The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือเตรียมสอบโอเน็ต O-NET ม.3 วิชาภาษาไทย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by BS_Library, 2019-12-10 23:22:23

คู่มือเตรียมสอบโอเน็ต O-NET ม.3 วิชาภาษาไทย

คู่มือเตรียมสอบโอเน็ต O-NET ม.3 วิชาภาษาไทย

Keywords: ภาษาไทย

วเิ คราะหข อสอบ O-NET ปการศกึ ษา ๒๕๕๕
กลมุ สาระภาษาไทย
ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปท่ี ๓

กลมุ งานวัดและประเมนิ ผลการศึกษา
กลุมนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผลการศกึ ษา
สาํ นักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาขอนแกน เขต ๓

วิเคราะหข อ สอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลมุ สาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปท ี่ ๓ สพป.ขก.๓

วิเคราะหข อ สอบ 0-net ปการศกึ ษา 2555 : กลุมสาระการเรยี นรูภาษาไทย ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท่ี ๓

จงใชขอมูลตอบคําถามท่กี าํ หนดใหต อไปน้ีตอบคาํ ถามขอ ๑-๕
นอกจากการไหวครตู ามวาระดังกลาวแลว บรรดาชางและนักดนตรี หรือศลิ ปนมักจะไหวราํ ลึกคุณครู

เสมอ ๆ ประจําวนั คือ ชา งจะไหวเ คร่ืองมือราํ ลกึ ถงึ คณุ ครกู อนเร่ิมงาน นกั ดนตรกี ็จะยกมือไหวเ ครอื่ งดนตรี
กอนการบรรเลงตามนัยเดียวกนั การแสดงพ้นื บา นและการแสดงอ่นื อีกหลายประเภทลว นมบี ทไหวค รกู อนการ
แสดงจรงิ ดังนน้ั อาจสรุปไดว า การไหวค รูของไทยเปนการกระทําเพ่ือสรา งสิริมงคลแกผ ูกระทาํ และเพ่ือใหผู
น้นั มสี ตมิ ีสมาธมิ นั่ คงในการประกอบกิจการของตนใหสาํ เร็จลุลวงดวยดี

การไหวค รใู นระยะแรกอาจมงุ หมายไหวครูเพ่ือสอนหนังสือหรือสอนวิชาเพยี งอยางเดียว ตอมาได
ขยายกวา งออกไปเปนไหวบูชาพระรัตนตรัย ไหวระลกึ คุณบิดามารดาและไหวครผู ูประสิทธ์ปิ ระสาทวิชาความรู
ดังเชน ทป่ี รากฏในบทไหวครูตางๆ ในปจจุบัน

ในการศึกษานน้ั ชาวไทยจะไดร ับคําสอนวา เม่ือไดเ ลา เรยี นวิชามาและมคี วามรูเพ่ิมเตมิ มากขึ้น อยาลบ
หลูครูบาอาจารย หรอื คดิ อา นตอสดู วยสําคญั วาตนมคี วามรูมาก นอกจากนคี้ รแู ละผูใหญสมยั กอนยังสอนเด็ก
ใหเ คารพตออุปกรณเ ครอื่ งเขยี น ไดแก กระดานชนวน และหนังสอื ใหจัดเกบ็ ไวในสถานท่ีอนั สมควร ไมก า ว
ขา มไปมาเมื่อเวลาจะใชหรือใชแลว ตองกราบไหวทุกคร้ัง

พธิ ีกรรมที่สาํ คญั เนอ่ื งในการศกึ ษาเลาเรยี นของไทย เปน คตินิยมท่ไี มอ าจละเลยได ท้งั ในอดีตและ
ปจจบุ นั คอื พิธีไหวครู พธิ ีไหวครูเปนเรือ่ งของการแสดงความเคารพตอ ผูม ีพระคณุ ดว ยความกตัญรู คู ุณ และ
เปนเครื่องบํารุงกาํ ลังใจใหมีสตเิ กดิ ความเชอ่ื มน่ั ในการดําเนินกิจกรรมท่คี รูประสทิ ธิป์ ระสาทให ตลอดจนเปน
การสรา งสิริมงคลใหบังเกดิ แกผ ูประกอบพธิ ี การไหวค รูมีหลายวาระ ไดแก

ไหวเม่อื เรม่ิ เรียน ในการศึกษาตามระบบเดิม เม่ือผูปกครองนําเดก็ มาฝากใหเรยี นกับครูผใู ด กม็ ักจะ
เลอื กพาไปในวนั ฤกษดี หรือนยิ มพาไปวนั พฤหัสบดซี ึ่งถอื วาเปนวันครู จะประกอบกิจใดก็สาํ เร็จ และจัดพานใส
ดอกไม ธปู เทยี น ใหเด็กกราบครูเปน การบชู าครูกอนเริ่มเรียน

ไหวข ณะเรยี น หมายถงึ การกราบไหวป ระจําวันและพธิ ไี หวครูทจี่ ดั ขนึ้ เพ่ือสักการะรําลึกถึง
พระคุณครู จดั เปน พิธใี หญป ระจาํ ป ปละครงั้ พธิ ไี หวค รูประจาํ ปนี้หากเปน การศึกษาเกี่ยวกบั ชาง หรอื
นาฏศลิ ปด นตรี ก็จะมพี ิธีครอบครสู าํ หรับผูฝก ใหมด ว ย

ไหวเ มอื่ ประกอบการงานเสร็จแลว พิธไี หวครูซ่งึ จดั ข้ึนในชว งน้ี สว นใหญจ ะเปนเร่ืองของ ผมู อี าชีพ
เก่ียวกับการชางและนาฏศลิ ปดนตรี นยิ มจัดเปนพธิ ใี หญป ระจําป หรอื จดั ข้ึนในโอกาสท่เี หน็ วาเหมาะสม

วิเคราะหขอสอบ O-NET ปก ารศกึ ษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ี่ ๓ สพป.ขก.๓

๑. ขอความท่ีคดั มาใหอ านขา งตนมีจดุ ประสงคใด
๑. ตองการใหรายละเอยี ดเกีย่ วกับพธิ ไี หวครู
๒. ตองการบอกความสาํ คัญของพิธีไหวค รู
๓. ตอ งการเชิญชวนใหร ะลึกถงึ พระคุณครู
๔. ตอ งการจําแนกรูปแบบของการไหวครู

เฉลย ระดบั รอยละนกั เรยี นตอบถูก
ขอ ๒
ประเทศ ๕๖.๓๙
ลักษณะเฉพาะของขอ สอบ สพฐ. ๕๖.๖๙
มาตรฐาน : ท ๑.๑ สพป.ขก ๓ ๔๙.๙๙
สาระ : การอา น
ตัวช้ีวดั : ม ๓/๒
รปู แบบขอ สอบ : ปรนัย ๔ ตวั เลอื ก

วิเคราะหข อ สอบ O-NET ปก ารศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ช้นั มัธยมศึกษาปท่ี ๓ สพป.ขก.๓

๒. ขอ ความขา งตน ใชโวหารชนิดใด
๑. บรรยายโวหาร
๒. พรรณนาโวหาร
๓. สาธกโวหาร
๔. อปุ มาโวหาร

เฉลย
ขอ ๑
บรรยายโวหาร คือ โวหารทใี่ ชบอกกลา ว เลาเรื่อง อธิบา บรรยายเร่ืองราวตา ง ๆ อยางละเอยี ด

กลาวถึงเหตกุ ารณท่ตี อ เนอื่ งกัน ชี้ใหเ ห็นสถานท่ีเกิด เหตกุ ารณ สภาพแวดลอ ม
พรรณนาโวหาร คือ โวหารที่กลา วถึง เรื่องราว สถานท่ี ส่งิ ของ อารมณอ ยา งละเอยี ด สอดแทรก

อารมณ ความรสู ึกเพ่อื โนมนาวใจ ผูรบั สารเกดิ ภาพพจน เกิดอารมณค ลอยตาม
สาธกโวหาร คอื โวหารท่ีมุงใหเกิดความชดั เจน โดยการยกตัวอยา งหรือเรอื่ งราวประกอบ
อปุ มาโวหาร คอื โวหารที่กลาวเปรียบเทยี บ เพ่ือใหผ ูรับสารเขา ใจความหมาย อารมณความรูสกึ หรอื

เหน็ ภาพชดั เจนยิ่งขึ้น

ลกั ษณะเฉพาะของขอ สอบ ระดับ รอยละนกั เรยี นตอบถกู
มาตรฐาน : ท ๑.๑
สาระ : การอา น ประเทศ ๗๔.๓๐
ตวั ช้ีวดั : ม ๓/๕ สพฐ. ๗๔.๓๐
รปู แบบขอ สอบ : ปรนัย ๔ ตวั เลือก สพป.ขก ๓ ๔๙.๖๗

วเิ คราะหข อสอบ O-NET ปก ารศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ี่ ๓ สพป.ขก.๓

๓. บุคคลใดตอไปน้ี “ไหวค รู” ตามบรบิ ททขี่ อความขา งตน ระบไุ ว
๑. ไทยคม ไปเจอครูสอนวชิ าคณิตศาสตรที่ตลาดจงึ ยกมอื ไหว
๒. ปารสุ ก ยกมือไหวค รูทป่ี ระตโู รงเรียนทกุ ครั้งกอ นเขาโรงเรียน
๓. ภัทรพล นาํ เพือ่ น ๆ ยกมือไหวครูตามหนาทีข่ องหวั หนา ชั้นเรียน
๔. อวกาศ นาํ ดอกไมธ ูปเทียนไปไหวค รเู พ่อื ขออโหสิกรรมกอ นบวช

เฉลย
ขอ ๔
เพราะ เปนการไหวครจู ากการระลกึ ถงึ พระคุณของคุณครู ไมใ ชบังคบั หรอื ทําตามหนาท่ี

ลักษณะเฉพาะของขอ สอบ ระดับ รอยละนักเรยี นตอบถกู
มาตรฐาน : ท ๑.๑
สาระ : การอา น ประเทศ ๑๓.๖๑
ตวั ชี้วดั : ม ๓/๑ สพฐ. ๑๓.๕๐
รปู แบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตวั เลือก สพป.ขก ๓ ๑๒.๔๑

วเิ คราะหข อสอบ O-NET ปการศกึ ษา ๒๕๕๕ กลุม สาระภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓

๔. คาํ วา “พธิ ีครอบครู” ในยอ หนา ที่ ๓ มคี วามสาํ คัญอยา งไร
๑. เพ่ือใหผูเขารวมพธิ รี าํ ลึกถงึ พระคณุ ของครู
๒. เพอ่ื สรา งความศกั ด์สิ ิทธิใ์ หกับวิชาความรู
๓. เพ่อื แสดงตนวา เปนศษิ ยตอครผู ใู หความรู
๔. เพอื่ ยกระดบั วชิ าความรูใหเปน ความรูชน้ั สงู

เฉลย
ขอ ๓
พธิ ีครอบครู หมายถงึ การนาํ ศรี ษะครมู าครอบ (รบั เปนศิษย) และครจู ะคอยควบคุมรักษา คอย

ชวยเหลือใหศ ิษยม ีความจําในกระบวนการรํา จังหวะดนตรี หากมีสิ่งไมงามเกิดขนึ้ กบั ศษิ ย ครจู ะคอยปด เปา ให
พนจากศิษย (พิธคี รอบครู นยิ มใชกับวชิ าการชา ง และนาฏศิลป ดนตรี )

ลักษณะเฉพาะของขอ สอบ ระดบั รอ ยละนักเรียนตอบถูก
มาตรฐาน : ท ๑.๑
สาระ : การอาน ประเทศ ๓๗.๗๙
ตัวชว้ี ัด : ม ๑/๒ สพฐ. ๓๗.๗๔
รูปแบบขอ สอบ : ปรนยั ๔ ตวั เลือก สพป.ขก ๓ ๒๕.๘๐

วิเคราะหขอสอบ O-NET ปก ารศึกษา ๒๕๕๕ กลมุ สาระภาษาไทย ช้นั มัธยมศึกษาปท่ี ๓ สพป.ขก.๓

๕. จากขอมูลขา งตนขอความใดตอไปนก้ี ลา วสรุปไดถ กู ตอง
๑. จดุ ประสงคสําคัญของการไหวค รูคอื การเนน ใหเหน็ ความสาํ คัญของเทพเจา และ ส่ิง

ศักดส์ิ ิทธิ์
๒. พิธีไหวค รจู ดั ขน้ึ เพอื่ ไมใ หผูเรียนหลงระเริงในวิชาความรู และอวดอางความรขู องตน
๓. อุปกรณอิเล็กทรอนิกสต างๆ ไมถ ือวา เปนอุปกรณเครื่องเขยี นจงึ ไมจาํ เปน ตองใหค วาม

เคารพ
๔. ความเช่อื วาเมอ่ื เดนิ ขามหนงั สอื แลว ไหวหนังสือเปน ความเชือ่ ที่ งมงายไมท นั สมัย ไม

ควรทาํ ตาม

เฉลย ระดบั รอยละนกั เรียนตอบถกู
ขอ ๒
ประเทศ ๖๓.๖๕
ลกั ษณะเฉพาะของขอสอบ สพฐ. ๕๘.๕๒
มาตรฐาน : ท ๑.๑ สพป.ขก ๓ ๔๔.๕๘
สาระ : การอา น
ตวั ช้วี ดั : ม ๓/๓
รูปแบบขอ สอบ : ปรนยั ๔ ตวั เลือก

วิเคราะหขอ สอบ O-NET ปก ารศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชนั้ มัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓

จงใชเ นอื้ เพลงที่กําหนดใหต อไปนต้ี อบคาํ ถามขอ ๖-๑๐
ฉนั เฝาถามความสขุ อยูทีไ่ หน ชายท่ีเขาเดนิ ผา นฉนั เขา มา บอกกบั ฉันขอรม สกั คัน

แตวา ทม่ี ือเขากม็ ีหน่งึ คัน กแ็ ปลกใจ ทามกลางหยดฝนโปรยปราย
เขาก็ถามฉันวาอยากสุขไหม ลองหบุ รมในมือสักพกั หน่ึงและเงยหนามองวนั เวลา

มองหยดน้าํ ทมี่ ันกระทบตา ยังเปยกอยใู ชไหม หรอื ไมมีฝน
ยมิ้ ฉนั ยิม้ มากกวา ทุกครัง้ สขุ ท่ีฉนั ตามหามาแสนนานอยูตรงน้ี แคเพยี งเขาใจ อยาไป

ยึดถือมันและกอดไว กแ็ ครม เทา นนั้ บนทองฟา ไมมอี ะไรแนนอนถา มองจากตรงนี้ เด๋ยี วก็
มืดแลวก็สวาง อาจจะมีฝนกอเปน พายุ หรอื ลมลอยปลิวอยแู คนั้น สุขท่ีเคยเดนิ ทางตามหา
มานานไมไดไ กลทไี่ หน อยแู คน้ีเอง

ฉันเหน็ เธอถอื รมผา นมาเต็มไปดวยรองรอย และครบนํา้ ตา ฉันไดเหน็ แลว มันปวดใจ
ไมใ ชเพียงแคเธอทที่ ุกขฉ นั ก็เปน เหมือนเธอ เธอไดย ินไหมอยากขอใหเ ธอลองโยนรมท่ีถือเอา
ไวห นกั โยนมนั ออกไป

บนทองฟาไมม อี ะไรแนน อนถามองจากตรงนี้ เด๋ียวกม็ ืดแลวกส็ วา ง อาจจะมีฝนกอเปน
พายุหรอื ลม หรอื ลมลอยปลิวอยูแคน ั้น สุขทเ่ี คยเดินทางตามหามานานไมไ ดไกลที่ไหน อยา ไปยดึ
อยาไปถือ อยา ไปเอามากอดไว ก็จะไมเ สยี ใจ ตลอดชวี ิต ตอ งผานการเปลย่ี นแปลง ไมวา ใคร
จะทุกข จะสขุ แคไหน กอ็ ยูท่ีจะมอง

วิเคราะหข อสอบ O-NET ปการศกึ ษา ๒๕๕๕ กลมุ สาระภาษาไทย ชัน้ มธั ยมศึกษาปท่ี ๓ สพป.ขก.๓

๖. ขอใดคอื จุดมงุ หมายสาํ คัญของบทเพลงนี้
๑. เพื่อใหผฟู ง ตระหนกั ถงึ สภาพอากาศที่เปลย่ี นแปลงไปอยางไมอ าจคาดหมายได
๒. เพอ่ื ใหผฟู ง ลองสัมผัสกบั สายฝนเพ่ือใหไดร ับความสดชื่นทไ่ี ดจากธรรมชาติ
๓. เพื่อใหผฟู ง ไดเปรียบเทยี บเหตุการณท่ีผูเขียนเคยประสบกับสิ่งท่ีผฟู งเคยประสบ
๔. เพ่ือใหผูฟง ไดมองเหน็ คุณคาของบางสิ่งทห่ี ลายครั้งมองขามไปเพราะความเคยชนิ

เฉลย ระดับ รอ ยละนักเรียนตอบถูก
ขอ ๓
ประเทศ ๖๕.๗๔
ลักษณะเฉพาะของขอ สอบ สพฐ. ๖๕.๘๔
มาตรฐาน : ท ๑.๑ สพป.ขก ๓ ๕๑.๕๖
สาระ : การอา น
ตัวชี้วดั : ม ๓/๙
รปู แบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลอื ก

วเิ คราะหขอ สอบ O-NET ปก ารศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชัน้ มธั ยมศึกษาปท ี่ ๓ สพป.ขก.๓

๗. เพลงขา งตน มคี วามโดดเดน ดานใดมากทส่ี ดุ
๑. การใชเ หตุการณคขู นานในการเปรียบเทียบ
๒. การใชภ าษาทก่ี อ ใหเกดิ จนิ ตภาพ
๓. การใชคาํ ทีเ่ ขาใจงา ยไมตอ งตคี วาม
๔. การลาํ ดับเนือ้ หาการนาํ เสนอ

เฉลย
ขอ ๑
เปรียบเทยี บจากเหตุการณท ีเ่ คยประสบของผูเขยี นและผฟู ง

ลักษณะเฉพาะของขอสอบ ระดับ รอยละนักเรยี นตอบถูก
มาตรฐาน : ท ๑.๑
สาระ : การอา น ประเทศ ๓๗.๗๘
ตัวช้วี ัด : ม ๓/๓ สพฐ. ๓๘.๐๐
รูปแบบขอ สอบ : ปรนัย ๔ ตวั เลอื ก สพป.ขก ๓ ๓๔.๐๐

วเิ คราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลมุ สาระภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓

๘. ประโยคใดอาจกลา วไดว าเปนใจความสําคัญของเพลงขา งตน
๑. สุขท่ฉี ันตามหามาแสนนานอยูตรงน้ี แคเ พยี งเขาใจอยาไปยึดถือมนั
๒. บนทอ งฟาไมมีอะไรแนน อนถา มองจากตรงน้ี เด๋ยี วกม็ ืด เดีย๋ วกส็ วา ง
๓. เธอไดยินไหมอยากขอใหเธอลองโยนรมท่ถี ือเอาไวห นกั โยนมนั ออกไป
๔. อยา ไปยดึ อยา ไปถอื อยา ไปเอามากอดไว กจ็ ะไมเสียใจตลอดชวี ติ

เฉลย
ขอ ๑

ลักษณะเฉพาะของขอสอบ ระดบั รอ ยละนักเรียนตอบถูก
มาตรฐาน : ท ๑.๑
สาระ : การอาน ประเทศ ๒๔.๐๔
ตวั ชี้วดั : ม ๓/๘ สพฐ. ๒๔.๐๖
รปู แบบขอ สอบ : ปรนยั ๔ ตัวเลอื ก สพป.ขก ๓ ๒๖.๘๔

วิเคราะหข อ สอบ O-NET ปก ารศกึ ษา ๒๕๕๕ กลุม สาระภาษาไทย ชน้ั มธั ยมศึกษาปท ี่ ๓ สพป.ขก.๓

ขอ สอบ
๙. บคุ คลใดตอไปนน้ี ําเอาความคิดท่ีไดจ ากเพลงไปใชใ หเกดิ ประโยชนแกตนเองมากท่ีสุด
๑. ประชา ไมใ สใจคาํ ดดุ า ของเจา นายท่ีมีตอ การกระทําท่ีผิดพลาดของตวั เอง
๒. ประวิทย มอบรมท่ถี ืออยใู หก ับหญิงมีครรภท่กี ําลงั เดนิ ตากฝนอยู
๓. ประพันธ เลอื กซ้ือรมทีม่ ีนํ้าหนกั เบาเพ่ือความสะดวกในการเดนิ ทาง
๔. ประยงค เลิกเสียใจกับเงนิ ท่ีทาํ หายไปเพราะคดิ วาเปน การฟาดเคราะห

เฉลย
ขอ ๔

ลักษณะเฉพาะของขอสอบ ระดบั รอ ยละนักเรยี นตอบถูก
มาตรฐาน : ท ๓.๑
สาระ : การฟง การดู และการพูด ประเทศ ๕๐.๓๕
ตวั ชวี้ ัด : ม ๓/๒ สพฐ. ๕๐.๕๑
รปู แบบขอ สอบ : ปรนยั ๔ ตัวเลือก สพป.ขก ๓ ๓๓.๕๕

วิเคราะหข อ สอบ O-NET ปการศกึ ษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมธั ยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓

๑๐. บทเพลงขางตนนาํ เสนอดว ยน้ําเสยี งอยา งไร
๑. สิ้นหวังหมดกาํ ลังใจ
๒. เปย มหวังมกี ําลงั ใจ
๓. หมดหวังแตมีกาํ ลังใจ
๔. มงุ หวังสรา งกําลงั ใจ

เฉลย ระดับ รอยละนกั เรียนตอบถกู
ขอ ๔
ประเทศ ๕๗.๙๙
ลกั ษณะเฉพาะของขอสอบ สพฐ. ๕๘.๑๖
มาตรฐาน : ท ๓/๑ สพป.ขก ๓ ๕๓.๕๕
สาระ : การฟง การดู และการพูด
ตัวชี้วัด : ม ๓/๒
รปู แบบขอสอบ : ปรนยั ๔ ตวั เลือก

วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชัน้ มัธยมศึกษาปท่ี ๓ สพป.ขก.๓

จงใชก วีนิพนธต อ ไปนี้ตอบคาํ ถาม ขอ ๑๑-๑๓ กวางประเสริฐเลิศดีทุกส่ิงสรรพ
“แตไ รไร ไมเ คยเห็นเชน น้ี แมม ิไดจ ะศัลยกรรแสงครวญ
เม่อื กลับสพู าราจะไวสวน
ไดม าจะไดชมรนื่ รมยครัน มาปูนงั่ ก็จะชวนภิรมยใ จ
แมไ ดเ ปนเลย้ี งเลน ทีก่ ลางปา จงโปรดตามกวางทอง ธ นองใคร
ถึงอยา งไรไดห นังท่ีน่ิมนวล ขอทลู ลาภูวนยั กลั้นใจตาย”
ถาแมว า ทรงศักด์ิยงั รักนอง
แมมิไดกวางทองทต่ี อ งใจ

๑๑. ขอใดแบงวรรคตอนในการอานคําประพันธไ มถกู ตอ ง
๑. แมไดเปน / เลยี้ งเลน / ทก่ี ลางปา เมอ่ื กลับสู / พารา / จะไวส วน
๒. ถงึ อยางไร / ไดหนงั / ท่ีนิม่ นวล มาปนู ่ัง / ก็จะชวน / ภิรมยใจ
๓. ถาแมว า / ทรงศักดิ์ / ยงั รักนอง จงโปรดตาม / กวางทอง ธ / นองใคร
๔. แมมิได / กวางทอง / ท่ีตอ งใจ ขอทลู ลา / ภูวนยั / กล้นั ใจตาย

เฉลย
ขอ ๓

ลักษณะเฉพาะของขอสอบ ระดับ รอยละนักเรยี นตอบถกู
มาตรฐาน : ท ๑.๑
สาระ : การอา น ประเทศ ๗๐.๓๔
ตวั ชวี้ ัด : ม ๓/๑ สพฐ. ๗๐.๗๔
รปู แบบขอสอบ : ปรนยั ๔ ตัวเลือก สพป.ขก ๓ ๕๑.๘๗

วเิ คราะหข อสอบ O-NET ปก ารศึกษา ๒๕๕๕ กลมุ สาระภาษาไทย ชน้ั มธั ยมศึกษาปท ่ี ๓ สพป.ขก.๓

๑๒. กวีนิพนธข างตน มุงแสดงความรูส ึกอยา งไร
๑. เสยี ดายอาลยั อาวรณทีไ่ มไดข องทีร่ ัก
๒. อยากไดใครม ใี นสิ่งของท่ไี มใชข องตน
๓. ระทดใจท่ไี มสามารถทําในสง่ิ ทต่ี นตองการ
๔. สูญเสยี กําลงั ใจเพราะไมไ ดของท่ีอยากได

เฉลย
ขอ ๔

ลักษณะเฉพาะของขอสอบ ระดับ รอ ยละนักเรยี นตอบถูก
มาตรฐาน : ท ๑.๑
สาระ : การอา น ประเทศ ๒๒.๕๖
ตัวชว้ี ดั : ม ๓/๑ สพฐ. ๒๒.๗๔
รปู แบบขอ สอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก สพป.ขก ๓ ๒๘.๗๖

วิเคราะหขอ สอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุม สาระภาษาไทย ชน้ั มัธยมศึกษาปท ี่ ๓ สพป.ขก.๓

๑๓. ขอใดตอไปน้ีมกี ลวธิ ใี นการใชศ ิลปะภาษาคลา ยกบั
“ไดม าจะไดช มรืน่ รมยค รนั แมม ไิ ดจ ะโศกศลั ยกรรแสงครวญ”

๑. ถา แมน พเ่ี ปนนกจะผกผิน จะโบยบนิ ไปรักกนษิ ฐา
๒. นี่ตวั พีเ่ ปนมนษุ ยสดุ ปญญา จะไปมาสารพดั ขดั กนั ดาร
๓. ทําอยางไรขวญั ใจจะไดรู พีค่ ดิ อยูถงึ นุชสดุ สงสาร
๔. เชญิ พระพายพัดพาเอาอาการ ใหข า วสารทรามชมวา ตรมอรุ า

เฉลย
ขอ ๔

ลกั ษณะเฉพาะของขอ สอบ ระดบั รอยละนักเรยี นตอบถกู
มาตรฐาน : ท ๑.๑
สาระ : การอาน ประเทศ ๒๖.๖๖
ตวั ชว้ี ดั : ม ๒/๒ สพฐ. ๒๖.๔๓
รูปแบบขอสอบ : ปรนยั ๔ ตวั เลือก สพป.ขก ๓ ๒๕.๔๙

วเิ คราะหขอ สอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลมุ สาระภาษาไทย ช้ันมธั ยมศกึ ษาปท ี่ ๓ สพป.ขก.๓

๑๔. ธ ๑ พยัญชนะตัวที่ ๒๔ เปน พวกอกั ษรตาํ่ และใชเปน ตัวสะกดใน แมกด ในคํา
ท่ีมา จากภาษาบาลี และสันสกฤตเปนตน เชน สเุ มธ มคธ

ธ ๒ [ทะ] (กลอน) ส. ทาน. เธอ . เชน ธ ประสงคใด จงสฤษดิ์ดัง หวังวรหฤทยั , เปน
สรรพนามบุรษุ ที่ ๓

ขอใดสรปุ ขอ ความทม่ี าจากพจนานุกรมขา งตนไดถกู ตอ ง
๑. คําวา “ธ” ในภาษาไทยอานไดส องแบบคอื ทะ และ ทอ
๒.คําวา “ธ” เปน คําที่รับมาจากภาษาบาลใี ชใ นการสะกดคาํ
๓. คําวา “ธ” เมอ่ื ใชในคาํ ประพันธจะใชเปนคําสรรพนาม
๔. คาํ วา “ธ” ในภาษาไทยมีความหมาย ๒ ความหมาย

เฉลย
ขอ ๑

ลกั ษณะเฉพาะของขอ สอบ ระดับ รอยละนักเรยี นตอบถูก
มาตรฐาน : ท ๔.๑
สาระ : หลักการใชภาษาไทย ประเทศ ๑๓.๐๘
ตวั ชี้วดั : ม ๓/๑ สพฐ. ๑๙.๕๒
รปู แบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก สพป.ขก ๓ ๑๕.๖๒

วเิ คราะหข อสอบ O-NET ปก ารศกึ ษา ๒๕๕๕ กลมุ สาระภาษาไทย ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ่ี ๓ สพป.ขก.๓

๑๕. เหตุผลขอใดสาํ คญั ท่ีสดุ ทาํ ใหตองมีการอางอิงขอ มูลจากการสืบคน จากอินเตอรเ น็ต
๑. ขอ มูลในอนิ เตอรเน็ตมกี ารเปล่ยี นแปลงตลอดเวลาจึงตอ งระบุวันที่เขาถงึ ขอมูล
๒. ขอ งมลู ทางอนิ เตอรเน็ตบางแหลงมีความนา เชื่อถอื นอยจึงตอ งระบุท่มี าของขอ มูล
๓. ขอ มูลทไ่ี ดจากอนิ เตอรเ นต็ มลี ขิ สทิ ธิจ์ ึงตอ งอางอิงเพอื่ ไมใ หเ ปน การละเมดิ
๔. ขอ มลู จากอินเตอรเ น็ตเปน ภาษาปากจึงตองเขยี นอา งอิงเพ่ือใหด เู ปนวิชาการ

เฉลย
ขอ ๑

ลักษณะเฉพาะของขอสอบ ระดบั รอยละนกั เรยี นตอบถกู
มาตรฐาน : ท ๑.๑
สาระ : การอาน ประเทศ ๓๑.๖๒
ตัวชวี้ ัด : ม ๑/๓ สพฐ. ๓๑.๗๐
รูปแบบขอ สอบ : ปรนยั ๔ ตวั เลอื ก สพป.ขก ๓ ๒๙.๘๕

วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศกึ ษา ๒๕๕๕ กลุม สาระภาษาไทย ชั้นมธั ยมศึกษาปท ่ี ๓ สพป.ขก.๓

๑๖. คําท่ีขีดเสนใตใ นขอใดมีลักษณะการสรางคาํ เหมือนกนั
๑. เม่อื ถงึ จุดแตกหกั ทุกคนตา งแยกยา ยกันไปเหมอื นผ้ึงแตกรัง
๒. หากเราสมคั รสมานสามคั คีกันโดยสมัครใจ งานใดใดยอ มสําเร็จไดด วยดี
๓. ประเทศชาติเจรญิ ถา เรายอมรบั ฟงความคิดเหน็ ทแ่ี ตกตาง แตไ มค ิด แตกแยกกนั
๔. การทาํ งานใหกา วหนา นน้ั แตละคนจะตองต้ังใจทําหนาท่ีของตน และไม กา วกาย
งานของคนอ่นื

เฉลย
ขอ ๒

ขอ ๑. คําประสม แตกหกั = แตก (กรยิ า) + หกั (กรยิ า) , แตกรงั = แตก (กริยา) + รัง (นาม)
ขอ ๒ สมัครสมาน (กริยา) หมายถงึ เช่ือมสามัคคี , สมัครใจ (กรยิ า) หมายถึง เต็มใจ
ขอ ๓ คําประสม แตกตาง = แตก (กรยิ า) + ตา ง (สรรพนาม) , แตกแยก = แตก (กริยา) + แยก (กริยา)
ขอ ๔ คาํ ประสม กา วหนา = กา ว (กรยิ า) + หนา (นาม) , กาวกา ย = กา ว (กรยิ า) + กา ย (กรยิ า)

ลกั ษณะเฉพาะของขอ สอบ รอยละนกั เรียนตอบถูก
มาตรฐาน : ท ๑.๑ เฉล่ีย ๓ ฉบับ
สาระ : การอาน
ตวั ช้ีวดั : ม ๑/๔ ประเทศ ๔๔.๙๓
รปู แบบขอสอบ : ปรนยั ๔ ตวั เลอื ก สพฐ. ๒๖.๔๐
สพป.ขก ๓ ๓๔.๐๒

วเิ คราะหข อ สอบ O-NET ปการศกึ ษา ๒๕๕๕ กลมุ สาระภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปท ี่ ๓ สพป.ขก.๓

๑๗. คาํ ท่ขี ีดเสน ใตในขอ ใด ไมสามารถใชไมย มกแทนได

๑. ลางลิงหูลิงลิง หลอกขู

๒. หอนตัดสินหวนหว น เหตดุ วยเบาความ

๓. คอกควายววั รัวเกราะเปาะเปาะเพยี ง รูว า เสียงเกราะแวว แผวแผวเอย

๔. เราตอ งซ้อื หลากหลากและมากมายตองใชท รพั ยส ุรุยสุรา ยเปน กา ยกอง

เฉลย
ขอ ๑
คาํ วา ลงิ ไมใชคําซํ้า ไมส ามารถใชไมย มกแทนได

ลักษณะเฉพาะของขอ สอบ ระดับ รอ ยละนกั เรียนตอบถกู
มาตรฐาน : ท ๔.๑
สาระ : หลักการใชภ าษา ประเทศ ๓๓.๔๐
ตวั ช้ีวดั : ม ๑/๒ สพฐ. ๓๓.๖๑
รปู แบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลอื ก สพป.ขก ๓ ๒๙.๔๗

วิเคราะหข อ สอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชนั้ มัธยมศึกษาปท ่ี ๓ สพป.ขก.๓

๑๘. ขอใดอธบิ ายการสรางคําวา “ราชดาํ เนนิ ” ไดถ กู ตอง
๑. ไมเปน คาํ สมาส เพราะคาํ วา “ดาํ เนนิ ” เปน คาํ ในภาษาเขมร
๒. เปนคาํ สมาส เพราะแปลความหมายจากคําหลังไปคาํ หนา
๓. ไมเ ปน คาํ สมาส เพราะคาํ วา “ดาํ เนนิ ” แผลงมาจากคาํ วา “เดนิ ”
๔. เปน คาํ สมาส เพราะเกิดจากการประสมกันของคําทม่ี าจากภาษาบาล-ี สันสกฤต

เฉลย
ขอ ๑
คาํ สมาส คือ การนาํ คาํ ท่มี าจากภาษาบาลี –สันสกฤต รวมกบั คํา บาลี –สันสกฤต แลวเกดิ

ความหมายใหม
คําวา ราชดาํ เนนิ มาจาก คาํ วา ราชา + ดาํ เนิน
ราชา มาจาก ภาษาบาลี –สันสกฤต
ดําเนนิ มาจาก ภาษาเขมร

ลักษณะเฉพาะของขอ สอบ ระดบั รอยละนักเรียนตอบถกู
มาตรฐาน : ท ๔.๑
สาระ : หลักการใชภ าษา ประเทศ ๑๕.๒๐
ตวั ชีว้ ดั : ม ๒/๔ สพฐ. ๑๔.๙๘
รูปแบบขอ สอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลอื ก สพป.ขก ๓ ๑๓.๑๔

วเิ คราะหข อ สอบ O-NET ปก ารศึกษา ๒๕๕๕ กลมุ สาระภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปท ี่ ๓ สพป.ขก.๓

๑๙. ประโยคในขอใดสือ่ ความไดต รงกบั ขอ ความ “... เสดจ็ ใหม าทลู ถามเสด็จวาจะเสด็จ
หรือไมเ สด็จ ถาเสดจ็ จะเสดจ็ เสด็จจะเสดจ็ ดวย...” มากทส่ี ดุ

๑. พอใหม าถามแมว าแมจ ะไปหรือไมไ ป ถา แมไมไ ปพอจะไปแทน
๒. เขาฝากฉันมาถามวาเธอจะไปหรือไมไ ป ถา เธอไปเขาจะไดไมต อ งไป
๓. ปา ใหมาถามปูวาปูจะไปกับยา หรอื เปลา ถา ปไู มไปจะไดชวนคนอน่ื ไป
๔. นอ งใหม าถามเธอวาเธอจะไปหรอื ไมไป ถา เธอไปนองจะตามไปดวย

เฉลย
ขอ ๔

ลักษณะเฉพาะของขอสอบ ระดับ รอ ยละนักเรียนตอบถกู
มาตรฐาน : ท ๒/๑
สาระ : การเขยี น ประเทศ ๗๖.๒๗
ตวั ช้ีวัด : ม ๒/๒ สพฐ. ๗๖.๕๐
รูปแบบขอ สอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลอื ก สพป.ขก ๓ ๖๒.๕๘

วเิ คราะหข อ สอบ O-NET ปก ารศกึ ษา ๒๕๕๕ กลมุ สาระภาษาไทย ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓

๒๐. ขอใดเปน ประโยคตางชนดิ กนั
๑. เด็กนกั เรยี นกาํ ลงั เลน กฬี ากับครู / ครกู าํ ลังเลนกฬี ากับเด็กนักเรยี น
๒. กระเปา ทอี่ ยูต รงนน้ั ฉนั ทําหายเมอื่ วาน / ฉันทาํ กระเปา ทอี่ ยูตรงน้ัน

หายเมื่อวาน
๓. พีก่ บั นอ งไปเทยี่ วสวนสนกุ ตอนปด เทอม / ตอนปด เทอมพ่ีไปเทยี่ วสวนสนกุ กับนอง
๔. โตขึน้ เธออยากเปนครูหรอื อยากเปน หมอ / โตข้ึนเธออยากเปน หมอหรืออยากเปนครู

เฉลย
ขอ ๒
ขอ ๑ ประโยคความเดียว / ประโยคความเดียว
ขอ ๒ ประโยคความรวม / ประโยคความซอน
ขอ ๓ ประโยคความรวม / ประโยคความรวม
ขอ ๔ ประโยคความรวม / ประโยคความรวม

ลกั ษณะเฉพาะของขอ สอบ ระดบั รอยละนกั เรียนตอบถกู
มาตรฐาน : ท ๔.๑
สาระ : หลกั การใชภาษาไทย ประเทศ ๒๔.๙๙
ตวั ช้ีวดั : ม ๒/๒ สพฐ. ๒๔.๙๗
รูปแบบขอ สอบ : ปรนยั ๔ ตัวเลือก สพป.ขก ๓ ๒๖.๗๙

วิเคราะหขอ สอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ช้นั มัธยมศึกษาปท ่ี ๓ สพป.ขก.๓

๒๑. “แมด ูเหมือนเปนเงาทไี่ มมตี ัวตน แตฉนั ก็มหี ัวใจ” ขอใดอธิบายประโยคขา งตน ไดถูกตอง
๑. เปน ประโยคความเดยี วซับซอนท่ภี าคประธาน
๒. เปนประโยคความรวมทมี่ ีประโยคยอยเปนความซอน
๓. เปน ประโยคความซอนที่มีประโยคยอ ยเปนความรวม
๔. เปน ประโยคความซอ นทม่ี ีประโยคยอ ยเปน ความซอน

เฉลย
ขอ ๒

ลักษณะเฉพาะของขอสอบ ระดับ รอ ยละนกั เรียนตอบถกู
มาตรฐาน : ท ๔.๑
สาระ : หลักการใชภาษา ประเทศ ๓๑.๐๘
ตัวช้วี ัด : ม ๓/๕ สพฐ. ๓๑.๐๒
รูปแบบขอ สอบ : ปรนัย ๔ ตวั เลือก สพป.ขก ๓ ๒๑.๖๓

วเิ คราะหขอ สอบ O-NET ปการศกึ ษา ๒๕๕๕ กลมุ สาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปท ่ี ๓ สพป.ขก.๓

๒๒. บุคคลใดตอไปนไ้ี มป ฏิบัติตามมารยาทในการพูด
ก. กมลเนตร จะพูดแนะนาํ ตัวดว ยประวัติส้นั ๆ และรางวัลทั้งหมดที่เธอไดร บั ใหผูฟง
ทราบเสมอ
ข. กมลพร มักจะทาํ เสียงกระแอมเบา ๆ เพือ่ ขออนุญาตพูดแทรกเรื่องท่ีตนไมเห็นดวย
ค. กมลกานต จะไมพ ูดถึงปญหาทที่ าํ ใหผูฟง ไมส บายใจ และชวนคุยเรือ่ งอ่นื แทน
ง. กมลวรรณ จะพดู ไปขาํ ไปตลอดการสนทนาเพ่ือแสดงความเปน กันเองกบั ผูฟง
๑. ก ข และ ค
๒. ก ข และ ง
๓. ข ค และ ง
๔. ก ข ค และ ง

เฉลย ระดับ รอยละนกั เรียนตอบถกู
ขอ ๒
ประเทศ ๔๑.๗๓
ลักษณะเฉพาะของขอ สอบ สพฐ. ๔๑.๒๗
มาตรฐาน : ท ๓.๑ สพป.ขก ๓ ๒๙.๘๘
สาระ : การฟง การดู และการพูด
ตัวช้วี ัด : , ๒/๖ , ม ๓/๖
รปู แบบขอ สอบ : ปรนยั ๔ ตวั เลือก

วเิ คราะหข อ สอบ O-NET ปการศกึ ษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ช้นั มัธยมศกึ ษาปท ี่ ๓ สพป.ขก.๓

๒๓. หากนักเรียนตอ งการขอความรว มมือจากเพอ่ื นรวมชัน้ เรียนเพือ่ ทํา กิจกรรม ขอ ใดเปนคําพูดโนมนา ว
ใจทเี่ หมาะสมท่ีสดุ

๑. นอกจากจะใหประสบการณท ่ีดีแกพวกเราแลว การทาํ กิจกรรมยังชว ยกันพัฒนาโรงเรยี นเรา
ดวย

๒. การทาํ กิจกรรมคร้งั นี้เปนการสรางช่ือเสียงใหแ กโรงเรียนรกั ดีวิทยา ใครไมท าํ ยอ มยอมไมใชลกู
รักดวี ทิ ยา

๓. กจิ กรรมตาง ๆ ยอ มใหประโยชนแกโรงเรียนและสถาบัน ถา เราไมช วยกนั กน็ บั วาเสียชาตเิ กดิ
๔. กจิ กรรมของโรงเรยี นเราจะประสบความสาํ เร็จไดด วยการทท่ี ุกคนตองไมทาํ ตัวเปนกาฝาก

เฉลย
ขอ ๑

ลกั ษณะเฉพาะของขอ สอบ ระดับ รอยละนกั เรยี นตอบถูก
มาตรฐาน : ท ๓.๑
สาระ : การฟง การดู และการพูด ประเทศ ๗๗.๕๙
ตัวช้ีวดั : ม ๓/๕ สพฐ. ๗๗.๘๖
รปู แบบขอ สอบ : ปรนยั ๔ ตัวเลอื ก สพป.ขก ๓ ๖๗.๕๘

วิเคราะหข อ สอบ O-NET ปก ารศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชนั้ มัธยมศึกษาปท ่ี ๓ สพป.ขก.๓

๒๔. ขอ ใดเปนคําราชาศัพทท ่ถี ูกตอ งที่ใชกับภาพเขียนเหมือนพระองคจริงของ

พระบาทสมเด็จพระเจาอยหู วั และลายมือของพระองค

๑. พระสาทิสลกั ษณ ลายพระราชหตั ถ

๒. พระฉายาลักษณ ลายพระราชหัตถ

๓. พระบรมฉายาลักษณ พระราชหัตถเลขา

๔. พระบรมสาทิสลักษณพระราชหตั ถเลขา

เฉลย
ขอ ๔

ลกั ษณะเฉพาะของขอ สอบ ระดับ รอ ยละนกั เรยี นตอบถูก
มาตรฐาน : ท ๔.๑
สาระ : หลักการใชภาษาไทย ประเทศ ๒๓.๑๙
ตวั ช้วี ัด : ม ๒/๔ สพฐ. ๒๓.๓๐
รูปแบบขอ สอบ : ปรนยั ๔ ตัวเลือก สพป.ขก ๓ ๑๙.๙๐

วิเคราะหขอ สอบ O-NET ปก ารศึกษา ๒๕๕๕ กลมุ สาระภาษาไทย ชน้ั มธั ยมศึกษาปท ่ี ๓ สพป.ขก.๓

๒๕. หากนักเรียนตองทาํ รายงานเชงิ วิชาการ เร่อื ง “สํานวนไทยทมี่ าจากวรรณคด”ี หัวขอใด
ตอ ไปน้ไี มจําเปนตองมีในรายงาน

ก) ความสําคญั ของวรรณคดี
ข) ความสําคญั และที่มาของสาํ นวนไทย
ค) ประวัติผูแ ตง วรรณคดที เ่ี ปนท่ีมาของสาํ นวนไทย
ง) เหตุการณหรือตัวละครในวรรณคดีท่ีเปน ท่มี าของสาํ นวนไทย
จ) ความหมายและบริบทในการใชส าํ นวนไทยท่ีมาจากวรรณคดี

๑. ก และ ข
๒. ข และ ง
๓. ก และ ค
๔. ข และ ค

เฉลย
ขอ ๓

ลกั ษณะเฉพาะของขอ สอบ ระดับ รอยละนกั เรียนตอบถูก
มาตรฐาน : ท ๒.๑
สาระ : การเขียน ประเทศ ๓๗.๖๐
ตัวชีว้ ดั : ม ๑/๘ , ม ๒/๕ , ม ๓/๙ สพฐ. ๓๗.๗๙
รปู แบบขอสอบ : ปรนยั ๔ ตัวเลือก สพป.ขก ๓ ๒๙.๐๗

วเิ คราะหขอสอบ O-NET ปก ารศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๓ สพป.ขก.๓

๒๖. หากทุกคนเดนิ ทางไกลจนเหนื่อยลา แตยงั ไมถึงจดุ หมาย ขอใดใชภาษาเจรจาตอ รองเพื่อใหได
หยุดพกั ไดดีทส่ี ดุ

๑. พักกอนเถอะ ฉันเหนอื่ ยมากแลว เดินตอ ไปตอนน้คี งจะยังไมไหวขอรองละนะ
๒. ใครจะไปก็ไป แตฉนั จะพักกอนแลว คอยตามไปทหี ลงั ไปชาไปเรว็ กถ็ ึงเหมอื นกนั
๓. ทุกคนหยดุ กอ นเถอะ เพ่ือนหลายคนเหนื่อยมากแลว เราตอ งเหน็ ใจคนอ่ืนบาง
๔. เราควรพักด่ืมนํ้ากันกอ น หากเราเดินตอจะไมเปนผลดีตอสขุ ภาพของทกุ คนแน

เฉลย
ขอ ๔

ลักษณะเฉพาะของขอ สอบ ระดบั รอ ยละนักเรียนตอบถูก
มาตรฐาน : ท ๒.๑
สาระ : การเขียน ประเทศ ๕๔.๐๑
ตัวช้ีวัด : ม ๓/๕ สพฐ. ๕๔.๓๔
รูปแบบขอ สอบ : ปรนยั ๔ ตัวเลอื ก สพป.ขก ๓ ๕๐.๓๐

วเิ คราะหข อสอบ O-NET ปก ารศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓

๒๗. ขอ ใดแสดงใหเ หน็ ธรรมชาติของภาษาวา ภาษามีการเปลี่ยนแปลง
ความหมาย
๑. “ไฟฟา” ในคาํ กลอน “ตาแดงดัง่ แสงไฟฟา ” หมายถงึ “สายฟา ” ไมใ ชไ ฟฟา ที่เราใช
๒. คนไทยในสมัยกอนใชคําวา “ดงขา ว” ในความหมายเดยี วกับ “หุงขาว” ในสมัยปจจุบนั
๓. การพูดวา “ยงั ไง” เปนการพดู ตามความนยิ ม เราควรพูดวา “อยา งไร” จึงจะถกู ตอง
๔. กอนหนา ท่ีจะมีโทรทศั นใ นประเทศไทย เราไมเ คยใชคาํ วา “โทรทศั น” เรยี กชอ่ื สิง่ ของ

เฉลย
ขอ ๑
ไฟฟาในอดีต หมายถงึ สายฟา
ไฟฟาในปจ จุบัน หมายถึง กระแสไฟฟา ท่ีเกิดจากการไหลเวียนของอิเล็กตรอน

ลกั ษณะเฉพาะของขอ สอบ ระดบั รอ ยละนักเรยี นตอบถูก
มาตรฐาน : ท ๔.๑
สาระ : หลักการใชภ าษาไทย ประเทศ ๒๗.๑๐
ตวั ชี้วดั : ม ๓/๓ สพฐ. ๒๗.๑๓
รูปแบบขอสอบ : ปรนยั ๔ ตวั เลอื ก สพป.ขก ๓ ๑๕.๙๗

วเิ คราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปท ี่ ๓ สพป.ขก.๓

๒๘. ขอใดเปน คาํ ที่เกิดจากการกรอนเสียงทกุ คาํ

๑. สะพาน สะใภ ประทว ง

๒. มะพรา ว ตะกรา มะตูม

๓. สะดือ สะโพก ตะขาบ

๔. ฉะน้นั ประเด๋ียว กระโจน

เฉลย
ขอ ๒ การกรอนเสยี ง คอื การหมดไป ส้นิ ไปทีละนอย หรือใหสนั้ ลง
๑. สะพาน = ตะพาน(แผลงคาํ ) ,สะใภ = สาวใภ , ประทวง = ทวง (แทรกคาํ หนา )
๒. มะพรา ว =หมากพรา ว , ตะกรา =กะตา (แผลงคาํ ) , มะตมู = หมากตมู
๓. สะดือ =สายดอื , สะโพก =ตะโพก (แผลงคาํ ) , ตะขาบ = ตัวขาบ
๔. ฉะนั้น =ฉนั นัน้ , ประเดี๋ยว = เดยี๋ ว (แทรกคําหนา) , กระโจน =โจน (แทรกคําหนา)

ลกั ษณะเฉพาะของขอ สอบ ระดบั รอ ยละนกั เรียนตอบถกู
มาตรฐาน : ท ๔.๑
สาระ : หลักการใชภาษาไทย ประเทศ ๒๓.๖๕
ตัวช้วี ัด : ม ๑/๒ สพฐ. ๒๓.๓๖
รูปแบบขอ สอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก สพป.ขก ๓ ๒๓.๙๐

วเิ คราะหขอ สอบ O-NET ปก ารศึกษา ๒๕๕๕ กลุม สาระภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปท ี่ ๓ สพป.ขก.๓

๒๙. ขอ ใดไมมีคาํ ภาษาตางประเทศ

๑. ชายขา วเปลอื กหญิงขาวสารโบราณวา นาํ้ พงึ่ เรือเสือพ่งึ ปาอัชฌาสยั

๒. อยานอนเปลาเอากระจกยกออกมา สองดูหนา เสียทีหนึ่งแลวจึงนอน

๓. เห็นเต็มตาแลวอยา อยากทําปากบอน ตรองเสยี กอนจึงคอยทาํ กรรมทง้ั มวล

๔. สบิ ดีก็ไมถ ึงกับกึ่งพาล เปนชายชาญอยา เพอคาดประมาทชาย

เฉลย
ขอ ๒
คําภาษาตางประเทศ
ขอ ๑ โบราณ อชั ฌาสัย
ขอ ๓ กรรม
ขอ ๔ พาล ชาญ

ลักษณะเฉพาะของขอสอบ ระดับ รอยละนกั เรียนตอบถูก
มาตรฐาน : ท ๔.๑
สาระ : หลักการใชภ าษาไทย ประเทศ ๓๗.๘๐
ตวั ชีว้ ัด : ม ๓/๑ สพฐ. ๓๗.๘๔
รปู แบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลอื ก สพป.ขก ๓ ๔๐.๔๑

วเิ คราะหข อ สอบ O-NET ปก ารศกึ ษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ช้ันมัธยมศกึ ษาปท ี่ ๓ สพป.ขก.๓

๓๐. ขอใดแสดงใหเห็นวา คําบาลี –สันสกฤต ท่เี ปนคําเดยี วกัน
อาจใชตา งรูปและตา งความหมายกันในภาษาไทย

๑. บุษบา บปุ ผา
๒. มจั ฉา มสั ยา
๓. ทิฐิ ทฤษฎี
๔. สจั สัตย

เฉลย ความจริง
ขอ ๔ ความซ่ือสตั ย
สจั หมายถึง
สตั ย หมายถึง

ลกั ษณะเฉพาะของขอสอบ ระดบั รอ ยละนักเรยี นตอบถูก
มาตรฐาน : ๔.๑
สาระ : หลักการใชภ าษาไทย ประเทศ ๒๘.๗๒
ตัวชีว้ ัด : ม ๒/๕ สพฐ. ๒๙.๐๕
รปู แบบขอ สอบ : ปรนยั ๔ ตัวเลอื ก สพป.ขก ๓ ๒๑.๔๒

วิเคราะหข อ สอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลมุ สาระภาษาไทย ชัน้ มธั ยมศึกษาปท ี่ ๓ สพป.ขก.๓

๓๑. ขอ ใดใชคาํ ทบั ศพั ทโดยไมจําเปน
๑. ประธานาธบิ ดบี ารัค โอบามา จากประเทศอเมริกาจะมาเยือนประเทศไทยเร็วๆ น้ี
๒. ปก ารศึกษาน้โี รงเรยี นของเราจะประกาศรบั นักเรยี นโควตานกั กีฬาจํานวน ๒ คน
๓. เดก็ ๆ ไมควรใชป ากกาเลเซอรย ิงแสงเขาตาเพ่ือน เพราะอาจทําใหตาเสยี ได
๔. นกั เรียนทกุ คนควรทําขอ สอบวชิ าภาษาไทยใหไดคะแนนมากกวา ๗๐ เปอรเ ซน็ ต

เฉลย
ขอ ๔
นกั เรียนทกุ คนควรทําขอ สอบวิชาภาษาไทยใหไ ดค ะแนนมากกวา ๗๐

ลักษณะเฉพาะของขอ สอบ ระดบั รอยละนกั เรียนตอบถูก
มาตรฐาน : ท ๔.๑
สาระ : หลักการใชภาษาไทย ประเทศ ๒๔.๔๔
ตวั ชีว้ ดั : ม ๓/๔ สพฐ. ๒๔.๒๘
รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก สพป.ขก ๓ ๒๐.๖๕

วเิ คราะหขอสอบ O-NET ปก ารศึกษา ๒๕๕๕ กลุม สาระภาษาไทย ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๓ สพป.ขก.๓

๓๒. ขอ ใดเปน การใชภ าษาระดับเดยี วกนั ท้ังประโยค และเหมาะสมกับระดบั บุคคล
๑. ใจบญุ พูดกบั ครวู า “ผมไมทราบวาครไู มอ ยู จึงเขา มาสงการบานโดยไมไดข อ
อนญุ าต”
๒. ใจงาม พดู กับครูวา “หนูไมรหู นไู มไดย ินทค่ี รบู อก ขอประทานโทษดวยคะ ”
๓. ใจดี พูดกบั ครูวา “ทราบแลว คะ เดีย๋ วหนูรีบทาํ ใหด ว นจี๋เลยนะจะ คร”ู
๔. ใจกลา พดู กบั ครูวา “ผมลืมทาํ การบาน เพราะมัวแตท าํ งานอดเิ รกครับ”

เฉลย ไมทราบภาษาปาก ไมอ ยู
ขอ ๔ ขอประทานโทษ ภาษาปาก ไมร ู
ขอ ๑ ภาษาทางการ ทราบแลว คะ ภาษาปาก ดวนจ๋ี
ขอ ๒ ภาษาทางการ
ขอ ๓ ภาษาทางการ

ลักษณะเฉพาะของขอ สอบ ระดบั รอยละนกั เรยี นตอบถกู
มาตรฐาน : ท ๔.๑
สาระ : หลักการใชภาษาไทย ประเทศ ๕๔.๑๑
ตัวชีว้ ดั : ม ๓/๓ สพฐ. ๓๗.๓๓
รปู แบบขอสอบ : ปรนยั ๔ ตัวเลอื ก สพป.ขก ๓ ๔๑.๑๕

วเิ คราะหข อ สอบ O-NET ปก ารศกึ ษา ๒๕๕๕ กลมุ สาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศกึ ษาปท ี่ ๓ สพป.ขก.๓

๓๓. จากตัวอยางการใชขอ ความในทปี่ ระชมุ ท่ีกําหนดใหตอไปน้ี ขอ ใด
กลา วสรุปไมถกู ตอ ง
ก) ผมเหน็ ดว ยกบั ทท่ี านเสนอครบั
ข) ขอใหฟงประธานพูดใหจบกอ นนะครบั
ค) กรุณาดรู ายงานการประชมุ ในหนา หนึง่ ครับ
ง) ขอบคุณครับทเ่ี สนอความเห็นท่เี ปน ประโยชนอยางย่ิง

๑. ผูเขาประชุมควรใชถ อ ยคาํ สภุ าพ
๒. เพือ่ ลดการขดั แยงควรใชภาษาระดับกันเอง
๓. ควรใชภ าษาท่ีสรางบรรยากาศเปน มติ รในการประชุม
๔. ควรใชค าํ ท่แี สดงถึงการใหเ กียรตซิ ง่ึ กันและกนั เมือ่ จะพูด

ในทปี่ ระชมุ

เฉลย
ขอ ๒

ลักษณะเฉพาะของขอสอบ ระดับ รอ ยละนักเรียนตอบถกู
มาตรฐาน : ท ๓/๑
สาระ : การฟง การดู และการพูด ประเทศ ๔๐.๙๔
ตัวช้วี ดั : ม ๓/๖ สพฐ. ๔๑.๐๗
รูปแบบขอสอบ : ปรนยั ๔ ตวั เลอื ก สพป.ขก ๓ ๓๓.๗๗

วิเคราะหข อ สอบ O-NET ปก ารศกึ ษา ๒๕๕๕ กลมุ สาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศกึ ษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓

๓๔. หากครูตอ งการใหน ักเรียนสืบคนขอมูล เร่ือง “วัดพระเชตุพนวมิ ลมงั คลาราม
(วดั โพธ)ิ์ : คลงั ความรูในแผน ดินพระบาทสมเด็จพระนง่ั เกลาเจาอยูหวั ” ไมค วรใชค ําสาํ คญั ใดใน
การสืบคนขอมูล

๑. วดั โพธ์ิ
๒. คลังความรู
๓. วดั พระเชตุพนวิมลมงั คลาราม
๔. พระบาทสมเด็จพระนัง่ เกลา เจาอยูหวั

เฉลย
ขอ ๒
เพราะวา คําวา คลงั ความรู ไมส ามารถบอกไดว า เปนความรูในเรอื่ งอะไร

ลักษณะเฉพาะของขอสอบ ระดบั รอยละนกั เรยี นตอบถกู
มาตรฐาน : ท ๑.๑
สาระ : การอาน ประเทศ ๔๒.๐๓
ตัวชีว้ ัด : ม ๓/๕ สพฐ. ๔๒.๐๔
รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตวั เลอื ก สพป.ขก ๓ ๓๑.๘๖

วเิ คราะหขอ สอบ O-NET ปก ารศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท ี่ ๓ สพป.ขก.๓

๓๕. ใครเปน ผูที่ใชเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาความรไู ดด ี และถูกตองทีส่ ดุ
๑. วนั ดี คดั ลอกเน้อื หาจากอินเตอรเน็ตมาสงครู แตไดเ ขียนบรรณนานกุ รมไวใ นตอนทา ย

อยางละเอยี ด
๒. ปรีดา คดั ลอกเนอ้ื หาจากแหลงขอมลู จากหลายๆ แหลงบนอินเตอรเ น็ตมาเรยี งตอกนั

แลวสงครูโดยไมเปลีย่ นขอความ
๓. ตาหวาน นําเนอ้ื หาจากอนิ เตอรเนต็ มาเขยี นเรยี บเรยี งใหมกอนจะตพี มิ พเผยแพรเ ปน

ผลงานของตนเอง
๔. สานฝน นําขอ มูลจากอนิ เตอรเ น็ต และหนังสอื มาเรียบเรียงใหมโ ดยแทรกความคดิ ตน

พรอมอา งองิ แหลงขอ มูล

เฉลย
ขอ ๔
เนอื่ งจากขอ มูลจากอินเตอรเ น็ตมกี ารเปลยี่ นแปลงตลอดเวลา ไมถ อื วา เปนขอมูลทาง
วิชาการเราจึงจําเปนตองมกี ารอางองิ แหลงขอมูล และคน ควาเน้อื หาจากหนังสือเรียนเพ่ิมเติม
เพอื่ ใหขอมลู นา เชื่อถือมากย่ิงขนึ้

ลกั ษณะเฉพาะของขอสอบ ระดบั รอ ยละนกั เรียนตอบถูก
มาตรฐาน : ท ๑.๑
สาระ : การอา น ประเทศ ๕๙.๖๖
ตัวช้ีวัด : ม ๑/๘ สพฐ. ๖๐.๐๐
รปู แบบขอสอบ : ปรนยั ๔ ตัวเลือก สพป.ขก ๓ ๔๙.๕๖

วเิ คราะหขอสอบ O-NET ปก ารศกึ ษา ๒๕๕๕ กลมุ สาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศกึ ษาปท่ี ๓ สพป.ขก.๓

๓๖. ขอ ใดเปน คําขวญั สงเสรมิ การอนุรกั ษวัฒนธรรมไทยที่เหมาะสมท่ีสุด
๑. รรู กั วัฒนธรรมไทย ความภูมิใจไทยทุกคน
๒. สืบสานวฒั นธรรม ตระหนกั ยาํ้ ความเปน ไทยรักษาไวใ หแผน ดิน
๓. วฒั นธรรมงามตา คงคุณคาความเปน ไทยประทับใจนิจนิรันดร
๔. สืบสานความเปนไทย ภมู ใิ จความเปนชาติเกียรติประกาศวัฒนธรรมไทย

เฉลย
ขอ ๒

ลกั ษณะเฉพาะของขอสอบ ระดับ รอยละนกั เรยี นตอบถกู
มาตรฐาน : ท ๔.๑
สาระ : หลักการใชภ าษาไทย ประเทศ ๓๘.๐๐
ตัวชวี้ ัด : ม ๑/๔ สพฐ. ๓๘.๑๖
รปู แบบขอ สอบ : ปรนยั ๔ ตัวเลอื ก สพป.ขก ๓ ๓๔.๒๒

วเิ คราะหข อสอบ O-NET ปการศกึ ษา ๒๕๕๕ กลมุ สาระภาษาไทย ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ี่ ๓ สพป.ขก.๓

๓๗. ขอใดตอไปนใ้ี ชสาํ นวนเพ่อื กลาวเทดิ พระคณุ ครูไดเหมาะสมที่สดุ
๑. เพราะครูมีพระคณุ ตอศษิ ย ศิษยจึงรกั ครู ศิษยแ ละครู จงึ เหมือนน้ําพึง่ เรือเสือพ่งึ ปา
๒. เพราะครูอดทนสอนพวกเราอยูเสมอ แมต อ งปากเปย กปากแฉะแตครกู ไ็ มย อ ทอ
๓. ครูนั้นรกั ศิษยดงั แกว ตาดวงใจ ครูจงึ เสียสละทั้งแรงกายแรงใจสง่ั สอนศษิ ย
๔. ครูเปน คนเรียบรอ ยเหมอื นนา้ํ นง่ิ ไหลลึก แตค รมู กั จะใหค วามรักความหว งใยตอ ศษิ ย

เฉลย
ขอ ๓

ลกั ษณะเฉพาะของขอ สอบ ระดับ รอยละนกั เรียนตอบถูก
มาตรฐาน : ท ๑.๑
สาระ : การอา น ประเทศ ๒๐.๖๕
ตวั ชี้วัด : ม ๒/๒ สพฐ. ๒๐.๕๐
รปู แบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก สพป.ขก ๓ ๑๗.๗๙

วิเคราะหขอ สอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุม สาระภาษาไทย ชั้นมธั ยมศึกษาปท ี่ ๓ สพป.ขก.๓

๓๘. “สมเดจ็ พระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพนั วัสสาอัยยะกาเจา มีพระนามเดมิ คอื พระเจา ลูกเธอ
พระองคเ จาสวางวฒั นาเปนพระธิดาในพระบาทสมเด็จพระเจาเกลาเจา อยูห วั กบั สมเด็จพระปยมาวดี ศรพี ัชรนิ ทร
มาตา ทรงมีพระราชสมภพเมื่อวันที่ ๑๐ กันยายน พ.ศ. ๒๔๐๕ ทรงเจรญิ พระชนมช พี ในพระบรมมหาราชวัง
ทรงไดรับการอบรมกลอมเกลาในขนบราชประเพณแี หงราชวงศ ทรงบาํ เพญ็ พระราชกรณียกิจเพ่ือประโยชนสุข
ของปวงชนทั้งดานการศกึ ษา วทิ ยาศาสตรสขุ ภาพและการอนรุ กั ษพัฒนาวัฒนธรรม”

จากขอความขางตน ควรจัดใหอยใู นสวนใดของเรยี งความ เรือ่ ง
“ราชนารแี หงราชวงศจักร”ี

๑. คํานํา
๒. เนอื้ เรอ่ื ง
๓. สรุป
๔. คํานาํ หรือสรุป

เฉลย
ขอ ๒

ลกั ษณะเฉพาะของขอสอบ ระดบั รอ ยละนักเรยี นตอบถูก
มาตรฐาน : ท ๑.๑
สาระ : การอาน ประเทศ ๔๖.๕๑
ตวั ชีว้ ดั : ม ๒/๕ สพฐ. ๔๖.๙๕
รปู แบบขอสอบ : ปรนยั ๔ ตวั เลือก สพป.ขก ๓ ๔๖.๐๕

วิเคราะหข อ สอบ O-NET ปการศกึ ษา ๒๕๕๕ กลมุ สาระภาษาไทย ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓

๓๙. ขอ ใดเปนการเขียนแสดงความคิดเห็นท่ีเหมาะสม
๑. กระทรวงศกึ ษาธิการควรยกเลิกระเบียบการแตงกายชุดนักเรยี น แลว ใหน ักเรยี นสามารถใส

เส้อื ผา ไปโรงเรียนไดอ ยา งอิสระ เพอ่ื เปน การเตรยี มความพรอมสูการเปนประชาคมอาเซียน
๒. ภาวะโลกรอ น อาจไมใ ชส ง่ิ ท่ีนา กลวั อีกตอไป หากมนุษยทกุ คนปรับพฤตกิ รรมที่จะอยูรว มกับ

ธรรมชาตไิ ดอ ยางพอเพยี ง พรอมกบั ชวยกนั ดแู ลอนุรักษส ่ิงแวดลอ มและใชทรพั ยากรอยา งรคู ณุ คา มากที่สุด
๓. อาหารไทยเปน อาหารทมี่ รี สจัด ทาํ ใหชาวตะวนั ตกหลายประเทศไมน ิยมรับประทานอาหาร

ไทย ดงั น้ัน นโยบายการนําครัวไทยสคู รวั โลก จงึ เปนเพียงความฝน ทีไ่ มมวี นั เปนความจรงิ
๔. การพฒั นาประเทศในยคุ ปจจุบัน ควรสง เสริมใหประชาชนสามารถใชภ าษาองั กฤษในการ

สอ่ื สารมากขึน้ โดยถือเปนวาระแหงชาตทิ ่ีจะกําหนดใหภาษาองั กฤษเปนภาษาราชการแทนภาษาไทย

เฉลย
ขอ ๒

ลกั ษณะเฉพาะของขอสอบ ระดบั รอ ยละนักเรียนตอบถกู
มาตรฐาน : ท ๑.๑
สาระ : การอา น ประเทศ ๖๓.๔๐
ตวั ชีว้ ัด : ม ๑/๖ , ม ๒ / ๕ สพฐ. ๖๓.๗๙
รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลอื ก สพป.ขก ๓ ๕๖.๖๙

วิเคราะหขอสอบ O-NET ปก ารศกึ ษา ๒๕๕๕ กลมุ สาระภาษาไทย ชัน้ มัธยมศึกษาปท ี่ ๓ สพป.ขก.๓

๔๐. ขอ ใดไมควรเปน หัวขอในโครงรา งการทํารายงานวชิ าการเรื่อง “วยั รุน กบั สังคม
ออนไลน”

๑. ความหมาย ลักษณะและประเภทของสังคมออนไลน
๒. วัยรนุ กับการใชสงั คมออนไลนอยางมีวิจารณญาณ
๓. การพัฒนาวิชาชีพดานสงั คมออนไลนสคู วามเปนสากล
๔. ปญหาการใชส ังคมออนไลนข องวยั รนุ ไทยในปจ จบุ นั

เฉลย
ขอ ๓

ลกั ษณะเฉพาะของขอ สอบ ระดบั รอ ยละนักเรยี นตอบถูก
มาตรฐาน : ท ๒.๑
สาระ : การเขียน ประเทศ ๔๔.๘๘
ตัวชว้ี ัด : ม ๓/๙ สพฐ. ๔๕.๑๔
รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตวั เลือก สพป.ขก ๓ ๓๘.๘๓

วิเคราะหข อ สอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลมุ สาระภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปท ี่ ๓ สพป.ขก.๓

๔๑. “ภาษาไทย เปนภาษาในตระกูลคําโดด.............เปน ภาษาเรยี งคําที่มวี วิ ฒั นาการมานานกวา
พนั ป คนไทยใชภ าษาไทยเปน เครอ่ื งมือดํารงชวี ติ และ.........ท้งั การพูด การอา น การฟงและการเขยี น
กอ ใหเ กดิ ความคิดเชงิ สรางสรรคและสอ ใหเหน็ ..............และลักษณะนสิ ยั ของคนไทยท่ตี า งจากชนชาติอน่ื
ดังกลา วที่วา “สาํ เนยี งบอกภาษา กริ ยิ าสอสกลุ ” ” ควรนําคาํ ในขอใดไปเติมในชองวา งตามลําดับ แลวทาํ
ใหขอความนมี้ ีใจความสมบูรณ

๑. และการสื่อสาร บคุ ลิกภาพ
๒. แต การส่ือสาร สารัตถภาพ
๓. และการทํางาน สารัตถภาพ
๔. แต การทาํ งาน บคุ ลกิ ภาพ

เฉลย ระดับ รอยละนักเรียนตอบถูก
ขอ ๑
ประเทศ ๗๑.๑๐
ลักษณะเฉพาะของขอสอบ สพฐ. ๗๑.๔๓
มาตรฐาน : ท ๔.๑ สพป.ขก ๓ ๖๒.๕๐
สาระ : หลักการใชภาษาไทย
ตัวชี้วัด : ม ๑/๓
รูปแบบขอ สอบ : ปรนยั ๔ ตวั เลือก

วิเคราะหขอ สอบ O-NET ปการศกึ ษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ช้นั มัธยมศกึ ษาปท่ี ๓ สพป.ขก.๓

๔๒. “นักเขียนทดี่ ีตอ งมมี ารยาทในการเขียน กอ นเร่มิ งานเขยี นนักเขียนควรเลือกหัวขอ เร่อื งท่ี
ตนเองมีความรูม ากท่สี ุด และมคี วามตงั้ ใจท่ีจะรวบรวมความคดิ เขยี นงานท่ีสรางสรรคไมทาํ ใหผูอ่ืนเสยี หาย
หรือเดอื ดรอน” จากสถานการณน ี้ แสดงวา นกั เขียนกาํ ลังใชกระบวนการเขยี นในขอ ใด

๑. การยกรางขอ เขียน
๒. การเตรียมการเขยี น
๓. การปรับปรุงขอเขียน
๔. การบรรณาธิการกจิ

เฉลย รอ ยละนกั เรียนตอบถกู
ขอ ๑ เฉลีย่ ๓ ฉบบั

ลกั ษณะเฉพาะของขอ สอบ ประเทศ ๕๓.๓๓
มาตรฐาน : ท ๒.๑ สพฐ. ๕๓.๒๐
สาระ : การเขียน สพป.ขก ๓ ๔๘.๑๕
ตัวชีว้ ดั : ม ๓/๒
รูปแบบขอสอบ : ปรนยั ๔ ตัวเลอื ก

วิเคราะหขอ สอบ O-NET ปการศกึ ษา ๒๕๕๕ กลุม สาระภาษาไทย ชนั้ มัธยมศึกษาปท่ี ๓ สพป.ขก.๓

๔๓. หลังจากการฟงบรรยายเรือ่ ง “เศรษฐกจิ พอเพียง” บคุ คลใดตอไปน้ีเปน ผูฟงทม่ี ีวิจารณญาณมาก
ท่สี ดุ

๑. เอก นาํ ทรัพยสมบตั ิบริจาคใหแ กม ูลนิธิการกศุ ล โดยเหลือทรพั ยสนิ เพียงเลก็ นอ ยไวใชใน
ชวี ิตประจาํ วันเพ่ือแสดงใหสังคมรวู าตนเองมคี วามพอเพียง

๒. อน ความพอเพียงเปน เรื่องไกลตวั เพราะครอบครวั เขามีฐานะดีจึงไมจาํ เปนตอ งสนใจ
เกษตรกรท่ียากไรเ ทาน้ันท่ีควรตระหนกั ถึงความพอเพียง

๓. อาม นําขอความทส่ี รุปไดจากการฟงบรรยาย มาจัดทาํ เปนรายงานวิชาการสง อาจารยเพ่อื
แสดงวาตนเองมคี วามรคู วามเขา ใจเกยี่ วกับเศรษฐกิจพอเพียงมากขน้ึ

๔. แอน กลับไปคยุ กับครอบครวั เพื่อรวมกันวางแผนการปรบั ใชชีวติ ใหร ูจกั ประหยดั อดออม
ใชจ ายอยา งรูคณุ คาและพอเพยี งตามรายรบั ทคี่ รอบครวั พงึ มี

เฉลย
ขอ ๔

ลักษณะเฉพาะของขอสอบ ระดับ รอยละนกั เรยี นตอบถกู
มาตรฐาน : ท ๓.๑
สาระ : การฟง การดูและการพูด ประเทศ ๗๕.๓๕
ตัวช้ีวดั : ม ๓/๒ สพฐ. ๗๕.๙๐
รูปแบบขอ สอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก สพป.ขก ๓ ๖๓.๖๙

วเิ คราะหข อสอบ O-NET ปก ารศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท่ี ๓ สพป.ขก.๓

๔๔. การพูดในขอใดเปน การพูดทเี่ กิดสัมฤทธิผลไดด ที ี่สดุ
๑. เน่อื งในวนั ปใหม นักเรียนทกุ คน ขอใหอาจารยมีความสุขสมหวังสมปรารถนานะครับ
๒. วนั ครปู น้ี พวกเราทุกคนกลับมาหาครู เพราะพวกเราระลึกถึงพระคณุ ของครเู สมอครับ
๓. คุณพอครบั วนั เกดิ ปนี้ คณุ พอ โตเรว็ ขนึ้ อีกปแ ลวนะครับคงรกั ลูกคนนมี้ ากขึน้ นะครับ
๔. วันเกิดผมแลว แมต อ งซอ้ื รถใหน ะ ใหผมเกดิ มาท้ังที แมก ็ตองใหข องขวัญดว ยนะครับ

เฉลย
ขอ ๒
ขอ ๑ การอวยพรพอ แม ครูอาจารย หรือคนทมี่ อี ายุมากกวา ตอ งอางคุณพระศรรี ตั นตรยั
หรอื ส่ิงศกั ดิ์
ขอ ๓ คําวา โตเร็ว เปน คาํ ทีใ่ ชส ําหรับเด็ก ไมค วรนาํ มาใชกบั พอ
ขอ ๔ แมตองซอ้ื รถใหน ะ เปนการพดู เหมอื นบีบบังคบั แม
ใหผมเกิดมาทั้งที เปน คําพูดเหมือนประชดประชนั

ลกั ษณะเฉพาะของขอ สอบ ระดับ รอยละนักเรียนตอบถูก
มาตรฐาน : ท ๓.๑
สาระ : การฟง การดู และการพดู ประเทศ ๕๓.๕๗
ตัวช้ีวัด : ม ๒/๔ , ม ๓/๔ สพฐ. ๕๔.๕๘
รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตวั เลือก สพป.ขก ๓ ๕๐.๒๐

วิเคราะหข อสอบ O-NET ปก ารศึกษา ๒๕๕๕ กลมุ สาระภาษาไทย ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓

๔๕. นองนก : พชี่ ะเอม ไมต องคดิ มากนะ แคอ าจารยใหไ ปพดู หนาช้นั เรียน ๕ นาที พดู อะไรไปก็ไดค ะ
ชะเอม : ไมไ ดห รอก นอ งนก เราตองคิดใหไดค ําตอบกอนวาเราจะไปพดู เพือ่ อะไร หากคิดชดั เจน

ไดต งั้ แตตน ตอนปลายทางการพูดก็จะประสบความสําเรจ็
จากบทสนทนาขา งตน แสดงวา ชะเอม มีคุณลกั ษณะท่ีดีตามหลักการพดู ในขอใด
๑. กําหนดวัตถปุ ระสงค
๒. วิเคราะหผูฟง
๓. รวบรวมเน้อื หา
๔. เตรยี มการใชภาษา

เฉลย ระดบั รอยละนกั เรยี นตอบถกู
ขอ ๑
ประเทศ ๔๕.๒๗
ลกั ษณะเฉพาะของขอสอบ สพฐ. ๔๕.๓๗
มาตรฐาน : ท ๓.๑ สพป.ขก ๓ ๓๑.๕๒
สาระ : การฟง การดู และการพดู
ตวั ช้ีวัด : ม ๓/๖
รูปแบบขอ สอบ : ปรนยั ๔ ตวั เลอื ก

วิเคราะหขอ สอบ O-NET ปการศกึ ษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ี่ ๓ สพป.ขก.๓

๔๖. บคุ คลในขอ ใดตอ ไปน้เี ปน ผูทนี่ าํ สาระจากการดไู ปใชไ ดเกิดประโยชนส ูงสดุ
๑. ตม้ั ประกาศหา มบุคคลในครองครวั ไมใ หเ ดินทางไปเท่ยี วญี่ปุนหลงั จากไดด ูรายงานขาว
แผน ดินไหวและการเกดิ สนึ ามิที่ญี่ปนุ
๒. โตง ขอเลิกกบั แฟนแลว คดิ จะคบหากบั ผูหญิงคนใหมท ดี่ ีพรอมเหมือนตัวละครแมพ ลอยในละคร
เวทีสแ่ี ผนดินที่เขามีโอกาสไปดูมา
๓. ตุลย ตั้งชมรมโขนขนึ้ เพอื่ รว มเปนสวนหน่ึงท่ีจะสืบสานศลิ ปวฒั นธรรมไทยท่ีดีงามหลังจากไดไ ป
ชมโขนทห่ี อประชมุ ศูนยว ฒั นธรรมแหง ประเทศไทย
๔. แตม จะเดนิ ทางไปจังหวดั เชยี งใหมทุกคร้ังในชวงวนั หยุด เนอ่ื งจากไดช มรายการสมั ภาษณด าราท่ี
ช่นื ชอบ แลว เขาบอกวาจงั หวัดท่ีชอบไปเทีย่ วมากท่ีสดุ คือ จังหวดั เชยี งใหม

เฉลย
ขอ ๑
ขอ ๒ การหาผูหญิงทม่ี ีคุณสมบตั ิเหมือนแมพ ลอยในละครเวทีอาจจะไมมีจริง หรือถามี ก็ไม

แนใ จวาผูห ญิงเขาจะรักหรือเปลา
ขอ ๓ การจะตัง้ ชมรมโขนได ตอ งมีองคป ระกอบหลายอยา ง เชน ตอ งเปนคนที่มคี วามรู

ความสามารถในเรื่องโขนเปนอยา งดี
ขอ ๔ การทคี่ นเราจะทาํ อะไรสักอยา ง ตองพิจารณาไตรตรองใหด ีวา จะคมุ คา กับเงนิ ที่จาย

หรอื เวลาที่เสียไปหรอื ไม ไมม องเพียงวาคนอน่ื ชอบเรากช็ อบดว ย

ลักษณะเฉพาะของขอ สอบ ระดับ รอ ยละนกั เรียนตอบถูก
มาตรฐาน : ท ๑.๑
สาระ : การอาน ประเทศ ๖๖.๑๖
ตัวชวี้ ัด : ม ๓/๒ สพฐ. ๖๖.๕๘
รูปแบบขอสอบ : ปรนยั ๔ ตัวเลือก สพป.ขก ๓ ๕๕.๘๑

วเิ คราะหข อ สอบ O-NET ปการศกึ ษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชนั้ มัธยมศึกษาปท ่ี ๓ สพป.ขก.๓

๔๗. ขอ ใดจดั เปนบคุ คลที่มมี ารยาทในการส่ือสารมากที่สุด
๑. วิทยากรกาํ ลังบรรยายใหค วามรู แตน าวิน กย็ กมอื แทรกถามขอมูลทีย่ ังไมเ ขา ใจ
๒. ลาภ ตองการใหผฟู งสนใจ จึงมักนิยมนาํ เร่อื งตลกและขาํ ขนั มาลอ เลยี นผฟู งเสมอ
๓. หวาน เลนเกมในโทรศพั ทมือถอื ขณะนั่งประชุมคณะกรรมการบรหิ ารโรงเรียน
๔. เปล แสดงความคิดเห็นทางการเมืองบนพ้ืนฐานความจริงท่ไี มทําใหผูอ่ืนเสียหาย

เฉลย
ขอ ๔

ลักษณะเฉพาะของขอสอบ ระดับ รอ ยละนักเรียนตอบถูก
มาตรฐาน : ท ๓.๑
สาระ : การฟง การดแู ละการพูด ประเทศ ๖๖.๑๖
ตวั ช้ีวัด : ม ๑/๖ , ม ๒/๖ , ม ๓/๖ สพฐ. ๖๖.๐๘
รปู แบบขอสอบ : ปรนยั ๔ ตวั เลือก สพป.ขก ๓ ๕๙.๐๓


Click to View FlipBook Version