การสังคายนาองค์ความรู้ภมู ปิ ญั ญา “กลา่ วเสน้ สบิ ” ในตำ� ราโรคนทิ านคำ� ฉนั ท์ ๑๑ จำ� นวนทั้งส้ิน ๑๑๙ โรคและอาการ (ต่อ) 88 ชดุ การสงั คายนาภมู ปิ ญั ญาการนวดไทย: ๑
ล�ำดับ ชอ่ื เส้นสิบ บทท่ี คำ� ในคำ� ฉนั ท์ โรค/อาการ ความหมาย
๗๗ เสน้ สุมนา ๑๑๔ หลงไหลคล้มุ คลั่ง หลงไหลคลุ้มคลง่ั - ดูใน หลงใหล ก. คลั่งไคล้ในส่ิงใดสิ่งหน่ึง เช่น
หลงใหลนกั ร้อง; เลอะเลอื น, มีสตเิ ฟือน เช่น คนแก่
๗๘ ๑๑๔ แน่นอก แน่นอก มักหลงใหล กนิ แลว้ กว็ า่ ไม่ได้กนิ (๔/น. ๑,๓๑๑)
๗๙ ๑๑๔ อาเจียนติด อาเจียนไมอ่ อก - คลมุ้ คลงั่ ก. กลดั กลมุ้ ในใจจนแสดงอาการอยา่ งคนบา้
๘๐ ๑๑๔ รากลมเปลา่ อาเจียนมแี ตล่ มเปล่า (๔/น. ๒๔๐)
๘๑ ๑๑๔ ใหห้ นาวรอ้ น ใหห้ นาวรอ้ น - อาการสติฟั่นเฟือน เลอะเลือนไป กลัดกลุ้มใจเหมือน
อยา่ งคนบ้า (๕)
ดใู น แนน่ หนา้ อก Abdominal discomfort (๒/น. ๑๐๗)
ร้สู กึ อยากจะอาเจยี น แต่อาเจียนไม่ออก (๕)
อาเจียนมแี ต่ลม (๒/น. ๑๖๙)
ดใู น หนาว ๆ รอ้ น ๆ ก. ครนั่ เนอื้ ครนั่ ตวั , มอี าการคลา้ ย
จะเป็นไข้เพราะเด๋ียวร้อนเด๋ียวหนาว, โดยปริยาย
หมายความว่า มีความเร่าร้อนใจกลัวว่าจะถูกลงโทษ
หรือถูกต�ำหนิเป็นต้น, ร้อนเด๋ียวหนาว, ร้อน ๆ หนาว ๆ
หรอื สะบัดรอ้ น สะบัดหนาว ก็วา่ (๔/น. ๑,๒๙๒)
การสังคายนาองคค์ วามรภู้ มู ิปญั ญา “กลา่ วเส้นสิบ” ในตำ� ราโรคนิทานคำ� ฉันท์ ๑๑ จ�ำนวนทง้ั ส้นิ ๑๑๙ โรคและอาการ (ตอ่ )
ล�ำดับ ช่ือเส้นสิบ บทท่ี คำ� ในคำ� ฉันท์ โรค/อาการ ความหมาย
๘๒ เสน้ สุมนา ๑๑๕ อาหารกลนื ขนื กนิ ขืนกลืนกนิ อาหาร - กลนื ก. อาการทท่ี ำ� ใหอ้ าหารหรอื สง่ิ อน่ื ๆ ทอ่ี ยู่ในปาก
ลว่ งลำ� คอลงไป (๔/น. ๘๒)
๘๓ ๑๑๕ ไดก้ ล่ินกลับขย้อน ไดก้ ลนิ่ แล้วจะอาเจยี น - ขนื ก. ยง้ั ไวห้ รอื บงั คบั ไว้ไม่ใหเ้ ปน็ ไปตาม (๔/น. ๒๐๓)
- อาการทที่ ำ� ใหก้ ลนื อาหารลงลำ� คอดว้ ยความยากลำ� บาก
(๕) ค�ำ อธิบายกล่าวเสน้ สบิ ในตำ�ราโรคนทิ านคำ�ฉนั ท์ ๑๑ 89
- ขย้อน ก. (โบ) อาการขยับข้นึ ขยบั ลง, กระย่อน หรอื
กระหย่อน กว็ า่ ; ทำ� อาการจะอาเจียน (๔/น. ๑๗๑)
- เม่อื ได้กล่ินแล้ว ทำ� อาการเหมอื นจะอาเจียน (๕)
การสงั คายนาองคค์ วามรภู้ มู ปิ ัญญา “กลา่ วเสน้ สบิ ” ในตำ� ราโรคนิทานคำ� ฉนั ท์ ๑๑ จำ� นวนทง้ั ส้นิ ๑๑๙ โรคและอาการ (ตอ่ ) 90 ชดุ การสงั คายนาภมู ปิ ญั ญาการนวดไทย: ๑
ลำ� ดบั ชอื่ เสน้ สบิ บทท่ี คำ� ในค�ำฉันท์ โรค/อาการ ความหมาย
๘๔ เส้นสมุ นา ๑๑๕ พิษฒ์โลหิตรอ้ น พษิ โลหิตท�ำใหร้ อ้ น ดูใน โลหิตทุจริตโทษ แบง่ ได้ ๕ ประการคอื
๑. โลหิตระดูร้าง เมื่อจะบังเกิดน้ันระดูมิได้เป็นมาต้อง
ตามเคย บางทีด�ำเหม็นเน่า เหม็นโขลง (เหม็นเน่า)
บางทดี จุ นำ�้ ชานหมาก บางทีใสดุจน้ำ� คาวปลา บางที
ดุจน�้ำซาวข้าว กระท�ำให้เวทนาต่าง ๆ ครั้นแก่เข้าก็
กลายเปน็ มานโลหิต
๒. โลหติ คลอดบตุ ร เมอ่ื จะบงั เกดิ นนั้ กระทำ� ให้โลหติ คง่ั
เขา้ เดนิ มใิ หส้ ะดวกแลว้ ตง้ั ขนึ้ เปน็ ลม่ิ เปน็ กอ้ น ใหแ้ ดก
ขน้ึ แดกลง บางทีใหค้ ลง่ั ขบฟนั ตาเหลอื ก ตาชอ้ น ให้
ขอบตาเขียว ริมฝีปากเขียว เล็บมือเล็บเท้าเขียว
สมมตุ ิว่าปศี าจเขา้ สงิ
๓. โลหติ ตอ้ งพฆิ าตตกตน้ ไมถ้ กู ทบุ ถองโบยตี เกดิ ไขพ้ ฆิ าต
หนกั โลหติ นนั้ กระทบซำ้� หอ้ เขา้ ระคนกบั โลหติ ระดู จงึ
แห้งเข้ากรังติดกระดูกสันหลังอยู่ จึงได้ชื่อว่าโลหิต
ระดแู หง้ หรอื โลหติ ตอ้ งพฆิ าต เหตเุ กดิ จากตอ้ งพฆิ าต
การสงั คายนาองคค์ วามรภู้ มู ปิ ัญญา “กล่าวเส้นสิบ” ในตำ� ราโรคนทิ านค�ำฉนั ท์ ๑๑ จำ� นวนทง้ั สน้ิ ๑๑๙ โรคและอาการ (ต่อ)
ล�ำดับ ชอื่ เสน้ สบิ บทที่ คำ� ในค�ำฉันท์ โรค/อาการ ความหมาย
๘๔ เสน้ สุมนา ๑๑๕ พษิ ฒ์โลหิตร้อน พิษโลหิตท�ำใหร้ ้อน ๔. โลหิตเน่า ก็อาศัยโลหิตระดูร้างโลหิตต้องพิฆาตและ
โลหติ ตกหมกชำ้� เจอื มาเนา่ อยู่ จงึ เรยี กวา่ โลหติ เนา่ เปน็ ค�ำ อธิบายกล่าวเสน้ สบิ ในตำ�ราโรคนทิ านคำ�ฉนั ท์ ๑๑ 91
ใหญ่กว่าลมทั้งหลาย เมื่อจะให้โทษนั้นโลหิตอันเน่ามี
พษิ คา้ งแลน่ ไปทกุ ขมุ ขน บางทแี ลน่ เขา้ จบั หวั ใจ บางที
แลน่ ออกผวิ เนอื้ ผดุ เปน็ ดำ� แดงเขยี วขาวกม็ ี บา้ งผดุ ดงั
ยอดกระทำ� พษิ ให้คันเป็นกำ� ลงั ทรุ นทุรายยิ่งนกั
๕. โลหติ ตกหมกชำ�้ กอ็ าศยั โลหติ เนา่ ซง่ึ แกด้ ว้ ยยาประคบ
ยาผาย ยาขับโลหิตมิได้ถึงก�ำลังโลหิต โลหิตน้ันจึง
ระสำ�่ ระสายออกมสิ นิ้ เชงิ จงึ ตกหมกชำ�้ อยู่ในเสน้ เอน็
สนั หลงั และหวั หนา่ ว เมอ่ื จะให้โทษกค็ มุ กนั เขา้ กระทำ�
ใหเ้ ป็นฝีมดลูก ฝียอดคว�ำ่ ฝีเอ็น ฝอี คั เนสัน ฝีปลวก
และมานโลหิต (๒/น. ๒๑๗)
การสงั คายนาองคค์ วามรู้ภูมปิ ญั ญา “กลา่ วเส้นสิบ” ในตำ� ราโรคนิทานค�ำฉนั ท์ ๑๑ จำ� นวนท้ังสน้ิ ๑๑๙ โรคและอาการ (ต่อ) 92 ชดุ การสงั คายนาภมู ปิ ญั ญาการนวดไทย: ๑
ล�ำดบั ชอ่ื เสน้ สบิ บทท่ี ค�ำในคำ� ฉันท์ โรค/อาการ ความหมาย
๘๕ เส้นสมุ นา ๑๑๕ ใคล้คลัง่ ใคลค้ ล่ัง ดูใน คล่งั อาการคล่ังมี ๒ พวกคอื
๑. อาการคลั่งในโรคจิตท่ีมีอาการฟุ้งซ่าน หรืออารมณ์
๘๖ ๑๑๕ ตขี น้ึ พษิ โลหติ รอ้ นตีข้นึ
แปรปรวน
๒. อาการคลั่งจากไข้ จากสารพษิ หรอื จากโรคทางกาย
ท่ีมีผลท�ำให้การท�ำงานของสมองแปรปรวนไป
(๒/น. ๕๓)
ดูใน เลือดตีขึ้น (๒/น. ๒๑๔) ดูใน โลหิตทุจริตโทษ
แบ่งได้ ๕ ประการคอื
๑. โลหิตระดูร้าง เม่ือจะบังเกิดนั้นระดูมิได้เป็นมาต้อง
ตามเคย บางทีด�ำเหม็นเน่า เหม็นโขลง (เหม็นเน่า)
บางทีดจุ นำ�้ ชานหมาก บางทีใสดุจนำ้� คาวปลา บางที
ดุจน�้ำซาวข้าว กระท�ำให้เวทนาต่าง ๆ ครั้นแก่เข้าก็
กลายเปน็ มานโลหติ
การสงั คายนาองค์ความรูภ้ ูมปิ ญั ญา “กลา่ วเสน้ สบิ ” ในตำ� ราโรคนทิ านค�ำฉันท์ ๑๑ จำ� นวนทงั้ สิ้น ๑๑๙ โรคและอาการ (ต่อ)
ล�ำดบั ชื่อเสน้ สบิ บทท่ี ค�ำในค�ำฉนั ท์ โรค/อาการ ความหมาย
๘๖ เสน้ สมุ นา ๑๑๕ ตีขนึ้ พิษโลหิตรอ้ นตีข้นึ ๒. โลหติ คลอดบตุ ร เมอ่ื จะบงั เกดิ นนั้ กระทำ� ให้โลหติ คง่ั
เขา้ เดนิ มใิ หส้ ะดวกแลว้ ตง้ั ขนึ้ เปน็ ลม่ิ เปน็ กอ้ น ใหแ้ ดก ค�ำ อธิบายกล่าวเสน้ สบิ ในตำ�ราโรคนทิ านคำ�ฉนั ท์ ๑๑ 93
ขน้ึ แดกลง บางทีใหค้ ลง่ั ขบฟนั ตาเหลอื ก ตาชอ้ น ให้
ขอบตาเขียว ริมฝีปากเขียว เล็บมือเล็บเท้าเขียว
สมมตุ วิ า่ ปศี าจเขา้ สิง
๓. โลหติ ตอ้ งพฆิ าตตกตน้ ไมถ้ กู ทบุ ถองโบยตี เกดิ ไขพ้ ฆิ าต
หนกั โลหติ นน้ั กระทบซำ�้ หอ้ เขา้ ระคนกบั โลหติ ระดู จงึ
แห้งเข้ากรังติดกระดูกสันหลังอยู่ จึงได้ช่ือว่าโลหิต
ระดแู หง้ หรอื โลหติ ตอ้ งพฆิ าต เหตเุ กดิ จากตอ้ งพฆิ าต
๔. โลหิตเน่า ก็อาศัยโลหิตระดูร้างโลหิตต้องพิฆาตและ
โลหติ ตกหมกชำ้� เจอื มาเนา่ อยู่ จงึ เรยี กวา่ โลหติ เนา่ เปน็
ใหญ่กว่าลมทั้งหลาย เม่ือจะให้โทษน้ันโลหิตอันเน่ามี
พษิ คา้ งแลน่ ไปทกุ ขมุ ขน บางทแี ลน่ เขา้ จบั หวั ใจ บางที
แลน่ ออกผวิ เนอื้ ผดุ เปน็ ดำ� แดงเขยี วขาวกม็ ี บา้ งผดุ ดงั
ยอดกระท�ำพิษ ใหค้ นั เปน็ ก�ำลัง ทุรนทุรายยิ่งนัก
การสังคายนาองคค์ วามรู้ภูมปิ ญั ญา “กลา่ วเสน้ สบิ ” ในตำ� ราโรคนทิ านคำ� ฉนั ท์ ๑๑ จำ� นวนทงั้ ส้นิ ๑๑๙ โรคและอาการ (ต่อ) 94 ชดุ การสงั คายนาภมู ปิ ญั ญาการนวดไทย: ๑
ลำ� ดบั ชอื่ เส้นสิบ บทท่ี ค�ำในค�ำฉันท์ โรค/อาการ ความหมาย
๘๖ เส้นสมุ นา ๑๑๕ ตีข้นึ พษิ โลหติ รอ้ นตขี นึ้ ๕. โลหติ ตกหมกชำ�้ กอ็ าศยั โลหติ เนา่ ซงึ่ แกด้ ว้ ยยาประคบ
๘๗ ๑๑๖ ลมสรรนิบาต ลมสรรนิบาต ยาผาย ยาขับโลหิตมิได้ถึงก�ำลังโลหิต โลหิตน้ันจึง
ระสำ�่ ระสายออกมสิ น้ิ เชงิ จงึ ตกหมกชำ้� อยู่ในเสน้ เอน็
๘๘ ๑๒๖ ล้นิ หดเพอ่ื ลมร้าย ลน้ิ หดเพราะลมร้าย สนั หลงั และหวั หนา่ ว เมอื่ จะให้โทษกค็ มุ กนั เขา้ กระทำ�
๘๙ เสน้ ๑๓๖ เยน็ ชา เยน็ และชา ใหเ้ ป็นฝีมดลกู ฝยี อดคว่ำ� ฝเี อ็น ฝีอคั เนสนั ฝปี ลวก
และมานโลหิต (๒/น. ๒๑๗)
กาลทารี ดูใน ลมสันนิบาต มีอาการเจบ็ ปวดศรี ษะเปน็ กำ� ลัง ให้
แก้ที่รากขวัญเกลียวคอท้ังสอง แถวกระดูกสันหลังทั้ง
สอง ท่ีราวคางทั้งสอง (๒/น. ๒๐๐)
อาการชนดิ หนง่ึ เกดิ เพราะลมรา้ ย ทำ� ใหพ้ ดู ไมช่ ดั ลน้ิ แขง็
(๕)
ดใู น ชา ๒ ว. อาการทร่ี ู้สึกได้น้อยกว่าปรกติ เนอ่ื งจาก
เสน้ ประสาทรบั ความรสู้ ึกถูกกด ถูกตดั ขาด หรือถกู สาร
พิษ เชน่ มอื ชา เทา้ ชา (๔/น. ๓๗๒)
การสังคายนาองคค์ วามรู้ภูมปิ ัญญา “กลา่ วเสน้ สิบ” ในต�ำราโรคนทิ านคำ� ฉนั ท์ ๑๑ จ�ำนวนท้งั สิน้ ๑๑๙ โรคและอาการ (ต่อ)
ล�ำดบั ช่อื เสน้ สิบ บทท่ี คำ� ในคำ� ฉนั ท์ โรค/อาการ ความหมาย ค�ำ อธิบายกล่าวเสน้ สบิ ในตำ�ราโรคนทิ านคำ�ฉนั ท์ ๑๑ 95
๙๐ เสน้ ๑๓๖ เหน็บทัง้ ตัว เหน็บท้งั ตวั ดูใน เหน็บ ๔ น. อาการชาและเจ็บแปลบปลาบตาม
แขนขาเป็นต้น เกิดจากหลอดเลือดและเส้นประสาท
กาลทารี เจ็บและเย็นสะท้านท้ังตวั หรืออย่างใดอย่างหน่ึงบริเวณนั้นถูกกดทับระยะหน่ึง
๙๑ ๑๓๗ เจ็บเย็นสะทา้ น (๔/น. ๑,๓๔๔)
นอนนง่ิ ไมร่ ู้สึกตัว - เจ็บ ก. ป่วยไข,้ ราชาศพั ทว์ ่า ประชวร; รู้สกึ ทางกาย
๙๒ ๑๓๙ นอนแน่ไม่สมประดี เมือ่ ถกู ทบุ ตีหรอื เป็นแผลเปน็ ต้น (๔/น. ๓๓๓)
รูส้ กึ กายไปเป็นเลย - เย็นสะทา้ น ดูใน สะทา้ น ก. รสู้ ึกเย็นเยือกเข้าสหู่ ัวใจ
ทำ� ใหค้ รน่ั ครา้ ม หรอื หวนั่ กลวั จนตวั สนั่ (๔/น. ๑,๑๙๓)
- สมฤดี, สมฤๅดี น. ความรู้สึกตัว,ใช้เป็น สมปฤดี
สมปฤๅดี หรือสมประดี ก็มี (๔/น. ๑,๑๖๙)
- นอนแนน่ ่ิงไมร่ ้สู ึกตวั (๕)
การสงั คายนาองคค์ วามรภู้ มู ปิ ัญญา “กล่าวเสน้ สิบ” ในตำ� ราโรคนทิ านค�ำฉนั ท์ ๑๑ จ�ำนวนทงั้ สิน้ ๑๑๙ โรคและอาการ (ตอ่ ) 96 ชดุ การสงั คายนาภมู ปิ ญั ญาการนวดไทย: ๑
ลำ� ดับ ช่อื เสน้ สบิ บทที่ ค�ำในคำ� ฉันท์ โรค/อาการ ความหมาย
๙๓ เส้น ๑๓๙ บางคาบกลบั เป็นลม อาการหนักข้นึ กลบั เปน็ ลม เมื่ออาการเป็นหนักขึ้นจะกลายเป็นลม ในท่ีน้ีหมายถึง
กาลทารี หัสรงั ษี ลมหสั รังษี
ดใู น สหสั รงั ษี กระทำ� ในวนั ศกุ ร์ เวลามอี าการเพราะลม
อัคนิวาตคุณเข้าแทรก สาเหตุเพราะกินของหวานจัด
และของที่มีมันมาก เมื่อแรกจับนั้นให้แน่น่ิงไปมิรู้สึก
(๒/น. ๑๙๙)
๙๔ เสน้ ๑๔๗ เจบ็ กระบอกจักขุ เจ็บกระบอกตา - ดูใน กระบอกตา น. เบา้ ตา (๔/น. ๔๖)
สหัสรังสี - เจบ็ เบา้ ตา (๕)
๙๕ ๑๔๗ วงิ เวียนบอ่ ลมื แล วงิ เวียนลืนตาไม่ขึน้ - ดูใน วิงเวียน Vertigo (๒/น. ๒๒๔)
- อาการวิงเวียนจนลืมตาไม่ได้ (๕)
๙๖ เส้นทวารี ๑๕๖ เป็นลมไมล่ มื แล เป็นลมลมื ตาไมไ่ ด้ ดูใน วงิ เวียน Vertigo (๒/น. ๒๒๔)
๙๗ ๑๕๖ ใหว้ งิ เวียนพน้ ก�ำลัง วงิ เวียนจนทนไมไ่ ด้ ดใู น วิงเวยี น Vertigo (๒/น. ๒๒๔)
๙๘ ๑๕๗ กระบอกตาใหป้ วดหนกั ปวดกระบอกตามาก - ดใู น กระบอกตา น. เบ้าตา (๔/น. ๔๖)
เล่ห์จกั ษปุ ระทพุ ัง เหมือนตาจะแตก - เจบ็ ปวดเบา้ ตามาก (๕)
การสังคายนาองคค์ วามรู้ภมู ปิ ญั ญา “กล่าวเสน้ สบิ ” ในต�ำราโรคนทิ านคำ� ฉนั ท์ ๑๑ จำ� นวนทั้งส้นิ ๑๑๙ โรคและอาการ (ตอ่ )
ลำ� ดบั ช่ือเสน้ สบิ บทท่ี ค�ำในคำ� ฉันท์ โรค/อาการ ความหมาย
เจ็บตาทัง้ สองขา้ ง (๕)
๙๙ เสน้ ทวารี ๑๕๗ เจบ็ สิน้ ทัง้ สองซ้ายขวา เจ็บตาทงั้ สองขา้ ง เจ็บตาข้างขวาข้างเดยี ว (๕)
(ทัง้ ตาซ้ายและตาขวา) ดใู น ตาพร่า ว. อาการทเ่ี หน็ ไม่ชัดเจน (๔/น. ๔๙๑)
๑๐๐ ๑๕๘ บางทเี ป็นขา้ งเดียว เจ็บตาข้างขวาข้างเดยี ว Dullness,moderate to severe sensory neural hearing
ข้างขวาเจียวสุดปัญญา loss. (๒/น ๒๔๖)
อาการหูออ้ื (๒/น. ๒๐๔)
๑๐๑ ๑๕๘ ตาพร่างมัวไมเ่ หน็ ตาพรา่ งมัวไมเ่ หน็
เส้น ไม่ปรากฏโรค/อาการ ค�ำ อธิบายกล่าวเสน้ สบิ ในตำ�ราโรคนทิ านคำ�ฉนั ท์ ๑๑ 97
จันทภสู งั มแี ต่เหตุแห่งโรค
๑๐๒ เสน้ รุช�ำ ๑๗๒ หูตงึ หตู งึ
๑๐๓ ๑๗๒ ลมออกหู ลมออกหู
การสังคายนาองคค์ วามรภู้ มู ปิ ญั ญา “กลา่ วเสน้ สบิ ” ในต�ำราโรคนิทานคำ� ฉันท์ ๑๑ จ�ำนวนทั้งสน้ิ ๑๑๙ โรคและอาการ (ตอ่ ) 98 ชดุ การสงั คายนาภมู ปิ ญั ญาการนวดไทย: ๑
ลำ� ดบั ช่อื เสน้ สิบ บทท่ี ค�ำในค�ำฉนั ท์ โรค/อาการ ความหมาย
๑๐๔ เสน้ ทวารี ๑๗๓ โสตวิการมกั ตนั ตงึ หูตนั หตู งึ - โสต น. หู ชอ่ งหู (๔/น. ๑,๒๗๓)
- พิการ (วิการ) ความผิดปกติ เพราะเกิดโรคข้ึนใน
๑๐๕ ๑๗๔ ลมเสยี งองึ ลมเสียงองึ ในหู ร่างกาย อันเปน็ ทีแ่ รกเกิดจากสมุฏฐานหน่งึ เชน่ เมื่อ
๑๐๖ ๑๗๕ ไมย่ นิ เสยี ง หไู ม่ยนิ เสียง รา่ งกายผดิ ปกตไิ ปสว่ นใดสว่ นหนงึ่ เรยี กวา่ พกิ าร โดย
๑๐๗ เส้นสิกขิณี ๑๗๙ เสียดสขี ้าง เสียดสีข้าง บอกสมุฏฐาน หรือท่ีแรกเกิดของโรคว่า พิการบอก
สมุฏฐาน (๓/น. ๘๓๕)
- อาการผดิ ปกตขิ องหู ในที่นห้ี มายถงึ อาการหตู งึ (๕)
- ดูใน ลมอง้ึ ในโสต (๒/น. ๒๐๘) ดใู น ลมออกหู
- อาการหอู อ้ื (๒/น. ๒๐๔)
ดูใน หูหนวก น. หูท่ีขาดสมรรถภาพในการได้ยินเสียง,
โดยปรยิ ายหมายความวา่ ฟงั อะไรไมไ่ ดย้ นิ (๔/น. ๑,๓๔๒)
ดูใน เสยี ดชายโครง
Dyspeptic discomfort (๒/น. ๒๔๐)
การสงั คายนาองคค์ วามรภู้ มู ิปญั ญา “กลา่ วเสน้ สบิ ” ในต�ำราโรคนิทานค�ำฉันท์ ๑๑ จ�ำนวนทัง้ สน้ิ ๑๑๙ โรคและอาการ (ตอ่ )
ลำ� ดบั ช่อื เสน้ สบิ บทที่ คำ� ในคำ� ฉนั ท์ โรค/อาการ ความหมาย
๑๐๘ เสน้ สิกขณิ ี ๑๗๙ ขัดเบาบป่ ระจกั ษ์ ขดั เบา ถ่ายปัสสาวะ ดใู น ขดั ปสั สาวะ
ไม่ค่อยออก Dysuria (๒/น. ๒๔)
ไม่เชย่ี วโชนดังแตก่ ่อน ปัสสาวะขุ่น ดใู น ปสั สาวะขาวข้น
๑๐๙ ๑๘๐ ปสั สาวะใหค้ ่นขุน่ Claudy urine (๒/น. ๑๒๔)
รสู้ กึ วา่ ปสั สาวะรอ้ นมากกวา่ ปกติ มกั พบในคนทมี่ อี าการ
๑๑๐ ๑๘๐ เบากลนุ่ แลรมุ่ รอ้ น ปสั สาวะร้อน เปน็ ไข้ (๕)
- ดใู น หวั หนา่ ว น. สว่ นของรา่ งกายอยรู่ ะหวา่ งทอ้ งนอ้ ย
๑๑๑ ๑๘๐ เจบ็ เหนา่ บ่ออยดุ หยอ่ น เจบ็ หวั เหนา่ ค�ำ อธิบายกล่าวเสน้ สบิ ในตำ�ราโรคนทิ านคำ�ฉนั ท์ ๑๑ 99
กับอวัยวะสบื พันธ์,ุ หนา้ เหนา่ ก็เรียก (๑/น. ๔๗๗)
๑๑๒ ๑๘๑ องคะชาตริ า้ ว องคชาตปวดรา้ ว - รสู้ ึกเจบ็ ระหวา่ งทอ้ งน้อยกบั อวยั วะสืบพันธุ์ (๕)
หม่นหมอง ไม่เขม้ แข็ง ดูใน องคชาต น. อวัยวะสืบพันธุ์ของเพศชาย, องค์
กำ� เนิด หรือคยุ หฐาน กเ็ รยี ก (๑/น. ๔๘๒)
การสังคายนาองคค์ วามรู้ภูมิปัญญา “กลา่ วเสน้ สิบ” ในต�ำราโรคนิทานค�ำฉันท์ ๑๑ จ�ำนวนท้งั ส้ิน ๑๑๙ โรคและอาการ (ตอ่ ) 100 ชุดการสังคายนาภมู ปิ ัญญาการนวดไทย: ๑
ลำ� ดับ ชื่อเสน้ สิบ บทท่ี ค�ำในค�ำฉนั ท์ โรค/อาการ ความหมาย
๑๑๓ เส้นสกิ ขณิ ี ๑๘๓ มตู หยดหยัด ปสั สาวะหยด - ดใู น มตู ตงั , มตุ ตงั , มตู ร นำ�้ ปสั สาวะ (๒/น. ๑๖๓-๑๖๔)
กลัน้ ปัสสาวะไมอ่ ยู่ - ดูใน ปัสสาวะหยดย้อย Incontinent urination
๑๑๔ ๑๘๓ เปนหนองใน (๒/น. ๑๒๕)
๑๑๕ ๑๘๕ เจ็บทอ้ งสีขา้ งสุด เป็นโรคหนองใน - ปัสสาวะหยด หมายถึง อาการกล้ันปัสสาวะไว้ไม่อยู่
เจ็บทอ้ ง เจ็บสขี า้ ง และ (๕)
สะเอ็วดุจดงั หักกลาง สะเอว เหมอื นเอวจะหกั น. ชื่อกามโรคชนิดหนง่ึ เกดิ หนองมเี ช้ือในช่องปสั สาวะ
๑๑๖ เส้นสขุ มุ งั ๑๙๐ ตึงทวาน ตึงทวารหนัก (๔/น. ๑,๒๘๓)
รสู้ ึกเจบ็ ทอ้ งและเจบ็ ตัง้ แต่ใตร้ าวนมไปสุดทส่ี ะเอว เจบ็
มากจนร้สู กึ เหมอื นวา่ สขี า้ งน้ันจะหักกลาง (๕)
- ดูใน ตึง ๑ ว. ไม่หยอ่ น เชน่ เชอื กตงึ เส้นตึง
(๔/ น. ๕๐๕)
- ดูใน ทวาร น. ประตู เช่น นายทวาร; ช่อง ในคำ� เช่น
ทวารหนัก ทวารเบา ใช้เป็นค�ำสุภาพ หมายถึง รูข้ี
รเู ยย่ี ว (๔/น. ๕๔๗)
- อาการถา่ ยไมอ่ อก (๕)
การสังคายนาองค์ความร้ภู มู ปิ ญั ญา “กลา่ วเส้นสิบ” ในตำ� ราโรคนทิ านค�ำฉันท์ ๑๑ จำ� นวนทงั้ สน้ิ ๑๑๙ โรคและอาการ (ต่อ)
ลำ� ดับ ชื่อเส้นสบิ บทท่ี คำ� ในค�ำฉนั ท์ โรค/อาการ ความหมาย
๑๑๗ เส้นสุขมุ งั ๑๙๐ ทอ้ งดุจราณกำ� เริบเสง็ ทอ้ งบวมจนมีรอยแตก ท้องไสป้ น่ั ปว่ นท�ำใหก้ ระวนกระวาย (๕)
ท�ำใหก้ ระวนกระวาย
๑๑๘ ๑๙๐ อาหารเคยก็เลยเอง เบือ่ อาหาร อาหารทเี่ คย เบอ่ื อาหาร อาหารทเี่ คยชอบก็เบื่อหน่าย (๕)
ชอบกเ็ บอ่ื หนา่ ย
๑๑๙ ๑๙๐ กินหยอ่ นนอ้ ยมกั คับ กินอาหารไม่ลง แม้กิน ทานอาหารไม่ลง ทานอาหารได้เล็กน้อยก็รู้สึกอ่ิมท้อง
ทอ้ ง น้อยก็คบั ท้อง (๕)
ค�ำ อธิบายกล่าวเสน้ สบิ ในตำ�ราโรคนทิ านคำ�ฉนั ท์ ๑๑ 101
102 ชุดการสังคายนาภูมิปญญาการนวดไทย: ๑
เอกสารอา้ งอิง
(๑) พระยาวชิ ยาธบิ ดี (กล่อม), หมอ่ มเจ้าก�ามสิทธิ์ (บรรณาธิการ). ต�าราโรคนทิ านค�าฉนั ท์
๑๑. กรงุ เทพฯ: บ�ารุงนุกูลกจิ ; ๒๔๕๖. (สา� เนาดจิ ิทัล)
(๒) ยงศักด์ิ ตนั ติปฎิ ก, สา� ลี ใจดี (บรรณาธกิ าร). ต�าราการนวดไทยเล่ม ๑, พิมพค์ รง้ั ที่ ๕.
กรุงเทพฯ: มูลนธิ สิ าธารณสขุ กบั การพัฒนา; ๒๕๕๒.
(๓) ประพจน์ เกตรากาศ (บรรณาธิการ). ต�าราเส้นสิบฉบับอนุรักษ์, กรุงเทพฯ:
มูลนิธสิ าธารณสขุ กบั การพฒั นา; ๒๕๕๔.
แผนนวดควํ่าในจารึกตํารายา
วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร
แผนนวดควํา่ ในจารกึ ตํารายาวดั ราชโอรสารามราชวรวิหาร 105
บทนํา
“จารึกต�ารายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร” เป็นต�าราแพทย์แผนไทยแห่งชาติ
ซง่ึ ไดจ้ ารกึ ไว้ในตา� ราภายใตร้ าชปณธิ านของพระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกลา้ เจา้ อยหู่ วั เมอ่ื ครง้ั
ทรงด�ารงพระยศเป็นกรมหม่ืนเจษฎาบดินทร์ ในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๒๔ พร้อมกับการ
บูรณปฏิสังขรณ์วัดขึ้นใหม่ จารึกดังกล่าวนี้มีเน้ือความเก่ียวกับภูมิปัญญาด้านการแพทย์
แผนไทยโบราณทงั้ องค์ความรู้ดา้ นยาและมจี ารึกแผนนวด เพอื่ แก้อาการตา่ ง ๆ จากข้อมูล
งานวจิ ยั “ศลิ าจารกึ ตา� รายาวดั ราชโอรสารามราชวรวหิ ารทส่ี ญู หาย” กลา่ วไวว้ า่ จารกึ ตา่ ง ๆ
เป็นต�าราท่ีพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงเลือกไว้เพื่อเป็นแหล่งศึกษาวิชา
ความรูแ้ กส่ าธารณชนท่ัวไปโดยจารกึ ไวท้ ผี่ นงั ระเบียงวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แตเ่ ดมิ
ตามการบนั ทกึ มจี ารกึ ทงั้ หมด ๙๒ แผน่ แตจ่ ากการบรู ณปฏสิ งั ขรณว์ ดั ราชโอรสารามราชวรวหิ าร
ในปี พ.ศ. ๒๕๒๕ ไดก้ อ่ ใหเ้ กดิ ความเสียหายตอ่ จารกึ ดังกล่าว จนชา� รดุ สูญหาย ท�าให้ใน
ปัจจุบนั คงเหลอื จารึกเพียง ๕๐ แผน่ อน่ึง จารึกเหลา่ นี้ มคี ณุ ค่าท้งั ในทางประวตั ศิ าสตร์
อกั ษรศาสตร์ และท่ีสา� คญั คอื เปน็ ภูมิปญั ญาความร้ดู า้ นการแพทย์แผนไทย
จารกึ ตา� รายาวดั ราชโอรสารามราชวรวหิ าร ทยี่ งั คงเหลอื มาถงึ ปจั จบุ นั จา� นวน ๕๐ แผน่
ดังกล่าวนั้น จากข้อมูลปฐมภูมิคือศิลาจารึก และจากเอกสารอ้างอิงท่ีได้มีการบันทึกและ
ปริวรรตอักษรไว้ทั้งโดยกรมศิลปากร และโดยกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์
ทางเลือก รวมถึงผลการส�ารวจจากฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย ศูนย์มานุษยวิทยา
สริ ินธร ปัจจบุ นั ไมป่ รากฏหลักฐานแลว้ จา� นวน ๕ แผ่น
สว่ นจารึกต�าราแผนนวดปรากฏอย่เู พยี งแผ่นเดียวจาก ๕๐ แผ่น คอื จารึกแผน่ ที่
๔๕ ซ่ึงเป็นภาพลักษณะแผนนวดคว่�า เป็นองค์ความรู้ด้านการนวดไทยเพ่ือรักษาอาการ
ต่าง ๆ ที่ปรากฏในรูปเดียว การด�าเนินงานสังคายนาภูมิปัญญาด้านการนวดไทย ได้
ด�าเนินการจ�าแนก วิเคราะห์ และสังคายนาภูมิปัญญาแผนนวดคว่�าแผ่นที่ ๔๕ ในจารึก
106 ชุดการสังคายนาภมู ปิ ญั ญาการนวดไทย: ๑
ตำ� รายาวัดราชโอรสารามราชวรวหิ าร จนครบถ้วนเสร็จสมบรู ณ์ ด้วยเหตนุ ี้ กรมการแพทย์
แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ จงึ จดั ทำ� ชดุ การสงั คายนาภมู ปิ ญั ญา
การนวดไทย ๑ เนอ้ื หาหลกั มีรายละเอยี ด ดงั ตอ่ ไปน้ี
ส่วนที่ ๑ การจ�ำแนก วิเคราะห์ ภาพแผนนวดใน “จารึกต�ำรายาวัด
ราชโอรสารามราชวรวิหาร”
๑. ประวตั ิความเป็นมา
๒. คุณคา่ และความส�ำคญั ของ “จารกึ ตำ� รายาวดั ราชโอรสารามราชวรวิหาร”
๓. ลักษณะของจารกึ
๔. การศึกษาวเิ คราะห์จารกึ แผนนวด
สว่ นท่ี ๒ การสงั คายนาภมู ปิ ญั ญาแผนนวดใน “จารกึ ตำ� รายาวดั ราชโอรสาราม-
ราชวรวหิ าร”
๑สว นท่ี
การจําแนก วิเคราะห แผนนวดใน
“จารึกตาํ รายาวัดราชโอรสารามราชวรวหิ าร”
108 ชดุ การสังคายนาภมู ปิ ัญญาการนวดไทย: ๑
๑. ประวัตคิ วามเปน็ มา
วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ปัจจุบันต้ังอยู่ริมคลองสนามไชยฝั่งตะวันตก และ
มคี ลองบางหวา้ สกัดอยู่ด้านเหนือ ตดิ เนื้อทขี่ องวดั ในท้องท่เี ขตจอมทอง กรงุ เทพมหานคร
เลขประจำ� วดั ๒๕๘
๑.๑ ประวตั กิ ารปฏสิ งั ขรณว์ ัดราชโอรสารามราชวรวหิ าร
วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร เปน็ วัดโบราณสร้างมาตงั้ แต่สมัยกรงุ ศรอี ยธุ ยาเปน็
ราชธานี เปน็ พระอารามหลวงชน้ั เอกชนดิ “ราชวรวหิ าร” และเปน็ วดั ประจำ� พระบาทสมเดจ็
พระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๓ แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ มีช่ือเรียกแต่เดิมว่า
วัดจอมทองบ้าง วัดเจ้าทองบ้าง ต่อมาพระเจ้าลูกยาเธอ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์
พระราชโอรส ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า
เจา้ อยูห่ ัว ทรงครองราชย์ พ.ศ. ๒๓๖๗) ทรงปฏิสงั ขรณ์ใหม่ท้งั วดั ตง้ั แต่ พ.ศ. ๒๓๖๔
เม่ือปีพุทธศักราช ๒๓๖๓ ครั้งน้ันพระเจ้าลูกยาเธอ กรมหม่ืนเจษฎาบดินทร์
ทรงคมุ กองทัพออกไปขัดตาทพั พมา่ ท่ีดา่ นพระเจดยี ์สามองค์ เมอื งกาญจนบุรี เม่อื เคลือ่ น
ทัพออกจากกรุงนั้น เสด็จพระราชด�ำเนินประทับแรมที่หน้าวัดจอมทองน้ี และทรงท�ำพิธี
เบิกโขลนทวาร ตามลักษณะพิชัยสงคราม ทรงอธิษฐานให้ประสบความส�ำเร็จกลับมา
โดยสวัสดิภาพ แต่พม่าไม่ได้ยกทัพมาตามท่ีเล่าลือกันและเมื่อพระเจ้าลูกยาเธอกรมหม่ืน
เจษฎาบดินทร์ ทรงเลิกทัพเสด็จกลับพระนครแล้ว จึงโปรดให้ปฏิสังขรณ์วัดจอมทองใหม่
ท้งั วัด โปรดใหส้ รา้ งโบสถว์ ิหาร และเสนาอาสนะตา่ ง ๆ กับใหต้ กแต่งประดบั ลวดลายตาม
แบบอย่างศิลปะท่ีทรงมีพระราชด�ำริข้ึนใหม่เป็นศิลปกรรมพระราชนิยมแบบจีน ซึ่งก�ำลัง
ได้รบั ความนิยมในกลุ่มชนชั้นสูงในยคุ นั้นมาก โดยปรบั ประยกุ ต์ใหเ้ ขา้ กบั ศิลปกรรมรูปแบบ
ประเพณี ที่เห็นได้ชัดคือหนา้ จวั่ ไม่มชี ่อฟา้ ใบระกา หางหงส์ หนา้ บันตกแตง่ ประดับด้วย
กระเบ้ืองเคลือบท�ำเป็นลวดลายกระบวนจีน เจดีย์เปล่ียนรูปเป็นทรงถะ (สถูป) เป็นต้น
การปฏิสังขรณ์นี้พระเจ้าลูกยาเธอ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ ทรงเสด็จประทับคุมงานและ
ตรวจตราด้วยพระองค์เองตลอดมา เมื่อทรงปฏิสังขรณ์เสร็จจึงน้อมเกล้าฯ ถวายเป็น
แผนนวดคว่�ำ ในจารกึ ต�ำ รายาวดั ราชโอรสารามราชวรวหิ าร 109
พระอารามหลวงพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พระบรมราชชนกโปรดเกล้าฯ
พระราชทานนามวา่ “วดั ราชโอรส” อนั หมายถงึ วัดทีพ่ ระราชโอรสทรงสถาปนา
เป็นที่ทราบกันดีว่า พระเจ้าลูกยาเธอพระองค์นี้ทรงโปรดการติดต่อค้าขายกับ
ประเทศจนี เป็นอย่างมาก (กระท่ังสมเดจ็ พระบรมชนกนาถตรสั เรยี กพระองคว์ า่ ‘เจ้าสวั ’)
น่ันอาจมีส่วนให้ทรงโปรดศิลปกรรมจีนเป็นพิเศษ ในการปฏิสังขรณ์วัดราชโอรสารามราช
วรวหิ าร พระองค์จึงทรงมีพระราชด�ำริเปลีย่ นแบบอย่างตามความพอพระราชหทยั โดยน�ำ
ศิลปกรรมจีนมาผสมผสานกับศิลปกรรมไทยได้อย่างประณีตกลมกลืนโดยมีชาวจีนส�ำเพ็ง
มาช่วยสร้างพร้อมทั้งส่ังช่างฝีมือมาจากเมืองจีน งานก่อสร้างในครั้งน้ีใช้เวลายาวนานถึง
๑๔ ปี จงึ แล้วเสร็จ
การปฏสิ งั ขรณว์ ดั ราชโอรสารามราชวรวหิ าร ในครง้ั น้ี ถอื เปน็ การเรมิ่ ตน้ ครงั้ สำ� คญั
ของสถาปัตยกรรมทมี่ ลี ักษณะเฉพาะสมัยรัชกาลท่ี ๓ เพราะเปน็ ครง้ั แรกที่สร้างโบสถ์วิหาร
โดยไม่มชี อ่ ฟ้า ใบระกา หางหงส์ เนอ่ื งจากในยคุ นัน้ นยิ มทำ� ดว้ ยไม้ ทรงเหน็ ว่าเปน็ ของหัก
พงั งา่ ยไม่ถาวร จงึ เลิกใช้ นอกจากน้ียงั มเี สาพาไลโดยรอบเพ่อื รองรบั น�้ำหนักชายคาปีกนก
แทนคันทวยแบบเดิมเป็นการประยุกต์ดัดแปลงท่ีทุกคนต่างเห็นเป็นส่ิงแปลก กระท่ัง
สมเด็จกรมพระยาด�ำรงราชานุภาพทรงมีลายพระหัตถ์ทูลสมเด็จฯ กรมพระยานริศรานุ-
วัดตวิ งษ์ ว่า
“... เป็นวัดแรกท่ีคิดสร้างออกนอกแบบอย่างวัด ซ่ึงสร้างกันเป็นสามัญ
จะเรียกต่อไปในจดหมายนี้ว่า วัดนอกอย่าง พิจารณาดูวัดราชโอรสเห็นได้ว่า
วัดนอกอย่างนั้น ไม่ใช่แต่เอาช่อฟ้าใบระกาออกเท่าน้ัน ถึงส่ิงอื่นเช่นลวดลาย
และรูปภาพเป็นต้น ก็แผลงไปเป็นอย่างอื่นหมดคงไว้แต่สิ่งอันเป็นหลักของวัด
อันจะเปล่ียนแปลงไม่ได้ เช่น โบสถ์ วิหาร เป็นต้น นอกจากทรงสร้างตาม
พระราชหฤทยั ไมเ่ กรงใครจะตเิ ตยี น แตต่ ง้ั พระราชหฤทยั ประจงใหง้ ามอยา่ งแปลก
มิใช่สร้างแตพ่ อเปน็ กริ ิยาบญุ ...”
110 ชุดการสังคายนาภูมิปัญญาการนวดไทย: ๑
วัดราชโอรสารามราชวรวิหารหรือวัดจอมทองเมื่อเสร็จสิ้นการปฏิสังขรณ์นั้นมี
ความงดงามแปลกตาเปน็ ทเี่ ลอ่ื งลอื กระทงั่ มชี าวไทยและชาวตา่ งชาตลิ งเรอื มาชมมไิ ดข้ าด
รวมทั้ง จอห์น ครอเฟิรด์ (John Crawfurd) ราชทูตองั กฤษท่เี ข้ามาเจรญิ สัมพันธไมตรี
ในสมัยรชั กาลที่ ๒ ซง่ึ เขียนบนั ทึกยกยอ่ งวดั แหง่ น้ีไว้วา่ “เปน็ วดั ทส่ี รา้ งขนึ้ ได้อยา่ งงดงาม
ทีส่ ดุ ของบางกอก”
พระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้น ทรงพระราชศรัทธาในพระพุทธศาสนา
เป็นอย่างย่ิง ได้ทรงสร้างและปฏิสังขรณ์พระอารามไว้เป็นจ�ำนวนมาก ในรัชกาลของ
พระองค์น้ันถึงกับกล่าวกันว่า ในรัชกาลที่ ๓ ถ้าใครใจบุญชอบสร้างวัดวาอารามก็เป็น
คนโปรด แต่ก็ไม่มวี ดั ไหนจะสวยงามจนเป็นท่ีเลื่องลอื เสมอดว้ ยวัดราชโอรสแห่งน้ี กระทั่ง
เม่ือนายมีมหาดเล็ก บุตรพระโหราธิบดี แต่งเพลงยาวสรรเสริญพระเกียรติทูลเกล้าฯ
กย็ งั ไดพ้ รรณนาไว้วา่
“วดั ไหนไหนก็ไมล่ อื ระบือยศ
เหมอื นวัดราชโอรสอนั สดใส
เป็นวัดเดิมเริ่มสรา้ งไมอ่ ย่างใคร
ลว้ นอยา่ งใหม่ทรงคดิ ประดษิ ฐ์ท�ำ
ทรงสรา้ งดว้ ยพระมหาวริ ยิ าธึก
โอฬารกึ พร้อมพริง้ ทุกส่ิงขำ�
ล้วนเกล้ยี งเกลาเพราะเพรศิ ดูเลิศล้�ำ
ฟงั ขา่ วคำ� ลอื สดุ อยธุ ยา...”
ภายหลังเม่ือพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคตพระบาทสมเด็จ
พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี ๔ โปรดเกลา้ ฯ ใหอ้ ญั เชิญพระบรมสรรี งั คารมาบรรจุ
ไว้ ณ พระพุทธอาสน์ของพระประธานในพระอุโบสถ และทรงเติมสร้อยนามวัดเป็น
“วัดราชโอรสาราม” หลงั จากน้ันจึงถอื กนั ว่าเปน็ พระอารามหลวงประจ�ำรัชกาลที่ ๓
แผนนวดคว่ำ�ในจารกึ ตำ�รายาวัดราชโอรสารามราชวรวหิ าร 111
๑.๒ ประวตั ิการสร้าง “จารึกตำ�รายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร”
การสร้าง “จารึกต�ำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร” โดยราชปณิธานเพ่ือให้
ประชาชนท่วั ไปได้เรยี นตำ� รายา สบื สานต�ำราการแพทย์แผนไทยให้คงอยสู่ ืบไป
พระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว นอกจากจะทรงน�ำแบบอย่างศิลปกรรม
แบบใหมเ่ ขา้ มาสร้างวดั แล้ว ยงั ทรงริเรม่ิ เปลี่ยนแปลงระบบการเรียนการสอนจากแบบเดิม
ซึ่งครูเป็นผู้สอนวิชาความรู้แก่ศิษย์ ซ่ึงโดยมากเป็นพระสงฆ์และใช้วัดเป็นเสมือนโรงเรียน
ทรงเปลยี่ นระบบใหม่ให้ “ผเู้ รียนเป็นศนู ย์กลาง” กำ� หนดวัตถุประสงค์เพอ่ื การศกึ ษาให้แก่
ตนเองโดยไมจ่ ำ� กัดเพศ และวัย โดยเม่อื ปี พ.ศ. ๒๓๖๔ โดยประมาณ ทรงโปรดเกลา้ ฯ
ให้จารึกต�ำรายาลงบนแผ่นหินอ่อนสีเทา รูปส่ีเหลี่ยมจัตุรัส ขนาดกว้างยาวด้านละ
๓๓ เซนติเมตร จัดเรียงบรรทัดทางมุมแหลม จ�ำนวน ๑๗ บรรทัด เหมือนกันทุกแผ่น
ตดิ ประดบั อยตู่ ามผนงั ด้านนอกของระเบยี งพระวิหารพระพทุ ธไสยาสน์ และผนังศาลาราย
หน้าพระอุโบสถ ปัจจุบันเหลืออยู่ทั้งสิ้น ๕๐ แผ่น จากเดิมซึ่งเชื่อว่าน่าจะมีอยู่ท้ังสิ้น
๙๒ แผ่น
องคค์ วามรู้ในตำ� รายาวดั ราชโอรสารามราชวรวหิ าร อา้ งถงึ ในงานวจิ ยั “ศลิ าจารกึ
ตำ� รายาวดั ราชโอรสารามราชวรวหิ ารทส่ี ญู หาย” โดยเชอ่ื วา่ ไดร้ บั จากตำ� รบั ตำ� ราซงึ่ รวบรวม
จากทว่ั ประเทศ และผ่านการตรวจสอบจากหมอหลวง และผรู้ ู้ในราชส�ำนกั มาแลว้ ต้ังแต่
คราวท่พี ระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลศิ หล้านภาลัย รชั กาลที่ ๒ ทรงมีพระบรมราชโองการไป
ทั่วแผน่ ดินดงั นี้
“๏ศุภมัสดุ จุลศักราช ๑๑๗๔ มกฏะสังวัจฉรมฤคศิรมาศ กาฬปักษ์
เตรสมีดฤถีศรุวาร บริเฉทกาลก�ำหนด พระบาทสมเด็จบรมธรรมฤกราชาธิบดี
ศรวิ สิ ทุ ธวิ งษ์ องควรามหาพทุ ธางกรู ราช บรามนารถ บรมบพติ รพระพทุ ธเจา้ อยหู่ วั
ผู้ทรงทศพิธราชธรรม ประกอบด้วยพระกรุณาคุณอันประเสริฐ ได้
มหาปราบดาภเิ ษกผา่ นพภิ พกรงุ เทพทวารวดศี รอี ยธุ ยามหาดลิ กภพ นพรตั นราชธานี
บุรีรมย์ เสด็จออก ณ พระที่น่ังบุษบกมาลามหาจักรพรรดิพิมาน โดยสถาน
อุตราภิมุข พร้อมด้วยเสวกากรบวรราชกระวีมนตรีมุขมาตยานุชิต อุทิตยชาติ
112 ชุดการสงั คายนาภูมปิ ญั ญาการนวดไทย: ๑
ราชสุริยวงษ์พงษ์พฤฒาโหราจารย์พร้อมเฝ้าเบื้องบาทบงกชมาศโดยอันดับ
ถานาศักดิ์ จงึ ทรงพระราชด�ำริหว์ ่า ทุกวนั นีค้ ัมภีรแ์ พทย์ณโรงพระโอสถเสอ่ื มสูญ
ไป มิได้เปนเรื่องต้นเรื่องปลาย อนึ่งเล่าแพทย์ผู้เถ้าที่ช�ำนิช�ำนาญในลักษณโรค
แลสรรพคุณแห่งยานั้นก็มีอยู่น้อย ภายหลังยากที่กุลบุตรจักเล่าเรียนให้ชัดเจนได้
แล้วทรงพระมหากรุณาจะให้เปนหิตานุหิตประโยชน์แก่สมณชีพราหมณ์ อาณา
ประชาราชฎร์ในขอบขณั ฑสมี าสืบตอ่ ไป จึงมีพระบรมราชโองการมาณพระบณั ฑูร
สุรสีหนาท ดำ� รัสสงั่ พระพงษ์อำ� มรนิ ทรราชนิกูล ใหส้ ืบเสาะหาตำ� รายาลกั ษณโรค
ท้ังปวงในข้าทูลละอองธุลีพระบาท แลราษฎร พระราชคณะอารามก็ได้ ส่งมา
ทลู เกลา้ ฯ ถวายหลายฉบับ มีวิธีตา่ ง ๆ กนั ”
สมเดจ็ กรมพระยาดำ� รงราชานภุ าพ ไดอ้ ธบิ ายเรอื่ งน้ีไว้ในหนงั สอื “ตำ� ราพระโอสถ
ครั้งรชั กาลท่ี ๒” ความตอนหน่งึ ว่า
“…เร่ืองต�ำรายาในโรงพระโอสถซึ่งพิมพ์ไว้ในข้างตอนต้น มีต�ำนาน
ปรากฏมาว่าเมือ่ ในรัชกาลที่ ๒ ปีวอก จัตวาศก จลุ ศักราช ๑๑๗๔ พ.ศ. ๒๓๕๕
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาไลย ทรงพระราชปรารภว่าต�ำรายาในโรง
พระโอสถยงั บกพรอ่ งนัก จึงโปรดให้พระพงศนรินทร ราชนกิ ูล ซึ่งเปนโอรถของ
เจ้ากรุงธนบุรี เวลานั้นรับราชการเปนใหญ่อยู่ในกรมหมอ เปนผู้รับกระแสรับสั่ง
สืบถามตามพระราชาคณะแลข้าราชการตลอดจนราษฎร ผู้ใดมีต�ำรายาดี ขอให้
จดสรรพคุณยาน้ันๆ มาถวาย เพ่ือจะได้ตรวจสอบเปนต�ำราไว้ในโรงพระโอสถ
คร้ังนั้นมีผู้จดต�ำราซึ่งเคยใช้ เคยเห็นคุณ ถวายตามพระราชประสงค์มาก
กรมหมอหลวงคงจะไดส้ อบสวนเลอื กแตท่ เี่ ชอื่ วา่ ดจี รงิ จดลงไว้ ในตำ� ราหลวงสำ� หรบั
โรงพระโอสถ...”
แผนนวดคว�่ำ ในจารกึ ต�ำ รายาวัดราชโอรสารามราชวรวหิ าร 113
เช่ือว่าการท่พี ระเจ้าลกู ยาเธอ กรมหมน่ื เจษฎาบดนิ ทร์ ทรงเลอื กตำ� รายาบางส่วน
จากคร้ังน้ันมาจารึกบนหินอ่อนและประดับไว้ท่ีวัดราชโอรส อันเป็นที่สาธารณะเพื่อเป็น
วทิ ยาทานแกร่ าษฎรทว่ั ไปนน้ั ไดม้ กี ารวเิ คราะหถ์ งึ เหตผุ ลแหง่ พระราชวนิ จิ ฉยั เอาไว้ในหนงั สอื
“จารึกตำ� รายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร” ฉบบั กรมศลิ ปากร ๒ ประการ
ประการแรก พระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว น่าจะได้ทรงเล็งเห็นความ
ยุ่งยากในการศึกษาวิชาแพทย์แผนไทยโบราณ ซ่ึงนอกจากผู้เรียนจะมีจ�ำนวนน้อยแล้ว
วิธีการเรียนโดยวิธีปากต่อปากจากครูยังใช้เวลานานมากกว่าจะได้วิชาจนเกิดความช�ำนาญ
แต่อาจจ�ำความรู้ไม่ได้ท้ังหมดหรือคลาดเคล่ือนสูญหาย ท�ำให้วิชาการไม่แพร่หลายแพทย์
ผชู้ ำ� นาญหายาก ไม่พอกบั ความตอ้ งการของบ้านเมืองในขณะน้ัน และหากต�ำราทจี่ ดจำ� ไว้
คลาดเคลือ่ นกจ็ ะท�ำให้เป็นอนั ตรายต่อวชิ าการแพทยแ์ ผนไทยด้วย
ประการที่สอง เร่ืองเก่ียวกับสุขภาพร่างกายเป็นสิ่งที่ทุกคนควรต้องรู้เพราะเป็น
เรื่องใกล้ตวั หากเกิดโรคภยั ไขเ้ จบ็ ข้ึนจะได้รจู้ กั การวนิ จิ ฉัยและดูแลรักษาและผลทางอ้อมท่ี
ได้คือประชาชนจะได้มีสุขภาพแข็งแรงเป็นก�ำลังของบ้านเมือง และอีกประการหนึ่งน่าจะ
เป็นวธิ ีการเพิ่มจ�ำนวนประชากรดว้ ย
ตอ่ มาหลงั จากการจารกึ ทว่ี ดั ราชโอรสารามราชวรวหิ าร ๑๐ ปี เมอื่ พระบาทสมเดจ็
พระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จข้ึนครองราชย์ ได้ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ปฏิสังขรณ์วัด
พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลารามเปน็ การใหญ่ และจารกึ องคค์ วามรวู้ ชิ าตา่ ง ๆ ลงบนศลิ ามากมาย
หลายสาขาเปน็ การสมบูรณ์ทกุ แขนงวชิ า ส่วนต�ำรายาทว่ี ัดพระเชตุพนฯ นั้นมคี วามสมบรู ณ์
ครอบคลุมการรักษาความเจ็บป่วยต่าง ๆ แทบทุกโรค ท้ังน้ีคงจะต่อยอดมาจากการ
ปฏิสังขรณ์และจารึกต�ำรายาบางส่วนไว้ทั่ววัดราชโอรสารามราชวรวิหาร โดยการน�ำเอา
ต�ำรายาท่ีสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยได้ทรงรวบรวมไว้ทั้งหมดมาจารึกจนสมบูรณ์
น่ันเอง
114 ชุดการสังคายนาภมู ิปญั ญาการนวดไทย: ๑
๒. คุณคา่ และความสำ�คญั ของ
“จารึกต�ำ รายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร”
จารกึ ตำ� รายาวดั ราชโอรสารามราชวรวหิ าร มีคุณคา่ ทั้งด้านจารึก เวชศาสตร์ และ
อักษรศาสตร์ เป็นหลักฐานหนึ่งที่แสดงถึงพระปรีชาญาณอันสูงส่งของพระบาทสมเด็จ
พระนั่งเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ท่ีทรงมสี ายพระเนตรอนั กว้างไกล ทรงเหน็ คณุ คา่ และความสำ� คัญ
ในการรวบรวมหลักฐานความรู้เร่ืองต�ำรายาไทย กับทรงโปรดเกล้าฯ ให้บันทึกข้ึนไว้เป็น
คร้ังแรก ด้วยน้�ำพระทัยที่ทรงห่วงใยว่าวิชาการด้านการแพทย์นี้จะคลาดเคลื่อน สูญหาย
เพราะนอกจากจะใช้เอ้ือประโยชน์ เกื้อกูลต่อชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนทั่วไปแล้ว
ยังเป็นการรวบรวมความรู้เร่ืองเวชกรรมและเภสัชกรรมของไทยไว้ให้คงอยู่กับบ้านเมือง
เป็นสมบัติส่วนรวมของแผ่นดิน นอกจากน้ียังเป็นมรดกท่ีแสดงภูมิปัญญาด้านการแพทย์
แผนไทยในช่วงต้นกรงุ รัตนโกสนิ ทรด์ ้วย
ในด้านการแพทย์ ส่ิงที่ท�ำให้จารึกวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ทวีความส�ำคัญ
มากข้ึน คือเปน็ จารกึ แรกที่รวบรวมไว้ซ่งึ ต�ำรายาลกั ษณะตา่ ง ๆ เน้ือหาครอบคลุมตลอดถึง
ก�ำเนิดของโรค อาการ เครื่องยาท่ีใช้ในการปรุงยา การปรุงและประกอบยา ตลอดจน
การรกั ษาและวธิ ีใชย้ า โดยสามารถจำ� แนกจ�ำนวนโรคและวิธกี ารรักษาไดม้ ากกว่า ๒๓ ชนิด
นอกจากนี้ยังประกอบด้วยศัพท์ดั้งเดิมทางการแพทย์แผนโบราณ ซึ่งแต่เดิมน้ันใช้วิธีการ
ศกึ ษาเรอ่ื งเหลา่ นจี้ ะใชว้ ธิ กี ารถา่ ยทอดโดยตรงจากครสู ศู่ ษิ ย์ ดว้ ยการตอ่ จากปากครแู ลว้ นำ�
มาทอ่ งใหข้ น้ึ ใจ การรวบรวมตำ� รายาจากทกุ สารทศิ มาเผยแพรส่ ปู่ ระชาชนในวงกวา้ งจงึ เปน็
มติ ิใหม่ของการศกึ ษาแพทย์แผนไทย
ในทางภาษาศาสตร์ ความส�ำคัญอีกประการหนึ่งของจารึกคือ รูปอักษรในจารึก
วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร มีลักษณะเฉพาะที่เป็นแบบฉบับของอักษรไทยสมัย
รัตนโกสินทร์ ระหว่างปลายพุทธศตวรรษ ๒๔ คือสะท้อนวิถีการเขียนและแบบอักษรใน
ช่วงต้นกรุงรัตนโกสนิ ทร์ รปู แบบวิธีการจารึกมคี วามเฉพาะตวั และมคี ุณค่าทางวรรณศิลป์
ยง่ิ ไปกวา่ นนั้ การทกี่ รมหมนื่ เจษฎาบดนิ ทร์ ไดจ้ ารกึ ตำ� รายาเอาไวท้ วี่ ดั ราชโอรสาราม-
ราชวรวิหารอันเป็นพ้ืนท่ีสาธารณะน้ัน เป็นการสะท้อนถึงความพยายามในการเผยแพร่
องคค์ วามรู้ในชวี ติ ประจำ� วนั ของพระองค์ การประดบั ตำ� ราวชิ าการไว้ในทส่ี าธารณะดงั กลา่ ว
แผนนวดคว�ำ่ ในจารึกตำ�รายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร 115
เปน็ จดุ เรม่ิ ตน้ ของการใหป้ ระชาชนไดม้ โี อกาสทางการศกึ ษา นำ� ไปใชป้ ระโยชนท์ ง้ั ตอ่ ตนเอง
และครอบครัวได้ตามประสงค์อย่างกว้างขวางทั่วถึงทุกเวลา ซ่ึงพระองค์น่าจะทรงเห็นว่า
การสรา้ งตำ� ราวชิ าการไว้ในที่สาธารณะเชน่ น้ีเป็นสิ่งทม่ี คี ุณประโยชนอ์ ยา่ งมหาศาล ต่อมา
อีกประมาณ ๑๐ ปีเม่ือได้เสวยราชย์แล้วโปรดให้สร้างจารึกตำ� ราวิชาการเพ่ิมขึ้นทุกแขนง
วิชา ประดิษฐานไว้ท่ีวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร ลักษณะเหมือนเป็น
“มหาวิทยาลยั เปดิ ” แหง่ แรกของประเทศไทย
๓. ลักษณะของจารึก
๓.๑ ลกั ษณะทางกายภาพของ “จารึกตำ�รายาวดั ราชโอรสารามราชวรวหิ าร”
จารึกต�ำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร เป็นจารึกอักษรไทยสมัยกรุงธนบุรี-
รัตนโกสนิ ทร์ ทจ่ี ารอยบู่ นแผน่ หินออ่ นสเี ทา รูปสี่เหลยี่ มจตั รุ สั ขนาดกว้างยาวด้านละ ๓๓
เซนติเมตร จดั เรยี งบรรทดั ทางมมุ แหลม จำ� นวน ๑๗ บรรทัด เหมือนกันทกุ แผน่ มจี �ำนวน
ท้ังสิ้น ๕๐ แผ่น แต่ละแผ่นมีอักษรจารึกด้านเดียว ติดประดับอยู่ตามผนังด้านนอกของ
ระเบยี งพระวิหารพระพทุ ธไสยาสน์ จำ� นวน ๔๒ แผน่ และผนงั ศาลารายหนา้ พระอโุ บสถ
๒ ศาลา ศาลาละ ๔ แผน่ ในหนงั สอื จารกึ ตำ� รายาวดั ราชโอรสารามราชวรวหิ าร (ฉบบั พมิ พ์
๒๕๔๑) ระบุไว้ว่า ก่อนการบูรณะพระวิหารพระพุทธไสยาสน์ในปี พ.ศ. ๒๕๒๕ จารึก
ตำ� รายาฯ นมี้ ที ง้ั หมด ๙๒ แผน่ แตค่ งจะชำ� รดุ เสยี หายไป เมอ่ื มกี ารบรู ณะขนึ้ ใหม่ พบวา่
ปจั จบุ ันเหลือเพียง ๕๐ แผน่ และในคราวท่บี รู ณะนนั้ จารกึ อาจจะพลดั หลงเคลือ่ นยา้ ยไป
จากต�ำแหน่งท่ีเคยติดอยู่เดิม เมื่อติดขึ้นใหม่จึงมีการสลับท่ี ไม่ได้เรียงตามล�ำดับเน้ือหา
หรือกลุ่มของโรคตามท่ีควรจะเป็นแต่เน่ืองจากจารึกแต่ละแผ่นมีเน้ือหาสาระของเรื่องจบ
ความในตวั เอง ดงั นั้น ถงึ แมจ้ ะไม่เรยี งลำ� ดบั ก็ยังคงใช้ได้ใจความสมบรู ณท์ ุกแผน่
ในปัจจุบัน จารึกยงั มีสภาพสมบูรณ์ สวยงาม เนอื่ งจากจารึกไดผ้ นึกอยู่ในชยั ภูมทิ ี่
เหมาะสม มีหลังคาป้องเป็นอย่างดี ไม่โดนแดดและลมซึ่งจะเป็นตัวท�ำลายเน้ือศิลาจารึก
ได้ ถึงแม้เส้นอักษรบนจารึกอาจเลือนรางไปตามกาลเวลา แต่เนื่องจากการบูรณะ
พระวิหารฯ ในครั้งก่อน จารึกอาจจะพลัดหลงเคลื่อนย้ายไปจากต�ำแหน่งท่ีเคยติดอยู่เดิม
116 ชดุ การสังคายนาภมู ปิ ัญญาการนวดไทย: ๑
เม่ือติดข้ึนใหม่จงึ มีการสลับที่ ไม่ได้เรยี งตามลำ� ดบั เนื้อหา ดังนนั้ การปริวรรตเสน้ อักษรเพื่อ
การบนั ทกึ จารกึ ในการตพี มิ พเ์ ผยแพรแ่ ตล่ ะครงั้ จงึ มกี ารบนั ทกึ ตามลำ� ดบั สถานทต่ี ง้ั เปน็ หลกั
โดยคณะท�ำงานพัฒนาฐานขอ้ มลู จารกึ ในประเทศไทย ศนู ยม์ านุษยวทิ ยาสริ ินธร ได้ท�ำการ
ส�ำรวจคร้ังล่าสุดเม่ือปี พ.ศ. ๒๕๕๖ โดยเทียบกับข้อมูลจากหนังสือจารึกต�ำรายาวัด
ราชโอรสารามราชวรวิหาร (ฉบบั พิมพ์ ๒๕๔๑) กรมศิลปากร ท่ีได้จัดเรียงลำ� ดบั ตามแผน่
จารึกท่ีติดประดับอยู่บนผนัง โดยเร่ิมต้นจากศาลารายหน้าพระอุโบสถด้านซ้ายไปขวา
นับเป็นจารึกแผ่นท่ี ๑ ถึงแผ่นท่ี ๘ ต่อไปเร่ิมแผ่นที่ ๙ ที่ระเบียงมุมซ้าย ด้านหน้า
พระวหิ ารพระพุทธไสยาสน์ เรียงไปทางขวา วนรอบพระวิหาร ถงึ แผน่ ที่ ๕๐ พบว่าจารึก
ไดม้ ีการสลบั ที่ไปจากเดมิ ท่กี รมศิลปากรไดบ้ นั ทึกไว้เล็กน้อย ดงั ภาพ
แผนผงั แสดงตำแหนง ท่จี ารกึ ตดิ อยกู ับผนัง
๑๒๓๔ ๕๖๗๘
ศาลารายหนาพระอโุ บสถ ศาลารายหนา พระอุโบสถ
๙ ๑๐ ๑๑ ๑๓ ๑๒ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๓ ๒๔
๕๐ ๒๕
๔๙ ๒๖
๔๘ ๒๗
๔๗ ๒๙
๔๖ ๒๘
๔๕ ๓๐
พระวหิ ารพระพุทธไสยาสน
๔๔ ๓๑
๔๓ ๓๒
๔๒ ๓๓
๔๑ ๓๔
๔๐ ๓๕
๓๙ ๓๘ ๓๗ ๓๖
ศูนย์มานษุ ยวิทยาสิริธร (องคก์ ารมหาชน).
ท่ีมา: http://www.sac.or.th/th/
แผนนวดคว�ำ่ ในจารกึ ต�ำ รายาวดั ราชโอรสารามราชวรวิหาร 117
ในภาพข้างต้นเป็นภาพผังจารึกจากหนังสือ จารึกต�ำรายาวัดราชโอรสาราม
ราชวรวิหาร (พ.ศ. ๒๕๔๕) ซง่ึ ถือวา่ เปน็ ข้อมูลล่าสุด เทา่ ทพ่ี บในตอนน้ี เม่อื คณะทำ� งาน
พัฒนาฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธรท�ำการส�ำรวจในวันที่ ๑๖
มนี าคม ๒๕๕๖ พบวา่ ต�ำแหนง่ จารึกยงั มกี ารสลับทีก่ ันอยู่ภาพถัดไปแสดงตำ� แหนง่ ปัจจบุ ัน
ที่ไดจ้ ากการสำ� รวจ (ตัวเลข ตวั หนาท่ีขดี เส้นใต้ - ผูเ้ รียบเรียง, ศูนย์มานุษยวทิ ยาสิรนิ ธร)
ตำแหนงจารึกทต่ี ิดผนงั ในปจจบุ ัน
(สำรวจเม่อื ๑๖ มนี าคม ๒๕๕๖)
๕๒๗๔ ๑๖๓๘
ศาลารายหนาพระอโุ บสถ ศาลารายหนา พระอโุ บสถ
๙ ๑๐ ๑๑ ๑๓ ๑๒ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๓ ๒๔
๕๐ ๒๕
๔๙ ๒๖
๔๘ ๒๗
๔๗ ๒๙
๔๖ ๒๘
๔๕ ๓๐
พระวหิ ารพระพุทธไสยาสน
๔๔ ๓๑
๔๓ ๓๒
๔๒ ๓๓
๔๑ ๓๔
๔๐ ๓๕
๓๙ ๓๘ ๓๗ ๓๖
ศนู ย์มานษุ ยวิทยาสิริธร (องค์การมหาชน).
ที่มา: http://www.sac.or.th/th/
118 ชดุ การสงั คายนาภมู ิปญั ญาการนวดไทย: ๑
๓.๒ ลักษณะทางเนอ้ื หา
เนือ้ หาของจารกึ ต�ำรายาวดั ราชโอรสารามราชวรวิหาร ประกอบดว้ ย กำ� เนิดของ
โรค อาการ เครอื่ งยาที่ใช้ในการปรงุ ยา การปรุงและประกอบยา ตลอดจนการรักษาและ
วิธีใช้ยา รวมทง้ั แผนปลิงหงายและคว่ำ� และแผนนวดคว�่ำ เปน็ ต้น จารกึ เนอื้ ความแผน่ ละ
๑๗ บรรทัด ยกเว้น ๓ แผ่นท่ีเป็นแผนปลิงและแผนนวด มักมีจ�ำนวนบรรทัดน้อยกว่า
เพราะวาดโครงร่างมนุษย์ก่อน แล้วกำ� หนดจุดส�ำคัญแต่ละจุด ทั้งซีกซ้ายและซีกขวาของ
ร่างกายส�ำหรับรักษาโรค โดยลากเส้นโยงจากจุดเหล่าน้ันออกมาบันทึกคำ� อธิบายวิธีรักษา
ในบริเวณทีว่ า่ งด้านซา้ ยและขวาตามลำ� ดบั บรรทดั
เนื้อหาในจารึกส่วนใหญ่ เร่ิมต้นข้อความด้วยค�ำว่า สิทธิการิยะ ซ่ึงเป็นค�ำมงคล
ใช้เริ่มต้นเม่ือจะท�ำการสิ่งใดส่ิงหน่ึงให้สำ� เร็จ มีความหมายว่า “ขอความส�ำเร็จในกิจท่ีพึง
กระทำ� จงมี” (สิทฺธิ หมายถงึ ความสำ� เรจ็ , การิยะ หมายถงึ กจิ ทพ่ี งึ ท�ำ จาก พจนานกุ รม
มคธ-ไทย/ป. หลวงสมบุญ) ซึ่งในจารึกเหล่าน้ีอาจหมายถึง ขอความส�ำเร็จจงบังเกิดแก่
ผู้ศึกษาต�ำรายา หรือผู้ใช้ยาน้ัน ข้อความต่อไปกล่าวถึงเนื้อเร่ือง ประกอบด้วยช่ือโรค
ช่อื ยา เคร่ืองยา วิธปี รงุ ยา และวิธีใชย้ า เปน็ ต้น และหากมยี าหลายขนานทจี่ ะใช้รักษา
โรคนนั้ ไดก้ จ็ ะบอกเครอ่ื งยาและขนานไว้ พรอ้ มทงั้ กำ� หนดอตั ราสว่ นของเครอ่ื งยา หรอื พกิ ดั
ส่วนเคร่ืองยาก�ำกับไว้ทุกขนาน โดยใช้รูปเคร่ืองหมายมาตราแบบเก่าบอกขนาด ปริมาณ
หรือน้�ำหนกั ของตวั ยาท่ีน�ำมาใช้ ดงั จะกล่าวตอ่ ไป
๓.๓ ลกั ษณะอกั ขรวธิ แี ละเคร่อื งหมายโบราณในจารกึ วัดราชโอรสารามราชวรวหิ าร
ในเชิงอักษรศาสตร์ รูปอักษรในจารึกวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร มีลักษณะ
เฉพาะทเ่ี ป็นแบบฉบับของอักษรไทยสมยั รัตนโกสินทร์ ระหวา่ งปลายพทุ ธศตวรรษ ๒๔ คือ
ลักษณะเป็นรูปแบบอักษรที่อยู่ในช่วงระยะของการเปล่ียนแปลง จากรูปแบบอักษรซึ่งเคย
ใช้อยู่ในระหว่างต้นพุทธศตวรรษท่ี ๒๔ อันเป็นเวลาร่วมปลายสมัยอยุธยา ธนบุรี และ
ต้นรตั นโกสนิ ทร์ ลกั ษณะของรูปอักษรนิยมเขยี นเสน้ ให้เอยี งไปทางขวา ประมาณ ๗๐-๘๐
องศา และเม่ือเข้าสู่ช่วงกลางพุทธศตวรรษ ๒๔ รูปอักษรเปล่ียนไปนิยมลากปลายเส้น
อักษรให้ยาวเลยข้ึนไปมากกว่าที่เคยลากให้ยาวเลยหัวอักษรข้ึนไป กลับส้ันลงเสมอเส้น
แผนนวดควำ�่ ในจารกึ ต�ำ รายาวดั ราชโอรสารามราชวรวิหาร 119
หัวอักษร และเร่ิมเขียนรูปอักษรต้ังตรงมากขึ้น ลักษณะรูปอักษรเช่นน้ี เป็นแบบท่ีใช้อยู่
ในจารึกวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ซึ่งมีลักษณะเชิงวรรณกรรมที่มีความไพเราะตาม
แบบฉบับของวรรณศิลป์ ท้ัง ๆ ท่ีเป็นร้อยแก้วก็ยังแทรกคำ� ที่มีสัมผัสเหมือนกับร้อยกรอง
นอกจากน้ียังใช้ค�ำศัพท์เฉพาะทางการแพทย์แผนโบราณ ซ่ึงแตกต่างจากศัพท์แพทย์แผน
ปจั จบุ นั ศพั ทเ์ หลา่ นนี้ อกจากจะเปน็ คำ� ทม่ี คี วามหมายชดั เจนในตวั เองตามแบบฉบบั ของภาษาไทย
แล้ว บางค�ำยังซอ่ นความหมายอื่น ซงึ่ เป็นทร่ี จู้ กั เฉพาะกล่มุ หมอไทยแตโ่ บราณไวด้ ว้ ย
นอกจากนย้ี งั มอี กั ขรวธิ พี เิ ศษ ซง่ึ เปน็ ผลสบื เนอื่ งมาจากการทผ่ี บู้ นั ทกึ ใชว้ ธิ กี ารบนั ทกึ
ตามลักษณะนิยมของตน เน้นการเขียนตามเสียงพูด เพ่ือให้สามารถอ่านออกเสียง และ
เข้าใจความหมายได้โดยไม่ให้ความส�ำคัญกับวิธีการเขียน เน่ืองจากไม่มีพจนานุกรมเป็น
หลกั เกณฑ์ในการสะกดคำ� ดังนั้นการผสมคำ� ตา่ ง ๆ ในจารึกจงึ เป็นไปอยา่ งอสิ ระ มีรปู แบบ
แตกตา่ งกนั ตามแตล่ ะสำ� นกั ทเ่ี รยี นแตล่ ะแหง่ นยิ ม ทำ� ใหเ้ กดิ ผลกระทบตอ่ การใชร้ ปู พยญั ชนะ
รปู สระส�ำหรบั สะกดค�ำได้หลากหลายรูปแบบ แมจ้ ะมีความหมายเชน่ เดยี วกันกต็ าม
เครื่องหมายทีป่ รากฏในจารกึ
(๑) เครอ่ื งหมาย “๏” เรยี กว่า ฟองมัน หรอื ตาไก่ ใช้ในการขึน้ ต้นเร่อื ง ขน้ึ ตน้
ช่ือโรค หรอื ช่อื ยา จะพบเป็นตัวแรกของจารึกทกุ แผ่นในที่นี้
(๒) เคร่อื งหมาย “ฯ” หรอื ฯ| เรียกวา่ ไปยาล บางครั้งจะใช้คล้าย ๆ ฟองมัน
คือขน้ึ ตน้ ขอ้ ความ แต่สว่ นใหญจ่ ะใช้เปน็ เคร่อื งหมายจบข้อความ ซ่งึ พบมากกว่า
(๓) เคร่ืองหมาย “ะ” เรียกว่า เครื่องหมายละสุด จะเขียนไว้ท่ีสุดบรรทัดด้าน
ขวา เฉพาะบรรทัดทีม่ ขี ้อความไม่เต็มบรรทัด เครอ่ื งหมายน้จี ะใชเ้ พอื่ จัดระดบั หรือรกั ษา
กรอบหนา้ จารึกใหต้ ำ� แหน่งของตวั อกั ษรตรงเปน็ แนวเดียวกนั เพ่ือความสวยงาม
(๔) เครือ่ งหมาย “+” คือ กากบาท ใช้เพอื่ บอกตัวอกั ษรทีเ่ ขยี นตก โดยกากบาท
น้ีจะอยู่ข้างบนตัวอักษรท่ีเขียนตกนนั้
(๕) เครื่องหมาย “/” ใช้เพื่อขีดฆ่า หรือบ่งบอกว่าเลิกใช้ตัวอักษรที่เขียนผิด
โดยขีดทับตัวอักษรทีผ่ ิดดงั กลา่ ว
120 ชุดการสงั คายนาภมู ิปัญญาการนวดไทย: ๑
(๖) เคร่ืองหมาย เรียกว่า ควง ใช้เป็นเคร่ืองหมายบอกความต่อเน่ือง
โดยเขยี นไวข้ ้างล่างหรือต่อจากคำ� เหลา่ น้นั
(๗) เคร่ืองหมาย “๛” เรียกว่า โคมูตร ใช้เป็นเคร่ืองหมายจบข้อความ
บางครงั้ อาจเขยี นในรปู ทแ่ี ตกตา่ งกนั ออกไป โดยมากมกั จะเขยี นตอ่ จากเครอื่ งหมายไปยาล
(๘) เคร่ืองหมาย “ ” หรอื ตนี ครุ ใช้เพื่อบอกมาตราน้ำ� หนกั ยาเปน็ หนว่ ย
ชง่ั ตวง วดั ดังภาพ
๓.๔ การจำ�แนกโรคและอาการ
คณะท�ำงานพัฒนาฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธรได้จัด
จ�ำแนกหมวดหมู่จารึกตามเน้ือหาโดยพิจารณาจากข้อความในจารึกทั้ง ๕๐ แผ่น ท่ียังคง
เหลอื อยู่ เพอ่ื ให้เหน็ ชดั เจนขน้ึ วา่ ในบรรดาจารึกทงั้ หมดน้ีใหข้ อ้ มูลเกย่ี วกับโรคและต�ำรับยา
ชนิดใดบ้าง ดังต่อไปน้ี
(๑) จารึกทว่ี า่ ดว้ ยโรคลม หรอื โรคทีเ่ กิดจากลมข้นึ ผดิ ปกติ ไดแ้ ก่
- จารึกแผ่นที่ ๑ กล่าวถึงกำ� เนิดและตำ� รับยารักษาโรคอันเกิดจากลมข้ึนผิดปกติ
ไดแ้ ก่ จตุบาทวาโย อคั วารันตะ ภุมรา และสรรพวาโย
- จารกึ แผน่ ที่ ๘ กล่าวถงึ กำ� เนิดและต�ำรับยารกั ษาโรคลมชัก
- จารึกแผ่นที่ ๑๑ กล่าวถึงกำ� เนดิ และตำ� รบั ยารกั ษาโรคลมบาดทะยัก
- จารกึ แผน่ ที่ ๑๓ กลา่ วถงึ กำ� เนดิ และต�ำรับยารักษาสรเภทโรค คือ ไอ มีเสมหะ
- จารกึ แผน่ ท่ี ๑๗ กลา่ วถงึ อาการและตำ� รบั ยารกั ษาอาการของกำ� ลงั เลอื ดทร่ี นุ แรง
ผดิ ปกติ
- จารกึ แผน่ ท่ี ๒๔ กลา่ วถึงอาการและต�ำรับยารกั ษาภาวะวาโยธาตหุ ยอ่ น หรือ
ธาตุลมนอ้ ยกว่าปกติ
- จารึกแผน่ ที่ ๒๖ กล่าวถงึ อาการและต�ำรบั ยารกั ษาสิตะมัคคะวาโย พุทธะยกั ขะ
วาโย รติ ะ วาต
แผนนวดคว่�ำ ในจารึกต�ำ รายาวัดราชโอรสารามราชวรวหิ าร 121
- จารกึ แผน่ ท่ี ๓๑ กลา่ วถึงอาการและต�ำรบั ยารกั ษาภาวะลมหทยั วาตก�ำเรบิ หรือ
จิตใจหงดุ หงิด ค้มุ ดีคมุ้ ร้าย
- จารกึ แผน่ ที่ ๓๙ กลา่ วถงึ อาการและตำ� รบั ยารกั ษาภาวะลมขบในขอ้ กระดกู หรอื
เหน็บชา
- จารึกแผ่นท่ี ๔๓ กลา่ วถึงก�ำเนิดและต�ำรับยารักษาโรคอันเกิดจากลมขนึ้ ผิดปกติ
ได้แก่ อตั พงั คีวาโย ภาหรุ วาโย และพศิ รุศวาโย
- จารึกแผน่ ที่ ๔๔ กล่าวถงึ ก�ำเนิดและต�ำรบั ยารกั ษาโรคลมบา้ หมู
(๒) จารกึ ทีว่ ่าดว้ ยโรคกล่อน ได้แก่
- จารึกแผน่ ที่ ๔ กลา่ วถึงกล่อนชนดิ ต่าง ๆ อาการเจ็บป่วย วิธรี กั ษาและการปรุง
ยาแกก้ ล่อน
(๓) จารกึ ทีว่ ่าด้วยโรคอตสิ าร ได้แก่
- จารึกแผ่นที่ ๕ กล่าวถึงอาการของอติสารแต่ละชนิด และยาแก้พิษไข้แต่ละ
ขนาน
- จารึกแผน่ ที่ ๓๔ กลา่ วถึงอาการของพษิ ไข้ และยาแก้ไข้แต่ละขนาน
(๔) จารึกทวี่ ่าดว้ ยโรคสันนบิ าต ได้แก่
- จารึกแผ่นที่ ๗ กล่าวถึงสันนิบาต ๗ ประการ และตำ� รับยาเพ่ือบ�ำบัดรักษา
อาการตา่ ง ๆ
- จารึกแผ่นท่ี ๓๕ กล่าวถึงสันนิบาตอุทรโรค หรือ ท้องมาน และต�ำรับยา
๒ ขนาน
(๕) จารกึ ทวี่ า่ ด้วยโรคไขเ้ จลยี ง ได้แก่
- จารึกแผน่ ท่ี ๑๐ กล่าวถึงอาการของไขเ้ จลียงอากาศ และตำ� รบั ยา ๕ ขนาน
- จารึกแผ่นท่ี ๓๖ กล่าวถึงอาการของไข้เจลียงพระสมุทร และต�ำรับยาหลาย
ขนาน
- จารกึ แผ่นที่ ๓๘ กลา่ วถึงอาการของไขเ้ จลยี งไพร และต�ำรบั ยาหลายขนาน
122 ชุดการสงั คายนาภมู ิปญั ญาการนวดไทย: ๑
(๖) จารึกที่ว่าดว้ ยโรคสนั ทะคาด ได้แก่
- จารึกแผ่นท่ี ๒๑ กล่าวถึงอาการของสนั ทะคาด และตำ� รับยา ๓ ขนาน
(๗) จารกึ ทวี่ ่าด้วยโรคดาน ได้แก่
- จารึกแผ่นที่ ๒๐ กล่าวถึงโรคดานเถา ดานกระษัย ดานตะคุณ ดานทะลุน
ตำ� รับยาและวธิ ีใชย้ า
- จารกึ แผน่ ที่ ๓๐ กลา่ วถงึ โรคดานพืด อาการ ต�ำรับยาและวิธีใชย้ า
- จารกึ แผน่ ท่ี ๔๘ กลา่ วถงึ โรคดานทักขิณคณุ อาการ ตำ� รับยาและวิธีใช้ยา
(๘) จารึกทวี่ า่ ดว้ ยโรคหดื ได้แก่
- จารึกแผน่ ท่ี ๑๒ กล่าวถงึ โรคหดื ตำ� รับยาและวธิ ีใช้ยา
(๙) จารึกวา่ ดว้ ยโรคไข้ลง ได้แก่
- จารึกแผ่นท่ี ๑๔ อธิบายอาการของโรคไขล้ ง และต�ำรับยาที่ใชร้ กั ษา
(๑๐) จารกึ วา่ ดว้ ยโรคไข้สัมประชวร ได้แก่
- จารึกแผ่นที่ ๑๔ อธบิ ายอาการของโรคไข้สัมประชวร และต�ำรับยาท่ีใช้รักษา
(๑๑) จารึกว่าดว้ ยโรคฝดี าษ ได้แก่
- จารึกแผ่นท่ี ๑๘ อธิบายก�ำเนดิ โรคฝดี าษ อาการ และตำ� รับยา ๔ ขนาน
(๑๒) จารึกว่าดว้ ยโรคริดสีดวง ได้แก่
- จารึกแผ่นท่ี ๙ อธิบายก�ำเนิดโรครุกขชิวหา หรือริดสีดวงที่ล้ิน บอกอาการ
และตำ� รับยาท่ีใชร้ กั ษา
- จารกึ แผ่นที่ ๒๙ อธบิ ายต�ำรับยาที่ใชร้ ักษาอาการถา่ ยเป็นเลือด
- จารกึ แผ่นที่ ๕๐ อธบิ ายต�ำรบั ยาท่ีใชร้ ักษาริดสดี วง
(๑๓) จารึกทีว่ า่ ดว้ ยโรคเกี่ยวกบั ทางเดินปัสสาวะ ไดแ้ ก่
- จารึกแผ่นท่ี ๓ อธิบายอาการของโรคทรุ าวะสา โดยพิจารณาจากสแี ละลกั ษณะ
ของน�้ำปสั สาวะ และให้รายละเอียดตำ� หรบั ยาหลายขนาน
แผนนวดคว่ำ�ในจารกึ ต�ำ รายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร 123
- จารึกแผ่นท่ี ๒๗ อธิบายอาการของโรคมุตกิดโดยพิจารณาจากสีและลักษณะ
ของน้�ำปสั สาวะ และใหร้ ายละเอยี ดตำ� หรบั ยาหลายขนาน
(๑๔) จารึกทีว่ ่าด้วยโรคติดตอ่ ทางเพศสมั พนั ธ์ ไดแ้ ก่
- จารกึ แผ่นที่ ๒ กลา่ วถงึ อาการของโรคสำ� หรับบุรุษ ได้แก่ โรคไส้ดว้ นและโรค
ไส้ลามตลอดจนต�ำรับยาส�ำหรับบ�ำบัดรักษาโรค ทั้งยาส�ำหรับทาแผล และยาส�ำหรับ
รับประทาน
(๑๕) จารกึ ที่ว่าดว้ ยโรคซาง ไดแ้ ก่
- จารกึ แผน่ ท่ี ๑๕ อธบิ ายอาการของโรคซางทเ่ี กดิ กบั เดก็ ทเ่ี กดิ วนั พฤหสั บดี ไดแ้ ก่
ซางโค และซางข้าวเปลอื ก และให้รายละเอยี ดต�ำรับยาแกพ้ ิษซาง
- จารึกแผ่นท่ี ๒๒ อธิบายอาการของโรคซางที่เกิดกับเด็กที่เกิดวันเสาร์ ได้แก่
ซางโจร ซางนางริน้ และซางจร และใหร้ ายละเอยี ดตำ� รบั ยาแก้พษิ ซาง
- จารึกแผ่นท่ี ๓๒ อธิบายอาการของโรคซางที่เกิดกับเด็กที่เกิดวันศุกร์ ได้แก่
ซางช้าง และให้รายละเอียดต�ำรบั ยาแกพ้ ษิ ซาง
- จารกึ แผน่ ท่ี ๔๒ อธบิ ายอาการของโรคตานโจรทเ่ี กดิ กบั เดก็ ทร่ี บั ประทานของสด
ของแสลง ใหร้ ายละเอยี ดต�ำรบั ยาแกพ้ ิษซาง
(๑๖) จารึกท่ีวา่ ดว้ ยโรคป่วง ไดแ้ ก่
- จารึกแผน่ ท่ี ๒๕ อธบิ ายอาการและต�ำรบั ยารกั ษาโรคป่วงลม
- จารึกแผน่ ที่ ๔๗ อธบิ ายอาการและตำ� รับยารกั ษาโรคป่วงหิว
(๑๗) จารกึ ท่วี ่าด้วยจกั ษุโรค หรอื โรคตา ได้แก่
- จารึกแผน่ ที่ ๒๓ อธบิ ายอาการและตำ� รับยารักษาต้อ
(๑๘) จารึกทวี่ ่าดว้ ยโรคมะเรง็ ได้แก่
- จารกึ แผ่นท่ี ๒๘ ให้รายละเอยี ดต�ำรับยาแก้มะเร็ง ๕ ขนาน
124 ชดุ การสังคายนาภูมปิ ญั ญาการนวดไทย: ๑
(๑๙) จารกึ ทีว่ ่าดว้ ยยารกั ษากลาก ไดแ้ ก่
- จารกึ แผ่นที่ ๓๓ ให้รายละเอยี ดตำ� รบั ยาแกก้ ลาก
(๒๐) จารึกท่ีว่าด้วยการรักษาโรคโดยใช้ปลิงดูดเลือดออกจากส่วนต่าง ๆ ของ
ร่างกาย ได้แก่
- แผนปลงิ หงาย ในจารึกแผน่ ที่ ๑๙ แผนปลงิ คว�่ำ ในจารึกแผ่นท่ี ๑๖
(๒๑) จารกึ ทว่ี า่ ดว้ ยการรกั ษาโรคโดยการนวดตามสว่ นตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย ไดแ้ ก่
- แผนนวดคว�ำ่ ในจารึกแผน่ ที่ ๔๕
(๒๒) จารึกทวี่ า่ ดว้ ยโรคโอปักมิกาภาธิ ได้แก่
- จารึกแผ่นที่ ๓๗ ใหร้ ายละเอียดตำ� รับยารกั ษาอาการตับยอ้ ย ตับทรดุ ในเดก็
(๒๓) จารึกทีว่ า่ ดว้ ยโรครตั ตะปติ ตะ ได้แก่
- จารึกแผ่นที่ ๔๑, ๔๙ บอกอาการ ให้รายละเอียดตำ� รับยารักษาและยาบ�ำรุง
เลอื ด
๓.๕ ลกั ษณะของแผนนวดในจารกึ ตำ�รายาวดั ราชโอรสารามราชวรวหิ าร
จารึกต�ำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร มีแผนนวดคว่�ำ เพื่อรักษาโรคต่าง ๆ
ต้ังแต่หัวจรดเท้าปรากฏอยู่ในจารึกแผ่นท่ี ๔๕ เพียง ๑ แผ่นเท่าน้ัน ในขณะท่ีแผนนวด
ศิลาจารกึ วดั พระเชตพุ นฯ มีแผนหงาย-แผนคว�ำ่ รวม ๖๐ ภาพ ซึง่ โรคและอาการที่รกั ษา
มเี นอื้ หาแตกต่างกนั
จารึกแผ่นท่ี ๔๕ นี้ มีทั้งหมด ๑๓ บรรทดั ลักษณะกายวิภาคเปน็ ร่างกายมนษุ ย์ใน
ท่าแผนนวดควำ�่ ย่อเขา่ แล้วก�ำหนดจดุ สำ� คญั แต่ละจดุ ทั้งซีกซ้ายซกี ขวา และกลางล�ำตวั
โดยลากเส้นโยงจากจุดส�ำคัญของร่างกาย มาถึงค�ำหรือข้อความที่บอกช่ือโรคและ
อาการสำ� หรบั รกั ษาโรคเหลา่ นน้ั ได้ในสว่ นบรเิ วณทวี่ า่ งดา้ นซา้ ยขวา และดา้ นลา่ ง ตามลำ� ดบั
บรรทดั
แผนนวดคว�ำ่ ในจารึกต�ำ รายาวดั ราชโอรสารามราชวรวิหาร 125
๔. การศึกษาวิเคราะห์ แผนนวดในจารึกต�ำ รายา
วดั ราชโอรสารามราชวรวหิ าร
การด�ำเนนิ งานสังคายนาภูมปิ ัญญาดา้ นการนวดไทย ศึกษาวเิ คราะห์ จารกึ แผน่ ท่ี
๔๕ “แผนนวดคว่�ำ” ในจารึกต�ำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร โดยท�ำการศึกษาจาก
เอกสารต้นฉบับ แผน่ ภาพจารึก และคำ� จารึก จากการศกึ ษา พบปัญหารูปภาพจารึกที่มี
ลกั ษณะแขนเป็นแผนหงาย ซ่งึ ทำ� ใหเ้ กิดความสบั สนตอ่ การวเิ คราะห์จุดนวด
ต่อมาไดศ้ กึ ษาเอกสารอ้างอิงภาพแผนนวดคว่ำ� จากคัมภรี แ์ ผนนวดวัดสวุ รรณาราม
โดยพระสมุห์ต่วน วัดสุวรรณาราม มอบให้หอสมุดแห่งชาติ เม่ือ พ.ศ. ๒๔๖๔ ซ่ึงเม่ือ
เปรียบเทียบภาพแล้วพบว่าเป็นแผนนวดที่มีจุดและค�ำอธิบายใกล้เคียงกับภาพแผนนวดใน
จารึกวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ที่เป็นแผนนวดคว่�ำเช่นกัน โดยคณะท�ำงานฯ ได้ท�ำ
การศึกษาวเิ คราะห์และสรุปผลการศึกษา ดงั ตอ่ ไปน้ี
126 ชดุ การสงั คายนาภูมปิ ญั ญาการนวดไทย: ๑
๔.๑ ลักษณะศลิ าจารึก แผ่นที่ ๔๕ “แผนนวดคว่ำ�”
รูปที่ ๑ ศิลาจารกึ แผน่ ที่ ๔๕ “แผนนวดคว่ำ� ”
แผนนวดคว่ำ�ในจารึกต�ำ รายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร 127
รปู ท่ี ๒ แผนนวด คำ� จารึก โรค/อาการ/ลม และจุดนวด
ภาพจารกึ น้เี ปน็ กายวิภาค ส่วนแขนเป็นแผนหงาย
128 ชุดการสงั คายนาภูมปิ ัญญาการนวดไทย: ๑
รปู ท่ี ๓ รูปแสดงเส้นและจดุ ใกล้เคียงกับรูปจารกึ แผนนวดวดั ราชโอรสารามราชวรวหิ าร
แผ่นที่ ๔๕ คัดลอกมาจากคัมภีรแ์ ผนนวดวดั สวุ รรณาราม
พระสมุห์ตว่ น วัดสุวรรณาราม มอบให้หอสมุดแหง่ ชาติ เม่ือ พ.ศ. ๒๔๖๔
แผนนวดคว�่ำ ในจารึกตำ�รายาวัดราชโอรสารามราชวรวหิ าร 129
๔.๒ คำ�จารกึ ชอื่ โรค/อาการ/ลม ในแผนนวดควำ่ �น้ี มจี ดุ นวดดา้ นซา้ ย ด้านขวา
และกลางลำ�ตวั รวมทัง้ หมด ๑๘ คำ�
ตารางท่ี ๑๑ แสดงคำ� สำ� คญั ในจารกึ ตำ� รายาวดั ราชโอรสารามราชวรวหิ าร ทงั้ หมด ๑๘ คำ�
คำ� ในจารึกแผนนวด แผ่นที่ ๔๕ ใน “จารึกตำ� รายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร”
จุดดา้ นซ้าย ๘ จดุ จุดกลางลำ� ตัว ๓ จดุ จดุ ดา้ นขวา ๗ จุด
๗ อาการ ๓ อาการ ๖ อาการ
๑. แก้ลมใหป้ ากเบย้ี ว ๘. แก้ปวดศรี ศะปกงั ๑๑. แก้ปวดศีศะ
๒. แกป้ ัตฆาฎแขนตาย ๙. แกร้ ากเสลด ๑๒. แกล้ มเสยี ดคาง
๓. แกภ้ าหุนะวาดที่สุด ๑๐. บอกให้รู้ทีต่ าย ๑๓. แกป้ ัตฆาฏ (ขวา)
๔. แกส้ ลกั ท่คี า่ ง ๑๔. แก้โรหนิ ขี ้ึนถงึ ฅ่อ
๕. แกก้ ะใสตาน (๒ จดุ ) ๑๕. แกร้ าก
๖. แกป้ ตั ฆาฏ (ซา้ ย) ๑๖. แก้ตะคร้วิ ทงั้ สอง
หนา้ แคง่
๗. แก้โรหนิ ีขนึ้ ตน้ ขา ๑๗. แปดแสนแก้กลอ่ น
๑๘. แก้ร้อนเหนบตะโภก
(๒ จดุ )
130 ชดุ การสงั คายนาภูมปิ ญั ญาการนวดไทย: ๑
๔.๓ การจดั กลมุ่ คำ�ช่ือโรค/อาการ จากคำ�จารกึ ๑๘ คำ� จดั เป็นคำ�ชื่อโรค อาการ
ลม เส้น
๑) ชอ่ื โรค ๖ ค�ำ
๒) ชอ่ื อาการ ๘ คำ�
๓) ชื่อเส้น ๒ ค�ำ
๔) ชือ่ ลม ๗ คำ�
ตารางที่ ๑๒ การจำ� แนกช่ือ โรค อาการ เส้น ลม เรียงคำ� ตามอักษร
ล�ำดบั คำ� อา่ น ชื่อ โรค/อาการ/เส้น/ลม โรค อาการ เส้น ลม
๑ กล่อนเส้น √
๒ กษัยดาน √
๓ ตะครวิ ท้ัง ๒ หน้าแขง้ √ √
๔ บอกให้ร้ทู ีต่ าย √
๕ ปวดศีรษะ √
๖ ปวดศีรษะปะกงั (ลมปะกัง) √ √
๗ ปตั คาด (ซ้าย/ขวา) √
๘ ปัตฆาฏแขนตาย √ √
๙ ภาหุนะวาตทส่ี ุด √ √
๑๐ รอ้ นเหน็บสะโพก √
๑๑ ราก √
๑๒ รากเสลด √
๑๓ โรหินีข้นึ ตน้ คอ/ตน้ ขา √
๑๔ ลมเสียดคาง √ √
๑๕ ลมใหป้ ากเบีย้ ว √ √
๑๖ สลกั ทีข่ ้าง (สีข้าง) √ √
รวมจ�ำนวนคำ� ๖๘๒ ๗
แผนนวดคว่ำ�ในจารกึ ตำ�รายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร 131
๔.๔ คำ�อธบิ ายศพั ท์ โรค/อาการ ในแผนนวดจารกึ ตำ�รายาวดั ราชโอรสารามราชวรหิ าร
ตารางที่ ๑๓ ค�ำอธบิ ายศัพท์
ลำ� ดับ ชอ่ื โรค/อาการ คำ� อธิบายศัพท์
๑ กลอ่ นเส้น “เสน้ กลอ่ นเส้นหน่ึงใหแ้ กต้ าเทา้ (ตาตุ่ม) ทงั้ ๒ ข้างเป็นทีส่ ดุ ”
(ทีม่ า คัมภีรแ์ ผนนวด เล่ม ๑ เลขที่ ๑๐๐๘ หนา้ ปลาย ที่ ๒๙
ถึง ๓๐) กล่อนเสน้ หรอื กลอ่ นเอ็น อนั บังเกดิ เพือ่ อณั ฑพฤกษ์
นนั้ กระทำ� ใหเ้ มอื่ ยขบแขง้ ขาหนา้ ตะโพก บางทีใหจ้ บั สะบดั รอ้ น
สะท้านหนาวใหถ้ ว่ งเหน่าเปน็ ก�ำลัง
(ที่มา: ตำ� รายาวดั โพธ์,ิ ศาลา ๔ เสา ๗ แผน่ ที่ ๒ ลกั ษณะกล่อน ๔ จำ� พวก
หนา้ ๓๒๙)
๒ กษยั ดาน น. กษยั อนั เกดิ จากอปุ ปาตกิ ะโรคชนดิ หนงึ่ เกดิ ทย่ี อดอก ทำ� ให้
กลา้ มเนอื้ ตง้ั แตย่ อดอกถงึ หนา้ ทอ้ งแขง็ มากผปู้ ว่ ยมอี าการปวด
จุกเสียดแน่น กินข้าวไม่ได้ ถ้าลามลงถึงท้องน้อยท�ำให้ปวด
อยู่ตลอดเวลา ถูกความเย็นไม่ได้ แต่ถ้าลามลงไปถึงหัวหน่าว
จะรักษาไม่ได้ ดังคัมภีร์กระษัย [๘/น. ๓๔-๓๕] ตอนหน่ึงว่า
“... จะกล่าวลักษณะกระไสยโรคอันบังเกิดขึ้นเปนอุปาติกะ
คือกระไสยดานอันเปนเคารบ ๑๒ ตั้งอยู่ยอดอกแขงดังแผ่น
สินลา ถ้าตั้งลามลงไปถึงท้องน้อยแล้วเม่ือใด กระท�ำให้ร้อง
ครางอยู่ท้ังกลางวันกลางคืน ถูกเยนเข้ามิได้ ถ้าถูกร้อนค่อย
สงบลงหน่อยหน่ึง แล้วกลับปวดมาเล่ากระทำ� ให้จุกเสียดแน่น
น่าอก บริโภคอาหารมิได้ ถ้าลามลงไปถึงหัวเหน่าแล้วเม่ือใด
เปน อะติสยะโรค แพทยจ์ ะรักษามไิ ดเ้ ลย ถา้ จะรกั ษารกั ษาแต่
ยังมลิ งหวั เหน่าดจุ กลา่ วไวด้ ังนี้ ...”. (๑/น. ๑๖-๑๗)
๓ ตะครวิ ทั้ง ดใู น ตะครวิ น. อาการหดเกรง็ ตวั ของกล้ามเน้ือ และคา้ งอยู่
๒ หน้าแข้ง ทำ� ใหก้ ลา้ มเนือ้ ขาดเลือด เกดิ อาการเจบ็ ปวด (๑/น. ๑๙๓)
๔ บอกให้รทู้ ่ีตาย บอกจุดหรอื เสน้ ทีต่ าย (๕)
๕ ปวดศรี ษะ อาการปวดหวั [vi.] to have a headache (๑๑)
132 ชดุ การสังคายนาภูมปิ ญั ญาการนวดไทย: ๑
ตารางที่ ๑๓ ค�ำอธบิ ายศัพท์ (ต่อ)
ล�ำดับ ชือ่ โรค/อาการ คำ� อธิบายศัพท์
๖ ปวดศรี ษะปะกัง - ดูใน ลมปะกัง น. โรคชนิดหน่ึง ผู้ป่วยมีอาการปวดศีรษะ
มาก อาจจะปวดขา้ งเดยี วหรือ ๒ ขา้ งก็ได้ บางต�ำราว่ามัก
เป็นเวลาเช้า ผู้ป่วยอาจมีอาการอ่ืนร่วมด้วย เช่น ตาพร่า
วงิ เวียนอาเจียน, ลมตะกัง หรอื สนั นิบาตลมปะกัง กเ็ รียก.
(๑/น. ๓๙๖)
- ปวดศรี ษะขา้ งขวา สาเหตุมาจากลมสรุ ิยกลา ลมประจำ� เส้น
ปิงคลา (๕)
๗ ปฏั ฆาต ปัตคาด, ปัฏฆาต, ปัตะฆาฎ, ปัตฆาฏ ดู ปัตฆาต.ปัตฆาต
(ดา้ นซา้ ย-ขวา) [ปัดตะคาด] น. ๑. เส้นที่มีจุดเริ่มต้นบริเวณขอบเชิงกราน
ด้านหน้า แล่นถึงตาตุ่ม เส้นด้านบนจะแล่นไปทางด้านหลัง
ขน้ึ ขา้ งกระดกู สนั หลงั (ถดั ออกมาจากเสน้ รตั ตฆาต) ถงึ บรเิ วณ
ตน้ คอ ทา้ ยทอย ข้ึนศรี ษะ แลว้ ลงมาทแี่ ขน เส้นทอ่ี ยดู่ ้านขวา
เรยี ก เสน้ ปตั ฆาตขวา เสน้ ทอี่ ยดู่ า้ นซา้ ย เรยี ก เสน้ ปตั ฆาตซา้ ย
ส่วนเส้นดา้ นลา่ งจะเรม่ิ จากบรเิ วณหน้าขา แล่นลงมาถึงตาตมุ่
ดา้ นใน เรยี กเสน้ ปตั ฆาตใน สว่ นดา้ นนอกเรมิ่ จากบรเิ วณสะโพก
แลน่ ลงมาถงึ ตาตมุ่ ดา้ นนอก เรยี กเสน้ ปตั ฆาตนอก (๑/น. ๒๗๖)
๘ ปัฏฆาตแขนตาย โรคลมชนิดหน่ึง ผู้ป่วยมักมีอาการปวดเม่ือยตามแนวเส้น
ปัตฆาต เคลื่อนไหวไม่สะดวก ดังคัมภีร์แผนนวด (๖/น. ๙๖)
ตอนหน่ึงว่า “...ชื่อว่าลมปัตฆาฎก็ว่าผู้นั้นมักนั่งนัก ลุกนั่งมิได้
ก็ดี ให้แก้เส้นเอนทั้ง ๒ แลแก้เส้นแถวหลังทั้ง ๒ แลแก้เส้น
บั้นเอวท้ัง ๒ ข้าง ชื่อว่าลมแถกกลออมน้ัน ให้แก้หัวเหน่า
แลท้องแลรอบสดือ แลบ้ันเอวแลสันหลังน้ันคลายแล ...”,
ลมปัตฆาต ก็เรียก, เขยี นวา่ ปตั คาด ปฏั ฆาต ปตั ะฆาฎ หรือ
ปตั ฆาฏ ก็มี (๑/น. ๒๗๖)
แผนนวดคว่ำ�ในจารกึ ต�ำ รายาวดั ราชโอรสารามราชวรวหิ าร 133
ตารางท่ี ๑๓ คำ� อธบิ ายศพั ท์ (ตอ่ )
ล�ำดับ ชอ่ื โรค/อาการ ค�ำอธบิ ายศพั ท์
๙ ภาหนุ ะวาตท่ีสดุ - ดูใน พาหรุ วาโย [พาหุระ-] น. โรคลมจรชนดิ หน่ึง ตำ� ราวา่
เกดิ จากกองสขุ มุ งั ควาต ผปู้ ว่ ยมอี าการมอื เทา้ บวม หนกั ศรี ษะ
วิงเวียน น�้ำมูกน้�ำตาไหล เสียวมือและเท้า เป็นเหน็บ หาก
เป็นนานถงึ ๕ เดือน ผปู้ ว่ ยจะลกุ ไม่ข้ึน ดงั ตำ� รายาศิลาจารกึ
ในวัดพระเชตพุ นวิมลมงั คลาราม (๗/น. ๓๑๔) ตอนหนงึ่ ว่า
“... จะกลา่ วลักษณะก�ำเนิดแห่งลมอันช่ือว่า พาหุรวาโยเป็น
คำ� รบ ๙ นนั้ บงั เกดิ แตก่ องสขุ มุ งั ควาต กลา่ วคอื ลมคถู ทวาร
แล่นข้ึนมาจับเอาหลังมือกระท�ำให้มือบวมขึ้นแล้วแล่นลงมา
จบั หลงั เทา้ กระทำ� ใหเ้ ทา้ นน้ั เบง่ ขนึ้ แลว้ กลบั แลน่ ขนึ้ สกู่ ระบาล
ศีรษะ กระท�ำให้หนักศีรษะ ให้ศีรษะซุนไปให้วิงเวียนและให้
น�้ำมูกตกน�้ำตาตก ให้เสียวล�ำมือล�ำเท้าให้เป็นเหน็บ และลม
กองนี้เกิดแต่ผู้ใดก�ำหนด ๕ เดือนจะลุกข้ึนมิได้เลย ...”.
(๑/น. ๓๑๕)
- ในทีน่ ี้ ภาหนุ ะวาต (ท่ีสุด) หมายถึง ความรุนแรงของโรคลม
ชนิดนี้ถึงขั้นสูงสุดหรือแพทย์ปัจจุบันเรียกว่า ระยะสุดท้าย
(๕)
๑๐ รอ้ นเหนบ็ สะโพก มอี าการร้อนและเปน็ เหน็บท่ีสะโพก (๕)
๑๑ ราก ก. อาเจียน, อว้ ก, ส�ำรอกออกทางปาก (๑/น. ๓๗๘)
๑๒ รากเสลด รากเสลด มอี าการคือ อาเจียนออกมาเปน็ เสมหะ (๕)
๑๓ โรหินี โรหินีโรค, โรหิณีโรค น. ริดสีดวงประเภทหน่ึง เกิดในล�ำคอ
ผู้ป่วยมีเสมหะมาก ลมหายใจมีกลน่ิ เหมน็ มเี ลือดออกในล�ำคอ
กินอาหารไมไ่ ด้ ไม่ร้รู สอาหาร เป็นตน้ ดังต�ำรายาศลิ าจารึกใน
วดั พระเชตพุ นวิมลมังคลาราม (๗/น. ๒๖๖) ตอนหนงึ่ วา่
“… ล�ำดับนี้จะกล่าวด้วยนัยหน่ึงใหม่ ว่าด้วยลักษณะหฤศโรค
อันชอ่ื วา่ โรหินี กลา่ วคอื โรคริดสดี วง อนั บงั เกิดข้นึ ในล�ำคอ
น้ันเป็นค�ำรบ ๕ มีอาการกระท�ำให้ชุ่มไปด้วยเสมหะ ให้เหม็น
คาวคอเป็นก�ำลัง บางทีให้เน่าเหม็นโขง ให้ล�ำคอเป็นเลือด
บริโภคอาหารมิได้ไม่มีรส ฯ ...”. ดู ริดสีดวง ประกอบ
(๑/น. ๓๘๕)
134 ชุดการสงั คายนาภูมิปญั ญาการนวดไทย: ๑
ตารางท่ี ๑๓ คำ� อธิบายศัพท์ (ตอ่ )
ลำ� ดบั ชอื่ โรค/อาการ ค�ำอธบิ ายศัพท์
๑๔ ลมให้ปากเบยี้ ว ลมใหป้ ากเบยี้ วเปน็ อาการทพี่ บไดจ้ ากหลายสาเหตแุ ละมอี าการ
หลายระดับ เราเรียกช่ือตามลักษณะอาการท่ีแสดงออกมา
เชน่ เปน็ อมั พาตกส็ ามารถทำ� ใหป้ ากเบย้ี วไดอ้ าจจะเปน็ ชวั่ คราว
หรือถาวรก็ได้ ถ้าเป็นข้างขวาเป็นอัมพฤกษ์ ข้างซ้ายเป็น
อมั พาต. (๕) หรอื ลมท่ีทำ� ใหป้ ากเบ้ยี วท่เี กิดดา้ นซ้าย เนื่องจาก
ลมจนั ทกลาในเสน้ อทิ า ตามความในตำ� รากลา่ วเสน้ สบิ ตอนหนง่ึ
ว่า “ลมจันทร์พกิ ารร้าย ชักปากเบี้ยวเสยี วหนา้ ตา”
๑๕ ลมเสียดคาง ดใู น ลมหณุวาต ลมหณวุ าตบงั เกดิ ในคาง (๒/น. ๒๐๑-๒๐๒)
๑๖ สลกั ท่ขี ้าง อาการติดขัดท่ีสีข้างเน่ืองจากลมขังท่ีบริเวณสีข้าง ชายโครง
(สีขา้ ง) ท�ำใหเ้ ลอื ดลมเดนิ ไมส่ ะดวก (๕)
๔.๕ จดุ นวดแกอ้ าการ ในแผนนวดจารึกตำ�รายาวัดราชโอรสารามราชวรวหิ าร
ตารางท่ี ๑๔ จดุ นวดแกอ้ าการ ในแผนนวดจารึกตำ� รายาวดั ราชโอรสารามราชวรวหิ าร
ลำ� ดบั ช่ือโรค/อาการ/ลม จุดนวด (บริเวณ/ต�ำแหน่ง) โดยคณะทำ� งานฯ
๑ ลมให้ปากเบยี้ ว ใตเ้ พรยี งหขู ้างซา้ ย (มมุ กะโหลกท้ายทอย)
๒ ปัตฆาฏแขนตาย ขอบกระดูกสะบักซ้าย ห่างจากข้อต่อหัวไหล่ประมาณ ๒
น้วิ มือ “แกท้ ่ีต้นแขนและราวบ่า ท้งั ๒ ข้าง”
๓ ภาหนุ ะวาตทส่ี ุด จุดนวดท่ีแขนซ้ายเหนือข้อพับศอก ประมาณ ๓ น้ิวมือ
เปน็ การนวดเพอ่ื แกอ้ าการเสยี วลำ� มอื เหนบ็ ชา ลดอาการบวม
ดว้ ยการลูบ คลึง
๔ สลักทข่ี ้าง ปลายกระดกู สะบักดา้ นซ้าย
(สีขา้ ง)
๕ กษยั ดาน คว�ำ่ แขนนวดแขนท่อนล่าง จุดใต้ขอ้ พบั แขนขา้ งซ้าย
๖ ปตั ฆาฎ ชดิ กระดกู สนั หลังช่วงบั้นเอว ดา้ นซ้าย
(ด้านซา้ ย)
แผนนวดคว�่ำ ในจารกึ ต�ำ รายาวัดราชโอรสารามราชวรวหิ าร 135
ตารางที่ ๑๔ จดุ นวดแกอ้ าการ ในแผนนวดจารกึ ตำ� รายาวดั ราชโอรสารามราชวรวหิ าร (ตอ่ )
ล�ำดบั ชอ่ื โรค/อาการ/ลม จุดนวด (บริเวณ/ต�ำแหนง่ ) โดยคณะทำ� งานฯ
๗ โรหนิ ขี ึ้นตน้ ขา กึ่งกลางกน้ ยอ้ ยดา้ นซา้ ย
๘ ราก ขาขวาจุดนวดกึ่งกลางระหว่างตาตุ่มนอกกับหัวเข่าในแนวขา
ด้านนอก ๑
๙ กลอ่ นเสน้ (แปด แนวขาข้างขวาดา้ นนอก ๑ จดุ ชิดกระดูกก่ึงกลางนอ่ ง
แสนแกก้ ลอ่ น)
๑๐ ปวดศีรษะปะกงั จดุ กำ� ดน้
๑๑ ปวดศีรษะ ใตเ้ พรียงหขู า้ งขวา
๑๒ ลมเสียดคาง ต้นแขนขวาด้านหลังจุดระหว่างกระดูกต้นแขนและกระดูก
สนั หลงั สว่ นอก
๑๓ รากเสลด จดุ กระดกู สันหลังช่วงอก ชิน้ ท่ี ๑
๑๔ บอกให้รูท้ ี่ตาย จุดกลางลำ� ตวั กระดกู สนั หลงั ช่วงเอว
๑๕ ปตั คาดด้านขวา ชดิ กระดกู สนั หลงั ชว่ งบนั้ เอว ด้านขวา
๑๖ โรหินขี น้ึ ถงึ คอ ก่ึงกลางก้นย้อยดา้ นขวา
๑๗ ตะครวิ ทงั้ จดุ ก่ึงกลางนอ่ งชดิ กระดกู สันหน้าแขง้ ขวา นวดทง้ั ๒ ข้าง
๒ หน้าแขง้
๑๘ ร้อนเหน็บสะโพก จดุ นวด ๒ จดุ จุดแรกฝา่ เท้าขวาแนวนว้ิ กอ้ ย จุดท่ีสองเหนอื
ตาตุม่ นอกประมาณ ๓ นว้ิ มือ
136 ชุดการสังคายนาภมู ิปัญญาการนวดไทย: ๑
เอกสารอา้ งองิ
(๑) กรมศลิ ปากร. จารึกตำ� รายาวดั ราชโอรสารามราชวรวิหาร. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร;
๒๕๔๕.
(๒) ศภุ ชยั ตยิ วรนนั ท,์ ชยนั ต์ พเิ ชยี รสนุ ทร. ศลิ าจารกึ ตำ� รายาวดั ราชโอรสารามราชวรวหิ าร
ท่สี ูญหาย. วารสารการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก. ๒๕๕๒;๗(๑):๓๙-๕๓.
(๓) มลู นธิ พิ ฒั นาการแพทยแ์ ผนไทย. คมั ภรี แ์ ผนนวดพระสมหุ ต์ ว่ น วดั สวุ รรณาราม. มปท;
๒๔๖๔. (ส�ำเนา)
(๔) นวพรรณ ภัทรมูล. “จารึกตำ� รายาวัดราชโอรสารามฯ”สภาพและสรรพสาระท่ียังคง
คณุ ค่า [อนิ เทอรเ์ นต็ ]. กรุงเทพฯ: ศูนยม์ านษุ ยวิทยาสิรนิ ธร; ๒๕๕๖ [เขา้ ถงึ เมอื่ ๘
มิถุนายน ๒๕๕๘]. เข้าถึงได้จาก http://www.sac.or.th/main/content_detail.
php?content_id=431.
๒สวนท่ี
การสังคายนาแผนนวด แผน ที่ ๔๕ จารึกแผนนวด
ในจารกึ ตาํ รายาวดั ราชโอรสารามราชวรวิหาร