The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล ได้รับการสนับสนุน
งบประมาณจากสำนักงานเลขาธิการคุรุสภา ในการพัฒนาครูผู้สอนวิทยาการ
คำนวณของโรงเรียนในสังกัด โดยใช้กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
แบบ COLA MODEL ซึ่งเป็นกระบวนการสร้างการเปลี่ยนแปลงโดยเรียนรู้จากการ
ปฏิบัติงานของกลุ่มบุคคลที่มารวมตัวกันเพื่อทำงานร่วมกัน และสนับสนุนซึ่งกัน
และกัน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนร่วมกัน วางเป้าหมาย
การเรียนรู้ของผู้เรียน และตรวจสอบ สะท้อนผลการปฏิบัติงานทั้งในส่วนบุคคล
และผลที่เกิดขึ้นโดยรวม ผ่านกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การวิพากษ์วิจารณ์
การร่วมมือร่วมพลัง โดยมุ่งเน้นและส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม
เอกสารถอดบทเรียนการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอนวิทยาการ
คำนวณโดยใช้กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ แบบ COLA MODEL
เล่มนี้ เป็นการสะท้อนมุมมองของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องต่อการพัฒนาครูผู้สอน
วิทยาการคำนวณ โดยใช้กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
แบบ COLA MODEL ประกอบด้วยผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
รองผู้อำนวยการเขตพื้นที่การศึกษา ผู้อำนวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและ
ประเมินผลการจัดการศึกษา ศึกษานิเทศก์ และครูผู้สอนวิทยาการคำนวณ
ซึ่งได้ให้ข้อมูลและความคิดเห็นอันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาต่อไป
กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Sesao16, 2021-08-11 07:05:55

ถอดบทเรียน การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอนวิทยาการคำนวณ โดยใช้กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ แบบ COLA MODEL

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล ได้รับการสนับสนุน
งบประมาณจากสำนักงานเลขาธิการคุรุสภา ในการพัฒนาครูผู้สอนวิทยาการ
คำนวณของโรงเรียนในสังกัด โดยใช้กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
แบบ COLA MODEL ซึ่งเป็นกระบวนการสร้างการเปลี่ยนแปลงโดยเรียนรู้จากการ
ปฏิบัติงานของกลุ่มบุคคลที่มารวมตัวกันเพื่อทำงานร่วมกัน และสนับสนุนซึ่งกัน
และกัน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนร่วมกัน วางเป้าหมาย
การเรียนรู้ของผู้เรียน และตรวจสอบ สะท้อนผลการปฏิบัติงานทั้งในส่วนบุคคล
และผลที่เกิดขึ้นโดยรวม ผ่านกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การวิพากษ์วิจารณ์
การร่วมมือร่วมพลัง โดยมุ่งเน้นและส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม
เอกสารถอดบทเรียนการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอนวิทยาการ
คำนวณโดยใช้กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ แบบ COLA MODEL
เล่มนี้ เป็นการสะท้อนมุมมองของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องต่อการพัฒนาครูผู้สอน
วิทยาการคำนวณ โดยใช้กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
แบบ COLA MODEL ประกอบด้วยผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
รองผู้อำนวยการเขตพื้นที่การศึกษา ผู้อำนวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและ
ประเมินผลการจัดการศึกษา ศึกษานิเทศก์ และครูผู้สอนวิทยาการคำนวณ
ซึ่งได้ให้ข้อมูลและความคิดเห็นอันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาต่อไป
กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา

ถอดบทเรยี น

การพฒั นาการจดั การเรียนรขู้ องครูผสู้ อนวทิ ยาการคำ�นวณ
โดยใช้กระบวนการชุมชนแหง่ การเรียนร้ทู างวิชาชีพ
แบบ COLA MODEL

กลมุ่ นเิ ทศ ติดตามและประเมินผลการจดั การศึกษา
ส�ำ นักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษามัธยมศึกษาสงขลา สตลู

สำ�นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร



คำ�นำ�

สำ� นักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาสงขลา สตลู ได้รับการสนบั สนนุ
งบประมาณจากส�ำนักงานเลขาธิการคุรุสภา ในการพัฒนาครูผู้สอนวิทยาการ
คำ� นวณของโรงเรยี นในสงั กดั โดยใชก้ ระบวนการชมุ ชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวชิ าชพี
แบบ COLA MODEL ซง่ึ เปน็ กระบวนการสรา้ งการเปลย่ี นแปลงโดยเรยี นรจู้ ากการ
ปฏิบัติงานของกลุ่มบุคคลท่ีมารวมตัวกันเพ่ือท�ำงานร่วมกัน และสนับสนุนซึ่งกัน
และกนั โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์เพอื่ พฒั นาการเรยี นร้ขู องผู้เรยี นร่วมกนั วางเป้าหมาย
การเรียนรู้ของผู้เรียน และตรวจสอบ สะท้อนผลการปฏิบัติงานท้ังในส่วนบุคคล
และผลที่เกดิ ขึ้นโดยรวม ผ่านกระบวนการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ การวพิ ากษ์วิจารณ์
การรว่ มมอื รว่ มพลงั โดยมงุ่ เนน้ และสง่ เสรมิ กระบวนการเรยี นรอู้ ยา่ งเปน็ องคร์ วม

เอกสารถอดบทเรียนการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอนวิทยาการ
ค�ำนวณโดยใช้กระบวนการชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชพี แบบ COLA MODEL
เล่มนี้ เป็นการสะท้อนมุมมองของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องต่อการพัฒนาครูผู้สอน
วิทยาการค�ำนวณ โดยใช้กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
แบบ COLA MODEL ประกอบด้วยผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
รองผู้อ�ำนวยการเขตพ้ืนที่การศึกษา ผู้อ�ำนวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและ
ประเมินผลการจัดการศึกษา ศึกษานิเทศก์ และครูผู้สอนวิทยาการค�ำนวณ
ซึ่งได้ให้ข้อมูลและความคดิ เหน็ อนั จะเป็นประโยชน์ต่อการพฒั นาต่อไป

กลุ่มนเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา



สารบญั

เรอื่ ง หนา้

ตอนที่ 1 13

ความเป็นมา 13

ตอนท่ี 2 25
วิทยาการค�ำนวณ (Computing science) 25
◆ วทิ ยาการคำ� นวณ (Computing science) คอื อะไร ? 27
◆ สาระการเรยี นรู้เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ� นวณ) 29
◆ ตวั ช้วี ดั วทิ ยาการค�ำนวณ ระดับมธั ยมศกึ ษา 31

ตอนท่ี 3

PLC (Professional Learning Community) ชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชพี 33
◆ แง่มมุ ทส่ี ำ� คัญในการ PLC เพอื่ พัฒนาการจดั การเรียนรู้
◆ PLC กบั การพฒั นาการจัดการเรยี นรู้รายวชิ าเทคโนโลยี 36

(วิทยาการคำ� นวณ) 36

ตอนที่ 4 41

แนวทางการดำ� เนนิ งานของสถานศึกษาในการด�ำเนนิ การพฒั นาคณุ ภาพ 41
การเรยี นรู้วทิ ยาการคำ� นวณด้วย COLA/COPA Model
◆ มโนทศั น์เก่ยี วกบั COLA/COPA Model
◆ หลักการพน้ื ฐานของ COLA/COPA Model 43

44
◆ การพฒั นาวชิ าชีพด้วยกระบวนการชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้วิชาชพี 51
◆ รายช่ือครตู ้นแบบ Model Teacher
56

ตอนท่ี 5 65

มุมมองของครผู ู้ร่วมกจิ กรรมต่อการพัฒนาการจัดการเรยี นรู้ 65
โดยใช้กระบวนการชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ แบบ COLA Model

สารบัญ (ต่อ)

เรอ่ื ง หน้า

ภาคผนวก 123

ภาคผนวก ก 125

◆ ภาพบรรยากาศการประชุมเชิงปฏิบตั ิการฯ 125
◆ ภาพบรรยากาศการเปิดชน้ั เรยี น 129
◆ ผลงานของนกั เรยี น 138

ภาคผนวก ข 139

เครื่องมอื ที่ใช้ในการดำ� เนนิ กิจกรรม PLC 139

ภาคผนวก ค 150

ประกาศสำ� นกั งานเลขาธิการ เรอื่ ง การคดั เลือกเครอื ข่าย 150
ทมี ีนวัตกรรมเป็นแนวปฏบิ ตั ทิ ่ดี จี ากการจัดกจิ กรรมพัฒนาวชิ าชีพ
แบบชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี ประจ�ำปี 2563

ถอดบทเรียน

การพัฒนาการจดั การเรยี นรขู้ องครูผูส้ อนวทิ ยาการค�ำ นวณ
โดยใช้กระบวนการชุมชนแหง่ การเรียนรทู้ างวชิ าชพี
แบบ COLA MODEL



ส�ำนวนสุภาษิตไทย บทที่ว่า “คบคนพาล พาลพา
ไปหาผดิ คบบณั ฑติ บณั ฑติ พาไปหาผล”เปน็ ความรสู้ กึ แรก
ที่ผมคิดถึงเมื่อได้รับการประสานงานจากผู้แทนของ
สำ� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา ความวา่ ครุ สุ ภามอี ำ� นาจหนา้ ที่
สนับสนุน ส่งเสริมและพัฒนาวิชาชีพตามมาตรฐานวิชาชีพ
และจรรยาบรรณของวิชาชีพ จึงมีแนวคิดท่ีจะให้การ
สนับสนุนงบประมาณในการพัฒนาครูผู้สอนวิทยาการค�ำนวณ พร้อมบอก
เงื่อนไขว่า ถ้าส�ำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาสนใจจะพัฒนาครูก็สามารถเขียน
รปู แบบการพัฒนาครสู ่งไปขอรับการสนบั สนนุ ได้ภายในเวลาที่กำ� หนด

จากประสบการณ์ท่ีผ่านมา สอนให้ผมรู้ว่างานทุกกิจกรรมจะประสบ
ความส�ำเร็จได้จะต้องสร้างการรับรู้ สร้างความตระหนัก และให้ทีมงานได้มี
ความร้สู กึ เปน็ เจ้าของ ผมจงึ เชญิ ท่านรองและทมี งานศกึ ษานเิ ทศก์มาปรกึ ษาหารอื
ทีมได้ข้อสรุปว่าพร้อมและกิจกรรมนี้จะช่วยสนับสนุนการพัฒนาครูผู้ร่วมนิเทศ
(Co-superviser) ซึ่งเป็นกิจกรรมหลักของทีมงานศึกษานิเทศก์ที่ด�ำเนินการ
อยู่ก่อนแล้ว จึงได้มอบหมายให้เขียนเค้าโครงเสนอต่อส�ำนักงานเลขาธิการ
ครุ ุสภา

การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอนวิทยาการค�ำนวณ โดยใช้
กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพแบบ COLA MODEL เป็นรูปแบบ
ที่ส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 16 ในสมัยน้ัน ซึ่งปัจจุบันได้
ถูกเปล่ียนช่ือเป็นส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล
เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณไปยังส�ำนักงานเลขาธิการคุรุสภา ท้ังนี้
ได้คัดเลือกโรงเรียนในสังกัดที่มีความพร้อม จ�ำนวน 8 โรงเรียน จ�ำแนกตาม
สหวิทยาเขตๆ ละ 2 โรงเรียน โดยมีการพัฒนาครูให้ปรับวิธีการจัดการเรียนรู้
ท่ีเน้นให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติจริง โดยมีครูเป็นผู้อ�ำนวยการให้นักเรียนได้เกิด
การเรียนรู้ และมีโค้ชทั้งผู้บริหารสถานศึกษา ผู้เชี่ยวชาญซึ่งเป็นศึกษานิเทศก์
คณาจารย์จากสถาบันอดุ มศกึ ษา และเพื่อนร่วมวิชาชพี ครเู ป็นพเ่ี ลย้ี งสะท้อนคิด

ถอดบทเรียนการพัฒนาการจดั การเรียนรขู้ องครูผูส้ อนวทิ ยาการคำ�นวณ 3
โดยใชก้ ระบวนการชมุ ชนแห่งการเรยี นรทู้ างวชิ าชพี แบบ COLA MODEL

ผมในฐานะที่มีส่วนร่วมคิด ร่วมท�ำ เห็นว่าครูผู้สอนวิทยาการค�ำนวณ
ส่วนใหญ่อายุงานไม่มากนัก พร้อมเต็มใจปรับเปลี่ยนวิธีการจัดการเรียนรู้
ประการส�ำคัญท่ีเอ้ืออ�ำนวยได้แก่ ธรรมชาติของวิชาวิทยาการค�ำนวณเกื้อกูล
ในการพัฒนานักเรียนให้มีสมรรถนะ นอกเหนือจากนี้ ยังพบว่า ครูมีเพื่อนคู่คิด
ในเชิงวิชาการ ไม่โดดเด่ียว ซ่ึงเป็นเรื่องที่ดีและเป็นบรรยากาศท่ีช่วยสนับสนุน
ให้เกิดการเรียนรู้ ส่วนท่ีงานวิจัยยืนยัน “สิ่งท่ีครูคาดหวังจากผู้บริหารมากท่ีสุด
ได้แก่ ความเป็นผู้น�ำทางวิชาการ” กจิ กรรมน้ีได้สนับสนุนให้ผู้บรหิ ารสถานศึกษา
มสี ่วนร่วมในการจดั การเรยี นรู้กบั ครมู ากข้ึน

ในนามของส�ำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล
ขอขอบพระคณุ สำ� นกั งานเลขาธกิ ารครุ ุสภา ทสี่ นบั สนนุ งบประมาณให้พัฒนาครู
และขอใหส้ ญั ญาวา่ พวกเราจะชว่ ยกนั พฒั นาวชิ าชพี ครเู พอ่ื นำ� สกู่ ารพฒั นานกั เรยี น
ให้เปน็ ก�ำลงั ส�ำคญั ของชาตใิ นอนาคตต่อไป

นายศงั กร รักชูชน่ื
ผู้อำ� นวยการส�ำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษามธั ยมศกึ ษาสงขลา สตลู

4 ถอดบทเรียนการพัฒนาการจัดการเรียนร้ขู องครูผู้สอนวิทยาการค�ำ นวณ
โดยใช้กระบวนการชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวิชาชีพ แบบ COLA MODEL

จากการทไ่ี ด้ไปร่วมงานการพฒั นาการจดั การเรยี นรู้
ตามกระบวนการ PLC ด้วย COLA MODEL ในรายวิชา
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาการค�ำนวณ) ซึ่งใน
ปีงบประมาณท่ีผ่านมา ส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
มัธยมศึกษาสงขลา สตูล ได้รับการสนับสนุนงบประมาณ
จากส�ำนักงานเลขาธิการคุรุสภา และได้น�ำไปทดลอง
ใช้ในโรงเรียนใน ส�ำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษามัธยมศึกษาสงขลา
สตูล จ�ำนวน 8 โรงเรียน พบว่า ครูในโรงเรียนทั้งหมดท่ีน�ำกระบวนการ PLC
ด้วย COLA MODEL สามารถน�ำไปใช้ในการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ได้
เป็นอย่างดี ที่ส�ำคัญยิ่ง คือ เกิดการแลกเปล่ียนเรียนรู้ เป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้
ทางวิชาชีพ ( PLC) อย่างแท้จริง ข้าพเจ้ามีความเชื่อม่ันว่ากระบวนการน้ีเป็น
กระบวนการท่ีใช้ในการพัฒนาครูเพ่ือน�ำไปสู่การพัฒนาการเรียนรู้ และส่งผล
ไปยังการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล ควรมี
การส่งเสริมและพัฒนาให้เปน็ ไปอย่างต่อเน่ืองและยงั่ ยนื ต่อไป

นายวชิระ ขวญั เพชร
รองผู้อำ� นวยการสำ� นกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษาสงขลา สตูล

ถอดบทเรยี นการพฒั นาการจดั การเรียนรขู้ องครูผู้สอนวทิ ยาการค�ำ นวณ 5
โดยใชก้ ระบวนการชมุ ชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวชิ าชีพ แบบ COLA MODEL

นบั เปน็ ความโชคดี ในการทำ� หนา้ ทขี่ องศกึ ษานเิ ทศก์
ของข้าพเจ้าอีกครั้งหน่ึง ที่มีโอกาสได้ไปสังเกตการสอน
ของครอู ยา่ งใกลช้ ดิ ในเรยี น ดว้ ยการเปน็ ผเู้ ชย่ี วชาญ (Expert)
ตามโครงการการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอน
วิทยาการค�ำนวณโดยใช้กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้
ทางวิชาชีพ แบบ COLA MODEL ที่จะคอยเป็นก�ำลังใจ
และให้ข้อเสนอแนะกับครู ส่ิงท่ีเกิดขึ้นตรงหน้าเม่ือท�ำหน้าท่ีในช้ันเรียนท�ำให้
ได้ข้อสรุปว่ารูปแบบการจัดการเรียนการสอน หรือ การเรียนรู้ของผู้เรียนนั้น
ไดป้ รบั เปลย่ี นไปแลว้ จรงิ ๆ เดก็ สามารถเรยี นรไู้ ดต้ ลอดเวลา องคค์ วามรเู้ กดิ ขน้ึ ได้
ในทุกมิติ ของการวางแผนและการจัดการของครูผู้สอน เช่น เกิดจากใบงาน
ใบความรู้ ท่ีครูได้จัดท�ำขึ้นประกอบการเรียนการสอน เกิดจากประเด็นค�ำถาม
ประเดน็ ปญั หาชวนให้คดิ ของครู เกดิ จากกระบวนการทำ� งานกลมุ่ หรอื งานเดย่ี วที่
ถูกมอบหมายให้ท�ำ เกิดจากการแลกเปล่ียนเรียนรู้และการน�ำเสนอหน้าชั้นเรียน
ผา่ นกระบวนการเรยี นรดู้ ว้ ย Computing Science Learning ทผ่ี เู้ รยี นสามารถเรยี นรู้
ได้อย่างมีความสุข จึงนับได้ว่าเป็นความโชคดีที่ได้เห็นการจัดการเรียนรู้ของโลก
สมยั ใหม่ ครผู ้สู อนเปน็ ผ้จู ดั การออกแบบการจดั การเรยี นรู้ ผ้เู รยี นเรยี นร้ดู ้วยการ
ปฏิบตั จิ รงิ นำ� เสนอผลการปฏิบตั ิ แลกเปลย่ี นเรยี นรู้กันตลอดเวลา และทีส่ �ำคญั
สามารถน�ำผลจากการเรียนรู้ไปใช้ประโยชน์ได้จริงในชีวิตประจ�ำวัน ชุมชน
การเรียนรู้ทางวิชาชีพ (COLA MODEL) จึงน่าจะเป็นทางเลือกส�ำคัญที่ครูผู้สอน
และศึกษานิเทศก์ รวมท้ังนักการศึกษา ท่ีจะน�ำไปเป็นแบบและทางเลือกใน
การจัดการเรียนรู้ในกลุ่มสาระต่างๆ ซึ่งจะเป็นผลดีต่อการพัฒนาคุณภาพ
การจดั การศกึ ษาของประเทศในภาพรวม

นายวรี ะศกั ด์ิ บญุ ญาพิทกั ษ์
ผู้อำ� นวยการกลุ่มนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา

6 ถอดบทเรยี นการพฒั นาการจดั การเรยี นรูข้ องครูผู้สอนวทิ ยาการค�ำ นวณ
โดยใชก้ ระบวนการชุมชนแหง่ การเรยี นร้ทู างวิชาชพี แบบ COLA MODEL

เปน็ ครง้ั แรกกบั การพฒั นาครผู ้สู อนดว้ ยกระบวนการ
ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning
Community) หรอื ท่ีเรยี กกันอย่างคุ้นชินว่า PLC โดยมมุ มอง
ของตัวเองคิดว่ากระบวนการพัฒนาครูรูปแบบน้ีเป็นส่ิงท่ีดี
ท่ีครูได้น�ำไปสู่การปฏิบัติในชั้นเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ครมู ีเพอื่ น มพี ี่ มนี ้อง ที่คอยช่วยกนั ร่วมแลกเปลี่ยนสะท้อน
ซงึ่ กนั และกนั อย่างกลั ยาณมติ ร โดยมีเป้าหมายเดียวกัน คือ คณุ ภาพของผู้เรียน
จากเดิม ๆ ที่เคยสอนอยู่คนเดียว ก็จะมีเพื่อนร่วมวิชาชีพเข้ามาเป็นทีมใน
การท�ำงาน และท่ีส�ำคัญทีมเหล่าน้ันได้เป็นกระจกสะท้อนให้กับครูผู้สอนได้ดี
เพราะการมองตัวเองเรามักจะมองไม่เห็น หรือ มองข้าม แต่เม่ือมีเพื่อนช่วยมอง
ช่วยสะท้อน เราก็จะได้มุมมองท่กี ว้างขวางขน้ึ

การเข้าสังเกตช้ันเรียน/เยี่ยมช้ันเรียน ได้บอกกับครูเสมอว่า ผู้เข้าสังเกต
ชั้นเรียนไปมิได้เพื่อการจับผิด หรือหาข้อบกพร่องของผู้สอนแต่อย่างใด แต่เพื่อ
ต้องการสะท้อน หาจุดเด่น หรือจุดท่ีน่าจะพัฒนาเพ่ือให้ส่ิงที่ครูท�ำดีอยู่แล้วให้ดี
ยิง่ ๆ ข้นึ ไป

ในฐานะที่ตนเองเป็นผู้ดูแล รับผิดชอบโครงการฯ น้ี ต้องขอขอบคุณ
ผู้เก่ยี วข้องทกุ ๆ ฝ่าย ไม่ว่าจะเปน็ ผู้บริหาร ครูผู้สอน รวมถึงนกั เรยี นทีไ่ ด้ร่วมมือ
ร่วมใจกันในการด�ำเนินการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการ
ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพบรรลุผลและประสบความส�ำเร็จอย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ จนไดร้ บั การคดั เลอื กจากสำ� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา ใหเ้ ปน็ เครอื ขา่ ย
ท่ีมีนวัตกรรมเป็นแนวปฏิบัติที่ดีจากการจัดกิจกรรมพัฒนาวิชาชีพแบบชุมชน
แห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ ประจ�ำปี 2563 “ระดบั ภูมภิ าค” 2020 PLC Regional
Award” โดยได้มอบเกยี รตบิ ัตรให้แก่เครอื ข่าย เพ่อื เปน็ เกียรติประวตั แิ ละธ�ำรงไว้
ซ่ึงเป็นแนวทางการปฏิบัติที่ดีสืบต่อไปถือ เป็นความภาคภูมิใจร่วมกันของชาว
สพม.สงขลา สตลู ทกุ คน

ถอดบทเรียนการพัฒนาการจัดการเรยี นรขู้ องครูผสู้ อนวทิ ยาการคำ�นวณ 7
โดยใชก้ ระบวนการชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชพี แบบ COLA MODEL

นางจติ รา ซุ่นซม่ิ
ศึกษานิเทศก์ สำ� นักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาสงขลา สตลู

8 ถอดบทเรยี นการพฒั นาการจดั การเรียนร้ขู องครผู ู้สอนวิทยาการค�ำ นวณ
โดยใชก้ ระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชพี แบบ COLA MODEL

ขอร่วมสะท้อนผลการจัดกิจกรรม PLC ตามรูปแบบ
COLA MODEL ของคุณครูผู้สอนวิทยาการค�ำนวณท้ัง
8 โรงเรียน ที่ได้ร่วมเปิดช้ันเรียนท้ัง 3 วงรอบ ตามมุมมอง
ของผู้ท่มี สี ่วนร่วมในวง PLC ดังน้นี ะคะ

จากเพอ่ื นครถู ึง...เพือ่ นครู จาก คุณครู ถงึ ...ศน. จาก ศน. ถงึ ...คุณครู

1. บรรยากาศในชนั้ เรยี น 1. การมเี พอ่ื นร่วมคดิ 1. การจดั การเรยี นรู้
ก็เปน็ สิ่งส�ำคญั อย่างหนึง่ ท่จี ะ ร่วมออกแบบการจดั การ แต่ละคร้งั ส่งิ ท่ีต้องคำ� นงึ ถึง
กระตุ้นให้เกดิ การเรยี นรู้ เรยี นรู้ทำ� ให้มนั่ ใจในการ มากท่สี ุด คือ ตอบตัวช้วี ดั
และยงั เป็นแหล่งเรยี นรู้ สอนนกั เรยี นมากข้ึน หรอื ไม่
ทีเ่ รยี นได้ตลอดเวลา 2. การมคี นเข้ามาอยู่ใน 2.อย่ากลวั ความวุ่นวาย
2. นกั เรยี นเรยี นรู้และ ชั้นเรียนท�ำให้รู้สกึ ต่ืนเต้น ที่จะเกดิ ขึ้นในชน้ั เรียน
จดจำ� ภาพได้ดกี ว่าตวั หนงั สอื ทั้งครแู ละนักเรยี น แต่ช่วย ความวุ่นวายทเ่ี กิดข้นึ จาก
หากจดั ให้นักเรยี นลงมือ กระตุ้นให้ครไู ด้เตรยี ม การจดั การเรยี นรู้ของครจู ะ
ปฏบิ ัตบิ ่อยๆ จะเกดิ เปน็ การสอนเป็นอย่างดี ทำ� ให้เกดิ การเรยี นอย่างมี
สมรรถนะประจ�ำตัวได้ 3. ข้อสะท้อนหลังการ ความหมายกบั นักเรยี นจึง
3. การใช้คำ� ถามปลาย เปิดชนั้ เรยี น ท�ำให้มองเหน็ จะเป็นการสอนแบบ Active
เปิดจะกระตุ้นการคดิ ได้ดี ตนเองได้ดยี งิ่ ข้นึ ทัง้ ของ Learning
ยิง่ ข้นึ และควรฝึกให้นกั เรียน เพ่อื นครแู ละของตนเอง 3. ครตู ้องให้ความ
ตง้ั คำ� ถามเอง เรยี นรู้จุดเด่นของคนเอง ส�ำคัญกับการเรยี นรู้ท่ีเกดิ
4. เทคนิคการสอน เพือ่ พัฒนาตนเองให้ดยี ิ่งขึน้ ขน้ึ กบั นักเรยี นตามตัวช้ีวดั
ที่หลากหลายจะกระตุ้นให้ ค้นหาจุดด้อยเพอ่ื ปรับแก้ มากกว่ากังวลเร่อื งเวลา
นักเรยี นสนใจเรยี นมากข้นึ ให้ลดลง ว่าจะสอนทันตามแผนการ
จัดการเรียนรู้ทเ่ี ตรยี มมา
หรอื ไม่

นางเหมือนฝนั เก้อื หนนุ
ศกึ ษานิเทศก์ ส�ำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษาสงขลา สตูล

ถอดบทเรียนการพัฒนาการจดั การเรียนรขู้ องครผู ู้สอนวทิ ยาการคำ�นวณ 9
โดยใช้กระบวนการชมุ ชนแห่งการเรยี นรูท้ างวิชาชีพ แบบ COLA MODEL

การพัฒนาครูเป็นหน่ึงในจุดเน้นของส�ำนักงาน
เขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล โดยมี
หลักการว่าหากครูมีความเข้มแข็ง มีศักยภาพในการ
จัดกิจกรรมการเรียนการสอนก็ย่อมส่งผลให้นักเรียน
มีศักยภาพไปด้วยกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้
ทางวชิ าชพี แบบ COLA MODEL เปน็ กระบวนการทสี่ ามารถ
พัฒนาศักยภาพในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูได้จริง ท�ำให้ครูเห็นปัญหา
ที่เกิดจากจัดกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกัน เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน และมีจุดร่วม
ในการพฒั นาไปพร้อม ๆ กนั

จากการเขา้ รว่ มสงั เกตชนั้ เรยี นในฐานะผเู้ ชยี่ วชาญ ทำ� ใหไ้ ดเ้ หน็ พฒั นาการ
ของครูผู้สอนที่เกิดขึ้นในทุกวงรอบของการเปิดช้ันเรียน ในวงรอบท่ี 1 ครูผู้สอน
บางท่านยังมีอาการประหม่าเม่ือมีบุคคลภายนอกมาร่วมสังเกตช้ันเรียน แต่เม่ือ
ผ่านวงรอบที่ 1 ผ่านไป วงรอบท่ี 2 และวงรอบที่ 3 อาการประหม่าก็เริ่มหายไป
ครูกล้าท่ีจะให้บุคคลภายนอกเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
มากขึ้น บรรยากาศการเรียนรู้จึงเต็มไปด้วยความสนุกสนานเด็กได้เรียนรู้
ผ่านกระบวนการปฏบิ ัตอิ ย่างแท้จริง

ในขัน้ กระบวนการของการสะท้อนผล ครู Buddy teacher ครูผู้ร่วมเรียนรู้
สามารถหาจุดเพื่อร่วมพัฒนาให้แก่คู่ของตนเองได้อย่างดีเย่ียม มองเห็นจุดเด่น
และจุดด้อยเพ่ือการพัฒนาในการจัดการเรียนการสอนคร้ังต่อไปของคู่ตนเอง
นอกจากนี้มุมมองของสมาชิกท่านอ่ืนทั้ง Mentor หัวหน้ากลุ่มส�ำระการเรียนรู้
Administrator ฝา่ ยบรหิ าร และ ทสี่ ำ� คญั คอื Expert ผเู้ ชย่ี วชาญ ครผู สู้ อนสามารถ
น�ำผลการสะท้อนไปพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในวงรอบต่อไป
ได้อย่างดเี ยย่ี ม

กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ แบบ COLA MODEL
เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่เกิดประโยชน์อย่างแท้จริงต่อครูผู้สอนและผู้เรียน
ทุกคนเพราะทุกคนได้มีส่วนร่วมตั้งแต่การวางแผนการจัดการเรียนรู้ (ข้ันตอน
น้ีครูผู้สอนที่เป็นครูผู้ร่วมเรียนรู้ได้ร่วมกันสะท้อนแผนการสอนของแต่ละคนว่า
มีจุดเด่น จุดด้อย และควรพัฒนาให้ดีขึ้นอย่างไร) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้

10 ถอดบทเรียนการพัฒนาการจัดการเรยี นร้ขู องครผู ู้สอนวทิ ยาการคำ�นวณ
โดยใช้กระบวนการชุมชนแหง่ การเรียนรทู้ างวิชาชพี แบบ COLA MODEL

(ในขั้นน้ีมุมมองของทุกท่านท่ีเข้าร่วมในการเปิดชั้นเรียนสามารถน�ำมาพัฒนา
กิจกรรมการเรยี นรู้ให้สามารถพฒั นาผู้เรยี น ได้อย่างเต็มศักยภาพ)

ดังน้ันสามารถ กล่าวได้ว่า กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
แบบ COLA MODEL เป็นนวัตกรรมในการพัฒนาการเรียนการสอนท่ีสามารถ
พฒั นาศักยภาพของเด็กในยุคปจั จุบันได้อย่างเยยี่ ม

นางสาวปฤษณา แจ้มแจ้ง
ศึกษานเิ ทศก์ สำ� นักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษาสงขลา สตลู

ถอดบทเรียนการพัฒนาการจดั การเรยี นรขู้ องครผู สู้ อนวิทยาการค�ำ นวณ 11
โดยใชก้ ระบวนการชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชพี แบบ COLA MODEL



ตอนที่ 1

ความเป็นมา



ตอนท่ี 1

ความเปน็ มา

ปัจจุบัน เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารมีบทบาทต่อการจัด
การศึกษาเพราะเป็นการบูรณาการยุทธวิธีการจัดการเรียนการสอนกับการใช้
เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตและเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นฐานเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพ
การจัดการเรียนรู้ให้เกิดประโยชน์ต่อผู้เรียนอย่างมีประสิทธิภาพสอดคล้องกับ
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 ที่กําหนดวิสัยทัศน์ (Vision) ไว้ว่า
“คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดํารงชีวิต
อย่างเป็นสุข สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการ
เปล่ียนแปลงของโลกศตวรรษที่ 21” โดยมีวัตถุประสงค์ในการจัดการศึกษา
4 ประการ คอื

1. เพื่อพัฒนาระบบและกระบวนการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพและ
มีประสทิ ธภิ าพ

2. เพ่ือพัฒนาคนไทยให้เป็นพลเมืองดีมีคุณลักษณะทักษะและสมรรถนะ
ทสี่ อดคลอ้ งกบั บทบญั ญตั ขิ องรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทยพระราชบญั ญตั ิ
การศกึ ษาแห่งชาตแิ ละยุทธศาสตร์ชาติ

ถอดบทเรยี นการพฒั นาการจดั การเรียนรูข้ องครูผู้สอนวิทยาการค�ำ นวณ 15
โดยใชก้ ระบวนการชุมชนแหง่ การเรยี นรูท้ างวิชาชพี แบบ COLA MODEL

3. เพ่ือพัฒนาสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณธรรม
จรยิ ธรรม รู้รกั สามคั คี และร่วมมือผนึกกําลงั มุ่งสู่การพัฒนาประเทศอย่างยัง่ ยืน
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

4. เพื่อนําประเทศไทยก้าวข้ามกับดักประเทศท่ีมีรายได้ปานกลาง
และความเหลอ่ื มลำ้� ภายในประเทศลดลง

เพ่อื ให้บรรลุวิสยั ทัศน์และจุดมุ่งหมายในการจดั การศึกษาดงั กล่าวข้างต้น
ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาต้องยอมรับการเปลี่ยนแปลงและ
ใช้ประโยชน์จากทางเลือกต่างๆ ท่ีมีอยู่อย่างคุ้มค่า สามารถใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศและการสอ่ื สารให้เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาผู้เรียนให้มีคณุ ลกั ษณะ
และทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 พัฒนาผู้เรียนให้สามารถก�ำกับการเรียนรู้
ของตนเอง หล่อหลอมทกั ษะการเรยี นร้แู ละความคดิ สร้างสรรค์ทผ่ี ู้เรยี นสามารถ
นําองค์ความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในการเรียนรู้ ด้านวิชาชีพและทักษะชีวิต
โดยมีครูเป็นผู้สนับสนุนและจัดสภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ ทําหน้าท่ี
กระตุ้น สร้างแรงบันดาลใจ แนะนําวิธีเรียนรู้และวิธีจัดระเบียบการสร้างความรู้
ออกแบบกิจกรรมและสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียน และมีบทบาทเป็น
นกั วจิ ยั พฒั นากระบวนการเรยี นรเู้ พอื่ ผลสมั ฤทธขิ์ องผเู้ รยี น สามารถใชเ้ ทคโนโลยี
สารสนเทศและการส่ือสารในการจัดการเรียนการสอน การศึกษาค้นคว้าและ
พฒั นาการสอนของตนอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยเฉพาะด้านการพฒั นานวตั กรรม
ท่ีครูจําเป็นต้องใช้นวัตกรรมที่หลากหลายเพ่ือสร้างสรรค์การเรียนรู้ ซึ่งจะช่วย
สร้างบรรยากาศในห้องเรียนให้เกิดความสนุกสนาน มีชีวิตชีวาและช่วยให้
นักเรียนมีทัศนคติท่ีดีต่อการเรียนวิชาต่าง ๆ ท้ังน้ี หากนวัตกรรมทางการศึกษา
ได้รับการออกแบบด้วยกระบวนการท่ีได้รับการยอมรับและพิสูจน์แล้วว่า
มีประสิทธิภาพ ช่วยยกระดับการจัดการเรียนรู้แก่ผู้เรียนได้ใช้กระบวนการคิด
ในการลงมือปฏิบัติและสอดคล้องกับแนวทางในการเรียนรู้ท่ีแตกต่างกัน
ของแต่ละบุคคล จะย่ิงเป็นการเพิ่มพูนทักษะความรู้ความเข้าใจให้กับผู้เรียน
มากยิ่งข้ึน ท้ังน้ีในปี พ.ศ. 2560 กระทรวงศึกษาธิการได้ดําเนินการทบทวน
หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานพทุ ธศกั ราช 2551 โดยไดบ้ รรจมุ าตรฐาน
ว4.1 การออกแบบและเทคโนโลยี และ ว 4.2 วิทยาการคํานวณไว้ในสาระท่ี 4

16 ถอดบทเรียนการพัฒนาการจัดการเรียนรขู้ องครูผสู้ อนวทิ ยาการค�ำ นวณ
โดยใช้กระบวนการชมุ ชนแหง่ การเรียนรูท้ างวชิ าชพี แบบ COLA MODEL

เทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ข้ันพื้นฐานพุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ซึ่งมีความสําคัญ
ต่อการพัฒนาประเทศและเป็นรากฐานสําคัญที่จะช่วยให้มนุษย์มีความคิด
ริเริ่มสร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุผล เป็นระบบ สามารถวิเคราะห์ปัญหาหรือ
สถานการณไ์ ดอ้ ย่างรอบคอบและถถ่ี ้วน สามารถนําไปใชใ้ นชวี ติ ประจําวนั การใช้
ทักษะการคิดเชิงคํานวณ ความรู้ทางด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
และการสื่อสารในการแก้ปญั หาท่พี บในชวี ิตจรงิ ได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ

วิทยาการคํานวณ (Computing science) เป็นรากฐานส�ำคญั ของทกุ อาชพี
เมื่อเศรษฐกิจเข้าสู่ยุคดิจิทัล คนไทยจ�ำเป็นต้องมีความรู้ด้านโลกสมัยใหม่
การเรียนComputing science ไม่ได้เรียนเขียนโปรแกรมเท่านั้น แต่เป็นการเรียน
ด้วยการใช้สมองสร้างสรรค์ผลงานในการท�ำงาน รู้จักการท�ำงานเป็นทีมและ
มปี ฏิสัมพันธ์กบั คนอน่ื ๆ ด้วย ซ่งึ Computing science จะสร้างเดก็ ไทยทวั่ ประเทศ
ให้มีรากฐานความคิดท่ีแข็งแกร่งเพราะว่ารากฐานความคิดด้าน Computing
science ไม่ว่าจะท�ำอาชีพอะไร เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์หรือไม่จะเป็นรากฐาน
ความคดิ ทด่ี ี เปน็ กระบวนการความคดิ ทเี่ ปน็ รากฐานสำ� คญั ของทกุ เรอื่ ง ครผู สู้ อน
จึงต้องมีความรู้ ความสามารถในการออกแบบ การจัดการเรียนการสอน
วิทยาการคอมพิวเตอร์ เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุเป้าหมายตามมาตรฐาน
การเรียนรู้ได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

การพัฒนากําลังคนดิจิทัล เพื่อขับเคล่ือนการเรียนการสอนวิทยาการ
คํานวณ จึงเป็นสิ่งสําคัญที่จะช่วยยกระดับศักยภาพในการเรียนรู้ของผู้เรียน
ซึ่งการพัฒนาเพื่อก่อให้เกิดเป็นรูปธรรม จะต้องได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่าย
ที่เกีย่ วข้องกบั การจดั การศกึ ษา เพ่อื ขบั เคลื่อนการจดั การเรียนรู้วทิ ยาการคํานวณ
ให้เกดิ ผลสําเรจ็ (สำ� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน. 2562 หน้า 1-2)

ส�ำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล ซ่ึงเป็นหน่วยงาน
ทางการศึกษา สังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน รับผิดชอบ
การศึกษาขัน้ พน้ื ฐานในเขตจังหวัดสงขลาและจังหวัดสตลู มีสถานศกึ ษาในสังกดั
จ�ำนวน 53 โรง จัดการศึกษาโดยมุ่งเน้นให้สถานศึกษาจัดกิจกรรมการเรียน
การสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญบูรณาการปลูกฝังผู้เรียนให้มีคุณธรรมจริยธรรม

ถอดบทเรียนการพัฒนาการจัดการเรยี นรู้ของครูผสู้ อนวทิ ยาการคำ�นวณ 17
โดยใชก้ ระบวนการชุมชนแหง่ การเรียนร้ทู างวชิ าชีพ แบบ COLA MODEL

มคี ณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคพ์ ฒั นาครผู สู้ อนใหม้ ศี กั ยภาพสงู สดุ ในการปฏบิ ตั งิ าน
ส่งเสริมครูให้มีทักษะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เน้นให้ผู้เรียนมีทักษะ
คิดวิเคราะห์คิดสังเคราะห์มีวิจารณญาณมีความคิดสร้างสรรค์คิดไตร่ตรองและ
มีวิสัยทัศน์ประกอบกับวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการค�ำนวณ หรือ Computing
Science) เป็นวิชาใหม่ของนักเรียนไทยในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
พุทธศักราช 2551 จึงได้มีนโยบายในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอน
วิทยาการค�ำนวณ เพ่ือพัฒนาครูให้มีขีดความสามารถในการจัดการเรียนรู้
ให้ผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ได้คุณภาพผู้เรียนตามเป้าหมายของหลักสูตร
แกนกลางฯ ท้ังในด้านความรู้ ทักษะ สมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
จงึ ไดจ้ ดั ใหม้ โี ครงการ การพฒั นาการจดั การเรยี นรขู้ องครผู สู้ อนวทิ ยาการคำ� นวณ
โดยใช้กระบวนการชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชพี แบบ COLA MODEL ขึ้น

วัตถุประสงค์

1. เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอนวิทยาการค�ำนวณโดยใช้
กระบวนการชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชพี แบบ COLA MODEL

2. เพ่ือให้ครูผู้สอนวิทยาการค�ำนวณมีนวัตกรรมในการแก้ปัญหาการเรียนรู้
ของผู้เรียน

3. เพ่ือส่งเสริมการใช้กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
แบบ COLA MODEL สู่กลุ่มสาระอน่ื ๆ

เปา้ หมาย

เชงิ ปริมาณ
โรงเรียนตามกลมุ่ เป้าหมาย จำ� นวน 8 โรง ประกอบด้วย
1. โรงเรยี นมหาวชริ าวธุ จังหวดั สงขลา
2. โรงเรยี นสทงิ พระวทิ ยา
3. โรงเรยี นหาดใหญ่วทิ ยาลัย

18 ถอดบทเรยี นการพฒั นาการจัดการเรียนรขู้ องครูผู้สอนวทิ ยาการค�ำ นวณ
โดยใช้กระบวนการชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ แบบ COLA MODEL

4. โรงเรยี นหาดใหญ่วทิ ยาลยั สมบูรณ์กลุ กันยา
5. โรงเรียนสะเดา “ขรรค์ชยั กมั พลานนท์อนสุ รณ์”
6. โรงเรยี นนาทวีวิทยาคม
7. โรงเรยี นสตลู วิทยา
8. โรงเรยี นพิมานพิทยาสรรค์
โดยมีสมาชกิ ของแต่ละโรงเรยี น ดงั น้ี
1. ครูผู้สอน โรงเรียนละ 15 คน (ยกเว้น รร.มหาวชิราวุธ 18 คน ,
รร.หาดใหญ่วทิ ยาลยั สมบรู ณ์กุลกนั ยา 17 คน)
2. ศึกษานเิ ทศก์ จ�ำนวน 6 คน
3. บริหารสถานศกึ ษา จำ� นวน 8 คน
4. ผู้บริหารการศกึ ษา จำ� นวน 1 คน
รวมทงั้ ส้ิน 140 คน
เชงิ คณุ ภาพ
1. ครูผู้เข้าร่วมโครงการมกี ารพฒั นาการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ
ชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชพี แบบ COLA MODEL
2. ครผู ู้เข้าร่วมโครงการมนี วตั กรรมเพอ่ื ใช้แก้ปญั หาการเรยี นรู้ของผู้เรยี น
3. โรงเรยี นมชี มุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ

วิธดี ำ�เนินการ

1. ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอนวิทยาการ
ค�ำนวณโดยใช้กระบวนการชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี แบบ COLA MODEL
โดยจดั ประชมุ เชงิ ปฏิบัติการฯ แบ่งเป็น 2 รุ่น ได้แก่

รุ่นที่ 1 โรงเรียนในจังหวัดสตูล ประกอบด้วย โรงเรียนพิมานพิทยาสรรค์
และ โรงเรียนสตูลวิทยา ระหว่างวันท่ี 20-21 กรกฎาคม 2563 ณ ห้องประชุม
โรงเรยี นพมิ านพิทยาสรรค์

ถอดบทเรยี นการพฒั นาการจดั การเรยี นรู้ของครผู สู้ อนวทิ ยาการคำ�นวณ 19
โดยใชก้ ระบวนการชมุ ชนแห่งการเรียนรทู้ างวชิ าชพี แบบ COLA MODEL

รุ่นท่ี 2 โรงเรียนในจังหวัดสงขลา ประกอบด้วย โรงเรียนมหาวชิราวุธ
จังหวัดสงขลา โรงเรียนสทิงพระวิทยา โรงเรียนนาทวีวิทยาคม โรงเรียนสะเดา
“ขรรค์ชัยกัมพลานนท์อนุสรณ์” โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย และโรงเรียน
หาดใหญ่วิทยาลัยสมบูรณ์กุลกันยา ระหว่างวันที่ 23-24 กรกฎาคม 2563
ณ ห้องประชุมโรงเรยี นนวมินทราชูทศิ ทกั ษณิ

โดยมีการชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการและสร้างความรู้ ความเข้าใจ
ในประเดน็ ดงั น้ี

◆ การจดั การเรยี นการสอนวทิ ยาการค�ำนวณ
◆ กระบวนการ PLC สู่การพัฒนาการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ

◆ เทคนิคการจดั การเรยี นรู้ Active Learning
◆ ปฏบิ ตั กิ ารเขยี นแผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning
◆ การใช้งาน TRAINFIX PLC System เพอื่ ส่งงานในระบบ

20 ถอดบทเรยี นการพัฒนาการจดั การเรียนรู้ของครูผ้สู อนวิทยาการคำ�นวณ
โดยใช้กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรูท้ างวิชาชีพ แบบ COLA MODEL

ได้ด�ำเนินการตามรูปแบบของการพัฒนาครูผู้สอนด้วย COLA MODEL
ดังน้ี

ทีม่ า : https://www.facebook.com/myamkasikorn/posts/2409532 905976700/

1) เร่ิมต้นจากการวิเคราะห์ผลงานชิ้นงานของนักเรียนท่ีเกิดจากการจัด
กจิ กรรมการเรยี นการสอนของครโู ดยใช้ผงั ก้างปลาเปน็ เครอื่ งมอื ในการวเิ คราะห์

ถอดบทเรียนการพฒั นาการจดั การเรยี นร้ขู องครผู สู้ อนวิทยาการค�ำ นวณ 21
โดยใชก้ ระบวนการชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวชิ าชพี แบบ COLA MODEL

2) ก�ำหนดเป้าหมายในการพัฒนาเพ่ือแก้ปัญหาของนักเรียน
3) ออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
โดยเน้นการจดั การเรยี นรู้แบบ Active Learning

4) การจดั หาและใช้สอ่ื และแหล่งการเรยี นรู้ตลอดจนการวดั ประเมนิ ผลที่
สอดคล้องกับตัวช้วี ดั ที่สอดและสอดคล้องกบั ศกั ยภาพของผู้เรยี น

5) การสงั เกตชนั้ เรยี นโดยทมี ทป่ี ระกอบดว้ ยเพอื่ นครทู เี่ ปน็ Buddy Teacher,
Menter, Expert และ Administrator และมอี าจารยจ์ ากมหาวทิ ยาลยั ทกั ษณิ ซง่ึ เปน็
พเี่ ลย้ี งได้เข้าร่วมสงั เกตชน้ั เรียน

22 ถอดบทเรยี นการพัฒนาการจดั การเรยี นร้ขู องครูผู้สอนวทิ ยาการค�ำ นวณ
โดยใช้กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนร้ทู างวิชาชีพ แบบ COLA MODEL

6) การสะท้อนคิดของทีมโดยการร่วมแลกเปล่ียนเรียนรู้เพื่อหาจุดดี
จุดเด่นและจุดท่ีต้องปรับปรุงพัฒนาเพื่อน�ำไปปรับปรุงพัฒนาในวงรอบต่อไป
ซึ่งการด�ำเนินการเปิดช้ันเรียนของครูผู้สอนในคร้ังนี้ได้ด�ำเนินการ 3 รอบ/
ครผู ู้สอน 1 คน

ถอดบทเรียนการพัฒนาการจดั การเรียนรขู้ องครผู สู้ อนวิทยาการคำ�นวณ 23
โดยใชก้ ระบวนการชมุ ชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวชิ าชพี แบบ COLA MODEL

ผลทีค่ าดวา่ จะไดร้ ับ

1. ครูผู้สอนวิทยาการค�ำนวณมีการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ
ชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี รปู แบบ COLA MODEL

2. ครูผู้สอนได้นวตั กรรมเพ่อื แก้ปัญหาของผู้เรียน
3. ครผู ู้สอนเกดิ นวตั กรรมการทำ� งานแลกเปล่ยี นเรียนรู้
4. ผู้เรยี นมคี วามสามารถ มที กั ษะการคดิ
5. ผู้เรียนน�ำทักษะการคิดพัฒนาต่อยอดสร้างผลงาน คิดค้นส่ิงประดิษฐ์
หรอื สร้างนวัตกรรมได้
6. โรงเรียนมีชุมชนแห่งการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ เกิดสัมพันธภาพที่ดี
ของผู้บรหิ าร ครผู ู้สอน

24 ถอดบทเรยี นการพฒั นาการจดั การเรียนร้ขู องครผู ้สู อนวิทยาการค�ำ นวณ
โดยใชก้ ระบวนการชุมชนแหง่ การเรยี นรูท้ างวิชาชีพ แบบ COLA MODEL

ตอนที่ 2

วทิ ยาการค�ำ นวณ (Computing science)



ตอนท่ี 2

วิทยาการค�ำ นวณ (Computing science)

ปัจจุบันการพัฒนาด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และการสื่อสารได้น�ำมาใช้
เป็นเครื่องมือ ช่วยในการท�ำงาน การศึกษา การเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพและ
สะดวกสบายมากข้ึน การเรียนรู้เก่ียวกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ท่ีผ่านมาอาจไม่เพียงพอส�ำหรับการด�ำเนินชีวิตในยุคเศรษฐกิจดิจิทัลที่ต้องมี
พ้ืนฐานความรู้และทักษะเพ่ือแก้ปัญหาในชีวิตจริงหรือพัฒนานวัตกรรม และ
ใช้ทรัพยากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการสร้างองค์ความรู้
หรือสร้างมูลค่าให้เกดิ ขึ้นได้อย่างสร้างสรรค์

สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ได้ตระหนัก
ถึงความส�ำคัญของการพัฒนาทักษะของผู้เรียนให้ด�ำรงชีวิตอยู่ได้อย่างมี
คุณภาพในศตวรรษท่ี 21 จึงได้ปรับเปล่ียนหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการส่ือสารไปสู่หลักสูตรวิทยาการค�ำนวณ ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้พัฒนา
ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ แก้ปัญหาอย่างเป็นข้ันตอนและเป็นระบบ มีทักษะการคิด
เชงิ ค�ำนวณ และเปน็ ผู้ทม่ี คี ุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมในการใช้วทิ ยาศาสตร์
และเทคโนโลยอี ย่างสร้างสรรค์

วิทยาการค�ำ นวณ (Computing science) คอื อะไร ?

วิทยาการค�ำนวณ (Computing science) เป็นวิชาท่ีมุ่งเน้นการเรียน
การสอนให้เด็กสามารถคดิ เชิงคำ� นวณ (Computational thinking) มีความพืน้ ฐาน
ความรู้ด้านเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital technology) และมีพื้นฐานการรู้เท่าทันสื่อ
และข่าวสาร (Media and information literacy) ซ่ึงการเรียนวิชาการค�ำนวณ
จะไมจ่ ำ� กดั อย่เู พยี งแค่การคดิ ใหเ้ หมอื นคอมพวิ เตอร์เท่านนั้ และไมไ่ ดจ้ ำ� กดั อยเู่ พยี ง
การคิดในศาสตร์ของนักวิทยาการคอมพิวเตอร์ แต่จะเป็นกระบวนการความคิด
เชิงวิเคราะห์เพื่อน�ำมาใช้แก้ปัญหาของมนุษย์ โดยเป็นการสั่งให้คอมพิวเตอร์
ทำ� งานและช่วยแก้ไขปญั หาตามทเี่ ราต้องการได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ

ถอดบทเรียนการพฒั นาการจดั การเรยี นรขู้ องครูผูส้ อนวิทยาการค�ำ นวณ 27
โดยใชก้ ระบวนการชมุ ชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวชิ าชพี แบบ COLA MODEL

การจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาการค�ำนวณ มีเป้าหมายท่ีส�ำคัญ
ในการพัฒนาผู้เรียนกล่าวคือเพื่อให้ผู้เรียนมีความสามารถใช้ทักษะการคิด
เชงิ คำ� นวณในการคดิ วเิ คราะห์ แก้ปญั หาอย่างเปน็ ขน้ั ตอนและเปน็ ระบบ มที กั ษะ
ในการค้นหาข้อมูลหรือสารสนเทศ ประเมิน จัดการ วิเคราะห์ สังเคราะห์ และ
น�ำสารสนเทศไปใช้ในการแก้ปัญหา สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ด้านวิทยาการ
คอมพิวเตอร์ ส่ือดิจิทัล เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ในการแก้ปัญหา
ในชวี ติ จรงิ การทำ� งานร่วมกันอย่างสร้างสรรค์เพอ่ื ประโยชน์ต่อตนเองหรอื สังคม
และสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารอย่างปลอดภัย รู้เท่าทัน
มคี วามรับผดิ ชอบมจี ริยธรรม

ในระดับชั้นมัธยมตอนต้นจะเป็นการเรียนการสอนท่ีเน้นการออกแบบ
และการเขียนโปรแกรมอย่างง่าย เพ่ือเป็นการฝึกแก้ไขปัญหาทางคณิตศาสตร์
และวิทยาศาสตร์ไปพร้อม ๆ กัน ส่วนในระดับชั้นมัธยมตอนปลาย จะเป็นการ
ประยกุ ตใ์ ชแ้ นวคดิ เชงิ คำ� นวณ เพอื่ นำ� ไปใชใ้ นการบรู ณาการกบั โครงงานวชิ าอน่ื ๆ
อย่างสร้างสรรค์และมปี ระสิทธภิ าพมากที่สุด

เปา้ หมายของหลักสูตร

การจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาการค�ำนวณ มีเป้าหมายที่ส�ำคัญ
ในการพัฒนาผู้เรยี นดงั นี้

1. เพ่ือใช้ทักษะการคิดเชิงค�ำนวณในการคิดวิเคราะห์แก้ปัญหาอย่างเป็น
ข้ันตอนและเปน็ ระบบ

2. เพื่อให้มีทักษะในการค้นหาข้อมูลหรือสารสนเทศ ประเมิน จัดการ
วเิ คราะห์ สังเคราะห์ และนำ� สารสนเทศไปใช้ในการแก้ปัญหา

3. เพอื่ ประยกุ ตใ์ ช้ความร้ดู ้านวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ สอื่ ดจิ ทิ ลั เทคโนโลยี
สารสนเทศและการส่ือสาร ในการแก้ปัญหาในชีวิตจริง การท�ำงานร่วมกันอย่าง
สร้างสรรค์เพอ่ื ประโยชน์ต่อตนเองหรือสงั คม

4. เพ่ือใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอย่างปลอดภัย รู้เท่าทัน
มีความรับผดิ ชอบ มจี ริยธรรม

28 ถอดบทเรยี นการพัฒนาการจัดการเรียนรูข้ องครผู สู้ อนวิทยาการคำ�นวณ
โดยใช้กระบวนการชมุ ชนแห่งการเรยี นร้ทู างวชิ าชีพ แบบ COLA MODEL

สาระการเรยี นรูเ้ ทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ)

สาระการเรียนรู้เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำนวณ) มุ่งหวังให้ผู้เรียนได้เรียนรู้
และมีทักษะการคิดเชิงค�ำนวณ การคิดวิเคราะห์แก้ปัญหาเป็นขั้นตอนและ
เป็นระบบ ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีสารสนเทศ
และการส่ือสาร ในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ
โดยได้ก�ำหนดสาระสำ� คญั ดงั น้ี

วิทยาการคอมพิวเตอร์ (Computer Science : CS) การแก้ปัญหา
อย่างเป็นขั้นตอนและเป็นระบบ การใช้แนวคิดเชิงค�ำนวณในการแก้ปัญหาใน
ชีวิตประจ�ำวัน การบูรณาการกับวิชาอ่ืน การเขียนโปรแกรมการคาดการณ์
ผลลัพธ์การตรวจหาข้อผิดพลาด การพัฒนาแอปพลิเคชันหรือพัฒนาโครงงาน
อย่างสร้างสรรค์เพอ่ื แก้ปญั หาในชวี ิตจริง

เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร (Information and Communication
Technology : ICT) การรวบรวมข้อมูล การประมวลผล การประเมินผลการ
น�ำเสนอข้อมูลหรือสารสนเทศเพื่อแก้ปัญหาในชีวิตจริง การค้นหาข้อมูลและ
แสวงหาความรบู้ นอนิ เทอรเ์ นต็ การประเมนิ ความนา่ เชอ่ื ถอื ของขอ้ มลู การเลอื กใช้
ซอฟต์แวร์หรือบริการบนอินเทอร์เน็ต ข้อตกลงและข้อก�ำหนดในการใช้สื่อหรือ
แหล่งข้อมลู ต่าง ๆ หลกั การทำ� งานของคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยกี ารสือ่ สาร

ถอดบทเรียนการพฒั นาการจัดการเรยี นรขู้ องครูผ้สู อนวทิ ยาการคำ�นวณ 29
โดยใช้กระบวนการชมุ ชนแห่งการเรยี นรูท้ างวชิ าชีพ แบบ COLA MODEL

การรู้ดิจิทัล (Digital Literacy : DL) การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสอื่ สารอยา่ งปลอดภยั การจดั การอตั ลกั ษณก์ ารรเู้ ทา่ ทนั สอื่ กฎหมายเกย่ี วกบั
คอมพิวเตอร์การใช้ลิขสิทธิ์ของผู้อื่นโดยชอบธรรมนวัตกรรมและผลกระทบ
ของเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารต่อการด�ำเนินชีวิต อาชีพ สังคม และ
วฒั นธรรม

ขอบเขตของรายวชิ าวิทยาการคำ�นวณมีอะไรบ้าง?

การก�ำหนดขอบเขตการเรียนการสอนของวิชาวิทยาการค�ำนวณ
มี 3 องค์ความรู้ ดังน้ี

1. การคิดเชิงค�ำนวณ (computational thinking) เป็นวิธีการคิดและ
แกป้ ญั หาเชงิ วเิ คราะห์ สามารถใชจ้ นิ ตนาการมองปญั หาดว้ ยความคดิ เชงิ นามธรรม
ซง่ึ จะทำ� ใหเ้ ราสามารถเหน็ แนวทางในการแกป้ ญั หาอย่างเปน็ ขนั้ ตอนและมลี ำ� ดบั
วิธีคิดได้ โดยวิธีคิดแบบวิทยาการค�ำนวณน้ี ไม่ใช่เพียงแค่การเขียนโปรแกรม
เพราะภาษาโปรแกรมมีการเปล่ียนแปลงตลอดเวลา แต่จุดประสงค์ท่ีส�ำคัญกว่า
คือการสอนให้เด็กคิดและเช่ือมโยงปัญหาต่างๆ เป็น จนสามารถแก้ปัญหาได้
อย่างเป็นระบบนั่นเอง

2. พน้ื ฐานความรดู้ า้ นเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั (digital technology) เปน็ การสอน
ให้รู้จักเทคนคิ วิธีการต่าง ๆ เก่ียวกบั เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั โดยเฉพาะในยุคไทยแลนด์
4.0 จะเน้นในด้านระบบอตั โนมตั ิ (Automation) ทอ่ี ย่ใู นชวี ติ ประจำ� วนั ไม่ว่าจะเปน็
ด้านการเกษตร อุตสาหกรรม หรือคมนาคม ให้เด็ก ๆ ได้เรียนรู้อย่างรอบด้าน
และนำ� มาประยุกต์ใช้งานได้อย่างเหมาะสม

3. พนื้ ฐานการรู้เท่าทนั สื่อและขา่ วสาร (media and information literacy)
เป็นทักษะเกี่ยวกับการรู้เท่าทันส่ือและเทคโนโลยีดิจิทัล แยกแยะได้ว่าข้อมูลใด
เปน็ ความจรงิ หรอื ความคดิ เหน็ โดยเฉพาะขอ้ มลู บนสอ่ื สงั คมออนไลน์ นอกจากน้ี
ยังเป็นเรื่องของความปลอดภัยในโลกไซเบอร์ รู้กฎหมายและลิขสิทธิ์ทางปัญญา
ต่าง ๆ เพ่อื ให้เดก็ ใช้ช่องทางนไ้ี ด้อย่างรู้เท่าทนั และปลอดภยั มากทีส่ ดุ

จากท่ีกล่าวมาข้างต้นสรุปได้ว่า วิทยาการค�ำนวณเป็นรายวิชาพื้นฐาน
ในกลุ่มสาระการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซ่ึงมีเป้าหมายพัฒนาผู้เรียน
ให้ใช้ทักษะการคดิ เชิงคำ� นวณสามารถคดิ วเิ คราะห์ แก้ปัญหา อย่างเปน็ ขน้ั ตอน
และเป็นระบบ สามารถค้นหาข้อมูล หรือสารสนเทศ ประเมิน จัดการ วิเคราะห์

30 ถอดบทเรยี นการพัฒนาการจดั การเรียนรขู้ องครูผู้สอนวทิ ยาการค�ำ นวณ
โดยใชก้ ระบวนการชุมชนแหง่ การเรยี นร้ทู างวชิ าชีพ แบบ COLA MODEL

สังเคราะห์ และน�ำสารสนเทศไปใช้ในการแก้ปัญหาประยุกต์ใช้ความรู้ในการ
แก้ปญั หาในชวี ติ จรงิ และทำ� งานร่วมกนั อย่างสร้างสรรค์ ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ
และการสอ่ื สารอย่างปลอดภัย รู้เท่าทัน มคี วามรับผดิ ชอบ มจี ริยธรรม

ตัวช้ีวัดวิทยาการค�ำ นวณ ระดับมธั ยมศึกษา
เทคโนโลยสี ารสนเทศ
และการส่อื สาร
ระดบั ชนั้ วิทยาการคอมพวิ เตอร์ (Information and การรูด้ ิจิทัล
(Computer Science : CS) Communication (Digital Literacy : DL)

Technology : ICT)

ม.1 1. ออกแบบอัลกอรทิ ึมทใ่ี ช้ 3. รวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ 4. ใช้เทคโนโลยี
หแแ2โทแป.กกนรำ� รองอื้ป้ปวแาคอวญััญกนิทิดกหรหทยเแมชาาพ่ีาบิงทอหศบบนยาราใแางือ่านสลมงอชคตะงธธวีณร่าเริตบิข์ยรติยีจามศเนยรพางิกเพ่อืสา่ือตรร์ นบหซปวสัตอา�ำลนรรเถะฟาอสสมปุกนิตนนวหรเ์แอทลเะลวทขสผอรา้อศงลร์หยมตค์เรนปลูา์โอื ็ตดมรแบทยะลรเใ่ีะมกิชนิ้ารผล ปแกสหำ�าลหรลอสน่งดนขดภ้อเแยัทมลศใลูะชอขต้สย้อาอ่ื่ามตงแขกล้อละง

ม.2 1. ออกแบบอลั กอรทิ มึ ทีใ่ ช้ 3. อภิปรายองค์ประกอบ 4. ใช้เทคโนโลยี
โ2แแฟทป.นกี่พังรอก้ปวบแคอ์ชญั ใกิดนักนรหเใแชมชนาบวี งิทหกติบค่ใีราจแชำ�ือรรลน้ตแกงิ ะวรกาเรณ้ปรขกทยีญัใะน�ำนแหงกลาาาะนร เรกใแเทบชะลา้งือค้บระางโสบหนนตื่อคลหโ้นสลอกั รายมกอื รีาพแเรพกวิ ทเ้ป่อื ตำ� ัญปองรารหะน์แายขลุกอะตง์ แปผแสพสิดาลรดชรอส่ผองดนสลบภเทิงสยัทาธรมศนิใ์้าคีอนงวยกแา่าาลมงระรเผับย

ม.3 1ม.กี พาฒัรบนรู าณแอากปาพรลกเิ ับควชชินั าทอ่ี ื่น 2ป.รระวมบวรลวผมลขป้อรมะูลเมนิ เ3ช.อ่ื ปถรอื ะขเมอินงขค้อวมามลู น่า
อย่างสร้างสรรค์ หผแบซวตัลลอลนถะฟนาอสุปยำ�นิตาเรเ์แสทระวนสสอรอนงร์หขคเ์เรทน้อ์โอื ต็ศดมบทตยูลรใาห่ี กิชมล้าารก รวข4สใปชะิเ.่าาลค้งทวใรอารชสสบดนา้เานจทะภอรเาคหยยัททกโ์ส่าแศ่ผีนกงอ่ืลอิดโารแะลยเรู้เพมลทย่าใหะคีอ่ืง่าี ผว้ทกลานัามกร

รปบัฏผิบดิ ัตชิตอาบมตก่อฎสหังมคามย
เใกช้ลี่ยวิขกสบัทิ คธข์ิออมงพผวิ ู้อเต่ืนอร์
โดยชอบธรรม
ถอดบทเรยี นการพฒั นาการจัดการเรียนรูข้ องครผู สู้ อนวิทยาการคำ�นวณ
โดยใช้กระบวนการชมุ ชนแห่งการเรยี นรทู้ างวชิ าชีพ แบบ COLA MODEL 31

ระดบั ชัน้ (CวoิทmยpาuกtาeรrคSอciมeพncวิ eเต: อCรS์) เทT(คCIeแnoโcลfนhmoะโnrmกลmoายluaoรสีntgสiiาoycอ่ืรna:สสtaiIานoCnรเnTdท)ศ (DigiกtaาlรLรitูด้erิจaทิcyัล: DL)
ม.4 ปคงาำ�รนนะทยว่ีมุกณตีกใ์ใานชรก้แบานูรรวณพคฒัาดิ กเนชาารงิ โกคบั รง
แวิชลาะอเชืน่ อ่ื อมยโ่ายงงสกรบั ้าชงวีสิตรจรรคิง์
ม.5 รวบรวมวเิ คราะห์ข้อมูล
แวสปสิทลอาื่ญั รยะดหสใาจิ ชานกทิ ้คหาเลัทวรรเาศือคทมใเอคพนรมโู้ดก่มิ นพ้าามโวินรลลู เแยตคกีอ่า้ ร์
ใผหล้กิตบั ภบณั รฑกิ า์ทร่ใี หช้ใรนอื ชีวติ
จรงิ อย่างสร้างสรรค์
ม.6 ปใแใสชนบาลเ้ กรท่งอสาคปดนรโันภนเนทขัยโำ� ลศ้อมเยสมจี ีนลู รออยิ แยธล่ารงะรม
แกลาระเวปิเคลรยี่ านะแหป์ ลง
ทเที่มคีผโลนตโล่อยกสี าารรดส�ำนเนเทนิ ศ
ชวัฒวี ิตนอธารชรพี มสังคมและ

32 ถอดบทเรียนการพัฒนาการจดั การเรยี นรขู้ องครูผู้สอนวิทยาการคำ�นวณ
โดยใชก้ ระบวนการชุมชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวิชาชพี แบบ COLA MODEL

ตอนที่ 3

ชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ทางวิชาชพี
Professional Learning Community

(PLC)



ตอนท่ี 3

ชุมชนแห่งการเรียนรูท้ างวชิ าชีพ
Professional Learning Community (PLC)

PLC (Professional Learning Community) หมายถึง การรวมตัว
รว่ มใจ ร่วมพลงั ร่วมทำ� และรว่ มเรยี นร้รู ่วมกนั ของครู ผบู้ รหิ ารและนกั การศกึ ษา
บนพน้ื ฐานวฒั นธรรมความสมั พนั ธแ์ บบกลั ยาณมติ ร สคู่ ณุ ภาพการจดั การเรยี นรู้
ท่ีเน้นความส�ำเร็จหรือประสิทธิผลของผู้เรียนเป็นส�ำคัญ และความสุขของ
การท�ำงานร่วมกนั ของสมาชกิ ในชุมชน

ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community :
PLC) เป็นกระบวนการพัฒนาวิชาชีพครู ที่เร่ิมต้นด้วยค�ำถาม หรือประเด็นท่ี
เป็นปัญหาการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นจุดเริ่มต้น ขับเคล่ือนด�ำเนินการพัฒนาจาก
การมสี ว่ นรว่ มของสมาชกิ ในทมี ทมี่ ารวมตวั กนั มกี ระบวนการสอ่ื สารอยา่ งใกลช้ ดิ
ระหว่างเพ่ือนครูด้วยกันอย่างต่อเนื่องและเรียนรู้ ท�ำความเข้าใจปัญหาและ
กระบวนการพัฒนาที่ก้าวหน้าอย่างต่อเนื่องร่วมกัน ทุกอย่างใช้การเรียนรู้ของ
ผู้เรียนเป็นตัวตั้งเป้าหมายที่ส�ำคัญท่ีสุดและถือว่าการปฏิบัติการ คือ การวิจัย
เชงิ ปฏบิ ตั กิ าร

ถอดบทเรยี นการพฒั นาการจัดการเรยี นรู้ของครผู ู้สอนวิทยาการค�ำ นวณ 35
โดยใช้กระบวนการชุมชนแห่งการเรยี นรทู้ างวิชาชพี แบบ COLA MODEL

แงม่ ุมทีส่ �ำ คญั ในการ PLC เพือ่ พัฒนาการจัดการเรียนรู้

PLC เปน็ กระบวนการตอ่ เนอ่ื งทค่ี รแู ละนกั การศกึ ษาทำ� งานรว่ มกนั ในวงจร
ของการร่วมกนั ตงั้ คำ� ถาม และการทำ� วิจัยเชงิ ปฏิบัตกิ าร เพ่อื บรรลผุ ลการเรียนรู้
ทดี่ ขี นึ้ ของนกั เรยี น โดยมคี วามเชอื่ วา่ หวั ใจของการพฒั นาการเรยี นรขู้ องนกั เรยี น
ให้ดขี นึ้ อยทู่ ก่ี ารเรยี นรทู้ ฝ่ี งั อยใู่ นการทำ� งานของครแู ละนกั การศกึ ษา โดยมแี ง่มมุ
ท่ีส�ำคญั ในการ PLC ดงั น้ี (วจิ ารณ์ พานชิ , 2555)

◆ เน้นท่กี ารเรยี นรู้
◆ มวี ฒั นธรรมร่วมมอื กนั เพ่อื การเรียนรู้ของทุกคน ทุกฝ่าย
◆ ร่วมกันตง้ั คำ� ถามต่อวิธกี ารทีด่ ี และตั้งค�ำถามต่อสภาพปจั จุบัน
◆ เน้นการลงมอื ทำ�
◆ มุ่งพฒั นาต่อเน่อื ง
◆ เน้นท่ผี ล (หมายถงึ ผลสัมฤทธใ์ิ นการเรียนรู้ของศิษย์)

PLC กบั การพฒั นาการจดั การเรยี นรรู้ ายวชิ าเทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ)

PLC (Professional Learning Community) เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้
วิทยาการค�ำนวณ หมายถึง การรวมกลุ่มของครูผู้สอนที่เกี่ยวข้องกับการจัด
การเรียนรู้รายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการค�ำนวณ) เพื่อร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
หรือหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาการจัดการเรียนรู้วิทยาการค�ำนวณ น�ำไปสู่
การปรับปรุงพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้วิทยาการค�ำนวณ ส่งผลให้ผู้เรียน
เกิดการเรียนรู้ ทักษะ สมรรถนะ และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนท่ีดีขึ้นรวมทั้ง
การจัดระบบส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดวัฒนธรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และ
การท�ำงานร่วมกันของครูอย่างต่อเนื่อง เกิดเป็นวงจรคุณภาพในการท�ำงาน
พฒั นาการจดั การเรยี นรู้ของครใู นสถานศึกษาต่อไป

36 ถอดบทเรยี นการพัฒนาการจัดการเรยี นรขู้ องครผู ู้สอนวทิ ยาการค�ำ นวณ
โดยใช้กระบวนการชมุ ชนแห่งการเรียนร้ทู างวชิ าชีพ แบบ COLA MODEL

ขน้ั ตอนการน�ำ PLC สู่การปฏบิ ตั ใิ นสถานศึกษา
การวิเคราะห์ปัญหาในการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำ�นวณเพ่ือการ
PLC ทีต่ อบโจทย์และมีประสิทธิภาพ

ถอดบทเรียนการพัฒนาการจดั การเรยี นรูข้ องครผู ู้สอนวทิ ยาการค�ำ นวณ 37
โดยใชก้ ระบวนการชุมชนแหง่ การเรียนรู้ทางวชิ าชีพ แบบ COLA MODEL

แนวทางการบันทึกหลังแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อให้เกิดประเด็น
การ PLC ท่มี ีประสทิ ธภิ าพ

◆ เสนอประเดน็ การจดั การเรยี นรซู้ ง่ึ สง่ ผลกระทบตอ่ การเรยี นร้ขู องผเู้ รยี น
◆ ระบุปัญหาทเ่ี กดิ ขึ้นโดยมหี ลักฐาน / เหตผุ ลหลายอย่างประกอบ
◆ หยบิ ยกประเดน็ การสอนอย่างมหี ลักการของแต่ละเร่อื ง
◆ แสดงความพอใจในผลการสอนทบ่ี ง่ ใหเ้ หน็ ถงึ ความตระหนกั ในขอ้ จำ� กดั /
ข้อปรับปรงุ ของงาน
◆ เสนอกระบวนการในการปรับเปล่ียนกระบวนการจัดการเรียนรู้ตาม
ความรู้ / หลักการทต่ี นมี

3 คำ� ถามทสี่ ำ� คญั ของการ PLC ในรายวชิ าเทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ� นวณ)

38 ถอดบทเรียนการพฒั นาการจดั การเรยี นรขู้ องครูผสู้ อนวทิ ยาการคำ�นวณ
โดยใชก้ ระบวนการชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ แบบ COLA MODEL

ถอดบทเรยี นการพัฒนาการจัดการเรียนรูข้ องครผู ้สู อนวิทยาการค�ำ นวณ 39
โดยใช้กระบวนการชุมชนแหง่ การเรียนรู้ทางวชิ าชพี แบบ COLA MODEL



แนวใกทนาากรงาเกรรยีาดรนำ�ดรเนต�ำู้วินเทิ นอกยนิ าานงรกาทพานรฒั่ีขค4อนำ�งนาสควถณุณาดภนว้ศายพกึ ษา

COLA/COPA Model


Click to View FlipBook Version