The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by saobon70946, 2022-04-09 02:50:57

แผนพัฒนาท้องถื่น เทศบาลนครสงขลา

แผนพัฒนาท้องถื่น

Keywords: แผนพัฒนา

บัญชีค

แผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ

เทศบาลน

ที่ แผนงาน หมวด ประเภท วัตถปุ ระสงค์ เปา้ ห

1 สาธารณสขุ คา่ ครุภณั ฑ์ (ผลผลิตขอ

ครุภัณฑย์ านพาหนะและ เพ่อื ใช้ในภาระกจิ ของศนู ย์ ซื้อรถยนต์กระบ
ขนส่ง บริการสาธารณสขุ เตาหลวง 3 Dbi M/At ขน

ขับเคล่ือน 2 ลอ้
เครือ่ งยนต์ 2,89
หรอื กําลังเครื่องย
สุดไม่ต่ํากว่า 11
กิโลวัตต์ (เกยี รอ์
พรอ้ มหลงั คาไฟเ

2 สาธารณสุข คา่ ครุภณั ฑ์ ครภุ ณั ฑ์วิทยาศาสตร์ เพื่อให้บรกิ ารผปู้ ว่ ย จัดซื้อเตยี งพรอ้ ม
หรือการแพทย์ แพทยแ์ ผนไทยและ จาํ นวน 3 เตยี ง
กายภาพบาํ บดั

3 สาธารณสุข ค่าครุภณั ฑ์ ครุภณั ฑว์ ทิ ยาศาสตร์ เพอ่ื ให้บรกิ ารผู้ป่วย จัดซ้อื เตาใหค้ วา
หรือการแพทย์ แพทยแ์ ผนไทย (Hot plate)
และกายภาพบําบัด จํานวน 1 เคร่ือง

2

แบบ ผ.๐3

ครภุ ัณฑ์
ศ. ๒๕๖6 - พ.ศ.๒๕70)
นครสงขลา

หมาย งบประมาณ หนว่ ยงาน

2566 25๖7 25๖8 25๖9 2570 รบั ผิดชอบหลัก
องครภุ ณั ฑ)์ (บาท) (บาท) (บาท) (บาท) (บาท)
กองสาธารณสุขฯ
บะ 4 ประตู - 1,089,000 - - - (ศนู ยฯ์ เตาหลวง)

นาด 1 ตัน



98 ซซ๊ ๊

ยนต์สูง

10

ออโต)้

เบอร์

มเบาะนวด 39,000 - - - - กองสาธารณสุขฯ
(ศนู ยฯ์ เตาหลวง)

ามร้อน 10,000 - - - - กองสาธารณสุขฯ

(ศนู ย์ฯ เตาหลวง)



265

ที่ แผนงาน หมวด ประเภท วัตถปุ ระสงค์ 2

เป้าห

4 สาธารณสุข คา่ ครภุ ณั ฑ์ ครภุ ณั ฑว์ ิทยาศาสตร์ เพอ่ื ใหบ้ ริการผูป้ ่วย (ผลผลติ ขอ
หรือการแพทย์
จดั ซ้ือเครอื่ งวัดค
โลหติ จํานวน 2

5 สาธารณสุข ค่าครุภณั ฑ์ ครภุ ณั ฑ์วทิ ยาศาสตร์ เพอ่ื ใหบ้ ริการอบไอนํา้ จดั ซอ้ื ตูอ้ บไอน้ําส
หรือการแพทย์
สมนุ ไพรแกผ่ ปู้ ว่ ยและหญิง ขนาดไมน่ อ้ ยกวา่

หลังคลอด ๑๐๐x100x17

จํานวน 1 ตู้

6 สาธารณสุข คา่ ครภุ ัณฑ์ ครุภัณฑ์งานบา้ น เพอื่ ให้บรกิ ารผปู้ ว่ ย จดั ซ้ือตู้เหลก็ อเน
งานครัว แพทย์แผนไทย สําหรับเกบ็ เสือ้ ผ
และกายภาพบําบดั จาํ นวน 1 ตู้

7 สาธารณสขุ คา่ ครุภณั ฑ์ ครภุ ณั ฑ์สาํ นกั งาน เพอ่ื อาํ นวยความสะดวก จัดซอ้ื โต๊ะพับอเน
ในการใหบ้ ริการผปู้ ่วย จํานวน 2 โต๊ะ

8 สาธารณสขุ คา่ ครภุ ัณฑ์ ครุภณั ฑ์สํานกั งาน เพือ่ อาํ นวยความสะดวก จัดซือ้ เครอ่ื งปรับ

ใหแ้ ก่ ผ้ปู ว่ ยและประชาชน ขนาดไม่นอ้ ยกวา่

ผู้มารบั บริการ 36,000 BTU จ

3 เครอ่ื ง

266 2566 25๖7 งบประมาณ 25๖9 2570 หน่วยงาน
(บาท) (บาท) (บาท) (บาท)
หมาย 25๖8 รับผิดชอบหลกั
7,000 - (บาท) - -
องครภุ ัณฑ์) กองสาธารณสขุ ฯ
- (ศนู ย์ฯ เตาหลวง)
ความดัน
2 เครื่อง

สมุนไพร 30,000 - - - - กองสาธารณสุขฯ

า (ศูนย์ฯ เตาหลวง)

70 ซม.

นกประสงค์ 5,000 - - - - กองสาธารณสขุ ฯ

ผ้าผูป้ ว่ ย (ศนู ย์ฯ เตาหลวง)

นกประสงค์ 4,000 - - - - กองสาธารณสขุ ฯ

(ศูนยฯ์ เตาหลวง)

บอากาศ 147,000 - - - - กองสาธารณสขุ ฯ

า (ศูนยฯ์ เตาหลวง)

จาํ นวน

ท่ี แผนงาน หมวด ประเภท วตั ถปุ ระสงค์ เป้าห

9 สาธารณสุข ค่าครภุ ณั ฑ์ ครภุ ณั ฑส์ าํ นกั งาน เพอื่ อาํ นวยความสะดวก (ผลผลิตขอ
ในการใหบ้ รกิ ารผู้ปว่ ย
จัดซื้อพดั ลมดูดอ
ขนาดไม่น้อยกว่า
จํานวน 4 เครื่อง

10 สาธารณสขุ ค่าครภุ ณั ฑ์ ครุภณั ฑ์สํานกั งาน เพ่อื เก็บยาสมนุ ไพร จัดซ้ือตูเ้ ก็บยาสม
จํานวน 1 ตู้

11 สาธารณสขุ ค่าครุภัณฑ์ ครุภณั ฑส์ ํานกั งาน เพ่อื เก็บวสั ดุอปุ กรณ์ จัดซอ้ื ตเู้ หล็กอเน
สาํ หรบั ให้บรกิ ารผูป้ ว่ ย จาํ นวน 2 ตู้

12 สาธารณสุข ค่าครุภณั ฑ์ ครุภัณฑ์สํานักงาน เพ่ืออาํ นวยความสะดวก จดั ซอื้ ตู้ลอ็ คเกอร
ในการเก็บอุปกรณส์ ว่ นตัว จํานวน 1 ตู้
ของผู้ปว่ ย

13 สาธารณสุข คา่ ครุภณั ฑ์ ครภุ ณั ฑ์สํานกั งาน เพอ่ื ใหบ้ ริการผปู้ ่วย จัดซอ้ื เก้าอ้แี ถว
ครุภัณฑ์สาํ นักงาน ทร่ี อรบั รกิ าร จํานวน 5 แถว
14 สาธารณสขุ คา่ ครุภณั ฑ์
เพ่อื ใหบ้ รกิ ารผปู้ ่วย จดั ซ้ือเก้าอีพ้ ลาส
จํานวน 100 ตวั

2

หมาย 2566 25๖7 งบประมาณ 25๖9 2570 หน่วยงาน
(บาท) (บาท) (บาท) (บาท)
องครภุ ัณฑ)์ 25๖8 รับผดิ ชอบหลัก
7,200 - (บาท) - -
อากาศ กองสาธารณสุขฯ
า 12 นว้ิ - (ศูนย์ฯ เตาหลวง)


มนุ ไพร 5,000 - - - - กองสาธารณสขุ ฯ
(ศูนยฯ์ เตาหลวง)
นกประสงค์ 10,000 - - -
- กองสาธารณสขุ ฯ
ร์เหล็ก 9 ช่อง 7,500 - - - (ศนู ยฯ์ เตาหลวง)

- กองสาธารณสุขฯ
(ศนู ย์ฯ เตาหลวง)

3 ทนี่ ่ัง 15,000 - - - - กองสาธารณสุขฯ

(ศนู ย์ฯ เตาหลวง)

สตกิ มพี นกั พิง - 80,000 - - - กองสาธารณสุขฯ

ว (ศูนยฯ์ เตาหลวง)

267

ท่ี แผนงาน หมวด ประเภท วัตถุประสงค์ 2

เปา้ ห

15 สาธารณสขุ ค่าครภุ ัณฑ์ ครุภณั ฑส์ าํ นกั งาน เพื่อใหอ้ าคารศูนย์ (ผลผลติ ขอ
บริการสาธารณสุข
เตาหลวงมบี รรยากาศ จดั ทําผ้ามา่ นพรอ้
ที่ดเี หมาะสาํ หรับให้ ในอาคารศูนย์บร
บริการผปู้ ่วย สาธารณสขุ

16 สาธารณสุข ค่าครภุ ณั ฑ์ ครภุ ณั ฑโ์ ฆษณาและ เพื่อให้ศูนยบ์ รกิ ารมี จดั ซอื้ กลอ้ งถา่ ยภ
เผยแพร่ สื่อวสั ดอุ ุปกรณ์ดา้ น ดิจิตอลชนิด DSL
เทคโนโลยีในการจดั
กิจกรรมด้านสาธารณสขุ
แก่ประชาชน

17 สาธารณสขุ คา่ ครภุ ณั ฑ์ ครภุ ัณฑ์ยานพาหนะและ เพอื่ ใช้ในการปฏบิ ตั ิงาน ซอ้ื รถจกั รยานยน
ขนส่ง ของฝา่ ยส่งเสริมสุขภาพ ไมต่ ํา่ กว่า 120

ใหม้ ีประสทิ ธภิ าพมากย่ิงขนึ้ เครื่องยนต์ 4 จงั
จาํ นวน 1 คัน

รวม 17 รายการ

268 2566 25๖7 งบประมาณ 25๖9 2570 หนว่ ยงาน
(บาท) (บาท) (บาท) (บาท)
หมาย 25๖8 รบั ผิดชอบหลัก
90,000 - (บาท) - -
องครุภัณฑ)์ กองสาธารณสุขฯ
- (ศนู ยฯ์ เตาหลวง)
อมตดิ ตง้ั
รกิ าร

ภาพนิง่ - 50,000 - - - กองสาธารณสขุ ฯ

LR (ศูนยฯ์ เตาหลวง)

นตข์ นาด 60,000 - - - - กองสาธารณสขุ ฯ

ซีซี ฝา่ ยสง่ เสริม

งหวะ สุขภาพ

436,700 1,219,000 - - -

บัญชคี

แผนพฒั นาทอ้ งถิ่น (พ.ศ

เทศบาลน

ท่ี แผนงาน หมวด ประเภท วัตถปุ ระสงค์ เปา้ ห

(ผลผลิตขอ

1 เคหะและชุมชน คา่ ครภุ ัณฑ์ ครภุ ัณฑย์ านพาหนะ เพอื่ ให้มเี คร่ืองมือท่ีเพยี งพอ ซอื้ รถยนตบ์ รรทกุ
และขนส่ง
แก่การปฏบิ ัตงิ านและเป็น แบบอัดทา้ ยท่มี ีคว

การเพิม่ ประสทิ ธิภาพ ไม่น้อยกวา่ 12 ล

ในการปฏบิ ตั งิ าน จาํ นวน 2 คัน/ต่อ

2 แผนงานเคหะและ คา่ ครภุ ณั ฑ์ ครภุ ัณฑส์ นาม เพ่อื จดั ใหม้ ชี ดุ เครือ่ งเลน่ เพอ่ื จัดซอื้ เครอ่ื งเล
ชุมชน สนาม สําหรบั เด็กและ กลางแจ้ง ชดุ ปลา
เยาวชนภายในเขตเทศบาล ขนาดกวา้ งไมน่ อ้ ย
นครสงขลา อย่างพอเพยี ง 19.50 เมตร ยา

17.50 เมตร แล
4.50 เมตร พรอ้
บริเวณลานสะดอื
กบั ชดุ เครอ่ื งเล่นเ
รายละเอยี ดคุณส
องคป์ ระกอบของ
เป็นไปตามทเี่ ทศบ

2

ครภุ ณั ฑ์ งบประมาณ 25๖9 แบบ ผ.๐3
ศ. ๒๕๖6 - พ.ศ.๒๕70) (บาท)
นครสงขลา 25๖7 25๖8 หน่วยงาน
(บาท) (บาท) 8,000,000 2570
หมาย (บาท) รบั ผิดชอบหลกั
8,000,000 8,000,000
2566 8,000,000 กองสาธารณสขุ ฯ
องครภุ ัณฑ์) (บาท) (งานรกั ษา
ความสะอาด)
กขยะ 8,000,000

วามจุ

ลบ.ม.

อปี

ล่นสนาม 6,345,000 - - - - สํานักช่าง

าหมึกหรรษา ส่วนการโยธา

ยกวา่

าวไม่นอ้ ยกว่า

ละสงู ไมน่ อ้ ยกว่า

อมตดิ ตั้ง

อพญานาคใกล้

เรอื สําราญเดมิ

สมบตั วิ ัสดแุ ละ

งเคร่อื งเล่น

บาลกาํ หนด

269

ท่ี แผนงาน หมวด ประเภท วตั ถปุ ระสงค์ 2

เป้าห

3 แผนงานเคหะและ คา่ ครุภณั ฑ์ ครภุ ัณฑ์สนาม (ผลผลติ ขอ
ชุมชน
เพอ่ื จดั ให้มชี ดุ เครอ่ื งเลน่ เพ่อื จดั ซอ้ื เคร่ืองเล
สนาม สําหรบั เดก็ และ แจง้ ชุดหอคอยม
เยาวชนภายในเขตเทศบาล ขนาดกว้างไมน่ อ้ ย
นครสงขลา อย่างพอเพยี ง 19.50 เมตร ยา

15.50 เมตร แล
15.50 เมตร พร
บรเิ วณลานสะดือ
กบั ชดุ เครือ่ งเล่นเ
รายละเอยี ดคุณส
องค์ประกอบของ
เปน็ ไปตามทเ่ี ทศบ

4 แผนงานเคหะและ คา่ ครุภณั ฑ์ ครภุ ณั ฑส์ นาม เพ่ือจดั ให้มีชดุ เครอื่ งเลน่ เพอ่ื จดั ซือ้ เครื่องเล
ชุมชน สนาม สาํ หรับเด็กและ กลางแจ้ง ชุดปรา
เยาวชนภายในเขตเทศบาล ขนาดกว้างไมน่ ้อย
นครสงขลา อย่างพอเพียง 17.50 เมตร ยา

9.50 เมตร และ
5 เมตร พร้อมตดิ
บรเิ วณลานสะดือ
กบั ชดุ เครอ่ื งเล่นเ
รายละเอียดคณุ ส

270

หมาย งบประมาณ หน่วยงาน

องครุภณั ฑ)์ 2566 25๖7 25๖8 25๖9 2570 รบั ผดิ ชอบหลกั
(บาท) (บาท) (บาท) (บาท) (บาท)
ลน่ สนามกลาง สํานักชา่ ง
มหัศจรรย์ - 8,926,000 - - - ส่วนการโยธา
ยกว่า
าวไม่น้อยกว่า
ละสูงไม่นอ้ ยกว่า
รอ้ มตดิ ต้ัง
อพญานาคใกล้
เรอื สําราญเดมิ
สมบัตวิ สั ดแุ ละ
งเครื่องเลน่
บาลกาํ หนด

ลน่ สนาม - - 4,279,000 - - สาํ นกั ชา่ ง
าสาทผจญภัย ส่วนการโยธา
ยกวา่
าวไมน่ ้อยกวา่
ะสูงไมน่ อ้ ยกว่า
ดตง้ั
อพญานาคใกล้
เรือสําราญเดมิ
สมบตั ิวัสดุและ

ท่ี แผนงาน หมวด ประเภท วตั ถุประสงค์ เป้าห

(ผลผลติ ขอ

องค์ประกอบของ
เป็นไปตามทเี่ ทศบ

รวม 4 รายการ

2

หมาย 2566 งบประมาณ หน่วยงาน
(บาท)
องครุภัณฑ์) 25๖7 25๖8 25๖9 2570
(บาท) (บาท) (บาท) (บาท) รบั ผิดชอบหลกั
งเครอื่ งเล่น
บาลกาํ หนด

14,345,000 16,926,000 12,279,000 8,000,000 8,000,000

271

บัญชีค

แผนพัฒนาทอ้ งถน่ิ (พ.ศ

เทศบาลน

ที่ แผนงาน หมวด ประเภท วัตถปุ ระสงค์ เปา้ ห

1 อุตสาหกรรม ค่าครุภณั ฑ์ (ผลผลิตขอ
และการโยธา
ครภุ ัณฑ์ยานพาหนะและ เพอ่ื ใหม้ เี ครื่องมอื เคร่ืองใชท้ ี่ รถยนตต์ เี ส้นจรา
ขนสง่ เพยี งพอแก่การปฏิบัติงาน จาํ นวน 1 คัน

และเปน็ การเพ่ิมประสทิ ธิภาพ
ในการปฏบิ ัติงาน

2 อตุ สาหกรรม ค่าครุภัณฑ์ ครุภัณฑก์ ่อสรา้ ง เพื่อให้มเี คร่อื งมือเคร่อื งใช้ท่ี เครอ่ื งซ่อมผวิ จร
และการโยธา ครภุ ณั ฑ์โรงงาน เพยี งพอแกก่ ารปฏิบตั งิ าน จํานวน 1 เคร่อื
และเปน็ การเพิ่มประสทิ ธภิ าพ
3 อุตสาหกรรม ค่าครภุ ัณฑ์ ในการปฏิบัตงิ าน
และการโยธา เพอื่ ใหม้ เี คร่อื งมือเคร่ืองใช้ท่ี แม่แรงยกเกยี ร์ จ
เพียงพอแกก่ ารปฏบิ ตั งิ าน
และเปน็ การเพิ่มประสทิ ธภิ าพ
ในการปฏบิ ตั งิ าน

4 อตุ สาหกรรม ค่าครุภัณฑ์ ครภุ ณั ฑ์โรงงาน เพื่อให้มีเคร่อื งมอื เครือ่ งใชท้ ่ี แมแ่ รงตะเฆ่ 3 ต
และการโยธา เพียงพอแกก่ ารปฏิบตั ิงาน จาํ นวน 2 เครื่อ
และเปน็ การเพมิ่ ประสทิ ธิภาพ
ในการปฏบิ ตั ิงาน

2

แบบ ผ.๐3

ครุภัณฑ์
ศ. ๒๕๖6 - พ.ศ.๒๕70)
นครสงขลา

หมาย งบประมาณ หนว่ ยงาน

2566 25๖7 25๖8 25๖9 2570 รบั ผิดชอบหลกั
องครภุ ณั ฑ์) (บาท) (บาท) (บาท) (บาท) (บาท)
สํานกั ช่าง
าจร ชนิด 6 ลอ้ 2,600,000 - - - - ส่วนการโยธา
งานศูนย์
เครอ่ื งจกั รกล

ราจรแอสฟลั ท์ติก 5,000,000 - - - - สํานักช่าง
ส่วนการโยธา
อง งานศูนย์
เครอ่ื งจักรกล
จาํ นวน 1 เครอ่ื ง 21,400 - - -
- สํานักช่าง
ส่วนการโยธา
งานศนู ย์
เครือ่ งจักรกล

ตนั 15,000 - - - - สํานกั ชา่ ง
ส่วนการโยธา
อง งานศูนย์
เครอ่ื งจักรกล

272

ที่ แผนงาน หมวด ประเภท วัตถปุ ระสงค์ 2

เปา้ ห

5 อุตสาหกรรม ค่าครภุ ณั ฑ์ ครภุ ัณฑโ์ รงงาน (ผลผลิตขอ
และการโยธา
เพอ่ื ให้มีเคร่ืองมือเครอ่ื งใช้ท่ี เล่ือยวงเดือน 8
เพยี งพอแก่การปฏบิ ัตงิ าน จาํ นวน 1 เครือ่
และเปน็ การเพม่ิ ประสิทธิภาพ
ในการปฏบิ ัตงิ าน

6 อตุ สาหกรรม คา่ ครุภณั ฑ์ ครุภัณฑโ์ รงงาน เพ่อื ใหม้ เี ครือ่ งมอื เคร่อื งใช้ท่ี รอก 3 ตนั จําน
และการโยธา เพียงพอแก่การปฏิบตั งิ าน
และเปน็ การเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพ
ในการปฏบิ ัติงาน

7 อุตสาหกรรม ค่าครภุ ณั ฑ์ ครุภัณฑ์โรงงาน เพื่อใหม้ ีเครื่องมือเครอื่ งใชท้ ี่ บลอ็ คลม จํานวน
และการโยธา เพยี งพอแก่การปฏบิ ตั ิงาน
และเปน็ การเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพ
ในการปฏบิ ัติงาน

8 อุตสาหกรรม ค่าครภุ ณั ฑ์ ครภุ ณั ฑ์ยานพาหนะและ เพือ่ ใชใ้ นภารกิจของนายช่าง รถยนตน์ ั่งส่วนก
และการโยธา
ขนส่ง ในการตรวจสอบเพื่อควบคมุ จาํ นวน 1 คนั

การก่อสร้างโครงการ ปรมิ าตรกระบอ

1,600 - 1,80

หรือกาํ ลังเคร่ือง

ไม่ตา่ํ กว่า 90 ก

273 2566 25๖7 งบประมาณ 25๖9 2570 หน่วยงาน
(บาท) (บาท) 25๖8 (บาท) (บาท)
หมาย (บาท) รับผดิ ชอบหลัก
6,400 - - -
องครุภัณฑ)์ - สํานักช่าง
สว่ นการโยธา
นว้ิ งานศนู ย์
อง เครอ่ื งจกั รกล

นวน 1 เครื่อง 13,950 - - - - สาํ นกั ช่าง
ส่วนการโยธา
งานศูนย์
เครอื่ งจกั รกล

น 1 อัน 21,400 - - - - สํานกั ชา่ ง
ส่วนการโยธา
งานศูนย์
เคร่ืองจักรกล

กลาง 980,000 - - - - สํานกั ชา่ ง

ส่วนควบคมุ ฯ

อกสูบ

00 ซซี ี

งยนต์สูงสดุ

กโิ ลวัตต์

ท่ี แผนงาน หมวด ประเภท วัตถปุ ระสงค์ เป้าห

(ผลผลติ ขอ

(ตามเกณฑ์ราคา
ครุภัณฑ์ ธันวาค

9 อุตสาหกรรม ค่าครภุ ณั ฑ์ ครภุ ณั ฑย์ านพาหนะและ เพ่ือใช้ในภารกจิ ของนายช่าง รถจกั รยานยนต
และการโยธา
ขนสง่ นายตรวจในการตรวจสอบ ขนาดไม่นอ้ ยกว

การกอ่ สรา้ งอาคาร (ตามเกณฑ์ราคา

ครุภณั ฑ์ ธนั วาค

รวม 9 รายการ

2

หมาย 2566 งบประมาณ หนว่ ยงาน
(บาท) 2570
องครภุ ณั ฑ)์ 25๖7 25๖8 25๖9 (บาท) รบั ผดิ ชอบหลัก
(บาท) (บาท) (บาท)
ามาตรฐาน - สาํ นกั ชา่ ง
คม 2563) ส่วนควบคุมฯ

ต์ จํานวน 2 คนั 168,600 - - -

ว่า 150 ซีซี

ามาตรฐาน

คม 2563)

8,826,750 - - - -

274

สว่ นท่ี ๔

การติดตามและประเมนิ ผล

๒๗๕

แผนพฒั นาทอ้ งถิ่น (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) เทศบาลนครสงขลา

ส่วนที่ 4

การติดตามและประเมินผล

๔.๑ การติดตามและประเมนิ ผลยุทธศาสตร์

ตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและข้ันตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วน
ท้องถ่ิน พ.ศ. ๒๕๔๒ ได้กำหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีอำนาจและหน้าท่ีในการจัดทำแผนพัฒนา
ท้องถิ่นของตนเอง โดยในการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้น จะต้องดำเนินการตาม
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน พ.ศ. ๒๕๔๘ และที่
แก้ไขเพ่ิมเติมถึง (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๑ ท้ังน้ี แผนพัฒนาท้องถิ่นจะต้องสอดคล้องกับแผนพัฒนาจังหวัด
ยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัด แผนพัฒนาอำเภอ แผนพัฒนาตำบล
แผนพัฒนาหมู่บ้านหรือแผนชุมชน อันมีลักษณะเป็นการกำหนดรายละเอียดแผนงาน ดังน้ัน จึงต้องมีการ
กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัดขึ้น ตามกระบวนการพิจารณาจาก
ประชาคมท้องถ่ินระดับจังหวัด ร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาองค์การบริหารส่วนจังหวัด คณะกรรมการประสาน
แผนพัฒนาท้องถ่ินระดับจังหวัด ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัดร่วมกันจัดทำ ทบทวน หรือ
เปล่ียนแปลงยทุ ธศาสตร์การพฒั นาขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ ในเขตจังหวัด เพ่ือให้การจดั ทำแผนพัฒนาของ
องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินเกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล โดยนำยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัดไปใช้เป็นแนวทางในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นของตนเองได้ต่อไป และเพ่ือให้
สามารถบูรณาการกับแผนพัฒนาจังหวัด แผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัดและตอบสนองความต้องการ
ของประชาชนอันจะนำไปสู่การจัดทำงบประมาณท่ีมีประสิทธิภาพในท้องถิ่นได้อย่างแท้จริง เป็นเคร่ืองมือใน
การพฒั นาทอ้ งถน่ิ ให้เขม้ แข็ง เกิดประโยชน์สูงสดุ ต่อประชาชนในทอ้ งถนิ่

ดังน้ัน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน จึงต้องกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถ่ินให้สอดคล้องยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัด เพ่ือนำไปสู่การบูรณาการ
ร่วมกันให้เกิดความสอดคล้องกับแผนพัฒนาจังหวัด สามารถเช่ือมโยงไปสู่แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด แผนพัฒนา
ภาค แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๑๒ แผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ไทยแลนด์ ๔.๐ และในการ
จัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ. ๒๕๖6 - ๒๕70) จะต้องมีการติดตามและประเมินผลยุทธศาสตร์เพ่ือความ
สอดคลอ้ งแผนพัฒนาท้องถ่ินขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทำแผน
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๘ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๑ โดยคณะกรรมการ
ติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น จะต้องดำเนินการให้คะแนนตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ ซ่ึงเป็นส่วนหน่ึง
ของการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถ่ินและดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในหกสิบวันนับแต่วันท่ี
ประกาศใชง้ บประมาณรายจา่ ย โดยมีรายละเอยี ดดงั นี้

๒๗๖

แผนพฒั นาทอ้ งถ่ิน (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) เทศบาลนครสงขลา

แนวทางการพิจารณาการติดตามและประเมินผลยุทธศาสตร์เพื่อความสอดคล้องแผนพัฒนาท้องถิ่นของ

องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ

ประเดน็ การพจิ ารณา คะแนน

๑. ข้อมลู สภาพท่วั ไปและขอ้ มูลพ้ืนฐานขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน ๒๐

๒. การวเิ คราะห์สภาวการณ์และศกั ยภาพ ๒๐

๓. ยทุ ธศาสตรป์ ระกอบด้วย ๖๐

๓.๑ ยทุ ธศาสตร์ขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน (๑๐)

๓.๒ ยทุ ธศาสตรข์ ององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ินในเขตจังหวัด (๑๐)

๓.๓ ยทุ ธศาสตรจ์ งั หวดั (๑๐)

๓.๔ วิสยั ทศั น์ (๕)

๓.๕ กลยทุ ธ์ (๕)

๓.๖ เปา้ ประสงคข์ องแตล่ ะประเด็นกลยทุ ธ์ (๕)

๓.๗ จุดยนื ทางยุทธศาสตร์ (๕)

๓.๘ แผนงาน (๕)

๓.๙ ความเช่อื มโยงของยทุ ธศาสตร์ในภาพรวม (๕)

รวมคะแนน ๑๐๐

๒๗๗

แผนพัฒนาทอ้ งถ่นิ (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) เทศบาลนครสงขลา

แนวทางเบื้องต้นในการให้คะแนนแนวทางการพิจารณาการติดตามและประเมินผลยุทธศาสตร์เพื่อความ

สอดคลอ้ งแผนพฒั นาทอ้ งถิ่นขององคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ

ประเดน็ รายละเอยี ดหลกั เกณฑ์ คะแนน คะแนน
การพิจารณา เต็ม ทีไ่ ด้

๑. ข้อมูลสภาพท่ัวไป ควรประกอบด้วยขอ้ มลู ดังน้ี ๒๐

และข้ อมู ลพ้ื นฐาน (๑) ข้อมูลเกี่ยวกับด้านกายภาพ เช่น ที่ตั้งของหมู่บ้าน/ชุมชน/ (๓)

ขององค์กรปกครอง ตำบล ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะภูมิอากาศ ลักษณะของท่ีดิน

ส่วนท้องถนิ่ ลักษณะของแหล่งนำ้ ลกั ษณะของปา่ ไม้ ฯลฯ ด้านการเมือง/การ

ปกครอง เชน่ เขตการปกครองการเลอื กตงั้ ฯลฯ

(๒) ข้อมูลเก่ียวกับด้านการเมือง/การปกครอง เช่น เขตการ (๒)

ปกครอง การเลือกตั้ง ฯลฯ ประชากร เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับ

จำนวนประชากร และชว่ งอายุและจำนวนประชากร ฯลฯ

(๓) ข้อมูลเกี่ยวกับสภาพทางสังคม เช่น การศึกษา สาธารณสุข (๒)

อาชญากรรม ยาเสพตดิ การสงั คมสงเคราะห์

(๔) ข้อมูลเกี่ยวกับระบบบริการพ้ืนฐาน เช่น การคมนาคมขนส่ง การ (๒)

ไฟฟ้า การประปา โทรศัพท์ ฯลฯ

(๕) ข้อมูลเก่ียวกับระบบเศรษฐกิจ เช่น การเกษตร การประมง (๒)

การปศุสัตว์ การบริการ การท่องเท่ียว อุตสาหกรรม การ

พาณิชย/์ กลมุ่ อาชพี แรงงาน ฯลฯ

(๖) ข้อมูลเกี่ยวกับศาสนา ประเพณี วฒั นธรรม เช่น การนับถือ (๒)

ศาสนาประเพณี และงานประจำปี ภูมิปญั ญาท้องถ่ิน ภาษาถิ่น สินค้า

พน้ื เมืองและของทร่ี ะลกึ ฯลฯ

(๗) ข้อมูลเก่ียวกับทรัพยากรธรรมชาติ เช่น น้ำ ป่าไม้ ภูเขา (๒)

คณุ ภาพของทรัพยากรธรรมชาติ ฯลฯ

(๘) การสำรวจและจัดเก็บข้อมูลเพ่ือการจัดทำแผนพัฒนา (๒)

ท้องถิ่นหรอื การใช้ขอ้ มูล จปฐ.

(๙) การประชุมประชาคมท้องถ่ิน รูปแบบ วิธีการ และการ (๓)

ดำเนินการประชุมประชาคมท้องถิ่นโดยใช้กระบวนการร่วมคิด ร่วม

ทำ ร่วมตัดสินใจ ร่วมตรวจสอบ ร่วมรับประโยชน์ ร่วมแก้ไขปัญหา

ปรึกษาหารือ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพ่ือแก้ไขปัญหาสำหรับการ

พัฒนาท้องถ่ินตามอำนาจหนา้ ทข่ี ององคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ

๒๗๘

แผนพฒั นาทอ้ งถิ่น (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) เทศบาลนครสงขลา

ประเดน็ รายละเอยี ดหลกั เกณฑ์ คะแนน คะแนน
การพิจารณา เตม็ ทไี่ ด้

๒. การวเิ คราะห์ ควรประกอบด้วยข้อมูลดังน้ี ๒๐

สภาวการณ์และ (๑) การวิเคราะห์ที่ครอบคลุมความเชื่อมโยง ความสอดคล้องยุทธศาสตร์ (๕)

ศกั ยภาพ จังหวัด ยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใน

เขตจังหวัด ยุทธศาสตร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น นโยบายของ

ผู้บริหารท้องถิ่น รวมถึงความเชื่อมโยงแผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี

แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ และ Thailand ๔.๐

(๒) การวิเคราะห์การใช้ผังเมืองรวมหรือผังเมืองเฉพาะ และการ (๓)

บงั คับใช้ผลของการบังคับใช้ สภาพการณ์ทเ่ี กิดข้ึนตอ่ การพฒั นาท้องถ่ิน

(๓) การวิเคราะห์ทางสังคม เช่น ด้านแรงงาน การศึกษา (๓)

สาธารณสขุ ความยากจน อาชญากรรม ปญั หายาเสพตดิ เทคโนโลยี

จารตี ประเพณี วัฒนธรรม ภูมปิ ัญญาทอ้ งถิ่น เปน็ ตน้

(๔) การวิเคราะห์ทางเศรษฐกิจ ข้อมูลด้านรายได้ครัวเรือน การส่งเสริม (๓)

อาชีพ กลุ่มอาชีพ กลุ่มทางสังคม การพัฒนาอาชีพและกลุ่มต่าง ๆ

สภาพทางเศรษฐกิจและความเปน็ อยทู่ ่ัวไป เป็นต้น

(๕) การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อม พื้นที่สีเขียว ธรรมชาติต่าง ๆ ทาง (๓)

ภูมิศาสตร์ กระบวนการหรือสิ่งที่เกิดขึ้น การประดิษฐ์ที่มีผลต่อ

สงิ่ แวดลอ้ มและการพฒั นา

(๖) ผลการวิเคราะห์ศักยภาพเพื่อประเมินสถานภาพการพัฒนาในปัจจุบัน (๓)

และโอกาสการพัฒนาในอนาคตของท้องถิ่น ด้วยเทคนิค SWOT

Analysis ที่อาจส่งผลต่อการดำเนินงาน ได้แก่ S-Strength (จุดแข็ง)

W-Weakness (จุดอ่อน) O-Opportunity (โอกาส) และ T-Threat

(อปุ สรรค)

๓. ยุทธศาสตร์ ควรประกอบด้วยขอ้ มลู ดงั นี้ ๖๐

๓.๑ ยุทธศาสตร์ สอดคล้องกับสภาพสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อมของท้องถ่ิน (๑๐)

ขององค์กรปกครอง ประเด็นปัญหาการพัฒนาและแนวทางการพัฒนาที่สอดคล้องกับ

สว่ นท้องถิ่น ยุทธศาสตร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และเชื่อมโยงหลัก

ประชารัฐ แผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ

สงั คมแหง่ ชาติ และ Thailand ๔.๐

๓.๒ ยุทธศาสตร์ สอดคล้องและเชือ่ มโยงกับสภาพสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อมของ (๑๐)
ขององค์กรปกครอง ท้องถิ่นและยุทธศาสตร์จังหวัดและเชื่อมโยงหลักประชารัฐ
ส่วนท้องถิ่นในเขต แผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
จงั หวัด แหง่ ชาติ และ Thailand ๔.๐

๒๗๙

แผนพฒั นาท้องถิน่ (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) เทศบาลนครสงขลา

ประเดน็ รายละเอยี ดหลักเกณฑ์ คะแนน คะแนน
การพจิ ารณา เต็ม ทไ่ี ด้

๓.๓ ยทุ ธศาสตร์ สอดคล้องกับแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ยุทธศาสตร์พัฒนาภาค (๑๐)

จังหวดั แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนการบริหาร

ราชการแผ่นดนิ นโยบาย/ยุทธศาสตร์ คสช. และนโยบายรัฐบาล หลัก

ประชารัฐ แผนยทุ ธศาสตรช์ าติ ๒๐ ปี และ Thailand ๔.๐

๓.๔ วสิ ัยทัศน์ วิสัยทัศน์ ซึ่งมีลักษณะแสดงสถานภาพที่องค์กรปกครองส่วน (๕)

ท้ อ ง ถ่ิ น ต้ อ ง ก า ร จ ะ เป็ น ห รื อ บ ร ร ลุ ถึ ง อ น า ค ต อ ย่ า ง ชั ด เจ น

สอดคล้องกับโอกาสและศักยภาพท่ีเป็นลักษณะเฉพาะองค์กร

ปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ และสมั พนั ธ์กบั โครงการพัฒนา

๓.๕ กลยุทธ์ แสดงให้เห็นช่องทาง วิธีการ ภารกิจหรือส่ิงที่ต้องทำตามอำนาจหน้าท่ี (๕)

ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ท่ีจะนำไปสู่การบรรลุวิสัยทัศน์

หรือแสดงให้เห็นถงึ ความชัดเจนในส่ิงท่ีจะดำเนินการให้บรรลวุ ิสัยทัศน์

นน้ั

๓.๖ เป้าประสงค์ของ เป้าประสงค์ของแต่ละประเด็นกลยุทธ์มีความสอดคล้องและ (๕)

แต่ละประเด็นกลยุทธ์ สนบั สนุนตอ่ กลยุทธ์ท่จี ะเกดิ ขึ้น มุ่งหมายสง่ิ หนึ่งสง่ิ ใดทีช่ ัดเจน

๓.๗ จุดยนื ทาง ความมุ่งมั่นอันแน่วแน่ในการวางแผนพัฒนาท้องถ่ิน เพื่อให้ (๕)
ยุทธศาสตร์
บรรลุวิสัยทัศน์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ซ่ึงเกิดจาก
(Positioning) ศกั ยภาพของพื้นทจี่ รงิ ทจ่ี ะนำไปสผู่ ลสำเรจ็ ทางยุทธศาสตร์

๓.๘ แผนงาน แผนงานหรือจุดมุ่งหมายเพ่ือการพัฒนาในอนาคต กำหนดจุดมุ่งหมาย (๕)

ในเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือแผนงานที่เกิดจากเป้าประสงค์ตัวชี้วัด

ค่าเป้าหมาย กลยุทธ์ จุดยืนทางยุทธศาสตร์ขององค์กรปกครอง

ส่วนท้องถ่ินท่ีมีความชัดเจน นำไปสู่การทำโครงการพัฒนา

ท้องถ่ินในแผนพัฒนาท้องถิ่น โดยระบุแผนงานและความ

เชือ่ มโยงดงั กล่าว

๓.๙ ความเช่ือมโยงของ ความเช่ือมโยงองค์รวมที่นำไปสู่การพัฒนาท้องถน่ิ ทีเ่ กิดผลผลิต/ (๕)
ยุทธศาสตรใ์ นภาพรวม โครงการจากแผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจ

และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ Thailand ๔.๐ แผนพัฒนาภาค/

แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด/แผนพัฒนาจังหวัดยุทธศาสตร์การพัฒนา

ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัด และยุทธศาสตร์ของ

องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ

รวมคะแนน ๑๐๐

๒๘๐

แผนพฒั นาท้องถิน่ (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) เทศบาลนครสงขลา

๔.๒ การตดิ ตามและประเมินผลโครงการ

ในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ. ๒๕๖6 - ๒๕70) ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จะต้อง
มีการติดตามและประเมินผลโครงการเพื่อความสอดคล้องแผนพัฒนาท้องถิ่น ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย
ว่าด้วยการจัดทำแผนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๘ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๑
โดยคณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น จะต้องดำเนินการให้คะแนนตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้
ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา และดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในหกสิบวัน นับแต่
วันท่ีประกาศใช้งบประมาณรายจ่าย โดยมีรายละเอยี ดดงั น้ี

แนวทางการพิจารณาการติดตามและประเมินผลโครงการเพื่อความสอดคล้องแผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ. ๒๕๖6 - ๒๕70)

ขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน

ประเดน็ การพจิ ารณา คะแนน

๑. การสรุปสถานการณก์ ารพจิ ารณา ๑๐

๒. การประเมนิ ผลการนำแผนพัฒนาทอ้ งถน่ิ ไปปฏบิ ตั ใิ นเชิงปริมาณ ๑๐

๓. การประเมนิ ผลการนำแผนพฒั นาทอ้ งถน่ิ ไปปฏบิ ตั ใิ นเชิงคุณภาพ ๑๐

๔. แผนงานและยุทธศาสตรก์ ารพิจารณา ๑๐

๕. โครงการพฒั นา ประกอบด้วย ๖๐

๕.๑ ความชดั เจนของช่อื โครงการ (๕)

๕.๒ กำหนดวัตถุประสงคส์ อดคลอ้ งกบั โครงการ (๕)

๕.๓ เป้าหมาย (ผลผลติ ของโครงการ) มีความชดั เจนนำไปสู่การต้ังงบประมาณได้ถกู ตอ้ ง (๕)

๕.๔ โครงการมีความสอดคล้องกบั แผนยทุ ธศาสตรช์ าติ ๒๐ ปี (๕)

๕.๕ เป้าหมาย (ผลผลติ ของโครงการ) มีความสอดคล้องกบั แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (๕)

๕.๖ โครงการมีความสอดคล้องกบั Thailand ๔.๐ (๕)

๕.๗ โครงการสอดคล้องกับยุทธศาสตร์จงั หวัด (๕)

๕.๘ โครงการแก้ไขปัญหาความยากจนหรือการเสริมสร้างให้ประเทศชาติม่ันคง มั่งคั่ง ยั่งยืน (๕)

ภายใต้หลกั ประชารัฐ

๕.๙ งบประมาณ มคี วามสอดคล้องกบั เปา้ หมาย (ผลผลิตของโครงการ) (๕)

๕.๑๐ มกี ารประมาณการราคาถูกตอ้ งตามหลักวิธีการงบประมาณ (๕)

๕.๑๑ มีการกำหนดตัวชี้วดั (KPI) และสอดคล้องกับวตั ถปุ ระสงค์และผลท่ีคาดว่าจะไดร้ ับ (๕)

๕.๑๒ ผลที่คาดวา่ จะได้รับ สอดคลอ้ งกบั วัตถปุ ระสงค์ (๕)

รวมคะแนน ๑๐๐

๒๘๑

แผนพัฒนาทอ้ งถ่ิน (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) เทศบาลนครสงขลา

แนวทางเบื้องต้นในการให้คะแนนแนวทางการพิจารณาการติดตามและประเมินผลโครงการเพื่อความ

สอดคลอ้ งแผนพฒั นาทอ้ งถิน่ (พ.ศ. ๒๕๖6 - ๒๕70) ขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิน่

ประเดน็ รายละเอียดหลกั เกณฑ์ คะแนน คะแนน
การพจิ ารณา เตม็ ที่ได้

๑.การสรุปสถานการณ์ เป็นการวิเคราะห์กรอบการจัดทำยุทธศาสตร์ขององค์กรปกครอง ๑๐

การพัฒนา ส่วนท้องถ่ิน (ใช้การวิเคราะห์ SWOTAnalysis/Demand (Demand

Analysis)/Global Demand และ Trend ปัจจัย และสถานการณ์

การเปล่ียนแปลงที่มีผลต่อการพัฒนา อย่างน้อยต้องประกอบด้วย

การวิเคราะห์ศักยภาพด้านเศรษฐกิจ, ด้านสังคม, ด้านทรัพยากร

ธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม)

๒. การประเมินผล ๑) การควบคุมที่มีตัวเลขต่าง ๆ เพื่อนำมาใช้วัดผลในเชิงปริมาณ เช่น ๑๐

การนำแผนพัฒนา การวดั จำนวนโครงการ กิจกรรม งานต่าง ๆ ก็คือผลผลิตน่ันเองว่าเป็นไป

ท้องถิ่นไปปฏิบัติใน ตามท่ีตงั้ เป้าหมายเอาไว้หรือไม่ จำนวนทีด่ ำเนนิ การจริงตามที่ได้กำหนด

เชงิ ปรมิ าณ ไว้เท่าไร จำนวนท่ีไม่สามารถดำเนินการได้มีจำนวนเท่าไร สามารถ

อธิบายได้ตามหลักประสิทธิภาพ (Efficiency) ของการพัฒนาท้องถ่ิน

ตามอำนาจหนา้ ทีท่ ไี่ ด้กำหนดไว้

๒) วิเคราะห์ผลกระทบ/ส่ิงที่กระทบ (Impact) โครงการท่ีดำเนินการ

ในเชงิ ปริมาณ (Qualitative)

๓. การประเมินผล ๑) การประเมินประสิทธิผลของแผนพัฒนาในเชิงคุณภาพ คือ การนำเอา ๑๐

การนำแผนพัฒนา เทคนิคต่าง ๆ มาใช้เพ่ือวัดค่าภารกิจ โครงการ กิจกรรม งานต่าง ๆ ท่ี

ท้องถ่ินไปปฏิบัติใน ดำเนินการในพ้ืนที่นั้น ๆ ตรงต่อความต้องการของประชาชนหรือไม่และ

เชงิ คุณภาพ เป็นไปตามอำนาจหน้าท่ีหรือไม่ ประชาชนพึงพอใจหรือไม่ สิ่งของ วัสดุ

ครุภณั ฑ์ การดำเนินการต่าง ๆ มีสภาพหรือลักษณะถูกต้อง คงทน ถาวร

สามารถใชก้ ารไดต้ ามวัตถุประสงค์หรือไม่ ซึ่งเป็นไปตามหลกั ประสิทธิผล

(Effectiveness) ผลการปฏิบัติราชการตามท่ีได้รับงบประมาณมา

ดำเนนิ การ รวมถงึ สามารถเทยี บเคียงกับส่วนราชการหรือหน่วยงาน

๒) วิเคราะห์ผลกระทบ/ส่ิงที่กระทบ (Impact) โครงการท่ีดำเนินการ

ในเชิงคณุ ภาพ (Qualitative)

4. แผนงานและ ๑) วเิ คราะห์แผนงาน งานท่ีเกิดจากด้านตา่ ง ๆ มีความสอดคล้อง 10

ยุ ท ธศ าส ต ร์ก าร กับยุทธศาสตร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในมิติต่าง ๆ

พฒั นา จนนำไปสู่การจัดทำโครงการพัฒนาท้องถิ่นโดยใช้ SWOT

Analysis/Demand (Demand Analysis)/Global Demand/Trend

หรือหลักการบูรณาการ (Integration)กับองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน

ที่มีพืน้ ท่ตี ิดตอ่ กนั

๒๘๒

แผนพัฒนาทอ้ งถน่ิ (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) เทศบาลนครสงขลา

ประเดน็ การ รายละเอียดหลักเกณฑ์ คะแนน คะแนน
พจิ ารณา เต็ม ท่ไี ด้

๒) วิเคราะห์แผนงาน งาน ทเี่ กดิ จากดา้ นตา่ ง ๆ ทีส่ อดคล้องกับ

การแกไ้ ขปญั หาความยากจน หลกั ประชารัฐ

๕. โครงการพฒั นา ควรประกอบดว้ ยข้อมลู ดังน้ี ๖๐

๕.๑ ความชัดเจนของ เป็นโครงการที่มีวัตถุประสงค์สนองต่อยุทธศาสตร์การพัฒนา (๕)

ช่อื โครงการ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและดำเนินการเพื่อให้การ

พัฒนาบรรลุตามวิสัยทัศน์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่

กำหนดไว้ ชื่อโครงการมีความชัดเจน มุ่งไปเรื่องใดเรื่องหนึ่ง

อา่ นแลว้ เข้าใจไดว้ า่ จะพัฒนาอะไรในอนาคต

๕.๒ กำหนดวัตถุประสงค์ มีวัตถุประสงค์ชัดเจน (clear objective) โครงการต้องกำหนด (๕)
สอดคล้องกบั โครงการ วัตถุประสงค์สอดคล้องกับความเป็นมาของโครงการ สอดคล้อง

กับหลักการและเหตุผล วิธีการดำเนินงานต้องสอดคล้องกับ

วตั ถปุ ระสงค์ มีความเปน็ ไปไดช้ ัดเจน มลี กั ษณะเฉพาะเจาะจง

๕.๓ เป้าหมาย (ผลผลิต สภาพที่อยากให้เกิดขึ้นในอนาคตเป็นทิศทางที่ต้องไปให้ถึง (๕)

ของโครงการ) มีความ เป้าหมายต้องชัดเจน สามารถระบุจำนวนเท่าไร กลุ่มเป้าหมาย

ชัดเจนนำไปสู่การตั้ง คืออะไร มีผลผลิตอย่างไร กลุ่มเป้าหมาย พื้นที่ดำเนินงาน และ

งบประมาณไดถ้ กู ตอ้ ง ระยะเวลาดำเนินงานอธิบายให้ชัดเจนว่าโครงการนี้จะทำที่ไหน

เริ่มต้นในช่วงเวลาใดและจบลงเม่ือไร ใครคือกลุ่มเป้าหมายของ

โครงการ หากกลุ่มเป้าหมายมีหลายกลุ่ม บอกให้ชัดเจนว่าใคร

คอื กลุ่มเป้าหมายหลัก ใครคอื กลมุ่ เป้าหมายรอง

๕.๔ โครงการมีความ โครงการสอดคล้องกับ (๑) ความมั่นคง (๒) การสร้างความสามารถใน (๕)

สอดคล้องกับแผน การแข่งขัน (๓) การพัฒนาเสริมสร้างศักยภาพคน (๔) การสร้างโอกาส

ยุทธศาสตร์ ๒๐ ปี ความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม (๕) การสร้างการเติบโตบน

คุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (๖) การปรับสมดุลและพัฒนา

ระบบการบรหิ ารจัดการภาครัฐ เพ่อื ให้เกดิ ความม่นั คง มั่งคง่ั ย่งั ยนื

๕.๕ เป้าหมาย (ผลผลิต โครงการมีความสอดคล้องแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม (5)
ของโครงการ) มีความ แหง่ ชาติ ฉบับท่ี ๑๒ โดย (๑) ยึดหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง
สอดคล ้ องก ั บแผน (๒) ยึดคนเป็นศูนย์กลางพัฒนา (๓) ยึดวิสัยทัศน์ภายใต้
พัฒนาเศรษฐกิจและ ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (๔) ยึดเป้าหมายอนาคตประเทศไทย
สงั คมแหง่ ชาติ
๒๕๗๙ (๕) ยดึ หลกั การนำไปสู่การปฏิบตั ิให้เกิดผลสัมฤทธอ์ิ ยา่ ง

จริงจังใน ๕ ปีที่ต่อยอดไปสูผ่ ลสัมฤทธิท์ ่ีเปน็ เป้าหมายระยะยาว

ภายใตแ้ นวทางการพฒั นา

๒๘๓

แผนพฒั นาทอ้ งถน่ิ (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) เทศบาลนครสงขลา

ประเดน็ รายละเอยี ดหลกั เกณฑ์ คะแนน คะแนน
การพจิ ารณา เต็ม ทไี่ ด้

(๑) การยกระดับศักยภาพการแข่งขันและการหลุดพ้นกับดัก

รายได้ปานกลางสู่รายได้สูง (๒) การพัฒนาศักยภาพคนตามช่วง

วัยและการปฏิรูประบบเพ่ือสร้างสังคมสูงวัยอย่างมีคุณภาพ (๓)

การลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม (๔) การรองรับการเชื่อมโยง

ภูมิภาคและความเป็นเมือง (๕) การสร้างความเจริญเติบโตทาง

เศรษฐกิจและสังคมอย่างเปน็ มิตรกับส่ิงแวดล้อม (๖) การบริหาร

ราชการแผ่นดนิ ท่มี ีประสทิ ธิภาพ

5.6 โครงการมีความ โครงการมีลักษณะหรือสอดคล้องกับการปรับเปลี่ยนโครงสร้าง (5)

สอดคล้อง Thailand เศรษ ฐกิจไปสู่ Value-Based Economy หรือเศรษฐกิจที่

4.0 ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม ทำน้อย ได้มาก เช่น (1) เปลี่ยนจาก

การผลิตสินคา้ โภคภัณฑไ์ ปสู่สินคา้ เชิงนวัตกรรม (2) เปล่ยี นจาก

การขับเคล่ือนประเทศด้วยภาคอุตสาหกรรม ไปสู่การขับเคล่ือน

ด้วยเทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม (3) เปล่ียน

จากการเน้นภาคการผลิตสินค้าไปสู่การเน้นภาคบริการมากข้ึน

รวมถึงโครงการที่เติมเต็มด้วยวิทยาการ ความคิดสร้างสรรค์

นวัตกรรม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการวิจัยและพัฒนาแล้ว

ต่อยอดความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบ เช่น ด้านการเกษตร

เทคโนโลยีชีวภาพ สาธารณสขุ วฒั นธรรม ฯลฯ

5.7 โครงการสอดคล้อง โครงการพัฒนาท้องถิ่นมีความสอดคล้องกับห้วงระยะเวลาของ (5)

กับยทุ ธศาสตร์จังหวดั แผนพัฒนาจังหวัดที่ได้กำเนิดขึ้น เพ่ือขับเคลื่อนการพัฒนา

ท้องถิ่นเสมือนหนึ่งการขับเคล่ือนการพัฒนาจังหวัด ซ่ึงไม่

สามารถแยกส่วนใดส่วนหน่ึงออกจากกันได้ นอกจากนี้โครงการ

พัฒนาท้องถิ่นต้องเป็นโครงการเช่ือมต่อหรือเดินทางไปด้วยกัน

กบั ยทุ ธศาสตร์จงั หวดั ทีไ่ ด้กำหนดขนึ้ เปน็ ปจั จบุ นั

5.8 โครงการแก้ไข เป็นโครงการท่ีดำเนินการภายใต้พื้นฐานความพอเพียงที่ (5)

ปัญหาความยากจน ประชาชนดำเนินการเองหรือร่วมดำเนินการ เป็นโครงการต่อ

หรือการเสริมสร้างให้ ยอดและขยายได้ เป็นโครงการที่ประชาชนต้องการเพื่อให้เกิด

ประเทศชาติมั่ นคง ความยั่งยืน ซ่ึงมีลักษณะที่จะให้ท้องถ่ินมีความม่ันคง ม่ังคั่ง

ม่ังคั่ง ย่ังยืน ภายใต้ ยั่งยืน เป็นท้องถ่ินท่ีพัฒนาแล้วด้วยการพัฒนาปรัชญาเศรษฐกิจ

หลักประชารฐั พอเพยี ง

๒๘๔

แผนพัฒนาท้องถ่ิน (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) เทศบาลนครสงขลา

ประเดน็ รายละเอยี ดหลกั เกณฑ์ คะแนน คะแนน
การพิจารณา เตม็ ที่ได้

5.9 งบประมาณมี งบประมาณโครงการพัฒนาจะต้องคำนึงถึงหลักสำคัญ 5 (5)

ความสอดคล้องกับ ประการในการจัดทำโครงการได้แก่ (1) ความประหยัด

เป้าหมาย (ผลผลิต (Economy) (2) ความมีประสิทธิภาพ (Efficiency) (3) ความมี

ของโครงการ) ประสิทธิผล (Effectiveness) (4) ความยุติธรรม (Equity) (5)

ความโปร่งใส (Transparency)

5.10 มีการประมาณ การประมาณราคาเพื่อการพัฒนาต้องให้สอดคล้องกับโครงการ (5)

การราคาถ ู กต ้ อง ถูกต้องตามหลักวิชาการทางช่าง หลักของราคากลาง ราคากลาง

ตามหล ั กวิ ธ ี ก า ร ท้องถิ่น มีความโปร่งใสในการกำหนดราคาและตรวจสอบใน

งบประมาณ เชงิ ประจักษ์

๕.๑๑ มกี ารกำหนด มีการกำหนดตัวชี้วัดผลงาน (Key Performance Indicator : KPI) (๕)
ตัวชี้วัด (KPI) และ ที่สามารถวัดได้ (measurable) ใช้บอกประสิทธิผล (effectiveness)
สอดคล้องกบั ใช้บอกประสิทธิภาพ (efficiency) ได้ เช่น การกำหนดความพึงพอใจ
วัตถุประสงคแ์ ละผล การกำหนดร้อยละ การกำหนดอันเกิดจากผลของวัตถุประสงค์ที่
ท่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ เกิดขึ้น สงิ่ ทไี่ ดร้ ับ (การคาดการณ์ คาดวา่ จะไดร้ ับ)

5.12 ผลที่คาดว่า ผลที่ได้รับเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจริงจากการดำเนินการตามโครงการ (5)
จะได้รับสอดคล้อง พัฒนาซึ่งสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ การได้ผลหรือผลที่ 100
กับวตั ถปุ ระสงค์ เกิดขึ้นจะต้องเท่ากับวัตถุประสงค์หรือมากกว่าวัตถุประสงค์ ซึ่ง

การเขียนวัตถุประสงค์ควรคำนึงถึง (1) มีความเป็นไปได้และมี
ความเฉพาะเจาะจงในการดำเนินงานตามโครงการ (2) วัดและ
ประเมินผลระดับความสำเร็จได้ (3) ระบุสิ่งที่ต้องการดำเนินงาน
อย่างชัดเจนและเฉพาะเจาะจงมากที่สุดและสามารถปฏิบัติได้
(4) เปน็ เหตุเปน็ ผล สอดคลอ้ งกบั ความเปน็ จริง (5) สง่ ผลต่อการ
บ่งบอกเวลาได้

รวมคะแนน

๒๘๕

แผนพัฒนาท้องถิน่ (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) เทศบาลนครสงขลา

ยุทธศาสตร์ (๑) การวดั ผลในเชงิ ปริมาณและเชงิ คณุ ภาพ
อปท. (๑.๑) การวัดผลในเชงิ ปรมิ าณ (Quantity)
- โดยเครื่องมือทใี่ ช้ในการตดิ ตามและประเมินผลในเชงิ ปรมิ าณ มีดังน้ี
ในเขตจังหวัด
การวางแผนพัฒนาทอ้ งถิน่ (พ.ศ. ๒๕๖6 - ๒๕70)
1. พัฒนา ไดก้ ำหนดโครงการทจ่ี ะดำเนินการตามแผนพฒั นาทอ้ งถนิ่ (พ.ศ. ๒๕๖6 - ๒๕70)
การศกึ ษาศาสนา
ศิลปวัฒนธรรม ๒๕๖6 ๒๕๖7 ๒๕๖8 ๒๕๖9 ๒๕70
และจารีต
ประเพณี จำนวน งบประมาณ จำนวน งบประมาณ จำนวน งบประมาณ จำนวน งบประมาณ จำนวน งบประมาณ

2. พฒั นา
คุณภาพชวี ติ
สงั คมสงเคราะห์
ส่งิ แวดล้อมและ
ความปลอดภัย
ในชีวติ และ
ทรพั ย์สนิ

3. พฒั นา
เศรษฐกิจ การ
ทอ่ งเทีย่ ว กีฬา
และนนั ทนาการ
ไปสไู่ ทยแลนด์
4.0

4. พฒั นา
โครงสรา้ ง
พนื้ ฐานและ
โครงข่ายการ
ส่ือสาร

5. การบริหาร
จัดการบ้านเมอื ง
ทด่ี แี ละองคก์ ร
รบั ใชป้ ระชาชน

รวม

๒๘๖

แผนพัฒนาทอ้ งถิ่น (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) เทศบาลนครสงขลา

สรุปรายงานผลการดำเนินการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ...................

ลำดบั รายการ โครงการ งบประมาณ โครงการที่สามารถดำเนินการได้ (.............โครงการ)

๑ บรรจใุ นแผนพัฒนาท้องถ่นิ คดิ เปน็ รอ้ ยละ คดิ เป็นร้อยละ คดิ เป็นรอ้ ยละ
๒ ตั้งในเทศบัญญตั ิงบประมาณ ของแผนพัฒนา ของแผนการ ของเทศบัญญัติ +
๓ จากเงินสะสม
๔ จัดทำแผนการดำเนนิ งาน ท้องถน่ิ ดำเนินงาน เงนิ สะสม

- เทศบญั ญตั ิ = .......... +
- เงนิ สะสม = ..........
๕ สามารถดำเนินการได้
- เทศบญั ญตั ิ = ......... +
- เงินสะสม = ..........

(๑.๒) การวัดผลในเชิงคุณภาพ (Quality)
การวดั ผลเชิงคณุ ภาพ ใชก้ ารสำรวจความพงึ พอใจในการวดั ผลเชงิ คุณภาพโดยภาพรวม

โดยได้มีการประเมินความพงึ พอใจ ซึ่งการประเมินความพงึ พอใจทำให้ทราบถงึ ผลเชิงคุณภาพในการดำเนนิ งาน
ของเทศบาลในภาพรวม

โดยเครอ่ื งมือทใี่ ชใ้ นการประเมนิ ความพึงพอใจมดี ังนี้
แบบที่ ๓/๓ แบบประเมินความพึงพอใจต่อผลการดำเนินงานขององค์กรปกครองส่วน

ทอ้ งถ่ิน
แบบที่ ๓/๔ แบบประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการในงานบริการขององค์กรปกครอง

ส่วนท้องถน่ิ (ใหห้ นว่ ยงานภายนอกดำเนินการ)

๒๘๗

แผนพัฒนาท้องถิน่ (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) เทศบาลนครสงขลา

๔.3 สรุปผลการพัฒนาท้องถ่ิน จากแผนพัฒนาทอ้ งถ่ิน พ.ศ. 2561 - 2565

สรุปรายงานผลการดำเนนิ การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561

ลำดบั รายการ โครงการ งบประมาณ โครงการท่ีสามารถดำเนนิ การได้ (117 โครงการ)

คดิ เป็นรอ้ ยละ คดิ เปน็ รอ้ ยละ คดิ เป็นร้อยละ

ของแผนพฒั นา ของแผนการ ของเทศบัญญตั +ิ

ท้องถิ่น ดำเนนิ งาน เงนิ สะสม

๑ บรรจุในแผนพฒั นาทอ้ งถ่ิน 245 535,914,848.00 47.76 80.69 80.69

(พ.ศ. 2561 - 2565)

ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561

๒ ตั้งในเทศบัญญัติงบประมาณ 140 259,705,533.18

๓ จากเงนิ สะสม 5 21,498,700.00

๔ จัดทำแผนการดำเนินงาน 145 281,204,233.18

- เทศบัญญัติ = 140 +

- เงนิ สะสม = 5

๕ สามารถดำเนนิ การได้ 117 243,881,775.62

- เทศบญั ญตั ิ = 112 + (225,870,360.33+

- เงินสะสม = 5 18,011,415.29)

สรุปรายงานผลการดำเนินการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562

ลำดับ รายการ โครงการ งบประมาณ โครงการท่ีสามารถดำเนนิ การได้ 166 โครงการ)

คดิ เป็นร้อยละ คิดเปน็ รอ้ ยละ คิดเปน็ ร้อยละ

ของแผนพัฒนา ของแผนการ ของเทศบัญญตั ิ+

ทอ้ งถิน่ ดำเนนิ งาน เงินสะสม

๑ บรรจุในแผนพัฒนาท้องถน่ิ 316 709,755,008.00 52.53 67.76 67.76

(พ.ศ. 2561 – 2565)

ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562

๒ ตงั้ ในเทศบญั ญตั ิงบประมาณ 244 267,579,404.00

๓ จากเงินสะสม 1 82,630.00

๔ จัดทำแผนการดำเนนิ งาน 245 267,662,034.00

- เทศบัญญัติ = 244 +

- เงินสะสม = 1

๕ สามารถดำเนนิ การได้ 166 196,105,308.46

- เทศบัญญตั ิ = 165 + (196,022,678.46+

- เงนิ สะสม = 1 82,630)

๒๘๘

แผนพฒั นาท้องถ่นิ (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) เทศบาลนครสงขลา

๔.3 สรุปผลการพฒั นาท้องถน่ิ จากแผนพัฒนาท้องถนิ่ พ.ศ. 2561 - 2565 (ตอ่ )

สรุปรายงานผลการดำเนินการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

ลำดบั รายการ โครงการ งบประมาณ โครงการที่สามารถดำเนนิ การได้ (129 โครงการ)

คิดเปน็ ร้อยละ คดิ เปน็ ร้อยละ คดิ เป็นรอ้ ยละ

ของแผนพัฒนา ของแผนการ ของเทศบญั ญตั ิ+

ท้องถ่นิ ดำเนินงาน เงินสะสม

๑ บรรจใุ นแผนพฒั นาทอ้ งถิ่น 226 336,151,481.00 57.08 63.55 63.55

(พ.ศ. 2561 - 2565)

ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

๒ ตงั้ ในเทศบญั ญัติงบประมาณ 180 287,094,035.00

๓ จากเงินสะสม 23 55,240,180.00

๔ จัดทำแผนการดำเนินงาน 203 342,334,215.00

- เทศบญั ญัติ = 180 +

- เงินสะสม = 23

๕ สามารถดำเนนิ การได้ 129 347,224,191.00

- เทศบัญญัติ = 113 + (214,538,156.00+

- เงินสะสม = 16 132,686,035.00)

สรปุ รายงานผลการดำเนนิ การ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ลำดับ รายการ โครงการ งบประมาณ โครงการทส่ี ามารถดำเนินการได้ (50 โครงการ)
คิดเปน็ ร้อยละ คดิ เป็นรอ้ ยละ คดิ เป็นร้อยละ
๑ บรรจใุ นแผนพฒั นาทอ้ งถิน่ 220 ของแผนพัฒนา ของแผนการ ของเทศบญั ญัติ+
(พ.ศ. 2561 - 2565) ทอ้ งถน่ิ ดำเนินงาน เงินสะสม
ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 125
- 542,544,000.00 22.73 40.00 40.00
๒ ตง้ั ในเทศบัญญตั ิงบประมาณ
125 226,092,450.00
๓ จากเงนิ สะสม 30,224,700.00
50 256,317,150.00
๔ จัดทำแผนการดำเนนิ งาน
- เทศบญั ญตั ิ = 123 + 169,736,372.91
- เงนิ สะสม = -

๕ สามารถดำเนนิ การได้
- เทศบัญญตั ิ = 50 +
- เงินสะสม = -

๒๘๙

แผนพัฒนาทอ้ งถิน่ (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) เทศบาลนครสงขลา

๔.3 สรุปผลการพฒั นาทอ้ งถน่ิ จากแผนพฒั นาทอ้ งถนิ่ พ.ศ. 2561 - 2565 (ต่อ)

สรุปรายงานผลการดำเนนิ การ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565

ลำดบั รายการ โครงการ งบประมาณ โครงการทส่ี ามารถดำเนินการได้ (............โครงการ)
318,295,050.00
คดิ เปน็ รอ้ ยละ คดิ เปน็ ร้อยละ คิดเป็นรอ้ ยละ
ของแผนพัฒนา ของแผนการ ของเทศบญั ญตั +ิ

ท้องถ่นิ ดำเนนิ งาน เงินสะสม

๑ บรรจใุ นแผนพฒั นาท้องถิ่น 162
(พ.ศ. 2561 - 2565)
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

๒ ตง้ั ในเทศบัญญัติงบประมาณ

๓ จากเงนิ สะสม

๔ จัดทำแผนการดำเนินงาน
- เทศบัญญตั ิ = .......... +
- เงินสะสม = ..........

๕ สามารถดำเนินการได้
- เทศบัญญตั ิ = ......... +
- เงนิ สะสม = ..........

๒๙๐

แผนพฒั นาทอ้ งถ่ิน (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) เทศบาลนครสงขลา

๔.๔ ขอ้ เสนอแนะในการจัดทำแผนพัฒนาทอ้ งถนิ่ ในอนาคต

(๑) ผลกระทบนำไปสูอ่ นาคต
(๑.๑) การบรรจุโครงการในแผนพัฒนาท้องถิ่น เทศบาลควรพิจารณาถึงความเป็นไปได้

ของจำนวนโครงการให้สอดคล้องกับงบประมาณที่มีอยู่อย่างจำกัด เพื่อให้การจัดสรรงบประมาณเป็นไปอย่าง
คมุ้ คา่ และเกิดประสิทธิภาพสงู สุดไมก่ อ่ ใหเ้ กิดเหตกุ ารณท์ ีจ่ ำนวนโครงการตามแผนพฒั นาทอ้ งถิน่ มากเกินจริง

(๑.๒) สัดส่วนประชาคมของชุมชนระดับนคร ที่กำหนดไว้ตามหนังสือสั่งการกระทรวงมหาดไทยฯ
กำหนดไว้และมีขั้นตอนที่ซับซ้อน และดำเนินการค่อนข้างยุ่งยากในสภาพสังคมเมือง ส่งผลให้การดำเนินงาน
เป็นไปด้วยความยุ่งยากเนื่องจากไม่ได้รับความร่วมมือจากประชาชนครบตามจำนวน และอาจส่งผลให้ไม่ได้
ข้อมูลแนวทางการพฒั นาไดอ้ ย่างแทจ้ ริง

(๒) ข้อสงั เกต ขอ้ เสนอแนะ ผลจากการพฒั นา
(๒.๑) การบรรจุโครงการในแผนพัฒนาท้องถิ่น เทศบาลควรพิจารณาถึงงบประมาณของ

เทศบาลที่มีในแต่ละปี เพื่อให้มีจำนวนโครงการใกล้เคียงกับงบประมาณมากที่สุด และทำให้มีจำนวนโครงการท่ี
ไม่มีงบประมาณจะดำเนินการได้น้อยที่สุด โดยวิเคราะห์ข้อมูลความเป็นไปได้ของโครงการจากปีงบประมาณท่ี
ผา่ นมาเพือ่ ใหก้ ารจัดสรรงบประมาณเปน็ ไปอย่างคมุ้ คา่ และเกดิ ประสิทธภิ าพสงู สดุ

(๒.๒) เทศบาลควรนำแนวทางการประเมินผลโครงการเชิงคุณภาพมาปรับใช้อย่างจริงจัง
เพื่อเป็นข้อมูลในการปรับปรุงการดำเนินการของโครงการ/กิจกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ เกิดความคุ้มค่ากับ
งบประมาณทไี่ ดใ้ ชจ้ ่ายไป

(๒.๓) เร่งการดำเนินโครงการที่ได้รับงบประมาณแล้วให้เป็นไปตามแผนการดำเนินงานของแต่ละปี
เพือ่ ให้เกดิ ประโยชนก์ ับประชาชนในพ้นื ที่และลดการกระจุกตัวของโครงการในช่วงส้ินปีงบประมาณ

ภาคผนวก

คำสงั่ เทศบาลนครสงขลา
ที่ 518/25๖๒

เรือ่ ง แตง่ ต้งั คณะกรรมการพฒั นาเทศบาลนครสงขลา
*******************

ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.
2548 ข้อ 8 และที่แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ ๓) พ.ศ.๒๕๖๑ ข้อ ๕ กำหนดให้ผู้บริหารท้องถ่ินแต่งตั้ง
คณะกรรมการพัฒนาท้องถ่ิน และมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ ๔ ปี โดยมีคณะกรรมการจาก ผู้บริหาร
ทอ้ งถ่ิน สมาชิกสภาเทศบาล ผู้ทรงคุณวุฒิ ผแู้ ทนภาคราชการ/รัฐวิสาหกิจ และ ผแู้ ทนประชาคม นน้ั

ในการนี้ เพื่อให้การปฏิบัติงาน เป็นไปตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทำ
แผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ข้างต้น จึงขอแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาเทศบาลนครสงขลา
ประกอบดว้ ย

1. นายสมศักด์ิ ตนั ติเศรณี นายกเทศมนตรนี ครสงขลา ประธานกรรมการ
กรรมการ
๒. นายไพโรจน์ สวุ รรณจนิ ดา รองนายกเทศมนตรีนครสงขลา กรรมการ
กรรมการ
๓. นายภาสิทธิ์ จันทมณุ ี รองนายกเทศมนตรนี ครสงขลา กรรมการ
กรรมการ
4. นายสมชาย จนั ทรประทิน รองนายกเทศมนตรนี ครสงขลา กรรมการ
กรรมการ
5. นางสาววลยั รัตน์ ตนั ตเิ ศรณี รองนายกเทศมนตรีนครสงขลา กรรมการ
กรรมการ
6. นายประวัติ ดำรหิ อ์ นันต์ สมาชกิ สภาเทศบาลนครสงขลา กรรมการ
กรรมการ
7. นายพิทักษ์ ทองสกุ ใส สมาชิกสภาเทศบาลนครสงขลา กรรมการ

8. นายโกสินทร์ เดชรงุ่ เรอื ง สมาชิกสภาเทศบาลนครสงขลา กรรมการ

9. นายรังษี รตั นปราการ ผูท้ รงคณุ วุฒิ กรรมการ
กรรมการ
10. นายววิ ัฒน์ จติ นวล ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ กรรมการ

11. นายนิพนธ์ หสั ดีวิจติ ร ผทู้ รงคุณวฒุ ิ

12. ธนารักษพ์ ้ืนทีส่ งขลา ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ

13. ผอู้ ำนวยการสำนกั งานทรัพยากร ผทู้ รงคุณวุฒิ

ธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อมจงั หวัด

สงขลา

14. อธกิ ารบดีมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี ผทู้ รงคุณวุฒิ

ราชมงคลศรีวิชยั

15. นายสุขะนนั ท์ โชตพิ านชิ ผู้แทนประชาคม

1๖. นายอทุ ยั พงศส์ มทุ ร ผู้แทนประชาคม

๑๗. นางเสนาะ กลิน่ บปุ ผา ผู้แทนประชาคม

๑๘. นางสมจติ ร ฟุ้งทศธรรม ผ้แู ทนประชาคม กรรมการ
กรรมการ
๑๙. นางสุพิศ สำเภาทอง ผู้แทนประชาคม กรรมการ
กรรมการและเลขานกุ าร
๒๐. นายกมลพนั ธ์ กลุ ฑโร ผู้แทนประชาคม ผู้ช่วยเลขานกุ าร

21. ปลัดเทศบาลนครสงขลา

2๒. ผูอ้ ำนวยการกองวชิ าการและแผนงาน

ให้คณะกรรมการพฒั นาเทศบาลนครสงขลา มีอำนาจหน้าท่ี ดงั นี้

1. กำหนดแนวทางการพฒั นาท้องถ่นิ โดยพิจารณาจาก
1.1 อำนาจหน้าท่ีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยเฉพาะอำนาจหน้าท่ีที่มีผลกระทบต่อ

ประโยชนส์ ุขของประชาชน เชน่ การปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั การผงั เมอื ง
1.2 ภารกิจถา่ ยโอนตามกฎหมายกำหนดแผนและขัน้ ตอนการกระจายอำนาจ
1.3 ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ กลุ่มจังหวัด และจังหวัด โดยให้ เน้นดำเนินการใน

ยุทธศาสตร์ที่สำคัญและมีผลต่อประชาชนโดยตรง เช่น การแก้ไขปัญหาความยากจน การป้องกันและแก้ไข
ปญั หายาเสพตดิ

1.4 กรอบนโยบาย ทศิ ทาง แนวทางการพัฒนาขององค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่นในเขตจังหวดั
1.5 นโยบายของผบู้ ริหารทอ้ งถ่นิ ทแี่ ถลงต่อสภาท้องถน่ิ
1.6 แผนพัฒนาหมู่บ้านหรอื แผนชุมชน
ในการนำประเด็นข้างต้นมาจัดทำแผนพัฒนา ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินคำนึงถึงสถานะ
ทางการคลังของท้องถน่ิ และความจำเป็นเรง่ ดว่ นท่ตี อ้ งดำเนินการ มาประกอบการพจิ ารณาด้วย
2. ร่วมจัดทำร่างแผนพฒั นา เสนอแนะแนวทางการพัฒนา และการแก้ไขปัญหาเก่ียวกับการจัดทำ
ร่างแผนพัฒนา
3. พิจารณาร่างแผนพัฒนาและร่างแผนการดำเนินงาน
4. ให้ความเห็นชอบร่างข้อกำหนดขอบข่ายและรายละเอียดของงาน กรณีที่องค์กรปกครองส่วน
ท้องถ่ินมอบให้หนว่ ยงานหรอื บุคคลภายนอกจัดทำหรอื รว่ มจดั ทำรา่ งแผนพฒั นา
5. พิจารณาใหข้ ้อคดิ เห็นเกีย่ วกับการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา
6. แตง่ ตั้งที่ปรกึ ษา คณะอนุกรรมการหรอื คณะทำงานอน่ื เพอื่ ชว่ ยปฏบิ ตั งิ านตามท่เี หน็ สมควร

ทัง้ นี้ ต้งั แตว่ ันที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๖๒ เปน็ ตน้ ไป

ส่งั ณ วันท่ี 17 เดือนเมษายน พ.ศ. 25๖๒

(นายสมศกั ด์ิ ตนั ตเิ ศรณี)
นายกเทศมนตรีนครสงขลา

คำสงั่ เทศบาลนครสงขลา
ที่ 978/25๖๑

เรือ่ ง แตง่ ตัง้ คณะกรรมการสนบั สนุนการจดั ทำแผนพฒั นาเทศบาลนครสงขลา
*******************

เพ่ือให้การปฏิบัติงาน เป็นไปตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาของ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.๒๕๔๘ แก้ไขเพ่ิมเติม ฉบับที่ ๒ (พ.ศ.๒๕๕๙) จึงแต่งตั้งคณะกรรมการ
สนับสนุนการจดั ทำแผนพฒั นาเทศบาลนครสงขลา ประกอบดว้ ย

๑. ปลดั เทศบาล ประธานกรรมการ

๒. รองปลัดเทศบาล กรรมการ

๓. ผู้อำนวยการสำนักการช่าง กรรมการ

๔. ผูอ้ ำนวยการสำนกั การคลงั กรรมการ

๕. ผอู้ ำนวยการสำนักการศกึ ษา กรรมการ

๖. ผ้อู ำนวยการกองสาธารณสขุ และส่งิ แวดลอ้ ม กรรมการ

๗. หัวหน้าสำนักปลดั เทศบาล กรรมการ

๘. ผอู้ ำนวยการกองสวัสดิการสังคม กรรมการ

๙. ผจู้ ดั การสถานธนานุบาล กรรมการ

๑๐. นายวโิ รจน์ ชยั วรรณวฒุ ิ ผ้แู ทนประชาคม กรรมการ

๑๑. นายทวีศกั ด์ิ กลนิ่ ขจร ผูแ้ ทนประชาคม กรรมการ

๑๒. นายววิ ัฒน์ นวประภากุล ผ้แู ทนประชาคม กรรมการ

๑๓. ผู้อำนวยการกองวชิ าการและแผนงาน กรรมการและเลขานุการ

๑๔. หัวหน้าฝา่ ยแผนงานและงบประมาณ ผู้ช่วยเลขานกุ าร

๑๕. หัวหนา้ งานวิเคราะหน์ โยบายและแผน ผชู้ ่วยเลขานกุ าร

๑๖. นกั วิเคราะห์นโยบายและแผน งานวิเคราะห์นโยบายและแผน ผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร

ให้คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนาเทศบาลนครสงขลา มีหน้าที่จัดทำร่างแผนพัฒนา
ให้สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาที่คณะกรรมการพัฒนาเทศบาลนครสงขลากำหนดจัดทำร่างแผนการ
ดำเนินงาน และจัดทำรา่ งข้อกำหนดขอบข่ายและรายละเอยี ดของงานตามขอ้ 19(1)

ท้งั น้ี ตั้งแตบ่ ดั นี้เปน็ ตน้ ไป
ส่งั ณ วนั ที่ 21 เดือนสงิ หาคม พ.ศ. 25๖๑

(นายสมศกั ดิ์ ตันติเศรณี)
นายกเทศมนตรีนครสงขลา










Click to View FlipBook Version