38 ชดุ การสงั คายนาภูมิปญั ญาการนวดไทย: ๑
๑๔๙. ๏ เกิดลมสองเหลา่ หนอ มักกอ่ จบั ใหร้ ้าวฉาน
วันศุกรม์ กั ก่อการ ท่านกล่าวไว้สบื ๆ มา
๖.๓ การรกั ษาสหัสรงั สดี ว้ ยการนวด: บทท่ี ๑๕๐
๑๕๐. ๏ ผจิ ะแก้กเ็ รง่ นวด ตรวจกดเส้นดังพรรณนา
ซึง่ อยูกยาตามต�ำรา พลันเยยี วยาก็พลนั หาย
๗) วา่ ดว้ ยเส้นทวารี
๗.๑ ทางเดินของเส้นทวาร:ี บทท่ี ๑๕๑-๑๕๕
๑๕๑. ๏ หนง่ึ เสน้ ทะวาคะตา บางตำ� รากล่าวพปิ ลาย
ทะวารีก�ำหนดหมาย บางธิบายทะวาระจนั ทร์
๑๕๒. ๏ เส้นน้ีมีนามสาม ตามผูแ้ พทยเ์ คยสำ� คญั
วิถีดำ� เนินน้ัน เสน้ เดียวกนั อย่ากงั ขา
๑๕๓. ๏ แล่นออกแตน่ าภี ขา้ งขวานแี้ ล่นลงมา
ตามแนวแหง่ ขาขวา สหู่ นา้ แข้งจนฝ่าทา้ ว
๑๕๔. ๏ ตลอดน้ิวทง้ั หา้ นิ้ว พริว้ กลบั ข้นึ ตามแขง้ เขา่
หน้าขาข้ึนไปเอา ชายโครงสุดจนเตา้ นม
๑๕๕. ๏ ข้นึ คางแลน่ ตลอดเขา้ เอาลกู ตาโดยนิยม
เปนรากจักษสุ ม ใหก้ รอกกลบั หลับลมื แล
๗.๒ โรคและอาการทเี่ กดิ ในเสน้ ทวารี: บทที่ ๑๕๖-๑๖๐
๑๕๖. ๏ เปนเส้นจักษขุ วา ครนั้ วกิ ามกั ปรวนแปร
เปนลมไมล่ มื แล ใหว้ ิงเวยี นพ้นกำ� ลงั
๑๕๗. ๏ กระบอกตาใหป้ วดหนกั เลห่ จ์ ักษุประทุพัง
ทวารวี กิ ารงั เจบ็ สิน้ ท้ังสองซา้ ยขวา
๑๕๘. ๏ บางทเี ปนข้างเดียว ข้างขวาเจียวสดุ ปญั ญา
ชอื่ ทพิ จกั ษุขวา ตานั้นพร่างมวั ไม่เหน็
ค�ำ อธบิ ายกล่าวเสน้ สิบในต�ำ ราโรคนทิ านค�ำ ฉันท์ ๑๑ 39
๑๕๙. ๏ เสน้ จักษุครนั้ วกิ าร ละไวน้ านตา่ ง ๆ เปน
ปตั ะฆาฎบงั เกดิ เข็ญ ดว้ ยน้�ำพรา้ วอันมันหวาน
๑๖๐. ๏ ผู้นนั้ มกั บรโิ ภค กามสงั โยควันอังคาร
จงึ เกิดโทษใหว้ ิการ ธาตุร้าวราญกำ� เรบิ เข็ญ
๗.๓ วธิ นี วดรักษาอาการเสน้ ทวารพี กิ าร: บทท่ี ๑๖๑-๑๖๔
๑๖๑. ๏ คมุ โทษแตน่ น้ั มา ณะหาราจักให้เปน
ผิแพทยผ์ ชู้ ัดเจน เรอ่ื งราวเสน้ จงึ ให้แก้
๑๖๒. ๏ ทะวารี ทะวาคะตา ทะวาระจนั ทรเ์ สน้ เดยี วแท้
แก้นาภตี ามกระแส ด�ำเนนิ นวดให้คลายหย่อน
๑๖๓. ๏ นวดไปตามลำ� เนา เถาแถวเส้นเอ็นสญั จร
ใครก�ำด้นสองก่อน จึงจักษุหายวิงเวยี น
๑๖๔. ๏ อนั เสน้ จักษสุ อง แกท้ ำ� นองไมผ่ ิดเพ้ียน
ผแู้ พทย์สถิตยเ์ สถียร พิเคราะหเ์ พียรด้วยปัญญา
๘) ว่าดว้ ยเสน้ จันทภูสงั
๘.๑ ทางเดนิ เส้นจนั ทภูสงั : บทท่ี ๑๖๕-๑๖๗
๑๖๕. ๏ หนึง่ เสน้ ช่ืออรุ งั ภูสำ� พวงั นนั้ กว็ ่า
สมั ปะสาโสนามปรา กฎช่ือวา่ เปนสามอยา่ ง
๑๖๖. ๏ เส้นนแี้ ล่นออกมา แตน่ าภวี ถิ ที าง
ข้นึ ไปไมข่ ดั ขวาง ตามราวนมเบอ้ื งซา้ ยหมาย
๑๖๗. ๏ ไปเนาเอาข้างซ้าย หมายหูซา้ ยดังอธิบาย
เปนรากโสตประสาทหมาย ดังบรรยายฉนีม้ า
40 ชุดการสงั คายนาภมู ิปัญญาการนวดไทย: ๑
๘.๒ สาเหตุของเส้นจนั ภสู ังพิการ: บทท่ี ๑๖๘
๑๖๘. ๏ เสน้ นีม้ ักร้าวฉาน เพราะอาการอาบธารา
เหลอื ประมาณบอ่ วจิ ารณ์ พะเอนิ จับวันพุฒแล
๙) ว่าดว้ ยเสน้ รุชำ�
๙.๑ ทางเดินของเส้นรุช�ำ: บทที่ ๑๖๙-๑๗๐
๑๖๙. ๏ หนึ่งโสตเส้นชือ่ ส ุ ขุมอสุ ะมานามกรแท้
ออกจากนาภแี ผ่ ข้ึนไปจับราวนมขวา
๑๗๐. ๏ ขึ้นไปราวฅอคาง วางไปเอาหขู วานา
เปนรากโสตประสาทหนา เมอื่ วกิ าเพราะอาหาร
๙.๒ สาเหตุของเสน้ รชุ �ำพิการ: บทที่ ๑๗๑-๑๗๓
๑๗๑. ๏ มกั เสพซง่ึ น�้ำมะพร้าว จงึ ราญรา้ วลมวกิ าร
มักจบั วันองั คาร ตามต�ำนานพะเอนิ เปน
๑๗๒. ๏ อสุ ะมากล้าแขนขงึ ใหห้ ตู ึงราญร้าวเข็ญ
ลมออกหูวเู่ ปน เพราะโทษเสน้ ก�ำเริบกลา้
๑๗๓. ๏ เหมอื นกนั ทงั้ สองข้าง ทา่ นกลา่ วอ้างนามวาตา
คะทาหุทง้ั ซ้ายขวา โสตวิการ์มักตันตงึ
๙.๓ การนวดรกั ษาอาการในเสน้ รชุ ำ� ลมคะทาหุ ลมทาระกรรณ:์ บทท่ี ๑๗๔-๑๗๖
๑๗๔. ๏ จะแก้เส้นลมน้ี ตามวิถีแถวเสน้ ขึง
นวดบนหูสองจึง ลมเสียงอึงบรรเทาหาย
๑๗๕. ๏ แมน้ นวดไมย่ นิ เสยี ง นามลมเลี่ยงคำ� ธบิ าย
ทาระกรรณ์ดงั บรรยาย หนง่ึ ปลัม้ คลายเสน้ สะเอ็ว
๑๗๖. ๏ ใหน้ วดจงชา้ ครนั ตามเสน้ สันจึงหายเร็ว
คลึงเคล้นเส้นให้เหลว เรว็ เรง่ ยากนิ พลันหาย
ค�ำ อธบิ ายกลา่ วเสน้ สบิ ในตำ�ราโรคนิทานค�ำ ฉันท์ ๑๑ 41
๑๐) วา่ ด้วยเสน้ สกิ ขณิ ี
๑๐.๑ ทางเดนิ ของเสน้ สกิ ขิณ:ี บทที่ ๑๗๗-๑๗๘
๑๗๗. ๏ หนงึ่ เส้นอันชือ่ ว่า รตั คีนหี นานามพปิ ราย
สังคนิ ีกบ็ รรยาย เส้นเดยี วหมายมีสองนาม
๑๗๘. ๏ เสน้ นแ้ี ลน่ ออกมา แต่นาภีใต้สูญงาม
ตลอดตรงไม่เขด็ ขาม เปนลึงคะชาติมตุ มัก
๑๐.๒ โรคและอาการที่เกดิ ในเสน้ สกิ ขิณ:ี บทที่ ๑๗๙-๑๘๓
๑๗๙. ๏ วบิ ตั ิโทษต่าง ๆ เสียดสขี า้ งเปนพ้นนัก
ขัดเบาบอ่ ประจกั ษ์ ไมโ่ ชนเชย่ี วดงั แตก่ อ่ น
๑๘๐. ๏ ปสั สาวะใหค้ น่ ข่นุ มกั เบากล่นุ แลร่มุ ร้อน
เจบ็ เหนา่ บ่ออยุดหยอ่ น เพราะโทษเส้นวิกาโร
๑๘๑. ๏ บางทกี ลบั เปนลม ราทยักษป์ ระสมวาโย
เกดิ เพราะณะหาโร องคะชาติรา้ วหม่นหมอง
๑๘๒. ๏ เกิดด้วยนำ้� กามตน อันวกิ ลเพราะลำ� พอง
กล้นั น้ำ� กามขดั ข้อง บ่อไดต้ กดว้ ยก�ำหนดั
๑๘๓. ๏ น้ำ� กามกอ่ โทษเอง จงึ กอ่ เพลงมูตหยดหยัด
เปนหนองในใหลวบิ ตั ิ เพราะมูลราคก่อเกิดเอง
๑๐.๓ การนวดรกั ษาอาการโลหติ /มดลกู พกิ าร สะโพก ทอ้ งนอ้ ย: บทที่ ๑๘๔-๑๘๖
๑๘๔. ๏ สตั รเี พ่อื โลหติ วปิ รติ ท�ำหลายเพลง
มดลูกวกิ ารเอ็ง จงึ ก่อโทษท�ำตา่ ง ๆ
๑๘๕. ๏ เจ็บท้องสีขา้ งสุด สะเอ็วดจุ ดงั หักกลาง
เร่งนวดเสน้ ขัดขวาง แถวเสน้ ดังทีก่ ล่าวมา
๑๘๖. ๏ แก้สะเอ็วตะโพกสอง ท้งั ท้องน้อยแกว้ าตา
คลายก่อนผ่อนกินยา ตามต�ำราวธิ ดี ี
42 ชุดการสงั คายนาภมู ปิ ญั ญาการนวดไทย: ๑
๑๑) ว่าดว้ ยเสน้ สุขุมงั
๑๑.๑ ทางเดนิ เส้นสุขมุ งั : บทท่ี ๑๘๗
๑๘๗. ๏ หนึง่ เส้นกังขุงน้ัน แล่นจรจัลจากนาภี
กระหวดั รอบทวานม ี คตู มักคะพนกั งาน
๑๑.๒ โรคและอาการที่เกดิ ในเส้นสุขุมงั : บทท่ี ๑๘๘-๑๙๐
๑๘๘. ๏ ส�ำหรับรตู คูตเผย บอ่ ละเลยทวิ าวาน
กังขงุ กอ่ วกิ าร เพราะอาหารโอชะมัน
๑๘๙. ๏ ผูน้ นั้ มกั บรโิ ภค ก�ำเรบิ โรคแตเ่ หตนุ นั้
วันอาทติ ย์ผฉู้ นั กังขุงน้ันจึงก่อเพลง
๑๙๐. ๏ ทำ� โทษใหต้ ึงทวาน ทอ้ งดจุ ราณกำ� เรบิ เสง็
อาหารเคยกเ็ ลยเอง กินหยอ่ นนอ้ ยมักคับท้อง
๑๑.๓ การนวดรกั ษาอาการเส้นสขุ มุ ัง: บทท่ี ๑๙๑-๑๙๖
๑๙๑. ๏ ผิจะแกเ้ ส้นกงั ขุง นวดพยุงนิว้ ประคอง
เหนือขอื่ เสน้ เอน็ ร้อง ค่อยจดจ้องให้เสยี วทวาร
๑๙๒. ๏ ฝเี ย็บดังปรแิ ตก ทวารแยกคตู เคลือ่ นคลาน
เสน้ นพี้ ระอาจาริย ์ จบั มอื จดจึงจะจริง
๑๙๓. ๏ เสน้ สิบหยิบยกกลา่ ว พอเปนเลาแก่ชายหญงิ
หยดุ จบครบสบิ สิ่ง อนั มนี ามตา่ ง ๆ มา
๑๙๔. ๏ พอสังเกตเอกเทศ ใหอ้ เุ อกเหลือปญั ญา
ผแู้ พทย์ใครว่ ถิ า จงึ ศกึ ษาพากเพียรไป
๑๙๕. ๏ เสน้ สบิ แผนค�ำภีร์ จบเท่านี้จะหยุดไว้
กลา่ วเกลด็ นิเทศไป ตามตำ� นานโบราณมา
๑๙๖. ๏ ณะหาโรยตุ โตตาม เงือดงดความยตุ ิกา
ลำ� ดบั นจี้ ะพรรณนา เร่ืองอฐั ิดำ� ริห์ไป
คำ�อธบิ ายกลา่ วเสน้ สบิ ในตำ�ราโรคนทิ านคำ�ฉนั ท์ ๑๑ 43
๔.๓ การจำ�แนก วิเคราะห์ คำ�และขอ้ ความองค์ความรู้ภูมิปัญญาการนวดไทยใน
“กล่าวเส้นสบิ ”
๑) ทางเดินของเส้นประธาน๓
๑.๑ เส้นอิทา เร่ิมต้นจากข้างสะดือซ้าย ๑ นิ้วมือ แล่นลงไปบริเวณหัวหน่าว
ลงไปต้นขาซ้ายด้านในค่อนไปด้านหลัง แล้วเล้ียวขึ้นไปแนบข้างกระดูกสันหลังด้านซ้ายขึ้น
ไปบนศรี ษะ แล้วกลบั ลงมาสน้ิ สุดที่ข้างจมูกซา้ ย
๑.๒ เส้นปิงคลา เริ่มต้นจากข้างสะดือขวา ๑ น้วิ มอื แลน่ ลงไปบรเิ วณหวั หน่าว
ลงไปตน้ ขาขวาดา้ นในคอ่ นไปดา้ นหลัง แล้วเล้ียวขน้ึ ไปแนบกระดกู สันหลังดา้ นขวาขนึ้ ไปบน
ศีรษะ แลว้ กลบั ลงส้นิ สุดท่ีข้างจมกู ขวา
๑.๓ เส้นสุมนา เริ่มต้นจากเหนือสะดือ ๒ นิ้วมือ แล่นขึ้นไปในอกผ่านล�ำคอ
ขึ้นไปส้ินสดุ ท่ีโคนลน้ิ
๑.๔ เส้นกาละทารี เรม่ิ ตน้ จากเหนือสะดือ ๑ น้ิวมอื แล้วแตกออกเป็น ๔ เสน้
๒ เสน้ บนแล่นขนึ้ ไปผ่านขา้ งชายโครง ผ่านสะบกั ใน ไปยังแขนทงั้ ๒ ขา้ ง ลงไปทขี่ อ้ มือ
ตลอดถึงน้ิวมือทั้งสิบ ๒ เส้นล่าง ลงไปบริเวณต้นขาด้านใน ผ่านหน้าแข้งด้านในท้ัง ๒
ข้าง ลงไปทีข่ อ้ เท้า ตลอดถึงน้ิวเท้าท้งั สบิ
๑.๕ เส้นสหัสรังษี เริ่มต้นจากสะดือข้างซ้าย ๓ น้ิวมือ แล่นลงไปบริเวณ
ต้นขาซา้ ยด้านใน ผ่านหน้าแขง้ ดา้ นใน ขอบฝ่าเทา้ ด้านใน โคนนิว้ ซ้ายทงั้ ห้า แลว้ ยอ้ นผา่ น
ขอบฝา่ เทา้ ดา้ นนอก ขึ้นมายังหนา้ แขง้ ดา้ นนอก ต้นขาด้านนอก ไปชายโครง หวั นมซ้าย
แล้วแล่นเข้าไปใตค้ าง ขน้ึ ไปส้ินสดุ ที่ตาซา้ ย
๑.๖ เส้นทวารี เรมิ่ ตน้ จากขา้ งสะดือขา้ งขวา ๓ น้ิวมอื แล่นลงไปบริเวณตน้ ขา
ขวาด้านในผ่านหน้าแข้งด้านใน ขอบฝ่าเท้าด้านใน โคนน้ิวขวาทั้งห้า แล้วย้อนผ่านขอบ
ฝา่ เท้าด้านนอก ขนึ้ มายงั หนา้ แข้งดา้ นนอก ต้นขาด้านนอก ไปชายโครง หวั นมขวา แล้ว
เขา้ ไปในคางข้ึนไปสิ้นสุดที่ตาขวา
๓ดเู พม่ิ เตมิ ใน ดร.ยงศกั ดิ์ ตนั ตปิ ฎิ ก, ผศ.ภญ.สำ� ลี ใจด,ี มลู นธิ สิ าธารณสขุ กบั การพฒั นา, ตำ� ราการนวดไทย
เลม่ ๑, พมิ พค์ รง้ั ท่ี ๕ หนา้ ๔๒๕-๗.
44 ชุดการสังคายนาภูมิปัญญาการนวดไทย: ๑
๑.๗ เสน้ จันทภูสงั เร่มิ ตน้ จากขา้ งสะดอื ด้านซา้ ย ๔ นวิ้ มือ แล่นผา่ นราวนมซา้ ย
ผา่ นด้านข้างของคอ ขึน้ ไปสิ้นสุดทห่ี ซู ้าย
๑.๘ เส้นรุช�ำ/สุขุมอุสุมา เร่ิมต้นจากข้างสะดือด้านขวา ๔ น้ิวมือ แล่นผ่าน
ราวนมขวา ผา่ นดา้ นข้างของคอ ข้ึนไปสิ้นสดุ ทห่ี ขู วา
๑.๙ เสน้ สกิ ขณิ ี เรมิ่ ตน้ จากใตส้ ะดอื ๒ นวิ้ มอื เยอ้ื งขวาเลก็ นอ้ ย แลน่ ไปทวารเบา
๑.๑๐ เส้นกังขุง เร่ิมต้นจากใต้สะดือ ๒ นิ้วมือ เยื้องซ้ายเล็กน้อย แล่นไป
ทวารหนกั
หมายเหตุ: เส้นสขุ มุ งั บางตำ� ราบอกว่าแลน่ ไป ทวารหนัก ทวารเบา ซ่งึ หมายถึง
อวัยวะขับถ่าย ส่วนเส้นสิกขินีแล่นลงไปยังองคชาติ หรือองค์ก�ำเนิด ซ่ึงหมายถึงอวัยวะ
สบื พันธุ์ ท�ำให้ไม่มขี ้อยตุ ิ
๒) การจัดกลมุ่ คำ� ชือ่ โรคและอาการ ลม และสมฏุ ฐานโรค
๒.๑ เส้นอทิ า เสน้ อิทาสามารถจ�ำแนก จดั เป็น โรคและอาการ ลม และสมุฏฐาน
โรคไดด้ ังนี้
๑. ชือ่ โรคและอาการ ๒๐ ค�ำ
๒. ชื่อลม ๑๓ คำ�
๓. ช่อื สมฏุ ฐานโรค ๔ ค�ำ
ตารางที่ ๑ การจำ� แนกช่อื โรคและอาการ ชือ่ ลม และช่ือสมฏุ ฐานโรคในเส้นอิทา
ลำ� ดบั คำ� ฉนั ท์ คำ� และข้อความส�ำคญั ในเสน้ อทิ า โรค/ ลม สมฏุ ฐาน
บทที่ อาการ โรค
๑ ๑๒ ลมจนั ทะกาลา √
๒ ๑๓ ปวดเศยี รเปน็ พน้ เพยี รอสรุ ิยศรี √√
(หลงั พระอาทติ ย์ตก)
๓ ๑๓ ตามืดมัวอคั คี √
√
๔ ๑๓ ชักปากเบ้ยี วเจ็บสนั หลัง
√
๕ ๑๔ กำ� เดาปนลมระคน
ค�ำ อธบิ ายกลา่ วเส้นสิบในต�ำ ราโรคนิทานคำ�ฉนั ท์ ๑๑ 45
ตารางที่ ๑ การจำ� แนกชอื่ โรคและอาการ ชอ่ื ลม และชอ่ื สมฏุ ฐานโรคในเสน้ อทิ า (ตอ่ )
ล�ำดับ คำ� ฉนั ท์ ค�ำและขอ้ ความสำ� คัญในเส้นอิทา โรค/ ลม สมฏุ ฐาน
บทท่ี อาการ โรค
๖ ๑๔ โทษทุวัง √
๗ ๑๔ ลมปะกัง √√
๘ ๑๔ ไข้ตัวรอ้ นนอนซม √
๙ ๑๕ วงิ เวยี น √
๑๐ ๑๕ สนั นบิ าต √
๑๑ ๑๕ ไข้เศียร √
๑๒ ๑๖ ลมพะหิ √
๑๓ ๑๗ เชื่อมสลบนอนมนึ √
๑๔ ๑๗ เภทอทิ าณะหาโร √
๑๕ ๒๐ ลมขนึ้ ขบเบอ้ื งสงู (แลน่ ปวดจงู ถงึ เศยี รนน้ั ) √
๑๖ ๒๓ ลมจะโปง √
๑๗ ๒๓ ลมร้ายปะกงั √
๑๘ ๒๔ ปะกังลม √
๑๙ ๒๔ ปวดเศยี รซม √
๒๐ ๒๗ ลม (กลาย) รำ� เพพัด √
๒๑ ๒๘ ปวดเศยี รแสนสาหดั √
๒๒ ๓๒ ชกั ปากเบ้ียวเสียวหน้าตา √
๒๓ ๓๔ ปากเบย้ี ว √
๒๔ ๓๔ ชกั หน้าเลี้ยว √
๒๕ ๓๖ ปากชกั ลอย √
๒๖ ๔๑ เถาเอน็ ในครรภา √
๒๗ ๔๑ เอ็นห่อ √
46 ชุดการสังคายนาภูมปิ ญั ญาการนวดไทย: ๑
ตารางที่ ๑ การจำ� แนกชอ่ื โรคและอาการ ชอ่ื ลม และชอ่ื สมฏุ ฐานโรคในเสน้ อทิ า (ตอ่ )
ล�ำดบั คำ� ฉนั ท์ ค�ำและข้อความสำ� คญั ในเส้นอทิ า โรค/ ลม สมุฏฐาน
บทที่ อาการ โรค
๒๘ ๔๑ ชักปากเบี้ยวเสียวตาแหก √
๒๙ ๔๒ ลมที่ท�ำให้คันท้ังตัว (คันยบั แหลก √
ดุจมดตะนอยแถกปวดเป็นนิจ)
๓๐ ๔๓ ลมอนั พานไส้ √
√
๓๑ ๔๓ ริศสีดวง (ทวาร) √
๓๒ ๔๓ จุกเสยี ด √
√
๓๓ ๔๖ ลมรา้ ย √
๒๐ ๑๓
๓๔ ๔๖ ลมร้ายปากเบี้ยว
๓๕ ๔๗ ลมชักปากเบยี้ ว
รวม ๔
คำ�อธบิ ายกลา่ วเส้นสิบในต�ำ ราโรคนทิ านคำ�ฉันท์ ๑๑ 47
๒.๒ เส้นปงิ คลา เสน้ ปิงคลาสามารถจำ� แนก จัดเปน็ โรคและอาการ ลม และ
สมุฏฐานโรคได้ดงั นี้
๑. ชื่อโรคและอาการ ๙ คำ�
๒. ชื่อลม ๔ คำ�
๓. ช่อื สมฏุ ฐานโรค ๒ ค�ำ
ตารางท่ี ๒ การจำ� แนกชื่อ โรคและอาการ ชอื่ ลม และชือ่ สมฏุ ฐานโรคในเส้นปิงคลา
ล�ำดบั ค�ำฉันท์ คำ� และข้อความสำ� คัญในเสน้ ปิงคลา โรค/ ลม สมฏุ ฐาน
บทท่ี อาการ โรค
๑ ๕๒ ลมสรู ยก์ าลา √
๒ ๕๓ หน้าตาตนแดงขึน้ พลัน √
๓ ๕๓ ปวดเศยี รรบั สรุ ยิ ัน √
๔ ๕๓ อไุ ทยไปจนเท่ียง √
(พระอาทติ ยข์ ้ึนถึงเที่ยง)
๕ ๕๔ ลมปะกงั √
√
๖ ๕๔ ชกั ปากเอียง
√
๗ ๕๔ เภทสนั นบิ าต √ √
๒
๘ ๕๕ ริศสดี วง (น�ำ้ มูกล่วง) √
√
๙ ๕๕ ตงึ นาศิกจาม √
√
๑๐ ๕๖ ลมมหิ (ลมพหิ)
√
๑๑ ๕๖ ส้ินสตไิ มพ่ ดู จา √
๙๔
๑๒ ๕๖ สลบตาย
๑๓ ๕๙ โสตวา่ ง
๑๔ ๖๐ สนั นบิ าตลมปะกงั
๑๕ ๖๑ ปากเบยี้ ว
รวม
48 ชุดการสงั คายนาภมู ิปัญญาการนวดไทย: ๑
๒.๓ เส้นสุมนา เส้นสุมนาสามารถจ�ำแนกจัดเป็นโรคและอาการ ลม
และสมฏุ ฐานโรคไดด้ ังนี้
๑. ชื่อโรคและอาการ ๕๔ ค�ำ
๒. ชือ่ ลม ๑๔ ค�ำ
๓. ชอื่ สมุฏฐานโรค ๖ คำ�
ตารางที่ ๓ การจำ� แนกช่ือ โรคและอาการ ชื่อลมในเสน้ และชือ่ สมฏุ ฐานโรคในเสน้ สมุ นา
ลำ� ดับ ค�ำฉนั ท์ ค�ำและขอ้ ความสำ� คญั ในเส้นสุมนา โรค/ ลม สมุฏฐาน
บทที่ อาการ โรค
๑ ๖๖ สมุ ะนาเมื่อวกิ าร (สุมะนาพกิ าร) √
๒ ๖๖ จบั ลน้ิ ไมพ่ รอดเปน √
๓ ๖๖ ลมชวิ หาสดม √
๔ ๖๗ ลิ้นกระดา้ ง √
๕ ๖๗ คางแข็ง √
๖ ๖๗ หนักอกใจ √
๗ ๖๗ เช่อื มมัว √
๘ ๖๗ เมาซม √
๙ ๖๗ ลมดานตะคุณ √
๑๐ ๖๘ จกุ อกเอน็ เปน็ ลำ� √
๑๑ ๖๘ สุมะนาเม่ือทารณุ วันอาทิตยเ์ ปนเดิมที √
๑๒ ๗๐ ลมทะกรน (เสน้ สมุ นา) √
๑๓ ๗๑ ลมบาทจติ ร์ √
๑๔ ๗๑ พูดพรอด √
๑๕ ๗๑ หลงลืม √
๑๖ ๗๒ ระหวยใจ √
๑๗ ๗๒ แรงนอ้ ยถอยถอ่ มไป √
คำ�อธิบายกลา่ วเส้นสิบในต�ำ ราโรคนิทานค�ำ ฉันท์ ๑๑ 49
ตารางที่ ๓ การจำ� แนกชื่อ โรคและอาการ ชอื่ ลม และชือ่ สมุฏฐานโรคในเส้นสุมนา (ต่อ)
ล�ำดบั คำ� ฉันท์ ค�ำและขอ้ ความสำ� คัญในเส้นสุมนา โรค/ ลม สมฏุ ฐาน
บทท่ี อาการ โรค
๑๘ ๗๒ อาหารไซ้กค็ ลายรศ √
๑๙ ๗๓ ตนี มอื เปรีย้ ระทวยออ่ น √
๒๐ ๗๔ สุมะนาก็โทษลม (เหตเุ พราะลมสมุ นา) √
๒๑ ๗๔ รมุ รมจับหัวใจ √
๒๒ ๗๕ สุมะนาอาณาการ (สมุ ะนาก�ำเริบหนกั ) √
อยา่ หักหาญแต่พอควร
๒๓ ๗๕ กลัดอกใจไม่สบาย √
๒๔ ๗๙ สุมะนาถา้ เกิดลม (ลมเกิดขน้ึ ในเส้นสมุ นา) √
๒๕ ๘๗ ไขส้ นั่ √
๒๖ ๘๗ ชวิ หาทีต่ นเคย พรอดไม่ได้ใจระทด √
๒๗ ๘๙ ลมจับ √
๒๘ ๘๙ หวั ใจวับแรงไมม่ ี หวิ โหยไมส่ มประดี √
๒๙ ๘๙ สอึก √
๓๐ ๙๐ มิสบาย √
๓๑ ๙๑ เปร่ียวด�ำ √√
๓๒ ๙๓ คางแขง็ √
๓๓ ๙๓ ลิ้นหดไม่จำ� นัน √
๓๔ ๙๕ คางอนั แข็งกระดา้ ง √
๓๕ ๙๖ วิงเวียน √
๓๖ ๙๖ ดวงจิตรเ์ จยี นจกั วางวาย √
๓๗ ๙๖ ซึมซม √
๓๘ ๙๖ ลมรา้ ย √
๓๙ ๑๐๐ แกล้ ิ้นหด √
50 ชดุ การสังคายนาภมู ิปัญญาการนวดไทย: ๑
ตารางที่ ๓ การจ�ำแนกช่ือ โรคและอาการ ชอื่ ลม และช่อื สมฏุ ฐานโรคในเสน้ สุมนา (ต่อ)
ล�ำดบั ค�ำฉันท์ คำ� และข้อความสำ� คัญในเส้นสมุ นา โรค/ ลม สมุฏฐาน
บทท่ี อาการ โรค
๔๐ ๑๐๐ คางแขง็ √
๔๑ ๑๐๐ คลัง่ ไคล้ √
๔๒ ๑๐๑ บาทจิตร์ √√
๔๓ ๑๐๑ ดีเดอื ด ดพี ล่งุ √
๔๔ ๑๐๑ ลมกลา้ ให้ตวั ลาย √
๔๕ ๑๐๒ ลมวิงเวยี นใหจ้ บั หัวใจ √
๔๖ ๑๐๒ พิษมก์ าฬ √
๔๗ ๑๐๒ ร้อนอก √
๔๘ ๑๐๒ มสิ ะเบย √
๔๙ ๑๐๖ ลมตรี (บาทจติ ร์ ลมใหต้ วั ลาย ลมใหว้ งิ เวยี น) √
๕๐ ๑๐๗ ลมรา้ ยบาทจิตร์ √
๕๑ ๑๐๘ ลมอนั วิงเวยี น √√
๕๒ ๑๐๘ หาวเหยี น √
๕๓ ๑๐๘ ลิ้นกระด้าง √
๕๔ ๑๐๘ คางชดิ √
๕๕ ๑๐๘ พษิ ม์โลหติ √
๕๖ ๑๑๓ ลมรา้ ยบาทจิตร์ √√
๕๗ ๑๑๔ อบอบั จับดวงใจ √
๕๘ ๑๑๔ หลงไหลคล้มุ คลั่ง √
๕๙ ๑๑๔ แน่นอก √
๖๐ ๑๑๔ อาเจียนติด √
๖๑ ๑๑๔ รากลมเปล่า √
ค�ำ อธิบายกล่าวเส้นสิบในตำ�ราโรคนทิ านคำ�ฉนั ท์ ๑๑ 51
ตารางท่ี ๓ การจ�ำแนกชอื่ โรคและอาการ ช่อื ลม และชือ่ สมุฏฐานโรคในเส้นสุมนา (ตอ่ )
ล�ำดับ ค�ำฉนั ท์ คำ� และขอ้ ความสำ� คญั ในเส้นสมุ นา โรค/ ลม สมุฏฐาน
บทท่ี อาการ โรค
๖๒ ๑๑๔ ใหห้ นาวรอ้ น √
๖๓ ๑๑๕ อาหารกลืนขืนกนิ √
๖๔ ๑๑๕ ไดก้ ล่ินกลับขย้อน √
๖๕ ๑๑๕ พิษม์โลหติ รอ้ น √
๖๖ ๑๑๕ ใคล้คลั่ง √
๖๗ ๑๑๕ ตีขน้ึ √
๖๘ ๑๑๖ ลมสรรนบิ าต √√
๖๙ ๑๒๖ ลิ้นหดเพ่อื ลมร้าย √
รวม ๕๔ ๑๔ ๖
52 ชดุ การสังคายนาภมู ิปญั ญาการนวดไทย: ๑
๒.๔ เส้นกาลทารี เส้นกาลทารีสามารถจ�ำแนก จัดเป็น โรคและอาการ ลม
และสมฏุ ฐานโรคไดด้ ังนี้
๑. ช่อื โรคและอาการ ๔ คำ�
๒. ชื่อลม ๑ คำ�
๓. ช่อื สมฏุ ฐานโรค ๕ ค�ำ
ตารางที่ ๔ การจ�ำแนกชื่อ โรคและอาการ ชื่อลมในเส้น และชื่อสมุฏฐานโรคในเส้น
กาลทารี
ล�ำดับ คำ� ฉนั ท์ คำ� และขอ้ ความส�ำคัญในเสน้ กาลทารี โรค/ ลม สมฏุ ฐาน
บทที่ อาการ โรค
๑ ๑๓๖ เยน็ ชา √
๒ ๑๓๖ เหน็บท้งั ตัว √
๓ ๑๓๗ เจบ็ เยน็ สะท้าน √
๔ ๑๓๗ อาหารแสลง √
๕ ๑๓๗ ขนมจีนเข้าเหนยี วถ่ัว √
๖ ๑๓๘ อาทติ ย์จันทร์โทษนี้ การะทารีก�ำเริบเข็ญ √
๗ ๑๓๘ โทษสนั นบิ าต √
๘ ๑๓๙ บางคาบกลบั เปน็ ลม (อาการกำ� เรบิ √
หนักขนึ้ เกิดลมเเทรก)
๙ ๑๓๙ “หสั รังษี” ลมภายในเสน้ กาละทารี √
๑๐ ๑๓๙ นอนแนไ่ ม่สมประดี รู้สกึ กายไปเป็นเลย √
รวม ๔ ๑ ๕
คำ�อธบิ ายกลา่ วเสน้ สบิ ในต�ำ ราโรคนิทานค�ำ ฉนั ท์ ๑๑ 53
๒.๕ เส้นสหัสรังสี เส้นสหัสรังสีสามารถจ�ำแนก จัดเป็น โรคและอาการ ลม
และสมุฏฐานโรคไดด้ ังน้ี
๑. ชือ่ โรคและอาการ ๒ ค�ำ
๒. ชื่อลม ๒ ค�ำ
๓. ชอ่ื สมฏุ ฐานโรค ๓ คำ�
ตารางท่ี ๕ การจ�ำแนกช่อื โรคและอาการ ชือ่ ลม และชอื่ สมฏุ ฐานโรคในเส้นสหสั รงั สี
ลำ� ดับ คำ� ฉันท์ คำ� และขอ้ ความส�ำคญั ในเส้นสหสั รังสี โรค/ ลม สมฏุ ฐาน
บทท่ี อาการ โรค
๑ ๑๔๗ ลมจกั ขุนิวาต √
๒ ๑๔๗ ลมอคั คะนวิ าตคุณ √
๓ ๑๔๗ เจ็บกระบอกจักขุ √
๔ ๑๔๗ วงิ เวยี นบ่อลืมแล √
๕ ๑๔๘ โทษหสั รังษี √
๖ ๑๔๘ เพราะกระแส กนิ สง่ิ ของอนั มนั หวาน √
๗ ๑๔๙ วันศุกรม์ กั กอ่ การ √
รวม ๒ ๒ ๓
54 ชุดการสงั คายนาภูมปิ ัญญาการนวดไทย: ๑
๒.๖ เส้นทวารี เส้นทวารีสามารถจ�ำแนก จัดเป็น โรคและอาการ ลม
และสมฏุ ฐานโรคไดด้ งั นี้
๑. ช่อื โรคและอาการ ๕ คำ�
๒. ชือ่ ลม ๒ คำ�
๓. ช่อื สมุฏฐานโรค ๕ ค�ำ
ตารางที่ ๖ การจำ� แนกชอ่ื โรคและอาการ ชื่อลม และชอ่ื สมุฏฐานโรคในเสน้ ทวารี
ล�ำดับ คำ� ฉันท์ ค�ำและขอ้ ความสำ� คัญในเส้นทวารี โรค/ ลม สมฏุ ฐาน
บทที่ อาการ โรค
๑ ๑๕๖ เป็นลมไม่ลืมแล ให้วงิ เวยี นพน้ ก�ำลัง √
๒ ๑๕๗ กระบอกตาใหป้ วดหนัก เล่หจ์ ักษปุ ระทุพงั √
๓ ๑๕๗ ทวารีวีการัง √
๔ ๑๕๗ จบั สนิ้ ท้ังสองซ้ายขวา √
(ทง้ั ตาซ้ายและตาขวา)
๕ ๑๕๘ บางทเี ปน็ ขา้ งเดยี ว ขา้ งขวาเจยี วสดุ ปญั ญา √
(เจ็บตาขวาขา้ งเดียว)
๖ ๑๕๘ ทิพจกั ษุ (ขวา) √
๗ ๑๕๘ ตาพร่างมัวไมเ่ ห็น √
๘ ๑๕๙ ปตั ะฆาฏ (ลมปตั ฆาฏ) √
๙ ๑๕๙ ด้วยน�้ำพร้าวอนั มนั หวาน √
๑๐ ๑๖๐ กามสังโยควนั อังคาร √
๑๑ ๑๖๐ ธาตรุ า้ วราญกำ� เรบิ เข็ญ (ธาตดุ ิน) √
๑๒ ๑๖๑ คมุ โทษแต่นนั้ มา ณะหาราจกั ใหเ้ ปน็ √
(เสน้ ทวารีพกิ าร)
รวม ๕ ๒ ๕
ค�ำ อธิบายกล่าวเส้นสบิ ในต�ำ ราโรคนิทานค�ำ ฉนั ท์ ๑๑ 55
๒.๗ เส้นจันทภูสัง เส้นจันทภูสังสามารถจ�ำแนก จัดเป็น โรคและอาการ
ลม และสมฏุ ฐานโรคไดด้ งั น้ี
๑. ชื่อโรคและอาการ ๐ ค�ำ
๒. ช่ือลม ๐ คำ�
๓. ชอ่ื สมฏุ ฐานโรค ๒ ค�ำ
ตารางที่ ๗ การจ�ำแนกชือ่ โรคและอาการ ชอื่ ลม และชอื่ สมุฏฐานโรคในเสน้ จันทภสู งั
ลำ� ดบั ค�ำฉันท์ คำ� และขอ้ ความสำ� คัญในเสน้ จนั ทภสู ัง โรค/ ลม สมฏุ ฐาน
บทที่ อาการ โรค
๑ ๑๖๘ เพราะอาการอาบธารา (อาบนำ�้ มากเกนิ ไป) √
๒ ๑๖๘ พะเอินจบั วนั พุฒแล √
รวม ๐ ๐ ๒
56 ชดุ การสงั คายนาภมู ิปญั ญาการนวดไทย: ๑
๒.๘ เส้นรุช�ำ เส้นสามารถจ�ำแนก จัดเป็น โรคและอาการ ลม และ
สมฏุ ฐานโรคไดด้ งั น้ี
๑. ชอ่ื โรคและอาการ ๕ ค�ำ
๒. ช่อื ลม ๒ คำ�
๓. ช่ือสมฏุ ฐานโรค ๒ ค�ำ
ตารางที่ ๘ การจ�ำแนกช่อื โรคและอาการ ชอ่ื ลม และช่ือสมุฏฐานโรคในเส้นรุชำ�
ลำ� ดับ คำ� ฉันท์ ค�ำและขอ้ ความสำ� คญั ในเสน้ รุช�ำ โรค/ ลม สมฏุ ฐาน
บทท่ี อาการ โรค
๑ ๑๗๐ เมอื่ วกิ าเพราะอาหาร √
๒ ๑๗๑ มกั เสพนำ้� มะพรา้ ว √
๓ ๑๗๒ หูตึง √
๔ ๑๗๒ ลมออกหู √
๕ ๑๗๓ ลมคะทาหุ (เกดิ อาการทัง้ ซ้ายขวา) √
๖ ๑๗๓ โสตวกิ ารม์ กั มนึ ตงึ (หตู งึ เพราะลมคะพาห)ุ √
๗ ๑๗๔ ลมเสยี งองึ √
๘ ๑๗๕ ไม่ยนิ เสียง √
๙ ๑๗๕ ลมทาระกรรณ์ √
รวม ๕ ๒ ๒
คำ�อธิบายกลา่ วเส้นสิบในต�ำ ราโรคนทิ านค�ำ ฉันท์ ๑๑ 57
๒.๙ เส้นสิกขิณี เส้นสามารถจ�ำแนก จัดเป็นโรคและอาการ ลม และ
สมุฏฐานโรคได้ดงั น้ี
๑. ชอื่ โรคและอาการ ๙ คำ�
๒. ชอ่ื ลม ๑ คำ�
๓. ชื่อสมุฏฐานโรค ๗ คำ�
ตารางที่ ๙ การจ�ำแนกช่อื โรคและอาการ ช่ือลม และชือ่ สมฏุ ฐานโรคในเส้นสกิ ขณิ ี
ล�ำดบั คำ� ฉนั ท์ ค�ำและข้อความสำ� คญั ในเส้นสกิ ขิณี โรค/ ลม สมุฏฐาน
บทที่ อาการ โรค
๑ ๑๗๙ เสียดสีข้าง √
๒ ๑๗๙ ขดั เบาบป่ ระจกั ษ์ ไมเ่ ช่ยี วโชนดงั แต่กอ่ น √
๓ ๑๘๐ ปัสสาวะให้ค่นขนุ่ √
๔ ๑๘๐ เบากลุ่นแลรุ่มรอ้ น √
๕ ๑๘๐ เจบ็ เหนา่ บอ่ อยุดหยอ่ น √
๖ ๑๘๑ ลมราทยักษ์ประสมวาโย √
๗ ๑๘๑ ณะหาโร √
๘ ๑๘๑ องคะชาตริ า้ วหม่นหมอง √
๙ ๑๘๒ กลนั้ น�ำ้ กามขดั ขอ้ ง บ่อได้ตกด้วยก�ำหนดั √
๑๐ ๑๘๓ น�้ำกามกอ่ โทษ √
๑๑ ๑๘๓ มูตหยดหยัด √
๑๒ ๑๘๓ เปนหนองใน √
๑๓ ๑๘๓ มลู ราค (ราคะ) √
๑๔ ๑๘๔ เพื่อโลหิตวิปรติ √
๑๕ ๑๘๔ วิปริตท�ำหลายเพลง √
๑๖ ๑๘๔ มดลูกวกิ าร √
๑๗ ๑๘๕ เจบ็ ทอ้ งสีข้างสุด สะเอว็ ดุจดงั หกั กลาง √
รวม ๙ ๑ ๗
58 ชดุ การสังคายนาภูมปิ ญั ญาการนวดไทย: ๑
๒.๑๐ เส้นสขุ ุมัง เส้นสามารถจำ� แนก จัดเป็น โรคและอาการ ลม และสมุฏฐาน
โรคไดด้ ังนี้
๑. ชื่อโรคและอาการ ๔ ค�ำ
๒. ชอ่ื ลม ๑ คำ�
๓. ชื่อสมฏุ ฐานโรค ๒ ค�ำ
ตารางท่ี ๑๐ การจ�ำแนกชื่อ โรคและอาการ ช่ือลม และชื่อสมุฏฐานโรคในเส้นสุขุมัง
ล�ำดับ คำ� ฉนั ท์ คำ� และขอ้ ความสำ� คญั ในเส้นสุขมุ มัง โรค/ ลม สมฏุ ฐาน
บทท่ี อาการ โรค
๑ ๑๘๘ ลมกงั ขุง √
๒ ๑๘๘ เพราะอาหารโอชะมัน √
๓ ๑๘๙ วันอาทติ ยผ์ ูฉ้ นั √
๔ ๑๙๐ ตงึ ทวาน √
๕ ๑๙๐ ทอ้ งดจุ ราณก�ำเริบเส็ง √
๖ ๑๙๐ อาหารเคยก็เลยเอง √
๗ ๑๙๐ กินหยอ่ นนอ้ ยมกั คบั ท้อง √
รวม ๔๑ ๒
จากการศึกษาและจ�ำแนกกล่มุ ค�ำ ชือ่ โรคและอาการ ลม และสมฏุ ฐานโรค “กลา่ ว
เสน้ สบิ ” ในต�ำราโรคนิทานคำ� ฉันท์ ๑๑ สามารถสรปุ ได้ดังนี้
๑) มีค�ำ “โรค/อาการ” รวมท้งั หมด ๑๑๒ โรค/อาการ
๒) มีคำ� “ลม” มีท้งั หมด รวมทัง้ หมด ๔๐ ลม แบง่ เป็น ลมในเส้น ๒๒ ลม
ลมแทรก ลมกลาย ๑๘ ลม
๓) มีค�ำ “สมุฏฐานโรค” รวมท้งั หมด ๓๘ ค�ำ
คำ�อธิบายกล่าวเส้นสิบในตำ�ราโรคนิทานค�ำ ฉนั ท์ ๑๑ 59
หมายเหตุ: ตารางข้างต้นนี้นับเฉพาะสมุฏฐานโรคในเส้นประธานท้ังสิบ แต่ถ้า
นบั รวมบทพรรณนาเสน้ สบิ ดว้ ย จะมสี มฏุ ฐานโรครวมทงั้ หมด ๔๒ คำ� แบง่ เปน็ ธาตสุ มฏุ ฐาน
๒๓ คำ� กาลสมฏุ ฐาน ๒ ค�ำ มูลเหตแุ หง่ โรค ๘ ประการ ๑๑ ค�ำ เก่ยี วกบั วนั ๖
๓) การนวดรักษา ในกล่าวเส้นสิบ มีทงั้ หมด ๑๐ รายการ
๓.๑ การนวดรกั ษาในเส้นอทิ า-ลมจนั ทร์
แพทยผ์ ูป้ ระเสรฐิ โถ ประจงจบั เส้นอิทา
นวดตามล�ำเนาแนว ให้หยอ่ นแลว้ จงึ วางยา
ดังต�ำหรับบังคบั มา แกค้ ิลาน์เส้นลมจนั ทร์
ลมขน้ึ ขบเบ้ืองสงู แล่นปวดจูงถึงเศียรนั้น
ให้นวดทีเ่ จบ็ พลนั แล้วประกอบยาฉะน้มี ี
ความหมาย ใหแ้ พทยบ์ รรจงจบั ทเี่ สน้ อทิ า นวดไปตามแนวเสน้ ใหห้ ยอ่ น (ผอ่ นคลาย)
ลงแล้วจึงคอ่ ยให้ยา ตามตำ� รบั ยาแก้อาการเสน้ ลมจันทร์ สำ� หรับโรคลมขนึ้ เบือ้ งสูง ลมจะ
แล่นข้ึนไปถึงศีรษะท�ำให้ปวดหัวมาก ให้นวดท่ีเจ็บให้บรรเทาก่อน แล้วจึงประกอบยาตาม
ตำ� รายาแกล้ มจนั ทร์
๓.๒ การนวดรกั ษาอาการชกั ปากเบ้ยี วเสียวหนา้ ตา
ยาปะกังหวังยอ่ หยุด กล่าวเร่อื งรุตธิบายขยาย
ลมจันทรพ์ ิการรา้ ย ชักปากเบ้ียวเสยี วหน้าตา
ให้นวดแก้ริมจะมกู เบื้องซ้ายถูกจงหนกั หนา
นวดท้องเสน้ อิทา ไคลตามหลงั ท้ังสูงเศียร
ความหมาย อาการของโรคลมจันทกลา โรคนี้เม่ือเกิดขึ้นมีอาการรุนแรงมาก
ท�ำให้ชักปากเบ้ยี วและเสยี วท่ัวบริเวณใบหนา้ วธิ แี กล้ มจันทร์ ใหน้ วดแกอ้ าการโดยจดุ เน้น
ทร่ี มิ จมกู ด้านซา้ ย นวดตามแนวเสน้ อทิ า จากจุดก�ำเนิดเสน้ อทิ าที่ทอ้ ง แลว้ นวดตอ่ ไปตาม
แนวหลงั ข้นึ ไปจนถึงศีรษะ แล้วมานวดจดุ เนน้ ทรี่ มิ จมูกตน้ ซา้ ย
60 ชุดการสังคายนาภมู ปิ ัญญาการนวดไทย: ๑
๓.๓ การนวดรักษาในเส้นปิงคะลา
ผิแพทย์จะเยยี วยา โทษปงิ คะลาจะใหห้ าย
จงนวดคลงึ ไคลขยาย ที่เสน้ ร้ายปิงคะลา
ซ้ายสูญทกั ขณิ าวัด คดั ใหห้ ย่อนจงึ ผอ่ นหา
แก้ขม่อม ก�ำด้นมา ตามไรผมตามหูศรี
ทดั ดอกไม้สองขา้ ง แก้โสตว่างทา่ นวา่ ดี
กระหม่อมวาโยอกั ค ี เก่ียวเอาเสน้ สรู ย์ทะกะลา
สันนบิ าตลมปะกงั ทหี่ วา่ งควิ้ ทัง้ สองนา
หน้าผากคลงึ ไคลหา ทา้ ยผมหลงั ทง้ั ไตห้ ู
ให้แกท้ ัง้ สองข้าง ลมปะกังอา้ งมกั แฝงอยู่
ปากเบยี้ วเหมือนทั้งคู่ เส้นแฝงอยู่ชดิ จะมูก
เรื่องเส้นดังพรรณนา นวดไคลหาคล�ำใหถ้ กู
เสน้ ออ่ นหยอ่ นอย่าผูก จึงโอสถสะกดซ�้ำ
ความหมาย หากแพทย์จะนวดรกั ษา โรคทีเ่ กดิ จากเสน้ ปิงคะลา ให้นวดคลึงที่จดุ
ก�ำเนิดเส้นปิงคะลาก่อนโดยนวดวนรอบสะดือจากซ้ายวนไปทางด้านขวา นวดจนกว่าเส้น
จะหย่อนลงแล้วจึงมานวดแก้ท่ีขม่อมลงมาถึงจุดก�ำด้นไรผมแนวข้างหู มาถึงทัดดอกไม้
ท้ังสองข้าง (อย่ากดแรงมาก) บริเวณน้ีแก้หูอื้อได้ผลดี ท้ังยังแก้ลมกระหม่อมวาโยอัคคี
เกีย่ วเอาเสน้ สญุ ทกลา (ลมท่ที �ำใหร้ ้อนปวดศีรษะตาแดง)
ถา้ เปน็ สนั นิบาตลมปะกงั ใหน้ วดท่ีหวา่ งค้ิวทงั้ สอง ทหี่ นา้ ผาก (นวดจากหน้าผาก
ไปหาขมบั ) และนวดตามไรผม แนวใตห้ ู ใหแ้ ก้ทง้ั สองขา้ ง วิธีนวดใหน้ วดคลงึ ตามจดุ นวด
ให้ท่ัว เนื่องจากลมปะกังมักจะแฝงอยู่ในบริเวณดังกล่าว แก้ลมปากเบี้ยวก็ให้นวดแก้
เหมือนกันน้ี นวดเน้นเส้นแฝงที่อยู่ชิดบริเวณข้างจมูก ให้หาจุดนวดให้ถูกนวดคลึงคลาย
จนเสน้ ออ่ นหยอ่ นลง แลว้ จงึ ใหก้ ินยารักษาโรคนดี้ ้วย
ค�ำ อธิบายกลา่ วเสน้ สิบในตำ�ราโรคนทิ านค�ำ ฉนั ท์ ๑๑ 61
๓.๔ การนวดรกั ษาในเสน้ สุมนา
สมุ ะนาอาณาการ (กำ� เรบิ หนัก) อย่าหักหาญแต่พอควร
หน่วงนานลมกลับหวน กลดั อกใจไมส่ บาย
นา้ วหนว่ งไคลคลงึ ผลัก อย่าหนักนักใชง่ า่ ยหาย
เป็นแพทยร์ ้แู ยบคาย ดอู าชาอยา่ พึงหมนิ่ (ดูก�ำลงั )
ครั้นเส้นหยอ่ นผ่อนหา แตง่ หยูกยาตม้ ใหก้ นิ
ความหมาย โทษลมสุมะนาทำ� ใหม้ ีอาการกำ� เรบิ ขึ้นหนกั มาก การนวดรกั ษาไม่ควร
หกั หาญ ไม่ควรนวดแรงและเรว็ ควรนวดตามความเหมาะสม สังเกตอาการของคนไข้ ถา้
นวดนานเกนิ ไปลมจะกลบั หวนมาที่ในอก ทำ� ใหม้ ีอาการแนน่ หนา้ อก จงึ ควรคอ่ ย ๆ คลงึ อยา่
นวดหนักนัก เพราะโรคนี้ไม่ใช่รักษาหายได้ง่าย ๆ ผู้เป็นแพทย์พึงรอบคอบ ดูก�ำลังของ
คนไข้ใหด้ ี อย่าประมาทโรค เมื่อเส้นหย่อนคลายลงแลว้ ค่อยปรงุ ยาตม้ ให้กินดว้ ย
๓.๕ การนวดรกั ษาในเสน้ กาลทารี
ผิจะแกก้ แ็ ต่นวด ตรวจกดเสน้ ดงั กล่าวไว้
ให้หยอ่ นผอ่ นพกั ใจ จึงแก้ไขดว้ ยหยูกยา
ความหมาย หากจะแก้อาการในเส้นกาละทารีให้ใช้วิธีนวด โดยให้ตรวจเส้นและ
กดนวดตามแนวเส้นกาลทารีดังกล่าวไว้แล้ว ให้เส้นหย่อนลง แล้วจึงค่อยหาทางรักษา
ด้วยยา
๓.๖ การนวดรกั ษาในเสน้ สหสั รงั สี
ผจิ ะแกก้ เ็ รง่ นวด ตรวจกดเสน้ ดงั พรรณนา
ซง่ึ อยูกยาตามต�ำรา พลันเยยี วยากพ็ ลนั หาย
ความหมาย หากจะแก้อาการในเส้นสหัสรังสีเม่ือรู้อาการแล้วให้นวดแก้อาการ
โดยให้ตรวจแล้วกดตามแนวเส้นสหัสรังสีดังที่ได้กล่าวมา และกินยาตามตำ� ราให้ทันท่วงที
โรคกจ็ ะหายโดยเร็ว
62 ชดุ การสงั คายนาภมู ิปญั ญาการนวดไทย: ๑
๓.๗ การนวดรกั ษาในเสน้ ทวารี
แก้นาภตี ามกระแส ด�ำเนินนวดให้คลายหยอ่ น
นวดไปตามล�ำเนา เถาแถวเส้นเอน็ สญั จร
ใครกำ� ด้นสองก่อน จึงจกั ษุหายวิงเวียน
อันเส้นจักษสุ อง แก้ท�ำนองไม่ผิดเพ้ยี น
ผ้แู พทย์สถิตย์เสถยี ร พิเคราะหเ์ พยี รดว้ ยปญั ญา
ความหมาย นวดจากท้องจุดก�ำเนิดของเส้นทวารี นวดให้ผ่อนคลายและให้เส้น
หย่อนลง แล้วจึงนวดไปตลอดแนวเส้นทวารี จากน้ันให้นวดที่บริเวณแนวท้ายทอยท้ังสอง
ขา้ ง และจุดกำ� ด้น จงึ จะหายจากอาการวิงเวียนจกั ษุ (อาการตาพร่ามวั มองไมช่ ัด ท�ำให้
รูส้ ึกวงิ เวียน) สำ� หรบั เสน้ จักษุทั้งสองน้ัน ก็แก้โดยทำ� นองเดียวกัน แพทย์ผู้มีสติอนั ม่นั คง
พงึ พเิ คราะหพ์ ิจารณาดว้ ยปัญญาเถดิ
๓.๘ การนวดรักษาในเส้นรชุ ำ�
จะแก้เสน้ ลมน้ี ตามวถิ แี นวเสน้ ขึง
นวดบนหูสองจงึ ลมเสียงอึงบรรเทาหาย
แม้นนวดไมย่ นิ เสยี ง นามลมเลีย่ งคำ� ธบิ าย
ทาระกรรณด์ ังบรรยาย หนึง่ ปล้ัมคลายเสน้ สะเอว
ใหน้ วดจงชา้ ครัน ตามเส้นสันจงึ หายเรว็
คลึงเคล้นเสน้ ใหเ้ หลว เร็วเรง่ ยากินพลนั หาย
ความหมาย การแก้ลมในเส้นนี้ ต้องแก้ตามแนวเส้นรุช�ำ ท่ีมีอาการตึงแข็ง
นวดบนหูท้ังสองข้าง อาการหูอื้อเพราะลมจะบรรเทาหายได้ หากนวดแล้วยังไม่หาย
ไม่ได้ยินเสียง เหตุเกิดจากลมช่ือทาระกรรณ์ ให้นวดแก้คลายที่เส้นเอว ให้นวดช้า ๆ
ตามแนวเส้น อาการก็จะหายได้เร็ว วิธีการนวดโดยการคลึงเคล้นท�ำให้เส้นอ่อนลง
(เส้นเหลว) แล้วใหร้ ีบกินยา อาการของโรคกจ็ ะหายไป
ค�ำ อธบิ ายกล่าวเสน้ สิบในตำ�ราโรคนทิ านค�ำ ฉันท์ ๑๑ 63
๓.๙ การนวดรกั ษาในเส้นสกิ ขณิ ี
เจ็บท้องสขี ้างสุด สะเอ็วดุจดังหักกลาง
เร่งนวดเส้นขัดขวาง แถวเส้นดังทก่ี ล่าวมา
แกส้ ะเอว็ ตะโพกสอง ท้ังท้องนอ้ ย แก้วาตา
คลายกอ่ นผ่อนกินยา ตามต�ำราวธิ ดี ี
ความหมาย อาการทเ่ี กดิ จากเสน้ สิกขณิ ี คอื เจบ็ ท้องและเจบ็ สขี า้ งไปสุดทส่ี ะเอว
เจ็บมากจนรสู้ กึ เหมอื นว่าสขี ้างนัน้ จะหักกลาง ให้นวดแก้ตามแนวเสน้ สกิ ขณี ี (ใตส้ ะดอื ๒
นว้ิ มอื เยอ้ื งขวาเลก็ นอ้ ย) สขี า้ ง สะเอว ตะโพกทง้ั สองขา้ ง และทอ้ งนอ้ ย ทำ� ใหผ้ อ่ นคลาย
การไหลเวยี นของลมดขี น้ึ แลว้ จงึ คอ่ ยใหก้ นิ ยาตามตำ� ราเปน็ วธิ รี ักษาที่ดี
๓.๑๐ การนวดรักษาในเสน้ สขุ ุมัง
ผิจะแกเ้ ส้นกังขุง นวดพยงุ นวิ้ ประคอง
เหนือขื่อเส้นเอน็ ร้อง คอ่ ยจดจอ้ งให้เสยี วทวาร
ฝเี ยบ็ ดังปริแตก ทวารแยกคตู เคลอื่ นคลาน
เสน้ น้พี ระอาจาริย์ จับมือจดจงึ จะจรงิ
ความหมาย การแก้เส้นกังขัง (สุขุมัง) ให้ใช้น้ิวนวดประคองเบา ๆ ไปเหนือข่ือ
เส้นเอ็น (ใต้สะดือ ๒ นิ้วมือ เย้ืองซ้ายเล็กน้อย) ค่อย ๆ กดลงแล้วสังเกตถามอาการ
คนไข้จะมีอาการเสียวทวาร ปวดท่ีฝีเย็บมากเหมือนจะปริแตก ทวารแยก อยากจะถ่าย
อุจจาระ เส้นน้ีต้องระวังในการนวด อาจารย์ที่สอนต้องจับมือสอน เพ่ือความแม่นย�ำใน
การนวด
64 ชดุ การสงั คายนาภมู ิปัญญาการนวดไทย: ๑
๔) การรักษาดว้ ยเวทมนตค์ าถา ในกล่าวเส้นสิบ มที ้ังหมด ๑ รายการ
หนึ่งโสดปะกังลม ปวดเศียรซมมไิ คร่หาย
โบราณทา่ นบรรยาย เปนกาละเมด็ วิเศษมนต์
ท่านใหเ้ อาเปลอื กมะพร้าว มาถากท�ำเปน็ รูปคน
เขียนช่อื ผู้เจ็บดล ทส่ี งู รปู เป็นส�ำคญั
บรกิ �ำซง่ึ คาถา อธิถานผ่าดว้ ยฉบั พลัน
เข็มสักเศยี รรปู นน้ั ท�ำสามวันปะกงั คลาย
เอารูปไปท้ิงท ่ี ตะวนั ตกนเ้ี ปน็ แยบคาย
ต�ำหรับเคยท�ำหาย ซ่งึ ลมกลายร�ำเพพดั
ความหมาย การรักษาลมปะกังอีกวิธีหน่ึง ลมปะกังท�ำให้ปวดศีรษะ นอนซม
ไม่ค่อยหาย โบราณท่านกล่าวไว้ว่า มีกลเม็ดมนต์วิเศษ ดังน้ี ท่านให้เอาเปลือกมะพร้าว
มาถากเป็นรูปคน แล้วให้เขียนช่ือคนเจ็บลงบนท่ีสูง (ศีรษะ) ของรูปเป็นสำ� คัญ จากน้ัน
บริกรรมคาถา อธิษฐานจิตผ่าโดยทันที แล้วใช้เข็มสักศีรษะของรูป หลังจากนั้นสามวัน
โรคลมปะกงั จะคลายลง สุดทา้ ยให้เอารูปไปทิ้งทีท่ ิศตะวันตก
๒สวนที่
การสงั คายนาภูมิปญ ญาการนวดไทย
ใน “กลา วเสนสบิ ” ในตําราโรคนิทานคาํ ฉนั ท ๑๑
การสงั คายนาองค์ความรู้ภมู ปิ ัญญา “กลา่ วเส้นสบิ ” ในต�ำราโรคนิทานค�ำฉันท์ ๑๑ จ�ำนวนทั้งสน้ิ ๑๑๙ โรคและอาการ 66 ชดุ การสงั คายนาภมู ปิ ญั ญาการนวดไทย: ๑
ลำ� ดบั ชอื่ เสน้ สิบ บทที่ คำ� ในค�ำฉันท์ โรค/อาการ ความหมาย
๑ เสน้ อิทา ๑๓ ปวดเศียรเป็น ปวดศีรษะตอนกลางคืน Headache. (๒/น. ๑๒๐)
พ้นเพยี รอสุรยิ ศรี (หลังพระอาทติ ยต์ ก) ปวดหวั เวลาหลังพระอาทิตย์ตก
๒ ๑๓ ตามดื มวั อัคคี ตามดื มวั ปวด, ร้อนตา - ตามองเหน็ ไมช่ ดั หรอื มองไมเ่ หน็ (๙/น. ๑๗๙)
- อัคคี น. ไฟ (๔/น. ๑,๓๙๐)
- อาการตามองเห็นไม่ชดั ร้สู กึ ปวดรอ้ นตา (๕)
๓ ๑๓ ชกั ปากเบ้ยี วเจ็บสนั หลงั ชักรุนแรงจนปากเบยี้ วและ - ดใู น ชกั ๒ ก. อาการทก่ี ลา้ มเนอ้ื กระตกุ อยา่ งกระทนั หนั
เจบ็ สันหลัง และรนุ แรง มกั มอี าการมือเทา้ เกรง็ (๔/น. ๓๖๙)
- เจบ็ painful (adj.vt.vi.) (๑๑)
- สนั หลงั น. สว่ นของรา่ งกายดา้ นหลงั ซง่ึ มกี ระดกู เปน็
แนวนนู ลงมาตลอดหลัง (๔/น. ๑,๒๐๖)
- อาการที่กล้ามเน้ือกระตุกเกร็งอย่างรุนแรง ท�ำให้
กลา้ มเนอื้ บรเิ วณปากบดิ เบยี้ วผดิ รปู ไป รวมทงั้ มอี าการ
เจบ็ ตลอดแนวกระดูกสนั หลงั (๕)
๔ ๑๔ ลมปะกงั ลมปะกัง น. โรคชนิดหนึ่ง ผู้ป่วยมีอาการปวดศีรษะมาก อาจจะ
ปวดข้างเดียวหรือ ๒ ขา้ งก็ได้ บางตำ� ราวา่ มกั เปน็ เวลา
เชา้ ผปู้ ว่ ยอาจมอี าการอนื่ รว่ มดว้ ย เชน่ ตาพรา่ วงิ เวยี น
อาเจียน ลมตะกัง หรือ สันนิบาตลมปะกัง ก็เรียก
(๑/น. ๓๙๖)
การสังคายนาองคค์ วามร้ภู มู ิปัญญา “กล่าวเสน้ สบิ ” ในตำ� ราโรคนิทานคำ� ฉันท์ ๑๑ จำ� นวนท้งั สน้ิ ๑๑๙ โรคและอาการ (ต่อ)
ลำ� ดับ ชอื่ เสน้ สิบ บทที่ คำ� ในค�ำฉนั ท์ โรค/อาการ ความหมาย
๕ เส้นอทิ า ๑๔ ไขต้ ัวรอ้ นนอนซม ไขต้ วั รอ้ นนอนซม - ไขต้ วั ร้อน Fever, Pyrexia. (๒/น. ๓๖)
- ซม ว. อาการอยา่ งเปน็ ไข้ในระยะรนุ แรงถงึ กบั นอนจน
๖ ๑๕ วิงเวียน วิงเวียน ไมอ่ ยากลมื ตา เรยี กวา่ นอนซม (๔/น. ๓๙๔)
- อาการเปน็ ไข้ในระยะรนุ แรง ตวั รอ้ นเพราะอณุ หภมู ใิ น
๗ ๑๕ สันนบิ าต สันนิบาต รา่ งกายสงู ผูป้ ่วยนอนจนไมอ่ ยากลมื ตา (๕)
Vertigo (๒/น. ๒๒๔)
๘ ๑๕ ไขเ้ ศยี ร ไข้ปวดศรี ษะ น. ๑. ความเจบ็ ปว่ ยอนั เกดิ จากกองสมฏุ ฐานปติ ตะ วาตะ ค�ำ อธิบายกล่าวเสน้ สบิ ในตำ�ราโรคนทิ านคำ�ฉนั ท์ ๑๑ 67
และเสมหะ ร่วมกันกระท�ำโทษเต็มก�ำลัง ในวันที่ ๓๐
ของการเจบ็ ป่วย ๒. ไข้ประเภทหนึ่ง ผปู้ ว่ ยมีอาการสั่น
เท้ิม ชักกระตุก และเพ้อ เช่น ไข้สันนิตบาตลูกนก ไข้
สันนิตบาตหนา้ เพลงิ (๑/น. ๔๔๐)
Fever with Headache. (๒/น. ๓๙)
การสงั คายนาองค์ความรภู้ มู ิปัญญา “กล่าวเส้นสิบ” ในตำ� ราโรคนทิ านค�ำฉนั ท์ ๑๑ จ�ำนวนทงั้ สิ้น ๑๑๙ โรคและอาการ (ต่อ) 68 ชดุ การสงั คายนาภมู ปิ ญั ญาการนวดไทย: ๑
ล�ำดบั ชอ่ื เส้นสิบ บทที่ คำ� ในคำ� ฉันท์ โรค/อาการ ความหมาย
๙ เส้นอิทา ๑๗ เชอื่ มสลบนอนมนึ เชอื่ มสลบนอนมนึ ดใู น เชอ่ื ม ๑. น. อาการอยา่ งหน่งึ ของผ้ปู ่วยทเี่ ปน็ โรค
บางชนดิ มลี กั ษณะอาการหนา้ หมอง ซมึ มนึ งง ตาปรอื
คล้ายจะเป็นไข้ หรือเป็นอาการที่เกิดจากพิษไข้หรือพิษ
ของโรคบางชนิด ๒. ว. มอี าการเง่ืองหงอยมนึ ซึมคล้าย
เป็นไข้ ต�ำราการแพทย์แผนไทยมักใช้ค�ำน้ีร่วมกับค�ำอ่ืน
ทมี่ คี วามหมายเกยี่ วขอ้ งกบั อาการทแี่ สดงออกใหเ้ หน็ เดน่
ชัด ได้แก่ เชื่อมซึม เชื่อมมึน และเชื่อมมัว ดังคัมภีร์
ตักกศิลา (๓/น. ๕๑๔) ตอนหนึ่งว่า “...ท่ีน้ีจะว่าด้วยไข้
หงระทด ให้จับตัวร้อนเป็นเปลว เท้าเย็น มือเย็น ให้
เชอื่ มมวั ไมม่ สี ตสิ มปฤดี ใหห้ อบให้ สอกึ ...” คมั ภรี ป์ ระถม
จินดา (๖/ น.๖๘) ตอนหนึ่งว่า “...กาลเกิดขึ้นแต่หทัย
ลงไป ๔ ๕ เวลา ๘ ๑๐ เวลา ก็ดี ใหล้ งเปนโลหิตสด
สดออกมากอ่ นแลว้ จงึ่ ลามมาถงึ หวั ตบั แลหวั ตบั นนั้ ขาด
ออกมาเป็นลิ่ม แท่งให้ด�ำดังถ่านไฟอุจาระดังขี้เทา ให้
ระสำ� ระสาย บางทีใหเ้ ชอ่ื มมนึ ใหม้ อื เทา้ เยนใหเ้ คลบิ เคลม้ิ
หาสติมิได้ แลคนสมมุติว่าผีเข้าอยู่นั้นหามิได้เลย คือไข้
หมู่น้ีเอง กระท�ำดุจผีตะกละเข้าสิง...” และคัมภีร์โรค
นิทาน (๖/น. ๓๓๐) ตอนหนึ่งว่า “...โลหิตพิการให้คลั่ง
เพ้อพก ให้ร้อน เหื่อพิการ มักให้เชื่อมซึม มันข้นพิการ
มักให้ตวั ชาสากไป...” (๑/น. ๑๕๐)
การสงั คายนาองคค์ วามรภู้ ูมิปัญญา “กล่าวเสน้ สบิ ” ในต�ำราโรคนิทานค�ำฉนั ท์ ๑๑ จำ� นวนทั้งสิน้ ๑๑๙ โรคและอาการ (ตอ่ )
ล�ำดับ ชอ่ื เสน้ สบิ บทที่ ค�ำในค�ำฉันท์ โรค/อาการ ความหมาย
๑๐ เสน้ อิทา ๒๐ ลมขน้ึ ขบเบ้อื งสูง ลมขนึ้ เบื้องสูง ดูใน ลมข้ึนสูง น. โรคชนิดหนึ่งหรือความผิดปรกติอัน
เกดิ จากธาตลุ ม ผปู้ ว่ ยมอี าการออ่ นเพลยี สวงิ สวาย หนา้
(แล่นปวดจงู ถึงเศยี ร มืด หอู ือ้ เป็นต้น ดังต�ำรายาศลิ าจารึกในวดั พระเชตพุ น
นั้น) วมิ ลมงั คลาราม (๗/น. ๔๒๙) ตอนหนงึ่ วา่ “...ยาแกล้ มขนึ้
เบื้องสูง หลวงทิพรักษาทูลเกล้าถวาย คือ เอายาด�ำ,
๑๑ ๒๔ ปะกงั ลม ลมปะกัง กัญชา, อุจพิด, ดองดึง ส่ิงละ ๔ ส่วน กระเทียม ค�ำ อธิบายกล่าวเสน้ สบิ ในตำ�ราโรคนทิ านคำ�ฉนั ท์ ๑๑ 69
๖ ส่วน, ว่านน�้ำ, ชะเอมเทศ, โกฐน�้ำเต้า, โกฐพุงปลา,
มหาหงิ คุ์ สง่ิ ละ ๘ ส่วน ว่านเปราะ, ผลผกั ชี สิ่งละ ๑๒
ส่วน ขิงแห้ง, แก่นแสมทะเล, รากสม้ กุง้ , สะค้าน สิง่ ละ
๑๖ ส่วน พริกไทย, เปลือกกนั เกรา สิง่ ละ ๒๔ สว่ น ทำ�
เปน็ จณุ บดละลายนำ้� ผง้ึ รวงใหก้ นิ หนกั ๑ สลงึ แกล้ มขนึ้
สงู หายดีนักแล...”, ลมขึน้ หรอื ลมขนึ้ เบื้องสูง กเ็ รยี ก
(๑/น. ๓๙๐)
น. โรคชนิดหน่ึง ผู้ป่วยมีอาการปวดศีรษะมาก อาจจะ
ปวดข้างเดยี วหรือ ๒ ขา้ งก็ได้ บางต�ำราว่ามักเปน็ เวลา
เช้าผ้ปู ว่ ยอาจมีอาการอ่ืนรว่ มดว้ ย เชน่ ตาพรา่ วงิ เวบี น
อาเจียน ลมตะกัง หรือ สันนิบาตลมปะกัง ก็เรียก
(๑/น. ๓๙๖)
การสงั คายนาองคค์ วามรภู้ มู ิปญั ญา “กลา่ วเสน้ สิบ” ในตำ� ราโรคนิทานคำ� ฉันท์ ๑๑ จำ� นวนท้งั สิ้น ๑๑๙ โรคและอาการ (ตอ่ ) 70 ชดุ การสงั คายนาภมู ปิ ญั ญาการนวดไทย: ๑
ล�ำดับ ชื่อเส้นสบิ บทท่ี คำ� ในคำ� ฉนั ท์ โรค/อาการ ความหมาย
๑๒ เส้นอิทา ๒๔ ปวดเศียรซม
ปวดศีรษะมากนอนซม - Headache. (๒/น. ๑๒๐)
๑๓ ๒๘ ปวดเศยี รแสนสาหัด - ซม ว. อาการอยา่ งเปน็ ไข้ในระยะรนุ แรงถงึ กบั นอนจน
ไม่อยากลืมตา เรียกวา่ นอนซม (๔/น. ๓๙๔)
๑๔ ๓๒ ชกั ปากเบี้ยวเสียว - อาการปวดหัวมาก ผู้ป่วยถึงกับนอนจนไม่อยากลืมตา
หน้าตา (๕)
ปวดศีรษะมากจนทนไม่ได้ - Headache. (๒/น. ๑๒๐)
- สาหัส ว. ร้ายเเรง เช่น บาดเจ็บสาหัส, รุนแรงเกิน
ควร (๔/น. ๑,๒๒๖)
- ปวดศรี ษะมากจนทนไม่ได้ (๕)
ชักจนปากเบยี้ วเสียวไป - ดใู น ชกั ๒ ก. อาการทก่ี ลา้ มเนอื้ กระตกุ อยา่ งกระทนั หนั
ท้ังหน้า และรนุ แรง มกั มีอาการมอื เท้าเกร็ง (๔/น. ๓๖๙)
- เสียว ก. รู้สกึ แปลบเพราะเจ็บ (๔/น. ๑,๒๖๖)
- หน้า น. ส่วนของศีรษะตั้งแต่หน้าผากลงมาจดคาง
(๔/น. ๑,๒๘๖)
- อาการที่กล้ามเนื้อกระตุกเกร็งอย่างรุนแรง ท�ำให้
กลา้ มเนอ้ื บรเิ วณปากบดิ เบย้ี วผดิ รปู ไป รวมทง้ั มอี าการ
เสียวทบี่ รเิ วณใบหนา้ (๕)
การสงั คายนาองค์ความรูภ้ มู ิปัญญา “กล่าวเสน้ สบิ ” ในตำ� ราโรคนิทานค�ำฉันท์ ๑๑ จำ� นวนทั้งสน้ิ ๑๑๙ โรคและอาการ (ต่อ)
ล�ำดบั ชอ่ื เสน้ สิบ บทที่ คำ� ในคำ� ฉนั ท์ โรค/อาการ ความหมาย
๑๕ เส้นอทิ า ๓๔ ปากเบ้ียว
ปากเบ้ียว - ปาก น. สว่ นหนงึ่ ของรา่ งกายคนและสตั ว์ อยทู่ บ่ี รเิ วณ
๑๖ ๓๔ ชกั หนา้ เลี้ยว ใบหน้า มีลักษณะเป็นช่องส�ำหรับกินอาหารและใช้
สำ� หรบั เปลง่ เสียงได้ดว้ ย (๔/น. ๗๓๗)
๑๗ ๓๖ ปากชกั ลอย - เบี้ยว ๑ ว. มีรูปบิดเบ้ไปจากเดิมซึ่งมักจะมีลักษณะ
๑๘ ๔๑ เถาเอน็ ในครรภา คอ่ นข้างกลม เชน่ หวั เบี้ยว ปากเบ้ียว (๔/น. ๖๘๖)
- อาการทีก่ ลา้ มเน้อื บริเวณปากบิดเบี้ยวผดิ รูปไป (๕)
ชักจนหน้าหันกลับไปด้าน - ดใู น ชกั ๒ ก. อาการทกี่ ลา้ มเนอ้ื กระตกุ อยา่ งกะทนั หนั ค�ำ อธิบายกล่าวเสน้ สบิ ในตำ�ราโรคนทิ านคำ�ฉนั ท์ ๑๑ 71
หลงั และรนุ แรง มักมีอาการมอื เท้าเกร็ง (๔/น. ๓๖๙)
- ดใู น เล้ยี ว ก. หักแยก โคง้ หรือคดเค้ยี วไปจากแนว
ตรง เชน่ เลี้ยวซา้ ย เลยี้ วขวา (๔/น. ๑,๐๘๔)
- อาการที่กล้ามเน้ือกระตุกอย่างกะทันหันและรุนแรง
จนทำ� ให้ใบหน้าเบีย้ วกลบั ไปด้านหลงั (๕)
ปากเชิด ปากเจอ่ ปากเชดิ ปากเจอ่ (๕)
เถาเอน็ ในท้อง ดูใน เถาดาน น. โรคชนิดหนงึ่ มีลักษณะเปน็ ลำ� แขง็ ต้งั
ขึ้นที่ยอดอกแล้วลามลงไปถึงท้องน้อย ท�ำให้เจ็บปวด
จุกเสยี ด แน่นหน้าอก (๑/น. ๒๐๒)
การสงั คายนาองค์ความรภู้ ูมปิ ัญญา “กลา่ วเส้นสบิ ” ในตำ� ราโรคนิทานคำ� ฉันท์ ๑๑ จ�ำนวนทง้ั สิน้ ๑๑๙ โรคและอาการ (ต่อ) 72 ชดุ การสงั คายนาภมู ปิ ญั ญาการนวดไทย: ๑
ลำ� ดบั ช่ือเสน้ สบิ บทท่ี คำ� ในคำ� ฉนั ท์ โรค/อาการ ความหมาย
๑๙ เส้นอทิ า ๔๑ เอ็นห่อ เอน็ ห่อ - ดใู น เอน็ พกิ าร ใหเ้ สน้ ประธาน ๑๐ เสน้ แลเสน้ บรวิ าร
๒๗๐๐ เสน้ ให้หวาดหวนั่ ไหวไปสิน้ ทงั้ นน้ั ท่ีกลา้ กก็ ลา้
๒๐ ๔๑ ชกั ปากเบ้ียว ชักปากเบย้ี วเสียวตาแหก ท่ีแขงก็แขง ท่ีตั้งดานก็ต้ังดาน ท่ีขอดก็ขอดเข้าเปน
เสียวตาแหก กอ้ นเปนเถาไป (๓/น. ๓๓๙)
คนั มาก ปวดแสบรอ้ น - เอ็นห่อ ดูใน ขอด อาการของโรคที่มีอาการเส้นเอ็น
๒๑ ๔๒ คนั ยับแหลก เหมอื นมดตะนอยต่อย ในรา่ งกายขมวดเป็นปม (๓/น. ๓๓๙)
ดุจมดตะนอยแถกปวด - ดูใน ชัก ๒ ก. อาการที่กล้ามเนื้อกระตุกเกร็งอย่าง
เป็นนจิ กระทนั หันและรนุ แรง มักมีอาการมือเทา้ เกร็ง
(๔/น. ๓๖๙)
- เสยี ว ก. รู้สึกแปลบเพราะเจ็บ (๔/น. ๑,๒๖๖)
- อาการท่ีกล้ามเนื้อกระตุกเกร็งอย่างรุนแรง ท�ำให้
กลา้ มเน้อื บริเวณปากบิดเบย้ี วผิดรูปไป และท�ำใหร้ สู้ ึก
เสยี วแปลบรอบดวงตา (๕)
- คัน ก. อาการทร่ี ู้สกึ ให้อยากเกา (๔/น. ๒๕๐)
- อาการทร่ี สู้ กึ ใหอ้ ยากเกามาก ปวดแสบรอ้ นเหมอื นโดน
มดตะนอยตอ่ ย (๕)
การสังคายนาองค์ความร้ภู มู ิปัญญา “กลา่ วเส้นสิบ” ในตำ� ราโรคนิทานค�ำฉันท์ ๑๑ จำ� นวนทั้งสิน้ ๑๑๙ โรคและอาการ (ต่อ)
ล�ำดับ ชือ่ เส้นสบิ บทที่ คำ� ในค�ำฉนั ท์ โรค/อาการ ความหมาย ค�ำ อธิบายกล่าวเสน้ สบิ ในตำ�ราโรคนทิ านคำ�ฉนั ท์ ๑๑ 73
๒๒ เส้นอิทา ๔๓ รศิ สีดวง (ทวาร) ริศสดี วง (ทวาร) น. ริดสดี วงประเภทหนึ่งเกิดทที่ วารหนกั ผ้ปู ่วยมีอาการ
ถา่ ยอจุ จาระแลว้ มเี ลอื ดสด ๆ ปนออกมา หวั รดิ สดี วงยน่ื
๒๓ ๔๓ จุกเสยี ด จุกเสียด ออกมาทีข่ อบชอ่ งทวาร เหมอื นกลบี มะเฟืองบ้าง เดือย
๒๔ เสน้ ปงิ คลา ๕๓ หนา้ ตาตนแดงขนึ้ พลนั หน้าแดง ตาแดง ตวั แดง ไก่บ้าง ท�ำให้คันและปวดที่บริเวณรอบทวารอย่างมาก
๒๕ ๕๓ ปวดเศยี รรับสรุ ิยัน ปวดศรี ษะตอนเชา้ ดงั คมั ภรี ์โรคนทิ าน (๖/น. ๓๕๘) ตอนหนง่ึ วา่ “... อาหาร
ตั้งแตพ่ ระอาทติ ยข์ ้ึน เก่าเมอ่ื คอื ทรางขโมยกินล�ำไส้ ถา้ พ้นกำ� หนดทรางแลว้
คอื ฤศดวงคธู นน้ั แล ถา้ จะแก้ใหป้ ระกอบยา ...แกฤ้ ศดวง
คธู หายแล ...”, ฤศดวงคูธ หรอื ริดสดี วงทวาร ก็เรยี ก
(๑/น. ๓๘๑-๓๘๒)
Abdominal discomfort (๒/น. ๕๗-๕๘)
อาการผิดปกติของร่างกายชนิดหน่ึง เกิดข้ึนในเส้น
ปิงคลา ผิวหนังของผู้ป่วยจะแดงขึ้นบริเวณใบหน้าและ
ตามลำ� ตัว จะมอี าการปวดหวั เวลาเชา้ ร่วมด้วย (๕)
- Headache. (๒/น. ๑๒๐)
- ปวดหวั ต้งั แต่พระอาทติ ย์ขน้ึ (๕)
การสงั คายนาองค์ความรู้ภูมปิ ัญญา “กล่าวเส้นสบิ ” ในตำ� ราโรคนิทานคำ� ฉันท์ ๑๑ จ�ำนวนทั้งส้นิ ๑๑๙ โรคและอาการ (ต่อ) 74 ชดุ การสงั คายนาภมู ปิ ญั ญาการนวดไทย: ๑
ล�ำดับ ช่ือเสน้ สิบ บทท่ี ค�ำในค�ำฉนั ท์ โรค/อาการ ความหมาย
๒๖ เสน้ ปงิ คลา ๕๔ ชักปากเอียง ชักและมอี าการปากเอยี ง อาการที่กล้ามเนื้อกระตุกเกร็งอย่างรุนแรง ท�ำให้ปาก
๒๗ ๕๔ ลมปะกัง ไปขา้ งใดข้างหน่ึง เอียงไปข้างใดข้างหนึ่ง (๕)
ลมปะกัง น. โรคชนิดหน่ึง ผู้ป่วยมีอาการปวดศีรษะมาก อาจจะ
๒๘ ๕๕ ตึงนาศกิ จาม ปวดข้างเดยี วหรือ ๒ ขา้ งก็ได้ บางต�ำราวา่ มักเป็นเวลา
ตึงจมกู จาม เช้าผู้ปว่ ยอาจมีอาการอนื่ รว่ มดว้ ย เชน่ ตาพร่า วงิ เวียน
อาเจียน ลมตะกัง หรือ สันนิบาตลมปะกัง ก็เรียก
(๑/น. ๓๙๖)
- ดูใน คัด ๒ ว. แน่นหรือตึง เช่น จมูกคัด นมคัด
(๔/น. ๒๕๐)
- จาม Sneeze (๒/น. ๕๗)
การสังคายนาองคค์ วามรูภ้ มู ปิ ญั ญา “กล่าวเส้นสิบ” ในตำ� ราโรคนิทานค�ำฉันท์ ๑๑ จำ� นวนทงั้ สิ้น ๑๑๙ โรคและอาการ (ต่อ)
ลำ� ดบั ชื่อเสน้ สิบ บทที่ คำ� ในค�ำฉนั ท์ โรค/อาการ ความหมาย
ดูใน ฆานะโรค น. ริดสีดวงประเภทหนึ่ง เกิดในจมูก
๒๙ เสน้ ปงิ คลา ๕๕ รศิ สีดวง (น�ำ้ มกู ล่วง) รศิ สดี วงจมูก ผู้ป่วยจะหายใจขัด มีเม็ดขึ้นในจมูก เม่ือเม็ดน้ันแตกจะ
ทำ� ใหป้ วดแสบปวดรอ้ นมาก นำ�้ มกู ไหลอยตู่ ลอดเวลา ลม
๓๐ ๕๖ ส้นิ สติไม่พูดจา หมดสตพิ ูดไม่ได้ หายใจมีกล่ินเหม็น เป็นต้น ดังต�ำรายาศิลาจารึกในวัด ค�ำ อธิบายกล่าวเสน้ สบิ ในตำ�ราโรคนทิ านคำ�ฉนั ท์ ๑๑ 75
พระเชตุพนวิมลมังคลาราม (๗/น. ๒๖๓) ตอนหนึ่งว่า
“... ลำ� ดบั นจี้ ะกลา่ วดว้ ยนยั หนงึ่ ใหม่ วา่ ดว้ ยลกั ษณะหฤศ
โรค อนั ชอ่ื วา่ ฆานะกลา่ วคอื โรครดิ สดี วงอนั บงั เกดิ ขนึ้ ใน
นาสกิ นน้ั เปน็ คำ� รบ ๓ มอี าการกระทำ� ใหห้ ายใจขดั บางที
เป็นเม็ดยอดขึ้นในนาสิกแล้วแตกล�ำลาบออกเหม็นคาว
คอ กระท�ำพษิ ให้ปวดแสบ ปวดรอ้ นเปน็ ก�ำลัง บางทีให้
น้�ำมูกไหลอยู่เป็นนิจ ใสดุจน�้ำฝนให้เหม็นคาวคอย่ิงนัก
...”, ริดสีดวงจมกู กเ็ รียก (๑/น. ๑๒๓)
ดูใน หมดสติ ก. ส้นิ สต,ิ ไม่มีความรสู้ กึ , สลบ
(๔/น. ๑,๒๙๔)
การสงั คายนาองคค์ วามร้ภู ูมปิ ัญญา “กล่าวเส้นสิบ” ในตำ� ราโรคนิทานคำ� ฉนั ท์ ๑๑ จ�ำนวนท้ังส้ิน ๑๑๙ โรคและอาการ (ต่อ) 76 ชดุ การสงั คายนาภมู ปิ ญั ญาการนวดไทย: ๑
ล�ำดับ ชือ่ เส้นสิบ บทที่ ค�ำในค�ำฉนั ท์ โรค/อาการ ความหมาย
๓๑ เสน้ ปงิ คลา ๕๖ สลบตาย สลบตาย - ดใู น สลบ ก. อาการทีห่ มดความรสู้ ึก เชน่ ถกู ตีหวั จน
สลบ เปน็ ลมลม้ สลบ (๔/น. ๑,๑๗๙)
๓๒ ๕๙ โสตวา่ ง โสตว่าง - ตาย ๑ ก. ส้ินใจ, สิ้นชวี ิต, ไม่เป็นอยู่ต่อไป, สนิ้ สภาพ
ของการมีชีวิต (๔/น. ๔๙๕)
๓๓ ๖๐ สันนิบาตลมปะกัง สนั นบิ าตลมปะกัง - อาการนอนแนน่ ิ่งไม่รู้สึกตวั เหมอื นกบั คนตาย (๕)
- โสต, โสต-๑ น. หู, ช่องหู (๔/น. ๑,๒๗๓)
- ว่าง ว. เปล่า, ไม่มีอะไรนอกจากตัวของมันเองท่ีอ้าง
ถงึ , เช่น หอ้ งว่าง ท่วี ่าง ต�ำแหนง่ วา่ ง, บางทีใชค้ วบคู่
กับคำ� เปลา่ เปน็ วา่ งเปล่า (๔/น. ๑,๑๑๐)
- อาการหอู อ้ื (๕)
ดใู น ลมปะกงั น. โรคชนดิ หนง่ึ ผปู้ ว่ ยมอี าการปวดศรี ษะ
มาก อาจจะปวดขา้ งเดยี วหรอื ๒ ขา้ งก็ได้ บางตำ� ราวา่
มักเป็นเวลาเช้าผู้ป่วยอาจมีอาการอื่นร่วมด้วย เช่น
ตาพร่า วิงเวีบน อาเจียน ลมตะกงั หรอื สนั นิบาตลม
ปะกัง กเ็ รียก (๑/น. ๓๙๖)
การสังคายนาองค์ความรู้ภูมิปญั ญา “กล่าวเส้นสบิ ” ในตำ� ราโรคนิทานค�ำฉนั ท์ ๑๑ จ�ำนวนทัง้ สน้ิ ๑๑๙ โรคและอาการ (ตอ่ )
ลำ� ดบั ชอ่ื เส้นสิบ บทที่ คำ� ในค�ำฉันท์ โรค/อาการ ความหมาย
๓๔ เสน้ ปงิ คลา ๖๑ ปากเบ้ยี ว ปากเบี้ยว - ปาก น. สว่ นหนง่ึ ของรา่ งกายคนและสตั ว์ อยทู่ บ่ี รเิ วณ
ใบหน้า มีลักษณะเป็นช่องส�ำหรับกินอาหารและใช้
๓๕ เส้นสมุ นา ๖๖ จบั ล้ินไมพ่ รอดเปน็ ล้นิ แขง็ พดู ไมช่ ดั สำ� หรบั เปลง่ เสียงไดด้ ว้ ย (๔/น. ๗๓๗)
- เบ้ียว ๑ ว. มีรูปบิดเบ้ไปจากเดิมซึ่งมักจะมีลักษณะ
๓๖ ๖๗ ลิ้นกระด้าง ลิน้ กระดา้ ง คอ่ นขา้ งกลม เช่น หัวเบ้ียว ปากเบีย้ ว (๔/น. ๖๘๖) ค�ำ อธิบายกล่าวเสน้ สบิ ในตำ�ราโรคนทิ านคำ�ฉนั ท์ ๑๑ 77
- อาการทีก่ ล้ามเนือ้ บริเวณปากบิดเบี้ยวผดิ รูปไป (๕)
๓๗ ๖๗ คางแขง็ คางแข็ง ดูใน ล้ินกระด้าง อาการของโรคชนิดหน่ึง มีอาการ
ลิ้นแข็ง ท�ำให้อา้ ปากไมเ่ ต็มท่ี ออกเสยี งพูดไม่เป็นภาษา
๓๘ ๖๗ หนกั อกใจ แน่นอก (๙/น. ๑๙๓)
อาการของโรคชนิดหน่ึง มีอาการลิ้นแข็ง ท�ำให้อ้าปาก
ไม่เต็มท่ี ออกเสียงพดู ไมเ่ ป็นภาษา (๙/น. ๑๙๓)
อาการของโรคชนิดหน่ึง ท�ำให้อวัยวะส่วนขากรรไกร
เคลอ่ื นไหวไมไ่ ด้ (๙/น. ๑๗๒)
Abdominal discomfort (๒/น. ๑๐๗)
การสังคายนาองค์ความร้ภู ูมปิ ญั ญา “กลา่ วเส้นสบิ ” ในต�ำราโรคนิทานคำ� ฉันท์ ๑๑ จ�ำนวนท้ังสิ้น ๑๑๙ โรคและอาการ (ต่อ) 78 ชดุ การสงั คายนาภมู ปิ ญั ญาการนวดไทย: ๑
ลำ� ดับ ชือ่ เสน้ สบิ บทท่ี คำ� ในค�ำฉนั ท์ โรค/อาการ ความหมาย
๓๙ เสน้ สุมนา ๖๗ เชือ่ มมัว เช่ือมมวั ดใู น เช่อื ม ๑. น. อาการอย่างหนึ่งของผ้ปู ่วยทเี่ ป็นโรค
บางชนดิ มลี กั ษณะอาการหนา้ หมอง ซมึ มนึ งง ตาปรอื
คล้ายจะเป็นไข้ หรือเป็นอาการท่ีเกิดจากพิษไข้หรือพิษ
ของโรคบางชนิด ๒. ว. มอี าการเงือ่ งหงอยมนึ ซึมคลา้ ย
เป็นไข้ ต�ำราการแพทย์แผนไทยมักใช้ค�ำนี้ร่วมกับค�ำอ่ืน
ที่มีความหมายเก่ียวข้องกับอาการท่ีแสดงออกให้เห็น
เดน่ ชดั ไดแ้ ก่ เชอื่ มซมึ เชอ่ื มมนึ และเชอ่ื มมวั ดงั คมั ภรี ์
ตักกศิลา (๓/น. ๕๑๔) ตอนหนึ่งว่า “...ที่น้ีจะว่าด้วยไข้
หงระทด ให้จับตัวร้อนเป็นเปลว เท้าเย็น มือเย็น ให้
เชอื่ มมวั ไมม่ สี ตสิ มปฤดี ใหห้ อบให้ สอกึ ...” คมั ภรี ป์ ระถม
จินดา (๖/ น.๖๘) ตอนหน่ึงว่า “...กาลเกิดขึ้นแต่หทัย
ลงไป ๔ ๕ เวลา ๘ ๑๐ เวลา ก็ดี ให้ลงเปนโลหติ สด
สดออกมากอ่ นแลว้ จงึ่ ลามมาถงึ หวั ตบั แลหวั ตบั นนั้ ขาด
ออกมาเป็นล่ิม แท่งให้ด�ำดังถ่านไฟอุจาระดังขี้เทา
ให้ระส�ำระสาย บางทีให้เช่ือมมึนให้มือเท้าเยนให้
เคลบิ เคล้มิ หาสตมิ ิได้ แลคนสมมตุ ิวา่ ผีเข้าอยนู่ ั้นหามิได้
เลย คือไข้หมู่นี้เอง กระท�ำดุจผีตะกละเข้าสิง...”
และคัมภรี ์โรคนทิ าน (๖/น. ๓๓๐) ตอนหนึง่ ว่า “...โลหติ
พิการให้คลั่งเพ้อพก ให้ร้อน เหื่อพิการ มักให้เช่ือมซึม
มนั ขน้ พิการมักใหต้ วั ชาสากไป...” (๑/น. ๑๕๐)
การสังคายนาองคค์ วามร้ภู มู ิปัญญา “กลา่ วเส้นสิบ” ในต�ำราโรคนิทานค�ำฉนั ท์ ๑๑ จ�ำนวนท้ังสิน้ ๑๑๙ โรคและอาการ (ต่อ)
ล�ำดับ ชอื่ เส้นสิบ บทท่ี ค�ำในค�ำฉนั ท์ โรค/อาการ ความหมาย
๔๐ เส้นสุมนา ๖๗ เมาซม เมาซมไมม่ สี ติ - เมา ก. อาการทมี่ นึ ลมื ตวั ขาดสตเิ พราะฤทธเ์ิ หลา้ ฤทธ์ิ
ยาเป็นตน้ เชน่ เมาเหลา้ เมากญั ชา, มีอาการวิงเวยี น
๔๑ ๖๘ จุกอกเอน็ เป็นล�ำ จกุ อกเอ็นเปน็ ล�ำ คล่ืนเหียนอาเจียนเพราะโดยสารเรือ รถ เคร่ืองบิน ค�ำ อธิบายกล่าวเสน้ สบิ ในตำ�ราโรคนทิ านคำ�ฉนั ท์ ๑๑ 79
เปน็ ตน้ เชน่ เมาเรอื เมารถ เมาเครอ่ื งบนิ (๗/น. ๙๒๐)
๔๒ ๗๑ พูดพรอด พดู พรอด - ซม ว. อาการอยา่ งเปน็ ไข้ในระยะรนุ แรงถงึ กบั นอนจน
ไม่อยากลืมตา เรยี กวา่ นอนซม (๔/น. ๓๙๔)
๔๓ ๗๑ หลงลืม หลงลมื - เมา ในที่น้ีหมายถึง อาการมึนงง วิงเวียนไม่ได้สติ
อันเกิดจากโรค (๕)
๔๔ ๗๒ ระหวยใจ ระหวยใจ - ดใู น จกุ อก น. อาการเจบ็ แนน่ ในทรวงอก (๑/น. ๑๓๕)
- อาการเจ็บแน่นในทรวงอก เน่ืองจากเส้นเอ็นแข็งเป็น
ก้อน เปน็ ลำ� (๕)
อาการพูดพรำ�่ เพ้อ วกวน ไมไ่ ด้สติ (๕)
ก. มีความจ�ำเลอะเลือน, มีความจ�ำเส่ือมจึงท�ำให้ลืม,
มีสติเฟือนไป (๔/น. ๑,๓๑๑)
อิดโรยเพราะหวิ หรืออดนอน (๒/น. ๑๖๘)
การสงั คายนาองคค์ วามรภู้ ูมิปัญญา “กล่าวเสน้ สบิ ” ในต�ำราโรคนิทานคำ� ฉันท์ ๑๑ จำ� นวนทง้ั สิ้น ๑๑๙ โรคและอาการ (ตอ่ ) 80 ชดุ การสงั คายนาภมู ปิ ญั ญาการนวดไทย: ๑
ลำ� ดับ ชื่อเส้นสบิ บทที่ คำ� ในค�ำฉนั ท์ โรค/อาการ ความหมาย
ดูใน อ่อนเพลีย ว. มีแรงลดน้อยถอยลง หย่อนก�ำลัง
๔๕ เสน้ สุมนา ๗๒ แรงนอ้ ยถอยถอ่ มไป แรงนอ้ ยไมม่ ีแรง (๔/น. ๑,๓๘๖)
กินอาหารไมม่ รี สอร่อย เบอ่ื อาหาร (๒/น. ๑๘)
๔๖ ๗๒ อาหารไซ้ก็คลายรศ อาหารไมร่ รู้ ส - เปลี้ย ว. ขาดก�ำลังที่จะเคล่ือนไหวได้ตามปกติ เช่น
๔๗ ๗๓ ตีนมอื เปรย้ี ระทวยอ่อน เทา้ มอื ออ่ นแรง
แขนขาเปล้ยี ไปหมด (๔/น. ๗๕๗)
๔๘ ๗๔ รมุ รมจับหัวใจ ลมรุมรมจับหวั ใจ - ระทวย ว. อ่อนช้อย, ออ่ นใจ (๔/น. ๙๗๘)
- อาการท่เี ท้าและมอื อ่อนแรง ไม่สามารถเคล่ือนไหวใช้
๔๙ ๗๕ กลดั อกใจไมส่ บาย กลัดอกใจไม่สบาย ขัดใน งานได้ตามปกติ (๕)
อก ดูใน ลมจับหัวใจ (๒/น. ๑๘๕) ดูใน ลมน่ิงกระทบ
ดวงจิต ลมจรที่แทรกเข้ามาท่ีหัวใจ ท�ำให้แน่น่ิงไป
(๒/น. ๑๘๕)
- กลัด ก. อาการที่มีสิ่งบางอย่างคั่งอยู่ข้างใน เช่น
กลดั หนอง กลัดมตู ร กลดั คูถ (๑/น. ๑๑)
- อก น. สว่ นของรา่ งกายดา้ นหนา้ อยรู่ ะหวา่ งคอกบั ทอ้ ง
(๔/น. ๑,๓๖๒)
- อาการแน่นอดึ อดั ในทรวงอก (๕)
การสังคายนาองค์ความรูภ้ มู ิปญั ญา “กลา่ วเสน้ สบิ ” ในตำ� ราโรคนทิ านคำ� ฉนั ท์ ๑๑ จำ� นวนทัง้ สน้ิ ๑๑๙ โรคและอาการ (ตอ่ )
ลำ� ดบั ชอ่ื เสน้ สิบ บทท่ี ค�ำในค�ำฉนั ท์ โรค/อาการ ความหมาย ค�ำ อธิบายกล่าวเสน้ สบิ ในตำ�ราโรคนทิ านคำ�ฉนั ท์ ๑๑ 81
๕๐ เส้นสุมนา ๘๗ ไขส้ ่นั ไขส้ ัน่ ดูใน ไข้ป่า น. โรคชนิดหนึ่ง ผู้ป่วยมีอาการไข้สูงมาก
สว่ นใหญม่ กั มอี าการหนาวสน่ั รว่ มดว้ ย นอกจากน้ี ยงั อาจ
๕๑ ๘๗ ชวิ หาทตี่ นเคย ลิ้นหดพูดไมไ่ ด้ มีอาการปวดศีรษะ มือและเท้าเย็น มีเหงื่อออกมาก
พรอดไมไ่ ด้ใจระทด ลมจบั เป็นลมวงิ เวยี น กระหายน�้ำ ปัสสาวะบ่อย หากเป็นติดต่อกันหลายวัน
หนา้ มดื ไม่หาย ผู้ป่วยจะซีดเบ่ืออาหาร ตับโต ม้ามโต เป็นต้น
๕๒ ๘๙ ลมจบั โบราณเรยี ก ไขป้ า่ เนอ่ื งจากผปู้ ว่ ยมกั เปน็ โรคนหี้ ลงั กลบั
ออกมาจากป่า,ไข้จบั สนั่ ไข้ดอกสกั หรอื ไขด้ อกบวบ ก็
เรยี ก (๑/น. ๘๗)
ดูใน ลิ้นหด อาการพูดไมช่ ัด เนอ่ื งจากลน้ิ แขง็
(๒/น. ๒๑๓)
ก. มีอาการวิงเวียนหน้ามืด บางคราวถึงกับหมดสติ,
เปน็ ลม หรือเปน็ ลมเปน็ แลง้ ก็วา่ (๔/น. ๑,๐๓๕)
การสงั คายนาองค์ความร้ภู มู ปิ ญั ญา “กล่าวเส้นสิบ” ในต�ำราโรคนทิ านค�ำฉนั ท์ ๑๑ จำ� นวนทั้งสิ้น ๑๑๙ โรคและอาการ (ต่อ) 82 ชดุ การสงั คายนาภมู ปิ ญั ญาการนวดไทย: ๑
ล�ำดับ ช่ือเส้นสิบ บทท่ี ค�ำในคำ� ฉันท์ โรค/อาการ ความหมาย
๕๓ เส้นสมุ นา ๘๙ หัวใจวับแรงไม่มี ใจหววิ ออ่ นเพลยี - ดูใน วับๆ หว�ำๆ ว. รู้สึกวาบ ๆ ในใจด้วยความ
ท�ำใหห้ ิวอ่อนแรง หวาดหวน่ั เชน่ ใจวบั ๆ หวำ� ๆ เวลาจะเขา้ รบั การผา่ ตดั
หวิ โหยไมส่ มประดี (๔/น. ๑,๑๐๗)
- สมฤดี, สมฤๅดี น. ความรู้สึกตัว, ใช้เป็น สมปฤดี
๕๔ ๘๙ สอกึ สอึก สมปฤๅดี หรอื สมประดี ก็มี (๔/น. ๑,๑๖๙)
๕๕ ๙๐ มิสบาย ไม่สบาย - รสู้ กึ วาบ ๆ ในใจดว้ ยความหวาดหวนั่ รา่ งกายออ่ นเพลยี
หวิ โหย ใจลอยไม่ค่อยรูส้ กึ ตวั (๕)
ดใู น สะอกึ ก. อาการทห่ี ายใจชะงกั เปน็ ระยะ เนอ่ื งจาก
กะบังลมหดตัว และช่องสายเสียงปิดตามทันทีทันใดใน
เวลาเดียวกนั , ลมสะอึก ก็เรียก (๑/น. ๔๓๖)
ดใู น ป่วยไข้ เจบ็ ป่วย to be ill, to be sick, to ail
(๑๑)
การสงั คายนาองค์ความรู้ภูมปิ ัญญา “กลา่ วเสน้ สิบ” ในตำ� ราโรคนทิ านค�ำฉันท์ ๑๑ จ�ำนวนทั้งสิน้ ๑๑๙ โรคและอาการ (ตอ่ )
ลำ� ดับ ชือ่ เสน้ สบิ บทที่ คำ� ในค�ำฉันท์ โรค/อาการ ความหมาย
๕๖ เสน้ สมุ นา ๙๑ เปรยี่ วดำ� เปรีย่ วด�ำ ดใู น ลมเปล่ยี วดำ� น. โรคลมชนดิ หนงึ่ ต�ำราการแพทย์
แผนไทยบางเลม่ วา่ เกดิ จากการกระทบกบั ความเยน็ มาก
๕๗ ๙๓ คางแขง็ คางแข็ง จนเปน็ ตะครวิ ผปู้ ว่ ยมอี าการกลา้ มเนอื้ เกรง็ อยา่ งรนุ แรง ค�ำ อธิบายกล่าวเสน้ สบิ ในตำ�ราโรคนทิ านคำ�ฉนั ท์ ๑๑ 83
กระตุก ท�ำให้เจ็บบริเวณท่ีเป็นมาก มักแก้โดยการนวด
๕๘ ๙๓ ล้ินหดไมจ่ ำ� นนั ลนิ้ หดพดู ไมไ่ ด้ จดุ บรเิ วณใตต้ าตมุ่ ดา้ นใน หรอื อาจรกั ษาดว้ ยยาสงั ขวไิ ชย
หรือยาท�ำลายพระสุเมรุ, ลมเก่ียวด�ำ ลมเกล่ียวด�ำ
๕๙ ๙๕ คางอนั แขง็ กระด้าง คางแข็ง เปล่ยี วด�ำ หรอื ลมเปร้ยี วด�ำ ก็เรียก (๑/น. ๓๙๖)
อาการของโรคชนิดหน่ึง ท�ำให้อวัยวะส่วนขากรรไกร
๖๐ ๙๖ วิงเวยี น วิงเวียน เคล่อื นไหวไม่ได้ (๙/น. ๑๗๒)
ดูใน ลนิ้ หด อาการพดู ไม่ชดั เนื่องจากล้นิ แขง็
(๒/น. ๒๑๓)
อาการของโรคชนิดหนึ่ง ท�ำให้อวัยวะส่วนขากรรไกร
เคลื่อนไหวไม่ได้ (๙/น. ๑๗๒)
Vertigo (N) อาการวิงเวยี นศีรษะ อาการหวั หมุนทำ� ให้
ทรงตัวล�ำบาก (๒/น. ๒๒๔)
การสงั คายนาองคค์ วามร้ภู ูมิปัญญา “กลา่ วเส้นสิบ” ในต�ำราโรคนทิ านค�ำฉนั ท์ ๑๑ จ�ำนวนทง้ั สิ้น ๑๑๙ โรคและอาการ (ตอ่ ) 84 ชดุ การสงั คายนาภมู ปิ ญั ญาการนวดไทย: ๑
ล�ำดบั ชอ่ื เสน้ สบิ บทที่ คำ� ในคำ� ฉันท์ โรค/อาการ ความหมาย
๖๑ เส้นสุมนา ๙๖ ดวงจิตร์เจียนจัก ดวงจิตรหรอื ใจ จะขาด - ดวงจิตร์ ดใู น จติ , จติ - น. ใจ, สง่ิ ทม่ี ีหน้าท่รี ู้ คิดและ
นึก, (โบ เขยี นวา่ จิตร), ลกั ษณนามว่า ดวง. (ป.จิตต).
วางวาย ซึมซม (๔/น. ๓๒๔)
ล้ินหด - วางวาย ก. ตาย เช่น นรชาติวางวาย มลายส้ินท้ัง
๖๒ ๙๖ ซึมซม คางแขง็ อินทรีย์ (กฤษณา), วายวาง ก็วา่ (๔/น. ๑,๑๑๐)
๖๓ ๑๐๐ แกล้ ้ินหด คล่ังไคล้ - ความรูส้ ึกราวกับใจจะขาด จะส้นิ ใจตาย (๕)
๖๔ ๑๐๐ คางแขง็ ดใู น ซมึ ๒ ว. เหงาหงอยไมค่ อ่ ยพดู จา, ไมเ่ บกิ บาน เชน่
๖๕ ๑๐๐ คลงั่ ไคล้ นั่งซมึ (๔/น. ๔๐๒)
อาการพดู ไมช่ ดั เน่ืองจากล้นิ แข็ง (๒/น. ๒๑๓)
อาการของโรคชนิดหนึ่ง ท�ำให้อวัยวะส่วนขากรรไกร
เคลอ่ื นไหวไม่ได้ (๙/น. ๑๗๒)
ดใู น คลงั่ อาการคลงั่ มี ๒ พวกคือ
๑. อาการคลั่งในโรคจิตท่ีมีอาการฟุ้งซ่าน หรืออารมณ์
แปรปรวน
๒. อาการคลง่ั จากไข้ จากสารพษิ หรอื จากโรคทางกาย
ท่ีมีผลท�ำให้มีการท�ำงานของสมองแปรปรวนไป
(๒/น. ๕๓)
การสงั คายนาองคค์ วามรู้ภมู ิปัญญา “กลา่ วเส้นสบิ ” ในตำ� ราโรคนิทานคำ� ฉันท์ ๑๑ จ�ำนวนท้งั สิ้น ๑๑๙ โรคและอาการ (ต่อ)
ลำ� ดับ ชอ่ื เส้นสบิ บทท่ี คำ� ในค�ำฉันท์ โรค/อาการ ความหมาย
๖๖ เสน้ สมุ นา ๑๐๑ บาทจติ ร์ บาทจิตร์ ดูใน ลมบาทจิตต์ น. โรคลมมีพิษชนิดหนึ่ง ผู้ป่วยมีไข้
สูง เพ้อ ชกั เปน็ ต้น โบราณวา่ ถ้ารักษาไมไ่ ด้ภายใน ๑๐
๖๗ ๑๐๑ ดเี ดือด ดีพลุง่ ดเี ดือด ดีพลงุ่ วนั อาจถงึ แก่ความตาย ดงั คมั ภีรช์ วดาร (๑๐/น. ๓๐๖) ค�ำ อธิบายกล่าวเสน้ สบิ ในตำ�ราโรคนทิ านคำ�ฉนั ท์ ๑๑ 85
ตอนหน่ึงว่า “... ลมบาทจิตต์ เม่ือล้มไข้ลงดุจอย่าง
๖๘ ๑๐๒ พิษมก์ าฬ พิษม์กาฬ สนั นบิ าต แรกจบั ใหล้ ะเมอเพอ้ พกวา่ นน่ั วา่ นที่ ำ� อาการดจุ
ปีศาจเข้าอยู่ ลางทีว่าบ้าสันนิบาตก็ถูก เพราะเหตุจิตต์
ระส�่ำระสาย ก�ำหนด ๑๐ วัน ...”, เขียนว่า บาทจิตร
กม็ ี (๑/น. ๓๙๕)
ดูใน ดพี ลุง่ น้ำ� ดผี ดิ ปกติ มีอาการเพอ้ ไขส้ งู เมอื่ เป็น
มากขน้ึ จะมีอาการตัวเหลอื ง (๒/น. ๗๘)
- ดูใน กาฬ ผลของการอักเสบติดเช้ือซ่ึงมีลักษณะ
อาการปรากฏทงั้ ภายในและภายนอก กาฬภายนอกคอื
โรคท่ีแสดงโดยเป็นฝี เมด็ ผ่นื แผ่น วง เมด็ ทราย มี
สีด�ำ แดง เขียวดังน้�ำคราม หรือ สีอ่ืน ๆ ท่ีขึ้นตาม
สว่ นต่าง ๆ ของรา่ งกาย
- กาฬภายใน สังเกตได้จากลักษณะของส่ิงขับถ่ายและ
ลกั ษณะอาการของผู้ปว่ ย (๒/น. ๑๕)
การสังคายนาองคค์ วามร้ภู มู ปิ ญั ญา “กล่าวเสน้ สิบ” ในตำ� ราโรคนทิ านค�ำฉนั ท์ ๑๑ จ�ำนวนท้งั ส้นิ ๑๑๙ โรคและอาการ (ตอ่ ) 86 ชดุ การสงั คายนาภมู ปิ ญั ญาการนวดไทย: ๑
ลำ� ดบั ช่อื เสน้ สบิ บทที่ คำ� ในค�ำฉันท์ โรค/อาการ ความหมาย
๖๙ เส้นสมุ นา ๑๐๒ ร้อนอก รอ้ นอก อาการรอ้ นในอก เนือ่ งจากกำ� เดา (ความรอ้ นทเ่ี กิดจาก
การเผาผลาญในร่างกาย) (๕)
๗๐ ๑๐๒ มสิ ะเบย มิสะเบย ไม่สบาย ดใู น ป่วยไข้ เจบ็ ป่วย to be ill, to be sick,
to ail (๑๑)
๗๑ ๑๐๘ ลมอันวงิ เวยี น ลมอนั วงิ เวยี น ดูใน ลมวงิ เวียน น. ลมกองละเอยี ดประเภทหน่งึ ท�ำให้
หน้ามืด ตาลาย วิงเวียน อ่อนเพลีย สวิงสวาย ใจสั่น
๗๒ ๑๐๘ หาวเหยี น หาวเหยี น (๑/น. ๔๐๑)
ดูใน เหียน ๒ ก. มอี าการพะอดื พะอมคลา้ ยจะคลนื่ ไส้
๗๓ ๑๐๘ ลิ้นกระดา้ ง ลน้ิ กระด้าง (๔/น. ๑,๓๕๒)
อาการของโรคชนิดหน่ึง มีอาการล้ินแข็ง ท�ำให้อ้าปาก
๗๔ ๑๐๘ คางชดิ คางชิด ไม่เตม็ ท่ี ออกเสียงพูดไม่เปน็ ภาษา (๙/น. ๑๙๓)
อาการเกร็งขากรรไกร ขยับเคล่ือนไหวไม่ได้ คางอยู่ใน
ทา่ อยู่ชิดล�ำคอ (๕)
การสังคายนาองค์ความร้ภู ูมิปัญญา “กล่าวเสน้ สบิ ” ในตำ� ราโรคนทิ านค�ำฉนั ท์ ๑๑ จำ� นวนท้ังส้ิน ๑๑๙ โรคและอาการ (ตอ่ )
ล�ำดบั ชอ่ื เส้นสบิ บทที่ ค�ำในคำ� ฉนั ท์ โรค/อาการ ความหมาย
๗๕ เส้นสมุ นา ๑๑๓ ลมรา้ ยบาทจติ ร์ ลมรา้ ยบาทจิตร์ ดูใน ลมบาทจิตต์ น. โรคลมมีพิษชนิดหน่ึง ผู้ป่วยมีไข้
สงู เพอ้ ชกั เปน็ ตน้ โบราณว่าถา้ รกั ษาไมไ่ ดภ้ ายใน ๑๐
๗๖ ๑๑๔ อบอบั จบั ดวงใจ อบอับจับดวงใจ วัน อาจถงึ แกค่ วามตาย ดังคมั ภีรช์ วดาร (๑๐/น. ๓๐๖) ค�ำ อธิบายกล่าวเสน้ สบิ ในตำ�ราโรคนทิ านคำ�ฉนั ท์ ๑๑ 87
ตอนหนึ่งว่า “... ลมบาทจิตต์ เม่ือล้มไข้ลงดุจอย่าง
สนั นบิ าต แรกจบั ใหล้ ะเมอเพอ้ พกวา่ นนั่ วา่ นที่ ำ� อาการดจุ
ปีศาจเข้าอยู่ ลางทีว่าบ้าสันนิบาตก็ถูก เพราะเหตุจิตต์
ระส�่ำระสาย ก�ำหนด ๑๐ วัน ...”, เขียนว่า บาทจิตร
กม็ ี (๑/น. ๓๙๕)
- อบ อากาศถ่ายเทไม่ได้ (๔/น. ๑,๓๗๒)
- อับ ว. ไม่มีลมเข้าออก, ไม่โปร่ง, เช่น อากาศอับ,
ไม่เคล่ือนไหว เชน่ ลมอับ (๔/น. ๑,๓๙๗)