๔๖
แผนพฒั นาท้องถ่นิ (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา
๒. การประชุมคณะกรรมการพัฒนาเทศบาลนครสงขลา เพื่อจดั ทำแผนพัฒนาเทศบาลนครสงขลาประจำปี
๒๕๖4
เทศบาลนครสงขลา ได้จัดประชมุ คณะกรรมการพัฒนาเทศบาลนครสงขลา เพ่ือกำหนดแนวทางการ
พัฒนาเทศบาล โดยพิจารณาจากอำนาจหน้าที่ของเทศบาลนครสงขลา กรอบนโยบาย ทิศทาง แนวทางการ
พัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัด นโยบายของผู้บริหารที่แถลงต่อสภาท้องถ่ิน และแผน
ชุมชนเพ่ือนำข้อมูลมากำหนดเป็นแนวทางการจัดทำแผนพัฒนาเทศบาลนครสงขลา (พ.ศ. 2566 - 2570)
ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2548
และฉบับเพิ่มเติม โดยประชุมฯ ผ่านระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Google meet ในวันพฤหัสบดีที่ 30 กันยายน 2564
เวลา 13.30 น. ณ ห้องประชุมสารภี 2 ช้ัน 5 เพื่อให้การพัฒนาเทศบาลนครสงขลามีประสิทธิภาพ ตอบสนอง
ต่อปญั หาและความตอ้ งการของประชาชนและสอดคลอ้ งกับสถานการณ์ปจั จุบัน
๔๗
แผนพฒั นาทอ้ งถ่นิ (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา
ส่วนท่ี ๒
ยทุ ธศาสตรอ์ งคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ
48
แผนพัฒนาท้องถน่ิ (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา
ส่วนที่ ๒
ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาเทศบาลนครสงขลา
๑. ความสัมพันธร์ ะหว่างแผนพฒั นาระดับมหภาค
ในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นเทศบาลนครสงขลา พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐ นอกจากการคำนึงถึง
อำนาจหน้าท่ีในการบริหารราชการตามที่กฎหมายกำหนดแล้ว ยังได้คำนึงถึงความสอดคล้องกับแนวทางใน
การพัฒนาประเทศในทุกระดับและการวิเคราะห์ศักยภาพเพื่อประเมินสถานการณ์การพัฒนาของเทศบาล
ในปัจจุบนั ทม่ี ีผลตอ่ การพฒั นาเทศบาลนครสงขลาดว้ ย สรุปไดด้ ังน้ี
1.1 แผนยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐)
1.2 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564)
๑.๓ Thailand ๔.๐
1.4 แผนพฒั นาภาค/แผนพฒั นากลุ่มจังหวดั
๑.๕ แผนพฒั นาจงั หวัดสงขลา (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐)
๑.๖ ยุทธศาสตร์การพฒั นาขององคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจงั หวัดสงขลา (พ.ศ.256๖-25๗๐)
1.1 แผนยุทธศาสตรช์ าติ ๒๐ ปี (๒๕๖๑ - ๒๕๘๐)
โดยที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๖๕ กำหนดให้รัฐพึงจัดให้มียุทธศาสตร์ชาติ
เปน็ เป้าหมายการพฒั นาประเทศอย่างยั่งยืน ตามหลักธรรมาภิบาลเพ่ือใช้เป็นกรอบในการจัดทำแผนต่าง ๆ
ให้สอดคล้องและบูรณาการกนั เพ่อื ให้เกิดเปน็ พลังผลักดันรว่ มกนั ไปสู่เป้าหมายดังกล่าว โดยให้เปน็ ไปตามท่ี
กำหนดในกฎหมายว่าด้วยการจัดทำยทุ ธศาสตรช์ าติ
เน่ืองจากประเทศไทยยังต้องมีการพัฒนาที่สำคัญในหลายมิติ อาทิ มิติเศรษฐกิจท่ีโครงสร้าง
เศรษฐกจิ ยังไม่สามารถขบั เคลอ่ื นด้วยนวตั กรรมอยา่ งเตม็ ที่ การผลิตของภาคบรกิ ารและภาคเกษตรยงั อยู่ใน
ระดับตำ่ คุณภาพและสมรรถนะของแรงงานที่ยังไม่สอดคล้องกับความตอ้ งการในการขับเคล่ือนการพัฒนา
ของประเทศ มิติทางสังคมท่ีการยกระดับรายได้ของประชาชน การแก้ปัญหาด้านความยากจนและความ
เหล่ือมล้ำ การพัฒนาคุณภาพการให้บรกิ ารและการขยายโอกาสในการเข้าถึงระบบบริการสาธารณะยังคงมี
ชอ่ งวา่ งทีส่ ามารถพัฒนาต่อไปได้ มติ สิ ่ิงแวดลอ้ มทีก่ ารฟ้นื ฟแู ละรักษาทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมยัง
เป็นประเด็นสำคัญสำหรับการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน และมิติของการบริหารจัดการภาครัฐที่ยังขาด
ความต่อเน่ืองและความยืดหยุ่นในการตอบสนองความต้องการในการแก้ปัญหาของประชาชน ได้อย่างเต็ม
ประสิทธิภาพ และการพัฒนาประเทศในหลายมิติท่ีสำคัญดังกล่าวข้างต้น ภายใต้เง่ือนไขโครงสร้าง
ประชากร โครงสร้างเศรษฐกิจสภาพสังคม สภาพภูมิอากาศ สิ่งแวดล้อม และปัจจัยการพัฒนาต่าง ๆ ที่
เกีย่ วข้องนั้นส่งผลให้ประเทศไทยต้องมีการวางแผนการพฒั นาที่รอบคอบและครอบคลุม โดยหลายประเด็น
การพฒั นาเปน็ เรอื่ งทตี่ ้องใช้ระยะเวลาในการดำเนินงานเพือ่ ให้เกิดการปรบั ตัว ซึ่งจะต้องหยง่ั รากลึกลงไปถึง
การเปล่ียนแปลงในเชิงโครงสร้างการขับเคล่ือนการพัฒนาให้ประเทศเจริญก้าวหน้าไปในอนาคต
49
แผนพัฒนาทอ้ งถ่ิน (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา
จึงจำเป็นต้องกำหนดวิสัยทัศน์ในระยะยาวท่ีต้องบรรลุ พร้อมทั้งแนวยุทธศาสตร์หลักในด้านต่าง ๆ เพื่อเป็นกรอบ
ในการขับเคล่ือนการพัฒนาอย่างบูรณาการบนพ้ืนฐานประชารัฐเพ่ือยกระดับจุดแข็งและจุดเด่นของ
ประเทศ และปรับปรุงแก้ไขจุดอ่อนและจุดด้อยต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ โดยยุทธศาสตร์ชาติจะเป็นเป้าหมายใหญ่
ในการขับเคลอื่ นประเทศ และถา่ ยทอดไปสู่แผนในระดับอ่นื ๆ เพ่อื นำไปสกู่ ารปฏิบัติทั้งในระดับยุทธศาสตร์
ภารกิจ และพ้ืนที่ ซึ่งรวมถึงพ้ืนท่ีพิเศษต่าง ๆ เพื่อให้การพัฒนาประเทศสามารถดำเนินการได้อย่างม่ันคง
มง่ั ค่ัง และย่งั ยนื
ความเชือ่ มโยงของยทุ ธศาสตร์ชาตกิ บั แผนในระดบั ต่าง ๆ
ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี
แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ นโยบายความม่ันคงแหง่ ชาติ แผนงบประมาณเชิงบูรณาการ
แผนแมบ่ ทยทุ ธศาสตร์เฉพาะ
อาทิ แผนปฏิรูป FUNCTION AAGGEENNDDAA AREA
แผนพัฒนาโครงสรา้ งพน้ื ฐาน/
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมดจิ ิทัล/ นโยบายรัฐบาล
สง่ิ แวดลอ้ ม/การศกึ ษา/สาธารณสุข/ แผนบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ
วัฒนธรรม/การทอ่ งเที่ยว
แผนปฏิบตั ิการกระทรวง/กรม/หนว่ ยปฏบิ ตั ิ แผนพฒั นากลมุ่ จงั หวดั /จงั หวดั
วสิ ัยทัศน์ประเทศ
“ประเทศไทยมีความม่ันคง ม่ังค่ัง ย่ังยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” หรือเป็นคติพจน์ประจำชาติว่า “ม่ันคง ม่ังค่ัง ยั่งยืน” เพ่ือสนองตอบต่อ
ผลประโยชน์แห่งชาติ อนั ได้แก่ การมีเอกราช อธิปไตย การดำรงอยู่อย่างม่ันคง และย่ังยืนของสถาบันหลัก
ของชาติและประชาชนจากภัยคุกคามทุกรูปแบบ การอยู่ร่วมกันในชาติอย่างสันติสุขเป็นปึกแผ่น มีความ
ม่ันคงทางสังคมท่ามกลางพหุสังคมและการมีเกียรติและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ ความเจริญเติบโตของ
ชาติ ความเป็นธรรมและความอยู่ดีมีสุขของประชาชน ความยั่งยืนของฐานทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม
ความม่นั คงทางพลังงานและอาหาร ความสามารถในการรักษาผลประโยชนข์ องชาติภายใตก้ ารเปลีย่ นแปลง
ของสภาวะแวดล้อมระหว่างประเทศ และการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ ประสานสอดคล้องกันด้านความมั่นคง
ในประชาคมอาเซียนและประชาคมโลกอยา่ งมีเกียรติและศักด์ิศรี
50
แผนพฒั นาทอ้ งถิน่ (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา
ความมั่นคง หมายถึง การมีความม่ันคงปลอดภัยจากภัยและการเปล่ียนแปลงท้ัง
ภายในประเทศและภายนอกประเทศในทุกระดับ ท้ังระดับประเทศ สังคม ชุมชน ครัวเรือน และปัจเจก
บุคคล และมีความมั่นคงในทุกมิติ ท้ังมิติทางการทหาร เศรษฐกิจ สังคม ส่ิงแวดล้อม และการเมือง เช่น
ประเทศมีความมั่นคงในเอกราชและอธิปไตย มีการปกครองระบบประชาธิปไตยท่ีมีพระมหากษัตริย์ทรง
เป็นประมุข สถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ มีความเข้มแข็งเป็นศูนย์กลางและเป็นท่ียึดเหน่ียวจิตใจ
ของประชาชน มีระบบการเมืองที่ม่ันคงเป็นกลไกท่ีนำไปสู่การบริหารประเทศที่ต่อเน่ืองและโปร่งใสตาม
หลักธรรมาภิบาล สังคมมีความปรองดองและความสามัคคี สามารถผนึกกำลังเพื่อพัฒนาประเทศ ชุมชนมี
ความเข้มแข็ง ครอบครัวมีความอบอุน่ ประชาชนมีความมั่นคงในชีวิต มีงานและรายได้ที่ม่ันคงพอเพียงกับ
การดำรงชวี ิต มีการออมสำหรับวยั เกษียณ ความมั่นคงของอาหาร พลังงาน และน้ำ มที ่ีอยอู่ าศยั และความ
ปลอดภยั ในชวี ิตทรพั ยส์ นิ
ความมงั่ ค่ัง หมายถึง ประเทศไทยมีการขยายตัวของเศรษฐกจิ อยา่ งต่อเนอื่ งและมีความยัง่ ยืน
จนเข้าสู่กลุ่มประเทศรายได้สูง ความเหล่ือมล้ำของการพัฒนาลดลง ประชากรมีความอยู่ดีมีสุข ได้รับ
ผลประโยชน์จากการพัฒนาอย่างเท่าเทียมกันมากขึ้น และมีการพัฒนาอย่างท่ัวถึงทุกภาคส่วน มีคุณภาพ
ชีวิตตามมาตรฐานขององค์การสหประชาชาติ ไม่มีประชาชนที่อยู่ในภาวะความยากจน เศรษฐกิจใน
ประเทศมีความเข้มแข็ง ขณะเดียวกันต้องมีความสามารถในการแข่งขันกับประเทศต่าง ๆ ท้ังในตลาดโลก
และตลาดภายในประเทศ เพ่ือให้สามารถสร้างรายได้ทั้งจากภายในและภายนอกประเทศ ตลอดจนมีการ
สร้างฐานเศรษฐกิจและสังคมแห่งอนาคตเพ่ือให้สอดรับกับบริบทการพฒั นาท่ีเปล่ียนแปลงไป และประเทศ
ไทยมีบทบาทท่ีสำคัญในเวทีโลก และมีความสัมพนั ธ์ทางเศรษฐกิจและการค้าอย่างแน่นแฟ้นกับประเทศใน
ภูมิภาคเอเชีย เป็นจุดสำคัญของการเชื่อมโยงในภูมิภาค ท้ังการคมนาคมขนส่ง การผลิต การค้า การลงทุน
และการทำธุรกิจ เพ่ือให้เป็นพลังในการพัฒนา นอกจากนี้ยังมีความสมบูรณ์ในทุนที่จะสามารถสร้างการพัฒนา
ต่อเน่ืองไปได้ ได้แก่ ทุนมนุษย์ ทุนทางปัญญา ทุนทางการเงิน ทุนที่เป็นเคร่ืองมือ เคร่ืองจักร ทุนทางสังคม
และทุนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม
ความย่ังยืน หมายถึง การพัฒนาที่สามารถสร้างความเจริญ รายได้ และคุณภาพชีวิตของ
ประชาชนให้เพ่ิมขึ้นอย่างต่อเน่ือง ซ่ึงเป็นการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจที่อยู่บนหลักการใช้ การรักษาและ
การฟ้ืนฟูฐานทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน ไม่ใช้ทรัพยากรธรรมชาติจนเกินพอดี ไม่สร้างมลภาวะ
ต่อสิ่งแวดล้อมจนเกินความสามารถในการรองรับและเยียวยาของระบบนิเวศ การผลิตและการบริโภคเป็นมิตร
กับสิ่งแวดล้อมและสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาท่ียั่งยืน ทรัพยากรธรรมชาติมีความอุดมสมบูรณ์มากขึ้น
และส่ิงแวดล้อมมีคุณภาพดีข้ึน คนมีความรับผิดชอบต่อสังคม มีความเอื้ออาทร เสียสละเพื่อผลประโยชน์
ส่วนรวม รัฐบาลมีนโยบายท่ีมุ่งประโยชน์ส่วนรวมอย่างย่ังยืน และให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของ
ประชาชน และทุกภาคส่วนในสังคมยึดถือและปฏบิ ัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนา
อย่างสมดุลมเี สถยี รภาพและยง่ั ยืน
51
แผนพัฒนาท้องถน่ิ (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา
ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาประเทศ ประกอบด้วย 6 ยทุ ธศาสตร์ดงั นี้
1. ยุทธศาสตร์ด้านความมน่ั คง
2. ยทุ ธศาสตรด์ ้านการสรา้ งความสามารถในการแข่งขนั
3. ยุทธศาสตร์การพฒั นาและเสริมสร้างศักยภาพคน
4. ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเทา่ เทยี มกนั ทางสังคม
5. ยทุ ธศาสตร์การเติบโตบนคณุ ภาพชวี ิตทีเ่ ป็นมติ รกับส่งิ แวดล้อม
6. ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการปรบั สมดลุ และการพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การภาครฐั
1. ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง มีเป้าหมายท้ังในการสร้างเสถียรภาพภายในประเทศและ
ชว่ ยลดและป้องกันภยั คุกคามจากภายนอก รวมทงั้ สรา้ งความเช่อื ม่ันในกลุ่มประเทศอาเซียนและประชาคม
โลกทีม่ ีตอ่ ประเทศไทย จึงมีกรอบแนวทางทีต่ ้องใหค้ วามสำคัญ ดังน้ี
(๑) การเสริมสรา้ งความมั่นคงของสถาบันหลักและการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมี
พระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมุข
(๒) การปฏิรูปกลไกการบริหารประเทศและพัฒนาความมั่นคงทางการเมือง ขจัด
คอร์รัปชนั่ สรา้ งความเชอื่ มัน่ ในกระบวนการยตุ ิธรรม
(๓) การรักษาความมั่นคงภายในและความสงบเรียบร้อยภายใน ตลอดจนการบริหาร
จัดการความม่นั คงชายแดนและชายฝ่ังทะเล
(๔) การพัฒนาระบบ กลไก มาตรการและความร่วมมือระหว่างประเทศทุกระดับ และ
รกั ษาดุลยภาพความสัมพนั ธ์กบั ประเทศมหาอำนาจ เพอื่ ป้องกนั และแกไ้ ขปญั หาความม่ันคงรูปแบบใหม่
52
แผนพัฒนาท้องถน่ิ (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา
(๕) การพัฒนาเสริมสร้างศักยภาพการผนึกกำลังป้องกันประเทศ การรักษาความสงบ
เรียบรอ้ ยภายในประเทศ สรา้ งความร่วมมอื กับประเทศเพือ่ นบ้านและมิตรประเทศ
(๖) การพัฒนาระบบการเตรียมพร้อมแห่งชาติและระบบบริหารจัดการภัยพิบัติ รักษา
ความม่นั คงของฐานทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดลอ้ ม
(๗) การปรับกระบวนการทำงานของกลไกที่เก่ยี วขอ้ งจากแนวด่งิ สแู่ นวระนาบมากขึน้
๒. ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน เพ่ือให้ประเทศไทยสามารถ
พัฒนาไปสู่การเป็นประเทศพัฒนาแล้ว ซ่ึงจำเป็นต้องยกระดับการผลิตและการใช้นวัตกรรม ในการเพ่ิม
ความสามารถในการแข่งขันและการพัฒนาอย่างย่ังยืนทั้งในสาขาอุตสาหกรรม เกษตรและบรกิ าร การสร้าง
ความมน่ั คงและปลอดภยั ด้านอาหาร การเพิ่มขดี ความสามารถทางการค้าและการเปน็ ผปู้ ระกอบการ กรอบ
แนวทางทตี่ อ้ งใหค้ วามสำคัญ อาทิ
(๑) การพัฒนาสมรรถนะทางเศรษฐกิจ ได้แก่ การรักษาเสถียรภาพเศรษฐกิจและสร้าง
ความเชื่อม่ัน การส่งเสริมการค้าและการลงทุนท่ีอยู่บนการแข่งขันท่ีเป็นธรรมและรับผิดชอบต่อสังคม
ตลอดจนการพัฒนาประเทศสคู่ วามเป็นชาติการค้าเพ่ือให้ได้ประโยชนจ์ ากหว่ งโซม่ ูลค่าในภูมภิ าค
(๒) การพัฒนาภาคการผลิตและบริการ บนฐานของการพัฒนานวัตกรรม และมีความ
เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยมีการใช้ดิจิทัลและการค้าท่ีเข้มข้นเพ่ือสร้างมูลค่าเพิ่มและขยายกิจกรรมการผลิต
และบริการ โดยมงุ่ ส่คู วามเป็นเลิศในระดบั โลกและในระดับภูมภิ าคในอุตสาหกรรมหลายสาขา
- ภาคเกษตร โดยเสริมสรา้ งฐานการผลิตใหเ้ ข้มแขง็ และยงั่ ยืน เพิ่มขดี ความสามารถในการ
แข่งขันของภาคเกษตร ส่งเสริมเกษตรกรรายย่อยให้ปรับไปสู่การทำการเกษตรยั่งยืนท่ีเป็นมิตรกับ
ส่ิงแวดล้อมและรวมกลุ่มเกษตรกรในการพัฒนาอาชีพที่เข้มแข็ง และการพัฒนาสินค้าเกษตรท่ีมีศักยภาพ
และอาหารคุณภาพ สะอาด และปลอดภัย
- ภาคอุตสาหกรรม โดยพัฒนาอุตสาหกรรมศักยภาพ ยกระดับการพัฒนาอุตสาหกรรม
ปัจจุบันท่ีมีศักยภาพสูง และพัฒนาอุตสาหกรรมอนาคตที่มีศักยภาพ โดยการใช้ดิจิทัลและการค้ามาเพิ่ม
มลู คา่ และยกระดบั ห่วงโซม่ ลู คา่ ในระดบั สงู ข้ึน
- ภาคบริการ โดยขยายฐานการบริการให้มีความหลากหลาย มีความเป็นเลิศและเป็นมิตร
ตอ่ สิ่งแวดล้อม โดยการยกระดบั บริการที่เป็นฐานรายได้เดิม เช่น การท่องเท่ียว และพัฒนาให้ประเทศไทย
เป็นศูนย์กลางการใหบ้ ริการสุขภาพ ธรุ กจิ บริการดา้ นการเงนิ และธรุ กิจบรกิ ารท่ีมศี ักยภาพอ่นื ๆ เป็นตน้
(๓) การพัฒนาผู้ประกอบการและเศรษฐกิจชุมชน พัฒนาทักษะผู้ประกอบการ ยกระดับ
ผลิตภาพแรงงานและพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) สู่สากล และพัฒนาวิสาหกิจชุมชน
และสถาบันเกษตรกร
(๔) การพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษและเมืองพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน และ
พัฒนาระบบเมืองศูนย์กลางความเจริญ จัดระบบผังเมืองที่มีประสิทธิภาพและมีส่วนร่วม มีการจัดการ
สิ่งแวดลอ้ มเมอื ง และโครงสรา้ งพนื้ ฐานทางสังคมและเศรษฐกจิ ทีส่ อดคล้องกบั ศกั ยภาพ
(๕) การลงทุนพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน ในด้านการขนส่ง ด้านพลังงาน ระบบเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสือ่ สารและการวจิ ัยและพฒั นา
53
แผนพฒั นาท้องถน่ิ (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา
(๖) การเช่ือมโยงกับภูมิภาคและเศรษฐกิจโลกสร้างความเป็นหุ้นส่วนการพัฒนากับ
นานาประเทศ ส่งเสริมความร่วมมือกับนานาชาติในการสร้างความมั่นคงด้านต่าง ๆ เพ่ิมบทบาทของไทยใน
องคก์ รระหวา่ งประเทศ รวมถงึ สรา้ งองคค์ วามรดู้ า้ นการต่างประเทศ
๓. ยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน เพื่อพัฒนาคนและสังคมไทยให้เป็น
รากฐานที่แข็งแกร่งของประเทศมีความพร้อมทางกาย ใจ สติปัญญา มีความเป็นสากล มีทักษะการคิด
วิเคราะห์อย่างมีเหตุผล มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย มีคุณธรรมจริยธรรม รู้คุณค่าความเป็นไทย มี
ครอบครวั ทีม่ น่ั คง กรอบแนวทางทีต่ ้องให้ความสำคัญ อาทิ
(๑) การพัฒนาศกั ยภาพคนตลอดช่วงชีวิตใหส้ นบั สนุนการเจริญเติบโตของประเทศ
(๒) การยกระดบั คณุ ภาพการศึกษาและการเรียนร้ใู หม้ คี ณุ ภาพ เทา่ เทียม และทวั่ ถงึ
(๓) การปลูกฝังระเบียบวินยั คณุ ธรรม จริยธรรมค่านิยมที่พึงประสงค์
(๔) การสร้างเสริมใหค้ นมีสขุ ภาวะทดี่ ี
(๕) การสร้างความอยู่ดมี ีสุขของครอบครัวไทยเสริมสร้างบทบาทของสถาบันครอบครัวใน
การบม่ เพาะจติ ใจใหเ้ ขม้ แขง็
๔. ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม เพ่ือเร่งกระจาย
โอกาสการพัฒนาและสร้างความม่ันคงให้ทั่วถึง ลดความเหล่ือมล้ำไปสู่สังคมท่ีเสมอภาคและเป็นธรรม
กรอบแนวทางท่ีต้องใหค้ วามสำคัญ อาทิ
(๑) การสรา้ งความมัน่ คงและการลดความเหล่อื มล้ำทางด้านเศรษฐกิจและสังคม
(๒) การพัฒนาระบบบริการและระบบบริหารจัดการสุขภาพ
(๓) การสร้างสภาพแวดลอ้ มและนวัตกรรมทเ่ี ออื้ ตอ่ การดำรงชีวติ ในสังคมสงู วยั
(๔) การสร้างความเข้มแข็งของสถาบันทางสงั คมทุนทางวฒั นธรรมและความเขม้ แขง็ ของชุมชน
(๕) การพัฒนาการส่อื สารมวลชนใหเ้ ป็นกลไกในการสนบั สนนุ การพัฒนา
๕. ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เพ่ือเร่ง
อนุรักษ์ฟื้นฟูและสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติ และมีความม่ันคงด้านน้ำ รวมท้ังมี
ความสามารถในการป้องกันผลกระทบและปรับตัวต่อการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติ
ธรรมชาติ และพัฒนามงุ่ สูก่ ารเปน็ สงั คมสีเขียว กรอบแนวทางที่ตอ้ งใหค้ วามสำคัญ อาทิ
(๑) การจัดระบบอนรุ กั ษ์ ฟืน้ ฟูและป้องกันการทำลายทรพั ยากรธรรมชาติ
(๒) การวางระบบบริหารจัดการน้ำ ให้มีประสิทธิภาพทั้ง ๒๕ ลุ่มน้ำ เน้นการปรับระบบ
การบริหารจดั การอทุ กภัยอยา่ งบรู ณาการ
(๓) การพัฒนาและใช้พลงั งานทีเ่ ปน็ มิตรกบั สิง่ แวดล้อม
(๔) การพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชงิ นเิ วศและเมืองที่เป็นมติ รกบั สิ่งแวดล้อม
(๕) การรว่ มลดปญั หาโลกร้อนและปรบั ตัวใหพ้ ร้อมกับการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ
(๖) การใชเ้ ครือ่ งมือทางเศรษฐศาสตรแ์ ละนโยบายการคลงั เพื่อสง่ิ แวดล้อม
54
แผนพัฒนาท้องถนิ่ (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา
๖. ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ เพื่อให้
หน่วยงานภาครัฐมีขนาดท่ีเหมาะสมกับบทบาทภารกิจ มีสมรรถนะสูง มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
กระจายบทบาทภารกิจไปสทู่ อ้ งถิ่นอย่างเหมาะสม มีธรรมาภบิ าล กรอบแนวทางทีต่ ้องใหค้ วามสำคัญ อาทิ
(๑) การปรับปรุงโครงสร้าง บทบาท ภารกิจของหน่วยงานภาครฐั ให้มีขนาดทเ่ี หมาะสม
(๒) การวางระบบบรหิ ารราชการแบบบูรณาการ
(๓) การพัฒนาระบบบรหิ ารจัดการกำลังคนและพัฒนาบุคลากรภาครฐั
(๔) การตอ่ ตา้ นการทจุ ริตและประพฤติมิชอบ
(๕) การปรบั ปรงุ กฎหมายและระเบียบตา่ ง ๆ ให้ทันสมยั เปน็ ธรรมและเปน็ สากล
(๖) การพัฒนาระบบการใหบ้ รกิ ารประชาชนของหน่วยงานภาครฐั
(๗) การปรับปรุงการบริหารจัดการรายไดแ้ ละรายจา่ ยของภาครฐั
1.2 แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564)
แนวทางการกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ประกอบด้วย
10 ยทุ ธศาสตร์หลัก ดังน้ี
1. ยทุ ธศาสตรก์ ารเสรมิ สรา้ งและพัฒนาศกั ยภาพทุนมนษุ ย์
1.1 ปรับเปล่ียนค่านิยมคนไทยให้มีคุณธรรม จริยธรรม มีวินัย จิตสาธารณะ และพฤติกรรม
ท่ีพงึ ประสงค์
1.2 พฒั นาศักยภาพคน ใหม้ ีทกั ษะความร้แู ละความสามารถในการดำรงชวี ิตอย่างมีคณุ คา่
1.3 ยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษาและการเรียนรตู้ ลอดชวี ติ
1.4 ลดปัจจัยเส่ียงดา้ นสุขภาพและให้ทุกภาคส่วนคำนึงถึงผลกระทบต่อสขุ ภาพ
1.5 เพมิ่ ประสิทธภิ าพการบรหิ ารจัดการและลดค่าใชจ้ ่ายในระบบสุขภาพภาครฐั
1.6 พฒั นาระบบการดแู ลและสรา้ งสภาพแวดลอ้ มที่เหมาะสมกบั สงั คมสูงวัย
1.7 ผลักดันใหส้ ถาบันทางสังคมมีส่วนร่วมพฒั นาประเทศอยา่ งเขม้ แขง็
2. ยทุ ธศาสตรก์ ารสร้างความเปน็ ธรรมลดความเหลื่อมลำ้ ในสังคม
2.1 การเพ่ิมโอกาสให้กับกลุ่มเป้าหมายประชากรร้อยละ 40 ท่ีมีรายไดต้ ่ำสุดให้สามารถ
เข้าถงึ บรกิ ารทมี่ ีคุณภาพของรัฐ และมีอาชีพ
2.2 การกระจายการให้บริการภาครัฐท้ังด้านการศึกษา สาธารณสุข และสวัสดิการที่มี
คุณภาพให้ครอบคลุมและท่ัวถึง
2.3 การเสริมสรา้ งศักยภาพชุมชน การพัฒนาเศรษฐกิจชมุ ชนและการสร้างความเข้มแข็ง
การเงินฐานรากตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อให้ชุมชนสามารถพ่ึงพาตนเองได้ มีสิทธิในการ
จดั การทุน ที่ดนิ และทรัพยากรภายในชุมชน
3. ยุทธศาสตรก์ ารสรา้ งความเข้มแขง็ ทางเศรษฐกจิ และแข่งขนั ได้
3.1 การบรหิ ารจัดการเศรษฐกจิ ส่วนรวม
3.2 การเสรมิ สร้างและพฒั นาขีดความสามารถในการแข่งขนั ของภาคการผลิตและบรกิ าร
55
แผนพัฒนาท้องถ่ิน (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา
4. ยุทธศาสตรด์ า้ นการเติบโตทเี่ ปน็ มิตรกับสงิ่ แวดลอ้ มเพอื่ การพัฒนาอยา่ งยั่งยืน
4.1 การรกั ษาฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ สรา้ งสมดลุ ของการอนรุ ักษแ์ ละใช้ประโยชน์อย่าง
ย่ังยนื และเป็นธรรม
4.2 เพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำเพ่ือให้เกิดความมั่นคง สมดุล และย่ังยืน
4.3 แกไ้ ขปญั หาวิกฤตสงิ่ แวดลอ้ ม
4.4 สง่ เสรมิ การผลติ และการบริโภคท่เี ปน็ มติ รกับสงิ่ แวดลอ้ ม
4.5 สนับสนุนการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และเพิ่มขีดความสามารถในการปรับตัว
ตอ่ การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ
4.6 บรหิ ารจัดการเพื่อลดความเสี่ยงด้านภัยพิบัติ
4.7 พัฒนาระบบการบริหารจัดการและกลไกแก้ไขปัญหาความขัดแย้งด้านทรัพยากรธรรมชาติ
และส่ิงแวดล้อม
4.8 การพัฒนาความร่วมมือด้านส่ิงแวดลอ้ มระหว่างประเทศ
5. ยุทธศาสตร์ด้านความม่นั คง
5.1 การรักษาความมั่นคงภายในเพ่ือให้เกิดความสงบในสังคมและธำรงไว้ซึ่งสถาบันหลักของชาติ
5.2 การพัฒนาเสริมสร้างศักยภาพการป้องกันประเทศ เพ่ือเตรียมความพร้อมในการ
รบั มือภัยคกุ คามทัง้ การทหารและภยั คกุ คามอืน่ ๆ
5.3 การส่งเสริมความร่วมมือกับต่างประเทศด้านความม่ันคง เพ่ือบูรณาการความร่วมมือ
กับมติ รประเทศเพอื่ ผลประโยชน์ทางเศรษฐกจิ สังคม และการปอ้ งกนั ภัยคกุ คามข้ามชาติ
5.4 การรักษาความม่ันคงและผลประโยชน์ของชาติทางทะเลเพ่ือคงไว้ซ่ึงประโยชน์
ทางเศรษฐกิจ สังคม และความม่ันคงของชาติเหนืออาณาเขตทางทะเล
5.5 การบริหารจัดการความมั่นคงเพ่ือการพัฒนา เพื่อให้เกิดความสอดคล้องกันระหว่าง
แผนงานท่ีเกยี่ วขอ้ งกบั ความม่ันคง การพฒั นาภายใต้การมีสว่ นร่วมของภาคประชาชน
6. ยุทธศาสตร์ด้านการเพ่มิ ประสิทธภิ าพและธรรมาภิบาลในภาครฐั
6.1 ปรับปรุงโครงสร้างหน่วยงาน บทบาท ภารกิจ และคุณภาพบุคลากรภาครัฐ ให้มีความ
โปรง่ ใส ทันสมัย คล่องตวั มีขนาดทเ่ี หมาะสม เกดิ ความคมุ้ ค่า
6.2 ปรับปรุงกระบวนการงบประมาณ และสร้างกลไกในการติดตามตรวจสอบการเงิน
การคลังภาครฐั
6.3 เพ่ิมประสิทธิภาพและยกระดบั การให้บรกิ ารสาธารณะใหไ้ ด้มาตรฐานสากล
6.4 เพิม่ ประสทิ ธภิ าพการบริหารจดั การให้แกอ่ งค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ
6.5 ปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ รติ และประพฤตมิ ิชอบ
6.6 ปฏิรูปกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมให้มีความทันสมัย เป็นธรรม และสอดคล้อง
กบั ขอ้ บงั คับสากลหรือข้อตกลงระหว่างประเทศ
7. ยุทธศาสตร์ด้านการพฒั นาโครงสรา้ งพ้นื ฐานและระบบโลจสิ ตกิ ส์
7.1 การพัฒนาโครงสรา้ งพนื้ ฐานด้านคมนาคมขนส่ง
56
แผนพฒั นาท้องถ่ิน (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา
7.2 การสนับสนนุ การพฒั นาระบบขนส่ง
7.3 การพัฒนาระบบโลจสิ ตกิ ส์
7.4 การพฒั นาด้านพลังงาน
7.5 การพฒั นาเศรษฐกิจดิจทิ ลั
7.6 การพัฒนาระบบนำ้ ประปา
เชงิ สงั คม 8. ยุทธศาสตร์ดา้ นวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจยั และนวตั กรรม
8.1 เร่งส่งเสริมการลงทุนวจิ ัยและพฒั นาและผลักดันสู่การใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์และ
8.2 พัฒนาผู้ประกอบการให้เป็นผู้ประกอบการทางเทคโนโลยี (Technopreneur)
8.3 พฒั นาสภาวะแวดลอ้ มของการพัฒนาวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วจิ ัย และนวัตกรรม
9. ยทุ ธศาสตร์การพัฒนาภาค เมือง และพ้ืนท่ีเศรษฐกิจ
9.1 การพัฒนาภาคเพื่อสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจให้กระจายตัวอย่างท่ัวถึง การพัฒนาเมือง การ
พัฒนาพ้นื ทีเ่ ศรษฐกจิ
10. ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการต่างประเทศ ประเทศเพอื่ นบ้านและภมู ภิ าค
10.1 พัฒนาความเช่ือมโยงด้านการคมนาคมขนส่ง โลจิสติกส์ และโทรคมนาคมใน
กรอบความร่วมมืออนุภูมิภาคภายใต้แผนงาน GMS, ACMECS, IMT-GT, BIMSTEC และ JDS และภมู ิภาค
อาเซียนเพื่ออำนวยความสะดวกและลดต้นทุนด้านโลจิสติกส์ พัฒนาและส่งเสริมให้ไทยเป็นฐานของการ
ประกอบธรุ กิจการบรกิ าร และการลงทุนทโ่ี ดดเดน่ ในภมู ิภาค
- การส่งเสริมการลงทุนไทยในต่างประเทศ (Outward investment) ของผู้ประกอบการไทย
- เปิดประตกู ารค้าและพัฒนาความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านในลักษณะหุ้นส่วนทาง
ยุทธศาสตร์ท้ังในระดับอนุภูมิภาค และภมู ิภาคทม่ี คี วามเสมอภาคกัน
- การสร้างความเป็นหุน้ ส่วนการพัฒนากับประเทศในอนุภมู ภิ าค ภูมิภาค และนานาประเทศ
- บรู ณาการภารกจิ ด้านความร่วมมอื ระหว่างประเทศและด้านการต่างประเทศ
- การเข้าร่วมเป็นภาคีความร่วมมือระหว่างประเทศระหว่างภูมิภาค โดยมีบทบาท
ที่สร้างสรรค์เพื่อเป็นทางเลือกในการดำเนินนโยบายระหว่างประเทศในเวทีโลก เพ่ือรักษาสมดุลใน
ปฏิสมั พนั ธร์ ะหว่างไทยและมหาอำนาจต่าง ๆ ทั้งในระดบั โลกและภูมภิ าค
- ส่งเสรมิ ความร่วมมอื กับภมู ิภาคและนานาชาตใิ นการสร้างความม่ันคง
๑.๓ Thailand ๔.๐
ไทยแลนด์ 4.0 หรือ ประเทศไทยยุค 4.0 เป็นวสิ ัยทัศน์เชิงนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจของ
ประเทศไทย หรือ โมเดลพัฒนาเศรษฐกิจของรัฐบาลภายใต้การนำของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา
นายกรัฐมนตรีและหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ท่ีเข้ามาบริหารประเทศบนวิสัยทัศน์ท่ีว่า
“ม่ันคง มั่งค่ัง และย่ังยืน” ที่มีภารกิจสำคัญในการขับเคล่ือนปฏิรูปประเทศด้านต่าง ๆ เพื่อปรับแก้
จัดระบบ ปรับทิศทาง และสร้างหนทางพัฒนาประเทศให้เจริญ สามารถรับมือกับโอกาสและภัยคุกคาม
57
แผนพัฒนาทอ้ งถนิ่ (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา
แบบใหม่ ๆ ที่เปล่ียนแปลงอย่างเร็ว รุนแรงในศตวรรษที่ 21โดยต้องการปรับเปล่ียนโครงสร้างเศรษฐกิจ ไปสู่
“Value - Based Economy” หรือ “เศรษฐกิจที่ขับเคล่ือนด้วยนวัตกรรม” โดยมีฐานคิดหลัก คือ เปล่ียน
จากการผลิตสินค้า “โภคภัณฑ์” ไปสู่สินค้าเชิง “นวัตกรรม” เปลี่ยนจากการขับเคลื่อนประเทศด้วย
ภาคอตุ สาหกรรม ไปสกู่ ารขับเคลอื่ นด้วยเทคโนโลยี ความคดิ สร้างสรรค์ และนวัตกรรม และเปลีย่ นจากการ
เนน้ ภาคการผลติ สนิ คา้ ไปสกู่ ารเนน้ ภาคบรกิ ารมากข้ึน
ไทยแลนด์ ๔.๐ จึงเป็นการเปลย่ี นผ่านท้ังระบบใน ๔ องคป์ ระกอบสำคัญ คือ
๑. เปลี่ยนจากการเกษตรแบบดง้ั เดมิ (Traditional Farming) ในปจั จุบนั ไปสู่การเกษตรสมัยใหม่
ท่ีเน้นการบริหารจัดการและเทคโนโลยี (Smart Farming) โดยเกษตรกรต้องร่ำรวยข้ึน และเป็นเกษตรกร
แบบเป็นผู้ประกอบการ (Entrepreneur)
๒. เปล่ียนจาก Traditional SMEs หรือ SMEs ท่ีมีอยู่ ที่รัฐต้องให้ความช่วยเหลืออยู่ตลอดเวลา
ไปสูก่ ารเปน็ Smart Enterprises และ Startups ทีม่ ศี กั ยภาพสูง
๓. เปล่ียนจาก Traditional Services ซ่ึงมีการสร้างมูลค่าค่อนข้างต่ำไปสู่ High Value
Services
๔. เปล่ียนจากแรงงานทักษะต่ำไปสู่แรงงานที่มีความรู้ ความเช่ียวชาญ และทักษะสูง
ขับเคล่อื นเศรษฐกจิ ด้วยนวตั กรรม
1.4 แผนพัฒนาภาค/แผนพฒั นากลุ่มจังหวัด
๑. แผนพัฒนาภาคใต้ พ.ศ. 2560 - 2565 (ฉบับทบทวน)
เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ “ภาคใต้เป็นเมืองท่องเที่ยวพักผ่อนตากอากาศระดับโลก
เป็นศูนย์กลางผลิตภัณฑ์ยางพาราและปาล์มน้ำมันของประเทศ และเมืองเศรษฐกิจเชื่อมโยงการค้าการลงทุน
กบั ภมู ิภาคอ่ืนของโลก”
ยุทธศาสตร์การพฒั นา
ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 พฒั นาการท่องเทีย่ วของภาคใต้เปน็ แหล่งท่องเท่ียวคณุ ภาพชั้นนำของโลก
ยุทธศาสตร์ท่ี 2 พัฒนาอุตสาหกรรมการแปรรูปยางพาราและปาล์มน้ำมันแห่งใหม่ของ
ประเทศ
ยุทธศาสตร์ท่ี 3 พัฒนาการผลิตสินค้าเกษตรหลักของภาคและสร้างความเข้มแข็งสถาบัน
เกษตรกร
ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาการโครงสร้างพ้ืนฐาน สนับสนุนการท่องเท่ียว การพัฒนาเขตอุตสาหกรรม
และการเช่ือมโยงการค้าโลก
ยุทธศาสตร์ท่ี 5 อนุรักษ์ ฟื้นฟู และบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างเป็น
ระบบเพอื่ เปน็ ฐานการพฒั นาที่ยง่ั ยนื
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 6 พัฒนาพนื้ ที่ระเบียงเศรษฐกจิ ภาคใตอ้ ยา่ งย่งั ยนื
ท่มี า : แผนพฒั นาภาคใต้ พ.ศ. 2560 - 2565 ฉบับทบทวน (พฤษภาคม 2563)
58
แผนพัฒนาทอ้ งถนิ่ (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา
๒. แผนพัฒนากลมุ่ จังหวดั ภาคใต้ฝง่ั อา่ วไทย (พ.ศ.2561 -256๕)ฉบบั ทบทวนรอบปี ๒๕๖๕
วิสยั ทศั น์ (Vision)
“ศูนย์กลาง การเกษตร การค้า การลงทุน การท่องเท่ียวนานาชาติ โลจิสตกิ ส์ที่สมบูรณ์
สง่ิ แวดลอ้ มท่ียัง่ ยืน สงั คมคุณภาพ”
พนั ธกิจ (Mission)
1. พัฒนา การผลิต การแปรรูป และการบริหารจัดการ ปาล์มน้ำมัน ยางพารา ข้าว ไม้ผล
การประมง การเพาะเลีย้ งสัตวน์ ้ำเศรษฐกจิ รวมถงึ การปศุสตั ว์ทีส่ ามารถสร้างความโดดเด่น
2. สง่ เสริมการคา้ การลงทุน และการบรกิ ารอย่างครบวงจร
3. พัฒนาทรัพยากรการท่องเท่ียว สร้างรูปแบบการท่องเท่ียวท่ีหลากหลาย การบริหาร
จัดการ และสรา้ งเครือขา่ ยการท่องเท่ียวระหวา่ งกลุม่ จงั หวดั
4. พัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐาน การขนส่ง และโลจิสติกส์ เพ่ือรองรับการพัฒนาของ
กล่มุ จังหวดั
5. อนรุ ักษท์ รพั ยากรธรรมชาติสิง่ แวดล้อม ศิลปวัฒนธรรม และสภาพสังคมที่ดี
เปา้ ประสงคร์ วม
1. กล่มุ จงั หวดั เปน็ ศูนย์กลางการผลติ และแปรรูปยางพารา ปาล์มนำ้ มัน ข้าว ไมผ้ ล การเพาะเลยี้ ง
สัตวน์ ้ำเศรษฐกิจ และการเล้ียงสตั วเ์ ศรษฐกจิ ท่มี คี วามโดดเด่นในพืน้ ที่
2. กลุ่มจังหวดั มีมูลค่าการค้า การลงทนุ ท่เี พม่ิ ขึน้
3. กลุ่มจังหวัดเป็นสถานท่ีท่องเที่ยวนานาชาติที่มีคุณภาพ และมีความหลากหลายของรูปแบบ
การทอ่ งเทย่ี ว
4. มีระบบโครงสร้างพ้ืนฐาน และระบบโลจิสติกส์ท่ีมีศักยภาพในการรองรับการพัฒนา
ด้านต่าง ๆ ของกลุ่มจงั หวดั
5. กลุ่มจังหวัดมีทรัพยากรธรรมชาติท่ีสมบูรณ์ มีสิ่งแวดล้อม ประชาชนมีคุณภาพชีวิตและ
สภาพสังคมท่ีดี
ประเด็นการพัฒนา
ประเดน็ การพัฒนาด้านท่ี 1 การพัฒนาการเกษตร ด้านการผลิต แปรรูป การตลาดและ
การบริหารจดั การพชื เศรษฐกจิ หลกั (ปาล์มน้ำมนั ยางพารา ขา้ ว ไม้ผล สมุนไพร) การประมงและปศุสัตว์
ประเด็นการพัฒนาด้านท่ี 2 การส่งเสรมิ การค้า การลงทนุ การบริหารจดั การ การตลาด
ในสนิ คา้ และบรกิ ารอยา่ งครบวงจร ที่เช่ือมโยงการค้าการลงทุนระหวา่ งประเทศ
ประเด็นการพัฒนาด้านท่ี 3 การพัฒนาสู่การเป็นเมืองท่องเท่ียวระดับนานาชาติ ท่ีมีความ
หลากหลายของรูปแบบการทอ่ งเท่ยี ว เพ่ือรองรับนกั ท่องเทย่ี วท่มี ีคุณภาพ ย่งั ยนื
ประเด็นการพัฒนาด้านท่ี ๔ การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานการขนส่งโลจิสติกส์ พลังงาน ระบบ
เครอื ข่ายการสือ่ สาร สารสนเทศ เพอ่ื รองรบั การพัฒนาของกลมุ่ จงั หวัด
ประเดน็ การพัฒนาด้านที่ ๕ การพัฒนาสกู่ ารเป็นเมืองสเี ขียว และสังคมคุณภาพ
59
แผนพัฒนาทอ้ งถ่ิน (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา
จุดยืนทางยุทธศาสตร์ (Positioning) ของกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทยตามแผนพัฒนา
กล่มุ จงั หวดั ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๕)
๑. ศนู ยก์ ลางการท่องเทยี่ ว (เชงิ อนรุ กั ษ์ และนานาชาติ)
๒. ศูนย์กลางการค้า การลงทุน การบริหารจัดการอย่างครบวงจรเพื่อเช่ือมโยงการค้าการลงทุน
ระหว่างประเทศ
๓. ศูนย์กลางการสร้างสรรค์เศรษฐกิจการเกษตร (ปาล์มน้ำมัน ยางพารา ข้าว ไม้ผล
สมุนไพร ประมง ปศุสตั ว)์
๔. เครือขา่ ยคมนาคมโลจิสตกิ ส์ เชอ่ื มโยงภูมิภาคและนานาชาติ
ที่มา : แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝ่ังอา่ วไทย (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๕) ฉบบั ทบทวน รอบปี ๒๕๖๕ (กันยายน
๒๕๖๓)
๑.๕ แผนพฒั นาจงั หวดั สงขลา (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐)
วิสยั ทศั น์จงั หวัดสงขลา
“สงขลา ศูนย์กลางเศรษฐกจิ ภาคใต้ เชอ่ื มโยงอาเซยี น พัฒนาอย่างยั่งยืน”
ศูนย์กลางเศรษฐกิจภาคใต้เช่ือมโยงอาเซียน จังหวัดสงขลามีศักยภาพทางเศรษฐกิจสูง
มูลค่าการค้าชายแดนสูงสุดของประเทศ มีนิคมอุตสาหกรรมยางพาราและเขตเศรษฐกิจพิเศษสงขลา
มีโครงสร้างพื้นฐานโครงข่ายระบบคมนาคมเช่ือมโยงทางบก ทางน้ำ และทางอากาศ จึงเป็นศูนย์กลาง
เศรษฐกิจภาคใต้ เชื่อมโยงเศรษฐกิจทางตอนบนของภาค ประเทศเพ่ือนบ้านอาเซียน และเป็นศูนย์กลาง
การท่องเที่ยวของภาคใต้ตอนล่าง โดยใช้ความโดดเด่นจากท่ีต้ังทางยุทธศาสตร์เชื่อมโยงกับประเทศเพ่ือน
บ้าน ในฐานะการเป็นเมืองการค้าชายแดน รวมทั้งฐานทรัพยากรที่โดดเด่น เช่น ทะเลสาบ 3 น้ำ (น้ำเค็ม
น้ำจืด และน้ำกร่อย) แห่งเดียวในประเทศไทย และความหลากหลายทางวัฒนธรรม สามารถเชื่อมโยงการ
ท่องเท่ียวกับแหล่งท่องเท่ียวสำคัญของภูมิภาค ทั้งฝ่ังทะเลอันดามันและอ่าวไทย นอกจากน้ียังเป็น
ศูนยก์ ลางการศกึ ษาและศนู ย์กลางการแพทย์
พัฒนาอย่างยั่งยืน ประชาชนในจังหวัดสงขลาจะต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ควบคู่กับ
คุณธรรมและจริยธรรม และมีความเป็นอยู่ท่ีดีมีคุณภาพ ชุมชนและเศรษฐกิจฐานรากมีความเข้มแข็ง
ทุกคนเข้าถึงบริการและสวัสดิการภาครัฐ สามารถลดความเหลื่อมล้ำ และครอบครัวมีความสุข การใช้
ประโยชน์จากฐานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม มีความย่ังยืน และการดำเนินโครงการ Green City
มีความต่อเน่ือง ความสูญเสียในชีวิตและทรัพย์สินที่เกิดจากสาธารณภัยลดลง การเติบโตทางเศรษฐกิจมี
เสถียรภาพและเป็นมิตรตอ่ สิง่ แวดลอ้ ม
60
แผนพฒั นาทอ้ งถ่นิ (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา
พนั ธกจิ
๑. พัฒนาเศรษฐกิจ การค้าการลงทุน การบริการการแพทย์ การท่องเท่ียว อุตสาหกรรมเกษตรเพื่อ
รองรับการพัฒนาเปน็ ศนู ย์กลางเศรษฐกิจของภาคใตเ้ ช่อื มโยงกบั ประเทศและนานาชาติ
๒. พฒั นาสงขลาให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชวี ิต ทันการเปล่ียนแปลงในศตวรรษท่ี 21
ประชาชนมคี ณุ ภาพ ชุมชนเข้มแข็ง พ่งึ ตนเอง เติบโตบนฐานปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
๓. บริหารจดั การทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มอย่างย่งั ยืน
๔. รักษาความสงบเรียบร้อย มั่นคงปลอดภัย เอ้ือต่อการดำรงชีวิตของประชาชนและหนุนเสริม การ
พฒั นาของเศรษฐกิจ
ประเด็นการพัฒนาของจังหวัดสงขลา
ประเด็นการพัฒนาท่ี 1 : พัฒนาและยกระดับภาคการเกษตร อุตสาหกรรม การค้าการลงทุน การ
ทอ่ งเท่ียว และบริการท่ีมีคณุ ภาพและมลู คา่ สูงพร้อมพัฒนาโครงสร้าง พ้ืนฐานและระบบโลจสิ ตกิ สท์ ่เี ชอื่ มโยง
อยา่ งเป็นระบบปลอดภัยและมีมาตรฐาน
ประเด็นการพัฒนาท่ี 2 : การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ รองรับทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจ
ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนบนฐานความรู้พหุวัฒนธรรม และสร้างการเติบโตอย่างม่ันคงด้วยหลัก
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
ประเดน็ การพัฒนาท่ี 3 : อนุรักษ์และฟืน้ ฟทู รัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อมอย่างย่งั ยนื
ประเด็นการพัฒนาท่ี 4 : เสริมสร้างความม่ันคงและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของ
ประชาชน
๑.๖ ยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัดสงขลา (พ.ศ.256๖ - 25๗๐)
วิสยั ทัศน์
1. สงขลาเมือง 2 ทะเล ศูนย์กลางเศรษฐกิจภาคใต้ โครงสร้างพ้ืนฐานดี เน้นบริการสาธารณะ
พฒั นาเมอื งอยา่ งยัง่ ยนื น้อมนำเศรษฐกจิ พอเพียง อยู่ร่วมกันอย่างสนั ติสุข
2. คณุ ภาพชวี ิตทีด่ ี ส่สู งั คมสนั ตสิ ุข สิ่งแวดลอ้ มย่งั ยนื
พันธกิจ
1. จัดทำ ส่งเสริม การพฒั นาโครงสรา้ งพ้ืนฐาน และโครงข่ายคมนาคม
2. สง่ เสริมการพัฒนาคณุ ภาพชีวติ และการสรา้ งความมนั่ คงของสถาบนั ครอบครัว
3. สนับสนุน สง่ เสริมการใช้การบรหิ ารจัดการทรพั ยากรธรรมชาติ และสง่ิ แวดลอ้ มที่ดี
4. สนับสนุนการสร้างชุมชนเข้มแข็ง และมีระบบการรักษาความปลอดภัย และการมีภูมิคุ้มกัน
ในการปอ้ งกนั แกป้ ัญหายาเสพติด
5. สง่ เสริมการผลิต การคา้ การลงทนุ พลงั งาน การท่องเทย่ี วและกีฬา
6. ส่งเสริมการศกึ ษา ศาสนา ประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรม และภมู ิปญั ญาท้องถ่ิน
7. สนับสนนุ และส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมอื งทีด่ ี
61
แผนพัฒนาทอ้ งถ่ิน (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา
จุดมุง่ หมายเพ่อื การพัฒนาทอ้ งถ่ิน
1. พัฒนาการคมนาคมทั้งทางบก ทางน้ำ สาธารณูปโภค สาธารณูปการ ให้เพียงพอเพื่อรองรับการขยายตัว
ของเศรษฐกิจและสอดคล้องกบั ระบบผังเมือง
2. ให้มกี ารประสานงานและเครือขา่ ยการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย
3. พฒั นาการศกึ ษา ศาสนา ประเพณี ศิลปะ วฒั นธรรม เพื่อยกกระดับคณุ ภาพชวี ิตทีด่ ี
4. ส่งเสรมิ ใหส้ งั คมเข้มแขง็ และมคี วามปลอดภยั
5. อนรุ ักษ์ รักษา ฟ้นื ฟู การจัดการทรัพยากรธรรมชาติภายใตส้ ง่ิ แวดลอ้ มทด่ี ี
6. สง่ เสรมิ อาชพี การค้า การลงทุน พลงั งาน การทอ่ งเท่ียว กีฬาและนนั ทนาการ
7. การบรหิ ารจัดการทีด่ ี
ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นา ประกอบด้วย
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 พฒั นาโครงสรา้ งพืน้ ฐานและโครงขา่ ยการคมนาคม
แนวทางการพฒั นา
1.1 กอ่ สรา้ งและปรบั ปรงุ เสน้ ทางคมนาคมขนส่งทางบก ทางนำ้
1.2 จัดใหม้ ีไฟฟา้ สาธารณะ กอ่ สร้างและขยายเขตระบบสาธารณปู โภค สาธารณูปการ
1.3 การพัฒนาแหลง่ นำ้ ใหค้ รอบคลมุ และเพียงพอกบั การใช้ประโยชนเ์ พือ่ การอุปโภคบรโิ ภค
1.4 พัฒนาระบบงานสารสนเทศเชื่อมโยงระบบเครอื ข่ายการคมนาคมและการขนส่ง
1.5 กอ่ สร้างและพัฒนาระบบการป้องกันสาธารณภัย
1.6 ส่งเสริมให้มีการวางและจัดทำผงั เมอื ง และดำเนนิ การพฒั นาตามผัง
ยุทธศาสตร์ท่ี 2ส่งเสริมสนับสนุน การจัดการศึกษา สังคมสงเคราะห์ สาธารณสุข เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต
และความเขม้ แขง็ ของสถาบันครอบครวั
แนวทางการพัฒนา
2.1 ส่งเสริมการสาธารณสขุ และการบรกิ ารสุขภาพ
2.2 ส่งเสริมสวสั ดกิ าร และการสงเคราะห์เด็ก สตรี คนชรา คนพิการผู้ด้อยโอกาสและผู้ป่วยเรอ้ื รัง
2.3 ส่งเสรมิ สนับสนนุ การจดั การศึกษา และการพฒั นาแหล่งเรียนรู้
2.4 สง่ เสริม และการสร้างความเขม้ แขง็ ของสถาบนั ครอบครัว
2.5 สง่ เสริมการดำรงชพี ภายใตห้ ลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2.6 ส่งเสรมิ สวัสดภิ าพผู้สูงอายุ
ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 การจัดการชุมชน/สังคม และความมนั่ คงปลอดภัยในชวี ิตและทรพั ย์สนิ ของประชาชน
แนวทางการพัฒนา
3.1 เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน สังคมอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข มีภูมิคุ้มกันในการป้องกัน และ
แกป้ ัญหาสงิ่ เสพตดิ
3.2 ส่งเสรมิ สนับสนุนให้มีระบบปอ้ งกนั ภัย
62
แผนพฒั นาท้องถนิ่ (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา
3.3 สง่ เสรมิ สนับสนุนกิจกรรมองค์กรประชาชน สมาคม มลู นธิ ิ และอ่ืน ๆ
3.4 สง่ เสริม พฒั นา คณุ ภาพระบบสหกรณ์
ยุทธศาสตรท์ ี่ 4 การจดั การทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม
แนวทางการพฒั นา
4.1 ส่งเสริมการสร้างจิตสำนึกในการอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม
4.2 อนรุ ักษ์ ฟน้ื ฟู และเฝา้ ระวงั การใช้ทรพั ยากรธรรมชาตใิ หเ้ กิดประโยชนค์ มุ้ คา่
4.3 ส่งเสริมการมีส่วนร่วม การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมอย่างมีประสิทธิภาพ
สู่การเป็นเมอื งน่าอยู่
4.4 การบรหิ ารจดั การ และการแก้ไขปัญหามลพิษอยา่ งเป็นระบบ
ยทุ ธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนา พลังงาน เศรษฐกิจ การค้า การท่องเทย่ี วและกฬี า
แนวทางการพฒั นา
5.1 พัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศด้านการผลิต การค้า พลังงาน และการท่องเท่ียวท้ังในประเทศและ
ต่างประเทศ
5.2 ส่งเสริม พัฒนาและอนุรักษ์แหล่งท่องเที่ยว สาธารณูปโภคสิ่งอำนวยความสะดวกอย่าง
เพยี งพอและมีคณุ ภาพ
5.3 ส่งเสริมการจดั กิจกรรมดา้ นท่องเทีย่ วและกฬี า
5.4 ส่งเสริมให้ความรดู้ า้ นการลงทนุ และการบรหิ ารจัดการสินทรัพย์
5.5 การเพ่ิมผลผลิตทางภาคเกษตรและอุตสาหกรรมท่ีตอบสนองต่อความต้องการของตลาดระดับท้องถิ่น
และระดับภมู ิภาค
5.6 ส่งเสริมการแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร การบรรจุภัณฑ์เพ่ือเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์
5.7 พัฒนาพ้นื ท่ีเศรษฐกิจพเิ ศษ พฒั นาพืน้ ทตี่ ่อเนอื่ ง และสง่ เสรมิ ให้สงขลาเป็นเมืองนวัตกรรม
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 6 สง่ เสรมิ อนุรักษ์ ศาสนา ประเพณี ศลิ ปะ วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น
แนวทางการพัฒนา
6.1 ส่งเสรมิ การสร้างจติ สำนึกดา้ นศาสนา ศลิ ปะ วัฒนธรรม ประเพณแี ละฟื้นฟภู มู ิปญั ญาทอ้ งถ่นิ
6.2 ส่งเสริม พฒั นาองค์ความรู้ งานวิจัย ศาสนา ศลิ ปวฒั นธรรมประเพณี และฟ้ืนฟูภมู ิปญั ญาท้องถน่ิ
6.3 ส่งเสริม อนุรักษ์ บูรณะ และพัฒนาแหล่งโบราณสถาน โบราณวัตถุ หอจดหมายเหตุ และสถานที่
สำคัญทางประวตั ิศาสตร์
ยุทธศาสตรท์ ่ี 7 การบริหารจดั การบ้านเมืองทีด่ ี
แนวทางการพฒั นา
7.1 ส่งเสรมิ ระบบการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข
7.2 ส่งเสริมสร้างความสมั พนั ธ์อันดีระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ สว่ นราชการ และองคก์ รอื่น ๆ
63
แผนพฒั นาทอ้ งถิ่น (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา
7.3 การวางแผนพัฒนาท้องถิน่ แบบบูรณาการ และการมสี ว่ นรว่ มทกุ ระดับ
7.4 สนบั สนุนทรพั ยากรการบริหารในการใหบ้ รกิ ารประชาชน
7.5 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการติดตามประเมินผลการให้บริการสาธารณะ ภาคประชาชน และนำผล
การประเมนิ มาปรบั ปรงุ แกไ้ ขในการปฏิบตั ิงาน
7.6 ส่งเสรมิ การศึกษาวจิ ยั การพฒั นาบุคลากร
7.7 ใช้หลกั ธรรมาภบิ าลในการบรหิ ารจดั การ
7.8 ส่งเสรมิ พัฒนาการจดั หารายไดข้ ององคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่
7.9 สง่ เสริมการพฒั นาบคุ ลากรและการบริการสาธารณะเพ่อื เขา้ สู่ประชาคมอาเซียน
๒. ยุทธศาสตร์การพฒั นาเทศบาลนครสงขลา
เทศบาลนครสงขลาได้รวบรวมแนวทางการพัฒนาในระดับต่าง ๆ ตลอดจนนโยบายของ
นายกเทศมนตรีนครสงขลา ข้อมูลพ้ืนฐานในการพัฒนาจากหน่วยงานต่าง ๆ นำมาวิเคราะห์ให้มีความ
สอดคล้องเชอ่ื มโยงกันในแต่ละระดับ และผลจากการวิเคราะห์ศักยภาพเพ่ือประเมินสถานการณ์การพัฒนา
สามารถกำหนดเป็นวสิ ยั ทศั นแ์ ละพันธกิจของเทศบาลนครสงขลา ได้ดังน้ี
วสิ ัยทัศน์ (Vision)
"สรา้ งนครสงขลาสู่มหานครสรา้ งสรรค์ สวรรคแ์ ห่งการเรยี นรู้ เมืองน่าอยอู่ ย่างยงั่ ยืน
มคี วามปลอดภยั และเมอื งท่องเท่ยี วระดบั สากล"
พนั ธกจิ (Mission)
๑. การพัฒนาการศึกษา ส่งเสริมศาสนา อนุรักษ์ สืบสานศิลปวัฒนธรรม และจารีตประเพณี
ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น
๒. พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ สังคมสงเคราะห์ สง่ิ แวดลอ้ ม และความปลอดภัยในชวี ติ และทรพั ย์สนิ
๓. พฒั นาเศรษฐกจิ การทอ่ งเทย่ี ว กฬี าและนนั ทนาการ
๔. พฒั นาโครงสรา้ งพนื้ ฐาน และโครงข่ายการสื่อสาร
๕. บริหารจัดการโดยยึดหลกั ธรรมาภบิ าล
ทรพั ย์สนิ ยุทธศาสตร์การพัฒนา ประกอบด้วย ๕ ยุทธศาสตร์ ดังน้ี
ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๑ พัฒนาการศกึ ษา ศาสนา ศิลปวฒั นธรรมและจารีตประเพณี
ยุทธศาสตร์ท่ี ๒ พัฒนาคุณภาพชีวิต สังคมสงเคราะห์ ส่ิงแวดล้อม และความปลอดภัยในชีวิตและ
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๓ พฒั นาเศรษฐกิจ การทอ่ งเทยี่ ว กฬี า และนันทนาการ ไปสไู่ ทยแลนด์ ๔.๐
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๔ พัฒนาโครงสรา้ งพืน้ ฐาน และโครงขา่ ยการสอ่ื สาร
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๕ การบรหิ ารจัดการบ้านเมอื งที่ดี และองค์กรรบั ใช้ประชาชน
64
แผนพฒั นาทอ้ งถน่ิ (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา
๑. ยทุ ธศาสตร์พฒั นาการศกึ ษา ศาสนา ศลิ ปวฒั นธรรมและจารตี ประเพณี
เปา้ ประสงค์
๑. ยกระดับการศึกษาให้มีคุณภาพทัดเทียมระดับสากลเพ่ือนำไปสู่มิติแห่งการเรียนรู้เชิง
สร้างสรรค์ ทีต่ อบสนองความเปลยี่ นแปลงในศตวรรษท่ี ๒๑
๒. มแี หลง่ เรยี นรทู้ ่หี ลากหลายเขา้ ถึงงา่ ย เรยี นรไู้ ด้ทุกเพศวัย
๓. รักษาอตั ลกั ษณ์ของเมอื งสงขลาใหค้ งอยู่
ตวั ชี้วัด
1. ร้อยละของเด็กเล็กได้รับการอบรมเลี้ยงดู มีการพัฒนาด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม
สติปญั ญาตามวยั เต็มศักยภาพ
2. จำนวนโรงเรียนในสังกัดเทศบาลที่มีผลประเมินระบบการประกันคุณภาพการศึกษาตาม
มาตรฐานการศึกษาระดบั ชาติในทกุ เกณฑก์ ารประเมินในระดับดีมาก
3. จำนวนรางวัลท่ีเพิม่ ข้นึ จากการส่งนกั เรยี นเขา้ ร่วมแข่งขนั ทักษะทางวิชาการ
4. ร้อยละของเด็ก เยาวชน และประชาชนมีความพึงพอใจที่ได้รับการส่งเสริมกิจกรรมการ
เรียนรู้ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยท่ีเทศบาลจัดขึน้ ในระดบั มาก
5. จำนวนแหลง่ เรียนร้ใู นเขตเทศบาลทเ่ี พิม่ ขึ้น
6. ร้อยละของโรงเรียนในสังกัดเทศบาลนครสงขลามีอาคารสถานท่ีได้มาตรฐาน ปลอดภัยเพียงพอ
และมีภมู ิทศั นท์ ่ีสวยงาม
7. จำนวนศลิ ปวัฒนธรรมจารีตประเพณีภูมปิ ัญญาท้องถิ่น และสถานท่ีสำคัญทางประวัติศาสตร์
ของเมอื งสงขลาได้รบั การอนุรกั ษ์สบื สาน
65
แผนพฒั นาทอ้ งถ่ิน (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา
กลยทุ ธ์/คา่ เปา้ หมาย
กลยทุ ธ์ ค่าเปา้ หมาย
๑.๑ พัฒนาคณุ ภาพของศูนย์พัฒนาเดก็ เล็ก ร้อยละ ๙๕ ของเดก็ เล็กท่ีไดร้ ับการอบรมเล้ียงดู มีการพัฒนา
ด้านร่างกายจิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญา ตามวัย เต็มตาม
ศกั ยภาพ
๑.๒ ครูและบุคลากรทางการศึกษาไดร้ ับการ ร้อยละ ๑๐๐ ของครูและบุคลากรทางการศึกษาในสังกัด
พัฒนาในทกุ ดา้ น เทศบาล ได้รับการพัฒนาศักยภาพเพ่ือเพ่ิมความรู้ในการ
จัดการเรียนการสอนในทุกสาขาวิชา และมีความก้าวหน้า
ตามมาตรฐานวชิ าชพี
๑.๓ สง่ เสริมและพฒั นาคุณภาพทางการศกึ ษา 1. ร้อยละ 80 ของนักเรียนระดับการศึกษาปฐมวยั และศูนย์
พัฒนาเด็กเล็ก มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย
แห่งชาติ
2. ร้อยละ 80 ของนักเรียนระดับการศึกษาขึ้นพ้ืนฐาน มีคุณภาพ
ตามมาตรฐานการศึกษาชาติ
๑.๔ ส่งเสริมการเรียนร้ทู ห่ี ลากหลาย มีแหล่งเรียนรู้ในเขตเทศบาลเพ่ิมขึ้นจำนวนไม่น้อยกว่า
3 แหง่
๑.๕ ก่อสร้างปรับปรงุ และพฒั นาสถานศกึ ษา ร้อยละ ๑๐๐ ของโรงเรียนในสังกัดเทศบาลนครสงขลา มี
อาคารสถานท่ีได้มาตรฐาน ปลอดภัยเพียงพอ และมีภูมิทัศน์
ที่สวยงาม
๑.๖ ส่งเสริมการจัดการศึกษานอกระบบและ รอ้ ยละ ๘๐ ของเด็ก เยาวชนและประชาชนในเขตเทศบาล มี
การศึกษาตามอัธยาศัยให้กับเด็ก เยาวชน ความพึงพอใจที่ได้รับการส่งเสริมการเรียนรู้การศึกษานอก
และประชาชน ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีเทศบาลจัดขึ้นในระดับ
มาก
๑.๗ ส่งเสริมการบำรุงรักษาศาสนา อนุรักษ์ ศิลปวัฒนธรรมประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่นได้รับการสืบ
สืบสานศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี และ สานไมน่ ้อยกวา่ ปีละ ๗ กจิ กรรม
ภูมิปัญญาท้องถ่ิน
๑.๘ อนุรักษ์โบราณสถาน โบราณวัตถุ และ มีกิจกรรมท่ีส่งเสริมให้ความรู้กับประชาชนในการอนุรักษ์
สถานท่ีสำคัญทางประวตั ิศาสตร์ โบราณวัตถุ โบราณสถานและสถานที่สำคัญทาง ประวัติศาสตร์
ไม่นอ้ ยกวา่ 5 กจิ กรรม
หนว่ ยงานรับผิดชอบหลัก
สำนกั การศึกษา
66
แผนพัฒนาทอ้ งถนิ่ (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา
ความเช่อื มโยง
๑. ยทุ ธศาสตร์จังหวัด
: ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๒ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ รองรับทิศทางการพฒั นาเศรษฐกิจ ยกระดับ
คุณภาพชีวิตของประชาชนบนฐานความรู้พหุวัฒนธรรมและสร้างการเติบโตอย่างม่ันคงด้วยหลักปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง
๒. ยุทธศาสตร์การพฒั นาองคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ
: ยุทธศาสตร์ท่ี 2 ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษา สังคมสงเคราะห์ สาธารณสุข เพ่ือ
ยกระดับคุณภาพชีวิต และความเข้มแข็งของสถาบันครอบครัว และยุทธศาสตร์ท่ี 6 ส่งเสริม อนุรักษ์
ศาสนา ประเพณี ศิลปะ วฒั นธรรม และภมู ิปัญญาท้องถ่นิ
๒. ยุทธศาสตร์พัฒนาคุณภาพชีวิต สังคมสงเคราะห์ สิ่งแวดล้อม และความปลอดภัยในชีวิต
และทรพั ยส์ ิน
เป้าประสงค์
ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนทุกช่วงวัย ให้มีความสุข มีสุขภาวะท่ีดี มีความปลอดภัย
ภายใตส้ ังคมทเี่ ป็นมิตรกับสง่ิ แวดลอ้ มอย่างยัง่ ยืน
ตวั ชวี้ ัดระดับเป้าประสงค์
๑. รอ้ ยละของจำนวนประชาชนมีสขุ ภาพกายและสุขภาพจิตทด่ี ี
๒. รอ้ ยละของจำนวนเดก็ สตรี คนชรา ผพู้ ิการและผดู้ อ้ ยโอกาสท่ไี ด้รบั การดแู ลอย่างทัว่ ถึง
๓. รอ้ ยละของชมุ ชนเขม้ แข็งพ่ึงพาตนเองได้
๔. ร้อยละของชุมชนท่ไี ด้รบั การแก้ไขปัญหายาเสพตดิ
๕. ร้อยละของประชาชนมีความมัน่ คงปลอดภยั ในชีวติ และทรพั ย์สนิ ดำรงชีวิตอย่างปกตสิ ขุ
๖. ร้อยละของจำนวนโครงการที่สง่ เสริมการควบคมุ ประชากรสัตว์เร่ร่อน
๗. ร้อยละของครัวเรือนทีไ่ มถ่ ูกรบกวนจากมลพิษในเขตเทศบาลนครสงขลา
๘. นำ้ ในลำคลองมีคณุ ภาพดขี ้นึ
๙. ร้อยละของจำนวนครัวเรอื นทไ่ี ด้รับการจัดการของเสียอันตรายมูลฝอยและสิง่ ปฏิกูล
67
แผนพัฒนาทอ้ งถ่ิน (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา
กลยทุ ธ์/ค่าเปา้ หมาย
กลยทุ ธ์ คา่ เปา้ หมาย
๒.๑ ส่งเสริมการพัฒนางานด้านสาธารณสุข การ มีโครงการท่ีส่งเสริมการพัฒนางานด้านสาธารณสุข
ป้องกันโรคติดต่อ และสนับสนุนการสร้างสุขภาพ การป้องกันโรคติดต่อและสนับสนุนการสร้างสุขภาพ
อนามัยแก่ประชาชนอย่างท่ัวถึง อนามยั แกป่ ระชาชนไมน่ อ้ ยกว่า ปีละ ๕๐ โครงการ
๒.๒ ส่งเสริมสนับสนุนดา้ นการสังคมสงเคราะห์ และ มีโครงการที่ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี
พัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชรา ผู้พิการ และ คนชรา ผู้พกิ าร และผู้ด้อยโอกาส อยา่ งนอ้ ย ปลี ะ ๑๐
ผู้ด้อยโอกาส ให้มีคณุ ภาพชวี ิตท่ดี แี ละเทา่ เทยี ม โครงการ
๒.๓ ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาชุมชนให้เข้มแข็ง คณะกรรมการชุมชน ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ได้รับ
โดยยึดหลกั ประชาธิปไตยเปน็ หลักในการพฒั นา การสง่ เสรมิ พัฒนาศักยภาพผ้นู ำชุมชน
๒.๔ ป้องกันปราบปรามและแก้ไขปัญหายาเสพติด มีกิจกรรมท่ีส่งเสริมการป้องกัน ปราบปรามยาเสพติด
ในชมุ ชน ให้ กั บคนในชุ มชนหรือเยาวชน ไม่ น้ อยกว่าปี ล ะ
๔ โครงการ
๒.๕ เสริมสรา้ งความเขม้ แข็งใหแ้ ก่สถาบันครอบครวั มีโครงการท่ีส่งเสริมบทบาทและกิจกรรมเพื่อเพิ่ม
ความเข้มแข็งให้แก่สถาบันครอบครัว ไม่น้อยกว่าปลี ะ
๕ โครงการ
๒.๖ ส่งเสรมิ ระบบการรักษาความสงบเรียบรอ้ ย และ มีโครงการท่ีส่งเสริมระบบการรักษาความสงบ
ความปลอดภยั ในชวี ิตและทรัพย์สิน เรียบร้อยและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินใน
เขตเทศบาล อย่างน้อยปลี ะ ๕ โครงการ
๒.๗ ส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างจิตสำนึก และ ๑. ประชาชนมีจิตสำนึกในการช่วยกันจัดการดูแล
กระบวนการมีส่วนร่วมในการจัดการดูแลรักษา รกั ษาทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อมเพม่ิ ข้นึ
ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม ๒. มีโครงการที่ส่งเสริมสนับสนุนการสร้างจิตสำนึก และ
กระบวนการมี ส่ วนร่วมในการจั ดการดู แลรักษา
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม อย่างน้อย
ปลี ะ ๕ โครงการ
๒.๘ เฝ้าระวงั และปอ้ งกันชายหาด 1. ร้อยละ 100 ของนักท่องเที่ยวหรือผู้ใช้บริการ
ในพนื้ ท่ชี ายหาดมีความปลอดภยั
2. ร้อยละ 100 ของชายหาด มีความสะอาดเป็นระเบียบ
เรียบร้อย
68
แผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา
กลยุทธ์ คา่ เปา้ หมาย
๒.๙ บริหารจัดการแก้ไขปญั หาประชากรสัตว์เรร่ ่อน
อยา่ งเปน็ ระบบ เชน่ สุนัข ลิง นก มีโครงการท่ีส่งเสริมการควบคุมประชากรสัตว์เร่ร่อน
๒.๑๐ ฟน้ื ฟสู ภาพแวดล้อมลำคลองตา่ ง ๆ ไมน่ อ้ ยกวา่ ปลี ะ ๑ โครงการ
๒.๑๑ เพิม่ ประสทิ ธภิ าพการจัดการของเสยี อนั ตราย 1. ดักเก็บน้ำเสียจากคลองขวาง นำเข้าสู่ระบบบำบัด
มลู ฝอย/ส่ิงปฏิกูล/ขยะติดเชอื้ นำ้ เสียไดม้ ากกวา่ 80%
๒.๑๒ ปอ้ งกันและแก้ไขภาวะมลพษิ 2. ดักเก็บน้ำเสียบริเวณถนนราษฎร์อุทิศ 1 ไม่ให้ลง
๒.๑๓ ส่งเสริมสนบั สนุนการใช้พลังงานทดแทนและ คลองสำโรงได้ไม่น้อยกว่า 50% ทำให้ค่า Bod ของน้ำใน
การอนุรักษ์พลังงาน ลำคลองสำโรง ลดลงไดไ้ มน่ ้อยกวา่ 50%
3. กำจัด เก็บขนผักตบชวาและวัชพืชอื่น ๆ ในคลองสำโรง
เพ่ือเพิ่มความเร็วในการระบายน้ำ สามารถลดค่า
Bod ของนำ้ ในคลองสำโรงได้ ไมน่ ้อยกวา่ 20 %
4. การให้ความรู้ชุมชนในการจัดการน้ำเสียจากต้นทาง
การติดตั้งถังดักไขมันในครัวเรือน การกำกับดูแลการ
อนุญาตก่อสร้างอาคาร ต้องมีระบบจัดการน้ำเสีย
เปน็ ตน้
๑. ของเสียอนั ตรายไดร้ ับการกำจดั อย่างถกู วธิ ี
๒. มลู ฝอยและสง่ิ ปฏิกูล ลดลง
๓. ปญั หานำ้ เนา่ เสยี ลดลง
มีกิจกรรมที่เก่ียวข้องกับการจัดการระบบน้ำเสียปีละ
ไมน่ อ้ ยกว่า 1 กจิ กรรม
มีการจัดกิจกรรมท่ีส่งเสริมการใช้ชีวิตท่ีเป็นมิตรกับ
ส่ิงแวดล้อมทั้งภายในสำนักงานและในเขตเทศบาล
นครสงขลา จำนวนปลี ะ 2 กจิ กรรม
หน่วยงานรบั ผิดชอบหลกั
กองสวสั ดิการสังคม/สำนักปลดั เทศบาล/กองสาธารณสขุ และสง่ิ แวดล้อม/สำนักช่าง
ความเชอ่ื มโยง
๑. ยทุ ธศาสตรจ์ งั หวดั
: ยุทธศาสตรท์ ี่ ๒ การพัฒนาทรพั ยากรมนุษย์ รองรับทิศทางการพฒั นาเศรษฐกิจ ยกระดับ
คุณภาพชีวิตของประชาชนบนฐานความรู้พหุวัฒนธรรมและสร้างการเติบโตอย่างมั่นคงด้วยหลักปรัชญา
เศรษฐกจิ พอเพยี ง
: ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 อนรุ กั ษแ์ ละฟ้นื ฟูทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมอย่างยง่ั ยนื
: ยุทธศาสตร์ท่ี 4 เสริมสร้างความม่ันคงและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของ
ประชาชน
69
แผนพัฒนาทอ้ งถิน่ (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา
๓. ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาเศรษฐกจิ การทอ่ งเทยี่ ว กฬี า และนนั ทนาการ ไปสไู่ ทยแลนด์ ๔.๐
เป้าประสงค์
๑. ประชาชนและผ้ปู ระกอบการในเขตเทศบาลนครสงขลามรี ายได้เพ่ิมขนึ้
๒. นกั ทอ่ งเทย่ี วชาวไทยและตา่ งชาตมิ าเท่ียวเมืองสงขลาเพ่ิมมากขน้ึ
๓. มผี ลติ ภณั ฑข์ องฝากทเี่ ปน็ เอกลักษณข์ องชาวบอ่ ยาง
๔. เด็ก เยาวชน ประชาชน เห็นความสำคญั ในการเลน่ กีฬาและออกกำลงั กายเพมิ่ ขน้ึ
ตัวชวี้ ดั
๑. รอ้ ยละของรายไดท้ เ่ี พม่ิ ข้นึ ต่อครวั เรอื นในแตล่ ะปี
๒. รอ้ ยละของจำนวนนักท่องเทย่ี วทีเ่ พมิ่ ขึน้ ในแตล่ ะปี
๓. จำนวนชนดิ ของผลิตภัณฑข์ องฝากท่เี ปน็ เอกลกั ษณ์ของชาวบ่อยาง
๔. รอ้ ยละของประชาชนทีเ่ พิ่มขน้ึ จากการเล่นกีฬาและออกกำลงั กายในแตล่ ะปี
กลยทุ ธ์/คา่ เปา้ หมาย
กลยทุ ธ์ คา่ เปา้ หมาย
๓.๑ ส่งเสริมอาชีพและเพิ่มรายได้แก่ประชาชนตาม มีโครงการที่ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพไม่น้อยกว่า
แนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและพัฒนาเศรษฐกิจ ปลี ะ ๒ โครงการ
เชิงสรา้ งสรรค์
๓.๒ สนับสนนุ กิจกรรมส่งเสริมการท่องเทีย่ ว มีโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมการท่องเที่ยวในเขต
เทศบาลไม่น้อยกวา่ ปลี ะ ๑๐ โครงการ
๓.๓ ปรับปรุงภูมิทัศน์เมืองและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว มีการปรับปรุงภูมิทัศน์หรือพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
ให้มีความพร้อมและได้มาตรฐานสากล ในเขตเทศบาลไมน่ อ้ ยกว่าปลี ะ ๕ โครงการ
๓.๔ ส่งเสริมสนับสนุนการจัดกิจกรรมการเล่นกีฬา มีกิจกรรมท่ีส่งเสริมการเล่นกีฬา นันทนาการ แก่
และนันทนาการ แก่เด็ก เยาวชนและประชาชน เด็ก เยาวชน และประชาชนไม่น้อยกว่าปีละ
๕ กจิ กรรม
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก
สำนักปลัดเทศบาล/สำนกั การศกึ ษา/กองสวสั ดิการสงั คม/สำนกั ชา่ ง
ความเชื่อมโยง
๑. ยุทธศาสตรจ์ งั หวดั
: ยุทธศาสตร์ที่ ๑ พัฒนาและยกระดับภาคการเกษตร อุตสาหกรรมการค้า การลงทุน
การท่ องเที่ ยวและบริ การท่ี มี คุ ณ ภาพและมู ลค่ าสู งพร้ อมพั ฒนาโครงสร้ างพ้ื นฐานและระบบโลจิ สติ กส์
ทเ่ี ชื่อมโยงอยา่ งเปน็ ระบบปลอดภัยและมีมาตรฐาน
: ยุทธศาสตร์ท่ี ๒ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ รองรับทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจ
ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนบนฐานความรู้พหุวัฒนธรรมและสร้างการเติบโตอย่างม่ันคงด้วยหลัก
ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง
70
แผนพฒั นาทอ้ งถ่ิน (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา
๒. ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาองคก์ รปกครองสว่ นท้องถิน่
: ยทุ ธศาสตร์ที่ ๕ การพัฒนาพลังงาน เศรษฐกิจ การคา้ การท่องเทยี่ วและกีฬา
๔. พัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานและโครงข่ายการสอ่ื สาร
เปา้ ประสงค์
ประชาชนได้รับบริการด้านโครงสร้างพื้นฐาน และโครงข่ายการสื่อสารครอบคลุมทุกด้าน
ตลอดจนสร้างโครงข่ายการส่ือสารด้วยระบบสารสนเทศ สู่โลกยุคดิจิทัล ระบบสาธารณูปโภคท่ีมี
ประสิทธิภาพไดม้ าตรฐานอยา่ งท่ัวถงึ
ตวั ชี้วัด
(๑) ร้อยละของชุมชนที่ได้รับบริการโครงสร้างพื้นฐาน ระบบสาธารณูปโภคท่ีมีประสิทธิภาพได้
มาตรฐานอยา่ งทัว่ ถงึ
กลยทุ ธ์/ค่าเป้าหมาย
กลยทุ ธ์ ค่าเป้าหมาย
๔.๑ ก่อสร้างปรับปรุง ถนน สะพานลอย และวิศวกรรม ถนน สะพานลอย และวิศวกรรมจราจรได้รับการ
จราจร ให้ได้มาตรฐาน ก่อสร้างปรับปรุงไม่น้อยกว่าปีละ ๕ สาย หรือ
งบประมาณไม่น้อยกว่า ๑๐ ลา้ นบาท
๔.๒ ก่อสร้าง ปรับปรุง และเพิ่มประสิทธิภาพของระบบ คูระบายน้ำ ท่อระบายน้ำได้รับการก่อสร้าง
ระบายนำ้ เพอ่ื ป้องกันนำ้ ท่วม ปรับปรุง หรือขุดลอก ไม่น้อยกว่าปีละ ๕ สาย
หรอื งบประมาณไม่นอ้ ยกวา่ ๑๐ ลา้ นบาท
๔.๓ ปรับปรุงและติดตั้งไฟฟ้าสาธารณะให้มีความ มีการติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่าง หรือปรับปรุงไฟฟ้า
สะดวกปลอดภัย สวยงาม ด้วยระบบเทคโนโลยีท่ี สอ่ งสว่างในเขตเทศบาลไม่น้อยกว่า ปีละ ๕ จุด
ทนั สมยั
๔.๔ พัฒนาโครงขา่ ยการสื่อสารใหค้ รอบคลุมทุกด้าน ร้อยละ ๘๐ ของชุมชนในเขตเทศบาลได้รับการ
ด้วยระบบสารสนเทศ สโู่ ลกยคุ ดิจิทลั บริการโครงขา่ ยการส่ือสารทไ่ี ด้มาตรฐาน
๔.๕ ก่อสร้างทางเดิน ทางเล่ือน ทางลาดเพื่อเอื้อต่อ ร้อยละ 100 ของส่ิงก่อสร้างสาธารณะ มีส่ิง
การใช้ชีวิตของกลุ่มผู้สูงอายุคนพิการ ผู้ป่วย หญิง อำนวยความสะดวกและบริการทางโครงสร้าง
ตั้งครรภ์ พื้นฐานที่ได้มาตรฐานตามแนวอารยสถาปัตย์ เพ่ือ
รองรับต่อ การใช้ชีวิตของกลุ่มผู้สูงอายุ คนพิการ
หญิงตั้งครรภ์
๔.๖ กอ่ สรา้ งหอ้ งนำ้ /ห้องสว้ ม จัดให้มีห้องน้ำ ห้องส้วมสาธารณะปีละไม่น้อยกว่า
1 แห่ง
หน่วยงานรับผิดชอบหลกั
สำนกั ช่าง/กองยทุ ธศาสตรแ์ ละงบประมาณ/สำนักปลัดเทศบาล
71
แผนพัฒนาทอ้ งถน่ิ (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา
ความเช่อื มโยง
๑. ยทุ ธศาสตร์จังหวดั
: ยุทธศาสตร์ที่ ๑ พัฒนาและยกระดับภาคการเกษตร อุตสาหกรรม การค้า การลงทุน
การท่ องเท่ี ยวและบริ การที่ มี คุ ณ ภาพและมู ลค่ าสู งพร้ อมพั ฒ นาโครงสร้ างพื้ นฐานและระบบ
โลจสิ ติกส์ที่เชื่อมโยงอย่างเปน็ ระบบ ปลอดภยั และมีมาตรฐาน
๒. ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
: ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 พัฒนาโครงสร้างพน้ื ฐาน และโครงข่ายการคมนาคม
๕. ยุทธศาสตร์การบรหิ ารจัดการบ้านเมอื งที่ดี และองคก์ รรบั ใชป้ ระชาชน
เป้าประสงค์
เทศบาลมีการบริหารจัดการที่ดีโดยยึดหลักธรรมาภิบาล โปร่งใส ตรวจสอบได้ ประชาชน
ไดร้ บั ประโยชนอ์ ย่างสูงสดุ
ตวั ช้ีวดั
(1) ผลคะแนนท่ีเพิ่มข้ึนจากการเข้าตรวจประเมินรับรองมาตรฐานการปฏิบัติราชการจาก
คณะกรรมการ Core Team
(๒) รอ้ ยละความพงึ พอใจของประชาชนตอ่ การใหบ้ รกิ ารของเทศบาล
(๓) จำนวนชอ่ งทางทเ่ี อื้อให้ประชาชนเขา้ ถึงขอ้ มลู ข่าวสารเพิม่ ขนึ้
(๔) รอ้ ยละของการมสี ่วนร่วมของประชาชนในการบรหิ ารงานของเทศบาล
72
แผนพฒั นาท้องถ่ิน (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา
กลยุทธ์/คา่ เป้าหมาย
กลยุทธ์ ค่าเป้าหมาย
๕.๑ พัฒนาประสิทธิภาพในการบริหารงานและพัฒนา ร้อยละ ๙๕ ของประชาชนผู้รับบริการ มีความ
ระบบคุณภาพการให้บรกิ ารให้รวดเร็วท่วั ถึงและเป็นธรรม พึงพอใจต่อการให้บริการของเทศบาลนคร
สงขลา
๕.๒ ส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่น องค์กรภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนเข้า
โดยยึดหลกั ประชาธิปไตยและศาสนาเปน็ หลักในการพัฒนา มามีส่วนร่วมในการบริหารงานของเทศบาล
โดยการแต่งตั้งเป็นคณะกรรมการต่าง ๆ ไม่
น้อยกว่า ๑๐ คณะ
๕.๓ สง่ เสรมิ สนับสนนุ การวิจัยและพัฒนาและ เท ศ บ า ล มี ง า น วิ จั ย ห รื อ อ ง ค์ ค ว า ม รู้ ใ ห ม่ ท่ี
การสรา้ งองค์กรแหง่ การเรียนรู้ สามารถนำไปศกึ ษา แลกเปลี่ยน เรียนรู้ เพอื่ ใช้
การปฏิบัติงานภายในองค์กรเพิ่มข้ึนอย่างน้อย
ปีละ ๓ เรื่อง
๕.๔ สง่ เสรมิ สนับสนุนการประชาสัมพนั ธ์เกี่ยวกบั มีช่องทางการประชาสัมพันธ์การดำเนินงาน
กิจการของเทศบาล ของเทศบาลปลี ะไมน่ อ้ ยกวา่ ๕ ชอ่ งทาง
๕.๕ การพัฒนาประสิทธภิ าพและสวัสดิการของ ร้อยละ 100 ของจำนวนบุคลากรเทศบาล
บคุ ลากรในหน่วยงาน ได้รับการพัฒนาศักยภาพเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพ
ในการทำงาน
๕.๖ ก่อสรา้ ง ปรับปรุงอาคารและสถานทปี่ ฏิบตั ิงาน ทุกสำนัก/กองมีสถานที่ในการปฏิบัติงานที่
เพียงพอ เหมาะสม รองรับการบริการประชาชน
ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
๕.๗ จัดหาปรบั ปรงุ และพฒั นาเคร่อื งมือเครอื่ งใชใ้ นการ ทุกสำนัก/กองมีเคร่ืองมือเคร่ืองใช้สำหรับ
ปฏบิ ัตงิ าน ปฏิบตั งิ านครบถว้ น
หนว่ ยงานรบั ผิดชอบหลัก
ทุกสำนกั /กอง
ความเช่ือมโยง
๑. ยุทธศาสตรจ์ ังหวัด
: ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ รองรับทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจ
ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนบนฐานความรู้พหุวัฒนธรรมและสร้างการเติบโตอย่างม่ันคงด้วยหลัก
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
๒. ยุทธศาสตร์การพฒั นาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
: ยุทธศาสตร์ท่ี ๗ การบรหิ ารจดั การบา้ นเมอื งทดี่ ี
73
แผนพฒั นาทอ้ งถ่นิ (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา
๒.๓ จดุ ยืนทางยุทธศาสตร์ (Positioning)
จุดยนื ทางยุทธศาสตร์เทศบาลนครสงขลา กำหนดขนึ้ จากการวเิ คราะหส์ ภาพการณ์ที่เปน็ ปจั จัย
นำเข้าเชิงนโยบายความต้องการของประชาชน และภารกิจที่เป็นอยู่ในปัจจุบันและที่ควรจะเป็นในอนาคต
โดยการวิเคราะห์ความสำคัญต่อภารกิจ ความเร่งด่วนของปัญหา ผลกระทบต่อประชาชน/ผู้รับบริการ
ความเปน็ ไปได้ในทางปฏบิ ตั ิ และความเชือ่ มโยงกบั นโยบายในระดบั ตา่ ง ๆ
จดุ ยนื เทศบาลนครสงขลา
๑) เมืองแหง่ การเรยี นรู้
๒) เมืองแหง่ การทอ่ งเทย่ี วเชิงธรรมชาติและเชิงวฒั นธรรม ระดับสากล
๓) ดำเนนิ งานเพอ่ื ประโยชนส์ ุขของประชาชน
๔) เมอื งนา่ อยู่อยา่ งยัง่ ยนื
๕) ภารกจิ ขององคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่
6) การวัดผลสมั ฤทธ์หิ รือของงาน
ปัจจัยความสำเร็จ
๑) ผ้บู รหิ ารเทศบาล
๒) การรบั รคู้ วามรว่ มมือของพนักงานเทศบาลเจา้ หน้าที่/ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา
๓) การมสี ่วนรว่ ม ระดบั การมีส่วนรว่ มของประชาชน
๔) การประสานและสนบั สนุนจากภาคภี าครฐั และเอกชน
๕) ระบบฐานขอ้ มลู
๖) การเผยแพร่ประชาสัมพนั ธ์
๗) งบประมาณ
บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ และผู้ทีเ่ กยี่ วข้อง
๑. ผบู้ รหิ ารทอ้ งถิน่
- ผู้นำให้นโยบาย ตดิ ตามประเมินผล
๒. เจ้าหน้าที่ในองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น
- ร่วมเป็นคณะทำงาน ประสานงานระหว่างฝา่ ย สรา้ งบรรยากาศการทำงานท่ดี ี
๓. ประชาชนในท้องถ่ิน และผ้รู ับบรกิ ารอื่น ๆ
- รว่ มเปน็ คณะทำงาน ให้ขอ้ มูล และร่วมกำหนดความตอ้ งการ
- หนว่ ยงานราชการ สนบั สนนุ ขอ้ มลู ความรทู้ างวิชาการ
74
แผนพฒั นาท้องถน่ิ (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา
3. การวิเคราะห์เพ่ือพฒั นาทอ้ งถ่นิ
๓.๑ การวเิ คราะห์กรอบการจดั ทำยุทธศาสตร์ขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ
ในการจัดทำแผนพัฒนาเทศบาลนครสงขลา ได้ใช้การวิเคราะห์ SWOT Analysis/Demand
(Demand Analysis)/Global Demand และ Trend ปัจจัยและสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงที่มีผลต่อ
การพัฒนา ประกอบด้วย การวิเคราะห์ศักยภาพด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านการศึกษา ด้านผังเมือง
ด้านเทคโนโลยี ด้านทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม ซงึ่ มรี ายละเอยี ดดังนี้
๑. จุดแขง็ (S : Strength)
ดา้ นการบรหิ ารจดั การ
๑. มีการพัฒนากระบวนการใหบ้ รกิ ารอยา่ งต่อเนื่อง
๒. มกี ารนำเคร่ืองมอื และระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชใ้ นการปฏิบตั ิงาน
๓. มีการมอบอำนาจในการปฏบิ ตั ิงานให้กบั ฝ่ายตา่ ง ๆ ในองค์กร
๔. มกี ารกำกับดูแลโดยหัวหนา้ หนว่ ยงานท่ีรับผดิ ชอบในแตล่ ะส่วน
๕. ในการปฏบิ ัติงานยึดตามระเบยี บกฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง
๖. มีการส่งเสรมิ เพมิ่ ศกั ยภาพให้กับบคุ ลากรของเทศบาล โดยการอบรมและศึกษาดูงาน
๗. ที่ต้ังของเทศบาลมีความเหมาะสมในการให้บริการเน่ืองจากอยู่ในบริเวณศูนย์ราชการ
ซงึ่ เป็นสถานทตี่ ัง้ ของสถานท่รี าชการ สถานศึกษา สถาบันการเงินโรงแรมท่สี ำคญั หลายแห่ง
๘. มีแผนพัฒนาเทศบาลท่ีชดั เจน
๙. มีระบบสารบรรณอิเลกทรอนิกส์เทศบาลนครสงขลา ในการจัดการข้อมูลและรับส่งหนังสือ
ราชการทรี่ องรบั การทำงานตามระบบราชการแบบใหม่ (ระบบราชการ ๔.๐)
ด้านเศรษฐกจิ /การทอ่ งเทย่ี ว
๑. เป็นแหลง่ ทำการประมง และผลิตอาหารทะเลที่สำคญั
๒. มีสถานที่ท่องเท่ียวท่ีหลากหลายทั้งทางวัฒนธรรมเชิงประวัติศาสตร์และทางธรรมชาติ
ที่ถือเป็นแหล่งสร้างรายได้ให้กับประชาชนในพื้นท่ี เช่น ย่านเมืองเก่าสงขลา กำแพงเมืองเก่า พิพิธภัณฑ์
พธำมะรงค์ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาตสิ งขลา ชายหาดสมหิ ลา แหลมสนออ่ น ฯลฯ
๓. มีกิจกรรมการท่องเท่ียวทางประเพณี วัฒนธรรม และการกีฬา ในพื้นท่ีตลอดปี เช่น
การจัดงานตกั บาตรปใี หม่ สงกรานต์ งานเทศกาลอาหารสองทะเล งานเทศกาลกินเจ วนั สงขลา ประเพณีลากพระ
ตักบาตรเทโว งานลอยกระทง ถนนคนเดิน สมิหลาไตรกีฬา วอลเลยบ์ อลชายหาด สงขลามาราธอน ฯลฯ
๔. เป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวด้านกีฬา โดยมีสนามกีฬาติณสูลานนท์ อยู่ในพ้ืนท่ีมีความพร้อม
ในการรองรบั การจดั การแข่งขนั กฬี าระดบั ประเทศและระดบั นานาชาติ
๕. หาดสมิหลาและหาดชลาทัศน์ ไดร้ ับรางวัลชายหาดติดดาว ระดบั 4 ดาว ซ่ึงเป็นแหล่ง
ท่องเที่ยวระดับมาตรฐานของจังหวัดสงขลา จากการประเมินในโครงการตรวจประเมินคุณภาพส่ิงแวดล้อม
ชายหาดท่องเที่ยว (ชายหาดตดิ ดาว) จังหวัดสงขลา ประจำปี 2563 ซึ่งมกี ารประเมนิ ชายหาดรวม 4 ด้าน
75
แผนพฒั นาทอ้ งถ่ิน (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา
ได้แก่ คุณภาพ สิ่งแวดล้อมด้านมลพิษ (น้ำ อากาศ ขยะตกค้างในทะเล และบนชายหาด คราบน้ำมัน และก้อน
น้ำมัน) ด้านสภาพความสมบูรณ์ของธรรมชาตแิ ละคณุ ค่าด้านการท่องเท่ียว ดา้ นการจดั การสงิ่ แวดล้อม และ
การจดั การด้านการทอ่ งเท่ยี ว
ด้านสงั คม/การศกึ ษา/คณุ ภาพชวี ิต
๑. มีจุดตรวจเพ่ือความมั่นคงปลอดภัยในพื้นท่ีทางเข้าเมืองสงขลา จำนวน ๒ จุด คือ
จดุ ตรวจชลาทัศน์ และจุดตรวจสวนสาธารณะ ๗๒ พรรษา
๒. มีแหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถ่ินท่ีหลากหลาย อาทิ อาชีพ ประเพณีวัฒนธรรม
การทอ่ งเทย่ี วเชงิ วัฒนธรรม และการกฬี า
๓. มีสถานศึกษาท่ีมีช่ือเสียงในทุกระดับชั้นหลายแห่ง ต้ังแต่ระดับปฐมวัยจนถึงระดับ
มหาวิทยาลยั
๔. มีความเป็นเมืองที่มีลักษณะเป็นพหุวัฒนธรรม ที่มีความหลากหลาย เช่น ความเป็น
เมอื งเกา่ (ชโิ นโปรตกุ ีส) มุสลมิ จีน และไทยพทุ ธ ซง่ึ เปน็ ทนุ ทางสงั คมและการเรียนรู้
๕. มีความหลากหลายทางศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต และภูมิปัญญาท้องถ่ินที่เป็น
เอกลกั ษณข์ องตน
ดา้ นทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม
๑. มีอัตลักษณ์ของความเป็นเมืองสองทะเลที่มีทะเลเช่ือมต่อกันระหว่างทะเลสาบสงขลา
และทะเลอ่าวไทยซีง่ มลี ักษณะพิเศษ คือ เป็นทะเล ๓ สามนำ้ (น้ำจืด นำ้ กร่อย นำ้ เค็ม)
๒. เป็นเมืองท่ีมีความได้เปรียบทางกายภาพ เช่น มีอากาศดี มีสภาพภูมิทัศน์สวยงาม
มีความหลากหลายทางธรรมชาติ มีภูเขา มีทะเลสาบ ทะเล ชายหาดสมหิ ลา และหาดชลาทศั น์
๓. เป็นเทศบาลต้นแบบด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม โดยเทศบาลนครสงขลาได้รับรางวัล
จากการประเมินเมืองส่ิงแวดล้อมยั่งยืนระดับประเทศ ประจำปี 2563 จากกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม ๒ รางวลั ดังน้ี
1. รางวลั ชนะเลศิ "เทศบาลด้านสง่ิ แวดลอ้ มยงั่ ยืนยอดเยย่ี ม ระดบั ประเทศ"
2. รางวลั รองชนะเลิศ อันดบั 1 "เทศบาลน่าอยอู่ ยา่ งย่ังยนื "
(คณะกรรมการอำนวยการประเมินเมืองสิ่งแวดล้อมย่ังยืนได้มีมติเห็นชอบและ
รับรองผลการประเมินเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืนระดับประเทศ ประจำปี 2563 ในคราวประชุมคณะกรรมการ
อำนวยการประเมินเมืองส่ิงแวดล้อมยั่งยืน ครั้งที่ 2/2563 เม่ือวันอังคารที่ 1 กันยายน 2563 และมี
ประกาศผลการประเมินเมอื งส่ิงแวดลอ้ มยงั่ ยนื ระดับประเทศ ประจำปี 2563 ลงวันที่ 11 กันยายน 2563)
๔. มีการจดั ทำขอ้ มูลกา๊ ซเรือนกระจกขององคก์ ร โดยไดร้ ับเกยี รติบตั รองค์กรท่มี ีการจัดทำ
ขอ้ มูลก๊าซเรอื นกระจกขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น ประจำปี 2563
76
แผนพฒั นาท้องถิน่ (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา
ดา้ นผังเมือง
๑. มีผังเมืองรวมจังหวัดสงขลา พ.ศ. ๒๕๔๙ บังคับใช้ชัดเจน ทำให้เทศบาลมีกรอบ และ
ทิศทางการพัฒนา ทางด้านกายภาคการลงทุน และการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานท่ีเหมาะสม สอดคล้องกับ
ศกั ยภาพและข้อจาํ กดั ของสภาพพืน้ ท่เี มอื งสงขลาและความตอ้ งการในอนาคต
๒. ประชาชน นักลงทุน และนักพัฒนาได้รับทราบแนวทางการพัฒนาจังหวัดสงขลาใน
อนาคตจากการบงั คบั ใชผ้ ังเมืองรวมในพ้ืนท่ีไดอ้ ยา่ งชดั เจน
๓. มีกฎกระทรวงให้ใชบ้ ังคับผังเมืองรวมจังหวัดสงขลา พ.ศ. ๒๕๕๙ ที่เอื้อตอ่ การอนุรักษ์
ความเป็นเมอื งเกา่ สงขลา
๒. จดุ อ่อน (Weakness : W)
ด้านการบรหิ ารจัดการ
๑. บุคลากรของเทศบาลบางส่วนยังขาดทักษะในการปฏิบัติงานตามอำนาจหน้าท่ีและ
ความรบั ผดิ ชอบ
๒. บุคลากร งบประมาณ วัสดุอุปกรณ์ รวมท้ังเคร่ืองมือเครื่องใช้ในการปฏิบัติงานยังไม่
เพียงพอ
๓. พน้ื ทีส่ ำนกั งานตัง้ อยู่บนพืน้ ทจ่ี ำกัดไม่สามารถขยายและปรบั ปรงุ พืน้ ที่ได้
ด้านเศรษฐกจิ /การท่องเทยี่ ว
๑. ส่ิงอำนวยความสะดวกและบริการทางการท่องเที่ยวยังไม่ได้มาตรฐาน เช่น ขาดป้าย
ชี้ทางแหล่งท่องเที่ยว (๓ ภาษา) ห้องน้ำบริการนักท่องเที่ยว และยังขาดส่ิงอำนวยความสะดวกต่าง ๆ ตามแนว
อารยสถาปัตย์เพื่อรองรับกลุ่มผู้สูงอายุคน พิการ ผู้ป่วย หญิงต้ังครรภ์ เด็ก เช่นทางลาด ห้องน้ำ ที่จอดรถ
ผพู้ กิ าร
๒. สภาพถนนบางพ้ืนที่มีความคับแคบและการขาดวินัยทางจราจร โดยจอดรถบริเวณ
ริมทางสาธารณะ ไมเ่ ป็นระเบียบ
๓. ขาดการสร้างความโดดเด่นและเรื่องราว (Story) เพื่อสร้างอัตลักษณ์ ของ
แหล่งท่องเที่ยว และของท่ีระลึกการสร้างแบรนด์การท่องเที่ยวและกิจกรรมท่องเท่ียวยังขาดการเช่ือมโยง
กับนกั ท่องเทีย่ วนานาชาติ
ด้านสงั คม/การศกึ ษา/คณุ ภาพชวี ิต
๑. ปัญหายาเสพติดในชมุ ชน
๒. สังคมยุค ๔G ทำให้เกิดการไหลบ่าของวัฒนธรรมต่างชาติและกระแสบริโภคนิยม และ
คา่ นิยมที่ผิดกระต้นุ การใช้จ่ายฟมุ่ เฟือยของประชาชน
๓. ขาดส่ิงอำนวยความสะดวกต่าง ๆ ตามแนวอารยสถาปัตย์ เช่น ทางลาดห้องน้ำ
ทจี่ อดรถผู้พิการเพ่อื รองรับสังคมผ้สู งู อายุ คนพิการ ผู้ปว่ ย หญงิ ตงั้ ครรภ์ เด็ก
77
แผนพัฒนาทอ้ งถ่ิน (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา
ดา้ นทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม
๑. ปริมาณขยะมูลฝอยเพิ่มข้ึนจากประชากรแฝงและตามแนวโน้มการเจริญเติบโตของ
ชมุ ชนเมอื ง
๒. การสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมยังไม่มีความ
เข้มแข็งและขาดความตอ่ เนือ่ ง
๓. ปัญหาการกัดเซาะชายฝ่ังบริเวณถนนชลาทัศน์ อาจกระทบต่อพื้นท่ีท่องเที่ยวใน
อนาคต หากไม่ไดร้ บั การแก้ไข
๓. โอกาส (Opportunities : O)
ด้านการบรหิ ารจดั การ
๑. มแี ผนพัฒนาชาตทิ ช่ี ดั เจน
๒. พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ กำหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมีอำนาจหน้าท่ีในการจัดระบบบริการ
สาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่น โดยมีหน่วยงานราชการส่วนกลาง และส่วนภูมิภาค
ส่งเสรมิ และสนับสนนุ การถา่ ยโอนภารกิจให้แก่ท้องถนิ่
๓. นโยบายรัฐบาลในการส่งเสริมการกระจายอำนาจการปกครองสู่ท้องถ่ินโดยสร้างดุลยภาพ
ระหว่างการกำกับดูแลและความเป็นอิสระของท้องถิ่นในการบริหารจัดการงบประมาณและบุคลากรของ
ทอ้ งถิน่
๔. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถ่ิน พ.ศ. ๒๕๔๒ ได้กำหนดรูปแบบ
การบรหิ ารงานบุคคลส่วนทอ้ งถิ่นใหม้ คี วามเป็นอิสระมากขน้ึ
๕. กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ให้ความสำคัญในการพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น เพิ่มมากข้ึน
โดยการส่งเสริมให้บุคลากรได้มีการอบรมความรู้ในเร่ืองที่เก่ียวข้องกับงานตามอำนาจหน้าท่ี และ
ความรบั ผิดชอบ
ดา้ นเศรษฐกิจ/การท่องเท่ียว
๑. ความหลากหลายของทรัพยากรการท่องเที่ยวของพื้นท่ีมีสูงท้ังแหล่งท่องเท่ียวทาง
ธรรมชาติ แหล่งท่องเที่ยวทางทะเล (หาดสมิหลา, แหลมสนออ่ น, หาดชลาทัศน์) แหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม
เช่น ยา่ นเมืองเก่าสงขลา กำแพงเมืองเก่าสงขลา พิพิธภัณฑสถานแหง่ ชาตสิ งขลา พพิ ิธภัณฑ์พธำมะรงค์ บา้ นนครใน
๒. วิถีชีวิตของคนไทยในยุคดิจิทัล มีการเผยแพร่แหล่งท่องเที่ยวเมืองสงขลาผ่านสื่อ
Social Network ทำให้มีนักท่องเท่ียวสนใจเดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในเมืองสงขลามากขึ้น ก่อให้เกิดการ
กระตุน้ เศรษฐกิจและเกดิ การกระจายรายได้ใหก้ ับประชาชนในพืน้ ที่
๓. โครงการด้านการท่องเท่ียวภายใต้แผนงาน IMT - GT (Indonesia - Malaysia - Thailand
Growth Triangle) ซึ่งปรากฏในโครงการพัฒนาแหล่งท่องเท่ียว เช่น การพัฒนาเมืองเก่า และ Green City
เป็นตน้
๔. กระแสการท่องเท่ียวเชิงอนุรักษ์ เชิงวัฒนธรรม และเชิงสุขภาพ เป็นโอกาสในการ
พฒั นาแหลง่ ท่องเที่ยวและกิจกรรมการท่องเทย่ี วซงึ่ สอดคลอ้ งกับศกั ยภาพพื้นท่ี
78
แผนพฒั นาท้องถ่ิน (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา
๕. ยุทธศาสตร์การพัฒนาภาคใต้ กำหนดให้พัฒนาเมืองเก่าสงขลาเป็นแหล่งท่องเที่ยว
ทห่ี ลากหลายเพ่อื สร้างมลู ค่าเพิ่มให้กับการท่องเทย่ี วสำคัญของภาค
๖. จังหวัดสงขลามีแผนการพัฒนาท่ีส่งเสริมและพัฒนาการท่องเท่ียวเชิงธรรมชาติ
การท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรม และเมืองเก่าสงขลาให้เป็นเมืองมรดกโลกและแหล่งท่องเท่ียวทางวัฒนธรรม
ทส่ี ำคญั ของภมู ภิ าค
๗. จากสถานการณ์ความไม่สงบในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ทำให้ประชาชนในสาม
จงั หวดั เดนิ ทางมาทอ่ งเท่ียวและพักผ่อนหย่อนใจทีช่ ายหาดสมหิ ลาเพิม่ ขึ้น
๘. นักท่องเที่ยวมีการใช้ส่ือสังคมออนไลน์ในการศึกษาข้อมูลท่องเที่ยว เข้าถึงแหล่ง
ท่องเทีย่ วได้มากขน้ึ
๙. การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ เป็นโอกาสในการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ การท่องเท่ียว
เชิงประวตั ิศาสตร์ และการใหบ้ รกิ ารดูแลผู้สูงอายุ สปาลองสเตย์
ด้านสงั คม/การศกึ ษา/คุณภาพชวี ิต
๑. นโยบายรัฐบาลส่งเสริมด้านสังคม คุณภาพชีวิต การศึกษา วัฒนธรรม
๒. เทคโนโลยีการสื่อสารทำให้เกิดการพัฒนาการเรยี นรู้ไดอ้ ย่างรวดเร็วและทั่วถงึ เชน่ ระบบ๔G๕G
๓. มแี หล่งเรยี นร้ใู ห้ประชาชนและเยาวชนไดศ้ กึ ษาค้นควา้ อยา่ งหลากหลาย
๔. จงั หวัดมแี ผนในการส่งเสริมการดำเนินการ Smart City
ดา้ นทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม
๑. จงั หวัดมีแผนในการสง่ เสริมการดำเนินการ Green City
๒. กระแสการตื่นตัวในการประหยัดพลังงาน การใช้พลังงานทดแทนเพ่ือแก้ปัญหาวิกฤติ
พลังงาน
๔. อุปสรรค (Threats : T)
ด้านการบริหารจัดการ
๑. ขาดความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงานแก้ไขเปลี่ยนแปลงบ่อย เน่ืองจากการปฏิบัติงาน
เกี่ยวขอ้ งกับกฎหมายหลายฉบับ รวมท้ังระเบยี บมีมาก ทำใหข้ าดความชัดเจนและแนน่ อนในการปฏิบตั ิ
๒. งบประมาณไม่เพียงพอในการนำมาแก้ปัญหาเร่งด่วน เช่น ปัญหาการกัดเซาะชายฝ่ังของ
คล่นื ตลอดแนวชายหาดสมิหลา ปญั หาถนนชำรดุ หรอื ปญั หานำ้ ทว่ มขงั ในฤดูฝน
๓. ประชาชนผู้รับบริการบางส่วนขาดความเข้าใจในระเบียบ กฎหมาย และข้ันตอนการ
ปฏบิ ัติงานของหนว่ ยงาน
๔. มีประชากรแฝงอยู่ในพื้นท่ีเขตเทศบาลเป็นจำนวนมาก เช่น แรงงานต่างด้าว เด็ก
นักเรียนศึกษาที่มาศึกษาในจังหวัดสงขลาซึ่งเป็นเด็กที่มาจากอำเภอ หรือจังหวัดอื่นมาเช่าหอพักหรือ
บ้านพักอยู่ ทำให้ยากต่อการควบคุมดูแลความปลอดภัยและโรคภัยคุกคามภายในเขตเมือง เนื่องจากไม่มี
ทะเบยี นประวตั ิควบคมุ ทช่ี ดั เจน
79
แผนพฒั นาท้องถิ่น (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา
การท่องเท่ยี ว ด้านเศรษฐกจิ /การท่องเที่ยว
๑. ปัญหาความไม่สงบในพ้ืนที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ส่งผลกระทบด้านการค้า การลงทุน
๒. การเกดิ โรคระบาด เช่น โรคตดิ เชอื้ ไวรัส COVID - ๑๙
๓. ภัยธรรมชาติ/การกัดเซาะ ที่มผี ลกระทบต่อการทอ่ งเทีย่ ว
๔. งบประมาณท่ีไดร้ บั เพื่อพฒั นาส่งเสริมดา้ นการทอ่ งเทยี่ วมจี ำกดั และไม่ตอ่ เนื่อง
ดา้ นสงั คม/การศกึ ษา/คณุ ภาพชวี ติ
๑. ความเจริญด้านเทคโนโลยีทำให้เกิดการหล่ังไหลของวัฒนธรรมต่างชาติ ส่งผลให้
เด็กไทยและเยาวชนเกิดค่านิยมท่ีไม่เหมาะสม เช่น การแต่งกาย การใช้ภาษา การบริโภค การมีมารยาท
ทางสงั คม เป็นต้น
๒. การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ทำให้ขาดแคลนแรงงานและต้องจัดหางบประมาณเพ่ือรองรับ
สงั คมผูส้ ูงอายุ
ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม
๑. ประชาชนบางส่วนขาดจิตสาธารณะทำให้เพม่ิ ภาระในการดูแลแก่เทศบาล
๒. ปัญหาการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ และการทำลายสิ่งแวดล้อมที่เพิ่มมากข้ึน ส่งผลให้
ปริมาณขยะ ปญั หานำ้ เนา่ เสยี และมลพิษทางอากาศเพม่ิ มากข้นึ
๓. การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศจากภาวะโลกร้อน ทำให้เกิดผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติ
และส่งิ แวดล้อม
๓.๒ การประเมนิ สถานการณส์ ภาพแวดลอ้ มภายนอกท่ีเกยี่ วข้อง
จากการประเมินสถานการณ์สภาพแวดล้อมภายนอกท่ีเก่ียวข้องโดยใช้ข้อมูลจากการลงพ้ืนท่ี
ในการจัดทำแผนชุมชนร่วมกับประชาชนแต่ละชุมชน จากการลงพ้ืนที่ในกิจกรรมเดินเย่ียมบ้าน โครงการ
เทศบาลนครสงขลาพบประชาชน และจากการประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดทำแผนพัฒนาท้องถ่ิน
(พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๕) เมื่อวันที่ ๑๓ มิถุนายน ๒๕๖๒ ณ โรงแรมกรีนเวิลด์ พาเลซ สงขลา สามารถ
รวบรวมสภาพปญั หาและความตอ้ งการของประชาชนโดยสรุป ดังน้ี
80
แผนพฒั นาทอ้ งถนิ่ (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา
๑. ดา้ นโครงสร้างพ้ืนฐาน
สภาพปญั หา ความต้องการ
๑. ถนนในเขตเทศบาลท่ีมีอยู่เดิม บางสายมีสภาพ ๑. ก่อสร้าง/ปรับปรุง ถนนในเขตเทศบาลให้ได้
ชำรุด เป็นหลุมบ่อ ไม่ได้มาตรฐาน และขาด มาตรฐาน
งบประมาณท่ีเพยี งพอในการบำรุงรกั ษาอย่างทวั่ ถึง ๒. ก่อสร้าง/ปรับปรุงคูระบายน้ำ/ท่อระบายน้ำ/ราง
๒. ท่อระบายน้ำ/รางระบายน้ำบางจุดชำรุดไม่ได้ ระบายน้ำ บรเิ วณท่ีมีปัญหาน้ำทว่ มขัง
มาตรฐานและเกิดการอุดตันทำให้เกิดน้ำท่วมขัง ๓. ต้องการให้มีน้ำประปาใช้ในชุมชน (ชุมชนแหลม
เมือ่ ฝนตกหนกั สนออ่ น, ชมุ ชนเก้าเสง้ )
๓. สัญญาณไฟจราจร ไฟกะพริบไม่เพียงพอ ทำให้ ๔. ต้องการไฟฟา้ ส่องสวา่ งในชุมชน
สภาพการจราจรติดขัดและเสี่ยงต่อการเกิด ๕. ปรับปรุงภูมิทัศน์ โดยนำสายไฟฟ้า สายโทรศัพท์
อุบัตเิ หตุในบางจุด เชน่ บริเวณทางแยกหรือซอยตา่ ง ๆ สายอนิ เทอรเ์ นต็ ลงดนิ
ในถนนสายทะเลหลวง หรือแยกถนนชลาทัศน์ ๖. จัดให้มีเครือข่ายอนิ เทอร์เน็ตเพื่อให้บริการฟรีใน
๔. สายไฟฟ้า สายโทรศัพท์ สายอินเทอร์เน็ตไม่ เขตเทศบาลนครสงขลา
เป็นระเบียบเรียบร้อย ก่อให้เกิดปัญหาด้าน
ทศั นียภาพ
๕. ไฟส่องสว่างในชมุ ชนมไี ม่เพยี งพอ
๖. ประชากรบางส่วนไม่มีท่ีอยู่อาศัยเป็นของตนเอง
ไม่มีบ้านเลขที่ ทำให้มีปัญหาเก่ียวกับการบริการ
สาธารณูปโภค เช่น น้ำประปา และไฟฟ้า จาก
หน่วยงานภาครัฐ
๗. เครือข่ายอินเทอร์เนต็ ไมเ่ พียงพอ
๒. ด้านการศึกษา
สภาพปญั หา ความตอ้ งการ
1. มีเด็กเร่ร่อนและเด็กด้อยโอกาสขาดโอกาสทาง 1. มีทุนการศกึ ษาใหเ้ ดก็ ไร้โอกาสไดเ้ รียนฟรี
การศึกษา ๒. ส่งเสริมการจัดการศึกษาให้เด็กในเขตเทศบาล
๒. เยาวชนบางส่วนไม่มีความรู้ด้านคอมพิวเตอร์ ได้มี โอกาสเรียน ฟ รี ท้ั งการศึกษ าใน ระบ บ
และภาษาสากล การศกึ ษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย
๓. สถานศึกษามีจำนวนนักเรียนต่อห้องเรียนมาก ๓. สนับสนุนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพ่ือใช้ในการ
เกินมาตรฐาน ทำให้ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนต่ำใน เรียน
บางกลุ่มสาระการเรียนรู้
81
แผนพฒั นาท้องถ่ิน (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา
๓. ดา้ นทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม
สภาพปัญหา ความตอ้ งการ
1. การเจริญเติบโตของเมืองและการเพ่ิมขึ้นของ ๑. สร้างจิตสำนึกให้กับประชาชนตั้งแต่ระดับเยาวชน
ประชาชนท่ีอาศัยอย่างหนาแน่นและประชากรแฝง หรอื ให้มีการจัดต้ังองค์กร เครือข่าย เพ่ือผลักดนั ให้
ทำให้ปริมาณขยะและน้ำเนา่ เสียเพมิ่ ข้ึน เกิดนโยบายในระดับภาครัฐท่ีชัดเจนต่อการดูแล
๒. อาคาร บ้านเรือน ร้านค้า สถานประกอบการ รักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพ่ือลด
ปล่อยน้ำเสียลงสู่คลองสำโรงและคลองขวางจนเริ่ม ปญั หาภาวะโลกร้อน และมลพิษทางอากาศ
มีสภาพเน่าเหม็น ตื้นเขิน และมีส่ิงกีดขวางที่เป็น ๒. การดูแลรักษาความสะอาดถนนในเขตเทศบาล
อปุ สรรคต่อการระบายนำ้ นครสงขลา บริเวณชายหาดสมิหลา และชายหาด
๓. ประชาชนขาดจิตสำนึกในการช่วยกันอนุรักษ์ ชลาทศั น์
ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม ๓. แก้ปัญหากัดเซาะชายฝั่งของคล่ืนตลอดแนว
4. ปัญหาการกัดเซาะชายฝ่ังของคล่ืนตลอดแนว ชายหาดสมิหลาโดยเฉพาะบริเวณถนนชลาทัศน์
ชายหาดสมิหลา โดยเฉพาะบริเวณถนนชลาทัศน์ ทางโค้งเก้าเส้ง และปัญหาต้นสนล้ม หรือปลูก
ทางโคง้ เกา้ เสง้ ทดแทน
๕. ปญั หาการบุกรุกพืน้ ท่สี าธารณะประโยชน์
๖. ประชาชนขาดจิตสำนึกในการใช้พลังงานอย่าง
ประหยัด
4. ด้านสังคม
สภาพปัญหา ความตอ้ งการ
๑. ปัญหาเร่ือง สุนัขจรจัด สุนัขไม่มีเจ้าของในชุมชน ๑. การบริหารจัดการเรื่องสุนัขไม่มีเจ้าของ และ
และแหล่งท่องเท่ียว มีเป็นจำนวนมาก การจัดการไม่ทั่วถึง สนุ ัขจรจดั มีศูนย์พักพิง ให้กับสุนขั ไม่มีเจ้าของและ
ทำให้เป็นภัยกับคนในชุมชนและนักท่องเท่ียว ซ่ึงอาจเป็น สุนัขจรจัด เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคพิษ
ปัจจัยนำไปสู่โรคพิษสุนัขบ้า และการระบาดของโรค สุนัขบ้า และความปลอดภัยของคนในชุมชน และ
และยังไม่มีหน่วยงานท่ีปฏิบัติภารกิจกับสุนัขจรจัด นักท่องเท่ียว รวมท้ังควบคุมประชากรสุนัข แมว
ทำให้มีการเพ่ิมจำนวนของสุนัขจรจัดในเวลาอันสั้น และลิงบรเิ วณเขาตงั กวน
อีกท้ังยังขาดสถานท่ีพักพิงของสุนัขจรจัด ทำให้ ๒. การแกป้ ัญหายาเสพติดในชุมชนอยา่ งจริงจงั
การจัดการควบคุม ประชากรสุนัข ทำได้ยากและ ๓. เพ่ิมส่ิงอำนวยความสะดวกและบริการทางโครงสร้าง
ไมป่ ระสบความสำเร็จ พ้ืนฐานท่ีได้มาตรฐานตามแนวอารยสถาปัตย์ เพื่อ
๒. การแพร่ระบาดของยาเสพตดิ เข้าไปสู่ชมุ ชนและ รองรับการเอ้ือต่อการใช้ชีวิตของกลุ่มผู้สูงอายุคน
กล่มุ เยาวชนในสถานศึกษา พิการ ผู้ป่วย หญิงตั้งครรภ์ เด็ก เช่น ทางลาด
๓. การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ปัจจุบนั จำนวนผู้สูงอายุ ห้องน้ำ ท่ีจอดรถผู้พิการ
มปี ริมาณเพมิ่ มากขึน้ ทำให้มปี ัญหาด้านสุขภาพจาก ๔. มีมาตรการในการควบคุมดูแล ป้องกัน รักษาและ
ความชราและปัญหาจากความเหงาและขาดการ เยียวยา โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid -
เอาใจใสจ่ ากลูกหลาน ๑๙)
82
แผนพัฒนาท้องถ่นิ (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา
4. ดา้ นสังคม (ตอ่ )
สภาพปัญหา ความตอ้ งการ
๔. ขาดการจัดการแก้ไขปัญหาท่ีอยู่อาศัยของคนจน
ในเมือง
๕. คุณภาพชีวิตของคนชรา ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาส
โดยรวมยังไม่ดพี อ
๖. ปัญหาสังคมก้มหน้า (social ignore) ทำให้การ
ส่ือสารแบบเผชิญหน้าลดน้อยลง ทำให้เด็กสูญเสีย
การใช้ชีวิตประจำวันที่ควรจะเป็น เช่น เรื่อง
สัม พั น ธภ าพ การวางตัว ซ่ึงเป็ น จุดเริ่มต้น
พฒั นาการท่ีสำคัญของวยั รุ่น และการเลน่ จนติดเป็น
นิสัยนน้ั จะทำให้เด็กมพี ฤตกิ รรมทีแ่ ขง็ กระดา้ ง
๗. โครงสร้างประชากรของจังหวัดสงขลา เป็น
สังคมก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ และมีแนวโน้ม
เพ่ิมขึ้นอย่างต่อเน่ือง ประชากรวัยแรงงานน้อยลง
เมื่อเทียบกับสัดส่วนประชากร ส่งผลตอ่ การจัดสรร
งบประมาณเพ่ือให้ความช่วยเหลือดูแลประชากร
ช่วงวยั ผู้สูงอายมุ ากขนึ้
๘. โรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid - ๑๙)
5. ด้านเศรษฐกิจและการทอ่ งเท่ียว
สภาพปญั หา ความต้องการ
๑. ปัญหาเงินเฟ้อ ทำให้ค่าครองชีพสูงข้ึนอย่าง ๑. จัดฝึกอบรมพัฒนาอาชีพเพื่อเพ่ิมรายได้ให้กับ
รวดเร็ว ส่งผลกระทบต่อการดำรงชีวิตของ ประชาชนในชุมชน
ประชาชน โดยเฉพาะผู้ที่มรี ายไดน้ อ้ ยหรือตกงาน ๒. พฒั นาแหล่งท่องเทีย่ ว บคุ ลากรด้านการท่องเทีย่ ว
๒. ประชาชนบางส่วนยังขาดทักษะในการประกอบ ๓. พัฒนา ควบคุมการบริการที่เกี่ยวเนื่องกับการ
อาชีพหรือขาดโอกาสเข้าสู่ตลาดแรงงาน ทำให้ขาด ท่องเท่ยี ว เช่น ทพี่ กั อาหาร ต้องมีราคาทเ่ี หมาะสม
การขยายโอกาสของการลงทุน ๔. เพ่ิมความปลอดภยั ทางการท่องเท่ียว
๓. ประชาชนขาดความร้แู ละทกั ษะในการประกอบอาชีพ ๕. เพ่ิมมาตรการในการป้องกันดูแลโรคติดเชื้อไวรัส
๔. ประชาชนหรือผู้ประกอบการบางส่วนไม่สามารถ โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid - ๑๙) ให้แก่ผู้ประกอบการ
เข้าถงึ แหลง่ เงนิ ทุนได้ และนกั ทอ่ งเทย่ี ว
๕. ขาดความพร้อมทางสุขลักษณะทางการท่องเท่ียว
เช่น หอ้ งนำ้ แสงสว่าง
๖. โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid - ๑๙)
ทำใหเ้ ศรษฐกจิ และการทอ่ งเทีย่ วซบเซาลง
83
แผนพัฒนาทอ้ งถิ่น (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา
๖. ด้านความปลอดภยั ในชวี ติ และทรัพย์สิน
สภาพปญั หา ความต้องการ
๑. แนวโน้มการเกิดปัญหาการก่ออาชญากรรมและ ๑. ติดต้ังกล้องวงจรปิด (CCTV) ในบริเวณท่ีเสี่ยง
ฉกชิงว่ิงราวเพ่ิมขึ้นเน่ืองจากอยู่ในภาวะเงินเฟ้อ ต่อการเกิดปัญหาการก่ออาชญากรรมและฉกชิง
เศรษฐกิจตกต่ำและมีประชากรแฝงอาศัยอยู่เป็น ว่งิ ราว
จำนวนมาก ๒. ติดตั้งถังดับเพลิงตามซอยท่ีรถดับเพลงิ เข้าถงึ ยาก
๒. ปัญหาการขาดวินัยจราจรและการบังคับใช้กฎหมาย ๓. ติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่างบริเวณถนนและซอยที่มี
ท่ีไม่มีประสิทธิภาพ ส่งผลให้เกิดอุบัติเหตุแก่ผู้ใช้รถ ความเสยี่ งตอ่ การกอ่ อาชญากรรม
ใช้ถนน ๔. ตดิ ตง้ั เคร่อื งเตอื นภยั ภัยพิบัตแิ ละสึนามิ เปน็ ต้น
๓. ขาดระบบเตือนภัยท่ีมีประสิทธิภาพในการป้องกัน
ปญั หาสาธารณภยั ภยั พิบตั ิ และสนึ ามิ
๔. ประชาชนขาดความรู้ความเข้าใจเบ้ืองต้นในการ
ป้องกันภัยต่าง ๆ เช่น การเกิดเหตุภัยพิบัติต่าง ๆ
การเกดิ อุทกภยั วาตภยั ธรณีพบิ ัตภิ ัย อัคคีภยั เปน็ ต้น
๕. บางพื้นที่ชุมชนมีสภาพถนนทางเข้าเป็นซอยแคบ
รถยนต์ขนาดใหญ่ไม่สามารถเข้าถึง อาจมีความ
เสีย่ งต่อการเขา้ ถงึ ในการใหค้ วามช่วยเหลือ กรณีเกิด
เหตุภัยอัคคีภัย ภัยพิบัติต่าง ๆ เช่น การเกิดอุทกภัย
วาตภัย ธรณพี บิ ัติภัย เปน็ ตน้
๗. ดา้ นการอนรุ ักษศ์ ลิ ปวฒั นธรรม
สภาพปัญหา ความตอ้ งการ
๑. ศิลปะ วัฒนธรรม และประเพณีท้องถิ่นถูกทำลาย ๑. มีการส่งเสริมการเรียนรู้ประวตั ิศาสตรท์ ้องถ่ินให้แก่
จากวัฒนธรรมต่างชาติ ทำให้วิถีชีวิตของคนในชุมชน ลูกหลาน เยาวชน ประชาชน และนักท่ องเที่ ยว
เปลยี่ นแปลงไป ได้ศึกษา สืบค้น เพ่ือให้ผู้ศึกษาเกิดความภาคภูมิใจ
๒. ประชาชนโดยเฉพาะคนรุ่นใหม่ขาดสำนึกทาง ในความเป็นคนสงขลา
วัฒนธรรมทอ้ งถน่ิ
๓. เยาวชนและประชาชนให้ความสนใจดา้ นศาสนา
น้อยลง
๔. ประชาชนบางส่วนยังขาดจิตสำนึกและความ
ภาคภูมใิ จในท้องถ่ินของตนเอง
สว่ นที่ ๓
การนำแผนพฒั นาทอ้ งถิ่นไปสู่การปฏิบตั ิ
84
แผนพัฒนาทอ้ งถน่ิ (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา
สว่ นท่ี ๓
การนำแผนพัฒนาท้องถน่ิ ไปสูก่ ารปฏบิ ตั ิ
๑. ยุทธศาสตร์การพัฒนาและแผนงาน
ท่ี ยทุ ธศาสตร์ ด้าน แผนงาน หน่วยงาน หน่วยงาน
รับผิดชอบ สนับสนุน
๑ พฒั นาการศกึ ษา บริการชุมชน ๑.๑ การศกึ ษา - สำนักการศกึ ษา
ศาสนา ศิลปวฒั นธรรม และสงั คม ๑.๒ การศาสนา - สำนกั การศึกษา
และจารตี ประเพณี วฒั นธรรม และ
นันทนาการ
เศรษฐกิจ ๑.๓ อตุ สาหกรรม - สำนกั การศกึ ษา
และการโยธา
๒ พฒั นาคุณภาพชวี ิต บรหิ ารทว่ั ไป 2.1 รกั ษา - สำนกั ปลัดฯ
ความสงบภายใน
สงั คมสงเคราะห์ - กองสาธารณสขุ ฯ
2.2 สาธารณสุข - สำนักช่าง
สง่ิ แวดล้อม และความ บรกิ ารชุมชน - กองสวัสดกิ ารสังคม
ปลอดภยั ในชีวิตและ และสงั คม 2.3 สงั คม
ทรพั ย์สิน สงเคราะห์ - กองสาธารณสุขฯ
2.4 เคหะและ
ชมุ ชน - กองสวัสดกิ ารสงั คม
2.5 สร้างความ
เข้มแข็งของชมุ ชน
เศรษฐกิจ 2.6 อุตสาหกรรม - สำนักช่าง
และการโยธา
การดำเนนิ งานอน่ื 2.7 งบกลาง - กองสาธารณสุขฯ
85
แผนพัฒนาทอ้ งถน่ิ (พ.ศ. 2566 - 2570) เทศบาลนครสงขลา
ท่ี ยุทธศาสตร์ ดา้ น แผนงาน หน่วยงาน หน่วยงาน
รับผดิ ชอบ สนบั สนนุ
3.1 การศาสนา - สำนักปลดั ฯ
๓ พฒั นาเศรษฐกิจ บริการชมุ ชน วัฒนธรรม และ
นันทนาการ - สำนกั ช่าง
การทอ่ งเทยี่ ว กีฬา และสงั คม 3.2 อตุ สาหกรรม
และการโยธา - สำนกั ชา่ ง
และนันทนาการ ไปสู่ 4.1 เคหะ
และชมุ ชน - สำนักช่าง
ไทยแลนด์ 4.0 เศรษฐกจิ 4.2 อุตสาหกรรม
และการโยธา - กองยุทธศาสตรฯ์
๔ พฒั นาโครงสรา้ ง บรกิ ารชมุ ชน 5.1 บรหิ ารงาน - กองการเจ้าหน้าที่
ทัว่ ไป - สำนักปลดั ฯ
พนื้ ฐาน และโครงข่าย และสังคม - หนว่ ยตรวจสอบ
5.2 สาธารณสขุ ภายใน
การส่ือสาร เศรษฐกจิ 5.3 เคหะ - กองสาธารณสุขฯ
และชุมชน - สำนักช่าง
๕ การบรหิ ารจัดการ บรหิ ารทวั่ ไป 5.4 อุตสาหกรรม
บา้ นเมืองที่ดี และ และการโยธา - สำนกั ปลัดฯ
องค์กรรบั ใชป้ ระชาชน - กองสาธารณสขุ
18 แผนงาน - สำนกั ช่าง
บริการชุมชน
และสังคม
เศรษฐกิจ
รวม 5 ยทุ ธศาสตร์ 13 ดา้ น
ยทุ ธศาสตร์ 2566 บญั ชสี รปุ โคร
แผนพฒั นาทอ้ งถ่ิน (พ
1) ยทุ ธศาสตร์พัฒนาการศึกษา ศาสนา จํานวน งบประมาณ
ศิลปวัฒนธรรมและจารีตประเพณี เทศบาลน
1.1) แผนงานการศกึ ษา โครงการ (บาท) 2567
1.2) แผนงานการศาสนา วัฒนธรรม และ จาํ นวน งบประมาณ จํานวน
นันทนาการ โครงการ (บาท) โครงกา
1.3) แผนงานอุตสาหกรรมและการโยธา
65 73,530,500 43 65,608,000 5
รวม
๒) ยทุ ธศาสตร์พัฒนาคณุ ภาพชวี ติ 15 9,180,000 15 9,180,000 1
สงั คมสงเคราะห์ ส่ิงแวดล้อม และความ 9 38,881,000 4 2,347,000 6
ปลอดภยั ในชวี ิตและทรพั ย์สนิ 89 121,591,500 62 77,135,000
2.1) แผนงานการรกั ษาความสงบภายใน
2.2) แผนงานสาธารณสุข 7 5,450,000 7 5,450,000 2
2.3) แผนงานสงั คมสงเคราะห์ 22 4,435,000 22 4,435,000 1
๒.4) แผนงานเคหะและชมุ ชน 11 101,344,600 11 109,084,600 1
๒.5) แผนงานสรา้ งความเข้มแข็งของชุมชน 5 610,000 5 610,000
2.6) แผนงานอุตสาหกรรมและการโยธา 14 5,400,000 14 5,400,000 6
๒.7) แผนงานงบกลาง 1 3,000,000 1 4,000,000
1 4,050,000 1 4,050,000
รวม 61 124,289,600 61 133,029,600
แบบ ผ.0๑
รงการพัฒนา 2569 ๒๕๗๐ รวม ๕ ปี
พ.ศ.2566 - 2570) จํานวน งบประมาณ จํานวน งบประมาณ
นครสงขลา โครงการ (บาท) โครงการ (บาท) จํานวน งบประมาณ
2568 โครงการ (บาท)
น งบประมาณ
าร (บาท)
50 67,870,000 40 67,000,000 40 67,000,000 238 341,008,500
15 9,230,000 15 9,380,000 15 9,620,000 75 46,590,000
2 800,000 2 880,000 1 150,000 18 43,058,000
67 77,900,000 57 77,260,000 56 76,770,000 331 430,656,500
7 5,450,000 7 5,450,000 7 5,450,000 35 27,250,000
22 4,435,000 22 4,435,000
11 116,824,600 11 124,564,600 22 4,435,000 110 22,175,000
5 610,000 5 610,000
14 5,400,000 14 5,400,000 11 132,304,600 55 584,123,000
-- -- 5 610,000 25 3,050,000
1 4,050,000 1 4,050,000
60 136,769,600 60 144,509,600 14 5,400,000 70 27,000,000
- - 2 7,000,000
1 4,050,000 5 20,250,000
60 152,249,600 302 690,848,000
86
ยุทธศาสตร์ 2566 บญั ชีสรปุ โคร
งบประมาณ แผนพัฒนาทอ้ งถนิ่ (พ
จาํ นวน (บาท)
โครงการ เทศบาลน
2567
จํานวน งบประมาณ จํานวน
โครงการ (บาท) โครงกา
๓) ยุทธศาสตร์พฒั นาเศรษฐกจิ การท่องเทย่ี ว
กีฬาและนันทนาการ ไปส่ไู ทยแลนด์ 4.0
3.1) แผนงานการศาสนา วัฒนธรรมและ
นนั ทนาการ 10 13,700,000 10 13,200,000
78,200,000 4 25,800,000
3.๒) แผนงานอุตสาหกรรมและการโยธา 6 91,900,000 14 39,000,000
รวม 16
4) ยทุ ธศาสตร์พัฒนาโครงสรา้ งพนื้ ฐาน
และโครงข่ายการสือ่ สาร
4.1) แผนงานเคหะและชุมชน 3 13,279,928 2 21,881,274
2,355,400 --
4.2) แผนงานอุตสาหกรรมและการโยธา 2 15,635,328 2 21,881,274
รวม 5
5) ยทุ ธศาสตร์การบรหิ ารจดั การบ้านเมอื งที่ดี
และองค์กรรับใช้ประชาชน
5.1) แผนงานบริหารงานทัว่ ไป 10 2,815,000 10 2,815,000 10
1,250,000 --
5.2) แผนงานสาธารณสุข 3 -- 1
630,000 1 30,000,000 14
5.3) แผนงานเคหะและชุมชน 1 105,635,000
110,330,000 11 32,815,000
5.4) แผนงานอุตสาหกรรมและการโยธา 9 463,746,428 150 303,860,874
รวม 23
รวมท้ังหมด 194
87
แบบ ผ.0๑
รงการพฒั นา 2569 ๒๕๗๐ รวม ๕ ปี
พ.ศ.2566 - 2570) จํานวน งบประมาณ จาํ นวน งบประมาณ
นครสงขลา โครงการ (บาท) โครงการ (บาท) จํานวน งบประมาณ
2568 โครงการ (บาท)
น งบประมาณ
าร (บาท)
9 12,700,000 9 12,700,000 9 12,700,000 47 65,000,000
-- -- -- 10 104,000,000
9 12,700,000 9 12,700,000 9 12,700,000 57 169,000,000
1 32,000,000 1 20,000,000 1 32,000,000 8 119,161,202
-- -- -- 2 2,355,400
1 32,000,000 1 20,000,000 1 32,000,000 10 121,516,602
0 2,815,000 10 2,815,000 10 2,815,000 50 14,075,000
- -- -- 3 1,250,000
- -- -- 1 630,000
-- -- 10 135,635,000
-- 64 151,590,000
10 2,815,000 10 2,815,000 10 2,815,000 764 1,563,611,102
47 262,184,600 137 257,284,600 136 276,534,600
รายละเอียดโค
แผนพัฒนาทอ้ งถน่ิ (พ
เทศบาลน
ก. ยทุ ธศาสตรจ์ งั หวัดท่ี 2 พัฒนาทรัพยากรมนษุ ย์ รองรบั ทศิ ทางการพฒั นาเศรษฐกิจ ยกระดบั คุณภาพชวี ติ ของป
ข. ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาของ อปท.ในเขตจังหวดั สงขลาท่ี 2 สง่ เสรมิ สนบั สนุนการจัดการศึกษา สังคมสงคราะห
ยุทธศาสตร์เทศบาลนครสงขลา ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาการศึกษา ศาสนา ศลิ ปวัฒนธรรมและจารีตประเพณี
1.1 แผนงานการศกึ ษา
ที่ โครงการ วัตถุประสงค์ เปา้ หมาย 2566 25๖7
(ผลผลติ ของโครงการ) (บาท) (บาท)
1 งานวันครู เพือ่ จดั งานกจิ กรรมวนั ครู ครูทกุ คนใน ร.ร.ท.1 - 5, 150,000 150,0
และร่วมระลึกถงึ พระคณุ ครู ศพด. และครเู กษียณ
2 ชมุ นมุ ลูกเสอื ยุวกาชาด เพอื่ นาํ ลกู เสอื และยวุ กาชาด นกั เรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 200,000 300,00
6 โรงเรยี นสงั กัดเทศบาล
สัมพันธ์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 นครสงขลา
โรงเรียนสังกัดเทศบาลนคร-
สงขลาเขา้ ร่วมกิจกรรมอยู่
คา่ ยพกั แรมตามหลกั สูตร
8
แบบ ผ.๐2
ครงการพัฒนา
พ.ศ.2566 - 2570)
นครสงขลา
ประชาชนบนฐานความรพู้ หวุ ัฒนธรรมและสร้างการเจรญิ เติบโตอย่างมน่ั คงด้วยหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ห์ สาธารณสขุ เพ่อื ยกระดับคุณภาพชวี ิตและความเขม้ แขง็ ของสถาบันครอบครัว
งบประมาณ ตัวช้วี ัด ผลลพั ธท์ ่ีคาดว่า หน่วยงาน
25๖8
(บาท) 25๖9 2570 (KPI) จะไดร้ ับ รบั ผดิ ชอบหลัก
(บาท)
000 200,000 (บาท)
200,000
00 400,000 200,000 ครทู กุ คนในโรงเรยี น ครูทุกคนไดแ้ สดงออกถึง สาํ นกั การศกึ ษา
400,000
ศนู ย์พฒั นาเดก็ เล็ก ความกตญั ญกู ตเวที งานโรงเรยี น
สงั กดั เทศบาลนคร บรู พคณาจารย์
สงขลา และครู
เกษยี ณ รว่ มงาน
ไม่น้อยกวา่ ร้อยละ
50
400,000 นกั เรยี นประถม นักเรยี นชั้นประถมศกึ ษา สํานักการศึกษา
ศึกษาปที ่ี 6 ปีท่ี 6 โรงเรยี นสงั กดั งานโรงเรียน
เข้ารว่ มกิจกรรม เทศบาลนครสงขลาได้
100% เข้ารว่ มกิจกรรมอยคู่ า่ ย
พกั แรมตามหลักสูตรฯ
88
8
ที่ โครงการ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย 2566 25๖7
(ผลผลติ ของโครงการ) (บาท) (บาท)
3 รว่ มชุมนุมลูกเสือ เพือ่ นาํ ลูกเสอื เนตรนารใี น ลูกเสือ เนตรนารี ทไี่ ด้รบั 100,000 100,0
เนตรนารีระดบั ภาคใต้ โรงเรยี นสงั กัดเทศบาลนคร การคดั เลอื กเปน็ ตวั แทน
และระดบั ประเทศ สงขลา เข้าร่วมกจิ กรรม ของเทศบาลนครสงขลา
ลูกเสอื เนตรนารใี นระดับ
ภาคและระดับประเทศ
4 คา่ ยพกั แรมลกู เสือ เพ่อื นําลูกเสอื เนตรนารี ลกู เสือเนตรนารีสามัญรนุ่ 100,000 100,00
เนตรนารีสามญั รนุ่ ใหญ่ สามัญรุ่นใหญ่ ได้เข้าร่วม ใหญ่ทกุ คน
กจิ กรรมคา่ ยพกั แรมตามหลกั
สูตรฯ
5 อาหารกลางวัน เพอ่ื ให้โรงเรยี นจดั อาหาร เพอื่ อดุ หนุนงบประมาณ 28,000,000 28,000,0
กลางวนั ให้กบั นกั เรียนตาม อาหารกลางวันให้กบั
หลกั โภชนาการทดี่ ี รร.อนุบาลสงขลา
รร.วเิ ชยี รชม
รร.สังกดั ตชด.
๖ จดั กิจกรรมสานสมั พันธ์ เพือ่ เยี่ยมพบปะผู้ปกครองของ นกั เรยี นโรงเรียนเทศบาล 200,000 200,00
บา้ นและโรงเรยี น นักเรยี นและสาํ รวจความเป็น ๔-๕
อยู่ของนักเรยี น
89
งบประมาณ ตวั ชี้วดั ผลลัพธท์ คี่ าดว่า หน่วยงาน
25๖8
(บาท) 25๖9 2570 (KPI) จะไดร้ บั รับผิดชอบหลัก
(บาท)
000 100,000 (บาท)
100,000
00 100,000 100,000 ลกู เสือ เนตรนารที ี่ ลกู เสือ เนตรนารีทีไ่ ด้รับ สํานกั การศึกษา
100,000 ไดร้ ับการคดั เลือก การคัดเลอื กเปน็ ตัวแทน งานโรงเรียน
เข้ารว่ มกิจกรรม ของเทศบาลนครสงขลา
ทุกคน ได้เข้าร่วมกจิ กรรมใน สํานกั การศึกษา
ระดับภาค และระดับ งานโรงเรียน
100,000 ลูกเสอื เนตรนารี ประเทศ
สามญั รนุ่ ใหญ่เขา้ ลูกเสือเนตรนารไี ด้เขา้
รว่ มกจิ กรรม รว่ มกจิ กรรมอยคู่ ่ายพัก
100% แรมตามหลกั สตู รฯ
000 28,000,000 28,000,000 28,000,000 นกั เรยี นทุกคนไดร้ ับ นกั เรียนทกุ คนไดร้ ับการ สํานักการศึกษา
อาหารกลางวันที่ จดั สรรอาหารกลางวันที่ งานโรงเรยี น
ถกู หลกั โภชนาการ ถูกหลกั โภชนาการท่ีดี
00 200,000 200,000 200,000 นักเรยี นโรงเรียน เขา้ ใจและรับทราบความ สํานักการศึกษา
เทศบาล 4-5 เปน็ อยขู่ องนักเรียนและ งานโรงเรียน
ทุกคน ผู้ปกครองโรงเรยี น
เทศบาล ๔-๕