The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กลุ่ม 3 โรงซ่อมบำรุง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Sayachonthon Khamphangkun, 2024-02-21 09:50:39

กลุ่ม 3 โรงซ่อมบำรุง

กลุ่ม 3 โรงซ่อมบำรุง

89 3) เครงครัดการขนสงวัสดุอันตราย เชน รถบรรทุกขนสงกาชหุง รถบรรทุกน้ำมัน รถบรรทุกสารเคมีอันตราย ขน สงผานเสนทางรถไฟฟา หากมีความจําเปนในการขนสง ตองมีการติดตามตรวจสอบใหเกิด ความปลอดภัย ในการ ขนสงอยางเต็มที่ 4) ประเมินตรวจสอบอยางตอเนื่องถึงประสิทธิผลและระยะเวลาดําเนินงานปองกันการกอวินาศกรรมตอระบบ ขนสงมวลชน ตัวอยางของแผนปฏิบัติการสำหรับ การเตือนภัยระดับที่ 4 1) มีขาวกรองยืนยันภัยคุกคามหรือการโจมตีระบบขนสงมวลชน 2) ประกาศพื้นที่ควบคุมสภานะการณความปลอดภัย (บางสวนของเสนทาง หรือตลอดเสนทาง หรือทั้ง โครงขาย หรือประกาศเปนพื้นที่) 3) ประกาศการเตือนภัยระดับที่ 4ไมนอยกวา 72ซม. 4) ประเมินความเสี่ยงตอวินาศกรรมเปนระยะอยางตอเนื่อง 5) หากจําเปนใหปดการเดินรถไฟฟา และทําการปองกันการถูกโจมตี ในกรณีที่เกิดเหตุขบวนรถไฟฟาหยุดหรือ เกิดเพลิงไหมในเสนทางกอนถึงสถานี การอพยพผูโดยสารลงจากขบวนรถไฟฟาจะไมทําในขณะที่ขบวนรถไฟฟา อยูระหวางสถานีสองสถานี ยกเวนในกรณีฉุกเฉินที่ ผูโดยสาร จําเปนตองลงจากขบวนรถไฟฟา เนื่องจากจะมี อันตรายหากผูโดยสารยังอยูในขบวนรถไฟฟาตอไป กรณีเกิดเหตุ ที่ทําใหขบวนรถไฟฟาหยุดบนเสนทางกอนถึง สถานี หากเกิดจากสาเหตุอื่นใด ที่ไมเปนอันตรายตอ ผูโดยสารที่ อยูบนขบวนรถไฟฟา เชน กรณีสูญเสีย กําลังไฟฟาเพื่อการขับเคลื่อนจนไมสามารถขยับขบวนรถได เปนตน ศูนย ควบคุมจะดําเนินการสงขบวนรถไฟฟา สําหรับชวยเหลือ (Rescue Train) ไปทําการดึงหรือลาก ขบวนรถไฟฟาไปยังสถานีที่ปลอดภัยและใกลที่สุด การอพยพผูโดยสารลงจากขบวนรถไฟฟา ในขณะที่ขบวนรถไฟฟาอยูระหวางสถานีสองสถานี จะทําได ก็ตอเมื่อไดรับการอนุมัติเห็นชอบจากผูควบคุมจราจร (Traffic Controller) แลวเทานั้น และเมื่อใดก็ตามที่ ความจําเปนตองอพยพผูโดยสารลงจากขบวนรถไฟฟา จะตองควบคุมการอพยพจากขบวนรถไฟฟาใหเปนไป อยางสงบ ซึ่งอาจจะใชทางเดิน (walkway) ที่ออกแบบไวหรือวิธีการอื่นๆ ที่เหมาะสมโดยมีขั้นตอนการทํางาน ดังนี้ 1) ผูควบคุมการจราจร จะตองตกลงกับพนักงานขับรถไฟฟา และนายสถานีของสถานีที่ผูโดยสาร จะอพยพไป ให เขาใจตรงกันวาจะอพยพผูโดยสารไปที่สถานีใด 2) ผูควบคุมการจราจร จะประสานงานกับผูควบคุมการจายกระแสไฟฟา (Power Controller)


90 ใหตัดกระแสไฟฟาสําหรับขับเคลื่อนรถไฟฟาในเสนทางชวงที่ขบวนรถไฟฟาจอดอยู 3) ผูควบคุมการจราจร จะแจงนายสถานีใหทราบวาผูโดยสารจะอพยพไปที่ใด เพื่อใหนายสถานีสง พนักงาน ประจําสถานีไปที่ขบวนรถไฟฟาเพื่อทําหนาที่นําทางและควบคุมการอพยพผูโดยสารกลับมาที่สถานีที่ ตกลงกัน ไว อยางสงบ 4) เมื่อผูโดยสารทั้งหมดที่อพยพจากขบวนรถ พนออกไปเสนทางวิ่งแลว ผูควบคุมการจราจรจะแจงนายสถานี ให สงพนักงานกลับลงไปในเสนทางชวงที่มีปญหาเพื่อตรวจสอบยืนยันวาเสนทางชวงดังกลาว ปลอดจาก ผูโดยสาร แลวและเสนทางวิ่งไมมีสิ่งกีดขวางใดๆ 5) เมื่อเสนทางชวงดังกลาวไดรับการยืนยันวาปลอดภัยจากสิ่งกีดขวางแลว ผูควบคุมการจราจรจะ อนุญาตให ฝายซอมบํารุง หรือพนักงานหนวยกูภัยฉุกเฉิน เดินทางเขาไปที่ขบวนรถที่มีปญหาเพื่อเริ่มดําเนินการ แกไข ปญหา หรืออาจจะสงขบวนรถไฟฟาอีกขบวนหนึ่งเขาไปเพื่อชวยดึง หรือดัน ขบวนรถที่มี ปญหากลับสูศูนย ซอม บํารุงตอไป ทั้งนี้ ในกรณีที่ขบวนรถไฟฟา (Disable Train) ไมสามารถรับพลังงานไฟฟา ไดแก กรณีเกิดไฟฟา ดับทั้งหมด (Total Black out) จะใชพลังงานจาก Diesel Generator หรือ Wayside Storage Battery เพื่อใหขบวน รถไฟฟา สามารถเคลื่อนที่ไปยังสถานีที่ใกลที่สุด เพื่อนําผูโดยสารออกจากขบวนรถไฟฟาครั้งละ ขบวน ขึ้นอยู กับความจุ ของพลังงานสํารองที่มีอยู ดวยวิธีดังกลาว ไมมีความจําเปนที่ผูโดยสารจะตองลงจาก ขบวนรถมาเดิน บนทางเดิน ฉุกเฉินหรือทางเดินซอมบํารุงที่มีอยู แตหากยังสามารถจายไฟฟาไปยังขบวนรถ (Disable Train) ได แนวทางที่ใช ขบวนรถชวยเหลือ (Rescue Train) เพื่อทําการดึงหรือดัน (Push-Pull Operation) จะเปนวิธีการ โดยปกติ 2.9 ภาพรวมของโรงซอมบำรุง โรงซอมบำรุงของระบบรถไฟฟาขนสงมวลจะทำหนาที่หลัก 2 อยางคือ เปนสถานที่ สำหรับจอดรถ (stabling yard) เปนสถานที่สำหรับซอมบำรุงระบบรถไฟฟา (maintenance facility) ในบริเวณโรงซอมบำรุง ยัง อาจเปนที่ตั้งของศูนยควบคุมการเดินรถจากศูนยกลาง(Centralized Traffic Control) ชวงเวลาในการซอมบำรุงรถไฟฟาจะมีจำกัดเนื่องจากรูปแบบ การใหบริการ สำหรับชวงเวลาในการ ซอม บำรุง (maintenance window) นั้นจะมีประมาณ 4-5ชม. ขึ้นอยู กับชวงเวลาการเปดและการปดการ ใหบริการ


91 2.10 ปจจัยหลักในการออกแบบโรงซอมบำรุง การออกแบบโรงซอมบำรุงมีปจจัยหลักที่ตองคำนึง 2สวนคือ 1. ตำแหนงที่ตั้งโรงซอมบำรุง (depot location) การเลือกตำแหนงที่ตั้งของโรงซอมบำรุงถือเปนสิ่ง สำคัญเปนอันดับแรกเนื่องจากมีผลตอการสงและรับตัวรถไฟฟาเขาสูการใหบริการแกประชาชน ในสวนของ ระบบรถไฟฟาขนสงมวลนั้นเสนทางรถไฟฟาจะมีความยาวไมมาก ดังนั้นการเลือกตำแหนงวาจะอยู ตรงกลาง หรือปลายของเสนทางจึงมีความสำคัญนอยกวาพื้นที่ที่สามารถจัดหาได ตำแหนงของโรงซอมบำรุงจะมีผลตอ เปนอยางมากตอรูปแบบการเดินรถในเสนทาง (line operation pattern) โรงซอมบำรุงจะมีกี่แหงนั้นขึ้นอยู กับ จำนวนรถไฟฟาซึ่งดวยทั่วไปแลวในเสนทางรถไฟฟา ขนสงมวลชน 1สายควรมีโรงซอมบำรุง 1แหงเพื่อ ประหยัด คาใชจาย 2. ตำแหนงที่ตั้งสถานที่สำหรับจอดรถ (stabling yard) ตัวรถไฟฟาสวนใหญจะจอดพักไวที่โรงซอม บำรุงในชวงหยุดใหบริการเดินรถ ในบางครั้งอาจมีความจำเปนที่จะตองมีสถานที่สำหรับจอดรถไฟฟาที่อยูนอก โรงซอมบำรุง (out-stabling yard) โดยมีเครื่องมือสำหรับการซอมบำรุงเบาอยูดวยที่จอดรถนอกโรงซอมบำรุง นี้ จะชวยลดเวลาในการสงและรับรถไฟฟาจากเสนทางใหบริการเปนผลทำ ใหชวงเวลาในการซอมบำรุงมีมาก ขึ้น 2.11องคประกอบหลักของโรงซอมบำรุง พื้นที่ในโรงซอมบำรุงจะประกอบไปดวย 3 สวนใหญๆ คือ พื้นที่สำหรับการซอมบำรุงหนัก (heavy maintenance shad) พื้นที่สำหรับการซอมบำรุงเบา(light maintenance shad) และพื้นที่สำหรับการจอด พัก รถไฟฟาหลังจากการใหบริการ (stabling area) โดยพื้นที่สำหรับการซอมบำรุงหนักจะใชสำหรับซอมแซม หรือ เปลี่ยนอุปกรณ (repair and replacement) หรือยกเครื่องใหมระบบตางๆใหม (overhaul) ใน พื้นที่ ดังกลาวจะ ประกอบดวย สำหรับการซอมบำรุงตัวรถไฟฟา (Car Train) ก็จะประกอบดวย 3สวนใหญเชนกัน คือ สวนที่อยูบน หลังคาตัวรถ (rooftop) สวนที่อยูภายในตัวรถ (inside car train) และสวนที่อยูใตตัวรถ (underframe) นอกจากนี้ ยังมีสวนประกอบอื่น ดังแสดงในตารางที่ 2.6


92 ตารางที่ 2.6ตัวอยางพื้นที่สวนตางๆ ของโรงซอมบำรุง พื้นที่ วัตถุประสงคการใชงาน พื้นที่จอดรถไฟ(Stabling Area) ที่จอดรถไฟหลังชั่วโมงเดินรถเวลากลางคืนเพื่อใหพนักงานทำความสะอาดภายในของรถไฟ พื้นที่ลางรถไฟ(Wash Area) โรงลางรถและทำความสะอาดรถทำความสะอาดภายนอกรถไฟเมื่อรถไฟกอนจะกลับไปที่โรงซอมบำรุง พื้นที่ซอมบำรุงทั่วไป(Running Maintenance Area) จุดยกรถไฟขึ้นเพื่อตรวจสอบดานลางของรถไฟและใชเปลี่ยนอุปกรณที่อยูดานลาง พื้นที่ซอมบำรุงรักษาหนัก(Heavy Maintenance Area) จุดที่ใชในการยกตัวรถไฟขึ้น เพื่อใหสามารถทำการซอมแซมและเปลี่ยนอุปกรณบริเวณชวงลาง เชน เปลี่ยน แครรถไฟ (Bogies)นอกจากนั้นยังสามารถใชเครนในการเปลี่ยนอุปกรณที่ติดตั้งอยูบน หลังคารถไฟ เชน เครื่องปรับอากาศ พื้นที่วางสิ่งอำนวยความสะดวกในการซอม บำรุงแบบเฉพาะ(Other Maintenance Facility) แทนกลึงลอแบบอยูใตพื้นใชสำหรับการกลึงลอรถไฟอุปกรณอำนวยการซอมบำรุงตางๆ พื้นที่จัดเก็บ (Storage Area) บริเวณที่ใชเก็บของที่มีน้ำหนักมากหรือวัตถุที่มีอันตราย พื้นที่อื่นๆ (Ancillary Area) พื้นที่อื่นๆ จะเปนพื้นที่ไมเกี่ยวกับการซอมบำรุงแตมีความจำเปนตอง มีเพื่อใหสามารถใชดำเนิงงานซอมบำรุงไดอยางมีประสิทธิภาพ -ศูนยควบคุมไฟไหม (Fire Control Center) -ศูนยควบคุมโรงซอมบำรุง (Depot Control Center) -หองทำงานของโรงซอมบำรุง (Main Depot Building offices) -หองเครื่องในโรงซอมบำรุง (Plant Rooms) -หองเครื่องหรือหองอุปกรณในโรงซอม -โรงอาหาร (Canteen) และ ที่จอดรถ (Car Park) -หองฟตเนต, กีฬาและหอพัก (Fitness, Sport hall and Dormitory) พื้นที่จอดรถบริการ(Service vehicles Park Area) บริเวณใหบริการจอดรถซอมบำรุง 2.12การคัดเลือกที่ตั้งและขนาดพื้นที่ของศูนยซอมบำรุงและอาคารจอดแลวจร การคัดเลือกพื้นที่ตั้งเปน ศูนยซอมบำรุงมีหลักเกณฑในการพิจารณาดังตอไปนี้ (1) ตองมีพื้นที่เพียงพอสำหรับรางจอดขบวนรถไฟฟาทั้งหมดและสิ่งอำนวยความสะดวกตางๆ ที่ จำเปนตอการซอมบำรุงตัวรถไฟฟาและเปนพื้นที่ที่สามารถใหความปลอดภัยในการบริหารการเดินรถระบบ รถไฟฟา รางเดี่ยวโดยเฉพาะ (2) ตองมีการจัดสวนประกอบของสิ่งอำนวยความสะดวกตางๆ ที่จำเปนตอการซอมบำรุงตัวรถไฟฟา อยางลงตัวและเหมาะสม เชน จัดใหมีรางจอดขบวนรถไฟฟา อาคารโรงซอมบำรุงหลัก ซึ่งตองมีพื้นที่แยกเปน งานซอมบำรุงเบาและงานซอมบำรุงหลัก ระบบโครงสรางอื่นๆ อาคารจอดรถไฟฟา อาคารลางรถไฟฟา โรง ซอมบำรุง สำนักงานของเจาหนาที่ซอมบำรุงและพนักงานควบคุมการเดินรถ เปนตน


93 (3) ตองเปนพื้นที่ราบ ไมลาดเอียง เนื่องจากรางสำหรับจอดขบวนรถไฟฟาตองกอสรางใหอยูในแนว ระดับมากที่สุด (4) ตองตั้งอยูใกลแนวเสนทางหลักในการเดินรถใหมากที่สุดเพื่อความสะดวกและยนระยะทาง ใน การ นำขบวนรถไฟฟาเขามารับบริการ รวมทั้งยังเปนการลดคาใชจายในการเดินรถ (5) ตองเชื่อมตอเสนทางเขาออก (Approach Track) กับเสนทางหลักในการเดินรถไฟฟารางเดียว ได เปนอยางดี (6) ตองอยูติดกับถนนที่สามารถเดินทางเขาถึงกันไดทั้งภายในและภายนอก ทั้งนี้เพื่อความสะดวก ใน การขนสงตัวรถไฟฟาและอะไหล 2.13กำหนดการตรวจเช็คและการซอมบำรุง โดยปกติแลวการตรวจเช็คและการซอมบำรุงสามารถกระทำไดหลายแบบเชน ตามชวงเวลา ( Time base) ตาม ระยะทางการวิ่ง (distance base) หรือ ตามสภาพการใชงานจริง (condition base) ในสวนการ ตรวจเช็คและ ซอมบำรุงตามชวงเวลานั้นอาจเริ่มตนจาก การตรวจเช็คประจำวัน ( Daily inspection) ซึ่งจะ กระทำทุกครั้ง กอนที่จะปลอยใหรถไฟฟาออกไปใหบริการ แสดงตัวอยางรายการอุปกรณที่จะตองทำการซอม บำรุงทุก สัปดาห และทุกเดือน ตารางที่ 2.7 แสดงรายการอุปกรณที่จะตองทำการซอมบำรุงทุก 3 เดือน ตารางที่ 2.8 และ ตารางที่ 2.9แสดงรายการอุปกรณที่จะตองทำการซอมบำรุงทุก 6เดือน ตารางที่ 2.10 และ ตารางที่ 2.11 นอกจากนี้ยังสามารถแบงไดจากลักษณะของงานซอมบำรุงไดอีกเปน 3ระดับคือ ระดับที่หนึ่ง (first line level) หมายถึง การซอมหรือเปลี่ยนอุปกรณที่หนางานทันทีทันใดเพื่อระบบ รถไฟฟาสามารถกลับมาทำงานไดตามปกติ ตัวอยางเชน การเปลี่ยนอุปกรณประเภท LRU (Line Replacement Unit) ระดับที่สอง (second line level) หมายถึง การซอมสวนประกอบหรือชิ้นสวน ( individual components and parts) ที่กระทำที่โรงซอมบำรุงเพื่อใหกลับมาใชงานไดตามปกติ ตัวอยางเชน แผงวงจร อิเลคทรอนิกส (printed circuit board) หรือ ชุดอุปกรณของระบบตางๆ เชน ชุดแหลงจายกระแสไฟฟา (power supply units) ระดับที่สาม (third line level) หมายถึง การเปลี่ยนอุปกรณใหม หรือการยกเครื่อง (overhaul) ทั้ง ระบบ รถไฟฟา


94 ตารางที่ 2.7ตัวอยางการตรวจสอบอุปกรณตางๆในระบบรถไฟฟาทุกสัปดาหและทุกเดือน กำหนดการ รายการ การตรวจสอบทุกสัปดาห (Weekly Inspection) 1.Brake pad measurement (120 min) 2.TBU Temperature (60 min) 3.Brake disc measurement (10 min/Wheel) 4.Wheel Profile Measure (60 min) 5.Visual Inspection Cabinets for Electrical Equipment (45 Min) 6.Bogie Inspection (120 min) 7.Interior , Visual Inspection External Steps, Roof (60 min) 8.Check Traction Unit (30 Min) 9.Visual Inspection Underframe and Wheelset ( 90 min) 10. Inspection Vehicle Body including Obstacle Deflector and Exterior Labels (60 min) 11. Inspection and Functional Test Windscreen Washer and Wiper System (30 min) การตรวจสอบทุกเดือน (Monthly Inspection) 1.Brake System _MVB Test (90min) 2.PAU (60min) 3. Air Conditioning System Driver's Cab & Saloon (180min) - Clean Weather Protection Grid -Replace Air filter 4.Functional Check Air Dryer Unit (30 min) 5.Air System (5min) -Warning Horns Inspect, Test 6.Auxiliary Compressor Check Oil Level (20 min) 7. Inspect and Drain Pantograph Control Panel Filter, Inspect (30min) 8. Inspect Quick-Coupling Connection (30min) Vacuum Circuit Breaker -Examine and Lubricate (20 min)


95 ตารางที่ 2.8ตัวอยางการตรวจสอบอุปกรณตางๆในระบบรถไฟฟาทุก 3 เดือน (กลุมที่ 1) กำหนดการ รายการ การตรวจสอบทุก 3เดือน (3 Monthly Inspection) 1.Electrical Components (30min) -Visual Inspection 2.Filter Water Separator (30min) -Examine 3.Pantograph (30min) -Examine, Lubricate 4.Vacuum Circuit Breaker (30min) -Drain Water Separator Check 5.Cab Back Wall Door (90 min) -Function and Clean 6.Driver's Desk / Operating Panels (20 min) -Inspection and Test 7.Master Controller (10 min) -Functional Check Emergency Brake Activation by Master Key 8.Cab Body Side Door (60 min) -Minor Door Test Run, Inspection and Measurement 9.Cab Body Side Door (30 min) -Emergency Egress and Access Mechanism Test 10.Cab Body Side Door (20 min) -Auditory Inspection of the Pneumatics 11.Cab Body Side Door (120 min) -Lubrication 12.Interior equipment driver's cab (20 min) -Seat Visual Inspect, Function Check 13.Windscreen Washer and Wiper System (30 min) -Grease 14.Windscreen Washer and Wiper System (30 min) -Check Torque Settings 15.Body End Door (150 min) -Function Check and Clean 16.Passenger Body Side Door -Minor Door Test Run (60 min) & -Emergency Egress and Access Mechanism Test (90 min) 17.Passenger Body Side Door (60 min) -Auditory Inspection of the Pneumatics 18.Passenger Body Side Door -Greasing (180 min) & Emergency Brake Check (60 min) & Train Doors Function Check (60 min)


96 ตารางที่ 2.9ตัวอยางการตรวจสอบอุปกรณตางๆในระบบรถไฟฟาทุก 3 เดือน (กลุมที่ 2) กำหนดการ รายการ การตรวจสอบทุก 3 เดือน (3 Monthly Inspection 1.Safety System (30 min) -OTMR Inspect 2.Bogies (90 min) -Axle Earth End Contact Disc and Brushes Inspect 3.Automatic Coupler (30 min) -Inspection and Testing 4.Semi-permanent Coupler (30 min) -Inspect 5.Automatic Coupler (30 min) -Wear Measurement 6.Automatic Coupler (30 min) -Pneumatic Components Leak Check 7.Automatic Coupler (30 min) -Cleaning and Lubrication 8.Semi-permanent Coupler (60 min) -Lubricate 9.Underframe ( 360 min) -Heavy Cleaning 10.Bogies (150 min) -Secondary Suspension Levelling Valve Function Check ฿ Life Guard gauge ( 20 min) 11.Underframe Equipment ( 60 min) -Bearing Blocks and Mounting Bolts 12.PA Equipment Saloons ( 30 min) -inspect 13.PA Equipment (30 min) -Inspect and test 14.PAU and CFA units (20 min) -Communication test 15.Central Control Unit (CCU) (30 min) -Check Emergency Brake Reactions 16.Emergency Equipment (20 min) -Check 17.AFFF Fire Extinguisher (30 min) -Visual Inspection, Cleaning 18.Wheelset (60 min) -Measurements ( Back to Back only) 19.Inter-vehicle Gangway (60 min) -Visual Inspection and functional Check 20.Main Transformer Cooler (60 min) -Clean and Inspect


97 ตารางที่ 2.10ตัวอยางการตรวจสอบอุปกรณตางๆในระบบรถไฟฟาทุก 6 เดือน (กลุมที่ 1) กำหนดการ รายการ การตรวจสอบทุก 6 เดือน (6 Monthly Inspection 1.Auxiliary Compressor Safety Valve (P3.2) ( 30 min) -Functional Check 2.Auxiliary Compressor Governor (P3.1) (30 min) -Check Operation 3.Air Dryer Safety Valve (A1.10) (30 min) -Check Operation 4.Air Compressor Delivery Hose (A1.8) (10 min) -Visual Inspection 5.Main Reservoir 150l (A5) (10 min) -Drain and Inspect 6.Brake System (20 min) -Filter/Water Separator and Auto Drain Valve Clean and Check 7.Compressor governor (A1.5) (30 min) Functional Check -Functional Check 8.Air System (30 min) -MR Safety Valve (A1.3) Function Check 9.Brake Resistor (60 min) -Clean and check 10.Brake Caliper Unit (incl. Spring loaded) -Functional check (60 min) 11.Brake System (10 min) -Supply Reservoir 150 l -Drain & Inspect 12.Brake System (60 min) -Low Main reservoir governor (B2) Test 13.Brake System (60 min) -Functional Test 14.Brake System (60 min) -Low BSR Pressure Governor Function Check 15.Saloon Brake Supply Isolation Cock and Saloon Brake Release Valve Test 16.Brake System (240 min) -Check load compensated brake function 17.Brake System (60 min) -Parking Brake Emergency Release Test 18.Brake System (60 min) -MR charging Times -Check 19.Air System ( 60 min) -Dew Point Check 20.Axle (prepare by DWS)


98 ตารางที่ 2.11ตัวอยางการตรวจสอบอุปกรณตางๆในระบบรถไฟฟาทุก 6เดือน (กลุมที่ 2) กำหนดการ รายการ การตรวจสอบทุก 6 เดือน (6 Monthly Inspection 1.Batteries -Inspect (60 min) and Charging voltage check (20 min) 2.Batteries (90 min) -Electrolyte level check 3.Cabinets for Electrical Equipment (60 min) -Visual Inspection and Functional Check 4.Pantograph (60 min) -Check contact force 5.Air Conditioning System Driver's Cab (60 min) -Clean Condenser 6.Air Conditioning System Driver's Cab (60 min) -Check Terminal Box, Thermostats and Over temperature Cut-Out 7.Fresh Air Intake and Exhaust (60 min) -Roof Ventilation Hatches Inspect (60 min) & Cab, Saloon (120 min) 8.Air Conditioning System Saloon ( 240 min) -Clean Condenser 9.Air Conditioning System Saloon ( 90 min) -Check Terminal Box, Thermostats and Over temperature Cut-Out 10.Interior (60 min) -Saloon Lighting Inspect and Function Check 11.Vehicle installation Driver's cab (60 min) -Visual Inspect. and Function Check, Lubrication 12.Cab Back Wall Door Inspect (60 min) 13.Auxiliary Converter Unit (ACU) (90 min) -Container Screwed Connections, Seals and Safety Labels 14.Auxiliary Converter Unit (ACU) (120 min) -System Air Intake -Clean 15.Traction Converter (60 min) -Inspection (60 min) & Check Line Contactor (60 min) 16.Traction Converter (60 Min) -Check Pre-Charging Contactor (60 min) & Fault Memory Download (30 min) 17.Bogies -Anti Roll Bar Connection Rod Inspection (90 min)&Anti Roll Bar Grease(60 min) 18.Fresh and Waste Water System (30 min) -Level Indicators Check 19.Fresh and Waste Water System (30 min) -Visual Inspection 20.CCU (30 min) -Visual Inspection and Functional Check


99 2.14 กิจกรรมที่ทำในโรงซอมบำรุง ภาพที่2.59การตรวจสอบรถไฟ ภาพที่2.60 หองเก็บอะไหล ภาพที่ 2.61การเติมน้ำมันในกรณีรถไฟทางไกลที่มีตนกำลังเปนเครื่องยนตดีเซล


100 ภาพที่2.62จุดซอมบำรุงหลักตัวโบกี้รถไฟ ภาพที่2.63จุดยกเครื่อง


101 ภาพที่2.64 พื้นที่บริเวณซอมบำรุงตัวโบกี้รถไฟ ภาพที่2.65 ทางในโรงซอมบำรุง


102 ภาพที่2.66จุดทำความสะอาดรถไฟ ภาพที่2.67จุดใชทดสอบประสิทธิภาพจริงและจุดตรวจสอบและการ ทดสอบการเบรก


103 2.15เครื่องมือและอุปกรณในโรงซอมบำรุง ตารางที่ 2.12แสดงอุปกรณที่จำเปนในสถานีรถไฟซึ่งมีทั้งรายละเอียดของฟงกชั่นและขอกำหนดทาง เทคนิค ชื่อ/ฟงกชัน ขอมูลทางเทคนิค เครื่องตัด (Band Saw) -ใชตัดวัสดุตางๆ รูปแบบ (Type) : F 320/S1 แหลงจายไฟฟา (Supply voltage) : 400 V 50 Hz กระแสใชงาน (Nominal Current) : 35 A Max Prefuse : 6 A เครื่องเจาะรู (Bench Drill Machine) - ใชเจาะรูตางๆที่ตองการ กำลังมอเตอร (Motor power) : 0.37/0.55 kw แรงดันไฟฟา (Voltage) : 400 ปจจุบัน (Current) : 1.6/1.4 A ความถี่ (Frequency) : 50 Hz Rpm : 680/1380/Min เครื่องลางทำความสะอาด (Blow Down Cabin) - Zippel cleaning -ระบบทำความสะอาดหอง -การลางโดยใชความรอนหรือแรงดัน รูปแบบ (Type) : REMA –K1 – 200/SG กำลังมอเตอร (Motor power) : 3.3 kW แรงดันไฟฟา (Voltage) : 400 V ควบคุมแรงดันไฟฟา (Control Voltage) : 230 V ความถี่ (Frequency) : 50 Hz Rpm : 3000 min-1


104 ชื่อ/ฟงกชัน ขอมูลทางเทคนิค Bogie Frame Lifting Jacks - ใชยกโบกี้และตัวแครขึ้นและลง รูปแบบ (Type) : HYWEMA FL/N1, 3 โหลด (Capacity) : 1300 kg ความเร็วยกขึ้น สูงสุด (Max Lifting Speed) : 560 mm/min นำหนักสุทธิ (Net Weight) : 280 kg ระดับ การใชงาน (Operated Level) Maximum ความชันสูงสุด (Inclination) 1 degree แรงดันไฟฟาของมอเตอร (Motor Voltage) : 3 x 400V, 50 Hz, 24A Bogie Repair Host - ใชยกโบกี้เพื่อซอมบำรุง รูปแบบ (Type) : Windhoff ความจุแตละสะพานรถไฟ (Capacity for each rail bridge) : 18.75 kN ความจุรวม (Total Capacity) : 75 kN ยกความเร็ว (Lifting Speed) : 490 mm/min กำลังมอเตอร (Motor power) : 4 kw แรงดันไฟฟา (Voltage) : 400 V ความถี่ (Frequency) : 50 Hz Cleaning Bearing Machine ( Heavy cleaning machine) - ใชทำความสะอาดตลับลูกปน รูปแบบ (Type) : REMA-K-80-1LB แรงดันไฟฟา (Voltage) : 400V 50 Hz Power : 23kw ปจจุบัน (Current) : 36A ความจุความรอน (Heating Capacity) : 18 kw ภาระโหลด (Load Capacity) : 80 kg


105 ชื่อ/ฟงกชัน ขอมูลทางเทคนิค เครื่องทดสอบปายสัญญาณ(Destination sign test stand) แรงดันไฟฟาเขา (IN Put) : 110 VDC แรงดันไฟฟาออก (OUT Put) : 7.5VD เครื่องเจียร (Grinding Stand) -ใชเจียรสิ่งที่ไมตองการ แรงดันไฟฟา (Voltage) : 230/400 3 phase ปจจุบัน (Current) : 3.1/1.8 A กำลังมอเตอร (Motor power) : P1 900 w, P2 700 w, S2-30 min Mobile Lifting Line 36pc - ใชยกรถไฟขึ้นลงเพื่อเปลี่ยนโบกี้ รูปแบบ (Type) : Windhoff กำลังการผลิตตอแจ็ค (Lifting capacity per jack) : 100 kN กำลังมอเตอร (Motor power): 1,5 kN แรงดันไฟฟา (Voltage) : 400 V ควบคุม แรงดันไฟฟา (Control Voltage) : 24 V Frequency : 50 Hz


106 ชื่อ/ฟงกชัน ขอมูลทางเทคนิค Mobile Roof (Electric Chain hoist) - ใชยกเครื่องปรับอากาศขึ้นบนเพดานรถไฟ รูปแบบ (Type) : MMS 2000 Supply Voltage : 3Ph 400V/ 50Hz AC แรงดันควบคุม (Control Voltage) : 230V/ AC and 24V DC หมอแปลงความถี่ Frequency Transformer) : 575V/ 30kW การควบคุมดวยมือ (Manual Control) & การ ควบคุมอัตโนมัติ (Automatic Control) Motor Test Stand - ใชทดสอบความเปนฉนวนไฟฟา - ใชทดสอบการสั่นสะเทือน รูปแบบ (Type) : MMS 2000 Supply Voltage : 3Ph 400V/ 50Hz AC แรงดันควบคุม (Control Voltage) : 230V/ AC and 24V DC หมอแปลงความถี่ Frequency Transformer) : 575V/ 30kW การควบคุมดวยมือ (Manual Control) & การ ควบคุมอัตโนมัติ (Automatic Control) เครื่องอบแหง (Drying Oven ) - ใชอบแหงมอเตอร หลังซอมและพันสายและอาบ น้ำยาฉนวน รูปแบบ (Type) : NTU 100/150 Nentemperatur : 205องศา Netzspannung : 400V 3/N/PE ความถี่ (Frequency) : 50/60 Hz Nenstrom : 42 A Nennteistung : 27.3 kw


107 ชื่อ/ฟงกชัน ขอมูลทางเทคนิค Pillar Drill 1 - ใชเจาะรู แรงดันไฟฟา (Voltage) : 400 V ความถี่ (Frequency): 50 Hz ปจจุบัน (Current) : 13 A Overhead Crane - ใชยกเครื่องจักรหรือชิ้นสวนหนักขึ้นลง รูปแบบ (Type) : KUNHNEZUG โหลด (Capacity) : 3000kg ยกความเร็ว (Lifting Speed) : 4/1,25m/min Power output : 3,6/1,2kW แรงดันไฟฟา (Voltage) : 380V แรงดันควบคุม (Control Voltage): 48V เครื่องทดสอบโบกี้ (Preload Stand) - ใชทดสอบโบกี้ รูปแบบ (Type) : NENCKI แรงดันลม (Pressure in air spring) : 8-10 bar แรงดันไฟฟา (Voltage) : 3x400 V AC + PE น้ำหนัก (Weight) : 104 kg อุณหภูมิในการใชงาน (Operating Temperature) : -20 oC/ +60 oC โหลดรวม (Total Load) : 2x70 kN


108 ชื่อ/ฟงกชัน ขอมูลทางเทคนิค รถลากจูง (Shunting Truck) - ใชลากจูงและผลักรถไฟ รูปแบบ (Type) : NITEQ RRM-1500 น้ำหนัก (Weight) : 7500 –8000 KGS แรงฉุดลาก (Tractive effort) : 1500 –1750 KGF แบตเตอรรี่ (Battery) : 600AH –48 VCD ความเร็ว (Speed) : 2.5 –5 KM/H MANUAL CONTROL & REMOTE CONTROL Spider TS17 - ใชสั่งการทำงานบนที่สูง รูปแบบ (Type) : TS 17 Spider Working เพาเวอรซัพพลาย (Power Supply) : 230V AC , 50 Hz , 10 Amp แบตเตอรี่ (Batteries) : Dry fit Traction block 6 –160 Manual Control อุปกรณทดสอบมอเตอร (Traction Motor Test Stand) -Check the wire insulation to protective earth (PE) -Check the winding resistance absolutely and within a tolerance value -Check the vibrations from the motor รูปแบบ (Type) : Motor Measurement System MMS2000 แรงดันไฟฟาตาม (Voltage followed) : 230V AC , 400V AC , 570V AC , 24V DC ความตองการของระบบ (System Requirements) : PC mit Pentium 166 MHz 32MB RAMVGA Grafic 800x600 Pixel 1GB Hard Disk


109 ชื่อ/ฟงกชัน ขอมูลทางเทคนิค เครื่องเชื่อม (Welding Machine) -ใชเชื่อม แรงดันไฟฟา (Voltage) : 400 V ปจจุบัน (Current) : 10 A , 12 A , 15 A คาวามถี่ (Frequency) : 50/60 Hz เครื่องกลึงลอรถไฟ (Under floor- wheel Lathe) - ใชขัดลอรถไฟ (Polish Wheel) - ใชขัดจานเบรก (Polish Brake Dish) - ใชตรวจสอบเสียงและการสั่นสะเทือน (Checking Noise & Vibration) CNC – Controlled with Automatic รูปแบบของการงัด (Measuring System Type) : DRU 1000 N กำลังแรงดันไฟฟาที่ตองใช (Connected power voltage) : 3 AC 400V +/-6% กำลังไฟฟาที่ตอง ใช (Connected power) : 105 kVA เครื่องแมแรงยกรถ (Under floor Lifting) รูปแบบ (Type) : Windhoff แรงดันไฟฟาออก (Output) : 7,5 Kw ความถี่ (Frequency) : 50 Hz แรงดันไฟฟา (Voltage) : 400 V


110 ชื่อ/ฟงกชัน ขอมูลทางเทคนิค Wheel Press: เครื่องถอดลอเพลา รูปแบบ (Type) : DUNKES RP 200 Pressure Force : 2000 kN Oil Pressure Max : 260 bar Power of Motor : 18.5 kW การควบคุมดวยมือ (Manual Control) & การ ควบคุมอัตโนมัติ (Automatic Control) 2.16สรุปทฤษฎีและผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ บุญสง วงศเจริญถาวร (บุญสง,2539) ไดทําการวิจัยเรื่อง“การลดตนทุนการผลิต โดยใชกลยุทธ TPM กรณีศึกษาอุตสาหกรรมการผลิตเม็ดพลาสติกพีวีซี” โดยศึกษาวากิจกรรม TPM หรือ Total Productive Maintenance จะสงผลใหความสามารถในการผลิตเพิ่มสูงขึ้น ตนทุนในการ ผลิตลดลง จริงหรือไมโดยสง แบบสอบถามขอมูลดานการผลิตทั้งกอนและหลังการดําเนินการใช กิจกรรม TPM ไปยังบริษัทดังกลาว 3 บริษัท ผลออกมาใหเห็นวากิจกรรม TPM มีประสิทธิภาพใน การใชเครื่องจักรโดยรวมไดจริง และสงผลให ความสามารถในการผลิตเพิ่มสูงขึ้น ดังนั้น การศึกษาจึง มุงไปถึงแนวทางการปรับปรุงตนทุนการผลิต แนว ทางการดําเนินการกิจกรรม TPM พรอมคาดการณ งบประมาณคาใชจายตางๆ ประมาณ 900,000 บาท ในป แรกและอัตราผลตอบแทน ซึ่งเปนตนทุน คงที่ที่สามารถลดลงไดถึงประมาณ 5,000,000 บาท ซึ่งเทียบ อัตราสวนผลตอบแทนไดถึง 5:1 รูปแบบของงานบำรุงรักษาในแตละกลุมอุตสาหกรรมนั้น จะมีลักษณะการดําเนินดาน การดูแล บํารุงรักษาเครื่องจักรที่แตกตางกันออกไปตามรูปแบบของการผลิต ที่มีความแตกตางของ ขั้นตอนการทํางาน ที่ แตกตางกันออกไป ถึงแมวาจะไดวางแผนและกําหนดการควบคุมตางๆ ไวเพื่อให กิจการดําเนินไปไดหาก เครื่องจักรอุปกรณเกิดการเสื่อมสภาพ ขัดของ หรือชํารุดเสียหาย อาจทํา ใหผลิตภัณฑที่ผลิตมีคุณภาพไมได ตามขอกําหนด หรือทําใหการผลิตตองหยุดชะงักไดซึ่งจะมีผลให ตนทุนการตรวจสอบและตนทุนการผลิต โดยรวมสูงขึ้น ดังนั้น ในการบริหารการจัดการที่ดีจึงตอง รักษาความสามารถในการผลิตไวในขณะเดียวกันจะ รักษาตนทุนการซอมบํารุงและตนทุนการเสียของ เครื่องจักรใหอยูภายใตการควบคุม


111 โดยจะตองมีความรูความ เขาใจในงานผลิตและการบริหารงาน บํารุงรักษาเปนอยางดีเพื่อรักษา สภาพ หรือยกสภาพของเครื่องจักรและ อุปกรณตางๆ ใหไดมาตรฐาน ที่กําหนดหรืออีกนัยหนึ่ง เปาหมายที่ สําคัญของการบํารุงรักษา คือ การดูแลรักษาเครื่องจักรสามารถทํางาน อยางมี ประสิทธิภาพอยางเปนระบบ แบบแผนเพื่อควบคุมมาตรฐานในงานบํารุงรักษา ดังนั้น วิธีบริหาร จัดการดาน การบํารุงรักษาเครื่องจักรที่ดี จะตองรูและเขาใจวาในการจัดการบํารุงรักษา ขอมูลการ บํารุงรักษาที่นํา วิเคราะหตัดสินใจ จะตองผาน ขั้นตอนการรวบรวมขอมูลพื้นฐานพรอมทั้งอาการหรือ ปรากฏการณตางๆ ผูที่ พบเห็นและเกี่ยวของเปน อันดับแรก คือ พนักงานผูใชเครื่องจักรมีสวนรวม สําคัญควรจะสรางความรูพื้นฐาน เกี่ยวกับบํารุงรักษา เครื่องจักรของตนเอง เชน การทําความสะอาด การ หลอลื่น และการตรวจสอบดวย ประสาทสัมผัส เปนตน แนวคิดของการบํารุงรักษาทวีผลจึงเปน แนวคิดที่สรางความเจริญกาวหนาอยางมั่นคง ใหกับสายการผลิต ที่ มุงกําจัดความสูญเสีย 6 ประการ เพื่อ สงผลใหประสิทธิภาพการผลิตสูงขึ้นลดการสูญเสีย ของผลิตภัณฑ นอยลงและลดลงตนทุน


112 บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน อาคารและพื้นที่ตางๆในระบบรถไฟฟาบริษัทที่บริหารจัดการรถไฟฟานั้นประกอบดวย 1. อาคารบริหาร (Administration Building) ประกอบดวยแผนกตางๆมากมายแบบบริษัททั่วไป เชน แผนกการเงิน แผนกบัญชี HR , Training , IT เปนตน 2. ศูนยซอมบำรุง DEPOT คำนี้มาจากภาษาฝรั่งเศส คนอเมริกัน จะออกเสียงวา ดีโพ แตคนอังกฤษ ชอบออกเสียงวา เดพโพ แตคนที่รูภาษาฝรั่งเศสจะ ออกเสียง “ดีโป” คำนี้หมายถึงสถานที่ ที่เราใชเปน ที่เก็บสินคาเพื่อรอการขนสงหรือการจัดจำหนาย แปลวา สถานี ก็ได เชน Bus Depot ในกรณีที่ไม อยากใช คำวา station อยางสถานีรถไฟ เพราะ depot มีลักษณะเปนศูนยรวมอยูเปนจุดๆไป ไมใช เรียงกันไปบนเสนทางเดียวอยางสถานีรถไฟ แลวภายใน Depot ประกอบดวยอะไรบาง ? -ศูนย ควบคุมการเดินรถ ( OCC=Operation Control Center ) นอกจากควบคุมการเดินรถแลวใน mainline และ ศูนยซอม บำรุงแลว ยังเปนเหมือนศูนยดูแลความเรียบรอยภาพรวมของของการบริการอีกดวย -โรงซอมบำรุงหลัก ( Main Workshop ) เปนสถานที่ที่ใชซอมบำรุงรถไฟฟา และเปนที่ตั้งของ office แระบบตางระบบตางๆ ที่เกี่ยวของ เชน ระบบอานัติสัญญาณ ระบบไฟฟา ระบบรถไฟฟา ระบบสื่อสาร ซี่งรถเจียราง Parts Store เครื่องกลึงลอก็จะอยูในนี้ดวย -รางวิ่งทดสอบ ( Test Track ) เมื่อทำการซอมหรือแกไขจุดตางเรียบรอยแลว ก็จะจะนำรถมาทำการ วิ่งทดสอบในสวนนี้ -ลานจอดรถไฟฟา (Stabling Yard) รถที่อยูในสภาพปกติหรือยังไมถึงรอบตรวจเช็คก็จะจอดอยูที่นี่ - โรงลางรถไฟฟา ( Train Washing Plant ) ก็จะคลายๆกับเครื่องลางรถยนตในปมที่เปนระบบอัตโนมัติ แตจะใหญกวามาก -สถานีไฟฟา ( Bulk Sub Station ) เปนสถานีไฟฟาที่รับไฟมาจากการไฟฟาและจายใหกับระบบ รถไฟฟา ซึ่งจะเห็นวามีอาคารบริการเขาไปอยูใน Depot เลย (ซึ่งขึ้นอยูกับการออกแบบของรถไฟแต ละสาย) ตามหัวขอตอไปนี้


113 แนวทางการออกแบบโรงซอมบำรุง ภาพรวมของโรงซอมบำรุง โดยทั่วไปแลว โรงซอมบำรุงของระบบรถไฟฟาขนสงมวลชนจะทำ หนาที่หลัก 2 อยางคือ เปนสถานที่สำหรับ จอดรถ (stabling yard) และเปนสถานที่สำหรับซอมบำรุง ระบบรถไฟฟา (maintenance facility) ทั้งหมด นอกจากนี้ในบริเวณโรงซอมบำรุงยังอาจเปนที่ตั้ง ของศูนยควบคุมการเดินรถจากศูนยกลาง (Centralized Traffic Control) โดยปกติแลว ชวงเวลาใน การซอมบำรุงรถไฟฟาจะมีจำกัดเนื่องจากรูปแบบการใหบริการ สำหรับ ชวงเวลาในการซอมบำรุง (maintenance window) นั้นจะมีประมาณ 4-5 ชม. ขึ้นอยูกับชวงเวลาการเปดและ การปดการ ใหบริการ ปจจัยหลักในการออกแบบโรงซอมบำรุง การออกแบบโรงซอมบำรุงมีปจจัยหลักที่ตองคำนึง 2 สวนคือ 1. ตำแหนงที่ตั้งโรงซอมบำรุง (depot location) การเลือกตำแหนงที่ตั้งของโรงซอมบำรุงถือเปนสิ่งที่ ตองใหความสำคัญเปนอันดับแรกเนื่องจากมีผลตอการสงและรับตัวรถไฟฟาเขาสูการใหบริการแก ประชาชน ใน สวนของระบบรถไฟฟาขนสงมวลนั้นเสนทางรถไฟฟาจะมีความยาวไมมาก ดังนั้นการเลือกตำแหนงวา จะอยูตรงกลางหรือปลายของเสนทางจึงมีความสำคัญนอยกวาพื้นที่ที่สามารถจัดหาได (available land) แตทั้งนี้ตำแหนงของโรงซอมบำรุงจะมีผลตอเปนอยางมากตอรูปแบบการเดินรถในเสนทาง (line operation pattern) ดังกลาวโรงซอมบำรุงจะมีกี่แหงนั้นขึ้นอยูกับขนาดของจำนวนรถไฟฟาซึ่ง ดวยทั่วไปแลวในเสนทางรถไฟฟาขนสงมวลชน1สายควรมีโรงซอมบำรุง1แหงเพื่อประหยัดคาใชจาย 2. ตำแหนงที่ตั้งสถานที่สำหรับจอดรถ (stabling yard) ตัวรถไฟฟาสวนใหญจะจอดพักไวที่โรงซอม บำรุง ในชวงหยุดใหบริการเดินรถ ในบางครั้งอาจมีความจำเปนที่จะตองมีสถานที่ส าหรับจอดรถไฟฟาที่อยู นอกโรงซอมบำรุง (out-stabling yard) โดยมีเครื่องมือสำหรับการซอมบำรุงเบา (light maintenance facility) อยูดวยที่จอดรถนอกโรงซอมบำรุงนี้จะชวยลดเวลาในการสงและรับรถไฟฟา จากเสนทางใหบริการเปนผลทำใหชวงเวลาในการซอมบำรุงมีมากขึ้น การบำรุงรักษางานระบบราง มักจะมีสำคัญคือการซอมและบำรุงรักษาแมจะไมใชงานผลิตโดยตรง แต งานซอมและบำรุงรักษามี บทบาทชวยใหการผลิตเปนไปอยางราบรื่น


114 3.1 การเพิ่มประสิทธิภาพของรางดวยระบบเชิงปองกัน (Preventive Maintenance System) โดยจะแบงออกเปน 3.1.1 หมอนรถไฟและเครื่องประกอบราง หมอนไม ทำจากไมเนื้อแข็งทำจากไมเนื้อแข็ง (เชน ไมเต็ง ไมมะคา ฯลฯ) หรือไมเนื้อออนชนิดแข็ง อาบ น้ำยาครีโอโซต (creosote) เพื่อกันแมลงนิยมใชในอดีตตมีความแข็งแรงพอที่จะถายเทน้ำหนักขบวน รถลง สูหินรองราง แตเกอการผุงาย และเมื่อใชไปนาน ๆ จานรองรางจะกินลึกเขาไปในเนื้อไม ทำให ระดับสันรางทรุด ตัวลง ตองเปลี่ยนใหม นอกจากนี้ ตะปูยึดรางเมื่อไดรับแรงโยกคลอนของขบวนรถที่ วิ่งผานมาก ๆ เขา ก็ทำให ตะปูหลุด ตองยายไปตอกตำแหนงใหมหรือแมแตเปลี่ยนหมอน ดังนั้น ใน ปจจุบัน จึงมีการใชหมอนคอนกรีต เพิ่มมากขึ้น ซึ่งนอกจากจะทนทานกวาแลว ก็ยังรองรับความเร็ว ขบวนรถที่เพิ่มมากขึ้นอีกดวยหมอนไมแบบเดิม ที่มีมาก และการสงวนพื้นที่ปาไม ทางรถไฟของการรถไฟแหงประเทศไทยสวนมากยังใชหมอนไมใชจานรองรางทำดวยแผน เหล็ก เจาะรู วางอยูระหวางรางกับไมหมอนและตอกตะปูรางยึดติดกันไวดวยกัน เนื่องจาก จานรอง รางมีพื้นที่รับน้ำหนัก มากกวาฐานรางจึงชวยกระจายน้ำหนักออกในทางกวางและชวยยืดอายุการใช งานของไมหมอนแตการวางราง ลงกับไมหมอนโดยไมใชจานรองก็ยังมีใชอยูบาง ขอดีของการใชหมอนไม ㆍราคาไมแพงงายตอการผลิต ㆍชวยดูดซับแรงกระแทกไดดี ㆍงายตอการขนสงและบรรทุก ㆍงายตอการซอมบำรุง ในการวางและปรับแกระยะหางของรางและระยะหางหมอนไดงาย ㆍสามารถใชงานรวมกับหินโรยทางไดดี ㆍสามารถใชเปนไมหมอนบนสะพานได ㆍเปนฉนวนไฟฟาที่ดี ขอเสียของการใชหมอนไม หมอนไมคือผุงาย และเมื่อใชไปนาน ๆ จานรองรางจะกินลึกเขาไปในเนื้อไม ทำใหระดับสัน รางทรุดตัว ลง ตองเปลี่ยนใหม นอกจากนี้ ตะปูยึดรางเมื่อไดรับแรงโยกคลอนของขบวนรถที่วิ่งผาน


115 มาก ๆ เขา ก็ทำใหตะปู หลุด ตองยายไปตอกตำแหนงใหมหรือแมแตเปลี่ยนหมอน ดังนั้น ในปจจุบัน จึงมีการใชหมอนคอนกรีตเพิ่ม มากขึ้น ซึ่งนอกจากจะทนทานกวาแลว ก็ยังรองรับความเร็วขบวนรถที่ เพิ่มมากขึ้นอีกดวย ㆍอายุการใชงานไมยาวนาน เสื่อมตามสภาพอากาศ ㆍเมื่อเสื่อมสภาพเชน หมอนยุบ หรือแตกยากตอการบำรุงรักษาสภาพทางใหดีไดเหมือนเดิม ㆍติดไฟได ภาพที่ 3.1 หมอนไม หมอนคอนกรีต อัดแรงดวยปญหาที่มีในหมอนไมแบบเดิมที่มีมาก และการสงวนพื้นที่ปาไม จึงทำใหมี การพัฒนาหมอนรองรางที่ทำดวยคอนกรีตอัดแรง ใสโครงเหล็กไวภายใน ซึ่งมีราคาถูกกวา ไม และรองรับภาระ ตอเพลาไดมากขึ้น ยิ่งไปกวานั้นการใชหมอนคอนกรีตอัดแรงกับรางเชื่อมยาวก็ยัง สามารถทำใหความเร็วขบวน รถมีมาก และลดเสียงรบกวนจากการเดงของรางไดอีกดวย อยางไรก็ ตาม หมอนคอนกรีตตองติดตั้งกับหินรอง ทางที่โรยอยางหนา และคันทางที่อัดแนนอยางดีจึงจะเกิด ประสิทธิภาพในการใชงานสูงสุด ความคิดเรื่องหมอนคอนกรีตอัดแรงมีมาตั้งแต พ.ศ.2420 โดยไดมีการคิดคนหมอนรองรางที่ทำจาก คอนกรีตขึ้น กระนั้นก็ยังไมเปนที่แพรหลายนัก จวบจนสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งไมหาไดยากขึ้น ทำให เกิดการ พัฒนาหมอนคอนกรีตในยุโรป ยิ่งเพิ่มน้ำหนักของรางและเชื่อมยาวรางใหติดกันมากขึ้นเทาใด การผลิตหมอนก็ ตองทำใหมีคุณภาพดีมากขึ้นเทานั้น ในปจจุบัน หมอนคอนกรีตมีการใชแพรหลายกัน ในหลายประเทศรวมถึง ไทย


116 ขอดีของหมอนคอนกรีต ㆍมีความแข็งแรงสูง น้ำหนักของหมอนมีสวนชวยตอตานการเคลื่อนตัวของรางเชื่อมยาวไดดี ㆍอุปกรณเครื่องยึดเหนี่ยวหมอนคอนกรีตมีคุณภาพสูง โดยกำหนดเลือกใชแบบสปริง ㆍสามารถเปนฉนวนปองกันกระแสไฟฟาไดดี ㆍมีอายุการใชงานยาวนานโดยทั่วไปกำหนดไว 50 ป ㆍสามารถผลิตไดครั้งละจำนานมากๆ โดยการผลิตแบบ Mass Produced ขอเสียของหมอนคอนกรีต ㆍการขนสงและการบรรทุกยุงยางกวาหมอนไม เนื่องจากหมอนมีน้ำหนักมาก ตองใชเครื่องมือ เครื่องจักรกลชวย ㆍการบำรุงรักษา การอัดหินตองใชเครื่องมือกลหนัก เชน รถอัดหิน ㆍหมอนจะแตกชำรุดมาก หากเกิดเหตุรถตกรางและการซอมเปลี่ยนหมอนใหมยากกวาหมอนไม ภาพที่ 3.2 หมอนคอนกรีตอัดแรง หมอนเหล็กกลา ในบางกรณี เชนบนสะพานเหล็ก การรองรับรางรถไฟดวยหมอนคอนกรีต อาจทำให หมอนคอนกรีตตองแตกเสียหายจากแรงสะเทือน จึงตองใชหมอนที่ทำจากไมหรือเหล็กขึ้น เพื่อตัดปญหา ดังกลาวในทางรถไฟสายแยกในประเทศอังกฤษ หมอนรองรางนิยมทำจากเหล็กกลา เนื่องจากใชปริมาณหิน รองรางที่นอยกวาการใชหมอนคอนกรีตถึง 60% (นอยกวาหมอนไม 45%) ตลอดจนสามารถหลอมกลับมาใช ใหมได


117 ภาพที่ 3.3 หมอนเหล็กกลา 3.2 สวนประกอบโครงสรางระบบรองรับรางรถไฟ ระบบรองรับรางนับวามีความสำคัญมากในการรองรับน้ำหนักของการเดินรถไฟ (Dynamic Load) และบังคับเสนทาง (Guide) ใหรถไฟเคลื่อนที่ไปได ในปจจุบัน ระบบรองรับรางมีหลายรูปแบบ ใหเลือกใช เหตุผลที่เลือกใชแตละรูปแบบมาจากเรื่องของความแข็งแรง ความสะดวกในดานการ กอสราง งบประมาณการ ลงทุน ฯลฯ ซึ่งแตละโครงการตองเลือกใชใหเหมาะสม ในที่นี้จะไมกลาวถึง โครงสรางรองรับรางแบบโมโนเรล โครงสรางรองรับรางแบบเดี่ยว และแบบพิเศษอื่นๆ ระบบรองรับรางที่นิยมโดยทั่วไปแบงเปน 2 แบบใหญๆ คือ แบบใชหินโรยทาง (Ballasted Track) และแบบไมใชหินโรยทาง (Non-Ballasted Track/ Ballastless) หรือแบบโครงสรางคอนกรีต (Track Slab) แนนอนวาระบบที่เกาแกกวาและมีใชมากอนตองเปนแบบแรก สวนแบบหลังไดรับการ พัฒนาขึ้นใชงานใน ภายหลัง ลองมาดูขอดี ขอเสียและความแตกตางของทั้ง 2 ระบบดังตอไปนี้ 3.3 ทางรถไฟแบบใชหินโรยทางและไมใชหินโรยทาง 3.3.1 ทางรถไฟแบบใชหินโรยทาง (Ballasted Track) หินโรยทางชนิดนี้มีชื่อวา “หินโรยทาง” หรือ ที่ในภาษาอังกฤษเราจะมีชื่อเรียกวา BALLAST STONE และไมใชรองรับไมหมอน หินโรยทางมีหนาที่ยึดหมอนรองรางที่คอยรองรับรางรถไฟซึ่งจะทำ จากวัสดุที่เปน เหล็กใหอยูในสภาพคงที่โดยใหเกิดการเปลี่ยนตำแหนง (DISPLACEMENT) ที่นอยที่สุด สาเหตุเปนเพราะวา รถไฟถือวาเปนยานพาหนะที่มีความเร็วและมวลมหาศาลมากอยางหนึ่งในบรรดา ยานพาหนะดังนั้นเมื่อตัวรถไฟ ตองเคลื่อนที่ผานไปบนรางรถไฟ จะทำใหเกิดพลังงาน (ENERGY) มหาศาลขึ้นบนรางรถไฟ ซึ่งแนนอนวาจะทำ ใหเกิดผลตอบสนอง (RESPONSE) มากมายรวมไปถึงคา การสั่นสะเทือน (VIBRATION) ที่สูงมากๆ ทำใหวิศวกร ผูออกแบบจำเปนที่จะตองคำนึงถึงสภาวะ


118 ผลตอบสนองทางพลศาสตร (DYNAMICS RESPONSE) ของรถไฟที่ จะเกิดขึ้นกับรางรถไฟและ ฐานรองรับรางรถไฟนี้ดวยจากนั้นเจาหินโรยทางนี้ก็จะทำหนาที่เสมือนหนึ่งเปนฐาน รากแบบยืดหยุน ตัวได (FLEXIBLE FOUNDATION) คอยทำการกระจาย นน จากทางดานบนใหกระจายตัวลง ไปสูดิน คันทางที่อยูขางลาง ขอดี การเลือกใช หินโรยทาง คือ เปนวัสดุที่หาไดจากธรรมชาติ แทบที่จะไมตองผาน กระบวนการผลิตใดๆ ก็สามารถที่จะนำมาใชงานได แถมยังไมทำใหเกิดมลภาวะทางเสียงอีกดวย หรือ พูดงายๆ คือ เสียงที่เกิดจะมี ความนุมนวล กอใหเกิดความนารำคาญใจที่นอย ㆍมีบันทึกการใชงานเปนที่ยอมรับและใชงานกันอยางแพรหลาย ㆍลงทุนคากอสรางต่ำเมื่อเทียบกับแบบใชโครงสรางคอนกรีต (Slab Track) ㆍเกิดเสียงดังรบกวนอันเนื่องมาจากการเดินรถนอยกวาแบบ Slab Track ㆍเกิดความยืดหยุนโดยธรรมชาติ จากสวนประกอบรางที่อยูบนไมหมอนที่วางอยูบน หินโรยทางที่ทำ ใหเกิดความยืดหยุนได ㆍระบบแบบใชหินโรยทางนี้ เนื่องจากไมไดหลอดวยคอนกรีตติดแนนตายตัว จึง สามารถเปลี่ยนแปลง แนวเสนทางไดในอนาคตถาตองการ การเพิ่มประแจสับรางก็ทำไดงายกวา ดวยเหตุผลเดียวกัน ㆍมีโอกาสเกิดความเสียหายไดนอยกวาถาเกิดรถฟตกราง หรืออีกนัยหนึ่งคือซอมแซม ได งายและรวดเร็วกวา ㆍไมตองใชชางที่มีความรูชำนาญดานเทคนิคในการกอสรางเหมือนการทำงานกับ ระบบ Slab Track ขอเสีย การใช หินโรยทาง คือ เมื่อใชงานไปสักพักหนึ่งเราจำเปนที่จะตองเสียคาใชจายและเวลา ในการ บำรุงรักษาบาง โดยตองทำการลางหิน จัดเรียงหิน และ อัดหิน


119 ㆍมีโอกาสเกิดการทรุดตัวไดมากจากแรงกดของการเดินรถ (Dynamic Loads) ㆍตองการ เครื่องจักรที่มีประสิทธิภาพสูงในการกอสรางและการซอมบำรุง เชน เครื่องบด อัดหินโรยทาง (Tamping Machines) ㆍตองใชเวลาและความพยายามในการบำรุงรักษามากกวาเนื่องจากธรรมชาติของโครงสรางที่ ไมมี ความเที่ยงตรงสูงเหมือน Slab Track ㆍคาใชจายในการบำรุงรักษาเพิ่มสูงมากขึ้นอยางมีนัยสำคัญในชวงครึ่งหลังของอายุการใชงาน ระบบ ㆍหินโรยทางถูกบดอัดอยางมากเมื่ออยูบนโครงสรางยกระดับถาไมไดติดตั้งแผนรองรับดังที่ได กลาวมาแลวขางตน อยางไรก็ดี การเพิ่มแผนรองรับดังกลาวก็จะเปนการลงทุนเพิ่มขึ้น ㆍมีคาสวนเผื่อความปลอดภัยต่ำ (Safety Margin) ตอการเกิดรางโกง (Buckling) บนโครงสราง ทาง ยกระดับ ㆍสวนที่เปนรอยตอกับสะพานเปนสวนที่ออนไหวและตองการการบำรุงรักษามากกวาปกติลอง นึกดู วาสะพานตองตั้งอยูบนโครงสรางที่มีเสาเข็ม แทบไมทรุดตัวหรือทรุดตัวนอยเมื่อเทียบกับ โครงสรางที่ตั้งอยูบน ดินที่ไมมีเสาเข็มที่แข็งแรงในระดับเดียวกัน ㆍตองมีการตรวจสอบและบำรุงรักษามากกวาระบบรางแบบไมใชหินโรยทางเพื่อรักษาคุณภาพ ใหอยู ในระดับที่เหมาะสมปลอดภัยในการใชงาน ㆍสำหรับรถไฟความเร็วสูง หินโรยทางอาจปลิวขึ้นมาไดจากแรงอัดอากาศของการเคลื่อนที่ของ รถไฟ ภาพที่ 3.4 โครงสรางทางรถไฟ


120 3.3.2 ทางรถไฟที่ไมใชหินโรยทาง (Ballastless/ Slab Track)Slab Track จะใช Monoblock หรือ Concrete Sleepers ที่ถูกฝงอยูในแผนพื้นคอนกรีต (Slab) โดยรูปแบบไดมีการ พัฒนาเรื่อยมา เพื่อใหระบบ Slab Track มีความยืดหยุนในแนวดิ่งเชนเดียวกับแบบหินโรย ทาง และ เพื่อลดเสียงรบกวนและความสั่นสะเทือน จะมีการติดตั้งชิ้นสวนที่ชวยเพิ่มความยืดหยุนไรทั้งกับระบบ เครื่องยึดเหนี่ยวรางและ/หรือใตหมอนคอนกรีตหรือ lab ระบบนี้สามารถออกแบบใหมีอายุการใชงาน ไดถึง 60 ปหรือมากกวานั้น แมวาชิ้นสวนบางอยาง เชน แผนยางหรือ รางเหล็กอาจมีอายุนอยกวานั้น ระบบ Slab Track ถูกนำมาใชมากขึ้นเพื่อลดความยุงยากใน การ บำรุงรักษาระบบราง เชน ไมตองมีการ Tamping และปรับแตงแนวเสนทาง โดยเฉพาะในสวนที่ เขาไป ดำเนินการไดยาก เชน ในอุโมงคหรือบนโครงสรางยกระดับ โดย Slab Track สามารถรับประกัน เสถียรภาพ ของทางรถไฟ มีความพรอมใชงาน (Availability) สูงและใหคุณภาพในการเดินรถที่ราบรื่น สม่ำเสมอ ยิ่งไปกวา นั้น Slab Track ยังถูกพิจารณานำมาใชทดแทนระบบแบบใชหินโรยทางสำหรับ รถไฟความเร็วสูงเพราะมีความ เที่ยงตรงสูงและมีความทนทานตอน้ำหนักกดของเพลารถไฟไดมาก จากมุมมองทางดานเทคนิค Slab Track มี ขอดีและเหมาะสมสำหรับระบบรางที่อยูบนโครงสราง ยกระดับและในสวนอุโมงคที่ซึ่งในอนาคตหลังจากติดตั้ง รางไปแลวไมมีความคาดหมายที่จะเปลี่ยน แนวเสนทางของรางอีกเลย ขอดี การเลือกวัสดุรองรับที่ไมใชหินโรยทาง คือ จะเสียคาใชจายและเวลาในการดูแลรักษาที่นอยกวาวัสดุที่ เปนหินโรยทาง ㆍSlab Track กอใหเกิดความสมดุลของความเที่ยงตรงของโครงสรางรองรับรางรถไฟกับแนว เสนทางรางรถไฟ คือเมื่อดำเนินการวางแนวเสนทางและสรางระบบรางเรียบรอยแลว หลังจากนั้นไม คอยตอง บำรุงรักษาตลอดอายุการใชงานของระบบ ทำใหประหยัดไดเปนอันมาก ㆍSlab Tack สามารถรับประกันคุณภาพและมาตรฐานที่สูงกวาระบบรางรถไฟแบบใชหินโรยทางใน ระยะยาว ㆍSlab Track มีน้ำหนักตอเมตรนอยกวาแบบใชหินโรยทาง ทำใหสามารถออกแบบโครงสราง ยกระดับใหมีขนาดเล็กลงเพื่อประหยัดคาใชจายดานโครงสรางงานโยธาได ㆍSlab Track มีความสูงนอยกวาแบบใชหินโรยทาง หากติดตั้งในอุโมงค ทำใหสามารถทำขนาดของ อุโมงคใหเล็กลงได


121 ㆍSlab Track สามารถรับประกันความมั่นคงสม่ำเสมอของการเดินรถและมีความเที่ยงตรงทนทาน สูงกวา ㆍSlab Track ทำใหสามารถยก Cant ไดมากกวาและมีความชันของเสนทางหรือ Gradient มากกวา ㆍไมตองมีการ Tampings ทำใหไมตองปดเสนทางเพื่อการดังกลาว เปนการเพิ่มความพรอมใชงาน ของระบบ ㆍระบบแบบใชหินโรยทางจำเปนตองซอมบำรุงโดยใชรถซอมบำรุง (Service Vehicles)เชน การ Tampings, การทำความสะอาดหินโรยทาง เปนตน สวนระบu Slab Trackไมจำเปนตองใชรถ ซอมบำรุง ดังกลาว ทำใหประหยัดไปไดมาก ขอเสีย ㆍเพิ่มตนทุนที่สูงกวา ㆍSlab Track ตองการการลงทุนสูงกวาแบบใชหินโรยทางในเรื่องของการกอสราง ㆍมีเสียงรบกวนออกมามากกวาแบบใชหินโรยทาง ㆍถาเกิดรถไฟตกราง ความเสียหายจะมากกวา ซอมแซมยากกวาและเสียเวลามากกวา ㆍการเปลี่ยนเสนทางหรือการเพิ่มประแจสับราง ทำไดลำบากกวาแบบใชหินโรยทราบวาจะตองทำ ในอนาคต อยางนอยก็ควรวาง Slab ไวกอน ภาพที่ 3.5 ตัวอยางรางรถไฟที่ใชหินโรยทาง ภาพที่ 3.6 ตัวอยางรางรถไฟที่ไมใชหินโรยทาง


122 3.4 ประแจรถไฟ ประแจเปนอุปกรณที่สำคัญของทางรถไฟเพราะจะทำใหรถไฟวิ่งเลี้ยวจากทางรถไฟหนึ่งไปยัง ทางที่ ตองการ สวนประกอบที่สำคัญของประแจคันบังคับลิ้นประแจรางเสริม รางปก รางกันและตะเฆ การควบคุม ทิศทางที่จะใหขบวนรถไฟวิ่งจะทำไดโดยโดยคันบังคับ ลิ้นประแจเพื่อเปดลิ้นประแจ สำหรับบังคับลอรถไฟใหวิ่ง ไปในทิศทางที่ตองการ ทาของลิ้นประแจจะสัมพันธกับทาของสัญญาณ เพื่อใหคนขับรถไฟเห็นแตไกลจะตองนำ ขบวนรถไฟเขาสูรางในทิศทางใด ประแจสามารถควบคุมไดดวยคันกลับที่ตัวประแจ สายลวดดึงรอก หรือมอเตอรไฟฟาก็ได ประแจมีได ทั้งแบบประแจเบี่ยงเลี้ยว ประแจเบี่ยงรูปสองงาม หรือประแจทางตัด ภาพที่ 3.7 สวนประกอบที่สำคัญของประแจ ภาพที่ 3.8 ประแจรถไฟความเร็วสูง 3.4.1 หลักการทำงานของประแจ เนื่องจากรถไฟ (รถจักร และรถพวง ตลอดจนยานยนตราง) ตองอาศัยราว เหล็กทั้งสองขางของราง รถไฟชวยบังคับลอใหเคลื่อนไปในทิศทางที่เหมาะสม[1]โดยมีครีบลอ (หรือ บังใบลอ) ซึ่งติดอยูตอนในของลอ ชวย หากตองการใหรถไฟเปลี่ยนทิศทางเดิม ก็จำเปนตองใหราว


123 เหล็กดานหนึ่งบังคับทิศขบวนรถไป โดยมีราว เหล็กอีกดานหนึ่งคอยกั้นมิใหครีบลอเขาไปในทิศทางที่ ไมตองการ หาไมแลวรถไฟก็จะตกรางได จากหลักการ ขางตน เราสามารถเปลี่ยนทิศทางของขบวนรถ ได ดวยรางลิ้นประแจ เดิมที่บังคับดวยคันโยกที่ติดกับตัวประแจ ซึ่งประแจชนิดนี้ยังมีใชถึงปจจุบัน โดยเฉพาะ ในเขตโรงซอมรถไฟ หรือสถานีที่การจราจรไมมาก ในเวลาตอมาไดมีการพัฒนาใหมีกลไก ขอเหวี่ยงติดกับรอก และใชสายลวดบังคับ ซึ่งประแจลักษณะนี้มีใชมากเชนกัน เมื่อยานสถานีรถไฟมี ขนาดใหญโตขึ้น การใชสาย ลวดเปนการไมสะดวกเพราะเกะกะการเดินไปมาในยาน จึงไดมีการใช มอเตอรไฟฟาหรือลมอัดบังคับประแจขึ้น โดยปกติ ประแจสามารถใชงานไดดีที่ความเร็วต่ำ ๆ เพราะ ยิ่งความเร็วสูง โอกาสที่จะถูกแรงเขาสู ศูนยกลางเหวี่ยงใหตกรางก็มีมากขึ้น แตในปจจุบันไดมีการ พัฒนาใหประแจสามารถผานดวยความเร็วสูง ๆ ได [2] นอกจากนี้ ในประเทศเขตหนาวยังไดมีการติดตั้งระบบทำความรอนที่รางลิ้นประแจ ชวยใหน้ำแข็ง ไมเกาะ ประแจจนขยับรางลิ้นไมได 3.4.2 สวนประกอบที่สำคัญของประแจ รางลิ้น (point blade) เปนสวนประกอบ สำคัญที่ทำใหรถไฟสามารถเปลี่ยนทิศทางเดินได ประกอบดวยราวเหล็กโคงและราวเหล็กตรงอยางละ อัน ปลายดานที่สวนกับขบวนรถจะลีบเล็กเพื่อใหชิดซาย หรือขวาไดสะดวกเปนประแจสวนเบี่ยงไป ทางซาย ทาตรง จะสังเกตเห็นวารางลิ้นชิดซาย ทำใหครีบลอยังคง รักษาทิศทางตรงไดอยู ในทาง กลับกันหากกลับประแจใหรางลิ้นชิดขวา บังใบลอจะถูกบังคับใหเดินตามทาง เลี้ยวแทน ภาพที่ 3.9 รางลิ้นประแจ ตะเฆ (frog) หมายถึงจุดตอหักมุมของรางเหล็ก ระหวางทางตรงและทางเลี้ยว เปนสวนที่ตองทำ ให แข็งแรงอยางมากเพราะตองรับแรงสะเทือนจากขบวนรถ จนบางครั้งก็ตองนำไปทำใหแข็งโดยผาน ประบวนการ แรงระเบิด (shock hardening) คำวา frog มีที่มาจากลักษณะของตะเฆกับกีบมา


124 ภาพที่ 3.10 ตะเฆ รางกัน หรือราวกัน (check rail) เปนราวเหล็กที่ติดตั้งชิดดานในรางรถไฟในระยะกวางพอให ครีบลอ ผานได นิยมติดตั้งไวดานตรงขามกับตะเฆเพื่อใหแนใจวาครีบลออยูในทิศทางที่ถูกตอง หรือ แมแตนำไปติดตั้งใน โคงรัศมีแคบหรือบนสะพานดวยนอกจากนี้ ยังมีเครื่องกลับประแจหรือคันกลับ ประแจเพิ่มเติมดวย ซึ่งจะทำ หนาที่ขยับรางลิ้นใหอยูในทิศทางที่ถูกตอง รวมไปถึงกลไกบังคับ สัญญาณประจำที่สัมพันธประแจนั้นดวย ภาพที่ 3.11 รางกัน 3.5 เขตบรรทุกและเขตโครงสราง (Loading Gauge / Structural Gauge) ในการสรางทางรถไฟและการออกแบบตัวรถนั้นจะตองกำหนดระยะหางระหวางสวนกวางที่สุด ของหัว รถกับสวนแคบที่สุดของสิ่งปลูกสรางที่ประกอบกันขึ้นเปนทางรถไฟไวดวย ระยะหางดังกลาว ตองมีมากพอที่จะ ปองกันไมใหสวนใดสวนหนึ่งของชบวนรถไฟสัมผัสกับโครงสรางทางรถไฟขณะ เคลื่อนที่ สวนกวางที่สุดในการ ออกแบบขบวนรถไฟเรียกวา เขตบรรทุก (Loading Gauge) และสวน


125 ที่แคบที่สุดของทางรถไฟเรียกวา เขต โครงสราง (Structural Gauge) วิศวกรผูออกแบบทางรถไฟ และชบวนรถไฟจะตองปฏิบัติตามกติกาการ ออกแบบนี้โดยเครงครัดโดยตองออกแบบทุกสวนของ ขบวนรถไฟใหอยูในเขตบรรทุกและทุกสวนของทางรถไฟอยูในเขตโครงสรางจะมีสวนที่ยื่นล้ำออกมา ไมได เขตโครงสรางกับเขตบรรทุกจะมีสวนที่สัมผัสกันจุดเดียว คือ ตรงพื้นลอกับหัวราง ภาพที่ 3.12 เขตโครงสรางและเขตบรรทุกของทางรถไฟ ภาพที่ 3.13 การตรวจหาความคลาดเคลื่อน ภาพที่ 3.14 รถลางหิน


126 ภาพที่ 3.15 รถตรวจทาง 3.6 ลักษณะของงานในแผนกตัวรถไฟ แผนก RST รับผิดชอบในสวนของงานซอมบำรุงตัวรถไฟในรงซอมบำรุง จะเปนการซอมแซมระบบ ขับเคลื่อน และการบำรุงรักษารถไฟฟา ลักษณะงานแบงออกเปน 2ลักษณะ คือ การตรวจสอบซอมบำรุงโดย การทำตามแบบแผนที่กำหนดไว การตรวจสอบซอมบำรุงโดยไดรับการแจงจากผูควบคุมรถไฟฟา การตรวจสอบเพื่อหาความผิดปกของรถไฟฟา สามารถตรวจสอบระบบตางๆไดจากการบันทึกขอมูล การเดิน รถ เชน การตรวจสอบระบบการขับเคลื่อน การตรวจสอบระบบเบรก ตรวจสอบระบบปรับอากาศ ฯลฯ เพื่อ ความสะดวกรวดเร็วในการแกไข ภาพที่ 3.16 การใชโปรแกรมตรวจสอบเพื่อหาความผิดปกติ 3.7 การปฏิบัติงานการบํารุงรักษามอเตอรไฟฟารถไฟฟา ขอควรระวังเพื่อความปลอดภัยในการซอมบํารุงมอเตอรไฟฟา - ตัดระบบจายพลังงานของรถไฟ - ควรตรวจสอบใหแนใจวารถไฟไมสามารถเคลื่อนที่ไดระหวางงานซอมบํารุง - ปฏิบัติตามขั้นตอนตางๆ ที่กาหนดไวใหถูกตอง


127 - ใชเครื่องมือใหเหมาะสมกับลักษณะของงาน - ใชอุปกรณปองกนัน (เชน รองเทานิรภัยแวนตา ฯลฯ) - สังเกตสิ่งที่อาจเปนอันตรายจากสารเคมีและขอความเตือนภัยของสารนั้น ๆ 3.8 รอบการบํารุงรักษามอเตอรในระยะเวลา 6 เดือน 3.8.1 ตรวจสอบชองทางลมอากาศเขาและชองทางลมอากาศออก - สังเกตตรวจสอบชองทางอากาศเขาและชองทางอากาศออกดวยตาเปลา - นําสิ่งสกปรกเชนใบไมกระดาษฯลฯ ออกจากเสนทางอากาศเขาและอากาศออก - ตรวจสอบสภาพภายนอกมอเตอรดวยตาเปลา - ถาชิ้นสวนชํารุด ตกหลน สูญหาย ฯลฯ ใหแกไข หรือ เปลี่ยนใหม - ทําความสะอาดชองระบายนํ้าใน Han SingและBearing Shield (N-End) ถาจําเปน 3.8.2 ตรวจสอบสภาพความเสียหายภายนอก - ตรวจสอบสภาพภายนอกดวยสายตา(รอยราวการเสียรูป ฯลฯ) ของมอเตอรและชิ้นสวนที่ หลุดหลวม หรือเสียหาย - ชิ้นสวนที่ชํารุดจะตองซอมหรือเปลี่ยนใหมทันที - ตรวจสอบสภาพ ความแนนหนาของขั้วตอทางไฟฟ า (Connecting Leads) ทุก ๆ จุด ของระบบ 3.9 วงรอบการบํารุงรักษามอเตอรในระยะเวลา 1 ป 3.9.1 ตรวจสอบชองทางลมอากาศเขาและชองทางลมอากาศออก - ตรวจสอบทางอากาศเขาและออกดวยตาเปลา - นําสิ่งสกปรกเชนใบไมกระดาษ ฯลฯ ออกจากพื้นที่ทางอากาศเขาและอากาศออก - ตรวจสอบมอเตอรดวยตาเปลา - ถาชิ้นสวนชํารุดหรือสูญหายใหเปลี่ยนใหมทันที - ทําความสะอาดชองระบายนํ้าใน Han Sing และBearing Shield (N-End) ถาจําเปน 3.9.2 ตรวจสอบความเสียหายภายนอก


128 - ตรวจสอบความเสียหายภายนอก(รอยราวการเสียรูป ฯลฯ) ของมอเตอรและชิ้นสวนที่ หลุดหลวม หรือเสียหาย - ชิ้นสวนที่ชํารุดจะตองซอมหรือเปลี่ยนใหม - ตรวจสอบสภาพ ความแนนหนาของขั้วตอทางไฟฟา (Connecting Leads) ทุก ๆ จุด ของระบบ - ชิ้นสวนที่ชํารุดจะตองซอมหรือเปลี่ยนใหมทันที (ตามรูปที่ 3.9) 3.9.3 การอัดจาระบีตลับลูกปน (Bearing) ของมอเตอรขับเคลื่อน - ถอดฝา (4.50) และถอดสกรู(4.51) ออก - ถอด ฝา (5.40) และถอดสกรู(5.41) ออก - ถอด Protective Cap (4.41) หรือ(6.41) จาก Tapered Gease nipple (4.40) หรือ (6.40) - ทําความสะอาด Grease Gun และ Grease Nipple - อัดจาระบีลงในตลับลูกปน (Bearing) ตําแหนง D-End (4.41) ประมาณ45กรัม ของ Roller Bearing Grease Grease - อัดจาระบีลงในตลับลูกปน (Bearing) ตําแหนง N-End(6.41) ประมาณ25กรัม ของ Roller Rearing - รักษา Grease Nipple ดวยProtective Cap (4.41) หรือ (6.41) - ประกอบรวม Cover (4.50) บน Stator Han sing (1.10) - ทาสีบาง ๆ ใหเรียบบนบริเวณ Sealing เพื่อให Cover มีผิวที่สะอาด - ทาสีบาง ๆ ที่เกลียวสกรูใสและขันใหตึงดวยที่แรงบิด 8 Nm - ประกอบรวม Cover (5.40) ไวบน Bearing Shield (N-End) (6.10) - ใส Activator เพื่อที่จะขันสกรู - หลอลื่นดวย Adhesive ใสและขันใหตึงดวยที่แรงบิด 8 Nm


129 ภาพที่ 3.17 ชิ้นสวนของมอเตอรในการซอมบํารุง 3.10 การปฏิบัติงานการบํารุงรักษาอินเวอรเตอร 3.10.1 ขอควรระวังเพื่อความปลอดภัย - การเขาซอมบํารุงระบบชวงลางรถไฟฟ าในชองซอมบริเวณที่จอดรถเทานั้น - ควรตรวจสอบใหแนใจ ตัวรถไฟไมสามารถเคลื่อนที่ไดระหวางงานซอมบํารุง - ตัดระบบไฟฟา Power Supply ออกจากวงจรกอนเสมอ - ล็อคระบบไฟฟา Power Suply ดวยกุญแจเพื่อป องกนการตอกลับคืนโดยไมไดตั้งใจ - ตรวจสอบวัดแรงดันไฟฟาอีกครั้ง เพื่อใหแนใจวาไมมีแรงดันคางอยูในระบบ - ตอระบบกราวดของรถไฟฟาลงกราวดของโรงซอมบํารุง


130 - ปกติจะมีแรงดันไฟฟาคงคางอยูในชุด Inverter Unit อยูเสมอจาก DC Link Capacitor แมวาจะตัด ระบบไฟฟา Power Supply ออกจากวงจรแลวก็ตาม ซึ่งตองรอการคายประจุแลวไมเปน อันตรายอยางนอย 3 นาทีผูปฏิบัติตองพึงระวังไวเสมอ - ใชอะไหลสํารองที่ผูผลิตรับรองเทานั้น - ถาไมไดปฏิบัติตามขอความปลอดภัยอาจกอใหเกิดอันตรายถึงชีวิต การบาดเจ็บและ อุปกรณเสียหาย 3.10.2 วงรอบการบํารุงรักษาอินเวอรเตอรในระยะ 1 ป - ตรวจสอบตัวกรองอากาศดานขาเขาถาพบวามีสิ่งใดๆตางๆมาติดอยูใหกาจัดเศษที่อยู ขางในออก -ตรวจสอบจุดตอสายดินที่อยูใน TractionContainer (ซึ่งจุดตอตางๆ ตองแนนและไมสึก กรอน) - ตรวจสอบหารองรอยการไหมที่เกิดกับสวนประกอบตาง ๆ ซึ่งจะตองไมปรากฏ - ตรวจหารองรอยการเกิด Voltage Flashover (การวงผานของกระแส) - ตรวจสอบสายไฟฟากำลังเพื่อหาความเสียหาย - ตรวจสอบสายไฟฟากำลังเพื่อหาการหลุดหลวมของจุดตอตาง ๆ - ตรวจสอบสายไฟควบคุมเพื่อหาความเสียหาย - ตรวจสอบจุดตอของระบบควบคุมเพื่อหาความเสียหาย - ตรวจสอบฝาปดเพื่อความปลอดภัย วิศวกรผูออกแบบทางรถไฟและขบวนรถไฟจะตอง ปฏิบัติตามกติการออกแบบนี้โดยเครงครัดโดยตองออกแบบทุกสวนของขบวนรถไฟใหอยูในเขต บรรทุกและทุกสวนของทางรถไฟอยูในเขตโครงสรางจะมีสวนที่ยื่น ล้ำออกมาไมได เขตโครงสรางกับ เขตบรรทุกจะมีสวนที่สัมผัสกันจุดเดียวคือ พื้นลอกับหัวราง 3.11 การทำวาระรถจักร ALSTHOM ระบบไฟฟา การทำวาระ 1 เดือน ไฟฟาสวนบน ALS การทำวาระ 1 เดือนไฟฟาสวนลาง ALS การทำวาระ 3 เดือน ไฟฟาสวนบน ALS การทำวาระ 3 เดือน ไฟฟาสวนลาง ALS


131 ภาพที่ 3.18 การทำวาระรถจักร ALSHOM ระบบไฟฟา 3.12 การวางแผนงาน Preventive Maintenance (PM) งานที่เหมาะสมสำหรับการทำ PM จะเปน ลักษณะเครื่องจักรที่ - ลักษณะของความเสียหายของชิ้นสวน สามารถปองกันไดดวยการซอมและบำรุงรักษาปกติ - ลักษณะความเสียหาย แปรผันตรงตาม การใชงาน - ชิ้นสวนอุปกรณมีความสำคัญตอเครื่องจักรมาก PM ก็ยังมีขอจำกัดตออุปกรณ หรือชิ้นสวนบางประเภท - เปนความเสียหายแบบสุม (Random failure mode) ; การพังไมขึ้นอยูกับเวลา ใชๆงานอยูไปอาจจะ พังไดเลย หรืออาจจะใชงานไดนาน ซึ่งคาดเดาไมได เชน บอรดอิเล็กทรอนิกส เปนตน - อุปกรณที่ไมไดมีความสำคัญ หรือผลกระทบตอโรงงาน (ประมาณ คาการบำรุงรักษาในการทำ PM แพงกวา ซอม หรือซื้อใหม) 3.13 ชนิดของงาน Preventive Maintenance (PM) การวางแผน PM ในงานซอมและการบำรุงรักษา สามารถแบงออกไดเปน 2 แบบหลักๆคือ แบงตาม ระยะเวลา (Time base) และ แบงตามปริมาณการใชงาน (Usage base) 3.13.1 แผน PM ตามระยะเวลา (Time-based Preventive Maintenance) การกำหนดแผน PM โดยใชเวลาเปนตัวกำหนดเพื่อทำนายสภาพ และคุณสมบัติของเครื่องจักร ซึ่งใน กรณีแรก จะใชในการเขาไปทำกิจกรรมกับชิ้นสวนที่มีความสำคัญตอเครื่องจักรมากๆ ซึ่งชิ้นสวนตัวนั้น


132 ของ เครื่องจักรมีผลกระทบรุนแรงตอเครื่องจักรมากๆ หากชิ้นสวนนี้เกิดความเสียหาย จะสงผล กระทบตอ เครื่องจักร และการผลิตของโรงงาน หรือสำหรับโรงงานที่เดินเครื่องจักร ที่มีระยะเวลาที่แนนอนตลอด ขอยกตัวอยางเพื่อความเขาใจนะ ครับ เชนสมมุติเรามีปม 1 ตัว ในระยะเวลา 1 ป ปมอาจจะมีการใชงานตลอด 6,570 ชม (ใชงาน 3 เดือน หยุด 1 เดือน ; ตลอด 24 ชม) ก็สามารถกำหนดชวงเวลาเขาไปเปลี่ยนถายน้ำมันหลอลื่นทุกๆ 6 เดือน 3.13.2 แผน PM ตามปริมาณการใชงาน (Usage-based Preventive Maintenance) การกำหนดแผน PM ตามลักษณะปริมาณการใชงานจะ “ชี้ชัดมากกวา” แบบแผน PM ที่กำหนดตาม ระยะเวลา เพราะ สภาพ และคุณสมบัติของชิ้นสวนเครื่องจักร รวมถึงชิ้นสวนสิ้นเปลืองตางๆ (Consume part) ยกตัวอยางเชน การกำหนดเปนแผนวาจะเขาไปทำกิจกรรมของเครื่องจักรทุกๆการใชงาน กี่ชั่วโมง ที่ ใช งานเครื่องจักรจริงๆ ตามจำนวนครั้ง (Cycle) หรือระยะทางที่ใชงาน (ในกรณีของยานพาหนะ) เปน ตน 3.14 ประเภทของการบำรุงรักษาเชิงปองกัน Preventive Maintenance (PM) 3.14.1 การบำรุงรักษาตามระยะ การบำรุงรักษาตามเวลา การบำรุงรักษาตามระยะจะดำเนินการ ตามชวงเวลาที่กำหนด (เชน ทุกป รายไตรมาส รายเดือน และรายสัปดาห) ผูจัดการควรอานคูมืออุปกรณเพื่อกำหนดตารางการ บำรุงรักษาที่ แนะนำ ผูผลิตสวนใหญระบุความถี่ในการตรวจสอบทรัพยสินและอายุการใชงานโดยเฉลี่ย ของแตละชิ้นสวน 3.14.2การบำรุงรักษาเชิงคาดการณ การบำรุงรักษาเชิงคาดการณ (PDM) เปนรูปแบบขั้นสูงของการบำรุงรักษาเชิงปองกันโดยมี วัตถุประสงคเพื่อลดจำนวนงานที่วางแผนไวที่จำเปน PDM วิเคราะหขอมูลเพื่อพิจารณาวาเมื่อใดที่ตรงตาม เงื่อนไขการบำรุงรักษาที่เฉพาะเจาะจง บริษัทตางๆรวบรวมขอมูลจากผูเชี่ยวชาญ กอนที่จะระบุขอกำหนด PM ที่เหมาะสมที่สุด ยิ่งคุณมีขอมูลมากเทาไหรคุณก็จะสามารถตัดสินใจไดอยางชาญฉลาดทางการเงิน มากขึ้น เทานั้น 3.14.3การบำรุงรักษาที่กำหนด การบำรุงรักษาเชิงคาดการณ การบำรุงรักษาประเภทใหมนี้ จะทำการตัดสินใจโดยอาศัย ขอมูล อยางไรก็ตามการบำรุงรักษาตามคำสั่ง (RXM) ชวยใหผูจัดการฝายปฏิบัติการไดรับประโยชน


133 เพิ่มเติม โดยจะ รวบรวมและวิเคราะหสภาพอุปกรณกอนที่จะเสนอแนะ คำแนะนำเฉพาะที่ออกแบบมา เพื่อลดความเสี่ยงในการปฏิบัติงาน เทคโนโลยีนี้ขับเคลื่อนโดย “การวิเคราะหที่กำหนดไวลวงหนา” และ ไดรับการออกแบบมาเพื่อ ตั้งสมมติฐานผลลัพธที่เปนไปได 3.15 การบำรุงรักษาระบบรางดวยวิธี Preventive Maintenance System 1.After Cooler รถจักร HID ภาพที่ 3.19 After Cooler รถจักร HID 2.Turbo รถจักร HID ภาพที่ 3.20 Turbo รถจักร HID 3. กรองอากาศ Air Filter รถจักร HID ภาพที่ 3.21 กรองอากาศ Air Filter รถจักร HID


134 4. กรอง Full Flow รถจักร HID ภาพที่ 3.22 กรอง Full Flow รถจักร HID 3.16 คำแนะนำการแกไขรถจักร HID ลำดับ อาการที่เกิดขึ้น สาเหตุเกิดจาก การแกไข 1 หลอด L O W WATER PRESS ติดแสดง - WATER PUMP ไมหมุน - แรงดันน้ำระบายความ รอนต่ำกวาพิกัด WATER PUMP - ตรวจดูการรั่วไหลตามจุดตางๆ 2 หลอด L O W WATER LEVEL ติดแสดง - ระดับน้ำระบายความรอนต่ำ กวา ½ ของหลอดแกว - มีน้ำรั่วที่ตัว WATER PUMP - ตรวจดูการรั่วไหลตามจุดตางๆ แลวแกไข - ถามีน้ำรั่วมากตองทำการ OFF เครื่องที่ชำรุด - หามอุดรู ที่ WATER PUMP เพราะจะทำใหน้ำรั่วเขาไปลาง น้ำมันเครื่อง 3 - หลอด ENGINE OVER SPEED ติด - เกิดตอน START เครื่อง - เ ก ิ ด ต อ น ใ ช NOTCHB - รอบเครื่องยนตสูงเกิน 1950 RPM - SPRING ที่อยูภายใน ACTUATOR หัก - รอบ HUNT โดยเกิน 1950RPM - PT PUMP ชำรุด - เปลี่ยน SPRING ใหม โดยแจงหนวยซอมแกไข - ลดรอบลงใชแค NOTCH 7 พรอมบันทึกลงใน สมุด วาเกิดกับเครื่องใด - หนวยซอมแกไข


135 3.17 การบำรุงระบบรางดวยระบบ Configuration Management Team CM การบำรุงรักษาระบบจะใชเอกสารอางอิงเพื่อประเมินผลกระทบตางๆ จากการเปลี่ยนแปลง โดย Configuration Management Team ประกอบดวย 1. นักวิเคราะหระบบที่ทำงานกับผูใชเพื่อกำหนดถึงปญญา 2. โปรแกรมเมอรที่ทำงานกับนักวิเคราะห 3. Program Librarians จะทำงานกับนักวิเคราะหระบบและโปรแกรมเมอร โดยทีมงานนี้จะทำงาน ติดตอกับตัวแทนของลูกคาเพื่อรับคำสั่งตางๆในการปรับเปลี่ยน Configuration Control Board หรือ Change Control Board ประกอบดวยตัวแทนของลูกคาและสมาชิกของ Configuration Management Teams จะชวยในการแกไขปญหาตางๆ ดังนี้ 1. Naming: สวนประกอบอะไรบางของระบบที่ตองมีการเปลี่ยนแปลง? 2. Authentication: การรับรองวาเปนของแท คือ การเปลี่ยนแปลงทำอยางถูกตอง? 3. Authorization: ใครไดสิทธิหรือกระทำการเปลี่ยนแปลง? 4. Routing: ใครเปนผูติดตอเพื่อขอทำการใหเปลี่ยนแปลง? 5. Cancellation: ใครสามารถยกเลิกหรือตองการใหเปลี่ยนแปลง? 6. Delegation: ใครรับผิดชอบสำหรับการเปลี่ยนแปลง? 7. Valuation: มีระดับความสำคัญอะไรในการเปลี่ยนแปลง? กระบวนการจัดการที่ดีจะชวยในการ ควบคุมลำดับขั้นตอนหรือกระบวนการตางๆในการบำรุงรักษา ระบบใหมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น 3.18 หนาที่ของ Configuration Management - รักษาความสมบูรณและความถูกตองขององคประกอบที่จัดเก็บในฐานขอมลูใหมีความทันสมัย เสมอ ตามกาลเวลาที่เปลี่ยนไป (version) - รับผิดชอบควบคุมการเปลี่ยนแปลงและการสงเวอรชั่นใหมของรายงานใน Baseline อยางมี ระบบ ตลอดอายุการใชงาน - ตองมีศูนยเอกสารรวมกัน (shared document) หรือฐานขอมลูรวมกัน


136 3.19 ประเภทของ Configuration Management การบริหารจัดการ Configuration ในโครงการมี 3 สวน ดังนี้ 3.19.1 Configuration Identification เปนการคัดเลือกและระบุงานหรือเอกสารของโครงการที่สำคัญ เพื่อนำมาบริหารจัดการ ภายใต กระบวนการของ Configuration Management โดยเรียกงานหรือเอกสารที่ถูกเลือกวา Configuration Item หรือ CI การเลือกงานหรือเอกสารที่จะนำมาบริหารจัดการนั้น อาจเปนงานหรือ เอกสารที่มีความสำคัญหรือ เกี่ยวของกับสมาชิกในโครงการมาก เชน แผนการบริหารโครงการ (Project Management Plan) งานที่ตองสงมอบ (Deliverables) เอกสารความตองการโครงการ (Requirements Specification) แบบงานโครงการ (Design) งานหรือเอกสารเหลานี้จะถูกตั้งชื่อตาม รูปแบบที่กำหนด Naming Convention มีการทำ Baseline และบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลง มี การทำ Version Control เก็บประวัติการเปลี่ยนแปลง และมีการ มอบหมายผูดูแลรับผิดชอบอยาง ชัดเจน 3.19.2 Onfiguration Status Accounting (CSA) เปนการจัดเก็บและบันทึกขอมูลรายละเอียดเกี่ยวกับ CI และนำออกจากระบบเพื่อใช ในการทำงาน รวมถึงการจัดทำรายงานเพื่อใชในการตรวจสอบตัวอยางรายงานที่จัดทำขึ้น ไดแก รายชื่องานหรือเอกสาร CI หรือสถานะของการเปลี่ยนแปลง CI ที่ไดมีการปรับเปลี่ยนแกไขตาม Change Request (CR) ที่อนุมัติแลว ดำเนินการเสร็จสิ้นแลวหรือไม และไดรับการปรับปรุง Baseline ใหเปนปจจุบัน 3.19.3 Configuration Verification and Audit (CVA) เปนการตรวจสอบวากระบวนการจัดการ CI ของโครงการ เพื่อใหมั่นใจวางานหรือ เอกสารของโครงการ ไดรับการจัดเก็บ บันทึก อนุมัติ ตรวจสอบ และปรับปรุงแกไขไดอยางถูกตอง สอดคลองกับความตองการของ ลูกคาซึ่งรวมถึง Change Request ที่ไดรับการอนุมัติดวย โดยการ ตรวจสอบ CI นี้จะทำตั้งแตงานหรือเอกสาร ชิ้นแรก จนกระทั้งชิ้นสุดทายที่จะทำการสงมอบใหลูกคา รวมถึงทุกครั้งที่มีการทำ Baseline และปรับเปลี่ยน Baseline โดยทีมงาน Project Audit จะทำ หนาที่ในการตรวจสอบวา งานหรือเอกสารที่เปน CI ไดรับการ บริหารจัดการตามกระบวนการของ Configuration Management อยางครบถวนสมบูรณหรือไม และมีการ จัดทำรายงานเพื่อแจงผล การตรวจสอบหรือคำแนะนำในกรณีที่พบขอบกพรองในกระบวนการ


137 3.20 ประโยชนและขอบเขตงานของโครงการปรับปรุงทาง 3.20.1 ประโยชนของโครงการปรับปรุงทาง การดำเนินโครงการปรับปรุงทางของ รฟท. จะกอใหเกิดประโยชนดังตอไปนี้ 1) เพิ่มความแข็งแรงของทางรถไฟใหเหมาะสมกับสภาพการเดินรถในปจจุบันและอนาคต 2) เพิ่มความปลอดภัยในการเดินรถ ลดการเกิดรางหัก รางราวในทางประธาน อันเนื่องมาจากการใช งานมา นาน 3) ลดคาใชจายในการซอมบำรุงทางรถไฟ การซอมบำรุงรถจักรและลอเลื่อน 4) ลดเวลาในการเดินทาง โดยสามารถเพิ่มความเร็วสูงสุดขบวนรถจาก 90 กิโลเมตร ตอชั่วโมง เปน 120 กิโลเมตรตอชั่วโมง 5) เพิ่มความจุของทางจากความเร็วขบวนรถโดยสารเชิงพาณิชยที่เพิ่มขึ้น ทำใหสามารถเพิ่มการ เดินขบวนรถได 6) เพิ่มน้ำหนักบรรทุกและสมรรถนะในการบรรทุกสินคา จากการที่โครงสรางทางสามารถรองรับ น้ำหนักกด เพลา (Axle Load) ที่สูงขึ้นจาก 15 ตันตอเพลา เปน 20 ตันตอเพลา (รูปที่ 3.22 ) ซึ่งชวย ลดการจัดหาลอเลื่อน ลงได 7) เพิ่มความสะดวกสบายใหกับผูโดยสารขณะใชบริการการเดินรถจากสภาพทางที่ดีขึ้น 8) สนับสนุนการพัฒนาระบบโลจิสติกสในภูมิภาคอาเซียน และสงเสริมใหการเปลี่ยนรูปแบบการ ขนสง (Modal Shift) มาใชการขนสงระบบราง ภาพที่ 3.23 เปรียบเทียบความสามารถในการรับน้ำหนักของทางรถไฟ


138 3.21 การศึกษา ออกแบบและดำเนินโครงการ การที่จะดำเนินโครงการสามารถทำไดหลายวิธี แตวิธีที่ดีที่สุดคือการวางระบบเปนโครงขายให สอดคลองกันแผนการพัฒนาเมืองเสียกอน แลวจึงคอยๆ สรางใหสมบูรณตามความจำเปน ตรงไหน เปนสวน รวมก็ออกแบบและเตรียมการไวแตเนิ่น ๆ จะไดไมตองมาแกไขหรือทุบทิ้งสรางใหม หรือ ทำทางเชื่อม ทำ โครงสรางซ้ำชอนสิ้นเปลืองในภายหลังทั้งนี้อาจจะเริ่มจากการวางกรอบนโยบาย การ วางแผน การศึกษาความเหมาะสมโครงการการ ออกแบบรายละเอียดในสวนของานโยธา และการทำ ขอกำหนดเฉพาะทางเทคนิคสำหรับงานระบบรถไฟฟา การประกาศคัดเลือกผูรับเหมา ที่ปรึกษา และ จัดหาผูใหบริการเดินรถอยางไรก็ตาม บางครั้งอาจไมจำเปนตองดำเนินตามขั้นตอนนี้ทั้งหมดก็ได บาง กรณี เมื่อมีนโยบายหรือ แผนแลว ก็จะจัดทำรายงานการออกแบบโครงการ (Project Design Report) ซึ่งคลายกับการศึกษาความ เหมาะสม แตมีรายละเอียดมากกวาในแตละสวน และนำมาใชเปนเกณฑ หลักในการออกแบบรายละเอียดตอไป 3.22 การวางแผนและการศึกษาความเหมาะสม ดังที่กลาวมาแลวตอนตนวาระบบรางใหวัตถุประโยชนในดานการคมนาคมอยางมากการขนสง มีหลาย วิธี วิธีที่งายที่สุดคือการใชรถขนสงทางถนน แตเมื่อมีความตองการมาเคลื่อนยายสินคาหรือ การเคลื่อนยาย มวลชนจำนวนมากจากจุดหนึ่งไปยังจุดหมายปลายทางจึงจำเปนตองมียานพาหนะ และระบบรูปแบบอื่นที่มี ความเหมาะสมกวามาประยุกตใชงาน เชน ระบบรางเปนตน เพราะเปน ทางเลือกที่คุมคากวาการขนสงทาง ถนนโดยใชรถยนตหรือทางอากาศโดยใชเครื่องบิน เมื่อมาถึงจุดนี้ การที่จะตอบคำถามวาครสรางระบบราง หรือไม อยางไร สามารถทำไดโดยการศึกษาความเหมาะสม โครงการ และเพื่อความเปนเอกภาพและกอ ประโยชนสูงสุด จะตองมีการวางแผนโครงการตางๆ ไว อยางเปนระบบดวย เพื่อใหการพัฒนาเปนไปอยางมี ประสิทธิภาพ ยั่งยืนคุมคาและทันตอความ ตองการและความเติบโตของเศรษฐกิจและเมือง 3.23 การวางแผน ในเรื่องของการวางแผนนั้น ปจจัยสำคัญคือนโยบายซึ่งตองสะทอนไปถึงอนาคตความตองการ ของเมือง หรือประเทศในภาพรวม ตองวางแผนเปนโครงขาย ไมใชวางภาพไวทีละสาย โดยพัฒนา รวมกับภาพรวมการ ขนสงทั้งระบบในระยะยาว ซึ่งตองสอดคลองกับขนาดประชากร ขนาดของเมือง ลักษณะทางกายภาพ แผนการ พัฒนาประเทศในดานการพัฒนาเมืองและการคมนาคมขนสง และการ อำนวยความสะดวกในดานการเดินทาง สิ่งแวดลอมและคุณภาพชีวิตของคนในภูมิภาคนั้น และ การ เจริญเติบโต ซึ่งขึ้นอยูกับสภาพเศรษฐกิจ สถานะการเงินของประเทศดวยเพราะเปนการลงทุนระยะ ยาวที่มี มูลคาสูงมาก แผนที่ไดจะอยูในรูปของ Master Plan ของเมือง ของประเทศ หรือของภูมิภาค ที่ใหญกวานั้น เปนตน โดยแผนจะประกอบไปดวย เสนทางและรูปแบบที่ตองการคราวๆ เทานั้น


Click to View FlipBook Version