The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กลุ่ม 3 โรงซ่อมบำรุง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Sayachonthon Khamphangkun, 2024-02-21 09:50:39

กลุ่ม 3 โรงซ่อมบำรุง

กลุ่ม 3 โรงซ่อมบำรุง

39 ภาพที่2.27รายละเอียดของอาคารภายในศูนยซอมบำรุง (9/16)


40 ภาพที่2.28รายละเอียดของอาคารภายในศูนยซอมบำรุง (10/16)


41 ] ภาพที่2.29รายละเอียดของอาคารภายในศูนยซอมบำรุง (11/16)


42 ภาพที่2.30รายละเอียดของอาคารภายในศูนยซอมบำรุง (12/16)


43 ภาพที่2.31รายละเอียดของอาคารภายในศูนยซอมบำรุง (13/16)


44 ภาพที่2.32รายละเอียดของอาคารภายในศูนยซอมบำรุง (14/16)


45 ภาพที่2.33 รายละเอียดของอาคารภายในศูนยซอมบำรุง (15/16)


46 ภาพที่2.34 รายละเอียดของอาคารภายในศูนยซอมบำรุง (16/16)


47 ภาพที่2.35 ทัศนียภาพของโรงศูนยซอมบำรุงหลัก (Main Workshop) ภาพที่2.36 แผนผังโรงซอมบำรุงหลัก (Main Workshop)


48 ภาพที่2.37 ลักษณะภายในโรงซอมบำรุงหลัก (Main Workshop) เครื่องมือไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส ( Electric and Electro-Mechanic) (เชน อุปกรณประตู (Door Mechanism)เครื่องอัดอากาศ (Compressors) และอุปกรณอาณัติสัญญาณ (Signaling) ฯลฯ) และอุปกรณ อิเล็กทรอนิกส (Electronic Equipment) เชน อุปกรณเกี่ยวกับการควบคุมรถ (Vehicle Control) วิทยุ (Radio) การแจงขาวสารผูโดยสาร (Passenger Information) กระจกและการงานตกแตงภายใน ฯลฯ 1.4) หองเก็บวัสดุ (Material Storage) ใชเก็บอะไหลสําหรับซอมบํารุงรถไฟฟา ในการเก็บวัสดุ ใช ระบบการเก็บวัสดุแบบ Pallet Storage System และรถยกที่ใชมี 2 ประเภท ไดแก Electric Powered Forklift Truck และ Reach Truck ฯลฯ 1.5) โรงซอมแคร (Bogie Repair Facility) ใชสําหรับยกตัวแคร (Bogie) ออกจากตัวรถ(Car Body) โดยการ แยกตัวแครของระบบ Monorail ใชวิธีหยอนตัวแคร (Bogie Drop) ไปยึดกับคานรางหลัก(Main Track Beam) และคานสามารถหมุนยกขึ้นหรือยกลงได และรูปแบบรายละเอียดทางวิศวกรรม(Engineering Specification) ของโรงซอมแครของระบบ Monorail ดังแสดงในภาพที่2.38 1.6) โรงวินิจฉัยลอและเปลี่ยนยางลอ (Wheel Diagnostic and Tyre Replacement Facility) ภายหลังจาก รถไฟฟาเปดใหบริการไประยะเวลาหนึ่ง สภาพยางลอจะเริ่มสึกหรอเนื่องจากการเสียดสี ระหวาง ลอกับยาง จึง จําเปนตองมีการกอสรางโรงวินิจฉัยยางลอไวเพื่อตรวจสอบสภาพของยางลอเปน ระยะ ๆ ตาม ชวงเวลาหรือระยะทางที่ทางโรงงานผลิตยางลอไดกําหนดตารางเวลาการบํารุงรักษาไว โดย


49 เครื่องมือตรวจ วินิจฉัยลอและ เปลี่ยนยางลอ ดังแสดงในภาพที่ 2.39 และสภาพภายในของโรงวินิจฉัย ยางลอดังแสดงในภาพที่ 2.40 1.7) โรงทําสี (Paint Shop) ระบบรถไฟฟาจําเปนตองทําสีเปนครั้งคราว เนื่องจากอุบัติเหตุ และ สภาพแวดลอม ดังสรุปไดดังนี้ ก) หองทําสีภายในศูนยซอมบํารุงเปนหองที่จัดเตรียมไวสําหรับการดูแลและบํารุงรักษาสี ของตัว รถไฟฟาการใชงานสวนใหญ เปนการติดสติ๊กเกอรปายขางตัวรถไฟฟา โดยหองทําสีได ออกแบบใหปลอดจากฝุน ละอองและสามารถทํางาน ไดสะดวกและมีคุณภาพ การทําสีใหมใหกับตัว รถไฟฟาจะดําเนินการเมื่อรถไฟฟา เกิดอุบัติเหตุและสีของตัว รถไฟฟาซึ่งมีโอกาสเกิดขึ้นนอยมากหรือ ตามอายุการใชงานของสีที่จะตองทําสีใหม ทุก 10 - 15 ป ข) หองทําสีมีลักษณะเปนหองที่มีการปดมิดชิดมีระบบกําจัดมลพิษจากสีที่จะนํามาใช โดย ไมมี ผลกระทบ กับบริเวณอื่น ๆ สีที่ใชเปนประเภท Water -Based Color ที่มีมลพิษต่ำหรือสีประเภท อื่น ๆ ที่มี มลพิษต่ำตาม เทคนิคของผูผลิตรถไฟฟา รวมทั้งขยะมูลฝอยที่เกิดจากกระบวนการพนสีจะ ถูกแยกเก็บรวบรวม ในภาชนะแยก เฉพาะและสงกําจัดรวมกับขยะอันตรายโดยหนวยงานที่รับกําจัด ขยะมูลฝอยอันตรายโดยเฉพาะ 2) อาคารบริหารและศูนยควบคุมการเดินรถ (Administration Building and Operation Control Center) ประกอบดวย หองประชุม หองพักผอน หองควบคุมระบบไฟฟา หองมั่นคง (Strong Room) หอง หมอแปลง ไฟฟา (Transformer Room) หองเครื่องทํานําเย็นและเครื่องสูบนํา (Chiller and Pump Room) หอง แบตเตอรี่ (Battery Room) หองระบบไฟฟาสํารอง (UPS Room) หอง ไฟฟาแรงดันตํา (Low Voltage Room) หองควบคุมการเดินรถ (Central Traffic Control) ระบบ ควบคุมและเก็บขอมูล (SCADA) หองเก็บ สารดับเพลิง(Gas Bottling Room) ฯลฯ โดยศูนยควบคุม การเดินรถ (Operation Control Center หรือ OCC) เปนศูนยกลางการควบคุมและติดตามการ ปฏิบัติงานของระบบรถไฟฟาทั้งหมดระหวางและภายหลังการ ใหบริการแกประชาชนและเจาหนาที่ สามารถควบคุมระบบตาง ๆ ไดดังนี้ 2.1) ควบคุมการเดินรถไฟฟาใหเปนไปตามตารางเวลาในชวงปกติและสามารถตอบสนอง ตอ สถานการณที่ผิดปกติ รวมทั้งสถานการณฉุกเฉิน ทั้งนี้เพื่อใหการเดินรถมีประสิทธิภาพสูงและเกิด ความ ปลอดภัยตอผูโดยสาร 2.2) ควบคุมการทํางานของระบบสนับสนุนการเดินรถไฟฟา เชน ระบบจายพลังงานไฟฟา และ ระบบ ระบายอากาศ ฯลฯ


50 2.3) ควบคุมการติดตอสื่อสารทั้งกับเจาหนาที่ในระบบและสื่อสารตอผูโดยสาร ภาพที่2.38 รูปแบบขั้นตอนการหมุนและยกขึ้นยกลงของคานรางของระบบ Monorail ภาพที่2.39 เครื่องมือตรวจวินิจฉัยลอและเปลี่ยนยางลอ


51 ภาพที่2.40 สภาพภายในของโรงวินิจฉัยยางลอ 3) อาคารอื่นๆ (Other Buildings) 3.1) โรงซอมบํารุงทางรถไฟฟา (Permanent Way Workshop Building)อยูใกลโรงซอม บํารุงหลัก มี ไวเพื่อเก็บราง (Rails) และรางจายไฟ (Third Rails) และยังใชเปนที่บํารุงรักษา จอดรถ และเติมเชื้อเพลิง สําหรับรถบริการ (Service Vehicles) ทัศนียภาพและแปลนของโรงซอมบํารุงทาง รถไฟฟา ภายในโรงซอมบํารุงทางรถไฟฟามีเครื่องมือและอุปกรณสําหรับเปลี่ยนราง ประแจและทาง ตัดประแจ และมีพื้นที่เพียงพอสําหรับงานเชื่อม นอกจากนี้ยังมีที่เก็บวัสดุที่ไมมีหลังคาคลุมอยู ภายนอกโรงซอมและที่เก็บ วัสดุที่ มีหลังคาคลุมเพื่อเก็บราง รางจายไฟ ทางตัดประแจและตัวเปลี่ยน ทิศทาง โดยอีกดานหนึ่งของโรงซอม บํารุงจะ มีโรงซอมงานราง ที่เก็บงานราง ที่เก็บอุปกรณอาณัติ สัญญาณและสํานักงานที่เกี่ยวขอ งจากการ ทบทวน โครงสรางของโรงซอมบํารุงในชวงประแจ โดยทั่วไปแลว ภายในโรงซอมบํารุงของระบบไฟฟา Monorail จะมี Switching แบบที่ควบรวม 2, 3, 4 หรือ 5 เสนทาง รวมเหลือเสนทางเดียวได ตัวอยาง ดัง แสดงในภาพที่ 2.42 และภาพที่ 2.43


52 3.2) โรงจอดรถไฟฟา (Stabling Yard Building) ใชเปนที่จอดรถไฟฟาและเปนที่สําหรับทํา ความ สะอาด ภายในตัวรถ จึงมีหองเก็บของทําความสะอาด (Train Cleaner Room) ที่แตละปลาย ของอาคารจอด รถไฟฟา เพื่อความสะดวกของพนักงานทําความสะอาด ทัศนียภาพของโรงจอด รถไฟฟา ดังแสดงในภาพที่2.44 แปลน และรูปตัดของโรงจอดรถไฟฟา มีความจุเทากับ 18 x รถไฟฟา ขนาด 6 คันตอขบวน (18x6 - Car Trains) หรือเทากับรถไฟฟา 108 ตู ภาพที่2.41 ลักษณะอาคารโรงซอมบำรุงทางรถไฟฟา ภาพที่2.42 ตัวอยางกรณี Switching ที่ควบรวม 3, 4 และ 5 เสนทางเปนเสนทางเดียวของ Osaka Monorail Depot


53 ภาพที่2.43ตัวอยางกรณี Switching ที่ควบรวม 4 เสนทางเปนเสนทางเดียวของ KL Monorail Depot ภาพที่2.44ลักษณะโรงจอดรถไฟฟา (Stabling Yard)


54 ภาพที่2.45ลานจอดรถไฟฟา 3.3) ศาลาทดสอบรถไฟฟา (Test Track Shelter) ตั้งอยูบริเวณปลายทั้งสองขางของราง ทดสอบ เพื่อใหทีมผูทดสอบขึ้น -ลง และมีหลังคาคลุมเพื่อปองกันทีมผูทดสอบและอุปกรณทดสอบจากน้ำฝน 3.4) โรงลางรถไฟฟา (Train Washing Plant) ดังแสดงในภาพที่2.46 มีหลังคาคลุมขบวนรถไฟฟาจะ ถูกลางภายนอกในโรงลางรถไฟฟา ของรางหลังเครื่องลางรถมีความยาวประมาณ 150 เมตร ซึ่ง เพียงพอกับ รถไฟฟาขนาด 6คัน/ขบวน โรงลางรถไฟฟามีหลังคาคลุมและรถไฟฟาจะคอย ๆ เคลื่อนตัวเขาไป ในอาคารลาง รถไฟฟาชา ๆ และจะถูกลางทําความสะอาดทั้งดานหนา ดานขาง ดานบน หลังคาและดานหลัง เครื่องลาง รถไฟฟาเปนระบบอัตโนมัติโดยรถไฟฟาสามารถเขา -ออกอาคารไดดวยพลังงานรถไฟฟาเอง ทั้งนี้ปริมาณน้ำ จากการลางจะถูกเก็บไวในถังเก็บน้ำที่ลางแลวและรีไซเคิลนํามาใชอีกโดยมีระบบแยกน้ำมันและ โคลนออก จากกัน 3.5) สถานีไฟฟายอย (Substation Building) มีหนาที่จายพลังงานไฟฟาใหแกระบบรถไฟฟา โดยรับ กระแสไฟฟาจากการไฟฟานครหลวง และมีเครื่องกําเนิดไฟฟาสํารอง (Standby Diesel Generator) เพื่อจาย ไฟฟาสํารองในกรณีที่มีแหลงจายไฟขัดของ ดังแสดงภาพที่2.46 3.6) โรงเก็บวัสดุอันตราย (Dangerous Goods Building) มีไวเพื่อเก็บน้ำมัน (Oil) จาระบี(Grease) และสารเคมีตาง ๆ (Chemicals) ชั่วคราวเพื่อนําไปกําจัดทิ้งภายหลัง ที่เก็บวัสดุอาจออกแบบเปน ระบบ Pallet Racking System และมีหลังคาคลุม โดยอาคารไดถูกออกแบบใหรถยกและรถบรรทุก ขับเขา -ออกได อยางสะดวกและปลอดภัย 3.7) โรงจัดเก็บขยะ (Garbage Storage Building) ปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดจากการทําความสะอาด ภายในตูรถไฟฟา จากโรงงานและสํานักงาน รวมถึงเศษฝุนจากถนนและทางเดินเทา เศษขี้กลึงจากเครื่องกลึง


55 รถไฟฟา เศษวัสดุจากโรงงานซอมบํารุงและของเสียจากถังบําบัดนำเสียจะถูกนําไปเก็บไวที่โรงจัดเก็บขยะ ชั่วคราวเพื่อเตรียมใหรถเก็บขนขยะมูลฝอยมาดําเนินการตอไป โดยโรงจัดเก็บขยะมูลฝอยไดถูกออกแบบใหรถ เก็บขนขยะมูลฝอยเขาถึงไดงายจากถนนบริการและมีที่ลางมืออยูดานขางโรงจัดเก็บขยะมูลฝอย 3.8) หอพักพนักงาน (Dormitory Building) มีไวเพื่อพนักงานขับรถ พนักงานควบคุมการเดินรถ พนักงานซอมบํารุง ฯลฯ ไดใชพักผอนชั่วคราวกอนจะถึงรอบทํางานของตนเอง แตละหองพักมีหองน้ำ จํานวน หองพักและหองน้ำไดคํานวณมาจากจํานวนพนักงานที่เกี่ยวของแตละรอบการทํางานและจํานวนพนักงานที่ นํามาใชคํานวณจํานวนหองพัก ไดแก พนักงานขับรถไฟฟา (Driver) เจาหนาที่ในศูนยควบคุมการเดินรถ(OCC Staffs) เจาหนาที่ดูแลพนักงานรถไฟฟา (Train Staff Supervisors) เจาหนาที่ดูแลพื้นที่ (Yard Supervisors) เจาหนาที่หนวยงานซอมบํารุง (Vehicle Maintenance Staff) ฯลฯ สวนผูควบคุมสถานีผูตรวจตั๋ว พนักงาน ซอมอาคาร ฝายเอกสารการอบรม ฝายธุรการ ฝายการตลาด ฝายการเงิน หรือฝายการบริหารงานบุคคลไม จําเปนตองจัดที่พักให 3.9) สํานักงานพนักงานขับรถไฟฟา (Driver Office Building) ตั้งอยูใกลกับอาคารจอดรถไฟฟาเพื่อ หลังจากที่พนักงานขับรถไฟฟาไดรับมอบหมายใหไปขับรถจะสามารถเดินไปขึ้นรถไฟฟาไดอยางสะดวกสวน ของ สํานักงานพนักงานขับรถไฟฟาประกอบไปดวย หองลงชื่อพรอมรับใบสั่งงานสํานัก งานเจาหนาที่จัด ตารางเวลา และผูชวยสํานักงานเจาหนาที่ตรวจสอบ หองล็อค – เกอร (Locker) และบอรด ขาวสารพนักงาน ขับรถ หอง สําหรับเจาหนาที่ดูแลพนักงานขับรถไฟฟา หองประชุมและหองพนักงานขับรถ รวมพื้นที่ที่ ตองการประมาณ182.50ตร.ม. ข) สวน Driver’s School ประกอบดวย หองสําหรับผูฝกสอบ หองฝกอบรม หองแตงตัว และหอง จําลองการขับ เปนตน ค) เพื่อเปนการประหยัดพื้นที่จึงกอสรางโรงอาหารไวภายในอาคารเดียวกับสํานักงาน พนักงานขับ รถไฟฟา โดยโรงอาหารประกอบไปดวย หองครัว (Kitchen) หองทําความสะอาด หองสวนตัวหอง เย็นและ หองรับประทานอาหาร 3.10) สํานักงานรักษาความปลอดภัย (Guardhouse Building) ตั้งอยูบริเวณทางเขา-ออกของศูนย ซอม บํารุง เปนจุดที่ตรวจผูเขามาติดตอ สามารถตรวจทางเขา - ออกอื่น ๆ ไดจากกลองทีวีวงจรปดภายในศูนย ซอม บํารุง (CCTV)


56 ภาพที่ 2.46ลักษณะโรงลางรถไฟฟา (Train Washing Plant) ภาพที่ 2.47ตัวอยางสถานีไฟฟายอย (Substation Building) 2.8.4 การจัดพื้นที่สีเขียวและการพัฒนาภูมิทัศนภายในศูนยซอมบำรุง แนวทางการพัฒนา สภาพแวดลอมภายในศูนยซอมบํารุง ไดพิจารณาจัดเตรียมพื้นที่สีเขียวและภูมิทัศนใหมี ความสอดคลองใน การ วางผังพื้นที่กับสภาพแวดลอมโดยรอบพื้นที่โครงการ ไดแก การเวนที่วางเพื่อการใชงาน ภายนอกอาคาร และ บรรยากาศมุมมองทัศนียภาพเปนการสรางสภาพแวดลอมที่ดี โดยพิจารณาประเด็นตาง ๆ มีดังนี้


57 1) การบริหารจัดการพื้นที่ความสะดวกในการบริหารจัดการดูแลรักษาทําไดงาย ลดการใชน้ำเพื่อรด น้ำตนไมโดยเลือกพรรณไมที่มีความคงทน ความสะดวกในการดูแลรักษา ความสะอาดและซอมบํารุง เชน การ ใชบล็อคปลูกหญา การทําผืนผิวแข็งมีชองปลูกตนไม การดูแลรักษาความปลอดภัย ดูแลไดอยางทั่วถึง 2)การใชประโยชนพนที่วางในพื้นที่สาธารณะของศูนยซอมบํารุงบริเวณดานหนาอาคารและพื้นที่ โดยรอบอาคารไดพิจารณาจัดพื้นที่ใหมีภูมิทัศนที่มีความสะดวกในการดูแลและเปนที่เชื่อมโยงกับพื้นที่วาง โดยรอบ มีความสําคัญในการสรางสภาพแวดลอมตาง ๆ ตัวอยางเชน 2.1) เปนการสรางพื้นที่ภูมิทัศนที่รื่นรมยสวยงาม 2.2) เปนพื้นที่เพื่อความปลอดภัย ดูแลรักษา บริหารจัดการอาคาร 2.3) ใชเปนแนวกันชนกับพื้นที่ภายนอกโครงการ 2.4) สรางความเชื่อมโยงระหวางกิจกรรมในอาคารและนอกอาคาร 2.5) ใชประโยชนจากพื้นที่ในการสัญจร และจอดรถ และซอมบํารุงอาคาร 3) การพัฒนาภูมิทัศนในพื้นที่ การสรางทัศนียภาพและมุมมองที่ดีจะสรางความรมรื่นใหกับพื้นที่ ดวย พรรณไมยืนตนขนาดใหญ สรางบรรยากาศที่มีความสุนทรียภาพและบดบังภูมิทัศนที่ไมสวยงาม 4) การพัฒนาสภาพแวดลอม ชวยลดความรอนในพื้นที่ ลดฝุนละออง สรางสุนทรียภาพ และ ภูมิ ทัศน ที่ดี ลดการสะทอนของแสง 5) การพัฒนาภูมิทัศนของสํานักงานศูนยอาคารซอมบํารุง ไดพิจารณาวางพื้นที่แบบแนวแกน ระบบ ฉากโดยมีอาคารซอมบํารุงในสวนกลาง โดยอาคารสํานักงานบริเวณติดกับดานขางการพัฒนาภูมิทัศนจะ เนน การดูแลรักษางายและตกแตงภูมิทัศนที่สวยงามในพื้นที่สาธารณะโดยรอบอาคารฯ 5.1) การพัฒนาภูมิทัศนกลุมอาคารซอมบํารุง ไดพิจารณาวางระยะเวนวางของพื้นที่โดยรอบ ใหเปน พื้นที่แนวกันชนในดานที่ติดตอกับชุมชนดวยกลุมตนไมใหญที่บดบังมุมมองจากภายนอกสรางบรรยากาศ ที่ รมรื่นแกบริเวณและเปนแกนหลังใหกับมุมมองในพื้นที่สวนการใชพรรณไมที่มีความคงทนมีทรงพุมที่มีความ สูงบด บังมุมมองไมมีการผลัดใบมากและดูแลรักษางาย โดยใชพรรณไมขนาดตาง ๆ ตามลักษณะของพื้นที่ เชน พญาสัตบรรณ ลําดวน อโศกอินเดีย และตีนเปดน้ำ ฯลฯ 5.2) การพัฒนาภูมิทัศนบริเวณอาคารสํานักงาน ไดพิจารณากอสรางลานพื้นที่ที่มีสีสันดานหนา อาคาร มีการปลูกตนไมยืนตนที่มีลักษณะโปรงเพื่อลดทอนความใหญของอาคารและสราง บรรยากาศใหรมรื่น ดวยไมยนตนขนาดใหญในบริเวณรอบอาคารที่สามารถปลูกในบริเวณริมถนนและริมรั้ว


58 โครงการหรือที่วาง รอบ อาคาร การใชไมพุมคลุมดินที่ตัดแตงงายและคงทน สรางความเปนระเบียบเรียบรอย ใหแกพื้นที่ และ พื้นที่วาง ที่ไมมีการใชพื้นที่มากทําเปนพื้นผิวหินเกล็ดและปูนลอก ปลูกหญาเพื่อใหมีความ สะดวกในการดูแล พื้นที่โดยไม รูสึกแข็งกระดางจนเกินไป 5.3) การใชพรรณไมใหเหมาะสม บริเวณดานหนาศูนยซอมบํารุงไดพิจารณาใชไมยืนตน ทรงสูง เชน ปบ หมากสงและหมากเขียว ฯลฯ ตนไมที่จะปลูกโดยรอบอาคารและใกลเคียงจะใชพญาสัตบรรณตะแบก เหลือง ลําดวนหรือตีนเปดน้ำ ซึ่งเปนพรรณไมที่คงทนและมีทรงพุมที่เปนกลุมกอนรูปไข สามารถลด ความรูสึกดานความสูงใหญของอาคารไดเปนอยางดี 2.8.5 พนักงานประจำศูนยซอมบำรุงและพนักงานขับรถไฟฟา พนักงานประจําศูนยซอมบํารุงและ พนักงานขับรถไฟฟา ตารางที่ 2.1 พนักงานประจำศูนยซอมบำรุงและพนักงานขับรถไฟฟา รายละเอียด จำนวน (คน) 1. จํานวนพนักงานที่ปฏิบัติงานประจําในอาคารสํานักงาน 1.1 พนักงานที่ปฏิบัติงานภายในศูนยควบคุมการเดินรถ ไดคํานวณจาก ฝายManager Operations, Operations Planning/Timetables และ ฝายOperations Control 1.2 พนักงานที่ปฏิบัติงานภายในอาคารบริหาร ไดคํานวณจาก Training and Documentation, Business Administration, Personal Affairs, Office Cleaning 1.3 พนักงานที่ปฏิบัติงานประจําศูนยซอมบํารุงบน Platform ไดแก โรง ซอมบํารุง หลัก (Main Workshop Building) โรงซอมบํารุงทางรถไฟฟา Permanent Way Workshop Building) ไดคํานวณจาก Maintenance Managers, Engineers, Quality and Safety Team, RST Maintenance Supervisors, Vehicle Light Maintenance Staff, Main Repair Staff, Civil Works Maintenance Staffs, Building Services Staffs, Infrastructure Managers 1.4 พนักงานที่ปฏิบัติงานประจําอาคารสวนอื่น ๆ และพนักงานขับ รถไฟฟาที่เขาใช พื้นที่ของอาคารสํานักงานพนักงานขับรถไฟฟา รวมจํานวนพนักงานที่ปฏิบัติงานใน ขอ 1.1-1.4 43 80 187 100 410 2. จํานวนพนักงานที่จะพํานักชั่วคราวภายในหอพนักงาน (Dormitory) 2.1 พนักงานขับรถไฟฟา ปฏิบัติงาน 3ผลัด/วัน เริ่มทํางาน 4:00 น. เลิก งาน 24:00 น. 160


59 2.2 พนักงานภายในศูนยควบคุมการเดินรถ (Operation Control Center Staff) ปฏิบัติงาน 3ผลัด ๆ ละ 5คน/วัน 2.3 พนักงานเดินรถไฟฟา (Operation Staff)/เจาหนาที่ดูแลรถไฟฟา (Train Staff Supervisors) ปฏิบัติงาน 3ผลัด ๆ ละ 3คน/วัน 2.4 หัวหนาผูดูแลพื้นที่ (Yard Supervisor) ปฏิบัติงาน 1คน 3ผลัด/วัน 2.5 ฝายวิศวกรรมและฝายซอมบํารุง (Engineering and Maintenance Staff) รวม หองพนักงานทั้งหมด 12 หอง/แหง แตละหองมีหองน้ำและ อาบน้ำในตัวเพื่อความ สะดวกสบายของพนักงาน รวมจํานวนพนักงานที่ที่จะพํานักชั่วคราวภายในหอ พนักงานในขอ 2.1-2.5 160 รวมทั้งหมด 570 2.8.6 การจัดการปริมาณน้ำดื่ม - น้ำใช แหลงน้ำใชเพื่อการอุปโภค - บริโภคภายในศูนยซอมบํารุงจะใชน้ำประปาจากการประปานครหลวง โดยรับจาก ทอประปาหลักริมถนนศรีนครินทร โดยตอเชื่อมทอประปาสงจายไปยังถังเก็บน้ำสํารองใตดิน ขนาด ความจุไม เกิน 700 ลบ.ม. จํานวน 1 แหง จากนั้นจะสูบจายไปยังอาคารตางๆ ภายในศูนยซอมบํารุง และการ ประเมิน เบื้องตน ตนปริมาณการใชน้ำเพื่อกิจกรรมตางๆภายในศูนยซอมบํารุง สรุปวา มีความตองการใชน้ำไมเกิน 110.25 ลบ. ม. /วัน ดังแสดงในภาพที่2.49ดังจําแนกตามประเภทกิจกรรมไดดังนี้ - น้ำใชเพื่อการอุปโภค- บริโภค 1) อาคารบริหารและศูนยควบคุมการเดินรถ 1.1) พนักงานที่ปฏิบัติงานภายในศูนยควบคุมการเดินรถมีจํานวนสูงสุดไมเกิน 43 คน อัตรา การใชน้ำ 70 ลิตร/คน/วัน (คูมือการออกแบบระบบระบายน้ำเสียและน้ำฝน, วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย พ.ศ. 2549) คิดเปนปริมาณน้ำใช 43x70 = 3,010 ลิตร/วัน หรือเทากับ 3.01 ลบ.ม./วัน


60 1.2) พนักงานที่ปฏิบัติงานภายในอาคารบริหารมีจํานวนสูงสุดไมเกิน 80 คน อัตราการใช น้ำ70ลิตร/คน/วัน วัน (คูมือการออกแบบระบบระบายนำเสียและน้ำฝน,วิศวกรรมสถานแหงประเทศ ไทย พ.ศ. 2549)คิดเปนปริมาณน้ำใช 80x70 = 5,600 ลิตร/วัน หรือเทากับ 5.6 ลบ.ม./วัน 1.3) พนักงานที่ปฏิบัติงานประจําศูนยซอมบํารุงบน Platform มีจํานวนสูงสุดไมเกิน 187 คน อัตราการใช น้ำ 70 ลิตร/คน/วัน (คูมือการออกแบบระบบระบายน้ำเสียและน้ำฝน, วิศวกรรม สถานแหง ประเทศไทย พ.ศ. 2549) คิดเปนปริมาณน้ำใช 187x70 = 13,090 ลิตร/วัน หรือเทากับ 13.09 ลบ.ม./วัน 1.4) พนักงานที่ปฏิบัติงานประจําอาคารสวนอื่นและพนักงานขับรถไฟฟาที่เขาใชพื้นที่ของ อาคารสํานักงาน พนักงานขับรถมีจํานวนสูงสุดไมเกิน 100 คน อัตราการใชน้ำ 70 ลิตร/คน/วัน (คูมือการ ออกแบบระบบระบาย น้ำเสียและน้ำฝน, วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย พ.ศ. 2549) คิด เปนปริมาณน้ำใช 100x70 = 7,000 ลิตร/ วัน หรือเทากับ 7.0 ลบ.ม./วัน 2) หอพนักงาน (Dormitory) มีจํานวนพนักงานที่เขาใชบริการสูงสุดไมเกิน 160 คน อัตราการใชน้ำ 200 ลิตร/ คน/วัน (แนวทางการจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการที่พักอาศัยบริการ ชุมชนและ สถานที่ตากอากาศ ของสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม พ.ศ.2542) คิดเปปริ มาณน้ำใช 160x200 = 32,000 ลิตร/วัน หรือเทากับ 32.0 ลบ.ม./วัน 3) รานอาหาร มีจํานวนพนักงานที่เขาใชบริการรานอาหารใตอาคารสํานักงานพนักงานขับรถไฟฟา มี จํานวน สูงสุดไมเกิน 510 คน อัตราการใชน้ำ 50 ลิตร/คน/วัน (แนวทางการจัดทํารายงานการวิเคราะห ผลกระทบ สิ่งแวดลอม โครงการที่พักอาศัย บริการชุมชนและสถานที่ตากอากาศ ของสํานักงานนโยบายและ แผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2542) คิดเปนปริมาณน้ำใช 510x50 = 25,500ลิตร/วัน = 25.50 ลบ.ม./วัน 4) อาคารโรงลางรถไฟฟา (Train Washing Plant) มีจํานวนรถไฟฟาที่จัดหาสูงสุด (พ.ศ. 2589)ไม เกิน 23 ขบวน อัตราการใชน้ำ 1.045 ลบ.ม./ขบวน/วัน (อางอิงจากโครงการระบบขนสงมวลชน กรุงเทพมหานคร สวน ตอขยาย พ.ศ. 2543) คิดเปนปริมาณน้ำใช 23x1.045 = 24.05 ลบ.ม./วัน - น้ำใชเพื่อการดับเพลิง โครงการไดมีการสํารองน้ำดับเพลิงในถังเก็บน้ำใตดินปริมาณ 340 ลบ.ม. ซึ่งสามารถใชดับเพลิงไดนานประมาณ 1 ชั่วโมง และมีระบบสงนำที่มีความดันตำสุดที่หัวตอสายฉีดน้ำดับเพ ลิง ไมนอยกวา 0.45 เมกะปาสกาลมาตรดังนั้น เมื่อรวมปริมาณน้ำใชเพื่อการอุปโภค - บริโภคและน้ำใชเพื่อ การ ดับเพลิงไดเทากับ 670.75ลบ.ม. ถังเก็บน้ำสํารองใตดินไดมีการออกแบบใหมีขนาดความจุ 700 ลบ.ม. จึง เพียงพอแกการใชงาน


61 ภาพที่2.48สรุปปริมาณการใชน้ำเพื่อกิจกรรมตาง ๆ ภายในศูนยซอมบำรุง บริเวณทางแยกตางระดับศรีเอี่ยม


62 2.8.7ระบบรวบรวมและบำบัดน้ำเสีย 1) ศูนยซอมบำรุง ปริมาณน้ำเสียจากศูนยซอมบํารุง ประกอบดวย ปริมาณน้ำเสียจากอาคารบริหารและศูนยควบคุม การเดินรถ อาคารหอพักพนักงาน และอาคารโรงลางรถไฟฟา โดยกําหนดใหปริมาณน้ำเสียที่เกิดขึ้นทั้งหมด คิดเปนรอยละ 80ของปริมาณน้ำใช (แนวทางการจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมโครงการที่ พักอาศัย บริการชุมชนและสถานที่ตากอากาศ ของสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม พ.ศ. 2542) โดยจําแนกประเภทน้ำเสียได 2 ประเภท คือ ปริมาณน้ำเสียเกิดขึ้นจากกิจกรรมของ พนักงานภายใน อาคารและ ปริมาณน้ำเสียจากกิจกรรมการซอมบํารุงและลางรถไฟฟา ดังสรุปปริมาณน้ำเสีย ที่เกิดขึ้น จาก กิจกรรมตาง ๆ ภายในศูนยซอมบํารุงเทากับ 110.25x0.80 = 88.2ลบ.ม./วัน โดยจําแนกตาม ประเภทอาคาร ได ดังตารางที่ 2.2 ตารางที่ 2.2 ปริมาณน้ำเสียจากกิจกรรมศูนยซอมบำรุง ประเภทอาคาร ปริมาณน้ำใช(ลบ.ม./วัน) ปริมาณน าเสีย (ลบ.ม./วัน) 1.อาคารบริหารและศูนยควบคุมการ เดินรถ 28.70 23.03 2. หอพักพนักงาน 32.00 25.60 3. รานอาหาร 25.50 20.40 4. อาคารโรงลางรถไฟฟา 24.05 19.24 รวมทั้งหมด 110.25 88.27 การพิจารณาคัดเลือกรูปแบบและวิธีการจัดการน้ำเสียภายในศูนยซอมบํารุงไดเลือกใชระบบบําบัดน้ำเสีย ขนาด เล็กชนิดติดตั้ง กับที่ (Onsite Treatment Plant) จะเปนชนิดบอเกรอะ บอกรองไรอากาศและเติม อากาศผาน ผิวตัวกลาง (Septic - Anaerobic Filter and Contact Aeration Process) และตามดวยบอพัก น้ำทิ้ง (Retention) โดยปริมาณน้ำเสียที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมตาง ๆ ภายในอาคารจะถูกรวบรวมเขาสูระบบ บําบัดน้ำ เสียโดยตรง สวนปริมาณน้ำเสียจากรานอาหารและการซอมบํารุงรถไฟฟาและลางรถไฟฟาจะไหล ผานเครื่องดัก ไขมัน(Oil Interceptor) เพื่อแยกไขมันออกกอนระบายไปสูระบบบําบัดน้ำเสียแบบติดตั้งกับที่ ตอไป ทั้งนี้ ปริมาณน้ำเสียที่ผานการบําบัดแลวจะมีคุณภาพน้ำทิ้งเปนไปตามประกาศกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม “เรื่องกําหนดมาตรฐานควบคุม การระบายน้ำทิ้งจากอาคารบางประเภท และบางขนาด” ลงวันที่ 7 พฤศจิกายน 2548 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเลมที่ 122 ตอนที่ 125 วันที่ 29 ธันวาคม 2548สําหรับบอ พักน้ำทิ้งนั้นไดมีการออกแบบใหมีขนาดไมนอยกวา 1วัน กอนระบายทิ้งลงแหลง


63 น้ำสาธารณะ ซึ่งภายในศูนย ซอมบํารุงไดออกแบบไวในสวนโรงซอมบํารุงหลักและโรงจอดรถไฟฟาภายในชั้น ที่ 1 และสวนศูนยควบคุมการ เดินรถและอาคารบริหารภายในชั้นที่ 1 เชนเดียวกัน ดังแสดงภาพที่ 2.49 ถึง ภาพที่2.50 2) อาคารจอดแลวจร อาคารจอดแลวจรของโครงการซึ่งอยูบริเวณฝงทิศตะวันออกของทางแยกตางระดับศรีนครินทรตัดกบถนน บาง นา - ตราด เปนอาคาร 7 ชั้น มีที่จอดรถประมาณ 2,800 คัน ซึ่งทางโครงการจะพิจารณาการใชน้ำจาก จํานวน ผูมาใชบริการรถไฟฟาแลวมาจอดที่อาคารจอดแลวจร ทั้งนี้เนื่องจากโครงการยังไมไดจัดสรางจึงไดทํา กา เทียบเคียงกับอาคารจอดแลวจร 9ชั้น ของสถานีลาดพราวของการรถไฟฟาขนสงมวลชนแหงประเทศไทย (รฟม.) สําหรับรองรับผูมาใชบริการรถไฟฟาใตดิน (BMCL) ซึ่งพบวาในป พ.ศ. 2556 มีผูมาใชบริการรถไฟฟา ใต ดิน และมาใชอาคารจอดแลวจรสูงสุด จํานวน 41,655 คัน/เดือน หรือคิดเปน 1,388 คัน/วัน


64 ภาพที่2.49สรุปปริมาณน้ำเสียจากกิจกรรมตางๆ ภายในศูนยซอมบำรุง


65 ภาพที่2.50 บอพักน้ำทิ้งบริเวณโรงซอมบำรุงหลักและโรงจอดรถไฟฟาภายในชั้นที่ 1


66 ภาพที่2.51 บอพักน้ำทิ้งบริเวณศูนยควบคุมการเดินรถและอาคารบริหารภายในชั้นที่ 1 เมื่อเปรียบเทียบความสามารถในการรองรับของอาคารจอดแลวจรของโครงการ 2,800 คัน คิดเปน สัดสวน เพียงรอยละ 49.57ของความสามารถรองรับรถของอาคารดังกลาว


67 ทั้งนี้ทางโครงการไดเผื่อสวนความปลอดภัยที่รอยละ 60.0 ของความสามารถรองรับรถของอาคาร จอด แลวจร ซึ่งเทากับ 1,680 คัน/วัน สําหรับมาใชคํานวณหาปริมาณน้ำใชและปริมาณน้ำเสียที่เกิดขึ้นใน อาคาร จอดแลวจร โดยมีรายละเอียด ดังนี้ -จํานวนรถที่มาใชบริการในแตละวัน = 1,680 คัน -ผูโดยสารเฉลี่ย = 2 คน - ปริมาณน้ำใชตอคน = 30 ลิตร ดังนั้นจะมีผูมาใชบริการทั้งหมด 3,360คน/วัน คิดเปนปริมาณน้ำใชที่เกิดขึ้นเทากับ 100.8ลูกบาศก เมตรตอ วัน ดังนั้นจะมีปริมาณน้ำเสียเกิดขึ้น 80.64 ลูกบาศกเมตรตอวัน (คิดเปนรอยละ 80 ของ ปริมาณความ ตองการใชน้ำทั้งหมด สําหรับการระบายน้ำ ถาเปนน้ำฝนจะมีการทํารางระบายน้ำรอบพื้นที่อาคารจอดแลวจร และ รวบรวม ปลอย ลงสูทอระบายน้ำสาธารณะ ไมไดมีการทําบอหนวงน้ำบริเวณอาคารดังกลาว สําหรับการจัดการ น้ำเสียที่ ใช แลวนั้น จะมีถังบําบัดน้ำเสียสําเร็จรูปจํานวน 4แหง (มีความจุรวมไมนอยกวา 100.8ลูกบาศก เมตร/วัน) เพื่อ รองรับน้ำเสียจากอาคาร พรอมทั้งบอพักน้ำทิ้งจํานวน 4แหง ซึ่งจะมีความจุเทากับถังบําบัด น้ำเสีย สําเร็จรูป ของโครงการ จากนั้นจะทําการรวบรวมน้ำและปลอยลงสูทอระบายน้ำสาธารณะตอไป 2.8.8การจัดการมูลฝอยและของเสียอันตราย การประเมินปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นภายในศูนยซอมบํารุง จําแนกเปน 2 ประเภท ไดแก ขยะมูลฝอย ทั่วไป และของเสียอันตราย ปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นภายในศูนยซอมบํารุง มีประมาณ3.24ลบ.ม./วัน ดัง แสดงในภาพที่2.51จําแนกตามประเภทกิจกรรมในแตอาคารไดดังนี้ 1) อาคารบริหารและศูนยควบคุมการเดินรถ 1.1) พนักงานที่ปฏิบัติงานในศูนยควบคุมการเดินรถ มีจํานวนสูงสุดไมเกิน 43คน อัตราการเกิดขยะ มูล ฝอย 3 ลิตร/คน/วัน (แนวทางการจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการที่พักอาศัย บริการ ชุมชนและสถานที่ตากอากาศ ของสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2542) คิดเปนปริมาณขยะมูลฝอยเทากับ 43x3 = 129ลิตร/วัน หรือเทากับ 0.129ลบ.ม./วัน 1.2) พนักงานที่ปฏิบัติงานภายในอาคารบริหาร มีจํานวนสูงสุดไมเกิน 80 คน อัตราการเกิดขยะมูล ฝอย 3ลิตร/คน/วัน (แนวทางการจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมโครงการที่พักอาศัยบริการ


68 ชุมชน และสถานที่ตากอากาศของสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม พ.ศ.2542) คิดเปน ปริมาณขยะมูลฝอยเทากับ 80x3 = 240ลิตร/วัน หรือเทากับ 0.24ลบ.ม./วัน 1.3) พนักงานที่ปฏิบัติงานประจําศูนยซอมบํารุงบน Platform มีจํานวนสูงสุดไมเกิน 187 คนอัตรา การ เกิดขยะมูลฝอย 3 ลิตร/คน/วัน (แนวทางการจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมโครงการที่ พักอาศัย บริการชุมชนและสถานที่ตากอากาศของสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติแสิ่งแวด ลอม พ.ศ. 2542) คิดเปนปริมาณขยะมูลฝอยเทากับ 187x3 = 561 ลิตร/วัน หรือเทากับ 0.561 ลบ.ม./ วัน 1.4) พนักงานที่ปฏิบัติงานประจําอาคารสวนอื่นและพนักงานขับรถไฟฟาที่เขาใชพื้นที่ของอาคาร สํานักงานพนักงานขับรถ มีจํานวนสูงสุดไมเกิน 100คน อัตราการเกิดขยะมูลฝอย 3ลิตร/คน/วัน(แนวทางการ จัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการที่พักอาศัย บริการชุมชนและสถานที่ตากอากาศ ของ สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2542) คิดเปนปริมาณขยะ มูลฝอย เทากับ 100x3 = 300ลิตร/วัน หรือเทากับ 0.30ลบ.ม./วัน 2) หอพนักงาน (Dormitory) มีจํานวนพนักงานที่ใชบริการสูงสุดไมเกิน 160 คน อัตราการเกิดขยะ มูล ฝอย 3 ลิตร/คน/วัน (แนวทางการจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการที่พักอาศัย บริการ ชุมชน และสถานที่ตากอากาศ ของสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2542) คิด เปนปริมาณขยะมูลฝอยเทากับ 160x3 = 480ลิตร/วัน หรือเทากับ 0.48ลบ.ม./วัน 3)รานอาหารมี จํานวนพนักงานที่เขาใชบริการรานอาหารใตอาคารสํานักงานพนักงานขับรถไฟฟามี จํานวน สูงสุดไมเกิน 510 คน อัตราการเกิดขยะมูลฝอย 3 ลิตร/คน/วัน (แนวทางการจัดทํารายงานการ วิเคราะห ผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการที่พักอาศัย บริการชุมชนและสถานที่ตากอากาศ ของสํานักงาน นโยบายและ แผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2542) คิดเปนปริมาณขยะมูลฝอยเทากับ 510x3 = 1,530ลิตร/ วัน หรือ เทากับ 1.53 ลบ.ม./วัน ในการเก็บรวบรวมปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นในแตละอาคาร ของศูนยซอมบํารุง ได พิจารณาจัดเตรียมถัง รองรับขยะมูลฝอยขนาด 240 ลิตร มีฝาปดมิดชิด (เปนถังขยะแหง ถังขยะเปยก ถังขยะ อันตราย)ตั้งกระจายไว ตามอาคารตาง ๆ ภายในศูนยบํารุงเปนกลุมๆ ละ 7ถัง รวมจํานวน 22กลุม โดยพิจารณา จัดวางถังรองรับขยะ มูลฝอยใหมีความสะดวกในการใชงานและการเก็บขน/เคลื่อนยาย รวมทั้งกําหนดใหมี เจาหนาที่รวบรวมไปเก็บ พักที่โรงจัดเก็บขยะมูลฝอย (Garbage Storage Building) เพื่อรอ การเก็บขนจาก หนวยงานที่รับผิดชอบ(เชน สํานักงานเขตบางนา กรุงเทพมหานคร) ใหนําปริมาณขยะมูลฝอย ไปกําจัดยังแหลง กําจัดขยะมูลฝอยภายนอก พื้นที่ศูนยซอมบํารุงตอไป ทั้งนี้ไดกําหนดใหโรงจัดเก็บขยะมูลฝอย มีพื้นที่เพียงพอ เพื่อรองรับขยะมูลฝอยที่ เกิดขึ้นในศูนยซอมบํารุงไดอยางนอย 3 วัน (ขนาดความจุ 151.59 ลบ. ม.) สวนขยะ อันตรายตางๆ จะรวบรวม มาเก็บไวที่อาคารเก็บวัสดุอันตราย ( Dangerous Goods Building) เพื่อรอใหหนวยงาน


69 ที่รับกําจัดของเสีย อันตรายนําไปกําจัดตอไป (เชน ศูนยบริการกําจัดกากอุตสาหกรรมแสม ดําบางขุนเทียน กรุงเทพฯ) สําหรับที่ พักขยะมูลฝอยในแตละอาคารของศูนยซอมบํารุง และอาคารจอดแลวจร ภาพที่ 2.52สรุปปริมาณขยะมูลฝอยจากกิจกรรมตางๆ ภายในศูนยซอมบำรุง 2.8.9 การจัดการของเสียอันตรายที่เก็บไวที่โรงเก็บวัสดุอันตรายของศูนยซอมบำรุง การจัดการของ เสียอันตรายในศูนยซอมบํารุงมีรายละเอียด 1) ประเภทของเสียอันตรายในศูนยซอมบํารุง ของเสียในศูนยซอมบํารุง ประกอบดวย -ลอยางรถไฟฟา ไดแก ลอยางรับน้ำหนัก และลอยางดานขางรักษาสมดุล


70 -สารไวไฟ หรือสารติดไฟงาย โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1.1ลอยางรถไฟฟา จํานวนลอยางที่เก็บรักษาไวในโรงซอมบํารุง -ยางรับน้ำหนัก 100เสน -ยางรักษาสมดุล 150เสน มาตรการปองกันในการเก็บรักษาลอยางรถไฟฟา Monorail - มีหองเก็บลอยางเฉพาะที่อยูแยกออกไปจากพื้นที่เก็บวัตถุไวไฟ - มีอุปกรณดับเพลิงอยูภายในหองเก็บลอยาง -ลอยางที่ใชงานแลวเสื่อมสภาพ ตองทยอยนําออกมาจากโรงซอมบํารุง 1.2 สารไวไฟ หรือสารติดไฟงายที่อาจทําใหเกิดไฟไหมจนมีผูไดรับบาดเจ็บ โดยในการเกิดสันดา ป พบวา สาร ไวไฟจะระเหยอยูในรูปของกาซเขาผสมกับออกซิเจนและพรอมที่จะติดไฟ หากมีประกายสารติดไฟ งายเหลานี้ ไดแก ตัวทําละลายที่ใชทําความสะอาดคราบน้ำมัน สารหลอลื่น สารทําความเย็น น้ำมันไฮโดรลิก ผลิตภัณฑ ยางฯลฯ ก) ปริมาณสารไวไฟที่เก็บไวใชงานภายในโรงซอมบํารุงจะจัดเก็บไวในปริมาณที่เพียงพอ ตอการใช งาน ในแตละสัปดาหเทานั้น (เนื่องจากเปนสิ่งที่จัดซื้องายในทองตลาด เพื่อใหมีสารไวไฟในปริมาณ จํากัด และ เกิด ความปลอดภัยสูง ในการใชงาน โดยปริมาณสารไวไฟดังกลาวที่มีการจัดเก็บ ไดแก -ตัวทําละลายสําหรับขจัดคราบน้ำมัน จํานวน 2ถัง (400ลิตร) - น้ำมันหลอลื่น จํานวน 2ถัง (400ลิตร) -จารบี จํานวน 1ถัง (200ลิตร) - น้ำมันไฮดรอลิก จํานวน 3ถัง (600ลิตร) -สารทําความเย็น จํานวน 500ลิตร ข) การเขาสูรางกาย วัสดุที่เปนพิษหากเขารางกายในปริมาณนอยอาจทําใหเกิดผลเสียหายเ ชน ทําลายเนื้อเยื่อการกลายพันธุมะเร็ง การพิจารณาเสนทางของวัสดุที่เปนพิษเขาสูรางกายจึงเปนสิ่งสําคัญ ซึ่งมี 4เสนทาง คือ -การสูดหายใจเขา เปนเสนทางที่พบมากที่สุดและอันตราย


71 -การนําเขาไปในรางกายดวยการกิน-ดื่มผานทางเดินอาหาร -การดูดซึมผานผิวหนังเขาสูกระแสเลือด -การฉีดเขาสูรางกาย ซึ่งพบไดนอยมาก 2) การจัดเก็บของเสียอันตรายและการตรวจสอบ 2.1 การจัดเก็บของเสียอันตราย ในการจัดเก็บของเสียอันตรายจะทําการจัดเก็บไวที่อาคารจัดเก็บ ของ เสียอันตราย ซึ่งกอสรางแยกไวตางหาก เพื่อความปลอดภัย ตําแหนงอาคารเก็บของเสียอันตรายบริเวณ ศูนย ซอมบํารุง ดังแสดงในภาพที่2.53 ภาพที่2.53ตำแหนงอาคารเก็บของเสียอันตรายบริเวณศูนยซอมบำรุง 2.2 การสํารวจสภาพความปลอดภัยและตรวจสอบ การสํารวจสภาพความปลอดภัยปกติและการ ตรวจสอบมีความสําคัญอยางยิ่งตอการสรางความมั่นใจ ในความ ปลอดภัยของสถานที่ทํางานไมใหเกิดการเสี่ยงอันตรายที่อาจทําใหเกิดการบาดเจ็บหรือ เจ็บปวย ก) การสํารวจสภาพความปลอดภัยนั้น มุงตรวจสอบสภาพแวดลอมในการทํางานเพื่อระบุอันตราย นี่ คือสิ่งที่คณะกรรมการความปลอดภัยภายในศูนยซอมบํารุงจะดําเนินการเปนประจําแตละสัปดาห


72 ข) ตรวจสอบประเมินคุณภาพของแผนงานความปลอดภัย โดยวางแผนใหมีประสิทธิภาพ ที่ดีกวาใน การควบคุมอันตรายคือสิ่งที่คณะกรรมการความปลอดภัยจําเปนตองดําเนินการเพื่อปรับปรุงอยาง ตอเนื่อง 2.3 การจัดทํารายการตรวจสอบวัสดุไวไฟและติดไฟงาย ประกอบดวย ก) มีเศษวัสดุที่สามารถติดไฟไดงาย ยังคงถูกเก็บไวในความคุมครองหรือไม ถามีอยูไดนํา ออก จาก สภาพแวดลอมการทํางานหรือไม ข) วิธีการเก็บรักษาวสดุไวไฟหรือติดไฟงาย เปนภาชนะที่ถูกตองใชเพื่อลดความเสี่ยงของ การ ติดไฟ ค) ภาชนะที่ใชบรรจุสารไวไฟหรือติดไฟงาย ไดรับการอนุมัติใหใชบรรจุสําหรับการจัดเก็บ สารไวไฟ ดังกลาว หรือไม ง) ฝาปดหรือทอปดเปดของภาชนะหรือถังบรรจุสารไวไฟที่ใชงานมีการปดสนิท จ) ถังบรรจุสารไวไฟทั้งหมดที่ยังไมไดนํามาใชงานอยูในสภาพปดสนิทตลอดเวลาหรือไม ฉ) การกอง รวมกันของถังบรรจุสารไวไฟที่ไมใช มีการตอสายดินเพื่อขจัดประจุไฟฟาสถิต หรือไม ช) การใหแสงสวางภายในหองเก็บของเหลวไวไฟนั้น ไดติดตั้งหลอดไฟฟาสองสวางชนิด ปองกันการ ระเบิดของหลอดไฟฟา หรือไม ซ) ภายในหองเก็บของสารไวไฟ มีระบบระบายอากาศไมวาจะเปนการระบายอากาศดวย เครื่องกล หรือการระบายอากาศดวยลมธรรมชาติ หรือไม ฌ) มีการปฏิบัติตามหลักความปลอดภัยในการเก็บรักษาสารปโตรเลียมเหลว สําหรับการ จัดเก็บ จัดการและใชงาน หรือไม ญ) สารตัวทําละลายและของเหลวติดไฟงายที่ใชงานแลว และเหลือเปนของเสียนั้นทั้งหมด ไดถูก จัดเก็บไวในภาชนะทนไฟ ที่ใชสําหรับบรรจุสารไวไฟนั้นอยางถูกตอง ตลอดเวลาจนกวาจะมี การนําออกไป จาก ศูนยซอมบํารุงหรือไม ฎ) มีเครื่องดับเพลิง ที่อยูในสภาพพรอมใชงานไดทันที ติดตั้งอยูใสถานที่ที่กําหนดหรือไม ฏ) เครื่อง ดับเพลิงทุกแหง ปราศจากสิ่งกีดขวางหรืออุปสรรคในการนํามาใชงานหรือไม ฐ) มีการติดตั้งปายหามสูบบุหรี่อยางชัดเจนในบริเวณพื้นที่รักษาและใชงานสารไวไฟ หรือไม ฑ) เมื่อ เกิดการรั่วไหลของสารไวไฟไดมีการขจัดสารไวไฟที่รั่วไหลอยางทันทวงทีหรือไม


73 2.8.10 การจัดการน้ำเสียที่มีการปนเปอนของสารเคมีที่ใชในการลางทำความสะอาดรถไฟฟา การ จัดการน้ำเสียจากการลางขบวนรถไฟฟา มีรายละเอียด ดังนี้ 1) การลางรถไฟฟา การใชน้ำอยางมีประสิทธิภาพในการลางรถไฟฟา เปนกิจกรรมที่ตองดําเนินการเปนประจําทุกวัน และและมี การใชนําในปริมาณมาก การอนุรักษและนํากลับมาหมุนเวียนใชช้ำ จึงเปนขบวนการที่ลดปริมาณ น้ำเสีย ลด ผลกระทบสิ่งแวดลอม ซึ่งเปนมาตรการการอนุรักษทรัพยากรน้ำ ที่มีศักยภาพเปนมาตรการสากลที่ สามารถ ดําเนินการ 1.1ขั้นตอนในการลางรถไฟฟา ประกอบดวยขั้นตอนตาง ๆ ดังนี้ -ขั้นตอนฉีดน้ำใหเปยกกอนการลาง ดวยเครื่องฉีดน้ำอัตโนมัติ -ขั้นตอนการลางรถ โดยฉีดน้ำผสมแชมพูซักฟอก - ฉีดทําความสะอาดชวงดานลางของตัวถังรถไฟฟาดวยหัวฉีดแรงดันสูง แปรงหรือ สเปรยแรงดันสูง อยูดานขาง และดานลางของรถไฟฟา -ลางครั้งแรก ใชน้ำลางแรงดันสูง -ฉีดสารละลาย Wax หรือสารเคลือบผิวตัวถังรถไฟฟาใหสะอาดเงางาม -ฉีดลางครั้งสุดทาย โดยใชน้ำแรงดันต่ำ -การเปาดวยลมใหแหง -การเช็ดใหแหงดวยมือ 1.2 มาตรการ/เทคนิคการอนุรักษน้ำในการลางรถไฟฟา - ติดตั้งระบบหัวฉีดที่มีขนาดเล็กแทนหัวฉีดขนาดใหญซึ่งจะทําใหสามารถใชแรงดันน้ำที่ต่ำลง โดย ยังคงรักษา ความสามารถในการทําความสะอาดไดดี - การตรวจสอบตําแหนงหัวฉีดน้ำใหเหมาะสมอยางสม่ำเสมอ หากหัวฉีดเอียงผิดตําแหน งจะ ทําให การลาง รถไฟฟาไมสะอาดได -ตรวจสอบและซอมแซมการรั่วซึมน้ำทั้งหมดที่เกิดขึ้น


74 - เปลี่ยนหัวฉีดทองเหลืองหรือหัวฉีดพลาสติกซึ่งจะถูกกัดกรอนไดอยางรวดเร็วดวยสแตนเลส หรือ เซรามิกแทน ซึ่งเปนหัวฉีดน้ำที่มีความทนทานสูงตอการใชงานอยางหนัก - มีทางระบายน้ำเวียนกลับมาใช หรือถังเก็บน้ำสําหรับนํามาใชรดน้ำตนไม (โดยตองแนใจวา พืช สามารถทนกับ สภาพน้ำดังกลาวได) - มีการปลูกพืชที่สามารถทนกับน้ำลางรถได มาใชปลูกในพื้นที่สวนตกแตงดานภูมิสถาปตย - บํารุงรักษาอุปกรณหัวฉีดตามขอกําหนดการบํารุงรักษาอยางสม่ำเสมอ โดยเฉพาะอยางยิ่ง หัวฉีดที่ ใชลางรถ อยางสม่ำเสมอ เพื่อใหมั่นใจในประสิทธิภาพสูงสุดของน้ำที่ใช 2) มาตรการในการจัดการนำเสียในการลางขบวนรถไฟฟา การใชน้ำออนและอุปกรณ Reverse Osmosis (RO) ความกระดางของน้ำเปนเหตุใหตองใชปริมาณ แชมพูหรือ ผงซักฟอกในปริมาณมากอันเปนผลเสียตอสิ่งแวดลอม การใชน้ำออนในการลางรถไฟฟาชวยลด ปญหา สิ่งแวดลอมจากน้ำเสียที่เกิดจากการลางรถไดเปนอยางดี ทั้งเปนการงายในการฉีดลางทําความสะอาด ตัวถัง รถไฟฟาในขั้นตอนสุดทายของการลาง โดยปริมาณน้ำทิ้งจากการลางรถไฟฟาซึ่งมีสภาพเปนน้ำออนที่ ผสมกับ แชมพูลางรถไฟฟาจะระบายลงสูอุปกรณ Reverse Osmosis (RO) จะทําใหน้ำที่ไหลผานสามารถนํา กลับมาใช ใหมได เชน ใชในการรดน้ำตนไมใชในการดับเพลิง ใชในการฉีดลางทําความสะอาดทั่วไป(หามนํา กลับมาใชดื่ม) มาตรการเลือกใชสารทําความสะอาดที่เปนมิตรสิ่งแวดลอม (Environment Friendly) - ปราศจากสารฟอสเฟต (Free Phosphate) - ปราศจากสารปโตรเคมี (Free Petrochemical ingredients) - ปราศจากสารใหความหอมสังเคราะห (Free Artificial Fragrance) - ปราศจากเอนไซมทผานการดัดแปลงพันธุกรรม (Non - GMO -Enzyme) 2.8.11ระบบระบายน้ำและปองกันน้ำทวม พื้นที่ตั้งของศูนยซอมบํารุงโครงการรถไฟฟาสายสีเหลือง บริเวณใกลทางแยกตางระดับศรีเอี่ยม โครงการจะมีสภาพทางน้ำ ในพื้นที่กอนการกอสรางและ การพิจารณาการระบายน้ำหลังการกอสรางให สอดคลองและไมกระทบกระเทือนตอระบบระบายน้ำเดิมของสํานักระบายน้ำ กรุงเทพมหานคร โดยจะตอง พอเพียงและเหมาะสม และจากการทบทวนการออกแบบระบบปองกันน้ำทวมของโครงการรถไฟฟาสายอื่นๆ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร พบวาระดับน้ำสูงสุดที่ใชในการออกแบบศูนยซอมบํารุงของโครงการรถไฟฟาสาย


75 อื่นๆ คือ +2.50 ม.รทก. ซึ่งเปนสถิติน้ำทวมสูงสุดในรอบ 200 ป ซึ่งโครงการไดใชระดับน้ำสําหรับปองกัน อุปกรณสําคัญตางๆ ของระบบรางรถไฟฟาของโครงการ 1) สภาพทางนำในพื้นที่ พื้นที่ตั้งของศูนยซอมบํารุงโครงการรถไฟฟาสายสีเหลือง ตั้งอยูทางทิศ ตะวันออกของทางแยกตางระดับศรีเอี่ยมโดยมีพื้นที่ติดกัน และอยูดานเหนือแนวถนนสายบางนา - ตราดหลัง หมูบานสวน ปารคแลนด ดังแสดงในภาพที่ 2.54 ทางน้ำสายหลักในพื้นที่คือ คลองเคล็ดวางตัวในแนว ตะวันออก -ตะวันตก ขนานทางดานทิศใตของพื้นที่โครงการ และคลองบางนาที่วางตัวในแนวเหนือ – ใตตัด ผานกับพื้นที่โครงการ บางสวนทางดานตะวันออก 2) การพิจารณาการระบายน้ำของพื้นที่ศูนยซอมบํารุง พื้นที่โครงการกอสรางศูนยซอมบํารุงสายสีเหลือง ที่ฝงตะวันออกของทางแยกตางระดับศรีเอี่ยม วางตัวอยูเลียบ คลองเคล็ดในเขตพื้นที่ของกทม. และมีบางสวนเลยขามคลองวัด (สาขาคลองบางนา) เขาไปใน เขตจังหวัด สมุทรปราการอีกเล็กนอย ซึ่งคลองวัดและคลองบางนานี้เปนแนวเสนแบงเขตกรุงเทพมหานครกับ จังหวัด สมุทรปราการ ทําใหตองทําการผันแนวทางน้ำคลองวัด/คลองบางนาชวงนี้ใหม ไปเลียบดานขางพื้นที่ ศูนยซอม บํารุงดังกลาวแลวกลับมาเชื่อมทางน้ำเดิมตอไป สําหรับคลองเคล็ดและคลองบางนา อยูในความดูแลของสํานักการระบายน้ำ กทม. และเปนทาง ระบายน้ำสาย หลักของโครงการปองกันน้ำทวมและระบายน้ำของ กทม. ฝงตะวันออก ซึ่งในการดําเนินการ ใดๆ ที่เกี่ยวพันกับทางนำของ กทม. จะมีขอกําหนดวามิใหกีดขวางทางน้ำ หรือถาจะเปลี่ยนปรับปรุงทางน้ำ ขอใหขนาดพื้นที่ทาง น้ำเทาเดิมหรือมากกวา เพื่อมิใหเกิดการบีบทางน้ำ อันจะทําใหเกิด back water ทางดานเหนือน้ำ สําหรับขนาดทางนำเดิมของคลองวัด/คลองบางนามีขอมูลไดจากการสํารวจ งานปองกันน้ำ ทวมและระบายน้ำฝงตะวันออกของกทม. โดยใชรูปตัดทางน้ำของคลองบางนาที่ใกลพื้นที่โครงการมากที่สุด รูปแปลนแสดง ตําแหนงสํารวจ และรูปตัดทางน้ำที่ใช ดังแสดงในภาพที่2.55


76 ภาพที่2.54ตำแหนงที่ตั้งศูนยซอมบำรุงของโครงการรถไฟฟาสายสีเหลือง ชวงลาดพราว –สำโรง ภาพที่2.55แปลนแสดงตำแหนงสำรวจ และรูปตัดทางน้ำ


77 จากรูปตัดคลองบางนาที่เลือกนํามาพิจารณาจะแปลงใหอยูในรูปของทางน้ำมาตรฐานเพื่อตรวจสอบ คาอัตรา การไหลผานพื้นที่หนาตัดที่พิจารณา ดังแสดงในภาพที่2.56โดยกําหนดคาสัมประสิทธิ์สําหรับคลอง ดิน และคา ลาดทองน้ำราบที่สุด สําหรับคาระดับกักเก็บน้ำนั้นประเมินไวระดับหนึ่ง การคํานวณคุณสมบัติ ของการไหลจะ พิจารณาคุณสมบัติของการไหลเปนลักษณะของทางน้ำเปดไหลไปตามแรง โนมถวงของโลก โดยใชสูตร Manning คือ ภาพที่2.56รูปตัดคลองดินเดิม โดยที่ Q = อัตราการไหลผาน (ลบ.ม./วินาที) n = คาสัมประสิทธิ์การไหลของ Manning = 0.015สําหรับผิวคอนกรีต = 0.025สําหรับดินทั่วไป A = พื้นที่หนาตัดของทางน้ำไหล (ตร.ม.) R = Hydraulic radius (ม.) = A / P P = ความยาวเสนขอบเปยก (ม.)


78 S = ความลาดชันตามยาวของการไหล (ม./ม.)


79 สภาพคลองดินเดิมและขอกําหนดที่ตั้งขึ้น พบวา คลองเดิมสามารถระบายน้ำได ประมาณ 11 ลบ.ม./วินาที สําหรับขอกําหนดของคลองที่จะ divert นั้น จะกําหนดใหใชคารูปตัดเดิม แตเปลี่ยนเปนคลองดาด (lining) ดังนั้นคาสัมประสิทธิ์ของคลองจะเปลี่ยนไป น้ำจะไหลไดดียิ่งขึ้น พบวาคลองดาดใหมสามารถรับน้ำได ประมาณ 20 ลบ.ม./วินาทีซึ่งรับไดมากขึ้น ดังแสดงในภาพที่2.57 ภาพที่2.56รูปตัดคลองดาดใหม เมื่อทางน้ำเปลี่ยนแนวจากทางน้ำเดิมไปทางดานขางพื้นที่อาคารจนสุดแนว แลวจะกลับเขาบรรจบทางน้ำเดิม ทั้งนี้จะพิจารณาชวงตอเชื่อมของทางน้ำทั้งดานเหนือน้ำ และดานทายน้ำของ divert canal ใหเหมาะสมตอไป 3) โครงการไดทําการออกแบบระบบระบายน้ำฝนของศูนยซอมบํารุงรถไฟฟาบริเวณใกลสถานีวัด ศรีเอี่ยม (YL - 17) มีพื้นที่ขนาด 122 ไร โดยพิจารณาจากสภาพภูมิประเทศ ลักษณะความลาดชันของพื้นที่ และแหลงรองรับน้ำที่อยูใกลเคียง โดยไมกีดขวางการไหลของน้ำที่มีอยูเดิม และจะระบายน้ำฝนลงสูบอพักน้ำ ขนาด 22,800ลูกบาศกเมตร กอนระบายออกสูคลองสาธารณะ (คลองเคล็ด) โดยอัตราการระบายน้ำออกของ โครงการและปริมาณน้ำฝนที่ตองการกักเก็บของพื้นที่โครงการ สามารถประเมินไดดังนี้ 3.1) อัตราการระบายน้ำ กอน - หลังการพัฒนาโครงการ สําหรับหลักเกณฑการคํานวณและการ ออกแบบระบบระบายน้ำฝนที่โครงการ จะใช ขอมูลจากตารางปริมาณฝนและความเขมของฝนของ กรุงเทพมหานคร โดยอัตราการไหลสําหรับทอหรือรางระบายน้ำและบอพักนำที่ใชออกแบบเปนอัตราการไหล นองสูงสุดที่เกิดจากปริมาณน้ำฝนคาบการยอนกลับ (Return Period) 5 ป และ 10 ปตามลําดับ ซึ่งคํานวณ จากวิธี Rational Method ดังนี้ การคํานวณปริมาณน้ำฝนที่ไหลนองในพื้นที่ Q = 0.278 CIA เมื่อ Q = อัตราการไหลของน้ำฝน , (ลบ.ม./วินาที) C = สัมประสิทธิ์การไหลนองของพื้นที่


80 I = ความเขมของฝน , (มม./ชม.) A = พื้นที่รองรับน้ำฝน , (ตร.กม.) ความเขมของฝนจะใชขอมูลจากตารางปริมาณฝนและความเขมของฝนของกรุงเทพมหานคร ตารางที่ 2.3 แสดงปริมาณฝน (มม.) และความเขมของฝน (มม./ชม.) สำหรับชวงเวลาและคาบอุบัติ (Return Period) ของ ฝนลักษณะตางๆ ของกรุงเทพมหานคร ตารางที่ 2.3แสดงปริมาณฝน (มม.) และความเขมของฝน (มม./ชม.) เมื่อ TC = เวลารวมฝนตกจากจุดที่จะออกแบบอาคารระบายน้ำถึงแนวขอบพื้นที่รับน้ำ (Time of concentration), (ชม.) L = ระยะทางที่ไกลสุดตามลําน้ำหรือแนวน้ำไหลจากจุดที่จะออกแบบอาคาร ระบายน้ำถึงแนว ขอบพื้นที่รับน้ำ, (กม.) H = ความสูงแตกตางเฉลี่ย (ตามลักษณะภูมิประเทศ) ของระดับจุดที่ออกแบบ อาคารระบายน้ำ กับระดับจุดไกลสุดของพื้นที่รับน้ำ, (ม.) 3.2) การคํานวณหาปริมาณน้ำที่ตองการกักเก็บบริเวณศูนยซอมบํารุงรถไฟฟา คาสมประสิทธิ์การ ไหลบนผิวดิน (C) กอนการพัฒนาโครงการ สภาพพื้นที่กอนการพัฒนาเปนพื้นที่รกรางวางเปลา ดังนั้น กําหนดคา C = 0.30คาสมประสิทธิ์การไหลบนผิวดิน (C) หลังการพัฒนาโครงการ พื้นที่มีขนาด 194,400ตารางเมตร สามารถแบงเปนพื้นที่สวนตางๆ ตามสภาพพื้นที่ผิว และการใช ประโยชน ไดดังนี้


81 1) กําหนดคา C = 0.70ถึง 0.95โดยในโครงการนี้จะใชคา C = 0.90 พื้นที่อาคารและถนนภายในโครงการ = 71,380ตร.ม. = 36.72%ของพื้นที่โครงการ 2) กําหนดคา C = 0.30 พื้นที่วาง = 123,020ตร.ม. = 63.28% ของพื้นที่โครงการ การคิดเวลาในการหนวงน้ำไวเทากับ 3ชั่วโมง หนวงน้ำกอนและหลังการพัฒนาโครงการ ชวงกอน พัฒนาโครงการ A = 194,400 m^2 C = 0.30 ตารางที่ 2.4แสดงอัตราการไหลนองและปริมาณหนวงน้ำชวงกอนพัฒนาโครงการ ชวงหลัง พัฒนาโครงการ A = 194,400 m^2 C = 0.50 ตารางที่ 2.5แสดงอัตราการไหลนองและปริมาณหนวงน้ำชวงหลังพัฒนาโครงการ ผลการคํานวณหาอัตราการระบายน้ำกอนและหลังการพัฒนาโครงการของบริเวณศูนย ซอมบํารุงรถไฟฟา สามารถนํามาประเมินหาปริมาณน้ำที่สามารถกักเก็บได ดังนี้ ปริมาณน้ำที่ตองการกักเก็บ = (Qหลัง - Qกอน) = 21,339 -12,304


82 = 9,035ลูกบาศกเมตร ดังนั้น ขนาดต่ำสุดของบอหนวงน้ำบริเวณศูนยซอมบํารุงรถไฟฟา สําหรับรองรับการกักเก็บ ปริมาณ น้ำฝนที่ 3ชั่วโมง เทากับ 9,035ลูกบาศกเมตร รายการคํานวณการออกแบบรางระบายน้ำในพื้นที่ระบายน้ำบริเวณศูนยซอมบํารุง รถไฟฟา ทิศทางการไหลของการระบายน้ำลงสูบอหนวงน้ำและรูปตัดของบอหนวงน้ำบริเวณศูนยซอมบํารุง รถไฟฟา ดังแสดงในภาพที่2.57 ภาพที่ 2.58 แผนภาพทิศทางการไหลของการระบายน้ำลงสูบอหนวงน้ำและรูปตัดของบอหนวงน้ำ บริเวณพื้นที่ ศูนยซอมบำรุงรถไฟฟา จากผลการประเมินขางตนพบวา บอหนวงน้ำที่โครงการตองจัดเตรียมเพื่อใหสามารถ กักเก็บน เมตรไวได อยาง น้ำ 3 ชั่วโมง กอนระบายลงสูคลองเคล็ดนั้นจะตองมีขนาดความจุรวม 21,339 ลูกบาศกโดยโครงการจะ จัดเตรียมบอหนวงน้ำไว 2 บอ โดยขนาดต่ำสุดของบอหนวงนำ P1 มีขนาดความจุ 21,476 ลูกบาศกเมตร และ ขนาดต่ำสุดของบอหนวงน้ำ P2 มีขนาดความจุ 9,037 ลูกบาศกเมตร โดยติดตั้งเครื่องสูบน้ำแบบ Submersible Centrifugal Pump ซึ่งเปนเครื่องสูบนำที่เหมาะสมกับการใชงานที่มีอัตราการสูบสูงแตระยะยกน้ำต่ำ เปนเครื่อง สูบน้ำที่ติดตั้งมอเตอรกับเครื่องสูบน้ำอยูดวยกันและติดตั้งอยูใตน้ำ ตําแหนงการ ติดตั้ง มีรายละเอียด ดังนี้ -บริเวณ P1ติดตั้งเครื่องสูบน้ำแบบ Submersible Centrifugal Pump ขนาด 0.15ลูกบาศกเมตร/วินาที จํานวน 3 ชุด สําหรับใชงาน 2ชุด และชุดสํารอง 1ชุด -บริเวณ P2ติดตั้งเครื่องสูบน้ำแบบ Submersible Centrifugal Pump ขนาด 0.15ลูกบาศกเมตร/วินาที จํานวน 2 ชุด สําหรับใชงาน 1ชุดและชุดสํารอง 1ชุด ซึ่งสามารถรองรับปริมาณน้ำฝนสวนที่จะตองกักเก็บไว ไดทั้งหมด ทํา


83 ใหอัตราการระบายน้ำหลังการพัฒนามีคาไมเกินอัตราการระบายน้ำกอนการพัฒนา ดังนั้น ผลกระทบตอสภาพการ ระบายน้ำของ คลองเคล็ดและพื้นที่โดยรอบจะอยูในระดับต่ำอยางไรก็ตาม ในการระบายน้ำฝนจากบอหนวงน้ำจะ ทําการสูบน้ำโดยใชเครื่องสูบน้ำ ขนาดเล็กที่ไมสงผลให อัตราการระบายน้ำในคลองเคล็ดเปลี่ยนแปลงไป โดยจะทํา การควบคุมอัตราการไหลให เทากับกอนมีโครงการ ซึ่งมีรายละเอียดในการปฏิบัติงานดังนี้ ภายหลังจากฝนหยุดตก โครงการจะสูบน้ำระบายออกจากบอพักน้ำฝน ลงสูคลองเคล็ด ซึ่ง สภาพปจจุบันของคลองเคล็ดในชวงที่ไหลผาน พื้นที่โครงการมีความกวาง เฉลี่ยประมาณ 10เมตร ระยะทางที่ ผานพื้นที่โครงการมีความยาวประมาณ 800เมตร (คิดเปนพื้นที่ผิวของคลอง 8,000ตาราง เมตร) หาก โครงการมีความตองการระบายน้ำสวนตางที่ตองหนวงน้ำฝนไว ปริมาณ 9,035ลูกบาศกเมตร จาก บอพักน้ำฝน ใหหมดภายใน 1วัน (20ชม.) จะตองสูบออก 451.75ลูกบาศก เมตร/ชั่วโมง หรือ 0.13ลูกบาศก เมตร/วินาที ซึ่งไมเกินขีดความสามารถของคลองเคล็ดที่จะรองรับ เนื่องจากยังมี อัตราการระบายต่ำกวาอัตรา การระบายของนำฝนที่ไหลนองผานพื้นที่กอนมีโครงการ ในทางปฏิบัตินั้นกอนการ สูบน้ำฝนออกจากโครงการ จะตองดําเนินการตรวจสอบระดับน้ำในคลองเคล็ดกอนทุกครั้ง โดยตรวจสอบระดับน้ำ จากพื้นที่วางจากระดับ ฝงจนถึง ผิวน้ำที่สามารถคํานวณไดดังนี้ พื้นที่วางระดับฝงจนถึงผิวน้ำ = ปริมาณการสูบน้ำออกใน 1ชั่วโมง/พื้นที่ผิว = 451.75/8,000เมตร = 0.06เมตร ดังนั้นในการสูบน้ำระบายออกจากบอพักน้ำฝนโครงการจะตองตรวจสอบระดับน้ำใน คลองเคล็ดกอน โดยในขณะที่สูบจะตองมีระดับน้ำต่ำกวา 0.06 เมตร จากการประเมินดังกลาวนี้โครงการได พิจารณากําหนดมาตรการในการดําเนินการสูบน้ำฝนที่กักเก็บไวภายหลังจากฝนตกจากบอพักน้ำฝนดังนี้ -โครงการจะดําเนินการสูบน้ำฝนจากบอพักน้ำฝนของโครงการระบายลงสูคลองเคล็ด ภายหลังจากฝนหยุดตก - โครงการจะตรวจสอบระดับน้ำในคลองเคล็ดกอนหากในกรณีที่มีระดับนำ ในคลองต่ำกวาฝงมากกวา 0.50 เมตร จะทําการสูบระบายออก ถาระดับน้ำในคลองสูงจะถึงระยะ 0.10เมตร จากระดับ ตลิ่งจะหยุดพักโดยรอ ใหระดับน้ำ ลดต่ำลงกอนจึงจะทําการสูบน้ำออก ดังนั้น จึงไมสงผลกระทบตอการระบาย น้ำและปญหาน้ำทวม นอกพื้นที่ โดยรอบพื้นที่โครงการ


84 2.8.12การรักษาความปลอดภัยและการปองกันอัคคีภัย 2.8.12.1 ระบบการรักษาความปลอดภัยและการปองกันอัคคีภัยภายในศูนยซอมบำรุงและ อาคารจอด แลว จร ระบบการรักษาความปลอดภัยและการปองกันอัคคีภัยภายในศูนยซอมบํารุง (บริเวณทางแยกตาง ระดับศรีเอี่ยม) มีรายละเอียดดังนี้ 1) เนื่องจากศูนยซอมบํารุง เปนศูนยกลางควบคุมการเดินรถและซอมบํารุงรถไฟฟา จึงมี มาตรการ รักษาความปลอดภัยอยางเขมงวด ทั้งนี้ภายในศูนยซอมบํารุงจะมีเจาหนาที่ รักษาความปลอดภัยดูแล ตรวจตรา อยางเขมงวด มีการติดตั้งโทรทัศนวงจรปดหรือ CCTV บริเวณรั้วรอบศูนยซอมบํารุงบน Platform และ ใตPlatform เพื่อปองกันการบุกรุก รวมทั้งมี การติดตั้งไฟฟาแสงสวางที่เพียงพอในการรักษาความปลอดภัย พนักงานที่ปฏิบัติงานภายใน อาคารบริการและศูนยควบคุมการเดินรถหากผานปอมยามที่บริเวณทางเขา - ออก ถนนศรี นครินทรจะตองตรวจบัตรเสียกอนพนักงานที่ตองการไปยังหอพักสามารถใชถนนภายในศูนย ซอมบํารุง หรือพนักงานขับรถไฟฟาที่ตองการไปยังอาคารสํานักงานพนักงานขับรถไฟฟาหรือ พนักงานที่ตองปฏิบัติงาน บน Platform หากจะเขาสูตัวอาคารจะตองแจงและแสดงบัตร พนักงานใหแกเจาหนาที่รักษาความปลอดภัยที่ ประจําอยูที่อาคารนั้น ๆ กอนเสมอ สวนการ ตรวจรักษาความปลอดภัยบริเวณโดยรอบศูนยซอมบํารุงจาก กลอง CCTV และใหพนักงาน รักษาความปลอดภัยขับขี่รถจักรยานยนตไปยังถนนบริการโดยรอบศูนยซอม บํารุงได 2) การปองกันความเสียหายตอทรัพยสินภายในศูนยซอมบํารุงจากอัคคีภัย ได พิจารณาจัดใหมี ระบบ ปองกันและเตือนภัยจากอัคคีภัย ดังนี้ 2.1) ระบบทอยืนและสายฉีดน้ำดับเพลิง (Standpipe and House) 2.2) ระบบโปรยน้ำดับเพลิงอัตโนมัติ (Automatic Sprinkler System) 2.3)ระบบดับเพลิงดวยสารสะอาด (Clean Agent Suppression System) 2.4)ถังดับเพลิง (Portable Fire Extinguisher) ทั้งนี้ รายละเอียดระบบปองกันอัคคีภัยของศูนยซอมบํารุงและอาคารจอดแลวจร 2.8.12.2ระบบการรักษาความปลอดภัยและการปองกันอัคคีภัยบริเวณรถไฟฟา การออกแบบจะเนนไปที่การปองกันความปลอดภัยกับบุคคลเปนสําคัญ เนื่องจากเปนโครงการที่มี การ สัญจรของประชาชนเปนจํานวนมาก ผูออกแบบจะใชมาตรฐานสากล NFPA 12, 14และ วสท. ในการ ออกแบบระบบ


85 รวมชนิดทอเปยก โดยจัดใหมีสายฉีดน้ำแบบ Class III ภายในรัศมีที่เขาถึงไดงาย ประมาณ 30 เมตร และการ ออกแบบหัวกระจายน้ำอัตโนมัติชนิด Light Hazard ตามลักษณะของพื้นที่ โดยกําหนดตาม ขนาดพื้นที่ควบคุม นอกจากนี้ในพื้นที่หรือหองควบคุม นอกจากนี้ควบคุมตางๆ เชน หองเครื่อง หองหมอแปลง ที่ตองมีการปกปอง ทรัพยสินและอุปกรณนั้น ก็จะมีการออกแบบใหมีการติดตั้งระบบสารดับเพลิงพิเศษ FM200ดวย สําหรับออกแบบตรวจสอบและแจงเหตุเพลิงไหม จะใชมาตรฐาน NFPA 12, 14และ วสท. และ เปนชนิด บอก ตําแหนง (Addressable) เพื่อใหมีการแจงเหตุเพลิงไหมไดอยางรวดเร็วกอนที่จะเกิดเพลิงไหมได อยางรวดเร็ว จนเปนอันตรายตอชีวิตและทรัพยสิน โดยคํานึงถึงพื้นที่ปองกัน พื้นที่ติดตั้งอุปกรณแจงเหตุ และมี การสง สัญญาณเพื่อแจงเหตุไฟไหมไปยังศูนยควบคุมดวย 2.8.12.3 แผนปองกันอุบัติเหตุและแผนโตตอบการเกิดวินาศภัยในกรณีที่มีเหตุการณ ฉุกเฉิน 1) การปกปองระบบขนสงมวลชนทางรางตอการกอการรายและอาชญากรรมรายแรง มี วิธีการดังนี้ 1.1การจัดทําแผนการรักษาความปลอดภัยครบวงจร • มีแผนในแตละระดับของการเตือนภัย พรอมกับมาตรการรักษาความปลอดภัย ไวลวงหนา • มีแผนรับมือฉุกเฉินและมีการซักซอมแผนดังกลาวเปนประจําตามความเหมาะสม • มีการประสานงานกับหนวยงานทองถิ่นและเจาหนาที่ที่เกี่ยวของ • มีการทบทวนแผนรักษาความปลอดภัยอยางสม่ำเสมอใหสอดคลองกับสถานการณ ในขณะนั้น ๆ 1.2การระดมสองในการวิเคราะหภัยคุกคาม • ประชุมระดมสมองกับหนวยงานดานการรักษาความปลอดภัยและหนวยงานดาน ความ มั่นคง •การวิเคราะหรูปแบบของอาชญากรรมที่เกิดขึ้นในระบบขนสงมวลชน 1.3การออกแบบสถานีทั่วไปและสถานีตนทาง - ปลายทาง (TERMINAL) •ออกแบบใหเปนไปตามมาตรฐานความปลอดภัยระดับสากลของระบบขนสงมวลชน • เลือกใชวัสดุที่ติดไฟยาก และเมื่อเกิดติดไฟจะไมกอใหเกิดควันพิษหรือไมประทุเปนลูกไฟ


86 •ออกแบบสถานีใหมีพื้นที่เปดโลง ไมมีมุมอับสายตา •ออกแบบสถานีใหมีการมองเห็นดี เจาหนาที่ความปลอดภัยสังเกตเห็นเหตุการณ ตางๆได งาย • ไมมีพื้นที่ลับสายตา หรือสถานที่ซึ่งสามารถซุกซอนสิ่งของ • มีทางออกฉุกเฉินอยางเพียงพอตอการอพยพผูโดยสารในกรณีฉุกเฉิน • มีการกําหนดเสนทางการอพยพอยางชัดเจน • มีระบบไฟฟาแสงสวางที่เพียงพอ • มีระบบโทรทัศนวงจรปดที่บันทึกภาพครอบคลุมพื้นที่สถานีทั้งหมด •ออกแบบสถานีใหงายตอการดูแลและบํารุงรักษาอยางดี •จัดใหมีถังขยะที่เปนภาชนะโปรงใส และจัดเก็บขยะจากถังบอยๆ 1.4การออกแบบขบวนรถไฟฟา • ออกแบบขบวนรถใหเปนตามมาตรฐานความปลอดภัยระดับสากลของระบบขนสง มวลชน • เลือกใชวัสดุที่ติดไฟยาก และเมื่อเกิดติดไฟจะไมกอใหเกิดควันพิษหรือไมประทุ เปน ลูกไฟโซน •ออกแบบที่นั่งผูโดยสารใหไมมีชองวางที่จะนําสิ่งของมาแอบซุกซอนโดยลับตาคนได • มีการติดตั้งกลองโทรทัศนวงจรปดอยูภายในขบวนรถไฟฟา 1.5การจัดใหมีเครื่องกั้นหรือสิ่งปองกันทางกายภาพ •สําหรับที่จอดรถและปองกันโครงสราง •สําหรับศูนยซอมบํารุง •สําหรับสิ่งอํานวยความสะดวกที่สําคัญ เชน โรงยอยกระแสไฟฟา •สําหรับแนวรางทางวิ่ง •สําหรับประแจรางรถไฟ


87 •สําหรับกลองควบคุมอาณัติสัญญาณ 1.6การควบคุมการเขา -ออกและปองกันการบุกรุก DETECTON •สํานักงานใหญและศูนยปฏิบัติการควบคุมการเดินรถไฟฟา •สถานีไฟฟา (Power substation) •แหลงจายไฟฟาใหระบบปรับอากาศ HVAC •ศูนยซอมบํารุง • ทางเขา -ออกสถานีรถไฟฟา •จุดตรวจสอบการเขา -ออกดวยระบบกลองโทรทัศนวงจรปด 1.7 การใชกลองโทรทัศนวงจรปดใหครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมด ชนิดกลองบันทึกภาพสีที่มี คุณภาพสูงแม ในยามกลางคืน สามารถสงขอมูลโดยตรงไปยังสถานีตํารวจไดในพื้นที่ตอไปนี้ •สถานี • บริเวณตูโทรศัพทสาธารณะ และบริเวณตูซื้อขายบัตรโดยสารรถไฟฟา • ทางเขาอาคาร สถานี • บริเวณลานจอดรถ • ประตูควบคุมการเขา -ออก • ภายในขบวนรถไฟฟา 2) การเตือนภัย และมาตรการปองกันการกอวินาศกรรม ระบบการเตือนภัย ALERT LEVELS ระดับที่ 1 - ปรับแผนการดําเนินงานวันตอวัน ใหมีความรัดกุมดานความปลอดภัยสูงขึ้น - New Normal day-to-day operations ระดับที่ 2 -แจงใหเจาหนาที่และผูโดยสารปฏิบัติตามมาตรการความปลอดภัยอยางเครงครัด


88 - Heightened Security Awareness ระดับที่ 3 - มีการขาวที่นาเชื่อถือไดวาอาจมีภัยคุกคามหรือการโจมตีระบบขนสงมวลชน (ตองมีการ ประเมินสภาพ สถานการณขาวลาสุดอยางตอเนื่อง) - A Credible Threat of an attack on Mass Transit System ระดับที่ 4 - มีขาวยืนยันภัยคุกคามหรือการโจมตีระบบขนสงมวลชน - A Confirmed Threat of attack against the Mass Transit System ตัวอยางของแผนปฏิบัติการสำหรับ การเตือนภัยระดับที่ 1 1) กิจกรรมการฝกซอมแผนดําเนินการรักษาความปลอดภัยและการเตือนภัย 2) ไมเปดเผยขอมูลกับผูที่ไมไดมีความจําเปนเพื่อทราบ 3) เครงครัดมาตรการความปลอดภัยสูงสุดสําหรับ ศูนยควบคุมการเดินรถไฟฟา และโรงซอมบํารุง 4) ทดสอบมาตรการและระบบรักษาความปลอดภัยที่วางแผนไว ตัวอยางของแผนปฏิบัติการสำหรับ การเตือนภัยระดับที่ 2 1) ปฏิบัติการตรวจสอบความปลอดภัยอยางถี่ถวนในระบบขนสงมวลชน จนเปนสวนหนึ่งของงานประจําวัน มี การประชาสัมพันธใหผูโดยสารชวยเปนหูเปนตาในการสังเกตผูตองสงสัยหรือสิ่งแปลกปลอม แลวแจงให เจาหนาที่ความปลอดภัยรถไฟฟาทราบ 2) ดําเนินการตรวจสอบสิ่งตองสงสัยอยางละเอียด ภายในขบวนรถไฟฟาทุกขบวนเปนประจํา 3) ประสานงานกับฝายรักษาความปลอดภัยระดับชาติ เพื่อขอการสนับสนุนการรักษาความ ปลอดภัยที่อาจ เกิด ที่อาจเกิดขึ้นในระดับ 3 ตัวอยางของแผนปฏิบัติการสำหรับ การเตือนภัยระดับที่ 3 1) มีความนาเชื่อถือเกี่ยวกับภัยคุกคามจาการโจมตี กอวินาศกรรมตอระบบขนสงมวลชน 2) ใหรักษามาตรการความปลอดภัยรวมกับหนวยงานความความมั่นคงของประเทศ โดยใหสามารถคง มาตรการดังกลาวไวเปนสัปดาห จนกวาจะมั่นใจวาพนจากภัยคุกคามดังกลาวแลว


Click to View FlipBook Version