรรมหรือผู้ปกครอง
ฝา่ ยหญิง แลว้ แต่กรณี เพือ่ ตอบแทนการท่ีหญิงยอมสมรส ถ้าไม่มีการสมรสโดยมีเหตุ
สําคัญอันเกิดแก่หญิง หรือโดยพฤติการณ์ซ่ึงฝ่ายหญิงต้องรับผิดชอบ ทําให้ชายไม่
สมควรหรือไม่อาจสมรสกับหญิงน้ัน ฝ่ายชายเรียกสินสอดคืนได้ สินสอดไม่ใช่
สาระสําคัญของการหมั้นหรอื การสมรส จะสมรสกนั ไมม่ สี ินสอดก็ได้ แล้วแตจ่ ะตกลงกัน

การรบั บตุ รบุญธรรม หลกั เกณฑก์ ารจดทะเบียนรบั บตุ รบญุ ธรรม

ตอ้ งมหี ลักเกณฑ์ y ผูร้ บั บตุ รบุญธรรมต้องมีอายุไม่ต่ํากว่า 25 ปีบริบูรณ์ แต่ผู้น้ันต้องมีอายุแก่กว่าผู้ท่ี

อะไรบา้ ง จะเป็นบุตรบญุ ธรรมอย่างนอ้ ย 15 ปี
y กรณีที่ผูร้ ับบตุ รบญุ ธรรมหรือผ้จู ะเปน็ บุตรบญุ ธรรมมีคู่สมรสโดยชอบด้วยกฎหมาย

การรบั บตุ รบุญธรรมต้องไดร้ บั ความยนิ ยอมจากคสู่ มรสกอ่ น

y กรณผี ู้จะเปน็ บตุ รบญุ ธรรมเปน็ ผูเ้ ยาว์ การรับบุตรบุญธรรมต้องได้รับความยินยอม

ของบิดามารดาของผู้ท่ีจะเป็นบุตรบุญธรรมก่อน และถ้าผู้ท่ีจะเป็นบุตรบุญธรรมมี

อายุไม่ตํา่ กว่า 15 ปบี ริบูรณก์ ็ต้องใหผ้ ้นู น้ั สมคั รใจ

สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (24) _____________________โครงการแบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ ปที ี่ 27

นิตกิ รรมมี บตุ รบุญธรรมจะเปน็ บุตรบญุ ธรรมของบุคคลอ่ืนในขณะเดียวกนั ไมไ่ ด้
องค์ประกอบที่
สําคญั อะไรบ้าง บุตรบุญธรรมย่อมมีฐานะเช่นเดยี วกับบุตรชอบด้วยกฎหมายของผู้รับบุตรบุญธรรม

นิตกิ รรมฝ่ายเดยี ว แตไ่ ม่สญู เสียสิทธิและหนา้ ทใี่ นครอบครวั ท่ใี หก้ ําเนิดมา
และนิติกรรม
หลายฝา่ ย การรับบตุ รบญุ ธรรมไม่กอ่ ให้เกิดสทิ ธริ ับมรดกของบตุ รบุญธรรมในฐานะทายาท
แตกตา่ งกนั อยา่ งไร
เมื่อมีการจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรมแล้ว อํานาจปกครองของบิดามารดาโดย

กําเนดิ ก็หมดไปนับแต่วันเวลาที่เด็กเป็นบุตรบญุ ธรรม
การรบั บุตรบุญธรรมและการเลกิ รบั บุตรบญุ ธรรมจะสมบูรณก์ ต็ ่อเมื่อมกี ารจดทะเบียน
ตามกฎหมาย

นิติกรรม คือ การใดๆ อันทําลงโดยชอบด้วยกฎหมายและด้วยใจสมัคร มุ่งโดยตรงต่อ
การผูกนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคล เพ่ือจะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับ
ซึ่งสิทธิ นิติกรรมมีองคป์ ระกอบดงั นี้

เป็นการกระทําของบุคคลโดยการแสดงเจตนาให้ปรากฏออกมา โดยอาจจะแสดง
อย่างเจตนา โดยลายลักษณ์อักษร หรือด้วยวาจา หรือด้วยกิริยาอาการอย่างใด
อย่างหน่ึงกไ็ ด้ การนิ่งอาจถอื วา่ เป็นการแสดงเจตนายอมรับไดด้ ้วย
เป็นการกระทําที่ชอบด้วยกฎหมาย คือ การกระทํานั้นไม่เป็นการต้องห้ามตาม
กฎหมายโดยชดั แจ้ง
ด้วยใจสมัคร หมายความว่า ผู้กระทํามีความสมัครใจในการแสดงเจตนาให้ปรากฏ
มไิ ด้เกิดขน้ึ เพราะการสําคัญผดิ ถกู ข่มขู่ หรอื ถกู หลวกลวงใดๆ ท้งั สนิ้
มงุ่ โดยตรงทีจ่ ะผกู นติ ิสัมพนั ธ์ขึน้ ในระหว่างบุคคล คือ ต้องเป็นการกระทําท่ีผู้กระทํา
ได้ทําลงโดยมีเจตนาให้เกิดผลผูกพันในทางกฎหมายซึ่งจะทําให้เกิดสิทธิและหน้าท่ี
ระหว่างบคุ คล
เพ่ือก่อให้เกิดความเคลื่อนไหวในสิทธิ ซึ่งหมายความรวมถึงบุคคลสิทธิและ
ทรัพยสิทธิด้วย การเคล่ือนไหวในสิทธิน้ีอาจจะเป็นการก่อสิทธิ เปลี่ยนแปลงสิทธิ
โอนสทิ ธิ หรอื ระงับสิทธิก็ได้

นิติกรรมฝ่ายเดียว ได้แก่ นิติกรรมซึ่งเกิดข้ึนโดยการแสดงเจตนาของบุคคลฝ่ายหนึ่ง
ฝ่ายเดียวและมีผลตามกฎหมาย ซึ่งบางกรณีก็ทําให้ผู้ทํานิติกรรมเสียสิทธิได้ เช่น การ
ก่อตัง้ มูลนธิ ิ การรบั สภาพน้ี การผอ่ นเวลาชําระหนีใ้ ห้ลกู หนี้ คําม่ันจะซ้ือจะขาย การทํา
พินัยกรรม การบอกกล่าวบงั คบั จํานอง เป็นต้น
นิตกิ รรมหลายฝา่ ย ได้แก่ นติ กิ รรมซ่ึงเกิดขึน้ โดยการแสดงเจตนาของบุคคลต้ังแต่สอง
ฝ่ายขึ้นไปและทุกฝ่ายต่างตกลงยินยอมระหว่างกัน กล่าวคือ ฝ่ายหนึ่งแสดงเจตนาทํา
เป็นคําเสนอ แล้วอีกฝ่ายหนึ่งแสดงเจตนาเป็นคําสนอง เมื่อคําเสนอและคําสนอง
ถูกตอ้ งตรงกัน จงึ เกดิ มีนิตกิ รรมสองฝา่ ยขนึ้ หรือเรียกกนั วา่ “สัญญา” เช่น สัญญาซื้อ
ขาย สัญญาก้ยู มื เงิน สญั ญาแลกเปลีย่ น สญั ญาขายฝาก จํานอง จาํ นาํ เปน็ ต้น
สรุปวา่ สัญญาต้องมีองคป์ ระกอบดังน้ี

ตอ้ งมบี คุ คลตัง้ แต่ 2 ฝ่ายขน้ึ ไปเรียกวา่ ผู้เสนอและผูส้ นอง

ต้องมกี ารแสดงเจตนาตอ้ งตรงกนั ต้องมคี ําเสนอและคาํ สนองที่ชดั เจนแนน่ อน

ต้องมีวัตถปุ ระสงคใ์ นการทําสญั ญา

โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27 _____________________สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (25)

โมฆะกรรมและ โมฆะกรรม

โมฆียะกรรม โมฆะกรรม คอื นติ ิกรรมที่เสยี เปล่า ไมม่ ผี ลบงั คบั หรือผูกพันตามกฎหมาย ไม่อาจให้

แตกตา่ งกันอย่างไร สัตยาบันแก่กันได้ และผู้มีส่วนได้เสียคนหนึ่งคนใดจะยกความเสียเปล่าขึ้นกล่าวอ้าง

มไิ ด้

นิติกรรมท่ีเป็นโมฆะ เช่น นิติกรรมท่ีเกิดจากเจตนาลวง, นิติกรรมที่มีวัตถุประสงค์

เป็นการต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย, นิติกรรมที่ไม่ทําให้ถูกตามแบบที่กฎหมาย

กําหนดไว้.

โมฆียกรรม

โมฆยี กรรม คือ นิติกรรมที่มีผลสมบรู ณต์ ามกฎหมายถา้ ไมม่ ีการบอกลา้ งโมฆียกรรม

หรือนติ กิ รรมท่ีมีผลใช้บังคับได้จนกว่าจะถูกบอกล้าง นิติกรรมน้ีเมื่อบอกล้างแล้ว

จะตกเป็นโมฆะมาแต่เริ่มแรก แต่ถ้ามีการรับรองหรือให้สัตยาบันก็จะสมบูรณ์มาแต่

เร่ิมแรก

นิติกรรมท่ีเป็นโมฆียะ เช่น นิติกรรมที่เกิดจากการข่มขู่ ฉ้อฉล, นิติกรรมที่เกิดจาก

สําคญั ผิดในคณุ สมบตั ขิ องบุคคล, ผูท้ ํานิติกรรมมคี วามบกพร่องเกี่ยวกับความสามารถ

เช่น คู่กรณีฝ่ายใดฝ่ายหน่ึงที่ทํานิติกรรมอาจเป็นผู้เยาว์ คนไร้ความสามารถ คน

เสมือนไรค้ วามสามารถ

นิติกรรมท่ีตกเป็นโมฆียะเพราะเหตุอ่ืนๆ ตามที่กฎหมายกําหนด เช่น การสมรสที่ชาย

หญงิ ทําการสมรสกันกอ่ นอายุครบ 17 ปีบรบิ ูรณ์

เงื่อนไขใดท่ีทําให้ นิติกรรมท่ตี กเป็นโมฆะ

นิติกรรมที่ตกเป็น 1. นิติกรรมท่ีมีวัตถุประสงค์ท่ีต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย เช่น สัญญาจ้างฆ่าคน

โมฆียะ สัญญาซื้อขายยาเสพติด สัญญาการเล่นพนัน

2. นิติกรรมท่ีมีวัตถุประสงค์เป็นการพ้นวิสัย เช่น สัญญาพาคนไปเที่ยวดวงอาทิตย์

สัญญาชบุ คนตายใหเ้ ปน็ คนเป็น

3. นิติกรรมท่ีมีวัตถุประสงค์เป็นการขัดต่อความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของ

ประชาชน เช่น สัญญาจ้างคนให้เป็นนางบําเรอ การทําความตกลงไปเป็นพยานในศาล

โดยได้รบั คา่ ตอบแทนในลักษณะแสวงหาประโยชนจ์ ากการเปน็ ความของบุคคลอืน่

4. นิติกรรมที่ไม่ทําให้ถูกต้องตามแบบที่กฎหมายกําหนดไว้ เช่น การซื้อขาย

อสังหาริมทรัพย์และสังหาริมทรัพย์บางชนิดจะต้องทําเป็นหนังสือและจดทะเบียน

ต่อพนกั งานเจา้ หน้าท่ี
5. กรณอี นื่ ๆ ที่กฎหมายบญั ญตั ใิ ห้นิตกิ รรมเปน็ โมฆะ ไดแ้ ก่

ผเู้ ยาวท์ ําพนิ ัยกรรมในขณะท่มี ีอายุไม่ครบ 15 ปบี ริบูรณ์

คนไร้ความสามารถทาํ พนิ ัยกรรม

การหมน้ั ระหวา่ งชายหญงิ ที่มอี ายไุ ม่ครบ 17 ปีบรบิ ูรณ์

การสมรสกบั คสู่ มรสของผ้อู ่ืน (สมรสซ้อน)

การสมรสกับคนวิกลจริตหรอื คนไรค้ วามสามารถ
การสมรสกบั ญาติสืบสายโลหิตโดยตรงขึน้ ไปหรือลงมา

การสมรสโดยฝา่ ฝืนความยินยอมของคู่สมรส

สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (26) _____________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปที ี่ 27

การเชา่ ทรพั ย์กบั การเช่าทรัพย์ต่างกับการซื้อขาย คือ มิได้มีการโอนกรรมสิทธ์ิในทรัพย์สิน และมี

การซื้อขาย กําหนดเพยี งชว่ั ระยะเวลาหน่งึ เทา่ นั้น

แตกต่างกนั อย่างไร การเช่าทรัพย์อสังหาริมทรัพย์นานเกินกว่า 3 ปีขึ้นไป หรือตลอดอายุของผู้เช่าหรือ

ผใู้ ห้เช่า ถ้ามิได้ทาํ เปน็ หนงั สอื และจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าท่ี การเช่านั้นมีผล

ตามกฎหมายเพยี งแต่กฎหมายบังคบั ให้เหลอื 3 ปเี ท่านั้น

การเช่าทรัพย์อสังหาริมทรัพย์ ห้ามเช่าเกิน 30 ปี ถ้าได้ทําสัญญาที่มีกําหนด

เวลานานกวา่ นน้ั กใ็ ห้ลดลงมาเปน็ 30 ปี

การเช่าสังหาริมทรัพย์ทั้งชนิดธรรมดาและพิเศษ กฎหมายไม่ได้กําหนดให้ต้องทํา

เป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าท่ี ดังน้ันการเช่าสังหาริมทรัพย์จึง

สามารถตกลงด้วยวาจาหรือเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรก็ได้

สญั ญากยู้ ืม สัญญากู้ยืม กฎหมายกําหนดว่าการกู้ยืมเงินเกินกว่า 2,000 บาทข้ึนไป ถ้าไม่มี

กฎหมายกาํ หนดไว้ หลักฐานแหง่ การก้ยู ืมเป็นหนังสือ และลงลายมือชอื่ ผ้กู ู้ จะฟอ้ งร้องบังคับคดีกันไม่ได้

ว่าอยา่ งไร กฎหมายกําหนดอัตราดอกเบี้ยข้ันสูงสุดไว้ไม่ให้เกินร้อยละ 15 ต่อปี (ร้อยละ 1.25

ตอ่ เดอื น) ถ้าในสัญญากําหนดดอกเบ้ียเกินกว่าน้ัน ดอกเบ้ียท้ังหมดตกเป็นโมฆะ (ไม่ใช่

โมฆะเฉพาะสว่ นทเี่ กินอตั รา) และผู้กยู้ งั มหี นา้ ที่ชาํ ระเงินตน้ .

การกยู้ มื เงนิ ไม่เกนิ 2,000 บาท ไม่จําเปน็ ต้องทําเป็นหนังสือ เพียงแต่บอกกล่าวกัน

ไวก้ ไ็ ด้

กฎหมายอาญา กฎหมายอาญา เปน็ กฎหมายที่บญั ญัตวิ ่าด้วยการกระทําหรอื การงดเว้นการกระทําใดท่ี

แบง่ ออกเปน็ กี่ภาค เปน็ ความผิดและกําหนดโทษที่จะลงแก่ผู้กระทําผดิ หรอื ฝ่าฝืน กฎหมายอาญายังรวมถึง

พระราชบัญญัติบางประเภทท่ีมีการกําหนดโทษเหมือนประมวลกฎหมายอาญา เช่น

พระราชบัญญัติอาวุธปืน พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พระราชบัญญัติการพนัน

พระราชบัญญัตจิ ราจรทางบก เป็นต้น

กฎหมายอาญาจัดอยู่ในประเภทของกฎหมายมหาชน

ความมุ่งหมายของกฎหมายอาญาต่างกับกฎหมายแพ่ง เพราะกฎหมายแพ่งมุ่ง

คุม้ ครองผลประโยชน์ของเอกชน การกระทําซ่ึงผิดทั้งกฎหมายอาญาและกฎหมายแพ่ง

เช่น การทําร้ายร่างกายผู้อื่นแต่จะมีผลต่างกัน โดยโทษตามกฎหมายอาญา อาจเป็น

โทษจําคุกหรือเสียค่าปรับให้รัฐ แต่ถ้าโทษตามกฎหมายแพ่งผู้ทําร้ายจะต้องชดใช้

ค่าเสียหายใหแ้ ก่ผ้ถู ูกทาํ ร้าย เช่น ค่ารักษาพยาบาลและค่าเสียหายที่ผู้ถูกทําร้ายควรจะ

ได้รบั เน่ืองจากการทาํ งานไม่ได้ระหว่างบาดเจบ็ เปน็ ตน้

โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปที ่ี 27 _____________________สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (27)

กฎหมายอาญามี กฎหมายอาญามหี ลกั การสาํ คญั
หลกั การสําคัญ กฎหมายอาญาเปน็ กฎหมายท่บี ญั ญัติเก่ียวกับลักษณะความผิด (การกระทําหรืองด
อะไรบา้ ง เว้นการกระทาํ ใดที่เป็นความผดิ ) และลกั ษณะโทษตามกฎหมาย (ประหารชีวิต จําคุก
กกั ขงั ปรับ และรบิ ทรพั ยส์ นิ ) ความสําคัญของหลักการนี้ ศาลฎีกาได้เคยกล่าวไว้ว่า
โทษทางอาญาและ “ปล่อยผู้กระทาํ ความผดิ สบิ คน ยงั ดีกว่าจะลงโทษผู้หาผิดมไิ ดแ้ มแ้ ต่คนเดยี ว”
โทษทางแพง่ กฎหมายอาญาไม่มีผลบังคับย้อนหลัง หมายความว่า กฎหมายจะบัญญัติให้มีผล
แตกตา่ งกนั อยา่ งไร ย้อนหลังท่ีเป็นโทษแก่ผู้กระทําความผิดไม่ได้ โดยมีหลักการว่า “ไม่มีความผิด ไม่มี
โทษ หากไม่มีกฎหมาย” แต่หากบทบัญญัตินั้นเป็นคุณกับผู้กระทําความผิดก็มีผล
ประเภทของ ย้อนหลงั ได้
ความผดิ ทาง กฎหมายอาญาตอ้ งตีความโดยเคร่งครัด หมายความว่า การลงโทษตามการกระทํา
อาญาในแงโ่ ทษ ความผิดใดๆ ต้องมีกฎหมายบัญญัติไว้อย่างชัดเจน ตัวบทกฎหมายใดที่มีถ้อยคํา
และการดําเนนิ คดี กํากวมคลุมเครือจนเป็นท่ีน่าสงสัย จะนํามาตีความเพื่อลงโทษทางอาญาไม่ได้ และ
แบง่ เป็นกป่ี ระเภท ในกรณีเปน็ ท่สี งสัยต้องตคี วามใหเ้ ปน็ ผลดีแกจ่ ําเลย
อะไรบา้ ง กฎหมายอาญาเป็นกฎหมายที่ใช้บังคับเฉพาะการกระทําที่เกิดขึ้นในราชอาณาจักร
แต่มขี ้อยกเวน้ ว่าการกระทําความผิดในเรือไทยหรอื อากาศยานไทย ไม่ว่าจะอยู่ท่ีใดให้
ถือว่ากระทาํ ความผิดในราชอาณาจักร

โทษทางอาญา เรียงตามลําดับจากเบาไปหนักดังนี้ ริบทรัพย์สิน ปรับ กักขัง จําคุก
ประหารชีวิต โทษทางแพ่ง เช่น เรยี กคา่ เสียหาย เรยี กเบ้ียปรับ เรียกดอกเบี้ย ริบมัดจํา
ความมงุ่ หมายของกฎหมายอาญาต่างกับกฎหมายแพ่ง เพราะกฎหมายแพ่งมุ่งคุ้มครอง
ผลประโยชนข์ องเอกชน การกระทําซง่ึ ผดิ ท้ังกฎหมายอาญาและกฎหมายแพ่ง เช่น การ
ทําร้ายร่างกายผู้อื่นแต่จะมีผลต่างกัน โดยโทษตามกฎหมายอาญา อาจเป็นโทษจําคุก
หรือเสียค่าปรับให้รัฐ แต่ถ้าโทษตามกฎหมายแพ่งผู้ทําร้ายจะต้องชดใช้ค่าเสียหาย
ให้แก่ผู้ถูกทําร้าย เช่น ค่ารักษาพยาบาลและค่าเสียหายที่ผู้ถูกทําร้ายควรจะได้รับ
เนื่องจากการทํางานไม่ไดร้ ะหว่างบาดเจ็บ เปน็ ตน้

ความผดิ ทางอาญาในแง่โทษและการดําเนินคดีแบง่ ได้เป็น 3 ประเภทดงั นี้
1. ความผิดอาญาแผน่ ดนิ
2. ความผิดอนั ยอมความได้
3. ความผิดลหโุ ทษ.
ความผิดอาญาแผ่นดิน เป็นความผิดท่ีกระทบต่อความสงบสุขของสังคม เป็นภัยต่อ
ผู้อื่น ความผิดทางอาญาส่วนใหญ่เป็นความผิดอาญาแผ่นดิน เช่น ทําร้ายร่างกาย
ฆ่าคนตาย ลักทรัพย์ ทุจริตต่อหนา้ ที่ เมื่อเกิดความผิดแล้วต้องดําเนินคดีไม่มีข้อยกเว้น
นอกจากตัวผู้ได้รับความเสียหายแล้วสังคมย่อมได้รับความเสียหาย แม้ผู้เสียหาย
ไม่แจ้งความร้องทุกข์ รัฐก็ยังต้องเข้าไปดําเนินคดีฟ้องร้องเอาตัวผู้กระทําผิดมาลงโทษ
ใหไ้ ด.้

สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (28) _____________________โครงการแบรนด์ซมั เมอร์แคมป์ ปีที่ 27

ความผิดอันยอมความได้หรือความผิดต่อส่วนตัว คือ ความผิดทางอาญาซึ่งไม่ได้มี
ผลรา้ ยกระทบต่อสังคมโดยตรง และมีกฎหมายกําหนดให้เป็นความผิดต่อส่วนตัว หาก
ผู้รับผลร้ายไมต่ ิดใจเอาความแล้ว เช่น ไม่ร้องทกุ ข์ ถอนคํารอ้ งทุกข์ ถอนฟ้อง หรือยอม
ความกันโดยถกู ตอ้ งตามกฎหมาย รัฐก็ไม่เข้าไปดําเนนิ การฟ้องร้องเอาตัวผู้กระทําผิดมา
ลงโทษ เช่น ความผิดฐานหม่ินประมาท ความผิดฐานทาํ ให้เสียทรพั ย์ (บางกรณ)ี เป็นตน้

ความผิดลหุโทษ คือ ความผิดที่ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่เกิน
1,000 บาท หรือทั้งจาํ ทง้ั ปรบั ความผดิ ลหโุ ทษเปน็ ความผิดที่ไมอ่ าจยอมความได้ ทั้งน้ี
แม้กระทําโดยไม่เจตนาก็ยังถือว่าเป็นความผิดอยู่ ลักษณะความผิดลหุโทษ เช่น
เจ้าพนักงานถามช่ือและท่ีอยู่เพื่อปฏิบัติตามกฎหมายแล้วไม่ยอมบอกหรือแกล้งบอก
ความเท็จ, ฉีกหรือทําลายประกาศของเจ้าพนักงานซ่ึงกระทําการตามหน้าที่, ส่งเสียง
หรอื ทําให้เกดิ เสยี งอื้อองึ โดยไม่มเี หตุอนั สมควรจนทําให้ประชาชนตกใจหรือเดือดร้อน,

พาอาวุธเข้าไปในเมือง หมู่บ้าน หรือทางสาธารณะโดยเปิดเผย ไม่มีเหตุสมควรหรือพา
ไปในชุมชน, ทะเลาะกันอย่างอื้ออึงในทางสาธารณะหรือสาธารณสถาน, เสพสุราหรือ
ของมึนเมาอย่างอ่ืนแล้วประพฤติตัววุ่นวาย หรือควบคุมสติไม่ได้ขณะอยู่ในถนนสาธารณะ
หรือสาธารณสถาน

การกระทําโดย การกระทําโดยเจตนา (intent) คอื การกระทําโดยผ้กู ระทาํ ร้สู ํานกึ ในการกระทํา และใน

เจตนาและการ ขณะเดียวกันผู้กระทําประสงค์ต่อผล คือ ต้องการให้ผลเกิดขึ้นตามท่ีตนตั้งใจให้เกิด

กระทําโดย หรือผู้กระทําย่อมเล็งเห็นผลของการกระทํานั้น คือ ผู้กระทําสามารถคาดการณ์ได้

ประมาท แตกต่าง ล่วงหนา้ วา่ ถ้าได้กระทาํ ไปเชน่ นนั้ อาจจะเกิดผลตามทไ่ี ด้คาดการณ์ไว้แต่ก็ยังขืนกระทําไป

กันอย่างไร เช่น นายโหดเห็นนกอยู่ใกล้เด็กก็ยังขืนยิงนกนั้น ถ้าลูกปืนไปถูกเด็กตาย ผู้กระทําย่อม

เล็งเห็นผลคือ ความตายของเด็ก จึงมีความผิดฐานฆ่าคนตายโดยเจตนา มิใช่ความผิด

ฐานฆา่ คนตายโดยประมาท สรปุ ว่าเจตนามี 2 ชนิดคือ
1. กระทาํ โดยเจตนาประสงคต์ ่อผลน้นั
2. กระทาํ โดยเจตนายอ่ มเล็งเหน็ ผล

การกระทําโดยประมาท (negligence) คอื การกระทาํ ความผิดโดยไมเ่ จตนา แตก่ ระทํา
โดยปราศจากความระมดั ระวงั ซึ่งบคุ คลในภาวะเชน่ น้ันจักต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์
และผู้กระทําอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่าน้ันได้ แต่หาได้ใช้เพียงพอไม่ การกระทําโดย
ประมาทมีองคป์ ระกอบสําคญั ดงั นี้

เป็นการกระทําโดยรูส้ ํานึก
เป็นการกระทาํ ความผิดมิใช่เจตนา คือ ไมไ่ ด้ประสงค์ต่อผลหรือไมม่ กี ารเล็งเห็นผล
ขาดความระมัดระวัง
มกี ฎหมายบัญญตั ิวา่ เป็นความผดิ

โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปที ี่ 27 _____________________สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (29)

ว่งิ ราวทรัพย์ วิ่งราวทรัพย์ การลักทรัพย์ของผู้อื่นไปโดยฉกฉวยเอาซ่ึงหน้า คําว่า “ซึ่งหน้า”
ชงิ ทรัพย์ หมายถงึ ตอ่ หน้าตอ่ ตาหรือเจ้าของเห็นอยู่ในที่เกิดเหตุ เช่น การใช้มือกระชากสร้อยคอ
ปลน้ ทรัพย์ ทองคําท่ีคอของบคุ คลอน่ื ไปโดยไม่มกี ารใชก้ ําลังทาํ รา้ ย ข้อสงั เกต
ยักยอกทรัพย์
กรรโชกทรัพย์ ความผดิ ฐานวง่ิ ราวทรัพย์แตกต่างจากความผิดฐานลักทรัพย์ก็เพียงการเอาไปเท่าน้ัน
รีดเอาทรพั ย์ คือ เอาไปซ่งึ หน้าโดยฉกฉวย หยิบไปตอ่ หน้า

หากเป็นการท่มี บี คุ คลส่งมอบทรัพย์ใหเ้ องแล้วพาทรัพย์ว่ิงหนีไป แบบน้ีไม่ใช่การฉกฉวย
และไมม่ ีความผิดฐานวิ่งราวทรพั ย์ แตเ่ ป็นความผดิ อาญาฐานลกั ทรัพยแ์ ทน.
ชิงทรัพย์ การลักทรัพย์ของผู้อื่นโดยผู้ลักได้ใช้กําลังประทุษร้าย หรือทําร้ายเจ้าของ
ทรพั ยส์ นิ หรือขูเ่ ขญ็ วา่ ในทันใดนัน้ จะใช้กาํ ลงั ประทุษร้าย เพ่ือให้ความสะดวกแก่การลัก
ทรัพย์หรอื การพาทรพั ย์นั้นไป หรือเพื่อใหย้ ืน่ ซึ่งทรัพย์น้ัน หรือเพื่อยึดถือเอาทรัพย์นั้นไว้
หรือเพ่ือปกปิดการกระทําความผิดน้ัน หรือให้พ้นจากการจับกุม เช่น การเข้าไปชก
บคุ คลอน่ื แล้วใช้มือกระชากสร้อยคอทองคําที่คอของบุคคลอ่ืนไป ลักษณะการกระทําที่
จะเปน็ ความผดิ อาญาฐานชงิ ทรพั ยน์ ั้น ตอ้ งประกอบขึ้นด้วยการกระทําที่เป็นสองกรรม
คือ ลักทรัพย์และใช้กําลังประทุษร้าย หรือขู่เข็ญว่าจะใช้กําลังประทุษร้าย โดยการ
กระทาํ สองกรรมน้ีจะตอ้ งเปน็ การกระทําท่ตี อ่ เน่ืองโดยไม่ขาดตอน
ปล้นทรัพย์ การชิงทรัพย์ผู้อ่ืนโดยร่วมกันกระทําความผิดด้วยกันต้ังแต่ 3 คนขึ้นไป
แม้ว่าผู้กระทําความผิดคนใดคนหนึ่งมีอาวุธ ทุกคนก็ต้องรับผิดเช่นเดียวกันหมด แต่
หากคนร้ายท่ีร่วมกระทาํ ความผดิ ไม่ถงึ 3 คน กไ็ ม่ถือวา่ เปน็ การปล้นทรพั ย์.
ยักยอกทรัพย์ ยักยอก คือ การที่บุคคลใดบุคคลหน่ึงได้ทรัพย์ของผู้อ่ืนมาไว้ใน
ครอบครองหรอื อาจเป็นทรพั ย์ทีผ่ อู้ น่ื เปน็ เจ้าของรวมอยู่ดว้ ย แล้วเบยี ดบงั เอาทรัพย์น้ัน
ไว้เป็นของตนหรือบุคคลอ่ืนหรือของบุคคลท่ีสามโดยทุจริต เช่น นายสิงห์นําเอา
รถจักรยานยนตข์ องนายเสอื มาฝากไว้กบั นายแมว เพื่อให้นายแมวเอากลับไปให้นายเสือ
แตน่ ายแมวกลับเอารถจักรยานยนต์น้ันเป็นของตน ไม่เอาไปให้นายเสือ การกระทําของ
นายแมวจึงเป็นความผดิ อาญาฐานยกั ยอกทรัพย์.
กรรโชกทรัพย์ ชอ่ื ความผดิ อาญาฐานข่มขืนใจผู้อื่นใหย้ อมให้หรอื ยอมจะให้ตนหรือผู้อ่ืน
ไดป้ ระโยชน์ในลกั ษณะท่ีเป็นทรัพย์สนิ โดย

ใชก้ าํ ลังประทุษรา้ ยหรือขูเ่ ขญ็ จะทาํ อันตราย
ขู่เข็ญว่าจะทําอันตรายต่อชีวิตร่างกาย เสรีภาพ ช่ือเสียง หรือทรัพย์สินก็ได้
จนผู้ถกู ขม่ ขืนใจยอมเชน่ ว่านั้น
รดี เอาทรัพย์ ชือ่ ความผดิ อาญาฐานขม่ ขนื ใจผู้อ่ืนให้ยอมให้หรือยอมจะให้ตน หรือผู้อ่ืน
ไดป้ ระโยชนใ์ นลักษณะที่เปน็ ทรพั ยส์ นิ โดย
ต้องไม่ใชก้ าํ ลงั ประทษุ ร้าย
เฉพาะขเู่ ข็ญว่าจะเปดิ เผยความลับอย่างเดียว ซึ่งการเปิดเผยน้ันจะทําให้ผู้ถูกขู่เข็ญ
หรอื บคุ คลทีส่ ามเสยี หาย จนผูถ้ ูกขม่ ขนื ใจยอมเช่นวา่ นนั้

สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (30) _____________________โครงการแบรนด์ซมั เมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27

พนกั งานอัยการ พนกั งานอยั การ เจ้าพนักงานผู้มีหน้าท่ีฟ้องผู้ต้องหาต่อศาล พนักงานอัยการเป็น
พนกั งานฝา่ ยปกครอง ตัวแทนของรัฐในการฟ้องผู้ต้องหาท่ีกระทําความผิดต่อรัฐ หรือเป็นทนายจําเลย
พนกั งานบงั คับคดี ของหน่วยราชการในคดีแพ่ง จึงเรียกว่า “ทนายแผ่นดิน” ซึ่งมีอํานาจดําเนินคดี
พนักงานราชทณั ฑ์ ความในนามของรัฐบาลและฟ้องแทนประชาชน พนักงานอัยการมีอํานาจในการ
พนกั งานคมุ ประพฤติ สัง่ ฟอ้ ง สัง่ ไมฟ่ ้อง หรือสั่งสอบสวนเพม่ิ เติม เม่ือตํารวจสรุปสํานวนการสอบสวนก็
พนักงานพทิ ักษ์ทรพั ย์ จะส่งให้พนักงานอัยการ ตรวจสํานวน ถ้าเห็นว่าพยานหลักฐานไม่พอหรือจับตัว
ผู้กระทําผิดไม่ได้ พนักงานอัยการก็จะสั่งให้ตํารวจทําการสอบสวนหาพยานหลักฐาน
เพิ่มเติม หรือส่ังไม่ฟ้องและสั่งปล่อยตัวผู้ต้องหา แต่คําส่ังน้ีไม่ตัดสิทธ์ิผู้เสียหายที่
จะดําเนนิ คดี โดยการฟอ้ งรอ้ งต่อศาลเอง ข้อสงั เกต พนักงานอัยการเป็นโจทก์ฟ้องคดี
ท่ีกฎหมายห้ามมิให้ราษฎรฟ้อง เช่น ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา
1562 หา้ มมิให้ฟ้องผู้บพุ การขี องตนเป็นคดีแพง่ หรือคดอี าญา แตเ่ มื่อผ้นู ั้นหรือญาติ
สนิทร้องขอ อัยการจะยกคดีขน้ึ ว่ากลา่ วกไ็ ด้.
พนกั งานฝ่ายปกครองหรอื ตาํ รวจ เจ้าพนักงานซ่ึงกฎหมายให้มีอํานาจและหน้าที่
รักษาความสงบเรยี บรอ้ ยของประชาชน รวมทั้งพัศดี เจ้าพนักงานกรมสรรพสามิต
กรมศุลกากร กรมเจ้าท่า พนักงานตรวจคนเข้าเมือง และพนักงานฝ่ายปกครองท่ี
เป็นเจ้าหน้าท่ีผู้ใช้กฎหมาย ได้แก่ ผู้ว่าราชการจังหวัด นายอําเภอ ปลัดอําเภอ
กํานนั และผใู้ หญ่บ้าน ขอ้ สังเกต โดยเฉพาะตํารวจมีอํานาจหน้าที่ในการจับกุม คุมขัง
สืบสวน และสอบสวนผู้กระทําความผิดในคดีอาญา ส่วนในคดีแพ่งตํารวจไม่มี
อาํ นาจหนา้ ที่ดงั กลา่ ว.
พนักงานบงั คบั คดี เจ้าพนักงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรม มีหน้าที่ดําเนินการให้
เป็นไปตามคําพพิ ากษาหรอื คําส่งั ของศาลในคดแี พ่ง เชน่ กรณีที่ลูกหน้ีไม่ยอมชําระ
หน้ีใหแ้ ก่เจ้าหนต้ี ามคาํ พิพากษาของศาล ศาลจะตั้งเจา้ พนักงานบังคับคดีทําการยึด
ทรัพย์ของจาํ เลย แลว้ นาํ มาขายทอดตลาด.
พนักงานราชทัณฑ์ เจ้าพนักงานในสังกัดกระทรวงมหาดไทย ทําหน้าที่ควบคุม
ดูแลผู้ต้องหาซึ่งถูกศาลพิพากษาให้รับโทษจําคุก โดยควบคุมผู้กระทําผิดไว้ใน
ทัณฑสถานหรือเรอื นจํา.
พนักงานคมุ ประพฤติ ผทู้ ่ีไดร้ บั การแตง่ ตัง้ จากรัฐมนตรวี า่ การกระทรวงยุติธรรมให้
ดํารงตําแหน่งพนักงานคุมประพฤติตามพระราชบัญญัติวิธีการคุมประพฤติ ตาม
ประมวลกฎหมายอาญา.
พนักงานพิทกั ษ์ทรพั ย์ ผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
ให้ปฏิบัติหน้าท่ีพิทักษ์ทรัพย์สิน และจัดการเกี่ยวกับทรัพย์สินของลูกหน้ีในคดี
ล้มละลาย เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์นี้ถือว่าเป็นเจ้าพนักงานของศาล ข้อสังเกต
บคุ คลล้มละลายจะทํานิติกรรมใดๆ ไม่ได้ เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ตามคําส่ังศาล
จะเป็นผู้มอี าํ นาจจัดการแทน

โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27 _____________________สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (31)

ผู้ดําเนินการบังคับให้ ผูด้ ําเนินการบังคับให้เปน็ ไปตามกฎหมาย

เป็นไปตามกฎหมาย 1. พนักงานฝ่ายปกครองและตํารวจ

และผู้ดําเนินการบังคับ 2. พนกั งานสอบสวน

ให้เปน็ ไปตาม 3. พนักงานอยั การ

คําพิพากษาของศาล ผดู้ ําเนินการบงั คบั ใหเ้ ปน็ ไปตามคาํ พิพากษาของศาล

ได้แก่ใคร 1. พนักงานบังคับคดี

2. พนักงานราชทณั ฑ์

ลขิ สทิ ธ์กิ บั สทิ ธิบัตร ลิขสิทธ์ิ (copyright) คือ สิทธิแสดงความเป็นเจ้าของผลงานสร้างสรรค์ต่างๆ

แตกต่างกันอยา่ งไร ตามท่ีกฎหมายกําหนด งานสร้างสรรค์ท่ีได้รับการคุ้มครอง เช่น วรรณกรรม

นาฏกรรม ศิลปกรรม โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ งานแพร่เสียงแพร่ภาพ และงาน

วิทยาศาสตร์ลิขสทิ ธิ์เกดิ ขนึ้ เมือ่ มีการสร้างสรรคง์ านดว้ ยตัวเอง อายุการคุ้มครองมี

อย่ตู ลอดชวี ิตของผสู้ ร้างสรรคแ์ ละต่อไปอีก 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่กรรม

สิทธิในลิขสิทธ์ิจะเกิดขึ้นโดยทันทีนับต้ังแต่ผู้สร้างสรรค์ได้สร้างสรรค์ผลงานโดย

ไม่ต้องจดทะเบียน สิ่งที่ไม่อาจถือว่าเป็นงานอันมีลิขสิทธิ์ ได้แก่ ข่าวประจําวัน,

รัฐธรรมนูญและกฎหมาย, ระเบียบข้อบังคับประกาศของหน่วยงานของรัฐ,

คําพิพากษา รายงานของทางราชการ, คําแปลและการรวบรวมสิ่งต่างๆ ของรัฐ

หรอื ของทอ้ งถ่นิ .

สิทธิบัตร (patent) คือ หนังสือสําคัญที่รัฐออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์หรือ

การออกแบบผลิตภัณฑ์ตามที่กําหนด หรือเพ่ือแสดงความเป็นเจ้าของความคิดใน

ส่ิงประดิษฐ์นั้น อนุสิทธิบัตรแตกต่างสิทธิบัตรการประดิษฐ์ตรงท่ีการประดิษฐ์ท่ี

ขอรับอนุสิทธบิ ตั รไดไ้ มต่ ้องมขี ั้นการประดษิ ฐ์สูงข้ึน.

สิทธิบัตร สิทธิเกิดขึน้ เม่อื มีการจดทะเบียน

ลขิ สทิ ธิ์ สทิ ธิเกิดขึน้ ทันทเี ม่ือผ้สู ร้างสรรคไ์ ด้สร้างสรรค์ผลงาน

เครื่องหมายการค้า สิทธิเกิดข้ึนได้จากการใช้เครื่องหมายการค้า แต่จะมีผล

สมบรู ณต์ ้องมีการจดทะเบียน

บัตรประจาํ ตวั ประชาชน พระราชบญั ญัติบัตรประจาํ ตวั ประชาชน (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ. 2554 กําหนดให้บุคคล

สัญชาติไทยที่มีอายุตั้งแต่ 7 ปีบริบูรณ์ แต่ไม่เกิน 70 ปีบริบูรณ์ ต้องมีบัตร

ประจําตวั ประชาชน เว้นแตผ่ ูท้ ีจ่ ะได้รับการยกเว้นไม่ต้องมีบัตรประจําตัวตามกฎหมายอื่น

ให้ใช้บัตรประจําตัวน้ันแทนได้ เช่น ภิกษุ สามเณร นักบวช ผู้มีร่างกายพิการเดิน

ไม่ได้ หรือเป็นใบ้ หรือตาบอดทั้งสองข้าง หรือจิตฟ่ันเฟือนไม่สมประกอบ รวมท้ัง

ผทู้ ีอ่ ยใู่ นทีค่ มุ ขังโดยชอบด้วยกฎหมาย

สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (32) _____________________โครงการแบรนด์ซมั เมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27

เพม่ิ พลงั สมอง ชารต ความรู เรงสปด

สาระเศรษฐศาสตร

เศรษฐศาสตร์ เกง็ ข้อสอบปี 59

เศรษฐศาสตร์จุลภาค
เศรษฐศาสตร์พ้ืนฐาน เช่น ความหมาย จุลภาค-มหภาค
ปัญหาพื้นฐาน กิจกรรมทางเศรษฐกิจ ปัจจัยการผลิต
หน่วยเศรษฐกจิ
ศัพท์ เชน่ เศรษฐทรัพย์ สินค้าสาธารณะ
ระบบเศรษฐกิจ (ประเภท ข้อดี-ขอ้ เสีย)
ตลาด (ประเภท ขอ้ ดี-ขอ้ เสีย)
อปุ สงค์ อุปทาน การกําหนดค่าจ้างข้ันตํ่า การกําหนดราคา
ข้นั สงู -ขัน้ ตํ่า
เศรษฐกจิ พอเพียง เกษตรทฤษฎใี หม่ สหกรณ์

เศรษฐศาสตร์มหภาค
GNP GDP PCI
การเงินการธนาคาร
การคลัง เชน่ รายรับ-รายจ่ายของรัฐบาล ภาษี งบประมาณ
นโยบายการเงนิ -การคลงั
แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ
การพัฒนาทางเศรษฐกจิ การเจริญเติบโตทางเศรษฐกจิ
เศรษฐกจิ ระหวา่ งประเทศ (การค้า การลงทุน)
ดุลบญั ชีตา่ งๆ เชน่ ดลุ การชาํ ระเงนิ ดลุ บญั ชีเดนิ สะพดั
อตั ราการแลกเปลีย่ น ค่าบาทแขง็ -อ่อน ผลกระทบ
ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ
วิกฤตเศรษฐกจิ ไทยและโลก

โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27 _____________________สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (33)

สาระเศรษฐศาสตร์ หา Error

เศรษฐศาสตรจ์ ุลภาค ___ 1. ปัญหาพ้ืนฐานทางเศรษฐกิจของทุกระบบสังคมคือ ปัญหาความ
ขาดแคลน

___ 2. ธนาคารแหง่ ประเทศไทยประกาศข้ึนอัตราดอกเบ้ียเงนิ และเงินกู้ของ
ธนาคารพาณิชย์ ทั้งน้ีเพื่อแก้ไขสภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์
เกี่ยวขอ้ งเศรษฐศาสตร์จุลภาค

___ 3. ปัจจัยการผลิตในทางเศรษฐศาสตร์ หมายถึง ที่ดินรวมถึง
ทรัพยากรท่ีอยู่ใต้ดิน บนดิน และเหนือพ้ืนดิน เครื่องจักร เงินทุน
และผปู้ ระกอบการ

___ 4. จดุ ประสงคข์ ้ันสดุ ทา้ ยของกจิ กรรมทางเศรษฐกิจคือ การบรโิ ภค
___ 5. ระบบเศรษฐกิจของไทยเป็นแบบผสม เพราะเป็นระบบที่ใช้กลไก

ราคาและการวางแผนในการดําเนนิ งาน
___ 6. การซอื้ ขายสินค้าเกษตรขั้นปฐม จัดอยู่ในตลาดที่มีการแข่งขันอย่าง

สมบรู ณ์
___ 7. กฎอุปสงค์ คือ เม่ือราคาสินค้าลดลง ผู้บริโภคจะซื้อสินค้าใน

ปริมาณลดลงเช่นกัน
___ 8. ภาวะดุลยภาพของตลาดจะเกิดข้ึนเมื่อปริมาณเสนอซื้อสมดุลกับ

ราคาเสนอขาย
___ 9. คุณลักษณะของเศรษฐกิจพอเพียง คือ ความพอประมาณ ความ

ยง่ั ยืน การมีภูมิค้มุ กันในตัวทดี่ ี และเงื่อนไขความรู้คู่คณุ ธรรม
___ 10. สหกรณท์ ไ่ี มใ่ ห้บริการเงนิ กูแ้ ก่สมาชิก คือ สหกรณ์รา้ นค้า

o เศรษฐศาสตร์มหภาค ___ 11. หน้าที่ของธนาคารแห่งประเทศไทยประการหนึ่งคือ รับฝากเงินจาก
ประชาชน

___ 12. ผลกระทบของภาวะเงินเฟ้อคือ ลกู หนีไ้ ด้เปรยี บ เจา้ หนเ้ี สียเปรียบ
___ 13. งบประมาณขาดดุล หมายถงึ งบประมาณที่รายรับของรัฐบาลน้อยกว่า

รายจา่ ยรวมของรฐั บาล
___ 14. ภาษีทางตรง ได้แก่ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม

ภาษีสรรพสามติ
___ 15. นโยบายการเงินแบบขยายตัว ควรใช้ในภาวะที่เศรษฐกิจตกต่ํา โดยการ

เพมิ่ ปรมิ าณเงินในระบบเศรษฐกจิ เช่น ลดอตั ราดอกเบีย้
___ 16. นโยบายการเงินแบบหดตัว ควรใช้ในภาวะท่ีเศรษฐกิจมีการขยายตัว

มากเกินไป โดยการลดปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจ เช่น เพิ่มอัตรา
ดอกเบยี้
___ 17. นโยบายการคลังแบบขยายตัว ควรใช้ในภาวะท่ีเศรษฐกิจตกต่ํา โดยการ
เพม่ิ การใช้จา่ ยของภาครฐั เช่น ลดอัตราภาษี ใช้งบประมาณแบบขาดดุล
___ 18. นโยบายการคลังแบบหดตัว ควรใช้ในภาวะที่เศรษฐกิจมีการขยายตัว
มากเกินไป โดยการลดการใช้จ่ายของภาครัฐ เช่น เพิ่มอัตราภาษี
ใช้งบประมาณแบบเกนิ ดลุ
___ 19. รายการท่ีแสดงอยู่ในบัญชีเดินสะพัด ได้แก่ ดุลการค้า ดุลบริการ
ดุลบรจิ าค ดลุ การชาํ ระเงิน
___ 20. ถ้าอัตราแลกเปล่ียน 1 ดอลลาร์ต่อ 35 บาท เปลี่ยนเป็น 1 ดอลลาร์
ต่อ 30 บาท จะทาํ ให้ราคาสนิ ค้าจากต่างประเทศแพงข้นึ ในสายตาคนไทย

สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (34) _____________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอร์แคมป์ ปีที่ 27

เศรษฐศาสตรจ ุลภาค

เศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ (economics) เป็นวิชาทางสังคมศาสตร์ท่ีศึกษาเก่ียวกับการเลือกใช้

ความขาดแคลน ทรพั ยากรทีม่ จี าํ กดั มาใชใ้ นการผลติ สนิ คา้ และบรกิ ารอยา่ งประหยัดท่ีสุดและมีประสิทธิภาพ

การเลอื ก ทางเทคนิคสูงสดุ และหาทางแจกจ่ายหรือกระจายสินค้าและบริการออกไป เพ่ือสนอง

ตน้ ทุนค่าเสียโอกาส ความต้องการท่ีไม่จํากัดของมนุษย์ให้ได้รับความพอใจสูงสุดและมีประสิทธิภาพทาง

เศรษฐกจิ สูงสุด.

ความขาดแคลน (scarcity) สาเหตุของความขาดแคลนสืบเน่ืองมาจากความไม่สมดุล
กันระหวา่ งความต้องการกับจาํ นวนทรพั ยากร หรอื สนิ ค้าและบรกิ ารของประเทศมีน้อย
เมอื่ เทยี บกับความต้องการ.

การเลอื ก (choice) เน่ืองจากความต้องการของมนุษย์และจํานวนทรัพยากรไม่สมดุลกัน
จึงต้องมีการตัดสินใจเลือกใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด ดังน้ันความขาดแคลน
บังคับใหเ้ กิดการตัดสินใจเลือก.

ต้นทุนค่าเสียโอกาส (opportunity cost) เน่ืองจากทรัพยากรมีจํากัดและมีน้อยกว่า
ความตอ้ งการของมนษุ ย์ จงึ ทาํ ใหต้ ้องตัดสนิ ใจใช้ทรัพยากรในทางเลือกหน่ึงๆ และเม่ือ
ตัดสินใจใช้ทรัพยากรในทางเลือกหนึ่งแล้วย่อมเสียโอกาสท่ีจะนําทรัพยากรนี้ไปใช้ใน
ทางเลอื กอน่ื ๆ หรือเรยี กว่าเกิดต้นทนุ ในการเลือกข้นึ มา ต้นทนุ ในการเลอื กน้กี ็คือต้นทุน
ค่าเสียโอกาส (ค่าเสยี โอกาสไม่ใชส่ ิ่งท่เี ราเลือก แตเ่ ป็นสิง่ ทเ่ี ราไม่ไดเ้ ลือก) ต้นทุนค่าเสีย
โอกาสจึงหมายถึงมูลค่าสูงสุดของส่ิงที่เสียสละไปเพ่ือทดแทนส่ิงท่ีเราเลือก หรือก็คือ
มูลค่าสงู สดุ ของส่งิ ทเ่ี ราไม่ได้เลือกน่ันเอง ดังนั้นต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์จึงหมายถึง
ต้นทนุ ค่าเสียโอกาสเท่าน้นั

เศรษฐศาสตร์จลุ ภาค เศรษฐศาสตร์จุลภาค (microeconomics) เป็นการศึกษาพฤติกรรมทางเศรษฐกิจใน
เศรษฐศาสตร์มหภาค สว่ นยอ่ ยระดับบุคคลหรือองค์กรธรุ กิจ.

เศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์มหภาค (macroeconomics) เป็นการศึกษาพฤติกรรมทางเศรษฐกิจ
ตามท่เี ปน็ จริง ในส่วนรวมหรือระดับประเทศ เช่น รายได้ประชาชาติ การลงทุน การจ้างงาน การเงิน
เศรษฐศาสตร์ การคลงั หนีส้ าธารณะ การพัฒนาเศรษฐกจิ รวมถึงปัญหาการวา่ งงาน ปญั หาเงินเฟ้อ
ตามที่ควรจะเป็น เงนิ ฝดื เป็นตน้

เศรษฐศาสตร์ตามทีเ่ ปน็ จรงิ (positive economics) เป็นการมุง่ อธิบายเร่ืองทเ่ี กิดขึ้น
ว่าคอื อะไร เกิดจากสาเหตุใดและมีผลอย่างไร จึงเป็นเพียงการอธิบายถึงปรากฏการณ์
ทางเศรษฐกิจตามทเ่ี กิดขึน้ จริงเท่านั้นซ่ึงเป็นเรื่องท่ีเคยเกิดข้ึนในอดีต ในปัจจุบัน และ
ทเี่ กดิ ในอนาคต.

เศรษฐศาสตร์ตามที่ควรจะเป็น (normative economics) เป็นการมุ่งกล่าวถึงส่ิงที่
เกดิ ข้ึนหรือผลทเ่ี กิดขึน้ นั้นวา่ ควรทําหรอื ไมค่ วรทาํ ควรจะเปน็ หรือไมค่ วรจะเป็น เหมาะสม
หรอื ไมเ่ หมาะสม ซงึ่ การศึกษาแนวนใ้ี ช้วิจารณญาณหรอื ความคิดสว่ นบคุ คลมาประกอบ

โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27 _____________________สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (35)

เศรษฐทรัพย์ เศรษฐทรัพย์ (economic goods) เป็นสินค้าที่มีต้นทุนการผลิต มีราคาซื้อขาย เช่น

สนิ ค้าไรร้ าคา เส้ือผ้า รถยนต์ ฯลฯ ส่วนสินค้าที่ได้โดยการแจก การให้ การบริจาค โดยผู้บริโภค

ได้มาฟรีหรือไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆ ถือว่าเป็นเศรษฐทรัพย์และเป็นสินค้าได้เปล่า

(ไม่ใช่สินค้าไร้ราคา) เศรษฐทรัพย์ยังรวมถึงสินค้าและบริการท่ีรัฐบาลเป็นผู้จ่ายเงิน

จากภาษีอากร เช่น สิ่งก่อสร้างสาธารณะประโยชน์ (เช่น สวนสาธารณะ

สะพานลอย) บริการการศึกษาของรัฐ การปอ้ งกนั ประเทศ.

สินค้าไร้ราคา (free goods) สินค้าที่ได้มาโดยไม่มีต้นทุนในการผลิตหรือเกิดขึ้นเอง

ตามธรรมชาติ ดังน้ันสินค้าไร้ราคาจึงเป็นสินค้าท่ีไม่มีราคาท่ีจะต้องจ่าย เช่น สายลม

แสงแดด อากาศ และนาํ้ ในแหลง่ น้ําธรรมชาติ เปน็ ต้น

สนิ คา้ สาธารณะ สินค้าสาธารณะ (public goods) สินค้าท่ีทุกคนใช้บริโภคร่วมกันและเป็นสินค้าท่ี
หน้สี าธารณะ ไม่สามารถกีดกันการบริโภคของผู้บริโภครายอ่ืน เช่น การป้องกันประเทศ การ
กระจายเสยี งวิทยุ สัญญาณทีวี ไฟฟ้าตามถนน.

หนีส้ าธารณะ (public debt) หนี้สนิ ของรฐั บาลซึง่ รวมทั้งการยืมโดยตรง (การก่อหน้ี

ภายในประเทศ และการก่อหนี้ต่างประเทศ) และการคํ้าประกันเงินกู้ของรัฐบาลและ

รัฐวิสาหกิจ เงินกู้ถือเป็นรายรับส่วนหน่ึงของรัฐบาลที่จะนํามาใช้จ่ายให้เกิดประโยชน์

กบั ประเทศชาติ

ปัญหาพื้นฐานทาง ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ (basic economic problems) เป็นปัญหาท่ีสืบ

เศรษฐกิจ เนื่องมาจากความมีอยอู่ ย่างจาํ กดั ของทรพั ยากรเมื่อเทียบกับความต้องการของมนุษย์

กจิ กรรมทาง เป็นปัญหาทีเ่ กิดขนึ้ ในทุกสงั คมและทุกระบบเศรษฐกิจ ปัญหานป้ี ระกอบด้วย

เศรษฐกจิ 1. ปัญหาวา่ จะผลติ อะไร (what)
ปจั จัยการผลิต 2. ปัญหาวา่ จะผลิตอย่างไร (how)
หนว่ ยเศรษฐกจิ 3. ปญั หาว่าจะผลติ เพื่อใคร (for whom)
กิจกรรมทางเศรษฐกิจ (economic activity) กิจกรรมต่างๆ ของบุคคลหรือกลุ่ม

บุคคลท่เี กย่ี วขอ้ งกบั การผลิต การบรโิ ภค การกระจาย และการแลกเปล่ียน.

ปัจจัยการผลิต (factor of production) ทรัพยากรท่ีใช้ในการผลิตสินค้าและบริการ

ได้แก่

1. ที่ดนิ และทรัพยากรธรรมชาติ เช่น แร่ธาตุ ป่าไม้ ดินฟ้าอากาศ ผลตอบแทนท่ีได้รับ

คอื คา่ เช่า

2. แรงงาน กาํ ลงั ความสามารถในการผลิตของมนุษย์เท่านั้น ไม่ว่าจะเป็นแรงงานกาย

หรอื กําลงั ความคิด ผลตอบแทนท่ไี ด้รับคือค่าจา้ ง

3. ทุน ส่ิงที่มนุษย์สร้างขึ้นเพ่ือใช้ในการผลิตสินค้า เช่น เคร่ืองมือเคร่ืองจักร โรงงาน

ผลตอบแทนที่ไดร้ ับคือดอกเบย้ี (แรงงานสัตว์ท่ีคนฝกึ ฝนเพื่อนํามาใช้งานอนุโลมถือ

เป็นทุน)

4. ผู้ประกอบการ ผู้ท่ีทําหน้าที่รวบรวมเอาปัจจัยการผลิตต่างๆ มาดําเนินการผลิต

และยังเป็นผู้รับภาระความเสี่ยงท่ีเกิดข้ึนจากกระบวนการผลิต ผลตอบแทนท่ีได้รับ

คอื กําไร.

หน่วยเศรษฐกิจ (economic unit) ผู้ประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจซึ่งประกอบด้วย
หนว่ ยครัวเรอื น หน่วยธรุ กจิ และหนว่ ยรัฐบาล

สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (36) _____________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปที ี่ 27

ระบบเศรษฐกจิ 1. ระบบทุนนยิ ม (capitalism)
ระบบทนุ นิยม
2. ระบบสังคมนยิ มคอมมิวนสิ ต์ (communist)
ระบบสังคมนิยม
คอมมวิ นสิ ต์ 3. ระบบสงั คมนยิ มประชาธปิ ไตย (democratic socialism)

4. ระบบเศรษฐกิจแบบผสม (mixed economy)

ข้อดี ข้อเสยี

มีแรงจูงใจในการผลิตและการทํางาน การกระจายรายได้และการจัดสรร

เพราะทํามากจะมรี ายได้มาก ทรัพยากรไม่เท่าเทียมกันและไม่ทั่วถึง

ผผู้ ลติ แต่ละรายต้องแข่งขันกนั ขายสินค้า เพราะผู้บริโภคในสังคมต่างมีรายได้

และบรกิ ารให้มากท่ีสุด จึงต้องปรับปรุง และทรัพย์สินไม่เท่าเทียมกัน ทําให้

เทคนิคการผลิตอยู่เสมอ โดยเน้นทั้ง พวกนายทุนได้เปรียบ

คุณภาพและปริมาณดว้ ย ในภาวะที่เกิดการขาดแคลนสินค้า เช่น

เอกชนมีเสรีภาพในการเลือกตัดสินใจ ในยามสงคราม ถา้ รัฐไมเ่ ขา้ มาแทรกแซง

ดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกจิ ทีต่ นถนัด กิจกรรมทางเศรษฐกิจแล้ว ก็จะทําให้

ผู้บรโิ ภคมโี อกาสเลอื กบริโภคสินค้าและ เกิดการขาดแคลนสินค้าท่จี าํ เปน็ ได้

บริการต่างๆ ทเ่ี ปน็ ธรรมมากขนึ้ เพราะ หากมีผู้ผลิตสินค้าและบริการน้อยราย

ไมม่ ผี ู้ใดผูกขาดการผลิตที่ทําให้ราคาสูง ผู้ผลิตอาจรวมตัวกนั ผกู ขาดในการผลิต

เกินปกติ ได้ เพราะรัฐไม่ได้เข้ามาแทรกแซง ซึ่ง

ผลเสยี ก็จะตกอยู่กับผู้บริโภค เช่น การ

รวมตัวกันขึ้นราคาสินค้า การกด

คา่ จ้างแรงงาน

มกี ารใชท้ รัพยากรอยา่ งส้นิ เปลือง เช่น

การแข่งขันกันสร้างหา้ งสรรพสนิ คา้

ขอ้ ดี ข้อเสยี

ไม่มีความแตกต่างระหว่างรายได้ ขาดเสรภี าพในการเลอื กประกอบอาชีพ

เพราะประชาชนไม่มีความได้เปรียบ และเลือกบรโิ ภค

เสยี เปรียบในเชงิ เศรษฐกิจ ขาดแรงจูงใจในการผลิต เพราะเอกชน

ประชาชนได้รับสวัสดิการอย่างท่ัวถึง ไม่มสี ทิ ธิเ์ ปน็ เจา้ ของทรพั ยส์ นิ .

และเพียงพอ เพราะรัฐเป็นผู้แบ่งปัน

เคร่ืองบริโภคต่างๆ อยา่ งเทา่ เทยี มกัน

ไ ม่ มี ก า ร ผู ก ข า ด ข อ ง เ อ ก ช น ใ น ก า ร

ดําเนินกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ

โครงการแบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ ปีท่ี 27 _____________________สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (37)

ระบบสงั คมนิยม ขอ้ ดี ข้อเสีย
ประชาธปิ ไตย
การกระจายรายได้มีความเป็นธรรมขึ้น ผู้บริโภคไม่มีเสรีภาพในการเลือกซ้ือ
ระบบเศรษฐกจิ
แบบผสม มีรายได้ต่างกันน้อยลง ช่วยลดความ สินคา้ และบริการไดเ้ ต็มที่
เหลื่อมล้ําทางฐานะและรายได้ของ เอกชนไม่มีเสรีภาพทําธุรกิจได้เต็มท่ี
ตลาดแข่งขัน
สมบรู ณ์ บคุ คล เพราะเอกชนทําไดเ้ ฉพาะกิจการขนาด

ประชาชนได้รับสวัสดิการจากรัฐอย่าง เล็กเท่านั้น ส่วนกิจการขนาดใหญ่รัฐ

ท่ัวถึงและเพียงพอ เข้าควบคุม

การแข่งขันกันเพ่ือแสวงหากําไรสูงสุด ขาดแรงจูงใจในการทํางานและขาด

นั้นไม่มี เพราะรัฐเป็นผู้ผลิตรายใหญ่ การแขง่ ขัน ทาํ ใหก้ ารพฒั นาเทคโนโลยี
และไม่ให้มีการผูกขาดโดยเอกชนใน ทางการผลติ ไมก่ ้าวหนา้ มากนกั

ธรุ กิจบางชนิด

ขอ้ ดี ข้อเสีย

การกระจายรายได้และการจัดสรร รัฐไม่อาจส่ังการแบบรีบด่วนได้ตาม
ทรพั ยากรเปน็ ไปอยา่ งท่ัวถงึ ภาวะเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไปอย่าง
ผู้ใช้แรงงานได้รับผลตอบแทนตาม รวดเร็ว
กําลังความสามารถและอาชีพ การวางแผนจากรัฐเพ่ือให้เอกชนเข้า
เอกชนมีบทบาททางเศรษฐกิจมากขึ้น รว่ มหรือปฏิบตั ติ ามอาจเป็นไปไดย้ าก
และมีการแข่งขันในการผลิตสินค้าและ รัฐมีอํานาจในการกําหนดนโยบายและ
บริการ ใช้อํานาจต่างๆ จึงทําให้เอกชนขาด

ผู้บริโภคมีโอกาสเลือกซ้ือสินค้าและ ความม่ันใจในการลงทนุ
บรกิ ารไดม้ ากพอสมควร การมีกรรมสิทธ์ิในทรัพย์สินและการมี
กําไรอาจก่อให้เกิดช่องว่างทางฐานะ
และรายได้ ปัญหาความเหล่ือมล้ําจะ
ตามมา
กลไกราคาที่รัฐเข้าแทรกแซง อาจก่อ
ให้เกิดปัญหา เช่น เปิดโอกาสให้มีการ
คอรัปชนั เอกชนไม่กลา้ ลงทุนอย่างเตม็ ที่

ตลาดแข่งขนั สมบูรณ์มลี ักษณะสาํ คัญ
ผูซ้ อ้ื และผขู้ ายมจี ํานวนมาก
สนิ คา้ มีลกั ษณะเหมือนกันทุกประการ

ผ้ซู ื้อและผู้ขายมคี วามรู้ของสภาวะตลาดเปน็ อย่างดี
การตดิ ตอ่ ซ้อื ขายจะตอ้ งกระทาํ โดยสะดวก สินค้าสามารถโยกย้ายไปยังภูมิภาคต่างๆ
ได้สะดวกและรวดเร็ว
หนว่ ยธุรกจิ สามารถเข้าหรือออกจากธรุ กจิ ได้โดยเสรี
ข้อสังเกต ราคาสินค้าในตลาดที่มีการแข่งขันสมบูรณ์จะมีราคาเดียวกันท้ังหมดและ
เป็นราคาที่เหมาะสม ไม่มีผู้ซ้ือผู้ขายรายใดมีอิทธิพลต่อราคา และไม่จําเป็นต้องมี
การโฆษณา ตลาดแข่งขันสมบูรณ์น้ีถือเป็นตลาดในอุดมคติ (ideal market)
ตลาดที่มีลักษณะใกล้เคียงกับตลาดแข่งขันสมบูรณ์ก็คือ ตลาดสินค้าเกษตร เช่น

ตลาดขา้ วเปลอื ก ตลาดมันสาํ ปะหลัง ตลาดหุ้น

สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (38) _____________________โครงการแบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ ปที ี่ 27

ตลาดแข่งขนั 1. ตลาดผกู ขาด (monopoly)
ไม่สมบรู ณ์ 2. ตลาดผู้ขายนอ้ ยราย (oligopoly)
ตลาดผกู ขาด
3. ตลาดกง่ึ แขง่ ขนั กึง่ ผูกขาด (mouopolistic competition)
อุปสงค์
ขอ้ ดี ข้อเสีย

เกิดการประหยัดจากขนาดการผลิตใน กา ร ผ ลิ ต สิ น ค้ า เป็ น ไ ป อ ย่ า ง ไ ม่ มี
กรณีการผลิตขนาดใหญ่ เช่น กิจการ ประสิทธิภาพ เพราะผู้ผูกขาดไม่มี
สาธารณูปโภค เพราะทําให้ต้นทุนต่อ คูแ่ ขง่ ทางการค้า
หนว่ ยลดลงเมอ่ื มกี ารผลิตคราวละมากๆ ผลผลิตอาจมีจํานวนไม่พอเพียงกับ
และจะขายสินคา้ ได้ในราคาทตี่ าํ่ ลง ความต้องการ ถ้าผผู้ กู ขาดต้ังราคาสงู .
กรณีสนิ ค้าและบริการบางประเภทที่ให้
คุณและโทษต่อสังคม รัฐเป็นผู้ผูกขาด
เช่น บริการป้องกันประเทศ การผลิต
วัคซีน โรงงานยาสบู
เกิดการวิจัยพัฒนาเทคนิคการผลิต
เชน่ อตุ สาหกรรมยา

อุปสงค์ (demand) คือ ปริมาณสินค้าหรือบริการชนิดใดชนิดหนึ่งที่ผู้บริโภคต้องการ
ซ้ือในช่วงเวลาหน่ึง ณ ระดับราคาต่างๆ ของสินค้าหรือบริการชนิดน้ัน ความต้องการ
ซื้อดังกล่าวต้องประกอบด้วยความเต็มใจที่จะซื้อ และมีอํานาจซื้อ (purchasing power)
หรือมีเงินด้วย แต่ถ้ามีแต่ความต้องการในสินค้าโดยไม่มีเงินท่ีจะซื้อ เราเรียกความ
ต้องการลกั ษณะน้ันว่าความต้องการ (want)
กฎของอุปสงค์ ถ้าราคาสินค้าสงู ข้นึ อุปสงคจ์ ะลดลง และถา้ ราคาสินคา้ ลดลง อุปสงค์
จะเพ่ิมขึ้น เส้นอปุ สงคจ์ ึงมลี กั ษณะเปน็ เสน้ ลาดเอียงจากบนซา้ ยมาลา่ งขวา ซ่งึ แสดงว่า
ความสัมพันธ์ระหว่างราคาและปริมาณซ้ือเป็นไปในทางแปรผกผัน (หรือทิศทาง
ตรงกันข้าม P q D r ; P r D q) เสน้ มคี า่ ความชันเปน็ ลบ.
ปัจจัยท่ีกําหนดอุปสงค์ 1. ราคาสินค้าที่ซื้อ 2. รายได้ของผู้บริโภค 3. รสนิยมของ
ผู้บริโภค 4. ราคาของสินค้าชนิดอื่นที่เกี่ยวข้อง 5. การคาดคะเนเกี่ยวกับราคาสินค้า
ในอนาคต
สินคา้ ปกติและสินค้าด้อย กรณีสนิ คา้ ปกติถ้าผู้บริโภคมีรายได้สูงขึ้น อุปสงค์สินค้าเพิ่มข้ึน
และถ้ามีรายได้ลดลง อุปสงค์สินค้าลดลงด้วย ดังนั้นอุปสงค์สินค้าปกติจะแปรผัน
(ทศิ ทางเดียวกนั ) ตามรายได้ของผู้บริโภค กรณีที่เป็นสินค้าด้อย อุปสงค์สินค้าด้อยจะ
แปรผกผัน (ทิศทางตรงกันข้าม) กับรายได้ของผู้บริโภค เช่น เมื่อผู้บริโภคมีรายได้
เพม่ิ ขน้ึ อปุ สงค์ทม่ี ีตอ่ บะหม่สี าํ เรจ็ รปู ลดลง.
สนิ คา้ ทใี่ ช้ทดแทนกัน และสินค้าท่ีใช้ประกอบกัน กรณีสินค้าที่ใช้ทดแทนกัน อุปสงค์
สินค้าชนิดหนึ่งจะแปรผัน (ทิศทางเดียวกัน) ตามราคาของสินค้าท่ีใช้ทดแทนกัน เช่น
ถ้าราคาเนื้อไก่ถูกลง อุปสงค์เน้ือหมูจะลดลง ในทางกลับกันถ้าราคาเนื้อไก่แพงข้ึน
อปุ สงค์ตอ่ เนือ้ หมูจะเพ่ิมขน้ึ กรณีสินค้าท่ีใช้ประกอบกันหรือสินค้าท่ีใช้ร่วมกัน อุปสงค์
สนิ ค้าชนดิ หนงึ่ จะแปรผกผนั (ทิศทางตรงกนั ขา้ ม) กับราคาของสินค้าท่ีใช้ประกอบกัน
เช่น ถ้าราคาไม้ตีปิงปองสูงข้ึน อุปสงค์ต่อลูกปิงปองจะลดลง ตัวอย่างอื่นๆ เช่น
ปากกาหมึกซึมกับนา้ํ หมึก รถยนตก์ ับนาํ้ มัน ปืนกบั กระสุน

โครงการแบรนด์ซมั เมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27 _____________________สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (39)

อุปทาน อปุ ทาน (supply) คอื ปริมาณสินค้าหรือบริการชนิดใดชนิดหน่ึงท่ีผู้ผลิตต้องการผลิต
ออกขายในช่วงเวลาหน่ึง ณ ระดับราคาต่างๆ ของสินค้าหรือบริการชนิดน้ัน ซ่ึงเป็น
ดุลยภาพของตลาด ปริมาณสินค้าท่ีผู้ผลิตเต็มใจจะนําออกขายในระยะเวลาหน่ึงๆ เท่าน้ัน ไม่ได้หมายถึง
อุปทานสว่ นเกนิ ปริมาณสินคา้ ทีผ่ ผู้ ลิตผลิตขึ้นท้งั หมด.
อุปสงคส์ ว่ นเกิน กฎของอุปทาน ถ้าราคาสินค้าสูงขึ้น อุปทานจะเพ่ิมข้ึน และถ้าราคาสินค้าลดลง
อุปทานจะลดลง เส้นอุปทานจึงมีลักษณะเป็นเส้นลาดเอียงข้ึนจากล่างซ้ายไปบนขวา
ซึ่งแสดงว่าความสัมพันธ์ระหว่างราคาและปริมาณขายเป็นไปในทางแปรผัน (หรือ
ทศิ ทางเดียวกัน P q S q ; P r S r) เส้นมคี ่าความชนั เปน็ บวก.
ปัจจัยท่ีกําหนดอุปทาน 1. ราคาสินค้าท่ีผลิต 2. จํานวนผู้ผลิต 3. ราคาปัจจัยการ
ผลติ ทีม่ ผี ลตอ่ ต้นทนุ การผลิต 4. เทคโนโลยีการผลิต 5. สภาพดินฟ้าอากาศ 6. การ
คาดคะเนเกี่ยวกับราคาในอนาคต

ดลุ ยภาพของตลาด (market equilibrium) เป็นสภาวะทป่ี ริมาณซื้อเทา่ กบั ปริมาณขาย
ท้ังน้ีระดับราคาสินค้าท่ีปริมาณซ้ือเท่ากับปริมาณขายจะเรียกว่าราคาดุลยภาพ
(equilibrium price) และปริมาณสินคา้ ทเี่ ทา่ กนั ระหว่างปริมาณซ้ือกับปริมาณขายจะ
เรียกวา่ ปรมิ าณดลุ ยภาพ (equilibrium quantity)
อปุ ทานสว่ นเกนิ (excess supply) ถา้ ราคาสนิ คา้ แพงกวา่ ราคาดุลยภาพ ปริมาณขาย
จะมากกว่าปริมาณซื้อ (S > D) และเกิดสินค้าส่วนเกิน (surplus) หรืออุปทาน
ส่วนเกิน.
อปุ สงค์สว่ นเกิน (excess demand) ถ้าราคาสินค้าถูกกว่าราคาดุลยภาพ ปริมาณซื้อ
จะมากกว่าปริมาณขาย (D > S) และทําให้เกิดการขาดแคลนสินค้า (shortage)
หรืออุปสงคส์ ่วนเกิน.
การปรับตัวเข้าสู่ดลุ ยภาพ ถา้ ตลาดไมอ่ ยู่ในภาวะดุลยภาพ กลไกราคาจะทําหน้าที่เพ่ือ
ทําให้ตลาดปรับเข้าสู่ดุลยภาพดังนี้ เมื่อใดที่เกิดสินค้าส่วนเกินหรืออุปทานส่วนเกิน
(ณ ระดบั ราคาที่สูงกว่าราคาดุลยภาพ) จะมีผลกดดันทําให้ราคาสินค้าถูกลง จนปรับ
เข้าสู่ราคาดุลยภาพ หรือเมื่อใดท่ีเกิดการขาดแคลนสินค้าหรืออุปสงค์ส่วนเกิน (ณ
ระดับราคาทต่ี ํ่ากวา่ ราคาดุลยภาพ) จะมผี ลกดดันทาํ ใหร้ าคาสนิ คา้ แพงข้ึน.

ราคาสม้ ปรมิ าณซื้อสม้ ปรมิ าณขายสม้ มสี ้มส่วนเกิน สภาวะ
(บาท/ก.ก.) (ก.ก./วนั ) (ก.ก./วนั ) มีสม้ สว่ นเกนิ
ดุลยภาพ อุปทานสว่ นเกนิ = 55 ก.ก./วัน
11 25 80 มีส้มขาดแคลน อปุ ทานส่วนเกนิ = 30 ก.ก./วนั
9 40 70 มีสม้ ขาดแคลน ปรมิ าณซือ้ สม้ = ปริมาณขายส้ม
7 60 60 อปุ สงค์สว่ นเกิน = 40 ก.ก./วัน
5 75 35 อปุ สงค์สว่ นเกิน = 70 ก.ก./วัน
3 90 20

สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (40) _____________________โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปที ี่ 27

ราคา D S ราคา D อปุ ทานส่วนเกนิ S
11 11

9 9

7 E (จุดดลุ ยภาพ) 7 E
5S D 5S D
3 3

0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 ปรมิ าณสม้ 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 ปรมิ าณสม้

ราคา D S
11

9

7E
5
3 S อปุ สงคส์ ่วนเกนิ D

0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 ปริมาณส้ม

การกําหนดราคา การกําหนดราคาเชิงกลยุทธ์ในสังคมไทย การกําหนดราคาสินค้าโดยทั่วไปอาจไม่ได้
เชงิ กลยทุ ธ์ใน เปน็ ไปตามอุปสงคแ์ ละอุปทานเพยี งอยา่ งเดียว แต่ในทางปฏิบัติการกําหนดราคาน้ันยัง
สงั คมไทย ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของผู้ผลิตด้วย โดยเฉพาะในระบบเศรษฐกิจของไทยนั้นเป็น
ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ ซึ่งกลไกราคาไม่ได้ทําหน้าท่ีอย่างสมบูรณ์ การกําหนดราคา
การกาํ หนดคา่ จา้ ง สินค้าของผู้ผลิตอาจเป็นไปเพื่อการสร้างกําไร การสร้างยอดขายหรือการขยายตลาด
ข้อสังเกตผ้ผู ลิตจะไม่แข่งขันกันด้านราคา แต่หันมาพัฒนาสินค้า จัดทําบรรจุภัณฑ์ใหม่
ให้สวยงาม มีการกระจายตัวสินค้า ส่งเสริมการตลาด เช่น การต้ังราคาโดยใช้ส่วนลด
การตัง้ ราคาโดยใช้เลขค่ี การต้ังราคาขายควบคู่ การตง้ั ราคาเพอ่ื สรา้ งภาพลักษณ์ เปน็ ตน้

ค่าจ้างที่แทจ้ รงิ (real wage) คอื อาํ นาจซื้อของค่าจ้างท่ีเป็นตัวเงิน ซ่ึงมีท่ีมาจากการ
นําค่าจา้ งทีเ่ ป็นตัวเงินหารด้วยดัชนีราคา ถ้ากําหนดให้ระดับราคาสินค้าคงที่ แต่ค่าจ้าง
ที่เปน็ ตัวเงนิ เพมิ่ ขึ้น (พูดงา่ ยๆ ก็คือ ราคาของเท่าเดิม ขณะที่เงินเดือนเพิ่ม เราดีใจแน่)
ก็มีผลทําให้ค่าจ้างท่ีแท้จริงจะเพ่ิมข้ึน และถ้ากําหนดให้ค่าจ้างที่เป็นตัวเงินคงที่ แต่
ระดับราคาสินค้าเพิ่มสูงขึ้น (พูดง่ายๆ ก็คือ เงินเดือนเท่าเดิม แต่ราคาของแพงข้ึน น่ัน
คือความจริงในปัจจุบันใช่ไหม) ก็มีผลทําให้ค่าจ้างที่แท้จริงจะลดลง สรุปว่าค่าจ้างท่ี
แท้จริงจะสงู ขึ้นกต็ อ่ เมอื่ ค่าจา้ งที่เปน็ ตัวเงินสงู ขึ้นในสดั สว่ นทมี่ ากกวา่ ระดับราคาสินค้า.

การกําหนดค่าจ้างนั้นขึ้นกับอุปสงค์แรงงาน (demand of labour) และอุปทาน
แรงงาน (supply of labour) อุปสงค์แรงงาน ดูจากความต้องการซื้อแรงงานของ
นายจ้างเป็นหลักว่า ต้องการจ้างแรงงานมากน้อยเพียงใด อุปทานแรงงาน ดูจากการ
เสนอขายแรงงานของลูกจ้างตามอัตราค่าจ้างต่างๆ กัน ถ้าอุปสงค์แรงงานมากกว่า
อุปทานแรงงานในตลาดแรงงานประเภทใด ค่าจ้างของแรงงานประเภทน้ันจะสูง
ในทางตรงกันข้ามถ้าตลาดแรงงานประเภทใดมีอุปสงค์แรงงานน้อย แต่มีอุปทาน
แรงงานมาก ค่าจ้างของแรงงานประเภทนัน้ จะตํ่า.

โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27 _____________________สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (41)

การกําหนดค่าจ้างขั้นต่ํา เป็นการแทรกแซงกลไกราคาในตลาดแรงงานของรัฐบาล
การกําหนดค่าจ้างข้ันต่ําในประเทศไทยเปน็ การพจิ ารณาร่วมกนั ของไตรภาคีอันประกอบด้วย
ตัวแทนจากฝ่ายลูกจ้าง นายจ้าง และรัฐบาล อัตราค่าจ้างข้ันต่ําในประเทศไทยมีความ
แตกต่างกันไปในแตล่ ะทอ้ งท่ี การกาํ หนดคา่ จา้ งขน้ั ตา่ํ จะมีผลทําให้เกิดอุปทานแรงงาน
ส่วนเกิน ความต้องการจ้างแรงงานลดลง เพราะเมื่ออัตราค่าจ้างสูงขึ้น ลูกจ้างมี
ความต้องการทํางานมากขึ้น ในขณะที่นายจ้างจะจ้างแรงงานน้อยลง การกําหนดค่า
จ้างขนั้ ตา่ํ จะกอ่ ใหเ้ กดิ ปญั หาการว่างงานตามมา.

การจ้างงานเต็มท่ี (full employment) หมายถึง สภาวการณ์ที่คนท่ีต้องการทํางาน
ทกุ คนสามารถหางานทําได้ ณ ระดบั ค่าจา้ งทพ่ี งึ พอใจ การจ้างงานเตม็ ท่มี ิได้หมายความวา่
กําลังแรงงานทั้งหมดต้องมีงานทํา อาจยังมีแรงงานจํานวนหนึ่งว่างงานอยู่ แต่เป็น
การวา่ งงานโดยสมัครใจ หรอื เป็นการวา่ งงานช่ัวคราว.

การว่างงานแฝง (disguised employment) หมายถึง ผู้ที่มีงานทําแต่การทํางานน้ัน
ไม่ได้ทําให้ผลผลิตเพ่ิมข้ึน หรือเป็นการทํางานที่ตํ่ากว่าระดับความรู้ความสามารถ เช่น
นายมีเห็นว่าลูกชายน่ังอยู่เฉยๆ จึงให้ลงไปช่วยทํานา ถึงจะไม่ทําให้ได้ผลผลิตเพ่ิมขึ้น
กถ็ อื เปน็ การฝึกนิสยั ไมใ่ ห้เกยี จครา้ น หรือกรณนี ายโชคมีความรูร้ ะดบั ปริญญาตรี แต่หา
งานทเ่ี หมาะสมกบั ความร้คู วามสามารถไมไ่ ด้ จงึ ยอมไปเปน็ พนกั งานรักษาความปลอดภัย

การแทรกแซงราคา การกําหนดราคาข้ันต่ํา (minimum price) การท่ีรัฐบาลเข้ามากําหนดราคาขั้นตํ่า

โดยรฐั บาล หรอื ราคาประกนั ให้สงู กว่าราคาดุลยภาพ เพื่อชว่ ยเหลือผู้ผลิตให้ขายสินค้าได้ในราคา

การกําหนดราคา ที่สูงข้ึน เพราะราคาดุลยภาพหรือราคาตลาดในขณะน้ันต่ําเกินไปจนผู้ผลิตเดือดร้อน

ข้นั ตา่ํ สนิ ค้าทถี่ ูกกาํ หนดราคาขน้ั ตํา่ มกั ได้แก่สินคา้ เกษตรกรรม เช่น ขา้ วเปลือก มันสําปะหลัง

การกําหนดราคา ในการกาํ หนดราคาข้นั ตํ่า ณ ราคาประกัน ทําให้เกิดอุปทานส่วนเกินหรือภาวะผลผลิต

ขน้ั สงู ล้นตลาด รัฐจึงต้องรับซ้ือผลผลิตส่วนเกินทําให้สิ้นเปลืองงบประมาณมาก ปัจจุบัน

รัฐบาลอาจใช้วิธีอื่นในการแก้ปัญหา เช่น การลดปริมาณการผลิต หรือการให้เงิน

อุดหนุนแกเ่ กษตรกร

การกําหนดราคาข้ันสูง (maximum price) การท่ีรัฐบาลเข้ามากําหนดราคาข้ันสูง
หรือเพดานราคาให้ต่ํากว่าราคาดุลยภาพ เพื่อช่วยเหลือผู้บริโภคให้ซ้ือสินค้าได้ใน
ราคาท่ีถูกลง เมื่อเกิดภาวะเงินเฟ้อหรือสงคราม เช่น การควบคุมราคาน้ําตาลทราย
น้ํามัน เป็นตน้ การกาํ หนดราคาขน้ั สงู อาจทาํ ใหเ้ กิดอปุ สงคส์ ่วนเกินหรือการขาดแคลน
สินค้าทมี่ ีการควบคุมราคา เพราะปริมาณสินค้าท่ีผู้ขายนําออกขายมีจํานวนไม่เพียงพอ
กับความต้องการ รัฐจึงต้องใช้มาตรการเสริมด้วยวิธีการปันส่วน แต่ปัญหาที่จะเกิด
ตามมาคือตลาดมืด มีการลักลอบซื้อราคากันในราคาที่สูงกว่าราคาควบคุม สรุปว่า
ตลาดมืดก็คือการซื้อขายสินค้าท่ีละเมิดกฎหมายควบคุมราคา ตลาดมืดเกิดขึ้นเมื่อมี
การกาํ หนดราคาขนั้ สงู ทาํ ให้เกิดอุปสงค์สว่ นเกนิ ณ ระดับราคาควบคมุ .

สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (42) _____________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27

ข้อดแี ละข้อเสยี ของการแทรกแซงราคาของรัฐบาลในระบบเศรษฐกจิ
ข้อดี คือ นโยบายน้ีช่วยแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของกลุ่มบุคคลในสังคม ทําให้
เกิดการกระจายสวัสดิการสังคมได้ทั่วถึง เช่น การกําหนดราคาข้ันต่ําเพ่ือช่วยเหลือ
เกษตรกร การกําหนดค่าจ้างข้ันต่ําเพื่อช่วยเหลือแรงงาน การเก็บภาษี (taxation)
เพ่อื ลดการบริโภคสินค้าบางอย่างลง การให้เงินอุดหนุน (subsidy) เพ่ือส่งเสริมให้
มีการผลติ สนิ ค้าบางอยา่ งเพม่ิ ข้นึ
ข้อเสีย คือ ผลประโยชน์จากการแทรกแซงอาจตกอยู่กับกลุ่มคนจํานวนน้อย เช่น
กรณีทรี่ ัฐรบั ซอ้ื ข้าวเปลือกในราคาประกนั

P DS P D S
Pf อปุ ทานสว่ นเกิน Pb A

A B ราคาขนั้ ตํ่า

Pe ED Pe E
S
Pc C F ราคาขนั้ สงู
S
อปุ สงค์ส่วนเกิน D

0 Qd Qe Qs Q 0 Qs Qe Qd Q

เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดํารัส
ชี้แนะแนวทางการดําเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า 30 ปี ตั้งแต่
ก่อนเกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2540 และเมื่อภายหลังได้ทรงเน้นยํ้า
แนวทางแก้ไขเพอ่ื ใหร้ อดพ้นและสามารถดํารงอยู่ได้อย่างม่ันคงและย่ังยืนภายใต้กระแส
โลกาภิวัตน์และความเปลี่ยนแปลงต่างๆ ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย 3
คุณลกั ษณะพร้อมๆ กนั ดงั นี้
1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีท่ีไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่

เบยี ดเบยี นตนเองและผูอ้ ่ืน เช่น การผลิตและการบริโภคทอ่ี ยใู่ นระดับพอประมาณ.
2. ความมีเหตุผล หมายถงึ การตัดสินใจเก่ียวกับระดับความพอเพียงนั้นจะต้องเป็นไป

อย่างมเี หตผุ ล โดยพิจารณาจากเหตปุ จั จัยทเ่ี ก่ยี วข้อง ตลอดจนคํานึงถึงผลท่ีคาดว่า
จะเกิดขน้ึ จากกระทํานนั้ ๆ อย่างรอบคอบ.
3. การมีภูมิคุ้มกันในตัวท่ีดี หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการ
เปลย่ี นแปลงดา้ นตา่ งๆ ที่จะเกิดข้ึน โดยคาํ นึงถงึ ความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ
ที่คาดว่าจะเกดิ ขน้ึ ในอนาคตท้งั ใกลแ้ ละไกล.
เง่ือนไข การตัดสินใจและการดําเนินกิจกรรมต่างๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้นจะต้อง
อาศยั ทั้งความรู้และคณุ ธรรมเปน็ พื้นฐาน กลา่ วคอื
1. เง่อื นไขความรู้ เก่ียวกบั วชิ าการตา่ งๆ ทเ่ี กยี่ วขอ้ งอย่างรอบด้าน ความรอบคอบท่ีจะ
นําความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เช่ือมโยงกันเพ่ือประกอบการวางแผนและความ
ระมัดระวงั ในข้ันปฏิบตั .ิ
2. เงื่อนไขคุณธรรม มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซ่ือสัตย์สุจริต ความอดทน
ความเพยี ร ใช้สติปญั ญาในการดําเนินชีวติ ไม่โลภ และไม่ตระหน่ี

โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27 _____________________สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (43)

ทางสายกลาง

พอประมาณ
มเี หตุผล มภี ูมิคมุ้ กนั ในตวั ทีด่ ี

เงื่ อ น ไข ค ว า ม รู้ เงื่อ น ไข คุ ณ ธ ร ร ม

(รอบรู้ รอบคอบ ระมดั ระวัง) (ซื่อสตั ยส์ จุ ริต ขยันอดทน สตปิ ญั ญา แบง่ ปนั )

นาํ สู่

เศรษฐกจิ /สงั คม/ส่ิงแวดลอ้ ม/วัฒนธรรม
สมดลุ /มั่นคง/ย่งั ยืน

เกษตรทฤษฎใี หม่ เกษตรทฤษฎีใหม่ เป็นตัวอย่างการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงในภาคการเกษตร
สหกรณ์ โครงการต้นแบบของเกษตรทฤษฎีใหม่คือโครงการพัฒนาพ้ืนท่ีบริเวณวัดมงคลชัย
พัฒนาอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ อําเภอเมือง จังหวัดสระบุรี โดยมีการแบ่งพ้ืนที่ใน
อตั ราส่วน 30 : 30 : 30 : 10 กล่าวคือ ขุดสระน้ําและเล้ียงปลา 30 ส่วน ปลูกข้าว 30
สว่ น ปลูกพืชไร่พืชสวน 30 ส่วนและ 10 ส่วนสุดท้ายเป็นท่ีอยู่อาศัยและเลี้ยงสัตว์ การ
ประยุกต์ใช้เกษตรทฤษฎีใหม่ต้องอาศัยปัจจัยสําคัญ 2 ประการคือ การเตรียมความ
พร้อมของพืน้ ที่ และการบริหารจดั การที่ดี หลักการทฤษฎีใหมม่ ี 3 ขนั้ คอื
ข้ันที่ 1 การจัดสรรที่อยู่อาศัยและที่ทํากิน โดยการบริหารจัดการที่ดินให้เป็นระบบและ
ต้องมีน้ําเพียงพอท่ีจะทําการเพาะปลูกได้ตลอดปี การบริหารจัดการที่ดินและนํ้าจึงมี
ความสําคญั และทาํ ใหเ้ กษตรกรอยรู่ อดได.้
ขั้นที่ 2 การรวมพลังกนั ในรปู ของกล่มุ หรือสหกรณเ์ พอื่ การผลติ การตลาด การเป็นอยู่
สวสั ดกิ าร การศกึ ษา สังคมและศาสนา.
ข้ันท่ี 3 การให้กลุ่มหรือสหกรณ์ในชุมชนติดต่อประสานงานกับองค์กร ภาคเอกชน
แหล่งเงิน แหล่งพลังงาน เช่น ธนาคาร บริษัทนํ้ามัน เพ่ือมาช่วยลงทุนและพัฒนา
คุณภาพชวี ิตและพฒั นาอาชีพต่างๆ ให้กับกลุ่ม

สหกรณ์ คอื องคก์ รอิสระของบคุ คลซงึ่ รวมกันสมคั รใจตง้ั แต่ 10 คนข้นึ ไป มีการจัดต้ัง
และดําเนินการวิสาหกิจท่ีมีความเป็นเจ้าของร่วมกัน โดยกลุ่มบุคคลผู้มีความประสงค์
อย่างเดยี วกนั เพอื่ สนองความตอ้ งการและจดุ มุ่งหมายทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม
และมีการควบคมุ ตามแนวทางประชาธิปไตย.
สหกรณ์แห่งแรกของโลก คือ สหกรณ์รอชเดล ก่อต้ังจากกลุ่มทอผ้าท่ีเมืองรอชเดล
ประเทศอังกฤษเมื่อ ค.ศ. 1844 เป็นสหกรณ์ร้านค้าท่ีถือเป็นต้นแบบของสหกรณ์ทั่วโลก
มหี ลักปฏิบัติ เชน่ เปิดรับสมาชิกทวั่ ไป สมาชิกหนง่ึ คนออกเสยี งลงคะแนนได้เสียงเดียว
ขายสินค้าตามราคาตลาดและขายด้วยเงินสด เป็นต้น บิดาแห่งสหกรณ์ของโลกเป็น
ชาวองั กฤษช่ือ โรเบิรต์ โอเวน (Robert Owen)

สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (44) _____________________โครงการแบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ ปีท่ี 27

หลักการของระบบสหกรณ์
1. การเปดิ รบั สมาชกิ ท่ัวไปและด้วยความสมัครใจ
2. การควบคมุ โดยสมาชิกตามหลกั ประชาธปิ ไตย
3. การมสี ว่ นรว่ มทางเศรษฐกจิ โดยสมาชิก
4. การปกครองตนเองและความเปน็ อิสระ
5. การศึกษา การฝึกอบรมและข่าวสาร
6. การร่วมมอื ระหว่างสหกรณ์
7. ความเอ้อื อาทรต่อชุมชน

ส ห ก ร ณ์ ใ น ภ า ค 1. สหกรณ์การเกษตร : จัดตั้งเพื่อช่วยแก้ปัญหาของผู้ประกอบอาชีพทางการเกษตร

การเกษตร โดยจัดหาเงินกู้ อุปกรณ์การเกษตรในราคายุติธรรม จัดหาตลาดและต่อรองราคา

ผลผลติ ผลการเกษตรให.้

2. สหกรณ์ประมง : จัดตั้งเพื่อช่วยเหลือชาวประมงโดยจัดหาเงินกู้และให้ความรู้
เก่ียวกับการประกอบอาชพี .

3. สหกรณ์นิคม : จัดต้ังเพื่อจัดสรรที่ดินทํากินให้สมาชิก จัดหาเงินกู้ จัดหาตลาดและ
ใหค้ วามรู้แกส่ มาชกิ

สหกรณ์นอกภาค 1. สหกรณ์ร้านค้า : จัดต้ังเพ่ือให้สมาชิกซ้ือสินค้าในราคายุติธรรม และมีรายได้จาก

การเกษตร การนาํ สนิ ค้ามาจําหน่าย.

2. สหกรณ์ออมทรัพย์ : จัดต้ังเพื่อส่งเสริมการออมทรัพย์ของสมาชิกโดยการถือหุ้น
และฝากเงิน ให้บริการเงินกู้หรือบริการสินเช่ือแก่สมาชิกในอัตราดอกเบ้ียต่ํา.
(สินเชอ่ื = หนี้อันเกิดจากการติดต่อทางการค้าและการเงิน)

3. สหกรณ์บริการ : จัดตั้งเพ่ือจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการประกอบอาชีพให้แก่สมาชิก
บริการเงนิ กู้ จดั หาตลาดและชว่ ยเหลอื ดา้ นกฎหมายให้แก่สมาชกิ .

4. สหกรณ์เครดิตยูเน่ียน : จัดตั้งเพื่อช่วยเหลือสมาชิกผู้มีรายได้ไม่ประจําท่ีอยู่ใน
วงการเดียวกัน เช่น มีที่อยู่อาศัยในชุมชนเดียวกัน มีอาชีพการงานเดียวกัน เป็น
สมาชิกในสมาคมเดียวกัน สหกรณ์เครดติ ยูเนย่ี นใหบ้ ริการเงินฝาก บริการเงินกู้ และ
มุง่ พฒั นาชมุ ชนและสังคม ขอ้ สงั เกต สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนเดมิ เปน็ สหกรณ์ออมทรัพย์
ในชุมชน ความแตกต่างของสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนและสหกรณ์ออมทรัพย์คือ
สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนมักจัดตั้งตามแหล่งชุมชน หมู่บ้าน กลุ่มที่ทํากิจกรรมร่วมกัน
หรือกลุ่มสมาคมเดียวกัน แต่สหกรณ์ออมทรัพย์มักจัดตั้งขึ้นในหน่วยงาน โดยมาก
สมาชิกจะมเี งนิ เดือนประจําและถูกหักเป็นเปอร์เซนต์จากเงินเดือนเพื่อสะสมเป็นค่าหุ้น
ทุกๆ เดือน

โครงการแบรนด์ซมั เมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27 _____________________สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (45)

เศรษฐศาสตรม หภาค

GDP GNP PCI ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP : Gross Domestic Product) มูลค่ารวม
ณ ราคาตลาดของสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายทผ่ี ลิตขนึ้ ภายในประเทศในรอบ 1 ปี
ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (GNP : Gross National Product) มูลค่ารวม ณ
ราคาตลาดของสินค้าและบริการข้ันสุดท้ายที่ผลิตข้ึนโดยทรัพยากรของประเทศ

ในรอบ 1 ปี

GNP = GDP + รายไดส้ ุทธิจากตา่ งประเทศ

รายไดส้ ุทธิจากต่างประเทศ = รายได้จากทรัพยากรของประเทศเราในต่างประเทศ -
รายได้จากทรพั ยากรของตา่ งประเทศในประเทศเรา
รายได้เฉล่ียต่อบุคคล (PCI : Per Capita Income) คํานวณจากรายได้ประชาชาติ

(GDP หรือ GNP) หารด้วยจํานวนประชากรทั้งประเทศ รายได้เฉล่ียต่อบุคคลหรือ

ต่อหัวใช้เปรยี บเทียบฐานะทางเศรษฐกิจของแตล่ ะประเทศ

ก า ร พั ฒ น า ท า ง การพัฒนาทางเศรษฐกิจ (economic development) คือ การสร้างความ

เศรษฐกิจ เจรญิ เติบโตทางเศรษฐกิจพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างท้ังทางเศรษฐกิจ สังคม

การเจริญเติบโตทาง และการเมืองให้อยู่ในสภาวะที่เหมาะสม หรือการทําให้ระดับรายได้ที่แท้จริงเฉลี่ยต่อ

เศรษฐกิจ บุคคลเพ่ิมขึ้นอย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน จุดมุ่งหมายที่สําคัญของการพัฒนา
ทางเศรษฐกิจคือ เพื่อยกระดับมาตรฐานการครองชีพหรือความอยู่ดีกินดีของประชาชน
ทําให้เกดิ การกระจายรายไดท้ ่ีเป็นธรรม และลดความเหลอ่ื มล้ําด้านคณุ ภาพชวี ิต.

การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (economic growth) คือ การขยายตัวของกิจกรรม

ทางเศรษฐกจิ ต่างๆ ภายในระบบเศรษฐกิจหนึง่ การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจจึงเป็น
ส่ิงท่ีชี้ถึงศักยภาพในการผลิตหรือการสร้างรายได้ของประเทศในรอบเวลาหน่ึง
ตวั ช้ีวัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกจิ ทส่ี ําคัญได้แก่ GDP GNP PCI

แผนพัฒนาเศรษฐกิจ y แผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ. 2504-2509) เป็นแผนที่กําหนดวัตถุประสงค์เดียว
และสังคมแห่งชาติ คือเร่งรัดอตั ราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ มีการวางแผนจากหน่วยงานส่วนกลาง

จากบนส่ลู ่าง แผนนเี้ น้นการลงทุนของรัฐบาลในโครงสร้างพื้นฐาน (infrastructure)
กิจการสาธารณปู โภคตา่ งๆ ไดแ้ ก่ ถนน ไฟฟ้า ประปา

y แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2510-2514) ยังเน้นการขยายอัตราความ
เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเป็นหลัก การพัฒนาสังคมถูกมองในเชิงเพ่ือสนับสนุน
การพัฒนาทางเศรษฐกิจ เร่ิมกระจายการวางแผนไปสู่ระดับกระทรวง เน้นการ
วเิ คราะหเ์ ปน็ รายสาขา

y แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 3 (พ.ศ. 2515-2519) ยังเน้นการขยายอัตราความ
เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ให้ความสําคัญกับการรักษาเสถียรภาพทางการเงิน
มากขึ้น มีการกําหนดนโยบายประชากรเป็นคร้ังแรก แต่เน้นเฉพาะด้านการลด
อัตราการเพ่ิมประชากรเทา่ นัน้ .

สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (46) _____________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27

แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 4 (พ.ศ. 2520-2524) เน้นการฟ้ืนฟูเศรษฐกิจของประเทศ
ที่ม่งุ ขยายการผลิตสาขาเกษตร ปรับปรุงโครงสร้างอุตสาหกรรมการผลิตเพ่ือส่งออก
กระจายรายได้และการมีงานทําในภูมิภาค มีการเร่งรัดการปฏิรูปท่ีดิน จัดสรร
แหล่งน้ําในประเทศ อนุรักษ์ทะเลหลวง สํารวจและพัฒนาแหล่งพลังงานใน
อา่ วไทยและภาคใต้ฝง่ั ตะวนั ออก.

แผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี 5 (พ.ศ. 2525-2529) การวางแผนยังมีลักษณะจากบนไปล่าง
แตเ่ รมิ่ มีการกระจายส่รู ะดบั ภมู ิภาคและพ้นื ที่ ปรับแนวนโยบายท่ีเน้นยึดพื้นท่ีเป็น
หลกั ในการวางแผน เช่น พื้นที่เป้าหมายเพ่ือพัฒนาชนบท พ้ืนที่ชายฝ่ังทะเลภาค
ตะวนั ออก มกี ารระดมความร่วมมือจากภาคเอกชน

แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2530-2534) เน้นการขยายตวั ของระบบเศรษฐกิจ
ควบคู่ไปกับการรักษาเสถียรภาพของการเงิน การคลัง เน้นการเพ่ิมบทบาทของ
องค์กรประชาชนในท้องถ่ินเพ่ือพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เร่ิม
แผนหลักการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีแผนพัฒนารัฐวิสาหกิจ การ
พัฒนาเมืองและพ้ืนที่เฉพาะ กระจายความเจริญสู่ภูมิภาค ขยายขอบเขตพัฒนา
ชนบทครอบคลมุ ท่ัวประเทศ.

แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 7 (พ.ศ. 2535-2539) เร่ิมแนวความคิดการพัฒนาท่ีย่ังยืน
เน้นความสมดลุ 3 ประการคือ ความเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกจิ การกระจายรายได้
การพฒั นาทรัพยากรมนุษย์ คณุ ภาพชวี ิตและส่งิ แวดลอ้ ม.

แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 8 (พ.ศ. 2540-2544) เน้นพัฒนาศักยภาพคนโดยให้คน
เป็นศูนย์กลางการพัฒนา (เดิมคนเป็นเพียงปัจจัยการผลิต) มีการวางแผนจาก
ล่างสู่บน แตใ่ นปลาย พ.ศ. 2540 ประเทศไทยตอ้ งประสบกบั วิกฤตเศรษฐกิจ.

แผนพฒั นาฯ ฉบับท่ี 9 (พ.ศ. 2545-2549) อันเชิญปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
มาเป็นแนวทางการพัฒนา ซ่ึงยังคงเน้นคนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนาสืบ
ต่อเนอ่ื งมา โดยมวี สิ ัยทศั นค์ อื สงั คมทีเ่ ข้มแขง็ และมีดลุ ยภาพ ซ่งึ หมายถึงสังคม
คณุ ภาพ สังคมแห่งภมู ปิ ญั ญาและการเรียนรู้ และสงั คมสมานฉันท์และเอ้ืออาทร
ตอ่ กัน.

แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554) ดําเนินการตามปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงให้คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนาสืบต่อเนื่องมา โดยมีวิสัยทัศน์คือ
สงั คมอยู่เย็นเป็นสุขรว่ มกัน

โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปีท่ี 27 _____________________สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (47)

แผนพฒั นาฯ ฉบับท่ี 11 แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 11 ได้จัดทําข้ึนในช่วงเวลาท่ีประเทศไทยต้องเผชิญกับ
(พ.ศ. 2555-2559) สถานการณท์ างสงั คม เศรษฐกิจ และสงิ่ แวดล้อมทีเ่ ปล่ียนแปลงไปอย่างรวดเร็วและ

ส่งผลกระทบอยา่ งรุนแรงกว่าช่วงที่ผ่านมา ในระยะแผนฯ ฉบับท่ี 8-10 สังคมไทยได้
อัญเชญิ หลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ไปประยุกต์ใช้อย่างกว้างขวางในทุกระดับ
ตั้งแต่ระดับปัจเจก ครอบครัว ชุมชน สังคม จนถึงระดับประเทศ ซึ่งได้มีส่วน
เสริมสร้างภูมิคุม้ กนั และชว่ ยให้สังคมไทยสามารถยืนหยัดอยู่ได้อย่างม่ันคงท่ามกลาง
กระแสการเปล่ียนแปลงดังกล่าว ในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 11 ทุกภาคส่วนใน
สังคมไทยเห็นพ้องร่วมกันน้อมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นปรัชญา
นําทางในการพัฒนาประเทศอย่างต่อเนื่อง เพื่อมุ่งให้เกิดภูมิคุ้มกันและมีการบริหาร
จัดการความเสย่ี งอยา่ งเหมาะสม เพื่อใหก้ ารพัฒนาประเทศสคู่ วามสมดลุ และย่ังยืน

ในการจัดทําแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 ครั้งน้ี สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการ
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ได้ให้ความสําคัญกับการมีส่วนร่วมของภาคี
การพฒั นาทกุ ภาคส่วน ทง้ั ในระดบั ชุมชน ระดับภาค และระดับประเทศในทุกข้ันตอน
ของแผนฯ อยา่ งกวา้ งขวางและตอ่ เน่อื ง เพื่อร่วมกันกําหนดวิสัยทัศน์และทิศทางการ
พฒั นาประเทศ รวมทง้ั รว่ มจัดทาํ รายละเอยี ดยุทธศาสตรข์ องแผนฯ เพ่ือมุ่งสู่ “สังคม
อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ด้วยความเสมอภาค เป็นธรรม และมีภูมิคุ้มกันต่อการ
เปลยี่ นแปลง”
วสิ ัยทศั น์ “สังคมอยรู่ ่วมกันอยา่ งมคี วามสขุ ดว้ ยความเสมอภาค เป็นธรรมและมี
ภมู คิ ุ้มกนั ตอ่ การเปล่ยี นแปลง”
พนั ธกิจ
1) สร้างสังคมเปน็ ธรรมและเป็นสังคมทม่ี ีคณุ ภาพ ทุกคนมีความมน่ั คง
2) พัฒนาคุณภาพคนไทยให้มีคณุ ธรรม เรยี นรตู้ ลอดชีวิต มีทกั ษะ
3) พฒั นาฐานการผลิตและบรู ณาการให้เข้มแขง็ และมีคณุ ภาพบนฐานความรู้
4) สร้างความมน่ั คงของฐานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม
วตั ถปุ ระสงค์
1) เพอื่ เสริมสร้างสงั คมทเ่ี ปน็ ธรรมและเปน็ สังคมสนั ตสิ ขุ
2) เพ่ือพฒั นาคนไทยทกุ กลุม่ วยั อย่างเปน็ องคร์ วมทง้ั ทางกาย ใจ
3) เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจให้เติบโตอย่างมเี สถียรภาพ คุณภาพ และยั่งยนื
4) เพอื่ บรหิ ารจัดการทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ มใหเ้ พยี งพอ
เปา้ หมายหลกั
1) ความอยู่เย็นเป็นสุขและความสงบสุขของสังคมไทยเพิ่มข้ึน ความเหล่ือมลํ้าใน

สงั คมลดลง
2) คนไทยมีการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง มีสุขภาวะดีขึ้น มีคุณธรรม จริยธรรมและ

สถาบันทางสังคมมีความเข้มแข็งมากขึ้น
3) เศรษฐกจิ เตบิ โตในอัตราทเี่ หมาะสมตามศักยภาพของประเทศ
4) คณุ ภาพสิง่ แวดล้อมอยูใ่ นเกณฑ์มาตรฐาน

สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (48) _____________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27


Click to View FlipBook Version