The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ชุดการสังคายนาภูมิปัญญา การนวดไทย เล่มที่ ๓ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ชุดการสังคายนาภูมิปัญญา การนวดไทย เล่มที่ ๓ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์)

ชุดการสังคายนาภูมิปัญญา การนวดไทย เล่มที่ ๓ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์)

Keywords: การนวดไทย เล่มที่ ๓ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์)

ชดุ การสงั คายนาภมู ิปญญาการนวดไทย: ๓

คาํ อธิบายศิลาจารกึ วัดพระเชตุพนวิมลมงั คลาราม (วัดโพธ)ิ์

สา� นักงานขอ้ มูลและคลงั ความรู้
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก

กระทรวงสาธารณสขุ

ชุดการสงั คายนาภมู ปิ ญั ญาการนวดไทย: ๓

คำ� อธิบายศิลาจารกึ วัดพระเชตพุ นวมิ ลมังคลาราม (วดั โพธิ)์

ทีป่ รกึ ษา
ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ภญ.สำ� ลี ใจดี ประธานมลู นธิ สิ าธารณสขุ กบั การพฒั นาและมลู นธิ พิ ฒั นาการแพทยแ์ ผนไทย
นายแพทย์สุเทพ วัชรปิยานันทน ์ อธบิ ดีกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก
นายแพทยป์ ราโมทย์ เสถียรรตั น์ รองอธบิ ดีกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก

บรรณาธิการ ดร.รชั นี จนั ทรเ์ กษ ดร.ภก.ยงศักดิ์ ตนั ตปิ ฎิ ก อ.สุดารัตน์ สุวรรณพงศ์

กองบรรณาธกิ าร สมชาย ช้างแก้วมณี พสิ ษิ ฎ์พล นางาม ซไู มยะ เด็งสาแม
วนดิ า คำ� หงษา ศรณั ยา จนั ษร

ผู้ทรงคุณวุฒแิ ละ นพ.ประพจน์ เภตรากาศ อ.สนั ติสขุ โสภณสริ ิ อ.ถวลิ อภยั นิคม
ครหู มอนวดไทย สต.นโิ รจน์ นลิ สถติ ย์ อ.สำ� อาง เสาวมาลย์ อ.ธงชัย อ่อนนอ้ ม
อ.วโิ รจน์ มณฑา อ.สนทิ วงษ์กะวัน อ.กรกมล เอย่ี มธนะมาศ
อ.ศุภณี เมธารินทร์ อ.สาวติ รี ศิริวฒุ ิ อ.ระวี รักษแ์ กว้

จัดท�ำโดย ส�ำนักงานข้อมูลและคลงั ความรู้
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข
http://www.dtam.moph.go.th/

ขอ้ มูลทางบรรณานกุ รมของสำ� นักหอสมดุ แหง่ ชาติ
National Library of Thailand Cataloging in Publication Data
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก. สำ� นักงานขอ้ มูลและคลังความร.ู้
ชุดการสังคายนาภมู ปิ ญั ญาการนวดไทย: ๓ คำ� อธบิ ายศลิ าจารึกวดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม
(วัดโพธ์ิ).--นนทบุรี: กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก, ๒๕๖๐.
๑๕๘ หน้า. -- (ชุดการสงั คายนาภมู ปิ ญั ญาการนวดไทย: ๓).
๑. การนวด. I. ชื่อเรือ่ ง.

615.822
ISBN 978-616-11-3242-2

ประสานงาน ลภดา ศรีโคตร จุฑาพร ภเู วยี ง จินตนา ศรีสวุ รรณ์
ออกแบบเน้อื หา
จดั พมิ พ์โดย ชนสิ รา นาถนอม ออกแบบปก ชัยณรงค์ พาพลงาม
พมิ พ์ครงั้ ที่ ๑
พิมพ์ท ่ี กองทนุ ภมู ิปัญญาการแพทยแ์ ผนไทย

มกราคม ๒๕๖๐ จ�ำนวน ๑,๐๐๐ เล่ม

ศูนย์สื่อและสิ่งพิมพ์แก้วเจ้าจอม มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสวนสนุ ันทา

คํานํา

ในปัจจุบันองค์ความรู้ด้านการแพทย์แผนไทยซ่ึงเป็นภูมิปัญญาของบรรพชนน้ัน
แม้มีอยู่มากมายหลากหลาย มีการปฏิบัติใช้รักษาผู้คนแล้วได้ผลมาแต่โบราณกาล
แต่ด้วยเวลาทีผ่ ันผา่ นท�าให้องคค์ วามรเู้ หลา่ น้ันบางส่วนกม็ คี วามคลาดเคลื่อน ไม่เปน็ ระบบ
และบางแห่งก็ไมส่ ามารถน�ามาต่อยอดความรู้เพ่อื ประโยชนท์ างวชิ าการได้

ด้วยเล็งเห็นว่าความรู้ด้านการแพทย์แผนไทยน้ันมีความส�าคัญต่อชาติและมีคุณค่า
ทางด้านประวัติศาสตร์ วิทยาการ ความรู้เหล่านี้จึงควรได้รับการช�าระให้ทันสมัยและ
ท�าให้เป็นระบบ ผ่านกระบวนการ “สังคายนา” ที่ต้องอาศัยการระดมสมอง รวบรวม
ความรแู้ ละประสบการณ์ในการศึกษาจากผู้เชี่ยวชาญหลายภาคส่วน และนา� ความร้ทู ่ีได้รบั
การช�าระแล้วมาก่อประโยชน์และสร้างคณุ ค่าใหว้ งวิชาการแพทยแ์ ผนไทยและประเทศชาติ
ตอ่ ไป

โครงการสังคายนาภูมิปัญญาการนวดไทยในต�าราการแพทย์แผนไทยแห่งชาติ
จึงด�าเนินการบนพ้ืนฐานของหลักการข้างต้น โดยเป็นส่วนหน่ึงของโครงการพัฒนาระบบ
สารสนเทศองค์ความรู้ดิจิทัลภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยของประเทศไทย (TTDKL)
ภายใตก้ ารกา� กบั ดแู ลของสา� นกั งานขอ้ มลู และคลงั ความรู้ กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์
ทางเลือก เพื่อการสังคายนาองค์ความรู้ด้านการนวดไทยและฤๅษีดัดตน เบ้ืองต้นที่อยู่ใน
ตา� ราแพทยแ์ ผนไทยโบราณ และมเี ปา้ หมายในการสรา้ งตน้ แบบการจดั การระบบภมู ปิ ญั ญา
การนวดไทยท่ผี า่ นการถา่ ยถอด ปรวิ รรต สังคายนา และพฒั นารหสั มาตรฐานภูมปิ ัญญา
การแพทยแ์ ผนไทยของประเทศ (TTDKC) ท่ีมคี วามนา่ เช่อื ถือทางวชิ าการ รวมถึงมกี าร
บันทึกลงในระบบดิจิทัล และการสร้างเครือข่ายการสังคายนาการนวดไทยและฤๅษีดัดตน
ของประเทศ ผ่านการด�าเนินงานร่วมกันของผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการ ผู้ทรงคุณวุฒิด้าน
การนวดไทย ทง้ั หมอนวดและหมอเวชกรรม ในการคัดเลือกและศกึ ษาวิเคราะห์ จดั จ�าแนก

(4)

องค์ความรู้ในคัมภีร์ ต�ำรา แผนนวด ศิลาจารึก และประติมากรรมฤๅษีดัดตน โดยได้
คดั เลือกแหลง่ ความรู้ที่ใช้ศึกษาวิเคราะห์ ๕ รายการ คือ

๑. กล่าวเส้นสิบ ในตำ� ราโรคนิทานคำ� ฉันท์ ๑๑
๒. คมั ภีรแ์ ผนนวด ศิลาจารกึ วดั พระเชตพุ นวิมลมงั คลาราม (วัดโพธ์)ิ
๓. คมั ภรี แ์ ผนนวด เลม่ ๑-๒ ในตำ� ราเวชศาสตรฉ์ บบั หลวง รชั กาลที่ ๕ เลม่ ๒
๔. จารกึ ตำ� รายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร
๕. สมดุ ภาพโคลงฤๅษีดัดตน (โคลงภาพฤๅษดี ัดตนตา่ ง ๆ ๘๐ รูป)
โดยจดั ทำ� เปน็ หนงั สอื ชดุ การสงั คายนาภมู ปิ ญั ญาการนวดไทย ๔ เลม่ ประกอบดว้ ย
๑ คำ� อธบิ ายกลา่ วเสน้ สบิ ในตำ� ราโรคนทิ านคำ� ฉนั ท์ ๑๑ และแผนนวดควำ่� ในจารกึ
ตำ� รายาวดั ราชโอรสารามราชวรวิหาร
๒ ค�ำอธิบายสมุดภาพโคลงฤๅษดี ัดตน
๓ ค�ำอธิบายศลิ าจารึกวัดพระเชตุพนวมิ ลมงั คลาราม (วัดโพธ์)ิ
๔ คำ� อธบิ ายคมั ภรี แ์ ผนนวด เลม่ ๑-๒ ในตำ� ราเวชศาสตรฉ์ บบั หลวง รชั กาลที่ ๕
เลม่ ๒
การสงั คายนาภมู ปิ ัญญาการนวดไทยในตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยแห่งชาติ เปน็ งาน
การศกึ ษารว่ มกนั ของคณะอนกุ รรมการและคณะทำ� งานฯ ครหู มอนวดไทย หมอเวชกรรมไทย
ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ นกั วชิ าการ ตลอดระยะเวลา ๑ ปี ซึ่งประกอบด้วยส่วนของการจ�ำแนก
ศกึ ษาวเิ คราะหอ์ งคค์ วามรู้ และสว่ นของการสงั คายนาภมู ปิ ญั ญาที่ไดจ้ ากตำ� รา กรมการแพทย์
แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ขอขอบคณุ คณะอนุกรรมการ คณะทำ� งาน และวิทยากร
ผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่านที่ร่วมกันศึกษา วิพากษ์ และพัฒนาองค์ความรู้และกระบวนการ
สังคายนาให้มคี วามสมบูรณ์ และเปน็ ประโยชนต์ อ่ วงการแพทย์แผนไทยต่อไป

นายแพทยส์ เุ ทพ วัชรปยิ านนั ทน์
อธิบดีกรมการเเพทยแ์ ผนไทยและการเเพทยท์ างเลอื ก

คําชี้แจงและหลักเกณฑ
ในการสังคายนาภูมิปญญาการนวดไทย

การสงั คายนาภมู ปิ ญั ญาการนวดไทย เลม่ ๓ คอื คา� อธบิ ายศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ น
วมิ ลมงั คลาราม (วดั โพธ)ิ์ โดยศกึ ษาองคค์ วามรู้ใน “ศลิ าจารกึ แผนนวดวดั โพธิ์ พ.ศ. ๒๓๗๕”

ความหมาย
การสังคายนาภมู ิปัญญาการนวดไทย หมายความวา่ การสงั เคราะหต์ า� รา คมั ภรี ์

จารกึ ทเี่ กยี่ วกบั การนวดไทย ซง่ึ ปรากฏในแผนไทยมากกวา่ ๑๐๐ ปี และไดถ้ า่ ยทอดความรู้
สบื ตอ่ กนั มายาวนาน เพอ่ื ให้ไดอ้ งคค์ วามรทู้ า� ใหเ้ กดิ ความรู้ ความเขา้ ใจทต่ี รงกนั กบั ตน้ ฉบบั เดมิ
เกดิ กระบวนการตคี วาม วเิ คราะห์ และสงั เคราะห์ สามารถนา� ไปใชป้ ระโยชน์ในการถา่ ยทอด
การรกั ษาต่อไปได้ในอนาคต

การคัดเลอื กต�ารา
๑. เป็นต�ารา คัมภีร์ จารึกที่เก่ียวกับการนวดไทยดั้งเดิมก่อนที่การแพทย์แผน

ปัจจบุ นั จะเขา้ มามีอิทธิพลทางการรกั ษาโรค
๒. เปน็ ตา� รา คมั ภรี ์ จารกึ การนวดทม่ี เี นอ้ื หาสอดคลอ้ งกบั หลกั ทฤษฎเี สน้ ประธานสบิ

ซ่งึ เปน็ ทฤษฎีด้งั เดมิ ของวิชาการนวดไทย

คณะท�างาน (คทง.)
ด�าเนินการโดย “คณะท�างานเพื่อด�าเนินการสังคายนาภูมิปัญญาด้านการนวดไทย

ในตา� ราการแพทยแ์ ผนไทยแหง่ ชาต”ิ ตามคา� สงั่ กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์
ทางเลือก ท่ี ๗๘/๒๕๕๘

(6)

กระบวนการสงั คายนา
๑. การศึกษาบรบิ ทของความรู้
๑.๑ การศึกษาองคค์ วามรูท้ ี่ปรากฏอยู่ในตำ� รา คมั ภรี ์ จารึก เพอ่ื ช่วยใหเ้ ข้าใจ

ถงึ สภาพทางสงั คม ตลอดจนการให้ความหมายตอ่ สขุ ภาพ และความเจ็บปว่ ยในยคุ สมยั นั้น
ที่อาจแตกตา่ งจากปัจจบุ นั

๑.๒ การศกึ ษาประวตั ิศาสตรข์ องตำ� รา คัมภรี ์ จารึก ไดแ้ ก่ ประวัตศิ าสตร์
ในยคุ สมยั ทเี่ กย่ี วขอ้ ง ประวตั คิ วามเปน็ มาของตำ� รา ความสำ� คญั ของตำ� รา และประวตั ผิ ลงาน
ของผ้แู ตง่ ผู้เรยี บเรียง ผคู้ ดั ลอก ผเู้ ขยี นภาพ

๑.๓ การทบทวนวรรณกรรม ศึกษาการตีความเนื้อหาความรู้ของการศึกษา
ก่อนหน้าน้ี

๑.๔ ศึกษาเนื้อหาความรู้ โดยคณะท�ำงานร่วมกันศึกษาและวิเคราะห์ต�ำรา
ซ่งึ แบง่ วิธกี ารศกึ ษาหลกั ดงั น้ี

๑) วิเคราะห์ภาพรวมเนือ้ หา
๒) จ�ำแนกความรู้เป็นหมวดหมู่ชัดเจน จัดเป็นกลุ่ม ช่ือโรค ลักษณะ
อาการ สมมตฐิ านโรค ต�ำแหน่งจุดและแนวเส้นนวด ต�ำรายาท่ีเกี่ยวขอ้ ง
๓) วิเคราะห์ความหมายของศัพทเ์ ฉพาะ

แหล่งทีม่ าของค�ำศัพท์และต�ำราท่ีใชป้ ระกอบการคน้ ควา้ อา้ งอิง
๑. พจนานุกรม ศัพท์แพทย์และเภสัชกรรมแผนไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน.

พมิ พค์ ร้ังท่ี ๓. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์องค์การสงเคราะหท์ หารผ่านศกึ ในพระบรมราชปู ถัมภ์;
๒๕๕๖. (๕๖๖ หนา้ ).

๒. ศพั ทแ์ พทย์ไทย. พมิ พค์ รงั้ ที่ ๒. กรงุ เทพฯ: ประชาชน จำ� กดั ; ๒๕๔๖. (๒๖๒ หนา้ ).
๓. แพทยศ์ าสตร์สงเคราะห์: ภูมิปัญญาทางการแพทย์และมรดกทางวรรณกรรม
ของชาต.ิ พิมพค์ ร้งั ท่ี ๔. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพรา้ ว; ๒๕๕๔. (๑,๐๑๒ หนา้ ).
๔. พจนานุกรม ฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔. พมิ พค์ รั้งท่ี ๒. กรงุ เทพฯ:
ศิริวัฒนาอนิ เตอรพ์ รน้ิ ท;์ ๒๕๕๖. (๑,๕๔๔ หน้า).

(7)

๕. จารกึ ตำ� รายาวดั ราชโอรสรามราชวรวหิ าร ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย
ฉบบั อนรุ กั ษ์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การสงเคราะหท์ หารผ่านศกึ ในพระบรมราชูปถัมภ;์
๒๕๕๘. (๓๑๐ หน้า).

๖. ตำ� ราการแพทย์แผนไทย ในศิลาจารึกวดั พระเชตพุ นวิมลมังคลาราม (วดั โพธ)์ิ
เลม่ ๑ ชุดตำ� ราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องคก์ าร
สงเคราะหท์ หารผ่านศกึ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์; ๒๕๕๗. (๒๐๔ หน้า).

๗. ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทย ในศลิ าจารกึ วดั พระเชตุพนวิมลมงั คลาราม (วดั โพธิ)์
เล่ม ๒ ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบับอนุรักษ.์ กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์องค์การ
สงเคราะห์ทหารผ่านศึก ในพระบรมราชปู ถัมภ์; ๒๕๕๗. (๔๙๒ หน้า).

๘. ต�ำราการแพทยแ์ ผนไทย ในศิลาจารกึ วัดพระเชตพุ นวิมลมงั คลาราม (วัดโพธิ)์
เลม่ ๓ ชุดต�ำราภูมปิ ญั ญาการแพทย์แผนไทย ฉบบั อนรุ ักษ์. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์องคก์ าร
สงเคราะหท์ หารผ่านศกึ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์; ๒๕๕๗. (๔๑๖ หน้า).

๙. ความหมาย/องคค์ วามรทู้ เ่ี กดิ จากกระบวนการตคี วาม วเิ คราะหแ์ ละสงั เคราะห์
ท�ำให้เกดิ ความรู้ ความเข้าใจทต่ี รงกันกบั ต้นฉบบั เดมิ โดยผูเ้ ชยี่ วชาญด้านการนวดไทยและ
คณะทำ� งาน เพอื่ ดำ� เนนิ การสงั คายนาภมู ปิ ญั ญาการนวดไทย (คทง.)

การเขียนอ้างองิ หนงั สือค�ำศัพท์
การเขียนความหมายของค�ำศัพท์ (.../...) หมายถึง (ลำ� ดบั หนังสอื ที่ใช้อ้างอิง/ระบุ

เลขหน้าของหนงั สอื ) โดยใช้หนงั สอื อ้างอิงตามทร่ี ะบุไว้ในขอ้ ๑-๙ และระบเุ ลขหนา้ ไวเ้ พือ่
ประโยชน์ตอ่ การคน้ คว้าตอ่ ไป

(คทง.) หมายถึง ความหมายทห่ี นังสอื อา้ งอิงระบไุ ว้ในขอ้ ๙

ตวั อยา่ งเช่น
ขมปาก ดูใน ปากหวาน ปากขม ปากเปร้ียว
อาการร้สู กึ เสมอื นมรี สหวาน ขม หรือเปรีย้ ว อยู่ในปาก หรืออาการรสู้ กึ รับรสผิด

ปกติเมอื่ รบั ประทานอาหาร (๒/น. ๑๒๕)
(๒/น. ๑๒๕) หมายความว่า คน้ หาความหมายของคำ� ศพั ท์ไดจ้ ากหนังสือลำ� ดับที่

๒ คอื ศัพทแ์ พทย์ไทย หน้า ๑๒๕



สารบัญ

หน้า
บทนา� ๑..............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

สว่ นท่ี ๑ การจา� แนก และวเิ คราะห์ องคค์ วามรู้
“ศิลาจารึกแผนนวดวดั โพธิ์ พ.ศ. ๒๓๗๕” ๓.......................................................................................................................................
๑. ประวัติการสรา้ งและความส�าคัญ ของ
“ศิลาจารกึ แผนนวดวัดโพธ์ิ” ๔..........................................................................................................................................................................................
๒. ลกั ษณะของศลิ าจารึกแผนนวดวดั โพธ์ิ ๘..............................................................................................................................................
๒.๑ ลักษณะทางกายภาพและการจัดวาง ๘...............................................................................................................................
๒.๒ ลักษณะแบบแผนการจารึกแผนนวด ๘.................................................................................................................................
๒.๓ ลักษณะทางเนอื้ หา ๙.....................................................................................................................................................................................................
๒.๔ ค�าอธบิ ายเครอ่ื งหมายตา่ ง ๆ ในศลิ าจารกึ แผนนวดวดั โพธ.์ิ.....................................๙
๒.๕ ลกั ษณะอกั ขรวธิ ีในศิลาจารกึ แผนนวดวดั โพธ์ิ ๑๑........................................................................................

สว่ นท่ี ๒ การสังคายนาภูมิปัญญาการนวดไทย
ใน “ศลิ าจารกึ แผนนวดวัดโพธิ์ พ.ศ. ๒๓๗๕” ๑๓...............................................................................................................
๑. การศกึ ษาวิเคราะห์ และสงั คายนาภูมปิ ญั ญาการนวดไทย.........................................................๑๔
๒. รปู ภาพจากศิลาจารึกแผนนวดวดั โพธิ์ ๖๐ รูป ประกอบดว้ ย
ลักษณะแผนนวด และค�า/ข้อความเดมิ ที่ปรากฏบนจารกึ ...........................................................๑๕
๓. การจา� แนก โรค/อาการ /เส้น /ลม/สมฏุ ฐานโรค
จากค�าอธบิ ายแผนนวด จา� นวน ๗๑๕ ค�า ๔๕......................................................................................................................

(10)

หนา้
๔. ค�ำอธบิ ายต�ำแหน่งของจดุ ท่แี กอ้ าการ ในส่วนที่เกยี่ วขอ้ งกบั
เส้นประธานสิบ (รปู ที่ ๑-๑๘) มีจำ� นวนท้ังสิน้ ๓๐๓ จดุ ๙๖.........................................................
๕. ดัชนีคำ� ศพั ท์ท่ีปรากฏในศลิ าจารกึ แผนนวดวัดโพธ.ิ์......................................................................................๑๓๒
๖. คำ� อธิบายศัพทเ์ พ่มิ เตมิ จากคณะท�ำงาน (คทง.) ๑๔๓.............................................................................................

ภาคผนวก ๑๔๗.............................................................................................................................................................................................................................................................................................................
๑. หนังสือขออนุญาตใชห้ นังสือและภาพถ่ายต้นฉบับ
ของมูลนิธสิ าธารณสขุ กับการพฒั นา ๑๔๘..........................................................................................................................................
๒. คำ� ส่งั กรมพัฒนาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก
ท่ี ๕๙๕/๒๕๕๗ ๑๔๙.............................................................................................................................................................................................................................
๓. คำ� สั่งกรมพฒั นาการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก
ท่ี ๗๘/๒๕๕๘ ๑๕๑..................................................................................................................................................................................................................................
๔. ประวัตยิ อ่ คณะทำ� งานสังคายนาภูมิปญั ญาการนวดไทยฯ.........................................................๑๕๓

คําอธบิ ายศลิ าจารกึ วัดพระเชตพุ นวมิ ลมังคลาราม (วดั โพธ์)ิ 1

บทนํา

ศลิ าจารึกแผนนวดวดั โพธิ์ พ.ศ. ๒๓๗๕ เป็นแผนนวด ทจี่ ารกึ บนหนิ ออ่ นทีป่ ระดบั
ผนงั ของศาลารายในวดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม ราชวรมหาวหิ าร (วดั โพธ)ิ์ ซง่ึ รชั กาลที่ ๓
โปรดเกล้าฯ ให้จารกึ ไว้จา� นวน ๖๐ ภาพ เม่ือปี พ.ศ. ๒๓๗๕ แผนนวดนม้ี แี บบแผนงดงาม
ภาพวาดหุ่นท่ีแสดงเส้นและจุดแก้อยู่ในท่าพระ-ท่านางตามแบบตัวละครในวรรณคดีไทย
แผนนวดนี้ได้รับการยอมรับในแวดวงวิชาการด้านการแพทย์แผนไทยว่า เป็นแผนนวดที่มี
เน้ือหาสมบูรณ์ครบถ้วนมากที่สุดในปัจจุบัน และท่ีส�าคัญย่ิง คือ แผนนวดน้ีเป็นส่วนหน่ึง
ของศิลาจารึกวัดโพธิ์ จ�านวน ๑,๔๔๐ แผ่น อันเป็นศิลาจารึกท่ีรวบรวมองค์ความรู้ของ
สรรพวิทยาการต่าง ๆ ทั้งทางดา้ นประวตั ศิ าสตร์ ศาสนา ขนบธรรมเนยี มจารตี ประเพณี
อักษรศาสตร์ ภาษาศาสตร์ เวชศาสตร์ ตลอดจนสุภาษิต ซึ่งได้รับการยกย่องจาก
องค์การศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ให้เป็น
มรดกความทรงจา� แหง่ โลกระดบั ภูมิภาคเอเชยี แปซิฟิค (Asia/Pacific Memory of the
World Register in 2008) เม่ือวันท่ี ๒๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑ และเป็นมรดกความ
ทรงจ�าแห่งโลก (Memory of the World Register in 2011) เมื่อวันท่ี ๒๗
พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔

กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื กเหน็ ความสา� คญั ของศลิ าจารกึ แผน
นวดวัดโพธิ์ ดงั กล่าว ซึง่ มีเนือ้ หาทปี่ ระกอบดว้ ยแผนนวดทั้งคว่�าและหงายกวา่ ๖๐ ภาพ
ที่มีความครบถ้วนสมบูรณ์แบบที่สุดในประเทศไทย โดยขออนุญาตมูลนิธิสาธารณสุขกับ
การพัฒนา ใชห้ นงั สอื ต�าราเส้นสิบ ฉบบั อนรุ กั ษ์ และภาพถ่ายต้นฉบบั แผนนวดจากจารึก
บนหินอ่อนท่ีศาลาราย ในวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) ทั้ง ๖๐ ภาพ จึง
มอบหมายให้คณะท�างานด�าเนินการจ�าแนก วิเคราะห์ สังคายนาภูมิปัญญาการนวดไทย
จากศิลาจารกึ แผนนวดวดั โพธ์ิ พ.ศ. ๒๓๗๕ เพอ่ื สรา้ งชดุ ความรู้และสามารถน�าไปประยกุ ต์
ใช้สบื ไป

2 ชุดการสังคายนาภูมิปัญญาการนวดไทย: ๓

การศึกษาองค์ความรู้ “ศิลาจารึกแผนนวดวัดโพธ์ิ พ.ศ. ๒๓๗๕” ได้แบ่งเป็น
หัวข้อหลกั ดังนี้

ส่วนที่ ๑ การจำ� แนก และวิเคราะห์ องคค์ วามรู้ “ศิลาจารกึ แผนนวดวดั โพธ์ิ
พ.ศ. ๒๓๗๕”

๑. ประวตั ิการสร้าง และความสำ� คญั ของ “ศิลาจารึกแผนนวดวดั โพธ”์ิ
๒. ลกั ษณะของ “ศลิ าจารึกแผนนวดวดั โพธิ์”

ส่วนที่ ๒ การสังคายนาภมู ิปัญญาการนวดไทยใน “ศลิ าจารกึ แผนนวดวดั โพธิ์
พ.ศ. ๒๓๗๕”

๑. การศกึ ษาวเิ คราะห์ และสงั คายนาภมู ปิ ญั ญาการนวดไทย
๒. รปู ภาพจากศลิ าจารกึ แผนนวดวดั โพธ์ิ ๖๐ รปู
๓. การจ�ำแนก โรค/อาการ/เส้น/ลม/สมุฏฐานโรค จากค�ำอธิบายแผนนวด
จำ� นวน ๗๑๕ คำ�
๔. ค�ำอธิบายต�ำแหน่งของจุดที่แก้อาการในส่วนที่เก่ียวข้องกับเส้นประธานสิบ
(รปู ท่ี ๑-๑๘)
๕. ดชั นคี ำ� ศพั ทท์ ป่ี รากฏในศลิ าจารกึ แผนนวดวดั โพธ์ิ
๖. ค�ำอธิบายศพั ท์เพิม่ เติมจากคณะท�ำงาน (คทง.)

๑สวนที่

การจําแนก และวเิ คราะห องคค วามรู
“ศลิ าจารกึ แผนนวดวัดโพธ์ิ พ.ศ. ๒๓๗๕”

๑. ประวัติการสร้างและความส�าคัญ ของ “ศิลาจารึก
แผนนวดวดั โพธ”ิ์

๒. ลกั ษณะของศิลาจารกึ แผนนวดวัดโพธิ์

4 ชดุ การสังคายนาภูมิปญั ญาการนวดไทย: ๓

๑. ประวัติการสร้างและความสำ�คัญ ของ
“ศลิ าจารึกแผนนวดวัดโพธ์”ิ

ศิลาจารึกแผนนวดวัดโพธ์ิ สร้างข้ึนในสมัยพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว
รัชกาลที่ ๓ หลงั จากการบูรณปฏสิ ังขรณเ์ ป็นการใหญ่ ตั้งแตป่ ี พ.ศ. ๒๓๗๕ เปน็ ตน้ มา
แผนนวดดังกล่าวเปน็ ส่วนหน่งึ ของศลิ าจารึกท่มี าจากการโปรดเกลา้ ฯ ใหป้ ระชุมนกั ปราชญ์
ราชบัณฑิตในวิชาการสาขาต่าง ๆ ค้นคว้า รวบรวม ตรวจสอบและคัดสรรตำ� ราวิชาการ
ต่าง ๆ ใหถ้ ูกต้อง แลว้ ใหจ้ ารึกลงบนแผ่นศิลาประดษิ ฐานไว้ตามเสนาอาสนะภายในวัดโพธ์ิ
เพื่อให้อาณาประชาราษฎร์ได้ศึกษาเรียนรู้อย่างทั่วถึง จะได้ศึกษาค้นคว้าได้สะดวกยิ่งข้ึน
โดยสมเด็จกรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ ไดร้ ะบถุ ึงเหตกุ ารณด์ งั กล่าว ไวท้ ี่ค�ำน�ำ ในหนงั สอื
ประชมุ จารกึ วัดพระเชตพุ น เลม่ ๑ จ�ำพวกความเรยี ง ดังน้ี๑

“... รัชชกาล ๓ ถึงสมัยท่ีทรงบ�ำรุงความเจริญส่วนจรรยาและวิชชาความรู้ อัน
อาศัยวัดเป็นศึกษาสถานจึงทรงสถาปนาพระอาราม เพ่ือให้เจริญธรรมมนุธรรม
ปฏิบัติของพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว ก็พระอารามท้ังหลายซึ่งทรง
สถาปนานั้น วัดพระเชตุพนซึ่งสร้างเป็นพระอารามใหญ่ย่ิงกว่าวัดอื่น ๆ มาแต่
รชั ชกาลที่ ๑ ถงึ รชั กาลท่ี ๓ ชำ� รดุ ทรดุ โทรมลง พระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกลา้ เจา้ อยหู่ วั
จงึ ทรงปฏิสังขรณ์ แต่ในการท่ีปฏิสังขรณ์วัดพระเชตพุ น มพี ระราชประสงค์พิเศษ
อีกอย่างหน่ึง ซ่ึงจะให้เป็นแหล่งเล่าเรียนวิชชาความรู้ของมหาชนไม่เลือกช้ัน
บรรดาศกั ด์ิ ถา้ จะเรียกอย่างทกุ วันน้ี กค็ ือ จะเปน็ มหาวทิ ยาลยั เพราะในสมัยนั้น
ยังไม่มีการพิมพ์หนังสือไทยได้ การเล่าเรียนส่วนสามัญศึกษามีท่ีเรียนอยู่ตามวัด
ทวั่ ไป แต่สว่ นวิสามญั ศึกษาอนั จะเป็นวิชชาอาชีพของคนทั้งหลาย ยังศกึ ษาได้แต่
ในสกลุ ผอู้ ยนู่ อกสกลุ โดยฉะเพาะทเ่ี ปน็ ชน้ั พลเมอื งสามญั ไมม่ โี อกาสทจี่ ะเรยี นได.้ ..”

๑ ราชบัณฑิตยสภา, ประชุมจารึกวัดพระเชตุพน เล่ม ๑ จ�ำพวกความเรียง พิมพ์ในงานพระศพ พระวิมาดาเธอ
กรมพระสทุ ธาสนิ นี าฏ ปิยมหาราชปดวิ รดั า เมอ่ื ปีมะเสง็ พ.ศ. ๒๔๗๒, หน้า ก-ข ค�ำน�ำ.

คำ�อธิบายศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวิมลมังคลาราม (วดั โพธ)ิ์ 5

โดยส่วนหนึ่งของศิลาจารึกวัดโพธ์ิน้ี ประกอบไปด้วยต�ำรายาและต�ำรานวด ซึ่งมี

จ�ำนวนมากนับได้หลายร้อยแผ่น เนื้อหามีต�ำรายาแผนโบราณหลากหลายสาขา ซ่ึง

พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระยาบ�ำเรอ

ราชแพทยาสืบหาต�ำรายาดีมีคุณภาพจากท่ัวทุกสารทิศมาช�ำระตรวจสอบว่ารักษาได้จริง

แลว้ นำ� มาจารกึ ไว้ ดังปรากฏความในโคลง ความวา่



“พระยาบ�ำเรอราชผ ู้ แพทยา ยิง่ ฤา

ร้รู อบร้รู ักษา โรคฟ้นื

บรรหารพนักงานหา โอสถ ประสิทธ์ิเอย
จำ� หลกั ลกั ษณะยาฟื้น แผน่ ไวท้ านหลงั ”๒

อยา่ งไรก็ตาม เชอ่ื วา่ นอกจากการรวบรวมตำ� ราโดยพระยาบ�ำเรอราชแพทยาแล้ว
พระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงน�ำต�ำรายาจากจารึกวัดราชโอรสาราม
ราชวรวหิ าร ท่ีไดท้ รงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหจ้ ารกึ ไวเ้ มอื่ ปี พ.ศ. ๒๓๖๕ มาชำ� ระปรบั ปรงุ
และเพิ่มเติม โดยศิลาจารึกท่ีวัดพระเชตุพนฯ น้ัน มีมากกว่าและละเอียดสมบูรณ์กว่าที่
วัดราชโอรสารามราชวรวิหารเป็นอันมาก ครอบคลุมเกือบทุกคัมภีร์ท่ีใช้กันเป็นแบบแผน
ของการแพทย์แผนไทยในปัจจุบัน มีทั้งส่วนที่เหมือนกัน คล้ายกัน และต่างกันออกไป๓
โดยเฉพาะภาพแผนนวดทีว่ ัดราชโอรสารามราชวรวิหาร มีเพยี งแผนนวดคว่�ำ ๑ ภาพ แต่
วัดพระเชตุพนฯ มมี ากถึง ๖๐ ภาพ ซึ่งมเี นื้อหาทีแ่ ตกตา่ งกันด้วย๔

๒ พิมพ์พรรณ ไพบูลย์หวังเจริญ, ศึกษาเปรียบเทียบจารึกต�ำรายาวัดราชโอรารามราชวรวิหารกับจารึกวัดพระเชตุพน
วมิ ลมงั คลารามราชวรมหาวิหาร. ใน กรมศลิ ปากร, จารกึ ตำ� รายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร. กรุงเทพฯ, ๒๕๔๕,
หนา้ ๒๙.
๓ ศภุ ชยั ตยิ วรนันท์ และคณะ, ศิลาจารกึ ต�ำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหารที่สูญหาย. วารสารการแพทย์แผนไทย
และการแพทยท์ างเลอื ก. ปีท่ี ๗ ฉบับที่ ๑, ๒๕๕๒, หนา้ ๒๙.
๔ พิมพพ์ รรณ ไพบลู ย์หวงั เจริญ, เร่ืองเดยี วกัน, หน้า ๓๑.

6 ชุดการสงั คายนาภูมปิ ัญญาการนวดไทย: ๓

ส�ำหรับจารึกที่ว่าด้วยแผนนวดน้ัน มีจ�ำนวน ๓๐ แผ่น รวม ๖๐ รูป บอกจุด
และเส้นต่าง ๆ ทสี่ ำ� คัญในร่างกายทง้ั ดา้ นหนา้ และด้านหลัง เพอ่ื บีบนวดรักษาโรคตา่ ง ๆ ได้
ปรากฏชัดว่าเป็นส่วนหนึ่งของการจารึกในคราวปฏิสังขรณ์วัดพระเชตุพนฯ ซ่ึงจมื่น
ไชยาภรณปลัดกรมต�ำรวจใหญ่ขวาได้ก�ำกับการสร้าง และให้นายด้วงสมุห์จ่ัน ช่างเขียน
พระสงฆ์วัดสามพระยา วัดระฆัง และวัดปทุมคงคาก�ำกับการเขียนภาพและจารึก๕ โดย
ปรากฏอยู่บนจารึกวา่ ด้วยรายการแบ่งดา้ นปฏิสงั ขรณ์ ท่จี ารึกไว้บริเวณศาลาทิศเหนือหนา้
พระมหาเจดยี ์ ความว่า๖

“๏ แถลงผู้รงงสฤษฎิสรา้ งศาลา นฤี้ า
ตำ� รวจกรมใหญ่ขวา ทา่ นใช้
จมื่นชอื่ ไชยา ภรณป์ ลัด กรมแฮ
โดยราชบรรหารให ้ แจกดา้ นการเกณฑ์ ฯ
๏ สามพระยาระฆังอีกทงั้ ปทุมคง คาแฮ
สามวดั จดั ช่างสงฆ ์ ส่งให้
นายด้วงสมหุ จ์ ัน่ องค์ หน่งึ ควบ คุมนา
การวาดอาจเสร็จได ้ ด่วนดว้ ยดงงถวลิ ฯ
๏ สิบสองเสาวเลขลว้ น ชาฎก นิทานเฮย
แผนนวดนบั รูปหก สิบผู้
ทวาทศทรพิษยก ยกั ษ์ ยลพ่อ
สรี่ ูปวรรณโรคร ู้ ยอดขึน้ เดยี วแสดง ฯ”

๕ ราชบณั ฑิตยสภา, ประชุมจารึกวัดพระเชตพุ น เลม่ ๑ จ�ำพวกความเรียง, หนา้ ๔๔.
๖ ราชบัณฑิตยสภา, ประชุมจารึกวัดพระเชตุพน เล่ม ๒ จ�ำพวกบทกลอน พิมพ์ในงานพระศพ พระวิมาดาเธอ
กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปยิ มหาราชปดิวรัดา เมือ่ ปมี ะเส็ง พ.ศ. ๒๔๗๒, หนา้ ๘๙.

ค�ำ อธิบายศิลาจารึกวดั พระเชตุพนวิมลมงั คลาราม (วดั โพธ์)ิ 7

โดยจารึกไว้บริเวณคอสองทางเฉลียง ท่ีศาลาหลังเหนือหน้าพระมหาเจดีย์ ดัง

ปรากฏความเก่ียวกับบริเวณที่จารึกแผนนวดเอาไว้ ในโคลงด้นเร่ืองปฏิสังขรณ์วัด
พระเชตพุ นฯ พระนิพนธ์สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระปรมานุชิตชโิ นรส ความวา่ ๗

“๏ สองหลงั วัตถสุ บพรอ้ ม พฤศา ส่ีแฮ

ผนังใหญห่ ลงั เหนอื สรรค ์ สฤษฏสิ ร้าง

แผนทรพิษนานา หนึง่ ยอด เดยี วเฮย

แผนนวดฉลุชัน้ ขา้ ง เขตตเ์ ฉลยี ง ฯ”

แผนนวดวัดโพธิ์ มีความส�ำคัญมาก นอกจากจะเป็นส่วนหน่ึงของจารึกวัดโพธิ์
๑,๔๔๐ แผน่ ซ่ึงรวบรวมเอาภมู ปิ ัญญาของชาตไิ วแ้ ทบทกุ ศาสตรท์ กุ แขนง จนไดร้ ับการข้ึน
ทะเบียนเปน็ มรดกความทรงจำ� แหง่ โลกโดยยเู นสโกในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ แลว้ ยังนับได้วา่ เป็น
แผนนวดทมี่ เี นอื้ หาสมบรู ณค์ รบถว้ นมากทสี่ ดุ ในปจั จบุ นั มแี บบแผนทงี่ ดงามและแบบวธิ กี าร
นวดรกั ษาอยา่ งเปน็ ระบบ มภี าพแผนนวดทงั้ หงายและควำ�่ บอกกำ� เนดิ เสน้ ตา่ ง ๆ และรกั ษา
โรคจ�ำนวนถึง ๖๐ ภาพ เป็นต�ำรายาที่หมอนวดผู้ศึกษาเล่าเรียนน�ำมาใช้ได้ผลดี
มีประสิทธิภาพ รักษาให้หายจากอาการโรคได้จริง จึงได้รับความนิยมอย่างกว้างขวาง
เป็นที่ยอมรับและแพร่หลายรู้จักกันดีท้ังชาวไทยและชาวต่างประเทศ จนสามารถต่อยอด
ความรู้โดยการจัดตง้ั โรงเรียนแพทยแ์ ผนไทยของวดั โพธข์ิ นึ้ ได้ในปี พ.ศ. ๒๔๐๕๘

๗ ราชบัณฑติ ยสภา, ประชุมจารึกวดั พระเชตุพน เล่ม ๒ จ�ำพวกบทกลอน, หน้า ๕๑.
๘ ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ต�ำราการแพทย์แผนไทยวัดโพธิ์. ใน จารึกวัดโพธ์ิ: มรดกความทรงจ�ำแห่งโลก,
๒๕๕๔, หนา้ ๕๔.

8 ชดุ การสังคายนาภูมปิ ัญญาการนวดไทย: ๓

๒. ลกั ษณะของศิลาจารึกแผนนวดวดั โพธ์ิ

๒.๑ ลักษณะทางกายภาพและการจัดวาง

ศิลาจารึกแผนนวดวัดโพธ์ิ เป็นจารึกหินอ่อน แต่ละภาพมีลักษณะเป็นการจารึก
เน้ือความอยู่บนศิลาสี่เหล่ียมผืนผ้าขนาดเล็กในแนวตั้ง มีขนาด ๙ × ๓๖ เซนติเมตร๙
๒ แผ่น และมีภาพจิตรกรรมร่างกายมนุษย์ที่ระบุแผนนวดต่างกันไปทั้งหงายและคว�่ำ
ภาพละ ๑ ภาพ มจี ำ� นวนทงั้ สน้ิ ๖๐ ภาพ ประดษิ ฐานอยบู่ นผนังศาลารายคดู่ า้ นทศิ เหนอื
ของพระมหาเจดยี เ์ รียงรายทัง้ ๒ ศาลา

๒.๒ ลกั ษณะแบบแผนการจารึกแผนนวด

รปู แบบการจารกึ มแี บบแผนทงี่ ดงาม แสดงรปู คนพรอ้ มทง้ั มเี สน้ โยงบอกจดุ ตำ� แหนง่
ของเส้นในรา่ งกายทีก่ ำ� หนดเรียกวา่ แผนนวด ๖๐ ภาพ เปน็ แผนหงาย ๓๐ ภาพ และ
แผนควำ�่ ๓๐ ภาพ แผนเสน้ เหลา่ นรี้ ะบจุ ดุ ตา่ ง ๆ ทม่ี คี วามสมั พนั ธก์ นั ตลอดจนระบชุ อื่ เสน้
และจดุ ทจี่ ะแก้ไขใหบ้ รรเทาอาการโรคตา่ ง ๆ โดยมเี อกลกั ษณข์ องการจารกึ เหมอื นกนั ทกุ รปู
ดังนี้

๒.๒.๑ มขี อ้ ความบอกหรอื อธิบายรูปกำ� กับไว้ ดา้ นบนรปู ทกุ รปู
การแสดงข้อความประกอบด้วย หมายเลขของรปู ต้งั แตร่ ูปท่ี ๑ ถงึ รปู ที่ ๖๐
เคร่อื งหมาย ๏ “ฟองมัน” หนา้ ข้อความ และมีการเวน้ วรรคในข้อความอยา่ งชัดเจน
๒.๒.๒ มกี ารแสดงเสน้ และจุด พร้อมขอ้ ความ
เส้น จดุ และขอ้ ความบอกเส้นและอาการทีแ่ กต้ ่าง ๆ แสดงไว้ภายในภาพเดียวกนั
มีเส้นโยง จากจุดต่าง ๆ ไปยังพ้ืนที่ด้านข้างเพื่อบอกช่ือจุดและเส้นตลอดจนต�ำแหน่งของ
การแกอ้ าการต่าง ๆ ท่ีละเอยี ดและโยงใยเป็นระบบ

๙ ยวุ เรศ วทุ ธีรพล, การส�ำรวจและการจัดท�ำทะเบียนจารกึ วดั โพธ์ิ. ใน จารกึ วดั โพธ:ิ์ มรดกความทรงจ�ำแหง่ โลก, ๒๕๕๔,
หนา้ ๑๔๕.

คำ�อธบิ ายศลิ าจารกึ วดั พระเชตุพนวมิ ลมงั คลาราม (วดั โพธ)ิ์ 9

๒.๒.๓ ลกั ษณะภาพคนแสดงท่ามาตรฐานการนวดไทย
ภาพคนแสดงท่ามาตรฐานการนวดไทย โบราณจารย์ใช้ท่าคนยืนแยก แบะขาท้ัง
สองขา้ ง เพือ่ ให้เห็นแนวขาด้านใน ศิลาจารึกแผนนวดวัดโพธ์ิ ใชแ้ บบแผนทา่ นวด เป็นทา่
คนยืนคลา้ ยท่าพระ-ทา่ นางตามแบบตวั ละครในวรรณคดไี ทย เป็นท่ายืนตรง หน้าตรงมอง
ตรงไปข้างหนา้ แยกขาเล็กน้อย หนั สน้ เท้าเข้าหากนั ปลายเทา้ หนั ออกนอกตัว ปลายเท้า
และสน้ เทา้ ท้งั สองข้างอยู่ในแนวระนาบเดียวกัน ยืนย่อเข่า แขนแนบลำ� ตวั หงายฝ่ามอื ออก
ไปดา้ นหน้า คือแผนหงาย ทา่ ยนื แบะขา ย่อเข่า และหงายมือ การทำ� ใหเ้ ห็นแผนนวดแนว
ขาดา้ นใน และแนวนวดแขนด้านในไดอ้ ยา่ งชดั เจน ซ่ึงมีแนวนวดแก้อาการหลายจุด จึงมี
ประโยชนต์ ่อการเรยี นการสอน๑๐

๒.๓ ลกั ษณะทางเน้อื หา

ศิลาจารกึ แผนนวดวัดโพธ์ิ ทงั้ ๖๐ ภาพ เปน็ ตำ� ราแบบแผนวิธีรักษาโรคด้วยการ
ใชม้ อื หรอื นวิ้ มอื กดไปตามเส้นต่าง ๆ ของร่างกาย โดยมีฐานอยู่บนเส้นประธานทง้ั สบิ บน
รา่ งกายมนษุ ย์ เพอื่ ใหค้ ลายจากอาการของโรคอนั ประกอบดว้ ยชอ่ื เสน้ และจดุ ทจ่ี ะใชบ้ รรเทา
อาการโรคต่าง ๆ เป็นแบบแผนการรักษาที่หมอนวดน�ำมาใช้เป็นหลักในการนวดเพ่ือบ�ำบัด
รกั ษาอาการโรคตา่ ง ๆ ทส่ี ามารถรกั ษาไดด้ ว้ ยการนวดไทยเฉกเชน่ เดยี วกบั การรกั ษาดว้ ยยา

ลกั ษณะเน้อื หาทงั้ ๖๐ ภาพมีแบบแผน ประกอบด้วย
๑) ลกั ษณะแผนหงาย-แผนควำ�่
๒) บอกท่แี ก้อาการ เสน้ ลม

๒.๔ ค�ำ อธิบายเคร่อื งหมายต่าง ๆ ในศลิ าจารกึ แผนนวดวดั โพธ์ิ

ศิลาจารึกแผนนวดวัดโพธ์ิ ประกอบด้วยภาพนวดแสดงแผนหงาย และแผนคว่�ำ
มีการบันทึกตัวอักษร มีอักขรวิธีและการสะกดค�ำที่เขียนตามเสียงท่ีได้ยิน เพราะช่วงนั้น
ยังไม่มีพจนานุกรมเป็นหลักเกณฑ์ก�ำหนดวิธีการเขียนศัพท์แต่ละค�ำ ประกอบกับการใช้ค�ำ
สะกดที่แตกตา่ งกนั ของหมอและ/หรอื ช่างสลักหินแต่ละคน

๑๐ มลู นิธสิ าธารณสขุ กับการพฒั นา, รา่ งกายมนุษย์, ๒๕๕๖, หนา้ ๑๓๗.

10 ชุดการสงั คายนาภูมิปญั ญาการนวดไทย: ๓

ส�ำหรับการใช้เคร่ืองหมายวรรคตอนในศิลาจารึกวัดโพธิ์เป็นสัญลักษณ์แสดง
ความหมายต่าง ๆ กนั ตามหลกั ภาษาไทย ดังนี้

๑. เครื่องหมาย ๏ เรยี กว่า ฟองมนั ฟองดนั ตาไก่ หรือตาววั เปน็ เครื่องหมาย
ที่ใช้เขยี นต้นขอ้ ความแตล่ ะบทแต่ละความ โดยไม่จำ� กัดว่าจะเป็นวรรคเดียว บรรทดั เดยี ว
หรือหลายบรรทดั ๑๑ เช่น

๏ ลกั ษณะรปู นี้ บอกกำ� เหนิดเส้นทัง ๑๐
๒. เครอื่ งหมาย ๛ เรยี กว่า โคมูตร๑๑ ใชส้ �ำหรบั เขียนสุดท้ายและทจ่ี บเรือ่ ง
จบข้อความตอนหน่งึ เรอ่ื งหนงึ่ หรือประโยคหนง่ึ ก็ได้ เชน่
๏ ลักษณะแผนหงายรูปนี้ บอกก�ำเหนิดเส้นทัง ๑๐ อันเปนประธานแก่เส้นทัง
หลาย ๚ะ ๛๑๒
๓. เคร่ืองหมาย ฯ ๚ ๚ะ เรียกว่า อังคัน่ , อังคั่นคู่ และอังคนั่ ควู่ ิสรรชนยี ์๑๒
ซงึ่ องั คัน่ และองั ค่นั ค่มู ักใชส้ �ำหรับคั่นข้อความแตล่ ะตอนหรอื จบขอ้ ความยอ่ ย เชน่
๏ อิทาจนั ทกลาซา้ ย ๚
สว่ นองั คั่นค่วู ิสรรชนยี ์มักใชป้ ระกอบกบั เครือ่ งหมาย โคมตู ร ๚ะ ๛ ดังตัวอย่าง
ในข้อ ๒
๔. เคร่อื งหมาย ะ เรยี กว่า ละสุด ใช้เขยี นไวต้ อนท้ายของบรรทดั ซึ่งมีทวี่ า่ ง
เหลอื อยู่ เพื่อจดั กรอบหลงั ของหนา้ หนังสือใหเ้ สมอกนั

๕. เครอื่ งหมาย เรยี กวา่ ปกี กา ใชป้ ระกอบคำ� หรอื ประโยคทส่ี มั พนั ธเ์ กย่ี วขอ้ ง
กับค�ำ หรือประโยคข้างหน้าหรือข้างหลัง เพื่อประหยัดพื้นที่และเวลาในการเขียนค�ำซ�้ำ ๆ
เชน่

๏ กาละทารีน้ิว มือ ๒๐ ๚
เทา้

๑๑ ราชบณั ฑติ ยสถาน, หลกั เกณฑก์ ารใช้เครือ่ งหมายวรรคตอนและเครอ่ื งหมายอน่ื  ๆ, พิมพ์ครง้ั ท่ี ๓, เอกสารเผยแพร่
ชดุ ท่ี ๔ เนื่องในวันสถาปนาราชบณั ฑติ ยสถาน ๓๑ มนี าคม ๒๕๓๐, หน้า ๔๔, ๕๑.

๑๒ มูลนธิ สิ าธารณสุขกับการพัฒนา, ตำ� ราเสน้ สิบฉบับอนรุ กั ษ,์ ๒๕๕๔, หน้า (๘).

คำ�อธิบายศิลาจารึกวดั พระเชตุพนวมิ ลมังคลาราม (วัดโพธ)ิ์ 11

๒.๕ ลักษณะอกั ขรวธิ ีในศิลาจารกึ แผนนวดวดั โพธิ์

ดงั ไดก้ ลา่ วแลว้ ขา้ งตน้ วา่ ในการเขยี นคำ� สะกดแตล่ ะคำ� มอี กั ขรวธิ แี ละการสะกดคำ�

ท่ีเขียนตามเสียงที่ได้ยิน ประกอบกับไม่มีพจนานุกรมเป็นเคร่ืองมือก�ำหนดมาตรฐานการ
เขยี นคำ� สะกดตา่ ง ๆ ทำ� ใหก้ ารเขยี นหนงั สอื ของคนไทยดงั้ เดมิ มลี กั ษณะเปน็ หนงั สอื หนงั หา๑๓

โดยแท้ กล่าวคือ มักไม่ใส่วรรณยุกต์ในค�ำต่าง ๆ สันนิษฐานว่าคนไทยแต่ละกลุ่มแต่ละ

ภมู ภิ าคอาจมกี ารออกเสยี งคำ� คำ� เดยี วกนั ในระดบั เสยี งวรรณยกุ ตท์ ตี่ า่ งกนั จงึ เวน้ ไว้ใหอ้ า่ น

เตมิ เสียงวรรณยกุ ต์ได้ตามความถนัด

นอกจากนนั้ การใช้พยญั ชนะ สระ และตวั สะกด กเ็ ลอื กใช้ได้ตามความชอบใจของ

ผูเ้ ขียนเพยี งเพื่อสอื่ เสียงเท่านน้ั ดังนัน้ การอ่านหนงั สอื ของคนไทยสมัยกอ่ น ผอู้ า่ นจะต้อง

พิจารณาบริบทของค�ำก่อน เพื่อจะได้อ่านแล้วสามารถสื่อความหมายได้ตรงตามความ

ประสงคข์ องผ้เู ขียน เมอ่ื กาลเวลาผ่านไปมากกว่า ๒๐๐ ปี ความนยิ มในการใช้ ตวั สะกด

ศัพท์ สำ� นวน ย่อมมคี วามแตกตา่ งกนั ไปตามยุคสมยั

เช่น

เอน ในความว่า “อันว่าเอนใหญ่” หมายถึง คำ� วา่ เอ็น (เสน้ เอ็น) ในภาษา

ไทยปัจจบุ ัน

บทุ คน ในความว่า “อนั วา่ บทุ คน” หมายถึง คำ� วา่ บุคคล ในภาษาไทยปัจจุบนั

ทราบ ในความวา่ “นำ้� มนั งาอนั ไสทราบอย่”ู หมายถึงค�ำวา่ ซาบ (ซมึ ซาบ) ใน

ภาษาไทยปัจจุบนั เปน็ ต้น

อักขรวิธีแบบโบราณในค�ำศัพท์อีกหลายค�ำ ตลอดจนความนิยมการในการใช้ศัพท์

ส�ำนวนโบราณทีแ่ ตกตา่ งจากปัจจบุ ันอีกมาก เช่น

กำ� เหนดิ กำ� เนดิ

ทัง ทง้ั

เปน เป็น เปน็ ตน้



๑๓ ก่องแก้ว วีระประจักษ์, “ลักษณะอักขรวิธีต้นฉบับหนังสือกฎหมายตราสามดวง”, ใน กฎหมายตราสามดวงฉบับ
ราชบัณฑิตยสถาน, หนา้ ๒๘.

12 ชุดการสังคายนาภมู ปิ ญั ญาการนวดไทย: ๓

กล่าวได้ว่าหากจะอ่านแผนนวดให้เข้าใจลึกซ้ึงถ่องแท้จะต้องประกอบด้วยทักษะใน
การอา่ นอกั ขรวธิ โี บราณใหเ้ ขา้ ใจเป็นเบ้อื งต้น ประกอบกบั พน้ื ความร้แู ละความเข้าใจในเส้น
และจุดส�ำคัญต่าง ๆ ของร่างกาย รวมถึงมีผู้ประสิทธิ์ประสาทหลักและวิธีการรักษาด้วย
การนวดอยา่ งถกู ตอ้ ง จงึ จะสามารถพฒั นานำ� ตำ� ราวชิ าการแพทยแ์ ผนโบราณกลบั มาใชร้ กั ษา
ได้อยา่ งสมั ฤทธิผล

๒สว นที่

การสงั คายนาภมู ิปญญาการนวดไทยใน
“ศิลาจารึกแผนนวดวัดโพธ์ิ พ.ศ. ๒๓๗๕”

๑. การศกึ ษาวเิ คราะห์ และสังคายนาภูมปิ ัญญาการนวดไทย
๒. รปู ภาพจากศิลาจารึกแผนนวดวัดโพธิ์ ๖๐ รปู
๓. การจา� แนก โรค/อาการ /เส้น/ลม/สมฏุ ฐานโรค
๔. ค�าอธบิ ายต�าแหน่งของจุดท่แี ก้อาการ
๕. ดัชนีค�าศพั ทท์ ี่ปรากฏในศิลาจารกึ แผนนวดวัดโพธิ์
๖. คา� อธบิ ายศัพท์เพิม่ เตมิ จากคณะทา� งาน (คทง.)

14 ชดุ การสงั คายนาภูมปิ ญั ญาการนวดไทย: ๓

๑. การศึกษาวเิ คราะห์ และสังคายนาภูมปิ ญั ญาการนวดไทย

ทำ� การศกึ ษา การวเิ คราะห์ จดั กลมุ่ องคค์ วามรู้ และสงั คายนาภมู ปิ ญั ญาการนวดไทย
จากศลิ าจารกึ แผนนวดวัดโพธิ์ พ.ศ. ๒๓๗๕ โดยมปี ระเดน็ การศกึ ษาวเิ คราะห์ดังนี้

๑.๑ การสังคายนารูปภาพจากศิลาจารึกแผนนวดวัดโพธ์ิ ๖๐ ภาพ ได้ปรับปรุง
คณุ ภาพความคมชัดและพิมพ์ค�ำลักษณะอาการและจดุ นวดใหม่

๑.๒ ค�ำดั้งเดิมของลักษณะแผนนวด  ๖๐ ภาพ และต�ำแหน่งท่ีแก้โรค/อาการ
/เส้น /ลม/สมุฏฐานโรค รวม ๗๑๕ คำ�

๑.๓ การจำ� แนก โรค/อาการ /เส้น /ลม/สมฏุ ฐานโรค จากค�ำอธบิ ายแผนนวด
จ�ำนวน ๗๑๕ ค�ำ โดยจ�ำแนกประเภทของค�ำไดด้ ังนี้

โรค/อาการ จำ� นวน ๓๐๑ โรค/อาการ
เสน้ จำ� นวน ๗๕ เสน้
ลม จ�ำนวน ๒๕๗ จ�ำพวก
สมุฎฐานโรค จำ� นวน ๘๔ สมุฏฐาน
๑.๔ ค�ำอธิบายต�ำแหน่งของจุดที่แก้อาการ ในส่วนที่เกี่ยวข้องเส้นประธานสิบ
(รูปท่ี ๑-๑๘) มีจ�ำนวนทั้งสิน้ ๓๐๓ จดุ
๑.๕ คำ� อธิบายคำ� ศพั ท์ทปี่ รากฏในศลิ าจารึกแผนนวดวัดโพธ์ิ
๑.๖ คำ� อธบิ ายศัพทเ์ พิม่ เตมิ จากคณะทำ� งาน (คทง.)

๒. รปู ภาพจากศลิ าจารกึ แผนนวดวดั โพธ ์ิ ๖๐ รปู ประกอบดว้ ย ลกั ษณะแผนนวด และ คาำ /ขอ้ ความเดมิ ทป่ี รากฏบนจารกึ

คาํ อธิบายศลิ าจารกึ วัดพระเชตุพนวมิ ลมังคลาราม (วดั โพธ์)ิ 15

16 ชดุ การสงั คายนาภมู ปิ ญ ญาการนวดไทย: ๓

คาํ อธิบายศลิ าจารกึ วัดพระเชตุพนวมิ ลมังคลาราม (วดั โพธ์)ิ 17

18 ชดุ การสงั คายนาภมู ปิ ญ ญาการนวดไทย: ๓

คาํ อธิบายศลิ าจารกึ วัดพระเชตุพนวมิ ลมังคลาราม (วดั โพธ์)ิ 19

20 ชดุ การสงั คายนาภมู ปิ ญ ญาการนวดไทย: ๓

คาํ อธิบายศลิ าจารกึ วัดพระเชตุพนวมิ ลมังคลาราม (วดั โพธ์)ิ 21

22 ชดุ การสงั คายนาภมู ปิ ญ ญาการนวดไทย: ๓

คาํ อธิบายศลิ าจารกึ วัดพระเชตุพนวมิ ลมังคลาราม (วดั โพธ์)ิ 23

24 ชดุ การสงั คายนาภมู ปิ ญ ญาการนวดไทย: ๓

คาํ อธิบายศลิ าจารกึ วัดพระเชตุพนวมิ ลมังคลาราม (วดั โพธ์)ิ 25

26 ชดุ การสงั คายนาภมู ปิ ญ ญาการนวดไทย: ๓

คาํ อธิบายศลิ าจารกึ วัดพระเชตุพนวมิ ลมังคลาราม (วดั โพธ์)ิ 27

28 ชดุ การสงั คายนาภมู ปิ ญ ญาการนวดไทย: ๓

คาํ อธิบายศลิ าจารกึ วัดพระเชตุพนวมิ ลมังคลาราม (วดั โพธ์)ิ 29

30 ชดุ การสงั คายนาภมู ปิ ญ ญาการนวดไทย: ๓

คาํ อธิบายศลิ าจารกึ วัดพระเชตุพนวมิ ลมังคลาราม (วดั โพธ์)ิ 31

32 ชดุ การสงั คายนาภมู ปิ ญ ญาการนวดไทย: ๓

คาํ อธิบายศลิ าจารกึ วัดพระเชตุพนวมิ ลมังคลาราม (วดั โพธ์)ิ 33

34 ชดุ การสงั คายนาภมู ปิ ญ ญาการนวดไทย: ๓

คาํ อธิบายศลิ าจารกึ วัดพระเชตุพนวมิ ลมังคลาราม (วดั โพธ์)ิ 35

36 ชดุ การสงั คายนาภมู ปิ ญ ญาการนวดไทย: ๓

คาํ อธิบายศลิ าจารกึ วัดพระเชตุพนวมิ ลมังคลาราม (วดั โพธ์)ิ 37

38 ชดุ การสงั คายนาภมู ปิ ญ ญาการนวดไทย: ๓

คาํ อธิบายศลิ าจารกึ วัดพระเชตุพนวมิ ลมังคลาราม (วดั โพธ์)ิ 39


Click to View FlipBook Version