The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กลุ่ม 3 โรงซ่อมบำรุง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Sayachonthon Khamphangkun, 2024-02-21 09:50:39

กลุ่ม 3 โรงซ่อมบำรุง

กลุ่ม 3 โรงซ่อมบำรุง

รายงาน การซ่อมบำรุงและความปลอดภัยทางราง กรณีศึกษาโรงซ่อมบำรุง (Depot) เสนอ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.กุณฑล ทองศรี จัดทำโดย นายธีรัตม์ วิถีธรรมศักดิ์ รหัสนักศึกษา 116630403003-2 นายพงศธร ไวยศรณ์ รหัสนักศึกษา 116630403012-3 นายชาติตระการ จำรัสศรี รหัสนักศึกษา 116630403018-0 นายศยชลธรห์ คำแพงกูร รหัสนักศึกษา 116630403024-8 นายภานุพงศ์ สมพริ้งโชติ รหัสนักศึกษา 116630403038-8 รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา 04320101 Railway Maintenance and safety ห้องเรียน 66343RWE ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 Word Word PDF E-book Powepoint PowepointPDF


ก ค ำน ำ รายงานฉบับ นี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา การซ่อมบ ารุงและความปลอดภัยทางราง รหัส วิชา 04320101( Railway Maintenance and Safety ) การค้นคว้าและเขียนรายงานมีเนื้อหา เกี่ยวกับเพิ่ม ประสิทธิภาพการบ ารุงรักษา ระบบราง PM และ CM ในเรื่องโรงซ่อมบ ารุงและยัง มีเนื้อหาข้อมูลเกี่ยวกับความ เป็นมา ความหมาย วัตถุประสงค์ ของการบ ารุงรักษาระบบ ราง ประเภท ชนิด งานวิจัย ฯลฯ ของการบ ารุงรักษาระบบรางโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาค้นคว้า น าความรู้ไปใช้ในการเรียนการสอนได้และสามารถ น าไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ ผู้จัดท าไปศึกษาค้นคว้า รวบรวมและเรียบเรียงออกมาเป็นรายงานเล่มนี้ ซึ่งผู้จัดท าหวัง เป็นอย่างยิ่งว่า รายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจและผู้ที่น าไปใช้ให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตาม ความคาดหวังหากว่าโครงงาน เล่มนี้มีสิ่งผิดพลาดประการใดก็ตาม ผู้จัดท าก็ขออภัยไว้ ณ ที่นี้ ด้วยและจะน าปัญหาที่ได้รับไปปรับปรุง แก้ไข เปลี่ยนแปลงและพัฒนาโครงงานให้ดียิ่งขึ้นในครั้ง ต่อไป คณะผู้จัดท า


ข สำรบัญ หน้ำ ค ำน ำ ก สำรบัญ ข สำรบัญภำพ จ สำรบัญตำรำง ญ บทที่ 1 บทน ำ 1.1 ความเป็นมา 1 1.2 ความหมาย 1 1.3 ความส าคัญ 3 1.4 ขอบเขตของรายงาน 3 1.5 การด าเนินการ 4 1.6 วัตถุประสงค์ 4 1.7 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการศึกษาหรือวิจัย 5 บทที่ 2 ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 2.1 ประเภทของการบ ารุงรักษา 6 2.2 งานซ่อมบ ารุงระบบไฟฟ้าเครื่องกล 6 2.3 การบริหารการซ่อมบ ารุง 7 2.4 เครื่องมือที่ใช้ในโรงซ่อมบ ารุง 12 2.5 ข้อจ ากัดของวิวัฒนาการการซ่อมบ ารุงรักษา 12 2.6 ประเภทของการบ ารุงรักษาระบบราง 16 2.7 ชนิดของการบ ารุงรักษาระบบราง 21 2.8 ตัวอย่างโรงศูนย์ซ่อมบ ารุงรถไฟฟ้าสายสีเหลือง 25 2.9 ภาพรวมของโรงซ่อมบ ารุง 90 2.10 ปัจจัยหลักในการออกแบบโรงซ่อมบ ารุง 91 2.11 องค์ประกอบหลักของโรงซ่อมบ ารุง 91


ค สำรบัญ(ต่อ) หน้ำ 2.12 การคัดเลือกที่ตั้งและขนาดพื้นที่ของศูนย์ซ่อมบ ารุงและอาคารจอดแล้วจร 92 2.13 ก าหนดการตรวจเช็คและการซ่อมบ ารุง 93 2.14กิจกรรมที่ท าในโรงซ่อมบ ารุง 94 2.15 เครื่องมือและอุปกรณ์ในโรงซ่อมบ ารุง 103 2.16 สรุปทฤษฎีและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 110 บทที่ 3 วิธีกำรดำ เนินงำน 3.1 การเพิ่มประสิทธิภาพของรางด้วยระบบเชิงป้องกัน 114 3.2 ส่วนประกอบโครงสร้างระบบรองรับรางรถไฟ 117 3.3 ทางรถไฟแบบใช้หินโรยทางและไม่ใช้หินโรยทาง 117 3.4 ประแจรถไฟ 122 3.5 เขตบรรทุกและเขตโครงสร้าง 124 3.6 ลักษณะของงานในแผนกตัวรถไฟ 126 3.7 การปฏิบัติงานการบ ารุงรักษามอเตอร์ไฟฟ้ารถไฟฟ้า 126 3.8 รอบการบ ารุงรักษามอเตอร์ในระยะเวลา 6 เดือน 127 3.9 วงรอบการบ ารุงรักษามอเตอร์ในระยะเวลา 1 ปี 127 3.10 การปฏิบัติงานการบ ารุงรักษาอินเวอร์เตอร์ 129 3.11 การท าวาระรถจักร ALSTHOM ระบบไฟฟ้า 130 3.12 การวางแผนงาน Preventive Maintenance (PM) 131 3.13 ชนิดของงาน Preventive Maintenance (PM) 131 3.14 ประเภทของการบ ารุงรักษาเชิงป้ องกัน Preventive Maintenance (PM) 132 3.15 การบ ารุงรักษาระบบรางด้วยวิธี Preventive Maintenance System 133 3.16 ค าแนะน าการแก้ไขรถจักร HID 134 3.17 การบ ารุงระบบรางด้วยระบบ Configuration Management Team CM 135 3.18 หน้าที่ของ Configuration Management 135


ง สำรบัญ(ต่อ) หน้ำ 3.19 ประเภทของ Configuration Management 136 3.20 ประโยชน์และขอบเขตงานของโครงการปรับปรุงทาง 137 3.21 การศึกษา ออกแบบและด าเนินโครงการ 138 3.22 การวางแผนและการศึกษาความเหมาะสม 138 3.23การวางแผน 138 3.24 การศึกษาความเหมาะสม (Feasibility Study) ส าหรับรถไฟ 139 บทที่ 4 ผลกำรดำ เนินงำน 4.1 วิธีการซ่อมบ ารุง 143 4.2 Preventive Maintenance (PM) 143 4.3 Corrective Maintenance (CM) 146 4.4 องค์ประกอบการซ่อมบ ารุงที่มีประสิทธิภาพ 148 4.5 การบ ารุงรักษารถไฟ 149 4.6 บริเวณโรงพักรถไฟ 157 บทที่ 5 สรุปและข้อเสนอแนะ 5.1 บทสรุป 163 5.2 ข้อเสนอแนะ 164 บรรณำนุกรม ภำคผนวก


จ สำรบัญภำพ หน้ำ ภาพที่ 2.1 แปดเสาหลัก TPM 16 ภาพที่ 2.2 องค์ประกอบของทางแบบชนิดหินโรยทาง 16 ภาพที่ 2.3 การออกแบบความสามารถการรับน ้าหนักของ 17 ภาพที่ 2.4 การถ่ายน ้าหนัก 17 ภาพที่ 2.5 การวัดค่าความคลาดเคลื่อนระดับตามยาวและแนวรางการวัดด้วย Track Geometry 18 ภาพที่ 2.6 การวัดด้วย Track Geometry Measurement Trolley 18 ภาพที่ 2.7 การวัดด้วยรถตรวจสภาพทาง ตท.2 (EM120 N) 19 ภาพที่ 2.8 รางลึกและแผลสันราง 19 ภาพที่ 2.9 ตรวจพื้นทางและความสกปรกของหินโรย 19 ภาพที่ 2.10 ขนาดทาง (Gauge) 20 ภาพที่ 2.11 ระดับตามยาว (Longitudinal level หรือ Surface) 20 ภาพที่ 2.12 แนวราง (Alignment) 20 ภาพที่ 2.13 ระดับตามขวาง (Cross level) 21 ภาพที่ 2.14 ค่าทวิสต์ (Twist) 21 ภาพที่ 2.15 ภาพประกอบจากโรงรถจักรดีเซลบางซื่อ 21 ภาพที่ 2.16 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างระยะเวลาใช้งานกับอัตราการขัดข้อง 23 ภาพที่ 2.17 แผนผังถนนที่ใช้ในการสัญจรภายในพื้นที่ศูนย์ซ่อมบ ารุง 27 ภาพที่ 2.18 แผนผังศูนย์ซ่อมบ ารุงบริเวณทางแยกต่างระดับศรีเอี่ยม 30 ภาพที่ 2.19 รายละเอียดของอาคารภายในศูนย์ซ่อมบ ารุง (1/16) 31 ภาพที่ 2.20 รายละเอียดของอาคารภายในศูนย์ซ่อมบ ารุง (2/16) 32 ภาพที่ 2.21 รายละเอียดของอาคารภายในศูนย์ซ่อมบ ารุง (3/16) 33 ภาพที่ 2.22 รายละเอียดของอาคารภายในศูนย์ซ่อมบ ารุง (4/16) 34 ภาพที่ 2.23 รายละเอียดของอาคารภายในศูนย์ซ่อมบ ารุง (5/16) 35 ภาพที่ 2.24 รายละเอียดของอาคารภายในศูนย์ซ่อมบ ารุง (6/16) 36


ฉ สำรบัญภำพ(ต่อ) หน้ำ ภาพที่ 2.25 รายละเอียดของอาคารภายในศูนย์ซ่อมบ ารุง (7/16) 37 ภาพที่ 2.26 รายละเอียดของอาคารภายในศูนย์ซ่อมบ ารุง (8/16) 38 ภาพที่ 2.27 รายละเอียดของอาคารภายในศูนย์ซ่อมบ ารุง (9/16) 39 ภาพที่ 2.28 รายละเอียดของอาคารภายในศูนย์ซ่อมบ ารุง (10/16) 40 ภาพที่ 2.29 รายละเอียดของอาคารภายในศูนย์ซ่อมบ ารุง (11/16) 41 ภาพที่ 2.30 รายละเอียดของอาคารภายในศูนย์ซ่อมบ ารุง (12/16) 42 ภาพที่ 2.31 รายละเอียดของอาคารภายในศูนย์ซ่อมบ ารุง (13/16) 43 ภาพที่ 2.32 รายละเอียดของอาคารภายในศูนย์ซ่อมบ ารุง (14/16) 44 ภาพที่ 2.33 รายละเอียดของอาคารภายในศูนย์ซ่อมบ ารุง (15/16) 45 ภาพที่ 2.34 รายละเอียดของอาคารภายในศูนย์ซ่อมบ ารุง (16/16) 46 ภาพที่ 2.36 แผนผังโรงซ่อมบ ารุงหลัก (Main Workshop) 47 ภาพที่ 2.37 ลักษณะภายในโรงซ่อมบ ารุงหลัก (Main Workshop) 48 ภาพที่ 2.38 รูปแบบขั้นตอนการหมุนและยกขึ้นยกลงของคานรางของระบบ Monorail 50 ภาพที่ 2.39 เครื่องมือตรวจวินิจฉัยล้อและเปลี่ยนยางล้อ 50 ภาพที่ 2.40 สภาพภายในของโรงวินิจฉัยยางล้อ 51 ภาพที่ 2.41 ลักษณะอาคารโรงซ่อมบ ารุงทางรถไฟฟ้า 52 ภาพที่ 2.42 ตัวอย่างกรณี Switching ที่ควบรวม 3, 4 และ 5 52 ภาพที่ 2.43 ตัวอย่างกรณี Switching ที่ควบรวม 4 เส้นทางเป็นเส้นทางเดียว 53 ภาพที่ 2.44 ลักษณะโรงจอดรถไฟฟ้า (Stabling Yard) 53 ภาพที่ 2.45 ลานจอดรถไฟฟ้า 54 ภาพที่ 2.46 ลักษณะโรงล้างรถไฟฟ้า (Train Washing Plant) 56 ภาพที่ 2.47 ตัวอย่างสถานีไฟฟ้าย่อย (Substation Building) 56 ภาพที่ 2.48 สรุปปริมาณการใช้น ้าเพื่อกิจกรรมต่าง ๆ ภายในศูนย์ซ่อมบ ารุง 61 ภาพที่ 2.49 สรุปปริมาณน ้าเสียจากกิจกรรมต่างๆ ภายในศูนย์ซ่อมบ ารุง 64


ช สำรบัญภำพ(ต่อ) หน้ำ ภาพที่ 2.50 บ่อพักน ้าทิ้งบริเวณโรงซ่อมบ ารุงหลักและโรงจอดรถไฟฟ้าภายในชั้นที่ 1 65 ภาพที่ 2.51 บ่อพักน ้าทิ้งบริเวณศูนย์ควบคุมการเดินรถและอาคารบริหารภายในชั้นที่ 1 66 ภาพที่ 2.52 สรุปปริมาณขยะมูลฝอยจากกิจกรรมต่างๆ ภายในศูนย์ซ่อมบ ารุง 69 ภาพที่ 2.53 ต าแหน่งอาคารเก็บของเสียอันตรายบริเวณศูนย์ซ่อมบ ารุง 71 ภาพที่ 2.54 ต าแหน่งที่ตั้งศูนย์ซ่อมบ ารุงของโครงการรถไฟฟ้าสายสีเหลือง ช่วงลาดพร้าว –ส าโรง 76 ภาพที่ 2.55 แปลนแสดงต าแหน่งส ารวจ และรูปตัดทางน ้า 76 ภาพที่ 2.56 รูปตัดคลองดินเดิม 77 ภาพที่ 2.57 รูปตัดคลองดาดใหม่ 79 ภาพที่ 2.58 แผนภาพทิศทางการไหลของการระบายน ้าลงสู่บ่อหน่วงน ้า 82 ภาพที่ 2.59 การตรวจสอบรถไฟ 99 ภาพที่ 2.60 ห้องเก็บอะไหล่ 99 ภาพที่ 2.62 จุดซ่อมบ ารุงหลักตัวโบกี้รถไฟ 100 ภาพที่ 2.63 จุดยกเครื่อง 100 ภาพที่ 2.64 พื้นที่บริเวณซ่อมบ ารุงตัวโบกี้รถไฟ 101 ภาพที่ 2.65 ทางในโรงซ่อมบ ารุง 101 ภาพที่ 2.66 จุดท าความสะอาดรถไฟ 102 ภาพที่ 2.67 จุดใช้ทดสอบประสิทธิภาพจริงและจุดตรวจสอบและการ ทดสอบการเบรก 102 ภาพที่ 3.1 หมอนไม้ 115 ภาพที่ 3.2 หมอนคอนกรีตอัดแรง 116 ภาพที่ 3.3 หมอนเหล็กกล้า 117 ภาพที่ 3.4 โครงสร้างทางรถไฟ 119 ภาพที่ 3.5 ตัวอย่างรางรถไฟที่ใช้หินโรยทาง 121 ภาพที่ 3.6 ตัวอย่างรางรถไฟที่ไม่ใช้หินโรยทาง 121 ภาพที่ 3.7 ส่วนประกอบที่ส าคัญของประแจ 122


ซ สำรบัญภำพ(ต่อ) หน้ำ ภาพที่ 3.8 ประแจรถไฟความเร็วสูง 122 ภาพที่ 3.9 รางลิ้นประแจ 123 ภาพที่ 3.10 ตะเฆ่ 124 ภาพที่ 3.11 รางกัน 124 ภาพที่ 3.12 เขตโครงสร้างและเขตบรรทุกของทางรถไฟ 125 ภาพที่ 3.13 การตรวจหาความคลาดเคลื่อน 125 ภาพที่ 3.14 รถล้างหิน 125 ภาพที่ 3.15 รถตรวจทาง 126 ภาพที่ 3.16 การใช้โปรแกรมตรวจสอบเพื่อหาความผิดปกติ 126 ภาพที่ 3.17 ชิ้นส่วนของมอเตอร์ในการซ่อมบ ารุง 123 ภาพที่ 3.18 การท าวาระรถจักร ALSHOM ระบบไฟฟ้า 131 ภาพที่ 3.19 After Cooler รถจักร HID 133 ภาพที่ 3.20 Turbo รถจักร HID 133 ภาพที่ 3.21 กรองอากาศ Air Filter รถจักร HID 133 ภาพที่ 3.22 กรอง Full Flow รถจักร HID 134 ภาพที่ 3.23 เปรียบเทียบความสามารถในการรับน ้าหนักของทางรถไฟ 137 ภาพที่ 4.1 ความส าคัญของการท า Preventive Maintenance (PM) 145 ภาพที่ 4.2 องค์ประกอบของการซ่อมบ ารุงเชิงป้องกัน 146 ภาพที่ 4.3 ข้อดีCorrective Maintenance (CM) 146 ภาพที่ 4.4 องค์ประกอบของการซ่อมบ ารุงเชิงแก้ไขป้องกัน 148 ภาพที่ 4.5 กระบวนการตัดสินใจรูปแบบการซ่อมบ ารุงอุปกรณ์และชิ้นส่วนต่างๆในระบบรถไฟฟ้า 149 ภาพที่ 4.6 ไดอะแกรมนี้แสดงเลย์เอาต์ส าหรับ Depot 150 ภาพที่ 4.7 ตัวอย่างเครื่องกลึงล้อ 151 ภาพที่ 4.8 โรงตรวจสอบของ Siemens 152


ฌ สำรบัญภำพ(ต่อ) หน้ำ ภาพที่ 4.9 เครนเหนือศีรษะคู่หนึ่งก าลังยกตัวถังรถในโรงงานลูกล้อ เมื่อใช้เครนเหนือศีรษะ 153 ภาพที่ 4.10 แม่แรงยกพื้น 154 ภาพที่ 4.11 โปรแกรมบ ารุงรักษา 155 ภาพที่ 4.12 เค้าโครงพื้นที่สถานีรถไฟทั่วไป 157 ภาพที่ 4.13 ลานรถไฟ 158 ภาพที่ 4.14 โรงงานล้างรถไฟ 159 ภาพที่ 4.15 แทร็กทดสอบ 160 ภาพที่ 4.16 ศูนย์ควบคุมการปฏิบัติการและศูนย์ควบคุมคลัง 160 ภาพที่ 4.17 โรงซ่อมบ ารุง 161 ภาพที่ 4.18 เครื่องกลึงล้อใต้พื้น 162 ภาพที่ 4.19 พื้นที่จัดส่งรถ 162


ญ สำรบัญตำรำง หน้ำ ตารางที่ 2.1 พนักงานประจ าศูนย์ซ่อมบ ารุงและพนักงานขับรถไฟฟ้า 58 ตารางที่ 2.2 ปริมาณน ้าเสียจากกิจกรรมศูนย์ซ่อมบ ารุง 62 ตารางที่ 2.3 แสดงปริมาณฝน (มม.) และความเข้มของฝน (มม./ชม.) 80 ตารางที่ 2.4 แสดงอัตราการไหลนองและปริมาณหน่วงน ้าช่วงก่อนพัฒนาโครงการ 81 ตารางที่ 2.5 แสดงอัตราการไหลนองและปริมาณหน่วงน ้าช่วงหลังพัฒนาโครงการ 81 ตารางที่ 2.6 ตัวอย่างพื้นที่ส่วนต่างๆ ของโรงซ่อมบ ารุง 92 ตารางที่ 2.7 ตัวอย่างการตรวจสอบอุปกรณ์ต่างๆในระบบรถไฟฟ้าทุกสัปดาห์และทุกเดือน 94 ตารางที่ 2.8 ตัวอย่างการตรวจสอบอุปกรณ์ต่างๆในระบบรถไฟฟ้าทุก 3 เดือน (กลุ่มที่ 1) 95 ตารางที่ 2.9 ตัวอย่างการตรวจสอบอุปกรณ์ต่างๆในระบบรถไฟฟ้าทุก 3 เดือน (กลุ่มที่ 2) 96 ตารางที่ 2.10 ตัวอย่างการตรวจสอบอุปกรณ์ต่างๆในระบบรถไฟฟ้าทุก 6 เดือน (กลุ่มที่ 1) 97 ตารางที่ 2.11 ตัวอย่างการตรวจสอบอุปกรณ์ต่างๆในระบบรถไฟฟ้าทุก 6 เดือน (กลุ่มที่ 2) 98 ตารางที่ 2.12 แสดงอุปกรณ์ที่จ าเป็นในสถานีรถไฟ 103


1 บทที่ 1 บทนำ 1.1 ความเปนมา ในปจจุบันระบบการขนสงมวลชนทางบก นับวาเปนรูปแบบการขนสงมวลชนที่ไดรับความนิยม คอนขางสูง เมื่อเปรียบเทียบกับ ระบบการขนสงมวลชนประเภทอื่นๆและระบบการขนสงมวลชนทางบกที่ สามารถขนสงผูโดยสารไดเปนจำนวนมากในระยะเวลาอันสั้นมีหลายรูปแบบในที่นี้จะกลาวถึงการเดินทาง ทาง รถไฟ ซึ่งไมเพียงแตโครงสรางทางรถไฟเทานั้นที่ตองการการซอมบำรุงในสวนของขบวนรถไฟระบบ ตางๆ ภายในขบวนรถไฟทั้งหมดกระทั่งลอเพลาเปนตน แนวคิดในการออกแบบกลุมอาคารศูนยซอมบํารุงและอาคารจอดรถคือการใชแสงธรรมชาติและ การระบายลมเนื่องจากเปนอาคารที่มีชวงกวางและความสูงคอนขางมากการระบายลมและแสงธรรมชาติ จึงมาจากบริเวณหลังคา สวนศูนยควบคุมการเดินรถ (Operation Control Centre, OCC) ใชในการ ควบคุมการเดิน รถทั้งหมดจึงตองคำนึงถึงความปลอดภัย ตองมีการควบคุม จํากัดการเขาออก ใน ขณะเดียวกันหองควบคุมหลัก เปนหองที่มีผูสนใจในการเยี่ยมชมสูง จึงตองจัดหองเยี่ยมชมที่สามารถทำได โดยไมรบกวนการทำงานของ เจาหนาที่ โดยทั่วไปแลว โรงซอมบำรุงของระบบรถไฟฟาขนสงมวลจะทำหนาที่หลัก 2 อยางคือ เปนสถานที่ สำหรับจอดรถ (stabling yard) และเปนสถานที่สำหรับซอมบำรุงระบบรถไฟฟา (maintenance facility) ทั้งหมด นอกจากนี้ในบริเวณโรงซอมบำรุงยังอาจเปนที่ตั้งของศูนยควบคุมการเดินรถจากศูนยกลาง (Centralized Traffic Control) โดยปกติแลว ชวงเวลาในการซอมบำรุงรถไฟฟาจะมีจำกัดเนื่องจากรูปแบบ การใหบริการ สำหรับชวงเวลาในการซอมบำรุง (maintenance window) นั้นจะมีประมาณ 4-5 ชม. ขึ้นอยู กับชวงเวลาการเปดและการปดการใหบริการ 1.2 ความหมาย โรงซอมบำรุงถือเปนสวนสำคัญมากๆ หากขาดการบำรุงรักษาการซอมแซมที่มีประสิทธิภาพที่ดี แลว เครื่องจักรตางๆ อาจจะเสียบอยๆ หรืออาจจะพังขนาดที่วา ไมสามารถเดินเครื่องจักรตอไดโดยปกติ ถาพูดถึง โรงซอมบำรุง หลักการทำงานคือ การถอด การรื้อ เปลี่ยนอะไหลดานใน แลวประกอบกลับมาใช ใหเหมือนเดิม และบำรุงรักษาทำกิจกรรมตางๆ เกี่ยวกับเครื่องจักร ตามรอบ และแผนที่กำหนด เพื่อยืด อายุการใชงาน ความ มั่นใจ และประสิทธิภาพในเครื่องจักร


2 งานบำรุงรักษาสามารถแบงไดเปน 3 ประเภทหลักๆ 1) Reactive maintenance หรือ การซอมบำรุงเชิงรับ เปนประเภทงานซอมในแบบเชิงรับซึ่ง ความหมายของงานซอมชนิดนี้จริงๆ คือ การรอรับมือกับเครื่องจักรที่พังเขามาในทุกๆวัน โดยหลักการของ งานซอมบำรุงประเภทนี้คือใชงานเครื่องจักรจนเครื่องจักรพัง (Run to fail) แลวหลังจากนั้นคอยซอม กลับมาใหใชไดใหมดังนั้นชางซอมในโรงงานก็คอยรับมือกับเครื่องจักร พังในทุกๆวัน ทางทีมซอมก็จะมี หนาที่เขาไปแกไขปญหานั้นใหเสร็จสิ้นเพื่อที่จะทำใหการผลิตสามารถเดินไปตอ ได โดยประเภทงานซอมที่ เขาไปแกไขเครื่องจักรที่พังอยู ใหกลับมาใชงานได เราจะเรียกวา CM หรือ Corrective Maintenance หรือ บางที่จะใชคำวา BM (ไมเปนที่นิยมเรียกแลว) หรือ Break down maintenance ซึ่งสวนใหญเครื่องจักร เสียหายอยูแลว (ฺBreak down) ถาเปนแบบนี้ทางทีมซอมตองรีบหยิบ ประแจเขาไปแกไขใหเร็วที่สุด 2) Preventive Maintenance หรือ การบำรุงรักษาเชิงปองโดยความหมายคือ เปนการซอมบำรุง เชิง ปองกัน โดยจะเขาไปทำกิจกรรมงานซอมตางๆเพื่อปองกันไมใหเครื่องจักรพัง โดยที่ไมไดวางแผนเอาไว โดยใน ยุคโรงงานแรกๆ โรงงานก็จะเปนแบบแรกคือ Reactive maintenance โดยจะเดินเครื่องจักรไป เรื่อยๆจนมัน พัง พอเครื่องจักรพังเสร็จก็รีบไปซอม พอซอมเสร็จก็กลับไปใช และวนลูปแบบนี้ไปเรื่อยๆ แต “เวลาเราปลอย เครื่องจักรพังเลย คาซอมมันจะแพงกวาที่เรารีบซอมกอนที่มันจะพัง” และเรื่อง ประสิทธิภาพเวลาเราซอม กอนที่มันจะพัง ประสิทธิภาพก็จะดีกวา เพราะวาชิ้นสวนดานในเครื่องจักรที่ สำคัญยังไมพังเสียหายมากเวลา เรารีบเขาไปซอมกอน ดังนั้นโรงงานจึงวางแผนซอม และบำรุง กอนที่เครื่องจักรตัวนั้นจะพัง เพราะตนทุนงาน บำรุงรักษา ความนาเชื่อถือ และประสิทธิภาพของตัวเครื่องจักรในโรงงานจะดีกวา โดยจะกำหนดเวลาที่ เหมาะสมเขาไป บำรุงรักษา และซอม ยกตัวอยางเชนมีปม 1 ตัว เราอาจจะกำหนดแผน การเปลี่ยนถาย น้ำมันทุก 6เดือน และ ถอดออกมาซอม (Overhaul) ทุกๆ 4 ปเปนตน 3) Proactive maintenance หรือ การบำรุงเชิงรุกเรียกไดวาเปนที่สุดในการกำหนดกลยุทธใน การซอม และบำรุงรักษา (บนสุดของยอดพีระมิดงานซอม) ซึ่งจะเปนการผสมผสานงานซอมทั้งในแบบ Reactive maintenance และ Preventive maintenance โดยใชศาสตรในการคาดการณ Predictive Maintenance และ Condition base monitoring มากำหนดชวงเวลาเหมาะสมที่สุดในการเขาไปซอม เพื่อลดตนทุนงาน ซอมใหมากที่สุดโดย Proactive maintenance จะเขาไปจัดการถึงตนตอของปญหา เครื่องจักรจริงๆ (Root cause of machine failure) เพราะในหลายๆโรงงานจะมีเครื่องจักรบางตัวพัง บอยๆ ปนึงหลายๆครั้ง หรือที่ เราเรียกวา Bad actor ซึ่งการเสียหายบอยๆ อาจจะเกิดตั้งแตการทำ engineering และการออกแบบไม เหมาะสมตั้งแตแรกทำใหซอมเทาไหรก็ไมหาย เปนตน หรือการเขาไป


3 วัดคุณภาพของเครื่องจักร ณ เวลานั้น จริงๆ วาถึงเวลาสมควรแลวรึยังที่ตองซอม หรือที่เรียกวา CBM หรือ Condition Base Monitoring เชน งานวัด Vibration monitoring เปนตน ซึ่งรวมไปถึงการเก็บขอมูลตางๆ ในงานซอม ไมวาจะเปนอายุใชงานเครื่องจักร เวลางานซอม คา ซอม ตางๆ เพื่อมาใชวิเคราะหเชิงสถิติ ในระบบคอมพิวเตอร หรือ ระบบ CMMS (Computerized Maintenance Management System) เพื่อนำมากำหนดกลยุทธ และวิเคราะหปญหางานซอมโดยองค รวม ดังนั้นจะเห็นไดวา การบริหาร และจัดการงานซอมจะสงผลกระทบโดยตรงกับการผลิต และ ตนทุนของ โรงงานโดยตรง 1.3 ความสำคัญ การซอมบำรุง ถือวาเปนสิ่งหนึ่งที่มีความสำคัญตอกลุมโรงงานอุตสาหกรรมทุกรูปแบบ เนื่องจาก การ ซอมบำรุงนั้น สามารถชวยลดอันตรายที่จะเกิดจากการใชเครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ หรือแมแต อาคาร สถานที่ที่ชำรุด หรือขาดการดูแลรักษาที่ดี ความสำคัญของการซอมบำรุงซึ่งมีดังนี้ 1. ลดโอกาสเกิดอุบัติเหตุในการทำงาน 2. ลดการเสื่อมสภาพของวัสดุ 3. ลดคาใชจาย 4. เพื่อความปลอดภัย 5. เพื่อใหทำงานไดอยางมีประสิทธิผล 1.4 ขอบเขต การทำรายงานเลมนี้มุงศึกษาเกี่ยวกับการเพิ่มประสิทธิภาพการบำรุงรักษาระบบราง เรื่อง โรงซอม บำรุง (Depot Workshop Equipment) ปจจัยสำคัญที่ควรนำมาพิจารณากำหนดขอบเขตของสวนโรงซอม บำรุง ประกอบดวยเรื่องดังตอปนี้ 1. การสนับสนุนเครื่องมือ เครื่องจักรสำหรับการซอมบำรุงรถไฟ 2. กระตุนใหเกิดบริการที่ดีมีสุขภาพ 3. ตระหนักถึงความรูประสบการณของพนักงานซอมบำรุงอยางหลากหลาย


4 1.5การดำเนินการ การดำเนินการเปนงานหรือกิจกรรมที่กำหนดขึ้น เปนขั้นตอนตามลำดับกอนหลังเพื่อใชปฏิบัติให บรรลุ ตามวัตถุประสงค วิธีการดำเนินการศึกษาการเพิ่มประสิทธิภาพการบำรุงรักษาระบบราง เรื่อง โรง ซอมบำรุง (Depot Workshop Equipment) มีขั้นตอนดังนี้ 1. ประชุมปรึกษาหารือ เสนอความความคิดเห็นกับสมาชิกในกลุม 2. แบงหนาที่ของสมาชิกในกลุมและหาขอมูลในการดำเนินการ 3. รวบรวมขอมูลที่ไดจากการศึกษาคนควานำมาวิเคราะหและเลือกใชสวนที่สำคัญ 4. เขียนเคาโครงรายงาน 5. จัดทำรายงาน 6. สรางสื่อการเรียนรูอิเล็กทรอนิกส (E-book) ดวย PDF 7. ทำคลิป Power Point 8. นำเสนองาน 1.6วัตถุประสงค 1.เพื่อศึกษาหาความรูเกี่ยวกับโรงซอมบำรุง (Depot Workshop Equipment) 2.เพื่อเปนสวนหนึ่งในการประเมินผลวานักศึกษามีความรูความเขาใจในเรื่องโรงซอมบำรุง (Depot Workshop Equipment) ที่ไดศึกษามามากนอยเพียงใด 3.เพื่อนำขอมูลที่ศึกษาหาความรูไดไปพัฒนาตอยอดทักษะการทำงานในอนาคต 4.เพื่อใหสามารถวิเคราะหเรื่องราวที่เกี่ยวของกับโรงซอมบำรุง (Depot Workshop Equipment) ตลอดจนสามารถแสดงความคิดเห็นอยางมีเหตุผลโดยมีหลักฐานอางอิง 5.เพื่อใชเปนสื่อการเรียนการสอนใหแกนักศึกษาและเกิดความรูความเขาใจในเรื่องโรงซอมบำรุง (Depot Workshop Equipment) อยางถูกตอง


5 1.7 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับจากการศึกษาหรือวิจัย 1. ไดรับความรูเกี่ยวกับโรงซอมบำรุง (Depot Workshop Equipment) 2.ไดแนวทางในการลดความเสี่ยงในงานซอมบำรุงสามารถชวยลดอันตรายที่จะเกิดขึ้นไดอยางมี ประสิทธิผล 3. ตอบคำถามที่ยังคลุมเครือใหกระจางชัดยิ่งขึ้น 4. ชวยกระตุนบุคคลใหมีเหตุผล รูจักคิด และคนควาหาความรูอยูเสมอ 5.สามารถวิเคราะหเรื่องราวที่เกี่ยวของกับโรงซอมบำรุง (Depot Workshop Equipment) ตลอดจนสามารถแสดงความคิดเห็นอยางมีเหตุผลโดยมีหลักฐานอางอิง


6 บทที่ 2 ทฤษฎีที่เกี่ยวของ 2.1 ประเภทของการบํารุงรักษา โดยทั่วไปงานซอมแซมเครื่องจักรเกิดการชํารุดเสียหายการบํารุงรักษาไดมีการพัฒนาขึ้นอยาง เปนระบบ มีการใช หลักการทางดานวิศวกรรมศาสตรวัสดุศาสตรและสถิติเขามาใชในงานบํารุงรักษา เพื่อสําหรับทํา การ จัดประเภทของการบํารุงรักษาที่เปนงานของหนวยงานซอมบํารุงที่มีโครงสราง ดังนี้ การบํารุงรักษา Maintenance การบํารุงรักษาแบบมีแผน การบํารุงรักษาแบบไมมีมีแผน การบํารุงรักษาแบบปองกัน การบํารุงรักษาแบบแกไข การบํารุงรักษาขณะเดินเครื่อง การบํารุงรักษาขณะหยุดเครื่อง การบํารุงรักษาขณะเครื่องเสีย การซอมฉุกเฉินหยุดกะทันหัน การพัฒนาการซอมบํารุงรักษาเมื่อเกิดเหตุขัดของ (Breakdown Maintenance: BM) หรือ การซอม บํารุงแบบรอใหเครื่องเสียกอนแลวคอยซอม ซึ่งวิธีดังกลาวอาจมีคาใชจายในการดูแลต่ำแตมี อะไหลสํารองเสมอ ทั้งระวังความสูญเสียที่ปญหารุนแรงเกิดขึ้นทําใหโรงงานอยูในภาวะเสี่ยง เกินไป จึงไดเกิดแนวทางในการปรับ รูปแบบใหมีการวางแผนการบํารุงรักษาเชิงปองกัน จึงเปนจุดเริ่ม ของ การวางแผนเชิงปองกันมากขึ้น มีแบบ แผนและขั้นตอนตรวจเช็คตามคาบเวลาที่กําหนด (Preventive Maintenance: PM) ไมตองรอใหเครื่องจักร เสียกอนคอยแกไขตรวจสอบ ตอมาแนวคิด เชิงปองกันได พัฒนาไปสู การบํารุงรักษาเชิงแกไขปรับปรุง (Corrective Maintenance: CM) ซึ่งมุง ในการขจัดเหตุ ของปญหาความขัดของตางๆในเครื่องจักร เพราะมี การตรวจสอบ และทําความสะอาด เครื่องจักร และ ระบบความปลอดภัย 2.2 งานซอมบำรุงระบบไฟฟาเครื่องกล รถไฟฟาบีทีเอส เปดใหบริการแกผูโดยสารทุกวันระหวางเวลา 06.00 - 24.00 น. การซอม บำรุงรักษา ระบบรถไฟฟาบีทีเอสใหอยูในสภาพสมบูรณพรอมสำหรับใหบริการในแตละวัน คือ หนึ่งใน


7 ปจจัยสำคัญที่ทำให รถไฟฟาบีทีเอส สามารถรักษามาตรฐานการใหบริการที่ปลอดภัย รวดเร็ว ตรง เวลา และมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ ขอบเขตของงานซอมบำรุงระบบรถไฟฟาบีทีเอส ประกอบดวยซึ่งการ ดำเนินการซอมบำรุง บริษัทไดนำระบบบริหารจัดการ และเทคโนโลยีอันทันสมัย ได มาตรฐานสากล มาใชในระบบรถไฟฟาบีทีเอส โดยไดมีการปรับปรุง และพัฒนามาอยางตอเนื่อง และเพื่อใหงาน ซอม บำรุงสามารถดำเนินไปไดอยางมีประสิทธิภาพ บริษัทยังไดนำระบบคอมพิวเตอรเขามาชวยในการ บริหาร การซอมบำรุง (Computerized Maintenance Management System - CMMS) ในระบบ ตางๆ ดังนี้ • การวางแผนการซอมบำรุงตามเงื่อนไข (Scheduled or Preventive Maintenance) • การซอมบำรุงเชิงปรับปรุงแกไข (Unscheduled or Corrective Maintenance) • การตรวจสอบระดับคงคลังของวัสดุ (Stock Level and Inventory) • การแจงและติดตามกระบวนการซอมบำรุง (Fault Notification and Tracking) • เก็บและวิเคราะหขอมูลการซอมบำรุง (Fault Analyses) นอกจากนี้ ยังไดจัดทำแผนการซอมบำรุงอยางละเอียดในทุกขั้นตอน และปฏิบัติตามอยาง เครงครัด อีกทั้งมีการติดตามวัดผลการดำเนินการดวยตัวชี้วัดของระบบตางๆ ที่มีผลตอประสิทธิภาพ ของงานซอม บำรุง และนำผลที่ไดมาวิเคราะหเพื่อปรับปรุงแผนงานและการดำเนินการตอไป อีกทั้ง ไดจัดการอบรมแกเจาหนาที่ เพื่อเพิ่มพูนและพัฒนาทักษะการทำงานอยูเสมอ 2.3 การบริหารการซอมบำรุง 1. วัตถุประสงคการซอมบำรุง ในทางทฤษฎีวัตถุประสงคของการซอมบำรุงอุปกรณตาง ๆ ในระบบขนสงทางรางก็เพื่อใหได จุดเหมาะสมในการใชทรัพยากรกับผลผลิตที่ไดจากระบบแตในความเปนจริงหนวยงานซอมบำรุง จะตองเกี่ยวของ กันหลายฝาย เชน หนวยงานที่ตองใชเครื่องจักร หนวยงานที่เกี่ยวของกับความ ปลอดภัยหนวยงานดานบริหารจัดการดังนี้การหารือรวมกันกับทุกหนวยงานในการตั้งวัตถุประสงค ของหนวยงานซอมบำรุงจึงตองมีความ จำเปนเพื่อใหไดคาใชจายในการซอมบำรุงที่เหมาะสมและมี ความปลอดภัยในการใชงานโดยสรุปแลววัตถุประสงคการซอมบำรุงก็เพื่อใหระบบรถไฟฟามีความ พรอมใชงานอยูตลอดเวลาดวย คาใชจายที่เหมาะสมและมีความปลอดภัยและไดสมรรถนะตามเกณฑ มาตรฐานนอกจากนี้ถาจะกำหนดใหชัดเจนขึ้นไปอีกวัตถุประสงคการซอมบำรุงจะประกอบดวย


8 1.1 การปรับปรุงขั้นตอนการซอมบำรุงการลดจำนวนงานความถี่และความซับซอนของการ ซอม บำรุง 1.2 การประยุกตใชเทคนิคหรือทักษะที่ไมยากในการซอมบำรุงการลดจำนวนของวัสดุและ อะไหลที่ใช 1.3 การสรางโปรแกรมการซอมบำรุงที่มีประสิทธิภาพการปรับปรุงประสิทธิภาพขององคกร 1.4 การปรับปรุงประสิทธิภาพการใชงานเครื่องมืออุปกรณและสถานที่ในการซอมบำรุง 2. คำนิยามและคำศัพท 2.1 การซอมบำรุงคือกิจกรรมทุกกิจกรรมที่เกี่ยวของกับการซอมบำรุงเครื่องจักรอุปกรณหรือ ชิ้นสวน ตางๆทั้งนี้ยังรวมถึงการซอมแซมดวยเพื่อใหมีสภาพพรอมใชงานได 2.2 วิศวกรรมการซอมบำรุงคือกิจกรรมที่เกี่ยวของกับงานซอมบำรุงที่เกิดจากการวางแผนไว ลวงหนา โดยอาศัยหลักการกฎเกณฑและความตองการดานเทคนิคมาสรางกิจกรรมดังกลาวทั้งนี้ทำ ใหการซอมบำรุง ดำเนินไปอยางมีประสิทธิภาพ 2.3 การซอมบำรุงเชิงปองกันหรือ pm คือการซอมบำรุงที่ดำเนินการเพื่อปองกันเหตุขัดของ หรือการ หยุดของเครื่องจักรโดยฉุกเฉิน 2.4 การซอมบำรุงเชิงแกไขปรับปรุงหรือ cm คือการดำเนินการเพื่อการดัดแปลงปรับปรุง แกไข อุปกรณหรือสวนของอุปกรณเพื่อขจัดเหตุขัดของรื้อลังใหหมดไปโดยสิ้นเชิง 2.5 การซอมบำรุงทวีผลคือกรรมวิธีการซอมบำรุงที่นำเอาการซอมบำรุงที่กลาวขางตนมา ประกอบเขา ดวยกัน 2.6 การปองกันการซอมบำรุงคือการดำเนินการใดๆก็ตามที่จะใหไดมาซึ่งอุปกรณที่ไมตองมี การซอม บำรุงหรือมีนอยที่สุดสามารถดำเนินการไดโดยออกแบบอุปกรณใหถูกตองตามมาตรฐานติดตั้งให ถูกตองตาม มาตรฐานเลือกใชอุปกรณที่มีคุณภาพ 2.7 การซอมบำรุงทวีผลรวมหรือ TMP คือการระดมคนทุกคนที่ทำงานอยูตามสายการผลิต ตางๆและ ผูทำหนาที่ซอมบำรุงโดยตรง


9 3. โครงสรางหนาที่และการจัดการองคกร 3.1 หลักการวางโครงสรางองคกรหลักการสำคัญที่ชวยในการวางแผนโครงสรางขององคกร ประกอบดวย - กำหนดหนาที่และความรับผิดชอบใหชัดเจนออกเปนฝายโดยพยายามใหมีการเลื่อมล้ำนอย สุด - กำหนดจำนวนพนักงานที่หัวหนางานตองดูแลใหเหมาะสม - ปรับแตงองคกรใหเหมาะสมตอการเปลี่ยนแปลงของตัวบุคคล - ทำใหสายงานหรือการสั่งการสั้นที่สุดเทาที่จะทำได นอกจากนี้ในการออกแบบโครงสราง องคกรสิ่งที่ ตองคำนึงถึงเปนอันดับแรกก็คือรูปแบบการบริหารซึ่งปกติจะมี 2 แบบคือ 1 การบริหาร แบบรวมศูนยอำนาจและ 2 การบริหารแบบกระจายอำนาจ โดยปกติแลว แบบแรกจะเหมาะกับ องคกรที่มีขนาดเล็กและปานกลางมีอาคารตั้งอยูในบริเวณเดียวกันซึ่งการบริหารแบบรวม ศูนยมีขอดี ขอเสียดังนี้ ขอดีของการบริหารแบบรวมศูนย - แบบรวมศูนยอำนาจมีประสิทธิภาพกวาแบบกระจายอำนาจ - จำนวนบุคลากรที่ใชนอยกวาแบบกระจายอำนาจ - การดูแลและการสั่งการที่มีประสิทธิภาพกวา - การใชเครื่องมือพิเศษและผูเชี่ยวชาญพิเศษจากภายนอกเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ - การฝกพนักงานใหมที่หนางานทำไดงายกวาและสะดวกกวา ขอเสียของการบริหารแบบรวมศูนย - พนักงานขาดโอกาสที่จะเรียนรูการใชเครื่องมือพิเศษและทักษะพิเศษ - ผูเชี่ยวชาญการควบคุมดูแลสถานที่ปฏิบัติการที่อยูไกลจากศูนยปฏิบัติการทำไดยาก - คาใชจายในการเดินทางไปยังพื้นที่ปฏิบัติงานอยูหางไกลมีจำนวนสูง - เวลาที่ใชในการเขาปฏิบัติงานในพื้นที่หางไกลใชเวลานาน 3.2 หนาที่ของหนวยงานซอมบำรุง


10 3.2.1 วางแผนและซอมแซมอุปกรณสิ่งอำนวยความสะดวกใหไดตามมาตรฐานที่ กำหนด 3.2.2ทำการซอมบำรุงเชิงปองกันโดยพัฒนาโปรแกรมการทำงานไดตามมาตรฐานที่ กำหนดและ ปองกันไมใหเกิดปญหาสำคัญตามมา 3.2.3 จัดทำงบประมาณที่มีรายละเอียดเกี่ยวกับคาตอบแทนของบุคลากรคาวัสดุ และคาใชสอยตางๆ 3.2.4 จัดการใหมีอะไหลพรอมใชเมื่อตองการซอมบำรุง 3.2.5 จัดเก็บประวัติอุปกรณและงานซอมบำรุงที่ไดจัดทำไปแลว 3.2.6 พัฒนาวิชาการติดตามผลงานของพนักงานพนักงานซอมบำรุงที่มี ประสิทธิภาพ 3.2.7 พัฒนาวิธีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพกับบุคลากรฝายตางๆตั้งแตพนักงาน หัวหนางานและ ผูบริหารที่เกี่ยวของกับงานซอมบำรุง 3.2.8 จัดฝกอบรมพนักงานซอมบำรุงเพื่อเพิ่มทักษะและประสิทธิภาพในการทำงาน 3.2.9 ตรวจสอบแผนการเพมอุปกรณหรือเครื่องจักรและสิ่งอำนวยความสะดวกที่ จำเปน 3.2.10 ปรับปรุงกระบวนการทำงานใหมีความปลอดภัยเพิ่มขึ้นทั้งนี้รวมไปถึงการ นำไปทำเปน โปรแกรมสำหรับฝกอบรมพนักงานซอมบำรุงดวย 3.2.11พัฒนาขอกำหนดทางเทคนิคสำหรับผูรับเหมาและตรวจสอบงานที่จัดจางโดย ผูรับเหมาให เปนไปตามขอกำหนดในสัญญา 3.3การจัดโครงสรางขององคกรการออกแบบหนวยงานการซอมบำรุงตองคำนึงถึงปจจัยหลา อยางเชนการวางตำแหนงกำลังคน ความยืดหยุนในการทำงานกับหนวยงานอื่นผูรับผิดชอบเกี่ยวกับ งานอะไหลการแบงความรับผิดชอบระหวางฝาย ปฏิบัติการและฝายซอมบำรุง โครงสรางทรัพยากร จะเกี่ยวของกับการจัดวางตำแหนงของกำลังพลอะไหลเครื่องมือและฐานขอมูล และการกำหนดหนาที่ การทำงานองคประกอบและขนาดที่เหมาะสมทั้งนี้รวมถึงโลจิสติกสอีกดวย


11 4. การซอมบำรุงที่มีประสิทธิภาพ 4.1 นโยบายการซอมบำรุง การซอมบำรุงที่มีประสิทธิภาพจำเปนที่จะตองกำหนดนโยบาย การซอมบำรุงทั้งนี้เพื่อความตอเนื่องของการดำเนินงานรวมไปถึงความชัดเจนในเรื่องของแผนการ จัดการซอมบำรุงซึ่งเปนสิ่งสำคัญมากไมวาองคกรจะมีขนาดเทาใดโดยปกติหนวยงานซอมบำรุงจะมี คูมือที่มีรายละเอียดเกี่ยวกับนโยบายแผนงาน วัตถุประสงคความรับผิดชอบและโครงสรางการสั่งการ ของระดับคูมือนี้ยังรวมถึงสิ่งที่ตองรายงานวิธีการและ เทคนิคที่เปนประโยชนและดัชนีชี้วัดสมรรถนะ ขององคกร 4.2 การควบคุมอะไหล โดยปกติแลวคาใชจายของอะไหลในการซอมบำรุงจะมีคาเฉลี่ย ประมาณ 30 ถึง 40 เปอรเซ็นตของ คาใชจายทั้งหมดในการซอมบำรุง 4.3 ระบบใบสั่งงาน ใบสั่งงานคือเปนเครื่องมือที่ใชในการกำหนดใหบุคคลหรือกลุมไปทำงาน ใหบรรลุตามเปาหมายระบบ ใบสั่งงานที่ดีจะตองประกอบงานที่มอบหมายและงานที่ทำสำเร็จไมวา งานนั้นจะเปนงานที่ตองทำประจำหรือ เปนงานเฉพาะกิจระบบใบสั่งงานสามารถใชเปนสวนหนึ่งใน การควบคุมคาใชจายและการประเมินสมรรถนะ ของงานได 4.4การทำประวัติเครื่องจักรการทำประวัติเครื่องจักรถือเปนสิ่งที่สำคัญตอประสิทธิภาพและ สมรรถนะของหนวยงานซอมบำรุงประวัติเครื่องจักรสามารถแยกไดเปน 4 สวนคือ 4.4.1 ประวัติงานซอมบำรุงที่ผานมา 4.4.2 ประวัติคาใชจายในการซอมบำรุง 4.4.3 ประวัติรายการสิ่งของ 4.4.4 ประวัติดานเทคนิคของเครื่องจักร 4.5 การซอมบำรุงเชิงปองกัน จุดประสงคหลักของการซอมบำรุงเชิงปองกันก็เพื่อรักษาให เครื่องจักรอยูในสภาพที่ใชงานไดอยางดีหรือแกไขขอบกพรองที่เกิดขึ้นเล็กๆนอยๆที่อาจนำไปสูปญหา ใหญไดโดยทั่วไปปจจัยสำคัญที่มีผลตอขอบเขต และสิ่งที่ตองทำในงานซอมบำรุงเชิงปองกันจะมี 3 อยางคือ 1 ความนาเชื่อถือของกระบวนการ 2 ความคุมคาทางเศรษฐศาสตร 3 คุณคาของงานตามมาตรฐาน


12 2.4 เครื่องมือที่ใชในโรงซอมบำรุง เราไดออกแบบ, จัดสง และติดตั้งอุปกรณซอมบำรุงสำหรับรถไฟทางไกลมากกวา 50 อุปกรณ ที่โรง ซอมบำรุงกรุงเทพฯ โดยอุปกรณหลักๆที่เราไดทำการดำเนินการติดตั้งไป ไดแก เครื่องลางรถไฟ ,เครื่องสูบ ของ เสียจากหองน้ำรถไฟ, เครื่องพนสี และหองพนสี, เครืองกลึงลอรถไฟ, เครื่องยกรถไฟ แบบซิงคโครไนซ, ระบบ เปลี่ยนแครรถไฟ, เครื่องลางแครรถไฟแบบอัตโนมัติ, เครื่องลางแผง คอนเดนเซอรแอรรถไฟ และเครื่อง ชารจ แบตเตอรรี่ รวมไปถึงยังมีอุปกรณอื่นๆอีกมากมายที่เราไดทำ การติดตั้ง เพื่อชวยใหการทำงานซอมบำรุง รถไฟ เปนไปอยางงายดาย และมีประสิทธิภาพ และใน โครงการงานติดตั้งอุปกรณโรงซอมบำรุง เราได ประสานงาน รวมมือกับลูกคา และผูผลิต เพื่อใหได ขอมูลทางดานเครื่องกลที่ครบถวน เพื่อใหการออกแบบ โดยรวมของโรง ซอมบำรุงนั้นถูกตอง และมี ประสิทธิผลมากที่สุด รวมทั้งเรายังไดประสานกับฝายติดตั้งงาน ระบบราง เพื่อให งานติดตั้งอุปกรณ ของเราเปนไปอยางราบรื่น และถูกตอง รวมไปถึงเพื่อใหมั่นใจไดวา เครื่องจักร และอุปกรณ ของเรา สามารถทำงานรวมกับงานติดตั้งจากระบบอื่นไดอยางมีประสิทธิภาพ และ ปลอดภัย 2.5 ขอจํากัดของวิวัฒนาการการซอมบํารุงรักษา วิวัฒนาการแนวความคิดของการซอมบํารุงรักษามีรูปแบบไมมีชัดเจน การซอมบํารุงจะ ดําเนินงานก็ ตอเมื่อพบวาเครื่องจักรหรืออุปกรณไดมีการชํารุดเสียหายขึ้นมาจนเริ่มเขาสูยุคการ พัฒนา ดานอุตสาหกรรมจึง ไดเริ่มตน รูปแบบการบํารุงรักษาที่มีการใชแผนงานเปนเครื่องมือชวย กําหนดการ ดูแลเครื่องจักรโดยจะทําการ วางแผนงานเอาไวลวงหนากอนที่เครื่องจะชํารุด การพัฒนาระบบการซอมบํารุงรักษาอยางตอเนื่องมักจะควบคูไปพรอมกับเทคโนโลยีที่ พัฒนารุดหนา อยางรวดเร็วแบบกาวกระโดด สงผลทําใหการผลิตปรับตัวในการรับเทคโนโลยีเขามา ชวยในการผลิตพรอมกับ การปรับเปลี่ยนรูปแบบระบบการบํารุงรักษา ใหสอดคลองกับการผลิต สรุป โดยสังเขป ไดดังนี้ 1.การบํารุงรักษาแบบซอมเมื่อเสีย (Breakdown Maintenance) เปนที่การบํารุงรักษาเกาแกที่สุด หลักการคือซอมก็ตอเมื่อเครื่องจักรหรืออุปกรณ ที่ใชงาน ไมไดโดยมี ขอจํากัดของการซอมบํารุงรักษาลักษณะนี้ไดแก - เครื่องจักร ไมมีสัญญาณเตือน - ความ เชื่อมั่นไมคอยเปนที่ ยอมรับ - คาใชจายสูงจากการเก็บอะไหลเปนจํานวนมาก – ไมสามารถปฏิบัติงาน ไดตามแผน 2.การบํารุงรักษาเชิงปองกัน (Preventive Maintenance)


13 เปนการบํารุงรักษาตามวาระหรือระยะเวลาการใชงานที่กําหนด เพื่อรักษาสภาพ เครื่องจักร ขอจํากัด ของการซอมบํารุงรักษาลักษณะนี้ไดแก - ใชวิศวกรหรือชางที่มีประสบการณสูง – ยากในการ กําหนดแผน เพราะปญหาเกิดแบบไมสม่ำเสมอ 3.การบํารุงรักษาเชิงพยากรณ (Predictive Maintenance) เปนวิธีการใชเครื่องมือเทคนิคอุปกรณเทคโนโลยีสมัยใหมเขามาชวยคาดการณ เชน เครื่องมือ วัดความ สั่นสะเทือน ใชกลองอินฟาเรด ในการตรวจคลื่นความรอน เปนตน ในการ กําหนดแผนระยะ บํารุง รักษาเชิง พยากรณลักษณะอาการเริ่มตนกอนการชํารุด แบงตามไปลักษณะ อาการที่พบหลักๆ เชน - การวางแผนการ บํารุงรักษาเครื่องจักรที่มีการสั่นสะเทือน พยากรณโดยวิเคราะห จากระดับ ความสั่นสะเทือน ( Vibration Analysis) ที่เปลี่ยนไปจากเดิม - การวางแผนการบํารุงรักษาเครื่องจักร ที่มีการเสียดสีพยากรณโดยวิเคราะห สภาพของสารหลอลื่นที่ใชไปแลว (Oil and Wear Practical Analysis) - การวางแผนการบํารุงรักษา เครื่องจักรที่มีความรอนหรือกอเกิดความรอน พยากรณโดย วิเคราะหภาพถายความรอน ( Thermograph Monitoring) ที่เปลี่ยนไปจากเดิม เปนตน ฉะนั้นหากเปรียบเครื่องจักรกับรางกายมนุษยจะเหมือนการตรวจสภาพรางกาย เพื่อหาความ ผิดปกติ และปองกันกอนรางกายเกิดความเจ็บปวย 3.1 ประโยชนที่จะไดรับจากการบํารุงรักษาลักษณะนี้คือ - ลดคาใชจายในการบํารุงรักษา - ลดปริมาณอะไหลคงคลังในการบํารุงรักษา - การหยุดชะงักของเครื่องจักรนอยลง - ลดสถิติการชํารุดและเวลาใชซอมเครื่องจักรลดลง - ประสิทธิภาพการวางแผนสูงขึ้น - เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต 3.2 ขอเสียของการซอมบํารุงรักษาลักษณะนี้คือ - ใชเงินลงทุนสูงเพราะเครื่องมือใชไดเฉพาะงานและราคาแพง 4.การบํารุงรักษาเชิงปฏิบัติการ (Proactive Maintenance) บํารุงรักษาแบบคนหาแกนของปญหาในเชิงลึกเพื่อแกไข จําแนกได 8 ประการ


14 1. ความไมเสถียรทางเคมี 2. ความไมเสถียรทางกายภาพ 3. ความไมเสถียรทางอุณหภูมิ 4. ความไมเสถียรทางการสึกหลอ 5. ความไมเสถียรทางการรั่วไหล 6. การเกิดโพรงอากาศในระบบไฮดรอลิค 7. ความไมเสถียรในระดับของสิ่งของสกปรก 8. ความไมเสถียรจากการบิดตัวเยื้องศูนย 5.การบํารุงรักษาเชิงวิศวกรรม (Maintenance Engineering) การบํารุงรักษาที่ใชความรูทางดานวิศวกรรมมาชวยในการปรับปรุงเครื่องจักร ( Improvement Maintenance) รวมไปถึงการออกแบบเครื่องจักร เชน อุปกรณบํารุงรักษาแบบ อัตโนมัติอุปกรณที่ไม บํารุงรักษาเปลี่ยนเมื่อถึงครบอายุใชงาน เปลี่ยนเมื่อถึงระยะที่เชนปลอกหุม แกนสไลนที่ตองรับแรง เสียดสีแทน พบวาขอเสียของการซอมบํารุงรักษาลักษณะนี้ไดแก – ตองใชความรูพื้นฐานทางดานวิวกรรมเปนหลักในการ ตัดสินใจ - ใชวิศวกรรมผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานมารับหนาวิเคราะหปญหาตามประเด็นที่เกิดขึ้นโดย กลุม ที่ตอง รับผิดชอบในงานดานการซอมบํารุงวา Maintenance Engineering โดยมีหนาที่บทบาทที่ แตกตางกันตาม ความสามารถในเชิงชางเฉพาะงานที่ครอบคลุมสายงานซอมบํารุง 6.คาใชจายในการซอมบํารุงเครื่องจักร (Maintenance Cost) 6.1 คาใชจายในการหยุดเครื่อง (Closing–Down Cost) เปนคาใชจายที่เกี่ยวพันกับการหยุดเครื่อง แต ละครั้ง ซึ่งทําใหเครื่องตองเสียเวลา อาจสูญเสียวัตถุดิบหรือวัตถุสําเร็จรูป ที่ตกคางอยูในเครื่องจักร คาใชจายนี้ ถือวาเปนคาใชจายคงที่ใน การหยุดเครื่องแตละครั้ง 6.2คาใชจายสําหรับเวลาที่สูญเสีย (Down-Time Cost) เปนคาใชจายตอความสูญเสียโอกาสในการ ผลิตสินคาเนื่องจากเครื่องจักรตองหยุดทํางาน ถือวาเปน คาใชจายที่ขึ้นกับระยะเวลาการหยุดเครื่อง


15 6.3 คาใชจายในการเดินเครื่องใหม (Start-up Cost) เปนคาใชจายคงที่ตอการเดินเครื่องใหม เชนเดียวกับคาใชจายของการหยุดเครื่อง สรุปเบื้องตนปจจัยที่ทําใหเครื่องจักรชํารุดเสียหายการบํารุงรักษา เครื่องจักรใหเปนไปตามแผนที่ กําหนดเอาไวนั้นไมสามารถทําใหการชํารุดเสียหายหมดไป เปนแคเพียงลด โอกาสความเสียหายให นอยลงไป ดังนั้น วิธีการแกไขปญหาที่ดีจะตองประกอบไปดวย คนหาสาเหตุแกไข ปรับปรุงและ ปองกัน เกิดจากสาเหตุ 1. การออกแบบเครื่องจักรไมถูกตองเหมาะสมสภาพของการผลิตนั้นๆ 2. วัสดุที่ในการสรางเครื่องจักรไมมีคุณภาพหรือไมเหมาะกับสภาพการผลิต 3. การเสริมเทคโนโลยีที่ไมสอดรับกับระบบของเครื่องจักร เชน การเพิ่มความเร็ว รอบ 4. ขั้นตอนการประกอบที่ไมเหมาะสม เชน พื้นที่ไมไดระดับ 5. การบํารุงรักษา หรือการใชงานไมถูกวิธีตามขั้นตอนที่คูมือกําหนดไว 6. หลักการและทฤษฎีการบํารุงรักษาแบบทวีผลที่ทุกคนมีสวนรวม การบํารุงรักษาทวีผล หรือ TPM (Total Productive Maintenance) เปนแนว วิถีทางปรัชญา (Philosophy) ตอการบริหารการผลิต โดยจะขึ้นอยูกับลักษณะและขอบเขตของการ ใชงานโดยมีเปาหมายเพื่อ ปรับปรุงผลสัมฤทธิ์ในองคกรใหสําเร็จสูงสุด อยูในรูปของมูลคาที่สามารถ วัดผลไดเชน ตนทุนที่ลดลงและ วิธีการควบคุมตนทุน (Reduction Cost Functional) สินคาที่มี คุณภาพ (Product Quality) การสงมอบ สินคาที่ตรงเวลา (On Time Delivery) รวมไปถึงความ ปลอดภัยและสิ่งแวดลอมในการทํางาน (Safety and Environment) เริ่มตนจากการดูแลรักษา เครื่องจักรอยางสม่ำเสมอเพื่อใหทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ ใน การดูแลรักษาเครื่องจักร โดยไม เปนหนาที่ของชางซอมบํารุง เพียงฝายเดียว แตลดความสูญเสียตางๆ ที่จะ นําไปสูปญหาอื่นๆ เปาหมายสูงสุดของ TPM คือ ปญหาของการผลิตตองเปนศูนยไดแก Zero Breakdown คือ การลดปญหาของเครื่องจักรเสียใหเปนศูนย Zero Defect คือ การลดปญหาการผลิตของเสียใหเปนศูนย Zero Accident คือ การลดปญหาการเกดอิ อุบัติเหตุใหเปนศูนย ซึ่งมีขั้นตอนที่ใชสําหรับชวย ในการ แกไขปญหา เพื่อลดความสูญเสียตางๆ ใหเปนศูนยจากความ รวมมือของทุกฝายในองคกร ผาน กิจกรรมของ 8 เสาหลัก TPM หรือเรียกวา TPM 8 Pillar ประกอบดวย 1. Pillar 1 การปรับปรุงอยางตอเนื่อง (Focused Improvement) 2. Pillar 2 การบํารุงรักษาดวยตนเอง (Autonomous Maintenance)


16 3. Pillar 3 การบํารุงรักษาตามแผน (Planned Maintenance) 4. Pillar 4 การอบรมทักษะการบํารุงรักษา (Operations Skills Training) 5. Pillar 5 การจัดการเครื่องจักรใหม (Early Management) 6. Pillar 6 การบํารุงรักษาเชิงคุณภาพ (Quality Maintenance) 7. Pillar 7 การบํารุงรักษาสวนงานบริหาร (TPM in Administrative) 8. Pillar 8 ความปลอดภัยและสิ่งแวดลอม (Safety and Environment) ภาพที่ 2.1 แปดเสาหลัก TPM 2.6 ประเภทของการบำรุงรักษาระบบราง 2.6.1 การบำรุงรักษาระบบราง L NOISE AND VIBRATION องคประกอบของทาง (Track Components) และหนาที่ (Function) ภาพที่2.2 องคประกอบของทางแบบชนิดหินโรยทางและความยืดหยุนของทางขึ้นกับความ หนาหินโรยทาง


17 การออกแบบความสามารถการรับน้ำหนักของทางขึ้นอยูกับการกำหนดความเร็วและน้ำหนักกดเพลาสูงสุดของ ชบวนรถ ภาพที่ 2.3 การออกแบบความสามารถการรับน้ำหนักของทางประกอบดวยองคประกอบ หลายสวนรวมเขาดวยกันเพื่อรองรับน้ำหนักของลอเลื่อน แบงออกเปน 1. การถายน้ำหนักของลอเลื่อนลงสูทางโดยเริ่มจากราง แผนรองราง หมอนหินโรยทางจนถึง พื้นทาง ตามลำดับ ดังนั้น ทุกองคประกอบตองมีความสามารถเพียงพอในการถายน้ำหนักลงสูพื้น ทางการถายน้ำหนัก (Load Transfer) ภาพที่2.4 การถายน้ำหนักการควบคุมสภาพทาง (Track control) แบงออกเปน 1. มิติทางเรขาคณิต (Track geometry) 1.1 การวัดคาความคลาดเคลื่อนระดับตามยาวและแนวรางโดยใชไมงามและไมโปร แทรกเตอร 1.2 การวัดดวย Track Geometry Measurement Troiley 1.3 การวัดดวยรถตรวจสภาพทาง ตท.2 (EM120 N) 2. มิติเรขาคณิตราง (Rail Geometry)


18 3. รางราว (Internal Rail Flaws) 4. ตรวจพื้นทางและความสกปรกของหินโรยทาง (Rail road Ballast Fouling Detection หรือ Multi- Tasking Car)การวัดคาความคลาดเคลื่อนระดับตามยาวและแนวรางโดยใชเครื่องมือแทร็กเกจ ภาพที่ 2.5 การวัดคาความคลาดเคลื่อนระดับตามยาวและแนวราง การวัดดวย (Track -Geometry Measurement Trolley) ภาพที่2.6 การวัดดวย Track Geometry Measurement Trolley การวัดดวยรถตรวจสภาพทาง ตท.2 (EM120 N)


19 ภาพที่2.7 การวัดดวยรถตรวจสภาพทาง ตท.2 (EM120 N) ภาพที่2.8 รางลึกและแผลสันรางรางสึกและแผลสันราง (Rail Wear, Head Checks, Small, Fissures) ตรวจพื้นทางและความสกปรกของหินโรยทาง (Railroad Ballast Fouling Detection หรือ Multi-Tasking Car) ภาพที่2.9ตรวจพื้นทางและความสกปรกของหินโรยทาง (Railroad Ballast Fouling Detection หรือ Multi-Tasking Car)


20 5. มิติทางเรขาคณิต (Track geometry) ประกอบดวย 5รายการดังนี้ที่เกิดจากการสั่นสะเทือน (VIBRATION) 5.1 ขนาดทาง (Gauge) ภาพที่2.10ขนาดทาง (Gauge) 5.2ระดับตามยาว (Longitudinal level หรือ Surface) ภาพที่2.11ระดับตามยาว (Longitudinal level หรือ Surface) 5.3แนวราง (Alignment) ภาพที่2.12แนวราง (Alignment)


21 5.4 ระดับตามขวาง (Cross level) ภาพที่2.13ระดับตามขวาง (Cross level) 5.5 คาทวิสต (Twist) ภาพที่2.14คาทวิสต (Twist) 2.7 ชนิดของการบำรุงรักษาระบบราง 2.7.1 การบำรุงรักษาระบบเครื่องจักรกลตามระยะเวลา (Preventive Maintenance) ประเภทของ การ บำรุงรักษา ภาพที่2.15 ภาพประกอบจากโรงรถจักรดีเซลบางซื่อ ศูนยซอมบำรุง ฝายการชางกล การรถไฟแหงประเทศไทย ระบบที่ใชในการบำรุงรักษารถไฟ


22 โดยทั่วไปเราสามารถจำแนกการซอมบำรุงรักษาออกเปน 2 ประเภท คือ การบำรุงรักษาแบบปองกัน ภาษาอังกฤษเรียกวา “Preventives Maintenance: PM” หรือบางทีเรียกวา “Planned Preventive Maintenance: PPM” และการบำรุงรักษาแบตามแก ภาษาอังกฤษเรียกวา “Corrective Maintenance: CM” กลาวดวยภาษางายๆ คือ PPM เปนระบบซอมเพื่อบำรุงรักษาใหคงประสิทธิภาพในการทำงาน เรียกไดวา เปนการ ดำเนินการกอนที่จะเกิดการชำรุดซึ่งโดยปกติแลวหากการดำซอมแบบ PM ทำไดอยางมีประสิทธิภาพ และ เหมาะสมแลวโอกาสที่จะเกิดการชำรุดแทบจะไมมีสวนที่เปนการซอมแบบ CM ซึ่งปเนระบบซอมเพื่อทำ ของที่ ชำรุดแลวใหกลับมาใชไดตอไป อยางไรก็ดีไมมีระบบซอมใดที่สามารถขจัดการซอมแบบ CM ใหหมดไปโดยสิ้นเชิง ปกติแลวการซอม จริงในหนางานจะมีทั้ง PPM ผสมกับ CM สิ่งที่ตางกันคือ ถาสามารถจัดการระบบ PPM ไดอยางมี ประสิทธิภาพ แลว การซอมแบบ CM ซึ่งกอปญหาแกการเดินรถไฟก็จะมีสัดสวนลดลง ขอดีของ Planned Preventive Maintenance: PPM/PM 1. สามารถวางแผนการซอมและแผนการจัดหาชิ้นสวนในการซอมบำรุงได 2. คาใชจายในการซอมจะกระจายในระยะเวลาการใชงาน/รูอายุการใชงาน 3. เปนระบบการซอมที่มีรวามรูสึกวา ฟุมเฟอย มีคาใชจายสูง คนที่อยูในหนางานจำนวนมากที่คิดวา เปนการ “โยนทิ้ง” ขอดีขอเสียของ Corrective Maintenance: CM จะตรงกันขามกับ PPM คือ วางแผนการซอมยาก คาใชจายของกิจการอาจมากระจุกตัวอยูในปที่ชิ้นสวนหมดอายุการใชงานซึ่งอาจกระทบสถานะการเงินของ กิจการ สิ่งหนึ่งที่ควรคำนึงถึง คือ ความเสียหายในทางตรงและทางออมที่เกิดขึ้น หากระบบที่ใชวิธีการซอม แบบ CM เกิดการชำรุดในระหวางทำงาน เชน คาเสียหายในการกูระบบคืน ชื่อเสียงของกิจการ เปนตนซึ่งอาจ เสียหาย มากกวาก็เปนได ทำไมจึงตองมีการปรับแกอายุการใชงานของชิ้นสวนในการวางระบบซอมบำรุง 1. การมีผลประโยชนที่ขัดกัน (conflict of interest) ของผูผลิต (ผูขาย) กับผูใชดังกลาวแลวขางตน 2. อาจมีการเปลี่ยนแปลงคุณภาพชิ้นสวนที่จัดหามาใชในการซอมบำรุง 3. เมื่อผานประสบการณใชงานไประยะหนึ่งแลว ผูใชประสงคจะทำการปรับเปลี่ยน เนื่องจากพบวา คำแนะนำของผูผลิตไมเหมาะสม


23 วงจรชีวิตเครื่องจักร (Machinery life cycle) หมายถึง ระยะเวลาในชวงตางๆ ดังที่ไดกลาวผานมา ขางตน คือ การเกิดขึ้นของเครื่องจักร การเสื่อมสภาพของเครื่องจักร การชำรุดของเครื่องจักร และ การสิ้นอายุ ไข ของเครื่องจักร โดยทั่วไปที่ยอมรับกันในวงการวิศวกรรมบำรุงรักษาวากราฟ เสนโคงรูปอางน้ำ ( Bathtub Curve) เปนกราฟที่ใชอธิบายลักษณะเฉพาะที่มักจะเกิดขึ้นกับเครื่องจักรกลโดยทั่วไปโดยที่สามารถ แบงชวง ชีวิตเครื่องจักรเปน 3 ชวงใหญๆ คือ ชวงระยะเริ่มตนใชงาน (Burn-in) ชวงใชงานปกติ (Useful life) และ ชวง ระยะเวลาสึกหรอ (Wear out) ภาพที่2.16 แสดงความสัมพันธระหวางระยะเวลาใชงานกับอัตราการขัดของ 1. การซอมบำรุงทางกลลำฟฟาของยานพาหนะของระบบราง ( mechanical and Electrical Maintenance of Railway Vehicles) 1.1การบำรุงรักษาระบบเครื่องจักรกล เมื่อตรวจพบ (Preventive & Corrective Maintenance) แบงออกเปน รถจักร HID ขอมูลเครื่องยนต ชนิดรถจักร Diesel Electric Locomotives แรงมา 2 * 1,450 HP @ 1,800 rpm เครื่องยนต 2เครื่อง ความจุถังเชื้อเพลิง 5,000ลิตร ความเร็วสูงสุด 100กิโลเมตร ตอ ชั่วโมง ทอไอเสีย ชนิดมีน้ำหลอเย็น wet type manifold น้ำระบายความรอนเครื่องยนต 265ลิตร ตอเครื่อง


24 น้ำมันหลอลื่นเครื่องยนต 375ลิตร ตอเครื่อง Configuration Management เปนเทคนิคที่ชวยในการบริหารจัดการและควบคุมการเปลี่ยนแปลง ทุก อยางที่เกิดขึ้นในระบบ ไมวาเปนขั้นตอนการกำหนดความตองการ การออกแบบ การเขียนคำสั่งการทดสอบและ เอกสารเพื่อใชสำหรับอางอิงในการแกไขในโมดูลตางๆหรืออางอิงกับเอกสารอื่นๆที่มีผลกระทบ ใน การ ปฏิบัติงานตางๆ โดยทีมงานในการบำรุงรักษาระบบจะใชเอกสารอางอิงนี้เพื่อประเมินผลกระทบตางๆ จาก การ เปลี่ยนแปลงโมดูลตางๆในระบบ โดย Configuration Management Team จะประกอบไปดวย 1. นักวิเคราะหระบบที่ทำงานกับผูใชเพื่อกำหนดถึงปญหา 2. โปรแกรมเมอรที่ทำงานกับนักวิเคราะหระบบเพื่อหาตำแหนงที่เกิดปญหาในระบบ 3.Program Librarians จะทำงานกับนักวิเคราะหระบบและโปรแกรมเมอรเพื่อเก็บบันทึกในสวน ของ การออกแบบที่แกไข, คำสั่งที่แกไขและบันทึกถึงการปรับปรุงเอกสารตางๆที่มีการแกไขเกิดขึ้นในระบบโดย ทีมงานนี้จะทำงานติดตอกับตัวแทนของลูกคาเพื่อรับคำสั่งตางๆในการปรับเปลี่ยน Configuration Control Board หรือ Change Control Board ประกอบดวยตัวแทนของลูกคาและสมาชิกของ Configuration Management Teams จะชวยในการแกไขปญหาตางๆ ดังนี้ 1. Naming: สวนประกอบอะไรบางของระบบที่ตองมีการเปลี่ยนแปลง 2. Authentication: การรับรองวาเปนของแท คือ การเปลี่ยนแปลงทำอยางถูกตอง 3. Authorization: ใครไดสิทธิหรือกระทำการเปลี่ยนแปลง 4. Routing: ใครเปนผูติดตอเพื่อขอทำการใหเปลี่ยนแปลง 5. Cancellation: ใครสามารถยกเลิกหรือตองการใหเปลี่ยนแปลง 6. Delegation: ใครรับผิดชอบสำหรับการเปลี่ยนแปลง 7. Valuation: มีระดับความสำคัญอะไรในการเปลี่ยนแปลง กระบวนการจัดการที่ดีจะชวยในการควบคุม ลำดับขั้นตอนหรือกระบวนการตางๆในการบำรุงรักษาระบบใหมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น


25 2.8 ตัวอยางโรงศูนยซอมบำรุงรถไฟฟาสายสีเหลือง 2.8.1 แนวคิดในการออกแบบศูนยซอมบำรุง แนวคิดในการออกแบบกลุมอาคารศูนยซอมบํารุงและ อาคารจอดรถ คือการใชแสงธรรมชาติและ การระบาย ลม เนื่องจากเปนอาคารที่มีชวงกวางและความสูง คอนขางมาก การระบายลมและแสงธรรมชาติจึง มา จาก บริเวณหลังคา สวนศูนยควบคุมการเดินรถ (Operation Control Centre, OCC) ใชในการควบคุมการเดินรถทั้งหมดจึงตองคํานึงถึงความปลอดภัย ตองมีการควบคุม จํากัดการเขาออก ในขณะเดียวกันหองควบคุมหลัก เปนหองที่มีผูสนใจในการเยี่ยมชมสูง จึงตองจัดหองเยี่ยมชม ที่สามารถทําไดโดยไมรบกวนการทํางานของ เจาหนาที่ 2.8.2การจัดการจราจรภายในพื้นที่ศูนยซอมบำรุง 1) สภาพการจราจรทั่วไปโดยรอบพื้นที่ศูนยซอมบํารุงศูนยซอมบํารุง ตั้งอยูบริเวณทางแยกตางระดับ ศรีเอี่ยม ริมถนนศรีนครินทร ขนาด 6ชองจราจร ในป พ.ศ.2551 ปริมาณจราจรบนถนนศรีนครินทรในชวงเวลา เรงดวนเชา (7.00 -8.00 น.) มีปริมาณ 7,277คันและชวงเวลาเรงดวนเย็น (17.00 -18.00 น.) มีปริมาณ 6,587คัน จํานวนรถที่คาดวาจะเขามาใชพื้นที่ศูนย ซอม บํารุงมีประมาณ 250 คัน/วัน โดยจะมีผลกระทบตอถนนศรี นครินทรเฉพาะชวงเวลาเรงดวนเชาและ เรงดวน เย็น และไมมีผลกระทบตอสภาพการจราจรเมื่อเทียบกับความจุ ของจํานวนชองจราจรบนถนนศรี นครินทรที่รับ ได และภายในพื้นที่ศูนยซอมบํารุงมีถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก มี ทิศทางการเดินรถ 2 ทิศทาง ขนาดความกวาง ของ ทางเขา -ออกเชื่อมตอกับถนนกวางรวม 18เมตร ชองจราจร เขา -ออกกวาง 14เมตร ทั้งสองทิศทาง และ มีทางเทาขนาด 2เมตรทั้งสองฝง 2) แนวทางการจัดการจราจรภายในพื้นที่ศูนยซอมบํารุง โดยถนนและทางเขา - ออกภายในพื้นที่ ศูนย ซอม บํารุงจัดใหมีระบบทิศทางการเดินรถเปนแบบ 2 ทิศทางโดยถนนภายในโครงการ แบงเปน 3สวน คือ ถนน ภายในอาคารสํานักงานและศูนยควบคุมการเดินรถ ถนนภายในพื้นที่โรงซอมบํารุง และพื้นที่จอด รถไฟฟา และ ถนนบริการรอบศูนยซอมบํารุง 2.1) การเดินรถภายในอาคารสํานักงานและศูนยควบคุมการเดินรถ พบวา อาคารสํานักงาน และศูนย ควบคุมการเดินรถตั้งอยูลึกเขามาในพื้นที่ศูนยซอมบํารุง โดยไดมีการจัดเตรียมลานจอดรถสําหรับ พนักงานไว โดยเฉพาะ โดยอยูติดกับอาคารสํานักงานและศูนยควบคุมการเดินรถ 2.2) การเดินรถภายในพื้นที่โรงซอมบํารุงและพื้นที่จอดรถไฟฟา ในการเขาถึงพื้นที่จะตองวิ่ง ขึ้นทาง ลาด ผานจุดตรวจดานหนา ถนนบริเวณบน Platform จะเชื่อมอาคารตาง ๆ เขาดวยกัน อาคารที่ตองมี ถนน บริการ เพื่อใหรถยกของ (Forklift) และรถบรรทุกเขาถึง ไดแก โรงกลึงลอใตพื้นรถไฟฟา โรงวินิจฉัยลอ โรงเก็บ วัสดุ อันตราย โรงเก็บขยะ โรงลางรถไฟฟา โรงซอมบํารุงหนักและเบา โรงเก็บวัสดุตาง ๆ โรงซอมบํารุง ทาง รถไฟฟา และสถานีไฟฟายอย ทั้งนี้ถนนภายในพื้นที่มีความกวางตั้งแต 6 -15เมตร ถนนสวนใหญใชเปน เสนทาง


26 ขนสง อุปกรณและเครื่องจักรตาง ๆ เชน ขบวนรถไฟฟา ระบบไฟฟาและอื่น ๆ โดยการใชถนนภายใน พื้นที่ใน ชวงแรกกอนเปดโครงการและบางครั้งที่มีการสั่งอุปกรณและเครื่องจักรเพิ่ม 2.3) ถนนบริการรอบศูนยซอมบํารุง (Service Roads) มีไวเพื่อตรวจดูแลความปลอดภัย บริเวณรอบ ศูนย ซอมบํารุงและเปนถนนเชื่อมอาคารบริหารและศูนยควบคุมการเดินรถ หอพักและสํานักงาน พนักงานขับ รถไฟฟาเขาดวยกัน และอยูระดับเดียวหรือใกลเคียงกับถนนนอกศูนยซอมบํารุง ถนนบริการ ทั้งสองแบบถู ก ออกแบบใหรถดับเพลิงเขาถึงทุกอาคารได


27 ภาพที่ 2.17แผนผังถนนที่ใชในการสัญจรภายในพื้นที่ศูนยซอมบำรุง


28 2.8.3แผนผงและองคประกอบของศูนยซอมบำรุง แผนผังของศูนยซอมบํารุงบริเวณทางแยกตางระดับศรีเอี่ยมและผังรายละเอียดของ องคประกอบใน ศูนยซอมบํารุงโดยองคประกอบอาคารที่จําเปนสําหรับศูนยซอมบํารุงมี ทั้งสิ้น 14อาคาร ไดแก 1) โรงซอมบํารุงหลัก (Main Workshop Building) ไดแก โรงซอมบํารุงเบาและซอมบํารุงหนักและ สํานักงาน กับโรงซอมตาง ๆ และมีหองเก็บวัสดุและสวนซอมแครอยูในโรงซอมบํารุงหลัก สวนการเปลี่ยนล รถไฟฟาและ โรงทําสีอยูในโรงซอมบํารุงหลักทําใหมีพื้นที่สํารองที่จะขยายเปนสวนซอมรถไฟไดเพิ่มเติมใน อนาคต 1.1) โรงซอมบํารุงเบา (Light Maintenance Workshop) มีกิจกรรมงานบํารุงรักษาเบา ประกอบดวย การเตรียมความพรอมของรถไฟฟาเพื่อการใหบริการเที่ยวตอไป เชน การตรวจสอบนําที่ลาง กระจก หนา การตรวจสอบสารหลอลื่น ฯลฯ และงานประจําในการรักษาใหคงความพรอมในการทํางานของ รถไฟฟา (Routine Function Control) เชน การตรวจสอบ (Inspection) การทําความสะอาดภายในและ ภายนอกตูรถไฟฟา การซอมเล็ก ๆ นอย ๆ (Minor Repairs) การถอดและเปลี่ยนอุปกรณที่ติดตั้งหลังคา รถไฟฟา (เชน เครื่องปรับอากาศ ฯลฯ) และมีพื้นที่ยกระดับเพื่อทํางานบนหลังคา (Roof Working Platform) 1.2) โรงซอมบํารุงหนัก (Heavy Maintenance Workshop) งานทั่วไปสําหรับโรงซอมบํารุงหนัก ไดแก การซอมบํารุงหลัก (Major Overhaul) การเปลี่ยนหรือซอมแคร (Bogie Exchange or Repair) การ ซอมแซมหนัก (เปลี่ยนชิ้นสวนหนักจากใตพื้น) การบํารุงรักษาทั่วไป (Regular Maintenance) การเปลี่ยน อะไหล (แบตเตอรี่ Compressor เครื่องมืออิเลคทรอนิกส) การซอมแซมตัวรถไฟฟา (Body Repair)การ เปลี่ยนยางลอ และการทําสี (Painting) 1.3) สํานักงานและหองซอมตาง ๆ (Office and Workshops) เชน หองฝกอบรม หองประชุมหอง ซอม เบรก และหองซอมประตู- หนาตาง ฯลฯ ก) หองซอมตาง ๆ ไดออกแบบใหอยูบริเวณชั้นลางระหวางโรงซอมบํารุงเบาและหนักเพราะเปนสวนที่ คอนขางไมสะอาดหากเปรียบเทียบกับสวนสํานักงานที่บริเวณชั้นบน ข) สํานักงานบริหารดานวิศวกรรมและการซอมบํารุง จะมีสํานักงานแยกจากกันและอยูระหวางโรง ซอม บํารุงเบาและหนักเพื่อดูแลโรงซอมทั้งสองไดอยางใกลชิด ค) หนวยงานที่มีหนาที่เกี่ยวกับการซอมรถไฟฟา (Rolling Stock) อยูบนบริเวณชั้นลางและชั้นสอง ของ โรงซอมบํารุงหลัก สํานักงานของหัวหนาคนงาน (Foremen) มีหนาตางที่มองเห็นกิจกรรมตาง ๆ ภายใน โรงซอม


29 บํารุงเบาและหนักไดชัดเจน รวมทั้งบริเวณชั้นลางยังมีหอง Locker และหองนําสําหรับพนักงาน ซอม บํารุงและ หองพักผอนขนาดเล็ก ง) โรงซอมบํารุงเบาและหนักไดไดออกแบบใหอยูรวมกันเพื่อใชพื้นที่ไดอยางมีประสิทธิภาพ ประกอบดวยโตะทํางานซอมบํารุง (Work Benches) กลองเครื่องมือ (Tool Boxes) ชั้นสําหรับจัดวางชิ้นสวน อะไหลที่ใชเปลี่ยนและวัสดุตาง ๆ (Shelves for Replacement Parts and Material) อุปกรณสําหรับ ทดสอบ และเครื่องวัด (Test and Measuring Devices) โดยอุปกรณที่จะนํามาใชงานจะตองสามารถใชงานได สอดคลอง กับรถไฟฟาที่จัดหาดวย รวมทั้งบริเวณใกลเคียงสวนซอมแคร ( Bogie Repair) มีสวนที่ดําเนินการ เกี่ยวกับระบบ หามลอ (Brakes) มอเตอรไฟฟาและอุปกรณถายทอดกําลัง (Electric Motors and Gears) อุปกรณรับ กระแสไฟฟา (Current Collectors) แบตเตอรี่ (Auxiliary Batteries) สวิทชหลัก (Main Switches


30 ภาพที่2.18แผนผังศูนยซอมบำรุงบริเวณทางแยกตางระดับศรีเอี่ยม


31 ภาพที่2.19รายละเอียดของอาคารภายในศูนยซอมบำรุง (1/16)


32 ภาพที่2.20รายละเอียดของอาคารภายในศูนยซอมบำรุง (2/16)


33 ภาพที่2.21รายละเอียดของอาคารภายในศูนยซอมบำรุง (3/16)


34 ภาพที่2.22รายละเอียดของอาคารภายในศูนยซอมบำรุง (4/16)


35 ภาพที่2.23รายละเอียดของอาคารภายในศูนยซอมบำรุง (5/16)


36 ภาพที่2.24รายละเอียดของอาคารภายในศูนยซอมบำรุง (6/16)


37 ภาพที่2.25รายละเอียดของอาคารภายในศูนยซอมบำรุง (7/16)


38 ภาพที่2.26รายละเอียดของอาคารภายในศูนยซอมบำรุง (8/16)


Click to View FlipBook Version