¤¿°| zÙ¥ ¡qÖÖwÙ® º
ÙĈĂíïĉ ć÷ÖúŠćüđÿîš ÿïĉ
ĔîêĈøćēøÙîìĉ ćîÙĈÞĆîìŤ ĢĢ
ĒúąĒñîîüéÙüęĈĔîÝćøċÖêĈøć÷ć
üĆéøćßēĂøÿćøćöøćßüøüĀĉ ćø
ÿĈîĆÖÜćîךĂöúĎ ĒúąÙúÜĆ ÙüćöøĎš
ÖøöÖćøĒóì÷ŤĒñîĕì÷ĒúąÖćøĒóì÷ŤìćÜđúĂČ Ö
ÖøąìøüÜÿćíćøèÿč×
ชดุ การสงั คายนาภูมปิ ญ ญาการนวดไทย: ๑
คําอธิบายกลา วเสนสิบในตําราโรคนทิ านคาํ ฉนั ท ๑๑
และแผนนวดควา่ํ ในจารกึ ตํารายาวดั ราชโอรสารามราชวรวหิ าร
สา� นักงานข้อมลู และคลังความรู้
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
ชดุ การสงั คายนาภูมิปัญญาการนวดไทย: ๑
ค�ำอธิบายกลา่ วเสน้ สิบในตำ� ราโรคนทิ านค�ำฉันท์ ๑๑
และแผนนวดควำ�่ ในจารึกต�ำรายาวดั ราชโอรสารามราชวรวหิ าร
ทีป่ รึกษา อธบิ ดกี รมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
นายแพทยส์ เุ ทพ วชั รปยิ านันทน์ รองอธบิ ดกี รมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
นายแพทยป์ ราโมทย์ เสถียรรัตน ์
บรรณาธกิ าร ดร.รัชนี จันทรเ์ กษ อ.สดุ ารตั น์ สุวรรณพงศ์ ดร.ภก.ยงศักดิ์ ตนั ตปิ ิฎก
กองบรรณาธกิ าร ศรัณยา จันษร วนดิ า คำ� หงษา สมชาย ช้างแกว้ มณี
ซูไมยะ เดง็ สาแม พสิ ษิ ฎ์พล นางาม
ผู้ทรงคณุ วฒุ ิและ นพ.ประพจน์ เภตรากาศ อ.สันติสขุ โสภณสริ ิ อ.ถวิล อภยั นคิ ม
ครูหมอนวดไทย สต.นโิ รจน์ นิลสถิตย์ อ.สำ� อาง เสาวมาลย ์ อ.ธงชัย ออ่ นนอ้ ม
อ.วโิ รจน์ มณฑา อ.สนิท วงษ์กะวนั อ.กรกมล เอยี่ มธนะมาศ
อ.ศภุ ณี เมธารนิ ทร ์ อ.สาวติ รี ศริ วิ ุฒ ิ อ.ระวี รักษ์แก้ว
จดั ท�ำโดย สำ� นกั งานข้อมูลและคลงั ความรู้
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสขุ
http://www.dtam.moph.go.th/
ขอ้ มูลทางบรรณานุกรมของส�ำนักหอสมุดแหง่ ชาติ
National Library of Thailand Cataloging in Publication Data
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก. สำ� นักงานข้อมูลและคลังความรู้.
ชดุ การสังคายนาภูมปิ ญั ญาการนวดไทย: ๑ คำ� อธิบายกลา่ วเสน้ สิบในต�ำราโรคนิทานคำ� ฉันท์ ๑๑
และแผนนวดคว่ำ� ในจารกึ ต�ำรายาวดั ราชโอรสารามราชวรวิหาร.--นนทบรุ ี: กรมการแพทย์แผนไทยและ
การแพทย์ทางเลอื ก, ๒๕๖๐.
๑๖๐ หน้า. -- (ชดุ การสังคายนาภูมปิ ัญญาการนวดไทย: ๑).
๑. การนวด. I. ชอ่ื เรื่อง.
615.822
ISBN 978-616-11-3123-4
ประสานงาน ลภดา ศรีโคตร จฑุ าพร ภเู วยี ง จนิ ตนา ศรสี ุวรรณ์
ออกแบบเน้อื หา
จัดพมิ พ์โดย ชนิสรา นาถนอม ออกแบบปก ชยั ณรงค์ พาพลงาม
พิมพ์ครั้งท่ี ๑
พิมพ์ท ่ี กองทุนภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย
มกราคม ๒๕๖๐ จ�ำนวน ๑,๐๐๐ เล่ม
ศูนย์สอ่ื และสงิ่ พมิ พ์แก้วเจา้ จอม มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สวนสนุ นั ทา
คํานํา
ในปัจจุบันองค์ความรู้ด้านการแพทย์แผนไทยซ่ึงเป็นภูมิปัญญาของบรรพชนน้ัน
แม้มีอยู่มากมายหลากหลาย มีการปฏิบัติใช้รักษาผู้คนแล้วได้ผลมาแต่โบราณกาล
แต่ด้วยเวลาทีผ่ ันผา่ นท�าให้องคค์ วามรเู้ หลา่ น้ันบางส่วนกม็ คี วามคลาดเคลื่อน ไม่เปน็ ระบบ
และบางแห่งก็ไมส่ ามารถน�ามาต่อยอดความรู้เพ่อื ประโยชนท์ างวชิ าการได้
ด้วยเล็งเห็นว่าความรู้ด้านการแพทย์แผนไทยน้ันมีความส�าคัญต่อชาติและมีคุณค่า
ทางด้านประวัติศาสตร์ วิทยาการ ความรู้เหล่านี้จึงควรได้รับการช�าระให้ทันสมัยและ
ท�าให้เป็นระบบ ผ่านกระบวนการ “สังคายนา” ที่ต้องอาศัยการระดมสมอง รวบรวม
ความรแู้ ละประสบการณ์ในการศึกษาจากผู้เชี่ยวชาญหลายภาคส่วน และนา� ความร้ทู ่ีได้รบั
การช�าระแล้วมาก่อประโยชน์และสร้างคณุ ค่าใหว้ งวิชาการแพทยแ์ ผนไทยและประเทศชาติ
ตอ่ ไป
โครงการสังคายนาภูมิปัญญาการนวดไทยในต�าราการแพทย์แผนไทยแห่งชาติ
จึงด�าเนินการบนพ้ืนฐานของหลักการข้างต้น โดยเป็นส่วนหน่ึงของโครงการพัฒนาระบบ
สารสนเทศองค์ความรู้ดิจิทัลภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยของประเทศไทย (TTDKL)
ภายใตก้ ารกา� กบั ดแู ลของสา� นกั งานขอ้ มลู และคลงั ความรู้ กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์
ทางเลือก เพื่อการสังคายนาองค์ความรู้ด้านการนวดไทยและฤๅษีดัดตน เบ้ืองต้นที่อยู่ใน
ตา� ราแพทยแ์ ผนไทยโบราณ และมเี ปา้ หมายในการสรา้ งตน้ แบบการจดั การระบบภมู ปิ ญั ญา
การนวดไทยท่ผี า่ นการถา่ ยถอด ปรวิ รรต สังคายนา และพฒั นารหสั มาตรฐานภูมปิ ัญญา
การแพทยแ์ ผนไทยของประเทศ (TTDKC) ท่ีมคี วามนา่ เช่อื ถือทางวชิ าการ รวมถึงมกี าร
บันทึกลงในระบบดิจิทัล และการสร้างเครือข่ายการสังคายนาการนวดไทยและฤๅษีดัดตน
ของประเทศ ผ่านการด�าเนินงานร่วมกันของผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการ ผู้ทรงคุณวุฒิด้าน
การนวดไทย ทง้ั หมอนวดและหมอเวชกรรม ในการคัดเลือกและศกึ ษาวิเคราะห์ จดั จ�าแนก
(4)
องค์ความรู้ในคัมภีร์ ต�ำรา แผนนวด ศิลาจารึก และประติมากรรมฤๅษีดัดตน โดยได้
คัดเลอื กแหล่งความร้ทู ี่ใช้ศกึ ษาวเิ คราะห์ ๕ รายการ คือ
๑. กลา่ วเสน้ สบิ ในต�ำราโรคนทิ านค�ำฉนั ท์ ๑๑
๒. คัมภีร์แผนนวด ศิลาจารกึ วดั พระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ)์
๓. คมั ภรี แ์ ผนนวด เลม่ ๑-๒ ในตำ� ราเวชศาสตรฉ์ บบั หลวง รชั กาลที่ ๕ เลม่ ๒
๔. จารกึ ต�ำรายาวดั ราชโอรสารามราชวรวหิ าร
๕. สมุดภาพโคลงฤๅษดี ดั ตน (โคลงภาพฤๅษดี ดั ตนตา่ ง ๆ ๘๐ รูป)
โดยจดั ทำ� เปน็ หนงั สอื ชดุ การสงั คายนาภมู ปิ ญั ญาการนวดไทย ๔ เลม่ ประกอบดว้ ย
๑ ค�ำอธบิ ายกล่าวเสน้ สิบในต�ำราโรคนิทานคำ� ฉนั ท์ ๑๑ และแผนนวดคว่ำ�
ในจารึกต�ำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร
๒ ค�ำอธิบายสมดุ ภาพโคลงฤๅษดี ัดตน
๓ คำ� อธบิ ายศิลาจารกึ วดั พระเชตุพนวิมลมงั คลาราม (วดั โพธ)์ิ
๔ คำ� อธบิ ายคมั ภรี แ์ ผนนวด เลม่ ๑-๒ ในตำ� ราเวชศาสตรฉ์ บบั หลวง รชั กาลที่ ๕
เล่ม ๒
การสงั คายนาภมู ปิ ญั ญาการนวดไทยในต�ำราการแพทย์แผนไทยแหง่ ชาติ เป็นงาน
การศกึ ษารว่ มกนั ของคณะอนกุ รรมการและคณะทำ� งานฯ ครหู มอนวดไทย หมอเวชกรรมไทย
ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ นกั วชิ าการ ตลอดระยะเวลา ๑ ปี ซ่ึงประกอบด้วยส่วนของการจ�ำแนก
ศกึ ษาวเิ คราะหอ์ งคค์ วามรู้ และสว่ นของการสงั คายนาภมู ปิ ญั ญาที่ไดจ้ ากตำ� รา กรมการเเพทย์
แผนไทยและการเเพทย์ทางเลือก ขอขอบคณุ คณะอนุกรรมการ คณะทำ� งาน และวิทยากร
ผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่านท่ีร่วมกันศึกษา วิพากษ์ และพัฒนาองค์ความรู้และกระบวนการ
สงั คายนาให้มีความสมบูรณ์ และเป็นประโยชน์ต่อวงการแพทย์แผนไทยต่อไป
นายแพทย์สเุ ทพ วชั รปิยานนั ทน์
อธบิ ดีกรมการเเพทยแ์ ผนไทยและการเเพทยท์ างเลอื ก
คําชี้แจงและหลักเกณฑ
ในการสังคายนาภูมิปญญาการนวดไทย
การสงั คายนาภูมปิ ัญญาการนวดไทย ๑ ประกอบด้วย คา� อธบิ ายกล่าวเสน้ สิบใน
ต�าราโรคนิทานคา� ฉันท์ ๑๑ และแผนนวดควา�่ ในจารกึ ต�ารายาวัดราชโอรสารามราชวรวหิ าร
ความหมาย
การสงั คายนาภูมิปัญญาการนวดไทย หมายความว่า การสงั เคราะหต์ า� รา คัมภีร์
จารึกทีเ่ กีย่ วกบั การนวดไทย ซงึ่ ปรากฏในแผนไทยมากกว่า ๑๐๐ ปี และไดม้ กี ารถา่ ยทอด
ความรู้สบื ตอ่ กันมายาวนาน เพ่อื ให้ได้องคค์ วามรทู้ า� ให้เกิดความรู้ ความเขา้ ใจท่ตี รงกันกบั
ตน้ ฉบับเดิม เกิดกระบวนการตีความ วเิ คราะห์ และสังเคราะหส์ ามารถนา� ไปใชป้ ระโยชน์
ในการถา่ ยทอด การรกั ษาตอ่ ไปได้ในอนาคต
การคดั เลือกตา� รา
๑. เป็นต�ารา คัมภีร์ จารึกที่เกี่ยวกับการนวดไทยด้ังเดิมก่อนที่การแพทย์
แผนปจั จุบนั จะเข้ามามอี ทิ ธพิ ลทางการรกั ษาโรค
๒. เป็นต�ารา คัมภีร์ จารึกการนวดท่ีมีเนื้อหาสอดคล้องกับหลักทฤษฎีเส้น
ประธานสบิ ซึง่ เปน็ ทฤษฎดี งั้ เดมิ ของวิชาการนวดไทย
คณะท�างาน
ด�าเนินการโดย “คณะท�างานเพ่ือด�าเนินการสังคายนาภูมิปัญญาด้านการนวดไทย
ในตา� ราการแพทยแ์ ผนไทยแหง่ ชาต”ิ ตามคา� สง่ั กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์
ทางเลอื ก ท่ี ๗๘/๒๕๕๘
(6)
กระบวนการสงั คายนา
๑. การศกึ ษาบริบทของความรู้
๑.๑ การศกึ ษาองคค์ วามร้ทู ีป่ รากฏอยู่ในตำ� รา คัมภรี ์ จารึก เพ่อื ช่วยให้เขา้ ใจ
ถงึ สภาพทางสงั คม ตลอดจนการให้ความหมายต่อสุขภาพ และความเจ็บป่วยในยุคสมยั นนั้
ทีอ่ าจแตกตา่ งจากปัจจบุ ัน
๑.๒ การศึกษาประวตั ิศาสตรข์ องตำ� รา คัมภีร์ จารกึ ได้แก่ ประวตั ิศาสตร์
ในยุคสมัยท่ีเก่ียวข้อง ประวัติความเป็นมาของต�ำรา ความส�ำคัญของต�ำรา และประวัติ
ผลงานของผ้แู ต่ง ผเู้ รยี บเรยี ง ผ้คู ดั ลอก ผเู้ ขียนภาพ
๑.๓ การทบทวนวรรณกรรม ศึกษาการตีความเน้ือหาความรู้ของการศึกษา
กอ่ นหนา้ น้ี
๑.๔ ศึกษาเนื้อหาความรู้ โดยคณะท�ำงานร่วมกันศึกษาและวิเคราะห์ต�ำราฯ
ซึ่งแบง่ วิธกี ารศกึ ษาหลกั ดังน้ี
๑) วเิ คราะห์ภาพรวมเนื้อหา
๒) จ�ำแนกความรู้เป็นหมวดหมู่ชัดเจน จัดเป็นกลุ่ม ช่ือโรค ลักษณะ
อาการ สมมตฐิ านโรค ต�ำแหนง่ จุดและแนวเสน้ นวด ต�ำรายาทีเ่ ก่ียวขอ้ ง
๓) วิเคราะห์ความหมายของศพั ทเ์ ฉพาะ
แหลง่ ทีม่ าของค�ำศัพทแ์ ละต�ำราท่ีใชป้ ระกอบการค้นคว้าอ้างองิ
การคน้ หาความหมายของคำ� ศพั ทเ์ ฉพาะจากตำ� ราใชห้ นงั สอื อา้ งองิ ประกอบ ดงั นี้
๑. พจนานุกรม ศัพท์แพทย์และเภสัชกรรมแผนไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน.
พมิ พค์ รง้ั ที่ ๓. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พอ์ งคก์ ารสงเคราะหท์ หารผา่ นศกึ ในพระราชบรมราชปู ถมั ภ;์
๒๕๕๖. (๕๖๖ หน้า).
๒. ศพั ทเ์ เพทย์ไทย. พมิ พค์ รง้ั ที่ ๒. กรงุ เทพฯ: ประชาชน จำ� กดั ; ๒๕๔๖. (๒๖๒ หนา้ ).
๓. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ภูมิปัญญาทางการแพทย์และมรดกทางวรรณกรรม
ของชาติ. พิมพ์ครั้งท่ี ๔. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์ สกสค. ลาดพรา้ ว; ๒๕๕๔. (๑,๐๑๒ หนา้ ).
๔. พจนานกุ รม ฉบับราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔. พมิ พค์ รง้ั ท่ี ๒. กรงุ เทพฯ:
ศริ วิ ัฒนาอินเตอร์พรน้ิ ท์; ๒๕๕๖. (๑,๔๘๔ หนา้ ).
(7)
๕. ความหมาย/องค์ความรู้ท่ีเกิดจากกระบวนการตีความ วิเคราะห์ และ
สังเคราะห์ท�ำให้เกิดความรู้ ความเข้าใจที่ตรงกันกับต้นฉบับเดิม โดยผู้เชี่ยวชาญด้านการ
นวดไทย และคณะท�ำงานเพื่อดำ� เนินการสงั คายนาภมู ิปัญญาการนวดไทย (คทง.)
๖. ตำ� ราเวชศาสตร์ฉบบั หลวง รชั กาลที่ ๕ เล่ม ๒. กรุงเทพฯ: กรมศลิ ปากร;
๒๕๔๒.
๗. ต�ำรายาศิลาจารึกในวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธ์ิ) พระนคร,
พระบาทสมเดจ็ พระน่งั เกลา้ เจ้าอยู่หวั ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ใหจ้ ารึกไว้เมื่อ พ.ศ. ๒๓๗๕
ฉบับสมบูรณ์ ๒๕๐๕. (๔๗๘ หนา้ ).
๘. ต�ำราเวชศาสตรฉ์ บบั หลวง รัชกาลท่ี ๕ เลม่ ๑. กรงุ เทพฯ: กรมศิลปากร;
๒๕๔๒.
๙. จารึกต�ำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การ
ทหารผา่ นศึก ในพระบรมราชูปถัมภ์; ๒๕๕๘. (๔๕๒ หน้า).
๑๐. เวชศาสตรว์ ณั ณ์ ณา ตำ� ราแบบเกา่ เลม่ ๑ - เลม่ ๕. สมุ่ วรกจิ พศิ าล เรยี บเรยี ง
ตามต�ำราของท่าน พระยาประเสริฐสารทดำ� รง (หน)ู บิดา. กรงุ เทพฯ: พิศาลบรรณนิติ;์
๒๔๖๐.
๑๑. New Model English - Thai Thai - English Dictionary. สอ เสถบุตร.
กรุงเทพฯ: พรมี า พบั บลิชชิง; ๒๐๐๘. ที่มา: http://dictionary.sanook.com/search/dict-
en-th-sedthabut
การเขียนอา้ งอิงหนังสือค�ำศพั ท์
การเขียนความหมายของคำ� ศพั ท์ (.../...) หมายถงึ (ล�ำดบั หนงั สอื ที่ใชอ้ ้างอิง/ระบุ
เลขหน้าของหนังสือ) โดยใช้หนังสืออ้างอิงตามที่ระบุไว้ในข้อ ๑-๑๑ และระบุเลขหน้าไว้
เพื่อประโยชน์ตอ่ การค้นคว้าตอ่ ไป
(คทง.) หมายถงึ ความหมายตามทห่ี นังสืออา้ งองิ ระบุไว้ในข้อ ๕
(8)
ตัวอยา่ งเช่น
ลมปะกงั โรคชนดิ หนง่ึ ผปู้ ว่ ยมอี าการปวดศรี ษะมาก อาจจะปวดขา้ งเดยี วหรอื
๒ ข้างก็ได้ บางต�ำราว่ามักเป็นเวลาเช้า ผู้ป่วยอาจมีอาการอื่น
ร่วมดว้ ย เช่น ตาพรา่ วงิ เวียน อาเจียน ลมตะกัง หรือสนั นิบาต
ลมปะกงั กเ็ รยี ก (๑/น. ๓๙๖)
(๑/น. ๓๙๖) หมายความว่า ค้นหาความหมายของค�ำศัพท์ได้จากหนังสือล�ำดับ
ท่ี ๑ คือ พจนานุกรม ศัพท์แพทย์และเภสัชกรรมไทย ฉบับ
ราชบณั ฑิตยสถาน หน้า ๓๙๖
สารบัญ
คำ� อธิบำยกล่ำวเสน้ สิบในตำ� รำโรคนิทำนค�ำฉนั ท์ ๑๑ หนา้
บทนา� ๓..............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
ส่วนที่ ๑ การจา� แนก วเิ คราะห์ ภูมิปัญญา “กล่าวเสน้ สิบ”
ในต�าราโรคนิทานค�าฉันท์ ๑๑ ๕..............................................................................................................................................................................................
๑. ประวัติความเป็นมา ต�าราโรคนิทานคา� ฉันท์ ๑๑ ๖.....................................................................................................
๒. ความส�าคัญของ “คมั ภีร์โรคนิทาน” และ “กลา่ วเสน้ สบิ ” ๗.............................................................
๓. ลักษณะและเนอื้ หา ๑๐....................................................................................................................................................................................................................
๔. การวเิ คราะห์ จ�าแนก องค์ความรภู้ ูมปิ ัญญาการนวดไทยใน
“กลา่ วเส้นสบิ ” ๑๑........................................................................................................................................................................................................................................
สว่ นท่ี ๒ การสงั คายนาภมู ปิ ญั ญาการนวดไทยใน “กล่าวเส้นสิบ”
ในต�าราโรคนิทานค�าฉันท์ ๑๑ ๖๕.......................................................................................................................................................................................
(10)
หนา้
แผนนวดคว�ำ่ ในจารึกต�ำรายาวดั ราชโอรสารามราชวรวหิ าร
บทน�ำ ๑๐๕.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
ส่วนท่ี ๑ การจ�ำแนก วิเคราะห์ แผนนวดใน
“จารกึ ตำ� รายาวัดราชโอรสารามราชวรวหิ าร” ๑๐๗...............................................................................................................
๑. ประวตั ิความเปน็ มา ๑๐๘.............................................................................................................................................................................................................
๒. คุณคา่ และความส�ำคญั ของ
“จารกึ ต�ำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวหิ าร” ๑๑๔......................................................................................................
๓. ลักษณะของจารึก ๑๑๕....................................................................................................................................................................................................................
๔. การศึกษาวิเคราะห์ แผนนวดในจารกึ ตำ� รายา
วดั ราชโอรสารามราชวรวิหาร ๑๒๕....................................................................................................................................................................
สว่ นที่ ๒ การสังคายนาแผนนวด แผ่นท่ี ๔๕ จารึกแผนนวด
ในจารึกต�ำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ๑๓๗................................................................................................................
ภาคผนวก ๑๔๙..............................................................................................................................................................................................................................................................................................................
๑. คำ� สั่งกรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก
ท่ี ๕๙๕/๒๕๕๗ ๑๕๑............................................................................................................................................................................................................................
๒. คำ� สงั่ กรมพฒั นาการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก
ที่ ๗๘/๒๕๕๘ ๑๕๓...................................................................................................................................................................................................................................
๓. ประวตั ิยอ่ คณะทำ� งานสงั คายนาภูมิปญั ญาการนวดไทยฯ.......................................................๑๕๕
สารบัญตาราง
หนา้
ตารางที่ ๑ การจา� แนกช่ือ โรคและอาการ ชือ่ ลม และช่อื สมฏุ ฐานโรคในเสน้ อิทา ๔๔..................
ตารางที่ ๒ การจ�าแนกช่ือ โรคและอาการ ชอื่ ลม
และชอื่ สมฏุ ฐานโรคในเสน้ ปงิ คลา ๔๗...............................................................................................................................................................
ตารางท่ี ๓ การจ�าแนกช่ือ โรคและอาการ ชอ่ื ลมในเส้น
และชอ่ื สมุฏฐานโรคในเสน้ สุมนา ๔๙......................................................................................................................................................................
ตารางที่ ๔ การจ�าแนกช่ือ โรคและอาการ ชอื่ ลมในเสน้
และชื่อสมุฏฐานโรคในเส้นกาลทารี ๕๒............................................................................................................................................................
ตารางที่ ๕ การจ�าแนกชื่อ โรคและอาการ ช่ือลม
และชือ่ สมฏุ ฐานโรคในเส้นสหสั รงั สี ๕๓...........................................................................................................................................................
ตารางท่ี ๖ การจา� แนกช่อื โรคและอาการ ช่ือลม
และชือ่ สมฏุ ฐานโรคในเสน้ ทวารี ๕๔........................................................................................................................................................................
ตารางท่ี ๗ การจา� แนกช่ือ โรคและอาการ ช่อื ลม
และชอ่ื สมฏุ ฐานโรคในเสน้ จนั ทภูสงั ๕๕..........................................................................................................................................................
ตารางท่ี ๘ การจ�าแนกช่ือ โรคและอาการ ช่ือลม
และชอื่ สมฏุ ฐานโรคในเสน้ รชุ �า ๕๖..............................................................................................................................................................................
ตารางท่ี ๙ การจ�าแนกชอ่ื โรคและอาการ ช่ือลม
และชื่อสมุฏฐานโรคในเส้นสกิ ขณิ ี ๕๗..................................................................................................................................................................
ตารางท่ี ๑๐ การจา� แนกชื่อ โรคและอาการ ชื่อลม
และชอ่ื สมุฏฐานโรคในเส้นสขุ มุ งั ๕๘.....................................................................................................................................................................
(12)
หนา้
ตารางที่ ๑๑ แสดงค�าส�าคัญในศิลาจารึกฯ ทงั้ หมด ๑๘ คา� ๑๒๙..........................................................................................................
ตารางที่ ๑๒ การจ�าแนกชอื่ โรค อาการ เสน้ ลม เรียงค�าตามอักษร ๑๓๐....................................................................
ตารางท่ี ๑๓ ค�าอธิบายศพั ท์ ๑๓๑.......................................................................................................................................................................................................................................
ตารางท่ี ๑๔ จุดนวดแกอ้ าการ ในแผนนวด
จารกึ ตา� รายาวดั ราชโอรสารามราชวรวหิ าร ๑๓๔.....................................................................................................................
คาํ อธิบายกลาวเสน สบิ
ในตําราโรคนทิ านคาํ ฉนั ท ๑๑
คาํ อธบิ ายกลาวเสน สบิ ในตําราโรคนิทานคาํ ฉันท ๑๑ 3
บทนํา
“กลา่ วเส้นสิบ” ในตา� ราโรคนทิ านคา� ฉนั ท์ ๑๑ เรยี บเรยี งโดย พระยาวิชยาธิบดี
(กล่อม) อดีตเจา้ เมืองจันทบรู ในรชั สมัยพระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาล
ท่ี ๒ เปน็ ตา� ราท่มี ีคณุ ค่าและความส�าคัญต่อการเรียนการสอนวิชาแพทย์แผนไทย สืบเน่ือง
ยาวนานจากบรรพชนมามากกว่า ๑๐๐ ปี ซึ่งองค์ความรู้ภูมิปัญญาการนวดไทยในกล่าว
เส้นสิบน้ี มีเน้ือหาความรู้ประกอบด้วยแนวทางเดินเส้นประธานสิบ อาการท่ีเกิดใน
เส้นประธาน วิธีการนวดรักษา วิธีการรักษาด้วยต�ารับยาสมุนไพร ตัวยาสมุนไพร และ
การใช้คาถาในการรักษา เป็นต้น โดยมีวิธีการอธิบายที่ครบถ้วนลงตัว เหมาะสมกับ
การเป็นบทเรียนการนวดไทย และการพัฒนาด้านวิชาการ เพื่อการเผยแพร่ความรู้
ใหน้ ักศึกษา ประชาชนผ้สู นใจไดส้ ามารถเขา้ ถึงความร้แู ละน�าไปใชป้ ระโยชน์ไดอ้ ย่างแทจ้ ริง
ต่อไป
การด�าเนินงานสังคายนาภมู ปิ ญั ญาดา้ นการนวดไทย ได้จัดการศกึ ษาวเิ คราะห์และ
จา� แนกความรทู้ ่ีมอี ยมู่ ากมายในคา� ฉันท์ “กลา่ วเสน้ สบิ ” ๑๙๒ บท โดยแบง่ การศึกษาเปน็
๒ ส่วน ดงั นี้
การจ�าแนก วเิ คราะห์ “กล่าวเส้นสิบ” ใน ตา� ราโรคนิทานค�าฉนั ท์ ๑๑ ประกอบ
ดว้ ย
๑. ประวตั ิความเปน็ มา ตา� ราโรคนทิ านคา� ฉนั ท์ ๑๑
๒. ความสา� คัญของคมั ภีร์โรคนทิ านและกลา่ วเส้นสิบ
๓. ลักษณะทางเนอื้ หาของ คมั ภรี ์โรคนทิ าน และกล่าวเสน้ สบิ
๔. การศึกษาวเิ คราะห์ จ�าแนก องคค์ วามรูภ้ ูมปิ ญั ญา ภูมปิ ัญญาการนวดไทยใน
“กลา่ วเส้นสิบ”
๔.๑ เน้ือหาต้นฉบับที่ใชท้ �าการศกึ ษา “กล่าวเส้นสิบ”
๔.๒ การจา� แนกความรู้ เร่อื ง “เส้นสิบ” ในบทค�าฉนั ท์ “กลา่ วเส้นสิบ”
4 ชุดการสังคายนาภูมิปัญญาการนวดไทย: ๑
๑) ความส�ำคัญของเสน้ สิบ
๒) ว่าดว้ ยเสน้ อทิ า
๓) ว่าดว้ ยเส้นปงิ คลา
๔) วา่ ด้วยเสน้ สุมนา
๕) ว่าด้วยเส้นกาลทารี
๖) วา่ ดว้ ยเส้นสหัสรังษี
๗) วา่ ด้วยเส้นทวารี
๘) ว่าดว้ ยเส้นจนั ทภสู งั
๙) ว่าดว้ ยเสน้ รุช�ำ
๑๐) ว่าดว้ ยเส้นสกิ ขนิ ี
๑๑) ว่าดว้ ยเสน้ สุขมุ ัง
๔.๓ การจ�ำแนกวิเคราะห์ค�ำ ข้อความ องค์ความรู้ภูมิปัญญาการนวดไทยท่ี
ส�ำคญั ใน “กล่าวเสน้ สิบ”
๑) ทางเดินของเสน้ ประธาน
๒) การจดั กล่มุ ค�ำชอ่ื โรคและอาการ ลม และสมฏุ ฐานโรค
๓) การนวดรักษาในกลา่ วเส้นสิบ
๔) การรักษาดว้ ยเวทมนตค์ าถา
อนงึ่ การจำ� เเนก วเิ คราะห์ “กลา่ วเสน้ สบิ ” ในตำ� ราโรคนทิ านคำ� ฉนั ท์ ๑๑ ฉบบั น้ี
เป็นต�ำราที่สอดคล้องตามหลักเกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกต�ำราที่ใช้ศึกษา คือเป็นต�ำราที่
มีอายุมากกวา่ ๑๐๐ ปขี ้นึ ไป และมกี ารเรยี นการสอนตอ่ เน่อื งมาจนถงึ ปจั จบุ นั ประกอบ
กับเล็งเห็นว่า “ต�ำราโรคนิทานค�ำฉันท์ ๑๑” เป็นต�ำราท่ีเป็นพื้นฐานขององค์ความรู้ด้าน
การแพทย์แผนไทย ทีส่ ามารถนำ� ไปเรยี นรแู้ ละศึกษาเพิม่ เตมิ ได้ตลอดเวลา
การด�ำเนินงานศึกษาครั้งนี้มีความมุ่งหมายอย่างยิ่งว่าจะสามารถจำ� แนกหมวดหมู่
ของความรู้ให้อนุชนรุ่นหลังได้ศึกษาความรู้ใน “กล่าวเส้นสิบ” ได้อย่างเป็นระบบ และ
สามารถพัฒนาการจัดท�ำระบบข้อมูลท่ีครบถ้วนสมบูรณ์และมีความทันสมัย สามารถน�ำไป
ตอ่ ยอดองคค์ วามรู้ภูมิปญั ญา และสร้างคุณประโยชน์ทางวิชาการต่อวงการแพทย์แผนไทย
สบื ไป
๑สว นท่ี
การจําแนก วิเคราะห ภมู ปิ ญ ญา
“กลา วเสนสบิ ” ในตําราโรคนิทานคาํ ฉันท ๑๑
6 ชุดการสังคายนาภมู ิปญั ญาการนวดไทย: ๑
๑. ประวัตคิ วามเป็นมา ต�ำ ราโรคนิทานคำ�ฉันท์ ๑๑
พระยาวิชยาธิบดี๑ (กล่อม) พระยาจันทบูร อดีตผู้ว่าราชการเมืองจันทบุรี
ในรัชสมยั พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั รชั กาลท่ี ๒ เป็นผเู้ รยี บเรียง “ตำ� รา
โรคนิทาน” ค�ำฉันท์ ๑๑ โดยจารไวบ้ นใบลานผกู เป็นทอ่ น
ต่อมา นายพันโทหม่อมเจา้ กำ� มสิทธ๒์ิ ตำ� แหนง่ ผู้ชว่ ยเจา้ กรมแพทย์ แผนกยาไทย
ไดท้ ดลองใชย้ าตามตำ� ราโรคนทิ านแลว้ ไดผ้ ลดี จงึ มคี วามประสงคท์ จ่ี ะพมิ พข์ น้ึ ไวเ้ พอ่ื ใหเ้ ปน็
สาธารณประโยชน์ ประกอบกับเห็นว่าต้นฉบับเดิมน้ันเก่าแก่มาก “...มักจะหายหกตกหล่น
หาได้ก็ไม่ครบตามความประสงค์ ที่ได้ลอกไว้ก็มักตกหล่นท�ำให้เสียเน้ือความเดิมเสียบ้าง
กม็ ี ถ้าย่ิงนานยิง่ ลอกต่อ ๆ กันไปกจ็ ะยง่ิ เลอะเทอะหนักเขา้ …”
นายพันโทหม่อมเจ้าก�ำมสิทธิ์ จึงได้รวบรวมเนื้อหาไว้ได้ครบบริบูรณ์ทุกผูก และ
ตรวจทานแก้ไขขอ้ ความทคี่ ลาดเคลอื่ นใหถ้ กู ตอ้ งครบถว้ นมากขนึ้ รวมทงั้ ไดเ้ พม่ิ เตมิ ขอ้ ความ
ลงไป โดยคัดส่วนหน่ึงจากต�ำราศริรศาสตร์ของนายพันเอกพระยาด�ำรงแพทยาคุณ คือ
๑) หวั ใจ ๒) ปอด ๓) ตับ ๔) มา้ ม ๕) กระเพาะอาหารและล�ำไสน้ ้อย ๖) ลำ� ไส้ใหญ่
๗) ไต นอกจากน้ียังได้เรียบเรียงให้เป็นค�ำฉันท์ ๑๑ ตามต�ำรับ เพ่ือให้สอดคล้องกับ
ต้นฉบับเดิม และเพ่ือให้ “อ่านง่าย จ�ำง่าย” ได้จัดพิมพ์เป็นหนังสือแบบฝร่ังเผยแพร่
พิมพค์ ร้งั แรกเม่ือเดอื นสิงหาคม พ.ศ. ๒๔๕๖ ท่ีโรงพมิ พ์บำ� รงุ นกุ ลุ กิจ
๑ตามทำ� เนยี บในกฏหมายเกา่ ตำ� แหนง่ ผวู้ า่ ราชการเมอื งจนั ทบรุ ี มรี าชทนิ นามวา่ “พระยาวชิ ชยาธบิ ดศี รณี รงค์
ฤาชยั อภยั พริ ยิ ะพาหา” เพงิ่ จะมายกเลกิ เสยี เมอื่ มกี ฏหมายจดั การปกครองใหมเ่ ปน็ รปู จงั หวดั และมณฑล เมอื่ พ.ศ. ๒๔๔๙.
ท่ีมา - ท�ำเนียบพระยาจันทบุรี, http://www.chanthaboon.net/index.php?option=com_k2&view=item&layout=
item&id=364&Itemid=682
๒เรียบเรียงจาก นายพันโทหม่อมเจ้าก�ำมสิทธ์ิ, ค�ำน�ำ ใน ต�ำราโรคนิทานค�ำฉันท์ ๑๑ แต่งโดย พระยา
วชิ ยาธบิ ดี (กลอ่ ม), พิมพค์ รงั้ แรก เดอื นสิงหาคม พ.ศ. ๒๔๕๖, โรงพิมพบ์ �ำรงุ นุกลุ กจิ
ค�ำ อธบิ ายกลา่ วเสน้ สิบในตำ�ราโรคนิทานคำ�ฉันท์ ๑๑ 7
๒. ความสำ�คญั ของ “คัมภีร์โรคนทิ าน” และ “กล่าวเสน้ สบิ ”
๒.๑ ความสำ�คญั ของ “คัมภีร์โรคนทิ าน”
“คมั ภรี ์โรคนทิ าน” ปรากฏอย่ใู นตำ� ราหลายเลม่ ไดแ้ ก่ “ตำ� ราพระโอสถพระนารายณ”์
“แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์” “เวชวรรณา” “เวชศาสตร์ฉบับหลวง” รัชกาลที่ ๕ เป็นต้น
โดยในเน้ือหาตอนแรกของคมั ภรี ์ “โรคนิทาน” ระบนุ าม “ชีวกโกมารภัจ” เป็นผูแ้ ต่ง ใน
“ต�ำราแพทยศ์ าสตรส์ งเคราะห”์ (พ.ศ. ๒๕๔๒) กลา่ วไวว้ า่
“โรคนิทาน” แปลว่า เหตุที่เกิดโรค พระคัมภีร์โรคนิทาน เป็นช่ือของพระคัมภีร์
ว่าด้วยเหตุและสมุฏฐานของโรค เป็นอีกคัมภีร์หน่ึงท่ีออกนามว่า “โกมารภัจแพทย์” เป็น
ผู้แตง่ ...(น.๕๖๙)
“...พจิ ารณาจากการวนิ จิ ฉยั โรคนั้น “ต�ำราพระโอสถพระนารายณ์” เชื่อว่า ร่างกาย
ประกอบด้วยธาตทุ งั้ ๔ คอื ธาตดุ ิน (ปถวธี าตุ) ธาตุน้ำ� (อาโปธาตุ) ธาตไุ ฟ (เตโชธาต)ุ
และธาตุลม (วาโยธาตุ) โดยมคี วามเชอ่ื ว่า ความเจบ็ ไข้ไดป้ ว่ ยเกิดจากสมฏุ ฐาน ๔ ประการ
ท่ีขาดสมดุลกัน อันได้แก่ หนึ่ง – ธาตุ ๔ ขาดความสมดุล สอง – ฤดูเดือนเป็นตัว
กำ� หนด สาม – อายุ และ ส่ี – อทิ ธิพลของสุรยิ จักรวาล หรือความเป็นไปในรอบ ๑
วัน ๑ เดือน และ ๑ ปี ส่วนการรักษาด�ำเนินตามทฤษฎีการแพทย์แผนไทย ให้รู้จัก
สรรพคุณยา คือ สมุนไพร และร้จู กั รสยาทงั้ ๙ รส”
และใน“ตำ� ราโรคนทิ าน” คำ� ฉนั ท์ ๑๑ ของ พระยาวชิ ยาธบิ ดี (กลอ่ ม) กลา่ วไวว้ า่
๏ หนึ่งเลา่ จะกล่าวสาร โรคนทิ านเปน็ เค้ามลู
สาธกเพ่ือเกอ้ื กูล ในเร่อื งธาตุติดตอ่ ไป
๏ นิทานโกมาระพัจ เรียบเรยี งจดั ตกแต่งไว้
หวังสบื อนาคตไกล กุลบตุ ร์ไดเ้ รียนวิชา
๏ จะให้รู้ซ่งึ หมโู่ รค แหง่ ฝงู โลกเกดิ คลิ าน์
กลวั จะนอ้ ยร่อยวทิ ยา ด้วยพฤฒาผู้เฒา่ ตาย
8 ชุดการสงั คายนาภูมปิ ัญญาการนวดไทย: ๑
๏ จะไตถ่ ามซ่งึ กาละเมด็ ไม่สิ้นเสรจ็ โรคท้ังหลาย
วทิ ยากเ็ สอ่ื มคลาย เพราะเหตุนจ้ี ึงกลา่ วไว้
๏ อาการสามสบิ สอง จัดเปนกองส่วี ไิ สย
มะหาภูตะรปู ใน พระวิภงั คช์ ือ่ ปะระมถั
๏ ยกออกบอกส�ำแดง ใหเ้ ห็นแจ้งกระจา่ งชัด
ตามคมั ภีร์พระจดั วา่ ธาตุดนิ ยส่ี ิบกอง...
อธิบายความว่า “โรคนิทาน” เป็นเน้ือหาว่าด้วยเรื่อง “ธาตุ” ท่านโกมาระพัจ
เรียบเรยี งไว้ เพ่อื หวังใหค้ วามรู้ท้งั หลายไดส้ ืบทอดตอ่ กันไปถงึ กุลบุตรอนุชนรนุ่ หลงั ก่อนท่ี
ความรู้จะสูญหายไปหมดเพราะผู้รู้ย่อมแก่เฒ่าตายไป ความรู้ท่ีได้กล่าวไว้ว่าด้วยเรื่องโรค
มูลเหตุของความเจ็บป่วย อาการสามสบิ สองในกองธาตุ ๔ หรอื มหาภูตรูป ไดอ้ ธบิ าย
ไว้ให้เข้าใจชดั แจง้ ตามคมั ภีร์วา่ ธาตุดนิ (ปถวี) มี ๒๐ กอง ธาตุน้�ำ (อาโป) ๑๒ กอง
ธาตุไฟ (เตโช) ๔ กอง ธาตุลม (วาโย) ๖ กอง ธาตทุ ง้ั ๔ กอง หลอ่ เลีย้ งรา่ งกายของ
เราให้เปน็ ปกติ สดชน่ื แข็งแรง แต่หากธาตุ ๔ วบิ ัติ ผิดปกตไิ ปสิง่ ใดสงิ่ หนึง่ ร่างกาย
หม่นหมอง ไม่สดชื่น แต่ก็ยังพอเยียวยาได้ ถ้าธาตุเสื่อมสูญวิบัติพร้อมกันถึง ๕ ถึง
๖ สง่ิ แลว้ ร่างกายก็เสือ่ มโทรมดุจแก้วเกดิ ฟองไฝ จะเยยี วยาแก้ไขยาก แมว้ ่าโรคคลาย
แลว้ แต่สภาพร่างกายก็ไม่แข็งแรงเหมือนเดิม ครั้นอายุ ๙๐ ขึ้นไปแล้ว ต่อให้ได้กินยาทิพย์
กเ็ สียเปล่า อยา่ งไรก็ตอ้ งตาย ยากจ็ ะช่วยได้เพยี งทเุ ลาบรรเทาอาการได้บ้าง ฯลฯ
๒.๒ ความสำ�คัญของ “กลา่ วเส้นสิบ”
“กล่าวเส้นสิบ” ให้ความรู้เร่ือง “เส้นสิบ” ท่ีชัดเจน มีความส�ำคัญต่อการเรียน
การสอนแพทย์แผนไทย และหมอนวดไทยมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ค�ำฉันท์ทุกบทของ
กลา่ วเส้นสบิ ให้มคี วามรู้ลึกซ้งึ ในเร่อื งของ ชือ่ เสน้ ชือ่ ลม ทางเดนิ ของเส้นประธานสบิ
เหตแุ ห่งการเกิดโรค โรคและอาการท่ีเกดิ ในเสน้ ลมในเสน้ สบิ การรกั ษาโรคด้วยการนวด
ด้วยการใช้ยา เป็นต้น
คำ�อธบิ ายกลา่ วเสน้ สบิ ในตำ�ราโรคนิทานค�ำ ฉนั ท์ ๑๑ 9
ดงั บทที่ ๑–๙ ไดพ้ รรณนาถงึ ความสำ� คัญของเสน้ สิบไว้ดังนี้
๑. ๏ เสน้ สิบท่านพรรณนา ในครรภาเปนนไิ สย
ล้อมสญู พระเมรุ์ไว ้ สถติ ย์ลกึ สกั สองน้ิว
๒. ๏ ล้อมเปนจกั รท์ ราสูนย์ ดูไพบลู ย์ไมแ่ พลงพล้วิ
ดจุ สายบรรทดั ทิว เปนแนวแถวทอดเรียงกัน
๓. ๏ เสน้ ซ้ายชอ่ื อทิ า ข้างสญู หนาเปนฝา่ ยจันทร์
ปิงคลาขา้ งขวานั้น อยู่ขา้ งสญู เรียกสุริยา
๔. ๏ กลางสูญเสน้ แถวทอด ชิวหาตลอดเรียกสมุ นา
สามเรยี งเคียงกนั มา เปนธรรมดาส�ำหรับหมาย
๕. ๏ เส้นสามใครรดู้ ี รวู้ ธิ ีเปนแลตาย
กำ� กับส�ำหรบั กาย ทกุ หญิงชายไมเ่ วน้ เลย
๖. ๏ ทา่ นแพทย์ผ้ปู ัจฉา หมัน่ ศกึ ษาอยา่ เพกิ เฉย
วิสาสะให้คน้ เคย สดุ เลห่ ล์ ึกละเอียดนกั
๗. ๏ จงตรกึ ตรองในคลองเสน้ ใหช้ ดั เจนแจง้ ประจักษ์
ไต่ถามครูรู้กระหนกั วิธลี มกำ� เรบิ จร
๘. ๏ เสน้ เอ็นยอ่ มเปนรู ลมเลือดชใู ห้ฟูฟอน
กำ� เริบมกั รุมรอ้ น ใหศ้ ขุ ทกุ ๆ ราตรี
๙. ๏ เม่ือสบายเลอื ดลมเสมอ จึงราเรอกระเษมสี
ยังหะทัยใหเ้ ปรมปรี เพราะเสน้ เอน็ ไมก่ อ่ การ …
สถาบนั การเรียนการสอนการนวดไทยต่าง ๆ นยิ มใช้ “กลา่ วเสน้ สิบ” เป็นบทเรยี น
สอนเรื่อง “เส้นประธานสิบ” สืบเน่ืองกันมา มูลนิธิสาธารณสุขกับการพัฒนา ได้คัด
“กล่าวเส้นสิบ” จากต�ำราโรคนิทานค�ำฉันท์ ๑๑ ฉบับพิมพ์ พ.ศ. ๒๔๕๘ เพ่ือประกอบ
การเรยี นการสอนในวชิ าการนวดไทย ตัง้ แต่ พ.ศ. ๒๕๓๙ ต่อมาภายหลังพมิ พ์ไว้ใน “ตำ� รา
การนวดไทย เล่ม ๑” และ “ต�ำราเส้นสบิ ฉบบั อนรุ กั ษ์” มีประโยชน์ตอ่ การพัฒนาการ
เรยี นการสอนด้านการนวดไทยและการรกั ษาโรคดว้ ยการนวดไทยเปน็ อย่างมาก
10 ชุดการสังคายนาภมู ปิ ญั ญาการนวดไทย: ๑
๓. ลกั ษณะและเน้ือหา
๓.๑ ลกั ษณะ และเน้ือหาของ “ตำ�ราโรคนทิ าน” คำ�ฉนั ท์ ๑๑
ต้นฉบับ “ตำ� ราโรคนิทาน” คำ� ฉันท์ ๑๑ พระยาวิชยาธิบดี (กล่อม) ท่านประพันธ์
เป็นค�ำฉันท์ ๑๑ จารบนใบลานผูกเป็นท่อนไว้ เนื้อหาของต�ำราฯ แต่งด้วยค�ำฉันท์ ๑๑
รวม ๒๑๖ หนา้ แบง่ เป็น ๒๗ เรือ่ ง คือ ๑) กล่าวเกษา ๒) กลา่ วโลมา ๓) กล่าว
นกั ขา ๔) กลา่ วทนั ตา ๕) กล่าวตะโจ ๖) กลา่ วมังษงั ๗) กลา่ วณะหารู ๘) กลา่ วเสน้
ปัตะฆาฏ ๙) กลอ่ นเสน้ กลอ่ นตา่ ง ๆ ๑๐) กลา่ วเสน้ สบิ ๑๑) กลา่ วดว้ ยอฏั ฐิ ๑๒) กลา่ วดว้ ย
อฏั ฐมิ ญิ ชงั ๑๓) กล่าวด้วยมัตต์ เกมัตถ์ ลุงคัง ๑๔) กล่าวดว้ ยวักกงั ๑๕) กล่าวด้วยหทั ยัง
๑๖) กล่าวด้วยยะกะนัง ๑๗) กล่าวด้วยกโิ ลมะกงั ๑๘) กลา่ วปิหะกงั ๑๙) กลา่ วด้วย
ปับผาสัง ๒๐) กล่าวอันตัง ๒๑) กล่าวอันตะคุนัง ๒๒) กล่าวอุท์ทริยัง ๒๓) กล่าว
กะรีสัง ๒๓) กลา่ วปติ งั ๒๕) กล่าวเสมหะ ๒๖) กลา่ วบพุ โพ ๒๗) กล่าวโลหิต
นายพันโทหม่อมเจ้าก�ำมสิทธ์ิได้ตรวจทาน แก้ไข เพิ่มเติมตัวสะกดการันต์
และเพม่ิ เตมิ ขอ้ ความในเนอ้ื หาเรอ่ื ง ๑) หวั ใจ ๒) ปอด ๓) ตบั ๔) มา้ ม ๕) กระเพาะอาหาร
และล�ำไส้น้อย ๖) ล�ำไส้ใหญ่ ๗) ไต โดยคัดความรู้มาจากต�ำราศริรศาสตร์ ของ
นายพันเอก พระยาด�ำรงแพทยาคุณ หัวหน้ากรมแพทย์ทหารบก เรียบเรียงเป็นค�ำฉันท์
ตามแบบอยา่ งต้นฉบบั เดมิ
ค�ำ อธบิ ายกล่าวเสน้ สบิ ในต�ำ ราโรคนิทานค�ำ ฉนั ท์ ๑๑ 11
๓.๒ ลักษณะเน้ือหาของกลา่ วเสน้ สิบ
เนอ้ื หากล่าวเสน้ สบิ ประกอบด้วยค�ำฉันท์ ๑๑ จ�ำนวน ๑๙๖ บท เร่มิ ต้ังแตห่ น้า
๗๘–๙๗ เป็นความร้ทู ่อี ยู่ในเร่ือง “กล่าวณะหาร”ู (เส้นเอน็ ) ความรูเ้ รอ่ื ง กลา่ วณะหารู
ประกอบด้วย กลา่ วเสน้ ปัตะฆาฏ กล่าวเส้นกล่อนตา่ ง ๆ และกลา่ วเส้นสบิ
“กล่าวเส้นสิบ” ว่าด้วย เรื่อง “เส้นสิบ” ได้แก่ ชื่อเส้น ทางเดินของเส้น
โรค/อาการป่วยทเี่ กิดในเส้น สมุฏฐานโรค ลมประจำ� เสน้ ลมรา้ ยท่ีเกดิ ในเส้น การรักษา
ดว้ ยการนวด การรกั ษาดว้ ยยา และการรกั ษาด้วยเวทยม์ นตค์ าถา เป็นตน้
๔. การวเิ คราะห์ จ�ำ แนก องคค์ วามรู้ภมู ิปัญญาการนวดไทยใน
“กล่าวเส้นสิบ”
การด�ำเนินการสังคายนาภูมิปัญญาการนวดไทยในต�ำราการแพทย์แผนไทย
แหง่ ชาติ” ประกอบด้วย
๔.๑ เนือ้ หาตน้ ฉบับท่ีใชท้ �ำการศึกษา “กล่าวเสน้ สิบ”
๔.๒ การจำ� แนกความร้เู รอ่ื ง “เส้นสบิ ” ในบทคำ� ฉันท์ “กล่าวเสน้ สบิ ”
๔.๓ การจำ� แนก วิเคราะห์ ค�ำและข้อความองค์ความรู้ภูมิปัญญาการนวดไทยใน
“กล่าวเสน้ สิบ”
พระยาวิชยาธิบดี (กล่อม) ได้ถ่ายทอดความรู้ “ต�ำราโรคนิทานค�ำฉันท์ ๑๑”
ในรูปแบบการประพันธ์เป็นค�ำฉันท์ ๑๑ ได้อย่างเหมาะสม ท่านสามารถน�ำความรู้มา
ร้อยเรียงให้ได้สัมผัสตามลักษณะฉันทลักษณ์อย่างมีวรรณศิลป์ ซึ่งมีบางวรรค บางค�ำ
คณะท�ำงานได้ร่วมกันระดมความเห็นอย่างกว้างขวาง เพราะต้องวิเคราะห์ค�ำอย่าง
ระมัดระวังอย่างมาก เพื่อความถูกต้องและแน่ใจว่าค�ำแต่ละค�ำท่ีท่านประพันธ์ไว้น้ันท่าน
ตอ้ งการใหส้ มั ผสั แบบกลอนพาไป หรอื คำ� น้นั เปน็ องค์ความร้จู รงิ
12 ชุดการสงั คายนาภูมปิ ญั ญาการนวดไทย: ๑
๔.๑ เน้ือหาต้นฉบบั ท่ีใช้ทำ�การศกึ ษา “กล่าวเสน้ สิบ”
การศึกษาองคค์ วามรู้ “กลา่ วเสน้ สบิ ” ใช้เนอื้ หาความรู้ จากตน้ ฉบบั ต�ำราโรคนิทาน
คำ� ฉันท์ ๑๑ ของ พระยาวิชยาธบิ ดี (กลอ่ ม) อดตี เจ้าเมืองจนั ทบรู ในสมัยรัชกาลที่ ๒
ซึ่งรวบรวมโดย นายพันโทหม่อมเจา้ มสิทธ์ิ น�ำมาพิมพ์เป็นหนังสอื แบบฝรง่ั ฉบับพิมพค์ รั้ง
แรกเมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๔๕๖ ท่ีโรงพิมพ์บ�ำรงุ นกุ ุลกจิ และจดั ทำ� เปน็ ส�ำเนาดิจทิ ลั
โดยรา้ นหนังสอื ทา่ ช้าง ความรูว้ ่าด้วยเร่ือง “กล่าวเสน้ สิบ” หนา้ ท่ี ๗๘-๙๘
๗. ๏ คาํ อธิบายกลาวเสน สบิ ในตําราโรคนทิ านคําฉนั ท ๑๑ 13
๘. ๏
๙. ๏
๑๐. ๏
๑๑. ๏
๑. ๏
๑๒. ๏
๒. ๏
๑๓. ๏
๓. ๏
๑๔. ๏
๔. ๏
๕. ๏ ๑๕. ๏
๖. ๏ ๑๖. ๏
๑๗. ๏ ๒๗. ๏ 14 ชดุ การสงั คายนาภมู ปิ ญ ญาการนวดไทย: ๑
๑๘. ๏ ๒๘. ๏
๑๙. ๏
๒๙. ๏
๒๐. ๏
๓๐. ๏
๒๑. ๏
๓๑. ๏
๒๒. ๏
๓๒. ๏
๒๓. ๏
๓๓. ๏
๒๔. ๏
๓๔. ๏
๒๕. ๏
๓๕. ๏
๒๖. ๏
๓๖. ๏ ๔๖. ๏ คาํ อธิบายกลาวเสน สบิ ในตําราโรคนทิ านคําฉนั ท ๑๑ 15
๓๗. ๏ ๔๗. ๏
๓๘. ๏ ๔๘. ๏
๓๙. ๏ ๔๙. ๏
๔๐. ๏ ๕๐. ๏
๔๑. ๏ ๕๑. ๏
๔๒. ๏ ๕๒. ๏
๔๓. ๏ ๕๓. ๏
๔๔. ๏ ๕๔. ๏
๔๕. ๏ ๕๕. ๏
๕๖. ๏ ๖๖. ๏ 16 ชดุ การสงั คายนาภมู ปิ ญ ญาการนวดไทย: ๑
๕๗. ๏ ๖๗. ๏
๕๘. ๏ ๖๘. ๏
๕๙. ๏ ๖๙. ๏
๖๐. ๏ ๗๐. ๏
๖๑. ๏ ๗๑. ๏
๖๒. ๏ ๗๒. ๏
๖๓. ๏ ๗๓. ๏
๖๔. ๏ ๗๔. ๏
๖๕. ๏ ๗๕. ๏
๗๖. ๏ ๘๖. ๏ คาํ อธิบายกลาวเสน สบิ ในตําราโรคนทิ านคําฉนั ท ๑๑ 17
๗๗. ๏ ๘๗. ๏
๗๘. ๏ ๘๘. ๏
๗๙. ๏ ๘๙. ๏
๘๐. ๏ ๙๐. ๏
๘๑. ๏ ๙๑. ๏
๘๒. ๏ ๙๒. ๏
๘๓. ๏ ๙๓. ๏
๘๔. ๏ ๙๔. ๏
๘๕. ๏ ๙๕. ๏
๙๖. ๏ ๑๐๖. ๏ 18 ชดุ การสงั คายนาภมู ปิ ญ ญาการนวดไทย: ๑
๙๗. ๏ ๑๐๗. ๏
๙๘. ๏ ๑๐๘. ๏
๙๙. ๏ ๑๐๙. ๏
๑๐๐. ๏ ๑๑๐. ๏
๑๐๑. ๏ ๑๑๑. ๏
๑๐๒. ๏ ๑๑๒. ๏
๑๐๓. ๏ ๑๑๓. ๏
๑๐๔. ๏ ๑๑๔. ๏
๑๐๕. ๏
๑๑๕. ๏ ๑๒๕. ๏ คาํ อธิบายกลาวเสน สบิ ในตําราโรคนทิ านคําฉนั ท ๑๑ 19
๑๑๖. ๏ ๑๒๖. ๏
๑๑๗. ๏ ๑๒๗. ๏
๑๑๘. ๏ ๑๒๘. ๏
๑๑๙. ๏ ๑๒๙. ๏
๑๒๐. ๏ ๑๓๐. ๏
๑๒๑. ๏ ๑๓๑. ๏
๑๒๒. ๏ ๑๓๒. ๏
๑๒๓. ๏ ๑๓๓. ๏
๑๒๔. ๏
๑๓๔. ๏ ๑๔๓. ๏ 20 ชดุ การสงั คายนาภมู ปิ ญ ญาการนวดไทย: ๑
๑๓๕. ๏ ๑๔๔. ๏
๑๓๖. ๏ ๑๔๕. ๏
๑๓๗. ๏ ๑๔๖. ๏
๑๓๘. ๏ ๑๔๗. ๏
๑๓๙. ๏ ๑๔๘. ๏
๑๔๐. ๏ ๑๔๙. ๏
๑๔๑. ๏ ๑๕๐. ๏
๑๔๒. ๏ ๑๕๑. ๏
๑๕๒. ๏ ๑๖๒. ๏ คาํ อธิบายกลาวเสน สบิ ในตําราโรคนทิ านคําฉนั ท ๑๑ 21
๑๕๓. ๏ ๑๖๓. ๏
๑๕๔. ๏ ๑๖๔. ๏
๑๕๕. ๏ ๑๖๕. ๏
๑๕๖. ๏ ๑๖๖. ๏
๑๕๗. ๏ ๑๖๗. ๏
๑๕๘. ๏ ๑๖๘. ๏
๑๕๙. ๏ ๑๖๙. ๏
๑๖๐. ๏ ๑๗๐. ๏
๑๖๑. ๏ ๑๗๑. ๏
๑๗๒. ๏ ๑๘๒. ๏ 22 ชดุ การสงั คายนาภมู ปิ ญ ญาการนวดไทย: ๑
๑๗๓. ๏ ๑๘๓. ๏
๑๗๔. ๏ ๑๘๔. ๏
๑๗๕. ๏ ๑๘๕. ๏
๑๗๖. ๏ ๑๘๖. ๏
๑๗๗. ๏ ๑๘๗. ๏
๑๗๘. ๏ ๑๘๘. ๏
๑๗๙. ๏ ๑๘๙. ๏
๑๘๐. ๏ ๑๙๐. ๏
๑๘๑. ๏
คาํ อธิบายกลาวเสน สบิ ในตําราโรคนทิ านคําฉนั ท ๑๑ 23
๑๙๑. ๏
๑๙๒. ๏
๑๙๓. ๏
๑๙๔. ๏
๑๙๕. ๏
๑๙๖. ๏
24 ชุดการสงั คายนาภมู ปิ ัญญาการนวดไทย: ๑
๔.๒ การจำ�แนกความรเู้ ร่ือง “เสน้ สบิ ” ในบทคำ�ฉนั ท์ “กล่าวเสน้ สบิ ”
องค์ความรูเ้ รอ่ื งเส้นสบิ พระยาวชิ ยาธิบดี (กลอ่ ม) ไดถ้ า่ ยทอดความรู้ไวม้ เี นอื้ หาที่
สามารถจัดหมวดความรู้ในแต่ละเสน้ ได้อย่างชัดเจน มีดงั น้ี
๑) ความส�ำคัญของเส้นสิบและการศึกษาเรื่องเส้นสิบให้เข้าใจถึงแนวทางเดิน
ของเส้น และการกำ� เริบของลม ฯลฯ: บทที่ ๑-๙
๑. ๏ เสน้ สิบท่านพรรณนา ในครรภาเปนนไิ สย
ลอ้ มสญู พระเมรุ์ไว้ สถิตย์ลึกสกั สองนิว้
๒. ๏ ลอ้ มเปนจกั ร์ทราสูนย ์ ดูไพบูลย์ไมแ่ พลงพล้วิ
ดจุ สายบรรทดั ทิว เปนแนวแถวทอดเรยี งกนั
๓. ๏ เส้นซา้ ยชอ่ื อิทา ขา้ งสูญหนาเปนฝ่ายจันทร์
ปงิ คลาขา้ งขวานนั้ อยูข่ า้ งสูญเรยี กสรุ ยิ า
๔. ๏ กลางสูญเส้นแถวทอด ชิวหาตลอดเรียกสุมนา
สามเรียงเคียงกันมา เปนธรรมดาสำ� หรับหมาย
๕. ๏ เสน้ สามใครรดู้ ี รูว้ ิธีเปนแลตาย
ก�ำกบั ส�ำหรบั กาย ทกุ หญิงชายไม่เว้นเลย
๖. ๏ ทา่ นแพทย์ผปู้ จั ฉา หม่นั ศึกษาอยา่ เพิกเฉย
วิสาสะให้คน้ เคย สดุ เล่หล์ ึกละเอียดนกั
๗. ๏ จงตรึกตรองในคลองเสน้ ใหช้ ดั เจนแจ้งประจกั ษ์
ไต่ถามครรู ู้กระหนกั วิธลี มกำ� เริบจร
๘. ๏ เส้นเอน็ ยอ่ มเปนร ู ลมเลือดชูให้ฟฟู อน
ก�ำเริบมกั รุมรอ้ น ใหศ้ ขุ ทุกๆ ราตรี
๙. ๏ เมือ่ สบายเลือดลมเสมอ จึงราเรอกระเษมสี
ยังหะทยั ใหเ้ ปรมปร ี เพราะเสน้ เอน็ ไม่กอ่ การ
คำ�อธิบายกล่าวเสน้ สบิ ในต�ำ ราโรคนทิ านคำ�ฉนั ท์ ๑๑ 25
๒) วา่ ดว้ ยเสน้ อทิ า
๒.๑ ทางเดนิ ของเสน้ อทิ า: บทที่ ๑๐-๑๒
๑๐. ๏ เกิดเปนเส้นอิทา ให้คิลาน์กำ� เรบี ราญ
เสน้ น้ีวิถผี า่ น แตน่ าภีพาดหวั เหน่า
๑๑. ๏ แลน่ ตลอดลงตน้ ขา เลยี้ วตลอดน่าสันหลงั กลา่ ว
แนบกระดูกสันหลังราว ผา่ นข้นึ ไปจนสดุ เศยี ร
๑๒. ๏ แลว้ เกี่ยวเล้ียวตลบลง นาศกิ ตรงซ้ายจ�ำเนียร
ประจำ� ลมสถติ ย์เสถียร จนั ทะกาลาทุกราตรี
๒.๒ โรคและอาการท่เี กิดในเสน้ อทิ า: บทท่ี ๑๓-๑๗
๑๓. ๏ เกดิ โทษให้ปวดเศยี ร เปนพน้ เพียรอสุรยิ ศรี
ตามดื มวั อัคคี ชักปากเบ้ยี วเจบ็ สันหลงั
๑๔. ๏ บางเพอื่ ก�ำเดาปน ลมระคน โทษทุวงั
กลายเปนลมปะกงั พกิ ารรุมตวั ร้อนนอน
๑๕. ๏ วิงเวยี นซึง่ หนา้ ตา บางทหี นาโทษสงั หรณ์
สนั นบิ าตกำ� เริบร้อน กลับไข้เศียรสุดกำ� ลงั
๑๖. ๏ ล่วงเขา้ ถงึ เจด็ วัน มรณสญั ไมท่ ันส่ัง
คล่งั พษิ บ่อประทัง บางคาพยท์ อ้ งเปนลมพะหิ
๑๗. ๏ ดังงทู ับทาขบ เชื่อมสลบนอนมนึ มิ
เปนแพทยจ์ งตรองตร ิ เภทอทิ าณะหาโร
๒.๓ วธิ ีนวดแก้ลมจนั ทร์ เส้นอทิ า: บทที่ ๑๘-๑๙
๑๘. ๏ อนั กลายเปนลมจนั ทร ์ โทษมหนั ต์ศขุ ุโม
แพทยผ์ ู้ประเสริฐโถ ประจงจบั เส้นอทิ า
๑๙. ๏ นวดตามล�ำเนาแนว ใหห้ ย่อนแลว้ จึงวางยา
ดงั ต�ำหรับบังคบั มา แก้คลิ าน์เสน้ ลมจนั ทร์
26 ชุดการสังคายนาภูมิปญั ญาการนวดไทย: ๑
๒.๔ ตำ� รับยาพอก แกศ้ ิลานเ์ ส้นลมจนั ทร์ลมขนึ้ ขบเบอ้ื งสูง: บทที่ ๒๐-๒๓
๒๐. ๏ ลมขึน้ ขบเบ้ืองสูง แลน่ ปวดจูงถึงเศยี รนน้ั
ใหน้ วดทีเ่ จ็บพลัน แลว้ ประกอบยาฉะน้ีมี
๒๑. ๏ เอายอดกมุ่ น�ำ้ เจด็ ยอดตะขบเด็ดเจด็ ยอดศรี
เจ็ตมูลเจ็ดยอดด ี อกิ ดองดงึ ขิง กระเทียม
๒๒. ๏ พริกไทยใสแ่ ต่พอ เข้ากน้ หม้อเผาใหเ้ กรียม
ประสมบทละเอียดเอี่ยม เคล้าสรุ าเรง่ พอกพลนั
๒๓. ๏ ลมจะโปงก็พอกหาย พวกลมร้ายปะกงั ขยนั
วิเศษล้ำ� คณุ มะหันต์ ไดพ้ อกแลว้ หายมาหลาย
๒.๕ การรกั ษาลมปะกงั ดว้ ยมนต์คาถา ไสยศาสตร:์ บทท่ี ๒๔-๒๗
๒๔. ๏ หนงึ่ โสดปะกังลม ปวดเศยี รซมมิไคร่หาย
โบราณท่านบรรยาย เปนกาละเม็ดวเิ ศษมนต์
๒๕. ๏ ทา่ นใหเ้ อาเปลอื กมะพรา้ ว มาถากท�ำเปนรูปคน
เขยี นช่ือผเู้ จ็บดล ท่สี งู รูปเปนส�ำคัญ
๒๖. ๏ บริก�ำซ่งึ คาถา อธิถานผ่าด้วยฉบั พลนั
เขม็ สกั เศียรรปู นน้ั ทำ� สามวันปะกังคลาย
๒๗. ๏ เอารปู ไปทง้ิ ท่ี ตะวันตกนเ้ี ปนแยบคาย
ตำ� หรับเคยท�ำหาย ซึง่ ลมกลายรำ� เพพัด
๒.๖ ตำ� รับยาทา แกล้ มปะกังจากเส้นอทิ า: บทท่ี ๒๘-๓๐
๒๘. ๏ ภาคหนง่ึ เปนยาทา แกว้ าตาปะกงั จดั
ปวดเศียรแสนสาหัด เอาพริก ขิง เมล็ดมะนาว
๒๙. ๏ ดีงเู หลอื ม เกลือรำ� หัดบทท�ำแท่งยาว ๆ
มีดสบั ให้เลือดพราว เปนยางปลที ่ีเพรยี งหู
๓๐. ๏ นำ้� มะนาวฝนกับยา สที าเข้าแสบสักครู่
ปะกงั รา้ ยมอิ าจอยู่ อนั ตะระทานไมน่ านนา
คำ�อธิบายกลา่ วเส้นสิบในตำ�ราโรคนิทานค�ำ ฉนั ท์ ๑๑ 27
๒.๗ ตำ� รบั ยานัตถุ์ แก้ลมปะกงั : บทท่ี ๓๑
๓๑. ๏ ภาคหน่ึงยาน้ำ� นดั ถ ์ วเิ ศษจดั มะหมึ มา
(ลูกคน) ทีสอ ว่านน�้ำหา ต�ำเอานำ�้ กรองนดั ถห์ าย
๒.๘ การนวดรักษาอาการ ลมจันทร์ เสน้ อิทา: บทท่ี ๓๒-๓๓
๓๒. ๏ ยาปะกังหวังย่อหยดุ กลา่ วเรอื่ งรตุ ธบิ ายขยาย
ลมจันทรพ์ กิ ารรา้ ย ชักปากเบ้ียวเสียวหน้าตา
๓๓. ๏ ให้นวดแกร้ ิมจะมกู เบอ้ื งซ้ายถูกจงหนักหนา
นวดท้องเส้นอิทา ไคลตามหลังทงั้ สูงเศียร
๒.๙ ตำ� รับยาพอกแกป้ ากเบีย้ ว ปากชักลอย: บทท่ี ๓๔-๓๖
๓๔. ๏ ท�ำยาพอกปากเบี้ยว ชกั หนา้ เล้ยี วดงั บงั เหียน
อย่าเกียดกลพากเพียร ใช่ลมนจ้ี ะหายง่าย
๓๕. ๏ สรรพยาอยา่ พงึ แคลง ใบมะแว้งทง้ั สองหมาย
ใบเขอื ขืน่ มะอึกราย ใบเจ็ตมลู ขม้นิ ออ้ ย
๓๖. ๏ ดินประสิวร�ำหดั บด หยดน้�ำสม้ สาชหู นอ่ ย
พอกริมปากชกั ลอย จงเนอื ง ๆ ก็เปลื้องหาย
๒.๑๐ ต�ำรับยากินแก้ลมอิทา เถาเอ็น เอ็นห่อ ชักปากเบ้ียว ลมอันพานไส้
รดิ สีดวง จุกเสยี ด: บทที่ ๓๗-๕๐
๓๗. ๏ หน่งึ โสดเปนยากนิ เปนนิจสนิ สดุ สบาย
สรรพยาท่านบรรยาย หศั คณุ เทศย่สี ิบบาท
๓๘. ๏ มหาหงิ ค์สามต�ำลึง จงช่งั ถงึ อยา่ ได้ขาด
บกุ กลอย หัวกะดาษ เอาทัง้ สองกับดองดึง
๓๙. ๏ อุตพิษ รากสม้ กงุ้ ปรุงขงิ แห้วหมู สะค้าน ขงึ
จงิ จ้อ ชาพลจู งึ ส่ิงละต�ำลึงตรีกะตกุ
๔๐. ๏ สมอไทยแต่เนอื้ นา หนกั เท่ายาทั้งหลายทกุ
ทำ� ผงระคนคลกุ ดว้ ยนำ้� ผึง้ เท่าพุดทรา
28 ชุดการสังคายนาภมู ปิ ญั ญาการนวดไทย: ๑
๔๑. ๏ เพยี รกินทุกเช้าเย็น แกเ้ ถาเอ็นในครรภา
เอ็นห่อเป็นโรคา ชกั ปากเบย้ี วเสยี วตาแหก
๔๒. ๏ แกล้ มอนั ขบขัน ท้ังตวั นัน้ คันยับแหลก
ดจุ มดตะนอยแถก ปวดเปนนจิ ก็เสือ่ มหาย
๔๓. ๏ แกล้ มอันพานไส ้ ริศสดี วงไซ้กก็ นิ คลาย
แก้จุกเสียดไดส้ บาย คณุ ยาน้ดี ีหนักหนา
๔๔. ๏ หนง่ึ โสดก�ำลังนอ้ ย พงึ กินถอยถอ่ มลงมา
เท่าเหล็ดพรกิ ไทยรา ม้อื สามเมล็ดวเิ ศษคลัน
๔๕. ๏ รอ้ นนักใหแ้ ช่นำ้� คณุ เหลอื ล�ำ้ สดุ รำ� พนั
ผ้แู พทยพ์ งึ สำ� คญั แกว้ าตาอทิ าหาย
๔๖. ๏ ภาคหนง่ึ นามกร โลกาธจิ รแก้ลมร้าย
โอสถนดี้ ีหลาย แกล้ มรา้ ยปากเบี้ยวสญู
๔๗. ๏ อนั ยาทัง้ สองขนาน แกว้ ิถานคุณมากมลู
เร่งกนิ อยา่ อาดูร แกล้ มชกั ปากเบ้ยี วหนี
๔๘. ๏ อันโลกาธจิ รยา ในต�ำราเบอื้ งตน้ มี
ค้นดตู ามคมั ภีร ์ ในอ�ำมพฤกษ์เห็นองอาจ
๔๙. ๏ สรรพยากลา่ วคณุ ไว้ ย่อมไพบูลดสู ามารถ
เส้นลมอันร้ายกาจ เรว็ วินาศเส่อื มสญู ดี
๕๐. ๏ เรือ่ งเสน้ เอ็นอทิ า ยตุ กิ าตามคมั ภีร์
จะยกยอ่ งคลองวิถี เส้นปิงคะลาเบ้อื งขวาไป
๓) วา่ ดว้ ยเส้นปงิ คลา
๓.๑ ทางเดินเส้นปิงคลา: บทท่ี ๕๑-๕๒
๕๑. ๏ ปงิ คะลาทีฆายาว กล่าวดงั เสน้ อทิ าไซ้
จากครรภาขวาไป แลน่ ลงในหวั เหนา่ ขา
๕๒. ๏ เลย้ี วลอดตลอดหลัง สดุ ศรสี งั ลงนาศา
ประจ�ำลมสรู ย์กาลา ซีกข้างขวาเปนส�ำคัญ
คำ�อธบิ ายกล่าวเสน้ สิบในตำ�ราโรคนิทานคำ�ฉนั ท์ ๑๑ 29
๓.๒ โรคและอาการทีเ่ กิดในเส้นปงิ คลา: บทที่ ๕๓-๕๖
๕๓. ๏ ปิงคะลาเมอ่ื วิกล หนา้ ตาตนแดงขน้ึ พลนั
ปวดเศียรรบั สรุ ิยัน แต่อไุ ทยไปจนเทย่ี ง
๕๔. ๏ ก่อพษิ เปนลมปะกัง เหลอื กำ� ลงั เจ็บสงู เพยี ง
บางทีชักปากเอียง บางทเี ลยี่ งเภทสันนิบาต
๕๕. ๏ บางทเี ปนรศิ สีดวง น�ำ้ มกู ล่วงไมร่ ูข้ าด
ตึงนาศกิ จามฉาด โทษสามารถเสน้ ปงิ คะลา
๕๖. ๏ บ้างกลายเปนลมมหิ สิ้นสตไิ ม่พูดจา
ดงั งทู บั สมิงคลา ขบเอาหนาสลบตาย
๓.๓ การนวดรกั ษาอาการจากปงิ คะลาเปน็ เหตุ: บทท่ี ๕๗-๖๒
๕๗. ๏ ผิแพทย์จะเยยี วยา โทษปิงคะลาจะให้หาย
จงนวดคลึงไคลขยาย ท่เี สน้ ร้ายปงิ คะลา
๕๘. ๏ ซ้ายสญู ทกั ขิณาวดั คัดใหห้ ยอ่ นจึงผอ่ นหา
แก้ขมอ่ ม ก�ำด้นมา ตามไรผม ตามหศู รี
๕๙. ๏ ทดั ดอกไม้สองข้าง แก้โสตวา่ งทา่ นว่าดี
กระหมอ่ มวาโยอักค ี เกี่ยวเอาเส้นสูรยท์ ะกะลา
๖๐. ๏ สันนิบาตลมปะกัง ที่หว่างค้ิวท้งั สองนา
หนา้ ผากคลึงไคลหา ทา้ ยผมหลงั ทงั้ ไต้หู
๖๑. ๏ ให้แก้ทัง้ สองขา้ ง ลมปะกงั อา้ งมกั แฝงอยู่
ปากเบ้ยี วเหมอื นทั้งค ู่ เสน้ แฝงอย่ชู ิดจะมูก
๖๒. ๏ เรื่องเส้นดังพรรณา นวดไคลหาคล�ำให้ถูก
เสน้ อ่อนหย่อนอยา่ ผกู จึงโอสถสะกดซำ้�
๓.๔ ยากนิ และยาพอกเสน้ ปิงคลา: บทท่ี ๖๓
๖๓. ๏ ยากนิ แลยาพอก ยาทานอกรมุ กระหน�่ำ
หมแู่ พทย์พงึ จดจ�ำ ยาอิทาแกเ้ หมอื นกนั
30 ชดุ การสงั คายนาภมู ปิ ัญญาการนวดไทย: ๑
๔) วา่ ด้วยเส้นสมุ นา
๔.๑ ทางเดนิ เสน้ สมุ นา: บทท่ี ๖๔-๖๕
๖๔. ๏ ปิงคะลาชาจบเรื่อง นำ� ตอ่ เนอ่ื งสุมะนาพลนั
ทอ่ี ยูส่ ุมะนาน้นั ตรงกลางสูญนะนาภี
๖๕. ๏ แลน่ เลยตรงข้นึ ไป ข้วั หวั ใจอรุ ะนี้
แนบคอหอยวถิ ี ตลอดล้ินสิ้นทกุ เสน้
๔.๒ โรคและอาการท่ีเกดิ ในเส้นสุมนา: บทท่ี ๖๖-๗๔
๖๖. ๏ สุมะนาเม่ือวิการ พาลกอ่ โทษให้เคอื งเขญ็
จับล้นิ ไมพ่ รอดเปน เรยี กชื่อว่าชวิ หาสดม
๖๗. ๏ ล้นิ กะดา้ งคางแข็งนัก หนกั อกใจเพราะพิษลม
ให้เชือ่ มมวั เมาซม บ้างเปนลมดาลตะคุณ
๖๘. ๏ จุกอกเอน็ เปนลำ� เสน้ ทร่ี �ำ่ เพราะลมหนนุ
สมุ ะนาเมื่อทารุณ วนั อาทิตยเ์ ปนเดมิ ที
๖๙. ๏ สุมะนาถา้ ผดุ จงึ โทษน้นั ถงึ ล้างชวี ี
ผวิ ่าแพทย์ผูร้ ู้ดี แกส้ มุ ะนาใหพ้ ลันคลาย
๗๐. ๏ สมุ ะนากโ็ ทษลึก ยอ่ มโหมฮึกเปนลมรา้ ย
เพราะดวงจิตระส�่ำระสาย จึงกลายเปนลมทะกรน
๗๑. ๏ บางทเี ปนบาทจติ ร์ เครม้ิ จรติ สติตน
พูดพรอดมกั อ้ันอน้ มักหลงลืมจ�ำไมไ่ ด้
๗๒. ๏ สุมะนาเพอ่ื ลมรว้ิ ก็โทษหิวระหวยใจ
แรงน้อยถอยถ่อมไป อาหารไซก้ ็คลายรศ
๗๓. ๏ ตนี มือเปรย้ี ระทวยออ่ น นอนถอนใจระทวยทศ
สรรพการเสื่อมสูญหมด ดว้ ยสมุ ะนาวิการใน
๗๔. ๏ สมุ ะนาก็โทษลม เข้ารุมรมจบั หัวใจ
สุมะนาใชอ่ ่นื ไกล เสน้ ดวงใจเราทงั้ มวน
คำ�อธบิ ายกล่าวเส้นสบิ ในตำ�ราโรคนิทานคำ�ฉนั ท์ ๑๑ 31
๔.๓ การรักษาอาการเส้นสมุ นาด้วยการนวด: บทที่ ๗๕-๗๖
๗๕. ๏ สมุ ะนาอาฌาการ อยา่ หกั หาญแต่พอควร
หน่วงนานลมกลับหวน กลัดอกใจไม่สบาย
๗๖. ๏ น้าวหน่วงไคลคลึงผลัก อยา่ หนกั นักใชง้ า่ ยหาย
เปนแพทย์รแู้ ยบคาย ดอู าชาอยา่ พงึ หมน่ิ
๔.๔ รสยาที่ให้หลังการนวด รักษาอาการจากเสน้ สมุ ะนาเปน็ เหตุ: บทท่ี ๗๗-๘๐
๗๗. ๏ ครน้ั เส้นหย่อนผอ่ นหา แต่งหยูกยาตม้ ให้กิน
รศยาอันมกี ล่ิน ท้งั ยาแทง่ แลน�้ำกระสาย
๗๘. ๏ รศหอมจงึ ค่อยชื่น ฟื้นอารมณ์ไดศ้ ุขสบาย
เปนแพทยอ์ ย่ามกั ง่าย โทษสมุ ะนาอย่าดูเบา
๗๙. ๏ สมุ ะนาถ้าเกิดลม รศยาขมประกอบเข้า
กล่นิ หอมสกุ ขุมเอา อุน่ ดวงจิตรจ์ ะพลนั หาย
๘๐. ๏ อย่าเยน็ อย่าร้อนกลา้ ยาจะพาระสำ่� ระสาย
ดอู าชาอยา่ ยักยา้ ย ตามค�ำภีร์บงั คบั มา
๔.๕ ตำ� รบั ยากนิ แกส้ มุ ะนาพกิ ารอาการตา่ ง ๆ บงั เกดิ เปน็ ชวิ หาสดมภ:์ บทท่ี ๘๑-๘๘
๘๑. ๏ แพทย์ใดจะใครแ่ ก ้ สุมะนาแปลวกิ ารา
บังเกดิ เข็ญเปนชวิ หา พงึ เอายาฉะนี้กนิ
๘๒. ๏ ชมดเชยี งสลงึ หน่ึง พมิ เสนสลงึ ใหช้ กู ลิ่น
กฤษนาหาประคนิ สลึงเฟือ้ งตามต�ำรา
๘๓. ๏ แกน่ สนนนั้ หกสลึง ก�ำยานสองสลงึ นา
ขิง ดีปลี ทวกี วา่ ส่ิงละบาทอย่าขาดน�ำ
๘๔. ๏ กะลำ� ภัก จันทน์ขาวหนา การะบูน เทียนด�ำข�ำ
เจ็ตมูล ดองดงึ ซ�้ำ สิ่งละสลงึ จึงปรุงลง
๘๕. ๏ ตากตำ� ท�ำระแนงย่อย นำ้� มะนาวพลอยมะงัว่ คง
กระสายบดป้ันบรรจง เม็ดมะกล�ำ่ ตาหนูแท้
32 ชุดการสังคายนาภูมปิ ญั ญาการนวดไทย: ๑
๘๖. ๏ ตากลมในร่มแดด จะเผอื ดแผดรศยาแช
ใส่ขวดผนึกแล อยา่ ให้รศกล่นิ ระเหย
๘๗. ๏ แก้ไขส้ ่ันท้ังปวง วิบตั ิรว่ งนะท่านเอ๋ย
ชิวหาทต่ี นเคย พรอดไมไ่ ด้ใจระทด
๘๘. ๏ ละลายน�้ำดอกไมเ้ ทศ สิบเก้าเมด็ ดืม่ ใหห้ มด
แก้โทษชิวหาหด กลบั เหือดหายพดู ได้ดี
๔.๖ วิธที �ำน้�ำกระสายฝนยาตำ� รบั ยาสมุ ะนาพกิ าร–กนิ แกล้ ม: บทที่ ๘๙-๙๐
๘๙. ๏ หนงึ่ แกซ้ ง่ึ ลมจบั หวั ใจวบั แรงไมม่ ี
หวิ โหยไมส่ มประด ี แก้สอึกหา่ งหายคลาย
๙๐. ๏ สิบเก้าเมด็ ฝนกนิ นำ้� ดอกไมส้ น้ิ เปนกระสาย
อยูด่ ี ๆ มิสบาย ดว้ ยนำ�้ จันทน์จงฝนกนิ
๔.๗ วธิ ที ำ� นำ้� กระสายฝนยาตำ� รบั ยาสมุ ะนาพกิ าร–กนิ แกแ้ ปรยี่ วดำ� : บทที่ ๙๑-๙๒
๙๑. ๏ หนง่ึ โสตแกเ้ ปรี่ยวด�ำ น�้ำมะนาว กระเทยี มกลน่ิ
ยาระคนฝนให้ส้ิน สิบเก้าเม็ดวเิ ศษหาย
๙๒. ๏ ผิแพทย์พบยาน้ี คุณวธิ ปี ระเสรฐิ หลาย
เรง่ ท�ำเคยใช้หาย ควรคา่ ค�ำช่ังหนงึ่ พลัน
๔.๘ ตำ� รบั ยากิน และประคบคาง แกค้ างแขง็ ลิน้ หดพดู ไมไ่ ด้: บทท่ี ๙๓-๙๕
๙๓. ๏ หนึ่งโสดก็ยากิน คางแขง็ สนิ้ ชวิ หาอัน
ลน้ิ หดไม่จำ� นัน เพราะสมุ นาชิวหาสะดม
๙๔. ๏ ใหเ้ อาซง่ึ ใบหนาด ทง้ั ผักคราดแลสารส้ม
พรหมมิจงประสม ละลายน�้ำมะนาว น�้ำท่ากนิ
๙๕. ๏ หนึ่งโสดประคบคาง อันแขง็ กระด่างกห็ ายส้ิน
ผู้แพทยอ์ ย่าดหู มิ่น วา่ ยานี้จะไมห่ าย
คำ�อธิบายกลา่ วเส้นสบิ ในต�ำ ราโรคนิทานคำ�ฉนั ท์ ๑๑ 33
๔.๙ ตำ� รับยากิน แก้วิงเวยี น: บทที่ ๙๖-๙๘
๙๖. ๏ หนึ่งโสดแก้วิงเวียน ดวงจติ ร์เจียนจักวางวาย
ซมึ ซมเพราะลมรา้ ย จงทำ� ยาฉะนกี้ ิน
๙๗. ๏ เปลือกหอยทั้งห้าเผา เอาเทยี นหา้ อันหอมกลน่ิ
เจ็ตมลู ขงิ แห้งช้ิน ช่งั เทา่ กันทำ� ผงพลนั
๙๘. ๏ ละลายเหล้าเอายาตรอก สักถ้วยจอกวเิ ศษขยนั
ย่อมฟ้นื คลายสบายครัน สน้ิ โทษพลนั ในสมุ ะนา
๔.๑๐ ต�ำรับยากิน แก้ล้ินหด คางแขง็ คลง่ั ไคล้: บทท่ี ๙๙-๑๐๐
๙๙. ๏ หนง่ึ พะยารากขาวไซ ้ ผิวไม้ไผ่ พรหมมิมา
พิศนาศบดจุลนา น�้ำมะนาวฝนให้กนิ
๑๐๐. ๏ แกล้ ิน้ หด คางแขง็ อยา่ คลางแคลงหายหมดส้ิน
คลงั่ ไคล้แมน้ ได้กนิ สิ้นสญู โทษดงั กลา่ วมา
๔.๑๑ ต�ำรับยากินแก้ลมบาทจิตร อันเกิดจากพิษม์ลมชิวหาสดมภ์ ดีเดือด
ดพี ลุ่ง ลมใหต้ ัวลายวงิ เวียนให้จับหัวใจ: บทท่ี ๑๐๑-๑๐๖
๑๐๑. ๏ หนึ่งโสดแกบ้ าทจิตร์ เกดิ เพอ่ื พษิ ม์ลมชวิ หา
ดเี ดอื ด ดพี ลงุ่ มา แก้ลมกลา้ ใหต้ วั ลาย
๑๐๒. ๏ แก้ลมวิงเวยี นให้ จับหัวใจกเ็ สอื่ มหาย
พิษม์กาฬอนั รอ้ นร้าย รอ้ นอกใจมสิ ะเบย
๑๐๓. ๏ เอาโกฎหัวบัว เขมา ขงิ แห้งเรานะแพทยเ์ อ๋ย
จนั ทนล์ กู ดอกอย่าละเลย สง่ิ ละสลงึ หนง่ึ ช่ังใส่
๑๐๔. ๏ ยาด�ำอิกน�ำ้ ตาล กรวดรศหวานเนยดว้ ยไซ้
เปลอื กฟักเขยี วพกิ ัดไว้ สิ่งละสามบาทอย่าขาดท�ำ
๑๐๕. ๏ ดปี ลีบาทหน่งึ เอา เกลอื สนิ เธาวส์ เ่ี ฟอื้ งข�ำ
ดจี รเข้ งูเหลอื มซ้ำ� ส่งิ ละเฟ้อื งอย่าเคอื งขัด
34 ชดุ การสงั คายนาภมู ปิ ญั ญาการนวดไทย: ๑
๑๐๖. ๏ ต�ำผงละลายนำ้� ผง้ึ นำ�้ ร้อนพึงแก้วิบตั ิ
นำ้� สม้ สาชจู ัด กินแล้วลมตรีสญู หาย
๔.๑๒ ต�ำรบั ยามูลจติ ร์ แก้ลมร้ายบาทจิตร์ แก้ลมวิงเวียน ลิน้ กระดา้ งคางชดิ
แก้พษิ โลหิต: บทท่ี ๑๐๗-๑๑๒
๑๐๗. ๏ มลู จิตร์นีด้ อี าจ คณุ สามารถแก้ลมรา้ ย
รศกลนิ่ ยาหอมคลาย แก้ลมร้ายบาทจติ ร์
๑๐๘. ๏ แกล้ มอันวงิ เวียน มักหาวเหียนอนั เนอื งนจิ
ล้นิ กระดา้ งคางชดิ บ�ำรุงพษิ ม์โลหติ หาย
๑๐๙. ๏ ใหเ้ อาลกู ผักชี เจ็ตพงั คี ดอกคำ� หมาย
สมลุ แว้ง ฝางเสนสาย อบเชย (เทศ) สิง่ ละต�ำลึงยง่ิ
๑๑๐. ๏ โกฎห้า เทยี นทัง้ หา้ วา่ นเปราะหนาศกั ขี ขงิ
กระวาน กานพลู จรงิ กฤษนา กะลำ� ภัก
๑๑๑. ๏ ลูกจนั ทน์แลดอกจันทน์ จนั ทนส์ องนัน้ จงึ ประจักษ์
ตรกี ะตุกทงั้ น้ีหนัก สิ่งละสองสลึงจงึ ควรดี
๑๑๒. ๏ ท�ำแท่งสรุ าละลาย น้ำ� กระสายเรง่ ภุญชี
น�้ำส้มส้าขงิ ขา่ ม ี ตามวิธีควรกินหาย
๔.๑๓ ต�ำรับยาอินทวิเชยี น แกล้ มรา้ ยบาทจิตร:์ บทที่ ๑๑๓-๑๒๕
๑๑๓. ๏ หนง่ึ โสดแพทยพ์ งึ เพียร อนิ ทวเิ ชยี นตำ� ราหมาย
โบราณท่านบรรยาย แก้ลมร้ายบาทจิตร์
๑๑๔. ๏ อบอับจับดวงใจ ใหห้ ลงไหลคลุ้มคลง่ั พษิ ม์
แนน่ อกอาเจียนติด รากลมเปล่าให้หนาวร้อน
๑๑๕. ๏ อาหารกลืนขืนกิน แตไ่ ดก้ ลนิ่ กลับขยอ้ น
แกพ้ ษิ ม์โลหติ ร้อน ให้ใคล้คลัง่ ทงั้ ตีขึน้
๑๑๖. ๏ ลมสรรนิบาตวนิ าศหาย ลมทัง้ หลายบอ่ ฝ่าฝืน
โอสถน้ีดยี ่งั ยืน แพทยพ์ งึ ทำ� ตามต�ำรา
ค�ำ อธบิ ายกลา่ วเส้นสบิ ในตำ�ราโรคนทิ านคำ�ฉันท์ ๑๑ 35
๑๑๗. ๏ ใหเ้ อาโกฎน้ำ� เต้า โกฎกา้ นพร้าว โกฎพุงปลา
โกฎเชียง โกฎจุลา โกฎกตั กรา โกฎกระดูก
๑๑๘. ๏ เทยี นดำ� ขาว เปลอื ก แดง เยาวภานที ัง้ หา้ ถกู
ขอนดอก อ�ำพนั ผกู ทั้งกฤษณา กระล�ำภกั
๑๑๙. ๏ จนั ทนท์ ้ังสอง สมลุ แว้ง พิมเสนแรงชมดฝัก
ก�ำยาน เปราะหอมหนกั ทั้งกานพลู ลกู กระวาน
๑๒๐. ๏ ใคร้เครอื หญ้านางด ี ลกู ผกั ชี ชะลดู กาน
อบเชย อ�ำพนั พาน เบ็ญกลู ท้งั ฝางเสน
๑๒๑. ๏ (ลกู ) กระดอม ดอกสารพี พกิ ลุ ดมี ลเิ ยน็
บุญนาค จำ� ปาเปน กะดังงา ดอกคำ� ไทย
๑๒๒. ๏ เลอื ดแรด (ด)ี วัวเถ่ือนหา ดหี มูป่า (ดี) งเู หลือมใส่
ช่ังควรประมวลไว้ ยาทงั้ นเี้ ทา่ ๆ กนั
๑๒๓. ๏ บดดว้ ยนำ้� สรรพด ี กระสายนี้วเิ ศษขยัน
ทำ� แท่งละลายฉนั ตามโรคนนั้ ละลายกิน
๑๒๔. ๏ กระสายแพทยผ์ ปู้ ราชญ์ ตามฉลาดตรองประคิน
หอมเยน็ หรอื ร้อนกลิ่น หวานเปลย้ี วฝาดตามบญั ชา
๑๒๕. ๏ ควรแตโ่ รคสถานใด ดูคลึงคลา้ ยยกั ย้ายหา
บงั คับตามโรคา ประคินกนิ เอาแต่หาย
๔.๑๔ ต�ำรับยาแกล้ น้ิ หดเพอื่ ลมรา้ ย: บทท่ี ๑๒๖-๑๒๙
๑๒๖. ๏ ภาคหน่ึงพึงก�ำหนด แก้ลนิ้ หดเพอ่ื ลมร้าย
ดปี ลี กระเทยี มหมาย ลูกประคำ� ควาย ลูกสวาสดิ์
๑๒๗. ๏ มะขามเปียกอิกลูกจนั ทร์ พรกิ ไทยนน้ั เผ็ดร้ายกาด
เกลอื ขวั้ รำ� หัดขาด ใส่ถาดตำ� ท�ำเปนผง
๑๒๘. ๏ ละลายน้�ำผ้งึ กลืนกนิ แก้โทษลนิ้ หายมั่นคง
ลมรา้ ยสิน้ พิศสง คงสมุ ะนาวกิ ารหาย
36 ชุดการสงั คายนาภมู ิปัญญาการนวดไทย: ๑
๑๒๙. ๏ สุมนากล่าวนิเทศ พอสังเกตหยดุ ธิบาย
กล่าวกลบั ล�ำดับขยาย ในเสน้ เอ็นช่อื ทารี
๕) วา่ ดว้ ยเส้นกาลทารี
๕.๑ ทางเดนิ ของเส้นกาลทาร:ี บทที่ ๑๓๐-๑๓๕
๑๓๐. ๏ อาจารยท์ า่ นพรรณนา แลน่ ออกมาแต่นาพี
กลบั แตกแยกเปนส ี่ สองเส้นนี้ผา่ นขึ้นไป
๑๓๑. ๏ ตามโครงสุดขา้ งละเสน้ ร้อยข้ึนเปนสบกั ใน
ทัง้ ซา้ ยขวาตามนสิ ัย แลน่ ขึ้นไปก�ำดน้ ครนั
๑๓๒. ๏ ตลอดเศียรเวยี นกระหลบ แลน่ ทวนทบจรจลั
โดยหลังแขนท้งั สองน้ัน ออกไปงนั ทีข่ ้อมือ
๑๓๓. ๏ แตกแยกเปนห้าแถว ตามแนวนิว้ ให้ยึดถือ
สองข้างทกุ น้วิ มอื ให้ยดึ ถือท�ำตา่ ง ๆ
๑๓๔. ๏ สองเส้นเบอ้ื งใต้นนั้ แลน่ ผกผันลงเบ้ืองล่าง
ตามหน้าขาสองข้าง วางลงไปหน้าแข้งพลนั
๑๓๕. ๏ หยดุ พอเพยี งข้อท้าว แตกออกเหล่าละห้าอนั
เอ็นหนง่ึ ท้งั หา้ นน้ั ท้งั สองข้างดังกล่าวมา
๕.๒ โรคและอาการทเ่ี กดิ ในเส้นกาลทารี: บทท่ี ๑๓๖-๑๔๐
๑๓๖. ๏ อันเส้นการะทาร ี ทัง้ สี่นี้เม่ือวิการ์
ก�ำเริบใหค้ ิลาน์ ยอ่ มเยน็ ชา เหนบ็ ทั้งตวั
๑๓๗. ๏ มักให้จบั เย็นสะทา้ น เพราะอาหารแสลงชว่ั
ขนมจนี เขา้ เหนยี วถ่วั พอใจกินจงึ เกิดเปน
๑๓๘. ๏ อาทิตยจ์ นั ทร์โทษน ี้ การะทารกี ำ� เรบิ เข็ญ
บางทกี ก็ ลายเห็น โทษสนั นบิ าตทำ� กะลี
๑๓๙. ๏ บางคาบกลับเปนลม เรียกนิยมหัสรังษี
นอนแน่ไมส่ มประดี รสู้ กึ กายไม่เปนเลย
ค�ำ อธบิ ายกล่าวเส้นสิบในตำ�ราโรคนิทานคำ�ฉนั ท์ ๑๑ 37
๑๔๐. ๏ อาการเส้นทาร ี ส้ินเท่านี้นะท่านเอย๋
อยูกยาไม่มีเลย สิน้ เร่ืองราวกลา่ วต่อไป
๕.๓ วธิ ีนวดแกอ้ าการในกาลทาร:ี บทที่ ๑๔๑
๑๔๑. ๏ ผิจะแกก้ แ็ ตน่ วด ตรวจกดเส้นดงั กลา่ วไว้
ให้หยอ่ นผ่อนพักใจ จงึ แก้ไขด้วยอยูกยา
๕.๔ วธิ ีใหย้ าหลงั นวดกาลทาร:ี บทท่ี ๑๔๒
๑๔๒. ๏ โอสถในปัถวี มาภญุ ชีทุกทิวา
อาจบรรเทาเบาพาทา โทษมะหากห็ ่างหาย
๖) ว่าดว้ ยเสน้ สหัสรงั สี
๖.๑ ทางเดนิ ของเส้นสหสั รงั สี: บทที่ ๑๔๓-๑๔๕
๑๔๓. ๏ หนึ่งหสั รงั สีเอน็ อนั เสน้ นท้ี า่ นพปิ ราย
ในอุทรขา้ งซา้ ยหมาย แล่นลงไปโดยตน้ ขา
๑๔๔. ๏ ตลอดลงฝา่ เทา้ เล่า แล่นผา่ นเอานิ้วบาทา
ต้นนว้ิ สิ้นท้ังหา้ ยอ้ นขนึ้ มาขา้ งซ้ายพลนั
๑๔๕. ๏ ตลอดทอดเต้านมซา้ ย แลน่ ผันผายข้างคอน้ัน
ลอดขากนั ไกลพลนั สุดเสน้ น้นั เปนรากตา
๖.๒ โรคและอาการทเ่ี กิดในเส้นสหสั รงั สี: บทที่ ๑๔๖-๑๔๙
๑๔๖. ๏ บังคบั ใหก้ ลบั กรอก หลบั ลมื ออกเปนธรรมดา
ประจำ� ตาขา้ งซา้ ยหนา เม่อื วิกากำ� เรบิ น้ัน
๑๔๗. ๏ มกั เปนลมจกั ขนุ ิวาต แลอัคคะนวิ าตคณุ พลนั
เจ็บกระบอกจกั ขุผนั ย่อมวิงเวียนบอ่ ลมื แล
๑๔๘. ๏ อันโทษหสั รังษี เกดิ กะลีฉนแี้ ท้
ทั้งน้ีก็เพราะกระแส กินสงิ่ ของอนั มนั หวาน