The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือเตรียมสอบโอเน็ต O-NET ม.3 วิชาภาษาไทย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by BS_Library, 2019-12-10 23:22:23

คู่มือเตรียมสอบโอเน็ต O-NET ม.3 วิชาภาษาไทย

คู่มือเตรียมสอบโอเน็ต O-NET ม.3 วิชาภาษาไทย

Keywords: ภาษาไทย

รหสั วชิ า ๙๑ ภาษาไทย หนา้ ๒๒

วนั ศกุ รท์ ่ี ๑๓ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๕๒ เวลา ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น.

๔๙. คำวา่ “ชกั ” ในสำนวนชกั หนา้ ไมถ่ งึ หลงั มคี วามหมายเดยี วกบั ขอ้ ใด
๑. ชักสีหน้า
๒. ชักดิ้นชักงอ
๓. ชักค่านายหน้า
๔. ชกั ลาก

๕๐. บคุ คลใดนำขอ้ คดิ ทไ่ี ดจ้ ากเรอ่ื งไปใชไ้ ดเ้ หมาะสมทส่ี ดุ
๑. กอ่ นซอ้ื ผา้ ตดั กระโปรงทกุ ครง้ั อรสมจะซอ้ื ผา้ เผอ่ื ไว้ ๑ เมตรเสมอ
๒. อรชนุ ลาออกจากงานประจำทท่ี ำอยู่ เพอ่ื ไปเปดิ รา้ นขายของชำทบ่ี า้ น
๓. อรนุชทำบัญชีรายรับรายจ่ายของตนเองเพื่อตัดค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็น
๔. อรดขี อเจา้ นายเปลย่ี นวนั รบั เงนิ เดอื นเปน็ วนั ท่ี ๑๕ ของทกุ เดอื น

รหสั วิชา ๙๑ ภาษาไทย/คณติ ศาสตร หนา ๒

วันพฤหัสบดที ี่ ๔ กุมภาพนั ธ ๒๕๕๓ เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๑.๐๐ น.

ตอนที่ ๑ ภาษาไทย : จาํ นวน ๕๐ ขอ (รวม ๑๐๐ คะแนน)

สว นที่ ๑ : แบบระบายตัวเลอื ก แตละขอ มคี าํ ตอบท่ีถูกตองทสี่ ดุ เพียงคําตอบเดียว
จํานวน ๕ ขอ (ขอ ๑ - ๕) : ขอละ ๒ คะแนน

อา นเร่อื งท่กี ําหนดใหตอ ไปน้ี แลวตอบคําถามขอ ๑ – ๕

การทอผา เปนงานศลิ ปหัตถกรรมพื้นบานในท่วั ทุกภาคของประเทศไทยมาตั้งแต
สมยั โบราณ และมักมีเอกลักษณเ ฉพาะของทอ งถิน่ ทที่ าํ ใหดูสวยงามและแปลกตาแตกตาง
กนั ไป ในท่นี ้จี ะนําศลิ ปหัตถกรรมการทอผา บางชนดิ ท่ไี ดร ับการสนับสนนุ สง เสรมิ จาก
มลู นิธิสงเสรมิ ศลิ ปาชีพฯ มาอธบิ ายเพ่อื เปน ตวั อยา ง คอื การทอผา ไหม และการทอผา จก

การทอผาไหม ผา ไหมเปน งานหัตถศิลปท ่ีรูจ กั กันทวั่ โลกดวยคุณภาพท่มี เี อกลักษณ
ในความงดงาม และความคงทนของเนอ้ื ผา มีลวดลายและเคลด็ ลับวิธที ีแ่ ตกตางกันไป
ตามแตล ะภาค ผา ไหมมดั หมี่ เปน ภมู ปิ ญญาชาวบานภาคอีสาน ทีส่ ัง่ สมและถา ยทอดตอๆ
กันมาภายในครอบครัว

ผา ไหมมดั หม่ีเปน ผา ท่ที อขน้ึ จากเสน ใยทีผ่ านการมดั เพื่อสรางลวดลายกอนยอ มสี
และทอ เวลายอมสวนท่ีถูกมดั ไวก จ็ ะไมต ดิ สีจึงทาํ ใหเกิดลวดลาย ถา ตอ งการหลายสีกต็ อง
มดั และยอมทบั หลายครง้ั จนกวา จะไดสคี รบตามตอ งการ หลงั จากยอมสีแลว กจ็ ะแกเ ชือก
ทีม่ ัดออก นาํ เสน ดายกรอเขากบั หลอด เพือ่ ทอเปนผืนผา ตอไป การทอผามัดหมม่ี ีทัง้ ที่
เรียกวา มัดหมด่ี า ยเสน ยนื มัดหม่ดี ายเสน พงุ และมดั หมผี่ สม

รหสั วชิ า ๙๑ ภาษาไทย/คณติ ศาสตร หนา ๓

วันพฤหัสบดีที่ ๔ กุมภาพนั ธ ๒๕๕๓ เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๑.๐๐ น.

ประเทศไทยมีการทอผามัดหมม่ี าเปนเวลานานแลว โดยเฉพาะในภาคอีสาน
ชาวบา นจะทอผามัดหม่ีกนั ในหลายทอ งทแ่ี ละสอนตอๆ กนั มาในครอบครัว เมื่อ
สมเดจ็ พระนางเจาฯ พระบรมราชนิ นี าถ เสดจ็ พระราชดําเนนิ ไปทรงเยี่ยมราษฏรใน
ภาคอสี าน ทอดพระเนตรเหน็ หญงิ ชาวบา นสงู อายุทมี่ ารอรับเสด็จนุงผา ไหมมดั หมท่ี ่ีผลิต
จากชาวบาน และทรงตรวจคุณภาพผาไหมพรอ มทั้งพระราชทานคําแนะนาํ ใหช าวบา น
พัฒนาการทอใหมีคณุ ภาพดีขนึ้ หลงั จากนน้ั จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหม ีการ
ฝก สอนการทอผาไหมมดั หม่ใี นศูนยศ ลิ ปาชพี โครงการศิลปาชีพ และกลมุ ศลิ ปาชีพ
ทตี่ งั้ ขึน้ ในทต่ี างๆ

การทอผา จก ผา จกเปน ผา ทอผนื แคบๆ อาจทอขึน้ จากฝา ยหรอื ไหม หรอื ผสมกันทง้ั
๒ อยา งก็ได คาํ วา "จก" เปน วธิ กี ารทอผาใหเกิดลวดลายข้ึน โดยการใชไ มป ลายแหลม หรอื
ขนเมน งัดซอ นดา ยยืนขน้ึ และใชด า ยสสี อดไปตามรอยซอ นนัน้ การสอดดายสีตางๆ ไป
ตามรอยงดั ซอนในจงั หวะตา งๆ กนั ทําใหเกดิ ลวดลายคลายผาปก ดังนนั้ การทอผา จกจงึ
เปนการทอและการจกลายไปพรอ มๆ กนั ทําลวดลายสอดสลับดว ยไหมหรอื ดา ยสีตา งๆ ผา
ชนิดนน้ี ยิ มใชเปนสว นประกอบตกแตงผาผืนใหญ โดยเฉพาะผา ซิน่ ซงึ่ เมอ่ื ประกอบดว ย
ผาจกแลว ก็เรยี กวา ผา ซิ่นตีนจก

การทอผาจกตองใชค วามประณตี มาก ผาหนง่ึ ผนื กวาจะทอเสร็จใชเ วลาหลายเดือน
นกั วชิ าการดา นผา จงึ มกั จดั ใหก ารทอผา จกเปนสุดยอดของการทอผา

ศิลปะการทอผา จกสบื ทอดมาจากวฒั นธรรมของชาวไทยเช้ือสายลาวพวน ซง่ึ ตง้ั
บานเรือนอยทู ่ตี าํ บลหาดเสีย้ ว อาํ เภอศรีสชั นาลัย จงั หวดั สโุ ขทยั ดังนนั้ จงึ ถือเปน ตน แบบ
ของการทอผา ชนิดนี้ เดมิ มกั เปนลายหนากระดาน หรือลายแถบคั่นเปน ชนั้ ๆ ตอ มาไดมี
การคดิ ดัดแปลงเปนลวดลายและสสี นั ใหหลากหลายมากขนึ้ และจากการสนบั สนนุ ของ
มลู นิธิสง เสรมิ ศิลปาชพี ฯ ในปจจบุ ันไดม ีการทอผาจกเกิดขึน้ หลายจังหวัดในภาคเหนอื
เชน อําเภอแมแจม จังหวดั เชยี งใหม และอําเภอลองจงั หวดั แพร

รหสั วชิ า ๙๑ ภาษาไทย/คณติ ศาสตร หนา ๔

วันพฤหสั บดีท่ี ๔ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๕๓ เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๑.๐๐ น.

๑. เพราะเหตใุ ดจึงเรยี กผา ไหมชนดิ หนง่ึ วา "ผาไหมมดั หม"ี่
๑. เพราะกรรมวิธกี ารตมเสนไหมเปนกรรมวิธเี ดียวกันกับการตมเสนหมี่
๒. เพราะเสนไหมท่นี ํามาทอเลก็ บาง และกลมคลา ยลกั ษณะของเสนหม่ี
๓. เพราะความสวยงามของผา ไหมชนิดน้ีเกดิ จากเทคนคิ การมดั ยอ มเสน ไหม
๔. เพราะผาไหมชนิดน้มี ตี นกาํ เนิดจากหมูบานมดั หม่ี ทางภาคอสี านของไทย

๒. คาํ วา "ดา ยเสนยืน" ในยอหนาที่ ๓ หมายถึงสิง่ ใด
๑. เสน ไหมแนวตงั้ ท่ใี ชเปน แกนในการทอผา
๒. เสน ไหมแนวนอนทีใ่ ชขดั กับเสน แนวตัง้
๓. เสน ไหมที่มดั ยอมใหเกดิ ลวดลายแลว
๔. เสนไหมที่ใชใ นการพงุ เพื่อวดั ขนาดผา

๓. ขอความขา งตน โดดเดนในการใชโ วหารประเภทใดในการเขยี น
๑. บรรยายโวหาร
๒. พรรณนาโวหาร
๓. สาธกโวหาร
๔. อุปมาโวหาร

รหสั วชิ า ๙๑ ภาษาไทย/คณติ ศาสตร หนา ๕

วันพฤหสั บดที ี่ ๔ กุมภาพนั ธ ๒๕๕๓ เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๑.๐๐ น.

๔. จากขอความขา งตนขอ ใด สรุปไดไมถูกตอ ง
๑. การทอผาเปนงานหตั ถศิลปข องภาคเหนอื และภาคอสี านของไทย
๒. มูลนิธศิ ิลปาชพี สงเสริมและสนบั สนุนใหชาวบา นทอผา เปน อาชีพเสรมิ
๓. การสรางลายผา ดว ยเทคนิคการจกตองอาศยั ระยะเวลาในการผลิต
๔. มูลนธิ ศิ ิลปาชีพมกั สง เสริมใหชาวบา นพัฒนาสินคา ใหมีคณุ ภาพดขี ึ้น

๕. จากขอ ความขา งตนงานทอผา เปน งานหัตถศลิ ปทแี่ สดงใหเหน็ คุณลกั ษณะประการใด
ของคนไทยไดดีทสี่ ุด
๑. คนไทยเปนคนรกั สวยรกั งามจงึ ออกแบบเสื้อผา เครอื่ งแตงกายใหสวยงาม
๒. คนไทยมีความคิดรเิ ริ่มสรา งสรรคจงึ คิดวธิ ีการทอผา ใหม ลี ักษณะเฉพาะถิ่น
๓. คนไทยมกั ไมปลอยใหเ วลาวางผา นไปอยา งไรป ระโยชนจ งึ ทําใหเกดิ งาน
หตั ถกรรม
๔. คนไทยยอมรับวฒั นธรรมท่ีหลากหลายจึงทาํ ใหม ธี รรมเนียมประเพณี
แตกตา งกนั

รหัสวชิ า ๙๑ ภาษาไทย/คณิตศาสตร หนา ๖

วนั พฤหัสบดที ี่ ๔ กุมภาพันธ ๒๕๕๓ เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๑.๐๐ น.

สวนที่ ๒ : แบบระบายตวั เลอื ก แตละขอ มีคําตอบทถี่ กู ตอ งทส่ี ุดเพยี งคําตอบเดยี ว
จํานวน ๔๐ ขอ (ขอ ๖ - ๔๕) : ขอ ละ ๑.๕ คะแนน

อา นขอ ความตอ ไปนี้ แลวตอบคําถาม ขอ ๖ - ๗

การปอ งกันไขหวัดใหญ ๒๐๐๙
๑. ลา งมือบอย ๆ ดว ยน้าํ และสบูหรือแอลกอฮอลเ จล เพื่อฆาเชือ้ โรค
๒. หลีกเลย่ี งการคลุกคลี ใกลชดิ กับผปู ว ยไขหวดั หรอื ในทีช่ มุ ชนหนาแนน หากจาํ เปน

ใหส วมหนา กากอนามยั เพื่อปองกนั การตดิ เชอื้
๓. ปด ปาก ปด จมกู ดวยกระดาษทิชชู เมอ่ื ไอ จาม และตอ งลางมือทกุ ครั้ง
๔. หลกี เล่ียงการใชของรว มกนั เชน แกว นํา้ หลอดดูดนํา้ ชอ น ผา เช็ดหนา ผาเช็ดตัว

รว มกบั ผอู นื่
๕. ดูแลสุขภาพรา งกายใหแขง็ แรงดว ยการออกกําลงั กายอยา งสมํ่าเสมอ กินอาหารให

ครบ ๕ หมู และพกั ผอ นใหเ พียงพอ
๖. ติดตามคําแนะนําของกระทรวงสาธารณสุขอยา งใกลช ิด

๖. วิธีปฏิบตั ติ นในขอใดทีเ่ ปนพ้ืนฐานของการปองกันโรคโดยทว่ั ไป
๑. ขอ ๑
๒. ขอ ๔
๓. ขอ ๕
๔. ขอ ๖

รหัสวิชา ๙๑ ภาษาไทย/คณิตศาสตร หนา ๗

วันพฤหัสบดที ี่ ๔ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๕๓ เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๑.๐๐ น.

๗. บุคคลในขอใดทป่ี ฏบิ ัติตนตามแนวทางการปอ งกนั โรคไขหวัดใหญ ๒๐๐๙
ไดอ ยา งถูกตอง
๑. รจุ นพกแอลกอฮอลเ จลและหนา กากอนามัยตดิ ตัวเสมอเมื่อตอ งไปในท่ชี ุมชน
หนาแนน
๒. อานนทใ ชชอนกลางตักอาหารเสมอจนเปน นสิ ยั เม่อื ตองรบั ประทานอาหารกับผอู ่ืน
๓. อภชิ ญากนิ อาหารใหครบ ๕ หมู เพ่อื ใหม แี รงพอจะทํางานทง้ั คนื โดยไมย อมนอน
๔. ฤทธิ์เกบ็ ตัวอยทู ่บี าน ไมออกไปเรียนแตคอยติดตามขาวอยา งใกลช ดิ เพราะกลวั จะ
ติดโรค

๘. “ถึงแมวา สภาวะแวดลอมในปจจบุ ัน จะกดดนั หรอื กอ ใหเกิดความเครียดมากเพียงใด
กต็ าม หากเรามีรอยยิ้ม หวั ใจของเรากจ็ ะเปดกวา ง มมี ุมมองใหม ๆ พรอ มทจ่ี ะแกไข
ปญหาตาง ๆ ท่ีเขา มา ยิ้มใหก นั และกนั ย้มิ อยางสดใส ยิ้มอยา งจริงใจ ความสุขเล็ก ๆ
นอ ย ๆ ก็จะมารายลอ มอยรู อบตัว ดังนนั้ มาทําใหใบหนาของพวกเราเลอะไปดวย
รอยยม้ิ กันเถอะ”

ขอความขา งตน ควรจัดอยใู นสวนใดของเรียงความเร่อื ง “อยากใหทกุ คนหนาเลอะ”
๑. คํานาํ
๒. เน้อื เรอื่ ง
๓. สรปุ
๔. คาํ นําหรอื สรปุ

รหัสวชิ า ๙๑ ภาษาไทย/คณติ ศาสตร หนา ๘

วันพฤหสั บดีท่ี ๔ กุมภาพันธ ๒๕๕๓ เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๑.๐๐ น.

๙. ขอใดเปน การเขียนเชงิ อธิบาย
๑. ดกึ ด่นื คืนนี้ ลมหนาวพัดโชยมา ฉันมองไปท่ขี อบฟาเนิน่ นาน
๒. ปรุงรสใหแ ซบหนอ ใสม ะละกอลงไป ออ อยา ลมื ใสก งุ แหงปน ของดี
๓. ใหแ สงสกุ ใส ไดเ ปนเสมือนดวงตา คอยสอ งมองเธอดวยแววตาแหง ความภักดี
๔. ไมต องหวงวาฉันเปล่ียนหัวใจ ฉนั จะเปน อยา งนี้ จะรักเธอตลอดไป

๑๐. ขอ ใดเขยี นอางองิ แหลง ท่ีมาของขอ มูลในการเขียนรายงานไดถ กู ตอง
๑. ดวงใจ ไทยอบุ ญุ . ๒๕๔๙. ทกั ษะการเขียนภาษาไทย. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ
จุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลัย.
๒. ประภาศรี สหี อําไพ. ๒๕๓๑. การเขยี นแบบสรางสรรค. สํานักพมิ พวัฒนาพานชิ :
กรงุ เทพฯ.
๓. ชาญณรงค พรรงุ โรจน. ความคิดสรา งสรรค. โรงพมิ พจฬุ าลงกรณม หาวทิ ยาลยั :
กรงุ เทพฯ, ๒๕๔๖.
๔. บันลอื พฤกษะวัน. พฒั นาทกั ษะการเขยี นเชงิ สรางสรรค. ไทยวัฒนาพานชิ :
กรงุ เทพฯ, ๒๕๓๓.

รหัสวิชา ๙๑ ภาษาไทย/คณิตศาสตร หนา ๙

วนั พฤหสั บดีท่ี ๔ กุมภาพนั ธ ๒๕๕๓ เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๑.๐๐ น.

การเขา รบั ราชการใน ประวัติความ
สมัยรตั นโกสนิ ทร เปน มาในวัยเด็ก
ตอนตน

จดุ หกั เหในชีวติ ผลงานสําคัญ
นิราศพระบาท พระอภัยมณี

๑๑. แผนผงั ความคดิ ขางตน ควรเปน องคป ระกอบของเรือ่ งใด
๑. ชวี ประวตั ขิ องบคุ คลสําคัญ
๒. ชวี ิตกวเี อก : สนุ ทรภู
๓. บุคคลในประวัติศาสตรไทย
๔. วรรณคดชี น้ิ เอกของสนุ ทรภู

รหัสวชิ า ๙๑ ภาษาไทย/คณติ ศาสตร หนา ๑๐

วันพฤหสั บดที ่ี ๔ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๕๓ เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๑.๐๐ น.

๑๒. บคุ คลใดรบั สารดว ยการฟงไดอยา งสัมฤทธ์ิผล
๑. สม เปน ท่รี ักของเพือ่ น แมว าเพื่อนจะตอ วา ไมพ อใจเรื่องใด สม ก็ยังย้มิ รบั ทุก
อารมณของเพอ่ื นไดเ สมอ
๒. สวย เปนทีช่ น่ื ชมของเพอ่ื น เพราะเพอื่ นส่งั อะไรสวยกไ็ มเ คยขัดของ จะเชื่อฟง
และปฏบิ ตั ิตามเสมอ
๓. ปลา ไมค อยมใี ครสนใจ เพราะเวลาใครพูดอะไร เธอกจ็ ะฟงอยา งตง้ั ใจ แตไ ม
เคยปฏิบัตสิ ักคร้งั
๔. ปนุ ไมคอ ยสนใจคนทีก่ ลา วตกั เตอื น เพราะรูส ึกวา เสยี เวลาและคดิ เสมอวาคน
เหลา น้ีคอยแตอ ิจฉา

๑๓. ขอใดไมใ ชหลกั ปฏบิ ัติในการพูดทเ่ี หมาะสม
๑. ผูพูดควรเลือกเรื่องท่ีตนเองมีความรู ถนัดและสนใจในการพูด
๒. การวิเคราะหผูฟง เปนข้ันตอนสาํ คญั ในการพดู ทไ่ี มควรละเลย
๓. ผูพูดท่ไี มเตรยี มเนื้อหาแลว พูดได ถือวา เปน อจั ฉริยะทางการพดู
๔. การแตง กายเปน ส่งิ หนึ่งในการเสรมิ บุคลกิ ภาพใหผ พู ดู โดดเดน

รหัสวิชา ๙๑ ภาษาไทย/คณติ ศาสตร หนา ๑๑

วนั พฤหัสบดีท่ี ๔ กุมภาพันธ ๒๕๕๓ เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๑.๐๐ น.

๑๔. หากนักเรียนไดรับมอบหมายใหพูดตอนรับบุคคลที่มาเย่ียมชมโรงเรียน ขอใดไมใช
ประเดน็ สาํ คัญของเนื้อหาทจ่ี ะตองนาํ เสนอ
๑. ประวตั คิ วามเปน มาของโรงเรยี น
๒. ความรูส ึกยินดีตอ การเขา เยีย่ มชม
๓. การแกไขปญ หาทเี่ กิดข้นึ ภายในโรงเรียน
๔. จุดเดนของการพัฒนาโรงเรียนทผ่ี านมา

๑๕. ขอ ใดใชภาษาในการพดู ไดอ ยา งเหมาะสมและแสดงมารยาทท่ีดี
๑. ไมว าใครก็สามารถพบเจอความผิดหวงั ได แตท ายท่สี ุดอยา ทอแทแ ลว กัน
๒. คนอยา งเรา ผิดหวงั ซะบางก็ดี ทําอะไรมั่นใจเหลอื เกนิ จะไดเ ปน บทเรียน
๓. โตแลว ถาผิดหวังแคน ้ี ทนไมไ ด มชี วี ิตอยูตอ ไปไมไ ด ก็ไมต องทําอะไรแลว
๔. พยายามเขาละกัน ผดิ หวังเปนเร่อื งเล็ก ๆ ถา ฟา มตี า คงเหน็ ความตง้ั ใจนอย ๆ บาง

๑๖. คาํ ในขอ ใด มวี ธิ ีการสรางคําแตกตางจากขอ อื่น
๑. ปวดราว ปวดเมอ่ื ย
๒. บอกบท บอกใบ
๓. เศราโศก เศราหมอง
๔. คลาดเคล่อื น คลาดแคลว

รหัสวชิ า ๙๑ ภาษาไทย/คณิตศาสตร หนา ๑๒

วนั พฤหสั บดที ่ี ๔ กุมภาพันธ ๒๕๕๓ เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๑.๐๐ น.

๑๗. คําประพันธใ นขอใด ไมม คี าํ ซอน
๑. นาคมี ีพิษเพ้ยี ง สรุ ิโย
๒. เลอื้ ยบทําเดโช แชม ชา
๓. พษิ นอยหยงิ่ โยโส แมลงปอง
๔. ชูแตหางเองอา อวดอางฤทธี

๑๘. คําซาํ้ ในขอใด มจี าํ นวนพยางคท ี่ออกเสียงซํ้านอยทีส่ ดุ
๑. รม ชมพๆู ท่เี ธอซ้อื มาฝากจากญีป่ นุ พงั เสียแลว เมอื่ วนั กอน
๒. คุณครเู รยี กนกั เรียนใหอ อกมาอา นหนังสือหนา ชัน้ ทลี ะคนๆ
๓. แลว ในวนั หน่งึ ๆ มีคนมาเย่ยี มชมพิพธิ ภณั ฑน ปี้ ระมาณกี่คน
๔. เขาไมไดใสเส้ือผาสๆี มาหลายเดอื นแลวเพราะกําลังไวทกุ ข

๑๙. ขอใดไมเ ปน ประโยคความรวม
๑. ผูใหญลมี าหามาลนิ เี พราะคดิ ถงึ มาก
๒. ผูใหญลมี าหามาลินีหลังจากสกึ แลว
๓. ผใู หญล ีมาหามาลินเี ลยไปทํานาสาย
๔. ผใู หญลีมาหามาลนิ ซี งึ่ กําลังเล้ยี งไก

รหัสวชิ า ๙๑ ภาษาไทย/คณิตศาสตร หนา ๑๓

วนั พฤหสั บดที ่ี ๔ กุมภาพนั ธ ๒๕๕๓ เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๑.๐๐ น.

๒๐. ขอ ใดใชราชาศัพท “ทลู เกลาฯ ถวาย” ไมถกู ตอง
๑. สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติทูลเกลาฯ ถวาย สิทธิบัตรฝนหลวง แด
พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยูหวั
๒. กทม. ทูลเกลาฯ ถวายหนังสือสมุดภาพแผนท่ี “หน่ึงศตวรรษกรุงเทพมหานคร”
แดพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห ัว
๓. สมาพันธนักประดิษฐโลกทูลเกลาฯ ถวายเหรียญรางวัล “พระอัจฉริยภาพ
ทางการประดิษฐ” แด พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยหู ัว
๔. หอการคาไทยรว มกบั คณะกรรมการรวม ๓ สถาบัน (กกร.) ทลู เกลาฯ ถวาย
กงั หนั น้าํ ชยั พฒั นาจาํ นวน ๖๐ เคร่ืองแดพระบาทสมเด็จพระเจาอยหู ัว

๒๑. การนาํ คําทับศพั ทภ าษาองั กฤษมาใชในขอ ใด ที่ทาํ ใหภ าษาไทยมีวงศัพทเพิ่มขน้ึ
๑. มาเรียนอยใู นกรงุ เทพฯ ยนู เิ วอรซ ติ ้ีทท่ี นั สมยั
๒. ซมั เมอรแ มเ รียกตวั กลับมาชว ยทําไรทํานาอยทู ่ีบานหนองใหญ
๓. ชาวบา นกด็ อ ยการศึกษากินแตป ลาราทไ่ี มพาสเจอรไ รซ
๔. ใหมาเปนฟารเมอร ดาววา มนั ไมใช มันไมใ ชตวั ตนท่ีแทจ ริงของดาว

รหัสวชิ า ๙๑ ภาษาไทย/คณิตศาสตร หนา ๑๔

วนั พฤหัสบดีท่ี ๔ กมุ ภาพันธ ๒๕๕๓ เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๑.๐๐ น.

๒๒. ขอ ใดเปน คาํ ท่ีมีท่มี าจากภาษาบาลที ุกคาํ
๑. ศรี ษะ ปญญา
๒. ขันติ อิจฉา
๓. วงกต พรรษา
๔. พุทธิ ศรัทธา

๒๓. คาํ ประพันธใ นขอ ใดมงุ เสนอขอเท็จจรงิ ไมใ ชก ารแสดงความคิดเหน็
๑. อันชาตใิ ดไรศานตสิ ขุ สงบ ตองมัวรบราญรอนหาผอ นไม
๒. แมผ ใู ดไมน ยิ มชมสง่ิ งาม เมอ่ื ถงึ ยามเศรา อุรานาสงสาร
๓. ใครดูถกู ผชู าํ นาญในการชา ง ความคดิ ขวางเฉไฉไมเ ขา เรื่อง
๔. ควรไทยเราชว ยบํารุงวิชาชาง เครอ่ื งสาํ อางแบบไทยสโมสร

๒๔. สํานวนในขอใด เปนวธิ กี ารแสดงความคดิ เห็นท่ีเหมาะสมทสี่ ดุ
๑. ไดท ีขี่แพะไล
๒. เดด็ บวั ไมไ วใย
๓. ไมเ ออออหอ หมก
๔. เหน็ ดาํ เหน็ แดง

รหสั วิชา ๙๑ ภาษาไทย/คณิตศาสตร หนา ๑๕

วันพฤหัสบดที ่ี ๔ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๕๓ เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๑.๐๐ น.

๒๕. คําขวญั รณรงคปอ งกันโรคไขห วัดใหญส ายพันธุใหม ๒๐๐๙ ขอใดทไี่ มมกี ารยก
เหตผุ ลสนบั สนนุ
๑. ใชห นา กากอนามัย หา งไกลหวัด ๒๐๐๙
๒. กินรอน ชอ นกลาง ลางมือ คือวธิ ปี อ งกัน
๓. ไอ-จามปดปาก ถา ไมอ ยากแพรเช้ือหวัด
๔. เปนหวดั ใหอ ยบู าน อยาเปนตวั การแพรเ ชอื้

๒๖. ขอใดไมใชล กั ษณะของความคดิ สรา งสรรค
๑. คิดนอกกรอบ
๒. คดิ เลก็ คดิ นอย
๓. คดิ พลิกแพลง
๔. คดิ หลากหลาย

๒๗. นอ งบอกวาลมื ไมไดใจมันทกุ ข เพราะนอ งซุกใจเศราเฝา ไหห วน

อยากใหน องคดิ ใหม...ใครชักชวน ขนึ้ ทางดว นเดนิ จากซากอาวรณ

คําทีข่ ดี เสน ใตใ นคําประพนั ธข า งตน ใชค ําในขอใดแทนไดโดยใจความสาํ คัญไมเปลย่ี น

๑. ครํ่าครวญ

๒. รัญจวน

๓. กําสรวล

๔. หอมหวน

รหัสวิชา ๙๑ ภาษาไทย/คณติ ศาสตร หนา ๑๖

วันพฤหัสบดที ี่ ๔ กุมภาพนั ธ ๒๕๕๓ เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๑.๐๐ น.

๒๘. ขอ ใดไมใ ชล ักษณะคําประพนั ธประเภทกลอนหัวเดยี ว

๑. ฉันจะไมทกั หนอไมท าย ฉันกลวั วาแกจะอายแกหนา

ฉนั รอ งทกั ชมโฉม กันไปดว ยลมวาจา

๒. รํากบั ใครมนั ไมช ื่นใจ เหมือนรํากบั หลอน

คนสวยเชญิ มาราํ ฟอ น โอแ มหางตางอนเชิญมาราํ วง

๓. พ่ีมคี ุณความดีเปน ท่ีกําบงั มีธรรมะมากพลงั รักษา

นอ งเอย ตดั บวั ยังเหลือเยือ่ ใย นอ งอยาเพิง่ ตดั สายเสนหา

๔. เหลืองเอย ใบยอ ซอนชอ มะมว ง

มีพบกม็ พี ราก จาํ จากพอพุมพวง

๒๙. เพลงกลอ มเด็กในขอ ใดแสดงถึงความรกั ของแมทีม่ ตี อลกู ไดช ัดเจนท่ีสดุ

๑. นอนเสยี เถิด ขวัญเจา จะเกดิ ในดอกบวั

แมเลย้ี งเจา ไว เพือ่ จะไดเปนเพอื่ นตัว

๒. เนอ้ื เอย เนื้ออนุ เอย เน้ือละมนุ คือสาํ ลี

แมไ มใหใครตอ ง แมก ลัวเจาจะหมองศรี

๓. เนือ้ เอยเน้อื ออ นเอย ไมหลบั ไมน อนออ นแมอยอู าลยั

พ่ีเลี้ยงนางนมอยไู หน ไมม าไกวใหเ จานอน

๔. นกเขา เอย ขนั ต้ังแตเ ชาไปจวนเย็น

ขนั ใหดงั แมจ ะฟง เลน เสียงเยน็ ๆลกู นอ ยกลอยใจ

รหสั วชิ า ๙๑ ภาษาไทย/คณติ ศาสตร หนา ๑๗

วนั พฤหัสบดีที่ ๔ กุมภาพนั ธ ๒๕๕๓ เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๑.๐๐ น.

๓๐. ผใู ดไมไดใชก ระบวนการระดมความคดิ ในการแสวงหาความรู
๑. สวุ ทิ ยค นหาขอ มูลเพอ่ื การทํารายงานเร่อื ง “ความสขุ ทแ่ี ทจ รงิ ” จากหนังสอื
หลายเลม
๒. สุชัยสัมภาษณเพ่อื นรวมงานทุกคนเพ่อื สรปุ ความเห็นเรอ่ื งการตกแตง
หองทาํ งาน
๓. สุจิตตส รปุ เน้ือหาจากสารานกุ รมไทยฉบบั เยาวชนสงครูผสู อนวิชาภาษาไทย
๔. สวุ รรณเรยี กประชมุ เพื่อนๆ เพ่อื รว มกนั หาแนวทางแกไขปญ หาขยะใน
โรงเรยี น

๓๑. เพราะเหตุใดจงึ ตองใชเ ลขไทยในการเขียนภาษาไทย
๑. เพราะเลขไทยถอื วาเปน สมบัตขิ องชาติ การใชเ ลขไทยจงึ เปน การชวยรักษา
สมบัตชิ าติวธิ ีหนงึ่
๒. เพราะเลขไทยอา นไดเฉพาะคนไทย การใชเ ลขไทยจงึ จําเปน ในการเขยี นเอกสาร
ลับทางราชการ
๓. เพราะเลขไทยถอื เปนภาษาราชการอยางหน่งึ การใชเ ลขไทยจงึ จําเปนตอ การ
เขียนอยางเปน ทางการ
๔. เพราะเลขไทยอยบู นแปนพมิ พ การใชเ ลขไทยในการพิมพจ งึ สะดวกกวา เพราะ
ไมตอ งเปล่ยี นชุดตวั อกั ษร

รหสั วิชา ๙๑ ภาษาไทย/คณติ ศาสตร หนา ๑๘

วนั พฤหัสบดีท่ี ๔ กมุ ภาพันธ ๒๕๕๓ เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๑.๐๐ น.

๓๒. สาํ นวนใดกลา วถงึ การใชภาษาใหเ หมาะสมกับฐานะบุคคล
๑. คนยากวา ผี คนมีวา ศพ
๒. ผดู เี ดนิ ตรอก ขีค้ รอกเดนิ ถนน
๓. เขา เมอื งตาหลว่ิ ตองหลว่ิ ตาตาม
๔. พูดไปสองไพเบี้ย นง่ิ เสยี ตาํ ลึงทอง

๓๓. ขอใดมี “คําคะนอง”
๑. วัยรุน ตอ งทาํ ความเขา ใจผใู หญบา ง
๒. อยา มาเวอ รมากไปหนอยเลย
๓. เขาไมชอบยงุ วุน วงวนุ วายกบั ใคร
๔. อยาทาํ งานแบบลวกๆ มาสงครู

๓๔. ขอควรคาํ นงึ เมื่อตองใชข อ มลู สารสนเทศจากอินเทอรเนต็ ในการแสวงหาความรู คอื
ขอใด
๑. ความรวดเรว็ ในการสบื คน ขอ มลู
๒. ความคมุ คาของการสืบคน ขอ มลู
๓. ความมีประโยชนของแหลงขอมลู
๔. ความนา เช่ือถอื ของแหลง ขอมูล

รหัสวชิ า ๙๑ ภาษาไทย/คณิตศาสตร หนา ๑๙

วันพฤหัสบดีที่ ๔ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๕๓ เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๑.๐๐ น.

๓๕. ขอ ใดใชภ าษาไดเ หมาะสมกับฐานะบุคคล
๑. เชิญรวมกนั ตกั บาตรพระสงฆ ๒,๕๐๐ องคเนือ่ งในวันเขา พรรษา
๒. หลนิ ปง แพนดานอยรับประทานตน ไผไ ดเพิ่มขึ้นจากเมอ่ื วานน้ี
๓. ลูกชายชางไทยที่กาํ เนิดทีอ่ อสเตรเลยี จะมอี ายคุ รบ ๑ ปเดือนหนา
๔. ขอบคณุ ครับ โอกาสหนาขอเชิญมาใชบ รกิ ารของเราใหมน ะครบั

๓๖. ในคําพากยเอราวณั หนมุ านสูกับยักษตนใด
๑. สหัสเดชะ
๒. แสงอาทติ ย
๓. ไมยราพ
๔. อนิ ทรชติ

๓๗. “พระสมทุ รสุดลกึ ลน คณนา
สายดง่ิ ทง้ิ ทอดมา หยง่ั ได
เขาสงู อาจวดั วา กําหนด
จติ มนษุ ยน ไ้ี ซร ยากแทห ย่งั ถึง”

โคลงบทนี้เนนสอนเร่อื งใด
๑. ความลกึ ของน้ํา
๒. ความไวว างใจ
๓. ความพากเพียร
๔. ความมีอเุ บกขา

รหัสวชิ า ๙๑ ภาษาไทย/คณิตศาสตร หนา ๒๐

วันพฤหัสบดที ี่ ๔ กุมภาพนั ธ ๒๕๕๓ เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๑.๐๐ น.

๓๘. "พเิ ศษสารเสกสรางรงั สรรคส าร ประจงจารฉนั ทพากยพ รงิ้ พรายฉาย
เฉกเพชรพรรณเพราะเฉิดเลิศแลลาย ระยบั สายสะอ้ิงสอ งสรอยกรองทรวง"

กลอนบทนด้ี ีเดนดา นใดเปน พิเศษ
๑. สัมผสั
๒. ฉันทลกั ษณ
๓. โครงสราง
๔. สัญลกั ษณ

๓๙. "หญาฝากเกสรดอกหญา ไปกบั ลมชว ยพาผสานผสม
แจงขาวคราวเคลื่อนเยือนชม ชวยทอพรมคลมุ พน้ื ใหแ ผน ดนิ "

ประเภทของภาพพจนข างตน คลายคลึงกบั ขอใด

๑. ไผซ อออ เอียดเบยี ดออด ลมลอดไลเ ลย้ี วเรียวไผ

๒. เปลวแดดแผดเปลวเตน ระริกเลนเนน ทํานอง

๓. ฤๅดดู าราระยา ระยบั สรวง ดจุ ดวงเพชรพลอยประเสรฐิ ศรี

๔. ระเวนไพรรอ นรอ งตระเวนไพร เหมือนเวรใดใหนิราศเสนห า

รหสั วิชา ๙๑ ภาษาไทย/คณติ ศาสตร หนา ๒๑

วันพฤหัสบดที ี่ ๔ กุมภาพันธ ๒๕๕๓ เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๑.๐๐ น.

๔๐. "มยุรฉตั รชมุ สายพรายศรี พดั โบกพชั นี
กบีร่ ะบายโบกลม"

คาํ ประพันธขา งตนกลา วถึงส่ิงใด
๑. เคร่อื งราชกกุธภัณฑ
๒. เคร่ืองสูงประกอบยศ
๓. เคร่อื งราชอสิ รยิ าภรณ
๔. เคร่ืองประดับเรอื นตน

๔๑. คําประพันธใ นขอ ใด อานแบง วรรคไดถกู ตอง
๑. สมรรถชยั ไกร / กาบแกว
แสงแวววับ / จบั สาคร
๒. เลียงผา / งาเทา โผน
เพยี งโจน / ไปในวารี
๓. สายัณห / ตะวันยาม
ขณะ / ขามทฆิ มั พร
๔. เรอื นอย / ลอยนํา้ / ขําคม
บัวฉม / ชลู อ ม / หอ มเรือ

รหสั วิชา ๙๑ ภาษาไทย/คณติ ศาสตร หนา ๒๒

วนั พฤหสั บดที ่ี ๔ กุมภาพนั ธ ๒๕๕๓ เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๑.๐๐ น.

๔๒. "จากกําเนดิ ตัวเปลา เทา กันหมด มาสยู ศศักด์ศิ รีท่ีแตกตาง
จากความรวยจนช่วั ดีท่ัวทาง มาสูขา งหลมุ เศราเนา เหมือนกนั
มนุษยเ ทา กนั ไดเ ม่ือตาย-เกิด ความดีเลศิ ชวั่ ชาคือตรามัน่
ไมมสี ัตวโ ลกอืน่ นับหม่ืนพัน ครองชวี ันวนเศราเทา นรชน
มนษุ ยรจู ักโลกโชคชีวติ รูจ กั ผดิ ชอบชวั่ ดีทว่ั ถล
ประหลาดเหลือเม่อื รวู าชวี าวน ไยทกุ คนไมร ทู าํ แตกรรมดี"

กวีนิพนธขางตน มคี ณุ คาดา นใดเดนชัดท่ีสดุ
๑. คุณคา ทางภาษา
๒. คุณคา ทางสังคม
๓. คุณคาทางคตธิ รรม
๔. คณุ คา ทางการแพทย

รหัสวิชา ๙๑ ภาษาไทย/คณิตศาสตร หนา ๒๓

วนั พฤหสั บดีท่ี ๔ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๕๓ เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๑.๐๐ น.

จงใชขอ ความตอไปน้ีตอบคาํ ถามขอ ท่ี ๔๓ - ๔๕

ดอกไมในรานดอกไมอาจเปนเพื่อนรวมทางกันมาตั้งแตที่ไรจนถึงปลายทาง หรือ
อาจตางมาจากตางถ่ินกัน แตไดมารวมทางกัน แลวแยกยายกันไป ดอกไมในแจกันเดียวกัน
อาจเหี่ยวไปพรอมๆ กนั หรือมีดอกใดทเี่ ห่ยี วไปกอ น

คนจนี มคี ํากลา ววา พีน่ อ งรอ ยคนก็เหมือนคนเดยี ว เพราะบัน้ ปลายตางคนตา งแกมา
ดูแลกันไมไหว ซ่ึงท่ีสุดแลวก็ตองมีคนไปกอนและมีคนไปหลัง บางคนจึงมีเพ่ือนตาย และ
หลายคนกอ็ าจไมม ี

วันหนึ่งขณะผานหัวลําโพง เห็นยาย ๒ คน พากันเดินดวยไมไผลําหนึ่ง ยายคน
แข็งแรงนําหนา จูงยายท่ีตาฟางแลวใหเดินตาม เทาของยายทั้งสองกาวชาๆ เหมือนลาน
ตุกตาทจี่ วนหมด

อยากใหยายทั้งสองถึงที่หมายพรอมกัน ไมใชท้ิงคนหนึ่งไวใหตองตายเพียงลําพัง
อยา งโดดเดย่ี วเดียวดาย

๔๓. ความคดิ สาํ คญั ในขอ ความขางตน ตรงกบั ขอ ใด
๑. ความตายมาถึงมนษุ ยทกุ คนในเวลาตางกัน
๒. ความตายเปนสิ่งท่ีมนษุ ยส ามารถกําหนดได
๓. ความตายกบั ความชราเปน ทุกขข องมนุษย
๔. ความตายเหมือนกับดอกไมใ นแจกนั ท่รี วงโรย

รหสั วิชา ๙๑ ภาษาไทย/คณติ ศาสตร หนา ๒๔

วันพฤหสั บดีท่ี ๔ กุมภาพนั ธ ๒๕๕๓ เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๑.๐๐ น.

๔๔. จุดประสงคห ลกั ของการเขียนขอความขางตน ตรงกบั ขอ ใด
๑. แสดงความรเู ร่ืองดอกไม
๒. ตีโพยตพี ายกบั ความชรา
๓. ชวนใหเขาใจโลกและชีวติ
๔. เลาประสบการณท ีผ่ านมา

๔๕. คาํ วา “ทีห่ มาย” จากขอความขา งตนมีความหมายตรงกับขอใด
๑. อกี ฝง หนง่ึ ของถนน
๒. การส้นิ สุดของชวี ิต
๓. ความชราทม่ี าเยือน
๔. บานของยายทัง้ สอง

รหัสวิชา ๙๑ ภาษาไทย/คณติ ศาสตร หนา ๒๕

วนั พฤหสั บดที ี่ ๔ กมุ ภาพันธ ๒๕๕๓ เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๑.๐๐ น.

สวนที่ ๓ : แบบระบายคําตอบใหส มั พนั ธก ัน
จาํ นวน ๓ ขอ (ขอ ๔๖ - ๔๘) : ขอละ ๖ คะแนน

จงพิจารณาคําตอบจากขอ มูลแตละกลุมตามทีก่ าํ หนดใหถ กู ตอ งครบทกุ กลุม
กลมุ ละ ๑ คาํ ตอบ จงึ จะไดค ะแนน

๔๖. สมมติวามีเพ่ือนคนหน่ึงชวนนักเรียนไปเที่ยวตางจังหวัดในชวงปดภาคการศึกษา
เปนเวลา ๑ สัปดาห แตนักเรียนไมสามารถไปไดเน่ืองจากจะตองทํางานพิเศษหารายได
เพื่อแบงเบาภาระของผูปกครองในชวงปดภาคการศึกษา ในสถานการณที่กําหนดให
ขางตน ขอใดเปนการ "(๑)ใชถอยคําปฏิเสธ" "(๒)ถอยคําแสดงเหตุผล" และ "(๓) การใช
สหี นา ประกอบการพดู " ไดอยางเหมาะสมท่สี ุด

กลมุ ท่ี ๑ กลุม ที่ ๒
(๑) การใชถอ ยคาํ ปฏิเสธ (๒) ถอยคําแสดงเหตผุ ล
๑. เสยี ใจ แตเราไมไ ปหรอกนะ ๑. เรามีภาระท่หี นกั หนาเกนิ กวาจะบอกใหใ ครรไู ด
๒. ขอบคุณ แตเราคงไมมีวาสนา ๒. เงินสําคัญกับเราแคไ หน คนรวยอยา งเธอคงไมเ ขาใจ
๓. ขอบคณุ แตอยา ใหเราไปเลย ๓. เราตอ งทาํ งานพิเศษ ไมม ีเวลาไปเท่ียวเลนเหลวไหล
๔. ขอบใจ แตเ วลาของเรามี คานะ ๔. เห็นพอ แมท ํางานหนกั มาก เราเลยอยากจะชวยทาน
๕. ขอบใจ แตเ ราคงไปไมไ ดจ รงิ ๆ ๕. พอ แมคงอยากเหน็ เราอาบเหง่อื ตางน้ํามากกวา ไปเทย่ี ว

รหัสวิชา ๙๑ ภาษาไทย/คณิตศาสตร หนา ๒๖

วันพฤหัสบดีท่ี ๔ กมุ ภาพันธ ๒๕๕๓ เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๑.๐๐ น.

กลุมที่ ๓
(๓) การใชสหี นาประกอบการพดู

๑.

๒.

๓.

๔.

๕.

รหัสวิชา ๙๑ ภาษาไทย/คณติ ศาสตร หนา ๒๗

วนั พฤหสั บดีท่ี ๔ กุมภาพนั ธ ๒๕๕๓ เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๑.๐๐ น.

๔๗. ประโยค “เงยี บๆ หนอ ยไดไหม” เปน "(๑) ประโยคชนิดใด" "(๒) ละสว นใดของ
ประโยค" และ " (๓) แสดงเจตนาอะไรในการสื่อสาร”

กลมุ ท่ี ๑ กลมุ ท่ี ๒ กลุมที่ ๓
(๑) ชนดิ ของประโยค
(๒) ละสว นใดของประโยค (๓) แสดงเจตนาอะไร
๑.ประโยคความเดยี ว
๒.ประโยคความซอน ในการส่อื สาร
๓.ประโยคความรวม
๔.ประโยคความรวมซบั ซอ น ๑.แจงใหท ราบ ๑.ประธาน
๕.ประโยคไมสมบูรณ
๒.ถามใหต อบเนื้อความ ๒.กรรม

๓.ถามใหเ ลอื ก ๓.กริยา

๔.ถามใหตอบรบั -ปฏิเสธ ๔.ประธานและกรรม

๕.บอกใหท าํ ๕.ประธานและกรยิ า

รหัสวิชา ๙๑ ภาษาไทย/คณติ ศาสตร หนา ๒๘

วนั พฤหสั บดีท่ี ๔ กมุ ภาพันธ ๒๕๕๓ เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๑.๐๐ น.

๔๘. จงเลือก "(๑)การเขยี นวันที่" "(๒)คาํ ขึ้นตน จดหมาย" "(๓)คําขนึ้ ตน เนือ้ ความ"
"(๔)คาํ ลงทายเนอ้ื ความ" และ "(๕)คาํ ลงทา ยของจดหมาย" ตอ ไปนี้ เพอื่ ให
จดหมายทกี่ าํ หนดใหในหนา ถัดไปมรี ูปแบบทีถ่ กู ตอง

กลุมที่ ๑ กลมุ ท่ี ๒
(๑) การเขียนวันท่ี (๒) คําข้นึ ตน จดหมาย
๑. วนั ท่ี ๔ กมุ ภาพันธ ๒๕๕๓ ๑. เรยี น
๒. ๔ กมุ ภาพันธ ๒๕๕๓ ๒. สวสั ดี
๓. วันองั คารที่ ๔ กมุ ภาพันธ พ.ศ. ๒๕๕๓ ๓. กราบเทา
๔. วันที่ ๔ กมุ ภาพันธ พ.ศ. ๒๕๕๓ ๔. นมสั การ
๕. วนั อังคาร แรม ๕ คํ่า ปฉ ลู จ.ศ.๑๓๗๑ ๕. เจรญิ พร

กลุมท่ี ๓ กลุม ท่ี ๔ กลมุ ที่ ๕

(๓) คําข้ึนตน เนอ้ื ความ (๔) คําลงทายเนอ้ื ความ (๕) คําลงทา ยของจดหมาย

๑. สวสั ดี ๑. จึงเรียนมาเพ่อื ทราบ ๑. ดว ยความเคารพอยางสูง

๒. ตามท่ี ๒. จงึ เรยี นมาเพือ่ โปรดพิจารณา ๒. ดวยรกั และเคารพ

๓. อนุสนธิ ๓. จึงเรยี นมาเพื่อขอ ๓. ขอแสดงความนบั ถอื

๔. เนือ่ งจาก ๔. จงึ นมสั การมาเพอื่ ๔. ขอใหเจรญิ ในธรรม

๕. ไมตองใชค าํ ข้ึนตน ๕. ไมตอ งใชค าํ ลงทาย ๕. สวสั ดี

รหัสวชิ า ๙๑ ภาษาไทย/คณิตศาสตร หนา ๒๙

วันพฤหัสบดที ่ี ๔ กุมภาพนั ธ ๒๕๕๓ เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๑.๐๐ น.

ที่ สทศ.๒๓๔/๒๕๕๓ ๑๒๘ อาคารพญาไทพลาซา ชน้ั ๓๖
แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี
กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐
...........................(๑).............................

เรอื่ ง ขอใหประชาสมั พันธใ หนักเรียนตรวจสอบสนามสอบ
....(๒).... ผูอาํ นวยการโรงเรยี นมธั ยมบา นเอกลกั ษณไทย

.....(๓)....ปการศกึ ษา ๒๕๕๒ นมี้ ีนกั เรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ี่ ๓ สมคั รเขา รว มการทดสอบ
O-Net ชวงชน้ั ที่ ๓ ประจาํ ปก ารศกึ ษา ๒๕๕๒ เปน จาํ นวนมากนน้ั จึงใครข อใหทา นประชาสัมพันธ
ใหน กั เรียนท่จี ะเขาสอบทกุ คนตรวจสอบสนามสอบของตนเองใหเรียบรอยกอ นวันทาํ การสอบ เพื่อ
ปองกันการเขา สอบผดิ สนามสอบ ซึง่ หากเกิดขอบกพรองดงั กลาวสถาบันทดสอบทางการศกึ ษา
แหงชาติ (องคก ารมหาชน) จะไมร บั ผดิ ชอบตอ ขอ ผดิ พลาดที่เกดิ ข้นึ

.....(๔).....ประชาสัมพนั ธใ หน กั เรยี นตรวจสอบสนามสอบ อยา งเครง ครดั จกั เปนพระคณุ ยิง่

..........................(๕)..........................
(ลงนาม)

ศาตราจารย ดร.อทุ ุมพร จามรมาน
ผอู ํานวยการสถาบันทดสอบทางการศกึ ษาแหงชาติ (องคก ารมหาชน)

สถาบันทดสอบทางการศกึ ษาแหง ชาติ (องคการมหาชน)
โทรศพั ท ๐-๒๒๑๙-๒๙๙๑-๕

รหัสวชิ า ๙๑ ภาษาไทย/คณติ ศาสตร หนา ๓๐

วันพฤหสั บดที ี่ ๔ กมุ ภาพันธ ๒๕๕๓ เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๑.๐๐ น.

สว นท่ี ๔ : แบบระบายการเรยี งลาํ ดบั ขอ ความใหถกู ตอ งสัมพนั ธกัน
จาํ นวน ๒ ขอ (ขอ ๔๙ - ๕๐) : ขอละ ๖ คะแนน

๔๙. จงเรยี งลําดบั ขอความตอ ไปนี้ เพอ่ื ใหเ ปนยอ หนาทส่ี มบูรณ

๑. ผงอณูเลก็ ๆ จากสาหรายอาจชว ยชะลอและทาํ ใหอ าหารเสยี ชาลง
๒. แตสาหรายนนั้ มโี ซเดียมนอยกวาเกลอื มาก โดยมเี พียงรอ ยละ ๔ ขณะท่ีเกลือ

ธรรมดามีถงึ รอ ยละ ๔๐
๓. โดยไมทาํ ใหก ลิน่ และรสของอาหารเปลีย่ นไป ซง่ึ ถือเปน คณุ สมบตั เิ ดียวกับเกลอื
๔. เพราะนกั วทิ ยาศาสตรจ ากอังกฤษคน พบวา
๕. อาหารสําเรจ็ รูปปจจุบนั นเ้ี ตม็ ไปดว ยเกลอื แตในอนาคตอาจไมเปนแบบนก้ี ไ็ ด

รหสั วชิ า ๙๑ ภาษาไทย/คณติ ศาสตร หนา ๓๑

วันพฤหัสบดที ่ี ๔ กุมภาพนั ธ ๒๕๕๓ เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๑.๐๐ น.

๕๐. จงเลือกคาํ กลอนตอ ไปน้ีไปใสใ นชองวา ง เพื่อใหใ จความสมบรู ณ

๑. อุน เอ้อื มสิ ิน้ ใจดินฟา
๒. ฝนอาบมาเอื้อแดท ุงถน่ิ
๓. เหยยี บยกตกตงึ จึงกังวาน
๔. เชาชน่ื ตนื่ ตามาเติมไฟ
๕. เบกิ ย้มิ บานใจในเหงื่องาน

จดตีนเหยียบยกแลวตกตงึ แปรเปน ขาวนึ่งจึงหอมหวาน
.........................(๑)............................ เรม่ิ ไถแรกหวานสูล านดนิ
ผดุ ภาพชีวิตอนั ชดิ เช้อื .........................(๒)............................
ผักหญาปลาปพู ออยกู นิ .........................(๓)............................
.........................(๔)............................ แดดอุนอาบลานและอาบหลา
เสยี งกองเขา ไปในวิญญาณ .........................(๕)............................






































Click to View FlipBook Version