ตอนท่ี 4
แคนุณวทภาางพกการาดรเำ�รเียนนนิ รงูว้าิทนยขอากงาสรถคา�ำ นนศวณึกษดาว้ ใยนกCาOรLดAำ�/เCนนิOกPาAรพMัฒodนeาl
มโนทศั น์เกยี่ วกับ COLA/ COPA Model
เป้าหมายการศกึ ษาของโลกอนาคตเปน็ เป้าหมายทย่ี งั คลมุ เครอื ไมช่ ดั เจน
ไมม่ ใี ครจะระบไุ ดอ้ ยา่ งชดั เจนวา่ เดก็ ทจี่ ะตอ้ งดําเนนิ ชวี ติ ในอนาคตอกี 10 ปขี า้ งหนา้
จะต้องมีสมรรถนะอย่างไร เพราะทุกสิ่งทุกอย่างในสถานการณ์ปัจจุบัน มีการ
เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วตลอดเวลา และการเปลี่ยนแปลงเหล่านั้น จะมี
ผลกระทบต่อระบบต่าง ๆ ในสังคมอนาคตอย่างไร ไม่อาจจะคาดเดาได้อย่าง
ชัดเจน ดังตัวอย่างของการทําลายล้างระบบธนาคาร ระบบสถานีโทรทัศน์
ระบบการค้าขาย พฤติกรรมการซ้ือของของคนในสังคมปัจจุบัน การลดปริมาณ
คนเกิด ทําให้โรงเรียนต้องกลายเป็นโรงเรียนขนาดเล็ก มหาวิทยาลัยต้องปิด
หลักสูตรจํานวนมาก เพราะไมมีคนเรียน คนส่ังซ้ือของกินได้จากหลากหลาย
ร้านอาหารโดยที่ไม่ต้องออกจากบ้าน เปลี่ยนพฤติกรรมการสื่อสาร ฯลฯ
ด้วยเหตกุ ารณเ์ หลา่ นี้ ทําใหน้ กั การศกึ ษาต้องกลบั มาพนิ จิ พจิ ารณาวา่ เป้าหมาย
การพัฒนาผู้เรียนเพื่อดําเนินชีวิตในโลกอนาคตจําเป็นต้องเปล่ียนแปลงไป
อย่างแน่นอน อย่างน้อยสิ่งท่ีชัดเจนที่สุดในวันนี้ คือ สาระความรู้ที่ต้องจดจํา
แทบจะไม่มีความจําเป็นอีกต่อไป หากแต่จะต้องกลับมาให้ความสําคัญ
กับกระบวนการแสวงหาความรู้ การใช้ข้อมูลสารสนเทศท่ีมีมากมายมหาศาล
นํามาเพื่อการแก้ปัญหา และใช้ประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ แต่ส่ิงหน่ึง
ทีค่ ่อนข้างจะชัดเจนมาก คือ โลกอนาคตจะเปน็ โลกที่หนีไม่พ้นการทํางานร่วมกับ
เทคโนโลยี การทํางานร่วมกับสิ่งประดิษฐ์อันเป็นผลผลิตที่ของความก้าวหน้า
ทางเทคโนโลยี อาทิหุ่นยนต์ท่ีนับวันจะมีสมรรถนะสูงมากขึ้นจนน่าตกใจ
ซ่ึงเชื่อกันว่า ในอนาคตอันใกล้งานหลายอย่างหุ่นยนต์จะเข้ามาทํางานแทนท่ี
มนุษย์ได้เกือบสมบูรณ์ ดังนั้น มนุษย์ ในโลกอนาคต จําเป็นต้องมีสมรรถนะ
บางอย่างท่ีแตกต่างไปจากมนุษย์ในปัจจุบัน หรือคนรุ่นเก่า (Baby Boomer)
ซ่ึงเป็นผลผลิตของการศึกษาในยุคอดีต คนรุ่นใหม่จะต้องมีสมรรถนะท่ีจะต้อง
ถอดบทเรียนการพัฒนาการจดั การเรยี นรูข้ องครูผู้สอนวิทยาการค�ำ นวณ 43
โดยใชก้ ระบวนการชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ทางวชิ าชีพ แบบ COLA MODEL
ทํางานกับประดิษฐ์กรรมทางเทคโนโลยี ท่ีไมได้ชาญฉลาดด้วยตัวมันเองหากแต่
เปน็ สิ่งประดษิ ฐ์ทตี่ ้องการคําสงั่ ที่ชาญฉลาดจากมนษุ ย์ ทจ่ี ะต้องไปกํากบั ควบคมุ
มันอย่างเป็นระบบ หากคนที่จะทํางานกับหุ่นยนต์ไม่มีความสามารถที่จะส่ังการ
หรือมอบหมายภารกิจที่ไมเป็นระบบ ไม่เป็นขั้นเป็นตอน แน่นอนวาหุนยนต์นั้น
ก็จะทํางานไม่ได้ หรือทําได้ก็ไมสมบูรณ์ ด้วยเหตุนี้ การสร้างสมรรถนะผู้เรียน
ในปัจจุบันเพ่ือให้เขาเหลาน้ันมีสมรรถนะที่พร้อมจะทํางานกับสิ่งที่จะเกิดขึ้น
ในอนาคตได้อย่างมีประสิทธิภาพ จําต้องได้รับการพัฒนานับต้ังแต่ทักษะการคิด
คํานวณ ทักษะการแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นเป็นตอน เป็นระบบ การใช้ประโยชน์
จากขอ้ มลู สารสนเทศจํานวนมากเพอื่ นํามาวเิ คราะห์ใช้ประโยชนใ์ นการแกป้ ญั หา
การสังเคราะห์ จัดการกับข้อมูลสารสนเทศเพื่อการนําเสนอได้อย่างสมบูรณ์
ครบถ้วน ง่ายต่อการเข้าใจ มปี ระสทิ ธภิ าพ และมคี วามฉลาดรู้ในการใช้สื่อดจิ ทิ ลั
อยา่ งรเู้ ทา่ ทนั มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม รบั ผดิ ชอบ ตระหนกั รถู้ งึ ผลกระทบทจ่ี ะเกดิ ขนึ้
จากส่ือดิจทิ ัลทง้ั หลายอย่างรอบคอบและระมดั ระวัง
หลักการพ้ืนฐานของ COLA/ COPA Model
การพัฒนารูปแบบการพัฒนาการเรียนรู้วิทยาการคํานวณ ครั้งนี้ได้มี
ความม่งุ หมายทจี่ ะสรา้ งแนวทางการปฏบิ ตั ทิ เี่ ปน็ รปู ธรรมสําหรบั ครู ทจ่ี ะนําไปใช้
เป็นแนวทางการจัดการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาสมรรถนะที่เกี่ยวข้องกับวิทยาการ
คํานวณ (Computing Science) ได้อย่างชัดเจน ปฏิบัติได้ไปในทิศทางเดียวกัน
และเช่ือม่ันในประสทิ ธภิ าพทีจ่ ะเกดิ ข้ึนได้ มหี ลกั การพน้ื ฐานทปี่ ระกอบกนั ขึ้นเป็น
รปู แบบ COLA / COPA Model ดังน้ี
44 ถอดบทเรยี นการพัฒนาการจัดการเรยี นรูข้ องครผู สู้ อนวทิ ยาการค�ำ นวณ
โดยใชก้ ระบวนการชมุ ชนแหง่ การเรียนรูท้ างวิชาชพี แบบ COLA MODEL
ทม่ี า : https://www.facebook.com/myamkasikorn/posts/2409532905976700/
1. เปา้ หมายการเรียนรวู้ ิทยาการคำ�นวณ (Computing Science Learning Outcome)
เนื้อหาด้านวิทยาการค�ำนวณเป็นการพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการคิด
เชิงค�ำนวณการคิดวิเคราะห์แก้ปัญหาเป็นข้ันตอนและเป็นระบบประยุกต์ใช้ความรู้
ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการ
แก้ปัญหาท่ีพบในชีวิตจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพการใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการ
แก้ปญั หาการใช้เทคโนโลยอี ย่างปลอดภยั เป้าหมายการเรยี นรู้ประกอบด้วย
1.1 การคิดเชิงค�ำนวณ (computational thinking) เป็นวิธีการคิดและ
แก้ปัญหาเชิงวิเคราะห์สามารถใช้จินตนาการมองปัญหาด้วยความคิด
เชิงนามธรรมซ่ึงจะท�ำให้เราสามารถเห็นแนวทางในการแก้ปัญหาอย่างเป็นข้ันตอน
และมีล�ำดับวิธีคิดได้ โดยวิธีคิดแบบวิทยาการค�ำนวณนี้ไม่ใช่เพียงแค่การเขียน
โปรแกรมเพราะภาษาโปรแกรมมีการเปล่ียนแปลงตลอดเวลาแต่จุดประสงค์
ท่ีส�ำคัญกว่าคือการสอนให้เด็กคิดและเช่ือมโยงปัญหาต่าง ๆ เป็นจนสามารถ
แก้ปัญหาได้อย่างเปน็ ระบบนน่ั เอง
ถอดบทเรยี นการพฒั นาการจัดการเรียนร้ขู องครผู ู้สอนวทิ ยาการค�ำ นวณ 45
โดยใชก้ ระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ แบบ COLA MODEL
1.2 วิทยาการข้อมูล (Data Science) ศาสตร์หรือกระบวนการในการ
กล่ันข้อมูลที่มีอยู่ออกมาให้เกิดประโยชน์มากที่สุดโดยเป็นการผสมผสาน
กระบวนในด้านสถติ คิ ณติ ศาสตร์โปรแกรมและเทคโนโลยี
1.3 การรเู้ ทา่ ทนั สอื่ และขา่ วสาร (media and information literacy) เปน็ ทกั ษะ
เกย่ี วกบั การรเู้ ทา่ ทนั สอื่ และเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั แยกแยะไดว้ า่ ขอ้ มลู ใดเปน็ ความจรงิ
หรือความคิดเห็นโดยเฉพาะข้อมูลบนส่ือสังคมออนไลน์ นอกจากน้ียังเป็นเร่ือง
ของความปลอดภัยในโลกไซเบอร์รู้กฎหมายและลิขสิทธิ์ทางปัญญาต่าง ๆ เพ่ือ
ให้เด็กใช้ช่องทางนไ้ี ด้อย่างรู้เท่าทนั และปลอดภัยมากท่ีสุด
2. การจดั กิจกรรมการเรียนรแู้ บบเปิด (Open-Approach)
เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เกิดจากการพยายามสร้างสถานการณ์
ปญั หาทก่ี ระต้นุ ให้ผู้เรยี นได้ใช้ความสามารถในการคดิ แก้ปญั หาอย่างสร้างสรรค์
คิดแก้ปัญหาอย่างหลากหลายวิธีและขณะเดียวกันก็ได้ใช้หลักการทางวิชาการ
ที่เป็นศาสตร์แขนงอ่ืน ๆ ท่ีน�ำไปประยุกต์ใช้ในท่ีน้ีหมายถึงหลักการทางด้าน
วิทยาการค�ำนวณอันได้แก่ หลักการคิดค�ำนวณหลักการแก้ปัญหาอย่างเป็น
ขน้ั ตอนและเปน็ ระบบการจดั การกบั ข้อมลู สารสนเทศอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพการใช้
ข้อมูลและสอ่ื ดจิ ทิ ลั อย่างฉลาดรู้และมคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรม
3. ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวชิ าชพี (Professional Learning Community: PLC)
เป็นกระบวนการพัฒนาวิชาชีพครูท่ีเร่ิมต้นด้วยค�ำถามหรือประเด็น
ที่เป็นปัญหาการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นจุดเริ่มต้นขับเคล่ือนด�ำเนินการพัฒนาจาก
การมสี ว่ นร่วมของสมาชกิ ในทมี ทมี่ ารวมตวั กนั มกี ระบวนการสอ่ื สารอย่างใกลช้ ดิ
ระหว่างเพ่ือนครูด้วยกันอย่างต่อเน่ืองและเรียนรู้ท�ำความเข้าใจปัญหาและ
กระบวนการพัฒนาที่ก้าวหน้าอย่างต่อเนื่องร่วมกันทุกอย่างใช้การเรียนรู้ของ
ผู้เรียนเป็นตัวตั้งเป้าหมายที่ส�ำคัญที่สุดและถือว่าการปฏิบัติการคือการวิจัย
เชงิ ปฏิบัตกิ าร
46 ถอดบทเรียนการพฒั นาการจดั การเรียนรขู้ องครูผู้สอนวิทยาการคำ�นวณ
โดยใช้กระบวนการชมุ ชนแหง่ การเรียนรทู้ างวิชาชพี แบบ COLA MODEL
แผนภาพแสดงวงจรของการศกึ ษาบทเรยี น (Lesson Study Cycle)
กระบวนการการศกึ ษาบทเรยี น (Lesson Study)เปน็ ลำ� ดบั ขน้ั ตอนทกี่ ำ� เนดิ
ขึ้นในระบบการศึกษาของประเทศญ่ีปุ่นมาตั้งแต่ปีพ.ศ. 2415 (ค.ศ.1872) เป็น
แนวคดิ ทพ่ี ฒั นาขนึ้ เพอื่ การพฒั นาคณุ ภาพการจดั การเรยี นรโู้ ดยมพี นื้ ฐานแนวคดิ
มาจากทฤษฎีเปตตาลอสเซย่ี น (Pestalozzian theory) (NaomichiMakinae, 2010)
กระบวนการของการศึกษาช้ันเรียนเป็นไปเพื่อการพัฒนาคุณภาพการจัดการ
เรียนรู้ของผู้เรียนเป็นส�ำคัญโดยเน้นที่การท�ำงานร่วมกันของคณะครูท่ีมารวมตัว
ท�ำงานร่วมกันอย่างต่อเน่ืองและเหนียวแน่นกลมเกลียวกันท�ำงานร่วมกันจนกว่า
คุณภาพการเรียนรู้ของนักเรียนที่เป็นกลุ่มเป้าหมายเฉพาะจะมีพัฒนาการท่ีดีข้ึน
จนถึงระดับท่ีพอใจและผลสุดท้ายของการท�ำงานร่วมกันสิ่งท่ีเป็นผลพลอยได้
ตามมาคือนวตั กรรมการจัดการเรียนรู้ทีเ่ หมาะสมทีส่ ุดกับผู้เรยี นกลุ่มนั้น ๆ
4. การจัดการเรียนรแู้ บบอาคิตะ (AKITA Action Model)
การจัดการเรียนรู้แบบอาคิตะอาคิตะโมเดลหรือการเรียนการสอน
เชิงรุกแบบอาคิตะเป็นรูปแบบการสอนที่พัฒนามาจาก Inquiry Base Learning
จุดมุ่งหมายของอาคิตะโมเดลคือการให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างลึกซ้ึงค้นพบ
ปัญหาดัวยตนเองผ่านการคิดด้วยตนเองและการสนทนาโต้ตอบสามารถสื่อสาร
มีปฏิสัมพันธ์กับเพ่ือนเพื่อแก้ปัญหาด้วยตนเองได้ การพัฒนาการเรียนการสอน
ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนเกิด “การเรียนรู้อย่างลึกซ้ึงผ่านการคิดด้วยตนเองและ
การสนทนาโต้ตอบ” แยกเป็นวัตถุประสงค์หลักซ่ึงสอดคล้องกับเป้าหมายของ
การพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ย์ได้ 3 ประการ ได้แก่
ถอดบทเรียนการพฒั นาการจดั การเรียนรขู้ องครผู สู้ อนวทิ ยาการคำ�นวณ 47
โดยใช้กระบวนการชมุ ชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวิชาชีพ แบบ COLA MODEL
4.1 ทำ� ใหผ้ เู้ รยี นเกดิ “การเรยี นรผู้ า่ นการคดิ ดว้ ยตวั เอง” การมคี วามสนใจ
และฝักใฝ่ในการเรียนรู้การเชื่อมโยงความสัมพันธ์กับทิศทางการประกอบอาชีพ
ของตนเองการมีวิสัยทัศน์และมีความพยายามอย่างไม่ย่อท้อการมองย้อน
กิจกรรมการเรยี นรู้ของตนเองและเชอื่ มโยงไปสู่การเรยี นรู้ครง้ั ต่อ ๆ ไป
4.2 ทำ� ใหผ้ เู้ รยี นเกดิ “การเรยี นรผู้ า่ นการสนทนาโตต้ อบ” การรว่ มมอื กนั
ระหว่างนักเรียนการสนทนาโต้ตอบกับครูผู้สอนหรือคนในชุมชนการขยายความคิด
ของตนเองให้กว้างและลกึ ซ้งึ ยง่ิ ขึ้นผ่านการคิดโดยใช้ข้อคิดจากผู้รู้ต่างๆ
4.3 ท�ำให้ผู้เรียนเกิด “การเรียนรู้อย่างลึกซ้ึง” ในกระบวนการเรียน
แบบเรียนรู้ประยุกต์ค้นหาให้ใช้“วิธีมองและวิธีคิด”ซ่ึงเหมาะสมกับจุดเด่นของ
แตล่ ะวชิ าไปพรอ้ ม ๆ กบั ทำ� ความเขา้ ใจอยา่ งลกึ ซงึ้ เชอื่ มโยงองคค์ วามรู้ สำ� รวจขอ้ มลู
อย่างละเอียดถ่ีถ้วนและสร้างแนวคิดค้นพบปัญหาและคิดวิธีแก้ไขปัญหา
อย่างสร้างสรรค์โดยมพี ้ืนฐานจากความคดิ จนทำ� ให้เกดิ “การเรียนรู้อย่างลกึ ซึ้ง”
ขนั้ ตอนการจัดการเรยี นการสอนแบบอาคิตะโมเดล
ขนั้ ตอนที่ 1 รจู้ กั ตงั้ ขอ้ สงั เกตในการเรยี นรู้นกั เรยี นจะรไู้ ดด้ ว้ ยการคดิ เอง
โ ด ย ก า ร ค ้ น พ บ หั ว ข ้ อ ใ น ก า ร เ รี ย น รู ้ ด ้ ว ย ต น เ อ ง แ ล ะ รู ้ จั ก ต้ั ง ข ้ อ สั ง เ ก ต
ในการหาค�ำตอบ
ข้ันตอนท่ี 2 มีความคิดของตัวเอง เป็นการท�ำให้นักเรียนจะต้องใช้
ความสามารถของตนเองในการขบคิดและแสดงร่องรอยหลักฐานการคิดลงใน
สมุดบันทึกของตนเองการมีความคิดเป็นของตนเองจะเชื่อมโยงไปสู่กิจกรรม
การอภิปรายทช่ี ่วยขยายความคิดให้กว้างและลึกซึง้ ข้ึน
ข้ันตอนที่ 3 อภิปรายกันเป็นคู่ เป็นการมอบหมายบทบาทให้นักเรียน
จะตอ้ งหนั หน้าเข้าหาเพอ่ื นทน่ี ง่ั ข้างๆ แลว้ “ยมิ้ ” ใหก้ นั นำ� ประเดน็ ปญั หาทต่ี นเอง
ได้คิดมาแลกเปล่ียนสะท้อนมุมมองจากการคิดของตนเองเพ่ือให้เปรียบเทียบว่า
เหมือนกันหรือต่างกันอย่างไรจากการเรียนแบบให้ความร่วมมือซ่ึงกันและกัน
จะช่วยท�ำให้ความคิดของแต่ละคนกว้างและลึกข้ึนความสามารถในการคิดและ
การแสดงออกกจ็ ะเพ่มิ ขึ้นด้วย
48 ถอดบทเรียนการพัฒนาการจัดการเรยี นรู้ของครผู ู้สอนวทิ ยาการค�ำ นวณ
โดยใชก้ ระบวนการชมุ ชนแห่งการเรยี นรทู้ างวิชาชีพ แบบ COLA MODEL
ขน้ั ตอนที่ 4 ทบทวนเนอ้ื หาและวธิ กี ารเรยี นรู้กจิ กรรมการทบทวนโดยใช้
สมุดจดบันทึกหรือการเขียนบนกระดานจะช่วยให้จดจ�ำเน้ือหาการเรียนรู้และ
วิธีการเรยี นรู้ได้อย่างแม่นย�ำยง่ิ ขน้ึ
5. กระบวนการพฒั นาคณุ ภาพผูเ้ รียนด้วย COLA MODEL
การด�ำเนินงานเพื่อการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้วย COLA MODEL จะใช้
กระบวนการชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี เปน็ เครอื่ งมอื ในการดำ� เนนิ กจิ กรรม
ให้เกิดขึ้นและตรวจสอบได้อย่างเป็นระบบกระบวนการชุมชนการเรียนรู้วิชาชีพ
(Professional Learning Community : PLC) เป็นกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน
ของนกั การศกึ ษาทม่ี ขี ้อตกลงร่วมกนั อย่างมนั่ คงว่าจะแก้ปญั หาอย่างใดอย่างหนงึ่
ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั ผเู้ รยี นอยา่ งตอ่ เนอื่ งมกี ารร่วมกนั สะท้อนคดิ การลงไปเยย่ี มตดิ ตาม
เพอื่ เรยี นร้รู ่วมกนั ทหี่ ้องเรยี นจรงิ จนกว่าจะเหน็ ผลของการปฏบิ ตั ทิ มี่ พี ฒั นาการที่
ดีข้ึนหรอื ได้แนวปฏบิ ัติทด่ี ที ่ีใช้ในการแก้ปญั หานั้น (Best practice)
องคป์ ระกอบ
ชมุ ชนการเรยี นรู้วชิ าชพี มลี กั ษณะสำ� คญั อย่างน้อย 8 ประการประกอบด้วย
1. การแบ่งปันวสิ ยั ทัศน์และค่านยิ ม (Share values and vision) การทำ� งาน
รว่ มกนั ของครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาทจ่ี ะมาเปน็ ทมี เดยี วกนั ไดน้ น้ั ทกุ คนตอ้ งมี
มุมมองและค่านิยมที่คล้ายคลึงกันว่าการพัฒนาวิชาชีพการยกระดับคุณภาพ
การจัดการศึกษาการจัดการเรียนการสอนเป็นประเด็นส�ำคัญท่ีสุดมีความมุ่งม่ัน
ต้งั ใจที่จะพฒั นาตนเองร่วมกันภายใต้ความร่วมมือระหว่างเพ่ือน ๆ
2. การแบ่งปันความรบั ผดิ ชอบ (Collective responsibility) การดำ� เนนิ งาน
ลักษณะท่ีเป็นชุมชนทุกคนจะต้องร่วมกันรับผิดชอบตามภารกิจท่ีมองหมายอาทิ
การออกแบบแผนจัดการเรียนรู้การร่วมกันสะท้อนความคิดต่อแผนจัดการเรียน
รู้การยอมรบั ฟงั ความคดิ เห็นข้อเสนอของเพอื่ นด้วยเหตดุ ้วยผล เป็นต้น
3. การสืบเสาะสะท้อนความคิดอย่างมืออาชีพ (Reflective professional
inquiry) การสนทนาร่วมกันภายในกลุ่มด้วยการสะท้อนความคิดต่อปัญหา
อย่างสร้างสรรค์เปน็ เงอ่ื นไขส�ำคัญทจ่ี ะท�ำให้ได้มมุ มองการเรยี นรู้ใหม่ ๆ ร่วมกนั
ถอดบทเรยี นการพัฒนาการจดั การเรยี นรูข้ องครผู สู้ อนวทิ ยาการคำ�นวณ 49
โดยใช้กระบวนการชุมชนแหง่ การเรยี นร้ทู างวชิ าชีพ แบบ COLA MODEL
4. ความร่วมมือ (Collaboration) เป็นปัจจัยส�ำคัญท่ีจะท�ำให้ชุมชน
การเรียนรู้เกิดข้ึนได้อย่างเข้มแข็งและเข้มข้นเพียงใดการร่วมมือกันภายในกลุ่ม
จะเปน็ ตัวช้วี ดั ความสำ� เร็จประการหนง่ึ
5. กลุ่ม (Group) การมคี รูที่เปน็ สมาชกิ อยู่ประมาณ 2 - 5 คน ในการเปน็
กลุ่มการเรยี นรู้วชิ าชพี ร่วมกัน
6. การยอมรับซึ่งกันและกัน (Mutual trust) การให้การยอมรับความเห็น
ซงึ่ กนั และกนั แบบถ้อยทถี อ้ ยอาศยั จะชว่ ยทำ� ใหก้ ระบวนการชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้
เดนิ หน้าได้อย่างมคี วามสุข
7. การยอมรับนับถือและการสนับสนุนซึ่งกันและกัน (Respect and
support among staff members)การท�ำงานร่วมกันย่อมต้องให้เกียรติยอมรับ
นับถอื และสนบั สนนุ ซ่งึ กันและกันในเชงิ สร้างสรรค์
8. ความเป็นสมาชิกแบบทั้งตัวและหัวใจ (Inclusive membership) ชุมชน
การเรียนรู้แบบวิชาชีพจะส�ำเร็จมากน้อยเพียงใดอยู่ท่ีสมาชิกจะร่วมมือทุ่มเท
สนับสนุนแสดงภาวะผู้น�ำทางวิชาการร่วมกันในการท�ำงานเพ่ือประโยชน์สูงสุด
ของลูกศิษย์วัตถุประสงค์หลักของชุมชนการเรียนรู้วิชาชีพคือการมุ่งยกระดับ
ประสิทธิภาพของครูให้เป็นครูมืออาชีพเพ่ือผลประโยชน์ต่อลูกศิษย์อย่างสูงสุด
ชมุ ชนการเรยี นรวู้ ชิ าชพี ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพจะสะทอ้ นไดด้ ว้ ยการแสดงศกั ยภาพของ
กลุ่มที่ช่วยส่งเสริมและยกระดับของคุณภาพการเรียนรู้ท่ีเกี่ยวกับวิชาชีพท้ังหมด
ในสังคมหรือบริบทของโรงเรียนท้ังโรงเรียนด้วยการมุ่งสู่การยกระดับการเรียนรู้
ของนกั เรยี นทกุ คนได้อย่างสงู สุด
ส�ำนักงานเลขาธิการคุรุสภาได้ก�ำหนดกรอบแนวคิดในการด�ำเนินการ
ชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชีพไว้ 5 ประการประกอบด้วย
1. การสร้างบรรทดั ฐานและค่านิยมในการท�ำงานร่วมกนั (Shared values
and norms)
2. การปฏิบัติการท่ีมีเป้าหมายร่วมกันคือมุ่งท่ีคุณภาพการเรียนรู้ของ
ผู้เรยี น (Collective focus onstudent learning)
50 ถอดบทเรียนการพฒั นาการจดั การเรียนรู้ของครูผ้สู อนวิทยาการค�ำ นวณ
โดยใชก้ ระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรทู้ างวิชาชพี แบบ COLA MODEL
3. การร่วมมือรวมพลังของสมาชิกชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
(Collaboration)
4. การเปิดใจรับการช้ีแนะเปิดห้องเรียนมีการสังเกตช้ันเรียน (Expert
advice and study visit)
5. การมีกระบวนการสะท้อนคิดต่อผลการปฏิบัติการจัดการเรียนรู้
(Reflection dialogue
การพัฒนาวชิ าชพี ดว้ ยกระบวนการชมุ ชนแห่งการเรียนรวู้ ิชาชีพ
การด�ำเนินการการพัฒนาวิชาชีพด้วยกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้
วิชาชีพผู้เข้าร่วมโครงการทุกคน หมายถึง ครู ผู้บริหารโรงเรียน ศึกษานิเทศก์
ครูอาวโุ ส การด�ำเนนิ การจะมลี ำ� ดบั ขัน้ ตอนดังต่อไปน้ี
1. สร้างทีมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC Team Set-up)
ทมี ชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี ประกอบด้วย
1.1 ครูหัวหน้าทีมปฏิบัติการ (Model Teacher) จ�ำนวน 1 คน เพื่อ
รับผิดชอบในการริเริ่มให้มีการประชุมพูดคุยกันเพื่อแก้ปัญหาการเรียนรู้
ของนกั เรยี นในห้องเรยี นใดห้องเรียนหนง่ึ อย่างต่อเนอื่ ง
1.2 ครูเพ่ือนร่วมปฏิบัติการ (Buddy Teacher) ต้องมีจ�ำนวน
1-4 คนเพื่อร่วมท�ำงานปฏิบัติการร่วมคิดร่วมออกแบบบทเรียนร่วมติดตาม
ไปสังเกตการณ์สอนในห้องเรียนของครูหัวหน้าทีมปฏิบัติการและกลับมาร่วมกัน
สะท้อนคิดหลังการสอนจบลงครูท่ีเป็นเพ่ือนร่วมปฏิบัติการถือเป็นผู้มีส่วน
การเปน็ ส่วนหนง่ึ ของการรับผดิ ชอบร่วมแก้ปัญหาการเรยี นรู้ของนักเรยี นด้วย
1.3 พเ่ี ลยี้ งวชิ าการหรอื ผู้เชย่ี วชาญ (Mentor or Expert) อาจเปน็ ครู
หรือนักวิชาการเฉพาะทางหรือบุคคลท่ีมีประสบการณ์เฉพาะในเร่ืองท่ีก�ำลัง
พยายามแก้ไขปญั หาการเรยี นรู้ของนกั เรียนนน้ั ๆ เป็นการเฉพาะกไ็ ด้หรืออาจจะ
ไม่มเี ลยกไ็ ด้
ถอดบทเรยี นการพฒั นาการจัดการเรียนรขู้ องครผู ้สู อนวทิ ยาการคำ�นวณ 51
โดยใช้กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชพี แบบ COLA MODEL
1.4 ฝ่ายบรหิ ารของโรงเรยี นอาจเปน็ ผ้อู ำ� นวยการหรอื รองผู้อำ� นวยการ
ควรจะเข้ามาร่วมเรียนรู้กระบวนการท�ำงานเพื่อการแก้ปัญหาการเรียนรู้ของ
นักเรียนเพ่ือว่าฝ่ายบริหารอาจจะสนับสนุนในบางประเด็นให้เป็นการแก้ปัญหา
ท่ีมีประสิทธิผลมากข้นึ ด้วย
1.5 ครูอาวุโสที่เกษียณอายุราชการหรือปราชญ์ชุมชนท่ีมีความรู้
มีประสบการณ์เก่ียวข้องกับการแก้ปัญหาการเรียนรู้ของนักเรียนในเรื่องนั้น ๆ
เปน็ การเฉพาะกไ็ ด้
สมาชิกที่จะต้องมีอยู่ตลอดเวลาได้แก่ครูหัวหน้าทีมปฏิบัติการ (Model
Teacher) และครูเพ่ือนร่วมปฏิบัติการ (Buddy Teacher) ส่วนสมาชิกในข้ออ่ืน ๆ
อาจจะไม่มเี ลยก็ได้และสมาชกิ ในทมี ท้ังหมดจะมีจ�ำนวนประมาณ 2-5 คน
การสร้างทีม PLC นี้จะกระท�ำเพียงคร้ังแรกและทีมที่ดีควรจะต้องเป็น
สมาชิกท่ีต่อเน่ืองเพื่อการเรียนรู้จากประสบการณ์ท่ีได้พบภายใต้สถานการณ์
เดยี วกนั เพอื่ การเรยี นรทู้ ใี่ กลเ้ คยี งกนั ตลอดทงั้ ภาคเรยี นหรอื ตลอดทง้ั ปกี ารศกึ ษา
โดยเฉพาะครหู วั หน้าทมี ปฏบิ ตั กิ าร (Model Teacher) และครเู พอ่ื นร่วมปฏบิ ตั กิ าร
(Buddy Teacher) ควรจะต้องไม่มกี ารเปลีย่ นแปลงทมี ของตนเอง
2. ทบทวนประเด็นปัญหาการเรียนรู้ของนักเรียนที่เป็นเป้าหมาย
การพัฒนา
ทีม PLC ต้องมาร่วมกันพูดคุยสร้างความเข้าใจร่วมกันให้ชัดเจนว่า
จะด�ำเนินการแก้ปัญหาเร่ืองใด กระท�ำการพัฒนากับนักเรียนห้องเรียนใด
ให้ชัดเจนของครูแต่ละคนห้องเรียนท่ีใช้ด�ำเนินการตามกระบวนการ PLC จะต้อง
ท�ำกับนักเรียนห้องน้ันอย่างต่อเน่ืองจนสามารถแก้ปัญหาน้ันได้ส�ำเร็จหรือส�ำเร็จ
ให้มากท่ีสุดตามตวั ช้วี ัดที่จะต้องก�ำหนดขน้ึ ตงั้ แต่ก่อนเร่ิมดำ� เนินการ PLC
3. เลอื กบทเรยี นเป้าหมายเพ่อื การเปิดช้นั เรียน (Open Class Plan-
PLC Plan)
ทีมจะต้องร่วมกันพิจารณาเลือกบทเรียนเป้าหมายเพ่ือการเปิดช้ันเรียน
(Open class) ทง้ั นก้ี ารเปดิ ชน้ั เรยี นจะตอ้ งวางแผนใหไ้ ดอ้ ยา่ งนอ้ ย 3 ครง้ั ตอ่ ภาคเรยี น
ต่อครูหัวหน้าทีมปฏิบัติการ (Model Teacher) หนึ่งคนโดยการเลือกบทเรียนนั้น
52 ถอดบทเรยี นการพฒั นาการจดั การเรยี นรู้ของครูผ้สู อนวทิ ยาการค�ำ นวณ
โดยใชก้ ระบวนการชุมชนแห่งการเรยี นร้ทู างวิชาชพี แบบ COLA MODEL
จะต้องเลือกเน้ือหาท่ีนักเรียนห้องใดห้องหน่ึงเป็นเป้าหมายที่จะใช้เป็นห้องเปิด
ชั้นเรียนและนักเรียนห้องนั้นยังไม่เคยเรียนเรื่องนั้นมาก่อนและห้องเรียนห้องน้ัน
จะต้องใช้เพ่ือการเปิดห้องเรียนอย่างต่อเนื่องทั้ง 3 คร้ังโดยไม่เปล่ียนแปลง
ห้องเรยี นเลยเพราะผลการพัฒนานกั เรียนจะไม่ต่อเนือ่ ง
4. ศึกษาบทเรียนเพื่อการออกแบบการสอน (Lesson Study and
Instructional Design) เมอื่ มที มี ทำ� PLC และมชี น้ั เรยี นเป้าหมายทจี่ ะดำ� เนนิ การ
พัฒนาแล้วจากนั้นจะต้องกลับมาพิจารณาสาระท่ีจะต้องจัดการเรียนการสอน
ตามหลักสูตรและตามแผนการสอนที่สอดคล้องกับแผนของโรงเรียนจากนั้น
ครูหัวหน้าทีมปฏิบัติการ (ModelTeacher) จะต้องพิจารณาคัดสาระที่จะน�ำมา
ออกแบบบทเรียนโดยจะต้องพิจารณาว่าสาระท่ีจะจัดการเรียนการสอนใน
อีกประมาณ 3-4 สัปดาห์ข้างหน้าน�ำสาระนั้นมาร่วมกันออกแบบบทเรียน
(Lesson Design) ร่วมกันกับครูเพื่อนร่วมปฏิบัติการ (Buddy Teacher) และ
ทีม PLC ทุกคนโดยจะต้องมีการออกแบบวางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
อย่างละเอียดรอบคอบมีการประชุมปรึกษาหารือกันร่วมกันออกแบบบทเรียน
มีการออกแบบสื่อท่ีจะประกอบการจัดการเรียนรู้โดยบุคคลท่ีจะต้องน�ำความ
คิดของทีมไปปฏิบัติการเขียนแผนจัดการสอนรวมถึงการผลิตส่ือประกอบการ
สอนคือครูหัวหน้าทีมปฏิบัติการ (Model Teacher) โดยจะต้องเคารพความคิด
ของเพ่ือนในทีมน�ำความคิดข้อเสนอจากการประชุมร่วมกันไปปฏิบัติออกแบบมา
ให้ได้ครบถ้วนสมบรู ณ์ต้องให้เกยี รตใิ นความคดิ ของทีม
การออกแบบบทเรียนจำ� เปน็ อย่างยงิ่ ท่ที ีมจะต้องคำ� นึงถึงผู้เรียนว่าผู้เรยี น
มีลักษณะอย่างไรบ้างค�ำนึงถึงธรรมชาติของเน้ือหาท่ีจะใช้สอนหรือจัดกิจกรรม
การเรียนรู้นนั้ มลี กั ษณะการเรยี นลกั ษณะใดได้แก่เปน็ การเรยี นความคดิ รวบยอด
(Concept) หรือเป็นการเรียนเชิงกระบวนการ (Process) อย่างน้อยจะต้องเข้าใจ
ธรรมชาติของเน้ือหาสาระที่จะใช้เปิดช้ันเรียนด้วยการพิจารณาข้อจ�ำกัดและ
ข้อได้เปรยี บของสง่ิ อำ� นวยความสะดวกในการจดั การเรยี นการสอนการจดั ลำ� ดบั
ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ท่ีเป็นล�ำดับขั้นที่สอดคล้องกับเป้าหมายการเรียนรู้ท่ีจะ
เกดิ ข้ึนกับผู้เรยี น
ถอดบทเรียนการพัฒนาการจัดการเรยี นร้ขู องครผู สู้ อนวทิ ยาการค�ำ นวณ 53
โดยใช้กระบวนการชุมชนแหง่ การเรียนรู้ทางวิชาชีพ แบบ COLA MODEL
5. ปฏบิ ตั กิ ารเปดิ ชน้ั เรยี น (OpenClassroom) และการสงั เกตชน้ั เรยี น
(Classroom Observation)
5.1 การเตรียมนักเรียนด้วยการส่ือสารท�ำความเข้าใจกับนักเรียน
ว่าจะมบี คุ คลอน่ื เข้ามาในชน้ั เรยี นแต่จะไมร่ บกวนนกั เรยี นขอให้นกั เรยี นปฏบิ ตั ติ น
ตามปกตแิ ต่จะไม่ใช่การไปสอนหรือเตรยี มสอนมาก่อนล่วงหน้า
5.2 หอ้ งเรยี นทจี่ ะใชเ้ ปน็ หอ้ งเปดิ ชนั้ เรยี นควรจะเปน็ ห้องทก่ี วา้ งพอ
ทีจ่ ะให้สมาชกิ ในทมี ได้นงั่ หลังชนั้ เรยี นหรือด้านข้าง
5.3 ครหู ัวหน้าทมี ปฏิบัตกิ าร (Model Teacher) จะต้องนำ� แผนการ
สอนที่ได้เขียนโดยสมบูรณ์แล้วมาน�ำสู่การปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัดเพราะ
แผนการสอนฉบับนั้นเป็นผลงานร่วมกันของทีมไม่ใช่ผลงานของคนสอน ดังนั้น
จะประสบความส�ำเร็จหรือไม่ประสบความส�ำเร็จเป็นความรับผิดชอบร่วมกัน
ของทีมท�ำงานการด�ำเนินการสอนตามแผนจะต้องปฏิบัติตามทั้งกิจกรรมและ
การใช้เวลาในแต่ละขน้ั ตอนอย่างเคร่งครัด
5.4 การสังเกตชั้นเรียน (Classroom Observation) เป็นข้ันตอน
ที่ส�ำคัญในการจะพิสูจน์ว่าการท่ีทีมงานร่วมกันออกแบบบทเรียนมาอย่าง
พถิ พี ถิ นั ทง้ั ด้านสาระและด้านการปฏบิ ตั ติ นตามกรอบจรรยาบรรณวชิ าชพี ครูนน้ั
เม่ือน�ำไปสู่การปฏิบัติการจริงในห้องเรียนแล้วจะเกิดผลอย่างไรในทางปฏิบัติ
โดยกระบวนการสงั เกตชนั้ เรยี นสงิ่ ทส่ี มาชกิ ในทมี ควรจะตอ้ งสงั เกตและจะนำ� ไปสู่
การสะท้อนคดิ หลังการสอนประกอบด้วย
ก. การใช้เวลาของครูในแต่ละขั้นตอนนับต้ังแต่การเกร่ินน�ำ
การน�ำเข้าสู่บทเรียนขั้นสอนขั้นท�ำกิจกรรมขั้นเชื่อมโยงขั้นสรุปขั้นสะท้อน
การเรียนรู้ของนักเรียนขั้นตอนต่าง ๆ เหล่าน้ีครูได้ใช้เวลาอย่างไรเป็นไปตาม
แผนทว่ี างไว้ในแผนการสอนหรอื ไม่หากไม่เป็นเกดิ มาจากสาเหตอุ ะไร
ข. ปฏิกิริยาการแสดงออกของนักเรียนแต่ละคนนักเรียนโดยรวม
มีความสุขหรือไม่นักเรียนได้รับความเอาใจใส่นักเรียนถูกกระท�ำการในลักษณะ
ท่ีไม่เหมาะสมหรือไม่นักเรียนแสดงส่ิงที่สะท้อนว่าเกิดการเรียนรู้แล้วหรือไม่
อย่างไรนักเรยี นแสดงอาการเบือ่ หน่ายง่วงหรือไม่
54 ถอดบทเรียนการพัฒนาการจัดการเรียนรขู้ องครูผสู้ อนวทิ ยาการคำ�นวณ
โดยใชก้ ระบวนการชุมชนแหง่ การเรยี นรูท้ างวชิ าชีพ แบบ COLA MODEL
ค. บทบาทการจัดการเรียนรู้ของครูครูสามารถอธิบายหรือ
จัดกิจกรรมได้เป็นไปตามแผนการสอนหรือไม่ ครูมีศิลปะการอธิบายครู
มีความอดทนเพยี รพยายามช่วยเหลือนักเรยี นเพยี งใดครูให้ความรักความเมตตา
ต่อนักเรยี นอย่างไรบุคลิกภาพการแสดงออกเหมาะสมกบั การเป็นครูท่ดี ีเพียงใด
ง. ประเด็นท่ีประสบความส�ำเร็จและประเด็นท่ีควรจะได้รับ
การปรับปรงุ ในครง้ั ต่อไป
5.5 การสะท้อนผลการสอนหลังการสอน (After Class Reflection)
หลังการเปิดชั้นเรียนและการสังเกตช้ันเรียนแล้วทีมจะต้องพยายามหาเวลา
รว่ มกนั ในการจดั การประชมุ สะท้อนคดิ หลงั การสอนใหเ้ รว็ ทส่ี ดุ เท่าทจี่ ะกระทำ� ได้
โดยพยายามตอบคำ� ถามประเด็นต่อไปนใ้ี ห้ได้ว่า
ก. การใชเ้ วลาของครทู ท่ี ำ� หนา้ ที่ Model Teacher เปน็ อยา่ งไรเปน็ ไป
ตามแผนการสอนท่วี างไว้หรอื ไม่
ข. กระบวนการจัดกิจกรรมการสอนเป็นไปตามแผนการสอน
หรือไม่และนักเรยี นเกิดการเรียนรู้ได้ตามเป้าหมายทว่ี างไว้มากน้อยเพียงใด
ค. การแสดงออกที่สะท้อนถึงความเป็นครูที่มีจิตวิญญาณ
ความเป็นครปู ฏบิ ัติตามจรรยาบรรณวชิ าชพี ครูเปน็ อย่างไร
ง. ภาพรวมการเรียนรู้ของนักเรียนรายคนเป็นอย่างไรมีนักเรียน
คนใดทตี่ ้องพจิ ารณาให้การช่วยเหลอื สนบั สนนุ เปน็ พิเศษหรือไม่
ถอดบทเรยี นการพฒั นาการจัดการเรยี นรขู้ องครผู ู้สอนวทิ ยาการคำ�นวณ 55
โดยใช้กระบวนการชมุ ชนแห่งการเรียนรทู้ างวิชาชีพ แบบ COLA MODEL
รายช่อื ครตู น้ แบบ (Model Teacher)
กิจกรรมพฒั นาวชิ าชีพแบบชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional
Learning Community : PLC)
ที่ รายชื่อสมาชกิ โรงเรียน กจิ กรรม
1 นางสาวตาณวี สุวรรณมาลา หาดใหญ่วทิ ยาลยั วิเคราะห์ผลการจดั การ
สมบรู ณ์กุลกนั ยา เรยี นรู้ การส่งงานของ
2 นายทศพร ชติ มณี หาดใหญ่วทิ ยาลัย นักเรียน การสอ่ื สาร
สมบรู ณ์กลุ กนั ยา ระหว่างครูกับนกั เรยี นและ
3 นางมะลิวัลย์ ทองเสนอ หาดใหญ่วทิ ยาลยั การใช้ห้องเรยี นออนไลน์
4 นายคมกฤช นลิ วจิ ติ ร สมบูรณ์กลุ กันยา (Google Classroom) ของ
5 นางบานเย็น จนั ทรวงศ์เกษม หาดใหญ่วทิ ยาลัย นักเรียน
สมบรู ณ์กลุ กนั ยา วิเคราะห์ผลการจดั การ
หาดใหญ่วทิ ยาลัย เรียนรู้ การส่งงานของ
สมบูรณ์กลุ กันยา นกั เรยี น การสอ่ื สาร
ระหว่างครูกับนกั เรยี นและ
การใช้ห้องเรยี นออนไลน์
(Google Classroom) ของ
นกั เรียน
การแก้ปัญหานกั เรยี นทีไ่ ม่
สามารถเขยี นอลั กอรทิ ึมได้
การแก้ปัญหานักเรยี นทไ่ี ม่
สามารถเขียนอัลกอรทิ มึ ได้
วิเคราะห์ผลการจดั การ
เรยี นรู้ การส่งงานของ
นกั เรยี น การส่อื สาร
ระหว่างครกู บั นกั เรยี นและ
การใช้ห้องเรยี นออนไลน์
(Google Classroom) ของ
นักเรียน
56 ถอดบทเรยี นการพฒั นาการจัดการเรียนรขู้ องครผู ู้สอนวทิ ยาการคำ�นวณ
โดยใชก้ ระบวนการชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ แบบ COLA MODEL
ท่ี รายชอ่ื สมาชกิ โรงเรียน กิจกรรม
6 นายสาโรจ แก้วมณี หาดใหญ่วทิ ยาลยั วิเคราะห์ผลการจดั การ
สมบูรณ์กลุ กันยา เรยี นรู้การส่งงานของ
นกั เรียนการส่อื สาร
7 นางสาวณัฐรนิ ีย์ หนูชยั แก้ว หาดใหญ่วทิ ยาลยั ระหว่างครกู บั นักเรยี นและ
สมบูรณ์กุลกนั ยา การใช้ห้องเรยี นออนไลน์
(Google Classroom) ของ
8 นางพตั ราภรณ์ วงศ์พรัตทปี รักษพนั ธุ์ หาดใหญ่วทิ ยาลยั นกั เรยี น
สมบรู ณ์กุลกนั ยา การแก้ปญั หานักเรยี นท่ไี ม่
สามารถเขยี นอัลกอรทิ มึ ได้
9 นายสุเทพ มะลวิ ลั ย์ สตูลวิทยา วเิ คราะห์ผลการจดั การ
เรียนรู้การส่งงานของ
10 นายราเหม ดอ่ ล๊ะ สอบรอง ผอ.รร.ได้ นกั เรยี นการสือ่ สารระหว่าง
11 นายสุรยิ ัน บิลเหม สตูลวิทยา ครกู ับนักเรยี นและการใช้
ห้องเรยี นออนไลน์ (Google
Classroom) ของนักเรยี น
1. การแก้ปญั หานักเรยี น
ไม่เข้าใจกระบวนการ
ออกแบบเชงิ วศิ วกรรม
2. การแก้ปญั หานกั เรยี น
ไม่สามารถวเิ คราะห์
กระบวนการในแต่ละ
ขัน้ ตอนได้อย่างถูกต้อง
1. การแก้ปญั หานักเรยี นไม่
เขา้ ใจกระบวนการออกแบบ
เชงิ วศิ วกรรม
2. การแกป้ ญั หานกั เรยี น
ไมส่ ามารถวเิ คราะห์
กระบวนการในแต่ละขน้ั
ตอนไดอ้ ย่างถกู ต้อง
ถอดบทเรียนการพฒั นาการจดั การเรยี นร้ขู องครูผู้สอนวทิ ยาการค�ำ นวณ 57
โดยใชก้ ระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรูท้ างวชิ าชีพ แบบ COLA MODEL
ท่ี รายช่อื สมาชกิ โรงเรียน กิจกรรม
12 นายวิทยา มหิ อมมิ สตูลวทิ ยา 1. การพัฒนาโครงงานดว้ ย
กระบวนการออกแบบเชงิ
13 นางตรนี ชุ ทิศเมือง สตูลวทิ ยา วศิ วกรรมทีถ่ กู ตอ้ ง
14 นางสาวนายูลาดา เลาะ สตูลวิทยา 2. การพัฒนาทักษะนกั เรยี น
ในการสร้างองคค์ วามรู้
15 นางปวณี า บุตถาวร สทงิ พระวทิ ยา ด้วยตนเอง
3. การพฒั นาทักษะนกั เรียน
ในการน�ำเสนอผลงานใน
รูปแบบต่าง ๆ
1. การแกป้ ัญหานกั เรยี น
ไมเ่ ขา้ ใจกระบวนการ
ออกแบบเชิงวิศวกรรม
2. การแกป้ ญั หานักเรยี น
ไมส่ ามารถวิเคราะห์
กระบวนการในแต่ละ
ขัน้ ตอนได้อย่างถูกต้อง
1. การพัฒนาโครงงานดว้ ย
กระบวนการออกแบบ
เชงิ วศิ วกรรมทถ่ี ูกต้อง
2. การพัฒนาทักษะนกั เรยี น
ในการสร้างองค์ความรู้
ดว้ ยตนเอง
3. การพฒั นาทักษะนกั เรยี น
ในการน�ำเสนอผลงานใน
รปู แบบต่าง ๆ
การพฒั นาผเู้ รียนใหม้ ที กั ษะ
การวเิ คราะห์และประเมิน
สถานการณต์ ่าง ๆ จากการ
ใช้สื่อสงั คมออนไลน์
58 ถอดบทเรยี นการพฒั นาการจดั การเรียนร้ขู องครผู สู้ อนวทิ ยาการค�ำ นวณ
โดยใช้กระบวนการชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวชิ าชพี แบบ COLA MODEL
ที่ รายชื่อสมาชกิ โรงเรียน กิจกรรม
16 นายสุทัศน์ ออ่ นพทุ ธา สทงิ พระวิทยา การพฒั นากระบวนการคดิ
17 นางอัญชลี สทุ ธสิ ว่าง หาดใหญ่วิทยาลัย โดยการใช้บลอ็ กค�ำสัง่
18 นางณสุ นี หะยียูโซะ หาดใหญ่วทิ ยาลัย การพัฒนาโครงงานโดย
การใช้คอมพิวเตอร์ในการ
19 นางสาวชตุ มิ า ก้องศริ วิ งศ์ หาดใหญว่ ทิ ยาลัย แก้ปญั หาของนกั เรียน
การพฒั นาผเู้ รยี นในการคดิ
20 นางสาวสุวรรณา เพชรแกว้ หาดใหญว่ ิทยาลัย เชงิ นามธรรมสูก่ ารคิด
21 นางสาวฐิติชญา เลศิ จ�ำรัสพงศ์ หาดใหญ่วทิ ยาลัย แกป้ ญั หาอย่างเป็นข้นั ตอน
22 นางสาวพิชญากร หนอู ไุ ร หาดใหญ่วทิ ยาลัย เพื่อตอ่ ยอดส่กู ารเขียนโปนแกรม
การพัฒนานักเรียนเพื่อให้
23 นายณฐั วุฒิ ยาแม พมิ านพิทยาสรรค์ เกิดทักษะในการใชเ้ ครื่องมือ
ทางเทคโนโลยีในการ
แก้ปญั หาตา่ ง ๆ ไดอ้ ย่าง
ถกู ต้องและเหมาะสม
การพัฒนานักเรียนให้
สามารถเขียนโปรแกรม
เชงิ ตวั เลขได้
การพฒั นานกั เรียนให้สามารถ
เขยี นโปรแกรมได้ถกู ต้องตาม
หลักไวยากรณ์ภาษาไพทอน
การพัฒนานกั เรยี นให้
สามารถเชือ่ มโยงความรูไ้ ปใช้
ในชีวติ ประจำ� วันอยา่ ง
เหมาะสมและใชเ้ ทคโนโลยี
ไดอ้ ยา่ งถูกประเภท
การพฒั นานกั เรยี นให้มี
ทกั ษะการใช้เทคโนโลยใี น
การนำ� เสนอและออกแบบ
ชน้ิ งาน
ถอดบทเรยี นการพฒั นาการจัดการเรียนรขู้ องครผู สู้ อนวทิ ยาการค�ำ นวณ 59
โดยใชก้ ระบวนการชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ แบบ COLA MODEL
ที่ รายชือ่ สมาชกิ โรงเรียน กิจกรรม
24 นางพิชยา ระธารมณี พมิ านพทิ ยาสรรค์ การพฒั นานกั เรยี นใหเ้ กดิ
25 นางนนั ทวดี ชา่ งเหลก็ พมิ านพิทยาสรรค์ ทักษะตามกระบวนการ
ออกแบบเชงิ วิศวกรรม
26 นางสาวฐรินดา สังยาหยา พมิ านพิทยาสรรค์ การพฒั นานักเรยี นให้เกิด
27 นางสาวอรพรรณ ช�ำนาญ พิมานพทิ ยาสรรค์ ทกั ษะกระบวนการออกแบบ
28 นางสาววิมลศรี อดทน พมิ านพิทยาสรรค์ เชิงวศิ วกรรมสกู่ ารออกแบบ
โครงงานสะเต็มมาใชใ้ นการ
29 นายอนศุ กั ด์ิ สิงคมาศ มหาวชิราวธุ แกป้ ัญหา
30 นางฐิติพร ชัยดวง จ.สงขลา การส่งเสรมิ พัฒนานักเรียน
มหาวชริ าวุธ เพือ่ ใหม้ ที กั ษะตาม
จ.สงขลา กระบวนการออกแบบ
เชงิ วศิ วกรรม
การส่งเสริมพฒั นานักเรียน
เพอ่ื ให้มีทักษะตาม
กระบวนการออกแบบ
เชงิ วิศวกรรม
การพฒั นาทกั ษะกระบวนการ
ออกแบบเชงิ วิศวกรรมการ
แกป้ ญั หาดว้ ย และออกแบบ
โครงงานเชงิ วศิ วกรรมตาม
ล�ำดับข้นั ตอนการท�ำโครงงาน
มาใชใ้ นการแกป้ ัญหา
การพฒั นานักเรียนใหส้ ามา
รถเขียนอัลกอริทึมเพือ่
แก้ปญั หาได้
การพฒั นานกั เรยี นให้
เข้าใจการทำ� งานของระบบ
คอมพิวเตอร์โดยใช้แนวคิด
เชิงคำ� นวณ
60 ถอดบทเรยี นการพัฒนาการจดั การเรยี นรู้ของครูผ้สู อนวิทยาการค�ำ นวณ
โดยใช้กระบวนการชมุ ชนแห่งการเรียนรทู้ างวชิ าชพี แบบ COLA MODEL
ท่ี รายชอ่ื สมาชกิ โรงเรยี น กิจกรรม
31 วา่ ท่ีร.ต.หญิงขนิษฐา ชาตรี มหาวชิราวธุ การพฒั นาทกั ษะการคิด
จ.สงขลา วิเคราะห์ อย่างเป็นระบบ
ในการแก้ปัญหารวมถึงการ
32 นายรัตนพล ทพิ ย์สวุ รรณ์ มหาวชริ าวธุ ตดั สินใจที่ถกู ตอ้ ง เหมาะสม
33 นางสาวนวภรณ์ แซต่ งั้ จ.สงขลา การพัฒนานกั เรยี นให้มีใน
มหาวชิราวธุ การเขียนโปรแกรมดว้ ย
จ.สงขลา ภาษาไพทอน
การพฒั นา สง่ เสริมให้
34 นายเอกภาพ มทุ ะจนั ทร์ มหาวชริ าวธุ นกั เรียนเลอื กใช้เครือ่ งมือ
35 นายฟฏั ลูดนี หมนั เหม จ.สงขลา และนำ� ความรูจ้ ากโปรแกรม
มหาวชิราวธุ MS-Word มาประยุกตใ์ น
จ.สงขลา การท�ำงานไมถ่ ูกตอ้ ง
การพฒั นาผเู้ รียนในการ
36 นายพีรวิทย์ เรอื งเพ็ง มหาวชริ าวุธ ออกแบบและใช้โปรแกรม
จ.สงขลา อย่างงา่ ยในการแก้ปญั หา
การพัฒนานักเรยี นใหม้ พี ื้น
37 นางสาวอภิญญา อินทองแก้ว มหาวชิราวุธ ฐาน เร่ืองเทคโนโลยนี ่ารู้
จ.สงขลา ความรู้และทักษะทจ่ี ำ� เป็น
เพื่อแก้ปญั หาไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง
เหมาะสมและปลอดภยั
การพัฒนานกั เรยี นให้
สามารถสร้างคลิป VDO
และเขียนสตอรบ่ี อร์ด
โดยใช้โปรแกรมตดั ตอ่
ไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง
การพฒั นานกั เรียนในการ
เรียงล�ำดบั ข้นั ตอนในการ
สรา้ งช้นิ งาน
ถอดบทเรียนการพฒั นาการจดั การเรียนรขู้ องครผู ู้สอนวิทยาการค�ำ นวณ 61
โดยใช้กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรทู้ างวชิ าชพี แบบ COLA MODEL
ท่ี รายชอ่ื สมาชกิ โรงเรยี น กจิ กรรม
38 นางสาวกนกวรรณ จุลฉีด
39 นายกอ่ เกยี รติ วิริยะสมบตั ิ สะเดา “ขรรค์ การพัฒนานักเรยี นให้
ชัยกมั พลานนท์ สามารถวเิ คราะหก์ ารทำ� งาน
40 นางสาวพินนั ทา วงศ์จินดา อนุสรณ”์ ของระบบเทคโนโลยีได้
41 นางสาวปิยมัส พรหมทอง สะเดา การวเิ คราะหป์ ญั หาและ
42 นางสาวอภสั รา ชหู ิรัญ “ขรรคช์ ยั กมั พลานนท์ ออกแบบแนวทางการ
43 นางสาวมจุ ลนิ ท์ คณะทอง อนุสรณ์” แก้ปัญหาโดยใช้แนวคดิ
เชิงนามธรรม
44 นางจันทวิ า พรอ้ มญาติ
สะเดา “ขรรค์ การพฒั นานกั เรยี นให้
45 นายคชพล คชพลายุกต์ ชัยกมั พลานนท์ สามารถวเิ คราะห์ปัญหาและ
อนุสรณ์” ออกแบบแนวทางการแก้
ปญั หาในอาชพี ที่ไปส�ำรวจมา
สะเดา “ขรรค์ การพัฒนานักเรียนให้
ชยั กัมพลานนท์ สามารถวิเคราะหแ์ นวทาง
อนสุ รณ์” การแกป้ ญั หาได้
นาทวีวทิ ยาคม การพัฒนานกั เรยี นใหเ้ กิดทกั ษะ
ในการปฏบิ ตั ิงานและเกิด
กระบวนการคดิ ทหี่ ลากหลาย
นาทวีวทิ ยาคม การพัฒนาทักษะการคดิ
วเิ คราะห์ อย่างเป็นระบบ
ในการแกป้ ัญหารวมถงึ การ
ตัดสินใจที่ถกู ตอ้ ง เหมาะสม
นาทววี ทิ ยาคม การพฒั นาทักษะการคดิ
วิเคราะห์ สมบตั ขิ องวัสดุ
แตล่ ะประเภท เพอ่ื เลือก
ใชใ้ ห้เหมาะสมกับลักษณะ
ของงาน
นาทววี ทิ ยาคม การพฒั นาทกั ษะการคิด
วเิ คราะห์ อย่างเปน็ ระบบ
ในการแกป้ ญั หารวมถึงการ
ตัดสนิ ใจที่ถูกต้อง เหมาะสม
62 ถอดบทเรยี นการพัฒนาการจดั การเรยี นรูข้ องครูผู้สอนวิทยาการคำ�นวณ
โดยใช้กระบวนการชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชพี แบบ COLA MODEL
ท่ี รายชื่อสมาชกิ โรงเรยี น กจิ กรรม
46 นายสุชาติ แกน่ เพชร นาทววี ทิ ยาคม การพฒั นานักเรยี นให้เกดิ ทกั ษะ
ในการปฏบิ ัติงาน และเกิด
47 นางสาวนาตยา พรรณสิทธิ์ นาทวีวิทยาคม กระบวนการคิดทีห่ ลากหลาย
การสง่ เสรมิ ทกั ษะการคิด
โดยการใชเ้ กมส์ ใบงาน แบบ
ฝึกทักษะ
ถอดบทเรยี นการพัฒนาการจดั การเรียนรู้ของครูผสู้ อนวทิ ยาการคำ�นวณ 63
โดยใช้กระบวนการชมุ ชนแห่งการเรียนรทู้ างวชิ าชีพ แบบ COLA MODEL
ตโดอ่ ยกทใมาชารุมง้กพวมริชฒัะอบางนชวขพีานตอแกแงบอาคบบรนบรชชผูมุุมทCรู้ชช่ีO่วนน5มLแแกหAหจิ ่งง่ Mกกกราาoรรรdมเเeรรlยียี นนรรูู้้
นางปวีณา บตุ ถาวร
โรงเรียนสทิงพระวิทยา
วิชาทเี่ ปดิ ชัน้ เรียน
☐ การออกแบบและเทคโนโลยี ☑ วทิ ยาการคำ� นวณ
รสู้ กึ อยา่ งไร
ส�ำหรับความรู้สึกแรกที่ได้รับการคัดเลือกเข้าร่วมโครงการพัฒนา
การจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอนวิทยาการค�ำนวณโดยใช้กระบวนการชุมชนแห่ง
การเรยี นรทู้ างวชิ าชพี แบบ COLA MODEL นนั้ อยากเลา่ เรอ่ื งราวความรสู้ กึ ครงั้ แรก
คือ แปลกใจมากที่ทางส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล
ได้ให้โอกาสครูโรงเรียนขนาดกลาง ได้เข้าร่วมโครงการฯ ดังกล่าว เพราะจาก
รายช่ือโรงเรียนท้ังหมด 8 โรงเรียนนั้น มีแต่โรงเรียนขนาดใหญ่ท้ังสิ้น ถือได้ว่า
เป็นเกียรติกับครูผู้สอนโรงเรียนสทิงพระวิทยาเป็นอย่างย่ิงที่ได้มีส่วนร่วมใน
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ ของครูผู้สอนวิทยาการค�ำนวณ ส่วนความรู้สึก
หลังจากน้ัน คือ ตื่นเต้นมากเพราะมีความกังวลว่าการเข้าร่วมโครงการฯ
ดงั กลา่ ว จะทำ� ไดไ้ มด่ ตี ามทสี่ ำ� นกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาสงขลา สตลู
คาดหวังไว้ แต่ทุกความรู้สึกด้านลบหายไปหมด เพราะได้เข้ารับการอบรม
จากท่านศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบ ได้รับความรู้ ความเข้าใจท่ีสามารถน�ำ
องค์ความรู้ดังกล่าวมาใช้ในการขับเคลื่อนโครงการฯ ได้จนภารกิจส�ำเร็จไปได้
ด้วยดี
ประทบั ใจอะไรบา้ ง
ความประทับใจแรก คือ ความเป็นกัลยาณมิตรของท่านศึกษานิเทศก์
ที่มีให้กับครูผู้เข้าร่วมโครงการฯ ทุกคน โดยเร่ิมต้นต้ังแต่ การให้การอบรม
ให้ความรู้ เปน็ ทปี่ รกึ ษาทกุ ๆ เรอื่ ง แม้แต่เรอื่ งการเตรยี มตวั เปดิ ชนั้ เรยี นทง้ั 3 วงรอบ
โดยส่วนใหญ่แล้วจะรบกวนหรือปรึกษาท่านศึกษานิเทศก์ที่ดูแลบ่อยคร้ังมาก
คือ ท่านศึกษานิเทศก์จิตรา ซุ่นซิ่ม ซึ่งขอสารภาพว่า ถึงแม้ว่าจะเป็นครูมานาน
ถึง 17 ปี แต่การเปิดชั้นเรียนครั้งแรกน้ันมีความตื่นเต้นและกังวลมาก ค�ำพูดท่ี
ถอดบทเรยี นการพัฒนาการจัดการเรยี นรู้ของครผู ู้สอนวทิ ยาการคำ�นวณ 67
โดยใช้กระบวนการชมุ ชนแห่งการเรยี นร้ทู างวิชาชพี แบบ COLA MODEL
ศน.จิตรา ซุ่นซ่ิม พูดให้พลังใจในการเปิดช้ันเรียนคร้ังแรกน้ี คือ ไม่ได้เป็นการ
มาจับผิดการสอนของครู แต่มาเป็นกระจกสะท้อนให้เห็นถึงการจัดการเรียน
การสอนของครูเท่านั้น เพ่ือท่ีจะได้พัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน
ให้ดีย่ิงขึ้น เพราะผลลัพธ์ท่ีส�ำคัญส�ำหรับโครงการฯ น้ีนั้น เพื่อต้องการพัฒนา
ศักยภาพการจัดการเรียนการสอนของครูวิทยาการค�ำนวณ และต้องการพัฒนา
ผเู้ รยี นใหม้ คี วามรู้ ทกั ษะ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ รวมทงั้ สมรรถนะของผเู้ รยี น
ให้เกดิ ข้ึนตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พ.ศ. 2551 (ฉบับปรบั ปรุง
2560) จงึ ทำ� ให้ความตน้ื เต้นและความกังวลดงั กล่าวลดลง
ได้เรียนรอู้ ะไรบา้ ง
1. สิ่งที่ได้เรียนรู้อย่างชัดแจ้งเลย คือ กระบวนการ PLC ท่ีได้รับความรู้
จากทา่ นอาจารยอ์ มลวรรณ วรี ะธรรมโม จากมหาวทิ ยาลยั ทกั ษณิ ซง่ึ ทผ่ี า่ นมานน้ั
ส�ำหรับเรื่อง กระบวนการ PLC น้ัน เข้าใจเพียงข้ันตอนหรือเป็นข้อความอธิบาย
เท่าน้ัน แต่หลังจากท่ีได้รับความรู้ และการอธิบายท่ีชัดเจนจากท่านอาจารย์
ท�ำให้สามารถน�ำมาปฏิบัติได้อย่างถูกต้องและสามารถขยายผลให้กับเพื่อนครู
ท่ีโรงเรียนสทิงพระวิทยา หลายคนด้วยกัน ได้แก่ ทีมงานกลุ่มบริหารวิชาการ
และทีมงาน PLC โรงเรยี นสทงิ พระวทิ ยา เปน็ ต้น
2. ไดเ้ รยี นรู้ การสะทอ้ นแผนการจดั การเรยี นรกู้ อ่ นใชส้ อนและการสะทอ้ นคดิ
หลังการสังเกตช้ันเรียน ซ่ึงถือได้ว่า กระบวนการดังกล่าวมีความส�ำคัญอย่างยิ่ง
เพราะครูได้รับการสะท้อนแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีตนเองได้ออกแบบมา แล้ว
ได้รับการสะท้อนจากผู้เข้าร่วมสะท้อนท่ีได้ท�ำหน้าท่ีตามบทบาท ได้แก่
68 ถอดบทเรยี นการพฒั นาการจัดการเรยี นร้ขู องครผู ูส้ อนวทิ ยาการค�ำ นวณ
โดยใช้กระบวนการชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ทางวิชาชพี แบบ COLA MODEL
Buddy Teacher, Mentor, Expert และ Administrator และท่ีส�ำคัญ คือ
หลังจากการจัดการเรียนรู้แล้ว ยังได้มีโอกาสการสะท้อนคิดหลังการสังเกต
ชั้นเรียน ซึ่งถือเป็นโอกาสที่มีคุณค่าย่ิง เพราะ Model Teacher หรือผู้สอน
ได้น�ำส่ิงที่ผู้เข้าร่วมสะท้อน มาพัฒนาและปรับปรุง เพ่ือพัฒนาการเรียนรู้
ของนกั เรยี นใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพมากยงิ่ ขนึ้ ถอื เปน็ โอกาสทองในการพฒั นาทง้ั ครผู สู้ อน
และนกั เรยี น
ได้ท�ำ อะไรเป็นบ้าง ท�ำ อะไรไดบ้ า้ ง หรือได้ฝกึ ทักษะอะไรบา้ ง
1. ได้ท�ำอะไรเป็นบ้าง : ส่ิงท่ีท�ำเป็น คือ การด�ำเนินงานตามกระบวนการ
ของการเปิดช้ันเรียนแต่ละ วงรอบทั้ง 3 วงรอบ จนสามารถด�ำเนินการได้อย่าง
ชำ� นาญขึ้นทุกครง้ั ของการเปิดวงรอบในรอบถัดไป
2. ท�ำอะไรได้บ้าง : ส่ิงท่ีท�ำได้อย่างม่ันใจ คือ การด�ำเนินงานตาม
กระบวนการ PLC ซึ่งได้รับความรู้มาจากท่านอาจารย์มหาวิทยาลัย
ท่านศึกษานิเทศก์ รวมทั้งการได้มีโอกาสลงมือปฏิบัติจริง ได้ประสบกับปัญหา
จริง ๆ ได้คิดค้นหาวิธีการแก้ปัญหา ได้เรียนรู้จากหน้างานโดยตรง รวมท้ัง
เกิดประสบการณ์จริงกับตนเองซ่ึงสามารถให้ค�ำแนะน�ำกับเพื่อนครูในโรงเรียน
ได้อย่างมั่นใจ
3. ไดฝ้ กึ ทกั ษะอะไรบา้ ง : ไดฝ้ กึ ทกั ษะการ Up ขอ้ มลู เขา้ ในระบบ Tranflix -
PLC ของคุรุสภา ซ่ึงต้องยอมรับว่า ไม่ง่ายเลย เพราะต้องเรียนรู้จากคลิปวีดิโอ
ที่ทางคุรุสภาได้จัดเตรียมไว้ให้ และต้องขอค�ำปรึกษาจากท่านศึกษานิเทศก์
อยู่บ่อยครง้ั
ความรแู้ ละทกั ษะเหลา่ นั้น จะนำ�ไปใช้อยา่ งไร
1. น�ำความรู้และทักษะไปใช้ต่อยอดการจัดการเรียนการสอนในวิชา
การออกแบบและเทคโนโลยี และขยายผลใหก้ บั เพอ่ื นครใู นโรงเรยี นสทงิ พระวทิ ยา
ซึ่งรองผู้อ�ำนวยการสุคนธ์ ก�ำเหนิดดี มีแนวนโยบาย ให้น�ำกระบวนการ PLC
แบบ COLA MODEL มาใช้ด�ำเนินการจัดกระบวนการ PLC และการนิเทศภายใน
ของโรงเรยี นสทงิ พระวิทยาทัง้ ระบบ
ถอดบทเรียนการพัฒนาการจัดการเรียนรขู้ องครูผ้สู อนวิทยาการค�ำ นวณ 69
โดยใช้กระบวนการชุมชนแหง่ การเรยี นร้ทู างวชิ าชีพ แบบ COLA MODEL
2. น�ำความรู้และประสบการณ์ไปพัฒนาต่อยอดสร้างสรรค์นวัตกรรม
การจัดการเรียนการสอน เพื่อเป็นแบบอย่างในการพัฒนาการจัดการชั้นเรียน
รายวิชา วทิ ยาการค�ำนวณ และรายวชิ าการออกแบบและเทคโนโลยี ต่อไป
70 ถอดบทเรยี นการพฒั นาการจัดการเรยี นรู้ของครผู สู้ อนวทิ ยาการค�ำ นวณ
โดยใช้กระบวนการชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ทางวิชาชีพ แบบ COLA MODEL
นายทศพร ชติ มณี
โรงเรียนหาดใหญว่ ทิ ยาลัยสมบรู ณ์กลุ กันยา
วิชาทเ่ี ปดิ ช้นั เรียน
☐ การออกแบบและเทคโนโลยี ☑ วทิ ยาการคำ� นวณ
รสู้ ึกอย่างไร
กระบวนการ PLC เป็นกระบวนการที่ดีท้ังผู้บริหาร ศึกษานิเทศก์
ครูและนักเรียนได้มีส่วนร่วมในการท�ำงาน มีข้ันตอนมีการวางแผนที่ชัดเจน
ชว่ ยในการแลกเปลยี่ นเรยี นรรู้ ะหวา่ งทกุ ฝา่ ย มสี ว่ นชว่ ยใหผ้ ลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น
ของนักเรียนดีขึ้น อีกท้ังยังเปิดโอกาสให้ครูผู้สอนได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
กระบวนการสอน มีการนิเทศติดตาม ดูแลช่วยเหลือกันส่งผลให้เกิดการพัฒนา
กจิ กรรมการเรยี นการสอนวทิ ยาการค�ำนวณได้
ประทับใจอะไรบา้ ง
ทางสำ� นกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาสงขลา สตลู โดยผอู้ ำ� นวยการ
ศังกร รักชูชื่น คณะศึกษานิเทศก์ดูแลเอาใจใส่อย่างใกล้ชิดและเป็นกันเอง
ได้เข้ามาดูแลกระบวนการจัดท�ำ PLC ถึงโรงเรียน ในคาบสอนจริง เม่ือมีปัญหา
สามารถสอบถามคณะศึกษานิเทศก์ได้ตลอดเวลา คณะศึกษานิเทศก์มีการ
ตดิ ตามการทำ� งานอยา่ งสมำ่� เสมอ มกี ารใหข้ อ้ สงั เกต ขอ้ แนะนำ� การจดั การเรยี นรู้
ของครู ส่งผลให้ครูเรียนรู้เพื่อพัฒนาการสอนของตนเอง ส่งผลดีต่อการเรียนรู้
ของนกั เรยี นต่อไป
ถอดบทเรียนการพัฒนาการจัดการเรยี นรขู้ องครผู สู้ อนวิทยาการคำ�นวณ 71
โดยใช้กระบวนการชมุ ชนแห่งการเรียนร้ทู างวิชาชีพ แบบ COLA MODEL
ไดเ้ รียนรอู้ ะไรบ้าง
ได้เรียนรู้กระบวนการของ COLA MODEL ในการตั้งประเด็นปัญหา และ
หาสาเหตุในการแก้ไขปัญหา การสะท้อนแผนการเรียน การเปิดช้ันเรียน และ
สะท้อนคิดจากการเปิดชน้ั เรยี น
ได้ท�ำ อะไรเป็นบ้าง ทำ�อะไรได้บ้าง หรือได้ฝึกทกั ษะอะไรบ้าง
ได้วางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ศึกษาเทคนิคและสื่อใหม่ ๆ เพื่อ
ประกอบการสอนในรายวิชาวิทยาการค�ำนวณและเทคโนโลยี ได้สะท้อนคิด
ผลการสอนของตนเองและเพื่อนครู สังเกต เทคนิคการสอน วิธีการสอนของ
เพอื่ นครู แล้วน�ำมาปรบั ประยุกต์ใช้เปน็ ของตนเอง
ความรแู้ ละทกั ษะเหล่านัน้ จะน�ำ ไปใชอ้ ย่างไร
ได้น�ำความรู้ ทักษะและประสบการณ์ทีพ่ บไปปรบั ประยุกต์ใช้ให้เหมาะสม
กับบริบทของตนเองและรายวิชา เพ่ือน�ำไปสู่การวางแผนการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ที่มีความแปลกใหม่ น่าสนใจ และมีประสิทธิภาพในการจัดกิจกรรม
การเรยี นรู้มากยง่ิ ขึ้นในอนาคต
72 ถอดบทเรียนการพัฒนาการจดั การเรียนรขู้ องครูผู้สอนวิทยาการคำ�นวณ
โดยใช้กระบวนการชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ แบบ COLA MODEL
นางบานเย็น จนั ทรวงศเ์ กษม
โรงเรียนหาดใหญว่ ิทยาลยั สมบรู ณ์กลุ กันยา
วชิ าทเ่ี ปดิ ชนั้ เรยี น
☐การออกแบบและเทคโนโลยี ☑ วิทยาการค�ำนวณ
รู้สึกอย่างไร
ความรู้สึกเมื่อได้เข้าร่วมโครงการ นอกจากได้ร่วมแบ่งปันประสบการณ์
การท�ำงาน การจัดการเรียนการสอนท่ีมีความหลากหลาย เรายังได้ร่วมกัน
สะท้อนหลังจากได้เปิดชั้นเรียนให้เพ่ือสมาชิกท�ำให้ได้รู้ว่าการจัดการเรียน
การสอนจองเรายังคงมีส่ิงใดท่ีเป็นจุดอ่อนและต้องพัฒนา แล้วน�ำมาปรับท�ำให้
การเรียนการสอนของเรามคี วามสมบรู ณ์ย่งิ ขนึ้
ประทับใจอะไรบา้ ง
ประทับใจในส่วนของ การสะท้อนการเปิดชั้นเรียนท�ำให้ได้รับข้อมูล
ตามสภาพจรงิ น�ำไปปรับใช้ได้เรยี นรู้อะไรบ้าง
◆ ให้แบ่งปนั ประสบการณ์การสอนของเพ่ือนร่วมอาชพี
◆ มสี อื่ ในการนำ� มาประยกุ ต์ใช้ในการจัดการเรยี นการสอนที่หลากหลาย
◆ ได้เรยี นรู้กระบวนการของ COLA MODEL ในการตง้ั ประเด็นปญั หา และ
หาสาเหตุในการแก้ไขปัญหา การสะท้อนแผนการเรียน การเปิดช้ันเรียน และ
สะท้อนคดิ จากการเปิดชนั้ เรยี น
ถอดบทเรยี นการพฒั นาการจดั การเรยี นรู้ของครผู สู้ อนวทิ ยาการคำ�นวณ 73
โดยใช้กระบวนการชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ แบบ COLA MODEL
ได้ท�ำ อะไรเปน็ บ้าง ท�ำ อะไรได้บา้ ง หรอื ได้ฝึกทักษะอะไรบ้าง
ได้ร่วมกันวางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แนะน�ำ ศึกษาเทคนิคและ
สื่อใหม่ ๆ เพ่ือน�ำมาจัดการเรียนการการสอนในรายวิชาวิทยาการค�ำนวณ
และเทคโนโลยี ได้สะท้อนคิดผลการสอนของตนเองและเพ่ือนครู ได้น�ำเทคนิค
การสอน วธิ กี ารสอนของเพอ่ื นครู แล้วน�ำมาปรับประยกุ ต์ใช้เปน็ ของตนเอง
ความรแู้ ละทกั ษะเหลา่ นั้น จะน�ำ ไปใช้อย่างไร
ได้น�ำความรู้ ทักษะและประสบการณ์ไปปรับประยุกต์ใช้ให้เหมาะสม
กับบริบทของตนเองและรายวิชา เพื่อน�ำไปสู่การวางแผนการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ท่ีมีความแปลกใหม่ น่าสนใจ และมีประสิทธิภาพในการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้มากย่ิงขึ้นในอนาคต และถ่ายทอดให้เพ่ือนสมาชิกและขยายผล
ในวงการการศกึ ษาต่อไป
74 ถอดบทเรยี นการพฒั นาการจัดการเรยี นร้ขู องครผู ้สู อนวทิ ยาการค�ำ นวณ
โดยใช้กระบวนการชุมชนแหง่ การเรียนรทู้ างวิชาชพี แบบ COLA MODEL
นายคมกฤช นิลวิจิตร
โรงเรยี นหาดใหญ่วิทยาลัยสมบูรณก์ ุลกนั ยา
วิชาที่เปิดชั้นเรยี น
☐ การออกแบบและเทคโนโลยี ☑ วิทยาการคำ� นวณ
รสู้ ึกอย่างไร
กระบวนการ PLC โดยใช้ COLA MODEL เป็นกระบวนการท่ีดีทั้งผู้เรียน
และผู้สอน มเี ป้าหมายทจี่ ะสร้างแนวทางการจัดการเรียนการสอนที่เป็นรูปธรรม
ส�ำหรับครู ให้มีข้ันตอนที่ชัดเจน ช่วยในการแลกเปล่ียนเรียนรู้ระหว่างครู
แก้ปัญหาที่ต้องการได้ ท�ำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนดีขึ้น อีกทั้ง
ยงั เปดิ โอกาสใหค้ รผู สู้ อนไดม้ กี ารแลกเปลย่ี นเรยี นรกู้ ระบวนการสอน มกี ารนเิ ทศ
ตดิ ตาม ดแู ลช่วยเหลอื กัน
ประทบั ใจอะไรบา้ ง
ประทับใจที่ส�ำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล
ได้ให้ความส�ำคัญและคัดเลือกโรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัยสมบูรณ์กุลกันยา
เป็นตัวแทนของสหวิทยาเขตนครหาดใหญ่ เพ่ือพัฒนาสมรรถนะครูผู้สอน
ท่ีเกี่ยวข้องกับสาขาวิทยาการค�ำนวณ และคณะศึกษานิเทศก์ที่ดูแลเอาใจใส่
อย่างใกล้ชิดและเป็นกันเอง สามารถสอบถามข้อมูลได้ตลอดเวลา และ
มีการติดตามอย่างสม่�ำเสมอ อีกทั้งครูผู้สาขาวิทยาการค�ำนวณในโรงเรียน
ทใี่ หค้ วามรว่ มมอื ชว่ ยเหลอื ซง่ึ กนั และกนั ทำ� ใหก้ ารดำ� เนนิ โครงการในครง้ั นสี้ ำ� เรจ็
ไปได้ด้วยดี
ไดเ้ รยี นรู้อะไรบ้าง
ได้เรียนรู้กระบวนการ PLC โดยใช้ COLA MODEL เช่น การตั้งประเด็นปัญหา
และหาสาเหตุในการแก้ไขปัญหา การสะท้อนแผนการเรียน การเปิดชั้นเรียน
และสะท้อนคดิ จากการเปิดชน้ั เรยี น
ถอดบทเรียนการพฒั นาการจดั การเรียนรู้ของครผู สู้ อนวทิ ยาการค�ำ นวณ 75
โดยใช้กระบวนการชมุ ชนแหง่ การเรียนรทู้ างวชิ าชพี แบบ COLA MODEL
ได้ทำ�อะไรเป็นบ้าง ทำ�อะไรได้บ้าง หรอื ไดฝ้ ึกทกั ษะอะไรบา้ ง
ได้จัดท�ำแผนการเรียนรู้ในรายวิชาวิทยาการค�ำนวณและเทคโนโลยี และ
ส่ือ รวมทงั้ นวตั กรรมทีห่ ลากหลาย ทำ� ให้สามารถแก้ปัญหาทตี่ ้องการได้
ความรแู้ ละทกั ษะเหล่านั้น จะน�ำ ไปใชอ้ ยา่ งไร
ได้น�ำทักษะกระบวนการ PLCโดยใช้ COLA MODEL ไปใช้ในการจัด
การเรียนการสอน โดยการก�ำหนดประเด็นปัญหา และออกแบบแนวทาง
การแก้ไขปญั หา ร่วมกบั ทมี เพอื่ ใช้ในการจดั การเรียนการสอน
76 ถอดบทเรยี นการพฒั นาการจดั การเรยี นร้ขู องครผู สู้ อนวทิ ยาการค�ำ นวณ
โดยใช้กระบวนการชุมชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวิชาชพี แบบ COLA MODEL
นางมะลิวลั ย์ ทองเสนอ
โรงเรยี นหาดใหญว่ ิทยาลยั สมบูรณ์กุลกนั ยา
วิชาทเี่ ปดิ ชัน้ เรียน
☐ การออกแบบและเทคโนโลยี ☑ วทิ ยาการค�ำนวณ
รูส้ กึ อยา่ งไร
กระบวนการ PLC เป็นกระบวนการที่ดีท้ังผู้เรียนและผู้สอน มีขั้นตอนที่
ชัดเจน ช่วยในการแลกเปล่ียนเรียนรู้ระหว่างครูและนักเรียน ท�ำให้ผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรยี นของนักเรยี นดขี ้นึ อกี ทง้ั ยังเปิดโอกาสให้ครผู ู้สอนได้มีการแลกเปลี่ยน
เรียนรู้กระบวนการสอน มกี ารนเิ ทศตดิ ตาม ดแู ลช่วยเหลอื กัน
ประทบั ใจอะไรบ้าง
ประทับใจท่ีส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล ท่ีได้
คัดเลือกโรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัยสมบูรณ์กุลกันยาให้เป็นตัวแทนของ
สหวิทยาเขตนครหาดใหญ่ และคณะศึกษานิเทศก์ดูแลเอาใจใส่อย่างใกล้ชิด
และเป็นกันเอง สามารถสอบถามข้อมูลได้ตลอดเวลา และมีการติดตาม
อย่างสม�่ำเสมอ ในการพฒั นาสมรรถนะครูผู้สอนในสาขาวิชาวทิ ยาการค�ำนวณคร้ังนี้
ถอดบทเรียนการพัฒนาการจัดการเรียนร้ขู องครูผูส้ อนวิทยาการค�ำ นวณ 77
โดยใชก้ ระบวนการชมุ ชนแห่งการเรียนรทู้ างวิชาชีพ แบบ COLA MODEL
ได้เรียนรู้อะไรบ้าง
ได้เรียนรู้กระบวนการของ COLA MODEL ในการต้ังประเด็นปัญหา และ
หาสาเหตุในการแก้ไขปัญหา การสะท้อนแผนการเรียน การเปิดช้ันเรียน และ
สะท้อนคิดจากการเปิดชน้ั เรียน
ไดท้ �ำ อะไรเป็นบ้าง ทำ�อะไรไดบ้ า้ ง หรอื ได้ฝกึ ทกั ษะอะไรบา้ ง
ได้จัดท�ำแผนการเรียนรู้ในรายวิชาวิทยาการค�ำนวณและเทคโนโลยี
และสื่อ รวมทั้งนวัตกรรมที่หลากหลาย ท�ำให้นักเรียนและครูมีทักษะในการ
สร้างสรรค์ส่อื ได้มากข้นึ
ความรูแ้ ละทักษะเหล่านนั้ จะนำ�ไปใชอ้ ย่างไร
ได้น�ำทักษะ กระบวนการและวิธีการสอนน�ำไปใช้ในการจัดการเรียน
การสอน โดยการออกแบบบทเรียนร่วมกับทีมเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาท่ีพบเจอ
ในช้นั เรยี น
78 ถอดบทเรยี นการพัฒนาการจัดการเรยี นรู้ของครผู สู้ อนวทิ ยาการคำ�นวณ
โดยใชก้ ระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรทู้ างวิชาชพี แบบ COLA MODEL
นางสาวตาณวี สุวรรณมาลา
โรงเรียนหาดใหญว่ ิทยาลยั สมบรู ณก์ ลุ กันยา
วชิ าท่ีเปดิ ชน้ั เรียน
☐ การออกแบบและเทคโนโลยี ☑ วิทยาการค�ำนวณ
รู้สกึ อย่างไร
จากการเข้าร่วม “โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
ของครูผู้สอนวิทยาการค�ำนวณโดยใช้กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทาง
วชิ าชพี แบบ COLA MODEL” ซึ่งสำ� นกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษาสงขลา
สตลู ได้จดั ให้ครเู ข้าร่วมอบรมโดยใช้กระบวนการเรยี นร้ทู างวชิ าชพี (Professional
Learning Community) ในระหว่างวันท่ี 23-24 กรกฎาคม 2563 ณ โรงเรียน
นวมินทราชูทิศ ทักษิณ ท�ำให้ผู้สอนได้รับความรู้ และน�ำความรู้มาใช้พัฒนา
กระบวนการจัดการเรียนการสอน โดยมีรองผู้อ�ำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ศึกษานิเทศก์ และ
ครูผู้ร่วมแลกเปล่ียนเรียนรู้ ให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำ ร่วมปรับปรุงพัฒนาการจัด
การเรยี นการสอน ตง้ั แตก่ ารแลกเปลย่ี นเรยี นรเู้ ทคนคิ รปู แบบวธิ กี ารสอน การจดั ทำ�
แผนการจัดการเรียนรู้ การสร้างสื่อนวัตกรรม การเข้าร่วมสังเกตชั้นเรียน และ
สะท้อนคดิ เพ่อื น�ำผลไปปรบั ปรุงและพฒั นา ซ่ึงกระบวนการชุมชนแห่งการเรยี นรู้
ทางวิชาชีพแบบ COLA MODEL เป็นกระบวนการท่ีดี ท�ำให้ผู้สอน มีการเตรียม
ความพร้อมในการจดั การเรยี นรู้ สามารถพฒั นาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นไดอ้ ย่าง
มปี ระสิทธิภาพ
ประทบั ใจอะไรบ้าง
ประทับใจท่ีส�ำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล
ได้ให้ความส�ำคัญและคัดเลือกโรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัยสมบูรณ์กุลกันยา
เป็นตัวแทนของสหวิทยาเขตนครหาดใหญ่ เพื่อส่งเสริมและพัฒนาครูผู้สอน
ที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิทยาการค�ำนวณ และคณะศึกษานิเทศก์ท่ีได้ให้ค�ำปรึกษา
แนะน�ำ ดูแลตลอดระยะเวลาท่เี ข้าร่วมโครงการ และครผู ู้สอนในกลุ่มทไี่ ด้ร่วมกัน
ถอดบทเรยี นการพัฒนาการจัดการเรียนรูข้ องครูผูส้ อนวทิ ยาการค�ำ นวณ 79
โดยใช้กระบวนการชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ แบบ COLA MODEL
ระดมความคิด แลกเปล่ียนเรียนรู้เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอนให้มี
ประสทิ ธภิ าพ ทำ� ใหน้ กั เรยี นไดร้ บั ความรู้ โดยใชส้ อื่ นวตั กรรมทผ่ี สู้ อนไดพ้ ฒั นาขน้ึ
ผู้สอนขอขอบคุณคณะศึกษานิเทศก์ ส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
มธั ยมศกึ ษาสงขลา สตลู ผบู้ รหิ ารและคณะครโู รงเรยี นหาดใหญว่ ทิ ยาลยั สมบรู ณ์
กุลกันยา ที่ได้ให้ค�ำแนะน�ำ ร่วมมือร่วมใจช่วยกันท�ำให้การด�ำเนินโครงการ
ในครงั้ นี้สำ� เรจ็ ไปได้ด้วยดี
ไดเ้ รียนรอู้ ะไรบ้าง
ได้เรียนรู้กระบวนการ PLC โดยใช้ COLA MODEL เช่น การต้ังประเด็น
ปัญหา และหาสาเหตุในการแก้ไขปัญหา การสะท้อนแผนการจัดการเรียนรู้
การเปิดช้ันเรียน และสะท้อนคิดจากการเปิดช้ันเรียน ได้เรียนรู้การท�ำงานร่วม
กันเป็นทีม ได้แลกเปล่ียนรู้เรียนเทคนิครูปแบบวิธีการสอน การจัดท�ำแผนการ
จัดการเรยี นรู้ การสร้างส่อื นวตั กรรม
ไดท้ ำ�อะไรเป็นบา้ ง ท�ำ อะไรได้บา้ ง หรอื ได้ฝกึ ทกั ษะอะไรบ้าง
ได้ร่วมแลกเปล่ียนเรียนรู้ เทคนิควิธีการสอน การจัดท�ำสื่อนวัตกรรม
การจัดท�ำแผนการจัดการเรียนรู้สามารถน�ำข้อคิดข้อแลกเปล่ียนที่ได้มาใช้
พัฒนาการจัดการเรยี นการสอน ดังนี้
1. จัดท�ำแผนการจัดการเรียนรู้ในรายวิชาวิทยาการค�ำนวณและ
เทคโนโลยี ระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 1
2. สร้างส่ือ/นวัตกรรม ผู้สอนได้สร้างบทเรียนออนไลน์เรื่องโปรแกรม
Scratch โดยใช้ Google Site
80 ถอดบทเรยี นการพฒั นาการจดั การเรยี นร้ขู องครผู สู้ อนวทิ ยาการค�ำ นวณ
โดยใชก้ ระบวนการชุมชนแห่งการเรยี นรทู้ างวชิ าชพี แบบ COLA MODEL
3. จัดท�ำรายงานวิจัย “การพัฒนาบทเรียนออนไลน์โปรแกรม Scratch
โดยใช้รปู แบบการสอนทักษะปฏบิ ัตขิ องแฮร์โรว์”
ความร้แู ละทกั ษะเหล่านั้น จะนำ�ไปใชอ้ ย่างไร
ได้น�ำทักษะกระบวนการ PLC โดยใช้ COLA MODEL ไปใช้ในการจัด
การเรียนการสอน โดยการก�ำหนดประเด็นปัญหา ออกแบบแนวทางการแก้ไข
ปัญหา และการพัฒนาส่ือ/นวัตกรรม ร่วมกับทีมเพ่ือใช้ในการจัดการเรียน
การสอน และจะได้น�ำความรู้ท่ีได้รับไปพัฒนาการจัดการเรียนการสอน
อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง นอกจากนไ้ี ดน้ ำ� ความรทู้ ไ่ี ดร้ บั และนำ� ทกั ษะกระบวนการดำ� เนนิ การ
สร้างชุมนุชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ตลอดจนตัวอย่างผลงานทางวิชาการ
ไปเผยแพร่ โดยเป็นวิทยากร “การสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ”
แก่คณะครูโรงเรียนจะนะชนูปถัมภ์ ในวันท่ี 21 ธันวาคม 2563 ณ โรงเรียน
จะนะชนูปถัมภ์ อ�ำเภอจะนะ จงั หวดั สงขลา
ถอดบทเรียนการพัฒนาการจัดการเรยี นรูข้ องครผู ู้สอนวิทยาการคำ�นวณ 81
โดยใช้กระบวนการชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวิชาชีพ แบบ COLA MODEL
นางพัตราภรณ์ วงศพ์ รัด ทปี รกั ษพนั ธุ์
โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัยสมบรู ณ์กุลกันยา
วิชาที่เปิดช้ันเรียน
☐ การออกแบบและเทคโนโลยี ☑ วทิ ยาการคำ� นวณ
ร้สู ึกอยา่ งไร
กระบวนการ PLC โดยใช้ Cola Model เป็นกระบวนการทด่ี มี สี ่วนร่วมจาก
หลายฝ่าย ท้ังผู้บริหาร ศึกษานิเทศก์ ครูและนักเรียนในการท�ำงาน มีขั้นตอน
มีการวางแผนที่ชัดเจน ช่วยในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างทุกฝ่าย มีส่วนช่วย
ให้ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนดีขึ้น อีกท้ังยังเปิดโอกาสให้ครูผู้สอน
ได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กระบวนการสอน กิจกรรมและเทคนิคต่างๆ มีการ
นิเทศติดตาม ดูแลช่วยเหลือกันส่งผลให้เกิดการพัฒนากิจกรรมการเรียน
การสอนวทิ ยาการค�ำนวณได้
ประทบั ใจอะไรบ้าง
ประทบั ใจทสี่ ำ� นกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาสงขลา สตลู ไดเ้ ลง็ เหน็
ถงึ ความสำ� คญั และคดั เลอื กโรงเรยี นหาดใหญ่วทิ ยาลยั สมบรู ณ์กลุ กนั ยา เข้าร่วม
กิจกรรมเพื่อพัฒนาสมรรถนะครูผู้สอนท่ีเกี่ยวข้องกับสาขาวิทยาการค�ำนวณ
และคณะศึกษานิเทศก์ท่ีดูแลเอาใจใส่อย่างใกล้ชิดและเป็นกันเอง สามารถ
สอบถามข้อมูลได้ตลอดเวลา มีการติดตามอย่างสม่�ำเสมอ มีการให้ข้อสังเกต
ข้อแนะน�ำการจัดการเรียนรู้แก่ครู ตลอดจนครูผู้สาขาวิทยาการค�ำนวณ
ในโรงเรียนที่ให้ความร่วมมือช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ท�ำให้การด�ำเนินโครงการ
ในคร้งั น้ีส�ำเรจ็ ไปได้ด้วยดี
ได้เรียนรู้อะไรบา้ ง
ได้เรียนรู้กระบวนการของ COLA MODEL ในการตั้งประเด็นปัญหา และ
หาสาเหตุในการแก้ไขปัญหา การสะท้อนแผนการเรียน การเปิดช้ันเรียน และ
สะท้อนคดิ จากการเปิดชนั้ เรยี น และนำ� ไปปรบั ใช้ต่อไป
82 ถอดบทเรียนการพฒั นาการจัดการเรยี นรขู้ องครผู สู้ อนวิทยาการคำ�นวณ
โดยใชก้ ระบวนการชุมชนแห่งการเรียนร้ทู างวชิ าชพี แบบ COLA MODEL
ไดท้ ำ�อะไรเปน็ บ้าง ทำ�อะไรได้บา้ ง หรอื ได้ฝกึ ทกั ษะอะไรบ้าง
ได้วางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ศึกษาเทคนิคและสื่อใหม่ ๆ
เพ่ือประกอบการสอนในรายวิชาวิทยาการค�ำนวณและเทคโนโลยี สะท้อนคิด
ผลการสอนของตนเองและเพ่ือนครู สังเกต เทคนิคการสอน วิธีการสอนของ
เพอื่ นครู แล้วน�ำมาปรับประยุกต์ใช้
ความรแู้ ละทกั ษะเหลา่ นน้ั จะนำ�ไปใชอ้ ยา่ งไร
ได้น�ำทักษะกระบวนการ PLC โดยใช้ COLA MODEL ไปใช้ในการจัด
การเรียนการสอน ประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับบริบทของตนเองและรายวิชา
เพ่ือน�ำไปสู่การวางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีความแปลกใหม่ น่าสนใจ
และมีประสทิ ธิภาพในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้มากยงิ่ ขนึ้ ในอนาคต
ถอดบทเรียนการพัฒนาการจดั การเรียนรู้ของครูผสู้ อนวิทยาการคำ�นวณ 83
โดยใช้กระบวนการชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชพี แบบ COLA MODEL
นางสาวณัฐรินยี ์ หนูชัยแก้ว
โรงเรียนหาดใหญ่วทิ ยาลัยสมบูรณก์ ุลกันยา
วชิ าทเ่ี ปิดชนั้ เรียน
☐ การออกแบบและเทคโนโลยี ☑ วทิ ยาการคำ� นวณ
ร้สู ึกอย่างไร
ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวชิ าชพี (Professional Learning Community : PLC)
เป็นเครื่องมือท่ีช่วยให้ครูสามารถน�ำวิธีการไปแก้ปัญหานักเรียนในการจัด
การเรียนรู้อย่างเป็นระบบทางกลุ่มโรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัยสมบูรณ์กุลกันยา
มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้วยกระบวนการ COLA MODEL โดยมีการดําเนินงาน
แก้ปัญหานักเรียน ท้ัง 3 วงรอบ ซึ่งเป็นกระบวนการที่ดีท้ังผู้เรียนและผู้สอน
มีขั้นตอนที่ชัดเจน ช่วยในการแลกเปล่ียนเรียนรู้ระหว่างครูและนักเรียน ท�ำให้
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของนักเรียนดีข้นึ
ประทับใจอะไรบ้าง
มีความประทับใจในการร่วมมือของครูผู้สอนได้มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้
วิธีการ/รูปแบบการสอน เทคนิคการสอน ส่ือ/นวัตกรรมท่ีใช้ในการจัดการเรียน
การสอนทหี่ ลากหลาย มกี ารนเิ ทศตดิ ตาม ดแู ลชว่ ยเหลอื กนั ทงั้ องคก์ ร มสี ว่ นรว่ ม
ทั้งครูผู้สอน (Model Teacher) เพ่ือนครู (Buddy Teacher) ผู้บริหารโรงเรียน
(Administrator) หวั หนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (Mentor)
พเี่ ลี้ยงหรือผู้เชย่ี วชาญ (Expert)
ประทับใจผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา
สงขลา สตูล และพี่เล้ียงด้านวิชาการผู้เช่ียวชาญทุกท่านที่ได้คัดเลือกโรงเรียน
หาดใหญ่วทิ ยาลยั สมบรู ณ์กลุ กนั ยา ใหเ้ ปน็ ตวั แทนของสหวทิ ยาเขตนครหาดใหญ่
และคณะศึกษานิเทศก์ดูแลเอาใจใส่อย่างใกล้ชิดและเป็นกันเอง สามารถ
สอบถามข้อมูลได้ตลอดเวลา และมีการติดตามอย่างสม�่ำเสมอ ในการพัฒนา
สมรรถนะครผู ู้สอนในสาขาวชิ าวิทยาการค�ำนวณครง้ั น้ี
84 ถอดบทเรียนการพัฒนาการจดั การเรียนรูข้ องครผู ู้สอนวิทยาการคำ�นวณ
โดยใช้กระบวนการชมุ ชนแหง่ การเรยี นร้ทู างวิชาชีพ แบบ COLA MODEL
ได้เรียนรู้อะไรบา้ ง
ได้เรียนรู้กระบวนการของ COLA MODEL ในการตั้งประเด็นปัญหา และ
หาสาเหตุในการแก้ไขปัญหา การสะท้อนแผนการเรียน การเปิดช้ันเรียน และ
สะท้อนคิดจากการเปิดช้ันเรียน ครูผู้สอนได้พัฒนาตนเอง ได้ค�ำแนะน�ำ รูปแบบ
วิธสี อน ส่อื นวัตกรรม ทส่ี ามารถนำ� มาแก้ปญั หานกั เรยี นได้จริง
นักเรียนได้มีโอกาสได้คิดและแสดงความคิดเห็นก่อนการสรุปผล
ในแต่ละคร้ัง เป็นการกระตุ้นให้นักเรียนทุกคนได้มีส่วนร่วมในการร่วมด�ำเนิน
กิจกรรม ให้นักเรียนตะหนักถึงความส�ำคัญในการร่วมกิจกรรม ท�ำให้นักเรียน
เกดิ การเรียนรู้และน�ำไปใช้ต่อไป
ไดท้ ำ�อะไรเป็นบ้าง ทำ�อะไรไดบ้ า้ ง หรอื ไดฝ้ ึกทกั ษะอะไรบา้ ง
ได้จัดท�ำแผนการเรียนรู้ในรายวิชา ว23102 วิทยาการค�ำนวณและ
เทคโนโลยี 3 ครูผู้สอนจัดกจิ กรรมการเรียนรู้โดยใช้ แบบฝึกทักษะการโปรแกรม
ดว้ ยภาษาไพทอน สอ่ื การสอน ใบงาน รว่ มกบั หอ้ งเรยี นออนไลน์ (Google Classroom)
ร่วมกับผังงาน เกี่ยวกับการเรียนรู้ของนักเรียนท่ีไม่สามารถเขียนอัลกอริทึม
เพอ่ื แก้ปญั หาได้เพอ่ื ให้นักเรียนมีทกั ษะกระบวนการเชือ่ มโยงความรู้ ดังนี้
- เพื่อให้นักเรียนมีทักษะกระบวนการเช่ือมโยงความรู้ มีคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ ใฝ่เรยี นรู้
ถอดบทเรียนการพฒั นาการจัดการเรียนรูข้ องครผู สู้ อนวทิ ยาการค�ำ นวณ 85
โดยใชก้ ระบวนการชมุ ชนแห่งการเรยี นรทู้ างวชิ าชีพ แบบ COLA MODEL
- เพื่อมีสมรรถนะส�ำคัญของผู้เรียนในด้านความสามารถในการคิด
ความสามารถในการแก้ปญั หาและสามารถการใช้เทคโนโลยี
- คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ความซ่อื สัตย์ และจติ สาธารณะ
ความรูแ้ ละทกั ษะเหลา่ นั้น จะน�ำ ไปใช้อย่างไร
ได้น�ำทักษะกระบวนการ รูปแบบและวิธีการสอนท่ีหลากหลาย ท�ำการ
วเิ คราะหแ์ ผนการสอน เตรยี มการสอนกอ่ นนำ� ไปใชจ้ ดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน
โดยครู Model teacher ท�ำการออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยท่ีต้องการ
แก้ปัญหาพร้อมบทเรียน ใบงาน สื่อการสอน ตรงตามหลักสูตรแกนกลาง และ
สอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของสถานศกึ ษา รว่ มกบั ทมี เมอื่ จดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน
แล้วมีการนิเทศติดตาม เพ่ือน�ำการสะท้อนแผนหลังการจัดการเรียนการสอน
แล้วน�ำไปใช้เพอ่ื แก้ปัญหาทพ่ี บเจอในช้นั เรียนได้
86 ถอดบทเรยี นการพัฒนาการจดั การเรยี นร้ขู องครูผู้สอนวทิ ยาการค�ำ นวณ
โดยใชก้ ระบวนการชุมชนแห่งการเรยี นรูท้ างวชิ าชีพ แบบ COLA MODEL
นางสาวชตุ มิ า กอ้ งศิรวิ งศ์
โรงเรยี นหาดใหญ่วิทยาลัย
วิชาท่เี ปดิ ช้นั เรียน
☐ การออกแบบและเทคโนโลยี ☑ วทิ ยาการคำ� นวณ
รูส้ ึกอยา่ งไร
เป็นโครงการท่ีดี มีคุณภาพ ท่ีสนับสนุนให้ครู ผู้บริหารได้ รวมตัวร่วมใจ
ร่วมพลังร่วมท�ำและร่วมเรียนรู้ร่วมกันบนพ้ืนฐานแบบกัลยาณมิตร ท�ำให้ครู
ผู้บริหาร ได้มีความรู้ ความเข้าใจ รูปแบบ วิธีการ และประโยชน์ อีกท้ังได้มีการ
ออกแบบกระบวนการดำ� เนนิ การ การนเิ ทศ การตดิ ตามตาม และการประเมนิ ผล
อย่างเป็นขัน้ ตอน สามารถน�ำไปสู่การปฏบิ ัตใิ นโรงเรยี นได้อย่างเป็นรูปธรรม
ประทบั ใจอะไรบ้าง
การนิเทศ และการติดตาม เป็นไปอย่างกัลยาณมิตร ให้ความช่วยเหลือ
แนะนำ� ปรบั ปรงุ และพฒั นากระบวนการจดั การเรียนการสอนของครูให้ดขี น้ึ
ได้เรยี นรูอ้ ะไรบา้ ง
ได้เรียนรู้ที่จะช่วยกันคิด ช่วยกันท�ำ เปิดใจรับฟัง ร่วมเสนอความคิดเห็น
อย่างสร้างสรรค์และต่อยอดวิธีการของตนเองจากประสบการณ์ของเพ่ือนครู
ร่วมกนั แลกเปล่ยี นเรียนรู้ร่วมกนั
ถอดบทเรยี นการพัฒนาการจัดการเรยี นรขู้ องครผู ู้สอนวทิ ยาการคำ�นวณ 87
โดยใช้กระบวนการชุมชนแหง่ การเรยี นร้ทู างวิชาชีพ แบบ COLA MODEL
ไดท้ �ำ อะไรเป็นบา้ ง ทำ�อะไรไดบ้ ้าง หรือไดฝ้ ึกทักษะอะไรบา้ ง
ไดร้ ว่ มกนั แลกเปลยี่ นเรยี นรเู้ ชงิ วชิ าการ ในการจดั ทำ� แผนการจดั การเรยี นรู้
ร่วมกันสงั เกตการสอน และร่วมกันสะท้อนผล จนเกิดนวตั กรรมการจดั การเรยี น
การสอนท่เี หมาะสมกับนักเรยี น
ความรู้และทกั ษะเหลา่ นนั้ จะนำ�ไปใช้อยา่ งไร
น�ำความรู้และทักษะท่ีได้ ไปสร้างนวัตกรรมการจัดการเรียนการสอน
ท่ีเหมาะสมให้กับนักเรียน ซึ่งจะช่วยให้นักเรียนได้รับการจัดกิจกรรมเรียนรู้
ใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง และท�ำให้คุณภาพของนักเรียนดีข้ึน ทั้งความรู้ ทักษะ
คณุ ลักษณะ และสมรรถนะส�ำคัญของผู้เรียน
88 ถอดบทเรยี นการพัฒนาการจดั การเรียนรู้ของครผู ้สู อนวิทยาการคำ�นวณ
โดยใช้กระบวนการชุมชนแหง่ การเรียนรทู้ างวชิ าชพี แบบ COLA MODEL
นางสาวสวุ รรณา เพชรแกว้
โรงเรยี นหาดใหญว่ ิทยาลัย
วชิ าทีเ่ ปิดช้ันเรียน
☐ การออกแบบและเทคโนโลยี ☑ วิทยาการคำ� นวณ
รู้สกึ อย่างไร
เป็นโครงการที่ดี อยากให้โครงการนี้ได้รับการต่อยอดและเผยแพร่
โครงการไปยังโรงเรยี นต่างๆ ในพน้ื ท่จี ังหวดั สงขลา
ประทบั ใจอะไรบ้าง
การร่วมมือร่วมใจ การสะท้อนคิด วิพากษ์ แลกเปลี่ยนการเรียนรู้ผ่าน
ประสบการณ์สมาชิกในทีมในการช่วยกันวางแผนและออกแบบกระบวนการ
จัดการเรยี นรู้
ได้เรียนรอู้ ะไรบ้าง
1. ได้ฝึกการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรยี น โดยการทำ�
2. ได้แลกเปล่ยี นเรยี นรู้จากทมี เพอื่ นำ� ไปพฒั นาการจดั การเรยี นการสอน
ของตวั เอง
ถอดบทเรียนการพฒั นาการจัดการเรียนรู้ของครผู ู้สอนวิทยาการคำ�นวณ 89
โดยใช้กระบวนการชุมชนแห่งการเรยี นรูท้ างวชิ าชพี แบบ COLA MODEL
ไดท้ �ำ อะไรเป็นบ้าง ทำ�อะไรได้บา้ ง หรอื ไดฝ้ ึกทักษะอะไรบ้าง
1. ได้ออกแบบกจิ กรรมทเ่ี หมาะสมกับผู้เรียน
2. ได้เรียนรู้การท�ำงานร่วมกัน แลกเปล่ียนการเรียนรู้เชิงวิชาการ จนเกิด
นวตั กรรมในการจัดการเรยี นรู้ท่เี หมาะสมกบั ผู้เรยี นให้เกิดศักยภาพสงู สดุ
ความรู้และทักษะเหลา่ นน้ั จะน�ำ ไปใชอ้ ย่างไร
นำ� มาใช้ในการจัดทำ� PLC ใน ครั้งหน้าได้อย่างมัน่ ใจ
90 ถอดบทเรียนการพัฒนาการจัดการเรยี นร้ขู องครผู ู้สอนวทิ ยาการค�ำ นวณ
โดยใชก้ ระบวนการชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ แบบ COLA MODEL
นางอัญชลี สุทธสิ วา่ ง
โรงเรียนหาดใหญ่วทิ ยาลยั
วิชาที่เปดิ ชั้นเรยี น
☐ การออกแบบและเทคโนโลยี ☑ วิทยาการคำ� นวณ
รูส้ กึ อย่างไร
◆ โครงการฯ นเ้ี ปน็ การพฒั นาการจดั การเรยี นการสอนวทิ ยาการคำ� นวณ
อย่างเป็นระบบท่ีมีคุณภาพเริ่มจากการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อให้ความรู้
แก่ครู ผู้บริหาร และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจ ร่วมกันวางแผน
กำ� หนดปฏทิ ินการด�ำเนนิ การร่วมกัน
◆ ข้ันตอนการเตรียมการและการเปิดชั้นเรียน ได้รับการดูแลช่วยเหลือ
และได้รับค�ำแนะน�ำจากผู้เชี่ยวชาญและครูร่วมเรียนรู้เป็นอย่างดี ท�ำให้เกิด
ความพร้อม ความมัน่ ใจในการนำ� เข้าสู่ชน้ั เรยี นเพอ่ื กจิ กรรมการเรยี นรู้ได้น�ำเข้าสู่
นักการครูที่เข้าร่วมด�ำเนินการเปิดชั้นเรียน การติดตามการด�ำเนินการ และ
การรายงานผลอย่างเปน็ ระบบ
◆ มีเคร่ืองมือส�ำหรับการรายงานผลที่มีคุณภาพ ตรวจสอบย้อนหลัง
ได้ตลอดเวลา
ประทบั ใจอะไรบา้ ง
◆ กระบวนการทำ� งานอย่างเป็นระบบของโครงการฯ
◆ ความร่วมมือ ร่วมใจ ของเพื่อนครูสาขาเทคโนโลยี โรงเรียนหาดใหญ่
วทิ ยาลยั
◆ การดูแลช่วยเหลือท่ีได้รับจากผู้รับผิดชอบโครงการ และเพ่ือนครู
โรงเรยี นต่าง ๆ ท่เี ข้าร่วมกจิ กรรม
◆ ฝ่ายบริหาร โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย ที่สนับสนุนกิจกรรมในครั้งนี้
ให้ผ่านไปได้ด้วยดี
ถอดบทเรียนการพัฒนาการจัดการเรยี นร้ขู องครผู ้สู อนวิทยาการคำ�นวณ 91
โดยใช้กระบวนการชมุ ชนแห่งการเรียนรทู้ างวชิ าชพี แบบ COLA MODEL
ไดเ้ รยี นรอู้ ะไรบา้ ง
◆ ได้เรียนรู้กระบวนการ PLC ทำ� ให้เกดิ ความมั่นใจในการด�ำเนนิ กิจกรรม
PLC ในภาคเรยี นต่อไป
◆ ได้เรยี นรู้กระบวนการท�ำงานร่วมกบั เพอื่ นครู ครูรุ่นน้อง และครรู ุ่นพี่
ไดท้ ำ�อะไรเป็นบา้ ง ท�ำ อะไรไดบ้ า้ ง หรือไดฝ้ กึ ทักษะอะไรบ้าง
◆ ได้ฝึกปฏิบัติการวิเคราะห์ผู้เรียน การออกแบบการจัดการเรียนรู้
การสร้างสื่อ นวัตกรรม การวัดผลและประเมินผล ที่สอดคล้องกับจุดประสงค์
การเรียนรู้ และเหมาะสมกับเนอ้ื หาและผู้เรียน
◆ ได้ฝึกทักษะการแสดงความคิดเห็นเชิงวิชาการ พร้อมทั้งรับฟัง
ความคดิ เหน็ ของครผู ู้ร่วมเรยี นรู้ ผู้เช่ยี วชาญ และนกั การศกึ ษา
ความรแู้ ละทกั ษะเหล่าน้ัน จะน�ำ ไปใชอ้ ยา่ งไร
น�ำความรู้ ทักษะและประสบการณ์จากการเข้าร่วมโครงการฯ ไปใช้เพ่ือ
การพัฒนาการจัดการเรยี นการสอนรายวชิ าวทิ ยาการค�ำนวณต่อไป
92 ถอดบทเรยี นการพฒั นาการจัดการเรียนรู้ของครูผ้สู อนวทิ ยาการค�ำ นวณ
โดยใช้กระบวนการชมุ ชนแห่งการเรยี นรูท้ างวชิ าชพี แบบ COLA MODEL