คำนำผู้เขยี น
“กรุงศรีอยุธยา” ราชธานีที่ยิ่งใหญ่ของคนไทย ดำรงความเป็นราชธานีได้ยาวนานถึง ๔๑๗ ปี มี
พระมหากษัตริย์ปกครอง ๕ ราชวงศ์ รวม ๓๓ พระองค์ ตลอดช่วงเวลาที่ยาวนานนี้ได้สั่งสมศิลปวัฒนธรรม
ประเพณีที่งดงามไว้มากมาย แม้ว่ากรุงศรีอยุธยาจะถึงกาลที่ต้องล่มสลาย แต่มรดกเหล่านั้นมิเคยล่มสลายลง
เลยแม้แต่น้อย ยังคงถ่ายทอดสู่อาณาจักรของคนในยุคต่อมา ทั้งธนบุรีและรัตนโกสินทร์ เป็นต้นแบบและเป็น
รากเหง้าของคนไทยในปัจจุบัน ปรากฏหลักฐานผ่านโบราณสถาน โบราณวัตถุต่างๆมากมายจนได้รับการ
ยกย่องจากองค์การยูเนสโกให้เป็นมรดกโลก ซึ่งเป็นสิ่งที่เราคนไทยภาคภูมิใจและพร้อมที่จะรักษาให้คงอยู่
สบื ไป
ผู้เรียบเรียงหนังสือ “กรุงศรีอยุธยา เมืองท่าแห่งอุษาคเนย์” เป็นหนึ่งในผู้ที่มีความสนใจใน
ประวัตศิ าสตรไ์ ทยเปน็ อย่างมาก โดยเฉพาะประวตั ิศาสตร์กรุงศรีอยุธยา และเมื่อได้เขา้ รว่ มการแข่งขันรายการ
ประวัติศาสตร์เพชรยอดมงกุฎ ทำให้ได้ศึกษาเรื่องราวของประวัติศาสตร์มากยิ่งขึ้น จึงได้จัดทำหนังสือเล่มนี้
ขึ้นมา โดยเรียบเรียงจากเอกสารอ้างอิง อาทิ พงศาวดาร สามารถทำให้เข้าใจได้ง่ายยิ่งขึ้น ตามแบบฉบับของ
นกั เรยี นสู่นักเรียน เพือ่ เป็นประโยชน์กับผู้ทสี่ นใจในประวตั ศิ าสตรอ์ ยธุ ยาทกุ ท่าน
ผู้เรียบเรียงเขียนหนังสือเล่มนี้ขึ้นมาด้วยความสนใจและรักในการศึกษาประวัติศาสตร์อยุธยา จึงเช่ือ
เปน็ อย่างย่งิ ว่าหนังสือเล่มนจ้ี ะเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านทุกท่านไม่มากก็น้อย และขอขอบคุณผู้ที่มีส่วนเก่ียวข้อง
ทุกทา่ น ทีท่ ำให้หนังสือเล่มน้สี ำเร็จลลุ ่วงทกุ ประการ หากผิดพลาดประการใดผู้เรียบเรียงขออภัยอยา่ งสูงมา ณ
โอกาสนี้
ภูมินทร์
บทท่ี ๑
ปฐมบทพระนคร กษตั ริย์ ราชวงศด์ ำรงความร่งุ เรอื ง
สถาปนากรุงศรีอยธุ ยาข้ึนเป็นราชธานี บริเวณหนองโสนหรือบงึ พระราม ซ่งึ คอื วัดพระศรีสรรเพชญ์ใน
ปัจจุบัน พอได้ฤกษ์อันเป็นมงคลเเล้ว จึงทำพิธีกลบบาตรขึ้น ขุดพบสังข์ทักษิณาวัตรใต้หมัน จึงสร้างเมืองตาม
ลักษณะอนั เป็นมงคลของสงั ข์ท่ีพบนน้ั เร่มิ สร้างมหาปราสาทขึน้ ๓ หลัง คือพระท่นี ่งั ไพฑรู ณม์ หาปราสาท พระ
ทนี่ ่ังไพชยนตม์ หาปราสาท เเละพระทนี่ งั่ ไอศวรรยม์ หาปราสาท
ตามพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ ซึ่งเชื่อกันว่าเป็นพงศาวดารที่มี
ความถกู ตอ้ งมากทสี่ ุด กล่าววา่ มกี ารสถาปนากรงุ ศรีอยุธยาข้ึนวนั ศุกร์ท่ี ๔ มนี าคม ขนึ้ ๖ ค่ำเดือน ๕ ปีขาลโท
ศก เวลา ๓ นาฬิกา ๙ บาท ( ๑ บาท เท่ากับ ๖ นาที ตรงกับเวลา ๓ นาฬิกา ๕๔ นาที) พุทธศักราช ๑๘๙๓
โดยมปี ฐมกษตั ริย์ คือ สมเด็จพระรามาธิบดีท่ี ๑ (พระเจา้ อูท่ อง)
เรื่องราวของกษัตริย์และราชวงศ์ที่ปกครองกรุงศรีอยุธยานั้น มีความน่าสนใจเป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะ
เป็นพระราชประวัติและเหตุการณ์สำคัญต่างในแต่ละรัชกาล อันเนื่องมาจากหลักฐานต่างๆ ที่บันทึกเรื่องราว
ในอดีตนั้น จะเป็นหลักฐานที่เราเรียกกันว่าว่า “พงศาวดาร” เป็นส่วนมาก และเรื่องราวที่ปรากฏก็จะเป็น
เรื่องราวของพระมหากษัตริย์เป็นส่วนใหญ่อีกด้วย จึงทำให้หลักฐานประเภทพงศาวดารนี้ ได้รับการนำมาใช้
เรียบเรียงเหตุการณ์ในอดีต ควบคู่ไปกับการศึกษาหลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น โบราณสถาน
โบราณวตั ถุ เป็นตน้
พระมหากษัตริย์ที่ปกครองกรุงศรีอยุธยาทุกพระองค์ ทรงอยู่ในฐานะที่เรียกว่า " สมมติเทพ" ตาม
หลักของศาสนาฮินดู ซึ่งรับอิทธิพลจากอินเดีย ผ่านอาณาจักรขอม ตั้งเเต่เมื่อครั้งสถาปนากรุงศรีอยุธยาเป็น
ราชธานี สมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ เห็นได้จากพระนามของกษัตริย์ที่มาจากการอวตานของเทพเจ้าองค์
ตา่ งๆ อาทิ
พระนารายณ์(วษิ ณุ) : พระนารายณม์ หาราช พระรามาธบิ ดี
พระอนิ ทร์ : พระอินทราชาธริ าช
พระนารายณ์เเละพระอิศวร: พระราเมศวร พระนเรศวร เปน็ ตน้
ถึงเเม้ว่าคติสมมติเทพนี้ จะยกย่องให้พระมหากษัตริย์ทรงมีสถานะดุจดังเทพเจ้า มีอำนาจล้นพ้น
สามารถที่จะลิขิตชีวิตของประชาราษฎรทั้งปวงได้ ราษฎรเองก็ต้องยกย่องเทิดทูนพระมหากษัตริย์ ผู้ใดจะ
ละเมิดมิได้ เเต่อำนาจน้ีก็ถูกจำกัดอยู่ภายใต้คติ " ธรรมราชา" ที่รับอิทธิจากสุโขทัย คือการปกครองด้วย
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ประกอบด้วย ทศพิธราชธรรม จักรวรรดิวัตร ธรรมมะ๔ ประการ เเละพระ
ราชจรรยานุวัติ ปกครองบ้านเมืองด้วยเมตตาธรรม ยุติธรรมให้อาณาประชาราษฎร์ร่มเย็นเป็นสุข ปรากฎ
พระนามที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา อาทิ พระบรมไตรโลกนาถ พระมหาจักรพรรดิ พระมหาธรรมราชา
พระเจ้าทรงธรรม เปน็ ต้น
บทบาทหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ในฐานะประมุขของอาณาจักร คือ เมื่อยามเกิดศึกสงครามก็ทรง
เป็นจอมทัพออกรบ ยามบ้านเมืองสงบสุขก็ต้องทะนุบำรุงศลิ ปวัฒนธรรมให้เจริญรุ่งเรือง ดังเห็นได้จากกษัตริย์
อยุธยาทุกพระองค์มักจะสร้างสิ่งก็สร้างที่ใหญ่โต โดยเฉพาะวัดวาอาราม พระที่นั่งองค์ต่างๆ นอกจากเหตุผล
ข้างต้นแล้ว ยังเป็นการเเสดงพระบรมเดชานุภาพในการปกครองบ้านเมืองจนเจริญรุ่งเรือง ให้เป็นที่ประจักษ์
และเกรงพระบารมขี องรัฐอน่ื ๆอีกดว้ ย กลา่ วได้วา่ พระมหากษตั ริย์ทรงเป็นทงั้ พระเจ้าแผน่ ดนิ เจา้ ชีวิต นัน่ เอง
ดังนั้นแม้จะทรงเป็นสมมติเทพหรือธรรมราชา ก็มิได้ทรงมีบทบาทต่างกันแต่อย่างใด เพราะทุก
พระองคท์ ค่ี รองราชย์ ย่อมปกครองเพ่ือประโยชนส์ ขุ ของราษฎรดว้ ยกันทง้ั สิ้น
ตลอดระยะเวลา ๔๑๗ ปขี องราชธานีที่ยิ่งใหญ่ นามว่า“กรุงศรีอยุธยา" มรี าชวงศป์ กครอง ๕ ราชวงศ์
พระมหากษัตรยิ ์ ๓๓ พระองค์ สรปุ ได้ดงั น้ี
ราชวงศ์
๑. ราชวงศ์อ่ทู อง
▪สถาปนาโดย สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ (พระเจ้าอู่ทอง) พร้อมกับการถือกำเนิดขึ้นของอยุธยา
พ.ศ.๑๘๙๓
▪ มีกษัตริย์เพียง ๓ พระองค์ ประกอบด้วย สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ สมเด็จพระราเมศวร และ
สมเดจ็ พระรามราชาธิราช
▪ในระยะเวลาเพยี ง ๔๑ ปี ถอื ว่าเป็นราชวงศ์ทีป่ กครองอยุธยาส้ันทส่ี ุด
▪ส้นิ สดุ ในพ.ศ.๑๙๕๒ อันเนือ่ งมาจากสมเด็จพระรามราชาธริ าช กษัตริย์พระองคส์ ุดท้ายของราชวงศ์
อู่ทอง ถูกสมเด็จพระอินทราชาจากราชวงศ์สพุ รรณภูมิ ยึดอำนาจถอดออกจากราชสมบัติให้ไปอยู่ท่ีปทาคจู าม
(สมเด็จพระรามราชาธิราชเปน็ พระมหากษัตริย์ ๑ ใน ๒ พระองคร์ องจากสมเดจ็ พระราเมศวรคร้ังที่๑ ที่ถูกยึด
อำนาจราชวงศ์สุพรรณภูมิเหนือราชวงศ์อู่ทองอย่างเด็ดขาดสมบูรณ์ หลังจากสลับกันขึ้นมีอำนาจของ ๒
ราชวงศ์ในช่วงต้นกรุงศรีอยธุ ยา
ผงั เครือญาติราชวงศ์อ่ทู อง
สมเดจ็ พระรามาธิบดีท่ี ๑
สมเด็จพระราเมศวร
พระราชโอรสของสมเดจ็ พระรามาธิบดีท่ี ๑
สมเดจ็ พระรามราชา
พระราชโอรสของสมเดจ็ พระราเมศวร
๒. ราชวงศส์ พุ รรณภมู ิ
▪สถาปนาโดย สมเดจ็ พระบรมราชาธริ าชท่ี ๑(ขุนหลวงพะงว่ั )
▪มพี ระมหากษัตริย์ ๑๓ พระองค์ ดังนี้
๑.สมเดจ็ พระบรมราชาธริ าชท่ี ๑ ๘. สมเด็จพระบรมราชาธิราชท่๔ี (หน่อพทุ ธางกรู )
๒.พระเจ้าทองลนั ๙. สมเดจ็ พระรัษฎาธิราช
๓.สมเดจ็ พระอนิ ทราชาธริ าช(เจ้านครอินทร)์ ๑๐.สมเด็จพระไชยราชาธริ าช
๔.สมเดจ็ พระบรมราชาธิราชท่ี ๒ เจา้ สามพระยา ๑๑.สมเดจ็ พระยอดฟา้
๕.สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ๑๒.สมเดจ็ พระมหาจกั รพรรดิ
๖.สมเดจ็ พระบรมราชาธิราชที่ ๓ ๑๓.สมเด็จพระมหนิ ทราธิราช
๗.สมเดจ็ พระรามาธบิ ดที ี่ ๒
▪ปกครองยาวนานถึง ๑๗๗ ปี ถือว่าเป็นราชวงศ์ที่ปกครองอยุธยายาวนานที่สุด มี
พระมหากษตั ริยม์ ากท่สี ุด
▪การสนิ้ สุดราชวงศ์ เกิดขน้ึ ในสมยั พระมหินทราธิราช พรอ้ มกับการเสียกรุงคร้ังที่ ๑ เเก่พม่า
พทุ ธศักราช ๒๑๑๒
ผังเครือญาตริ าชวงศส์ พุ รรณภมู ิ
ราชวงศส์ พุ รรณภูมิชว่ งที่ ๑ ( ๑๘ ปี )
สมเด็จพระบรมราชาธริ าชท่ี ๑
(ปฐมกษตั รยิ ร์ าชวงศ์สุพรรณภมู ิ)
สมเดจ็ พระเจ้าทองลัน
พระราชโอรสของสมเด็จพระบรมราชาธริ าชท่ี ๑
ราชวงศส์ พุ รรณภมู ชิ ่วงท่ี ๒(๑๕๙ ปี)
สมเดจ็ พระนครินทราธิราช
(หลานของสมเดจ็ พระบรมราชาธิราชท่ี ๑)
สมเด็จพระบรมราชาธริ าชท่ี ๒(เจา้ สามพระยา)
(พระราชโอรสของสมเดจ็ พระนครรินทราธิราช)
สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ
(พระราชโอรสของสมเดจ็ พระบรมราชาธิราชที่ ๒)
สมเดจ็ พระบรมราชาธิราชที่ ๓ สมเด็จพระรามาธบิ ดที ี่ ๒
(พระราชโอรสของสมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ) (พระราชโอรสของสมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ)
สมเดจ็ พระบรมราชาธริ าชที๔่ สมเดจ็ พระไชยราชาธิราช สมเดจ็ พระมหาจักรพรรดิ
(โอรสสมเดจ็ พระรามาธิบดีที่ ๒) (โอรสสมเด็จพระรามาธบิ ดที ่ี ๒) (โอรสสมเด็จพระรามาธบิ ดีที่ ๒)
สมเด็จพระรัษฎาธริ าช สมเดจ็ พระยอดฟ้า สมเด็จพระมหินทราธิราช
โอรสสมเดจ็ พระบรมราชาธริ าชท๔่ี โอรสสมเดจ็ พระไชยราชาธิราช โอรสสมเด็จพระมหาจกั รพรรดิ
๓. ราชวงศส์ โุ ขทยั
▪สถาปนาโดย สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชท่ี ๑ เมื่อพระเจ้าบุเรงนองยึดกรุงศรีอยุธยา
ในพุทธศกั ราช ๒๑๑๒ จึงต้ังสมเด็จพระมหาธรรมราชาขึน้ ปกครองในฐานะเมืองข้ึนของพมา่
▪ราชวงศส์ โุ ขทยั ปกครอง ๖๐ ปี มกี ษัตรยิ ์ ๗ พระองค์ ดังนี้
๑.สมเดจ็ พระมหาธรรมราชา ๕.สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม
๒.สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช ๖.สมเด็จพระเชษฐาธริ าช
๓.สมเดจ็ พระเอกาทศรถ ๗.สมเด็จพระอาทติ ยวงศ์
๔.สมเด็จพระศรเี สาวภาคย์
▪สิ้นสุดในพ.ศ.๒๑๗๒ ตรงกับสมัยของพระอาทิตยวงศ์ ถูกถอดออกจากราชสมบัติและต่อมา
ถกู ปลงพระชนมโ์ ดยพระเจา้ ปราสาททอง
ผงั เครอื ญาติราชวงศส์ โุ ขทยั
สมเดจ็ พระมหาธรรมราชา
(ปฐมกษัตริย์ราชวงศ์สโุ ขทยั )
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช สมเดจ็ พระเอกาทศรถ
(โอรสของสมเด็จพระมหาธรรมราชา) (โอรสของสมเด็จพระมหาธรรมราชา)
สมเดจ็ พระศรเี สาวภาคย์ สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม
(โอรสของสมเดจ็ พระเอกาทศรถ) (โอรสของสมเด็จพระเอกาทศรถ)
สมเดจ็ พระเชษฐาธริ าช สมเดจ็ พระอาทิตยวงศ์
(โอรสของสมเดจ็ พระเจา้ ทรงธรรม) (โอรสของสมเดจ็ พระเจ้าทรงธรรม)
๔. ราชวงศ์ปราสาททอง
▪สถาปนาโดย สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง เมื่อครั้งยังเป็นออกญากลาโหมศรีสุริยวงศ์ ได้ยึดอำนาจ
จากพระเชษฐาธริ าช เเล้วสถาปนาพระอาทิตยวงศ์ข้ึนเป็นกษัตรยิ เ์ เทน เเต่ด้วยความที่พระอาทิตยวงศ์ ยังทรง
พระเยาว์จึงออกว่าราชการงานบ้านเมืองไม่ได้ ทำให้ออกญากลาโหมได้ยึดอำนาจอีกครั้ง สถาปนาตนขึ้นเป็น
กษตั ริย์นามว่า " พระเจา้ ปราสาททอง" พรอ้ มกบั การเร่ิมต้นราชวงศ์ปราสาทองในพ.ศ.๒๑๗๒
▪มีพระมหากษัตริย์ ๔ พระองค์ ประกอบด้วย สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง สมเด็จเจ้าฟ้าไชย
สมเด็จพระศรสี ุธรรมราชา และสมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช
▪สิ้นสุดในพ.ศ.๒๒๓๑ หลังจากที่สมเด็จพระนารายณ์มหาราชสวรรคต พร้อมกับการเกิดจลาจลกับ
ชาวฝรัง่ เศส ทำใหพ้ ระเพทราชา เจา้ กรมคชบาล เปน็ ผ้กู ำจัดฝรั่งเศสออกจากอยุธยา. เเละไดก้ ำจัดผู้ที่มีโอกาส
จะเปน็ กษตั รยิ ์ต่อจากพระนารายณ์จนหมดส้ิน ท้ังพระปยี ์ เจ้าฟ้านอ้ ย เจา้ ฟา้ อภยั ทศ จากนน้ั ก็สถาปนาตนข้ึน
เป็นกษัตรยิ ์ สถาปนาราชวงศ์บา้ นพลหู ลวงข้นึ
▪ ปกครอง ๕๙ ปี
ผังเครือญาตริ าชวงศป์ ราสาททอง
สมเดจ็ พระเจ้าปราสาททอง สมเด็จพระศรีสุธรรมราชา
ปฐมกษตั รยิ ร์ าชวงศป์ ราสาททอง อนุชาของสมเด็จพระเจา้ ปราสาททอง
สมเด็จเจ้าฟ้าไชย สมเด็จพระนารายณม์ หาราช
(โอรสของสมเดจ็ พระเจา้ ปราสาททอง) (โอรสของสมเดจ็ พระเจา้ ปราสาททอง)
๕. ราชวงศ์บ้านพลหู ลวง
▪สถาปนาโดย สมเดจ็ พระเพทราชา ในพ.ศ.๒๒๔๖
▪คำว่า " บ้านพลูหลวง " มาจากนิวาสถานถิ่นกำเนิดเดิมของพระเพทราชา คือ บ้านพลูหลวง แขวง
เมอื งสุพรรณบรุ ี
▪ราชวงศบ์ ้านพลูหลวงปกครอง ๗๙ ปี มกี ษตั รยิ ์ ๖ พระองคป์ ระกอบดว้ ย
๑.สมเดจ็ พระเพทราชา ๔.สมเด็จเจา้ อยู่หวั บรมโกศ
๒.สมเด็จพระสรรเพชญ์ท่ี ๘ พระเจ้าเสอื ๕.สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร
๓.สมเด็จพระเจ้าอย่หู วั ท้ายสระ ๖.สมเด็จพระเจ้าเอกทศั น์
▪การสิ้นสุดราชวงศ์ :ตรงกับพ.ศ.๒๓๑๐ สมัยพระเจ้าเอกทัศน์ พร้อมกับการเสียกรุงครั้งที่ ๒ ให้เเก่
พม่า ถือเป็นการยุตบิ ทบาทของอยธุ ยาในฐานะราชธานีลงอยา่ งสมบรู ณ์
ผงั เครือญาติราชวงศบ์ า้ นพลูหลวง
สมเดจ็ พระเพทราชา
(ปฐมกษัตรยิ ์ราชวงศ์บ้านพลูหลวง)
สมเดจ็ พระสรรเพชญท์ ี่ ๘ พระเจ้าเสอื
(โอรสของสมเดจ็ พระเพทราชา)
สมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัวทา้ ยสระ สมเด็จเจ้าอยหู่ ัวบรมโกศ
(โอรสของสมเดจ็ พระเจา้ เสอื ) (โอรสของสมเด็จพระเจา้ เสือ)
สมเด็จพระเจา้ อทุ ุมพร สมเด็จพระเจา้ เอกทัศน์
(โอรสของสมเดจ็ เจา้ อยู่หวั บรมโกศ) (โอรสของสมเด็จเจ้าอยหู่ วั บรมโกศ)
จุดเนน้ ความนา่ สนใจของราชวงศ์ในอยุธยา
ความสำคัญ ราชวงศ์
๑.ราชวงศ์เเรกสดุ ของอยธุ ยา ราชวงศ์อู่ทอง
๒.ราชวงศส์ ุดท้ายของอยุธยา ราชวงศบ์ ้านพลูหลวง
๓.ราชวงศ์ทป่ี กครองยาวนานท่ีสดุ ราชวงศ์สพุ รรณภมู ิ ๑๖๐ ปี
๔.ราชวงศ์ทป่ี กครองส้นั ที่สดุ ราชวงศอ์ ู่ทอง ๔๑ ปี
๕.ราชวงศท์ มี่ ีกษัตริยป์ กครองมากทส่ี ุด ราชวงศส์ พุ รรณภมู ิ ๑๓ พระองค์
๖.ราชวงศ์ที่มีกษัตริยป์ กครองนอ้ ยทส่ี ุด ราชวงศ์สพุ รรณภมู ิ ๑๓ พระองค์
๗.ในชว่ งตน้ กรุงศรีอยธุ ยามีการเเย่งชงิ อำนาจกนั ของ ราชวงศอ์ ทู่ องเเละราชวงศส์ ุพรรณภูมิ
๒ ราชวงศ์ ราชวงศ์สุพรรณภมู ิ
๗.การเสียกรงุ ครงั้ ที่ ๑ เป็นการส้ินสุดอำนาจของราชวงศ์
๘.ลำดับการขน้ึ มีอำนาจปกครองของราชวงศ์ในอยุธยา ดงั นี้ อู่ทอง สุพรรณภมู ิ สุโขทัย ปราสาททอง บ้านพลหู ลวง
๙ .ลำดบั ราชวงศท์ ปี่ กครองยาวนานที่สดุ ไปหาน้อยที่สดุ สุพรรณภูมิ บ้านพลูหลวง สโุ ขทัย ปราสาททอง อทู่ อง
พระมหากษัตรยิ ์
ตั้งเเต่การสถาปนากรุงศรีอยุธยาขึ้นเป็นราชธานี้ตั้งเเต่พ.ศ.๑๘๙๓ ถึง พ.ศ.๒๓๑๐ มีกษัตริย์ปกครอง
ทั้งสิ้น ๓๓ พระองค์ การขึ้นครองราชย์ของพระมหากษัตริย์นั้น เมื่อบุคคลใดก็ตามได้ขึ้นครองราชย์เป็น
พระมหากษัตริย์ปกครองบ้านเมืองก็จะต้องผ่านพระราชพิธีที่สำคัญคือ " พระราชพิธีบรมราชาภิเษก" ไม่ว่า
ว่ากษัตริย์พระองค์นั้นจะปราบดาภิเษกหรือสืบราชสันตติวงศ์ก็ตาม พระราชพิธีนี้เป็นหนึ่งในพิธีที่ยกย่องคติ
" สมมตเิ ทพ" ของศาสนาฮนิ ดู เปน็ หนง่ึ ในการ"ราชาภิเษก"
ตามโบราณราชประเพณี ซึ่งระบุว่าการราชาภิเษกของพระมหากษัตริย์มี ๕ ลักษณะตามมูลเหตุของ
การไดม้ าซึ่งอำนาจ ดงั น้ี
๑.อนิ ทราภิเษก เปน็ กษตั ริย์ผู้มีบุญญาธิการเทียบเท่ากับพระอนิ ทร์ เสมอื นพระอนิ ทร์ทรงสถาปนาให้
เป็นกษัตริย์ พระราชพธิ ีอนิ ทราภิเษกน้ึในสมัยอยุธยาจะมีเฉพาะในโอกาสทสี่ ำคัญพิเศษเพื่อส่งเสริมสถานภาพ
ของกษัตรยิ ์องคน์ น้ั ๆ ใหย้ ิ่งใหญ่มากข้ึน
๒.โภคาภิเษก การครองราชย์องกษตั ริยต์ ระกูลพราหมณ์ทบี่ รบิ รู ณด์ ้วยโภไคยไอศุริยสมบัติ
๓.ปราบดาภิเษก เป็นการขึ้นครองราชย์ของกษัตริย์ที่ปราบปรามคู่เเข่งทางราชบัลลังก์ โดยมากมัก
เป็นการยึดอำนาจจากกษัตรยิ อ์ งคก์ ่อนด้วยเเสนยานุภาพในการสงคราม สมัยอยุธยามีกษัตริย์ท่ีปราบดาภิเษก
ท้ังสิ้น ๑๒ พระองคน์ บั รวม"ขุนวรวงศาธิราช" คอื
กษตั ริย์อยุธยาผปู้ ราบดาภิเษก ๑๒พระองค์ ดังน้ี
๑.สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๑ ยดึ อำนาจจากสมเด็จพระราเมศวร
๒.สมเดจ็ พระราเมศวร(คร้ังท่ี ๒) ยดึ อำนาจจากพระเจ้าทองลนั
๓.สมเด็จพระอินทราชา ยึดอำนาจพระรามราชา
๔.สมเด็จพระไชยราชาธริ าช ยึดอำนาจจากพระรัษฎาธิราช
๕.ขนุ วรวงศาธริ าช ยึดอำนาจจากพระแกว้ ฟา้ หรือพระยอดฟ้า
๖.สมเดจ็ พระมหาจกั รพรรดิ ยดึ อำนาจจากขุนวรวงศาธิราช
๗.สมเด็จพระเจา้ ทรงธรรม ยึดอำนาจจากพระศรีเสาวภาคย์
๘.สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง ยดึ อำนาจจากพระเชษฐาธริ าชและพระอาทติ ยวงศ์
๙.สมเดจ็ พระศรสี ุธรรมราชา ยึดอำนาจจากเจา้ ฟ้าไชย
๑๐.สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช ยดึ อำนาจจากพระศรีสธุ รรมราชา
๑๑.สมเด็จพระเพทราชา ยดึ อำนาจจากสมเดจ็ พระนารายณ์
๑๒.สมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั บรมโกศ ทำสงครามกลางเมืองกบั เจา้ ฟา้ อภัยและเจ้าฟ้าปรเมศร์
๔.ราชาภิเษก การครองราชย์ของผู้ที่มีสิทธิ์ในราชบัลลังก์โดยกำเนิดตามการสืบราชสันตติวงศ์ โดย
ไม่ได้เเย่งชิงอำนาจจากใคร อาจจะเป็นการครองราชย์จากพระบิดาสู่พระราชโอรส พระเชษฐาสู่พระอนุชา
หรอื เเม้กระท่งั จากพระอนุชาสพู่ ระเชษฐา
การครองราชยส์ ืบตอ่ จากพระราชบิดา มี ๑๗ พระองค์ ดังนี้
▪สมเดจ็ พระราเมศวรครง้ั ท่ี ๑ สบื ตอ่ พระบดิ าคือ สมเดจ็ พระรามาธบิ ดที ่ี ๑
▪สมเดจ็ พระเจา้ ทองลัน สบื ตอ่ พระราชบิดาคือ สมเดจ็ พระบรมราชาธริ าชที่ ๑ (ขุนหลวงพะงัว่ )
▪สมเดจ็ พระรามราชาธิราช สบื ต่อจากพระราชบิดาคอื พระราเมศวรครง้ั ที่ ๒
▪สมเด็จพระบรมราชาธริ าชที่ ๒(เจา้ สามพระยา) สืบต่อจากพระราชบดิ าคือ สมเด็จพระอนิ ทราชา
▪สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ สืบต่อจากพระบิดาคือ สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๒(เจา้ สามพระยา)
▪สมเด็จพระบรมราชาธริ าชที่ ๓ สบื ต่อจากพระราชบิดาคือ พระบรมไตรโลกนาถ
▪สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๔(หน่อพทุ ธางกรู ) สืบตอ่ จากพระบดิ าคอื พระรามาธบิ ดีท่ี ๒
▪สมเด็จพระรษั ฎาธริ าช สืบต่อจากพระราชบดิ าคือ พระบรมราชาธริ าชท่ี ๔(หนอ่ พุทธางกูร)
▪สมเด็จพระยอดฟ้า สบื ต่อจากพระราชบดิ าคอื สมเด็จพระไชยราชา
▪สมเด็จพระมหินทราธริ าช สืบต่อจากพระราชบิดาคอื สมเดจ็ พระมหาจักรพรรดิ
▪สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช สืบตอ่ จากพระราชบดิ าคือ สมเด็จพระมหาธรรมราชาธริ าช
▪พระศรีเสาวภาคย์ สบื ตอ่ พระราชบิดาคอื สมเด็จพระเอกาทศรถ
▪สมเด็จพระเชษฐาธริ าช สืบตอ่ จากพระราชบดิ าคอื พระเจ้าทรงธรรม
▪เจา้ ฟ้าไชย สบื ตอ่ จากพระราชบิดาคือ สมเดจ็ พระเจา้ ปราสาททอง
▪สมเดจ็ พระเจ้าเสือ สืบต่อจากพระราชบดิ าคือ สมเด็จพระเพทราชา
▪สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัวท้ายสระ สบื ตอ่ จากพระราชบดิ าคอื พระเจา้ เสือ
สมเดจ็ พระเจา้ อทุ ุมพร สบื ตอ่ จากพระราชบดิ าคอื สมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ
กษตั ริยท์ ีค่ รองราชย์ต่อจากพระเชษฐา(พ่ีชาย) มี ๓ พระองคด์ ังนี้
▪สมเด็จพระรามาธิบดที ี่ ๒ ครองราชยต์ อ่ จากพระบรมราชาธริ าชที่ ๓
▪สมเดจ็ พระเอกาทศรถ ครองราชยต์ อ่ จากพระนเรศวรมหาราช
▪พระอาทิตยวงศ์ สืบตอ่ จากสมเด็จพระเชษฐาธริ าช
กษัตริย์ท่ีครองราชยต์ ่อจากพระอนชุ ามีองคเ์ ดียว คือ
สมเดจ็ พระเจ้าเอกทศั น์ สบื ราชสมบตั ติ ่อจากพระเจ้าอุทมุ พร
๕.อุภิเษก ผ่านการแตง่ งาน
สมเดจ็ พระรามาธบิ ดีที่ ๑ พระเจ้าอูท่ อง
พระราชประวัติ
เป็นปฐมกษตั รยิ ์ของอยธุ ยา
พระราชสมภพ พ.ศ. 1857
ครองราชย์ พ.ศ.๑๘๙๓
สวรรคต พ.ศ.๑๙๑๒
ครองราชย์รวม ๑๙ ปี
พระชนมายุขณะครองราชย์ ๓๖ ปี
มพี ระชนมายรุ วม ๕๕ ปี
มพี ระราชโอรส ๑ พระองคค์ ือ สมเด็จพระราเมศวร
-พระนาม ปรากฏในเอกสารหลายฉบับไม่ว่าจะเป็นกฎหมายหรือวรรณคดี ดังน้ี พระนามที่เรียกขาน
หลังครองราชย์เพื่อให้สอดคล้องกับชื่ออยุธยาที่มีพระรามปกครอง คือ สมเด็จพระรามาธิบดี พระนามใน
วรรณคดีลิลิตโองการแช่งน้ำคือ สมเด็จพระรามาธิบดี ศรีสินทร บรมมหาจักรพรรดิศรราชาธิราช พระนามท่ี
ปรากฏในกฎหมายลักษณะอาญาราษฎร์ คือสมเด็จพระรามาธิบดี ศรีสุนทรบรมจักรพัตราธิราช และพระนาม
ว่า สมเดจ็ พระรามาธิบดีศรสี รุ ินทร บรมจกั รพรรดิศร บวรมหาธรรมิกราชาธิราช ปรากฎในในกฎหมายลกั ษณะ
อาญาหลวง
สมเด็จพระรามาธบิ ดที ่ี ๑ ทรงมีเครือญาตทิ ี่เป็นกษตั รยิ ์ดังน้ี
มพี ีเ่ ขยเปน็ กษตั รยิ ์ คือ สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๑(ขุนหลวงพะงวั่ )
มีลูกเป็นกษัตริย์ คือ สมเดจ็ พระราเมศวร
มีหลานเปน็ กษัตริย์ คือ สมเด็จพระราเมศวร
พระราชกรณียกิจ
-สถาปนากรุงศรีอยุธยาขึ้นเป็นราชธานี บริเวณหนองโสนหรือบึงพระราม ซึ่งคือวัดพระศรีสรรเพชญ์
ในปัจจุบัน พอได้ฤกษ์อันเป็นมงคลเเล้ว จึงทำพิธีกลบบาตรขึ้น ขุดพบสังข์ทักษิณาวัตรใต้หมัน จึงสร้างเมือง
ตามลกั ษณะอันเปน็ มงคลของสังข์ที่พบนนั้ เริม่ สร้างมหาปราสาทข้ึน ๓ หลัง คอื พระทน่ี ัง่ ไพฑูรณ์มหาปราสาท
พระที่นั่งไพชยนต์มหาปราสาท เเละพระที่นั่งไอศวรรย์มหาปราสาท ตรงกับตรงกับวันศุกร์ที่ ๓ เดือนเมษายน
ขึ้น ๖ ค่ำเดือน ๕ ปีขาลโทศก เวลา ๓ นาฬิกา ๙ บาท ( ๑ บาท เท่ากับ ๖ นาที ตรงกับเวลา ๓ นาฬิกา ๕๔
นาที) พทุ ธศกั ราช ๑๘๙๓
-ทรงวางรปู เเบบการปกครองของอาณาจักรโดยรบั อิทธพิ ลจากขอมเป็นหลักผสมผสานกับสุโขทยั
เเบบขอม : ใช้ในพระนครหรือส่วนกลางเป็นหลัก เรียกว่า "จตุสดมภ์ " กษัตริย์ดำรงอยู่ในฐานะ
"สมมตเิ ทพ"
เเบบสโุ ขทัย : ใชใ้ นส่วนภูมภิ าค เพอ่ื ควบคุมกำลังพล โดยการทหารเเบบสุโขทัยนั่นเอง รวมท้ังรับเอา
พระพุทธศาสนาลัทธิลังกาวงศ์จากสุโขทัยไทยอีกด้วย เเต่ศิลปวัฒนธรรมก็ปรากฏเเบบขอมชัดเจนโดยเฉพาะ
พระปรางค์
-เมอื งประเทศราชของอยธุ ยาในขณะนั้นมี ๑๖ เมอื ง ตามที่หนังสอื นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทยได้
กล่าวไว้ว่า "หลังจากนั้นปรากฏความในจุลยุทธการวงศว์ ่าพญาประเทศราชทั้ง ๑๖ หัวเมืองได้มาถวายบังคม
ไดเ้ เก่ มะละกา(ดินเเดนเเหลมมลายู) ชวา(ดินเเดนลาวหลวงพระบาง) ตะนาวศรี นครศรธี รรมราช ทวาย เมาะ
ตะมะ เมาะลำเลิง สงขลา จันทบูรณ์ พิษณโุ ลก สุโขทัย พชิ ัย สวรรคโลก พจิ ิตร กำเเพงเพชร เเละนครสวรรค์ "
เเต่ท่ปี รากฎชดั เจนว่าคือเมืองประเทศราชของอยุธยาคือ เมืองยะโฮรเ์ เละเมอื งมะละกาเท่าน้นั
-ส่งพระราเมศวรไปครองเมืองลพบุรี เมืองหน้าด่านทางทิศเหนือและส่งขุนหลวงพะงั่วไปครองเมือง
สพุ รรณบุรีเมืองหน้าด่านทางดา้ นทิศตะวันตก
-สมเด็จพระเจ้าอู่ทองทรงวางขนบการปกครอง โดยการตรากฎหมายขึ้นเพื่อจัดระเบียบบ้านเมือง
สร้างความยุติธรรมใหเ้ เก่ราษฎร ปรากฎหลกั ฐาน ๑๐ ฉบับดงั น้ี
๑.พระราชบัญญัติลักษณะพยาน: พ.ศ.๑๘๙๔ นับว่าเป็นกฎหมายฉบับเเรกของพระเจ้าอู่ทองและ
ฉบับเเรกของอยธุ ยา
๒.พระราชบญั ญตั ลิ กั ษณะอาญาหลวง : พ.ศ.๑๘๙๕
๓.พระราชบัญญัติลักษณะรับฟอ้ ง : พ.ศ.๑๘๙๙
๔.พระราชบัญญัติลกั ษณะลกั พา : พ.ศ.๑๘๙๙
๕.พระราชบญั ญัตลิ กั ษณะอาญาราษฎร์ : พ.ศ.๑๙๐๑
๖.พระราชบัญญตั ลิ กั ษณะโจร : พ.ศ.๑๙๐๓
๗.พระราชบญั ญตั เิ บด็ เสรจ็ วา่ ด้วยที่ดิน : พ.ศ.๑๙๐๓
๘.พระราชบัญญัตลิ กั ษณะผวั เมีย :พ.ศ.๑๙๐๔
๙.พระราชบัญญตั ลิ กั ษณะผัวเมยี (เพ่ิมเตมิ ) : พ.ศ.๑๙๐๕
๑๐.พระราชบญั ญตั ิลักษณะโจรว่าดว้ ยสมโจร : พ.ศ.๑๙๑๐ กฎหมายฉบบั สดุ ท้ายที่พระเจ้าอู่ทองตรา
ข้นึ (อ้างองิ ผศ.)
-ด้านวรรณคดีทรงเเต่งวรรณคดีเรื่อง." ลิลติ โองการเเช่งน้ำ" ใช้คำประพันธป์ ระเภทโคลงห้าเเละร่าย
นบั เป็นวรรณคดีเรอื่ งเเรกของอยธุ ยา เพื่อใชใ้ นพิธถี อื น้ำพระพิพฒั น์สตั ยาตามคตสิ มมติเทพ เทวราชา ส่งเสรมิ
ความจงรักภกั ดสี รา้ งความม่นั คงเเกส่ ถาบันพระมหากษตั รยิ ์
-พ.ศ.๑๘๙๕ ขอมเเปรพักตร์ไปร่วมมือกับพระยาเลอไทยเเห่งสุโขทัยเพื่อกำจัดอยุธยา จึงส่ง
พระราเมศวรไปตีเขมรเเต่ไม่สำเร็จ จึงเชิญขุนหลวงพะงั่วขณะนั้นครองเมืองสุพรรณบุรีไปช่วย จึงสามารถตี
เมืองยโสธรปุระได้ กษัตริย์ขอมคือพระบรมลำพงศ์สวรรคต ขุนหลวงพะงั่วจึงเเต่งตั้งปาสัต โอรสพระบรม
ลำพงศ์ ครองราชย์ที่กรุงยโศธรปุระ ในฐานะเมืองขึ้นอยุธยา เมื่อทุกอย่างเรียบร้อยจึงกวาดต้อนเชลยจำนวน
มากลงมาทอี่ ยุธยา
-พ.ศ.๑๘๙๖สถาปนาพระตำหนักเวยี งเหล็กเปน็ วัดพทุ ไธสวรรค์
-ตีเมอื งชัยนาท หลังจากพญาเลอไทยสวรรคตไป มกี ารเเยง่ ชิงอำนาจกนั เกิดขึ้นเเละมีกษตั ริย์ปกครอง
นามวา่ "พระมหาธรรมราชาท่ี ๑ ลิไทย" กรงุ ศรอี ยธุ ยาเห็นเป็นโอกาสดีจงึ ให้ขุนหลวงพะงว่ั ขณะน้นั ครองเมือง
สุพรรณบุรี ไปตีเอาเมืองชัยนาท ซึ่งมีความสำคัญในฐานะเมืองหน้าด่านด้านทิศใต้ของสุโขทัยจนสำเร็จ ฝ่าย
พระยาลิไทยเห็นว่ายากเหลือกำลังที่จะตีกลับคืนได้ จึงเเต่งทูตไปเจริญสัมพันธไมตรี อยุธยาก็คืนให้พร้อมกับ
ขอให้อยธุ ยาเปน็ ราชธานีทางตอนใต้
-พ.ศ.๑๙๐๐ ทรงสร้างวัดใหญ่ชัยมงคล ซึ่งเป็นบริเวณที่ถวายพระเพลิงเจ้าเเก้ว เจ้าไทย ซึ่ง
สนิ้ พระชนมจ์ ากอหิวาตกโลก สมัยนน้ั เรยี กวา่ " วดั เจา้ เเก้วเจา้ ไทยหรือวัดป่าเเก้ว"
-สมัยพระเจ้าอู่ทองนี้ อยุธยาค้าขายกับจีนในรัชกาลพระเจ้าหงอู่แห่งราชวงศ์หมิง โดยจีนส่งหลุย
จงจ่นุ เป็นทตู มาเจริญสมั พันธไมตรีทำนองกับจะทวงบรรณาการจากอยุธยาในฐานะราชธานีต่อจากสโุ ขทัยและ
พระเจา้ อู่ทองก็ไดส้ ่งทตู ไปเฝา้ จักรพรรดจิ นี ดว้ ยเช่นกัน
-สมัยนี้มีชาติสำคัญในเอเชียที่อยุธยาไม่ได้ค้าขายด้วยคือญี่ปุ่น ส่วนตะวันตกนั้นเข้ามาในสมัยสมเด็จ
พระรามาธบิ ดที ่ี ๒
สมเดจ็ พระราเมศวร ครัง้ ที่ ๑
พระราชประวัติ
เป็นพระมหากษตั รยิ ์พระองค์ที่ ๒ ของอยธุ ยา ครองราชย์ถงึ ๒ คร้งั คือ รชั กาลที๒่ เเละ ๕
ทรงเป็นพระราชโอรสของสมเด็จพระเจ้าอู่ทองและพระขนิษฐา(นอ้ งสาว)ของสมเดจ็ พระบรม
ราชาธริ าชท่ี ๑(ขุนหลวงพะงวั่ )
ครองราชย์สืบต่อจากพระราชบดิ าคอื สมเด็จพระรามาธิบดที ่ี ๑(พระเจ้าอู่ทอง)
พระราชสมภพ พ.ศ.1882
ครองราชย์ครง้ั ท่ี ๑ พ.ศ.1912 พระชนมายุขณะครองราชย์ ๓๐ ปี
ครองราชย์ครง้ั ที่ ๑ พ.ศ.1931 พระชนมายขุ ณะครองราชย์ ๔๙ ปี
สวรรคต พ.ศ.๑๙๓๘
ครองราชยร์ วม ๘ ปี(ครัง้ ท่ี๑ รวม ๑ ปี และครงั้ ที่๒ รวม ๗ ปี )
มีพระชนมายุรวม ๕๖ พรรษา
มพี ระราชโอรส ๑ พระองค์ คือ สมเด็จพระรามราชา
-เปน็ กษัตริย์อยุธยาท่ี ครองราชย์ถึง ๒ คร้งั คอื รชั กาลที๒่ เเละ ๕
-เป็นผู้ถูกยึดอำนาจในคราวครองราชยค์ รั้งท่ี๑ เมื่อพระเจ้าอู่ทองสถาปนาอยุธยา ได้ส่งพระราเมศวร
ไปครองเมืองหน้าด่านทางทิศเหนือคือลพบุรี ในฐานะรัชทายาทพระอุปราช ภายหลังจากพระเจ้าอู่ทอง
สวรรคต ก็มาครองราชย์(ครั้งที่ ๑) ที่อยุธยาสืบต่อจากพระราชบิดาหลังจากนั้นเพียง ๑ ปี ได้ถูกสมเด็จพระ
บรมราชาธิราชที่ ๑ ที่เสด็จมาจากเมืองสพุ รรณบุรียึดอำนาจ พระองค์จึงเสด็จไปครองเมืองลพบุรีตามเดิม ถือ
เปน็ กษัตริยอ์ ยธุ ยาองค์เเรกท่ีถกู ยดึ อำนาจ
-เป็นพระมหากษัตริย์พระองคแ์ รกที่ถูกยึดอำนาจ
สมเดจ็ พระราเมศวรทรงมีเครือญาตทิ ่เี ป็นกษัตริยด์ งั น้ี
มีพ่อเป็นกษัตรยิ ์ คอื สมเดจ็ พระรามาธิบดีที่ ๑
มีลูกเปน็ กษตั ริย์ คอื สมเดจ็ พระรามราชา
พระราชกรณยี กจิ
ในช่วงเเรกนี้มีปรากฎเพียงเหตุการณ์เดียว ตามหนังสือประวัติศาสตร์ไทยของพลาดิศัย สิทธิธัญกิจ
อธบิ ายวา่ "ในเอกสารจนี สมัยราชวงศ์หมิงได้ระบุวา่ ขณะนน้ั คณะราชทตู จนี ไดเ้ ดินทางมายังกรุงศรีอยธุ ยา เพ่ือ
เชอื่ มสมั พันธไมตรี ทำนองเหมอื นจะทวงเครื่องราชบรรณาการจากกษัตรยิ ์สยาม"
สมเดจ็ พระบรมราชาธิราชท่ี ๑ (ขุนหลวงพะงั่ว)
พระราชประวตั ิ
เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ท่ี ๓ ของอยุธยาและปฐมกษัตรยิ แ์ ห่งราชวงศแ์ หง่ ราชวงศ์สุพรรณภูมิ
ครองราชย์ดว้ ยการปราบดาภเิ ษกเป็นพระองคแ์ รกของอยุธยา ยึดอำนาจจากสมเด็จพระราเมศวร
พระราชสมภพ พ.ศ.1853
ครองราชย์ พ.ศ.๑๙๑๓
สวรรคต พ.ศ.1931
ครองราชยร์ วม ๑๘ ปี
พระชนมายุขณะครองราชย์ ๖๐ ปี
มีพระชนมายุรวม ๗๘ ปี
มพี ระราชโอรส ๑ พระองค์ คือ สมเดจ็ พระเจา้ ทองลัน
-เปน็ พีช่ ายพระมเหสขี องสมเด็จพระเจา้ อู่ทอง
-เสด็จมาจากลพบุรีเพื่อยึดอำนาจมาจากพระราชนัดดา(หลาน) คือ สมเด็จพระราเมศวร นับเป็น
กษัตริย์อยุธยาที่ครองราชย์ด้วยการ"ปราบดาภิเษก" เนื่องจากเป็นผู้มอี ำนาจทางด้านทหาร ทำสงครามขยาย
อาณาจักรอยธุ ยาเช่น ตนี ครธมช่วยพระราเมศวรจนสำเรจ็ ยึดเมืองชัยนาทได้ ต้ังเเต่เม่อื คร้ังพระเจ้าอู่ทองทรง
ครองราชย์ ทำใหย้ ดึ อำนาจจากพระราเมศวรได้ไมย่ ากนัก
-เปน็ พระมหากษัตรยิ ์พระองคแ์ รกทีค่ รองราชย์ดว้ ยการยึดอำนาจ
สมเดจ็ พระบรมราชาธิราชที่ ๑ มีเครือญาตทิ เี่ ป็นกษตั รยิ ์ดงั นี้
มลี ูกเป็นกษตั รยิ ์ คือ สมเด็จพระเจา้ ทองลัน
มหี ลานเป็นกษตั รยิ ์ คือ สมเดจ็ พระนครินทราธริ าช
มเี หลนเปน็ กษัตรยิ ์ คอื สมเดจ็ พระเจา้ สามพระยา
มลี อ่ื เป็นกษัตริย์ คือ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
มลี บื เป็นกษตั รยิ ์ ๒ พระองค์ คือ สมเด็จพระบรมราชาธิราชท่ี ๓และสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒
มีลดื เป็นกษัตริย์ ๓ พระองค์ คือสมเด็จพระบรมราชาธริ าชที่ ๔(หน่อพทุ ธางกรู ) สมเด็จพระไชยราชา
และสมเดจ็ พระมหาจกั รพรรดิ
พระราชกรณียกจิ และเหตกุ ารณ์สำคญั
-นโยบายทางด้านสงครามของพระองค์ เน้นการขยายอิทธิพลขึ้นทางเหนือโดยเฉพาะสุโขทัย เเละ
เชียงใหม่ สมัยสมเดจ็ พระบรมราชาธริ าชท่ี ๑ ตีสุโขทัย ๔ คร้งั ดังนี้
๑.พ.ศ.๑๙๑๖ ตีเมืองชากังราวศึกครั้งนี้เจ้าเมืองชากังราวทั้ง ๒ คนคือพระยาใสเเก้ว พระยาคำเเหง
ออกมาสูร้ บเปน็ สามารถเเเต่กไ็ ม่อาจตา้ นทานได้ พระยาคำเเหงหนีเขา้ เมืองได้ สว่ นพระยาใสเเก้วถูกฆ่าตายจึง
ยกทพั กลบั
๒.พ.ศ.๑๙๑๙ ผ่านมาอีก ๓ ปี พระบรมราชาธิราชท่ี ๑ จึงขึ้นไปตชี ากังราวอีกครงั้ เพราะท้าวผ่าครอง
ก่อกบฎ ตีไดเ้ มอื งชากังราวเปน็ ครั้งที่ ๒
๓.พ.ศ.๑๙๒๑ ตีเมืองพษิ ณุโลก(กำเเพงเพชร) ซึง่ ถอื ว่าเปน็ เมืองหลวงของสโุ ขทัย ที่ยา้ ยมาในสมัยพระ
มหาธรรมราชาที่ ๒(ลือไทย) สุโขทัยเพลยี้ งพลำ้ พระมหาธรรมราชาที ๒(ลอื ไทย) ไม่อาจต้านทานกำลังอยุธยา
ได้ จงึ ยอมออ่ นน้อมเปน็ เมอื งขนึ้
สมัยพระบรมราชาธิราชที่ ๑ เป็นสมัยเเรกที่ได้สุโขทัยเป็นเมืองขึ้น ตรงกับสมัยพระมหาธรรมราชาที่ ๒ ของ
สุโขทัยๆ
๔.พ.ศ.๑๙๓๑ ตีชากังราวอีกครั้ง. จนประชวรเเละเดนิ ทางกลับ สวรรคตระหวา่ งทาง
-นอกจากสุโขทัยเเล้วพระองค์ยังมีนโยบายไปตีล้านนาด้วย โดยไปตีเชียงใหม่ในพ.ศ.๑๙๒๙ เเต่ตีได้
เพียงลำปางเท่านั้น ดงั น้นั สงครามระหว่างอยธุ ยากับเชยี งใหมเ่ กดิ ขึน้ คร้ังแรกสมยั พระบรมราชาธริ าชท่ี ๑
-พ.ศ.๑๙๑๗ สร้างวัดมหาธาตุ โดยร่วมมือกับพระมหาเถรธรรมากัลญาณ ( อ้างอิง เล่มใหญ่สุดหน้า
588 ) โดยสร้างพระปรางค์เเบบเขมร หรือศิลปะลพบุรี เเต่ยังไม่เเล้วเสร็จก็สวรรคต เริ่มสร้างต่อในสมัย
สมเด็จพระราเมศวรครั้งที่ ๒จนเเล้วเสร็จ ดังนั้นบทบาทของการสร้างวัดมหาธาตจุ ึงอยู่ในรัชกาลของพระราเม
ศวรเปน็ สว่ นใหญ่ เเม้จะเรม่ิ สรา้ งในสมัยพระบรมราชาธิราชที่ ๑ ก็ตามที
พระเจา้ ทองลัน
พระราชประวัติ
พระมหากษตั ริย์พระองค์ที่ ๔ ของอยุธยา
ทรงเป็นพระราชโอรสของสมเด็จพระบรมราชาธริ าชท่ี ๑
สืบราชสมบตั ติ ่อจากพระบิดาคอื สมเดจ็ พระบรมราชาธริ าชที่ ๑
พระราชสมภพ พ.ศ.1๙๑๖
ครองราชย์ พ.ศ.๑๙๓๑
สวรรคต พ.ศ.1931
ครองราชยร์ วม ๗ วนั
พระชนมายุขณะครองราชย์ ๑๕ พรรษา
มีพระชนมายุรวม ๑๕ พรรษา
-ครองราชยเ์ มอ่ื พระชนมายุ ๑๕ พรรษา ครองราชย์ ๗ วัน ถูกยึดอำนาจโดยพระราเมศวร
-เป็นกษัตริย์อยุธยาที่ครองราชย์น้อยที่สุด เพียง ๗ วัน บางแหล่งข้อมูลกล่าวว่าเป็นเจ้าฟ้าไชย
๒-๓ วัน
-เป็นยุวกษัตรยิ พ์ ระองค์เเรก
-เปน็ กษตั รยิ อ์ งคเ์ เรกของอยธุ ยาทถี่ กู สำเร็จโทษดว้ ยท่อนจันทนท์ วี่ ดั โคกพระยา
พระเจา้ ทองลันทรงมีเครอื ญาติทเ่ี ป็นกษัตริย์ดังน้ี
มีพอ่ เป็นกษตั ริย์ คือ สมเด็จพระบรมราชาธริ าชที่ ๑
สมเด็จพระราเมศวร(ครั้งที่ ๒ )
-ครองราชยด์ ว้ ยการปราบดาภิเษก ยึดอำนาจจากพระเจ้าทองลนั
-ครั้งนี้มีบทบาทเป็นผู้ยึดอำนาจเพื่อครองรราชย์ครั้งที่ ๒.: เมื่อสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๑
สวรรคตพระราชโอรสคือพระเจ้าทองลัน ก็ได้ขึ้นครองราชย์สืบต่อกันมา ขณะมีพระชนมายุเพียง ๑๕ พรรษา
นบั เป็นยวุ กษัตรยิ ์องค์เเรกของอยธุ ยา ครองราชย์ได้เพียง ๗ วัน พระราเมศวรก็เสรจ็ มาจากลพบรุ ี นำพระเจ้า
ทองลันไปสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์ที่วัดโคกพระยา พระเจ้าทองลันถือว่าเป็นกษัตริย์องค์เเรกของอยุธยาท่ี
เคราะหร์ า้ ยถกู สำเรจ็ โทษดว้ ยท่อนจันทน์
พระราชกรณยี กจิ และเหตุการณส์ ำคัญ
-เหตุการณ์ที่สำคัญเกี่ยวข้องกับพระราเมศวร จะเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นภายหลังจากการครองราชย์
คร้งั ท่ี ๒ เปน็ รชั กาลท่ี ๕ ดังนี้
-พ.ศ.๑๙๓๑ ยดึ อำนาจเเละสำเร็จโทษพระเจา้ ทองลัน
-สร้างวัดมหาธาตุต่อจากพระบรมราชาธิราชท่ี ๑ : หลังจากศึกเมืองเชียงใหม่ เวลา ๑๐ ทุ่ม เสด็จอยู่
ณ พระที่นั่งมังคลาภิเษก เพื่อทรงศีล ทอดพระเนตรเห็นพระสารีริกธาตุปรากฎด้านทิศบูรพา จึงสั่งให้ปลัดวัง
เอาราชรถพาพระองคอ์ อกไป ปกั กรยุ ไว้ สถาปนาพระมหาธาตุสูง ๑๗ วายอด ๓ วาจนเเลว้ เสร็จ
-พ.ศ.๑๙๓๐ สร้างวัดภเู ขาทอง
-เกดิ พระราชพิธีประเวศพระนคร เเละเฉลมิ ราชมณเฑียรคร้งั เเรกในประวตั ิศาสตร์
-ตีเมืองเชียงใหม่ครั้งที่ ๒ (ต่อจากพระบรมราชาธิราชที่ ๑) โดยครั้งน้ีสำเร็จเป็นครั้งเเรกของอยุธยา
เหตุการณส์ ำคญั สรปุ ไดด้ งั นี้ พระองคย์ กทัพไปตั้งค่ายล้อมเมืองเชียงใหม่ พระเจา้ เชียงใหม่จงึ ขอเวลา ๗ วนั จะ
นำเครื่องราชบรรณาการมาถวาย เม่ือสมเด็จพระราเมศวรรับสาส์น ก็ปรึกษาเเม่ทัพนายกองต่างๆว่า จะรบ
หรอื ไมร่ บดี เหลา่ เเมท่ พั ทงั้ หลายทูลว่า ควรจะรบเพราะหากปล่อยไว้ พระเจ้าเชียงใหม่จะเตรียมการได้ทัน เเต่
สมเด็จพระราเมศวรกลับเห็นต่าง ดังปรากฎในพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับหมอบลัดเลย์ว่า " เป็น
พระเจ้าเเผ่นดนิ ใหญ่ เขาไมร่ บเเลว้ เราจะให้รบน้ันมิควร ถึงมาตรว่าพระเจา้ เชียงใหม่จะมิคงอยู่ในสัตยานุสัตย์
ก็ดี ใช่ว่าจะพ้นมือทหารเรานั้นเมื่อไรมี " กระนั้นเมื่อครบ ๗ วัน พระเจ้าเชียงใหม่กลับผิดสัญญา ฝ่ายสมเด็จ
พระราเมศวรเองก็เสบียงใกล้จะหมด เพราะข้าวเเพงถึงทะนานละสิบสลึง จึงเร่งตีเชียงใหม่จนสำเร็จ พระเจ้า
เชียงใหม่หนีไปได้ จับได้เพียงโอรส จึงให้ครองเมืองเเล้วเสด็จกลับ ระหว่างเสด็จกลับนั้นได้เเวะประทับเเรมที่
เมืองพษิ ณโุ ลก นมสั การพระพทุ ธชนิ ราช พระชินสีห์ โดยการเปล้อื งเครือ่ งตน้ ถวายเปน็ พุทธบชู า สมโภช ๗ วัน
จึงเสด็จกลับ ส่วนชาวเชียงใหม่ที่ถูกกวาดต้อนมาในศึกครั้งนี้ให้ไปตั้งถิ่นฐานที่เมืองพัทลุง สงขลา
นครศรีธรรมราชเเละจันทบรุ ี
-รัชกาลของสมเด็จพระราเมศวร เกิดศึกครั้งที่ ๒ ระหว่างเขมรกับอยุธยา มีต้นเหตุมาจาก พระยา
ละเเวกเข้ามากวาดต้อนราษฎรของอยุธยา เเถบบางปลาสร้อย(ชลบุรี) เเละจันทบุรีกลับไปเขมร ตาม
พงศาวดารกล่าวว่าประมาณ ๖,๐๐๐-๗๐๐๐คน ทำให้ในพ.ศ.๑๙๓๖ พระองค์ยกทัพไปตีเขมรโดยให้พระยา
ชัยณรงค์ยกทัพหน้าไป รบกันที่สะพานเเเยก ๓ วันจึงสำเร็จ เเต่จับได้เพียงบุตรของพระเจ้ากัมพูชาเท่าน้ัน
กวาดตอ้ นผู้คนกลับมา จึงทำพิธีประเวศพระนครอกี คร้งั
สมเด็จพระรามราชา
พระราชประวตั ิ
พระมหากษตั ริย์พระองค์ที่ ๕ แห่งอยธุ ยา พระองค์สุดทา้ ยของราชวงศอ์ ทู่ อง
ทรงเป็นพระราชโอรสของสมเด็จพระราเมศวร
ครองราชย์สืบต่อจากพระราชบดิ าคือ สมเดจ็ พระราเมศวร(ครั้งที่ ๒)
พระราชสมภพ พ.ศ.1๙๑๗
ครองราชย์ พ.ศ.๑๙๓๘-๑๙๕๒
สวรรคต พ.ศ.- ไม่มีการระบุไว้ เนื่องจากสิ้นสุดการครองราชย์โดยถูกยึดอำนาจโดย
เจ้านครอินทร์แลว้ เสด็จไปอยู่ท่ีปทาคูจาม
ครองราชย์รวม ๑๕ ปี
พระชนมายขุ ณะครองราชย์ ๒๑ พรรษา
มพี ระชนมายรุ วม – พรรษา
สมเด็จพระรามราชามเี ครือญาตทิ ่เี ป็นกษัตริยด์ ังนี้
มีปู่เป็นกษัตรยิ ์ คอื สมเดจ็ พระรามาธบิ ดที ี่ ๑ (พระเจ้าอ่ทู อง)
มพี อ่ เป็นกษตั รยิ ์ คือ สมเดจ็ พระราเมศวร
พระราชกรณียกิจ
-พ.ศ.๑๙๔๐ ส่งทูตไปเจรญิ สมั พันธไมตรีกับจีนเปน็ ครง้ั เเรก
-พ.ศ.๑๙๔๗ ส่งทูตไปเจรจาการค้ากับจีน ฝ่ายจักรพรรดจิ ีนจึงมอบของกำนัลเเละหนังสือประวตั ิสตรี
สุจริตให้ ๑๐๐ เล่ม เเละอยุธยาทูลขอกฎหมายเพื่อนำไปเป็นเเบบอย่างในการปกครอง จักรพรรดิจีนก็
พระราชทานให้ (อ้างองิ นามา)
-เเม้ว่าอยุธยาจะมีความสัมพันธ์อันดีกับจีน เเต่ก็มีเรื่องให้พระรามราชากังวลพระทัย เนื่องจากพระ
ราชนัดดา(หลาน)ของสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๑ ครองเมืองสุพรรณบรุ นี น้ั มีความสนทิ ชิดเช้ือกบั จกั รพรรดิ
จีน ถึงขนาดเคยไปเมืองจีนเเละจีนเองก็ยกย่องเปน็ กษัตริย์ ทำให้พระรามราชาจึงกังวลในความมั่นคงของราช
บัลลังก์ เเละเเล้วสิ่นที่ทรงดำรกิ ็อุบัตขิ ึ้น เมื่อพระรามราชาเกิดขอ้ ขัดเเยง้ กับเจา้ เสนาบดี จนเจ้าเสนาบดีหนีไป
อยู่ที่ปทาคูจาม เเละได้ไปร่วมกับเจ้านครอินทร์ครองเมืองสุพรรณบุรี จนสามารถยึดอำนาจจากพระรามราชา
ได้ เเละให้เสด็จไปอยู่ปทาคูจาม การยึดอำนาจในครั้งนี้ถือเป็นการได้รับชัยชนะของราชวงศ์สุพรรณบุรีเหนือ
ราชวงศอ์ ทู่ องอยา่ งเดด็ ขาด หลงั จากท้งั ๒ ราชวงศ์ผลดั กนั ขึน้ ครองราชย์ในชว่ งต้น
-พระรามราชาเเละพระราเมศวรครั้งที่ ๑ เป็นกษัตริย์ ๒ เพียง ๒ พระองค์ที่ถูกยึดยอำนาจ เเต่ไม่ถูก
ปลงพระชนม์
สมเด็จพระนครินทราธิราช
พระราชประวตั ิ
พระมหากษตั รยิ ์พระองค์ที่ ๖ ของอยธุ ยา
ครองราชย์ด้วยการปราบดาภิเษก ยึดอำนาจจากสมเด็จพระรามราชาธิราช นับเป็นการได้อำนาจ
ของราชวงศ์สุพรรณภูมิอย่างเด็ดขาด
พระราชสมภพ พ.ศ.1๘๘๒
ครองราชย์ พ.ศ.๑๙๕๒
สวรรคต พ.ศ.1๙๖๗
ครองราชยร์ วม ๗ วนั
พระชนมายขุ ณะครองราชย์ ๗๐ ปี และสมเดจ็ พระรามาธิบดีท่ี ๒
มพี ระชนมายุรวม ๑๖ ปี
มพี ระราชโอรส ๓ พระองค์ คือ ๑.เจา้ อ้ายพระยา ครองเมืองสุพรรณบรุ ี(เมอื งลูกหลวง)
๒.เจา้ ย่พี ระยา ครองเมืองเเพรกศรีราชา(สรรค์บรุ )ี
๓.เจา้ สามพระยา ครองเมืองชยั นาท
สมเดจ็ พระนครนิ ทราธิราชมีเครอื ญาตทิ ี่เป็นกษัตรยิ ด์ ังนี้
มีปู่เปน็ กษตั รยิ ์ คอื สมเดจ็ พระบรมราชาธิราชท่ี ๑
มลี ูกเปน็ กษตั ริย์ คือ สมเด็จพระเจ้าสามพระยา
มหี ลานเป็นกษตั รยิ ์ คอื สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
มเี หลนเปน็ กษัตรยิ ์ ๒ พระองค์ คือ สมเด็จพระบรมราชาธิราชท่ี ๓และสมเด็จพระรามาธิบดที ่ี ๒
มลี อ่ื เป็นกษัตรยิ ์ ๓ พระองค์ คอื สมเด็จพระบรมราชาธิราชท่ี ๔(หน่อพุทธางกูร) สมเดจ็ พระไชยราชา
และสมเดจ็ พระมหาจักรพรรดิ
มลี บื เป็นกษตั รยิ ์ ๓ พระองค์ คอื สมเด็จพระรษั ฎาธริ าช สมเด็จพระยอดฟ้า
และสมเดจ็ พระมหินทราธริ าช
มีลืดเปน็ กษัตรยิ ์ ๒ พระองค์ คอื สมเดจ็ พระนเรศวรและสมเด็จพระเอกาทศรถ
พระราชกรณยี กจิ และเหตุการณ์สำคญั
-เป็นกษัตริย์พระองค์เเรกเเละพระองค์เดียวของอยุธยาที่เสด็จไปเมืองจีนด้วยพระองค์เองในพ.ศ.
๑๙๒๐ เมื่อครั้งครองเมืองสุพรรณบุรี เพื่อเชื่อมสัมพันธไมตรีกับราชสำนักจีนราชวงศ์ใต้เหม็ง เมืองหนานกิง
โดยถวายชา้ งขอ เต่า และของพนื้ เมือง จกั รพรรดจิ นี ใหค้ วามสำคญั กบั เจา้ นครอนิ ทร์เทียบเทา่ กษัตริย์พระองค์
หนึ่งเพราะพระองค์เป็นโอรสบุญธรรมของจักรพรรดิจีน ตามจดหมายเหตุจีนเรียกพระนามเมื่อครั้งครอง
สุพรรณบรุ ีวา่ "เจียวหลกควานอนิ " เมอื่ ครองราชย์เเลว้ ก็เรยี กวา่ "เจยี วหลกควานอินอล่อติลา่ " (อ้างอิงจำปา
พล)ทำให้มคี วามสัมพันธอ์ นั ดเี สมอมา
พระองค์มคี วามสนพระทยั ในวฒั นธรรมจนี เปน็ อย่างมาก เชน่ ในงานศลิ ปกรรมตามวดั วาอารามต่างๆ
ก็นำศิลปะเเบบจีนเข้ามาผสมผสาน เช่น กระเบื้องเคลือบตกเเต่งสถานที่ต่างๆ เปรียบกับช่วงศิลปะพระราช
นิยมรัชกาลท่ี ๓ เเห่งกรุงรตั นโกสินทร์
-โปรดให้นำช่างจากเมืองจีนเข้ามาสอนทำเครื่องสังคโลกในอยุธยา โดยเลือกริมเเม่น้ำน้อยสิงห์บุรี
เมืองสุโขทัย สวรรคโลกเป็นเเหล่งผลิตสำคัญ ส่งออกไปขายจำนวนมาก ตลาดส่งออกของอยุธยาเช่น ชวา
ฟิลิปปินส์ มลายู เปน็ ตน้
จากการท่ีพระเจ้านครอินทร์ไปเรียนวิทยาการต่างๆจากจนี จงึ เกิดวัฒนธรรมการนิยมสิ่งของเคร่ืองใช้
ราคาเเพงจากจีนก็มากขึ้น ตามบ้านขุนนางก็จะใช้สิ่งของสั่งจากจีน เช่น ผ้าเเพร ผ้าต่วน เครื่องปั้นเคลือบ
เป็นตน้
-ด้านเศรษฐกิจการค้าก็รุ่งเรืองมากเช่นกัน เพราะราชสำนักจีนได้อำนวยประโยชน์ประโยชน์ให้กับ
อยุธยาเป็นอย่างดี เนื่องจากความสนิทสนมของพระนครินทราธิราชกับจักรพรรดิจีน ด้านการทูตก็ไม่มีปัญหา
อะไร
-ดา้ นศิลปกรรมไดน้ ำศลิ ปะจนี มาใชใ้ นอยุธยา
-สรา้ งพระปรางคว์ ดั พระศรมี หาธาตุ เมืองสพุ รรณบุรี
-ด้านการเมอื งการปกครอง สมเด็จพระนครรินทราธิราช พยายามขยายอำนาจเพ่ือครอบครองสุโขทัย
เด่นชัดในพ.ศ.๑๙๖๒ เมื่อสมเด็จสมเด็จพระมหาธรรมราชาที่ ๓ เเห่งสุโขทัยเสด็จสวรรคต เกิดการเเย่งชิงราช
สมบัติกันระหว่างพระยารามเเละพระยาบาลเมือง ความทราบถึงสมเด็จพระนครินทราธิราชเเห่งอยุธยา
พระองค์จึงเสด็จไประงับเหตุ ถึงเมืองพระบาง(นครสวรรค์) พระยารามเเละพระยาบาลเมืองเกรงพระราช
อำนาจ ถึงเสด็จมาถวายบังคม เจรจากันสรุปให้พระยาบาลเมืองขึ้นเป็นพระมหาธรรมราชาที่ ๔(บรมปาล)
ครองพิษณุโลก อันเป็นเมืองหลวงของสุโขทัยที่ย้ายมาเมื่อครั้งพระมหาธรรมราชาที่ ๒ เเละให้พระยารามไป
ครองสโุ ขทัย(อา้ งอิงนามา)
-สมเด็จนครินทราธริ าช ทรงมพี ระราชโอรส ๓ พระองคไ์ ด้ส่งไปครองเมืองสำคญั ๓ เมืองดงั น้ี
๑.เจ้าอา้ ยพระยา ครองเมืองสุพรรณบรุ ี(เมืองลูกหลวง)
๒.เจ้ายีพ่ ระยา ครองเมืองเเพรกศรรี าชา(สรรคบ์ รุ ี)
๓.เจา้ สามพระยา ครองเมอื งชัยนาท
สมเดจ็ พระบรมราชาธริ าชที่ ๒ (เจ้าสามพระยา)
พระราชประวตั ิ
พระมหากษัตรยิ ์พระองคท์ ี่ ๗ ของอยุธยา
ครองราชย์สมบัติสบื ตอ่ จากพระราชบิดาคอื สมเด็จพระนครนิ ทราธิราช
พระราชสมภพ พ.ศ.๑๙๓๒
ครองราชย์ พ.ศ.๑๙๖๗
สวรรคต พ.ศ.๑๙๙๑
ครองราชยร์ วม ๒๔ ปี
พระชนมายุขณะครองราชย์ ๓๕ ปี
มพี ระชนมายุรวม ๕๙ ปี
ทรงเปน็ พระราชโอรสของสมเดจ็ พระนครนิ ทราธิราช
มพี ระเชษฐา ๒ พระองค์ คือ เจา้ อ้ายพระยาและเจา้ ย่พี ระยา
มพี ระราชโอรส ๒ พระองค์ คือ
๑.พระนครอนิ ทร์ หลังจากตีนครธมครั้งท่ี ๓ ของอยธุ ยาและได้ชยั ชนะเดด็ ขาดจึงส่งพระราช
โอรสพระองคโ์ ตคือ พระนครอนิ ทร์ ต่อมาได้ส้ินพระชนม์ กไ็ ม่ได่สง่ ใครไปครองนครหลวงต่อ เขมรเอง
กย็ ้ายราชธานไี ปพนมเปญ
๒.พระราเมศวร(สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ) มีพระราชมารดาเชื้อสายราชวงศ์พระร่วงคือ
พระราชธิดาของพระมหาธรรมราชาที่ 2 แห่งกรุงสุโขทัย เป็นอุปราชครองเมืองพิษณุโลกและข้ึน
ครองราชยท์ ่ีอยธุ ยา
สมเด็จพระบรมราชาธิราชท่ี ๒ (เจา้ สามพระยา)ทรงมเี ครอื ญาตทิ เี่ ปน็ กษัตริย์ดังนี้
มพี ่อเปน็ กษัตรยิ ์ คือ สมเดจ็ พระนครินทราธิราช
มลี กู เป็นกษตั รยิ ์ คือ สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ
มหี ลานเป็นกษัตรยิ ์ ๒ พระองค์ คอื สมเด็จพระบรมราชาธริ าชที่ ๓และสมเดจ็ พระรามาธบิ ดที ่ี ๒
มีเหลนเป็นกษัตริย์ ๓ พระองค์ คือสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๔(หน่อพุทธางกูร) สมเด็จพระไชย
ราชาและสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ
มลี อ่ื เป็นกษตั ริย์ ๓ พระองค์ คอื สมเด็จพระรัษฎาธริ าช สมเด็จพระยอดฟ้า
และสมเด็จพระมหินทราธริ าช
มลี บื เป็นกษัตริย์ ๒ พระองค์ คือ สมเดจ็ พระนเรศวรและสมเด็จพระเอกาทศรถ
มลี ืดเปน็ กษตั รยิ ์ ๒ พระองค์ คอื สมเดจ็ พระศรีเสาวภาคย์และสมเด็จพระเจา้ ทรงธรรม
พระราชกรณียกจิ และเหตุการณ์สำคญั
-พ.ศ.๑๙๖๗ หลังจากพระราชบิดาคือ สมเด็จพระนครินทราธิราชสวรรคตเกิดการเเย่งชิงราชสมบัติ
กันระหว่างเจ้าอ้ายพระยาเเละเจ้ายี่พระยา โดยกระทำยุทธหัตถีกันที่สะพานป่าถ่าน ถือเป็นการทำยุทธหัตถี
ครั้งเเรกของอยุธยา จนสิ้นพระชนม์ทั้ง ๒ พระองค์ เหล่าเสนาบดีจึงไปเชิญเจ้าสามพระยา ซึ่งครองเมือง
ชัยนาท มาขึ้นครองราชย์ที่อยุธยา เมื่อครองราชย์เเล้วก็ถวายพระเพลิงพระเชษฐาธิราชทั้งสอง สร้างวัดราช
บูรณะในบริเวณที่ถวายพระเพลิงนั้น สร้างพระปรางค์ถวายเเด่ผู้เป็นพระราชบิดา ส่วนเชิงสะพานป่าถ่านที่
กระทำยทุ ธหัตถีนน้ั สถาปนาเจดยี ส์ ององคเ์ รียก เจดยี เ์ จ้าอ้ายเจา้ ย่ี
-พ.ศ.๑๙๖๗ สรา้ งวัดราชบรู ณะ
-พ.ศ.๑๙๗๔ อาณาจักรขอม ตรงกบั สมัยพระเจ้าธรรมาโศก ได้เข้ามากวาดตอ้ นราษฎรเเถบชายเเดนข
องอยุธยา เป็นเหตุให้พระบรมราชาธิราชที่ ๒ เจ้าสามพระยา ต้องยกทัพไปตีนครธม นานถึง ๗ เดือน จึง
สามารถยึดเอาเมืองได้ จึงส่งพระราชโอรสองคโ์ ตคือ พระนครอินทร์ ไปครองเมืองนครหลวง ในฐานะประเทศ
ราชอยุยา เเต่อยู่ได้ไม่นานก็สิ้นพระชนม์ ส่วนสาเหตุนั้นตีความได้หลายอย่างคือ เเพ้อากาศกับถูกปลงพระ
ชนม์ การตนี ครธมครงั้ น.้ี เปน็ การตเี ขมรคร้งั ท๓่ี ของอยุธยา หลงั จากตมี าเเล้ว ๒ คร้งั ในสมยั ของพระเจ้าอู่ทอง
เเละพระราเมศวร เเตค่ ร้งั น้ีได้รับชัยชนะอย่างเด็ดขาด โดยให้นำพระยาเเก้ว พระยาไทย ผู้คนตลอดจนเทวรูป
ศิลปขอมมากมายกลับมาอยุธยาด้วย เมื่อพระนครอินทร์สิ้นพระชนม์เเล้ว อยุธยาก็ไม่เเต่งตั้งใครครองเมือง
เเละรา้ งไป เขมรเองก็ถอื โอกาศยา้ ยเมอื งหลวงใหม่ ไปตั้งทพี่ นมเปญ เพือ่ ใหไ้ กลต่อการรุกรานของอยุธยาเเสดง
ถึงพระราชอำนาจของอยุธยาท่เี หนอื ะกวา่ รัฐใกล้เคยี ง เเม้เเตเ่ ขมรทเี่ คยย่ิงใหญ่ กต็ ้องยอมจำนนต่ออยธุ ยา
-พ.ศ.๑๙๘๑ สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๒(เจ้าสามพระยา) ทรงรวบรวมหัวเมืองเหนือ ๗ หัวเมือง
อันได้เเก่ เมืองพิษณุโลก พิชัย สุโขทัย สวรรคโลก กำเเพงเพชร ตาก นครสวรรค์ อันมีเมืองพิษณุโลกเป็น
ศูนย์กลางเเละอำนาจเหนืออีก. ๖ เมือง การนี้เองโปรดเกล้าให้ พระราเมศวร พระโอรสองค์เล็ก เป็นพระมหา
อุปราชขนึ้ นบั เปน็ ธรรมเนียมการต้ังอุปราชคร้ังเเรก ครองเมืองพิษณุโลก เนื่องจากพระองค์มีมารดามีเชื้อสาย
ราชวงศ์สุโขทัย คือเป็นถึงพระธิดาของสมเด็จพระมหาธรรมราชาที่ ๒ ทำให้การครองเมืองเหนือครั้งนี้ไม่ได้มี
ปญั หาเกิดข้ึน ยงั นับเปน็ การปพู นื้ ฐานสู่การรวมสุโขทยั เขา้ เป็นส่วนหนงึ่ ของอยุธยาในพ.ศ.๒๐๐๖ อกี ด้วย
-พ.ศ.๑๙๘๑ สรา้ งวดั มเหยงค์
-พ.ศ.๑๙๘๓ ไฟไหมป้ ราสาทพระราชมณเฑียรในพระราชวังหลวง
-พ.ศ.๑๙๘๔ ไฟไหมพ้ ระทีน่ งั่ ตีมขุ
-สมเด็จพระเจ้าสามพระยาส่งทูตไปจีนบ่อยถึง ๑๐ ครั้งเพื่อการค้าเเบบรัฐบรรณาการหรือจิ้มก้อง
บางครั้งทตู อยธุ ยาถูกจามนปาจวั ตวั จีนก็ชว่ ยเหลือ มี ๑ คร้ังไทยขอพระราชลัญจกรท่ีใช้ติดต่อใหม่ เพราะเสีย
หายไปในคราวไฟไหมพ้ ระราชมณเฑยี รเเละพระที่นัง่ ตรีมุข(อา้ งอิงนามา)
-พ.ศ.๑๙๘๕ เจา้ สามพระยาตีเมืองเชียงใหมค่ รัง้ ท่ี ๑ ไมส่ ามารถตเี อาเมืองได้ เพราะประชวร
-พ.ศ.๑๙๘๗ เจ้าสามพระยาตีเมืองเชียงใหม่คร้ังที่ ๒ ปราบพรรคตั้งทัพที่ตำบลปะทายเขษม ได้เชลย
ศกึ ๑๒๐,๐๐๐ คนจงึ เสดจ็ กลบั (อ้างเล่มใหญห่ น้า 598) ศึกอยุธยาตเี มืองเชยี งใหม่ครั้งนี้ถูกบันทึกในเอกสารจีน
ราชวงศห์ มงิ กล่าวว่าเชยี งใหม่ขอพระราชลญั จกรทถ่ี กู ทำลายในสงครามน้ีดว้ ย(อ้างองิ นามา)
ในสมัยนล้ี า้ นนามกี ษัตรยิ ์ท่ียง่ิ ใหญ่คอื พระเจา้ ติโลกราช ซง่ึ จะเด่นชดั ในสมยั พระบรมไตรโลกนาถ
สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ
พระราชประวตั ิ
พระมหากษัตริย์พระองคท์ ่ี ๘ ของอยุธยา
ครองราชยส์ มบัติสืบต่อจากพระราชบดิ า คือ สมเด็จพระบรมราชาธิบดีท่ี ๒(เจ้าสามพระยา)
พระราชสมภพ พ.ศ.๑๙๗๔
ครองราชย์ พ.ศ.๑๙๙๑
สวรรคต พ.ศ.๒๐๓๑
ครองราชย์รวม ๔๐ ปี
พระชนมายขุ ณะครองราชย์ ๑๗ ปี
มีพระชนมายุรวม ๕๗ ปี
มตี าเป็นพระมหากษตั ริยแ์ ห่งราชวงศพ์ ระรว่ ง(อาณาจกั รสโุ ขทัย)คือสมเด็จพระมหาธรรมราชาท่ี ๒
ทรงเป็นพระราชโอรสของสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๒(เจ้าสามพระยา)และพระธิดาของสมเด็จ
พระมหาธรรมราชาท่ี ๒ แห่งสุโขทยั ทำให้พระองคม์ ที ั้งเชื้อสายราชวงศส์ พุ รรณภูมิและราชวงศ์พระรว่ งสุโขทัย
-พระราชสมภพในพ.ศ.๑๙๗๔ ที่ทุ่งพระอุทัยหรือในปัจจุบันเรียกกันว่าทุ่งหันตรา ขณะที่สมเด็จพระ
เจ้าสามพระยา กำลังจะยกทพั ไปตีเขมร(ซ่ึงเป็นการไปตีเขมรเป็นคร้ังท่ี ๓ ของอยุธยา) จงึ ไดป้ ระชุมพลและทำ
พิธีตัดไม้ข่มนามตามประเพณีในการออกรบที่ทุ่งนี้ เวลานั้นพระชนนีได้ออกตามเสด็จด้วย และได้ประสูติพระ
ราชโอรสทที่ ุง่ หนั ตรา
-เมอ่ื มพี ระชนมายุครบ ๗ พรรษาได้ตามเสด็จพระราชมารดาไปเมืองพิษณโุ ลก
-เมอื่ พระชนมายุครบ ๙ พรรษา สมเด็จพระเจ้าสามพระยา ทรงต้งั พระนามวา่ สมเด็จพระราเมศวร
-พ.ศ.๑๙๘๔ ไดพ้ ระอุปราชครองเมอื งพษิ ณโุ ลก ซึ่งขณะนั้นพระชนมาย๑ุ ๐ พรรษา
มีพระเชษฐา ๑ พระองค์ คอื พระนครอินทร์
มพี ระราชโอรส ๒ พระองค์ คอื สมเดจ็ พระบรมราชาธิราชที่ ๓และสมเด็จพระรามาธบิ ดีท่ี ๒
สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถทรงมีเครือญาติทีเ่ ป็นกษัตรยิ ์ดงั น้ี
มปี เู่ ปน็ กษัตรยิ ์ คอื สมเดจ็ พระนครนิ ทราธิราช
มีพ่อเป็นกษัตริย์ คอื สมเดจ็ พระบรมราชาธิบดีที่ ๒(เจา้ สามพระยา)
มีลูกเป็นกษัตรยิ ์ ๒ พระองค์ คอื สมเด็จพระบรมราชาธริ าชท่ี ๓และสมเด็จพระรามาธบิ ดีท่ี ๒
มีหลานเป็นกษตั ริย์๓พระองค์คือสมเด็จพระบรมราชาธริ าชที่ ๔(หน่อพุทธางกรู )สมเด็จพระไชยราชา
และสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ
มเี หลนเป็นกษัตริย์ ๓ พระองค์ คือ สมเดจ็ พระรัษฎาธิราช สมเด็จพระยอดฟ้า
และสมเดจ็ พระมหนิ ทราธริ าช
มลี ่ือเปน็ กษตั รยิ ์ ๒ พระองค์ คอื สมเดจ็ พระนเรศวรและสมเด็จพระเอกาทศรถ
มลี ืบเปน็ กษัตริย์ ๒ พระองค์ คือ สมเด็จพระศรีเสาวภาคยแ์ ละสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม
มีลืดเป็นกษตั ริย์ ๒ พระองค์ คอื สมเดจ็ พระเชษฐาธิราชและสมเด็จพระอาทิตยวงศ์
พระราชกรณียกจิ และเหตกุ ารณส์ ำคญั
ในรชั กาลของสมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ ถือวา่ เป็นพระมหากษตั รยิ ์อยุธยาท่ีครองราชย์ยาวนานท่ีสุด
ถงึ ๔๐ ปี มพี ระราชกรณียกิจทีส่ ำคัญหลายประการ อาทิ การปฏริ ูปการปกครองครง้ั แรกและคร้ังใหญ่ทสี่ ุด
ใชม้ าจนถงึ สมยั รัชกาลที่ ๕ แห่งกรงุ รัตนโกสินทร์ ด้านศาสนาและวรรณกรรมกโ็ ดดเด่นเช่นเดยี วกันโดยเฉพาะ
ทรงพระราชนิพนธ์วรรณคดีมหาชาติคำหลวง ถือว่าเป็นวรรณกรรมประเภทคำหลวงเรื่องแรกและเป็น
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาเรื่องแรกของอยุธยา เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีพระราชกรณียกิจด้านอื่นๆอีก
มากมาย สรปุ ไดด้ งั น้ี
-สร้างพระราชวังหลวงเเห่งใหม่ โดยที่ถวายพระราชวังหลวงเดิมที่พระเจ้าอู่ทองสร้างขึ้น ให้เป็นวัด
พระศรีสรรเพชญ์ ในขณะนั้นเรียกกันว่า วัดพุทธาวาส เป็นวัดประจำพระราชวัง ตามขนบเมืองสุโขทัยคือ วัด
มหาธาตุ ต่อมาในสมัยรัตนโกสินทร์ได้เป็นต้นเเบบของวัดพระศรีรัตนมหาศาสดาราม การสร้างพระราชวัง
หลวงใหม่น้ี ได้ทรงสร้างพระที่นั่งสรรเพชญ์ปราสาท(ปัจจุบันมีการจำลองอยู่ที่เมืองโบราณ สมุทรปราการ)
พระท่ีน่งั เบญจรตั นม์ หาปราสาท
-ปฏิรูปการปกครองครงั้ เเรกเเละครั้งใหญท่ ี่สุดในสมัยอยธุ ยา ใช้จนถึงสมยั ร.๕ เเหง่ กรงุ รตั นโกสนิ ทร์
-ตรากฎมณเฑียรบาลและตราระบบศักดนิ าใช้ครัง้ เเรกคร้ังเเรกในประวัติศาสตร์
-เปลีย่ นเเปลงระบบจตสุ ดมภใ์ หม่
•เมือง(เวยี ง) นครบาล พระยานครบาลดูเเล
•วงั ธรรมาธกิ รณ์ พระยาธรรมาธิกรณ์ดูเเล
•คลงั โกษาธบิ ดี พระยาโกษาธบิ ดดี ูเเล
•นา เกษตราธิการ พระยาพลเทพดูเเล
-ตรากฎหมายสำคัญคอื พระอัยการอาชญาหลวงกับพระอัยการลักษณะขบถศึก มีกฎระเบียบเพื่อการ
ปกครองเเละคุมกำลงั คนในอาณาจักร
-ตั้งสมุหกลาโหมขึ้นครั้งเเรกให้ดูเเลการทหารทั้งหมดทั่วเเผ่นดิน พร้อมกับต้ังสมุหนายกครั้งเเรกให้ดู
เเลพลเรอื นท่ัวเเผ่นดนิ เเละดเู เลจตุสดมภ์
-ยกเลิกเมืองลูกหลวง เพื่อขจัดปัญหาการซ่องสุมกำลังพลเพื่อมาแย่งชิงราชสมบตั ิ โดยให้เปลี่ยนเปน็
เมืองชั้นใน ขึ้นตรงต่อราชธานี มีผู้รั้ง กรมการชั้นผู้น้อย เเพ่ง ศุภมาตราดูเเล ไม่มีอำนาจสิทธิ์ขาดใดๆ คอยฟัง
คำบัญชาการจากเมืองหลวงเท่านั้น ส่วนหัวเมืองชั้นนอกนั้นให้เป็นเมืองพระยามหานคร เเบ่งลำดับตาม
ความสำคัญ เป็นเมอื งเอก โท ตรี จดั การปกครองเเบบราชธานี รวมอำนาจสูศ่ นู ยก์ ลาง ,
-พ.ศ.๑๙๙๔ พระเจ้าติโลกราช เชียงใหม่ ทำสงครามตีเมืองพิษณุโลก(ชากังราว)ได้ ในปีเดียวกันก็ตี
สุโขทัย เเตไ่ ม่สำเรจ็
-พ.ศ.๑๙๙๗ ราษฎรเสยี ชวี ิตกันมากพบว่าเกิดจากโรคไขท้ รพิษระบาด
-พ.ศ.๑๙๙๘ ตีเมืองมะละกา
-พ.ศ.๑๙๙๙ พระยายุธิษฐิระ เจ้าเมืองเชลียง(สวรรคโลก) หันไปสวามิภักดิ์กับพระเจ้าติโลกราช เเห่
งเชียงใหม่ กรีฑาทัพมาตีกำเเพงเเพงเพชรสำเร็จ เเล้วมาตีชัยนาทต่อเเต่ไม่สำเร็จ เพราะพระบรมไตรโลกนาถ
ป้องกันได้ทัน. จึงถอนทัพกลับเกิดการสู้รบกบั ทัพอยุธยาที่ตามขึ้นไปที่เมืองเถิน ทัพของพระเจ้าเชียงใหม่เเตก
พ่ายกลับไป
-พระบรมไตรโลกนาถตีเมืองสสี พเถิน. ต้งั หลวงท่ีตำบลบ้านโคน
-พ.ศ.๒๐๐๐ ราคาข้าวเเพงมากจนราษฎรเดือดร้อน ดังปรากฎในพงศาวดารบันทึกว่า ทะนานละ
๘๐๐ เบี้ย เบยี้ เฟอื้ งละเเปดรอ้ ยเบยี้ หรือหนง่ึ เกวยี นสามชงั่ กบั สิบบาท
-พ.ศ.๒๐๐๒ มีการฉลองพระพุทธศาสนา ๒๐๐๐ ปี อยุธยาทำนุบำรุงพระศาสนาเพื่อถวายเป็นพุทธ
บชู ามากมายเเละทส่ี ำคญั ทสี่ ดุ คือ มกี ารหลอ่ พระโพธสิ ัตว์ ๕๐๐ พระชาติในรชั กาลพระบรมไตรโลกนาถ
-พ.ศ.๒๐๐๔ พระยาเชลียงนำพระเจ้าติโลกราชตเี มองพิษณุโลก เเต่ไม่สำเรจ็ จึงเปลี่ยนเป้าหมายไปตี
กำเเพงเพชร สู้รบฟาดฟันกนั ถึง ๗ วันก็ไมส่ ำเร็จ จึงเลกิ ทัพกลับไป
-พ.ศ.๒๐๐๖ ตีเมืองเชยี งใหม่ เเตไ่ ม่สำเรจ็ ก็ยกทัพกลับ เเต่พระบรมไตรโลกนาถ เกรงวา่ เมืองเหนือจะ
วุ่นวายเพราะพระเจ้าเชียงใหม่มีอำนาจมาก สถาปนาเมืองพิษณุโลกเป็นราชธานีทางเหนือ เพื่อป้องกันศึก
ล้านนา สถาปนาพระบรมราชาขึ้นเป็นกษัตริย์ครองอยุธยาเเทน ในฐานะราชธานีทางทิศใต้ขึ้นกับเมือง
พิษณุโลก ประทับอยู่ ณ เมืองพิษณุโลกจนสิ้นรัชกาล สร้างพระศรีรัตนมหาธาตุขึ้นที้วัดพระพุทธชินราชขึ้น
นิมนต์พระเถระมาจากลงั กา ปนี ้เี องไดผ้ นวกสุโขทัยเขา้ เปน็ ส่วนหน่ึงของอยุธยาโดยสมบรู ณห์ ลงั จากครองราชย์
ได้ ๑๕ ปี
-พ.ศ.๒๐๐๗ สรา้ งวหิ ารวดั จฬุ ามณี
-พ.ศ.๒๐๐๘ พระองค์มีความศรัทธาในพระพุทธศาสนามากจึงผนวชเป็นภิกษุ ๘เดือน มีผู้ออกบวช
ตาม ๒๓๔๘ คน ณ วัดจุฬามณี ตามรอยของพระมหาธรรมราชาที่ ๑ ลิไทย นับเป็นพระมหากษัตริย์องค์ที่ ๒
เเละกษัตรยิ ์อยุธยาพระองค์เเรกทีผ่ นวช
-พ.ศ.๒๐๑๑ มหาราชท้าวบุญ ยดึ อำนาจชิงเมืองเชยี งใหม่จากพระเจา้ ตโิ ลกราช(มหาราชท้าวลูก)
-พ.ศ.๒๐๑๔ ได้ช้างเผอื กเชือกเเรกของอยุธยา
-พ.ศ.๒๐๑๕ สมภพพระราชโอรส
-พ.ศ.๒๐๑๖ พระเจา้ ติโลกราช เสยี พระสติ ฆ่ารชั ทายาท อยุธยายกไทยไปตเี มืองเชียงช่นื ในลิลติ ยวน
พ่ายกล่าววา่ คอื เมอื งสวรรคโลก
-พ.ศ.๒๐๑๘ เปน็ การจบศกึ ระหว่างอยธุ ยากบั เชียงใหม่ในสมัยพระบรมไตรโลกนาถ เนอื่ งจากมหาราช
ทา้ วบุญขอเปน็ ไมตรกี บั อยธุ ยา
-พ.ศ.๒๐๒๐ สรา้ งเมืองนครไทย
-พ.ศ.๒๐๒๒ พระสหี ราชเดโช ถึงเเก่อนจิ กรรม
-พ.ศ.๒๐๒๕ สมเด็จพระบรมไตรโลกทรงพระราชนิพนธ์มหาชาติคำหลวงเสร็จสิ้นสมบูรณ์ และในปี
เดยี วกันนกี้ ็ทรงฉลองพระศรีมหาธาตุ วดั พระศรมี หาธาตุ เมืองพษิ ณโุ ลก เป็นเวลา ๑๕ วัน
-พ.ศ.๒๐๒๖ สมเด็จพระบรมราชาเสด็จไปวังช้างตำบลไทยย้อย(น่าจะหมายถึงสมเด็จพระบรมม
ราชาธิราชท่ี ๓ กษตั รยิ พ์ ระองคต์ อ่ มา)
-พ.ศ.๒๐๒๗ พระราชโอรสท้งั ๒ พระองคค์ อื สมเด็จพระเชษฐาธริ าช(ต่อมา คือ สมเดจ็ พระรามาธิบดี
ที่ ๒ ) เเละสมเด็จพระบรมราชาทรงผนวช เเละลาผนวชในพ.ศ.๒๐๒๘ จึงตั้งสมเด็จพระเชษฐาเป็นอุปราช
เมืองพิษณุโลก ส่วนพระบรมราชาครองอยุธยา เนื่องจากขณะนั้นสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถได้มาประทับท่ี
พิษณโุ ลกเเล้ว
-พ.ศ.๒๐๓๐ พระเจา้ ตโิ ลกราช เเหง่ เชียงใหม่ สวรรคต
-พ.ศ.๓๐๓๑ สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถเสดจ็ สวรรคต ซง่ึ ก่อนหนา้ นี้มีลางบอกเหตุไม่ดี คราวสมเด็จ
พระบรมราชาไปตีทวาย ตามพระราชพงศาวดารฉบับหลวงประเสรฐิ อกั ษรนิต์ิกล่าวว่า
“ศักราช ๘๕๐ วอกศก (พ.ศ. ๒๐๓๑) สมเดจ็ พระบรมราชาธิราชเจา้ เสด็จไปเอาเมืองทวาย แลเมอื่ จะ
เสียเมืองทวายนั้นเกดิ อุบาทวเ์ ปน็ หลายประการ โคตกลกู ตวั หน่ึงเป็นแปดเท้า ไก่ฟักไขอ่ อกตวั หนง่ึ เปน็ สเี่ ท้า ไก่
ฟักไข่สามค่องออกลูกเป็นหกตัว อนึ่งข่าวสารงอกเป็นใบ อนึ่งในปีเดียวนั้น สมเด็จพระบรมไตรโลกเสด็จ
นฤพานณเมอื งพษิ ณโุ ลก”
สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๓
พระราชประวตั ิ
พระมหากษัตรยิ ์พระองค์ท่ี ๙ ของอยธุ ยา
-ครองราชย์สืบต่อจากพระราชบดิ า คือ สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ
-ครองราชย์ พ.ศ.๒๐๓๑
-สวรรคต พ.ศ.๒๐๓๔
-ครองราชยร์ วม ๓ ปี
-ทรงเปน็ พระราชโอรสของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
-มีพระอนุชา ๑ พระองค์ คือ สมเด็จพระรามาธบิ ดีที่ ๒
-ขน้ึ ครองราชย์เป็นพระมหากษัตรยิ อ์ งคท์ ่ี ๙ สืบต่อจากพระราชบิดาคือสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
-หลังจากสมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถเสดจ็ สวรรคตในพ.ศ.๒๐๓๑ พระราชโอรสพระองคโ์ ตคือ สมเด็จ
พระบรมราชาธิราช ที่ครองราชย์อยู่ที่อยุธยาอยู่เเล้ว (สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงย้ายราชธานีไปอยู่
พิษณุโลก ทำให้อยุธยาในตอนที่สมเด็จพระบรมราชาครองราชย์นั้น มีฐานะเพียงราชธานีทางใต้หรือเมือง
ลกู หลวงท่ขี นึ้ กับพิษณโุ ลกเท่านัน้ ) ก็ได้ครองราชย์ในฐานะราชธานี ศูนย์กลางทางอำนาจได้ย้ายมาอยู่ท่ีอยุธยา
ดังเดิม ส่วนพระเชษฐา(พระรามาธิบดีที่ ๒) ให้เป็นพระอุปราชครองพิษณุโลก พระบรมราชาธิราชที่ ๔ นั้น
ครองราชยไ์ ดเ้ พียง ๓ ปกี เ็ สด็จสวรรคต ตรงกับพุทธศกั ราช ๒๐๓๔
สมเด็จพระบรมราชาธริ าชที่ ๓ทรงมเี ครือญาตทิ ีเ่ ปน็ กษัตริยด์ งั นี้
มีปทู่ วดเป็นกษตั รยิ ์ คอื สมเด็จพระนครินทราธริ าช
มปี เู่ ป็นกษัตริย์ คอื สมเดจ็ พระบรมราชาธบิ ดีท่ี ๒(เจา้ สามพระยา)
มพี อ่ เป็นกษตั ริย์ คือ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
มีน้องชายเป็นกษัตริย์ คอื สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒
พระราชกรณยี กิจและเหตุการณส์ ำคัญ
-ด้วยระยะเวลาอันสั้นนี้ทำให้ไม่ปรากฏพระราชกรณียกิจอื่นใดของพระองค์เลย มีเพียงระราชกรณีย
กิจเดียวคือ ทรงให้สร้างกำแพงเมืองพิชัย ตามที่บันทึกไว้ในพระราชพงศาวดารว่า “ศักราช ๘๕๒ จอศก
(พ.ศ. ๒๐๓๓) แรกใหก้ อ่ กำแพงเมืองพิไชย”
สมเด็จพระรามาธิบดที ี่ ๒
พระราชประวัติ
พระมหากษัตรยิ ์พระองคท์ ่ี ๑๐ ของอยธุ ยา
ครองราชยส์ ืบต่อจากพระเชษฐาธิราช คอื สมเด็จพระบรมราชาธริ าชท่ี ๓
พระราชสมภพ พ.ศ.๒๐๑๕
ครองราชย์ พ.ศ.๒๐๓๔
สวรรคต พ.ศ.๒๐๗๒
ครองราชย์รวม ๓๘ ปี
พระชนมายุขณะครองราชย์ ๑๙ ปี
มีพระชนมายุรวม ๕๗ ปี
ทรงเป็นพระราชโอรสของสมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ
ทรงมีพระเชษฐา(พ่ีชาย) คือ สมเดจ็ พระบรมราชาธิราชที่ ๓
ทรงมพี ระราชโอรส ๓ พระองค์ คือ
๑.สมเด็จพระบรมราชาธริ าชที่ ๔(หน่อพุทธางกูร)
๒.สมเดจ็ พระไชยราชาธิราช
๓.สมเดจ็ พระมหาจกั รพรรดิหรือพระเฑยี รราชา ซ่งึ ทุกองค์ไดเ้ ป็นพระมหากษตั รยิ ์
-พระนามเดมิ คอื พระเชษฐา
-ปรากฏช่ือในวรรณคดีเรอื่ งขุนช้างขนุ แผน คือพระพนั วษา
-พ.ศ.๒๐๒๘ พระราชบิดาสถาปนาเป็นพระอุปราชที่เมืองพิษณุโลก ผ่านไป ๓ ปีคือพ.ศ.๒๐๓๑
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถก็สวรรคต ทำให้พระบรมบรมราชาธิราชที่ ๓ ผู้เป็นพระเชษฐา(พี่ชาย) ก็ได้ข้ึน
ครองราชย์ แต่ครองราชย์ไดเ้ พยี ง ๓ ปี ก็สวรรคต ทำให้พระองคซ์ งึ่ เป็นอุปราชไดเ้ สวยราชสมบตั ิ พระนามว่า "
สมเดจ็ พระรามาธบิ ดีท่ี ๒" อย่ใู นราชสมบตั ิยาวนานถงึ ๓๘ ปี
สมเด็จพระรามาธบิ ดที ี่ ๒ ทรงมเี ครอื ญาติที่เปน็ กษัตริย์ดังน้ี
มีปทู่ วดเปน็ กษตั รยิ ์ คือ สมเด็จพระนครนิ ทราธิราช
มีปู่เป็นกษัตรยิ ์ คอื สมเด็จพระบรมราชาธิบดที ี่ ๒(เจ้าสามพระยา)
มีพอ่ เปน็ กษัตรยิ ์ คอื สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
มพี ช่ี ายเปน็ กษตั ริย์ คือ สมเดจ็ พระบรมราชาธริ าชที่ ๓
มีลูกเป็นกษตั รยิ ์ ๓ พระองค์ คือ สมเดจ็ พระบรมราชาธริ าชท่ี ๔(หน่อพุทธางกูร)สมเด็จพระไชยราชา
และสมเดจ็ พระมหาจกั รพรรดิ
มหี ลานเป็นกษัตรยิ ์ ๓ พระองค์ คือ สมเดจ็ พระรัษฎาธริ าช สมเด็จพระยอดฟา้
และสมเด็จพระมหนิ ทราธริ าช
มเี หลนเป็นกษตั ริย์ ๒ พระองค์ คอื สมเดจ็ พระนเรศวรและสมเดจ็ พระเอกาทศรถ
มีลอ่ื เปน็ กษัตรยิ ์ ๒ พระองค์ คือ สมเดจ็ พระศรีเสาวภาคยแ์ ละสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม
มีลืบเป็นกษตั รยิ ์ ๒ พระองค์ คอื สมเดจ็ พระเชษฐาธริ าชและสมเด็จพระอาทิตยวงศ์
พระราชกรณยี กิจและเหตกุ ารณ์สำคญั
ด้วยระยะเวลาอันยาวนานนี้ ในรัชกาลของพระองค์ได้สร้างสรรค์ประโยชน์เเก่เเผ่นดินอยุธยาอย่าง
มากมาย สรปุ ไดด้ งั นี้
-พ.ศ. ๒๐๓๕ สร้างเจดีย์ประธานวัดพระศรีสรรเพชญ์(เจดีย์ ๓ องค์ในปัจจุบัน)ขึ้น ๒ องค์ เพื่อบรรจุ
พระอัฐิของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ(พระราชบดิ า)เเละสมเดจ็ สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๓(พระเชษฐา :
พช่ี าย)
-พ.ศ. ๒๐๓๙ มีการเลน่ ดึกดำบรรพ(์ คาดว่านา่ จะหมายถึงชกั นาคดำบรรพ)์ ในวยั ครบเบญจเพส
-พ.ศ. ๒๐๔๐ ทำพิธีปฐมกรรม คอื พิธพี ธิ พี ราหมณ์ข้นั แรกเก่ยี วกบั การจับช้าง
-พ.ศ.๒๐๔๑ ขดุ คลองสำโรงเชอ่ื มคลองนางทับ เมอื งสมุทรปราการ พบรูปเทพารักษ์หล่อด้วยสำริด ๒
องค์ ชื่อจารึกว่าพระยาแสนตาและบาทสังคังกร ประดิษฐานไว้ที่ศาลเมืองพระประแดง เป็นที่เคารพของนัก
เดินเรือ ถกู พระยาละแวกนำกลบั ไปกัมพูชาในพุทธศักราช ๒๑๐๒(อ้างเล่มใหญ่สดุ )
-พ.ศ. ๒๐๔๒ สรา้ งพระวิหารหลวงวัดพระศรีสรรเพชญ์
-พ.ศ.๒๐๔๓ ตีเมืองมะละกา
-พ.ศ. ๒๐๔๓ หล่อพระศรสี รรเพชญ์ (ซ่ึงน่าจะเปน็ ที่มาของการเรียกวดั พระศรสี รรเพชญเ์ เทนวัด
พุทธาวาสในสมยั สมเด็จพระรามาธบิ ดีที่ ๒ นเ้ี อง) ปรากฏในพงศาวดารฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์วา่
“ศกั ราช ๘๖๒ วอกศก (พ.ศ. ๒๐๔๓) สมเดจ็ พระรามาธิบดีเจ้า แรกใหห้ ล่อพระพุทธเจ้าศรสี รรเพชญ์ แลแรก
หล่อในวนั ๑๘๖ คำ่ คร้นั เถิงศักราช ๘๖๕ กนุ ศก (พ.ศ. ๒๐๔๖) วนั ๖๑๑๘ ค่าํ ฉลองพระพุทธเจ้าพระศรสี รร
เพชญ์ คณนาพระพทุ ธเจ้านนั้ แต่พระบาทเถิงยอดพระรัศมีน้นั สูงได้ ๘ วา พระพักตร์นัน้ ยาวได้ ๔ ศอก กวา้ ง
พระพักตร์น้ัน ๓ ศอก แลพระอรุ ะนน้ั กว้าง ๑๑ ศอก แลทองหล่อพระพุทธเจ้านนั้ หนัก ๕ หม่ึน ๓ พันช่งั
ทองคำหมุ้ นน้ั หนกั สองร้อยแปดสบิ หกช่งั ขา้ งหน้านนั้ ทองเนื้อ ๗ นำ้ สองขา ข้างหลังน้ันทองเนือ้ ๖ นำ้ สองขา”
-พ.ศ.๒๐๔๖ สมโภชฉลององค์พระศรสี รรเพชญ์
-พ.ศ.๒๐๕๔ โปรตุเกสยดึ มะละกาได้ หลงั จากน้ันเพียง ๑ เดือนก็ได้เข้ามาเจริญสัมพนั ธไมตรกี ับ
อยุธยา เพราะรูว้ า่ มะละกาเคยเป็นเมอื งขึน้ ของอยุธยา โดยทตู โปรตเุ กสคนเเรกทมี่ าอยุธยาคือ อารต์ ี เฟอนนั
เดส
-พ.ศ.๒๐๕๖ พระเมอื งแก้ว เจ้าเมืองเชยี งใหม่ ตีเมืองสโุ ขทัยแตถ่ ูกตีแตกกลับไป
-พ.ศ.๒๐๕๘ ยกทพั ไปตีเมอื งลำปางได้สำเร็จ
-พ.ศ.๒๐๕๙ไทยทำสญั ญาการคา้ กับโปรตเุ กสนบั เป็นสัญญาฉบับเเรกที่อยธุ ยาทำกบั ตะวันตก
-ส่งทตู ไปเจริญสมั พนั ธไมตรีกับจกั รพรรดจิ นี ถึง ๓ ครงั้ ในพ.ศ. ๒๐๓๔ พ.ศ. ๒๐๕๘ และพ.ศ. ๒๐๖๙
-พ.ศ. ๒๐๖๑ มีการเเต่งตำราพิชยั สงครามขึน้ และทำสารบัญชี โดยการต้งั กรมสรุ สั วดขี นึ้ เพอ่ื ดูแล
-มีการเกณฑ์ทหารคร้ังเเรก
-พ.ศ. ๒๐๖๕ ยุติสงครามกับเชยี งใหม่ เจริญสมั พันธไมตรีกับลา้ นนา(นามา หนา้ ๘๒)
-ในปพี ุทธศักราช ๒๐๖๗ ตามพงศาวดารกลา่ วว่ามเี หตุการณเ์ กดิ ขึน้ ดงั น้ี “ศักราช ๘๘๖ วอกศก
(พ.ศ. ๒๐๖๗) ครง้ั น้ันเหน็ งาช้างต้นเจา้ พระยาปราบแตกข้างขวายาวไป อนง่ึ ในเดือนนั้นมีผู้ทอดบตั รสนเท่ห์
ครงั้ น้นั ใหฆ้ ่าขุนนางเสียมาก”
-พ.ศ. ๒๐๖๘ บ้านเมืองวนุ่ วายอนั เนอื่ งมาจากภัยธรรมชาติ คือ ฝนแลง้ ทำให้ขา้ วเสียหายและเกดิ
แผ่นดนิ ไหว
-พ.ศ. ๒๐๖๙ เกิดเหตกุ แต่งตั้งพระอุปราชคือ สมเดจ็ หนอ่ พุทธางกรู ครองเมืองพิษณโุ ลก
-พ.ศ. ๒๐๗๒ สมเดจ็ พระราธิบดีที่ ๒ สวรรคต
สมเดจ็ พระบรมราชาธิราชที่ ๔ (หนอ่ พุทธางกูร)
พระราชประวัติ
พระมหากษัตรยิ ์พระองค์ที่ ๑๑ ของอยธุ ยา
ครองราชย์สืบต่อจากพระราชบิดา คือ สมเด็จพระรามาธิบดที ่ี ๒
ครองราชย์ พ.ศ.๒๐๗๒
สวรรคต พ.ศ.๒๐๗๖ ประชวรดว้ ยโรคไข้ทรพิษ
ครองราชย์รวม ๔ ปี
ทรงเปน็ พระราชโอรสของ สมเด็จพระรามาธบิ ดที ี่ ๒
ทรงมพี ระอนชุ า ๒ พระองค์คือ สมเด็จพระไชยราชาธริ าชและสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ
ทรงมีพระราชโอรส คือ พระรษั ฎาธริ าชกมุ าร
-นามเดิมคือ สมเดจ็ พระอาทติ ยเจา้
สมเด็จพระบรมราชาธิราชท่ี ๔ (หนอ่ พทุ ธางกูร)ทรงมีเครอื ญาตทิ เี่ ป็นกษัตริย์ดงั นี้
มเี ทียดเป็นกษัตริย์ คือ สมเด็จพระนครินทราธริ าช
มีปทู่ วดเปน็ กษตั ริย์ คอื สมเด็จพระบรมราชาธบิ ดีท่ี ๒(เจา้ สามพระยา)
มปี เู่ ปน็ กษัตรยิ ์ คือ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
มพี อ่ เป็นกษัตริย์ คอื สมเด็จพระรามาธบิ ดีที่ ๒
มีลงุ เป็นกษตั รยิ ์ คือ สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๓
มีน้องชายเปน็ กษตั ริย์ ๒ พระองค์ คอื สมเดจ็ พระไชยราชาและสมเด็จพระมหาจกั รพรรดิ
มลี ูกเป็นกษัตรยิ ์ ๑ พระองค์ คอื สมเดจ็ พระรษั ฎาธิราช
พระราชกรณียกจิ และเหตุการณส์ ำคญั
-สร้างเจดีย์วัดพระศรีสรรเพชญ์เพิ่มอีก ๑ องค์จนครบ ๓ องค์ เพื่อบรรจุพระอัฐิของสมเด็จพระ
รามาธบิ ดีท่ี ๑
พระรัษฎาธริ าชกุมาร
พระราชประวตั ิ
พระมหากษัตรยิ ์พระองค์ที่ ๑๒ ของอยธุ ยา
เปน็ พระราชโอรสของสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๔ (หนอ่ พุทธางกูร)
ครองราชย์สืบต่อพระราชบิดา คอื สมเดจ็ พระบรมราชาธริ าชที่ ๔ (หน่อพุทธางกูร)
พระราชสมภพ พ.ศ.2072
ครองราชย์ พ.ศ.๒๐๗๖
สวรรคต พ.ศ.๒๐๗๗
ครองราชยร์ วม ๕ เดอื น
พระชนมายขุ ณะครองราชย์ ๕ ปี
มีพระชนมายรุ วม ๕ ปี
-เปน็ ยวุ กษตั รยิ ์องค์ท่ี ๒ ของอยุธยา องคแ์ รกของราชวงศส์ ุพรรณภูมิ
-เป็นกษัตรยิ ์ท่ีขึ้นครองราชย์ขณะมีพระชนมายนุ ้อยทสี่ ดุ ของอยุธยา คอื ๕ พรรษา
-พ.ศ.๒๐๗๗ ถูกสำเร็จโทษโดยสมเด็จพระไชยราชา อปุ ราชเมืองพิษณุโลก ผ้เู ปน็ พระเจา้ อา(โอรสของ
สมเดจ็ พระรามาธบิ ดีที่ ๒ อนชุ าของสมเดจ็ พระบรมราชาธริ าชท่ี ๔ ) ณ วดั โคกพระยา
พระรัษฎาธิราชกุมารทรงมีเครอื ญาติท่ีเปน็ กษัตริย์ดงั น้ี
มีพ่อของเทียดเป็นกษตั ริย์ คือ สมเดจ็ พระนครินทราธริ าช
มเี ทียดเปน็ กษตั รยิ ์ คือ สมเดจ็ พระบรมราชาธิบดที ี่ ๒(เจา้ สามพระยา)
มีปทู่ วดเป็นกษัตรยิ ์ คือ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
มปี ู่เป็นกษัตริย์ คือ สมเดจ็ พระรามาธิบดที ี่ ๒
มพี ่อเป็นกษัตริย์ คือ สมเด็จพระบรมราชาธิราชท่ี ๔ (หนอ่ พุทธางกรู )
มอี าเป็นกษัตริย์ ๒ พระองค์ คือ สมเดจ็ พระไชยราชาและสมเดจ็ พระมหาจักรพรรดิ
มีลกู พ่ลี กู นอ้ งเป็นกษตั รยิ ์ ๒ พระองค์ คือ สมเด็จพระยอดฟ้าและสมเด็จพระมหินทราธริ าช
สมเด็จพระไชยราชาธิราช
พระราชประวตั ิ
พระมหากษัตริย์พระองค์ท่ี ๑๓ ของอยุธยา
ครองราชย์ด้วยการปราบดาภเิ ษก ยดึ อำนาจจากพระรษั ฎาธิราชกมุ าร
พระราชสมภพ พ.ศ.๒๐๔๒
ครองราชย์ พ.ศ.๒๐๗๗
สวรรคต พ.ศ.๒๐๘๙
ครองราชยร์ วม ๑๒ ปี
พระชนมายุขณะครองราชย์ ๓๕ ปี
มีพระชนมายรุ วม ๔๗ ปี
เปน็ พระราชโอรสของสมเด็จพระรามาธิบดที ี่ ๒
มพี ระเชษฐาธิราช ๑ พระองค์ คอื สมเดจ็ พระบรมราชาธิราชท่ี ๔(หนอ่ พุทธางกรู )
มพี ระอนชุ า ๑ พระองค์ คอื สมเด็จพระเฑียรราชา(พระมหาจกั รพรรดิ)
มีพระราชโอรส ๒ พระองค์ คอื
๑.สมเดจ็ พระยอดฟา้
๒.พระศรีศิลป์
สมเด็จพระไชยราชาธิราชทรงมีเครือญาตทิ เี่ ปน็ กษัตรยิ ์ดังนี้
มเี ทียดเป็นกษัตริย์ คอื สมเด็จพระนครินทราธริ าช
มปี ทู่ วดเป็นกษัตรยิ ์ คือ สมเดจ็ พระบรมราชาธิบดที ี่ ๒(เจ้าสามพระยา)
มีป่เู ป็นกษัตรยิ ์ คือ สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ
มีพอ่ เปน็ กษตั รยิ ์ คือ สมเด็จพระรามาธิบดที ี่ ๒
มีลงุ เป็นกษัตรยิ ์ คือ สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๓
มพี ่ชี ายเป็นกษัตริย์ คอื สมเด็จพระบรมราชาธริ าชท่ี ๔(หน่อพุทธางกูร)
มนี อ้ งชายเป็นกษัตริย์ ๒ พระองค์ คอื พระเฑียรราชาหรือสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ
มีลกู เปน็ กษัตริย์ ๑ พระองค์ คอื สมเดจ็ พระยอดฟา้
พระราชกรณยี กิจและเหตุการณส์ ำคัญ
-กษตั ริยร์ ัฐรอบข้างท่ีร่วมสมัยกับสมเดจ็ พระไชยราชาคือ พระเจา้ โพธิสารแห่งล้านชา้ ง พระเจ้าตะเบ็ง
ชะเวตแ้ี หง่ พม่า พระเจ้าจันทราชา(นกั องค์จัน)แหง่ เขมร
-เมอื่ รฐั รอบข้างมีอำนาจเข้มแข็งทำให้รชั กาลของพระองค์ต้องทำสงครามเกือบตลอดเวลา เป็นเหตุให้
การส่งเสริมทางการค้าต้องชะงักลง ดังปรากฏในหนังสือนามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย หน้า ๙๔ ว่า
“หลกั ฐานจีนสมัยราชวงศ์หมิง (พ.ศ.๑๙๑๑-พ.ศ.๒๘๗๑)แสดงให้เห็นวา่ การทูตในระบบบรรณาการหยุดชะงัก
ไม่มีการสง่ ทูตไปราชสำนักจีนเลย” แม้ว่าด้านการค้าจะมีไม่มากนักต่ที่สำคัญ เช่น การใช้ระบบตาชั่ง มี
มาตรฐานในการซอื้ ขายมากย่ิงข้นึ โดยเคร่อื งชงั่ ตวงของราชการ(นามา ๙๔)
-เสดจ็ จากเมืองพิษณโุ ลก ยดึ อำนาจจากพระราชนัดดา คอื สมเด็จพระรัษฎาธิราชกุมาร
-พ.ศ.๒๐๘๑ พระมหาเทวศี รีจิระประภาถวายราชบรรณาการ
-พ.ศ.๒๐๘๑ เกิดสงครามระหวา่ งไทยกับพม่าคร้ังแรกในประวัติศาสตร์ คือศึกเมอื งเชยี งกราน
-มกี ารใช้ปืนไฟครั้งแรกในอยุธยา จากศึกเมอื งเชียงกราน
-มีการรับจ้างทหารตะวันตกเป็นครั้งแรก คือทหารรับจากชาวโปรตุเกส ๑๒๐ คนจาก ๑๓๐ คนใน
อยธุ ยาในศกึ เมืองเชียงกราน
-เกิดโบสถ์คริสต์แหง่ แรกในประวัติศาสตร์ โดยชาวโปรตุเกส เนื่องจากมีการพระราชทานที่ดินให้ชาว
โปรตเุ กส บรเิ วณเหนือคลองตะเคยี น เพอ่ื เปน็ ความดีความชอบจากศึกเมอื งเชยี งกราน
-ปราบกบฏพระยานารายณ์ เมืองกำแพงเพชร กบฏครง้ั นี้มลี า้ นช้างคอยหนนุ หลัง(นามา)
--พ.ศ. ๒๐๘๓ตีเขมร แต่ครั้งนี้ไม่เหมือนทุกครั้งที่ผ่านมา เนื่องจากพระเจ้าจันทราชารบเป็นสามารถ
ทัพอยุธยาแตกพา่ ยถูกจับเปน็ เชลยศกึ อยธุ ยาเสียทหารจำนวนมาก
-พ.ศ. ๒๐๘๕ พระไชยราชาขุดคลองลัดบางกอก
-ต่อมาเชยี งใหม่หนั ไปอ่อนน้อมแก่พระเจา้ ตะเบ็งชะเวต้ีแห่งพม่า หลงั จากเป็นไมตรีกับอยธุ ยาอยู่ ๗ ปี
เป็นเหตุให้ในพ.ศ. ๒๐๘๘ สมเด็จพระไชยราชาต้องไปตีเชียงใหม่ไวใ้ นอำนาจเป็นครั้งที่ ๒ เพื่อป้องกันภัยท่จี ะ
เกิดขึ้นในภายหลัง ช่วงนี้เองเป็นจุดเริ่มต้นของการมีอำนาจของท้าวศรีสุดาจันทร์ เพราะพระไชยราชามอบให้
เปน็ ผู้สำเร็จราชการแทน มีอำนาจเทยี บเท่าพระองค์ ซงึ่ เป็นกษตั รยิ ์ จดั ทพั โดยให้พระยาพิษณุโลกเป็นทัพหน้า
มีกำลังพล ๒ หมื่น ส่วนทัพหลวงพักที่เมืองกำแพงเพชร ศึกครั้งนี้ทำให้พระมหาเทวีศรีจิระประภาอ่ อนน้อม
ยอมต่ออยุธยาอีกครงั้
-ระหว่างพระไชยราชาไปรบกับเชียงใหม่นั้น เหตุการณ์ที่อยุธยาเกิดเพิงไหม้บ้านเรือนราษฎร
๑๐,๐๕๐ เรือน ใชเ้ วลาถึง ๓ วนั จงึ ดบั สนิท
-พ.ศ. ๒๐๘๙ ระหวา่ งเสด็จกลับจากศกึ เชียงใหม่ไดส้ วรรคตระหวา่ งทาง โดยกอ่ นหน้านม้ี ีลางบอกเหตุ
คือโลหติ ตกตามประตบู า้ นชาวบา้ นทว่ั เมอื ง
การสวรรคตน้ีมี ๒ หลกั ฐานคือ พงศาวดารไทยกล่าวว่าสวรรคตระหวา่ งทาง แต่บนั ทกึ ของปนิ โต ชาว
โปรตุเกสกลา่ วว่าถูกทา้ วศรสี ดุ าจนั ทน์ใสย่ าพิษในน้ำนมใหเ้ สวย
สมเด็จพระยอดฟ้า
พระราชประวตั ิ
พระมหากษัตริย์พระองค์ท่ี ๑๔ ของอยธุ ยา
เป็นพระราชโอรสของสมเดจ็ พระไชยราชาธิราช
ครองราชย์สบื ต่อพระราชบดิ า คอื สมเดจ็ พระไชยราชาธริ าช
พระราชสมภพ พ.ศ. ๒๐๗๙
ครองราชย์ พ.ศ.๒๐๘๙
สวรรคต พ.ศ.๒๐๙๑
ครองราชย์รวม ๒ ปี
พระชนมายุขณะครองราชย์ ๑๑ ปี
มีพระชนมายุรวม ๑๓ ปี
มีลงุ คือ สมเด็จพระบรมราชาธริ าชที่ ๔(หนอ่ พุทธางกูร)
มีอา คอื สมเดจ็ พระมหาจักรพรรดิ
มีนอ้ งชาย คือ พระศรีศลิ ป์
-ประวัติ เป็นยุวกษัตรยิ อ์ งคท์ ่ี ๓ ของอยุธยา องค์สุดทา้ ยของราชวงศส์ ุพรรณภูมิ
-หลงั จากสมเด็จพระไชยราชาธิราชเจา้ สวรรคตในพุทธศกั ราช ๒๐๘๙ ก็ไดข้ ึ้นครองราชยส์ ืบราชสมบัติ
ตอ่ จากพระราชบดิ า ซง่ึ ขณะนัน้ เปน็ เพยี งยวุ กษตั ริย์ พระชนมายุเพียง ๑๑ พรรษาเท่าน้ัน การครองราชย์ครั้งน้ี
กลับเป็นเพียงหุ่นเชิด เรื่องราวที่บันทึกในรัชกาลของพระยอดฟ้านี้เต็มไปด้วยเรื่องราวของท้าวศรีสุดาจันทน์
และขุนวรวงศาธิราช เพราะอำนาจทั้งหมดมิได้อยู่ในมือของพระยอดฟ้าแต่อย่างใด กลับตกอยู่ในมือของท้าว
ศรีสดุ าจันทน์ เม่อื มองถึงสาแหลกการสืบราชสมบัติแล้ว ผู้ท่มี ีสทิ ธใิ์ นราชบัลลังก์อีก ๑ พระองค์ คือ พระเฑียร
ราชา ผู้เป็นอนุชาของสมเด็จพระไชยราชา แต่เนื่องด้วยอำนาจของท้าวศรีสุดาจันทน์นั้นมีมาก ขุนนาง
ผู้สนับสนุนก็มีไม่น้อย สั่งสมอำนาจมาแต่ครั้งที่สมเด็จพระไชยราชามอบให้เป็นผู้สำเร็จราชการแทน คราวศึก
เมืองเชียงใหม่ครงั้ ท่ี ๒ เหตุน้เี องทำใหพ้ ระเฑียรราชาตัดสนิ ใจลาผนวชอยทู่ ี่วดั ราชประดิษฐาน เพราะเกรงภัยท่ี
จะเกิดขึ้นกับตน เมื่อเป็นเช่นนี้แล้วราชสำนักอยุธยาก็ยิ่งเกิดความวุ่นวายมากยิ่งขึ้น หามีผู้ใดที่จะทัดทาน
อำนาจของท้าวศรีสุดาจันทน์ได้ บ้านเมอื งเกดิ ความปั่นปว่ น มเี หตอุ ันไม่เป็นมงคลอยหู่ ลายประการ ตามที่ระบุ
ในพระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบบั หลวงประเสรฐิ อกั ษรนิติ์วา่
“ศักราช ๙๑๐ วอกศก วัน ๗๕๕ คํ่า เสด็จออกสนามให้ชนช้าง แลงาช้างพระยาไฟนั้นหักเป็น ๓
ท่อน อน่ึงอยู่ ๒ วันช้างตน้ พระฉทั ทันตไ์ ล่รอ้ งเป็นเสียงสงั ข์ อนง่ึ ประตไู พชยนตร์ ้องเปน็ อบุ าทว์”
เม่อื เกดิ เหตดุ งั กลา่ วขนึ้ ก็ยิง่ ทำใหท้ ้าวศรสี ุดาจันทรว์ ิตกวา่ จะมีสง่ิ มาทำให้ตนต้องสนิ้ วาสนา จึงหาผู้ท่ี
จะมาคมุ้ ครองตน โดยไดล้ ักลอบมสี มั พันธ์สวาทกับผ้เู ฝา้ หอพระดา้ นนอก(พระท่นี ง่ั พิมานรัตยา)
ช่อื ว่าบุตรพนั ศรเี ทพ ต่อมาไดเ้ ป็นขุนชินราช ผ้รู กั ษาหอพระดา้ นใน ทง้ั สองมีบตุ รด้วยกนั จนท้องโตขนึ้ เร่ือยๆ
จึงเลือ่ นยศเปน็ ขนุ วรวงศาธิราชตามลำดับ
ต่อมาได้อ้างแก่ขุนนางทั้งปวงว่าพระยอดฟ้านั้นยังทรงพระเยาวน์นัก ควรจะยกขุนวรวงศาธิราชขึ้น
เป็นพระมหากษัตริย์ และทุกอย่างก็เป็นอย่างที่คิด ไม่มีผู้ใดกล้าที่จะคัดค้าน ขุนวรวงศาธิราชก็ได้เป็นกษัตริย์
ปกครองตามประสงค์
-หลังจากพระยอดฟ้าครองราชย์ได้เพียง ๒ ปีมีพระชนมายุ ๑๓ พรรษาเทา่ น้ัน ก็เกดิ เรอ่ื งทน่ี ่าเศร้าขึ้น
เม่ือขุนวรวงศาธิราชสำเร็จโทษพระยอดฟ้าเสยี ทีว่ ัดโคกพระยา สว่ นพระอนุชาคือพระศรีศิลป์ มพี ระชนมายุ ๗
พรรษานัน้ มไิ ดถ้ กู ปลงพระชนม์ สน้ิ รชั กาลของพระยอดฟ้า
สมเด็จพระยอดฟ้าทรงมีเครอื ญาติท่เี ปน็ กษตั รยิ ์ดงั นี้
มพี อ่ ของเทียดเปน็ กษตั ริย์ คอื สมเด็จพระนครนิ ทราธริ าช
มีเทียดเป็นกษัตริย์ คือ สมเดจ็ พระบรมราชาธิบดีที่ ๒(เจา้ สามพระยา)
มปี ทู่ วดเปน็ กษัตรยิ ์ คือ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
มปี ่เู ป็นกษตั รยิ ์ คือ สมเด็จพระรามาธบิ ดที ี่ ๒
มพี ่อเป็นกษัตรยิ ์ คอื สมเด็จพระไชยราชาธิราช
มลี ุงเป็นกษัตริย์ คือ สมเดจ็ พระบรมราชาธริ าชท่ี ๔ หนอ่ พทุ ธางกูร)
มอี าเปน็ กษัตรยิ ์ คอื สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ
มีลูกพี่ลกู น้องเปน็ กษตั ริย์ ๒ พระองค์ คือ สมเด็จพระรษั ฎาธริ าชและสมเดจ็ พระมหินทราธริ าช
สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ
พระราชประวัติ
พระมหากษัตริย์พระองค์ท่ี ๑๕ ของอยุธยา
ครองราชย์ดว้ ยการปราบดาภเิ ษก ยึดอำนาจจากขุนวรวงศาธิราช
พระราชสมภพ พ.ศ.2055
ครองราชย์ พ.ศ.๒๐๙๑
สวรรคต พ.ศ.๒๑๑๑
ครองราชย์รวม ๒๐ ปี
พระชนมายุขณะครองราชย์ ๓๖ ปี
มพี ระชนมายุรวม ๕๖ ปี
ทรงเป็นพระราชโอรสของสมเดจ็ พระรามาธิบดที ี่ ๒
ทรงมพี ระเชษฐา(พี่ชาย) ๒ พระองค์ คอื สมเด็จพระบรมราชาธิราชท่ี ๔ หน่อพุทธางกรู )และ สมเด็จ
พระไชยราชาธิราช
ทรงมพี ระราชโอรส ๒ พระองคแ์ ละพระราชธิดา ๒ พระองค์ ดังนี้
๑.พระราเมศวร
๒พระมหินทร์
๓.พระสวัสดิราช(พระวสิ ุทธิก์ ษตั รยิ ์)
๔.พระเทพกษตั รยี ์
-ประวตั ิ สมเดจ็ พระมหาจักรพรรดิ เป็นพระราชโอรสของสมเด็จพระรามาธิบดีท่ี ๒ เป็นพระอนุชาของสมเด็จ
พระบรมราชาธิราชที่ ๔ (หน่อพุทธางกูร) และสมเด็จพระไชยราชา มีพระมเหสีคือ สมเด็จพระสุริโยทัย
หลังจากสมเด็จพระไชยราชาธิราชสวรรคต ผู้เป็นพระราชโอรสคือ พระแก้วฟ้าหรือพระยอดฟ้า ดึครองราชย์
สมบัติ ขณะมพี ระชนมายุ ๑๑ พรรษา ทำใหท้ า้ วศรีสดุ าจันทรม์ ีอำนาจในราชสำนกั พระเฑียรราชา จงึ เกรงภัย
ท่จี ะเกิดกับตน เน่ืองจากเปน็ บคุ คลหนึ่งทมี่ สี ิทธิ์ในราชสมบัติ ไมเ่ ปน็ ท่ไี ม่ไวว้ างใจของท้าวศรีสุดาจนั ทร์ ย่อมจะ
ถูกลอบกำจัดได้ทุกเมื่อ เป็นดังนี้แล้ว พระองค์จึงออกผนวชที่วัดราชประดิษฐาน ท้าวศรีสุดาจันทร์มีอำนาจ
ที่สุดในอยธุ ยา กระทำตนไม่พึงประสงค์หลายประการ ท้งั ลอบเปน็ ชกู้ บั บตุ รพนั ศรีเทพแลว้ เล่ือนเป็นขุนชินราช
ขุนวรวงศาธิราชตามลำดับ ที่สุดแล้วก็ได้เป็นกษัตริย์ โดยให้เหตุผลว่าพระยอดฟ้ายังทรงพระเยาว์ออกว่า
ราชการอันใดไม่ได้ ผา่ นไปไม่นานก็สำเรจ็ โทษพระยอดฟ้าท่วี ัดโคกพระยา
เมื่อเกิดเหตุการณ์เช่นนี้ในราชสำนักแล้ว ทำให้ขุนนางที่ไม่ใจและที่จงรักภักดีเองก็ไม่เห็นด้วย
จุดสิ้นสุดของอำนาจท้าวศรีสุดาจันทร์และขุนวรวงศาธิราชก็เกิดขึ้นเมื่อ ขุนพิเรนเทพ(สมเด็จพระมหาธรรม
ราชาในกาลตอ่ มา)และพรรคพวก อาทิ ขนุ อินทรเทพ หม่นื ราชเสน่หา หลวงศรียศ เป็นตน้ (เล่มใหญ๋ หน้า๖๔๕)
ร่วมมอื กันกำจัดท้าวศรีสุดาจนั ทร์และขุนวรวงศาธิราชเสยี ตรงกบั พทุ ธศักราช ๒๐๙๑ เมือ่ ชิงราชสมบัติสำเร็จ
จึงได้เชิญพระเฑียรราชา ซึ่งขณะนั้นผนวชอยู่ที่วัดราชประดิษฐาน ลาผนวชมาปราบดาภิเษกครองราชย์
ขณะนั้นมีพระชนมายุ ๓๖ พรรษา เสด็จทางชลมารคโดยเรือพระที่นั่งไชยสุพรรณหงส์ ต่อด้วยทางสถลมารค
เข้าพระราชวัง
จากนั้นก็สถาปนาอวยยศให้บุคคลต่างๆ โดยให้พระมหาราชครูเชญิ พระธรรมนูญจากหอหลวงมาเป็น
ที่ปรึกษา ใช้ต้นแบบในการอวยยศเมือ่ คร้ังเจ้ามหาเสนาเชญิ เจ้านครอินทร์ เมืองสุพรรณบุรี มาครองราชย์เป็น
สมเด็จพระอินทราชา(เล่มใหญ่ ๖๔๕) ดงั นี้
-พระมเหสคี อื พระสรุ โิ ยทัย สถาปนาเปน็ พระมหาเทวี
-พระราชโอรสองค์โตเป็นพระอปุ ราชคอื พระราเมศวร
-พระโอรสองคเ์ ล็กเป็นพระมหินทร์
-พระธดิ าคอื พระสวัสดริ าชเปน็ พระวสิ ุทธก์ิ ษัตรยิ ์
-พระธดิ าองค์สุดท้ายเป็นพระเทพกษัตรยี ์
-ขุนพิเรนเทพ สถาปนาเป็น พระมหาธรรมราชา ครองเมืองพิษณุโลก(เมืองลูกหลวง) เนื่องจากมีเชอื้
สายราชวงศ์พระร่วงสุโขทัยทางบิดาน่าจะครองเมืองเหนือได้ดี พร้อมกับพระราชทานพระวิสุทธิ์กษัตริย์เป็น
พระเทวี
-เจ้าพระยาศรธี รรมาโศกราชสถาปนาเปน็ เจ้าเมอื งนครศรธี รรมราช
-หลวงศรยี ศสถาปนาเปน็ เจา้ พระยามหาเสนาบดี สมุหกลาโหมคุมการทหาร
-หมืน่ ราชเสนห่ าสถาปนาเปน็ เจา้ พระยามหาเทพ
-หม่ืนราชเสนห่ าสถาปนาเป็นพระยาภกั ดีนชุ ิต
-พระยาพชิ ัยสถาปนาเป็นเจ้าพระยาพชิ ัย ครองเมืองสวรรคโลก
เหตกุ ารณส์ ำคัญอน่ื ๆที่เกดิ ข้ึนในรชั กาลของสมเดจ็ พระมหาจักรพรรดิ สรุปไดด้ ังน้ี
-ขุนพิเรนทรเทพกำจัดขุนวรวงศาธิราชและแม่อยั่วศรีสุดาจันทร์ พระเฑียรราชาลาผนวช ครองราชย์
เปน็ พระมหากษตั รยิ น์ ามว่า สมเดจ็ พระมหาจกั รพรรดิ
สมเด็จพระมหาจกั รพรรดทิ รงมเี ครือญาตทิ ่ีเป็นกษัตริย์ดงั นี้
มเี ทียดเป็นกษตั ริย์ คอื สมเด็จพระนครินทราธริ าช
มปี ทู่ วดเปน็ กษัตริย์ คือ สมเดจ็ พระบรมราชาธบิ ดที ่ี ๒(เจา้ สามพระยา)
มปี เู่ ปน็ กษตั รยิ ์ คือ สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ
มีพ่อเป็นกษตั ริย์ คอื สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒
มลี ุงเป็นกษัตริย์ คือ สมเด็จพระบรมราชาธริ าชท่ี ๓
มีพี่ชายเป็นกษัตริย์ ๒ พระองค์ คือ สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๔(หน่อพุทธางกูร)และสมเด็จพระ
ไชยราชาธริ าช
มลี ูกเป็นกษัตรยิ ์ ๑ พระองค์ คือ สมเดจ็ พระมหินทราธิราช
มีหลานเป็นกษัตรยิ ์ ๒ พระองค์ คือ สมเด็จพระนเรศวรและสมเด็จพระเอกาทศรถ
มีเหลนเปน็ กษตั ริย์ ๒ พระองค์ คือ สมเดจ็ พระศรเี สาวภาคยแ์ ละสมเดจ็ พระเจ้าทรงธรรม
มลี ือ่ เปน็ กษัตรยิ ์ ๒ พระองค์ คือ สมเด็จพระเชษฐาธริ าชและสมเด็จพระอาทิตยวงศ์
พระราชกรณียกจิ และเหตุการณส์ ำคญั
-พ.ศ.๒๐๙๑ สงครามเสียสมเด็จพระศรีสุริโยทัย นับเป็นสงครามครั้งที่ ๒ระหว่างอยุธยากับพม่า
กษัตริย์พม่าที่ยกทัพมาคือพระเจ้าตะเบ็งชะเวต้ี เกิดขึ้นหลังจากสมเด็จพระมหาจักรพรรดิครองราชย์เพียง ๖
เดือน(พระราชพงศาวดารกรงุ เก่า ฉบบั หลวงประเสริฐอักษรนิติ์กลา่ ววา่ ๗ เดือน)
-พ.ศ. ๒๐๙๒ ไดช้ า้ งเผือกคพู่ ระบารมชี า้ งแรกใน ๗ ชา้ งเปน็ ชา้ งเผือกพลาย ชอ่ื วา่ ปัจจยั นาเคนทร์
-พ.ศ. ๒๐๙๒ ปีเดียวกันกับที่ได้ช้างเผือกก็ทรงให้ก่อกำแพง แบบก่ออิฐถือปูนขึ้นครั้งแรกในอยุธยา
จากที่แบบเดิมที่ใช้มาแต่ครั้งพระเจ้าอู่ทอง มีเพียงเนินดิน เมื่อเกิดสงครามก็ปักไม้เป็นกำแพง ซึ่งไม่อาจทน
กำลงั ชองปนื ใหญได้
-พ.ศ. ๒๐๙๓ ทำพธิ ีปฐมกรรม(เกีย่ วขอ้ งกบั การจับช้าง โดยมพี ราหมณพ์ ฤฒิบาศเปน็ ผเู้ ช่ยี วชาญ)
ที่ตำบลท่าแดง มีพราหมณ์พฤฒิบาศคือพระกรรมวาจา มีพระพิเชฏฐ์เป็นอัษฎาจารย์ และพระอินโทรเป็น
กรมการ
-พ.ศ. ๒๐๙๕ ทรงดัดแปลงเรือแซซึ่งเป็นเรือสำหรับใช้บรรทุกอาวุธยุทโธปกรณ์เพื่อลำเลียงในการ
ตา่ งๆ ใหเ้ ปน็ เรอื ไชยกบั เรอื ศรี ษะสตั ว์
-พ.ศ. ๒๐๙๖ จดั พธิ มี ธั ยมกรรมเปน็ ครง้ั แรกในอยุธยา ตำบลชัยนาทบุรี
เนื่องจากสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ทรงมีช้างเผือกถึง ๗ ช้าง จนได้รับพระราชสมัญญานามว่า พระ
เจา้ ชา้ งเผือก จงึ ทำให้ปรากฏการบนั ทึกพธิ กี รรมเกี่ยวกบั ช้างอยู่บ่อยครั้ง ไม่ว่าจะเป็นพธิ ปี ฐมกรรมและมัธยม
กรรม พราหมณพ์ ฤฒิบาศ เปน็ ตน้ รวมถงึ การเสดจ็ วังชา้ งอีกดว้ ย
-พ.ศ. ๒๐๙๗ เสดจ็ ไปวังช้างทต่ี ำบลบางละมุง การเสดจ็ ครงั้ นไี้ ดช้ า้ งพลายเผอื ก คือ พระคเชนโทรดม
และยงั ไดช้ า้ งพลายพัง ๖๐ ช้างอกี ด้วย
-พ.ศ. ๒๐๙๘) ทรงได้ช้างเผือกพลาย คอื พระแกว้ ทรงบาตร
-พ.ศ. ๒๐๙๙ ไปตีเขมร ซึ่งมีเมืองหลวงอยู่ที่ละแวก โดยให้พระยาสวรรคโลกเป็นทัพหลวง กำลังพล
๓๐,๐๐๐ นาย
-พ.ศ. ๒๑๐๐ เกิดเหตุการณ์เพลิงไหม้ในพระราชวงั
-พ.ศ. ๒๑๐๐ มพี ระราชพิธีอาจารยิ าภิเษก
-พ.ศ. ๒๑๐๐ มพี ระราชพิธีอินทราภเิ ษก พระราชทานสตั สดกมหาทาน
-พ.ศ. ๒๑๐๐ เสด็จวงั ชา้ งตำบลโตรกพระ การเสด็จครั้งน้ีได้ช้างพลายพัง ๖๐ ช้าง
-พ.ศ. ๒๑๐๒ เสด็จไปวงั ช้างตำบลแสนตอ ได้ช้างพลายพัง ๔๐ ชา้ ง.
-พ.ศ. ๒๑๐๓ เสดจ็ ไปวังช้างตำบลวัดไก่ ไดช้ า้ งพลายพัง ๕๐ ชา้ ง รวมถงึ ได้ช้างเผือก
-พ.ศ. ๒๑๐๔ กบฏพระศรีศิลป์
-พ.ศ. ๒๑๐๔ เกดิ เหตุการณส์ ำคญั ตามพระราชพงศาวดารกรงุ เก่า ฉบับหลวงประเสริฐอกั ษรนิต์ิดงั น้ี
“ศักราช ๙๒๓ ระกาศก (พ.ศ. ๒๑๐๔) พระศรีศิลป์บวชอยู่วัดมหาธาตุ แล้วหนีออกไปอยู่ตำบลม่วง
มดแดง แลพระสังฆราชวัดป่าแกว้ ให้ฤกษ์แก่พระศรีศิลป์ ให้เขา้ มาเขา้ พระราชวัง ณ วัน ๗๑๙ ค่ํา คร้ังน้ันพระ
ยาสีหราชเดโชเป็นโทษรับพระราชอาชญาอยู่ แลพระยาสีหราชเดโชจึงให้ไปว่าแก่พระศรีศิลป์ว่า ครั้นพ้นวัน
พระแล้วจะให้ลงพระราชอาชญาฆ่าพระยาสีหราชเดโชเสยี แลขอให้เร่งยกเขา้ มาให้ทันแตใ่ นวันพระนี้ แลพระ
ศรีศิลป์จึงยกเข้ามาแต่ในวัน ๕๑๔๘ คํ่า เพลาเย็นนั้นมายังกรุง ครั้นรุ่งขึ้นในวันพระนั้น พระศรีศิลป์เข้า
พระราชวังได้ ครัง้ นั้นได้ พระศรศี ลิ ป์มรณภาพในพระราชวังน้ัน ครน้ั แลร้วู ่าพระสังฆราชป่าแก้วให้ฤกษ์แก่พระ
ศรศี ิลปเ์ ปน็ แม่นแลว้ ไซร้ ก็ให้เอาพระสงั ฆราชปา่ แก้วไปฆ่าเสยี ”
-พ.ศ. ๒๑๐๕ เสด็จไปวงั ช้างตำบลไทรยอ้ ย ได้ชา้ งพลายพงั ๗๐ ชา้ ง
-สรา้ งป้อมแบบฝรัง่ คร้งั แรก
-มีสำรวจบัญชีสำมะโนครัว ตามหัวเมืองชั้นในทุกเมือง จึงสามารถรู้จำนวนชายฉกรรจ์ที่สามารถเป็น
ทหารออกรบได้
-สมเด็จพระมหาจักรพรรดิสัง่ ใหร้ ื้อกำแพงเมืองนครนายก สุพรรณบุรีและ ลพบุรีซึ่งทั้ง ๓ เมืองนี้เปน็
เมืองหน้าด่านชั้นนอก โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อไม่ให้ข้าสึกยึดและใช้เป็นฐานที่มั่นทำสงครามกับอยุธยา(อ้างอิง
ประวัติชาติไทย
-สร้างเมืองเมืองใหม่ขึ้น 3 เมือง ประกอบด้วย เมืองนนทบุรี(ตลาดขวัญ) เมืองสาครบุรี(บ้านท่าจีน)
เมืองนครชยั ศรี(แบง่ จากเขตเมอื งราชบุรกี ับเมอื งสุพรรณบรุ ี) เพ่อื ใหเ้ ป็นเมืองยทุ ธศาสตรป์ อ้ งกันพม่า ตลอดจน
รวมพลและง่ายต่อการเกณฑ์เข้าพระนคร
-มีการขุดคลองมหานาคเพื่อเป็นคูเมืองออกไปถึงชายทุ่งภูเขาทอง เริ่มขุดตั้งแต่พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้
ยกทัพมาในพุทธศกั ราช ๒๐๙๑ เสยี พระสรุ โิ ยทัย
-พ.ศ. ๒๑๐๖ เกิดสงครามช้างเผอื ก
-พ.ศ. 2106 กษัตริย์ล้านช้าง คือสมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช จึงส่งทูตมาขอพระเทพกษัตรี พระราช
ธิดาในสมเด็จพระมหาจักรพรรดิและสมเด็จพระสุริโยทัยไปเป็นพระชายา เนื่องจากได้ยินพระเกียรติยศ
วีรกรรมของสมเด็จพระสุริโยทัยคราวชนช้างกับพระเจ้าแปร แต่ตอนนั้นพระเทพกษัตรีทรงพระประชวร พระ
มหาจกั รพรรดิจึงสง่ พระแกว้ ฟ้าไปแทน
-เกิดกบฏปัตตานี
-พ.ศ.2107 สมเดจ็ พระไชยเชษฐาธิราช ไมข่ อรับใครอืน่ ใดถา้ ไม่ใช่พระธิดาของสมเด็จพระสรุ โิ ยทัยจึง
ส่งพระแก้วฟ้าคืน ทำให้สมเด็จพระมหาจักรพรรดิทรงส่งพระเทพกษัตรีไปยังล้านช้าง แต่พระเจ้าบุเรงนองชิง
ตัวพระเทพกษตั รีไป
-พ.ศ. 2109 สมเด็จพระมหาจักรพรรดิทรงทราบว่าพระเจ้าบุเรงนองชงิ ตัวพระเทพกษัตรี ก็ทรงเสีย
พระทัย จึงให้พระมหินทราธิราชออกประชุมราชการแทน เสด็จไปประทับที่วังหลังบริเวณวัดสวนหลวงสบ
สวรรค์ ต่อมาได้ออกผนวช ฃณะมีพระชนมายุ59 พรรษา
-พ.ศ. ๒๑๑๑ สมเด็จพระมหาจักรพรรดเิ จ้าทรงพระประชวรและเสด็จสวรรคต สมเดจ็ พระมหินทราธิ
ราชได้ครองราชย์
สมเด็จพระมหินทราธิราช
พระราชประวัติ
พระมหากษตั ริย์พระองคท์ ่ี ๑๖ ของอยธุ ยา
ครองราชย์สืบตอ่ จากพระราชบิดา คือ สมเดจ็ พระมหาจักรพรรดิ
พระราชสมภพ พ.ศ. 2078
ครองราชย์ พ.ศ.๒๑๑๑
สวรรคต พ.ศ.๒๑๑๒
ครองราชย์รวม ๑ ปี
พระชนมายขุ ณะครองราชย์ ๓๓ ปี
มพี ระชนมายรุ วม ๓๔ ปี
ทรงเป็นพระราชโอรสของสมเด็จพระมหาจักรพรรดิและสมเด็จพระศรีสรุ ิโยทยั
มีพระเชษฐา ๑ พระองค์ คือ พระราเมศวร
มพี ระขนิษฐา ๒ พระองค์ คือ พระสวัสดริ าช(พระวสิ ุทธิ์กษตั ริย์)และพระเทพกษตั รีย์
สมเด็จพระมหนิ ทราธิราชทรงมเี ครือญาตทิ ีเ่ ปน็ กษัตรยิ ด์ ังนี้
มีพอ่ ของเทยี ดเป็นกษตั ริย์ คือ สมเดจ็ พระนครินทราธิราช
มเี ทยี ดเป็นกษัตริย์ คือ สมเด็จพระบรมราชาธบิ ดที ี่ ๒(เจ้าสามพระยา)
มปี ูท่ วดเป็นกษัตรยิ ์ คอื สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ
มีปเู่ ป็นกษัตรยิ ์ คือ สมเด็จพระรามาธิบดีท่ี ๒
มีพ่อเป็นกษัตริย์ คอื สมเด็จพระมหาจกั รพรรดิ
มีลุงเป็นกษัตริย์ ๒ พระองค์ คือ สมเด็จพระบรมราชาธริ าชที่ ๔ หน่อพุทธางกูร)และสมเด็จพระไชย
ราชาธริ าช
มีลูกพลี่ กู นอ้ งเปน็ กษัตรยิ ์ ๒ พระองค์ คอื สมเด็จพระรษั ฎาธริ าชและพระยอดฟ้า
เหตุการณส์ ำคัญ
-พ.ศ. ๒๑๑๑ สมเดจ็ พระมหาจักรพรรดิเจ้าทรงพระประชวรและเสด็จสวรรคต สมเด็จพระมหินทราธิ
ราชได้ครองราชย์
-พ.ศ. ๒๑๑๒ พระเจ้าหงสาวดีปิดลอ้ มอยู่ ๙ เดือน เสียกรงุ ศรอี ยุธยาครงั้ ที่ ๑
สมเด็จพระมหาธรรมราชาธริ าช
พระราชประวัติ
เปน็ พระมหากษัตริย์องค์ที่ ๑๗ แหง่ อยธุ ยา
พระราชสมภพ พ.ศ.๒๐๕๗
ครองราชย์ พ.ศ.๒๑๑๒
สวรรคต พ.ศ.๒๑๓๓
ครองราชยร์ วม ๒๑ ปี
พระชนมายุขณะครองราชย์ ๕๕ พรรษา
มพี ระชนมายุรวม ๗๖ พรรษา
มพี ระราชโอรส ๒ พระองค์ คอื สมเดจ็ พระนเรศวรและสมเด็จพระเอกาทศรถ
มพี ระราชธิดาคอื พระสพุ รรณกลั ยา
หลงั จากเสยี กรุงคร้ังท่ี ๑ พระเจา้ บเุ รงนองไดส้ ถาปนาให้สมเด็จพระมหาธรรมราชาเจ้าเมืองพิษณุโลก
ขึน้ ครองกรงุ ศรอี ยธุ ยาในฐานะประเทศราชของอยุธยาและเป็นการสถาปนาราชวงศส์ ุโขทัยข้นึ
-เมื่อครั้งยังอยู่ในตำแหน่งเจ้ากรมพระตำรวจขวา บรรดาศักดิ์เป็นขุนพิเรนทรเทพ ในรัชกาลของพระ
ยอดฟา้ ได้รว่ มมือกบั ขนุ อินทรเทพ หม่ืนราชเสนห่ า และหลวงศรียศ เพือ่ หาทางกำจดั ขุนวรวงธิราชและแม่อยู่
หวั ศรีสดุ าจนั ทร์ จึงไดไ้ ปเขา้ เฝ้าพระเฑยี รราชาที่วดั ราชประดษิ ฐาน ครง้ั น้ันมผี เู้ สนอให้ทำพธิ ีเส่ยี งทาย ว่าใครมี
บารมีมากกว่ากันระหว่างพระเฑียรราชาและขุนวรวงศาธิราช ผู้เสนอก็คือขุนอินทรเทพ หมื่นราชเสน่หา และ
หลวงศรียศ พระเฑียรราชาเห็นชอบ แม้ว่าขุนพิเรนทรเทพจะไม่เห็นด้วยแต่ก็ยอมทำ จึงออกจากวัดราช
ประดิษฐานไปทำพิธีเสี่ยงเทียนที่พระอุโบสถวัดใหญ่ชัยมงคลหรือวัดป่าแก้ว เมื่อจุดเทียนปรากฎว่าเทียนของ
พระเฑยี รราชาสน้ั กวา่ แตเ่ ม่อื จะเลิกพิธี เทยี นของขุนวรวงศาธิราชนน้ั กลับดับลง นับเป็นเหตมุ งคล ผู้ทำพิธีท้ัง
๕ คนคือ พระเฑียรราชา ขุนพิเรนทรเทพ ขุนอินทรเทพ หมื่นราชเสนห่ า และหลวงศรียศ พอใจเป็นอย่างมาก
จึงเริ่มแผนการ โดยมีกลอุบายให้กรมการเมืองลพบุรีมาแจ้งขุนวรวงศาธิราช แม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์ ว่าพบ
ช้างเผือก ทั้งหมดไม่รู้ว่าเป็นอุบาย พอรุ่งเช้า ขุนวรวงศาธิราช แม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์ พระราชโอรส และพระ
ศรีศิลป์ จึงทรงเสด็จพระราชดำเนินไปทางคลองสระบัว เพื่อไปทรงคล้องช้างเผอื ก จึงถูกจับฆ่าตาย เอาศพไป
เสียบประจานทว่ี ดั แร้ง เหลือไวเ้ พียงพระศรีศลิ ป์(โอรสของพระไชยาชา อนชุ าของพระแกว้ ฟา้ เท่าน้ัน ซ่ึงต่อมา
เมื่อพระศรีศิลป์อายุครบ ๒๐ ปไี ด้ก่อกบฏและถกู ฆา่ ตายเชน่ กัน
สมเด็จพระมหาจักรพรรดิเมื่อได้ขึ้นครองราชย์แล้วก็สถาปนาขุนพิเรนทรเทพเป็นสมเด็จพระมหา
ธรรมราชาธริ าชเจ้า ครองเมืองพษิ ณโุ ลก พระราชทานพระราชธิดาคือ พระวสิ ุทธิกษัตร(ี พระสวัสดิราช) ให้เป็น
พระอัครมเหสี
ภายหลังได้มีเรื่องต้องเป็นศัตรูกันกับอยุธยาหันไปเข้ากับหงสาวดี หลังจากเสียกรุงครั้งที่ ๑ ใน
พุทธศักราช ๒๑๑๒ พระเจ้าบุเรงนองได้แต่งต้ังสมเด็จพระมหาธรรมราชาขึ้นเป็นกษัตรยิ ์ครองอยุธยาในฐานะ
ประเทศราช
สมเดจ็ พระมหาธรรมราชาทรงมเี ครือญาตทิ ีเ่ ปน็ กษัตริย์ดงั นี้
มีลูกเป็นกษัตริย์ ๒ พระองค์ คอื สมเดจ็ พระนเรศวรเเละสมเดจ็ พระเอกาทศรถ
มีหลานเปน็ กษตั ริย์ ๒ พระองค์ คือ สมเด็จพระศรเี สาวภาคย์เเละสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม
มีเหลนเปน็ กษัตรยิ ์ ๒ พระองค์ คือ สมเดจ็ พระเชษฐาธริ าชย์เเละสมเด็จพระอาทติ ยวงศ์
พระราชกรณียกจิ และเหตุการณ์สำคัญ
สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชทรงมีพระราชโอรสผู้เก่งกล้าสามารถทั้ง ๒ พระองค์คือสมเด็จพระ
นเรศวรและสมเด็จพระเอกาทศรถ ทำให้มีผูค้ อยชว่ ยในการบริหารบ้านเมือง พระราชกรณียกิจของพระองค์มี
พอสงั เขปดงั นี้
-พ.ศ. ๒๑๑๓ พระเจ้ากรุงกัมพูชา ครองเมืองละแวกนั้น เห็นว่าอยุธยาบอบช้ำกับการสงครามคราว
เสียกรุง จึงเห็นประโยชน์ที่จะมาย่ำยี เพราะต้องการอยากจะได้ทรัพย์สินที่หลงเหลือกลับไปบ้าง จึงยกทัพ ๒
หมื่นคนเข้ามา ผ่านมาทางเมืองนครนายก ตั้งทัพที่ตำบลบ้านกระทุ่ม จากนั้นเข้าประชิดชานพระนคร
บัญชาการรบอยู่ในวัดสามพหิ าร ตลอด ๓ วนั แตก่ ็ไม่สามารถเอาชนะได้จงึ ยกทัพกลับไป แต่กไ็ ดก้ วาดตอ้ นผู้คน
แถบนครนายกกลับไปดว้ ย และได้ยกทัพมาอีกในพ.ศ.๒๑๑๗ กไ็ ม่สามารถตไี ดเ้ นอ่ื งจากสมเดจ็ พระนเศวรที่ยก
ทัพไปช่วยพม่านั้นเกิดประชวรเป็นไข้ทรพิษ ที่หนองบัวลำภู เมืองอุดรธานี จึงกลับมาช่วยได้ทัน เขมรก็แตก
พา่ ยเป็นคร้งั ท่ี ๒
การที่เขมรยกทัพมาเช่นนี้กลับเป็นประโยชน์แก่กรุงศรีอยุธยามากกว่า เพราะจะได้ใช้เป็นข้ออ้างใน
การซ่อมแซมปรับปรงุ บา้ นเมอื งโดยทพ่ี ม่าไม่สงสัย คือ
-พ.ศ. ๒๑๒๓รื้อกำแพงพระนครด้านทศิ ตะวนั ออกไปต้ังถงึ ริมแม่นำ้ เหมอื นกบั ด้านอ่ืนๆ
-สรา้ งปอ้ มมหาชัย
-ขุดคคู ลองข่ือหน้าให้กว้างมากขึน้ จากท่ขี ุดครงั้ แรกในสมยั สมเดจ็ พระรามาธิบดีที่ ๑
-พ.ศ. ๒๑๑๔ ตามพระราชพงศาวดารกล่าวว่า “ศักราช ๙๓๓ มะแมศก (พ.ศ. ๒๑๑๔) น้ำน้อย อน่ึง
สมเด็จพระนารายณ์บพิตรเปน็ เจ้า เสด็จขึ้นไปเสวยราชสมบัติเมืองพิษณโุ ลก” ซึ่งคำว่า “สมเด็จพระนารายณ์
บพิตร”นา่ จะหมายถึง สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
-สร้างวังหน้าคือพระราชวังจนั ทรเกษมสำหรบั เปน็ ท่ีประทับของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช และสร้าง
วงั หลัง สำหรบั เป็นที่ประทับของสมเดจ็ พระเอกาทศรถ
-พ.ศ. ๒๑๒๔ เกิดกบฏญาณประเชียรหรือญาณพิเชียร ยกพลมาจากเมืองลพบุรี มีชาวบ้านเข้าร่วม
จำนวนมาก ยนื ชา้ งอยตู่ ำบลหัวตรี ชาวเมอื งยิงปนื ออกไปถกู ญาณพเิ ชยี รตายบนคอชา้ ง
-พ.ศ. ๒๑๒๔ พระเจ้าหงสาวดบี เุ รงนองสวรรคต
-พ.ศ. ๒๑๒๔ พระยาละแวกตเี มืองเพชรบุรี เสยี เมืองเพชรบุรีแก่เขมร
-พ.ศ. ๒๑๒๔ พระยาละแวกกวาดตอ้ นราษฎรหัวเมอื งตะวนั ออก
-พ.ศ. ๒๑๒๔ สมเดจ็ พระนเรศวรไปช่วยหงสาวดรี บกบั องั วะ เสด็จออกตั้งทพั ไชยทตี่ ำบลวัดยม
ทา้ ยเมืองกำแพงเพชร ในวันนัน้ แผ่นดินไหว และใหเ้ ทครัวเมืองเหนอื กลับมา
-พ.ศ. 212๖ ประกาศอสิ รภาพท่เี มืองแครง จากนั้นไดก้ วาดตอ้ นครวั ไทยครัวมอญกลับคืนพระนคร
ขณะขา้ มแมน่ ้ำสะโตงน้ัน สรุ กรรมาแมท่ ัพของพม่าตามมาและถกู ปืนของสมเดจ็ พระนเรศวรตายบนหลงั ชา้ ง
เป็นทม่ี าของพระแสงปืนต้นขา้ มแมน่ ้ำสะโตง
-พ.ศ. 2127 รบกบั พระยาพะสิม พระเจ้านนั ทบุเรงใหม้ าตีอยธุ ยาและแตกพา่ ยกลับไป
-พ.ศ. 2128 รบกับพระเจา้ เชียงใหม่ทบ่ี า้ นสระเกศ
-พ.ศ. 2129 พม่ายกทัพเข้ามาในเดือนย่ี ขณะนั้นข้าวในทงุ่ ยังเกี่ยวไม่เสรจ็ จงึ ใหพ้ ระยากำแพงเพชร
ไปป้องกันชาวบ้านที่เกี่ยวข้าวท่ีทุ่งมะขามหย่อง พอพม่ามาถึงก็ตีค่ายจนทัพของพระยากำแพงเพชรแตกพ่าย
เป็นเหตุให้สมเด็จพระนเรศวรออกรบตีค่ายมาได้ และสัง่ ประหารพระยากำแพงเพชร แตส่ มเด็จพระมหาธรรม
ราชาขอไว้ เหตุที่ทรงพิโรธเนื่องจากกลัวทหารเสียขวัญเพราะไทยไม่เคยแพ้พม่า จึงออกปล้นทัพหน้าของพม่า
จนแตกพา่ ย ตามไปถงึ ทพั หลวง ปีนค่ายพมา่ จนเปน็ ทม่ี าของพระแสงดาบคาบค่าย
-พ.ศ. 21๓๓ สมเด็จพระมหาธรรมราชาธริ าชสวรรคต
สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช
พระราชประวัติ
ทรงเปน็ พระมหากษตั ริย์พระองคท์ ่ี ๑๘ ของอยธุ ยา
ทรงเปน็ พระราชโอรสของสมเดจ็ พระมหาธรรมราชาธริ าชและพระวสิ ทุ ธิกษตั รีย์(ธิดาของพระมหา
จกั รพรรด)ิ
ครองราชย์สืบต่อจากพระบิดา คือ สมเดจ็ พระมหาธรรมราชา
พระราชสมภพ พ.ศ.2098
ครองราชย์ พ.ศ.๒๑๓๓
สวรรคต พ.ศ.๒๑๔๘
ครองราชย์รวม ๑๕ ปี
พระชนมายุขณะครองราชย์ ๓๕ พรรษา
มพี ระชนมายุรวม ๕๐ พรรษา
มพี ระเชษฐภคิน(ี พ่ีสาว) ๑ พระองค์ คือ พระสุพรรณกลั ยา
มพี ระอนุชา ๑ พระองค์ คือ สมเด็จพระเอกาทศรถ
สมเด็จพระนเรศวรทรงมเี ครือญาติทเี่ ปน็ กษัตริยด์ ังนี้
มเี ทียดเปน็ กษตั รยิ ์ คือ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
มตี าทวดเป็นกษตั ริย์ คือ สมเด็จพระรามาธบิ ดีท่ี ๒
มตี าเปน็ กษัตรยิ ์ คือสมเด็จพระมหาจกั รพรรดิ
มีพ่อเปน็ กษตั รยิ ์ คอื สมเดจ็ พระมหาธรรมราชาธรรมราชา
มีนอ้ งเปน็ กษตั ริย์ คือ สมเด็จพระเอกาทศรถ
พระราชกรณียกจิ และเหตุการณส์ ำคัญ
-พระราชกรณยี กิจของพระองค์ส่วนมากแลว้ จะเป็นดา้ นสงครามและเกดิ ขึ้นเมื่อคร้งั ยังเป็นพระอุปราช
แผ่นดินสมเด็จพระมหาธรรมราชา แตเ่ มอื่ ขึน้ ครองราชย์ในพ.ศ.21๓๓ ก็มีพระราชกรณียกจิ ดงั นี้
-ด้านการคา้ เปิดการค้าระหวา่ งไทยกบั ฮอลันดาครงั้ เเรก
-พระมหาอปุ ราชายกทพั ตอี ยธุ ยาครงั้ แรกและพา่ ยแพ่กลับไปแมท่ ัพพม่าคือพระยาพุกามตายในท่ีรบ
-พระมหาอุปราชายกทพั มาตีอยุธยาครง้ั ที่ ๒ เกิดสงครามยุทธหัตถี
-สงครามตีเมืองทะวายและตะนาวศรี สืบเนื่องมาจากสงครามยุทธหัตถี พระองค์ทรงจะประหารชีวิต
แม่ทัพนายกองที่ตามเสด็จไม่ทันจนไปอยู่ในวงล้อมพม่า ทำให้เกิดสงครามยุทธหัตถีขึ้น แต่สมเด็จพระวันรัตน์
วดั ป่าแกว้ ขอพระราชทานอภัยโทษให้ พระองคจ์ ึงใหไ้ ปตที วาย ตะนาวศรเี พือ่ ไถโ่ ทษ
-พ.ศ. 2138 ตีเมืองหงสาวดคี ร้งั แรก
--พ.ศ. 214๐ อยุธยาเปดิ การคา้ กับสเปนเป็นครั้งแรก
-พ.ศ. 2142 ตเี มอื งหงสาวดีครงั้ ทส่ี อง
-พ.ศ. 214๕ เฉกอะหมดั เขา้ มาในอยุธยา
-พ.ศ. 2148 อยธุ ยาเปิดการคา้ กบั ฮอลนั ดาเป็นครัง้ แรก
-พ.ศ. 2148 เสดจ็ สวรรคต ทเี่ มอื งหางจงึ ได้อญั เชิญพระบรมศพกลับพระนคร
-สมัยน้ีอยุธยาเปรียบได้กับสมัยรัชกาลที่ ๔ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ นั่นคือมีกษัตริย์ ๒ พระองค์ คือ
พระเรศวรมหาราชาครองราชยค์ กู่ ับพระเอกาทศรถ
สมเดจ็ พระเอกาทศรถ
พระราชประวตั ิ
พระมหากษตั รยิ ์พระองค์ที่ ๑๙ ของอยุธยา
ทรงเป็นพระราชโอรสของสมเด็จพระมหาธรรมราชาและพระวิสุทธกิ ษตั รีย์
ครองราชย์สืบตอ่ จากพระเชษฐา คอื สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช
พระราชสมภพ พ.ศ. ๒๑๐๓
ครองราชย์ พ.ศ.๒๑๔๘
สวรรคต พ.ศ.๒๑๕๓
ครองราชย์รวม ๕ ปี
พระชนมายขุ ณะครองราชย์ ๔๕ พรรษา
มีพระชนมายรุ วม ๕๐ พรรษา
มีพระเชษฐภคนิ (ี พส่ี าว) ๑ พระองค์ คอื พระสพุ รรณกัลยา
มพี ระเชษฐา ๑ พระองคค์ อื สมเดจ็ พระนเรศวร
มพี ระราชโอรส ๓ พระองค์ คอื
เจ้าฟ้าสุทศั น์ เดมิ คอื กรมพระราชวังบวรสถานมงคล ฆา่ ตัวตายด้วยการเสวยยาพิษ
สมเดจ็ พระศรีเสาวภาคย์
สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม
สมเด็จพระเอกาทศรถทรงมเี ครอื ญาติที่เปน็ กษตั รยิ ด์ ังน้ี
มีเทียดเปน็ กษตั รยิ ์ คือ สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ
มีตาทวดเป็นกษัตรยิ ์ คือ สมเดจ็ พระรามาธบิ ดีท่ี ๒
มตี าเป็นกษัตรยิ ์ คือ สมเดจ็ พระมหาจักรพรรดิ
มีพอ่ เป็นกษัตรยิ ์ คือ สมเด็จพระมหาธรรมราชา
มีพี่เปน็ กษตั รยิ ์ คือ สมเด็จพระนเรศวร
มีลกู เป็นกษัตริย์ ๒ พระองค์ คือ สมเดจ็ พระศรีเสาวภาคย์เเละสมเดจ็ พระเจ้าทรงธรรม
มหี ลานเปน็ กษตั ริย์ ๒ พระองค์ คือสมเด็จพระเชษฐาธริ าชเเละสมเด็จพระอาทิตยวงศ์
พระราชกรณียกิจและเหตุการณส์ ำคัญ
หลังจากขึ้นครองราชสมบัติต่อจากพระเชษฐาธิราช คือสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ในพ.ศ.๒๑๔๘
พระองค์ก็ทรงประกอบพระราชกรณียกิจนานัปการ เพือ่ ความสงบสุขของอาณาประชาราษฎร์ ถึงแม้ว่ารัชกาล
ของพระองคจ์ ะเปน็ ระยะเวลาอนั ส้ันเพียง ๕ ปี แต่ทุกอยา่ งลว้ นสง่ ผลตอ่ ความเจรญิ รงุ่ เรอื งของอยุธยาทงั้ สนิ้
สมเด็จพระเอกาทศรถได้ชื่อว่าเป็นกษัตริยน์ ักรบ ทรงร่วมทำสงครามเคียงบ่าเคียงไหล่กับสมเด็จพระ
นเรศวร มาตั้งแต่ก่อนขึ้นครองราชย์ แต่เมื่อได้ขึ้นครองราชย์แล้ว ก็ไม่ทรงโปรดปรานที่จะทำสงครามเพราะ
บ้านเมืองเข้าสู่ยุคสงบสุข พระราชอาณาเขตแผ่นดินอยุธยาก็กว้างใหญ่ไพศาล รัฐข้างเคียงก็ยังเกรงพระบารมี
อยู่ไม่น้อย อาทิ เจ้าเมืองตองอูและเจ้าเมืองล้านช้างยอมอ่อนน้อมนำเครื่องราชบรรณาการมาถวาย เป็นต้น
เป็นเหตุทำให้พระองค์หนั มาเอาใจใส่ด้านการต่างประเทศ การค้า และทำนบุ ำรงุ ศลิ ปกรรมมากย่งิ ขน้ึ หลังจาก
เสยี หายไปมากคราวเสยี กรงุ ครั้งท่ี ๑ แม้วา่ จะกอบกเู้ อกราชมาได้ แต่บ้านเมืองก็ยงั คงระส่ำระสา่ ยจากสงคราม
และยงั ไมฟ่ น้ื ตัวดี พระองคจ์ ึงดำริทีจ่ ะพัฒนาให้กลับมาเฟอื่ งฟูอกี ครั้ง
พระราชกรณยี กิจของสมเดจ็ พระเอกาทสรถตามทีป่ รากฏในเอกสารตา่ งๆสรปุ ได้ดังนี้
- พ.ศ. 215๐ สมเดจ็ พระเอกาทศรถ เร่ิมฟื้นฟกู ารค้ากบั โปรตุเกส หลังจากที่อยธุ ยาเปดิ ความสัมพันธ์
ทางการค้าคร้ังแรกกับอยธุ ยาในสมยั สมเด็จพระรามาธิบดีท่ี ๒ โดยส่งราชทูตนำพระราชสาส์นถวายอุปราชแห่ง
โปรตุเกสที่เมืองกัว เพื่อเจริญสัมพันธไมตรี นอกจากโปรตุเกสแล้ว พระองค์ยังเจริญสัมพันธไมตรีกับชาติ
ตะวันตกอ่นื ๆอย่างฮอลนั ดาด้วย
- พ.ศ. 215๐ สมเด็จพระเอกาทศรถส่งราชทูตไปฮอลันดา เพื่อนำพระราชสาส์นและเครื่องราช
บรรณาการไปถวายแด่เจ้าชายมอร์ริส แห่งราชวงศ์ออเรนจ์ ประเทศฮอลันดา โดยคณะทูตทั้ง ๒๐ คนที่ส่งไป
นั้น เดินทางถึงกรุงเฮก เมื่อวันที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2151 นับว่าเป็นการส่งคณะทูตไปเจริญทาง
สมั พนั ธไมตรกี บั ประเทศในยโุ รปเป็นครง้ั แรก
-เริม่ มกี ารเก็บภาษอี ากรคร้ังแรก โดยทรงออกกฎหมายเก่ียวกบั การคา้ เชน่ กฎหมายเกี่ยวกบั ภาษี คือ
“สมพัตสรอากรขนอนตลาด”หรือ”สมส่วยสัดพัฒนาการขนอนตลาด” ซึ่งแบ่งได้ ๓ อย่างคือ ส่วย อากร
ตลาด ส่วย เพอ่ื กำหนดพกิ ดั ภาษีทแ่ี นน่ อน
-ตรากฎมายขึ้นเพื่อใช้ในพระราชอาณาจักร คือ กฎหมายเกี่ยวกับภาษีสมพัตสรอากรขนอนตลาด
และตั้งพระราชกำหนด กฎหมายพระอัยการ ตามที่ปรากฎในพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับ
หมอบลัดเลว่า “ลุศักราช ๙๕๗ ปีมะแม สัปตศก ทรงพระกรุณาตั้งพระราชกำหนดกฎหมายพระอัยการ แล
ส่วนสมพัตสรอากรขนอนตลาด แลพระกัลปนาถวายเป็นนิจภัตแก่พระสงฆ์ราชาคณะคามวาสีอรัญวาสี
สมบูรณ์”
-เกดิ เหตกุ ารณ์เจ้าฟา้ สุทัศน์ พระราชโอรสพระองค์ของสมเด็จพระเอกาทศรถ ซง่ึ เป็นพระมหาอุปราช
ฆ่าตัวตาย มีสาเหตุมาจากเจ้าฟ้าสุทัศน์กราบบังคมทูลสมเด็จพระเอกาทศรถว่า ขอพิจารณาคนออก ฝ่าย
สมเดจ็ พระเอกาทศรสจงึ ตรสั ว่า "จะเป็นขบถหรือ" ด้วยความท่ีเจา้ ฟ้าสทุ ัศน์เกดิ ความเกรงพระราชอาญาเสวย
ยาพิษฆ่าตวั ตาย
-สมัยนี้อยุธยารับจ้างชาวต่างชาติมาเป็นทหารอาสาเพื่อเพิ่มกำลังพลให้อาณาจักรเนื่องจากกำลังพล
ไทยนอ้ ยลง ไมเ่ พยี งพอต่อการทำสงครามป้องกนั ประเทศ
-สร้างพระทน่ี ่ังอรรณพ
-จัดพระราชพิธีแข่งเรือ(ตามศาสนาพราหมณ์เรียกว่า พระราชพิธีอาสวยุช)ขึ้นในเดือน ๑๑ เพื่อทำ
การเสยี่ งทาย โดยใช้เรอื ๒ ลำใหฝ้ ีพาย พายแขง่ กนั โดย ๒ ลำน้นั หน่ึงลำเปน็ เรือของพระมหากษตั ริย์คือ เรือ
สมรรถชัย และเรือของพระมเหสีคือ เรือไกรสรมกุ ข์ หากเรือของพระเจา้ แผ่นดินแพ้บ้านเมืองจะอุดมสมบูรณ์
แตห่ ากเรอื ของพระมเหสแี พ้บ้านเมืองจะเกิดความยากลำบาก น่นั เอง
-ตรัสแก่พระยารัตนบาลให้การหล่อพระพุทธรูปปางสมาธิขึ้น ๕ องค์และตรัสแก่พระยาจักรีจัดพระ
ราชพธิ ีไล่น้ำไลเ่ รอื จัดงานสมโภชพระพทุ ธรูปเพ่ือถวายเป็นพทุ ธบชู า
-สร้างวัดวรเชษฐารามถวายแดส่ มเด็จพระนเรศวรมหาราช