The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by saobon70946, 2022-04-09 02:50:57

แผนพัฒนาท้องถื่น เทศบาลนครสงขลา

แผนพัฒนาท้องถื่น

Keywords: แผนพัฒนา

ประกาศเทศบาลนครสงขลา
เร่อื ง ใหใ้ ชแ้ ผนพฒั นาทอ้ งถิน่ เทศบาลนครสงขลา (พ.ศ.๒๕๖6 – ๒๕70)

_______________________________________
ด้วย เทศบาลนครสงขลา ได้ดําเนินการจัดทําแผนพัฒนาท้องถิ่นเทศบาลนครสงขลา (พ.ศ.๒๕๖6 –
๒๕70) ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทําแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.
๒๕๔๘ แก้ไขเพ่ิมเติมถงึ (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ.2561 , หนังสือจังหวัดสงขลา ด่วนท่ีสุดที่ สข 0023.3/ว8472 ลง
วันที่ 29 ธันวาคม 2563 เรื่องแนวทางการจัดทําแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน (พ.ศ.2566 –
2570) และหนงั สอื จงั หวดั สงขลา ด่วนท่ีสดุ ท่ี สข 0023.4/ว815 ลงวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2564 เรื่องยกเว้น
การปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทําแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน พ.ศ.
2548 และที่แก้ไขเพ่ิมเติม ในการจัดทําประชาคมท้องถ่ินกรณีการจัดทําและเพ่ิมเติมแผนพัฒนาขององค์กร
ปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ และนายกเทศมนตรนี ครสงขลาไดอ้ นุมัตแิ ลว้
อาศยั อาํ นาจตามความใน ขอ้ ๒๔ แหง่ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าดว้ ยการจัดทาํ แผนพัฒนา
องคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ พ.ศ.๒๕๔๘ แก้ไขเพมิ่ เตมิ ถึง (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ.๒๕๖๑ จงึ ประกาศใช้แผนพฒั นา
ท้องถิน่ เทศบาลนครสงขลา (พ.ศ.๒๕๖6 – ๒๕70) เพ่ือใช้เปน็ กรอบในการดาํ เนินการพฒั นาเทศบาลนครสงขลา
ต่อไป รายละเอียดปรากฏตามเอกสารแนบท้ายประกาศ
จึงประกาศใหท้ ราบโดยท่ัวกนั

ประกาศ ณ วนั ท่ี 29 ตลุ าคม พ.ศ.๒๕๖4

(นายศรญั บลิ พฒั น)์
นายกเทศมนตรีนครสงขลา

คาํ นํา

แผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ.๒๕๖6 – ๒๕70) เป็นแผนพัฒนาที่จัดทําข้ึนเพื่อใช้เป็น
เครื่องมือในการแปลงนโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาของเทศบาลนครสงขลา ไปสู่การปฏิบัติ
โดยกําหนดโครงการ/กิจกรรมท่ีจะดําเนินการในช่วงห้าปี บรรจุไว้ในแต่ละแผนงานที่มีความสอดคล้อง
และสามารถตอบสนองตอ่ ยทุ ธศาสตร์การพัฒนา เพอื่ ให้บรรลุวัตถปุ ระสงค์และเปา้ หมายทต่ี อ้ งการในแตล่ ะ
ยุทธศาสตร์การพัฒนา ช่วยให้เทศบาลได้พิจารณาอย่างรอบคอบและเห็นถึงความเชื่อมโยงระหว่าง
แนวทางการดําเนินงานต่าง ๆ เพื่อนํามาตัดสินใจกําหนดแนวทางการดําเนินงานและนําไปสู่การจัดทํา
งบประมาณรายจ่ายประจําปี สามารถนําไปปฏบิ ตั ิได้ทนั ทีเม่ือไดร้ ับการจดั สรรงบประมาณเพ่อื ดาํ เนนิ การ

ในการจัดทําแผนพัฒนาท้องถ่ิน (พ.ศ.๒๕๖6 – ๒๕70) ฉบับนี้ เทศบาลนครสงขลา ได้
ดําเนินการจัดทําข้ึนตามเค้าโครงแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (พ.ศ.2566 – 2570)
และใหม้ คี วามสอดคล้องเช่ือมโยงกบั ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ ในเขตจังหวัด
ยุทธศาสตร์จังหวัด ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด แผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด แผนพัฒนาภาค
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี และเป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน
ตลอดจนได้นําปัญหาความต้องการของจากแผนชุมชน มาพิจารณาบรรจุในแผนพัฒนาท้องถิ่น
(พ.ศ.2566 – 2570) ตามความจําเป็นเร่งด่วน โดยมีกระบวนการจัดทําเป็นไปตามระเบียบ
กระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทําแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.๒๕๔๘ และที่แก้ไข
เพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ.๒๕๖๑ , หนังสือจังหวัดสงขลา ด่วนที่สุด ที่ สข ๐๐๒๓.๓/ว8472 เรื่อง แนว
ทางการจัดทําแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (พ.ศ.๒๕๖6 – ๒๕70) ลงวันท่ี ๒9 ธันวาคม
๒๕๖3 และหนังสอื จังหวัดสงขลา ดว่ นทส่ี ดุ ที่ สข 0023.4/ว815 เรื่องยกเว้นการปฏิบัติตามระเบียบ
กระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทําแผนพัฒนาท้องถิ่นขอองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2548
และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม ในการจัดทําประชาคมท้องถิ่นกรณีการจัดทําและเพ่ิมเติมแผนพัฒนาท้องถ่ินของ
องค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ ลงวันท่ี 1 กุมภาพนั ธ์ 2564

เทศบาลนครสงขลา ขอขอบคุณคณะกรรมการพัฒนาเทศบาลนครสงขลา
คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทําแผนพัฒนาเทศบาลนครสงขลา หน่วยงานต่าง ๆ และองค์กรเอกชนท่ี
เก่ียวข้อง รวมถึงประชาคมท้องถิ่น ที่ได้มีส่วนร่วมในการจัดทําแผนพัฒนาท้องถิ่นของเทศบาลนคร
สงขลา (พ.ศ.๒๕๖6 – ๒๕70) จนสําเร็จลุล่วงด้วยดี หวังเป็นอย่างยิ่งว่าแผนพัฒนาท้องถิ่นฉบับน้ีจะ
นําไปสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรมและเกิดประโยชน์โดยรวม ส่งผลให้ประชาชนในพื้นที่มีคุณภาพ
ชีวติ ที่ดขี นึ้ ในทกุ ๆ ด้าน ตอ่ ไป

เทศบาลนครสงขลา

สารบัญ

   

หนา้

สว่ นที่ 1 สภาพทว่ั ไปและขอ้ มลู พื้นฐาน 2
6
1. ดา้ นกายภาพ 11
2. ด้านการเมอื ง/การปกครอง 20
3. ประชากร 28
4. สภาพทางสงั คม 34
5. ระบบบรกิ ารพน้ื ฐาน 41
6. ระบบเศรษฐกิจ 42
7. ศาสนา ประเพณี วฒั นธรรม 43
8. ทรัพยากรธรรมชาติ
9. ด้านความปลอดภัย 48
63
ส่วนท่ี 2 ยทุ ธศาสตร์องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ 74
1 ความสัมพันธร์ ะหวา่ งแผนพัฒนาระดบั มหภาค
2 ยุทธศาสตรข์ องเทศบาลนครสงขลา
3 การวเิ คราะห์เพอื่ พฒั นาท้องถิ่น

สว่ นที่ 3 การนาํ แผนพฒั นาทอ้ งถนิ่ ไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ 84
1 ยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาและแผนงาน 86
2 บญั ชีโครงการพฒั นาทอ้ งถ่ิน

ส่วนที่ 4 การตดิ ตามและประเมนิ ผล 275
1 การติดตามและประเมนิ ผลยุทธศาสตร์ 280
2 การตดิ ตามและประเมินผลโครงการ 287
3 สรุปผลการพัฒนาท้องถิน่ 290
4 ขอ้ เสนอแนะในการจัดทาํ แผนพฒั นาทอ้ งถิ่นในอนาคต

ภาคผนวก
คาํ ส่ังแต่งตั้งคณะกรรมการพฒั นาเทศบาลนครสงขลา
คําสง่ั แตง่ ตง้ั คณะกรรมการสนบั สนนุ การจัดทําแผนพฒั นาเทศบาลนครสงขลา

ส่วนที่ ๑

สภาพทั่วไปและข้อมลู พื้นฐาน



แผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา

สว่ นที่ 1

สภาพทัว่ ไปและข้อมูลพน้ื ฐานของเทศบาลนครสงขลา

ความเปน็ มาของเทศบาลนครสงขลา

สมัยโบราณ สงขลาเป็นชุมชนประมงบนคาบสมุทรสทิงพระ ต่อมาพ่อค้าชาวตะวันตก
ใช้เป็นท่าเรือขนส่งสินค้า ชุมชนจึงขยายตัวเป็นเมืองท่าสำคัญท่ีปรากฏชื่อในประวัติศาสตร์ว่า “Singora”
(ซิงกอรา) โดยชือ่ น้ีสามารถสันนิษฐานได้หลายแบบ โดยข้อสันนิษฐานทเี่ ดน่ ชดั ที่สุดคือ เมืองสงขลาในสมัยก่อน
มีชื่อว่า “สิงขร” เม่ือพ่อค้าชาวตะวันตกเข้ามาจึงได้มีการเรียกตามสำเนียงฝรั่งและเพ้ียนมาเป็นสงขลาใน
ปัจจบุ ัน

สมัยกรุงศรีอยุธยา สมเด็จพระนารายณ์มหาราชได้ส่งกองทัพมาปราบทำลายเมืองอย่างราบคาบจึง
มีการย้ายเมืองไปอยู่ท่ีแหลมสน (ปัจจุบันอยู่บ้านบ่อเตย อำเภอสิงหนคร) เจ้าเมืองเปน็ ชาวพน้ื เมืองบา้ ง ชาวจีนบ้าง
ตามยุคตามสมยั สมัยรัชกาลท่ี ๓ แห่งกรุงรตั นโกสินทร์ เมอื งสงขลามฐี านะเปน็ ประเทศราชของอาณาจกั รสยาม
ซ่ึงทรงให้สร้างเมืองใหญ่ท่ีฝ่ังตำบลบ่อยาง ใช้เวลาสร้างเมืองถึง ๑๐ ปีและรัชกาลท่ี ๔ ทรงเสด็จมาพำนักถึง
๒ คร้ัง พ.ศ. ๒๔๓๙ สงขลาเป็นท่ีว่าการมณฑลนครศรีธรรมราช และ พ.ศ. ๒๔๖๓ สถาปนาเป็นสุขาภิบาล
เมืองสงขลา พ.ศ. ๒๔๗๘ ยกฐานะเป็นเทศบาลเมืองสงขลา และ พ.ศ. ๒๕๔๒ มีพระราชกฤษฎีกาเปลี่ยนแปลง
ฐานะเทศบาลเมืองสงขลาเป็นเทศบาลนครสงขลา (ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๑๖ ตอน ๑๑๐ ก. วันท่ี ๑๐ พฤศจิกายน
๒๕๔๒ มีผลบงั คับใชต้ ง้ั แต่วนั ที่ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๔๒)

สงขลาจึงเป็นเมืองประวัติศาสตร์และศูนย์รวมของวัฒนธรรมทั้งไทย-จีน-มุสลิม และฝรั่ง
ทั้งยงั เปน็ จดุ ยกพลขน้ึ บกของกองทัพญป่ี ุน่ สมัยสงครามโลกครงั้ ที่ ๒

ตราสญั ลกั ษณ์ของเทศบาลนครสงขลา

ตราสัญลักษณ์ประจำเทศบาลนครสงขลา มีความหมายและ
ความสำคัญ คือ เมืองสงขลาเป็นเมืองเก่าที่มีความสำคัญ
เป็นศูนย์กลางความเจริญด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะเป็นแหล่ง
ความเจริญทางศาสนา และวัฒนธรรมมาตั้งแต่อดีตจนถึง
ปัจจบุ ัน ซ่ึงรูปในตราสัญลกั ษณ์มีความหมาย ดังน้ี



แผนพัฒนาท้องถ่ิน (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา

1. เขาตงั กวน หมายถงึ ภูเขาท่สี งู ทสี่ ดุ ในเขตเทศบาลนครสงขลา
2. เจดีย์บนเขาตังกวน หมายถึง เจดีย์ที่เก่าแก่ซึ่งไม่ปรากฏปีท่ีสร้าง แต่สร้างโดยรูปแบบอิทธิพลศิลปะสมัยศรีวิชัย
ซงึ่ เป็นโบราณสถานตั้งอยใู่ นทีส่ ูงทสี่ ดุ ของเมอื งสงขลา
3. ประภาคาร หมายถงึ สถานท่ีสัญญาณไฟ สำหรบั การเดินเรอื กลางคนื ในทะเลอา่ วไทย
4. ธงชาติไทย หมายถึง เมืองสงขลาเป็นส่วนหนง่ึ ของประเทศไทย

1. ดา้ นกายภาพ

1.1 ที่ตงั้ ของตำบล

เทศบาลนครสงขลาอยู่ในเขตพ้ืนที่ตำบลบ่อยางทั้งหมด มีลักษณะเป็นแหลมอยู่ระหว่างทะเลสาบ
สงขลากับฝ่ังทะเลหลวง (อ่าวไทย) พ้ืนที่ ๙.๒๗ ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ ๕,๗๙๓.๗๕ ไร่ ตงั้ อยู่ ณ เส้นรุ้ง
ท่ี ๗ องศาเหนือ และเส้นแวงท่ี ๑๐๑ องศาตะวันออก อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครตามเส้นทางรถไฟ ๙๔๗
กิโลเมตร ตามทางหลวงแผ่นดิน ๙๕๐ กิโลเมตร และทางทะเลประมาณ ๗๒๕ กิโลเมตร อยู่ห่างจากจังหวัด
ใกลเ้ คียงและประเทศมาเลเซยี สิงคโปร์ ดงั น้ี

- ระยะทางจากเมอื งสงขลาถึงจงั หวดั ปตั ตานี ทางหลวงแผ่นดิน ๙๙ กิโลเมตร
- ระยะทางจากเมืองสงขลาถงึ จังหวดั ยะลา ทางหลวงแผ่นดนิ ๑๒๘ กโิ ลเมตร
- ระยะทางจากเมืองสงขลาถึงจงั หวัดสตูล ทางหลวงแผน่ ดิน ๑๒๕ กิโลเมตร
- ระยะทางจากเมอื งสงขลาถงึ จังหวดั พทั ลุง ทางหลวงแผ่นดนิ ๑๒๑ กิโลเมตร
- ระยะทางจากเมืองสงขลาถึงจังหวัดนครศรธี รรมราช ทางหลวงแผ่นดนิ ๑๖๑ กโิ ลเมตร
- อยหู่ ่างจากกรุงกัวลาลมั เปอร์ ประเทศมาเลเซยี ๔๘๐ กิโลเมตร
- อยู่ห่างจากประเทศสิงคโปร์ ประมาณ ๗๑๘ กิโลเมตร

(ทีม่ า : แขวงการทางสงขลา)

อาณาเขต

เทศบาลนครสงขลามีอาณาเขตตดิ ต่อกับพื้นทใ่ี กลเ้ คียง ดังน้ี

- ทศิ เหนือ ติดตอ่ กับเขตเทศบาลเมืองสงิ หนคร

- ทศิ ใต้ ตดิ ตอ่ กบั เขตเทศบาลเมืองเขารปู ช้าง

- ทิศตะวันออก ตดิ ตอ่ กับอ่าวไทย

- ทศิ ตะวันตก ตดิ ต่อกับทะเลสาบสงขลา

1.2 ลักษณะภมู ิประเทศ
พ้ืนที่ส่วนใหญ่ เป็นที่ราบชายฝั่งทะเล มีลักษณ ะเอียงลาดจากฝ่ังทะเลหลวงไปทาง
ด้านทะเลสาบ รูปร่างของพื้นที่มีลักษณ ะเป็นแหลมแคบยาวตามแนวทิศใต้สู่ทิศเหนือลงสู่ทะเล
ระหว่างทะเลสาบสงขลาทางด้านตะวันตกและทะเลอ่าวไทย ทางด้านตะวันออกมีคลองสำโรงไหล ตามแนว



แผนพัฒนาท้องถิน่ (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา

ทิศตะวันออกสู่ตะวันตก เช่ือมระหว่างอ่าวไทยและทะเลสาบสงขลา มีหาดสมิหลาท่ีสวยงาม หาดทรายขาว
สะอาด จากบ้านเก้าเส้ง ถึงแหลมสนอ่อน ความยาวประมาณ ๙ กิโลเมตร ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเล
ปานกลางเฉลี่ย ๔ เมตร ระดับน้ำใต้ดินลึกจากผิวดินประมาณ ๑ - ๓ เมตร ด้านริมฝั่งทะเลสาบเหมาะแก่การ
จอดเรือ เพราะคลื่นลมสงบ ชายฝ่ังไม่ลาดชัน ภายในเขตเทศบาลมีภเู ขาเล็ก ๆ ทางด้านเหนือจำนวน ๒ ลูก คือ
เขาน้อยและเขาตงั กวน ยอดเขาสูง จากระดับน้ำทะเลประมาณ ๖๐ และ ๘๐ เมตร ตามลำดบั

1.3 ลกั ษณะภมู อิ ากาศ
ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา ต้ังอยู่ในเขตอิทธิพลของลมมรสุมเมืองร้อน มีลม
มรสุมพัดผ่านเป็นประจำทุกปี คือ ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ และลมมรสุมตะวันออกเฉียงใต้ ส่งผลให้มี 2
ฤดู คือ
ฤดูร้อน เร่ิมต้ังแต่กลางเดือนกุมภาพันธ์ถึงกลางเดือนพฤษภาคม ระยะน้ีเป็นช่องว่างระหว่างฤดู
มรสุม หลงั จากสนิ้ ฤดูมรสุมตะวนั ออกเฉยี งเหนือ อากาศจะเรมิ่ รอ้ นและมอี ากาศร้อนจดั ทสี่ ุดในเดอื นเมษายน
ฤดฝู น แบง่ ออกเป็น 2 ระยะ ได้แก่
ฤดฝู นจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ เร่ิมจากกลางเดอื นพฤษภาคม - กลางเดือนตลุ าคม ฝนเคล่ือนตัว
มาจากด้านตะวันตก (ทะเลอันดามัน) ส่วนมากฝนจะตกในช่วงบ่ายถึงค่ำ ปริมาณและการกระจายของฝน
จะนอ้ ยกวา่ ช่วงมรสมุ ตะวนั ตกเฉียงเหนอื
ฤดูฝนจากมรสุมตะวันตกเฉียงเหนือ เริ่มจากกลางเดือนตุลาคม - กลางเดือนกุมภาพันธ์ ฝน
จะเคล่อื นตัวมาจากฝ่งั ตะวันออก (ทะเลอา่ วไทย) ฝนจะตกชกุ หนาแน่น เนือ่ งจากสภาพพืน้ ทอี่ ยตู่ ิดกับชายหาด

1.4 ลกั ษณะของดนิ
สภาพของดนิ ส่วนใหญเ่ ป็นดินร่วนปนทราย และบางแห่งท่ีอยู่รมิ ทะเลเป็นดนิ ทราย การใชป้ ระโยชน์ท่ีดนิ
ภายในเขตเทศบาล ตามผงั เมืองรวมเมืองสงขลา แบ่งได้ดงั น้ี
๑. ประเภทที่อยู่อาศัยและการพาณิชยกรรมปะปนกันอย่างหนาแน่นบริเวณถนนนครนอก
ถนนนครใน ถนนวิเชียรชม ถนนแหล่งพระราม สองฟากของถนนไทรบุรี ถนนทะเลหลวง เป็นต้น และ
จะกระจายอยู่ตามจุดต่าง ๆ ซ่ึงปัจจุบันเทศบาลกำหนดเป็นชุมชนในเขตเมือง จำนวน 55 ชุมชน การใช้ท่ีดิน
ประเภทนีม้ ีประมาณรอ้ ยละ ๔๑.๕๐
๒. ท่ีดินประเภทอุตสาหกรรม ซ่ึงส่วนใหญ่เป็นอุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับการแปรรูปผลิตผล
จากการประมง ส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นอุตสาหกรรมขนาดเล็กในครัวเรือนโดยจะกระจายอยู่บ ริเวณ
ท่าเทียบเรือประมงท่าสะอ้านไปทางด้านทิศใต้ ตามแนวถนนเตาหลวง เตาอิฐ ถนนราษฎร์อุทิศ ๑
และบริเวณแนวริมคลองสำโรง ประมาณรอ้ ยละ ๔.๒0

๓. ท่ีดินประเภทท่ีโล่งเพ่ือนันทนาการและการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมเป็นสถานท่ีพักผ่อน
หยอ่ นใจและแหล่งท่องเท่ียวของเมอื งอยู่บรเิ วณชายฝัง่ ทะเลดา้ นตะวันออกจากหาดเกา้ เสง้ - สมหิ ลา ไปจนถงึ บรเิ วณ
ปลายแหลมสนอ่อน บริเวณเขาน้อย - เขาตงั กวน ประมาณรอ้ ยละ ๑๐.00

๔. ที่ดินประเภทสถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา สถานท่ีราชการ การสาธารณู ปโภค และ
สาธารณูปการ ซ่ึงส่วนใหญ่จะต้ังอยู่ทางด้านตะวันออกตามแนวถนนสายหลักบริเวณทิศตะวันออก



แผนพัฒนาท้องถน่ิ (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา

ฟากถนนราชดำเนิน ถนนชลาทัศน์ ทิศใต้ของฟากถนนปละท่า ทิศตะวันออกของฟากถนนไทรบุรี ถนนรามวิถี
นอกนั้นยงั กระจายอยู่ตามชมุ ชนหนาแน่น ประมาณรอ้ ยละ ๔๔.๓๐

1.5 ลักษณะของน้ำ
มแี หล่งน้ำเคม็ ตามธรรมชาตทิ ี่สำคญั ได้แก่ ทะเลสาบสงขลา ไม่มีแหลง่ น้ำจืดธรรมชาติ

1.6 ลกั ษณะของปา่ ไม้
มีป่าสนบรเิ วณริมแนวชายหาดชลาทศั น์ และปา่ ชายเลนบริเวณสวน 72 พรรษา



แผนพัฒนาทอ้ งถนิ่ (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา



แผนพฒั นาท้องถิ่น (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา

2. ด้านการเมอื ง/การปกครอง

2.1 เขตการปกครอง

เทศบาลนครสงขลา แบ่งเขตการปกครองออกเปน็ 4 เขต มี 55 ชุมชน ดงั น้ี

รายช่ือชมุ ชน

เขต 1 เขต 2 เขต 3 เขต 4

ไทรงาม บา้ นบน กุโบร์ เกา้ เสง้

บ่อนวัวเกา่ ร่วมใจพฒั นา ท่าสะอ้าน พเิ ศษ ตชด.

พิเศษตำรวจภธู ร วัดชัยมงคล นอกสวน พเิ ศษทหารเรอื

ตีนเมรุ วดั ดอนรกั บอ่ หวา้ ภราดร

แหลมทราย หลงั วิทยาลัยอาชีวะ วงั เขยี ว – วงั ขาว มมรมิติติ ครเลมอืองงสลำงุโรง
หลงั ตำหนักเขาน้อย วชริ า วดั หวั ปอ้ ม

สระเกษ ย่านเมอื งเก่า ศาลาหวั ยาง โรงเรียนพาณิชย์สำโรง

แหล่งพระราม หลังวทิ ยาลัยพยาบาล วชิราซอยคู่ สนามบิน

ศรีสดุ า พฒั นาใหม่ บอ่ หว้าสามคั คี สมหวงั

ตลาดรถไฟ มสั ยิดบ้านบน มิตรสัมพันธ์ ศาลาเหลอื ง

เมอื งใหม่พฒั นา วชิราทะเลหลวงดอกรัก วชริ าทะเลหลวง ศาลาเหลอื งเหนือ

สนิ ไพบลู ย์ สวนพระนิเทศ สวนมะพรา้ ว ต้นโพธ์ิ

แหลมสนออ่ น สวนหมาก หลังวัดอทุ ัยธาราม บาลาเซาะห์เก้าแสน

โรงพยาบาลสงขลาเกา่ หลงั โรงพยาบาลจติ เวชสงขลา

หนา้ ค่ายรามคำแหง

รวม 13 ชุมชน รวม 14 ชุมชน รวม 13 ชมุ ชน รวม 15 ชุมชน

รปู แบบและอำนาจหนา้ ทขี่ องเทศบาล

โครงสร้างเทศบาลนครสงขลา เทศบาลนครสงขลาเป็นหน่วยการปกครองส่วนท้องถ่ินรูปแบบหนึ่ง
ปัจจุบันมีพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ (รวมทั้งที่ได้แก้ไขเพิ่มเติมถึง ฉบับที่ ๑๓ พ.ศ. ๒๕๕๒) เป็น
กฎหมายแม่บท มีฐานะเป็นนิตบิ ุคคล มีขอบเขตการปกครองท่ีแน่นอน มีรายได้หรืองบประมาณเป็นของตนเอง
มีอสิ ระในการบรหิ ารงานภายในขอบเขตของกฎหมาย

ด้านการบรหิ าร
เทศบาลนครสงขลา มีหน้าที่ในการบริหารงานตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ (แก้ไข
เพิ่มเติมถึงฉบับที่ ๑๓ พ.ศ. ๒๕๕๒) ตามอำนาจหน้าท่ีท่ีต้องทำ และหน้าที่ท่ีอาจจะทำกิจการใด ๆ ในเขตหรือ
นอกเขตเทศบาล รวมถึงหน้าท่ีอ่ืน ๆ ตามท่ีกฎหมายกำหนด โดยมีนายกเทศมนตรีมีหน้าที่ควบคุมและ
รับผิดชอบในการบริหารกิจการของเทศบาล และเป็นผู้บังคับบัญชาพนักงานเทศบาลและพนักงานจ้าง โดยมี
ปลัดเทศบาลเป็นผู้บังคับบัญชาพนักงานและพนักงานจ้างรองจากนายกเทศมนตรี และรับผิดชอบควบคุมดูแล
ข้าราชการประจำของเทศบาลให้เป็นไปตามนโยบายและมีอำนาจหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายกำหนด หรือตามท่ี



แผนพฒั นาทอ้ งถิ่น (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา

นายกเทศมนตรีมอบหมาย และให้รองปลัดเทศบาลเป็นผู้ช่วยตามอำนาจหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายจาก
ปลดั เทศบาลตามขอบเขตของกฎหมายทก่ี ำหนด

อำนาจหนา้ ทข่ี องเทศบาลนครสงขลา

อำนาจหนา้ ทีข่ องเทศบาลตามพระราชบัญญตั ิ อำนาจหน้าทีข่ องเทศบาล ตามพระราชบญั ญตั ิ

เทศบาล พ.ศ. 2496 (แก้ไขเพิม่ เติมถงึ ฉบับท่ี 13 กำหนดแผนข้ันตอนการกระจายอำนาจให้แก่

พ.ศ. 2552) องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น พ.ศ. 2542

1. รกั ษาความสงบเรยี บรอ้ ยของประชาชน 1. การจัดทำแผนพฒั นาท้องถิ่นของตนเอง

2. ใหม้ ีและบำรงุ ทางบกและทางน้ำ 2. การจัดให้มีและบำรุงรักษาทางบก ทางน้ำ และ

3. รักษาความสะอาดของถนนหรือทางเดินและท่ี ทางระบายนำ้

สาธารณะ รวมทง้ั การกำจดั มูลฝอยและสง่ิ ปฏกิ ลู 3. การจัดให้มีและควบคุมตลาด ท่าเทียบเรือ ท่า

4. ป้องกนั และระงับโรคติดต่อ ขา้ ม และที่จอดรถ

5. ใหม้ ีเคร่อื งใชใ้ นการดับเพลงิ 4. การสาธารณปู โภคและการกอ่ สรา้ งอ่ืน ๆ

6. ให้ราษฎรไดร้ ับการศึกษาอบรม 5. การสาธารณูปการ

7. ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ 6. การส่งเสรมิ การฝึก และประกอบอาชพี

และผูพ้ ิการ 7. การพาณชิ ย์ และการส่งเสริมการลงทุน

8. บำรุงศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถ่ิน 8. การส่งเสริมการท่องเทย่ี ว

และวัฒนธรรมอนั ดขี องท้องถน่ิ 9. การจัดการศกึ ษา

9. หน้าท่ีอื่นตามที่กฎหมายบัญญัติให้เป็นหน้าที่ของ 10. การสังคมสงเคราะห์ และการพัฒนาคุณภาพ

เทศบาล ชวี ิตเด็ก สตรี คนชรา และผ้ดู อ้ ยโอกาส

10. ให้มนี ำ้ สะอาดหรอื การประปา 11. การบำรงุ รักษาศลิ ปะ จารีตประเพณี ภมู ิปัญญา

11. ให้มีโรงฆ่าสตั ว์ ทอ้ งถ่นิ และวฒั นธรรมอันดขี องทอ้ งถ่ิน

12. ใหม้ ีและบำรุงสถานที่ทำการพิทักษแ์ ละรักษาคนเจ็บไข้ 12. การปรับปรุงแหล่งชุมชนแออัดและการจัดการ

13. ใหม้ แี ละบำรุงทางระบายนำ้ เกีย่ วกบั ที่อยอู่ าศัย

14. ใหม้ ีและบำรงุ ส้วมสาธารณะ 13. การจดั ให้มแี ละบำรุงรักษาสถานทพี่ กั ผ่อนหยอ่ นใจ

15. ให้มีและบำรุงการไฟฟ้า หรือแสงสว่างโดยวิธี 14. การส่งเสริมกีฬา

อ่ืน 15. การส่งเสริมประชาธปิ ไตย ความเสมอภาค

16. ให้มีการดำเนินการโรงรับจำนำหรือสถานสินเชื่อ และสทิ ธิเสรภี าพของประชาชน

ทอ้ งถิ่น 16. สง่ เสรมิ การมสี ว่ นรว่ มของราษฎรในการพฒั นาท้องถิ่น

17. ให้มีและบำรงุ การสงเคราะหม์ ารดาและเด็ก 17. การรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบ

18. กิจการอื่นซึ่งจำเป็นเพ่อื การสาธารณสุข เรยี บร้อยของบ้านเมอื ง



แผนพฒั นาท้องถิ่น (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา

อำนาจหน้าทีข่ องเทศบาลตามพระราชบัญญัติ อำนาจหนา้ ท่ขี องเทศบาล ตามพระราชบญั ญตั ิ

เทศบาล พ.ศ. 2496 (แก้ไขเพ่มิ เติมถงึ ฉบับท่ี 13 กำหนดแผนขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่

พ.ศ. 2552) องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน พ.ศ. 2542

19. การควบคุมสุขลักษณะและอนามัยในร้าน 18. การกำจดั มูลฝอย ส่งิ ปฏิกูล และนำ้ เสีย

จำหนา่ ยอาหาร โรงมหรสพและสถานบรกิ ารอน่ื 19. การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการ

20. จัดการเก่ียวกับที่อยู่อาศัยและการปรับปรุง รกั ษาพยาบาล

แหลง่ เส่ือมโทรม 20. การจัดใหม้ ีและควบคมุ สสุ านและฌาปนสถาน

21. จัดให้มีและควบคุมตลาด ท่าเทียบเรือ ท่าข้าม 21. การควบคุมการเลี้ยงสัตว์

และทีจ่ อดรถ 22. การจัดใหม้ ีและควบคุมการฆ่าสตั ว์

22. การวางผงั เมืองและการควบคุมการกอ่ สรา้ ง 23. การรักษาความปลอดภัย ความเป็นระเบียบเรียบร้อย

23. การส่งเสริมการท่องเท่ียว (ภายใต้บังคับกฎหมาย และการอนามัยโรงมหรสพ และสาธารณสถาน

เทศบาลนครอาจจัดกิจการใด ๆ ของเทศบาล 24. การจัดการ การบำรุงรักษา และการใช้ประโยชน์

ดังต่อไปนี)้ จากปา่ ไม้ ที่ดนิ ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม

1. ให้มีตลาด ทา่ เทียบเรือ และทา่ ขา้ ม 25. การผังเมอื ง

2. ให้มีสุสานและฌาปนสถาน 26. การขนสง่ และการวิศวกรรมจราจร

3. บำรงุ และส่งเสรมิ การทำมาหากินของราษฎร 27. การดแู ลรักษาที่สาธารณะ

4. ให้มีและบำรงุ การสงเคราะหม์ ารดาและเดก็ 28. การควบคุมอาคาร

5. ให้มแี ละบำรุงโรงพยาบาล 29. การป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั

6. ให้มกี ารสาธารณปู การ 30. การรักษาความสงบเรียบร้อย การส่งเสริมและ

7. จัดทำกจิ การซง่ึ จำเป็นเพื่อการสาธารณสุข สนับสนุนการป้องกันและรักษาความปลอดภัยใน

8. จดั ต้ังและบำรุงโรงเรยี นอาชีวศึกษา ชีวติ และทรัพยส์ ิน

9. ให้มีและบำรุงสถานท่ีสำหรับการกีฬาและ 31. กิจการอื่นใดท่ีเป็นผลประโยชน์ของประชาชน

พลศึกษา ในทอ้ งถ่นิ ตามทีค่ ณะกรรมการประกาศกำหนด

10. ให้มีและบำรุงสวนสาธารณะ สวนสัตว์ และ

สถานท่ีพักผ่อนหย่อนใจ

11. ปรับปรุงแหล่งเส่ือมโทรม และรักษาความ

สะอาดเรยี บรอ้ ยของท้องถิ่น

12. เทศพาณชิ ย์



แผนพฒั นาท้องถิ่น (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา

2.2 การเลอื กตงั้
เทศบาลนครสงขลา มเี ขตการเลือกตงั้ จำนวน 4 เขตการเลือกตั้ง การเลือกตงั้ ครั้งล่าสุด คือ การเลือกตั้ง
นายกเทศมนตรีนครสงขลาและสมาชกิ สภาเทศบาลนครสงขลา เมื่อวันที่ 28 มนี าคม 2564

จำนวนหน่วยเลอื กตงั้ และจำนวนผ้มู สี ิทธเิ ลือกตง้ั

นายกเทศมนตรีนครสงขลาและสมาชกิ สภาเทศบาลนครสงขลา

เขตเลือกตั้ง จำนวนหน่วยเลือกตัง้ (หน่วย) จำนวนผ้มู สี ิทธิเลอื กต้ัง

1 29 11,799

2 26 11,157

3 21 11,396

4 18 11,549

รวม 94 45,901

การเลือกต้ังนายกเทศมนตรีนครสงขลา มีจำนวนผู้มีสิทธิเลือกต้ัง 45,901 คน มีจำนวนผู้มา
ใช้สิทธิเลือกตั้ง 30,371 คน คิดเป็นร้อยละ 66.17 บัตรดี 28,104 คิดเป็นร้อยละ 92.54 บัตรเสีย 861 คิดเป็น
รอ้ ยละ 2.83 บัตรไมเ่ ลือกผสู้ มัครผูใ้ ด 1,406 คดิ เปน็ ร้อยละ 4.63

การเลือกต้ังสมาชิกสภาเทศบาลนครสงขลา เขต 1 มีจำนวนผู้มีสิทธิเลือกต้ัง 11,799 คน มีจำนวน
ผู้มาใช้สิทธเิ ลือกตง้ั 7,359 คน คิดเป็นร้อยละ 62.37 บัตรดี 6,351 คิดเป็นร้อยละ 86.30 บัตรเสีย 434
คิดเป็นร้อยละ 5.90 บัตรไมเ่ ลือกผสู้ มัครผใู้ ด 574 คิดเป็นรอ้ ยละ 7.80

การเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลนครสงขลา เขต 2 มีจำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 11,157 คน มีจำนวน
ผู้มาใชส้ ิทธิเลือกตั้ง 7,175 คน คิดเป็นร้อยละ 64.31 บัตรดี 6,130 คิดเป็นร้อยละ 85.44 บัตรเสีย 412
คิดเปน็ รอ้ ยละ 5.74 บัตรไม่เลอื กผู้สมคั รผู้ใด 633 คิดเปน็ ร้อยละ 8.82

การเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลนครสงขลา เขต 3 มีจำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 11,396 คน มีจำนวน
ผู้มาใช้สิทธเิ ลือกตงั้ 7,606 คน คิดเป็นร้อยละ 66.74 บัตรดี 6,504 คิดเป็นร้อยละ 85.51 บัตรเสีย 504
คดิ เปน็ ร้อยละ 6.63 บัตรไม่เลือกผู้สมคั รผูใ้ ด 598 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 7.86

การเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลนครสงขลา เขต 4 มีจำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 11,549 คน มีจำนวน
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 8,088 คน คิดเป็นร้อยละ 70.03 บัตรดี 7,009 คิดเป็นร้อยละ 86.66 บัตรเสีย 473
คิดเปน็ ร้อยละ 5.85 บตั รไมเ่ ลือกผู้สมัครผใู้ ด 606 คดิ เป็นร้อยละ 7.49

๑๐

แผนพัฒนาทอ้ งถ่ิน (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา

รายนามนายกเทศมนตรนี ครสงขลา ตง้ั แตส่ มัยเร่ิมยกฐานะเป็นเทศบาลเมือง

ลำดบั ช่ือ – สกุล ระยะเวลาที่ดำรงตำแหน่ง
1 นายต่วน ประตภิ าค 29 ม.ค. 2478 – 31 มี.ค. 2478
2 พระยาประสาทสมบตั ิ 1 เม.ย. 2478 – 31 ม.ค. 2479
3 พระยานราทรหริ ัญรัฐ 1 ก.พ. 2479 – 2 ส.ค. 2482
4 พระยานราทรหริ ญั รฐั 3 ส.ค. 2482 – 31 ม.ี ค. 2483
5 นายกิตติ วรรณพฤกษ์ 24 เม.ย. 2483 – 7 พ.ค. 2485
6 นายเสรี เลขะกุล 8 พ.ค. 2485 – 3 พ.ย. 2491
7 ขุนมนสั เนติ 4 พ.ย. 2491 – 8 เม.ย. 2492
8 ขนุ มนสั เนติ 9 เม.ย. 2492 – 1 ส.ค. 2492
9 นายวริ ัช นพิ ันธส์ จั ก์ 1 ส.ค. 2492 – 9 มิ.ย. 2496
10 นายไพศาล สวา่ งพงศ์ 10 มิ.ย. 2496 – 8 ธ.ค. 2500
11 นายโกวทิ คติการ 9 ธ.ค. 2500 – 29 พ.ค. 2501
12 นายเสรี เลขะกุล 30 พ.ค. 2501 – 31 ม.ค. 2504
13 นายสมัค ปทมุ านนท์ 1 ก.พ. 2504 – 21 ม.ิ ย. 2508
14 นายชาญ กาญจนาคพนั ธ์ 21 ม.ิ ย. 2508 – 22 ม.ค. 2511
15 นายวทิ ยา วรี ะแกล้ว 22 ม.ค. 2511 – 19 เม.ย. 2511
16 นายโกวทิ คตกิ าร 19 เม.ย. 2511 – 16 ก.ค. 2511
17 นายแปลก บญุ กาญจน์ 16 ก.ค. 2511 – 21 ส.ค. 2511
18 นายชาญ กาญจนาคพนั ธ์ 21 ส.ค. 2511 – 28 ต.ค. 2511
19 นายวัชระ กปลิ กาญจน์ 28 ต.ค. 2511 – 16 ต.ค. 2513
20 นายศกั ด์ิ โกไศยกานนท์ 16 ต.ค. 2513 – 13 ม.ค. 2514
21 นายแปลก บุญกาญจน์ 13 ม.ค. 2514 – 31 ธ.ค. 2517
22 พ.ต.อ.โชคชัย สง่ เจรญิ 1 ม.ค. 2518 – 12 ต.ค. 2519
23 นายอร่าม เอ่ียมอรุณ 12 ต.ค. 2519 – 8 ธ.ค. 2519
24 นายอรุณ ทองเพช็ ร 8 ธ.ค. 2519 – 4 เม.ย. 2521
25 นายประโชติ เอกอุรุ 5 เม.ย. 2521 – 16 ม.ิ ย. 2523
26 นายประโชติ เอกอุรุ 16 มิ.ย. 2523 – 27 ก.ค. 2528
27 นายประโชติ เอกอุรุ 28 ก.ค. 2528 – 22 ก.ย. 2533
28 นายประโชติ เอกอรุ ุ 23 ก.ย. 2533 – 22 พ.ย. 2538
29 นายไพบูลย์ พชิ ัยวงศ์ 23 พ.ย. 2538 – 19 ส.ค. 2539
30 นายสวสั ดิ์ แกลว้ ทนงค์ 20 ส.ค. 2539 – 19 ก.ย. 2539
31 นายประโชติ เอกอรุ ุ 20 ก.ย. 2539 – 10 พ.ย. 2542
32 นายอุทิศ ชูชว่ ย 30 ธ.ค. 2542 – 24 ธ.ค. 2546
33 นายอุทิศ ชชู ่วย 1 ก.พ. 2547 – 31 ม.ค. 2551

๑๑

แผนพัฒนาท้องถ่นิ (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา

34 นายอุทิศ ชชู ว่ ย 9 ม.ี ค. 2551 – 4 ก.ย. 2552
35 นายพีระ ตันติเศรณี 1 พ.ย. 2552 – 7 พ.ย. 2555
36 นายสมศกั ด์ิ ตันตเิ ศรณี 6 ม.ค. 2556 – 31 ม.ค. 2564
37 นายศรญั บลิ พฒั น์ 10 ม.ิ ย. 2564 – ปจั จุบัน

3. ประชากร

3.1 ขอ้ มลู เกย่ี วกับจำนวนประชากร
ประชากรในเขตเทศบาลนครสงขลา เม่ือวันท่ี 8 มิถุนายน 2564 มีทั้งส้นิ 59,507 คน เป็นชาย
28,831 คน หญงิ 30,676 คน
จำนวนราษฎรผ้มู สี ทิ ธเิ ลือกต้งั ทง้ั หมดเมอ่ื วนั ท่ี 8 มิถนุ ายน 2564 มที ง้ั สนิ้ 46,933 คน เป็นชาย
22,293 คน เป็นหญงิ 24,640 คน

จำนวนประชากร ครัวเรือน ชว่ งระหว่างปี พ.ศ.2555 - 2564

เพศชาย เพศหญิง
320 85 ขนึ้ ไป 595

375 80 - 84 575
510 75 - 79 812
833 70 - 74 1,201

1,194 65 - 69 1,611
1,594 60 - 64 1,894
1,875 55 - 59 2,331
1,958 50 - 54 2,209

1,952 45 - 49 2,228

1,906 40 - 44 1,980
1,953 1,990
2,070 35 - 39 1,907
2,446 30 - 34
25 - 29 2,124

2,721 20 - 24 2,324
2,329
2,285 15 - 19 1,930
2,066 10 - 14 1,576
5-9
1,640 0-4

1,133 1,060

๑๒ ชาย
หญิง
แผนพัฒนาท้องถิน่ (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา รวม

3.2 ช่วงอายแุ ละจำนวนประชากร ปี พ.ศ. 2564

80,000

70,000

60,000

50,000

40,000 68,725 67,947 67,154 66,074

30,000 30,930 30,723 30,469 29,875 28,906 28,831
33,672 33,111 32,579 31,883 31,115 30,676
20,000 33,181 32,819 32,418 31,964
35,544 35,128 34,736 34,210 64,602 63,834 63,048 61,758 60,021 59,507

10,000

-

25155 25256 25357 25458 25559 25660 25761 25862 25963 215064

3.3 จำแนกชว่ งวยั ของประชากร ปี พ.ศ. 2564

เพศ วัยแรกเกิด วัยเรยี น วยั แรงงาน วัยผูส้ ูงอายุ
0 – 6 ปี 7 – 14 ปี 15 – 59 ปี 60 ปขี ึ้นไป

ชาย 1,724 2,928 19,166 4,826
19,422 6,688
หญงิ 1,638 3,115 38,588 11,514

รวม 3,362 6,043

๑๓

แผนพัฒนาท้องถ่ิน (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา

3.4 ลักษณะชมุ ชน
ชุมชนในเขตเทศบาลนครสงขลา มีจำนวน ๕5 ชุมชน จะมีลักษณะเป็นชุมชนแออัด รวมกลุ่มกัน
เป็นทั้งลักษณะชั่วคราวและการรวมกลุ่มแบบถาวร บ้านในชมุ ชนมีท้ังท่ีเป็นท่ีดนิ ของตนเองและทำการเช่าท่ีดิน
จากเจ้าของพ้ืนท่ี โดยเฉพาะในพื้นที่ราชพัสดุ ท่ีการรถไฟ ท่ีเทศบาล ท่ีสาธารณประโยชน์ ที่วัด รวมถึงการตั้ง
ถ่ินฐานรุกลำ้ ลำคลอง โดยเฉพาะรมิ คลองสำโรงและเช่าที่เอกชน

ขอ้ มลู แนวเขตชมุ ชน 55 ชุมชน

เทศบาลนครสงขลา อำเภอเมอื งสงขลา จงั หวัดสงขลา

รหสั ชื่อชมุ ชน แนวเขตชุมชน ขนาดพน้ื ท่ี เขต หมายเหตุ
ชุมชน กุโบร์ (ตร.ม.)
0001 เก้าเสง้
ท่าสะอ้าน เหนอื ถนนไทรบุรี ซอย 19 66,398.90 3
0002 ไทรงาม ใต้ ถนนไทรบุรี ซอย 27
นอกสวน
0003 บ่อนววั เก่า ตะวนั ออก ถนนไทรบุรี

0004 บ่อหวา้ ตะวันตก ถนนริมทางรถไฟ (4)
บ้านบน
0005 เหนอื ถนนเก้าแสน 28,360.50 4
ใต้ ถนนหลังเกา้ แสน
0006
ตะวนั ออก ถนนเก้าแสน ซอยทำไก่
0007
ตะวนั ตก ถนนเกา้ แสน ซอย 2
0008
เหนอื ถนนท่าเทียบเรอื ประมงหมายเลข 1 265,228.90 3
ใต้ ถนนเตาหลวง

ตะวันออก ถนนเตาหลวง ซอย 5

ตะวนั ตก ทะเลสาบสงขลา

เหนือ ถนนชลเจริญ 450,346.30 1
ใต้ 83 ถนนไทรงาม

ตะวนั ออก ถนนสขุ มุ

ตะวนั ตก ถนนวิเชยี รชม

เหนือ ถนนนอกสวน 109,662.00 3
ใต้ ถนนอมรนิวาส 2

ตะวนั ออก ถนนกำแพงทหารเรือ

ตะวนั ตก ถนนอมรนวิ าส

เหนือ ถนนปละท่า 88,878.50 1
ใต้ ถนนชยั มงคล / กำแพงสนามฟุตบอล

ตะวันออก ถนนสระเกษ - ชยั - เพชรมงคล

ตะวนั ตก ถนนสระเกษ ซอย 1

/ ซอยชยั - เพชรมงคล - สนามฟตุ บอล

เหนือ ถนนเตาหลวง 199,340.90 3
ใต้ ถนนราษฎรอ์ ุทศิ 1 ซอย 3

ตะวนั ออก ถนนราษฎรอ์ ทุ ิศ 1

ตะวนั ตก คลองสำโรง / ถนนเตาหลวง ซอย 6

เหนือ ถนนกำแพงเพชร 179,117.60 2
ใต้ ถนนทา่ เทียบเรือประมงหมายเลข 1

ตะวันออก ถนนรามวถิ ี

ตะวันตก ทะเลสาบสงขลา

๑๔

แผนพัฒนาทอ้ งถน่ิ (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา

รหัส ช่ือชมุ ชน แนวเขตชุมชน ขนาดพื้นท่ี เขต หมายเหตุ
ชมุ ชน (ตร.ม.)

0009 พเิ ศษ ตชด. เหนือ กำแพงทหารเรอื 106,044.60 4
ใต้ กำแพงทหารเรอื
0010 พเิ ศษทหารเรือ ตะวันออก กำแพงทหารเรือ 1,754,166.50 4
ตะวันตก ถนนไทรบุรี
0011 พิเศษตำรวจภธู ร เหนอื 202,316.70 1
ใต้ ถนนทะเลหลวง
0012 ภราดร ตะวันออก ถนนเก้าแสน 98,576.00 4
ตะวันตก ถนนชลาทัศน์
0013 มิตรเมอื งลงุ เหนอื ถนนไทรบรุ ี 85,240.70 4
ใต้
0014 ร่วมใจพฒั นา ตะวันออก แหลมสนอ่อน / ถนนสาธารณะ 32,956.80 2
ตะวนั ตก ถนนชลเจรญิ
0015 รมิ คลองสำโรง เหนอื ถนนแหลมสนออ่ น 184,852.80 4
ใต้ ทะเลสาบ
0016 โรงเรียนพาณชิ ย์ ตะวนั ออก 249,364.50 4
สำโรง ตะวนั ตก ถนนไทรบรุ ี ซอย 41 167,348.80 3
เหนือ ถนนภราดร ซอย 1
0017 วงั เขียว - วังขาว ใต้ ถนนภราดร ซอย 1
ตะวนั ออก ถนนเลียบทางรถไฟ
ตะวนั ตก
เหนือ ถนนราษฏรอ์ ุทศิ 1 ซอย 10
ใต้ ถนนราษฎร์อุทศิ 1 และทางรถไฟ
ตะวนั ออก ริมทางรถไฟ
ตะวนั ตก ถนนราษฎรอ์ ทุ ศิ 1
เหนอื
ใต้ ถนนชัย - เพชรมงคล ซอยรว่ มใจพฒั นา 8
ตะวันออก ถนนรามวิถี ซอย 6
ตะวนั ตก ถนนชยั - เพชรมงคล
ถนนรามวิถี (สาธารณะ)
เหนือ
ใต้ ถนนไทรบุรี ซอย 47
ตะวนั ออก คลองสำโรง
ตะวนั ตก ถนนไทรบุรี
เหนอื ลำรางนำ้ สาธารณะ / ถนนไทรบรุ ี
ใต้ ซอย 47/4
ตะวนั ออก
ตะวันตก ทางรถไฟ
คลองสำโรง
ลำรางน้ำสาธารณะ (คลองสำโรง)
ถนนเลียบทางรถไฟ

ถนนอมรนิวาส 2 / ถนนริมทางรถไฟ
ถนนไทรบุรี ซอย 14
กำแพงทหารเรอื
ถนนอมรนิวาส / ถนนรมิ ทางรถไฟ

๑๕

แผนพฒั นาท้องถนิ่ (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา

รหสั ชือ่ ชมุ ชน แนวเขตชุมชน ขนาดพ้ืนที่ เขต หมายเหตุ
ชมุ ชน (ตร.ม.)

0018 วดั ชัยมงคล เหนือ ถนนชัยมงคล 69,721.80 2
ใต้ ถนนเพชรมงคล
0019 วดั ดอนรกั ตะวนั ออก ถนนราชดำเนิน 173,095.00 2
ตะวนั ตก ถนนชยั มงคล - เพชรมงคล
0020 ตนี เมรุ เหนอื 362,152.70 1
ใต้ ถนนจะนะ
0021 วดั หัวปอ้ ม ตะวันออก ถนนสงขลาบรุ ี 136,384.70 3
ตะวันตก ถนนรามวิถี
0022 แหลมทราย เหนอื ทะเลสาบ 233,079.30 1
ใต้
0023 ศาลาหวั ยาง ตะวันออก ถนนไชยา 154,614.00 3
ตะวันตก ถนนปละทา่
0024 สนามบิน เหนอื ถนนลกู เสือ 43,124.10 4
ใต้ ถนนศรีสดุ า
0025 สมหวัง ตะวันออก 112,712.33 4
ตะวนั ตก ถนนทะเลหลวง
0026 หลังตำหนัก เหนอื ถนนเทศบาล 1 747,771.20 1
เขาน้อย ใต้ ถนนทะเลหลวง ซอย 20
ตะวันออก ถนนรามวิถี
ตะวนั ตก
เหนือ ถนนชลเจริญ
ใต้ 108-112 ถนนราชดำเนนิ
ตะวันออก 32/1 ถนนราชดำเนิน
ตะวันตก 147-148 ถนนราชดำเนนิ
เหนือ
ใต้ ถนนเตาหลวง
ตะวันออก ถนนไทรบรุ ี ซอย 11
ตะวนั ตก ถนนไทรบุรี
เหนอื ถนนราษฎรอ์ ุทิศ 1

ใต้ กำแพง ต.ช.ด.
ตะวันออก ถนนเก้าแสน
ตะวนั ตก กำแพงทหารเรอื
เหนือ ถนนไทรบรุ ี
ใต้
ตะวันออก ถนนไทรบรุ ี ซอย 27
ตะวันตก / ถนนราษฎร์อุทิศ 1 ซอย 2
ถนนราษฎร์อทุ ิศ 1 ซอย 10
ถนนไทรบรุ ี ซอย 27/1
ถนนราษฎร์อุทิศ 1

ถนนราชดำเนิน
ถนนสะเดา
ถนนราชดำเนนิ
ถนนสุขมุ ถนนรามวิถี

๑๖

แผนพฒั นาทอ้ งถน่ิ (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา

รหสั ชือ่ ชุมชน แนวเขตชุมชน ขนาดพื้นท่ี เขต หมายเหตุ
ชุมชน สระเกษ (ตร.ม.)
0027
0028 หลังวิทยาลัย เหนอื ถนนปละทา่ 146,185.60 1
0029 อาชีวะ ใต้ ถนนราชดำเนิน ซอย 2
0030 แหลง่ พระราม ตะวันออก ถนนราชดำเนนิ นอก 48,556.20 2
ตะวนั ตก ถนนสระเกษ
0031 ศาลาเหลือง เหนอื 74,041.84 1
0032 ใต้ ถนนรามวิถี ซอย 6
0033 วชิรา ตะวันออก ถนนทะเลหลวง 114,744.19 4
0034 ตะวนั ตก ถนนชยั - เพชรมงคล
0035 วชริ าซอยคู่ เหนอื ถนนรามวิถี 98,018.00 2
ใต้ 46,302.60 3
ศาลาเหลอื งเหนือ ตะวันออก ถนนราชดำเนนิ ใน 83,150.30 4
ตะวันตก ถนนไทรงาม 141,626.40 2
ย่านเมืองเกา่ เหนือ ถนนวเิ ชยี รชม 149,661.80 1
ใต้ ทะเลสาบ
ศรสี ดุ า
ตะวันออก ถนนราษฎร์อทุ ิศ 1 ซอย 1
ตะวันตก ถนนราษฎรอ์ ทุ ิศ 1 ซอย 19
เหนือ / ซอยสาธารณะ
ใต้ ถนนราษฎรอ์ ทุ ิศ 1
ตะวนั ออก คลองสำโรง
ตะวันตก
เหนอื ถนนเพชรมงคล
ใต้ ถนนทะเลหลวง
ตะวนั ออก ถนนทะเลหลวง ซอย 11
ตะวนั ตก ถนนชัย - เพชรมงคล
เหนอื
ใต้ ถนนทะเลหลวง
ตะวันออก ถนนนอกสวน
ตะวนั ตก ถนนทะเลหลวง ซอย 12
เหนือ รร.เทศบาล 5 (หวั ปอ้ มนอก)
ใต้
ตะวันออก ถนนราษฎร์อุทศิ 1 ซอย 1
ตะวนั ตก ถนนราษฎรอ์ ทุ ศิ 1 ซอย 9
เหนอื ถนนราษฎร์อทุ ศิ 1
ใต้ คลองสำโรง
ตะวันออก
ตะวนั ตก ถนนสงขลาบรุ ี
ถนนพัทลุง
ถนนไทรบุรี
ทะเลสาบสงขลา

ถนนสะเดา
ถนนไชยา
ถนนลกู เสอื
ถนนรามวถิ ี

๑๗

แผนพฒั นาทอ้ งถน่ิ (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา

รหสั ช่อื ชมุ ชน แนวเขตชุมชน ขนาดพื้นที่ เขต หมายเหตุ
ชมุ ชน (ตร.ม.)

0036 ตลาดรถไฟ เหนอื ถนนปละทา่ 99,587.80 1
ใต้ ถนนรามวถิ ี ซอย 4 (ถนนชัยมงคล)
0037 หลงั วทิ ยาลัย ตะวันออก ถนนปละทา่ ซอยแขวงการทาง 59,635.60 2
พยาบาล ตะวนั ตก ถนนรามวิถี
91,654.40 3
0038 บ่อหวา้ สามัคคี เหนือ ถนนชัยมงคล
ใต้ ถนนรามวถิ ี ซอย 6
0039 มิตรสัมพนั ธ์ ตะวนั ออก ถนนหลังวดั โรงวาสและรางรถไฟ 50,433.30 3
ตะวันตก ถนนรามวถิ ี
0040 ต้นโพธิ์ 30,466.30 4
เหนอื ถนนไทรบุรี ซอย 11
0041 บาลาเซาะห์ ใต้ ถนนราษฎร์อุทศิ 1 ซอย 2 87,474.00 4
เกา้ แสน ตะวันออก ถนนริมทางรถไฟ (4)
ตะวนั ตก ถนนราษฎร์อุทศิ 1 252,549.10 4
0042 หลงั โรงพยาบาล
จติ เวชสงขลา เหนอื ถนนไทรบุรี ซอย 11 19,298.50 2
ใต้ ถนนไทรบุรี ซอย 27
0043 พัฒนาใหม่ ตะวนั ออก ถนนรมิ ทางรถไฟนอก
ตะวนั ตก ถนนราษฎรอ์ ทุ ิศ 1
0044 มสั ยิดบา้ นบน 99,865.40 2
เหนือ ถนนไทรบุรี ซอย 41
ใต้ ถนนไทรบรุ ี ซอย 47
ตะวนั ออก ถนนไทรบรุ ี - ไทรบุรี ซอย 47
ตะวนั ตก ถนนภราดร ซอย 1

เหนอื ถนนเกา้ แสน
ใต้ คลองสำโรง
ตะวันออก ทะเลอา่ วไทย
ตะวนั ตก ถนนเก้าแสน

เหนือ ถนนเกา้ แสน ซอย 2
ใต้ คลองสำโรง
ตะวนั ออก คลองสำโรง
ตะวันตก ถนนไทรบรุ ี

เหนือ ถนนชยั มงคล
ใต้ ถนนชัย - เพชรมงคล ซอยร่วมใจพฒั นา 8
ตะวนั ออก ถนนชัย - เพชรมงคล
ตะวนั ตก ถนนสาธารณะ

เหนอื ถนนพทั ลงุ
ใต้ ถนนกำแพงเพชร
ตะวันออก ถนนรามวถิ ี
ตะวันตก ถนนทะเลสาบสงขลา

๑๘

แผนพัฒนาท้องถ่ิน (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา

รหัส ชื่อชมุ ชน แนวเขตชุมชน ขนาดพน้ื ท่ี เขต หมายเหตุ
ชุมชน เมืองใหม่พฒั นา (ตร.ม.)
0045 ถนนกำแพงสนามฟตุ บอล (ถนนปละท่า)
วชิราทะเลหลวง เหนอื ถนนชยั มงคล 26,244.50 1
0046 ใต้ ถนนชัย - เพชรมงคล
วชิราทะเลหลวง ตะวนั ออก ถนนรามวิถี ซอย 4 154,714.80 3
0047 ดอกรกั ตะวันตก ถนนทะเลหลวง
สวนพระนิเทศ ถนนนอกสวน 106,073.74 2
0048 เหนอื รร.วชิราโปลเี ทคนิค
สวนมะพร้าว ใต้ ถนนทะเลหลวง ซอย 12 129,036.70 2
0049 ตะวนั ออก ถนนเพชรมงคล
หลังวดั อุทยั ธาราม ตะวนั ตก ถนนทะเลหลวง 110,968.30 3
0050 ถนนราชดำเนินนอก
สวนหมาก เหนอื ถนนทะเลหลวง ซอย 11 76,385.60 3
0051 ใต้
โรงพยาบาล ตะวนั ออก ถนนชยั - เพชรมงคล ซอยพลู สุขอุทิศ 1,974.30 2
0052 สงขลาเก่า ตะวนั ตก ถนนเพชรมงคล
สนิ ไพบูลย์ ถนนชัยมงคล ซอย 9 166,583.20 2
0053 เหนอื ถนนชัย - เพชรมงคล
ใต้ ถนนนครนอก 20,880.00 1
ตะวนั ออก ถนนไทรบุรี ซอย 3
ตะวนั ตก ถนนไทรบรุ ี
ถนนสงขลาพลาซา่
เหนอื ถนนไทรบุรี ซอย 3
ใต้ ถนนเตาหลวง
ตะวันออก ถนนไทรบรุ ี
ตะวนั ตก ถนนเตาหลวง ซอย 5

เหนอื ถนนไทรงาม
ใต้ ถนนจะนะ
ตะวันออก ถนนรามวิถี
ตะวันตก ถนนทะเลสาบสงขลา
ถนนสงขลาบุรี
เหนอื ถนนพัทลงุ
ใต้ ถนนรามวถิ ี
ตะวนั ออก ถนนไทรบุรี
ตะวันตก ถนนสระเกษ ซอย 6
ถนนชยั มงคล
เหนือ ถนนชัยมงคล ซอย 2
ใต้ ถนนสระเกษ
ตะวนั ออก
ตะวนั ตก

เหนอื
ใต้
ตะวนั ออก
ตะวันตก

๑๙

แผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา

รหัส ชอื่ ชมุ ชน แนวเขตชุมชน ขนาดพ้นื ที่ เขต หมายเหตุ
ชุมชน (ตร.ม.)

0054 หน้าคา่ ย เหนือ ถนนไทรบุรี ซอย 27 160,207.40 4
ใต้ ถนนไทรบุรี ซอย 41 (ซอยดวงดาว) -
รามคำแหง ไทรบรุ ี ซอย 27
ตะวนั ออก ถนนไทรบุรี
0055 แหลมสนออ่ น ตะวนั ตก ถนนไทรบุรี ซอย 41 322,824.00 1
เหนอื
ใต้ ทะเลสาบสงขลา (หัวพญานาค)
ตะวันออก ถนนแหลมสนออ่ น (ติดกำแพงทหารเรือ)
ตะวันตก ถนนแหลมสนอ่อน
ทะเลสาบสงขลา

(ท่มี า : กองสวสั ดิการสงั คม เทศบาลนครสงขลา ขอ้ มูล ณ เดอื นกันยายน ๒๕64)

๒๐

แผนพฒั นาท้องถ่ิน (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา

4. สภาพทางสังคม

4.1 ด้านการศกึ ษา

สถติ จิ ำนวนนกั เรียน/ห้องเรยี น ในสังกัดเทศบาลนครสงขลา พ.ศ. 2564

ระดับชัน้ โรงเรียน

(ช/ญ) ท.1 ท.2 ท.3 ท.4 ท.5

อ.1 ช 25 46 21 41 29 62 3 13 - -
ญ 21 20 33 10 -

อ.2 ช 34 62 34 61 25 51 13 22 - -
ญ 28 27 26 9 -

อ.3 ช 42 97 42 71 31 55 15 34 - -
ญ 55 29 24 19 -

รวม 205 173 168 69 -

ป.1 ช 48 99 34 75 54 96 25 50 - -
ญ 51 41 42 25 -

ป.2 ช 58 107 37 85 48 88 29 58 - -
ญ 49 48 40 29 -

ป.3 ช 43 90 55 96 38 70 42 83 - -
ญ 47 41 32 41 -

ป.4 ช 53 112 56 99 46 74 40 75 - -
ญ 59 43 28 35 -

ป.5 ช 55 96 52 87 41 84 38 80 - -
ญ 41 35 43 42 -

ป.6 ช 51 98 44 90 37 79 41 84 - -
ญ 47 46 42 43 -

รวม 602 532 491 430 -

ม.1 ช - - - - - - 58 82 198 354
ญ - - - 24 156

ม.2 ช - - - - - - 62 104 175 346
ญ - - - 42 171

ม.3 ช - - - - - - 91 144 150 308
ญ - - - 53 158

รวม - - - 330 1,008

ม.4 ช - - - - - - - - 65 158
ญ - - - - 93

ม.5 ช - - - - - - - - 61 146
ญ - - - - 85

ม.6 ช - - - - - - - - 47 132
ญ - - - - 85

๒๑

แผนพฒั นาทอ้ งถิ่น (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา

รวม ม.ปลาย --- - 436
รวมทัง้ หมด 807 705 659 829 1,444
รวมจำนวนนักเรยี นทั้ง 5 โรง ..........4,444............ คน

จำนวนนกั เรียนของศนู ยพ์ ัฒนาเด็กเล็กสงั กัดเทศบาลนครสงขลา พ.ศ. 2564

ที่ ศนู ย์พฒั นาเดก็ เลก็ ชาย หญิง รวม
1 ศนู ย์พฒั นาเดก็ เลก็ เกา้ เส้ง 9 11 20
2 ศนู ย์พฒั นาเดก็ เล็กกโุ บร์ 22 16 38
3 ศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เล็กท่าสะอา้ น 24 15 39
4 ศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ บอ่ นววั เกา่ 32 36 68
5 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดไทรงาม 29 22 51
100 216
รวม 116

จำนวนนกั เรยี นและครู ภารโรงของสถานศึกษาทส่ี งั กัดเทศบาลนครสงขลา พ.ศ. 2564

ที่ สถานศกึ ษา จำนวนนักเรยี น จำนนวนครู รวม
1 โรงเรียนเทศบาล 1 (ถนนนครนอก) 807 54 861
2 โรงเรยี นเทศบาล 2 (ออ่ นอทุ ิศ) 705 55 760
3 โรงเรียนเทศบาล 3 (วัดศาลาหัวยาง) 659 48 707
4 โรงเรียนเทศบาล 4 (บา้ นแหลมทราย) 829 64 893
5 โรงเรยี นเทศบาล 5 (วัดหวั ปอ้ มนอก) 86
6 ศนู ยพ์ ฒั นาเด็กเลก็ เกา้ เสง้ 1,444 3 1,530
7 ศูนย์พัฒนาเดก็ เล็กกุโบร์ 38 3 41
8 ศูนย์พฒั นาเดก็ เลก็ ท่าสะอ้าน 20 3 23
9 ศูนย์พัฒนาเดก็ เล็กบ่อนวัวเกา่ 39 6 42
10 ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเล็กวัดไทรงาม 68 4 74
51 326 55
รวม
4,660 4,986

๒๒

แผนพัฒนาท้องถ่นิ (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา

ตารางแสดงจำนวนนักเรยี นของสถานศกึ ษาในสงั กัดเทศบาลนครสงขลา

ปกี ารศึกษา 2560 – 2564

สถานศึกษา จำนวนนกั เรยี น 2564
2560 2561 2562 2563 807
705
โรงเรียนเทศบาล 1 (ถนนนครนอก) 888 885 823 809 659
827
โรงเรยี นเทศบาล 2 (ออ่ นอทุ ศิ ) 853 809 771 722
1,444
โรงเรียนเทศบาล 3 (วดั ศาลาหัวยาง) 793 755 684 627 38
20
โรงเรียนเทศบาล 4 (บา้ นแหลมทราย) 1,253 1,193 1,182 987 39
68
โรงเรียนเทศบาล 5 (วดั หัวป้อมนอก) 1,668 1,683 1,561 1,490 51

ศนู ย์พัฒนาเด็กเล็กชมุ ชนกโุ บร์ 44 41 43 46 4,660

ศูนย์พัฒนาเด็กเลก็ ชุมชนเก้าเสง้ 49 50 52 51

ศนู ย์พัฒนาเดก็ เลก็ ชุมชนท่าสะอา้ น 54 49 45 56

ศนู ยพ์ ฒั นาเด็กเล็กชมุ ชนบ่อนวัวเก่า 90 81 65 71

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กชุมชนวัดไทรงาม 56 52 55 51

รวม 5,748 5,598 5,281 4,910

(ท่ีมา : สำนักการศกึ ษา เทศบาลนครสงขลา ข้อมลู ณ เดอื น มิถุนายน 2564)

4.2 ด้านสาธารณสุข

โรงพยาบาลเมอื งสงขลา จำนวน 1 แห่ง

ศูนย์สาธารณสขุ มลู ฐานชมุ ชน (pcu) จำนวน 5 แห่ง

ศูนยบ์ ริการสาธารณสุขเทศบาลนครสงขลา จำนวน 2 ศูนย์

1. ศนู ยบ์ รกิ ารสาธารณสขุ (เตาหลวง)

2. ศูนย์บรกิ ารสาธารณสขุ (สระเกษ)

ศนู ยพ์ ัฒนาคณุ ภาพชีวติ และสง่ เสรมิ อาชีพผสู้ ูงอายุ จำนวน 1 แหง่

กองทุนหลกั ประกนั สุขภาพเทศบาลนครสงขลา จำนวน 1 แหง่

อาสาสมคั รสาธารณสุข (อสม.) มที ้ังหมด 53 ชมุ ชน มสี มาชกิ จำนวน 519 คน

ชมรมผสู้ งู อายุเทศบาลนครสงขลา จำนวน 1,250 คน

ชมรมออกกำลงั กาย ศูนย์รวมชมรมคนรกั สุขภาพเทศบาลนครสงขลา มที ง้ั หมด 22 ชมรม

1. ชมรมแอโรบคิ สวน 72 พรรษา สมาชกิ 70 คน

2. ชมรมวา่ ยนำ้ สนามกีฬาติณสลู านนท์ สมาชิก 15 คน

3. ชมรมแอโรบคิ หนา้ อำเภอ สมาชิก 110 คน

4. ชมรมไม้พลองเกา้ เสง้ สมาชกิ 20 คน

5. ชมรมแอโรบิคไมพ้ ลองชลาทศั น์ สมาชิก 30 คน

6. ชมรมแอโรบคิ ท่านำ้ พทุ ธรักษา สมาชิก 50 คน

7. ชมรมฟุตบอลบอ่ ยาง สมาชกิ 50 คน

๒๓

แผนพฒั นาท้องถิ่น (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา

8. ชมรมฮวยชนุ สนามกฬี าตณิ สลู านนท์ สมาชกิ 20 คน
100 คน
9. ชมรมแอโรบคิ สนามกีฬาตณิ สลู านนท์ (รอบเย็น) สมาชิก 150 คน
223 คน
10. ชมรมไทเกก๊ เอวี๋ยนจี๋ สงขลา สมาชกิ 30 คน
50 คน
11. ชมรมไทเก๊กสวน 72 พรรษา สมาชิก 250 คน
50 คน
12. ชมรมฟตุ บอลสัมพันธ์ สมาชิก 20 คน
20 คน
13. ชมรมแอโรบิคเตาหลวง สมาชิก 100 คน
30 คน
14. ชมรมอาวโุ ส 56 สมาชกิ 25 คน
36 คน
15. ชมรมพาณชิ ยส์ รา้ งสขุ สมาชกิ 25 คน

16. ชมรมเปตองสัมพนั ธ์ สมาชิก

17. ชมรมไมพ้ ลองย่านเมืองเก่า สมาชิก

18. ชมรมไลน์แดนซ์ สนามกีฬาติณสูลานนท์ สมาชกิ

19. ชมรมบาสเก็ตบอล สนามกฬี าตณิ สูลานนท์ สมาชกิ

20. ชมรมลลี าศ สมาชกิ

21. ชมรมวดู้ บอลบอ่ ยาง 62 สมาชกิ

22. ชมรมแฟรนตกิ เดน้ ท์ สมาชกิ

การรักษาความสะอาด
๑. ปริมาณขยะที่เก็บขนได้จำนวน 80 ตัน/วัน และปริมาณขยะท่ีกำจัดได้ จำนวน ๘0 ตัน/วัน
กำจดั ขยะโดยวิธีฝังกลบอย่างถูกหลักสุขาภบิ าล รวมขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ รอบข้างและบรษิ ัทเอกชน

ปริมาณขยะทเ่ี ก็บได้ ข้อมูล 5 ปี
ปงี บประมาณ (พ.ศ.) ปริมาณขยะทเี่ กบ็ ได้ (ตนั )

2559 22,912
2560 23,237
2561 23,302
2562 23,927
2563 23,708

2. ปรมิ าณนำ้ เสยี

ปริมาณนำ้ เสยี เขา้ - ออก ระบบบำบัดนำ้ เสีย ประจำปงี บประมาณ 2562 – 2564

ปริมาปณงี บนปำ้ เรสะยี มเาขณ้าระบบ ปรมิ าณนำ้ เสยี ออกระบบ

(ลกู บาศก์เมตร/วนั ) (ลูกบาศกเ์ มตร/วนั )

2562 13,364.54 9,355.18

2563 11,062.17 7,743.52

2564 14,864.17 10,404.92

(ท่ีมา : ส่วนชา่ งสขุ าภิบาล สำนักชา่ ง เทศบาลนครสงขลา ข้อมูล ณ เดอื นตุลาคม ๒๕๖๔)

๒๔

แผนพฒั นาท้องถน่ิ (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา

อตั รากำลงั เฉพาะพนกั งานจ้าง แยกตามหนา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบ งานรกั ษาความสะอาด

ลำดับที่ แบง่ เปน็ งาน จำนวน (คน)

1 งานกวาดล้างทำความสะอาดถนน 104
- พนกั งานกวาดขยะ

2 งานเก็บขนขยะและสิง่ ปฏกิ ลู 74
- พนักงานเก็บรวบรวม/ขนถ่ายขยะมูลฝอย 4
- พนกั งานขนถ่ายสง่ิ ปฏิกลู

3 งานอื่นๆ 6
- พนักงานผชู้ ่วยงานธุรการ 2
- พนกั งานขบั รถสุขาเคลื่อนที่ 2
- พนกั งานตรวจสอบและสับเปล่ยี นถังขยะโยธาท่ัวไป 3
- พนักงานรกั ษาความปลอดภัย (ยาม)

รวม 193

ประเภทรถใชง้ าน

๑. รถบรรทุกขยะอดั ทา้ ยใหญ่ จำนวน ๑4 คัน ใชง้ านได้ ๑4 คัน
คัน ใชง้ านได้ 4 คัน
๒. รถบรรทกุ ขยะอดั ทา้ ยเล็ก จำนวน 4 คัน ใชง้ านได้ 7 คัน
คัน ใชง้ านได้ 2 คัน
๓. รถบรรทุกขยะเปดิ ขา้ งเทท้าย จำนวน 7 คัน ใชง้ านได้ 1 คัน
คัน ใชง้ านได้ 3 คัน
4. รถดูดส่ิงปฏิกลู จำนวน 2 คัน ใชง้ านได้ 3 คัน
คนั ใชง้ านได้ 4 คัน
5. รถตักหนา้ ขดุ หลัง จำนวน 1 คนั ใช้งานได้ 3 คัน
คัน ใช้งานได้ 1 คัน
6. รถสขุ าเคลื่อนที่ จำนวน 3
761 แหง่
7. รถยกถงั ขยะคอนเทนเนอร์ จำนวน 3 508 แห่ง

8. รถเกบ็ ขนกงิ่ ไม,้ เศษวัสดุ จำนวน 4 7 แหง่
๑ แหง่
9. รถบรรทกุ นำ้ จำนวน 3

10. รถกวาดดดู ฝุ่น จำนวน 1

ข้อมูลด้านอนามยั สง่ิ แวดลอ้ ม ประจำปี ๒๕64
๑. สถานที่จำหน่ายอาหารและสถานทส่ี ะสมอาหาร
๒. สถานประกอบการกิจการที่เปน็ อันตรายต่อสขุ ภาพ
๓. ตลาดเอกชน
๔. โรงฆา่ สตั วเ์ ทศบาล

๒๕

แผนพฒั นาทอ้ งถิ่น (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา

5. สุสานและฌาปนสถาน ๔ แหง่

(ทม่ี า : กองสาธารณสุขและสง่ิ แวดล้อม เทศบาลนครสงขลา ข้อมลู ณ เดอื นกันยายน ๒๕64)

4.3 อาชญากรรม

สถิตฐิ านความผดิ คดอี าญา ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 - 2564 มีดงั น้ี

ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564
รับ จับกมุ รบั จับกุม
ประเภทความผดิ แจ้ง ราย คน แจง้ ราย คน รบั จับกมุ
39 37 56 33 33 40 แจง้ ราย คน
1. ฐานความผิดเกี่ยวกบั ชีวิต ร่างกายและเพศ
1.1 ฆ่าผู้อืน่ (คดอี ุกฉกรรจ)์ 8 7 10 556 22 22 29
1.2 พยายามฆา่ 778 333
1.3 ทำรา้ ยร่างกาย 17 16 26 15 15 18 22 2
1.4 ขม่ ขืนกระทำชำเรา 5 5 10 222
1.5 อื่น ๆ 222 8 8 11 33 3
2. ฐานความผดิ เก่ียวกบั ทรัพย์ 206 179 220 203 184 215
2.1 ปล้นทรัพย์ (คดีอุกฉกรรจ์) 000 000 13 13 20
2.2 ชงิ ทรพั ย์ 111 334
2.3 วง่ิ ราวทรพั ย์ 666 333 11 1
2.4 ลักทรัพย์ 109 89 108 99 88 103
2.5 กรรโชกทรัพย์ 000 111 33 3
2.6 ฉอ้ โกง 34 29 37 25 20 26
2.7 ยกั ยอกทรัพย์ 17 16 17 12 11 12 120 112 127
2.8 ทำใหเ้ สียทรัพย์ 9 9 12 888
2.9 รบั ของโจร 23 22 31 32 31 36 22 8
2.10 วางเพลงิ 222 000
2.11 อื่น ๆ 556 20 19 22 11 1
ฐานความผิดโจรกรรมรถยนต์ 11 - 11 -
ฐานความผดิ โจรกรรมรถจกั รยานยนต์ 14 9 - 77 - 22 2
3. ฐานความผดิ พิเศษ 60 57 62 49 48 62
3.1 พ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามการคา้ มนษุ ย์ 111 113 55 53 60
3.2 พ.ร.บ.ลขิ สิทธ์ิ 222 000
3.3 พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำผิดทางคอมพวิ เตอร์ 433 000 00 0
3.4 ความผดิ เกี่ยวกับบัตรอเิ ล็กทรอนกิ ส์ 111 444
3.5 พ.ร.บ.ปา่ ไม้ 111 000 14 8 9
3.6 พ.ร.บ.สงวนและคุม้ ครองสัตว์ป่า 10 9 10 555
3.7 พ.ร.บ.การขดุ ดนิ และถมดนิ 000 000 77 7

55 5

23 23 24

00 0

11 11 11

00 -

11 11 -

45 43 57

00 0

00 0

20 0

11 1

11 3

11 1

55 5

๒๖

แผนพัฒนาทอ้ งถน่ิ (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา

ประเภทความผิด ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564

3.8 พ.ร.บ.ศุลกากร รบั จับกุม รับ จบั กมุ รบั จับกมุ
3.9 พ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามการฟอกเงนิ แจง้ ราย คน แจง้ ราย คน แจง้ ราย คน
พ.ศ.2542
3.10 พ.ร.บ.หา้ มเรียกดอกเบ้ียเกนิ อตั รา 39 39 42 35 34 46 28 28 40

112 000 000
100 444 777

ประเภทความผิด ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564
รบั แจง้ จับกุม รบั แจ้ง จบั กมุ รับแจ้ง จับกมุ
4. คดีความผิดทรี่ ฐั เป็นผ้เู สียหาย
4.1 ยาเสพติด (คน) (คน) (คน)

4.1.1 ผลติ 2,873 3,338 2,532 3,146 2,123 2,702
4.1.2 จำหนา่ ย 2,672 3,042 2,130 2,543 1,838 2,095
4.1.3 ครอบครองเพื่อจำหนา่ ย
4.1.4 ครอบครอง 37 51 31 51 33 38
4.1.5 เสพยาเสพตดิ 5 6 3 3 21 25
4.2 อาวุธปนื และวัตถุระเบิด 332 381 261 324 177 203
4.2.1 อาวุธปนื สงคราม (ไมส่ ามารถออกใบอนญุ าตได)้ 961 1,178 926 1,133 691 828
4.2.2 อาวุธปนื ธรรมดา (ไมม่ ที ะเบยี น) 1,337 1,426 909 1,032 916 1,001
4.2.3 อาวธุ ปืนธรรมดา (มีทะเบียน) 96 114 77 100 58 79
4.3 การพนนั 2 3 1 1 0 0
4.3.1 บ่อนการพนนั (เลน่ การพนันตง้ั แต่ 20 คนขนึ้ ไป) 58 68 49 67 40 53
4.3.2 สลากกินรวบ 36 43 27 32 18 26
4.3.3 ทายผลฟุตบอล/ออนไลน์ 61 137 134 216 74 249
4.3.4 การพนนั อ่ืน ๆ 1 26 0 0 0 0
4.4 ความผดิ เกีย่ วกบั พ.ร.บ.คนเขา้ เมอื ง 15 15 28 28 19 21
4.5 ความผิดเกย่ี วกับการปอ้ งกันและปราบปรามการ 26 26 70 76 11 12
คา้ ประเวณี 19 70 36 112 44 216
4.6 ความผดิ เกย่ี วกบั สถานบรกิ าร 13 14 6 14 14 14
4.7 ความผิดเกย่ี วกบั การควบคมุ เครือ่ งด่มื แอลกอฮอล์
4.7.1 พ.ร.บ.ควบคมุ เคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ.2551 5 5 119 134 67 67
4.7.2 พ.ร.บ.สุรา พ.ศ.2493 15
4.8 พรก.การบริหารราชการในสถานการณฉ์ ุกเฉนิ พ.ศ. 0000 3 0
2548 0
26 26 9 9 0 0

24 24 8 8 0

2211 0

0 0 57 130 69 183

๒๗

แผนพฒั นาทอ้ งถิน่ (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา

4.4 ยาเสพตดิ

ประเภทสารเสพตดิ ท่พี บในพื้นท่อี ำเภอเมืองสงขลา

ลำดบั ประเภทยาเสพตดิ ยาเสพตดิ

1 ยาเสพติดให้โทษประเภท 1 (เมทแอมเฟตามีน) เฮโรอีน, ยาบา้ , ยาไอซ์

2 ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษประเภท 2 (เคตามีน) ยาเค

3 ยาเสพตดิ ให้โทษประเภท 5 (มาลีฮวนนา่ ) กัญชา, พชื กระท่อม

(ทม่ี า : สถานีตำรวจภธู รเมืองสงขลา ณ กันยายน 2564)

4.5 การสงั คมสงเคราะห์

การสงเคราะหเ์ บี้ยผ้สู ูงอายุ ผ้พู ิการและผ้ปู ่วยเอดสใ์ นเขตเทศบาลนครสงขลา

ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 - 2564

ปีงบประมาณ เบี้ยผ้สู งู อายุ เบี้ยผพู้ ิการ เบย้ี ผปู้ ่วยเอดส์

(พ.ศ.) ผ้สู ูงอายุ จำนวนเงิน ผูพ้ ิการ จำนวนเงนิ ผปู้ ว่ ยเอดส์ จำนวนเงิน

(ราย) (บาท) (ราย) (บาท) (ราย) (บาท)

2560 7,355 56,751,600 1,068 12,280,800 51 330,000

2561 7,602 59,111,700 1,319 13,293,900 72 446,500

2562 8,260 62,678,900 1,358 14,252,800 73 466,500

2563 8,380 64,645,400 1,497 14,960,000 86 518,500

2564 8,704 66,725,500 1,563 16,316,600 88 533,000

การสงเคราะหเ์ บยี้ ผู้สูงอายุ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ช่วงอายุ (ป)ี ต่อเดือน (บาท) ชาย (คน) หญงิ (คน)
2,940
60 – 69 600 2,027 1,499
725
70 – 79 700 857 119
5,283
80 – 89 800 294

90 ขึน้ ไป 1,000 36

รวม 8,497 คน 3,214

การสงเคราะหเ์ บยี้ ผพู้ กิ าร ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ช่วงอายุ (ป)ี ตอ่ เดอื น (บาท) ชาย (คน) หญิง (คน)
23
ตำ่ กวา่ 18 1,000 87 760
783
18 ขนึ้ ไป 800 801

รวม 1,671 คน 888

๒๘

แผนพฒั นาท้องถ่นิ (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา

การสงเคราะหเ์ บี้ยผ้ปู ว่ ยเอดส์ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ต่อเดือน (บาท) ชาย (คน) หญิง (คน)

500 43 45

รวม 88 คน

(ทีม่ า : กองสวสั ดิการสงั คม ขอ้ มูล ณ เดอื นกันยายน 2564)

5. ขอ้ มูลเกี่ยวกบั ระบบบริการพื้นฐาน

5.1 การคมนาคมขนส่ง
กระทรวงคมนาคม ได้ประกาศ เรื่อง การจัดให้มีสถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดสงขลา ประกาศ ณ
วันที่ 11 ธันวาคม 2558 ตามราชกิจจานุเบกษา เล่ม 132 ตอนพิเศษ 343 ง วันท่ี 28 ธันวาคม 2558
กำหนดให้มีสถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดสงขลา ในท่ีดินบริเวณท่าเทียบเรือประมงใหม่สงขลา (ท่าสะอ้าน)
ตำบลบอ่ ยาง อำเภอเมืองสงขลา เน้ือท่ี 10 ไร่ 22.3 ตารางวา โดยที่สถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวดั สงขลา ได้รับ
การจัดต้ังโดยมีผลตามกฎหมายแล้ว กรมขนส่งทางบก กระทรวงคมนาคม ได้ส่งมอบภารกิจการบริหารสถานี
ขนส่งผู้โดยสารจังหวัดสงขลาให้แก่เทศบาลนครสงขลา ในวันที่ 28 มีนาคม 2559 เป็นการดำเนินการตาม
พระราชบัญญัติกำหนดแผนและข้ันตอนกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 และ
ได้เปิดดำเนินการสถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดสงขลาอย่างเปน็ ทางการในวันท่ี 1 เมษายน พ.ศ. 2559 สถานท่ี
ตง้ั อยทู่ ี่ เลขที่ 91 ถนนเตาอิฐ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา 90000

อตั รากำลงั เจา้ หนา้ ทีป่ ฏิบตั งิ านสถานขี นสง่ ผ้โู ดยสารจงั หวดั สงขลา

1. พนกั งานเทศบาล ชว่ ยราชการสถานีขนส่งผู้โดยสารจงั หวดั สงขลา จำนวน 1 คน

2. พนกั งานจ้างทวั่ ไป ชว่ ยราชการงานธุรการ จำนวน 2 คน

3. พนักงานจ้างเหมาเกบ็ เงนิ คา่ บรกิ ารสถานีขนส่ง จำนวน 4 คน

4. พนักงานจา้ งเหมาทำหนา้ ท่ีรักษาความสะอาด จำนวน 4 คน

5. พนกั งานจ้างเหมาทำหน้าทร่ี ักษาความปลอดภยั จำนวน 5 คน

ขอ้ มูลการเขา้ ใช้สถานขี นส่งผโู้ ดยสารจงั หวัดสงขลาของรถโดยสารประจำทาง

ปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 - 2564

ปีงบประมาณ จำนวนรถเขา้ ใชส้ ถานีขนส่งฯ (เท่ียว) รายไดค้ า่ บรกิ ารสถานขี นส่งฯ (บาท)

พ.ศ.2561 178,129 1,456,674

พ.ศ.2562 155,891 1,419,950

พ.ศ.2563 111,815 980,556

พ.ศ.2564 70,945 604,686

(ท่มี า : งานกิจการขนส่ง สำนกั ปลดั เทศบาล ขอ้ มลู ณ ตลุ าคม 2564)

๒๙

แผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา

สถานีขนสง่ ผ้โู ดยสารจงั หวัดสงขลา มีจำนวนชานชาลา จำนวน 21 ชอ่ ง และมบี ริการรถ 4 ประเภท ดังนี้

ประเภทรถ เสน้ ทางเดนิ รถ

รถทัวรป์ รับอากาศ สงขลา – กรุงเทพฯ

สงขลา – ภเู ก็ต

สุไหงโกลก – ภูเก็ต

ภเู ก็ต – ทงุ่ สง – ดา่ นนอก

รถมินบิ ัส สงขลา – ภเู กต็

สงขลา – สไุ หงโกลก

สงขลา – นครศรีธรรมราช

สงขลา – หาดใหญ่

สงขลา – ปตั ตานี

สงขลา – ระโนด – พทั ลงุ – ตรงั

รถตู้ สงขลา – หาดใหญ่

สงขลา – พทั ลงุ

สงขลา – ตรัง

สงขลา – ยะลา

สงขลา – ปัตตานี

สงขลา – สะบา้ ย้อย

สงขลา – นาทวี

สงขลา – รัตภูมิ

สงขลา – ปากพะยนู

สงขลา – ระโนด

สงขลา – นครศรีธรรมราช

สงขลา – ระโนด – พัทลุง – ตรงั

รถสองแถว สงขลา – หาดใหญ่

สงขลา – สทงิ พระ

สงขลา – มว่ งงาม

สงขลา – จะนะ

สงขลา – บา้ นขุนทอง

สงขลา – บ้านระฆัง

สงขลา – ป่ายาง

สงขลา – ปากรอ

สงขลา – สทิงหม้อ

๓๐

แผนพัฒนาทอ้ งถิน่ (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา

5.2 ด้านโครงสร้างพื้นฐาน
ถนนและทางเท้าในเขตเทศบาล
มีถนนรวม ๓12 สาย พื้นที่ถนนรวม ๐.7792767 ตารางกิโลเมตร (779,276.78 ตาราง
เมตร) ความยาวรวม ๑๐0.2805 กโิ ลเมตร โดยแบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ
- ถนนทีม่ ีความกว้างตงั้ แต่ 3.50 เมตร จำนวน 258 สาย ความยาวรวม 94,137.50 เมตร
- ถนนทม่ี คี วามกวา้ งน้อยกว่า 3.50 เมตร จำนวน 54 สาย ความยาวรวม 6,143 เมตร
แบ่งตามลกั ษณะผิวจราจร 2 ประเภท คือ
๑. ถนนแอสฟลั ทค์ อนกรีต จำนวน 274 สาย ความยาว 95,744.50 เมตร
๒. ถนนคอนกรตี เสริมเหล็ก จำนวน 38 สาย ความยาว 4,536 เมตร
พ้ืนทีท่ างเทา้ รวม 5๓,5๐8 ตารางเมตร

5.3 การไฟฟ้า
จำนวนครวั เรือนท่มี ีไฟฟา้ ใช้ จำนวน ๒7,458 ครัวเรอื น คดิ เปน็ ร้อยละ 100

ข้อมลู การใชไ้ ฟฟ้าสาธารณะภายในเขตเทศบาลนครสงขลา

ประเภทหลอดไฟ ขนาดของหลอดไฟ (วัตต์) จำนวนตดิ ตงั้

ฟลอู อเรสเซน็ ต์ 36 4,164

โซเดียม 250 742

หลอดประหยดั ไฟ 110 12

หลอด LED E27 20/30 529

Street Light LED 80 36

Street Light LED 100 228

Street Light LED 120 78

Street Light LED 160 152

Street Light LED 180 56

LED (ไฟเสาสูง) 220 88

LED (ไฟเสาสูง) 250 6

LED (ไฟเสาสงู ) 300 120

โซล่าเซลส์ 120 36

เมทัลฮาร์ไลด์ 400 4

เมทัลฮารไ์ ลด์ 1,000 20

รวม 6,271

๓๑

แผนพัฒนาทอ้ งถิ่น (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา

ไฟสัญญาณจราจรเขตเทศบาลฯ

4.๓.๑ ไฟสญั ญาณจราจร ชนิด ๒ เฟส จำนวน ๕ จุด
๔ จุด
- ถนนไทรบรุ ี (สแ่ี ยกถนนพัทลงุ ) ๕ จุด

- ถนนไทรบุรี (สแ่ี ยกการไฟฟ้าเก่า)

- ถนนไทรบรุ ี (สี่แยกสงวนพาณิชย)์

- ถนนไทรงาม (ส่แี ยกมคั รเ์ กา่ )

- ถนนราษฎรอ์ ุทิศ 1 (สแ่ี ยกการเคหะฯ)

4.๓.๒ ไฟสญั ญาณจราจร ชนดิ ๓ เฟส จำนวน

- ถนนไทรบรุ ี (สามแยกปากซอย 27 ถนนไทรบรุ )ี

- ถนนไทรบี รุ ี (สามแยกถนนเตาหลวง)

- ถนนรามวถิ ี (สามแยกหลังวัดโพธ)ิ์

- ถนนเตาหลวง (สามแยกทางเข้าถนนราษฎร์อุทิศ 1)

4.๓.๓ ไฟสญั ญาณจราจร ชนิด ๔ เฟส จำนวน

- ถนนไทรบุรี (สแี่ ยกเกา้ เสง้ )

- ถนนไทรบรุ ี (แยกธนาคารทหารไทย)

- ถนนรามวิถี (ส่แี ยกปา่ ไม)้

- ถนนรามวถิ ี (สี่แยกโรงเรียนอนุบาล)

- ถนนราชดำเนินนอก (ส่แี ยกศาลจงั หวดั )

4.๓.๔ ไฟเหลืองเตอื นกะพริบ จำนวน 2 จุด
- ถนนราชดำเนนิ นอก (สแี่ ยกประปา)
- ถนนนครใน (สแ่ี ยกทีโอท)ี

(ทมี่ า : สำนักชา่ ง เทศบาลนครสงขลา ข้อมูล ณ เดอื นกันยายน ๒๕64)

๓๒

แผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา

5.4 การประปา

ปริมาณการนำ้ ประปาในเขตเทศบาลนครสงขลา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 – 2564

ปีงบประมาณ (พ.ศ.) จำนวนครัวเรือนทใ่ี ช้น้ำ (ราย) ปรมิ าณนำ้ ใช้ (ลบ.ม./ปี)

2560 10,132 3,069,489

2561 10,261 3,123,551

2562 11,116 3,404,108

2563 12,339 3,742,603

2564 14,661 4,323,822

(หมายเหตุ พ.ศ. 2564 ข้อมลู ณ 31 สงิ หาคม 2564)

แหลง่ น้ำดิบสำหรบั ผลิตนำ้ ประปา คอื คลองอู่ตะเภา

(ทม่ี า : การประปาส่วนภมู ิภาคเขต 5)

5.5 ไปรษณยี /์ การสื่อสาร
- ท่ีทำการไปรษณีย์ จำนวน 1 แห่ง ได้แก่ ที่ทำการไปรษณีย์สงขลา (ท่ีอยู่ 43 ถนนนครใน
อำเภอเมืองสงขลา จังหวดั สงขลา)
- สถานีวิทยุกระจายเสียง จำนวน 5 แห่ง ได้แก่ จุดปฏิบัติการเรียนรู้วิทยุชุมชนเทศบาลนครสงขลา
FM 106.25 MHz / มทร.ศรีวิชัย FM 97.50 MHz / มายฮาร์ทเรดิโอ FM 100 MHz / เสียงจากทหารเรือ
(ส.ทร.6) FM 94.5 MHz / สมายเวฟเรดโิ อ FM 107.50 MHz

การส่ือสารทใ่ี ชใ้ นการประชาสัมพนั ธเ์ ทศบาลนครสงขลา
- การจัดทำเว็บไซต์ของเทศบาล เทศบาลนครสงขลาได้จัดทำเว็บไซต์ของเทศบาล ช่ือว่า
http://www.songkhlacity.go.th เพื่อดำเนินการประชาสัมพันธ์ข้อมูลและข่าวสารของเทศบาล นอกจากน้ี ยังจัด
ให้มีช่องทางสำหรับประชาชนได้ร้องเรียน ร้องทุกข์ โดยจัดให้มีเว็บบอร์ด และยังจดั ระบบให้ประชาชนสามารถ
ร้องขอข้อมลู ข่าวสารได้โดยตรงผ่านทางอเี มล และสามารถ download ข้อมลู ไดจ้ ากหน้าเวบ็ ไซตข์ องเทศบาล
- เฟซบุ๊กของเทศบาลนครสงขลา เทศบาลนครสงขลาได้สร้างแฟนเพจเฟซบุ๊กของหน่วยงาน
ช่ือว่า เทศบาลนครสงขลา - Songkhla City https://www.facebook.com/Songklamunicipality เพื่อ
เผยแพร่กิจกรรม/โครงการ และข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ของเทศบาลนครสงขลา และรับแจ้งเร่ืองราวร้องทุกข์ต่าง
ๆ จากประชาชน
- การจัดทำวารสารสารสมิหลา เป็นวารสารท่ีมีการรวบรวมข้อมูลข่าวสาร กิจกรรม/
โครงการและผลการพัฒนาของเทศบาลนครสงขลามาเผยแพร่ โดยจัดทำเปน็ รายไตรมาส ๆ ละ 2,000 เล่ม ปีละ 4
ฉบบั แจกจา่ ยไปยังหน่วยงานต่าง ๆ และประชาชนในพืน้ ท่ีของเทศบาล

๓๓

แผนพัฒนาท้องถ่ิน (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา

- การจัดรายการทางเสียงตามสายของเทศบาล ให้บริการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านอุปกรณ์
เสียงตามสายแบบไร้สายที่ควบคุมจากจุดปฏิบัติการเรียนรู้วิทยุชุมชนฯ และกระจายไปตามจุดรับสัญญาณใน
ชุมชนท่ีได้ติดต้ังลำโพงเสียงตามสายไว้ในแต่ละชุมชน โดยเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารทุกวันในช่วงเย็น ตั้งแต่เวลา
๑๖.๓๐ – ๑๗.0๐ น. เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารของเทศบาลและหน่วยงานราชการต่าง ๆ ให้กับประชาชนใน
พน้ื ที่ไดร้ บั ทราบ

- จุดปฏิบัติการเรียนรู้วิทยุชุมชนเทศบาลนครสงขลา ในปัจจุบันเทศบาลได้จัดต้ังสถานีวิทยุชุมชน
ของเทศบาล ซ่ึงไดร้ ับอนุญาตคล่ืนความถี่จากสำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และ
กิจการโทรคมนาคม (กสทช.) เรียบร้อยแล้ว โดยออกอากาศทางคล่ืนความถี่ FM ๑๐๖.๒๕ MHz ตั้งแต่เวลา
๐๘.๐๐ - 18.๐๐ น. เป็นประจำทุกวัน และสามารถรับฟังออนไลน์ได้ที่ www.songkhlacity.go.th/radio และ
Live สด การจดั รายการผ่านเฟซบกุ๊ ของจดุ ปฏิบตั กิ ารเรยี นรู้วทิ ยุชมุ ชนฯ www.facebook.com/songkhlaradio

- การจัดตั้งศูนย์บริการข้อมูลข่าวสาร เทศบาลไดจ้ ัดทำศูนย์ให้บริการข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชนและ
ผู้สนใจ บริเวณชั้นล่างของสำนักงานเทศบาล ซ่ึงภายในห้องศูนย์บริการข้อมูลข่าวสารดังกล่าว ได้จัดให้มี
ลักษณะคล้ายห้องสมุด คือมีเอกสารท่ีเก่ียวข้องกับเทศบาล เช่น แผนพัฒนาเทศบาล เทศบัญญัติต่าง ๆ
เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย บรรยายสรุป ฯลฯ ระเบียบ กฎหมาย ตลอดจนหนังสือที่มีเน้ือหาสาระ
หลากหลายใหบ้ ริการกับประชาชน ที่ตอ้ งการรบั รขู้ ้อมลู ขา่ วสารของเทศบาล

- รถแห่ประชาสัมพันธ์เคล่ือนที่ ประชาสัมพันธ์โดยการเปิดสปอตประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสาร
กิจกรรม/โครงการต่าง ๆ ของเทศบาลฯ ในพื้นท่ีชุมชนต่าง ๆ ในเขตเทศบาลนครสงขลา เป็นการประชาสัมพันธ์
เชงิ รกุ โดยการเขา้ ถงึ ประชาชนในชุมชน

- ป้ายกราฟิกบอร์ด ประชาสัมพันธ์ภาพน่ิง วิดีโอกิจกรรม และตัวอักษรวิ่งผ่านป้ายกราฟิกบอร์ด
บริเวณซุ้มประตูเมือง และหน้าสถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวดั สงขลา (ประมงใหม่) เพือ่ ให้ประชาชนที่สัญจรไปมา
ได้รบั ทราบขอ้ มลู ข่าวสารตา่ งๆ ของเทศบาล

- ไวนิลประชาสัมพันธ์ โดยการจัดทำไวนิลเพื่อประชาสัมพันธ์กิจกรรมโครงการต่าง ๆ ของ
เทศบาล ติดตงั้ ณ ปา้ ยตะแกรงเหลก็ ที่ตดิ ตง้ั อยตู่ ามจดุ ต่างๆ ในเขตเทศบาลนครสงขลา

- ยูทูปของเทศบาลนครสงขลา โดยดำเนินการเผยแพร่วิดโี อกิจกรรม/โครงการ รวมทั้งสาระความรู้
ต่าง ๆ ผ่านช่องทาง Youtube : เทศบาลนครสงขลา - Songkhlacity

- แอปพลิเคชัน Line ของเทศบาลนครสงขลา โดยดำเนินการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร กิจกรรม/
โครงการต่าง ๆ ของเทศบาลฯ ผา่ นแอปพลเิ คชนั Line@ ช่อื เทศบาลนครสงขลา ID : @songkhlacity

- การจัดงานแถลงข่าว เทศบาลนครสงขลาดำเนินการจัดงานแถลงข่าวเพ่ือประชาสัมพันธข์ ้อมูล
ขา่ วสารการจัดกจิ กรรม/โครงการ เพื่อเผยแพรใ่ หป้ ระชาชนและนกั ท่องเทย่ี วไดร้ บั ทราบ

๓๔

แผนพฒั นาท้องถ่ิน (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา

ศนู ย์บรกิ ารรว่ มเทศบาลนครสงขลา
เทศบาลนครสงขลาได้ดำเนินการจัดตั้ง “ศูนย์บริการร่วมเทศบาลนครสงขลา” เปิดให้บริการงาน
ท้ังภาครัฐและภาคเอกชน เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2550 เพ่ือให้ประชาชนได้รับการบริการที่หลากหลาย ณ จุดเดียว
และได้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ในรูปแบบระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้ประชาชนได้รับความสะดวก
รวดเร็วยิ่งขึ้น และในปัจจุบันได้มีพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทาง
ราชการ พ.ศ. 2558 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้มีกฎหมายกลางที่จะกำหนดข้ันตอนและระยะเวลาในการ
พิจารณาอนญุ าต และมีการจัดตัง้ ศูนย์บรกิ ารร่วมเพ่ือรบั คำร้องและศนู ย์คำขออนุญาต ณ จุดเดียว เพือ่ ใหข้ ้อมูล
ที่ชัดเจนเก่ียวกับการขออนุญาตซ่ึงจะเป็นการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชน โดยมีการนำแนวคิดนวัตกรรม
องค์กร 4.0 เข้ามาพัฒนาการให้บริการด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และโปรแกรมประยุกต์ผ่านระบบ
อนิ เทอรเ์ น็ต

6. ระบบเศรษฐกิจ

6.1 การประมง
ตำบลบ่อยางมีครัวเรือนที่ประกอบอาชีพประมงชายฝั่งอยู่บริเวณชุมชนเก้าเส้ง จำนวน 70 ครัวเรือน
มเี คร่ืองมือจบั สัตว์น้ำท่ีสำคัญ ไดแ้ ก่ อวนลอยปลา อวนลอยปู เปน็ ต้น มีทรัพยากรสัตว์น้ำทางเศรษฐกิจทีส่ ำคัญ
จากมากไปน้อย ได้แก่ ปลาทู ปลาลงั ปลาสกี ุน ปลาจวด ปมู า้

(ที่มา : สำนักงานประมงจงั หวดั สงขลา)

6.2 การปศสุ ตั ว์

ประเภท จำนวน (ตัว) เกษตรกร (ราย)

ไก่พ้นื เมือง 886 73

ไกเ่ นอ้ื 35 3

ไกไ่ ข่ 44 4

เป็ดเทศ 14 1

รวม 979 81

(ท่มี า : สำนักงานปศุสัตวจ์ งั หวัดสงขลา ขอ้ มูล ณ เดือนกนั ยายน ๒๕64)

๓๕

แผนพัฒนาท้องถ่ิน (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา

6.3 การบรกิ าร

การพาณิชยกรรมและบรกิ ารในเขตเทศบาลนครสงขลา มสี ถานประกอบกจิ การดงั นี้

1. สถานีบรกิ ารน้ำมัน จำนวน 8 แหง่

2. ศูนย์การค้า/หา้ งสรรพสินค้า จำนวน 1 แห่ง

3. ตลาดสด จำนวน 3 แห่ง

4. สถานธนานุบาล จำนวน 2 แห่ง

5. โรงฆ่าสตั ว์ จำนวน 1 แหง่

6. โรงแรม จำนวน 28 แห่ง

7. รีสอรท์ จำนวน 4 แห่ง

8. ธนาคาร จำนวน 11 แห่ง

กฬี า นนั ทนาการ/พักผ่อน ในเขตเทศบาล

๑. สนามกีฬาอเนกประสงค์ จำนวน ๑ แห่ง

๒. สนามฟตุ บอล จำนวน ๖ แห่ง

๓. สนามบาสเกต็ บอล จำนวน ๑๒ แห่ง

๔. สนามตะกรอ้ จำนวน ๑๒ แห่ง

๕. สนามวอลเลยบ์ อล จำนวน ๑๐ แหง่

๖. สระว่ายนำ้ จำนวน ๕ แห่ง

๗. หอ้ งสมดุ ประชาชน จำนวน ๒ แห่ง

๘. สวนสาธารณะ จำนวน ๕ แห่ง

๙. สนามเดก็ เลน่ จำนวน ๖ แห่ง

๑๐. สนามกอลฟ์ จำนวน ๑ แห่ง

11. หอสมุดแหง่ ชาติ จำนวน 1 แหง่

12. หอ้ งสมดุ เคล่ือนที่ จำนวน 1 แหง่

ท่สี าธารณประโยชนใ์ นความดแู ลบำรงุ รกั ษาของเทศบาลนครสงขลา

๑. บริเวณชอ่ งเขา, สวนญ่ปี ุ่น ๒๕.๕ ไร่

๒. บรเิ วณกรมหลวงชมุ พรฯ แหลมสนอ่อน ๑๖๐ ไร่

๓. บริเวณเชิงบนั ไดเขาตังกวน ๑๔ ไร่

๔. บริเวณสระบัว ๗๒.๔๘ ไร่

๕. บริเวณเขาน้อย ๕๓.๐๔ ไร่

๖. ลานกีฬาชมุ ชน ๒ แห่ง ๒ ไร่

๗. บริเวณรมิ ทะเลสาบสงขลาถนนแหลง่ พระราม ๔ ไร่

๘. สวนเฉลิมพระเกยี รติ ๗๒ พรรษามหาราชนิ ี (ประตูสู่ทะเลสาบสงขลา) ๘ ไร่

๙. สวนเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษาพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั ๑๑๑ ไร่

รวม ๔๕๐.๐๒ ไร่

๓๖

แผนพฒั นาทอ้ งถน่ิ (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา

5.4 การท่องเทย่ี ว

สถานทท่ี ่องเทย่ี วในเขตเทศบาล

จังหวัดสงขลาเป็นจังหวัดชายแดนภาคใต้ติดต่อกับประเทศมาเลเซียโดยสภาพท่ัวไปจังหวัด
สงขลามีศักยภาพที่เอื้ออำนวยต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเป็นอย่างย่ิง โดยเฉพาะในเขตเทศบาล
นครสงขลามีแหล่งท่องเท่ียวทางธรรมชาตมิ ีหาดทรายขาวสะอาด และโบราณสถานท่ีมีชอ่ื เสียงหลายแหง่ ในแต่
ละปีมีนกั ท่องเท่ยี วชาวมาเลเซีย สิงคโปร์และชาตอิ นื่ ๆ เข้ามาเท่ียวเปน็ จำนวนมาก

จำนวนและลักษณะสถานท่ีแหลง่ ทอ่ งเท่ยี วในเขตเทศบาลนครสงขลา

ย่านเมืองเก่า อยู่บริเวณถนนนางงาม ถนนนครใน ถนนนครนอก เป็นถนนเล็ก ๆ เปิดให้รถ
ว่ิงได้ทางเดียว ตึกและบ้านเรือนร้านค้าในละแวกน้ีสร้างตามสถาปัตยกรรมแบบจีนปนยุโรป มีลวดลาย ปูนปั้น
ประดับท่ีกรอบหน้าตา่ งและหัวเสาสวยงาม นอกจากนี้ท่ีนี่ยังเป็นย่านอาหารพื้นเมืองของสงขลา เช่น ก๋วยเต๋ียว
สงขลา เตา้ คั่ว และบรเิ วณหวั ถนนนางงามกม็ ีร้านขายขนมบอก ซึง่ ในปจั จุบนั เหลอื อยูเ่ พยี งเจ้าเดยี วเท่าน้ัน

ศาลหลักเมือง อยู่ท่ีถนนนางงาม ชาวสงขลาเรียกว่า "ศาลเจ้าพ่อหลักเมืองสงขลา" เป็นที่
เคารพสักการะของชาวสงขลา ตัวอาคารเป็นสถาปัตยกรรมแบบจีน สร้างขึ้นมาพร้อมกับการสร้างเมืองสงขลา อัน
ทำใหบ้ า้ นเมอื งในละแวกใกล้เคียงมีรปู ทรงแบบสถาปัตยกรรมจนี

แหลมสมิหลา อยู่ห่างจากตลาดทรัพย์สิน (ตลาดสดเทศบาล) ประมาณ ๒.๕ กิโลเมตร มีหาด
ทรายและทิวสนร่มรื่น เห็นทิวทัศน์ของแหลมสนอ่อนและหาดชลาทัศน์ และหากวันใดอากาศดีจะมองเห็นเขา
เก้าเส้งอยู่ลิบ ๆ นอกจากนี้ที่หาดสมิหลายังมีรูปปนั้ นางเงือก สัญลักษณ์โดดเดน่ ของจังหวดั ซึ่งมีความเช่ืออยู่ว่า
ถ้าหากใครได้แตะตอ้ งรูปป้นั นกี้ ็จะได้กลับมาท่ีนอ่ี กี ครง้ั

แหลมสนอ่อน อยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของแหลมสมิหลา บรรยากาศร่มร่ืนไปด้วย ทิว
สนขนาบสองข้างทาง เทศบาลไดพ้ ัฒนาเป็นสวนสองทะเลตามลักษณะภูมิศาสตร์ คือ ดา้ นทิศตะวันออก ติดกับ
ทะเลอ่าวไทย ทิศตะวันตกตดิ กบั ทะเลสาบสงขลา ตรงปลายแหลม เป็นที่ประดิษฐานอนสุ าวรีย์ กรมหลวงชุมพร
เขตอุดมศักดิ์ ทั้งยังเหมาะแก่การน่ังพักผ่อนชมทิวทัศน์ดว้ ย และจากสวนสองทะเลเป็นจุดท่ีมองเห็นเกาะหนูได้
ใกลแ้ ละชดั เจนทีส่ ุด

หาดชลาทศั น์ เป็นชายหาดท่ียาวตอ่ เน่ืองมาจากหาดสมิหลา โดยมีแหลมสมิหลาเป็นจุดแบง่
มีหาดทรายที่ขาวสะอาด สามารถเล่นน้ำได้ตลอดแนว ลักษณะของหาดค่อนข้างเป็นเส้นตรง มีถนนชลาทัศน์
เลียบแนวชายหาดและมีแนวต้นสนให้ความร่มร่ืนยาวตลาดหาด เนื่องจากหาดหันไปทางด้านทิศ
ตะวันออกเฉียงเหนือ ในช่วงเช้าจึงเป็นจุดชมพระอาทิตย์ข้ึนไดด้ ้วย จุดท่ีน่าสนใจของหาดชลาทัศน์คือชว่ งกลาง
ของหาดมีเวทีประชาชนเทศบาลนครสงขลา เป็นสวนสาธารณะท่ีพักผ่อนหย่อนใจโดยการสร้างสนามเด็กเล่น
ระหว่างแนวต้นสน เป็นสถานท่ีฝึกซ้อมวอลเลย์บอลชายหาด ช่วงเช้าและเย็นมีประชาชนมาปั่นจักรยานบน
ถนนชลาทัศน์ ด้านทิศเหนือสุดแนวหาดเชื่อมต่อกับแหลมสมิหลามีวงเวียนรูปปั้นคนอ่านหนังสือ สิ่งท่ีน่าสนใจ
อีกอยา่ งหนงึ่ คอื หางพญานาคที่สรา้ งส่วนเศยี รไว้ท่ีสวนสองทะเล ส่วนกลางลำตัวหรอื สะดือพญานาคอยูบ่ รเิ วณสี่
แยกสระบวั ระยะทางจากเศียรถงึ ส่วนหางประมาณ 4 กโิ ลเมตร

๓๗

แผนพฒั นาท้องถ่ิน (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา

พระตำหนักเขาน้อย ตั้งอยู่เชิงเขาน้อยทางทิศใต้ ถนนสะเดา สร้างเม่ือ พ.ศ. 2454 เพื่อ
เปน็ ทปี่ ระทบั ของสมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟา้ ยคุ ลทฆิ มั พร กรมหลวงลพบรุ รี าเมศวร์ เมอื่ คร้ังมาดำรงตำแหนง่
สมเด็จอุปราชมณฑลปักษ์ใต้ เคยใช้เป็นที่ประทับของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้า
บรมราชินีนาถฯ ในคราวเสด็จเยี่ยมราษฎรในจังหวัดภาคใต้ เมื่อเดือนมีนาคม 2502 ปัจจุบันใช้เป็นจวนผู้ว่า
ราชการจังหวัด

เขาตังกวน อยู่บริเวณแหลมสมิหลา บันไดทางขึ้นอยู่ทางถนนราชดำเนินใน ก่อนถึงยอดเขา
มีศาลาวิหารแดงเป็นพลับพลาที่ประทับ ซ่ึงรัชกาลที่ ๕ โปรดเกล้าฯ ให้สร้างถวายตามพระราชประสงค์ของ
รัชกาลที่ ๔ บนยอดเขามีเจดีย์พระธาตุคู่เมืองสงขลาประดิษฐานอยู่ สร้างในสมัยอาณาจักรนครศรีธรรมราช
เป็นศิลปะสมัยทวาราวดี จากยอดเขามองเห็นทิวทัศน์ของเมืองสงขลาได้โดยรอบ ทุก ๆ ปีทางจังหวัดจะใช้
สถานที่แห่งน้ีสำหรับพิธีห่มผ้าองค์เจดีย์ ประเพณีตักบาตรเทโว และลากพระ ปัจจุบันมีลิฟต์ขึ้นเขาตังกวนท่ีมี
รางว่ิงยาว ๑๓๖ เมตร น้ำหนักบรรทกุ ๑,๓๕๐ กโิ ลกรัม ใหบ้ ริการทุกวัน เวลา ๐๘.๓๐ - ๑๘.๓๐ น.

เงือกทอง สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2509 โดยความคิดริเริ่มของนายชาญ กาญจนาคพันธ์ุ ปลัด
จังหวัดสงขลา เมื่อครั้งดำรงตำแหน่งนายกเทศมนตรีนครสงขลา เงือก ความหมายท่ัวไปหมายถึง หญิงสาวที่มี
ร่างกายท่อนล่างเป็นปลา อาศัยอยู่ในน้ำ แต่จริงแล้วเป็นจินตนาการของสุนทรภู่ ประวัติและความเป็นมาของ
นางเงือกน้ี มาจากนิทานปรัมปราท่ีเล่าว่า ในคืนหนึ่งหนุ่มชาวประมงไปพบเจอนางเงือกท่ีน่ังหวีผมอยู่ แต่นาง
เงอื กตกใจจึงหนลี งนำ้ ท้ิงไวแ้ ต่หวที องคำและไมป่ รากฏตวั ให้เหน็ อีกเลย นางเงอื กที่ป้ันข้ึนน้ี หล่อเป็นบรอนซร์ ม
ดำ โดยอาจารย์จิตร บัวบุศย์ อดีตผู้อำนวยการโรงเรียนเพาะช่างเป็นผู้ออกแบบปั้นหล่อ โดยใช้งบประมาณ
60,000 บาท เม่ือป้ันและหล่อเสร็จแล้วได้นำมาต้ังบนโขดหินท่ีแหลมสมิหลา และได้กลายเป็นสัญลักษณ์ของ
แหลมสมิหลา จงั หวดั สงขลามาจนทุกวันนี้

เกาะหนู เกาะแมว เป็นเกาะที่อยู่ไม่ไกลจากชายฝ่ังมากนัก เกาะที่อยู่ใกล้ชายฝั่งกว่า มองดู
คล้ายหนู และอกี เกาะหนึ่งซ่ึงอยู่ไกลออกไปคล้ายแมว เหมาะแก่การตกปลา ปัจจุบันมีประติมากรรมรูปปั้นหนู
แมว บอกเล่าตำนานของเกาะหนูเกาะแมวว่า “นานมาแลว้ มีพอ่ ค้าชาวจีนเดนิ เรือสำเภามาค้าขายท่ีเมืองสงขลา
เม่ือเดินทางกลับได้ซื้อหมากับแมวคู่หน่ึงเอาลงเรือไปด้วย ฝ่ายหมากับแมวเม่ือลงไปอยู่ในเรือนาน ๆ รู้สึกเบื่อ
และอยากกลับไปสงขลาจึงปรึกษากัน หมาได้บอกกับแมวว่า พ่อค้าเรอื สำเภานั้นมีดวงแก้ววเิ ศษหากใครได้ไว้จะ
วา่ ยน้ำไปไหน ๆ ได้โดยไม่จม แมวจึงคิดอุบายโดยให้หนูไปขโมยแก้ววเิ ศษของพ่อค้ามา และหนูขอหนีข้ึนฝั่งไป
ด้วย ทั้งสามว่ายน้ำหนีลงเรือมุ่งหน้าไปข้ึนฝั่งที่เมืองสงขลา ขณะว่ายน้ำอยู่น้ัน หนูคิดอยากได้ดวงแก้ววิเศษไว้
ครอบครองจึงว่ายน้ำหนี ดวงแก้วจึงพลัดหล่นออกจากปากแตกละเอียดกลายเป็นหาดทราย เรียกวา่ หาดทราย
แก้ว ซ่ึงอยู่ทางด้านเหนือของแหลมสนย่ืนออกไปในอ่าวสงขลา ฝ่ายหนูและแมวจมน้ำตายกลายเป็นเกาะหนู
เกาะแมว ส่วนหมาน้ันสามารถว่ายน้ำมาได้ แต่ขาดใจตายที่ฝ่ังกลายเป็นหินเรียกว่า“เขาตังกวน” ปัจจุบัน
เกาะหนเู ป็นสถานท่ีทอ่ งเที่ยวที่ได้รับความนยิ มจากนักท่องเทยี่ ว บนเกาะหนมู มี รดกทางประวัติศาสตร์ คือ ป้อม
ปืนใหญ่และหลุมหลบภัยสมัยสงครามโลกคร้ังที่ 2 มีจุดชมวิวสามารถมองเห็นสีของน้ำทะเลเป็น 2 สี และ
ในชว่ งเดอื นมีนาคม - มิถนุ ายน นกั ท่องเทยี่ วจะไดช้ นื่ ชมปลาโลมา

เจดีย์พระบรมธาตุวัดชัยมงคล พระบรมสาริกธาตุในเจดีย์วัดน้ีได้มาจากเมืองลังกา
ประมาณปี พ.ศ. 2435 มีพระอาจารย์สอนบาลีในวัดชัยมงคลรูปหนึ่งนามว่า “นะ อิศโร” ไปเมืองลังกาและ

๓๘

แผนพฒั นาทอ้ งถิน่ (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา

ไดร้ ู้จักสนิทสนมกับคหบดีเศรษฐีใหญ่ในลังกา ซึ่งมีพระธาตพุ ระทศพลมากและยินดีถวายให้ โดยนำผอบมาวาง
ไวแ้ ละให้ท่าน นะ เลือก ท่าน นะ อธิษฐานและเลือกไดพ้ ระธาตพุ ระพุทธเจา้ จึงนำกลับมาและได้สร้างพระเจดยี ์
เพือ่ บรรจุพระบรมธาตุไวใ้ หพ้ ุทธศาสนิกชนได้สกั การะสบื มาจนทกุ วนั นี้

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติสงขลา อยู่ที่ถนนจะนะตรงข้ามกำแพงเมืองเก่าสงขลา เดิมเป็น
บ้านพักของพระยาสุนทรารักษ์ (เนตร ณ สงขลา) เป็นสถาปัตยกรรมจีนท่ียังสมบูรณ์ เก็บรวบรวมโบราณวัตถุ
ต่าง ๆ ต้ังแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์จากบ้านเชียง สมัยหินกลาง หินใหม่ จากกาญจนบุรี ตลอดท้ังสมัยก่อน
ประวัติศาสตร์ถึงสมัยศรีวิชัย นอกจากนี้ยังจัดแสดงเคร่ืองใช้และเฟอร์นิเจอร์ที่ท่านเจ้าของบ้านเคยใช้อีกด้วย
เปดิ ใหช้ มเวลา ๐๙.๐๐ - ๑๒.๐๐ น. และเวลา ๑๓.๐๐ - ๑๖.๐๐ น. หยดุ วันจันทร์ องั คารและวันหยดุ ราชการ

วัดมัชฌิมาวาส (วัดกลาง) อยู่ที่ถนนไทรบุรี เป็นวัดใหญ่และสำคัญท่ีสุดของสงขลาอายุ
ประมาณ ๔๐๐ ปี เดิมเรียกวา่ “วัดยายศรีจันทร์” คหบดผี ู้มั่งคั่งในเมืองสงขลาได้อุทิศเงินสร้างขึ้น ต่อมามีผู้สรา้ ง
วัดเลียบ ทางทิศเหนือ และวัดโพธ์ิ ทางทิศใต้ ชาวสงขลาจึงเรียกวัดยายศรีจันทร์ว่า “วัดกลาง” และได้เปล่ียน
ชื่อเป็น “วัดมัชฌิมาวาส” พระอุโบสถเป็นสถาปัตยกรรมสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น ภายในมีจิตรกรรมฝา
ผนังแสดงถึงวิถีชีวิตของชาวเมืองในอดีต ใกล้กันน้ันยังมีพิพิธภัณฑ์ภัทรศิลป์เก็บวัตถุโบราณจากอำเภอต่าง ๆ เช่น
อำเภอเมอื ง อำเภอสทิงพระ อำเภอระโนด ซ่ึงนบั เปน็ หลักฐานสำคญั ทางประวัติศาสตร์

ศาลเจ้าพ่อหลักเมือง ตั้งอยู่บนถนนนางงาม ชาวสงขลาเรียกว่า “ศาลเจ้าพ่อหลักเมือง
สงขลา” เป็นท่ีเคารพสักการะของชาวสงขลา และประชาชนผู้นับถอื ทั่วไป ตวั อาคารเป็นสถาปตั ยกรรมแบบจีน
สรา้ งพรอ้ มกับการสร้างเมืองสงขลา

ประติมากรรมพญานาคพ่นน้ำ เป็นประติมากรรมลอยตัวมองเห็นได้รอบด้านเนื้อวัตถุ
ประตมิ ากรรมเปน็ โลหะทองเหลืองรมสนมิ เขยี ว ประกอบด้วย ๓ สว่ นคือ

๑. ส่วนหัวพญานาค มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของลำตัว ๑.๒๐ เมตร ส่วนสูงจากฐานลำตัว
จนถงึ ปลายยอดสดุ ประมาณ ๙ เมตร ตัง้ อยู่ทีบ่ รเิ วณแหลมสนอ่อน สวนสองทะเล พ่นนำ้ ส่อู ่าวไทย

๒. ส่วนลำตัวพญานาคหรือส่วนสะดือพญานาค เป็นลักษณะลำตัวโค้งครึ่งวงกลม ขนาดเส้น
ผ่านศูนยก์ ลางของลำตัว ๑.๒๐ เมตร ยาว ๕.๐๐ เมตร สงู ๒.๕๐ เมตร ต้ังอยบู่ ริเวณสระบวั

๓. ส่วนหางพญานาค มีเส้นผ่านศูนย์กลาง ๑.๒๐ เมตร เรียวไปส่วนหาง ความยาว ๔.๐๐
เมตร สงู ๔.๕๐ เมตร ตัง้ อย่บู รเิ วณถนนชลาทศั น์ หาดสมิหลา

อนุสาวรีย์กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักด์ิ ตั้งอยู่บริเวณสวนสองทะเล กรมหลวงชมุ พรเขตอุดม
ศักด์ิ พระบดิ าแห่งราชนาวีไทย หรอื มีอกี ช่ือวา่ “เสด็จเตย่ี ” เป็นทีเ่ คารพนบั ถอื ของคนโดยทั่วไปในภาคใต้ ก่อต้ัง
โดยกลุ่มไทยอาสาป้องกันชาติในทะเล จังหวัดสงขลา ได้แก่ ผู้ประกอบอาชีพเก่ียวกับการปกครอง ร่วมกับกองทัพเรือ
สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2530 เพื่อให้ชาวเรือได้สักการบูชาก่อนออกไปประกอบอาชีพในทะเล เพราะมีความเชื่อว่า
ท่านจะช่วยเหลือให้แคล้วคลาดจากภัยอันตรายจากพายุและเพศภัยต่าง ๆ ผู้คนนิยมมาสักการะขอพรอย่างไม่
ขาดสายทั้งคนในพืน้ ทีแ่ ละนกั ทอ่ งเท่ียว

สวนประติมากรรมนานาชาตกิ ับสิ่งแวดล้อมเฉลิมพระเกียรตฯิ เทศบาลนครสงขลา ร่วมกับ
สมาคมประติมากรรมไทยและสถาบันศิลปะในประเทศไทย ได้จัดสร้างประติมากรรมนานาชาติขึ้น จำนวน ๑๗
ช้ิน ต้ังอยู่บริเวณชายหาดสมิหลา ลานคนเมือง สวนเสรี และสวนเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา พระบาทสมเด็จ

๓๙

แผนพฒั นาทอ้ งถ่นิ (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา

พระเจ้าอย่หู ัว เพ่ือร่วมเฉลิมฉลองในวโรกาสท่ีสมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงเจริญพระชนมายุ
๕๐ พรรษา และในวโรกาสมหามงคลสมัยเฉลมิ พระชนมพรรษา ๘๐ พรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ
เพ่ือให้เป็นแหล่งเรียนรู้แก่นิสิต นักศึกษา และเยาวชนได้ศึกษาทางด้านส่ิงแวดล้อมอีกทั้งเพ่ือส่งเสริมการ
ทอ่ งเทย่ี วของจังหวดั สงขลาอกี ด้วย

สวนเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จัดสร้างขึ้นเน่ืองใน
วโรกาสมหามงคลสมัยเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา เพื่อเป็นศูนย์รวมและสร้างแรงจูงใจของพสกนิกรชาวไทยและ
นักท่องเท่ียวได้แสดงถึงความจงรักภักดีต่อองค์พระมหากษัตริย์ และเพื่ออนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอ้ มโดยการปรับปรุงสภาพภมู ิทศั น์สวนปา่ บรเิ วณแหลมสนอ่อนหาดสมิหลา มีเนอ้ื ทปี่ ระมาณ ๑๑๑ ไร่

สวนสองทะเล ตงั้ อยู่สุดปลายแหลมสนอ่อน เปน็ สวนสาธารณะรูปแบบหนึ่งท่ีดัดแปลงมาจากพนื้ ท่ี
ท่ีเป็นป่าสนมาเป็นอทุ ยานท่ีมีความร่มรื่น สวยงาม เป็นจุดชมวิวทิวทัศน์ไดท้ ั้ง 2 ทะเล คือทะเลสาบและทะเลอ่าวไทย
มีศูนย์กีฬาทางน้ำ ศูนย์จำหน่ายผลิตภัณฑ์พื้นบ้าน และลานอเนกประสงค์สำหรับทำกิจกรรมสันทนาการต่าง ๆ
ไวบ้ ริการประชาชนและนักทอ่ งเที่ยว

สวนเฉลิมพระเกียรติ ๗๒ พรรษา มหาราชินี ต้ังอยู่บริเวณริมปากคลองสำโรงดา้ นทะเลสาบ
พ้ืนที่ประมาณ ๘ ไร่ เป็นโครงการที่ต้องการปรับปรุงแหล่งเส่ือมโทรม ให้เป็นสถานท่ีท่องเท่ียวเชิงอนุรักษ์
เทศบาลนครสงขลาใช้งบประมาณในการพัฒนาทั้งสิ้น จำนวน ๓๕ ล้านบาท เป็นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจของ
ชุมชนบริเวณใกล้เคียงภายในเขตเทศบาลนครสงขลา และพื้นที่ของเทศบาลตำบลเขารูปช้าง เป็นการเปิดมิติ
ใหม่ของการท่องเท่ียวทะเลสาบสงขลา โดยใช้เป็นท่ีจอดเรือท่องเที่ยวของประชาชนที่ว่างจากการทำประมง
พ้ืนบ้าน นอกจากน้ียังเป็นการรักษาคุณภาพน้ำให้ดีขึ้นโดยการปลูกต้นโกงกางเพื่อปรับปรุงระบบนิเวศรองรับ
การท่องเทีย่ วเชิงอนรุ ักษอ์ ย่างแท้จริง

สวนเสรี อยู่บริเวณเชิงเขาน้อยใกล้แหลมสมิหลาสงขลา เป็นสถานที่ออกกำลังกายกลางแจ้ง
และพักผอ่ นหยอ่ นใจที่สวยงามอกี แหง่ หนึ่ง บริเวณสวนตกแต่งด้วยไม้ดดั เป็นรูปสัตวต์ า่ ง ๆ อย่างสวยงาม

พิพธิ ภัณฑพ์ ธำมะรงค์ เปน็ เรอื นไทยที่สร้างจากความทรงจำของ ฯพณฯ พลเอกเปรม ตณิ สูลานนท์
ณ สถานที่ที่เคยเป็นท่ีต้ังบ้านพกั ของ รองอำมาตย์โทขุนวินิจทัณฑกรรม (บ้ึง ตณิ สูลานนท์) บดิ าของ ฯพณฯ พลเอก
เปรม ติณสูลานนท์ เมื่อคร้ังดำรงตำแหน่งพะทำมะรงพิเศษหรือพัศดีที่เมืองสงขลา ภายในจัดแสดงข้าวของ
เคร่ืองใช้และประวัติสกุลติณสูลานนท์ พิพิธภัณฑ์พธำมะรงค์เปิดให้เข้าชมระหว่าง เวลา ๐๘.๓๐ - ๑๖.๐๐ น.
เวน้ วันจันทรแ์ ละวนั หยุดนักขตั ฤกษ์

ถนนคนเดินสงขลาแต่แรก "ถนนคนเดิน เพลินกินของหรอย ย้อนรอยบ่อยาง” จัดขึ้นทุกวัน
ศุกร์ - วันเสาร์ ต้งั แตเ่ วลา 17.00 - 22.00 น. ณ บริเวณถนนจะนะ

บ้านนครใน เป็นพิพิธภัณฑ์เอกชนท่ีจัดแสดงส่ิงของเคร่ืองใชข้ องโบราณจากจีนที่ยังคงความ
เป็นเอกลักษณข์ องการดำรงชวี ติ ของคนจนี ในย่านเมืองเก่า ทม่ี าอยูใ่ นสงขลาในสมยั อดตี

โรงสีแดง หรือ หับโห้หิ้น ต้ังอยู่เลขท่ี 13 ถนนนครนอก พ.ศ. 2457 รองอำมาตย์ตรีขุนราช -
กิจการี (จุ่นเลี่ยง ล้ิมเสาวพฤกษ์) เปิดกิจการโรงสีข้าว ริมทะเลสาบสงขลา ชื่อว่า “หับ โห้ หิ้น” ผู้คนเรียกขาน
กนั ว่า โรงสแี ดง เน่อื งจากอาคารทงั้ หลังทาด้วยสแี ดง

๔๐

แผนพัฒนาทอ้ งถ่ิน (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา

กำแพงเมืองเก่า ตั้งอยู่บริเวณถนนจะนะ กำแพงมีความสูง 7 เมตร มีประตูเมืองหลัก 10
ประตู สร้างเม่ือคร้ังเมืองสงขลาฝ่ังบ่อยางในปี พ.ศ. 2379 แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2385 ประกอบด้วยป้อมปราการ
หลายปอ้ ม ป้อมปืนใหญ่ 8 ป้อม สรา้ งแบบสถาปัตยกรรมจนี บนกำแพงประดบั ประดาดว้ ยอฐิ โบราณ

6.5 อุตสาหกรรม

จำนวนโรงงานอตุ สาหกรรมในเขตตำบลบ่อยาง อำเภอเมอื งสงขลา จงั หวัดสงขลา

ลำดับ ชอื่ โรงงาน ประกอบกิจการ คนงาน

1 บริษทั คิงฟิชเชอร์ โฮลดงิ้ ส์ จำกดั ผลิตอาหารทะเลเยือกแข็ง 778

2 ร้านเตา้ หปู้ ลาสยาม แปรรปู ผลติ ภัณฑจ์ ากเนอ้ื ปลา ผลิตเตา้ หปู้ ลา 50

3 หา้ งหุ้นส่วนจำกดั แพปลาเบอร์ 11 ล้าง ชำแหละ แกะสัตวน์ ำ้ 63

4 หา้ งหุ้นสว่ นจำกดั แพปลาเบอร์ 11 แปรรูปสตั ว์นำ้ 295

5 ห้างหนุ้ ส่วนจำกัด โรงนำ้ แข็งสงขลา ทำนำ้ แข็ง ไดว้ ันละ 1,110 ซอง 17

6 บรษิ ัท แปะ๊ แชสงขลา จำกดั ผลติ นำ้ แขง็ ได้วนั ละ 1,400 ซอง 21

7 บริษัท แปะ๊ แชสงขลา จำกัด ผลติ นำ้ แข็งหลอด 13

8 โรงกลงึ เจยี รนยั เฮนรฟี อรด์ กลึง เช่อื มโลหะ ซอ่ มเครอ่ื งยนต์ 15

9 บริษทั สงขลา เจ.เอส.การชา่ ง จำกดั กลึง เจาะ คว้าน เจียน เชอ่ื มโลหะ 13

10 โรงกลึงสมปองการชา่ ง กลงึ และเช่อื มโลหะ 8

11 โรงกลงึ วิจติ ร ซ่อมแซมอปุ กรณข์ องเครือ่ งยนต์ เชน่ เพลา ใบพดั เรอื ปมั๊ น้ำ 6

12 บริษทั อู่เรอื ดวงประมงสงขลา จำกดั ซ่อมเรือ 11

13 ห้างหุ้นส่วนจำกดั สินสุคนธ์ ตอ่ และซ่อมเรอื 19

14 ประพจนเ์ ฮดเดอร์ ผลิตและซ่อมทอ่ ไอเสยี รถยนต์ 2

15 บรษิ ัท เอส. ซ.ี ซี. โฟรเซ่น ซฟี ู้ด จำกัด ทำหอ้ งเยน็ 100

16 บริษัท 11 วงจร เทรดดิ้ง แอนด์ โคลด์ สตอเรจ จำกดั หอ้ งเย็น 25

(ท่ีมา : กรมโรงงานอตุ สาหกรรม ขอ้ มลู ณ เดือนกันยายน ๒๕64)

๔๑

แผนพัฒนาท้องถนิ่ (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา

7. ขอ้ มูลศาสนา ประเพณี วฒั นธรรม

7.1 การนับถอื ศาสนา ความเช่ือ

มีผู้นับถือศาสนาต่าง ๆ ประกอบด้วย ศาสนาพุทธ ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต์ ศาสนาฮินดู
และศาสนาอน่ื ๆ ส่วนความเชือ่ ด้ังเดิม เช่น ผี ตา ยา่ ทวด ปจั จุบันไดแ้ ทรกซึมผสมผสานไปกับการปฏิบตั กิ จิ พิธี
ทางศาสนาหลกั ๆ หรอื นำพิธีกรรมทางศาสนามาปฏบิ ัติ ความเชือ่ มีความหลากหลายเป็นลักษณะของความเชอื่
ท่ปี ระสมประสานระหวา่ งความเชื่อในลทั ธิด้ังเดิม ศาสนาพราหมณ์ (ฮินด)ู พทุ ธศาสนา และความเชอื่ เก่ียวเนือ่ ง
กบั ศาสนาอสิ ลาม รวมทั้งคติความเชื่อทย่ี ึดถือปฏิบตั ิสืบต่อกนั มาของชาวไทยเชือ้ สายจีน เชน่ ความเชื่อเก่ียวกบั
ชาติ ภพ สวรรค์ และนรก ความเชื่อเกี่ยวกับผีสาง เทวดา และนางไม้ ความเชื่อเกี่ยวกับไสยศาสตร์ ความเช่ือ
เกยี่ วกับปรากฏการณ์ธรรมชาติ

7.2 ประเพณีและงานประจำปี
ขนบธรรมเนียมประเพณีและศลิ ปวัฒนธรรมท่ีสำคัญ
ชาวสงขลาทั่วไปได้รักษาขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมโบราณของตนไวห้ ลายอย่าง

โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ประเพณีทเ่ี กยี่ วกับพระพทุ ธศาสนาซึ่งตนเลอ่ื มใสศรัทธา โดยไดป้ ฏบิ ัตสิ บื ตอ่ กนั มา
1. ประเพณีลากพระและตักบาตรเทโว เป็นประเพณีที่ปฏิบัติสืบต่อกันมายาวนาน จัดขึ้นเป็น

ประจำทุกปี ในวันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ณ บริเวณสระบัว (แหลมสนอ่อน)และการตักบาตรเทโว บริเวณเชิงบันไดเขาตังกวน
โดยพระสงฆ์หลายร้อยรูปได้เดินลงมาจากเขาตังกวน และในช่วงสาย ๆ จะมีเรือพระจากวัดต่าง ๆ มารวมกัน
ท่ีบริเวณสระบวั เพ่อื ร่วมประกวดและให้ประชาชนได้ชมความสวยงามและร่วมทำบุญ

๒. ประเพณีสงกรานต์ เป็นประเพณีท่ีสำคัญของชาวไทยมาตั้งแต่โบราณกาล ถือกันว่าเป็นวันขึ้น
ปีใหม่หรือเถลิงศกใหม่แบบไทย ๆ เทศบาลได้ร่วมสืบสานวัฒนธรรมไทยเป็นประจำทุกปีโดยจัดให้มีการทำบุญตักบาตร
ปล่อยนกปล่อยปลา จัดขบวนแห่พระพุทธสิหิงค์อันเป็นพระพุทธรูปสำคัญประจำจังหวดั สงขลา พิธีรดน้ำดำหัว
ผู้อาวโุ ส ณ บริเวณพพิ ิธภัณฑ์พธำมะรงค์ ทำให้งานประเพณีสงกรานต์เป็นที่รู้จักของนกั ท่องเท่ียวทง้ั ชาวไทยและ
ชาวต่างประเทศ สามารถส่งเสริมการทอ่ งเทย่ี วไดอ้ กี ทางหนงึ่

๓. งานประเพณีลอยกระทง เป็นวัฒนธรรมที่สืบทอดกันมา เพื่อขอขมาและบูชาแม่น้ำ
ลำคลอง (พระแม่คงคา) ที่ชาวไทยใช้เป็นแหล่งอาศัยต้ังแตส่ มัยโบราณกาล เทศบาลร่วมสืบสานวฒั นธรรม เป็น
งานประเพณีท่ีจัดข้ึนประจำทุกปี โดยเริ่มจัดงานการรื่นเริงให้ประชาชนในจังหวัดสงขลาและละแวกใกล้เคียง
ได้ร่วมลอยกระทง ชมกิจกรรมการแสดงบนเวที ณ บริเวณสระบัว แหลมสมิหลา บริเวณสวน ๗๒ พรรษา และ
บริเวณประติมากรรมพญานาคพ่นน้ำ เป็นการเผยแพร่วัฒนธรรมประเพณีให้เป็นที่รู้จักและส่งเสริม
การทอ่ งเทยี่ วของจงั หวดั สงขลา

4. ประเพณีวันสารท หรือประเพณีชงิ เปรต มีมาแต่โบราณ โดยมคี วามเชือ่ ว่าชว่ งวนั แรม 1 - 15
ค่ำของเดือนสิบ วิญญาณของญาติพี่น้องท่ีล่วงลับไปแล้ว โดยเฉพาะผู้ท่ียังไม่ไปเกิด (เปรต) จะได้รับการ
ปลดปล่อยให้มาพบญาติพี่น้องของตนในเมืองมนุษย์ จึงได้กำหนดให้เป็นวันทำบุญใหญ่ มีการจัดหาอาหาร
คาวหวาน ผลไม้ ขนมลา ดอกไม้ ไปทำบุญตามวัด เพ่ือเป็นการอทุ ิศส่วนบุญส่วนกุศลให้แก่ญาตทิ ี่ล่วงลับไปแล้ว
นับเป็นการระลึกถึงบุญคุณและคุณงามความดีของบุพการีของตน แม้ว่าจะล่วงลับไปแล้วก็ตาม จึงเป็นเรื่องที่
ควรช่วยกันรกั ษาให้คงสืบไป

๔๒

แผนพัฒนาทอ้ งถนิ่ (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา

5. เทศกาลอาหารสองทะเลและอาหารพื้นบ้าน เทศบาลนครสงขลาได้ชื่อว่าเป็นเมืองสอง
ทะเลคือ ติดกับทะเลดา้ นอ่าวไทยและทะเลสาบสงขลา ดังน้ันวิถีชวี ิตของคนสงขลาจึงมีความผูกพันกับทะเล ท่ี
เป็นแหล่งประกอบอาชีพ และท่ีสำคัญเป็นแหล่งอาหารท่ีอุดมสมบูรณ์ต้งั แตอ่ ดตี จนถึงปัจจุบัน เทศบาลเล็งเห็น
ความสำคัญของเมืองสองทะเล จึงจัดให้มีงานเทศกาลอาหารสองทะเลและอาหารพื้นบ้าน เริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ.
๒๕๔๓ โดยจัดให้มีกิจกรรมมากมาย อาทิ การประกวดนางสาวสมิหลา การออกร้านอาหารทะเลและอาหาร
พืน้ บา้ นมากมายบรเิ วณสนามสระบัว แหลมสมิหลา

6. มหรสพพื้นเมือง ที่นิยมกันมากคือ หนังตะลุง มโนราห์ โดยมีสถานท่ีให้ชมท่ีลานดนตรี
และลานวฒั นธรรม

7.3 ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ ภาษาถิ่น
ภูมิปัญญาท้องถิ่นของชาวบ้าน ได้แก่ ด้านการแพทย์แผนไทย/สมุนไพร/หมอพ้ืนบ้าน ได้แก่ นวด
แผนโบราณ นวดแผนไทย นวดจับเส้น ตำรายาสมุนไพรพน่ เริม งสู วัด ลูกประคบ ยาดม ยาสมุนไพร ฯลฯ พนื้ ที่
ในเขตเทศบาลมปี ระชากรหลากหลายวัฒนธรรมไทย จีน มลายู ใชภ้ าษาใตเ้ ป็นภาษาถ่นิ
7.4 สินคา้ พ้ืนเมอื งและของท่ีระลกึ
- ขนมเทียนสด ขนมสำปันนี ขนมทองเอก ข้าวฟ่างกวน ทองม้วน ทองพับ และขนมไทย ๆ อีก
หลากหลายชนิดมใี หเ้ ลอื กทร่ี า้ นขายขนมไทย ในบริเวณถนนนางงาม
- เตา้ ค่ัว คือสลัดสงขลา มีส่วนผสมเสน้ หมี่ลวก หูหมูห่ัน กงุ้ ทอด เต้าหู้ทอด ผกั บุ้งลวก ถั่วงอกลวก
แตงกวาหั่น ไข่ตม้ ยางมะตูม ราดดว้ ยน้ำปรุงหวานอมเปร้ยี วและพริกน้ำสม้
- ผา้ ปาเต๊ะของตำบลบอ่ ยาง

8. ทรพั ยากรธรรมชาติ

8.1 นำ้
มีแหล่งน้ำเค็มตามธรรมชาติท่ีสำคัญ คือ ทะเลสาบสงขลา ไม่มีแหล่งน้ำจืดตามธรรมชาติ
ประชาชนในพืน้ ทใ่ี ชน้ ำ้ ประปาในการอุปโภค บริโภค
8.2 ป่าไม้
ตำบลบ่อยางไม่มีพื้นที่ป่าอนุรักษ์ หรือป่าสงวนแห่งชาติ มีป่าสน อยู่บริเวณตลอดแนวชายหาด
ชลาทัศน์ และบริเวณแหลมสนอ่อน พ้ืนท่ีป่าสนรวม 485 ไร่ และมีพ้นื ทป่ี ่าชายเลนบรเิ วณสวนเฉลิมพระเกียรติ
72 พรรษาฯ พ้ืนที่ปา่ ชายเลนรวม 6 ไร่
8.3 ภเู ขา
ตำบลบ่อยางมีภูเขา จำนวน 2 แห่ง ได้แก่ เขาน้อย และเขาตังกวน มีพ้ืนที่โดยรวม 180 ไร่ โดย
เทศบาลได้อนรุ ักษ์ไว้ ปัจจุบนั บางสว่ นปรบั ปรงุ เป็นสถานท่อี อกกำลังกายและสถานทท่ี อ่ งเทีย่ ว พกั ผอ่ นหย่อนใจ

๔๓

แผนพัฒนาทอ้ งถิ่น (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา

8.4 ทรัพยากรธรรมชาตทิ ส่ี ำคัญของตำบลบอ่ ยาง
เกาะหนู อยู่ทางทิศเหนือของแหลมสมิหลา ห่างจากฝั่งประมาณ 2 กิโลเมตร ตัวเกาะกว้าง 260
เมตร ยาว 700 เมตร สูง 74 เมตร
เกาะแมว อยู่ทางเหนือของเกาะหนู ห่างจากเกาะหนูประมาณ 27 กิโลเมตร ตัวเกาะกว้าง 140
เมตร ยาว 400 เมตร สงู 30 เมตร

9. ด้านความปลอดภัย

มหี น่วยดบั เพลงิ ในเขตตำบลบอ่ ยาง แบง่ ออกเปน็ 2 หนว่ ย ดังน้ี
1. ฝ่ายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ศูนย์สมิหลา) ที่ตั้ง 77 ถนนเตาอิฐ ตำบลบ่อยาง อำเภอ
เมอื งสงขลา จงั หวัดสงขลา หมายเลขโทรศัพทท์ ่ใี ชร้ ับแจง้ เหตุ 074-311016 / 074-312700 / 199
2. งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ศูนย์ยางทอง) ที่ต้ัง 7 ถนนสายบุรี ตำบลบ่อยาง อำเภอ
เมอื งสงขลา จงั หวดั สงขลา หมายเลขโทรศพั ท์ที่ใชร้ บั แจ้งเหตุ 074-323205 / 074-323205

อตั รากำลงั เจา้ หนา้ ท่ีฝ่ายปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย จำนวน 11 คน
1. พนักงานเทศบาล จำนวน 2 คน
2. ลูกจา้ งประจำ จำนวน 3 คน
3. ลกู จา้ งประจำชว่ ยราชการ จำนวน 32 คน
4. พนักงานจ้างทว่ั ไป
จำนวน 1 คัน
อุปกรณเ์ คร่อื งมือเคร่อื งใชข้ องงานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั จำนวน 4 คัน
๑. รถยนตก์ ระบะแบบตรวจการณ์ (ทบ.152) จำนวน 1 คัน
๒. รถยนต์ดับเพลิง จำนวน 1 คัน
จำนวน 1 คัน
2.1 รถยนตด์ บั เพลิงแบบกระเชา้ (ทบ.168) (จนุ ำ้ 4,000 ลติ ร) จำนวน 1 คัน
2.2 รถยนต์ดบั เพลิงอาคาร (ทบ.184) (จุนำ้ 4,000 ลติ ร) จำนวน 6 คัน
2.3 รถยนต์ดบั เพลิงแบบปิคอัพ (ทบ.191) (จุน้ำ 200 ลติ ร) จำนวน 1 คัน
2.4 รถยนต์ดบั เพลิง (ทบ.133) (จุน้ำ 6,000 ลิตร) จำนวน 1 คัน
๓. รถยนตบ์ รรทุกนำ้ ดับเพลงิ จำนวน 1 คัน
3.1 รถยนตบ์ รรทกุ น้ำดบั เพลิง (ทบ.76) (จุน้ำ 5,000 ลติ ร) จำนวน 1 คัน
3.2 รถยนตบ์ รรทุกนำ้ ดับเพลิง (ทบ.104) (จนุ ้ำ 12,000 ลติ ร) จำนวน 1 คัน
3.3 รถยนตบ์ รรทกุ น้ำดับเพลิง (ทบ.127) (จนุ ้ำ 6,000 ลติ ร) จำนวน 1 คัน
3.4 รถยนต์บรรทกุ น้ำดับเพลงิ (ทบ.202) (จุน้ำ 12,000 ลติ ร) จำนวน 10 เครื่อง
3.5 รถยนต์บรรทุกนำ้ ดับเพลิง (ทบ.221) (จุน้ำ 12,000 ลติ ร) จำนวน 85 เครอื่ ง
3.6 รถยนตบ์ รรทุกนำ้ ดบั เพลิง (ทบ.223) (จนุ ำ้ 6,000 ลิตร)
4. วทิ ยสุ ่อื สาร (ชนิดติดตง้ั ประจำสถานี+ตดิ ยวดยาน)
5. วทิ ยุสื่อสาร (ชนดิ มอื ถอื )

๔๔ จำนวน 2 ชุด
จำนวน 45 ตวั
แผนพัฒนาท้องถิน่ (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา จำนวน ๔ ชดุ
จำนวน ๑ เครือ่ ง
6. อุปกรณศ์ นู ย์เตอื นภยั พิบตั ิ จำนวน 10 ถัง
7. กลอ้ งโทรทศั น์วงจรปิด จำนวน ๕ ชดุ
๘. หนา้ กากป้องกนั ไอพษิ พร้อมถงั ออกซิเจนชนดิ ถังเดียว จำนวน ๑ เครื่อง
๙. เคร่อื งอดั อากาศ จำนวน ๑ เคร่ือง
๑๐. ถงั อากาศช่วยหายใจ (ถงั ออกซิเจนสำรอง) จำนวน ๑ เครื่อง
๑๑. ชุดผจญเพลงิ แบบกนั ความร้อน จำนวน 6 ตัว
๑2. เครอ่ื งสูบนำ้ ชนดิ หาบหาม
๑3. เคร่ืองกำเนดิ ไฟฟ้า (เคร่ืองปน่ั ไฟ)
๑4. เครือ่ งสบู นำ้
๑5. เส้ือชูชพี

๔๕

แผนพัฒนาท้องถน่ิ (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา

การจัดเก็บขอ้ มูลพ้นื ฐานเพือ่ ใชใ้ นการจดั ทำแผนพฒั นาเทศบาลนครสงขลา

การจัดทำแผนพฒั นาเทศบาลนครสงขลาได้รวบรวมขอ้ มูลจากชอ่ งทางตา่ ง ๆ ดงั ต่อไปน้ี
๑. การจัดทำแผนชมุ ชน ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖3
เทศบาลนครสงขลาได้ร่วมกับชมุ นต่าง ๆ ในเขตเทศบาลนครสงขลา ในการจัดทำแผนชุมชน ประจำปี
งบประมาณ ๒๕๖3 ในระหว่างเดือนพฤศจิกายน ๒๕๖2 โดยมีเจ้าหน้าท่ีเทศบาลนครสงขลา สมาชิกสภา
เทศบาลนครสงขลา และคณะกรรมการชุมชนของแต่ละชุมชน ร่วมกันเสนอปัญหาและความต้องการของชุมชน
โดยการร่วมกันวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของชุมชน (SWOT) และนำข้อมูลที่ได้มาใช้ในการกำหนดแผนงาน/
โครงการ เพ่อื จัดทำแผนชมุ ชน เพื่อนำไปรวบรวมจัดทำแผนพฒั นาท้องถิ่นตอ่ ไป

การจดั ทำแผนชุมชน


Click to View FlipBook Version