สมเด็จพระศรเี สาวภาคย์
พระราชประวัติ
พระมหากษัตรยิ ์พระองคท์ ่ี ๒๐ ของอยธุ ยา
ครองราชย์สบื ต่อจากพระราชบดิ า คอื สมเดจ็ พระเอกาทศรถ
ทรงเปน็ พระราชโอรสของสมเด็จพระเอกาทศรถ
ครองราชย์ พ.ศ.๒๑๕๓
สวรรคต พ.ศ.๒๑๕๔
ครองราชย์รวม ๑ ปีเศษ
ทรงมพี ระเชษฐา คือ เจา้ ฟ้าสทุ ศั น์
ทรงมีพระอนุชา คือ พระเจ้าทรงธรรม(พระศรีศลิ ป์)
-พระราชโอรสของสมเด็จพระเอกาทศรถ ได้ขึ้นครองราชย์สืบต่อจากพระราชบิดาเมื่อปีพ.ศ.2153
พระนามว่า สมเดจ็ พระสรรเพชญท์ ี่ 4
สมเด็จพระเอกาทศรถทรงมีเครือญาติท่ีเปน็ กษัตรยิ ์ดงั นี้
มปี ู่เปน็ กษตั รยิ ์ คือ สมเดจ็ พระมหาธรรมราชา
มพี อ่ เป็นกษตั ริย์ คอื สมเด็จพระเอกาทศรถ
มีลงุ เปน็ กษตั รยิ ์ คือ สมเดจ็ พระนเรศวร
มนี อ้ งเปน็ กษัตริย์ คือ สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม
เหตุการณ์สำคัญ
-เกิดเหตุการณท์ ชี่ าวญ่ีปุน่ ปลน้ ราษฎร บุกเขา้ พระราชวงั หลวง จบั สมเด็จพระศรเี สาวภาคย์และบังคับ
ให้ทรงปฏิญาณสัญญาว่ามิให้ผู้ใดทำร้ายพวกญี่ปุ่น แล้วได้ลงเรือแล่นหนีออกทะเล โดยนำตัวสมเด็จ
พระสังฆราชไปเป็นตัวประกนั จนถึงปากน้ำ
-พ.ศ. 2154 ครองราชย์ได้ 1 ปี 2 เดือน ก็ถูกพระศรีศิลป์(ต่อมาคือสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม)และ
จมนื่ ศรีเสารักษส์ ำเรจ็ โทษดว้ ยท่อนจนั ทน์ ทว่ี ัดโคกพระยา
สมเดจ็ พระเจ้าทรงธรรม
พระราชประวตั ิ
พระมหากษตั ริย์พระองค์ท่ี ๒๑ ของอยธุ ยา
ทรงเปน็ พระราชโอรสของสมเดจ็ พระเอกาทศรถ
ครองราชย์สมบตั ิดว้ ยการปราบดาภิเษก ยึดอำนาจจากพระเชษฐาคือพระศรีเสาวภาคย์
พระราชสมภพ พ.ศ.๒๑๓๕
ครองราชย์ พ.ศ.๒๑๕๔
สวรรคต พ.ศ.๒๑๗๑
ครองราชยร์ วม ๑๘ ปี
พระชนมายขุ ณะครองราชย์ ๑๙ พรรษา
มีพระชนมายรุ วม ๓๖ พรรษา
ทรงมพี ระเชษฐา ๒ พระองค์ คือ เจ้าฟา้ สุทัศน์และสมเดจ็ พระศรีเสาวภาคย์
ทรงมีพระราชโอรส ๓ พระองค์ คอื
พระเชษฐาธิราชกุมาร
พระพนั ปศี รีสิน
พระอาทติ ยวงศ์
-ขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์องค์ที่ ๒๑ ครองราชย์ด้วยการปราบดาภิเษก ยึดอำนาจจากพระ
เชษฐาคือ สมเด็จพระศรเี สาวภาคย์
-นามเดิมคือ พระศรีศิลป์ เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระเอกาทศรถ มีความรู้เชี่ยวชาญใน
พระพุทธศาสนา โดยเฉพาะพระไตรปิฎก มีสมณศักดิ์เป็นพระพิมลธรรมอนันตปรีชาวัดระฆัง ต่อมาได้ร่วมมือ
กับบตุ รบญุ ธรรมคอื จม่นื ศรเี สารกั ษ์ ซอ่ งสมุ กำลงั พลกนั ท่ีวัดมหาธาตุ นำสมเดจ็ พระศรเี สาวภาคย์ไปสำเร็จโทษ
ด้วยท่อนจันทน์ที่วัดโคกพระยา พระพิมลธรรมอนันตปรีชาผนวช ครองราชสมบัติ นามว่าสมเด็จพระเจ้าทรง
ธรรม และแต่งตงั้ จมื่นศรีเสารักษเ์ ป็นพระมหาอุปราช(ผ่านไป ๑๐วนั จมน่ื ศรเี สารกั ษ์ก็สน้ิ พระชนม)์
สมเด็จพระเจา้ ทรงธรรมทรงมเี ครือญาตทิ ี่เป็นกษัตริยด์ ังน้ี
มีป่เู ปน็ กษัตริย์ คอื สมเด็จพระมหาธรรมราชา
มพี ่อเป็นกษัตรยิ ์ คือ สมเด็จพระเอกาทศรถ
มีลุงเปน็ กษัตริย์ คอื สมเดจ็ พระนเรศวร
มีพเ่ี ป็นกษตั ริย์ คอื สมเด็จพระศรีเสาวภาคย์
มลี ูกเป็นกษัตริย์ ๒ พระองค์ คือ สมเดจ็ พระเชษฐาธิราชเเละสมเด็จพระอาทติ ยวงศ์
พระราชกรณยี กิจและเหตุการณ์สำคัญ
-สมเด็จพระเจ้าทรงธรรมทรงเป็นปราชญ์รู้ธรรม เชี่ยวชาญวิชาการหลายแขนง โดยเฉพาะ
พระพุทธศาสนา ทำใหพ้ ระราชกรณยี กจิ ตา่ งๆของพระองคเ์ น้นไปในด้านพระพทุ ธศาสนา สรปุ ได้ดังน้ี
-โปรดเกล้าฯ ให้คัดลอกพระไตรปิฎกภาษาบาลฉี บับสมบูรณเ์ ปน็ จำนวนมาก
-พ.ศ. ๒๑๖๑ ค้นพบรอยพระพุทธบาท สระบุรี จึงทรงให้สร้างพระมณฑปครอบรอยพระบาท
สถาปนาให้เป็นวัด โดยสร้างพระมณฑป พระวิหาร กุฏิสงฆ์ขึ้น ก่อให้เกิดประเพณีไปนมัสการรอยพระพุทธ
บาทของกษัตริย์หลายพระองค์
-พ.ศ.๒๑๖๕ สร้างวหิ ารครอบพระมงคลบพิตรท่ีมีการชะลอมาจากด้านตะวนั ออกของพระราชวัง มา
อยใู่ นตำแหน่งในปัจจุบนั นค้ี ือด้านตะวันตก
-พระราชนพิ นธ์กาพยม์ หาชาติ
-พ.ศ.๒๑๕๕ องั กฤษเปดิ ความสัมพนั ธท์ างการคา้ กับอยธุ ยาเปน็ ครัง้ แรกและเข้ามายงั เมอื งปตั ตานี
ไดต้ ง้ั สถานกี ารคา้ ขน้ึ ทอี่ ยุธยา
-พ.ศ. ๒๑๖๔ เดนมาร์กเปิดความสัมพันธ์ทางการค้ากับอยุธยาเป็นครั้งแรก โดยบริษัทการค้าอินเดีย
ตะวันออกของเดนมารก์ มาติดต่อคา้ ขายที่ตะนาวศรแี ละมะริด
-พระราชทานทีด่ ินบริเวณปากแม่น้ำเจา้ พระยาฝ่ังตะวันตก ริมคลองปลากด เหนือเมอื งสมุทรปราการ
ใหช้ าวฮอลันดาต้งั คลังสินคา้
-ชาวญี่ปุ่น มีการจัดตั้งกรมอาสาญีป่ ุ่น เพื่อช่วยราชการกรุงศรีอยุธยา ชาวญี่ปุน่ คนสำคัญคือยามาดะ
นางามาซะ ต่อมาได้รับพระราชทานบรรดาศกั ดิ์เป็นออกญาเสนาภมิ ขุ
-พ.ศ. ๒๑๖๔ เขมรย้ายราชธานีไปอยูท่ ี่เมอื งอุดงฦๅไชย และไม่ยอมส่งบรรณาการให้แก่กรุงศรีอยุธยา
อยุธยาจงึ ยกทพั ไป
- เสียทวาย ในพ.ศ. 2165 ทำให้กัมพูชาและเชียงใหม่ เป็นประเทศราชมาครั้งรัชสมัยสมเด็จพระ
นเรศวรไมย่ อมออ่ นนอ้ มตอ่ อยุธยา
-กรมอาสาญีป่ ุน่ จำนวน ๕๐๐ คน กอ่ กบฏขน้ึ คมุ ตวั พระเจ้าทรงธรรมไปยังพระทนี่ ่ังจอมทองสามหลัง
แต่พระองคก์ ็หลบหนีออกมาได้พร้อมกบั พระสงฆ์จากวดั ประดู่ทรงธรรมดว้ ยการปลอมพระองคเ์ ปน็ พระ
การก่อกบฏของญ่ปี ุ่นในครงั้ น้เี อง เปน็ การเริ่มต้นการมีอำนาจของพระมหาอำมาตย์คือออกญาพระยากลาโหม
สรุ ยิ วงศท์ ไี่ ดเ้ ลอ่ื นบรรดาศักดจิ์ ากการขบั ไล่ญ่ีปนุ่
-พม่าตเี มืองตะนาวศรี
-พ.ศ.๒๑๖๗ ตรา “พระธรรมนูญกระทรวงศาล”
สมเดจ็ พระเชษฐาธิราช
พระราชประวตั ิ
พระราชสมภพ พ.ศ.๒๑๕๖
ครองราชย์ พ.ศ.๒๑๗๑
สวรรคต พ.ศ.๒๑๗๒
ครองราชย์รวม ๘ เดือน
พระชนมายุขณะครองราชย์ ๑๕ พรรษา
มพี ระชนมายรุ วม ๑๖ พรรษา
เป็นพระราชโอรสของสมเดจ็ พระเจ้าทรงธรรม
ทรงมพี ระอนชุ า ๒ พระองค์ คือ พระพันปีศรสี นิ และพระอาทติ ยวงศ์
ทรงเปน็ ยุวกษตั ริย์องคท์ ี่ ๔ ของอยธุ ยา
ขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์องค์ที่ ๒๒ เหล่าเสนาบดีต่างๆมีประธานการเลือกคือออกญา
กลาโหมศรีสุริยวงศ์ มมี ตใิ ห้สืบราชสมบตั ิต่อจากพระราชบิดาคอื พระเจ้าทรงธรรม
สมเด็จพระเชษฐาธริ าชทรงมเี ครือญาตทิ เ่ี ป็นกษัตริยด์ ังน้ี
มปี ทู่ วดเป็นกษตั ริย์ คอื สมเดจ็ พระมหาธรรมราชา
มปี ูเ่ ปน็ กษตั ริย์ คือ สมเดจ็ พระเอกาทศรถ
มพี ่อเปน็ กษัตรยิ ์ คอื สมเด็จพระเจา้ ทรงธรรม
มีลุงเปน็ กษตั ริย์ คือ สมเด็จพระศรเี สาวภาคย์
มนี อ้ งเปน็ กษตั รยิ ์ คอื สมเดจ็ พระอาทิตยวงศ์
เหตกุ ารณส์ ำคญั
-หลังจากครองราชย์ได้ ๗ วัน พระศรีศิลป์ พระอนุชาธิราชของสมเด็จพระเจ้าทรงธรรมได้ก่อกบฏขนึ้
โดยซอ่ งสุมกำลงั พลกนั ทเ่ี มืองเพชรบรุ ี มสี าเหตมุ าจากทต่ี นไม่ได้ขน้ึ ครองราชยต์ ่อจะพระเชษฐาจึงโกรธแล้วก่อ
กบฏ แต่ก็ถูกนำตัวไปสำเร็จโทษทีว่ ดั โคกพระยาและผู้ท่ีรว่ มขบวนการก็ถูกลงโทษเป็นตะพุ่นหญา้ ชา้ ง
-หลังจากครองราชย์ได้พียง ๔ เดือนมารดาของออกญากลาโหมศรีสุริยวงศ์ได้ถึงแก่กกรรม บรรดาขุน
นางชั้นผู้ใหญ่ไปร่วมงานกันมาก เหตุนี้เองทำให้พระเชษฐาธิราชทรงโกรธ เพราะคิดว่าจะซ่องสุมกำลังพลก่อ
กบฏ ด้วยความที่กลัวว่าจะมีผุ้มาแย่งชิงราชสมบัติ จึงคิดหาทางกำจัดออกญากลาโหมศรีสุริยวงศ์ โดยเตรียม
ทหารขึ้นประจำป้อม วางอุบายให้ขุนมหามนตรีไปเรียกออกญากลาโหมศรีสุริยวงศ์เพื่อมาดูมวย แล้วจะลอบ
ทำรา้ ย แตแ่ ผนการทงั้ หมดนี้กลบั ล่วงรู้ไปถงึ ออกยากลาโหมศรสี รุ ยิ วงศ์ โดยเจ้าหมื่นสรรเพธภกั ดีเปน็ ผู้แอบแจ้ง
แผนนั้น เมื่อเป็นเช่นนี้แล้วขุนนางทั้งหมดที่ไปร่วมงานนั้นก็ตกเป็นกบฏทั้งหมด จึงได้ร่วมมือกันกำจั ดพระ
เชษฐาธริ าช โดยนำไปสำเร็จโทษท่วี ัดโคกพระยา อยู่ในราชสมบัตเิ พียง ๘ เดอื น
สมเดจ็ พระอาทติ ยวงศ์
พระราชประวัติ
พระมหากษตั ริย์พระองค์ที่ ๒๓ ของอยธุ ยา
สบื ราชสมบตั ิต่อจากพระเชษฐาคือ สมเด็จพระเชษฐาธริ าช
ทรงเป็นพระราชโอรสของสมเดจ็ พระเจ้าทรงธรรม
พระราชสมภพ พ.ศ.๒๑๖๓
ครองราชย์ พ.ศ.๒๑๗๒
สวรรคต พ.ศ.๒๑๗๒
ครองราชยร์ วม ๓๘ วนั
พระชนมายขุ ณะครองราชย์ ๙ พรรษา
มพี ระชนมายุรวม ๙ พรรษา
ทรงมพี ระเชษฐา ๒ พระองค์ คอื พระเชษฐาธริ าชและพระพันปีศรีสิน
ทรงเป็นยวุ กษัตริย์องค์ท่ี ๕ ของอยธุ ยา องค์สุดทา้ ยของอยุธยา
หลังจากออกญากลาโหม ยึดอำนาจจากพระเชษฐาธิราชเรียบร้อยแล้ว ขุนนางก็เชิญขึ้นครองราชย์
และตอนนั้นออกญากลาโหมไม่รับ จึงได้เชิญอนุชาของพระเชษฐาธิราช พระราชโอรสของสมเด็จพระเจ้า
ทรงธรรม คือ สมเด็จพระอาทิตยวงศ์ ได้ขึ้นครองราชย์ แต่หลังจากนั้นเพียง ๓๘ วัน ออกญากลาโหมก็ได้ยึด
อำนาจขึ้นอีก โดยมีเหตุผลคือ พระอาทิตยวงศ์ยังทรงพระเยาว์ไม่สามารถวา่ ราชการได้ ทำให้ออกญากลาโหม
ศรสี รุ ิยวงศไ์ ดข้ ้ึนครองราชย์เปน็ กษตั ริย์ พร้อมกับการสถาปนาราชวงศ์ปราสาททองขึน้
สมเดจ็ พระอาทิตยวงศท์ รงมเี ครือญาติท่เี ป็นกษัตริยด์ งั น้ี
มปี ่ทู วดเป็นกษตั รยิ ์ คอื สมเดจ็ พระมหาธรรมราชา
มีปเู่ ปน็ กษตั ริย์ คอื สมเด็จพระเอกาทศรถ
มพี ่อเปน็ กษตั ริย์ คือ สมเดจ็ พระเจา้ ทรงธรรม
มีลงุ เป็นกษตั ริย์ คอื สมเดจ็ พระศรเี สาวภาคย์
มพี เี่ ปน็ กษตั ริย์ คือ สมเดจ็ พระเชษฐาธริ าช
สมเดจ็ พระเจ้าปราสาททอง
พระราชประวตั ิ
พระมหากษัตรยิ ์พระองคท์ ่ี ๒๔ ของอยุธยา
ครองราชย์ด้วยการปราบดาภิเษก ยึดอำนาจจากโอรสของพระเจ้าทรงธรรม ผู้เป็นยุวกษัตริย์ของ
อยุธยาถงึ ๒ พระองคค์ อื สมเด็จพระเชษฐาธิราชและสมเดจ็ พระอาทติ ยวงศ์ ผ้สู ถาปนาราชวงศ์ปราสาททอง
พระราชสมภพ พ.ศ.2143
ครองราชย์ พ.ศ.๒๑๗๒
สวรรคต พ.ศ.๒๑๙๙
ครองราชย์รวม ๒๕ ปี
พระชนมายุขณะครองราชย์ ๒๙ พรรษา
มีพระชนมายุรวม ๕๖ พรรษา
มีพระอนชุ า คือ สมเด็จพระศรีสธุ รรมราชา
ทรงมพี ระราชโอรสและพระราชธิดา ดงั นี้
สมเด็จเจา้ ฟา้ ไชย
สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช
กรมหลวงโยธาทพิ
เจ้าฟา้ อภยั ทศ
เจา้ ฟา้ น้อย
พระไตรภูวนาทิตยวงศ์
พระองคท์ อง
พระอินทรราชา
พระองค์แสงจันทร์
ตำแหน่งเดมิ คือ ออกญาศรีวรวงศ์ เมอื่ ปราบกบฏญป่ี ุน่ ได้บรรดาศักด์เิ ปน็ ออกญากลาโหมศรีสรุ ยิ วงศ์
สมเด็จพระเจ้าปราสาททองทรงมีเครือญาติทเี่ ปน็ กษัตรยิ ์ดงั น้ี
มนี อ้ งเป็นกษตั ริย์ คือ สมเด็จพระศรสี ุธรรมราชา
มลี กู เปน็ กษัตรยิ ์ ๒ พระองค์ คอื เจา้ ฟา้ ไชยและสมเด็จพระนารายณ์
พระราชกรณยี กจิ และเหตุการณส์ ำคัญ
-ปฐมกษตั รยิ ์ราชวงศป์ ราสาททอง
-ชว่ งแรกบา้ นเมืองไม่สงบสขุ ประเทศราชไมย่ อมอ่อนน้อมถวายคร่ืองราชบรรณาการเพราะไม่ยอมรับ
อำนาจของพระเจ้าปราสาททองทมี่ าจากสามัญชน
-พ.ศ. ๒๑๘๕ โอรสของพระเจา้ ทรงธรรมท่ียังมีอยูค่ อื เจ้าท่าทราย กอ่ กบฏแต่ก็ถูกสำเร็จโทษ
-ประหารชีวิตออกญากำแพงเพชร
-สง่ ออกญาเสนาภมิ ุขไปเป็นเจ้าเมืองนครศรีธรรมราชและได้ใส่ยาพิษฆ่าตาย
-พ.ศ. ๒๑๗๙ ออกญาพิษณุโลกถูกประหารชวี ติ ขอ้ หากบฏ
-กบฏท่ีเมอื งละคอน (ลำปาง) และนครศรีธรรมรา
-ปตั ตานีแขง็ เมอื ง จงึ สง่ กองทัพไปปราบในพ.ศ.๒๑๗๗ ไม่สามารถตเี มอื งคืนมาได้ แต่เจ้าเมอื งองค์ใหม่
กย็ อมออ่ นนอ้ มดงั เดิม
-พ.ศ. ๒๑๗๘สลุ ตา่ นสุลยั มานที่สงขลาก่อกบฏ
-สถาปนาปราสาทนครหลวง
-สร้างพระที่นั่งขึ้นใหม่หลายองค์ทั้งในและนอกกรุงศรีอยุธยา คือพระที่นั่งจักรวรรดิไพชยนต์ พระท่ี
น่ังวิหารสมเด็จ(พระท่นี ั่งทองคำท้ังองค์ นา่ จะเป็นทีม่ าของชือ่ พระเจ้าปราสาททอง) พระตำหนกั ธารเกษม พระ
ที่น่ังไอศวรรยท์ ิพยอาสน์ สรา้ งพระตำหนักและศาลาตามรายทางเพ่อื ประทับเมอื่ เสด็จไปนมสั การรอยพระพุทธ
บาทสระบุรี คือ พระตำหนกั ทา่ เจ้าสนุก
-สถาปนาวดั ไชยวัฒนาราม จำลองคตเิ ขาพระสเุ มรุแบบเขมร
-สถาปนาวัดชมุ พลนิกายารามราชวรวหิ าร
-สรา้ งพระปรางคว์ ัดมหาธาตุ
-ป้องกันการเกิดกลียุคจึงทำพธิ ลี บศกั ราช
-บรู ณปฏสิ ังขรณ์วดั วาอารามจำนวนมากมายในชว่ งพิธลี บศักราช
-สมโภชรอยพระพทุ ธบาทสระบุรี
-การคา้ กบั ตะวนั ตกรุ่งเรืองมาก โดยเฉพาะกับฮอลันดาไดผ้ กู ขาดการซ้อื ขายหนังสตั ว
-ตรากฎหมาย พระอัยการทาส พระอัยการลักษณะกู้หนี้ พระอัยการลักษณะอุทธรณ์ กฎหมายพระ
ธรรมนญู พระอัยการลักษณะมรดก
-ให้เจา้ เมอื งมาเฝา้ ท่ีศาลาลูกขุนทกุ วนั เพ่ือรวมอำนาจสศู่ ูนยก์ ลาง
สมเดจ็ เจ้าฟ้าไชย
พระราชประวตั ิ
พระมหากษตั รยิ ์พระองคท์ ี่ ๒๕ ของอยธุ ยา
ทรงเปน็ พระราชโอรสของสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง
สืบราชสมบัติต่อจากพระราชบิดาคือสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง มอบราชสมบัติให้ก่อนสวรรคต
๓ วนั
ครองราชย์ พ.ศ.๒๑๙๙
สวรรคต พ.ศ.๒๑๙๙
ครองราชย์ ๙ เดอื น
เมื่อครองราชย์แล้ว พระนารายณ์(พระอนุชาของเจ้าฟ้าไชย) ซ่องสุมกำลังพลกับสมเด็จพระศรีสธุ รรม
ราชานำสมเดจ็ เจา้ ฟา้ ไชยไปสำเรจ็ โทษที่วดั โคกพระยา
สมเดจ็ เจา้ ฟ้าไชยทรงมีเครอื ญาติท่เี ป็นกษตั รยิ ด์ งั น้ี
มพี อ่ เปน็ กษตั ริย์ คอื สมเด็จพระเจา้ ปราสาททอง
มีอาเปน็ กษตั รยิ ์ คือ สมเด็จพระศรสี ุธรรมราชา
มนี อ้ งเปน็ กษตั รยิ ์ คือ สมเดจ็ พระนารายณ์
สมเด็จพระศรสี ธุ รรมราชา
พระราชประวัติ
พระมหากษัตริย์พระองคท์ ่ี ๒๖ ของอยธุ ยา
ครองราชยด์ ว้ ยการปราบดาภิเษก ยดึ อำนาจจากเจ้าฟา้ ไชย
ทรงเปน็ พระอนชุ าของพระเจา้ ปราสาททอง
ครองราชย์ พ.ศ.๒๑๙๙
สวรรคต พ.ศ.๒๑๙๙
ครองราชย์ ๒ เดือน
หลังจากสำเร็จโทษเจ้าฟ้าไชยแล้วสมเด็จพระศรีสุธรรมราชาก็ได้ขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์
สถาปนาให้พระนารายณ์เป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคล แต่ก็มีเหตทุ ี่ต้องให้มีการแย่งชิงราชสมบตั ิอีกครัง้
คือ เมื่อครองราชย์ได้ ๒ เดือน สมเด็จพระศรีสุธรรมราชาหมายจะลักลอบเสพสังวาสกับ กรมหลวงโยธาทิพ
พระขนิษฐาของสมเด็จพระนารายณ์ ทำให้พระนารายณ์ทรงกริ้วและจะชิงราชสมบัติ ทั้ง ๒ ฝ่ายสู้รบกันจน
บาดเจ็บแตพ่ ระนารายณ์กส็ ามารถสำเรจ็ โทษพระศรีสุธรรมราชาได้ จากนน้ั ก็ปราบดาภิเษกเป็นกษตั รยิ ์
สมเดจ็ พระศรีสุธรรมราชาทรงมเี ครือญาติท่เี ปน็ กษตั รยิ ด์ งั น้ี
มีพ่ีเป็นกษตั รยิ ์ คอื พระเจา้ ปราสาททอง
สมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช
พระราชประวัติ
พระมหากษัตริย์พระองคท์ ี่ ๒๗ ของอยุธยา
ครองราชยด์ ว้ ยการปราบดาภเิ ษก ยดึ อำนาจจากสมเดจ็ พระศรีสุธรรมราชา
ทรงเปน็ พระราชโอรสของสมเดจ็ พระเจา้ ปราสาททอง
พระราชสมภพ พ.ศ.๒๑๗๕
ครองราชย์ พ.ศ.๒๑๙๙
สวรรคต พ.ศ.๒๒๓๑
ครองราชย์รวม ๓๒ ปี
พระชนมายุขณะครองราชย์ ๒๔ พรรษา
มพี ระชนมายุรวม ๕๖ พรรษา
ทรงมพี ระราชธดิ าพระองคเ์ ดียว คือ เจา้ ฟ้าสุดาวดี
ทรงมีพระราชโอรสบุญธรรม คือ พระปยี ์
สมเดจ็ พระนารายณ์มหาราชทรงมีเครือญาตทิ เี่ ปน็ กษตั ริย์ดงั นี้
มพี อ่ เป็นกษัตรยิ ์ คือ สมเด็จพระเจา้ ปราสาททอง
มอี าเปน็ กษตั ริย์ คือ สมเด็จพระศรีสธุ รรมราชา
มีพี่เปน็ กษัตริย์ คอื เจา้ ฟ้าไชย
พระราชกรณยี กจิ และเหตุการณส์ ำคัญ
-กษัตรยิ อ์ งค์สดุ ทา้ ยของราชวงศป์ ราสาททอง
-เหตุท่ไี ด้พระนามว่าพระนารายนนั้ เพราะเมือ่ ทรงพระราชสมภพนัน้ พระญาติเหน็ เป็น ๔
-สถาปนาเมืองลพบุรีขึ้นเป็นราชธานี เพื่อป้องกันภัยจากตะวันตกและการเมืองภายในเหมือนอย่าง
คราวทีส่ มเด็จพระบรมไตรโลกนาถสถาปนาพษิ ณโุ ลกเป็นราชธานี
-ทรงยกทัพขนึ้ ไปตีเมือง
-ยกทพั ไปตีพม่า ทรงเป็นพระมหากษัตรยิ ์ ๑ ใน ๒ องคท์ ่ยี กทพั ไปตีพม่ารองจากพระนเรศวร
-เกิดกบฏพระไตรภวู นาทติ ยวงศ์
-ในปลายรัชกาลนน้ั มคี วามว่นุ วาย เนื่องจากฝร่งั เศสคุกคามอธปิ ไตย ขณะนั้นสมเดจ็ พระนารายณ์ทรง
พระประชวร ประทัพอยู่ที่ลพบุรี พระเพทราชาได้กระทำการหลายอย่างทั้งสำเร็จโทษผู้ที่มีสิทธิ์ในราชบัลลังก์
คือ พระปีย์ เจ้าฟ้าน้อย เจ้าฟ้าอภัยทศ รวมถึงประหารชีวิตเจ้าพระยาวิไชเยน ขับไล่ฝรั่งเศสออกจากอยธยา
เป็นการยุติความสัมพันธ์อันดีระหว่างอยุธยากับฝร่ังเศสลง หลังจากเหตุการณ์นี้อีก ๑ เดือนต่อมาคือวันที่ ๑๑
กรกฎาคม พ.ศ. ๒๒๓๑ พระองค์ก็สวรรคตลง ณ พระที่นั่งสุทธาสวรรค์ เมืองลพบุรี สมเด็จพระเพทราชาก็ได้
ข้ึนครองราชย์พร้อมกับการสถาปนาราชวงศบ์ า้ นพลูหลวงขนึ้
-ทรงมั่นคงในพระพุทธศาสนา เดน่ ชัดเมอ่ื ครั้งราชทูตฝรัง่ เศสเชอวาลิเยร์ เดอ โชมอง ชักจูงเข้ารีต แต่
พระองค์ก็มิได้เปลี่ยนศาสนาตามแต่อย่างไรก็ตามก็มิได้รังเกียจหรือขัดขวางศาสนาอื่น เป็นพระมหากษัตริย์
ไทยพระองค์แรกทใ่ี ห้เสรภี าพแก่ประชาชน ในการนบั ถอื ศาสนา
-ทรงบูรณะวัดพระศรรี ัตนมหาธาตเุ มืองลพบุรี
-เชิญพระพุทธสหิ งิ คล์ งมายังอยธุ ยา
-ยุคทองของวรรณกรรมอยธุ ยา พระองค์เอาจใส่ในวรรณกรรมทง้ั ประพนั ธ์เองและส่งเสริมกวี เช่น ศรี
ปราชญ์ พระโหราธิบดี
-ทรงพระราชนิพนธ์วรรณคดเี รื่องสมุทรโฆษคำฉนั ท์
-พระโหราธบิ ดหี รือพระมหาราชครูแต่งจนิ ดามณี หนังสอื แบบเรียนเลม่ แรกของไทย
-ในสมัยนี้อยุธยาเปิดความสัมพันธ์ทางการค้ากับฝรั่งเสสเปน็ ครั้งแรกและถือว่าเป็นชาติสุดทา้ ยที่เดิน
ทางเข้ามาอยุธยา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อถ่วงดุลอำนาจกับฮอลันดา ซึ่งอยุธยาเคยเสนอให้อังกฤษมาถ่วงดุล
ก่อนแล้วแต่อังกฤษไมส่ นใจ เมื่อเสนอให้ฝรัง่ เศสซึ่งตอ้ งการจะเผยแผ่ศาสนาคริสต์และการค้าอยู่แลว้ จึงตกลง
กบั อยุธยา แมว้ า่ ในปลายรัชกาลฝรั่งเศสน้ีเองทเี่ ปน็ ฝา่ ยคกุ คามอธปิ ไตยอยธุ ยา
-ในสมัยสมเดจ็ พระนารายณม์ หาราชการค้าของอยธุ ยากับต่างชาติรุ่งเรอื งมาก ทำให้มีชาวต่างชาติเข้า
มามีบทบาทมากมาย เช่น เจ้าพระยาวิไชเยนทร์หรอื คอนสแตนติน ฟอลคอน ชาวกรีก ที่เจ้าพระยาโกษาธิบดี
เหล็ก รับเข้ามาทำงานในกรมพระคลังสินค้า เป็นคนฉลาดทำให้กรมพระคลังสินค้ามีรายได้มาก สมเด็จพระ
นารายณ์โปรดปรานทำให้ขัดเคืองกับขุนนางอยุธยาอยู่บ่อยครั้ง อำนวยความสะดวกให้กับฝรั่งเศสโดยเฉพาะ
จนสุดท้ายได้รับตำแหน่งสูงสุดเป็นสมุหนายกและกำกับดูแลพระคลัง แต่อยู่ได้ไม่นานก็ถูกพระเพทราชา
ประหารชวี ิต
-ความสมั พนั ธ์กบั ฝรง่ั เศสแนบแน่นเปน็ อย่างมาก สมเดจ็ พระนารายณ์มหาราชทรงส่งคณะทูตฝร่ังเศส
๓ คร้งั สว่ นฝรัง่ เศสน้นั ส่งมาอยธุ ยา ๒ ครง้ั ดงั นี้
ครั้งแรกส่งไปในพ.ศ.๒๒๒๔ มีราชทูตคือออกพระพิพัฒน์ราชไมตรี อุปทูตคือออกขุนศรีวิสารสุนทร
ส่วนตรีทูตคอื ออกขุนนครวชิ ยั แต่ไปไมถ่ ึงฝรง่ั เศสเนื่องจากเรอื แตกที่เกาะมาดากสั การ์
ครั้งที่ ๒ในพ.ศ.๒๒๒๗ ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อติดตามคณะทูตชุดแรก มีคณะทูตคือ ออกขุนวิชัย
วาทิตและออกขุนพิชิตไมตรี ครั้งนี้มีล่ามไปด้วยคือ บาทหลวงวาเชต์ เมื่อไปถึงทราบเรื่องราวทุกอย่างแล้ว
พระเจ้าหลุยส์ท่ี ๑๔ จึงทรงส่งเมอสิเออร์ เชอวาลิเยร์ เดอ โชมอง เดินทางเข้ามาพร้อมราชทูไทยชุดที่ ๒ น้ี
นับเป็นคณะทูตชุดแรกของฝรั่งเศสที่พระเจ้าหลุยส์ส่งเข้ามาเจริญสัมพันธไมตรี ถึงไทยเมื่อวันท่ี ๒๓ กันยายน
พ.ศ. ๒๒๒๘ อยุธยากจ็ ดั การต้อนรับเป็นอยา่ งดี
ครง้ั ท่ี ๓ เดือนธนั วาคม พ.ศ.๒๒๒๘ เมอ่ื คณะทตู ชุดแรกของฝรั่งเสสจะเดนิ ทางกลบั อยุธยากส็ ง่ ทตู ชุด
ที่ ๓ ออกไปด้วย มีราชทูตคือพระวิสุทธสุนทร (โกษาปาน) อุปทูตคือออกหลวงกัลยาราชไมตรี และตรีทูตคือ
ออกขุนศรีวิสารวาจา ถึงเมืองแบรสต์ ฝรั่งเศส วันท่ี ๑๘ มิถุนายน พ.ศ. ๒๒๒๙ นับได้ว่าการเจริญพระราช
ไมตรีคร้งั ท่ียงิ่ ใหญ่ทส่ี ุด คณะทตู ของอยธุ ยามคี วามเฉลยี วฉลาด พดู ภาษาฝรัง่ เศสได้ดี ไดรบั การชน่ื ชมเป็นอย่าง
มาก เม่อื เดนิ ทางกลบั มาฝรงั่ เศสกส็ ง่ ทูตชดุ ท่ี ๒ กลับมาด้วย
สมเดจ็ พระเพทราชา
พระราชประวตั ิ
พระมหากษตั ริย์พระองคท์ ี่ ๒๘ ของอยธุ ยา
ครองราชย์ด้วยการปราบดาภิเษก ยดึ อำนาจจากพระนารายณ์
พระราชสมภพ พ.ศ.2175
ครองราชย์ พ.ศ.๒๒๓๑
สวรรคต พ.ศ.๒๒๔๖
ครองราชย์รวม ๑๔ ปี
พระชนมายขุ ณะครองราชย์ ๕๖ พรรษา
มพี ระชนมายรุ วม ๗๑ พรรษา
ทรงมีพระราชโอรส ๓ พระองค์ ดังนี้
พระเจ้าเสือ
ตรัสนอ้ ย
เจ้าพระขวัญ
-มนี วิ าสสถานเดมิ ที่บ้านพลหู ลวง เมอื งสพุ รรณบรุ ี จงึ สถาปนาราชวงศ์ใหม่ช่ือ บ้านพลูหลวง ส่วนพระ
เพทราชามีอีกพระนามคอื “พระมหาบุรษุ ” เพราะช่วยให้อยุธยารอดพน้ จากการเปน็ เมอื งข้นึ ฝร่งั เศสได้
-ขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์องค์ที่ ๒๘ ครองราชย์ด้วยการปราบดาภิเษก ยึดอำนาจจากพระ
นารายณ์เมื่อครั้งทรงพระประชวรที่เมืองลพบุรี ตลอดจนกำจัดผู้ที่มีสิทธิ์ในราชบัลลังก็คือ เจ้าฟ้าน้อย เจ้าฟ้า
อภัยทศและโอรสบุญธรรมพระนารายณค์ อื พระปยี ์
-ครองราชย์ในพ.ศ.๒๒๓๑
-สวรรคตในพ.ศ.๒๒๔๖ ผู้ที่ได้ขึ้นครองราชย์หลวงสรศักดิ์พระอุปราช แม้จะมีพระโอรสกับพระมเหสี
คือกรมหลวงโยธาเทพพระราชธดิ าสมเดจ็ พระนารายณ์มหาราชกต็ าม
-ครองราชย์ ๑๔ ปี
-ตำแหน่งเดิมก่อนครองราชย์คือ เจ้ากรมพระคชบาล มีทหารในสังกัดเป็นกองกำลังอยู่จำนวนมาก
นอกจากน้ียงั เป็นผู้ที่ใกล้ชิดกับพระนารายณ์อย่างมากเพราะมีแมน่ มเดียวกนั คอื เจ้าแมว่ ัดดุสิต พระเพทราชา
มีพระขนิษฐา(น้องสาว) เป็นถึงพระสนมเอกของพระนารายณ์ ทำให้มีอำนาจและพระนารายณ์เองก็ทรงทำ
อะไรไดไ้ มม่ าก ทำใหข้ ึน้ ครองราชยไ์ ด้ไมย่ ากนกั ขุนนางต่างๆในอยุธยาหลายคนก็สนับสนนุ
สมเดจ็ พระเพทราชาทรงมีเครอื ญาตทิ ่เี ปน็ กษตั รยิ ด์ ังน้ี
มลี ูกเป็นกษัตรยิ ์ คอื สมเดจ็ พระสรรเพชญท์ ี่ ๘ พระเจ้าเสอื
มีหลานเป็นกษัตริย์ ๒ พระองค์ คือ สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ ๙ (พระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ) และสมเด็จ
พระเจ้าอยหู่ วั บรมโกศ
มีเหลนเป็นกษัตริย์ ๒ พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าอุทมุ พรและสมเดจ็ พระเจ้าเอกทัศน์
พระราชกรณียกจิ และเหตกุ ารณ์สำคญั
-หลังจากประหารเจ้าพระยาวิไชยเยนทร์แล้วก็ดำเนินการขับไล่ฝรั่งเศสออกไป โดยมีพระสงฆ์
สนับสนุนเพราะที่ไม่พอใจการเผยแผ่ศาสนาคริสต์ ทำสงครามกับฝรั่งเศสท่ีป้อมบางกอกและป้อมเมืองมะริด
โดยมนี ายพลเดฟาสควบคุม เมื่อฝรง่ั เศสสู้ไมไ่ ด้จงึ ทำสัญญาใหฝ้ ร่งั เศสออกจากอยุธยาไดส้ ะดวกในปลายปี พ.ศ.
๒๒๓๑ เรียกวา่ การปฏวิ ัตสิ ยามพ.ศ.๒๒๓๑
-เนื่องจากพระเพทราชาเป็นสามัญชนจึงมีการท้าทายสิทธิธรรมในการครองราชยห์ ลายครัง้ เช่นกบฏ
ธรรมเถยี ร กบฏบุญควา้ ง กบฏเมืองนครราชสีมา กบฏนครศรธี รรมราช เปน็ ต้น
-ตง้ั ขุนหลวงสรศกั ด์ิ เป็นวังหน้าหรอื กรมพระราชวังบวรสถานมงคลหรืออุปราช
-เน่อื งจากในอดตี ทผี่ า่ นมาทหารคือสมุหกลาโหมมีอำนาจมาก เพราะไดค้ มุ ทหารท่วั อาณาจักรแต่เพียง
ผู้เดียวมาตั้งแต่สมัยพระบรมไตรโลกนาถ จึงสามารถเข้ายึดบัลลังก์ได้ดังกรณีของออกญากลาโหมศรีสุริยวงศ์
ยึดอำนาจเป็นพระเจ้าปราสาททอง สมเด็จพระเพทราชาจึงเปลีย่ นรูปแบบใหม่โดยให้สมหุ นายกและสมุหกลา
โหมคุมท้ังทหารและพลเรือนเหมือนกนั เพียงแตแ่ บ่งเปน็ หัวเมืองเหนือและหวั เมอื งใต้ ดังน้ี
สมหุ นายก ดแู ลหวั เมืองเหนอื ท้งั ทหารและพลเรอื น
สมุหกลาโหม ดูแลหัวเมอื งใต้ทั้งทหารและพลเรือน
หัวเมืองชายทะเลตะวันออก ให้กรมท่า(โกษาธิบด)ี ดูแลทั้งทหารและพลเรอื น
-แม้ว่าสงครามกับเพื่อนบ้านจะมีน้อยมากหรือแทบจะไม่มีเลย ส่วนให่จะเป็นปัญหาการเมืองภายใน
ส่วนใหญ่ แต่มีครั้งหนึ่งที่พระองค์ช่วยระงับข้อพิพาทระหว่างเวียงจันทน์(ล้านช้าง)และหลวงพระบาง โดยส่ง
พระยานครราชสมี าไปชว่ ยเวยี งจนั ทน์เมอื่ หลวงพระบางรู้ กเ็ กรงพระบารมจี งึ ยอมเจรจากับเวยี งจนั ทน์
-การยุติความสัมพันธ์กับฝรั่งเศสโดยการขับไล่ออกจนหมด ได้รับการสนับสนุนจากฮอลันดา เพราะ
ฮอลันดาไม่ชอบฝร่ังเศสที่มาแข่งขันการค้ากับตน เมื่อเป็นดังนี้แล้วการค้าของฮอลันในอยธุ ยากร็ ุ่งเรืองขึ้นจาก
เดิมมาก โดยเฉพาะในพ.ศ.๒๒๓๑ได้ทำสนธิสัญญากับฮอลันดา เพื่อกระชับความสัมพันธ์เพื่อการป้องกัน
อำนาจฝร่ังเศสจะกลับมาขม่ ขอู่ ีกคร้งั
-อังกฤษ แม้ว่าจะไม่ประสบผลสำเร็จในการค้ากับอยุธยาจนต้องถอนสถานีการค้าออกไป แต่พ่อค้าที่
เป็นเอกชนยงั คงหมนุ เวยี นมาคา้ ขายกับอยธุ ยาอยเู่ รอ่ื ยๆ
-การค้ากับประเทศในแถบทวีปเอเชียก็รุ่งเรืองขึ้นทั้งจีนและญี่ปุ่น โดยเฉพาะจีนที่ก่อนหน้าซบเซาไป
มากเพราะจีนในราชวงศ์ชิงกฎห้ามมิให้ชาวจีนเดินเรือออกนอกประเทศ ต่อมายกเลิกกฎนี้การค้ากับจีนจึง
รุ่งเรือง ส่วนญี่ปุ่นนั้นมีกฎให้เฉพาะจีนและฮอลันดาเท่านั้นที่จะเข้าไปค้าขายกับญี่ปุ่นได้ แต่อยุธยาก็เองก็ถือ
โอกาสใช้ลูกเรอื ชาวจีนประจำสำเภาหลวงเพื่อไปขายทเ่ี มืองท่านางาซากิ
-สถาปนานวิ าสสถานเดมิ บริเวณย่านป่าตองขึ้นเปน็ วดั บรมพุทธาขน้ึ เป็นวดั ประจำรัชกาล
-บรู ณะวัดพระยาแมน ซ่ึงเปน็ วัดท่เี คยผนวชใหย้ ่งิ ใหญก่ ว่าเดมิ
-สว่ นศาสนาอนื่ ๆ อย่างศาสนาคริสต์ แมว้ า่ ฝร่ังเศสจะถูกขับไล่ออกไปแลว้ ตอ่ มาสมเดจ็ พระเพทราชา
ไดป้ ลอ่ ยตวั บาทหลวงฝรัง่ เศสให้สอนศาสนา สอนหนงั สือและประกอบศาสนาไดต้ ามเดิม
สมเดจ็ พระสรรเพชญท์ ี่ ๘ (พระเจา้ เสือ)
พระราชประวตั ิ
พระมหากษตั รยิ ์พระองคท์ ่ี ๒๙ ของอยุธยา
สืบราชสมบัติต่อจากพระราชบดิ าคือสมเดจ็ พระเพทราชา
ทรงเป็นพระราชโอรสของสมเดจ็ พระเพทราชาและพระกสุ าวด(ี พระธิดาเจ้าเมืองเชยี งใหม่) (บางแห่ง
เชื่อว่าเป็นโอรสลับของสมเด็จพระนารายณ์กับธิดาเจ้าเมืองเชียงใหม่ พระราชสมภพที่บ้านโพธิ์ประทัพช้าง
จงั หวัดพจิ ติ ร จึงไดพ้ ระราชทานใหพ้ ระเพทราชา
พระราชสมภพ พ.ศ.๒๒๐๕
ครองราชย์ พ.ศ.๒๒๔๖
สวรรคต พ.ศ.๒๒๕๑
ครองราชย์รวม ๖ ปี
พระชนมายุขณะครองราชย์ ๔๑ พรรษา
มีพระชนมายรุ วม ๔๗ พรรษา
ทรงมพี ระราชโอรส ๒ พระองคค์ อื เจา้ ฟ้าเพชรและเจ้าฟ้าพร
สมเดจ็ พระสรรเพชญท์ ี่ ๘ (พระเจ้าเสอื )ทรงมีเครอื ญาติทเ่ี ป็นกษตั ริย์ดังน้ี
มีพ่อเปน็ กษัตรยิ ์ คือ สมเด็จพระเพทราชา
มีลูกเป็นกษัตริย์ ๒ พระองค์ คือสมเด็จพระสรรเพชญท์ ี่ ๙ (พระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ) และสมเด็จพระ
เจ้าอย่หู วั บรมโกศ
มหี ลานเปน็ กษตั ริย์ ๒ พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและสมเดจ็ พระเจ้าเอกทัศน์
พระราชกรณยี กิจและเหตุการณส์ ำคัญ
-ทรงสถาปนาพระราชมารดาเลี้ยงเป็นกรมพระเทพามาตย์ ซึ่งตำแหน่งกรมพระเทพามาตย์คือ
ตำแหน่งของพระราชชนขี องพระมหากษตั รยิ ์
-ทรงสถาปนาเจา้ ฟ้าเพชรเป็นอปุ ราช
-โปรดเกล้าให้ขุดคลองโคกขามหรือคลองมหาชัยขึ้น เชื่อมแม่น้ำท่าจีนและแม่น้ำแม่กลอง มี
วตั ถปุ ระสงค์เพื่อย่นระยะเวลาในการเดินทางเขา้ มาอยธุ ยา มิไดม้ เี พอ่ื การชลประทานดังเช่นปจั จุบัน แล้วเสร็จ
ในสมัยของพระเจา้ อยหู่ ัวทา้ ยสระ
-สถาปนาวดั ขน้ึ ท่บี า้ นโพธป์ิ ระทับชา้ ง จงั หวดั พจิ ิตร ชอ่ื วา่ วดั โพธ์ปิ ระทับชา้ ง อนสุ รณ์สถานทพ่ี ระบรม
ราชสมภพ
-บูรณะพระวหิ ารพระมงคลบพิตรทีส่ ถาปนาข้นึ ต้ังแตร่ ชั กาลพระเจา้ ทรงธรรมใหใ้ หญโ่ ตยิง่ กว่าเดิม
-บูรณปฏสิ งั ขรณม์ ณฑปพระพทุ ธบาท สระบุรีที่สรา้ งต้ังแตค่ รัง้ รชั กาลพระเจ้าทรงธรรม ให้เป็นมณฑป
ทรง ๕ ยอด เสดจ็ ไปนมสั การอยู่บ่อยครงั้ คร้ังสดุ ทา้ ยท่เี สดจ็ มา พอกลบั ไปถงึ พระนครก็สวรรคต
-พระองค์ได้ชื่อว่าเป็นพระมหากษัตริย์ที่มีพระจริยวัตรอย่างสามัญชนมากที่สุด เห็นได้จากชอบ
ประพาสอย่างสามัญชน ไปชกมวยกับชาวบ้านทั่วไป ครั้งหนึ่งที่พระองค์ประพาสตามหัวเมือง เมื่อถึง
สมุทรสาครได้เกิดตำนานพันท้ายนรสิงห์ อีกทั้งยังชอบทรงเบ็ดตกปลา มีพระอุปนิสัยที่ดุร้ายชาวบ้านทัว่ ไปจึง
ขนานนามว่าพระเจา้ เสือ
-ในพ.ศ.๒๒๔๕ สมเด็จพระเจ้าเสือเสด็จไปคล้องช้างที่เมืองนครสวรรค์ ซึ่งพระเจ้าลูกยาเธอทั้ง ๒
พระองค์คือเจ้าฟ้าเพชรและเจ้าฟ้าพร ก็ตามเสด็จด้วยเมื่อถึงตำบลบ้านหูกวางจึงตั้งค่ายพัก และได้ให้พระเจ้า
ลกู ยาเธอทั้ง ๒ ถมบึงเพ่ือเปน็ ทางเสด็จ แตเ่ ม่อื ถมเสรจ็ พระเจา้ เสือทรงช้างลงไป ปรากฎวา่ ดินยบุ ลงท้ัง ๒ จึง
ถูกข้อหากบฏ พระเจ้าเสือทรงลงพะอาญาแต่กรมพระเทพามาตย์ขอพระราชทานอภยั โทษให้
สมเด็จพระสรรเพชญท์ ี่ ๙ (พระเจา้ อยู่หัวท้ายสระ)
พระราชประวัติ
พระมหากษตั ริย์พระองค์ท่ี ๓๐ ของอยุธยา
สืบราชสมบตั ติ ่อจากพระราชบดิ าคอื สมเดจ็ พระเจ้าเสอื
ทรงเปน็ พระราชโอรสของสมเดจ็ พระเจา้ เสอื
พระราชสมภพ พ.ศ. 2221
ครองราชย์ พ.ศ.๒๒๕๑
สวรรคต พ.ศ.๒๒๗๕
ครองราชย์รวม ๒๓ ปี
พระชนมายุขณะครองราชย์ ๓๐ พรรษา
มพี ระชนมายรุ วม ๕๔ พรรษา
ทรงมีพระราชโอรสและพระราชธิดา ดังนี้
เจ้าฟ้าหญิงเทพ
เจ้าฟา้ หญงิ ประทมุ
เจา้ ฟ้านเรนทร(กรมขนุ สุเรนทรพทิ กั ษ)์ ออกผนวช
เจ้าฟ้าอภัยและเจ้าฟ้าชายปรเมศร์(ทั้ง ๒ พระองค์นี้ทำสงครามกับกรมพระราชวงั บวรสถาน
มงคล(อา) และถกู จบั สำเร็จโทษดว้ ยทอ่ นจนั ทน์ที่วัดโคกพระยา)
เจ้าฟา้ ชายทบั
-นามเดิมคือเจ้าฟ้าเพชร ไดร้ บั การสถาปนาเป็นกรมพระราชวงั บวรสถานมงคล
-ทรงเปน็ สมเด็จพระศรสี รรเพชญ์องคท์ ่ี ๙ และพระองคส์ ุดทา้ ยของอยุธยา
-ที่พระนามว่าพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ เพราะว่าพระองค์ชอบประทับที่พระที่นั่งกลางน้ำด้านทิศ
ตะวนั ตกของพระราชวังหลวง คอื พระที่นั่งบรรยงกร์ ตั นาสน์ เขตพระราชฐานชน้ั ใน
-เมื่อขึ้นครองราชย์แล้วสถาปนาพระอนุชาธิราชคือ เจ้าฟ้าพรหรือพระบัณฑูรน้อยขึ้นเป็นกรม
พระราชวงั บวรสถานมงคล
สมเด็จพระสรรเพชญ์ท่ี ๙ (พระเจา้ อยหู่ ัวทา้ ยสระ)ทรงมีเครือญาตทิ ่ีเปน็ กษัตรยิ ์ดังนี้
มปี ู่เป็นกษตั รยิ ์ คือ สมเดจ็ พระเพทราชา
มีพอ่ เป็นกษตั ริย์ คือ สมเด็จพระสรรเพชญท์ ี่ ๘ (พระเจ้าเสือ)
มีน้องเป็นกษตั ริย์ คือ สมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัวบรมโกศ
พระราชกรณยี กิจและเหตกุ ารณ์สำคญั
-ทรงบูรณปฏิสังขรณ์มณฑปพระพุทธบาททีส่ รา้ งมาแต่ครงั้ สมัยพระเจ้าทรงธรรมเชน่ เดียวกับพระเจ้า
เสอื ผเู้ ป็นพระราชบดิ านอกจากนี้ยงั จัดงานสมโภชใหญ่เพ่อื ถวายเป็นพุทธบชู าอกี ด้วย
-พ.ศ.๒๒๕๓ ทรงบูรณะวัดมเหยงคณ์ และกรมพระราชวังบวรสถานมงคลทรงบูรณะวดั กุฎีดาว
-พ.ศ.๒๒๖๘ ให้ชะลอพระพุทธไสยาสน์ที่ป่าโมกออกจากตลิ่งเพราะน้ำกัดเซาะจากนั้นได้สร้างพระ
วหิ ารครององค์พระไว้
-เจ้าเมืองเขมร ๒ องค์เกิดวิวาทกันฝ่ายหนึ่งหันไปพึ่งญวน ฝ่ายหนึ่งหันมาพึ่งอยุธยา โดยฝ่ายที่มาพ่ึง
อยุธยานั้นคอื นักเสดจ็ พระเจ้าอยู่หัวท้ายสระจึงใหท้ ี่พักแถบวัดคา้ งคาว โดยฝ่ายทีไ่ ปพึ่งญวนนั้นคือนักแก้วฟ้า
สะจอง โดยให้ยวนมาชว่ ยตเี ขมรให้ ตอ่ มาพระเจา้ อยูท่ า้ ยสระก็ตคี ืนให้นักเสด็จตามเดิม
-พยายามเจริญสัมพนั ธไมตรีกับจีนเพือ่ ประโยชน์ทางการค้า โดยส่งทตู ไปเข้าเฝ้าจกั พรรดจิ นี ทงั้ หมด ๔
ครัง้ ตลอดรชั กาล
-ออกกฎหมายหา้ มราษฎรกนิ ปลาตะเพียน
-ออกพระราชกำหนดวิธีปกครองหวั เมอื ง
-ดำเนนิ การขดุ คลองโคกขามหรือคลองมหาชยั ต่อจากพระราชบดิ าจนแล้วเสร็จ
-ดำเนินการขดุ คลองลัดคงุ้ บางบัวทองคือคลองเกรด็ น้อยลัด(ปากเกรด็ )
-พยายามฟ้ืนฟสู ัมพันธไมตรีกับฝรั่งเศสแต่ไม่สำเร็จ เพราะข้อเสนอของฝรั่งเศสนั้นมากเกินไปท่ีอยุธยา
จะให้ไดค้ ือตอ้ งการมะรดิ และสทิ ธ์ิในการเผยแผค่ รสิ ต์ศาสนามากไปจนกระทบ
ตลอดรัชกาล
-พ.ศ.๒๒๖๑เจริญสัมพันธไมตรีกับสเปนโดยพระเจ้าฟิลิปป์แห่งสเปน ส่งราชทูตมาพระเจา้ อยู่หัวท้าย
สระ กท็ รงต้อนรบั อย่างสมพระเกียรติ
สมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัวบรมโกศ
พระราชประวตั ิ
พระมหากษัตริย์พระองค์ท่ี ๓๑ ของอยุธยา
ครองราชย์ดว้ ยการปราบดาภิเษก
ทรงเปน็ พระราชโอรสของสมเด็จพระเจ้าเสือ
พระราชสมภพ พ.ศ.๒๒๒๓
ครองราชย์ พ.ศ.๒๒๗๕
สวรรคต พ.ศ.๒๓๐๑
ครองราชย์รวม ๒๖ ปี
ขณะครองราชยม์ ีพระชนมพรรษา ๕๒ พรรษา
พระชนมายุรวม ๗๘ พรรษา
ทรงมีพระราชโอรสและพระราชธิดา ๑๐๘ พระองค์
-พระนามเดิมคอื เจา้ ฟ้าพร ต่อมาได้รบั การสถาปนาเปน็ พระบัณฑรู นอ้ ยในรชั กาลของสมเดจ็ พระเจ้า
เสือ(พระราชบิดา) และในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ(พระเชษฐา)ได้รับการสถาปนาเป็น
กรมพระราชวังบวรสถานมงคล เมื่อขึ้นครองราชย์มีพระนามคือสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ สมเด็จพระ
บรมราชาธิราชท่ี ๓ และปรากฏนามในคำใหก้ ารขนุ หลวงหาวัด(เอกสารของพมา่ )มีพระนามวา่ พระธรรมราชา
-ก่อนครองราชย์ เจา้ ฟ้านเรนทร(กรมขุนสุเรนทรพิทักษ์)พระโอรสองคโ์ ตของพระเจา้ อยู่หัวท้ายสระ ท่ี
พระราชบดิ ามอบราชสมบตั ใิ หน้ นั้ ทรงไม่รบั ราชสมบตั ิและออกผนวช เพราะเหน็ แก่พระเจา้ อา(เจ้าฟ้าพร)ท่ีควร
จะได้รับราชสมบัติอยู่แล้ว เพราะทรงเป็นถึงอุปราชทำให้พระเจ้าอยู่หัวท้ายสระมอบราชสมบัติให้แก่เจ้าฟ้า
อภัย พระโอรสองค์ถัดมา เป็นเหตุให้เกิดสงครามกลางเมือง เพื่อชิงราชสมบัติระหว่างเจ้าฟ้าพร(พระบัณฑูร
น้อย)อนุชาของพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระผู้เป็นพระอุปราชและเจ้าฟ้าอภัย พระราชโอรสของพระเจ้าอยู่หัว
ท้ายสระ ผู้ที่พระเจ้าอยู่หัวท้ายสระทรงมอบราชสมบัติให้(เจ้าฟ้าอภัยมีผู้สนับสนุนคือเจ้าฟ้าปรเมศร์พระ
อนุชา) สงครามจบลงดว้ ยชัยชนะของพระอปุ ราชเจ้าฟา้ พร การทำสงครามกลางเมืองครัง้ น้ีเปน็ สงครามกลาง
เมืองครั้งที่ใหญ่ที่สุดในสมัยอยุธยา สูญเสียกำลังทหารมากกว่าครั้งใดที่ผ่านมา สู้รบกันอย่างเปิดเผย สร้าง
ค่ายคูประตหู อรบเพียบพร้อม นานกว่า ๑ ปี ประดุจศึกพม่ามาล้อมกรุง นำมาซึ่งความอ่อนแอของกำลังทหาร
ของอยธุ ยาเปน็ อย่างมาก
-ขึน้ ครองราชยเ์ ป็นพระมหากษตั รยิ ์องคท์ ่ี ๓๑ แหง่ กรุงศรีอยุธยา
-สืบราชสมบัติด้วยการปราบดาภิเษก ทำสงครามกลางเมืองกับพระราชโอรสองค์ที่ ๒ ของพระ
เจ้าอยู่หัวท้ายสระคือ เจ้าฟ้าอภัย(มีผู้สนับสนุนคือเจ้าฟ้าปรเมศร์พระอนุชา) จนได้รับชัยชนะจับเจ้าฟ้าอภัย
และเจ้าฟ้าปรเมศร์สำเร็จโทษดว้ ยทอ่ นจนั ทนท์ วี่ ัดโคกพระยา
-สวรรคตในพ.ศ.๒๓๐๑ ขุนนางได้อัญเชิญพระบรมศพประดิษฐานท่ีพระที่นั่งบรรยงก์รัตนาสน์
ระหวา่ งนี้มีเหตกุ ารณเ์ กิดข้ึนคือ กรมขุนอนรุ ักษ์มนตรีทรงลาผนวชมาประทบั ท่ีพระตำหนักสวนกระตา่ ย และมี
ผู้คิดการกบฏคือ กรมหมื่นจิตรสุนทร กรมหมื่นสุนทรเทพ และกรมหมื่นเสพภักดีเรียกกันว่า เจ้าสามกรม แต่
ถูกปราบลงและถกู นำตัวไปสำเรจ็ โทษด้วยท่อนจนั ทน์ ณ วัดโคกพระยา
สมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัวบรมโกศทรงมเี ครือญาตทิ ่เี ปน็ กษัตรยิ ์ดงั น้ี
มปี ู่เป็นกษตั ริย์ คอื สมเด็จพระเพทราชา
มีพอ่ เปน็ กษัตรยิ ์ คอื สมเด็จพระสรรเพชญ์ท่ี ๘ (พระเจา้ เสอื )
มพี เี่ ป็นกษัตริย์ คือ สมเด็จพระเจา้ อยู่หวั ทา้ ยสระ
มลี กู เป็นกษัตรยิ ์ คือ สมเดจ็ พระเจ้าอุทมุ พรและสมเดจ็ พระเจ้าเอกทัศน์
พระราชกรณยี กิจและเหตุการณ์สำคญั
-เสด็จปา่ โมก อ่างทองเพ่ือสมโภชพระพุทธไสยาสน์ วัดป่าโมก
-อยธุ ยาช่วงนีถ้ ือวา่ เป็นยุคบา้ นเมืองดี
-เมอื่ ครง้ั ยงั เป็นพระอุปราชในแผ่นดินพระเจ้าอยหู่ ัวท้ายสระทรงปฏิสังขรณว์ ดั วัดกุฎีดาวและมีส่วนใน
การชะลอพระพทุ ธไสยาสน์ ป่าโมก
-ทรงบรู ณะพระเจดยี ภ์ ูเขาทองใหเ้ ป็นศลิ ปะแบบแท้ของอยธุ ยา คอื เจดยี ์ทรงย่อมุมไมส้ บิ สอง
-ออกกฎหมายห้ามชาวพุทธทำอาชพี ฆ่าสตั ว์
-เพิม่ ทรงกรมจากท่ีมีอยู่เดิม ๓ กรมใหเ้ ปน็ ๑๓ กรม แต่นเ่ี ปน็ การเพ่ิมปัญหาการชิงราชสมบัติ เพราะ
แต่ละกรมมีอำนาจการปกครองไพร่มากไป ดงั เชน่ กรณีของกบฏเจ้า ๓ กรม
-กำหนดให้ผทู้ ่ีจะเขา้ รบั ราชการ ตอ้ งบวชเรียนทางพระพุทธศาสนามาก่อน
-พ.ศ.2296ส่งสมณทูตไปลังกา พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศส่งพระสงฆ์ไป ๑๔ รูป มีพระอุบาลีเถระ
(วัดธรรมาราม)และพระอริยมุนี เป็นผู้นำคณะสงฆ์ ไปสืบทอดพระพุทธศาสนาที่กรุงสิงขัณฑนคร ประเทศ
ลังกาตามที่พระเจ้ากิตติศิริราชสีห์ได้ส่งทูตผ่านเรือฮอลันดามาทูลขอ จนเกิดกำเนิดลัทธิสยามวงศ์หรืออุบาลี
วงศ์ และเกิดเทศกาลสำคญั ของลงั กาทีป่ ฏิบตั ิถงึ ปัจจุบนั ริเร่ิมโดยพระอบุ าลี คอื เทศกาลแหพ่ ระเข้ยี วแกว้
-เสด็จพระราชดำเนินทางพยุหยาตราทางชลมารคไปนมัสการรอยพระพทุ ธบาท สระบรุ ีทุกปี
-สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศทรงเป็นนักกวี ทรงพระราชนิพนธ์วรรณคดีหลายเรื่อง เช่น โคลงพาลี
สอนน้อง โคลงราชสวัสด์ิ โคลงทศรถสอนพระราม โคลงชะลอพระพุทธไสยาสน์วดั ป่าโมก โคลงประดิษฐ์พระ
ร่วง และโคลงราชานุวัตร เป็นต้น และพระองค์อุปถัมภ์นักกวีคนอื่นๆ เช่น สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้ากรม
ขุนเสนาพทิ กั ษ์(เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรหรือเจ้าฟา้ กุ้ง) เจา้ ฟ้าหญงิ กุณฑลและเจ้าฟา้ หญิงมงกุฎ เป็นต้น จนทำให้ใน
รัชกาลนไ้ี ด้ชื่อว่าเป็นยคุ ทองของวรรณคดอี ยธุ ยา
สมเดจ็ พระเจ้าอุทุมพร
พระราชประวัติ
พระมหากษตั ริย์พระองค์ท่ี ๓๒ ของอยธุ ยา
ครองราชย์สบื ตอ่ จากพระบดิ า คอื พระเจา้ อยหู่ วั บรมโกศ
ทรงเป็นพระราชโอรสของพระเจ้าอยหู่ วั บรมโกศและกรมหลวงพิพิธมนตรี
ครองราชย์ พ.ศ.๒๓๐๑-๒๓๐๑
สวรรคต พ.ศ.๒๓๓๙
ครองราชยร์ วม ๒ เดอื น
-เป็นพระราชโอรสของสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวบรมโกศและกรมหลวงพิพิธมนตรี ในพ.ศ.๒๓๐๐ แผ่นดิน
ของพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศผู้เป็นพระราชบิดา ได้รับการสถาปนาเป็นสมเด็จเจ้าฟ้ากรมขุนพรพินิต พระราช
อิสริยยศกรมพระราชวังบวรสถานมงคลแทนเจ้าฟ้าธรรมาธิเบศรที่ต้องพระอาญาสิ้นพระชนม์ ตามคำทูลของ
กรมหมื่นเทพพิพธิ ทรงปรึกษาเจ้าพระยาอภยั ราชาผู้วา่ ท่สี มหุ นายกและเจ้าพระยามหาเสนาพระยาพระคลัง ไม่
ทำพิธีอุปราชาท่ีพระที่นั่งสรรเพชญ์ปราสาท ราษฎรเรียกพระนามเจ้าฟ้าดอกเดื่อ ซึ่งเป็นที่มาของพระนามว่า
พระเจ้าอุทุมพร คำว่าอุทมุ พรแปลว่ามะเดอื เหตทุ มี่ พี ระนามเกีย่ วข้องกบั มะเดื่อเพราะเม่ือทรงอยใู่ นพระครรภ์
พระราชมารดาทรงพระสบุ ินวา่ มีผู้ถวายดอกมะเดื่อ
-เหตุการณ์ก่อนครองราชย์ เกิดกบฏเจ้าสามกรม(กรมหมื่นจิตรสุนทร กรมหมื่นสุนทรเทพ และกรม
หม่ืนเสพภักด)ี
-ขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตรยิ ์องค์ท่ี ๓๒ สบื ราชสมบตั ิต่อจากพระราชบิดาคือพระเจ้าอยู่หัวบรม
โกศ แมพ้ ระองคจ์ ะมีพระเชษฐาคือกรมขนุ อนุรักษ์มนตรีท่ีควรจะไดร้ ับราชสมบตั ิ แตพ่ ระราชบิดาก็ไม่ทรงมอบ
ให้กรมขุนอนุรกั ษม์ นตรี เนื่องจากเหน็ วา่ มีพระปญั ญาไม่เฉลียวฉลาดจึงให้ผนวชที่ วดั ลมดุ ปากจ่ัน
-ครองราชย์ในพ.ศ.๒๓๐๑ ครองราชย์ ๒ เดือน เม่อื หลังจากครองราชย์ได้ ๑๐ วนั สมเด็จพระเจ้าเอก
ทัศน์ได้ขึ้นประทับพระที่นัง่ สุริยาศนอ์ มรินทร์ เป็นเหตุใหพ้ ระเจ้าอุทุมพรไดส้ ง่ มอบราชสมบัติให้กับพระเชษฐา
คือพระเจ้าเอกทัศน์ (เหตุการณ์ทางการเมอื งที่เกิดขึน้ ในพระทีน่ ั่งสุริยาศน์อมรนิ ทร์น้ีเองเปน็ พระนามของพระ
เจ้าเอกทัศน์เมื่อทรงขึ้นครองราชย์นามว่าสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์) พระเจ้าอุทุมพรออกผนวชที่วัด
ประดูท่ รงธรรม เม่อื พระเจ้าเอกทัศน์ครองราชย์กลบั เป็นดังท่ีพระบิดาดำริไว้ พระเจ้าเอกทัศนก์ ระทำการเส่ือม
เสียแก่ราชบลั ลังก์ กรมหม่ืนเทพพิพิธ(ผนวชท่ีวดั กระโจม) จะเชิญพระเจา้ อุทมุ พรมาครองราชสมบัตแิ ต่พระเจ้า
เอกทัศน์จับได้จึงเนรเทศหมื่นเทพพิพิธไปลังกา(กลับมาตั้งก๊กเจ้าพิมายในสมัยธนบุรี) หลังจากที่พระเจ้าเอก
ทัศน์ครองราชย์ได้ ๑ ปีตรงกับพ.ศ. ๒๓๐๓ พม่ามีความเข้มแข็งขึ้น จึงยกทัพมาตีอยุธยานำโดยพระเจ้าอลอง
พญา เป็นเหตุให้พระเจ้าอุทุมพรลาผนวชมาช่วยบ้านเมืองเพื่อสู้ศึกพม่า ตามคำเรียกร้องของอาณา
ประชาราษฎร์ เนื่องจากพระเจ้าเอกทัศน์ทรงไม่มีพระปรีชาสามารถ พระเจ้าอุทุมพรสู้ศึกเตรียมการต่างๆเป็น
สามารถ ฝ่ายพระเจ้าอลองพญาถูกปืนใหญ่แตกใส่พระองค์ จึงยกทัพกลับไปและพอถึงเมืองตากก็สวรรคต
ระหวา่ งทางน้นั เอง เมือ่ เสร็จศกึ ก็ทรงลาผนวชดังเดิม รวมเวลาอยูใ่ นราชสมบตั ิ ๒ เดอื น
-สวรรคตในพ.ศ.๒๓๓๙ เมื่อครั้งเสียกรุงครั้งที่ ๒ ในแผ่นดินของพระเจา้ เอกทัศน์ ขณะทรงผนวชเปน็
พระภิกษุที่วัดประดู่ทรงธรรม ได้ทรงกวาดต้อนไปอังวะ พระเจ้ามังระให้ประทับที่เมืองจักไก เป็นที่มาของ
คำให้การขุนหลวงหาวัดหรือคำใหก้ ารขุนหลวงวัดประดูท่ รงธรรม เป็นพระมหากษัตริย์ทีถ่ ูกกวาดตอ้ นไปองั วะ
เพยี งพระองค์เดียว เนอื่ งจากพระเจา้ เอกทศั น์หนไี ปได้แลว้ สวรรคตในแผน่ ดนิ อยุธยา
สมเด็จพระเจา้ อทุ ุมพรทรงมเี ครือญาติทีเ่ ป็นกษัตริยด์ งั น้ี
มีปทู่ วดเปน็ กษตั รยิ ์ คือ สมเดจ็ พระเพทราชา
มปี เู่ ปน็ กษตั รยิ ์ คอื สมเดจ็ พระสรรเพชญท์ ี่ ๘ (พระเจา้ เสือ)
มลี งุ เปน็ กษตั ริย์ คอื สมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ท้ายสระ
มพี อ่ เปน็ กษัตรยิ ์ คือ สมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัวบรมโกศ
มพี เี่ ปน็ กษัตริย์ คอื สมเดจ็ พระเจา้ เอกทศั น์
พระราชกรณียกจิ และเหตกุ ารณส์ ำคัญ
-สร้างวัดประจำรชั กาลคือวัดอทุ มุ พรอาราม
-บูรณะวัดพระพุทธบาท สระบุรีเหมือนทุกๆรัชกาล คือปฏิสังขรณ์หลังคาพระมณฑปพระพุทธบาท
หุ้มทองสองชนั้ สน้ิ ทอง ๒๔๔ ชั่ง
สมเดจ็ พระเจ้าเอกทัศ
พระราชประวัติ
พระมหากษัตรยิ ์พระองค์ท่ี ๓๓ พระองคส์ ุดทา้ ยของอยุธยา
ครองราชย์สมบัติสืบต่อจากพระอนุชา คือ สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร เป็นพระองค์เดียวของอยุธยาที่
สบื ราชสมบัตจิ ากน้องไปหาพี่
ทรงเปน็ พระราชโอรสของพระเจ้าอยหู่ วั บรมโกศและกรมหลวงพิพธิ มนตรี
ครองราชย์ พ.ศ.๒๓๐๑
สวรรคต พ.ศ.๒๓๑๐
ครองราชยร์ วม ๙ ปี
-เปน็ พระราชโอรสของสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั บรมโกศและกรมหลวงพิพิธมนตรี
-ครองราชย์ในเป็นพระมหากษัตรยิ ์องค์ที่ ๓๓พระองค์สุดท้ายของกรุงศรีอยุธยา สืบราชสมบัติต่อจาก
พระอนชุ าคอื สมเด็จพระเจ้าอุทมุ พร เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์เดียวของอยธุ ยาทสี่ ืบราชสมบัติต่อจากพระ
อนุชาธิราช เมื่อขึ้นครองราชย์แล้วมีพระนามว่าสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์(เหตุการณ์ที่ทำให้พระองค์
ได้มาซึ่งอำนาจ เกิดขึ้นที่พระที่นั่งนี้) ตามพระสุพรรณบัฏบันทึกพระนามว่าสมเด็จพระบรมราชาที่ ๓
เหตุการณ์ก่อนครองราชย์ แม้ว่าพระองค์จะเป็นพระเชษฐาของสมเด็จพระเจ้าอุทุมพร ตั้งแต่เมื่อกรม
พระราชวงั บวรสถานมงคลพระองคเ์ ดมิ คือเจา้ ฟา้ ธรรมาธเิ บศร(เจา้ ฟ้ากุง้ ) สวรรคตไปแล้วถึง ๑๑ ปจี งึ ได้ต้ังพระ
อุปราชใหม่ แต่พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศก็มิได้ตั้งพระเจ้าเอกทัศน์(กรมขุนอนุรักษ์มนตรี)เป็นอุปราช แต่กลับทำ
พธิ อี ุปราชายกให้กลับเจ้าฟา้ อุทุมพร(กรมขุนพรพินติ )ผู้เป็นอนุชาแทน ตามคำกราบบงั คมทูลของกรมหม่ืนเทพ
พิพิธและเจ้าพระยาอภัยราชา(ผู้ว่าที่สมุหนายกและเจ้าพระยามหาเสนาพระยาพระคลัง) ในพ.ศ. ๒๓๐๐และ
ให้กรมขุนอนุรักษม์ นตรอี อกผนวช ณ วัดลมุดปากจั่น เมื่อพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศประชวรก็ลาผนวชมาประทับ
ที่พระตำหนักสวนกระต่าย เมื่อได้โอกาสก็ขึ้นไปนั่งบนพระที่นั่งสุริยาสน์อมรินทร์ ทำให้พระเจ้าอุทุมพรมอบ
ราชสมบัติให้
-สวรรคตในพ.ศ.๒๓๑๐
-ครองราชย์ ๙ เดอื น
สมเด็จพระเจา้ เอกทศั ทรงมเี ครอื ญาติท่ีเปน็ กษัตริย์ดังน้ี
มีป่ทู วดเปน็ กษตั ริย์ คือ สมเดจ็ พระเพทราชา
มปี ูเ่ ป็นกษัตรยิ ์ คอื สมเด็จพระสรรเพชญท์ ี่ ๘ (พระเจา้ เสอื )
มีลุงเป็นกษัตริย์ คอื สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัวท้ายสระ
มีพ่อเปน็ กษตั รยิ ์ คือ สมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั บรมโกศ
มนี อ้ งเปน็ กษัตรยิ ์ คอื สมเดจ็ พระเจ้าอทุ มุ พร
เหตุการณ์สำคัญ
-เนรเทศกรมหมนื่ พิพธิ ไปลงั กา เพราะจะเชญิ พระเจ้าอทุ มุ พรมาครองราชย์
-พ.ศ.๒๓๐๓ พระเจา้ อลองพญาแห่งพม่า ยกทัพเขา้ มาทางเมอื งกุย จงึ เชญิ พระเจา้ อทุ ุมพรลาผนวชมา
เตรยี มการรบั ศกึ พม่า พระเจ้าอุทุมพรเตรยี มการรบป้องกันพระนครเปน็ สามารถ ฝา่ ยพระเจา้ อลองพญาถูกปืน
ใหญ่แตกใสพ่ ระองค์ ยกทพั กลับไปสวรรคตระหวา่ งทางท่เี มอื งตาก พระเจ้าเอกทศั นไ์ ด้ราชสมบัตคิ นื
-พ.ศ.๒๓๐๗ พม่ามีกษัตริย์พระองค์ใหม่ พระนามว่า พระเจ้ามังระ ยกทัพเข้ามาตีอยุธยาอีกคร้ัง เม่ือ
ศึกใกล้ประชิดพระนครพระเจ้าอุทุมพร จึงเสด็จมาประทับที่วัดราชประดิษฐาน ราษฎรวิงวอนให้ลาผนวชมา
ช่วยการศึกพระองค์ก็มิได้ลาผนวชออกมา จนกระทั่งเสียกรุงครั้งที่ ๒ เมื่อวันที่ ๗ เมษายน ๒๓๑๐
พระเจา้ อุทมุ พรถูกกวาดต้อนไปพม่า ส่วนพระเจ้าเอกทัศนห์ นอี อกไปไดแ้ ละสวรรคตในเวลาต่อมา เม่ือพระเจ้า
ตากสนิ ก้เู อกราชได้แล้วจึงได้มีการถวายพระเพลิง ตามหนังสอื นามานุกรมพระมหากษตั ริย์ไทยได้อธิบายชะตา
กรรมของพระเจา้ เอกทัศนห์ ลังกรุงแตกเอาไว้ดังน้ี
“พวกพม่าไปพบสมเด็จพระเจ้าเอกทัศที่บ้านจิก (ข้างวัดสังฆาวาส) ทรงอดอาหารกว่า ๑๐ วัน พอถึง
ค่ายโพธสิ์ ามตน้ ก็สวรรคต สกุ พ้ี ระนายกองให้เชญิ พระศพฝงั ไว้ท่โี คกพระเมรุตรงหนา้ วิหารพระมงคลบพิตร”
พระราชกรณียกจิ
เมื่อครั้งรัชกาลของสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวบรมโกศ ผู้เป็นพระราชบิดาไดส้ ่งสมณทูไปลังกา เพื่อสืบทอด
พระพุทธศาสนา บัดนี้เวลาล่วงมาถึงพ.ศ.๒๓๐๑ พระเจ้าเอกทัศน์ทรงมีพระราชดำริจะนำพระสงฆ์ไปผลัดกับ
พระสงฆ์ที่ไปครานี้ ซึ่งพระสงฆ์ท่ีเดินทางไปหลังนีป้ ระกอบด้วยพระวสิ ทุ ธาจารย์และพระวรญาณมนุ ี และพระ
อันดับอีก ๒ รูปรวม ๕ รูป โดยสมณทูตชุดหลังนี้มีมีผู้ศรัทธาขอบวชเพิ่ม ๓๐๐ กว่ารูป เพิ่มเติมจากสมณทูต
ของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศมีพระอุบาลีและพระอริยมุนีเป็นผู้นำคณะสงฆ์ที่บวชภิกษุได้ ๗๐๐ รูป
สามเณร ๑๐๐๐ พอครบ ๑ ปพี ระสงฆก์ ็เดนิ ทางกลบั มา เหลอื เพียงพระอบุ าลีและพระอันดับบางรูปที่คอยดูแล
ความเรยี บร้อยกิจการสงฆท์ ่ลี งั กา
ขอ้ มลู ทน่ี า่ สนใจ
๑. รวมระยะเวลาการครองราชย์ของกษัตริยจ์ ากมากทีส่ ดุ ไปหาน้อยทสี่ ุดได้ดงั นี้
พระมหากษัตริย์ รวมระยะเวลาครองราชย์
สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ ๔๐ ปี
สมเด็จพระรามาธบิ ดที ี่ ๒ ๓๘ ปี
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ๓๒ ปี
สมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั บรมโกศ ๒๖ ปี
สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง ๒๕ ปี
สมเดจ็ พระบรมราชาธิราชท่ี ๒ เจ้าสามพระยา ๒๔ ปี
สมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ทา้ ยสระ ๒๓ ปี
สมเดจ็ พระมหาธรรมราชา ๒๑ ปี
สมเดจ็ พระมหาจกั รพรรดิ ๒๐ ปี
สมเดจ็ พระรามาธบิ ดีที่ ๑ ๑๙ ปี
สมเดจ็ พระบรมราชาธริ าชท่ี ๑ ๑๘ ปี
สมเดจ็ พระเจ้าทรงธรรม ๑๘ ปี
สมเดจ็ พระเจ้านครอนิ ทร์ ๑๖ ปี
สมเดจ็ พระรามราชาธิราช ๑๕ ปี
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ๑๕ ปี
สมเด็จพระเพทราชา ๑๔ ปี
สมเดจ็ พระไชยราชาธริ าช ๑๒ ปี
สมเดจ็ พระราเมศวร ๙ ปี
สมเดจ็ พระเจ้าเอกทศั น์ ๙ ปี
สมเดจ็ พระเจ้าเสอื ๖ ปี
สมเด็จพระเอกาทศรถ ๕ ปี
สมเดจ็ พระบรมราชาธริ าชที่ ๔ (หนอ่ พุทธางกรู ) ๔ ปี
สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๓ ๓ ปี
สมเด็จพระยอดฟา้ ๒ ปี
สมเดจ็ พระศรเี สาวภาคย์ ๑ ปีเศษ
สมเดจ็ พระมหินทราธิราช ๑ ปี
สมเด็จพระเชษฐาธริ าช ๘ เดอื น
สมเด็จพระรษั ฎาธิราช ๕ เดอื น
สมเดจ็ พระศรสี ธุ รรมราชา ๒ เดอื น
สมเด็จพระเจา้ อุทุมพร ๒ เดอื น
สมเดจ็ พระอาทิตยวงศ์ ๓๘ วัน
สมเด็จพระเจ้าทองลัน ๗ วนั
เจา้ ฟ้าไชย ๓-๕ วัน
๒. ยวุ กษัตริย์เเหง่ กรงุ ศรีอยธุ ยา
กรุงศรีอยธุ ยามีพระมหากษัตรยิ ป์ กครองถงึ ๓๓ พระองค์ ซึ่งใน ๓๓ พระองคน์ ี้มอี ยู่ ๕ พระองค์ทีถ่ ือ
ว่าเปน็ " ยวุ กษัตริย"์ คอื กษัตรยิ ์ทขี่ ึน้ ครองราชย์ขณะทรงพระเยาว์ หรือมีพระชนมายุในชว่ งอายุ ๑-๑๕
พรรษา ดงั นี้
๑.พระเจ้าทองลัน
▪ราชวงศส์ ุพรรณภูมิ
▪ขน้ึ ครองราชยข์ ณะมีพระชนมายุ ๑๕ พรรษา ครองราชยเ์ พยี ง ๗ วัน
▪ ครองราชย์หลังจากที่พระราชบิดาคือ สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๑ ( ขุนหลวงพะงั่ว)เสด็จ
สวรรคต
▪หลังครองราชย์ ๗ วัน สมเด็จพระราเมศวรก็เสด็จมาจากลพบุรีเเล้วปลงพระชนม์พระเจ้าทองลันที่
วดั โคกพระยา เสวยราชย์ข้ึนเปน็ กษัตริยเ์ เทน
▪พระเจา้ ทองลนั ถอื เปน็ ยุวกษัตริย์องค์เเรกของอยุธยา
▪พระเจ้าทองลันเป็นกษตั ริย์องคท์ ่ี ๒ ของอยุธยาท่ถี ูกยดึ อำนาจ ตอ่ จากพระราเมศวร(คร้ังที่ ๑) ที่ถูก
ยดึ อำนาจโดยพระบรมราชาธิราชที่ ๑
▪พระเจ้าทองลนั เปน็ กษตั รยิ ์องคเ์ เรกของอยธุ ยาทถ่ี ูกปลงพระชนม์
‘
๒.พระรัษฎาธิราช
▪ราชวงศ์สพุ รรณภมู ิ
▪ยุวกษัตรยิ ์องค์ท่ี ๒ ของอยธุ ยา ขน้ึ ครองราชย์ขณะมีพระชนมายุเพยี ง ๕ พรรษาเทา่ นัน้ ครองราชย์
ได้เพยี ง ๕ เดอื นเท่านน้ั
▪ขน้ึ ครองราชย์หลงั จากพระราชบิดาคอื สมเด็จพระบรมราชาธริ าชท่ี ๔(หนอ่ พทุ ธางกูร) สวรรคต
▪หลังครองราชย์ได้เพียง ๕ เดือน พระไชยราชาธิราชผู้เป็นพระเจ้าอา น้องของผู้เป็นพระบิดา
ขณะนั้นเป็นพระอุปราชครองเมืองพิษณุโลก ได้กลับมายึดอำนาจพระรัษฎาที่ราชย์เเล้วปลงพระชนม์ ขึ้นเป็น
กษตั รยิ ์เเทน
▪พระรัษฎาธริ าช คอื กษัตรยิ อ์ ยธุ ยาทขี่ น้ึ ครองราชย์ขณะมีพะชนมายุน้อยทส่ี ุด ๕ พรรษา
▪ยวุ กษัตรยิ ์องค์ท่ี ๒ ของอยธุ ยา
๓.พระยอดฟ้า
▪ราชวงศส์ พุ รรณภูมิ
▪ครองราชย์ขณะมีพระชนมม์ ายุ ๑๑ พรรษา อยู่ในราชสมบัตเิ พยี ง ๒ ปี
▪ขนึ้ ครองราชยห์ ลงั จากพระราชบิดาคือ พระไชยราชาธิราชสวรรคต เเต่การขึ้นครองราชย์นี้พระองค์
ไม่ได้มีอำนาจสิทธิ์ขาดอันใดเนื่องจากทรงพระเยาว์ เเต่อำนาจทั้งหมดกลับตกอยู่ท่ีพระมารดาคือ ท้าวศรีสุดา
จันทร์ ต่อมาท้าวศรีสุดาจันทร์ได้มีลูกกับขุนวรวงศาธิราช จึงยกขุนวรวงศาธิราชขึ้นเป็นกษัตริย์เเละ ทั้ง ๒ จึง
กำจดั พระยอดฟ้ารวมเวลาครองราชย์ ๒ ปี
▪พระยอดฟ้าถือเป็นยุวกษัตริย์ทค่ี รองราชยย์ าวนานที่สดุ ในยุวกษัตรยิ ์ทัง้ หมด
๔.สมเดจ็ พระเชษฐาธิราช
▪ราชวงศ์สุโขทัย
▪ครองราชย์ขณะมีพระชนมายุ ๑๕ พรรษาต่อจากพระบดิ าคือ พระเจ้าทรงธรรม อยู่ในราชสมบัติ ๘
เดอื น ก็ถูกเจ้าพระยากลาโหมศรสี ุริยวงศ(์ พระเจ้าปราสาททอง)ปลงพระชนม์
๕.พระอาทติ ยวงศ์
▪ราชวงศ์สุโขทัย
▪ยวุ กษตั รยิ ์องคส์ ดุ ท้ายของอยุธยา ครองราชย์ขณะมพี ระชนมายุ ๙ พรรษาตอ่ จากพระเชษฐา(พี่ชาย)
อยู่ในราชสมบัติ ๓๘ วัน เริ่มจากเจ้าพระยากลาโหมศรีสุริยวงศ์กำจัดพระเชษฐาธิราชเเล้ว ก็มิได้ปราบดาขึ่น
เป็นกษัตริย์กลับยกราชสมบัติให้กลับโอรสของพระเจ้าทรงธรรม ผู้เป็นอนุชาของพระเชษฐาธิราช ต่อมาได้ไม่
นานเจ้าพระยากลาโหมศรสี รุ ิยวงศก์ ็สำเร็จโทษพระอาทติ ยวงศ์เเลว้ ขึน้ ครองราชย์เเทน
ขอ้ ควรจำ
๑.ยวุ กษัตริยอ์ งคเ์ เรกของอยธุ ยาคอื พระเจ้าทองลนั
๒.ยวุ กษตั ริยอ์ งคส์ ุดท้ายคอื พระอาทติ ยวงศ์
๓.ยวุ กษัติย์ท่ีอยู่ในราชสมบัตินานทีส่ ดุ คอื พระยอดฟา้ ๒ ปี
๔.ยวุ กษัตรยิ ์ท่อี ยูใ่ นราชสมบัตสิ ัน้ ทสี่ ุดคอื พระเจ้าทองลนั
๕.ยวุ กษตั ริยเ์ เละเปน็ กษัตรยิ ์ที่ครองราชย์ขณะมีพระชนมายุน้อยท่ีสดุ ใน ๓๓ องคค์ อื พระรัษฎาธิราช
ครองราชยข์ ณะมพี ระชนมายเุ พยี ง ๕ พรรษา
๖.ยุวกษัตรยิ ท์ อี่ ายุมากทส่ี ุดคอื พระเจา้ ทองลนั พระเชษฐาธริ าช
๑๕ พรรษาเทา่ กัน
๗.พระเจ้าปราสาททองขึ้นครองราชย์ด้วยการปลงพระชนม์ยุวกษัตริย์จากราชวงศ์สุโขทัย ๒ องค์คือ
พระเชษฐาธิราชเเละพระอาทติ ยวงศ์
๘.ราชวงศ์ทีไ่ มม่ ยี ุวกษตั ริยค์ ือ อู่ทอง ปราสาททอง บ้านพลหู ลวง
๙.ราชวงศ์ที่มียุวกษัตริย์มากที่สุดคือ สุพรรณภูมิ มี ๓ พระองค์คือ พระเจ้าทองลัน พระรัษฎาธราช
พระยอดฟา้ ตามมาด้วยราชวงศ์สุโขทัย ๒ พระองค์คือ พระรัษฎาธริ าช พระอาทติ ยว์ งศ์
๑๐.พระมหากษัตริย์ที่มีพระโอรสเป็นยุวกษัตริย์ ๒ พระองค์คือ พระเจ้าทรงธรรม โอรสคือ พระ
เชษฐาธิราช พระาทิตยวงศ์ ทัง้ ๒ ถูกกำจดั โดยพระเจ้สาปราสาททอง
๓. กษตั รยิ ์อยุธยาที่ใช้พระนามว่า" พระศรีสรรเพชญ์" มี ๙ พระองค์ ดังน้ี
เริ่มใช้พระองค์เเรกในราชวงศ์สุโขทัยโดยสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช เเละใช้ในพระมหากษัตริย
พระองคต์ อ่ ๆมาดังน้ี
▪สมเด็จพระสรรเพชญท์ ่ี ๑ คอื สมเด็จพระมหาธรรมราชา(เร่มิ ตน้ การใช)้
▪สมเดจ็ พระสรรเพชญท์ ่ี ๒ คือ สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช
สมเดจ็ พระสรรเพชญท์ ี่ ๓ คอื สมเดจ็ พระเอกาทศรถ
▪สมเดจ็ พระสรรเพชญท์ ่ี ๔ คือ สมเดจ็ พระศรเี สาวภาคย์
▪สมเด็จพระสรรเพชญ์ท่ี ๕ คือ สมเด็จพระเจา้ ปราสาททอง
สมเด็จพระสรรเพชญท์ ่ี ๖ คอื สมเด็จเจา้ ฟา้ ไชย
▪สมเดจ็ พระสรรเพชญท์ ี่ ๗ คอื สมเด็จพระศรีสธุ รรมราชา
สมเดจ็ พระสรรเพชญ์ท่ี ๘ คอื สมเดจ็ พระเจ้าเสือ
▪สมเดจ็ พระสรรเพชญ์ที่ ๙ คือ สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทา้ ยสระ ถือว่าเปน็ พระสรรเพชญอ์ งค์สดุ ทา้ ย
๔. กษตั ริย์อยธุ ยาได้ได้รับพระราชสมัญญานามว่า " พระเจ้าช้างเผอื ก"
การได้ช้างเผือกคู่พระบารมีเป็นการเเสดงบุญญาธิการอันสูงส่งของพระมหากษัตริย์ ด้วยคตินี้ทำให้
พระมหากษัตริย์ล้วนเเสวงหาเพื่อเป็นช้างคู่พระบารมี เเม้การจับช้างจะมีความลำบากมากน้อยเพียงใดก็ตาม
บางคร้ังถึงขนาดต้องทำสงครามเพื่อเเย่งชิง ดังปรากฏในสงครามช้างเผือกสมัยพระมหาจักรพรรดิ ในสมัย
อยุธยาทเ่ี รียกกันว่าพระเจา้ ช้างเผือกมี ๒ พระองค์คอื
▪สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ การที่ได้รับสมัญญานามนี้มาจากพระองค์ได้รับช้างเผือกคู่พระบารมี
ในพ.ศ.๒๐๑๔ นบั เป็น"ชา้ งเผือกชา้ งเเรกในกรงุ ศรีอยธุ ยา"
▪สมเด็จพระมหาจักพรรดิ ได้พระนามว่า"พระเจ้าช้างเผือก" ถือว่าเป็นกษัตริย์ที่มีบุญญาธิการสูง
เพราะมชี า้ งเผือกคู่พระบารมีถึง ๗ ช้าง
๕. พระมหากษตั ริยอ์ ยธุ ยาทถ่ี กู สำเร็จโทษดว้ ยท่อนจนั ทน์
▪เมื่อมีการเเย่งชิงราชบัลลังก์เกิดขึ้น ผู้ที่เป็นฝ่ายชนะย่อมจะกำจัดฝ่ายตรงข้าม เพื่อมิให้กลับมายึด
อำนาจได้อีก ตามโบราณราชประเพณีเเล้วจะใช้วิธีการ"สำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์"จากนั้นค่อยปราบดาภเิ ษก
เปน็ กษัตรยิ ์
▪ตามหลกั ฐานปรากฎสถานทีส่ ำเร็จโทษคอื " วดั โคกพระยา" มีกษัตริยอ์ ยุธยาท่ีถูกสำเรจ็ โทษมี
๗ พระองค์ดงั น้ี
๑.สมเด็จพระเจ้าทองลนั :เป็นพระมหากษัตรยิ ์อยุธยาพระองค์เเรกที่ถูกสำเร็จโทษท่ีท่อนจันทน์ โดย
สมเดจ็ พระราเมศวร
๒.พระรัษฎาธิราช : สำเร็จโทษโดยสมเดจ็ พระไชยราชาธริ าช
๓.พระศรเี สาวภาคย์ :สำเรจ็ โทษโดยพระเจ้าทรงธรรม
๔.สมเดจ็ พระเชษฐาธริ าช :สำเรจ็ โทษโดยพระยากลาโหมศรีสรุ ยิ วงศ(์ พระเจ้าปราสาททอง)
๕.พระอาทติ ยวงศ์ :สมเดจ็ โทษโดยพระยากลาโหมศรีสรุ ยิ วงศ(์ พระเจา้ ปราสาททอง)
๖.สมเดจ็ เจ้าฟา้ ไชย :สำเรจ็ โทษโดยพระศรีสุธรรมราชารว่ มกับพระนารายณ์
๗.สมเดจ็ พระศรสี ุธรรมราชา :สำเร็จโทษโดยพระนารายณ์ เปน็ กษตั รยิ ์อยธุ ยาองคส์ ุดท้ายท่ีถูกสำเร็จ
โทษดว้ ยทอ่ นจันทน์
นอกจากพระมหากษตั รยิ ์เเล้วยังมีเจ้านายอกี ๘ พระองคด์ งั นี้
เจ้าพระขวัญ
เจ้าฟ้าอภยั และเจ้าฟา้ ปรเมศร์ ทำสงครามกลางเมอื งกบั พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ
พระองคเ์ จา้ ช่ืนและพระองคเ์ จา้ เกดิ
เจ้า ๓ กรม โอรสของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศคือกรมหมื่นจิตรสุนทร กรมหมื่นสุนทรเทพ และ
กรมหม่ืนเสพภกั ดี
๖. รายนามพระมหากษัตริย์อยุธยาทที่ รงปราบดาภิเษก
กษตั ริยอ์ ยุธยาผปู้ ราบดาภเิ ษก(๑๒พระองค์)
๑.สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๑ เสด็จมาจากสุพรรณบุรีแล้วยดึ อำนาจสมเดจ็ พระราเมศวร(คร้ังที่๑)
๒.สมเดจ็ พระราเมศวร(ครงั้ ท่ี ๒) เสด็จมาจากลพบรุ ยี ดึ อำนาจจากพระเจ้าทองลันดว้ ยการสำเร็จโทษ
ดว้ ยทอ่ นจนั ทน์
๓.สมเด็จพระอินทราชา เจ้ามหาเสนาบดีมีเรื่องกับสมเด็จพระรามราชา จึงได้มาทูลเชิญเจ้านคร
อินทร์ จากเมอื งสุพรรณบรุ ีไปยดึ อำนาจจาก สมเด็จพระรามราชาแลว้ ข้ึนครองราชย์ที่อยธุ ยา
๔.สมเดจ็ พระไชยราชาธริ าช ยดึ อำนาจจากพระราชนดั ดา(หลาน)ของตนเองคือพระรัษฎาธริ าชกุมาร
(พระราชโอรสของสมเดจ็ พระบรมราชาธริ าชที่ ๔หนอ่ พุทธางกูร)
๕.ขุนวรวงศาธิราช ร่วมมือกับแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทน์สำเร็จโทษพระยอดฟา้ ดว้ ยท่อนจันทนท์ ี่วัดโคก
พระยา
๖.สมเดจ็ พระมหาจกั รพรรดิ วางแผนกับขนุ พิเรนทรเทพกำจัดขนุ วรวงศาธิราช
๗.สมเด็จพระเจา้ ทรงธรรม
๘.สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง ยึดอำนาจจากพระโอรสของพระเจ้าทรงธรรม ผู้เป็นยุวกษัตริย์ถึง ๒
พระองค์คือ สมเด็จพระเชษฐาธิราชและสมเด็จพระอาทิตยวงศ์ เริ่มต้นด้วยการสำเร็จโทษพระเชษฐาธิราช
เพราะตนถูกข้อหากบฎ เมื่อยึดอำนาจแล้วจึงเชิญพระอาทิตยวงศ์ขึ้นครองราชย์ แต่ผ่านมาได้ไม่นานก็ยึด
อำนาจจากพระอาทิตยวงศ์อีกที
๙.สมเด็จพระศรีสธุ รรมราชา ร่วมมือกับพระนารายณ์กำจัดเจา้ ฟ้าไชยโดยการสำเร็จโทษเเล้วขึ้นเป็น
กษตั รยิ ์
๑๐.สมเด็จพระนารายณ์มหาราช เริ่มแรกได้ร่วมมือกับสมเด็จพระศรีสุธรรมราชากำจัดเจ้าไชย เม่ือ
พระศรีสุธรรมราชาได้ขึ้นครองราชย์ก็สถาปนาพระนารายณ์เป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคล แต่ผ่านไปได้
๒ เดือนก็มีเรื่องต้องผิดใจกัน สมเด็จพระนารายณ์ยึดอำนาจจากสมเด็จศรีสุธรรมราชาแล้วปราบดาภิเษกขึ้น
ครองราชย์แทน
๑๑.สมเด็จพระเพทราชา ยึดอำนาจของสมเด็จพระนารายณ์ในขณะที่ทรงพระประชวร ณ เมือง
ลพบุรี พร้อมกันนี้ก็ได้กำจัดผู้มีสิทธิ์ในราชบัลลังก์คือพระปีย์ เจ้าฟ้าน้อย เจ้าฟ้าอภัยทศ จัดการปัญหา
บ้านเมืองโดยเฉพาะปญั หากับฝรัง่ เศส เมือ่ ทุกอย่างเรียบร้อยก็ปราบดาภเิ ษกขึน้ เปน็ พระมหากษัตรยิ ์
๑๒.สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ มิได้ชิงอำนาจมาจากกษัตริย์พระองค์ก่อน แต่ทำสงครามกลาง
เมอื งกับพระราชโอรสของพระเจา้ อย่หู วั ทา้ ยสระคือเจา้ ฟ้าอภยั และเจา้ ฟ้าปรเมศร์
๗. รายนามพระมหากษัตริยอ์ ยุธยาท่ที รงถูกยดึ อำนาจ
ในชว่ งเวลา ๔๑๗ ปีของอยุธยานี้มีทั้งช่วงทส่ี งบสุขเเละความวนุ่ วายทัง้ ศึกภายในเเละศึกภายนอก จะ
กล่าวตอ่ ไปน้ีคือสงครามภายใน การเเย่งชิงอำนาจกันเพื่อเป็นใหญใ่ นเเผ่นดนิ ซงึ่ มีทง้ั ผู้เเพ้ผู้ชนะ โดยผู้ที่ชนะมี
อำนาจเหนือกว่าจะปราบดาภิเษกเป็นกษัตริย์ ส่วนผู้เเพ้ก็จะถูกสำเร็จโทษหรือถูกขับไล่ รายนามของกษัตริย์
อยุธยาท่ถี กู ยดึ อำนาจ มี ๑๒ พระองคด์ งั น้ี
๑.พระราเมศรวร(ครง้ั ท่ี ๑ ) :ผูย้ ดึ อำนาจคือ สมเด็จพระบรมราชาธริ าชที่ ๑(ขนุ หลวงพะง่ัว)
๒.สมเด็จพระเจ้าทองลัน : ผูย้ ึดอำนาจคือสมเด็จพระราเมศวร
๓.สมเด็จพระรามราชา :ผยู้ ดึ อำนาจคอื สมเดจ็ พระอินทราชา ให้ไปอยทู่ ปี่ ทาคูจาม
๔.สมเด็จพระรัษฎาธริ าช : ผยู้ ดึ อำนาจคือ สมเดจ็ พระไชยราชา
๕.พระยอดฟ้า : ผู้ยึดอำนาจคอื ทา้ วศรสี ดุ าจนั ทรร์ ว่ มมอื กับขุนวรวงศาธริ าช
๖.ขุนวรวงศาธิราช : ผู้ยึดอำนาจคือขุนพิเรนทรเทพสถาปนาพระเฑียรราชาขึ้นเป็นพระมหา
จกั รพรรดิ
๗.สมเดจ็ พระศรีเสาวภาคย์ :ผู้ยดึ อำนาจคอื พระเจา้ ทรงธรรม
๘.สมเดจ็ พระเชษฐาธิราช :ผูย้ ดึ อำนาจคอื ออกญากลาโหมศรีสรุ ิยวงศ์(พระจ้าปราสาททอง)
๙.สมเดจ็ พระอาทิตยวงศ์ : ผยู้ ึดอำนาจคอื ออกญากลาโหมศรีสรุ ยิ วงศ(์ พระเจา้ ปราสาททอง )
๑๐.สมเด็จเจ้าฟ้าไชย :ผู้ยดึ อำนาจคอื พระศรีสธุ รรมราชารว่ มมือกับพระนารายณ์
๑๑.สมเดจ็ พระศรสี ุธรรมราชา :ผูย้ ึดอำนาจคอื สมเด็จพระนารายณ์
๑๒.สมเด็จพระนารายณ์ :ผู้ยดึ อำนาจคือสมเด็จพระเพทราชา
บทที่ ๒
การเมอื งการปกครองสู่กบฏและสงคราม
การจัด “ระบอบการปกครอง” ของอยุธยานั้นเป็นเพื่อการบริหารบ้านเมือง ให้มีประสิทธิภาพ เพื่อ
ดำรงสถานะความเปน็ ราชธานีให้ไดย้ าวนานท่ีสุดเท่าที่จะทำได้ เมื่ออาณาจักรใหญ่โตกว้างขวางขึ้น ก็จะมีการ
ปฏิรูปการปกครองเพื่อให้สอดคล้องกับยุคสมัยนั้น หลายครั้งที่การบริหารบ้านเมืองนั้นไม่มีประสิทธิภาพ ใน
การควบคุมกำลังคน อาณาจักรเสื่อมถอย ประชาชนไม่เชื่อมั่นในการบริหารบ้านเมืองของพระมหากษัตริย์
ย่อมจะเป็นชอ่ งทางนำไปสู่ “กบฏและสงคราม”นับเป็นอีกเร่ืองหนึง่ ทท่ี ้าทายความม่ันคงของกรุงศรีอยุธยาอยู่
ทุกช่วงเวลา ตลอด ๔๑๗ ปี ไม่ว่าจะเป็นการเมอื งภายในนั่นคอื การแย่งชงิ ราชบลั ลังก์ เพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจ
ในการปกครองราชธานีอันมัง่ ค่งั และยิ่งใหญ่นี้ โดยไมค่ ำนึงถงึ เช้ือสายตระกลู แต่อยา่ งใด ส่งิ เหล่านนี้ ีเ่ อง เป็นสิ่ง
ที่บั่นทอนกำลังภายในของราชอาณาจักร ทำลายความเข้มแข็งของระบอบการปกครอง ความเชื่อมั่นที่มีต่อ
องคพ์ ระมหากษัตรยิ ์ ตลอดจนการสญู เสียกำลังพลในการปอ้ งกันประเทศ
นำมาซ่งึ ศกึ ภายนอกไม่ว่าจะเป็น กบฏหรือสงครามจากรฐั เพื่อนบ้าน รฐั ทเ่ี คยอยู่ส่งออ่ นนอ้ ม ยอมอยู่
ภายใตพ้ ระราชอำนาจ ก็จะไม่เกรงพระบารมีเหมือนอยา่ งก่อน สว่ นรัฐทเ่ี ขม้ แขง็ กว่ากเ็ ห็นช่องทางโอกาส ที่จะ
บุกมาย่ำยี อยุธยาเองมีทัง้ ช่วงเวลาทีย่ ิง่ ใหญ่และเสื่อมถอยจนกระทั่งถึงกาลอวสาน สงครามกับอยุธยานั้นเปน็
สิ่งคู่กันมาโดยตลอด ทั้งขยายอาณาเขตและตั้งรับศึก ตั้งแต่ก็ตั้งอาณาจักรจนถึงวาระสุดท้าย โดยมีคู่สงคราม
เป็นรฐั เพอ่ื นบ้านอย่างล้านนา ล้านช้าง เขมร มลายู และที่สำคญั ทีส่ ุดคือ พมา่ ทำสงครามกนั ถงึ ๒๔ คร้ัง
\
การปกครองของอยุธยา
๑.ลกั ษณะการปกครองของอยุธยา
▪ใชร้ ะบอบสมบูรณาญาสิทธริ าชย์หรือราชาธิปไตย สถานะของพระมหากษัตริย์คือ สมมติเทพ ซึ่งรับ
อิทธพิ ลศาสนาพราหมณ์-ฮินดูจากอินเดียผ่านอาณาจักรขอม ตัง้ เเตเ่ มอ่ื ครงั้ สถาปนากรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี
สมัยสมเด็จพระรามาธิบดีท่ี ๑ เห็นได้จากพระนามของกษัตรยิ ท์ ม่ี าจากการอวตานของเทพเจ้าองค์ตา่ งๆ อาทิ
พระนารายณ(์ วษิ ณุ) : พระนารายณม์ หาราช พระรามาธิบดี
พระอนิ ทร์ : พระอนิ ทราชาธิราช (***หนงั สือเรยี น)
พระนารายณเ์ เละพระอศิ วร: พระราเมศวร พระนเรศวร เปน็ ตน้
ทำให้พระมหากษัตริย์มีอำนาจสงู สุดผู้ใดจะละเมิดมิได้ ตามที่ปรากฏในกฎหมายตราสามดวงกล่าวถงึ
กฎหมายในสมัยสมเด็จพระเจ้าอู่ทองว่าอำนาจของกษัตริย์มีอำนาจเหนือทุกสิ่ง แนวคิดนี้เองเป็นส่วนหนึ่งที่
ก่อให้เกิดประเพณีวัฒนธรรมในราชสำนักเพื่อยกย่องความเป็นเทพเจ้าของกษัตริย์ เช่น พระราชพิธีบรม
ราชาภิเษก เปน็ ตน้
แม้จะมีอำนาจล้นพ้น แต่ก็ถูกจำกัดด้วยหลักธรรมทางพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทลังกาวงศ์
ประกอบด้วยทศพิธราชธรรม จักรวรรดิวัตร ธรรมมะ ๔ ประการ และราชจรรยานุวัตร เพื่อความเป็นพระ
จกั รพรรดแิ ละธรรมกิ ราช เรียกวา่ ระบอบ ธรรมราชา ซงึ่ รบั อิทธิพลของสุโขทัย ปรากฎพระนามที่เกี่ยวข้องกับ
พระพทุ ธศาสนา อาทิ พระบรมไตรโลกนาถ พระมหาจักรพรรดิ พระมหาธรรมราชา พระเจา้ ทรงธรรม เป็นต้น
๒.การจดั การปกครองของอยุธยา
การจดั รูปแบบการปกครองของอยธุ ยานัน้ มกี ารปรับปรุงพัฒนาหลายยุคหลายสมัย เพอื่ ให้สอดคล้อง
กบั สถานการณบ์ ้านเมืองในขณะนน้ั สรปุ ได้ดังนี้
๑)สมัยสมเดจ็ พระรามาธิบดีที่ ๑
▪ เรยี กระยะนว้ี ่า “สมัยอยธุ ยาตอนต้น” ใช้ในพระมหากษัตริย์ ๗ พระองค์ คอื สมเด็จพระรามาธิบดี
ท่ี ๑ ถงื สมเดจ็ พระบรมราชาธริ าชที่ ๒(เจา้ สามพระยา)
สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ ทรงนำรูปแบบการปกครองของอาณาจักรขอมมาผสมผสานเข้ากับการ
ปกครองของสโุ ขทยั
การปกครองส่วนกลาง คือการปกครองราชธานี มีพระมหากษัตริย์ปกครองสูงสุดเป็นศูนย์กลาง
การปกครองทั้งหมด และมีเสนาบดีทั้ง ๔ ฝ่ายเป็นรูปแบบการปกครองแบบขอมที่เรียกว่าจตุสดมภ์
ประกอบดว้ ย
กรม ผดู้ แู ล หน้าที่
๑.เวียง(เมือง) ขนุ เมือง ปกครองท้องท่แี ละราษฎร ดแู ลความเรียบร้อย ปราบโจร ลงโทษผู้ทำผดิ
๒.วัง ขนุ วัง ดแู ลงานในราชสำนัก งานพระราชพิธี พิจารณาคดีของราษฎร
๓.คลงั ขุนคลัง เก็บและดแู ลทรพั ย์แผน่ ดิน คดเี กีย่ วกับทรพั ย์ ภาษีอากร ค้าขาย การตา่ งประเทศ
๔.นา ขุนนา ดูแลไร่นา โค กระบือ เสบียงอาหาร ออกสทิ ธิหรือโฉนดท่ีนา เก็บภาษหี างข้าว
▪ การปกครองส่วนภูมิภาค คือการปกครองหัวเมือง ใช้แบบแผนของสุโขทัยยึดหลักการควบคุม
กำลังพลชายทุกคนต้องเป็นทหารและลำดับชั้นของเมืองนั้น มีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันราชธานี โดยแบ่งหัว
เมืองออกเป็น ๓ ประเภท ดงั น้ี
๑.หัวเมืองชั้นใน คือ เมืองที่อยู่ใกล้ชิดกับพระนคร อยู่ถัดจากเมืองป้อมปราการและใกล้กับเมือง
ลูกหลวง เช่น พระรถ ชลบุรี ราชบุรี ปราจีนบุรี ชัยนาท ฉะเชิงเทรา ชลบุรี เพชรบุรี พรหมบุรี อินทรบุรี
สงิ ห์บรุ ี แพรกศรรี าชา
นอกจากนี้ยังมีเมืองหน้าด่านหรือเมืองลูกหลวง แบ่งเป็น ๔ ทิศรายล้อมพระนคร เรียกกันว่า เมือง
ลูกหลวง เพื่อเป็นเมืองหนา้ ดา่ นป้องกันราชธานี เดินทางจากราชธานี ๒ วัน ซง่ึ เมอื งเหล่านี้จะส่งพระราชโอรส
หรือเชื้อพระวงศ์คนสำคัญไปปกครองจึงเรียกวา่ เมืองลูกหลวง ดังปรากฏหลักฐานวา่ สมเด็จพระรามาธิบดีท่ี ๑
ส่งพระราเมศวรไปครองลพบรุ (ี เมืองหนา้ ดา่ นทางทิศเหนือ) และสง่ ขุนหลวงพะง่ัวไปครองสุพรรณบุรี(เมืองหน้า
ด่านทางทิศตะวันตก) ซงึ่ เมืองเมืองหนา้ ด่านหรือเมืองลูกหลวงมี ๔ เมือง ๔ ทิศดงั น้ี
ทศิ เหนือ ลพบุรี
ทิศตะวันตก สพุ รรณบุรี
ทศิ ตะวนั ออก นครนายก
ทศิ ใต้ พระประแดง
๒.เมืองพระยามหานครหรือเมืองชั้นนอก คือ หัวเมืองใหญ่ตามภูมิภาคต่างๆ อยู่ถัดจากหัวเมือง
ชน้ั ในออกไป เมืองเหล่านีจ้ ะมเี มอื งประเทศราชเป็นของตนเอง เคยเป็นเมืองใหญ่ทมี่ ีอำนาจและต้องถูกรวมเข้า
กับอยุธยา มีเจ้าเมืองปกครองอยู่แล้วหรือบางครั้งอยุธยาก็ส่งไปครอง เช่น พระเจ้าปราสาททองส่งออกญาเส
นาภิมขุ ไปครองนครศรีธรรมราช เป็นต้น เมอื งทเ่ี ปน็ เมอื งช้นั นอกมดี ังนี้
ทิศตะวันออก โคราช จันทบรุ ี
ทศิ ตะวนั ตก ไชยา นครศรีธรรมราช พัทลงุ สงขลา ถลาง
ทศิ ตะวนั ออก ตะนาวศรี ทวาย เชียงกราน
๓.เมอื งประเทศราชหรือเมอื งขน้ึ คอื เมืองของรฐั ใกลเ้ คยี งที่อยุธยาทำสงครามเอาชนะมาไดห้ รือเมือง
ทย่ี อมอ่อนนอ้ ม เมอื งเหล่านจ้ี ะมีเจ้าเมืองท้องถนิ่ ปกครอง มีสิทธ์ขิ าดปกครองตนเอง แต่เม่ือจะแต่งใครเป็นเจ้า
เมืองจะตอ้ งแจ้งอยุธยาดว้ ย เมอื งเหล่านี้จะต้องส่งเครื่องบรรณาการ เชน่ ตน้ ไม้เงนิ ต้นไม้ทอง เปน็ ตน้ เมื่อยาม
อยธุ ยาเกิดสงคราม เมืองประเทศราชเหล่านก้ี ต็ ้องยกทัพมาช่วย ในสมยั ของสมเดจ็ พระรามาธบิ ดที ่ี ๑ อยุธยามี
เมอื งประเทศราชดงั น้ี
ตามหนังสอื ประวตั ิศาสตร์ไทยกล่าววา่ มีพยี ง ๒ เมอื งเท่าน้นั คือ เมอื งยะโฮร์และมะละกา
ตามหนังสือนามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทยกล่าวถึงเมืองประเทศราช ๑๖ เมือง ดังนี้ "หลังจากน้ัน
ปรากฏความในจุลยุทธการวงศ์ว่าพญาประเทศราชทั้ง ๑๖ หัวเมืองได้มาถวายบังคมได้เเก่ มะละกา(ดินเเดน
เเหลมมลายู) ชวา(ดินเเดนลาวหลวงพระบาง) ตะนาวศรี นครศรีธรรมราช ทวาย เมาะตะมะ เมาะลำเลิง
สงขลา จันทบูรณ์ พษิ ณโุ ลก สโุ ขทัย พชิ ัย สวรรคโลก พจิ ิตร กำเเพงเพชร เเละนครสวรรค์ "
๒)สมยั สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ
▪ ถอื เปน็ การปฏิรูปการปกครองคร้ังแรกและครั้งท่ีใหญ่ทสี่ ุดของอยุธยา ใชส้ บื เนื่องมายาวนานจนถึง
สมัยรัชกาลท่ี ๕ แหง่ กรุงรตั นโกสนิ ทร์
สาเหตุของการปฏิรูปการปกครองคือ อาณาจักรมีความใหญ่โตมากขึ้นจากการผนวกเอาสุโขทัย
รวมเข้ามา จึงจัดการปกครองใหม่ให้มีความรัดกุมมากขึ้น และในรัชกาลนี้ล้านนามีอำนาจมากนำทัพโดยพระ
เจ้าติโลกราช ขยายอุภาพคุกคามหัวมืองทางเหนือของอยุธยา ทำให้พระองค์ย้ายราชธานีไปอยู่พิษณุโลกเพื่อ
ปอ้ งกันศึกล้านนาทางเหนือ
▪การปกครองส่วนกลาง เพื่อรวมอำนาจเข้าสู่ศูนย์กลาง ลดอำนาจของเจ้านายราชวงศ์ลงและเพ่ิม
อำนาจใหก้ บั ขุนนาง เพ่อื คานอำนาจให้สถาบันพระมหากษัตริย์ไม่ส่ันคลอน ถอื เป็นครง้ั แรกในประวัติศาสตร์ที่
มีการแบ่งหน้าที่ของทหารและพลเรือนออกจากกนั คือ การตั้งอัครมหาเสนาบดีข้ึน ๒ ฝ่ายเพื่อดูแลทหารและ
พลเรือน ดังนี้
๑.สมุหกลาโหม ผู้ดูแลคือเจ้าพระยามหาเสนาบดี ดูแลกิจการทหารทั่วราชอาณาจักรและกรมอาสา
กรมม้า กรมช้าง กรมช่างสิบหมู่ ดูแลการศึกสงคราม วางแผนรับศึกสงคราม รวบรวมกำลังพล อาวุธ
ยทุ โธปกรณ์ เสบยี งอาหาร ฝึกซอ้ มทหารใหพ้ ร้อมตลอดเวลา เมอ่ื มีราชการทหาร สมุหกลาโหมจะเป็นประธาน
การประชุม นำมติขึ้นกราบทูลพระมหากษัตริย์ เมื่อมีพระบรมราชโองการอย่างใด ก็จะทรงให้เสนาบดีกรมวัง
มาแจง้ แกเ่ จ้าพระยามหาเสนาบดกี ลาโหม
๒.สมุหนายก ผู้ดูแลคือเจ้าพระยาจกั รีศรีองครักษ์ ดูแลพลเรือนทั่วราชอาณาจักร นอกจากนี้แล้วเจา้
เสนาบดจี ตุสดมภท์ ง้ั ๔ กข็ น้ึ ตรงต่อสมหุ นายกอีกดว้ ย มีการเปลี่ยนช่ือเรียกจตุสดมภ์ใหม่ดงั นี้
ขุนเวียง เปลย่ี นเปน็ พระนครบาล(พระยายมราช)
ขนุ วัง เปล่ียนเปน็ พระธรรมาธกิ รณ์
ขนุ คลัง เปลี่ยนเป็น พระโกษาธบิ ดี
ขุนนา เปลยี่ นเป็น พระเกษตราธิบดี(พระยาพลเทพ)
เมอื่ มรี าชการพลเรือน สมหุ นากจะเป็นประธานการประชุม นำมตขิ ึ้นกราบทลู พระมหากษตั ริย์ เมื่อมีพระบรม
ราชโองการอย่างใด ก็จะทรงแจ้งไปยงั เสนาบดจี ตุสดมภ์ผู้เกีย่ วขอ้ งกับงานนั้น
แม้ว่าจะแยกทหารและพลเรือนออกจากการอย่างชัดเจน แต่เมื่อยามสงครามทั้ง ๒ ฝ่ายก็จะร่วมมือ
กนั ป้องกนั ประเทศตามเดมิ
▪ การปกครองส่วนภูมิภาค คือการปกครองหัวเมือง เป็นผลมาจากการผนวกสโุ ขทัยเข้ามาเป็นส่วน
หนึ่งของอยุธยาในพุทธศักราช ๒๐๐๖ ทำให้มีหัวเมืองเพิ่มขึ้น จำนวนคนเพิ่มขึ้น เพื่อให้เกิดความรัดกุม
ป้องกันปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากรัฐใกล้เคียงอย่างล้านนา พระองค์จึงได้รวมอำนาจเข้าสู่ศูนย์กลาง ภายในหัว
เมอื งนั้นๆกใ็ ช้ระบอบเดยี วกับราชธานี คือ มีจตสุ ดมภป์ ระจำหวั เมือง
๑.หัวเมืองชั้นใน ขยายขอบการปกครองรอบราชธานีให้กว้างขวางออกไป ยกเลิกเมืองลูกหลวงเพื่อ
ขจัดปญั หาทร่ี าชวงศเ์ มื่อส่งไปครองแลว้ ก็มีอำนาจมากยกทัพมาชิงราชสมบัติ ดงั ปรากฏในชว่ งตน้ อยุธยาที่พระ
ราเมศวรและขุนหลวงพะงั่วยกทัพมาชงิ ราชสมบัติ รวมเมืองลูกหลวงเขา้ กับเมอื งจตั วาเรียกว่า หวั เมืองชั้นใน มี
ผู้ร้งั และกรมการช้ันผนู้ ้อย(จา่ แพง่ และศุภมาตรา)ดูแล ข้ึนตรงกับเจ้ากระทรวงในราชธานีและคอยฟังคำส่ังจาก
ราชธานเี ท่านนั้ เช่น เมอื งเพชรบุรี ราชบรุ ี นครนายก สพุ รรณบุรี ลพบรุ ี เป็นต้น
๒.หัวเมืองชั้นนอก พระมหากษัตริย์จะส่งราชวงศหรือข้าราชการช้ันสูงไปปกครอง มีอำนาจบังคับ
บัญชาแทนองค์พระมหากษัตริย์ทุกประการ มีเสนาบดีสมุหนายก สมุหกลาโหม เสนาบดีจตุสดมภ์และมีเมือง
บริวารเป็นของตนเองเช่นเดียวกันกับราชธานี แบ่งออกเป็นหัวเมืองเอก โท ตรี ตามขนาดเมืองและ
ความสำคญั การแบง่ หัวเมืองช้ันนอกแบ่งไดด้ ังนี้
หัวเมอื งเอก พษิ ณโุ ลก นครศรีธรรมราช ต่อมาสมัยร.๑ แห่งกรงุ รตั นโกสนิ ทรเ์ พ่ิมเมืองโคราชเขา้ มาดว้ ย
หวั เมอื งโท มี ๕ เมือง คือ สวรรคโลก โคราช สุโขทัย กำแพงเพชร ตะนาวศรี
หัวเมอื งตรี มี ๘ เมอื ง คอื นครสวรรค์ เพชรบูรณ์ พจิ ติ ร พชิ ยั จนั ทบูรณ์ ไชยา ชุมพร พทุ ลุง
๓.เมืองประเทศราชหรอื เมืองข้ึน คือ เมอื งของรฐั ใกลเ้ คียงทอ่ี ยุธยาทำสงครามเอาชนะมาไดห้ รือเมือง
ทย่ี อมออ่ นน้อม เมอื งเหล่านีจ้ ะมีเจา้ เมืองท้องถ่นิ ปกครอง มสี ิทธข์ิ าดปกครองตนเอง แตเ่ ม่อื จะแต่งใครเป็นเจ้า
เมืองจะต้องแจง้ อยุธยาดว้ ย เมืองเหล่านีจ้ ะต้องสง่ เครื่องบรรณาการ เช่น ต้นไม้เงินต้นไม้ทอง เป็นต้น ๓ ปีตอ่
๑ คร้งั เมื่อยามอยุธยาเกดิ สงคราม เมืองประเทศราชเหลา่ นี้กต็ อ้ งยกทพั มาชว่ ย เชน่ ทวาย ตะนาวศรี มะละกา
การปกครองส่วนท้องถน่ิ คือการปกครองระดบั ทีต่ ่ำกว่าภมู ิภาคลงไป แบ่งหวั เมืองแยกย่อยเปน็
-เมือง คือ แขวงหลายแขวงรวมกนั ถา้ เปน็ เมืองจตั วาหรือช้นั ในผดู้ ูแลคือ ผู้ร้งั หากเปน็ เมืองชั้นนอก
จะมีเจา้ เมือง
-แขวง คือ หลายตำบลรวมกัน(เทยี บกบั อำเภอ) หมนื่ แขวง ดูแล
-ตำบล คอื หลายบ้านรวมกัน มีบรรดาศักดิ์ พัน ดแู ล
-บ้าน มีผใู้ หญบ่ า้ นดแู ล
๓)สมยั สมเดจ็ พระรามาธิบดที ่ี ๒
ปรับปรุงกิจการทหารบางสว่ น
แต่งตำราพชิ ัยสงครามขน้ึ ครั้งแรกในประวัติศาสตร์
จดั ทำสารบญั ชี เพอื่ เกณฑค์ นเขา้ รับราชการทง้ั ทหารและพลเรือน โดยต้ังกรมสุรสั วด(ี สสั ดีใน
ปจั จบุ นั ) ขน้ึ ครัง้ แรกเพ่ือดแู ลงานการจดั ทำสารบัญชโี ดยเฉพาะ แบ่งกรมสรุ ัสวดีออกได้ดังน้ี
๑.สรุ ัสวดีกลาง เรยี กว่า บัญชหี างว่าว(สกั เลก) ทำบัญชีไพร่พลในเขตราชธานแี ละหัวเมอื งชั้นใน มี
รายชือ่ ทหารและบอกสงั กดั ด้วย
๒.สุรสั วดขี วา ทำบญั ชีไพรพ่ ลในเขตหวั เมอื งเหนือ
๓.สุรัสวดซี า้ ย ทำบัญชไี พรพ่ ลในเขตหัวเมอื งใต้
พลเมืองทมี่ ีชื่อในบัญชหี างวา่ วแบง่ ได้ ๒ ประเภทตามสัญชาติ คือสัญชาติไทยเป็นไพรห่ ลวง และ
ไมใ่ ชส่ ญั ชาติไทยจะเปน็ ฐานะอนื่ เช่น โยธา และมีการต้งั ข้อกำหนดเกี่ยวกับการเกณฑ์แรงงานของชายฉกรรจ์
สัญชาติไทย ดังนี้
๑.อายุครบ ๑๘ ปี เปน็ ไพรส่ ม
๒.อายุครบ ๒๐ ปี เป็นไพรห่ ลวง ปลดประจำการเมื่อมีอายุครบ ๖๐ ปีหรือมบี ุตรรับราชการ ๓ คน
๓.ชายฉกรรจส์ ญั ชาติไทยทุกคนต้องมีสังกัด หากมีบุตรกอ็ ยู่สงั กัดเดียวกนั หากจะย้ายต้องขออนญุ าต
๔.ไพรห่ ลวงเขา้ เวร ๖ เดือนตอ่ ๑ ปี คือ เข้า ๑ เดอื นพกั ๑ เดือน
๕.หัวเมืองห่างไกล ส่งส่วยแทนการเข้าเวรได้
๔.)สมยั สมเด็จพระมหาจกั รพรรดิ
ปรับปรงุ กิจการทหารใหม่ สรา้ งกำแพงเมอื งและป้อมแบบตะวันตกขึน้ คร้งั แรก
สรา้ งเมืองช้ันในข้นึ ใหม่เปน็ เมืองยุทธศาสตร์ เพือ่ รบั การรุกรานจากพมา่ หลายเมือง คือ นครนายก
ฉะเชิงเทรา นนทบุรี สระบรุ ี สมุทรสาคร นครชยั ศรี ท่สี ำคญั เชน่
-ต้ังตลาดขวญั เป็น นนทบรุ ี
-ตงั้ บา้ นท่าจนี เป็น สาครบุร(ี สมทุ รสาคร)
-แบง่ เมอื งราชบรุ ีและสพุ รรณบุรี เปน็ นครชัยศรี
๕.)สมยั สมเด็จพระเพทราชา
สมเด็จพระเพทราชาทรงเล็งเห็นปัญหาที่สมุหกลาโหมมีอำนาจมากเกินไป เนื่องจากมีอำนาจคุม
กิจการทหารทั่วราชอาณาจักรแต่เพียงฝ่ายเดียว จนบางครั้งได้มายึดอำนาจจากพระมหากษัตริย์ ดังกรณีของ
ออกญากลาโหมศรีสรุ ยิ วงศ์ ยดึ อำนาจขึ้นครองราชย์เปน็ พระเจา้ ปราสาททอง พระองค์จงึ ปรับปรงุ การปกครอง
บางส่วนเพอ่ื ลงอำนาจของสมุหกลาโหมลงให้มอี ำนาจเท่ากับสมหุ นายก นอกจากนี้ยงั เพมิ่ อำนาจใหก้ ับเสนาบดี
พระคลัง คอื โกษาธบิ ดี อีกดว้ ย สรุปไดด้ งั นี้
๑.สมุหนายก ดแู ลท้ังทหารและพลเรือนหัวเมืองฝา่ ยเหนือ
๒.สมุกลาโหม ดูแลทัง้ ทหารและพลเรือนหวั เมอื งฝา่ ยใต้
๓.กรมพระคลัง(กรมทา่ หรือโกษาธิบด)ี ดูแลท้งั ทหารและพลเรือนกวั เมืองชายทะเลตะวนั ออก
นับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ท่ีอัครมหาเสนาบดี ๒ ตำแหน่งแบ่งเขตรับผิดชอบหัวเมืองฝ่ายเหนอื
และหัวเมืองฝ่ายใต้ ท้งั ทหารและพลเรอื น
สมเด็จพระเพทราชาตั้งทำเนียบขุนนางวังหน้า และเพิ่มกำลังทหารให้กับวังหน้าเพื่อรักษาความ
ปลอดภัยใหพ้ ระอุปราช ซึง่ ขณะน้นั กค็ ือ หลวงสรศกั ดิ์
๖.)สมัยสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ ัวบรมโกศ
▪ สมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัวบรมโกศขนึ้ ครองราชย์มาด้วยการทำสงครามกลางเมือง จงึ ทรงเล็งเหน็ วา่ ไม่
ควรใหอ้ ำนาจทางทหารแต่สมุหกลาโหมมากเกินไป พระองคจ์ งึ ปรับปรงุ การปกครองใหม่ ดงั น้ี
๑.เพ่ิมอำนาจทางทหารและพลเรือนให้กบั เสนาบดีพระคลงั (กรมท่า) ซ่ึงมีพระยาโกษาธิบดดี ูแล ถอื ว่า
ในชว่ งน้ี โกษาธิบดีมีอำนาจสูงกว่าสมหุ กลาโหมและสมุหนายก เพราะได้ดูแลทหารและพลเรือนในหัวเมืองชาย
ทะลและหวั เมืองใต้
๒.ลดอำนาจของสมหุ กลาโหมลง เพราะโอนใหโ้ กษาธบิ ดคี ุมหวั เมืองใต้แล้ว สมหุ กลาโหมจึงเปน็ เพยี ง
ท่ปี รกึ ษาราชการแผ่นดิน เมื่อถึงสมัยรัชกาลท่ี ๑ แหง่ กรุงรัตนโกสินทร์จึงได้อำนาจคุมหัวเมอื งใตต้ ามเดิม
๓.สมหุ นายกมอี ำนาจดังเดิม
๓.กฎหมายของอยธุ ยา
มีรากฐานมาจากพระธรรมศาสตร์ของมอญและเขมร ซึ่งมอญและเขมรดัดแปลงมาจากพระมนู
ธรรมศาสตร์ของอินเดีย นอกจากนี้ยังมีพระราชศาสตร์ คือพระราชวินิจฉัยของกษัตริย์เพื่อพิจารณาคดีให้
สอดคล้องกบั รบิ ททางสังคม ขนบธรรมเนยี มของอยุธยา เพ่ือความเปน็ ธรรมในการตัดสินคดี มกี ารใช้กฎหมาย
สำคัญในการปกครองบ้านเมือง 3 ฉบับ คือพระอัยการลักษณะเบ็ดเสร็จ พระอัยการลักษณะทาส พระ
อยั การลกั ษณะกหู้ นี้ บัญญตั ิตราเพิม่ เตมิ ขนึ้ หลายรชั กาล ดงั น้ี
๑)สมยั สมเดจ็ พระรามาธิบดที ี่ ๑
กฎหมายฉบบั แรกของอยธุ ยา คือ พระราชบญั ญัตลิ ักษณะพยาน ตราขึ้นในพ.ศ.๑๘๙๔ ตรงรัชกาล
สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑
มีการตรากฎหมายทงั้ ส้นิ ๑๐ ฉบบั ดังน้ี
๑.พระราชบญั ญัตลิ กั ษณะพยาน: พ.ศ.๑๘๙๔
เน้นไปทางการสาบานเป็นหลัก เพราะปอ้ งกนั พยานเท็จ
๒.พระราชบัญญัติลักษณะอาญาหลวง : พ.ศ.๑๘๙๕
๓.พระราชบัญญตั ลิ ักษณะรับฟ้อง : พ.ศ.๑๘๙๙
๔.พระราชบัญญตั ลิ กั ษณะลกั พา : พ.ศ.๑๘๙๙
เชน่ มผี ลู้ กั พาทาสไปขน้ึ กับเมืองเหนือ นายเงินจึงขอให้พระเจ้าอทู่ องไปตาม แต่พระองคใ์ หว้ ่ากล่าว
เอาแกผ่ ูข้ ายนายประกันเท่าน้ัน
๕.พระราชบัญญตั ิลักษณะอาญาราษฎร์ : พ.ศ.๑๙๐๑
๖.พระราชบัญญัติลกั ษณะโจร : พ.ศ.๑๙๐๓
๗.พระราชบัญญัตเิ บ็ดเสร็จว่าดว้ ยที่ดนิ : พ.ศ.๑๙๐๓
๘.พระราชบัญญัติลักษณะผวั เมยี :พ.ศ.๑๙๐๔
ตามกฎหมายลกั ษณะผวั เมยี นี้แบง่ ภรรยาออกเป็น ๓ ชัน้ คือ เมยี กลางเมืองหรอื เมียหลวง(เมยี ทบี่ ดิ า
มารดาใหแ้ ตง่ งาน เมยี กลางนอก(เมยี นอ้ ย) และเมยี กลางทาสี(เมยี ทตี่ นชว่ ยให้พ้นทกุ ข์ เช่น ไถจ่ ากทาส)
๙.พระราชบญั ญตั ิลกั ษณะผวั เมยี (เพ่ิมเตมิ ) : พ.ศ.๑๙๐๕
๑๐.พระราชบัญญัตลิ กั ษณะโจรว่าดว้ ยสมโจร : พ.ศ.๑๙๑๐ ฉบับสุดทา้ ยท่พี ระเจา้ อู่ทองทรงตราข้ึน
๒.)สมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
▪สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถตรากฎหมายขึ้น ๔ ฉบับ ดังนี้ กฎหมายว่าด้วยการเทียบศักดินา
กฎหมายลกั ษณะอาญาขบถศกึ กฎหมายลกั ษณะอาญาหลวง และฎมณเฑียรบาล
๑.กฎหมายวา่ ด้วยการเทยี บศกั ดนิ า ศักดินานคี้ าดวา่ มีกอ่ นสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ อาจจะมี
มาตั้งแต่ครั้งสุโขทัยแล้ว แต่สมัยของพระองค์เพียงแต่จัดให้มีระเบียบแบบแผนมากขึ้นเท่านั้น มูลเหตุมาจาก
การที่สมัยก่อนเมื่อทำความดีความชอบ จนได้เลื่อนยสก็ไม่ได้มีเงินเดือนเหมือนอย่างปัจจุบัน พระเจ้าแผ่นดิน
ซึ่งเป็นเจ้าของที่ดินทั้งปวงในราชอาณาจักร ก็จะพระราชทานที่ดินให้เพื่อเป็นบำเหน็จ แต่ความเป็นจริงแล้ว
ระบบศักดินานี้เป็นเพียงการกำหนดบทบาท หน้าที่ ฐานะของบุคคลเท่านั้น ไม่ได้มีการให้ที่ดินไว้ครอบครอง
แต่อย่างใด นอกจากน้ศี ักดินายงั มผี ลในด้านอืน่ ๆด้วย ดงั น้ี
-การปรับไหม ถา้ ผิดคดเี ดียวกันผทู้ ่มี ีศกั ดินาสูงกว่าจะเสยี ค่าปรับมากกว่า หรือถา้ ไพร่ทำผิดต่อขุนนาง
ปรับตามศักดนิ าขุนนาง และถา้ ขุนนางทำผดิ ตอ่ ไพร่กป็ รับตามศกั ดินาขนุ นางเช่นเดยี วกนั
-ตัง้ ทนาย ผูท้ ่จี ะมสี ทิ ธิ์ตัง้ ทนายว่าความแทนไดน้ นั้ ต้องมีศกั ดินา ๔๐๐ ขึน้ ไป
-ผทู้ ี่มีศักดินา ๘๐๐-๑๐,๐๐๐ ตอ้ งเข้าเฝา้ เม่ือพระเจา้ แผน่ ดนิ ออกวา่ ราชการ
ซึง่ ระเบยี บยศศักดินาขา้ ราชการแบ่งไดต้ าม ยศ ราชทินนาม ตำแหนง่ ศักดนิ า ดงั นี้
-ยศ ไดแ้ ก่ เจา้ พระยา พระยา พระ หลวง ขนุ หม่นื พัน
-ราชทินนาม ไดแ้ ก่ ยมราช สีหราชเดโช สรุ สหี ์
-ตำแหนง่ ไดแ้ ก่ สมุหนายก สมหุ กลาโหม เสนาบดี
-ศักดนิ า คอื เกณฑ์กำหนดกรรมสทิ ธทิ์ ีน่ าตามยศ
สรปุ ได้ว่า ศกั ดนิ า คอื ตวั กำหนดบคุ คล ชัน้ ยศ วา่ มีกรรมสิทธ์ิที่นามากน้อยเทา่ ใด ประกอบดว้ ย
-เจ้านาย(พระราชวงศ์)มศี ักดนิ า๕๐๐-๑๐๐,๐๐๐ไร่ ดงั นี้
พระอุปราช หนงึ่ แสนไร่
พระอนชุ า(เจ้าฟ้า)ทท่ี รงกรม ห้าหมืน่ ไร่
สมเดจ็ เจ้าลูกยาเธอ(เจา้ ฟา้ )ทรงกรม สห่ี มน่ื ไร่
พระอนุชา(เจา้ ฟ้า)ที่ไมท่ รงกรม สองหมื่นไร่
สมเด็จเจ้าลกู ยาเธอ(เจ้าฟา้ )ไมท่ รงกรม
พระอนุชา(พระองคเ์ จา้ )ที่ทรงกรม หนึ่งหม่นื หา้ พันไร่
สมเดจ็ เจ้าลูกยาเธอ(พระองคเ์ จ้า)ทรงกรม
สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ(เจ้าฟา้ )ทรงกรม
-ขุนนางต้องมศี กั ดินา๔๐๐-๑๐,๐๐๐ ไร่(ยกเว้นมหาดเล็กแม้จะมีศักดนิ าต่ำกว่า ๔๐๐ ไร่ก็ถือว่าเป็น
ขนุ นาง)
เจา้ พระยา(เสนาดีแม่ทัพใหญ่ เจ้าเมืองช้ันเอกและชน้ั โท) หนึ่งหมืน่ ไร่
พระยา สามพัน-ห้าพนั ไร่
พระ หนึง่ พัน
หลวง แปดรอ้ ย
หม่ืนแขวง สามรอ้ ย
เสมยี น สองร้อย
-พระสงฆศ์ กั ดินา ๑๐๐-๒,๔๐๐ ไร่ สองพนั สี่ร้อยไร่
พระครรู ้ธู รรม หน่งึ พันไร่
พระครไู ม่รธู้ รรม หกร้อยไร่
ภกิ ษรุ ู้ธรรม ส่รี ้อยไร่
พระภิกษุไม่รูธ้ รรมและพราหมม์ ีความรู้ด้านศลิ ปศาสตร์ สามรอ้ ยไร่
สามเณรรู้ธรรม สอบไดเ้ ปรียญ สองร้อยไร่
สามเณรไมร่ ธู้ รรม พราหม์ท่วั ไปและตาปะขาวรู้ธรรม หนง่ึ ร้อยไร่
ตาปะขาวไม่รธู้ รรม
-ไพร่ศักดนิ า ๑๐-๒๕ ไร่
-ทาส ๕ ไร่
๒.กฎหมายลักษณะอาญาขบถศกึ มีโทษ ๓ สถาน เรียงจากเบาสุดไปหนกั สดุ คือ
-รบิ ราชบาทย์ ฆา่ ทัง้ โคตร
-รบิ ราชบาทย์ ฆา่ ๗ ชั่วโคตร
-ริบราชบาทย์ แล้วให้ฆ่าเสียโคตรนั้น ทรมานโดยประหาร ๗ วัน อย่าให้เลือดตกแผ่นดิน ใส่
แพลอยตามกระแสน้ำ
๓.กฎหมายลักษณะอาญาหลวง เช่น การลงโทษผู้มักใหญ่ใฝ่สูง มีโทษ ๘ สถาน เรียงจากเบาสุดไป
หนักสุด คอื
-ใหภ้ าคทณั ฑ์
-จำคกุ แลว้ ถอดยศ
-ทวนด้วยลวดหนงั ๕๐ ที ๒๕ ทีใสก่ รไุ ว้
-ให้ไหมทวีคณู
-ให้ไหมจรุ คูณเอาตัวออกจากราชการ
-ริบราชบาทย์ ไปเปน็ ตะพนุ่ หญ้าช้าง
-เอามะพรา้ วหา้ วยดั ปาก
-ฟันคอ
๔.กฎมณเฑยี รบาล หมายถงึ กฎที่ใชใ้ นราชสำนัก แบง่ ๓ แผนก คือ
-แผนกพระตำรา วา่ ดว้ ยแบบแผน พระราชานกุ จิ สิง่ ทพี่ ระเจา้ แผ่นดินปฏิบตั ิ
-แผนกพระธรรมนญู วา่ ด้วยหนา้ ท่รี าชการ ตำแหนง่ ของพระราชวงศ์
-แผนกพระราชกำหนด วา่ ด้วยขอ้ กำหนดทีใ่ ชใ้ นวงั ระเบยี บการปกครองราชสำนัก เช่น
ทะเลาะววิ าทเถยี งกนั ในวัง(จำใส่ขื่อ ๓ วนั ) ดา่ กันในวงั (ตีหวาย ๕๐ ท)ี ถีบประตวู ัง(ตดั เท้า) กินเหล้าในวัง(เอา
เหล้าร้อนๆกรอกปาก)
๓.)สมัยสมเดจ็ พระไชยราชา
๑.ตรากฎหมายลักษณะพิสูจน์ มี ๗ อย่างคือ ลว้ งตะกว่ั สาบาน ลยุ เพลิง ดำน้ำ ว่ายข้ึนนำ้ แขง่ กัน ว่าย
นำ้ ขา้ มฟากแข่งกนั และตามเทียนลนละเล่มเท่ากัน
๔.)สมัยสมเด็จพระไชยราชา
๑.ตรากฎหมายเพิ่มเติมลักษณะอาญาหลวง
๕.)สมัยสมเด็จพระเอกาทศรถ
๑.ตรากฎหมายเก่ยี วกับภาษีสมพตั สรอากรขนอนตลาด
๒.ตั้งพระราชกำหนด
๓.ตรากฎหมายพระอัยการ
๖.)สมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง
๑.กฎหมายพิกัดเกษยี ณอายุ
๒.กฎหมายลักษณะอุทธรณ์
๓.กฎหมายพระธรรมนูญตรากระทรวง
๔.กฎหมายลกั ษณะทาส
๗.)สมยั สมเดจ็ พระเจา้ ทรงธรรม
๑.พ.ศ.๒๑๖๗ ตรา “พระธรรมนูญกระทรวงศาล”
๘.)สมัยสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั ทา้ ยสระ
๒.ออกกฎหมายห้ามราษฎรกินปลาตะเพียน
๙.)สมัยสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั บรมโกศ
๓.ออกกฎหมายห้าวชาวพทุ ธทำอาชีพค้าสตั ว์
๔.ศาลและกระบวนการยุติธรรมของอยุธยา
▪ผทู้ ี่ทำหนา้ ท่ีเปน็ องคผ์ ู้พพิ ากสงู สุด คือ พระมหากษัตริย์
กระบวนการดำเนินงานในการพพิ ากษาคดที ผี่ ่านตุลาการแยกหน้าที่ ๒ กลมุ่ คือ
-ลูกขุน ณ ศาลา คือ ตลุ าการอยุธยา หน้าทรี่ บั ฟ้องเบ้ืองตน้ ได้แก่ การรับฟ้อง พิจารณา ปรับไหม ลงโทษ
-ลูกขนุ ณ ศาลหลวง คอื พราหมณ์ผ้เู ชย่ี วชาญพระธรรมศาสตร์ หนา้ ท่ีตรวจสำนวนช้ีกฎหมาย ตัดสนิ ว่าใครผดิ
การปรับวธิ ที างการศาลมหี ลายรชั กาล ดงั นี้
๑.)สมัยสมเดจ็ พระรามาธิบดที ่ี ๑(พระเจ้าอูท่ อง)
การพิจารณาคดใี นสมัยนเี้ ป็นหนา้ ท่ีของเสนาบดีจตุสดมภ์ ตามท่เี กี่ยวข้องกบั กรมน้นั ๆ เช่น
กรมเมือง พจิ ารณาคดอี ุกฉกรรจท์ จ่ี ะเกิดความไมส่ งบ
กรมวัง พจิ ารณาขอ้ พพิ าทราษฎร
กรมคลงั พจิ ารณาพระราชทรัพย์
กรมนา พจิ ารณาคดีทนี่ า โคกระบือ ข้อพิพาทชาวนา
๒.)สมัยสมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ
กระบวนการดำเนนิ งานในการพพิ ากษาคดีที่ผา่ นตลุ าการแยกหนา้ ที่ ๒ กล่มุ คือ
-ลูกขนุ ณ ศาลา คือ ตลุ าการอยธุ ยา หนา้ ท่รี ับฟ้องเบ้ืองต้น ไดแ้ ก่ การรับฟ้อง พิจารณา ปรบั ไหม ลงโทษ
-ลกู ขุน ณ ศาลหลวง คอื พราหมณ์ผ้เู ชีย่ วชาญพระธรรมศาสตร์ หนา้ ท่ีตรวจสำนวนช้ีกฎหมาย ตัดสินวา่ ใครผิด
๓.)สมยั สมเด็จพระรามาธิบดที ี่ ๒
กระบวนการดำเนินงานในการพิพากษาคดีมีดังนี้ ฟ้องร้องผ่านจ่าศาล จ่าศาลจะจดคำฟ้องไว้ เพ่ือ
นำขึ้นปรึกษาลกู ขุน ณ ศาลหลวง ซึ่งประกอบด้วยพราหมณ์ผู้เชี่ยวชาญ ๑๒ คน มีหัวหน้าคือ พระมหาราชครู
ปุโรหิต พระมหาราชครูมหิธร โดยขั้นแรกจะพิจารณาว่าควรรับฟ้องหรือไม่ หากรับจะหารืออีกว่าควรส่งไป
กระทรวงไหน จากน้นั กส็ ง่ โจทย์ไปกระทรวงนี้ แลว้ ใหจ้ ำเลยมาให้การ ส่งตลุ าการไปสบื พยาน ชี้ผผู้ ดิ ถูกได้ ศาล
สมัยน้มี ี ๔ ประเภทคอื ศาลความอาญา ศาลความแพ่ง ศาลนครบาล และศาลกระทรวง
สงคราม
๑.สงครามอยุธยากับพมา่
การสงครามระหว่างอยุธยากับพม่านั้น ถือว่าเกิดขึ้นบ่อยที่สุดเมื่อเทียบกับรัฐอื่นๆ โดยส่วนมากเเล้ว
พมา่ จะเป็นฝ่ายมารบกับกรุงศรีอยุธยา โดยเม่อื ใดท่ีพม่ามีพระมหากษัตรยิ ์ผ้ทู รงพระปรชี าสามารถ เข้มเเข็งใน
การทำสงคราม เเผ่ขยายอำนาจรวบรวมอาณาจักรให้เปน็ ปึกเเผ่นมัน่ คง จนสามารถยึดมอญเเละเชียงใหม่เป็น
เมืองขึ้นได้ ซึ่งทั้งสองนี้ถือเป็นรัฐกันชนระหว่างอยธุ ยากับพม่า ก็จะถือโอกาสมารบกับอยุธยาโดยใช้มอญเเละ
เชยี งใหม่เป็นทเ่ี ตรยี มทพั มที ัง้ ยกมาตเี มืองประเทศราชของอยธุ ยาเเถบชายเเดน จนถึงข้นั มาล้อมกรงุ ศรีอยุธยา
เพอื่ ยดึ เป็นเมืองข้นึ เเละมถี ึง ๒ ครง้ั ท่ที ำใหอ้ ยุธยาต้องเสียกรุงคือ คร้ังท่ี ๑ ในพ.ศ.๒๑๑๒เเละคร้งั ที่ ๒ ในพ.ศ.
๒๓๑๐ เเม้อยุธยาจะสามารถกอบกู้เอกราชได้เเต่ก็ทำให้อาณาจักรบอบช้ำอยู่ไม่น้อย สูญเสียประชากรเเละ
ทรัพย์สนิ ไปอยา่ งมหาศาล
ตามประวัติศาสตร์ที่มีการบันทึกไว้ใน"พระราชพงศาวดารไทยรบพม่า " ของกรมพระยาดำรงราชานุ
ภาพ พระบิดาเเห่งประวัติศาสตร์ไทย กล่าวว่าสงครามระหว่างกรุงศรีอยุธยากับพม่ามีทั้งหมด ๒๔ ครั้ง
เป็น สงครามที่พม่ายกมาตีอยุธยามีถึง ๒๒ ครั้ง เเละอยุธยายกทัพไปตีพม่า ๒ รัชกาลคือ สมัยสมเด็จ
พระนเรศวรมหาราชเเละสมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช โดยสงครามทงั้ ๒๔ ครง้ั มีดงั นี้
สงครามคร้ังท่ี ๑ สงครามพมา่ ตเี มอื งเชียงกราน
-ถอื เปน็ สงครามคร้ังเเรกระหวา่ งอยุธยากับพม่าโดยเกิดข้นึ ท่ีเมอื งเชยี งกราน
-เกดิ ขน้ึ ในพ.ศ.๒๐๘๑
-ตรงกับสมยั สมเดจ็ พระไชยราชา กษัตรยิ อ์ ยธุ ยาเเละพระเจา้ ตะเบ็งชะเวต้ี กษัตรยิ ์พม่า
-เหตุการณ์ พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ กษัตริย์พม่าครองราชย์ที่เมืองตองอู สามารถยึดเมืองหงสาวดี ซึ่ง
เป็นเมืองหลวงของมอญในขณะนั้นได้ พระองค์จึงทรงย้ายเมืองหลวงมาอยู่ที่หงสาวดี เเล้วจึงยกทัพมาตีเมือง
เมาตะมะ(เมอื งพระอุปราชของหงสาวด)ี ในเวลาตอ่ มา ทำให้สามารถขยายอาณาจกั รได้กวา้ งขวาง โดยมีขนุ ศึก
คู่พระทัยคือ "บุเรงนอง"(ไทยรบพม่า) เมื่อรวบรวมกำลังพลได้ก็ยกทัพมาตีเมืองเชียงกรานของอยุธยา ในปี
พุทธศักราช ๒๐๘๑ ตรงกับสมัยสมเด็จพระไชยราชาธิราช โดยที่เข้าใจว่าเป็นเมืองของมอญ ในพระราช
พงศาวดารไทยรบพม่ากลา่ วว่า
"เมืองเชียงกรานนี้มอญเรียกว่า เมืองเดิงกรายน์ ทุกวันนี้อังกฤษเรียกว่า เมืองอัตรัน อยู่ต่อแดนไทย
ทางด่านพระเจดีย์สามองค์ พลเมืองเป็นมอญ แต่เห็นจะเป็นเมืองขึ้นของไทยมาแต่ครั้งสุโขทัยเป็นราชธานี
ทำนองพระเจา้ ตะเบง็ ชเวต้วี จะคิดเห็นวา่ เปน็ เมืองมอญ จงึ ประสงค์จะเอาไปเปน็ อาณาเขต "(ไทยรบพม่า)
เป็นเหตุใหส้ มเดจ็ พระไชยราชาธิราชต้องกรฑี าทัพทัพไปตีคืนดว้ ยพระองค์เอง ตามพระราชพงศาวดาร
ระบุวันเดินทัพของพระไชยราชาไว้ดังนี้ " ถึงเดือน ๑๑ เสด็จไปเมืองเชียงกราน " โดยในกองทัพประกอบไป
ด้วยทหารรับจ้างชาวโปรตุเกสถึง ๑๒๐ คนจาก ๑๓๐ คนที่ค้าขายในอยุธยาตามจดหมายเหตุของปินโต(ไทย
รบ)ซึ่งมีความชำนาญในการใช้ปืนไฟ มีผลทำให้ศึกครั้งนี้อยุธยาเป็นฝ่ายชนะ หลังจากเสร็จศึกเเล้ว สมเด็จ
พระไชยราชาธิราช ได้ปูนบำเหน็จความชอบให้กับชาวโปรตุเกส โดยพระราชทานที่ดินบริเวณคลองตะเคียน
ตำบลบ้านดิน เพื่อเป็นที่อยู่อาศัย เรียกกันว่าบ้านโปรตุเกสอนุญาตให้สร้างโบสถ์คริสต์นิกายโรมันคาทอริก
เเละมบี าทหลวงประกอบศาสนาได้
จดุ เน้นสำคญั
๑.สมยั พระไชยราชา เกิดสงครามอยุธยากบั พมา่ เปน็ คร้งั เเรก
๒.สมยั พระไชยราชาธิราช กำเนิดโบสถค์ รสิ ต์เเห่งเเรกในประวัตศิ าสตร์
๓.สมัยพระไชยราชา คอื กษัตริย์พระองค์เเรกทีท่ ำสงครามกับพม่า
๔.สมยั พระไชยราชามกี ารจา้ งทหารชาวยุโรปคอื โปรตุเกสเปน็ ครั้งเเรก
๕.สมยั พระไชยราชา ร่วมสมยั กบั พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ของพม่า
๖.สมัยพระไชยราชามีการใช้ปืนไฟครง้ั เเรก
สงครามครง้ั ท่ี ๒ คราวสมเด็จพระสุรโิ ยทยั ขาดคอช้าง
-เกดิ ข้ึนในพ.ศ.๒๐๙๑
-ตรงกบั สมัยของพระมหาจกั รพรรดิ กษัตรยิ อ์ ยุธยาเเละพระเจา้ ตะเบง็ ชะเวต้ี กษัตรยิ ์พมา่
-สงครามครง้ั ที่ ๒ เสียพระสุริโยทยั นี้ห่างจากสงครามครั้งเเรกถงึ ๑๐ ปี
-เหตุการณ์ หลังจากการสวรรคตของสมเดจ็ พระไชยราชาธิราชกษตั รยิ ์อยุธยาในพ.ศ.๒๐๘๙ ก็เกดิ การ
เเย่งชิงอำนาจในราชสำนักของอยุธยาระหว่างพระเเก้วฟ้าเเละขุนวรวงศาธิราช จนในที่สุดเสนาอมาตย์ก็ทูล
เชิญพระเฑียรราชาอนุชาต่างมารดาของพระไชยราชาธิราช ได้เสร็จขึ้นครองราชย์ในพ.ศ.๒๐๙๑ พระนามว่า
"พระมหาจักรพรรดิ"เมือ่ ครองราชย์ได้ ๖ เดือนทางฝั่งพม่าทราบถึงความจราจลที่เกิดขึ้นในอยุธยา จึงได้
ประชุมพลกันทีเ่ มืองเมาะตะมะ เพอ่ื ทีจ่ ะยกทพั ตกี รุงศรอี ยธุ ยาหวังจะได้เป็นเมืองขนึ้
การรบครั้งนี้ถือว่าพม่าคาดการณ์ผิด เพราะถึงเเม้ว่ากรุงศรีอยุธยาจะมีการเเย่งชิงอำนาจเกิดขึ้น เเต่
พืชพันธุ์ธัญญาหารก็ยังสมบูรณ์ดีอยู่ อีกอย่างก็มิได้เสียทหารได้มากเท่าใดนัก เพราะมิได้เป็นการรบพุ่งจนเกิด
สงครามกลางเมอื งเเต่อย่างใด พระมหาจักรพรรดิก็ทรงเตรยี มทัพเพือ่ รับศึกพม่า โดยมีกลยุทธิใ์ ช้พระนครเป็น
ฐานที่มั่นระหว่างนั้นก็ส่งกองทัพไปรักษาเมืองสุพรรณบุรี ที่มีป้อมปราการเเข็งเเรง เพื่อเป็นเมืองหน้าด่าน
รับศึกพม่าทางด้านทิศตะวันตก ทางฝ่ายของพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ยกทัพเข้ามาทางด่านพระเจดีย์ ๓ องค์ ถึง
เมืองกาญจนบุรีชาวเมืองได้หลบหนีไม่มีใครต่อสู้ด้วย จากนั้นก็ยกมาตีเมืองสุพรรณบุรี ที่อยุธยาใช้เป็นเมือง
หนา้ ดา่ นจนเเตกพา่ ย ยกทัพมาตง้ั บรเิ วณทงุ่ ลุมพลี ชานพระนครทางด้านทิศเหนอื (ไทยรบ)
เหตุกาณ์สำคัญของสงครามครั้งนี้เกิดขึ้นเมื่อสมเด็จพระมหาจักรพรรดิทรงดำริจะหยั่งกำลังพลของ
ขา้ ศกึ กพม่าวา่ มมี ากน้อยเพยี งใด จงึ เสดจ็ ออกนอกพระนคร ผู้ที่เสด็จออกนอกพระนครครัง้ น้ี ประกอบดว้ ย
๑.พระมหาจักรพรรดิ พระมหากษัตริย์ ทรงช้างต้นพลายเเกว้ จักรพรรดิ
๒.พระมหาสรุ ิโยทยั พระมเหสขี องสมเด็จพระมหาจกั รพรรดิ ทรงชา้ งพลายทรงสรุ ยิ กษตั รยิ ์
๓.พระราเมศวร พระราชโอรสของสมเดจ็ พระมหาจกั รพรรดิ ทรงช้างตน้ พลายมงคลจักรพาฬ
๔ พระมหทิ ราธริ าช พระราชโอรสของสมเด็จพระมหาจกั รพรรดิ ทรงช้างตน้ พลายพมิ านจกั รพรรดิ
ครั้นถึงบริเวณทุ่งมะขามหย่อง เกิดการปะทะกันระหว่างทัพของพระมหาจักรพรรดิเเละพระเจ้าเเป
รซึ่งเป็นทัพหน้าของพม่า เกิดการสู้รบกัน โดยวีรกรรมครั้งน้ี กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ได้อธิบายไว้ในพระ
ราชพงศาวดารไทยรบพมา่ ดงั นี้
" สมเด็จพระมหาจักรพรรดิกบั พระเจ้าแปร ต่างทรงช้างขับพลหนุนมาพบกันเข้าก็ชนช้างกันตามแบบ
การยทุ ธในสมยั นนั้ ชา้ งพระทน่ี งั่ สมเดจ็ พระมหาจักรพรรดิเสยี ที แล่นหนชี า้ งขา้ ศกึ เอาไว้ไม่อยู่ พระเจ้าแปรขับ
ชา้ งไล่มาสมเด็จพระสุรโิ ยทยั เกรงพระราชสามีจะเป็นอนั ตรายจึงขับช้างทรงเข้าขวางทางข้าศึกไว้ พระเจ้าแปร
ได้ทีฟันสมเด็จพระสุริโยทัย ด้วยสำคัญว่าเป็นชาย สิ้นพระชนม์ซบลงกับคอช้าง พอพระราเมศวรกับพระมหิ
นทรทั้งสองพระองค์ขับช้างทรงเข้าต่อสู้ พระเจ้าแปรก็ถอยไป จึงกันเอาพระศพสมเด็จพระชนนีกลับมาได้ ใน
การที่รบกนั วนั นั้น เหน็ จะส้ินเวลาลงเพยี งนนั้ ไมถ่ งึ แพช้ นะกนั กอบทัพไทยกถ็ อยกลับเขา้ พระนคร"ไทยรบ)
การเสียสละของพระมหาสุริโยทัยในครั้งนี้ ไม่เพียงเเต่เป็นการปกป้องพระสวามีให้พ้นจากอันตราย
เท่านั้น เเต่ยังถือเป็นการเสียสละพระชนม์ชีพ เพื่อเเผ่นดินอย่างเเท้จริง หากว่าพระมหาจักรพรรดิเสียทีเเก่
พระเจ้าเเปรจนสวรรคต กถ็ อื ว่าอยุธยาตกตอ้ งเสยี เอกราชเเกพ่ ม่าเช่นเดยี วกัน
เเม้ว่าจะเสียสมเด็จพระสุริโยทัยไปเเละได้อัญเชิญพระบรมศพเข้าพระราชวังเเล้ว เเต่สงครามครั้งนี้ก็
ยังคงดำเนินต่อไป พม่านำโดยพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ก็มิได้ยกทัพกลับไป ยังคงตั้งทัพที่ชานพระนคร หวังจะยึด
อยธุ ยาเปน็ เมอื งขน้ึ ใหไ้ ด้
บริเวณที่ต้งั ค่ายพม่าในศึกครัง้ น้ี
ต้ังอยบู่ รเิ วณดา้ นทศิ เหนอื ของพระนครเพยี งดา้ นเดยี ว เรียงรายกันหลายคา่ ยดังนี้
๑.พระเจา้ ตะเบง็ ชะเวต้ี ตั้งทีบ่ ้านกุ่มดอง
๒.บุเรงนอง ต้ังทีพ่ ะเนียดช้าง
๓.พระเจา้ แปร ตั้งทีบ่ ้านใหม่มะขามหย่อง
๔.พระยาประสมิ ตง้ั ท่ที งุ่ ประเชด
สงครามเสียพระสุริโยทัย ในสงครามครั้งที่ ๒ ระหว่างอยุธยากับพม่าในครั้งนี้ กำลังพลฝ่ายพม่า
มีมากกว่าอยุธยาอยู่หลายเท่า เเต่พม่าเองก็ไม่สามารถตีหักเข้ากรุงได้ เป็นผลมากจากกรุงศรีอยุธยามีปราการ
ทางธรรมชาติเเละทำเลที่ไดเ้ ปรียบ ประกอบกับพม่าเองก็ไม่คนุ้ ชินกับชัยภมู ิอยุธยามากนักจึงยากที่จะเอาชนะ
ได้ ชว่ งเวลาน้เี องพระมหาธรรมราชา(บุตรเขยสมเด็จพระมหาจกั รพรรด)ิ ผ้เู ปน็ อุปราชครองมณฑลฝ่ายเหนอื มี
เมืองพิษณุโลกเป็นศูนย์กลางควบคุม ได้ยกทัพลงมาตีกระหนาบทัพของพม่า พม่าเองก็เริ่มขาดเเคลนเสบียง
อาหาร เป็นเหตใุ ห้พระเจา้ หงสาวดจี งึ ตดั สินใจเลกิ ทัพกลบั ไป
เส้นทางเดินทัพกลับของพม่า พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้เลือกที่จะเดินทางกลับทางด่านเเม่ละเมา
ทางด้านเหนอื มเี หตผุ ลดังนี้
๑.ดา่ นพระเจดีย์ ๓ องค์ เม่ือครั้งเดินทัพมาได้ทำลายเเหลง่ เสบยี งอาหารจนหมดสนิ้ เเล้ว
๒.กำลังพลฝ่ายพม่ามมี ากกว่าอยุธยามาก หากได้ปะทะกับกองทัพเมืองเหนือของอยุธยาก็จะตีหักเอา
ไดไ้ มย่ ากนกั
พระราเมศวรเเละพระมหาธรรมราชาถกู อุบายล้อมจับตัว ฝา่ ยสมเด็จพระมหาจกั รพรรดิ เหน็ วา่ ฝ่าย
พมา่ เพลยี้ งพลำ้ ยกทัพกลบั คืนไป จงึ เห็นเปน็ โอกาสดีทจ่ี ะตามตีให้เเตกพา่ ย จึงสั่งให้พระราเมศวรพระราชโอรส
คมุ กองทัพอยธุ ยา เเละพระมหาธรรมราชาคุมกองทัพทางเหนือ ติดตามไป เมื่อเดนิ ทางได้ ๓ วนั ก็จะตามถึงทัพ
พม่าที่เมอื งกำเเพงเพชร พระเจา้ ตะเบ็งชะเวตจ้ี งึ ทำอุบายลอ้ มจบั พระมหาธรรมราชาเเละพระราเมศวรเอาไว้ได้
ย่นื คำขาดใหอ้ ยธุ ยานำพลายศรมี งคลเเละพลายมงคลทวีปซ่งึ เป็นช้างชนะงามาเเลกคนื จบศึกในครัง้ นี้
อนสุ รณ์สถานเเห่งวรี กรรมการเสียสละของสมเด็จพระสุริโยทัย
๑.วัดสวนหลวงสบสวรรค์ หลังจากนำพระศพของพระสุริโยทัยเข้ามาไว้ในพระนครเเล้ว โดย
ประดิษฐานพระศพไว้ที่สวนหลวง จนเสร็จศึกพม่ายกทัพกลับไป ก็ทำพิธีถวายพระเพลิงพระศพขึ้นที่บริเวณ
สวนหลวง เเละในบริเวณนี้เอง พระมหาจักรพพรรดิได้ถวายเปน็ พระอารามช่ือว่า " วัดสวนหลวงสบสวรรค"์
ภายในวัดประกอบไปด้วยพระเจดีย์ พระวิหาร(สารานุกรม) ปัจจุบันภายในวัดสวนหลวงสบสวรรค์.เหลือ
ร่องรอยหลักฐานให้เห็นเพียงพระเจดีย์องค์เดียว รู้จักกันในชื่อ "เจดีย์ศรีสุริโยทัย" บริเวณนี้ในสมัยพระมหา
ธรรมราชาได้สร้างวังหลังขึ้น เพื่อเป็นที่ประทัพของกรมพระราชวังบวรสถานภิมุข(กรมพระราชวังหลัง)น่ันคือ
สมเด็จพระเอกาทศรถ เคียงคู่กับวังหน้าคือ วังจันทรเกษม คือสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เจดีย์ศรีสุริโยทัยน้ี
ได้รับการบูรณะครั้งใหญ่ในสมัยรัชกาลที่ ๙ เเห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เนื่องในวโรกาสที่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์
พระบรมราชนิ ีนาถ ทรงเจริญพระชนมพรรษา ๕ รอบ เเละยงั มีพระราชดำริสร้างอนสุ าวรียเ์ พื่อสดดุ ีพระเกียรติ
ของพระสรุ โิ ยทัยขึ้นบริเวณทงุ่ มะขามหยอุ่ งอีกด้วย(สารา)
จุดเนน้ สำคัญ
๑.สงครามเสียพระสุรโิ ยทยั พ.ศ.๒๐๙๑ นีเ้ ป็นสงครามครง้ั เเรกท่ีพม่ายกเขา้ มาถงึ ชานพระนคร
๒.เมอื งหน้าด่านรบั ศึกครง้ั น้ีคือ เมืองสุพรรณบุรี
๓.พมา่ ยกทัพเข้ามาทางดา่ นพระเจดีย์ ๓ องค์ ยกทพั กลับที่ดา่ นเเมล่ ะเมา
๔.ผ้ทู ่ถี ูกพม่าล้อมจบั ในครั้งนี้คอื พระราเมศวรเเละพระมหาธรรมราชา
๕.กลยุทธริ์ บั ศึกพม่าของอยธุ ยาในครง้ั นค้ี ือ ใช้พระนครเป็นฐานที่มัน่
๖.พระสุริโยทยั คอื วรี กษัตรอี งคเ์ ดยี วของไทย
๗.ช้างชนะงาที่อยุธยาใช้เเลกตัวพระมหาอุปราชาเเละพระมหาธรรมราชาชื่อว่าพลายศรีมงคลเเละ
พลายมงคลทวีป
๘.ศกึ ครงั้ นีเ้ กดิ ขึ้นทที่ ่งุ มะขามหยอ่ ง
สงครามครั้งท่ี ๓ สงครามชา้ งเผอื ก
-เกิดขึ้นพ.ศ.๒๑๐๖
-ตรงกับสมัยพระเจ้าบเุ รงนองเเห่งพมา่ เเละพระมหาจกั รพรรดิเเห่งอยุธยา
-สถานการณ์เมืองหงสาวดีก่อนมาตีอยุธยา : หลังจากที่พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ กษัตริย์พม่าองค์ก่อน
หนา้ ของพระเจ้าบเุ รงนอง เคยยกทพั เข้ามาตีอยธุ ยาถึงชานพระนครในคราวสงครามเสียพระสุริโยทัย เเละพ่าย
เเพ้กลบั ไป ทำใหป้ ระเทศราชตา่ งๆของพมา่ โดยเฉพาะมอญ กไ็ ม่ไดเ้ กรงพระราชอำนาจอยา่ งเเต่ก่อน เเละพระ
เจ้าตะเบ็งตะเบ็งชะเวตี้เอง ก็ทรงเสียพระสติจากการเสวยสุราเป็นประจำ ทำให้พระเจ้าบุเรงนองซึ่งขณะนั้น
ดำรงพระยศเป็นพระอุปราช ต้องจดั การกิจธรุ ะของบ้านเมืองเเทน โดยเฉพาะปราบกบฎต่างๆ ระหว่างนั้นเอง
พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้วิปลาสหนัก จนสมิงสอดวุตลวงให้ไปจับช้างเผอื กก็ถูกเสนาอมาตยจ์ ับปลงพระชนม์ ข่าว
การสิ้นพระชนม์ของพระเจ้าหงสาวดีเเพร่สะพัดิออกไป เมืองประเทศราชพม่าน้อยใหญ่ต่างประกาศอิสรภาพ
กันจนหมด เมือบุเรงนองปราบปรามจนหมดสิ้นก็สถาปนาตนเป็นกษัตรยิ ์พม่า ตรงกับพ.ศ.๒๐๙๖ ครั้งปรารถ
จะมาตีอยุธยา เสนาอมาตย์ทั้งหลายทัดทานว่าอยุธยามีปราการเมืองดีนัก ยากจะทำลายได้ ขอให้พระองค์
ปราบปราบประเทศราชเพมิ่ เพอื่ จะได้มีกำลงั มากยิง่ ขึน้ คอ่ ยยกทพั ขึ้นไปตี พระเจา้ บเุ รงนองก็ทรงเห็นชอบ
สาเหตุขอลสงครามช้างเผือก : เมื่อเวลาผ่านไป ๑๐ ตรงกับพ.ศ.๒๑๐๖ การเมืองภายในของพม่ามี
ความมั่นคง จากพระราชอำนาจของพระเจ้าบุเรงนอง ทำให้พระองค์จึงได้ปรารภอยุธยาเป็นครั้งที่ ๒ โดย
สาเหตุครานี้ มาจากเรื่องที่พระมหาจักรพรรดิทรงมีช้างเผือกถึง ๗ เชือกไปถึงพระเนตรพระกรรณของ พระ
เจา้ บุเรงนอง ซ่ึงในขณะน้ันพระเจา้ บุเรงนองเเม้จะทรงมีพระราชอำนาจมาก เเต่กไ็ มม่ ีชา้ งเผือกคู่พระบารมี จึง
ดำริมาตีเอาช้างเผือกจากสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ เเต่พระองค์รู้ว่า มอญไม่เต็มใจเกรงจะไม่สำเร็จ จึงทำ
อบุ ายเจริญสมั พนั ธไมตรสี ่งพระราชสาส์นขอช้างเผือก ๒ เชือกจากอยุธยา
ฝ่ายพระมหาจกั รพรรดไิ ดร้ ับสาส์น กท็ ราบทนั ทวี ่าหากไมป่ ระ ทานให้พระเจา้ บุเรงนองจะกรีฑาทัพมา
เป็นเเน่เเท้ เเต่ถ้าประทานให้เท่ากับวา่ อยุธยายอมเป็นประเทศราชหงสาวดี จึงได้เรียกประชุมเสนาอมาตย์ท้ัง
ปวงถึงเรื่องนี้ จากการประชุมความเห็นเเบ่งเป็น ๒ ฝ่าย ฝ่ายหนึ่งทูลว่า ควรประทานให้เนื่องจากพระเจ้าหง
สาวดึมีอำนาจมากเหลือ หากยกทัพมาตีก็ยากจะทัดทานเอาไว้ได้ เเล้วอีกประการพระองค์มีช้างเผือกถึง ๒
เชือกหากประทานให้ ก็ยังคงเหลือ ๒ เชือก จึงเห็นควรประทานให้เพื่อไม่ให้เกิดสงคราม. เเต่ก็มีอีกฝ่ายที่เห็น
ว่าไม่ควรจะประทานให้ซึง่ มี ๓ คนคือ พระราเมศวร พระยาจักรี พระสุนทรสงคราม โดยให้เหตุผลวา่ พระเจ้า
หงสาวดีของช้างเผือกเป็นเพียงข้ออ้างอุบายจะมาตี เพราะถ้าประทานให้ก็จะทรงคิดว่าฝ่ายเรากลวั อำนาจ อีก
ทง้ั ราษฎรต่างๆพลอยจะกลวั พม่าไปดว้ ย ยงิ่ เมื่อร้วู ่าฝ่ายเรากลวั ก็จะหาโอกาสสาเหตอุ ื่นมาตีจนได้ จึงไม่ควรท่ี
จะยกให้ อยุธยาเองก็เตรียมตัวตัง้ รับอยา่ งดี ถ้ายกมาตีก็จะพอสู้ได้ ฝ่ายพระมหาจักรพรรดิเอง ก็ทรงเห็นชอบ
กับความคิดของพระราเมศวร พระยาจักรี พระสุนทรสงคราม(เมืองสุพรรณ) เเม้จะมีเสียงน้อะยกว่าก็ตาม คือ
ไม่ยอมยกให้ จากนั้นก็เตรียมรับศึกพม่า ฝ่ายพระเจ้าบุเรงนองก็เตรียมทัพมาตีอยุธยาอย่างดี โดยเเก้ข้อ
เสียเปรียบท่เี คยมาตเี มือ่ คร้งั พระเจ้าตะเบง็ ชะเวตที กุ ประการ ดงั นี้
-กำลังพลมากกว่าหลายเท่า
-ได้เชียงใหม่ไว้ในอำนาจ สามารถเเก้ปัญหาขาดเเคลนเสบียงได้ เพราะจะลำเลียงเสบยี งมาตามลำนำ้
จากเชยี งใหมไ่ ด้ ไม่ตอ้ งลำบากขนขา้ มภูเขาเหมอื นคร้ังก่อน ทีม่ าทางดา่ นพระดา่ นพระเจดยี ์ ๓ องค์
-ขจดั ปัญหาคราวก่อนที่ไมส่ ามารถเข้าประชิดตีติดกำเเพงเมืองได้เน่ืองจาก ปนื ใหญ่อยุธยามีอานุภาพ
มาก เเกป้ ญั หาโดยขนปืนใหญอ่ านุภาพสงู มาด้วย
-จา้ งทหารโปรตเุ กส ๔๐๐ นาย เพ่อื สู้กับทหารกองทพั เรืออยธุ ยา
-ตั้งพระทัยจะยกมาทางด่านเเม่ละเมาตีเมืองเหนือทั้งหมดให้ได้ เพื่อขจัดปัญหาที่เกิดเมื่อคราวก่อน
นัน่ คือพระมหาธรรมราชา ยกทพั เมืองเหนอื ลงมาตกี ระหนาบ
-พระเจ้าบุเรงทำศึกมามาก มีพระปรีชาสามารถ เหล่าเเม่ทัพน้อยใหญ่ต่างๆ รวมถึงทหารก็มั่นใจใน
กษัตริย์ ไม่ได้ย่อท้อเเม้เเต่น้อย เเละที่สำคัญที่สุดคือ เมื่อศึกครั้งก่อนพระเจ้าบุเรงนองก็มาได้ รู้ชัยภูมิ กำลัง
ทหารเเละยุทธวิธีการรบของอยุธยาเป็นอย่างดี
พระเจา้ บเุ รงนองเตรยี มทัพ โดยประชุมจัดทัพที่เมืองเมาะตะมะ เเบง่ ทพั เป็น ๕ ทพั ดงั น้ี
“พระอุปราช(โอรส) พระเจ้าอังวะ(บุตรเขย) พระเจ้าเเปร(อนุชา) พระเจ้าหงสาวดี(ทัพหลวง) และ
พระยาพะสิม(น้องยาเธอ)” จากนี้ให้พระยาเชียงใหม่มาสบทบที่ตาก กำลังทั้งหมดทั้งมวลตามพงศาวดาร
ประมาณ ๕๐๐,๐๐๐ กว่าๆ
ฝ่ายอยุธยารู้ว่ามีศึกเเน่ ก็เตรียมเสบียง นำราษฎรเข้ามาอยู่ในกำเเพงเมือง สร้างเรือรบ เตรียมป้อม
ประตหู อรบพรัอมสรรพ รักษาพระนครทงั้ ๔ ดา้ นดังนี้
-ดา้ นเหนอื = พระยาจกั รคี ุมกำลัง ๑๕,๐๐๐ ต้งั ทป่ี ้อมลุมพลี(ท่งุ ลุมพลี)
-ด้านใต=้ พระยาพระคลงั คุมกำลัง ๑๐,๐๐๐ ตั้งท่ปี อ้ มท้ายคู
-ดา้ นตะวนั ออก=พระยามหาเสนาคุม ๑๐,๐๐๐ ตั้งทีป่ ้อมบา้ นดอกไม้(ทุ่งหนั ตรา)
-ด้านตะวันตก=พระสุนทรสงคราม คุมกำลัง ๑๐,๐๐๐ ตั้งที่ป้อมจำปาพล(หรือตำบลบ้านป้อมใน
ปจั จุบนั )
เเต่อยุธยามีข้อผิดพลาดคือ ไม่ได้นึกถึงว่าพม่าจะมาทางด่านเเม่ละเมา จึงไม่ได้เตรียมเมืองเหนือไว้
เพราะนึกว่าจะมาทางด่านพระเจดีย์ ๓ องค์ดังคราวก่อน พม่าตีกำเเพงเพชรได้ง่ายดาย พอตีได้จึงเเบ่งทัพเปน็
๒ ทางคอื
-พระเจ้าอังวะ พระเจ้าตองอู ตีพิษณโุ ลก
-พระเจา้ เเปร พระมหาอุปราชา ตเี มอื งสุโขทัย สวรรคโลก พิชยั
โดยให้ทงั้ ๒ พรอ้ มกันท่ีพิษณุโลก สว่ นทัพหลวงของพระเจ้าบุเรงนองจะรอท่ีกำเเพงเพชรดงั เดิม เมือง
ทั้งหมดเสียเเก่พม่าคือ สุโขทัยถูกตีเเตก สวรรคโลกเเละพิชัยยอมอ่อนน้อม ส่วนเมืองพิษณุโลกพระมหาธรรม
ราชาพยายามความสามารถเเต่ก็ต้านไม่ไหว ขาดเสบียง เกิดไข้ทรพิษจึงยอมอ่อนนอ้ ม จึงให้รวมเมืองเหนือทั้ง
ปวงเป็นทัพเรือ โดยมีนายทัพคือ พระเจ้าเเปรยกลงมา ทางอยุธยาจึงให้พระยาพิชัยรณฤทธิ์เเละพระยาพิชิต
ณรงค์เป็นทัพหน้า พระราเมศวรเป็นทัพหลวงไปช่วยพิษณุโลก เเต่ก็ไม่ทันยกไปถึงนครสวรรค์จึงทราบ จึงต้ัง
ทัพรอข้าศึกที่ชัยนาทรบกับพม่าเเตกพ่ายกลบั เพราะทัพพระเจ้าเเปรมาชว่ ย ฝ่ายพระเจ้าจักรพรรดิให้ไปรบท่ี
ทุ่งลุมพลีกถ็ กู ตีเเตก ปอ้ มลมุ พลขี องพระยาจกั รกี ถ็ ูกยึด ตอ่ มากต็ ีป้อมนอกได้ท้ังหมด
จัดทัพล้อมอยุธยา ๓ ด้านดังนี้
-ตะวันออก=พระเจา้ เเปร ท่ีวดั โพธาราม
-ด้านเหนอื ซ่ึงเป็นด้านท่ีต้งั ทัพมากท่ีสุด=พระมหาอุปราชาท่ีทุ่งเพนียด , ทัพหลวงพระเจ้าบุเรงนองต้ัง
ท่ที งุ่ วดั โพธิเ์ ผอื ก ,พระยาพะสิมทท่ี งุ่ ลุมพลี
-ด้านตะวนั ตก=พระเจา้ ตองอูต้งั ท่ที ุง่ ประเชต , พระเจ้าองั วะตง้ั ทว่ี ดั พทุ ไธสวรรค์
อยุธยากไ็ ม่ได้ออกไปรบ ได้เเตถ่ ว่ งเวลารอฤดูน้ำหลาก ระหวา่ งน้นั กเ็ อาปืนใหญ่ลงเรือยิงค่ายพม่า หวัง
ให้หมดเสบียงไปเอง เเตพ่ ระเจ้าหงสาวดีก็เตรยี มมาดียิงปืนเขา้ เมืองตลอดทุกวนั เพราะเห็นว่าไทยไม่ไปตั้งค่าย
เเล้วเนอื่ งจากถกู ทำลายเรือรบ เห็นดังนพ้ี ระเจ้าบุเรงนองจึงส่งสาส์นมาขอให้พระมหาจักรพรรดยิ อม เนื่องจาก
ตีได้ยาก เพราะเสียเวลาตีเมืองเหนือ ทำให้เสบียงก็จะหมด น้ำหลากก็จะมา ถ้าจะยอมเลิกทัพไปเฉยๆก็จะ
อาย จึงทำวิธีน้ี อยธุ ยาเองชาวเมืองเดอื ดร้อนมาก การเมืองภายในไม่สามัคคจี ึงยอม ทั้งสองฝัง่ จงึ เจรจากนั โดย
ตั้งพลับพลาระหว่างวัดหสั ดาวาส(วัดช้าง)เเละวัดหน้าพระเมรุ เเต่เมอ่ื เปน็ ดงั นี้พระเจ้าบุเรงนองจึงเพ่ิมข้อเสนอ
ดังน้ี
-ขอชา้ งเผือกเพ่ิมจาก ๒ ช้างเป็น ๔ ชา้ ง
-ขอพระราเมศวร พระยาจักรี พระสุนทรสงครามไปหงสาวดี
-ไทยยอมส่งสว่ ยช้างปีละ ๓๐ ตัวเเละเงนิ ๓๐๐ ชง่ั
-ยอมให้พมา่ เก็บผลประโยชน์ท่ีเมืองมะริดได้
เมอ่ื ได้ตามประสงคก์ ย็ กทพั กลับไป
สงครามครงั้ ที่ ๔ สงครามเสียกรุงศรีอยุธยาคร้งั ท่ี ๑
-เกิดขน้ึ พ.ศ.๒๑๑๒
-ตรงกบั สมยั พระเจ้าบเุ รงนองเเหง่ พมา่ เเละสมเด็จพระมหินทราธิราชเเหง่ อยธุ ยา
-หลังจากผ่านสงครามช้างเผือกไปได้เพียง ๔ ปี พระเจ้าบุเรงนองก็ได้กรีฑาทัพเข้ามาเพื่อจะตีอยุธยา
เป็นเมอื งขึ้นใหไ้ ด้ โดยวางเเผนทำให้อยุธยาเเตกความสามคั คีกัน ดังน้ี
๑.ยกย่องให้พระมหาธรรมราชา เจ้าเมืองพิษณโุ ลก ให้เป็นใหญใ่ นหัวเมืองเหนือทั้งปวง จากนั้นก็คอย
กดี กันไมใ่ ยหอ้ ยธุ ยาบงั คับหวั เมืองเหนือได้
๒.เหตุการณ์ต่อมาคือพระเจ้าบุเรงนองตีเชียงใหม่เพราะไม่สวามิภักดิ์ พระมหาธรรมราชาก็ยกทัพไป
ช่วย เจ้าเมืองเชียงใหม่จึงหนีไปเวียงจันทน์ เพื่อขอให้พระไชยเชษฐาธิราชเเห่งเวียงจันทน์ช่วยเหลือ พระเจ้า
บุเรงนองจึงสั่งพระอุปราชยกทัพไปตีเมืองเวียงจันทน์ เพราะพระองค์ติดศึกกับไทยใหญ่ เมื่อพระมหาอุปราช
เขา้ ตเี มอื งเวียงจนั ทน์สำเรจ็ ได้ก็จับพระมเหสีนางกำนลั ได้จำนวนมาก สว่ นพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชน้ันหนีไปได้
พม่าตามหาก็ไม่พบ พอสิ้นฤดูฝนจึงยกทัพกลับพม่า ส่วนฝ่ายพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชน้ัน ได้ตามตีกองทัพของ
พม่าจนมีชยั ชนะได้เมืองกลับคืน จึงทูลขอพระเทพกษัตรีย์พระราชธดิ าของสมเดจ็ พระมหาจกั รพรรดิเเละพระ
ศรสี รุ ิโยทยั ไปเป็นพระมเหสี ฝ่ายอยธุ ยาก็อยากจะหาพันธมติ รก็ยอมรบั ไมตรีนัน้ เเต่พระเทพกษัตรีย์ประชวร
อยู่ จึงส่งพระเเก้วฟ้าไปเเทน เเต่พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชก็ไม่รับ เนื่องจากต้องการพระธิดาของพระสุริโยทัยผู้
กล้าหาญเท่านั้น พระมหาจักรพรรดิจึงได้ส่งพระเทพกษัตรีไป เมื่อความนี้ทราบถึงพระมหาธรรมราชา ซึ่งไม่
ยอมต่อเรื่องนี้ เหตุมาจากพระเทพกษัตรีย์เป็นน้องสาวของพระวิสุทธกษัตริย์มเหสีของตน จึงหาทางขัดขวาง
โดยเเจ้งไปยังพม่าให้มาชิงตัวพระเทพกษัตรีย์ไป สมเด็จพระมหาจักรพรรดิเสียพระทัยเป็นอย่างมาก จึงออก
ผนวช เเละใหพ้ ระมหนิ ทราธิราชออกว่าราชการ พระมหนิ ท์โกรธเเค้นพระมหาธรรมราชาอยา่ งมากเน่ืองจากไม่
ยอมฟังคำสั่งที่พระองค์ว่าราชการ อีกทั้งยังเป็นมิตรกับพม่าเพื่อข่มขู่อยุธยา จึงคิดหาทางกำจัดพระมหาธรรม
ราชา โดยปรึกษากับพระยาราม เจ้าเมืองกำแพงเพชร โดยวางอุบายให้พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชมาตีพิษณุโลก
เเล้วให้ทัพของอยุธยาขึ้นไปทำทียกมาช่วย เเล้วลอบสังหารพระมหาธรรมราชา พระเจ้าไชยเชษฐาก็ยอมทำ
ตามเเผน เพราะเเค้นเคืองพระมหาธรรมราชาอยู่เเล้ว เหตุที่ให้พม่ามาชิงตัวพระเทพกษัตรีย์ไป โดยดำเนิน
เเผนการในพ.ศ.๒๐๙๑ กเ็ ป็นไปตามทค่ี ิด พระมหาธรรมราชามีใบบอกมายังอยธุ ยาให้ไปช่วย เเต่ก็บอกให้พม่า
มาช่วยด้วยเชน่ กัน อยุธยาจึงใหพ้ ระยาสีหราชเดโชชัยกับพระยาท้ายน้ำยกทพั ไปก่อน พระมหินท์กับพระยา
รามยกตามไป ตั้งค่ายที่วัดจุฬามณี เเต่เรื่องก็ไม่เป็นไปตามเเผนอยุธยาคือ พระยาสีหราชเดโชชัยกลับไปทูล
เเผนทั้งหมดให้พระมหาธรรมราชาฟัง เมื่อรู้เรื่องก็ไม่ใหท้ ัพอยุธยาเข้าเมือง เเล้วทำเเพไฟไหลมาตามเเมน่ ำ้ เรือ
อยุธยาเสียหายมาก เวียงจันทน์ก็ตีพิษณุโลกไม่ได้ พระยาพุกามเเละพระยาเสือหาญเเม่ทัพพม่ายกมาช่วย
พิษณุโลก ทำให้ทั้งอยุธยาเเละเวียงจันทน์ก็ยกทัพกลับทั้งคู่ เมื่อเรื่องสงบ พระมหาธรรมราชา เจ้าเมือง
พิษณุโลกก็ไปเข้ากับพม่าเเบบเปิดเผย พระเจ้าบุเรงนองจึงตั้งพระมหาธรรมราชาเป็นพระศรีสรรเพชญ์ เจ้าฟ้า
เมืองพิษณุโลกสองเเคว ประกาศตนเป็นเมืองขึ้นพม่า ไม่ขึ้นกับอยุธยา ทำให้พระมหินทราธิราชทรงทูลขอให้
พระมหาจักรพรรดิลาผนวชมาครองราชย์ดังเดิม ระหว่างที่สมเด็จพระมหาธรรมราชาไป เมืองหงสาวดีนั้น
สมเด็จพระมหาจักรพรรดิกบั สมเด็จพระมหินทราธิราชได้ขนึ้ ไปเมืองพษิ ณโุ ลก เพือ่ พาพระวิสทุ ธกิ ษัตรเี เละพระ
ราชโอรสพระราชธิดา(ประกอบด้วยพระสุพรรณกัลยา พระนเรศวร พระเอกาทศรถ)ลงมาอยุธยา เมื่อเดินทาง
กลบั ถึงเมอื งนครสวรรค์นน้ั ก็ให้พระมหนิ ทไ์ ปทำลายเมอื งกำเเพงเพชร เพอื่ ไม่ให้พม่าใชเ้ ปน็ ฐานทม่ี ั่น เเตก่ ็พ่าย
เเพ้เเก่กำเเพงเพชร เพราะผู้ดูเเลเมืองคือ ขุนอินทรเสนากับขุนต่างใจรบอย่างเเข็งขัน ประกอบกับอยุธยา
ประมาท พอพ่ายเเพ้ก็ยกทัพกลับอยุธยา สมเด็จพระมหาจักรพรีดิทราบดีว่าจะเกิดสงคราม ก็จัดการเตรียม
บา้ นเมอื งเพอ่ื รับศึกพมา่ ดงั น้ี
๑.สรา้ งป้อมเพชร(เเมน่ ้ำดา้ นใต้)สรา้ งหอรบห่างกัน ๑๐เส้นหรอื ๔๐ เมตร เสริมความแข็งแรงกำเเพง
๒.วางปนื ใหญ่ห่างกัน๑๐ วาหรอื ๑๐ เมตรเเละวางปืนเรยี มจ่ารงมณฑกหางกัน ๕ วาหรอื ๕ เมตร
๓.ร้อื สรา้ งกำเเพง สร้างใหม่รมิ ชดิ เเม่นำ้ ใหพ้ ระยารามสรา้ งคา่ ยด้านตะวันออกป้องกนั อีก ๑ ชนั้
๔.ปลูกหอโทนกลางน้ำ หาฝั่ง ๕ วาหรือ ๕ เมตร ทั้ง ๓ ด้านคือตะวันตก เหนือ ใต้ ป้องกันข้าศึกเอา
เรือเขา้ ตี
เเละเเล้วเร่ืองที่คิดก็เป็นจริงพระมหาธรรมราชาเเจ้งเรือ่ งทีน่ ำพระวสิ ุทธกิ ษัตรีลงมาอยุธยาให้พระเจ้า
บุเรงนองทราบ ก็ประกาศศึกกับอยุธยาทนั ที จากนั้นเดินทัพออกจากหงสาวดีในวันอาทติ ย์เดือน ๑๑(ตุลาคม)
เเรมหกคำ่ ปมี ะโรง พ.ศ.๒๑๑๑ ยกมาทางดา่ นเเมล่ ะเมา กำลงั พล ๕๐๐,๐๐๐ เเบ่งทพั เปน็ ๗ ทัพ ดังน้ี
๑.พระมหาอปุ ราชา
๒.พระเจ้าเเปร
๓.พระเจา้ ตองอู ทั้ง ๔ ทพั นมี้ ชี าวไทยใหญร่ ว่ มทุกทัพ
๔.พระเจ้าอังวะ
๕.เจา้ เมืองสารวดี(โอรส)+เชียงใหม่+เชียงตงุ
๖.ทพั หลวง พระเจ้าบุเรงนอง
๗.พระมหาธรรมราชา
เมื่อเข้ามาถงึ เเผ่นดินอยุธยากต็ ัง้ ทัพที่เมืองกำเเพงเพชร เช่นเดียวกนั กบั คราวสงครามช้างเผือก เเม้วา่
พระมหาจักรพรีดิจะรูท้ ันสั่งให้พระมหินท์มาทำลายเมืองเเต่ก็ไม่สำเร็จ พระเจ้าหงสาวดียกมาถึงอยุธยาได้ง่าย
เพราะได้เมอื งเหนอื เข้ารว่ มหมด พระมหาจกั รพรดี กิ ใ็ ชเ้ เผนเดมิ คอื ใช้พระนครตั้งรับ
ฝ่ายพระเจ้าบุเรงนองเม่ือมาถึงชานเมืองในเดือนอา้ ยหรือธนั วาคม กต็ ้งั ทพั ทท่ี งุ่ ลมุ พลี อยุธยาจึงใช้ปืน
ใหญ่ชื่อว่า นารายณ์สังหารณ์ ตั้งที่ป้อมซัดกบในช่องมุมสบสวรรค์(บริเวณโรงทหารในปัจจุบัน) ถูกทหารพม่า
ล้มตายเสียหายมาก จนต้องย้ายทัพหนีปืนใหญ่ไปตั้งที่บ้านมหาพราหมณ์ ประชุมพลจัดทัพให้เเบ่งทัพตั้งรอบ
พระนครดังน้ี
๑.ด้านเหนอื คอื พระเจ้าตองอู พระยาพสิม พระยาอภัยคามินเี เละ ทพั เมาะตะมะ
๒.ด้านตะวันออก คอื พระมหาอปุ ราชเเละพระมหาธรรมราชา
๓.ด้านตะวันตก(ไม่สำคัญ เพราะลำน้ำกว้าง ใช้เขา้ ตีไมไ่ ด้) คอื ทพั หงสาวดี ทัพเชียงใหม่ ทพั ไทยใหญ่
๔.ด้านใต้ คอื พระเจ้าอังวะ
ฝ่ายอยุธยา มีเเม่ทัพบังคับบัญชาหลัก คือ พระยาราม เน้นตั้งรับทางด้านตะวันออก เพราะเเม่น้ำต้ืน
เข้าตีง่าย จัดเตรียมพลป้องกันพระนครทุกด้าน นอกจากนี้ยังมีพระราชสาส์นไปยังสมเดจ็ พระไชยเชษฐาธิราช
ใหม้ าช่วยอีกด้วย
ฝา่ ยพระเจา้ หงสาวดปี ระชุมพลเเม่ทัพว่าจะเข้าตีอยุธยาอย่างไรดี พระมหาอุปราชาเสนอว่าเรามีกำลัง
มากกว่า ควรเข้าตีพระนครพร้อมกันทุกด้าน เเต่พระเจ้าหงสาวดีกลับไม่เห็นด้วย เพราะอยุธยาทีปราการ
ธรรมชาตทิ ี่ดี ถ้าตที ุกดา้ นจะเสยี กำลงั พลมาก ทรงเห็นวา่ ควรตีดา้ นเดยี ว คือ ดา้ นตะวนั ออก เพราะคูเมืองเเคบ
เเละไม่ลึก จากนั้นพระเจ้าบุเรงนองก็ได้ย้ายทัพหลวงมาตั้งด้านทิศตะวันออกบริเวณวัดมเหยงค์ โดยให้พระ
มหาธรรมราชาหาตน้ ตาลมาสร้างคา่ ยเเละพระมหาอุปราชาดำเนนิ การตีพระนคร พระเจ้าบุเรงนองใช้กำลังพล
ในการสรา้ งค่ายทั้ง ๒ ด้านอย่างทุลกั ทุเล ใช้คนจำนวนมากเพราะปืนใหญ่อยุธยายงิ ถูกทหารตาย พอสร้างค่าย
ที่สามต้องขุดอุโมง ใช้เวลา ๒ เดือนจึงสร้างค่ายได้ ๓ ด้าน พม่าดำเนินการหลายอย่างเพ่ือตีอยุธยา เช่น สั่งให้
กองทพั เรืออ้อมมาทางสะพานเผาข้าว(คลองสีกุก) เพื่อรกั ษาลำนำ้ เมืองธนบรุ ี นนทบรุ ี ปอ้ งกันอยุธยาหาเรือมา
ชว่ ยรบ เเละสงั่ ถมคลองข้ามเเมน่ ้ำเเบง่ หน้าทีก่ นั ดังนี้
๑.ตอนใต้ คอื พระมหาอุปราชา
๒.ตอนกลาง คอื พระเจา้ เเปร
๓.ตอนเหนอื คือ พระเจา้ องั วะ
ฝ่ายอยุธยานั้นมีเรื่องที่ไม่เป็นใจเท่าใดนัก คือ สมเด็จพระมหาจักรพรรดิทรงพระประชวร เเละ
สวรรคต พระมหินทราธิราชก็ครองราชย์ มีเเม่ทัพหลกั เป็นกำลังสำคัญ คือ พระยาราม พระยากลาโหม พระยา
มหาเทพ
พมา่ เขา้ ตีทางด้านตะวนั ออกเเต่พระมหาเทพกย็ ังยันทัพไว้ได้ จนกระทงั่ ถึงเดือน ๕ หรอื เมษายน ก็ยัง
ตหี ักเอาเมอื งไม่ได้ ก็ประชุมพลอกี คร้งั พระมหาธรรมราชาเสนอวา่ อยธุ ยามีพระยารามเป็นเเม่ทัพหลักคนเดียว
จึงทำอุบายโดยที่ ให้คนนำสารมาให้พระวิสทุ ธิกษัตรียเ์ พ่ือขอตัวพระยาราม อ้างวา่ พระยารามเปน็ เหตุให้พ่ีน้อง
เเตกเเยกจนเกิดสงคราม จึงใส่ส่งพระยารามออกมา เเล้วจะเป็นไมตรีฝ่ายพระมหินทราธิราชประชุมเสนาบดี
เห็นว่าราษฎรเเละบ้านเมืองบอบช้ำมาก ควรทำตามเพื่ออย่าศึก จึงอาราธนาพระสังฆราชไปเจรจา เเละนำตัว
พระยารามไป เเต่พม่ากลับไม่ทำตามสัญญาจะเทครัวอยุธยาไปพม่าให้ได้ อยธุ ยาโกรธมาก เตรยี มการรบอย่าง
เเข็งขันประกอบกับพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชก็ยกทัพมาถึงเพชรบูรณ์เพื่อมาช่วยอยุธยา พม่าเองก็ไม่รู้จะตี
อยธุ ยายงั ไง จงึ วางอุบายอีกครั้ง ใหพ้ ระยารามไปเเจ้งเเก่พระเจ้าไชยเชษฐาเพื่อให้มาตีกระหนาบทัพพม่า ซ่ึงก็
ไม่ได้สงสัยอะไร ยกลงมาตามอุบายนั้น จนถึงเมืองสระบุรีก็ถูกพระมหาอุปราชาตีเเตกไป พม่าก็เข้าตีอยุธยา
ตามเดมิ เเตก่ ไ็ มส่ ำเร็จเพราะทหารอยธุ ยาจวนตัวจึงรว่ มใจกันสรู้ บ พม่าจึงใหพ้ ระมหาธรรมราชาเข้าเกล้ียกล่อม
ให้อยุธยายอมเเพ้ เเต่ถูกอยุธยาเอาปืนไล่ยิงกลับมา กระทั่งถึงเดือน ๗ หรือเดือนมิถุนายน ก็ยังตีไม่ได้เกรงว่า
จะถึงฤดูน้ำหลาก พระเจ้าบุเรงนองจึงวางอุบายครั้งที่ ๓ โดยให้พระยาจักรี( เเม่ทัพอยุธยาที่ถูกจับตัวไม่เมื่อ
สงครามช้างเผือกพร้อมกับพระราเมศวร)เข้ามาเป็นไส้ศึก ทำทีหนีจากพม่ามาได้ เข้ามาทางพระพระนครด้าน
วัดสบสวรรค์ อยุธยาก็หลงเชื่อ ให้พระยาจักรีบังคบั บัญชาการรบเเทนพระยาราม กระทำการหลายอย่าง เช่น
ใส่ร้ายพระศรีเสาวราช(อนุชาพระมหินท์)ว่าเปน็ กบฎจนถูกประหาร ย้ายเเม่ทัพที่เก่งกลา้ ไปอยู่ดา้ นที่ไม่สำคญั
จนอยุธยาอ่อนเเอ จากนั้นก็เปิดประตูให้พม่าจนเสียกรุงในวันอาทิตย์เดือน ๙ หรือสิงหาคม พ.ศ.๒๑๑๒ รวม
๙ เดอื น จบั เชลยไปพมา่ รวมทั้งพระมหนิ ท์ด้วย(สวรตคตระหวา่ งทาง) เหลือไว้เพยี ง ๑๐,๐๐๐ คน พร้อมทหาร
๓,๐๐๐ ตัง้ พระมหาธรรมราชาครองอยธุ ยาในฐานะประเทศราช พร้อมกบั การสถาปนาราชวงศส์ โุ ขทัย เมื่อวัน
ศุกร์ ขึ้น ๖ ค่ำ ปีมะเส็ง เดือน ๑๒ (ธันวาคม)พ.ศ.๒๑๑๒ส่วนใส้ศึกคือพระยาจักรีนั้น ได้เเต่งตั้งเป็นเจ้าเมือง
พิษณุโลกเเต่กลับขอไปอยพู่ มา่ กถ็ กู ประหารเพราะพระเจา้ บุเรงนองเกลียดคนทรยศบา้ นเมือง
สงครามครงั้ ท่ี ๕ สมเด็จพระนเรศวรมหาราชประกาศอสิ รภาพ
-เกดิ ขึน้ ในพ.ศ.๒๑๒๗
-ทเ่ี กดิ เหตุการณ์ : เมืองเเครง
-สมัยพระเจ้าหงสาวดนี ันทบุเรงเเหง่ พมา่ เเละสมเด็จพระมหาธรรมราชาเเหง่ อยุธยา
-เหตุการณ์ : ภายหลังจากการเสียกรุงคร้ังที่ ๑ เมื่อพ.ศ.๒๑๑๒ พระเจ้าบุเรงนองก็ตั้งสมเดจ็ พระมหา
ธรรมราชาขึ้นครองราชย์เป็นกษัตริย์ พร้อมกับการสถาปนาราชวงศ์สุโขทัยขึ้น บ้านเมืองครานั้นเสียหาย
ทรัพย์สินเเละกำลังคน ราษฎรที่เคยมีก็ถูกนำกลับไปอังวะเสียหมด มิหนำซ้ำเขมรซึ่งมีเมืองหลวงคือเมือง
ละเเวก ก็ยกทัพเข้ามาตีซ้ำเติม หวังจะได้ทรัพย์สินเงินทองไปบ้างเช่นเดียวกับพม่า พระยาละเเวกยกกำลัง
จำนวน ๑๐,๐๐๐ มาถงึ อยุธยา เเต่ก็ตีไม่ไดถ้ งึ ๒ ครัง้ กระน้ันเองอยธุ ยากม็ ิอาจทำอะไรละเเวกได้ เพียงเเต่สู้รบ
ในที่มั่นกำเเพงเมือง เพราะกำลังพลมีเพียงน้อยนิด เเต่เขมรก็สู้อยุธยาไม่ได้เช่นกัน จึงไม่ยกมาอีก เพียงกวาด
ต้อนเชลยตามหวั เมืองชายเเดนเทา่ นนั้ เเต่ศกึ ละเเวกนี้กลบั เป็นประโยชนใ์ หก้ ลับอยธุ ยาเสยี มากกว่า เนื่องจาก
จะสามารถเตรียมการรบ ปรับปรุงพระนคร เตรียมกำลังพลต่างๆ เเละเขมรตีเมืองชายเเดนทำให้ผู้คนอพยพ
เข้าราชธานี โดยอ้างว่าเตรียมรับศึกเขมร พม่าเองก็มิได้สงสัย กาปรับปรุงพระนครสมัยพระมหาธรรมราชามี
ดังนี้
-สัง่ ขุดขยายคูขือ่ หน้า :โดยคูข่อื หน้านีข้ ุดครัง้ เเรกในสมยั พระเจ้าอู่ทอง เเละครั้งท่ี ๒ ในสมัยนี้เอง โดย
ขยายให้ลึกเเละกว้างกว่าเดิม ตั้งเเต่วัดเเม่นางปลื้ม ซึ่งก็คือปากคลองคูเมืองในปัจจุบันไปจนถึงปากข้าวสาร
เพราะทางด้านคูขื่อหน้าทางด้านตะวันออกนี้ เเคบเเละตื้นทรงเห็นปัญหาในการสงครามรบกับพม่าคราวเสีย
กรงุ เเลว้ จึงเร่งเเก้ไข
-สร้างกำเเพงดา้ นทศิ ตะวันออก ขยายให้ถึงริมเเม่นำ้ ใหเ้ หมอื นดา้ นอ่ืนๆ ทีส่ ร้างในสมยั สมเดจ็ พระมหา
จักรพรรดิ
-สร้างป้อมมหาไชย มุมเมืองด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ปัจจุบันคือบริเวณตลาดหัวรอนั่นเอง จาก
พงศาวดารไทยรบพม่ากล่าวว่า " ป้อมตามเเนวกำเเพงกรุงเก่า ว่ามี ๑๖ ป้อมด้วยกันที่เป็นป้อมสำคัญมีอยู่ ๓
ป้อม คือ ป้อมเพชรตั้งตรงลำเเม่น้ำรักษาด้านใต้ป้อม ๑ ป้อมซัดกบ(น่าจะมีชื่ออื่น อยู่ที่โรงทหารเดี๋ยวนี้) ตั้ง
ตรงลำเเม่น้ำเเควหัวสะพาน รักษาทางด้านตะวันตกเฉียงเหนือป้อม ๑ สองป้อมนีมีมาเเต่ครั้งสมเด็จพระมหา
จกั รพรรดิ ป้อมมหาชยั ที่สร้างขึ้นใหม่สร้างตรงทางนำ้ รว่ มที่มุมเมืองดา้ นตะวนั ออกเฉยี งเหนือ " ซงึ่ ทัง้ ๑๖ ปอ้ ม
น้ปี จั จบุ นั เหลือรอ่ ยรอยใหเ้ หน็ เพยี ง ๒ ป้อมคือ ปอ้ มประตูข้าวเปลือกเเละป้อมเพชร
-หาอาวธุ ไพร่พล สัตว์พาหนะมาเพม่ิ ในพระนคร โดยอาวุธนสี้ งั่ จากพอ่ คา้ ต่างประเทศ
สมเด็จพระมหาธรรมราชาถวายพระสุพรรณกลั ยาเเลกกับตัวพระองค์ทถ่ี ูกนำไปเปน็ ตวั ประกันเมื่ออายุ ๙ ขวบ
อยู่หงสาวดี ๖ ปี ได้กลับอยุธยาเมื่อพระชันษา ๑๕ พรรษา เพื่อช่วยบ้านเมือง สถาปนาเป็นพระนเรศวร ตำ
เเหนง่ พระอุปราช ครองเมืองพษิ ณโุ ลก บัญชาการหัวเมืองเหนือทั้ง ๗ เมอื ง คอื
๑.พิษณุโลก(สองเเคว)
๒.พจิ ิตร(สระหลวงหรอื โอฆบรุ ี)
๓.สโุ ขทยั
๔.สวรรคโลก(เชลยี งหรือศรีสชั นาลัย)
๕.พชิ ัย(ทุง่ ยง้ั บางโพธ์ิ)
๖.กำเเพงเพชร(ชากงั ราวหรอื นครชุม)
๗.นครสวรรค์(พระบาง)
พระนเรศวรนับเป็นพระอุปราชพระองค์สุดท้ายที่ได้ไปครองพิษณุโลก อธิบายความประเพณีการส่ง
อุปราชไปครองพิษณุโลกดังนี้ หลังจากสมเด็จพระบรมราชาธริ าชท่ี ๑ ได้เมืองสโุ ขทัยเปน็ เมืองประเทศราชครั้ง
เเรก ตรงกับสมเด็จพระมหาธรรมราชาที่ ๒ ในพ.ศ.๑๙๒๑ จึงเเยกเมืองเหนือทางลำน้ำปิง เป็นอีก ๑ เขต
สุโขทัยจงึ ยา้ ยราชธานไี ปอยพู่ ิษณุโลก อุปราชอยุธยาท่ีเมืองพษิ ณุโลกมดี ังนี้
๑.สมเด็จพระราเมศวร(พระบรมไตรโลกนาถ) : หลังจากสมเด็จพระมหาธรรมราชาที่ ๔ แห่งกรุง
สุโขทยั สวรรคต สมเดจ็ พระเจา้ สามพระยา จงึ ส่งพระราเมศวร(พระบรมไตรโลกนาถ)ไปครองพิษณุโลก เพื่อคุม
เมอื งเหนอื รวมเมอื งเหนอื เปน็ ๑ อย่างเดมิ นับเป็นครง้ั เเรกทส่ี ง่ อุปราชไปพษิ ณโุ ลก
๒.สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒ : เมื่อพระบรมไตรโลกนาถได้ครองราชย์ ก็ไม่ได้ส่งใครไปครองเมือง
พิษณุโลก ทำให้พิษณุโลกเป็นเพียงหัวเมืองชั้นใน ต่อมาพระยายุทธิศฐิระ เจ้าเมืองเชลียง(สวรรคโลก) ไป
สวามิภักดิ์กับพระเจ้าติโลกราชเเห่งลา้ นนา ยกทัพมาตีหัวเมืองเหนือ ได้เมืองสวรรคโลก สุโขทัย กำเเพงเพชร
ทำให้พระบรมไตรโลกนาถต้องย้ายราชธานีไปอยู่พิษณุโลก เพื่อป้องกันศึกทางเหนือ เเล้วให้พระบรม
ราชาธิราชที่ ๓ ครองอยุธยาในฐานะเมืองอุปราชขึ้นต่อพิษณุโลก เมื่อพระองค์ครองพิษณุโลกก็สถาปนา
สมเด็จพระเชษฐา(พระรามาธบิ ดีที่ ๒) เป็นพระอุปราชเมอื งพิษณุโลก