ISBN :
พิมพค์ รง้ั ที่ 1 : มถิ นุ ายน 2557
ราคา 250 บาท
เรือ่ ง สฤณี อาชวานันทกลุ
บรรณาธิการ พาฝนั ศุภวานิช
ปก สุชา สนทิ วงศฯ์ อยธุ ยา
ภาพประกอบ วิธีท�ำ สตูดโิ อ
คอมพิวเตอรก์ ราฟกิ คนึงนจิ ศวิ ะสกลุ
พิสจู นอ์ ักษร ปลายน้ำ�
ดำ� เนินการผลติ บรษิ ัท ส�ำนกั พิมพ์วงกลม จ�ำกัด
เจา้ ของและจดั พมิ พ์
บริษทั ปา่ สาละ จำ� กดั
2 ซอยสุขุมวทิ 43 คลองตันเหนอื วฒั นา กรุงเทพฯ 10110
โทรศัพท์ 0 2258 7383, 08 1806 8555
Website : www.salforest.com
Facebook : www.facebook.com/SalForestCo
พิมพ์ท่ี หจก.ภาพพมิ พ์ โทรศพั ท์ 0 2433 0026-7
จัดจำ� หนา่ ย บริษทั ซเี อ็ดยูเคชนั่ จ�ำกัด (มหาชน)
เลขที่ 1858/87-90 อาคารเนชัน่ ทาวเวอร์ ชัน้ 19
ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรงุ เทพฯ 10260
โทรศพั ท์ 0 2739 8000 โทรสาร 0 2739 8356-59
www.se-ed.com
ค�ำนำ� ในยคุ ทคี่ วามเรง่ ดว่ นของวกิ ฤตสิ งิ่ แวดลอ้ มนานปั การกดดนั ใหม้ นษุ ยย์ อมรบั
“ความจำ� เปน็ ” ของการเปลย่ี นผา่ นไปสกู่ ารพฒั นาทยี่ ง่ั ยนื นา่ เสยี ดายทว่ี กิ ฤติ
เทศกาลสงกรานต์ประจำ� ปี 2557 คล้อยหลังไปไม่นาน รฐั บาลสหรฐั อเมรกิ า ความขัดแย้งแบ่งสีในไทยอันร้าวลึกและเรื้อรังมานานเกือบ 1 ทศวรรษ
กับจีน 2 ประเทศที่ปล่อยก๊าซเรือนกระจกรวมกันเกือบคร่ึงของท้ังโลก ก็ จะกลบทับความจ�ำเป็นดังกล่าว จนยังไม่เห็นแม้เงาของนโยบายที่จะเปลี่ยน
เปดิ ฉากการเจรจาขอ้ ตกลงด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศรอบใหม่ ผ่านไปสู่การพัฒนาท่ีย่ังยืนอย่างแท้จริง ยังมิพักต้องนับว่าสื่อกระแสหลัก
ปัญหาที่รุมเร้าข้ึนเร่ือยๆ จากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกขึ้นสู่ช้ันบรรยากาศ เจียดพ้ืนที่ให้กับการตีแผ่ปัญหาอันเกิดจากนโยบายรัฐและธุรกิจท่ีไม่ย่ังยืน
กดดนั ใหส้ ภาสหรฐั อเมรกิ าผา่ น “กฎหมายอากาศสะอาด (Clean Air Act)” นอ้ ยยง่ิ กวา่ นอ้ ย และนอ้ ยลงเรอื่ ยๆ สวนทางกบั ระดบั ความเรง่ ดว่ นของปญั หา
เพอื่ กำ� กบั การปลอ่ ยกา๊ ซเหลา่ นใ้ี นฐานะ “มลพษิ ” เปน็ ครง้ั แรกในประวตั ศิ าสตร์ นกั ธรุ กจิ นกั วชิ าการ และพลเมอื งทมี่ องการณไ์ กลจ�ำนวนไมน่ อ้ ยเรม่ิ ตระหนกั
ใน พ.ศ. 2554 สว่ นในจนี ปญั หาทร่ี นุ แรงยง่ิ กวา่ สง่ ผลใหเ้ มอื งใหญน่ บั สบิ เมอื ง ในปัญหา หลายคน “รู้แล้วเปล่ียน” ในระดับท่ีตัวเองท�ำได้ แต่สังคมไทย
พงุ่ สงู ตดิ อนั ดบั โลกด้านมลพษิ ทางอากาศ คนจนี กวา่ 300 ล้านคน มากกวา่ โดยรวมยังนับว่าขาดแคลนข้อมูล และความรู้อีกมหาศาลท่ีจ�ำเป็นต่อการ
สหรฐั อเมรกิ าท้งั ประเทศ ปว่ ยเปน็ โรคทเี่ ก่ียวกบั ทางเดนิ หายใจ เปลย่ี นแปลง
ผ้นู �ำทมี เจรจาของจนี ประกาศว่า เขามน่ั ใจว่าการประชุมระดับโลกรอบตอ่ ไป หนังสือเล่มนี้เป็นส่วนเล็กๆ ของความพยายามที่จะเติมเต็มช่องว่างด้าน
ใน พ.ศ. 2558 จะไม่ล้มเหลวเหมือนกับคร้ังที่ผ่านๆ มา เพราะมลพิษทาง ข้อมูล ข้อมูลท่ีเราควรจะรู้แต่ยังไม่รู้ รู้แต่ยังไม่ครบถ้วน หรือไม่รู้แม้แต่ว่า
อากาศซงึ่ ก�ำลังรดั คอจีน และท�ำใหค้ นจนี กว่าร้อยละ 43 ประกาศว่าตนเปน็ เปน็ ขอ้ มูลทค่ี วรจะรู้
“นักส่ิงแวดล้อม” ทำ� ให้รัฐบาลจีน “จำ� เป็น” ท่ีจะต้องสร้างเศรษฐกิจท่ีเขียว ผู้เขียนขอขอบคุณพ่ีอ้อย ดร.สรณรัชฎ์ กาญจนะวณิชย์ เลขาธิการมูลนิธิ
กว่าเดมิ ให้ได้ ไม่วา่ จะเผชิญกับแรงกดดันภายนอกหรอื ไมก่ ็ตาม โลกสเี ขยี ว กลั ยาณมติ รผเู้ ออื้ เฟอ้ื พน้ื ทรี่ ายเดอื นบนเวบ็ ไซตโ์ ลกสเี ขยี ว สำ� หรบั
เน้ือหาในหนังสือเล่มนี้ถูกร้อยเรียงเป็นรูปเล่มในบริบทเช่นนี้ ในโมงยามท่ี คอลมั น์ “เศรษฐศาสตร์กโู้ ลก” ของผู้เขียน จนก่อเกดิ เป็นหนังสอื ทอ่ี ยใู่ นมอื
โลกกำ� ลงั มคี วามหวงั ครง้ั ใหมก่ บั การเจรจา ทผ่ี เู้ ชยี่ วชาญดา้ นการเปลยี่ นแปลง ของท่าน ขอขอบคณุ พีน่ วล พาฝนั ศภุ วานิช และทมี งาน ผจู้ ัดท�ำรูปเล่มและ
สภาพภูมิอากาศหลายคนบอกว่า เป็นความคืบหน้าก้าวใหญ่ท่ีสุดนับต้ังแต่ ออกแบบภาพประกอบใหส้ วยงาม และอา่ นงา่ ยสบายตากวา่ ตน้ ฉบบั ของผเู้ ขยี น
พิธีสารเกียวโตเป็นต้นมา ขอให้ทุกท่านเพลิดเพลินกับการอ่านเพื่อ “รู้” แล้วจะได้ร่วมแรงร่วมใจกัน
“เศรษฐกิจสีเขียว” หาใชน่ ามธรรมหรือวมิ านในอากาศอีกต่อไป หากแต่เริม่ “เปลยี่ น” สังคมเศรษฐกิจไทย ไปสูอ่ นาคตทยี่ ัง่ ยืนกว่าเดิม
ปรากฏให้เห็นเป็นรูปธรรมในหลายระดับท่ัวโลก และคนจ�ำนวนมากขึ้น
เร่ือยๆ ก็เร่ิมจะแยกแยะความแตกต่างได้ ระหว่างธุรกิจท่ีไม่ย่ังยืน กับธุรกิจ สฤณี อาชวานันทกุล
ทพี่ ยายามจะยงั่ ยืน
สารบัญ 12 05 โอกาสทางเศรษฐกจิ ในภาวะสภาพภูมอิ ากาศ 160
เปลีย่ นแปลง : ขอ้ คดิ จากบิล คลินตนั
ภาคที่ 1 : โลกใหม่ ข้อมูลใหม่ 18 06 “คารบ์ อนสมดลุ ” : จากอุดมคติสวู่ ิถปี ฏิบัต ิ 168
01 “ขีดจำ� กัด” ของการเตบิ โต : 07 แนวคิดและความเคล่ือนไหวเรือ่ ง “เศรษฐกิจสีเขยี ว” 182
ค�ำเตอื นข้ามยุคจากหนงั สือ 40 ปี 34 08 เมื่อมงั กรเปลยี่ นสี 212
02 ความดกั ดานของภาคการเมืองและผู้ปล่อย 42 09 พญาคชสารกบั เศรษฐกจิ คารบ์ อนต่ำ� 220
“มลพิษคารบ์ อน” 50
03 เศรษฐศาสตรข์ องภาวะโลกร้อนและภาษีคารบ์ อน 58 ภาคที่ 3 : โลกใหม่ วิถีใหม่ 230
04 ความ (ไม่) ยตุ ธิ รรมของเข่ือนขนาดใหญ ่ 68 01 ดัชนีโลกมีสุข (Happy Planet Index) 240
05 เศรษฐศาสตร์การรอื้ เขอ่ื น 02 หนีน้ เิ วศ (Ecological Debt) 248
06 มายาคตเิ ก่ียวกับพลงั งานนวิ เคลียร์ 76 03 ออฟเซต็ ความหลากหลายทางชีวภาพ
07 ภาพลวงตาและอันตรายของแนวคิด (Biodiversity Offset) 254
“อภินิหารพลงั งาน” 86 04 คน + ทนุ + ปา่ : ววิ าทะวา่ ด้วย REDD+ ในเนปาล 262
08 วทิ ยาศาสตร์และการเมอื งของจดุ ผลิตนำ้� มันสงู สุด 94 05 ความจำ� เป็นและความทา้ ทายของการทอ่ งเที่ยวเชิงอนรุ กั ษ์ 268
(Peak Oil) 06 เมือ่ นกั ออกแบบเกมชว่ ยก้โู ลก :
09 มหนั ตภยั ทรายนำ้� มนั (Tar Sands) 102 สดุ ยอดเกมคอมพวิ เตอรเ์ กยี่ วกบั สง่ิ แวดลอ้ ม 276
10 วทิ ยาศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ของจดุ นำ้� จดื สงู สดุ 110 07 การ “สะกิด (Nudge)” เพ่อื ชวี ติ และโลก 282
(Peak Water) 08 ทะเล ธรุ กจิ และอนาคตของมนษุ ยชาติ 292
11 วิกฤตินำ้� และทางออก : ข้อคดิ จากเลสเตอร์ บราวน์ 122 09 ไว้อาลยั เรย์ แอนเดอร์สนั ผูบ้ ุกเบิก “ธุรกจิ ที่ยงั่ ยนื ” 304
12 เอลนิ อร์ ออสตรอม กบั ปัญญาปฏบิ ัติของชุมชน 130 10 มูลคา่ ของการอนุรกั ษ์ : กองทุนอนุรักษ์กบั ธนาคารตน้ ไม้ 312
ภาคท่ี 2 : โลกใหม่ เศรษฐกิจใหม่ 11 ความส�ำคญั ของการประเมนิ มูลคา่ “ความยงั่ ยืน” 318
01 “นเิ วศบริการ” กบั การพัฒนาเศรษฐกิจ 140 12 การคดิ ลดกบั ความไมแ่ น่นอน 326
02 “จากอูส่ ูอ่ ู่ (Cradle to Cradle)” : 148 13 บญั ชีสง่ิ แวดลอ้ มของบริษทั พมู า 336
สูว่ ิถี “ทนุ นยิ มหลงั อุตสาหกรรม” 14 ความสำ� คัญของ “เรื่องราว (Narrative)”
03 ส่เู ศรษฐกจิ ชีวมณฑล (Biosphere Economy) และปจั จยั แห่งวังวน
04 “ความมั่งคัง่ ครอบคลมุ (Inclusive Wealth)”
เกยี่ วกบั ผเู้ ขียน 354
เกี่ยวกบั ปา่ สาละ 356
นานเทา ไรจึงตระหนกั วา ไมยั่งยนื
สฤณี อาชวานันทกลุ | กรกฎาคม 2555 เขตอทุ ยานแหง ชาตแิ มวงก จ.นครสวรรค
เผยแพรค รัง้ แรกในคอลัมน Info *Graphic* Fun บาท/ไร/ป
บนเว็บไซตไทยพับลกิ า
http://www.thaipublica.org มลู คา ปาแถบทจ่ี ะสรางเขือ่ นแมวงก
ประเมินในรางรายงาน EIA
ลานตนั /ป นาน ภาพเขาหัวโลน
บาท/ไร/ป
ขยะมูลฝอย ขยะทก่ี ำจดั มลู คาปา ในแบบจำลองทีก่ รมอุทยานฯ ใชฟองชาวบา น
ทั่วประเทศ อยางถกู ตอง 2,000 รายทว่ั ประเทศ ในขอ หาบกุ รุกปา ทำใหโลกรอ น
มาตรการสำคัญดานการพฒั นาท่ียั่งยนื ลา นบาท เขอ่ื นปากมลู จ.อุบลราชธานี
(สนี ้ำเงนิ = มีใชในไทย) เงนิ ที่คนเต็มใจบรจิ าคเพอื่ การอนรุ กั ษ รายไดจากการทำประมง
• คาธรรมเนียมบำบัดน้ำเสีย จากการสุมตัวอยา งประชากรในบริเวณใกลเคียง ท่ีชาวบานสูญเสียไป
• กฎหมายคุมแฟลร (ปลองไฟที่มไี ฟตดิ )
หวยคลติ ้ี ลานบาท
กฎหมายลงประชามตใิ นโครงการขนาดใหญ จ.กาญจนบรุ ี
• ภาษีส่งิ แวดลอม มลู คา สทุ ธิของไฟฟา
• มาตรการจดั สรรสิทธใิ นการปลอยกา ซ ป ลานบาท ทเ่ี ขือ่ นผลิตไดตอป
ระยะเวลาในการตอ สูเรียกรอ งคา ชดเชยของชาวบา น
เรือนกระจก จากกรณสี ารตะกัว่ ปนเปอ นในแหลง น้ำ นคิ มอุตสาหกรรมมาบตาพุด
• ผงั เมืองทต่ี องทำประชามตหิ รือใหป ระชาชน จ.ระยอง
บาท/เดอื น
มสี ว นรวม คาชดเชยท่ชี าวบา นรอ งขอ = คา ทดแทนการใชประโยชน พนื้ ท่กี ันชน
• องคการอสิ ระดานสิ่งแวดลอ มและสุขภาพ จากทรัพยากรธรรมชาติ + คา ใชจายในการซ้ืออาหาร เมตร ในขอ เสนอ
คณะกรรมการ 4 ฝาย จนถึง
ท่มี ีอำนาจใหค วามเห็นชอบกอ นดำเนนิ สิน้ เดือนมิถนุ ายน พ.ศ. 2555
โครงการขนาดใหญ ยงั ไมมีการดำเนนิ การ ขณะที่
• มาตรการบงั คับประสิทธิภาพในการใชพ ลงั งาน รัฐมแี ผนแมบทปโ ตรเคมี
(อาคาร อุตสาหกรรม ขนสง ฯลฯ) ระยะที่ 4 แลว
แหง กรงุ เทพมหานคร
โรงงานทั่วประเทศ ตารางเมตร/คน : พน้ื ท่ีสีเขยี ว
คน (คามาตรฐานเฉลย่ี คอื 39 ตารางเมตร/คน
ผูเชย่ี วชาญภาครฐั ดานอาชีวอนามัย ในสิงคโปรค ือ 66 ตารางเมตร/คน)
ไมครอน
ขนาดสงู สุดของฝุนที่ใชก ำหนด ตัน/คน : กาซเรือนกระจกทป่ี ลอ ยใน พ.ศ. 2550
“คามาตรฐาน” ของโรงงานไทย สงู กวา ลอนดอน และใกลเคียงกับนิวยอรก
บางสะพาน จ.ประจวบคีรขี นั ธ รถในกรุงเทพฯ ท่ีปลอยควนั ดำ
“ปาเสอื่ มโทรม” : การระบุปา พรุในผงั เมือง พ.ศ. 2549 เกินคา มาตรฐาน
เพื่อวางเปน พนื้ ทีโ่ รงถลงุ เหลก็ ตอมาชาวบาน
คดั คานจนข้ึนทะเบียนเปน พื้นที่ชมุ น้ำไดสำเรจ็
ไมครอน สฤณีอาชวานนั ทกุล 9
ขนาดของฝุนโลหะหนักท่ีเขาถึงกระแสเลอื ด มใี น
โรงไฟฟาถานหิน (จากงานวจิ ัย Harvard School
of Public Health)
ภาคที่ 1 :
โลกใหม่ ขอ้ มลู ใหม่
Faced with the choice between
changing one’s mind and proving
that there is no need to do so, almost
everyone gets busy on the proof.
- John Kenneth Galbraith -
01 วันนีจ้ ะพาทุกท่านขน้ึ ยานย้อนเวลากลับไปหาอดตี ถอยไปก่อนเกดิ วิกฤติ
นำ�้ มนั ครง้ั แรกกอ่ นทคี่ นทวั่ ไปจะเคยไดย้ นิ คำ� วา่ “โลกรอ้ น”หรอื “การพฒั นา
“ขดี จำ� กดั ” ของการเติบโต : ทย่ี ั่งยืน” และก่อนทีผ่ เู้ ขียนจะเกดิ
คำ� เตือนข้ามยคุ จากหนงั สอื 40 ปี พ.ศ. 2515 กลมุ่ นกั วทิ ยาศาสตร์ นกั อตุ สาหกรรม นกั การศกึ ษา นกั เศรษฐ-
ศาสตร์ และอกี หลายนกั จาก 10 ประเทศ เรยี กตวั เองวา่ “Club of Rome”
รว่ มกนั พมิ พห์ นงั สอื ชอื่ “The Limits to Growth (ขดี จำ� กดั ของการเตบิ โต)”
หนังสือเล่มนี้ติดอันดับหนังสือขายดีอย่างรวดเร็ว ถูกแปลเผยแพร่กว่า
30 ภาษา และขายได้ถึง 30 ล้านเล่มทว่ั โลก
ท่ีหนังสือเล่มนี้ขายดีเป็นพลุแตกก็เพราะ
บทสรปุ ของมนั นา่ ตกใจไมน่ อ้ ย กลมุ่ ผเู้ ขยี น
ใช้โมเดลคอมพิวเตอร์ท่ีทันสมัยที่สุด
ในตอนนนั้ ของมหาวทิ ยาลัยเอม็ ไอที ลาก
เส้นการเติบโตอันน่าท่ึงของประชากรโลก
หลงั สงครามโลกครั้งที่ 2 ตอ่ ไปในอนาคต
ภายใตแ้ บบจำ� ลอง (Scenarios) หลายชดุ
แทบทุกชุดได้ข้อสรุปตรงกันว่า เศรษฐกิจ
โลกจะเติบโตอย่างร้อนแรงเกินขีดจ�ำกัด
ของทนุ ธรรมชาติ และจะเขา้ สภู่ าวะลม่ สลาย
ระหว่าง พ.ศ. 2593-2613
สฤณีอาชวานนั ทกุล 13
ทรัพยากร วงจรปอ นกลับ (Feedback Loops) ของประชากร ทนุ บริการ และทรพั ยากร
อัตราการเกิด
ประชากร
อตั ราการตาย
ทารกแรกเกดิ ตอ ป
อตั ราเจริญพันธุ ตคนอปตาย
กอตัารรตาาย
วางแกผานรศคกึ รอษบาครวั บรกิ ารตอหัว
บรกิ ารสขุ ภาพ
ประชากร ผลผลิตอตุ สาหกรรม
อผตตุลอผหสลาวั หติ กรรม ตอหวั ประชากร ทนุ บรกิ าร
ทรัพยากร
อาหารตอ หวั ท่มี วี ันหมด ผลผลิต
บริการตอ หัว อุตสาหกรรม
ทนุ อสุ าหกรรม คาเส่ือมราคา
มลพิษ พ.ศ. 2443 พ.ศ. 2493 พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2593 พ.ศ. 2643 ประสิทธิภาพของทนุ การลงทุน
แบบจำลอง (Base Scenario) ประเมนิ วาจดุ ลมสลายน้ีจะมาถงึ หลัง พ.ศ. 2563 อายุเฉล่ยี ของทุน
บทสรปุ ของโมเดลทใ่ี ชใ้ น The Limits to Growth มาจากการประเมนิ ระดบั อตั ราการลงทนุ
ประชากร ทุนอตุ สาหกรรม (Industrial Capital) ทุนบรกิ าร (Service จำ� นวนประชากรและทุนอตุ สาหกรรมขึน้ อยู่กบั ระดบั ของทนุ บรกิ าร (Service Capital)
Capital อยา่ งเชน่ การศกึ ษาและบรกิ ารสขุ ภาพ) และทรพั ยากรทมี่ วี นั หมด อยา่ งเชน่ บรกิ ารสุขภาพและบริการการศกึ ษา และทนุ สำ� รองของทรพั ยากรทมี่ วี นั หมด
โดยค�ำนวณจาก “วงจรปอ้ นกลบั (Feedback Loops)” ระหว่างตวั แปร
เหลา่ น้ี ซง่ึ วงจรนก้ี เ็ ปน็ ภาพสะทอ้ นแบบแผนการเตบิ โตของแทบทกุ ประเทศ วงจรป้อนกลับน้ีสรุปได้ส้ันๆ ว่า การเติบโตทางเศรษฐกิจที่ผ่านมาต้องใช้
หลังสงครามโลกสนิ้ สดุ ทรัพยากรธรรมชาติท่ีมีวันหมดบางประเภท เช่น ถ่านหินและน�้ำมัน เพื่อ
ผลติ สนิ คา้ และบรกิ ารใหค้ นซอ้ื ไปบรโิ ภค ยงิ่ ประชากรโลกทวคี ณู ยงิ่ ตอ้ งใช้
ทรัพยากรมากข้ึน วันใดวันหนึ่งทรัพยากรก็จะหมด นอกจากน้ีย่ิงโลกมี
ประชากรมากข้ึน มีทรพั ยากรน้อยลง มลพษิ ก็จะย่งิ เปน็ ปญั หา ท้งั หมดนี้
หมายความวา่ เมอื่ เราเตบิ โตถงึ จดุ หนงึ่ เรากจ็ ะชน “ขดี จำ� กดั ” ทข่ี า้ มไมไ่ ด้ เชน่
14 สฤณีอาชวานันทกลุ 15
... เมอื่ ถงึ จดุ ทที่ รพั ยากรใกลห้ มดเรากจ็ ะไมส่ ามารถขดุ สาเหตุส่วนหน่ึงเพราะมนุษย์เรามักจะมองไม่เห็นการเติบโตแบบชี้ก�ำลัง
เ ม่ื อ เ ร า เ ติ บโ ต ถึ ง มนั ขนึ้ มาใชไ้ ดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ (“ประสทิ ธภิ าพ (Exponential) เรามักจะคิดเอาเองแบบไร้เดียงสาว่าการเติบโตจะเป็น
จุดหนึ่ง เราก็จะชน ของทนุ ” ในแผนผงั ) อกี ตอ่ ไป ไมว่ า่ จะมเี ทคโนโลยี เส้นตรง คณะผู้เขียน The Limits to Growth เตือนว่าการตักตวงทุน
“ขีดจ�ำกัด” ที่ข้าม หรอื นวตั กรรมกา้ วลำ้� นำ� สมยั เพยี งใดก็ตาม ธรรมชาตแิ ละมลพษิ ทเี่ กดิ ขน้ึ จะทำ� ใหท้ รพั ยากรโลกรอ่ ยหรอลงอยา่ งรนุ แรง
ไมไ่ ด้เชน่ เมอื่ ถงึ จดุ ที่ ตัวอย่างของประสิทธิภาพของทุนที่ลดลงเมื่อ และเมอ่ื ถงึ จดุ นนั้ การเตบิ โตกจ็ ะลม่ สลายเขา้ สภู่ าวะถดถอยทอ่ี าจกนิ เวลา
ทรัพยากรใกล้หมด ทรัพยากรใกลห้ มด คอื การผลติ นำ้� มัน อัตราการ นานหลายทศวรรษ
เราก็จะไม่สามารถ ผลิตทั่วโลกแทบไม่เพ่ิมขึ้นถึงแม้ว่าราคาพุ่งสูง คณะผเู้ ขยี นโมเดลใน The Limits to Growth ไมไ่ ดค้ ำ� นงึ ถงึ ผลกระทบของ
ขุดมันขึ้นมาใช้ได้ ขึ้นมาก (ผู้เขียนเคยสรุปก่อนหน้าน้ีในตอน หนี้หรือราคาทรัพยากร (ซ่ึงหลายชนิดถูกเก็งกำ� ไรในระบบตลาด) ซึ่งอาจ
อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ “วิทยาศาสตร์และการเมืองของจุดผลิตน�้ำมัน ทำ� ใหภ้ าวะฟองสบแู่ ละภาวะลม่ สลาย “ชนั ” กวา่ ที่คาดการณ์เอาไว้ (คน
(“ประสิทธิภาพของ สงู สดุ (Peak Oil)” http://www.greenworld. กู้เงินมาบริโภคส่งผลให้เศรษฐกิจโตเร็วกว่าถ้าไม่มีหน้ี แต่พอใช้หนี้ไม่ได้
ทุน” ในแผนผัง) or.th/columnist/ecosaveworld/1208) เศรษฐกิจกจ็ ะถดถอยแรงกวา่ ถ้าไม่มีหน้ี)
อีกต่อไป ไม่ว่าจะ ไม่น่าเช่ือก็ต้องเช่ือว่า 40 ปีหลังจากท่ีมันถูก หมุนนาฬิกากลับมา 40 ปี เข้าสู่ พ.ศ. 2555 ภัยธรรมชาติที่รุนแรงและ
มี เ ท คโ นโ ล ยี ห รื อ ตีพิมพ์ บทสรุปของหนังสือเล่มเล็กแต่ทรงพลัง กระช้ันกว่าเดิมยังมีแนวโน้มที่จะท�ำลายสถิติความเสียหายอย่างต่อเน่ือง
นวัตกรรมที่ก้าวล้�ำ เลม่ นยี้ งั ถกู เขา้ ใจผดิ และบดิ เบอื นอยา่ งกวา้ งขวาง ปัญหาสิ่งแวดล้อมนานัปการก่อความเดือดร้อนและสูญเสียที่ชัดเจน และ
นำ� สมยั เพยี งใดกต็ าม นักอุตสาหกรรมพลังงานหลายคนหัวเราะเยาะ ปัญหาหนี้สินระดับประชาชนและชาติหลายประเทศก�ำลังสอนเราอย่าง
วา่ คณะผเู้ ขยี น “ประเมนิ พลาด” เพราะนำ้� มนั ไมไ่ ด้ ชดั เจนถงึ อนั ตรายของ “เศรษฐกจิ กาสิโน” ในนยิ ามขององั ก์ถัด
... หมดโลกก่อนสนิ้ สุดศตวรรษที่ 20 ดงั ท่ีกลา่ วอ้าง ในเวลาแบบน้ี น่าจะถึงเวลาเสียทีที่เราจะหันกลับมามองงานช้ินเอกท่ี
ทัง้ ที่ The Limits to Growth ไม่เคยคาดการณว์ า่ ถกู เขา้ ใจผดิ ยอมรบั วา่ Club of Rome พดู ถกู ในสาระสำ� คญั พรอ้ มใจกนั
น้�ำมันจะหมดโลกเม่ือใด ทั้งเล่มไม่มีข้ออ้างใดๆ ฟื้นฟูทุนธรรมชาติและแก้ปัญหาส่ิงแวดล้อมอย่างเร่งด่วน แทนที่จะคิดผิด
วา่ ทรพั ยากรชนดิ ใดชนดิ หนงึ่ จะหมดโลก เพยี งแต่ ต่อไปว่า เทคโนโลยีและนวัตกรรมจะท�ำให้สังคมของเราเติบโตได้อย่าง
ย้ำ� เตอื นอยา่ งชดั เจนและสละสลวยว่า มนษุ ยชาติ ไร้ทสี่ ิน้ สุด
มีแนวโน้มท่ีจะเผชิญกับหายนะอันสลับซับซ้อน
จากการปะทะสังสรรค์ของปัญหาจ�ำนวนมาก สฤณีอาชวานันทกุล 17
ซึ่งสถาบันและนโยบายเดิมๆ ไม่อาจรับมือได้
16
02 ปจั จบุ นั คงไมม่ ใี ครปฏเิ สธวา่ ภาวะสภาพภมู อิ ากาศเปลยี่ นแปลงอนั เกดิ จาก
นำ�้ มอื มนษุ ยก์ ำ� ลงั คกุ คามมนษุ ยแ์ ละสตั วอ์ ยา่ งกวา้ งไกล และรนุ แรงขน้ึ อยา่ ง
ความดกั ดานของภาคการเมอื ง ตอ่ เนอื่ งประเดน็ ถกเถยี งใหญเ่ พยี งประการเดยี วทเ่ี หลอื อยคู่ อื “เมอื่ ไร”มนษุ ย์
และผปู้ ลอ่ ย “มลพษิ คาร์บอน” จงึ จะเรมิ่ “ปรบั ตวั ” เพอื่ “บรรเทา” ผลกระทบ และเมอ่ื ปรบั ตวั แลว้ แตล่ ะฝา่ ย
ควรปรับตัว “อยา่ งไร” บา้ ง
ภาวะสภาพภมู อิ ากาศเปลยี่ นแปลงสง่ ผลกระทบตอ่ ประเทศไทยไมน่ อ้ ยหนา้
ประเทศอื่น ยกตัวอยา่ งเชน่ ดร.สรยทุ ธ รัตนพจนารถ สรุปความเชือ่ มโยง
ระหวา่ งวกิ ฤตอิ ทุ กภยั ทรี่ นุ แรงขน้ึ เรอื่ ยๆ กบั ภาวะสภาพภมู อิ ากาศเปลย่ี นแปลง
ในบทความ “คิดใหญ่กวา่ ภยั พิบัติ” หนงั สือพิมพ์มติชน วนั ที่ 15 ตุลาคม
พ.ศ. 2554 (http://jitwiwat.blogspot.com/2011/10/blog-post_14.html)
ความตอนหนึง่ ว่า
ประเทศไทยรับอิทธิพลของปรากฏการณ์เอลนีโญ/ลานีญา ความผันแปร
ของระบบอากาศในซกี โลกใต้ (El Niño/La niña-Southern Oscillation
หรือ ENSO) ท�ำใหเ้ รามสี ภาพอากาศแปรปรวนรนุ แรง โดยปกตแิ ลว้ เกดิ
ประมาณทกุ 5 ปี แตข่ อ้ มลู ลา่ สดุ ทไ่ี ดจ้ าก ดร.รอยล จติ รดอน ผอู้ ำ� นวยการ
สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้�ำและการเกษตร (สสนก.) วงจรนี้ไม่ปกติ
แลว้ และคาดว่าจะเกดิ เฉลีย่ ทุก 11 เดอื น
สฤณีอาชวานันทกุล 19
... นักวิทยาศาสตร์เชื่อว่าการผันแปรผิดปกติของ ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2554 วุฒิสมาชิก เชลดัน ไวท์เฮาส์ (Sheldon
อันที่จริงเราอาจจะ ปรากฏการณ์ ENSO นี้ เทา่ กบั วา่ สภาพภมู อิ ากาศ Whitehouse) จากพรรคเดโมแครต ลกุ ขนึ้ ประณามสภาคองเกรสทลี่ ม้ เหลว
ไม่ต้องอาศัยข้อมูล โลกได้เลยจดุ พลิกผนั (Tipping Point) แลว้ ในการออกกฎหมายเพอ่ื รบั มอื กบั ภาวะสภาพภมู อิ ากาศเปลยี่ นแปลง ทำ� ให้
มากมายเท่าน้ีก็ได้ อันที่จริงเราอาจจะไม่ต้องอาศัยข้อมูลมากมาย สหรัฐอเมริกายังล้าหลังประเทศอ่ืนโดยเฉพาะยุโรปค่อนข้างมาก ในการ
ตัวอย่างจาก ดร. เทา่ นก้ี ไ็ ด้ตวั อยา่ งจากดร.วงั การีมาไทนกั ชวี วทิ ยา เปลย่ี นผา่ นไปสเู่ ศรษฐกจิ โฉมใหม่ท่ใี ส่ใจสง่ิ แวดล้อม ในบทประณามยาว
วงั การี มาไท นกั ชวี - สตรีสาวชาวเคนยา ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขา 23 นาที เขาสรุป “ค�ำโกหกใหญ่” 2 เร่อื งของฝา่ ยผู้ก่อมลพิษทีไ่ มค่ ดิ จะ
วิทยาสตรีสาวชาว สนั ติภาพ เม่ือ พ.ศ. 2547 เคยใหส้ ัมภาษณไ์ วว้ า่ เปลยี่ นวถิ ธี รุ กจิ และสภาวะชะงกั งนั ในภาคการเมอื งอเมรกิ นั ไดอ้ ยา่ งชดั เจน
เคนยา ผไู้ ดร้ บั รางวลั “การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกน่ะหรือ ผเู้ ขียนจงึ อยากแปลมาน�ำเสนอในตอนน้ี
โนเบลสาขาสนั ตภิ าพ ฉันรแู้ น่นอนวา่ มันกำ� ลงั เกิดขนึ้ ฉนั แค่เดินออกไป เพราะหลายสง่ิ ทไ่ี วทเ์ ฮาสอ์ ธบิ าย ชา่ งละมา้ ยคลา้ ยกบั สถานการณป์ จั จบุ นั
เมอื่ พ.ศ. 2547 เคย นอกบา้ น ฉันก็ร้แู ลว้ ” ในประเทศไทยย่งิ นัก
ให้สัมภาษณ์ไว้ว่า ผลกระทบจากภาวะสภาพภมู อิ ากาศเปลยี่ นแปลง
“การเปล่ียนแปลง นน้ั มขี อ้ มลู หลกั ฐานพอกพนู ขนึ้ เรอ่ื ยๆ แตใ่ นขณะ ทา่ นประธานาธบิ ดคี รบั ผมมาทน่ี เ่ี พอื่ พดู เกยี่ วกบั หวั ขอ้ ทเ่ี มอื งนไ้ี มน่ ยิ ม
สภาพภมู อิ ากาศโลก เดยี วกนั ผมู้ อี ำ� นาจทางการเมอื งในหลายประเทศ ในวอชิงตันนี่คนบางกลุ่มมองว่าการพูดเรื่องภาวะสภาพภูมิอากาศ
น่ะหรือ ฉนั รูแ้ น่นอน กลับยังท�ำหูทวนลม มองเห็นแต่เม็ดเงินของทุน เปลยี่ นแปลงหรอื มลภาวะคารบ์ อนหรอื การทม่ี ลภาวะคารบ์ อนกำ� ลงั ทำ� ให้
ว่ามันก�ำลังเกิดข้ึน อุตสาหกรรมที่ล้าหลัง เหล่าผู้ปล่อย “มลพิษ สภาพภมู ิอากาศเปล่ียนไป เรอ่ื งทัง้ หมดน้กี ลายเป็นเรอ่ื งผดิ กาลเทศะ
ฉันแค่เดินออกไป คาร์บอน” ท่ีซ้�ำเติมให้ปัญหารุนแรงกว่าเดิม ผู้มี ทางการเมืองไปแล้วครบั
นอกบา้ น ฉนั กร็ แู้ ลว้ ” อ�ำนาจบางประเทศหมกมุ่นแต่กับความขัดแย้ง ซึ่งก็เป็นสถานการณ์ที่ประหลาดมากของวอชิงตัน ถ้าท่านออกไปดู
ทางการเมือง ใช้นโยบายประชานยิ มชนดิ มกั ง่าย กองทัพหรือวงการขา่ วกรองของเรา พวกเขาเขา้ ใจและก�ำลังเตรียมตวั
... สายตาส้ันที่ขัดแย้งกับหลักการพัฒนาที่ย่ังยืน รับผลกระทบท่ีมลภาวะคาร์บอนมีต่อสภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง
เพียงเพ่ือช่วงชิงคะแนนเสียงระยะสั้น ส่งผลให้ มองว่ามันเป็นความเสี่ยงต่อความม่ันคงของชาติ ถ้าหากท่านออกไป
ภาครฐั สายตาสน้ั มากขน้ึ แทนทจี่ ะนอ้ ยลง ในยคุ ที่ พูดคุยกับธุรกิจและภาคการเงินที่ไม่ปล่อยมลพิษคาร์บอน พวกเขาก็
วกิ ฤตริ ะดบั โลกนานปั การเรยี กรอ้ งใหเ้ รามองการณ์ มองว่าน่เี ปน็ ปญั หาท่ีมีอยู่จริงและส�ำคญั และแนน่ อนคงไม่ตอ้ งพูดว่า
ไกลกว่าท่เี คยมองในอดตี ทกุ ยคุ ทุกสมัย ชุมชนนักวิทยาศาสตร์ของเรากังวลมากเพียงใด แต่ก็อย่างที่ผมบอก
ครับ วอชงิ ตนั เป็นท่แี ปลก ทน่ี ่ีเราคุยปญั หานก้ี นั น้อยมาก
20
สฤณีอาชวานนั ทกลุ 21
ในวอชงิ ตัน เรารสู้ ึกไดว้ ่ามือมดื ของผ้กู ่อมลพษิ เอือ้ มมาสะกิดไหล่ผู้มี ตามกฎหมายนใี้ ชเ้ งนิ 836 ลา้ นเหรยี ญสหรฐั ฯ ...
อำ� นาจรฐั หลายคนเหลอื เกนิ ในเมอ่ื เบอ้ื งหลงั มอื มดื นคี้ อื อำ� นาจและเงนิ ประมาณ 1 ใน 6 ของตัวเลขท่ีสถาบัน หลักฐานมากมาย
แน่นอนว่าแทบไม่มใี ครสนใจการสะกิดไหลน่ ี้เลย ส่งิ ทเ่ี รามองขา้ มไป Edison Electric ประเมิน ยืนยันว่ากฎเกณฑ์
คอื ธรรมชาติ ดาวเคราะหโ์ ลกของพระผเู้ ป็นเจา้ ก็ก�ำลังสะกิดไหลเ่ รา เมอื่ ผปู้ ลอ่ ยมลพษิ ถกู กฎหมายบงั คบั ใหค้ อ่ ยๆ ก�ำ กั บ ดู แ ล ด ้ า น
ทกุ คนเชน่ กนั สง่ สารทอ่ี นั ตรายหากละเลย เราละเลยสารของธรรมชาติ เลิกใช้สารเคมีที่กัดกินชั้นบรรยากาศโลกจน ส่ิงแวดล้อมส่งผลดี
และเราละเลยกฎธรรมชาติของพระผูส้ รา้ งอย่างอนั ตรายมาก เปน็ รู พวกเขากข็ วู่ า่ การทำ� ตามกฎหมายจะกอ่ ต่อเศรษฐกิจ มัน
กระแสความอึดอัดคับข้องใจทางเศรษฐกิจท่ีมีความชอบธรรมถาโถม ใหเ้ กดิ “ความเสยี หายทางเศรษฐกจิ และสงั คม อาจท�ำให้ต้นทุนสูง
เขา้ ใสเ่ มอื งหลวงของเรา ปญั หาคอื กลมุ่ ผลประโยชนบ์ างกลมุ่ ผกู้ อ่ มลพษิ อยา่ งรนุ แรง”จาก“การปดิ อปุ กรณท์ ำ� ความเยน็ ข้ึนถ้าหากคุณเป็น
ได้แทรกซึมตัวเองเข้าไปในกระแสน้ี คล้ายกับพยาธิที่คืบคลานเข้าไป ในซูเปอรม์ าร์เกต อาคารสำ� นักงาน โรงแรม ผู้ปลอ่ ยมลพิษ
ในร่างของส่ิงมีชีวิตท่ีมันอาศัย และจากในน้ันก็ก่อกวนอย่างเลวร้าย และโรงพยาบาล” แตค่ วามจรงิ คอื การเลกิ ใช้
พวกเขาเหลา่ นี้ก�ำลงั เผยแพร่ค�ำโกหก 2 เรือ่ งใหญ่ เรือ่ งแรกคอื หาวา่ สารเคมีอย่างเป็นข้ันเป็นตอนเกิดข้ึนเร็วกว่า ...
กฎเกณฑก์ ารกำ� กบั ดแู ลดา้ นสงิ่ แวดลอ้ มเปน็ ภาระตอ่ เศรษฐกจิ อา้ งวา่ ทพ่ี ยากรณ์ 4-6 ปี มีต้นทุนต่�ำกวา่ พยากรณ์
เราต้องยกภาระเหล่านั้นออกเพื่อเร่งการฟื้นฟูเศรษฐกิจ ค�ำโกหก ร้อยละ 30 และอุตสาหกรรมท�ำความเย็น
เร่ืองท่ี 2 คือ หาว่าเรายังไม่มีหลักฐานที่ชัดเจนเพียงพอว่ามลพิษ ของสหรัฐอเมริกาก็สร้างนวัตกรรมและสร้าง
คาร์บอนก่อให้เกิดสภาพภูมิอากาศเปล่ียนแปลง ดังนั้นเราจึงไม่ควร ตลาดส่งออกใหม่ๆ ส�ำหรับผลิตภัณฑ์ท่ีเป็น
กังวลเร่ืองนี้หรือแม้แต่เตรียมพร้อมรับมือ ทั้ง 2 เร่ืองน้ีไม่จริงอย่าง มิตรตอ่ สงิ่ แวดลอ้ มของพวกเขา
ส้ินเชงิ ครบั เอาเถดิ ครับ ประเด็นทแ่ี ท้จริงคือ เราไม่ได้อยู่
หลกั ฐานมากมายยนื ยนั วา่ กฎเกณฑก์ ำ� กบั ดแู ลดา้ นสงิ่ แวดลอ้ มสง่ ผลดี ในสภาน้ีเพื่อเป็นตัวแทนของผู้ปล่อยมลพิษ
ต่อเศรษฐกิจ มันอาจท�ำให้ต้นทุนสูงข้ึนถ้าหากคุณเป็นผู้ปล่อยมลพิษ เราอยู่ที่นี่เพราะมีหน้าท่ีเป็นตัวแทนของ
แต่ผู้ปล่อยมลพิษก็มักจะอ้างต้นทุนเกินเลย ยกตัวอย่างเช่น ก่อนท่ี ชาวอเมริกันทั้งมวล และชาวอเมริกันก็ได้
กฎหมายเกยี่ วกบั ฝนกรด พ.ศ. 2533 จะถกู บงั คบั ใช้ บรษิ ทั Peabody ประโยชน์มหาศาลจากกฎเกณฑ์ก�ำกับดูแล
Coal (พีบอดี โคล) ประเมินว่าการท�ำตามกฎหมายนี้จะท�ำให้ภาค ด้านส่ิงแวดล้อม
ธุรกิจเสียเงิน 3,900 ล้านเหรียญสหรัฐฯ สถาบัน Edison Electric
ผสมโรงประเมินว่าการท�ำตามกฎหมายจะต้องใช้เงิน 4,000-5,000 สฤณีอาชวานันทกุล 23
ล้านเหรียญสหรัฐฯ ที่จริงส�ำนักงานข้อมูลพลังงานค�ำนวณว่าการท�ำ
22
ยกตวั อยา่ งเชน่ ตลอดชว่ งชวี ติ ของกฎหมายอากาศบรสิ ทุ ธ์ิ (Clean Air “ข้อมูลจากการสังเกตการณ์ทั่วโลกชี้ชัดว่าภาวะสภาพภูมิอากาศ
Act) ชาวอเมรกิ นั ไดป้ ระโยชนด์ า้ นสขุ ภาพและดา้ นอน่ื รวมกนั คดิ เปน็ เปลี่ยนแปลงก�ำลังด�ำเนินไป และงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ท่ีรัดกุมก็
มลู คา่ 30เหรยี ญสหรฐั ฯตอ่ คา่ ใชจ้ า่ ยทกุ 1เหรยี ญสหรฐั ฯทเี่ กดิ จากกลไก แสดงให้เห็นว่าก๊าซเรือนกระจก ซ่ึงปล่อยจากกิจกรรมของมนุษย์เป็น
ควบคมุ มลพษิ ทจี่ รงิ กลไกควบคมุ เหลา่ นน้ั สรา้ งงานดว้ ย เพราะตอ้ งหา ตวั ขบั เคลอ่ื นหลกั ขอ้ สรปุ เหลา่ นมี้ าจากขอ้ มลู หลกั ฐานหลายชดุ ทเี่ กบ็
ผู้ผลิตมาผลิตอุปกรณ์ควบคุมมลพิษ และหาคนอเมริกันมาติดตั้งมัน รวบรวมอย่างเป็นอิสระต่อกัน การโต้แย้งหลักฐานเหล่าน้ีขัดแย้งกับ
แต่ถา้ ไมน่ บั เรอ่ื งน้ี ผมวา่ อตั ราสว่ นประโยชน์ตอ่ ตน้ ทนุ 30 ตอ่ 1 จาก ผลการประเมนิ ทางวิทยาศาสตร์อย่างเป็นภววสิ ยั จำ� นวนมาก ซ่งึ ผ่าน
การรกั ษาอากาศของเราใหบ้ รสิ ทุ ธก์ิ ด็ เู ปน็ การลงทนุ ทเ่ี ปย่ี มปญั ญามาก การทบทวนในวงวิชาการแล้ว”
ตวั เลข 30 ตอ่ 1 นย่ี งั ไมร่ วมประโยชน์นามธรรมนะครบั ประโยชน์ที่ ผมขอทวนประโยคสุดทา้ ยอีกทีนะครับ
มองไมเ่ หน็ แตเ่ ปน็ คณุ ปู การจรงิ ๆ ของอากาศและนำ้� ทบี่ รสิ ทุ ธ์ิ ประโยชน์ “การโตแ้ ยง้ หลกั ฐานเหลา่ นขี้ ดั แยง้ กบั ผลการประเมนิ ทางวทิ ยาศาสตร์
ต่อจิตใจและจิตวิญญาณ ประโยชน์ที่ปู่ได้รับจากการพาหลานสาวไป อยา่ งเป็นภววิสัยจำ� นวนมาก ซงึ่ ผา่ นการทบทวนในวงวชิ าการแล้ว”
ตกปลาในที่ท่ียังมีปลาให้ตก หรือเด็กชาวกรุงไปชายหาดที่น�้ำทะเล ผู้ลงนามท้ายจดหมายฉบับนั้นคือผู้อ�ำนวยการของสถาบันต่อไปนี้ :
ยังสะอาดพอที่จะว่าย หรือประโยชน์ท่ีมารดาได้รับจากการไม่ต้อง American Association for the Advancement of Science, the
พะวักพะวงขณะน่ังเฝ้าทารกท่ีป่วยเป็นโรคหอบหืดหายใจผ่านเคร่ือง AmericanChemicalSociety,theAmericanGeophysicalUnion,
พ่นยาอัลบเู ทรอลในหอ้ งฉกุ เฉนิ รอให้ปอดนอ้ ยๆ ของเขาโปร่งโลง่ the American Institute of Biological Sciences, the American
โชคร้ายครับท่ผี ูป้ ลอ่ ยมลพษิ มอี �ำนาจในบางมมุ ของวอชิงตัน พวกเขา Meteorological Society, the American Society of Agronomy,
พ่นโฆษณาชวนเชื่อพอๆ กบั พน่ มลพิษ และพวกเขาก็พ่นท้งั สองอยา่ งนี้ the American Society of Plant Biologists, the American
มากเกินไปมากแล้ว Statistical Association, the Association of Ecosystem Research
คำ� โกหกคำ� โตเรอ่ื งท่ี 2 คอื พวกเขาอา้ งวา่ เรายงั ไมม่ หี ลกั ฐานแนช่ ดั วา่ Centers, the Botanical Society of America, the Crop Science
มลพิษคาร์บอนจากน�้ำมือมนุษย์ก่อให้เกิดภาวะสภาพภูมิอากาศและ Society of America, the Ecological Society of America, the
น�้ำทะเลเปลี่ยนแปลงข้ันอันตรายจริงหรือไม่ จนถึงวันน้ีสถาบันทาง Natural Science Collections Alliance, the Organization of
วทิ ยาศาสตรแ์ ละวชิ าการทมี่ ชี อื่ เสยี งแทบทกุ แหง่ ของเราไดป้ ระกาศวา่ Biological Field Stations, the Society for Industrial and Applied
สภาพภมู อิ ากาศเปลยี่ นแปลงกำ� ลงั ดำ� เนนิ ไป และกจิ กรรมมนษุ ยเ์ ปน็ Mathematics, the Society of Systematic Biologists, the Soil
สาเหตุใหญ่ของมัน พวกเราในสภาคองเกรสหลายคนได้รับจดหมาย Science Society of America และ the University Corporation
จากสถาบนั เหลา่ นนั้ ในเดอื นตลุ าคม พ.ศ. 2552 ผมขออา่ นบางยอ่ หนา้ for Atmospheric Research.
จากจดหมายน้ันนะครับ
สฤณีอาชวานนั ทกลุ 25
24
เหลา่ น้ลี ้วนเปน็ สถาบนั ทน่ี า่ เชอื่ ถือท้งั สน้ิ พวกเขาคือของจริง พวกเขา กระจกุ ตวั มากขน้ึ มนั ยง่ิ กกั เกบ็ ความรอ้ นมากขน้ึ ตาม ตำ� รา พ.ศ. 2498
ไม่คิดว่าเรายังมีหลักฐานไม่เพียงพอ พวกเขาตระหนักว่าพอแล้วและ ช่ือ “ช้ันบรรยากาศอันน่าท่ึงของเรา” ระบุว่าเกือบ 1 ศตวรรษก่อน
กถ็ ึงเวลาลงมือแล้ว จอห์น ทินดอลล์ผู้นี้เสนอว่า การลดปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ใน
นักวิทยาศาสตร์สภาพภูมิอากาศกว่าร้อยละ 97 ท่ีมีผลงานตีพิมพ์ ชั้นบรรยากาศจะท�ำให้โลกเย็นลง ขณะท่ีการเพ่ิมขึ้นของมันจะท�ำให้
อยา่ งสมำ�่ เสมอยอมรบั วา่ เรามหี ลกั ฐานมากพอแลว้ วา่ มลพษิ คารบ์ อน โลกร้อนขึ้น
กำ� ลงั ทำ� ใหส้ ภาพภมู อิ ากาศและสภาพนำ�้ ทะเลเปลยี่ นแปลง รอ้ ยละ 97 ตน้ พ.ศ. 2443 หรอื 1 ศตวรรษทแี่ ลว้ เปน็ ทชี่ ดั เจนวา่ การเปลยี่ นแปลง
นะครับ ลองคดิ ดู ของปรมิ าณคารบ์ อนไดออกไซดใ์ นชนั้ บรรยากาศอาจสง่ ผลใหอ้ ณุ หภมู ิ
ลองจินตนาการดูว่าถ้าหากลูกของท่านป่วย แพทย์บอกว่าต้องรักษา เฉลยี่ ประจำ� ปขี องโลกสงู ขน้ึ หรอื ลดลงอยา่ งมาก และชดั เจนวา่ คารบ์ อน
ดว้ ยความรอบคอบ ท่านกไ็ ปถามแพทยค์ นท่ี 2 เสร็จแลว้ กถ็ ามตอ่ ไป ไดออกไซดท์ ป่ี ลอ่ ยจากนำ้� มอื มนษุ ย์ โดยเฉพาะการเผาถา่ นหนิ สง่ ผล
เรือ่ ยๆ จนไดค้ วามเหน็ ที่ 2 ถงึ 99 คน พบว่าแพทย์ 97 จาก 100 คน ต่อการเปลี่ยนแปลงท่ีว่านี้ น่ีไม่ใช่เร่ืองใหม่เลยครับ เหล่านี้คือหลัก
ในนั้นเห็นพ้องต้องกันว่าลูกของท่านป่วยและต้องได้รับการรักษา วิทยาศาสตรท์ ี่หนกั แน่น
ลองจนิ ตนาการตอ่ ไปครบั ว่า ในบรรดาแพทย์ 3 คนที่ไมเ่ หน็ ดว้ ยนน้ั ผมขอหยบิ หนังสอื “ชน้ั บรรยากาศอนั นา่ ทึ่งของเรา” ที่ผมพดู ถงึ เมือ่ ก้ี
บางคนรบั เงนิ จากบรษิ ทั ประกนั สขุ ภาพทต่ี อ้ งจา่ ยคา่ รกั ษาพยาบาลลกู ซึ่งตีพมิ พใ์ น พ.ศ. 2498 ปีเดียวกันกบั ท่ีผมเกิด กวา่ ครึ่งศตรรษที่แล้ว
ของทา่ น ลองนึกภาพตอ่ ว่า 3 คนน้ไี ม่มีใครเลยมนั่ ใจว่าลูกของท่าน หนงั สอื ในซรี สี ์ “วทิ ยาศาสตรส์ ำ� หรบั คนทวั่ ไป” ผมจะอา่ นบางตอนนะครบั
ไมเ่ ปน็ อะไร เพยี งแตบ่ อกวา่ ไมม่ น่ั ใจวา่ ปว่ ยเปน็ โรคอะไร หรอื ตอ้ งรกั ษา “ถงึ แมว้ า่ คารบ์ อนไดออกไซดใ์ นชนั้ บรรยากาศจะคงทอี่ ยทู่ รี่ อ้ ยละ 0.03
จริงหรือเปลา่ พวกเขาบอกวา่ มขี อ้ สงสัย จากข้อเทจ็ จรงิ เหล่าน้ี ลองนึก ทว่ั โลก ปรมิ าณของมนั ในอากาศกไ็ มเ่ คยแนน่ อน ในประวตั ศิ าสตรโ์ ลก
ชอ่ื พอ่ หรอื แมม่ าหนง่ึ คนสคิ รบั ทจ่ี ะไมร่ กั ษาลกู ของเขา ไมม่ พี อ่ แมส่ ตดิ ี มบี างชว่ งทมี่ คี ารบ์ อนไดออกไซดใ์ นอากาศมากกวา่ ทต่ี อนนม้ี ี บางชว่ ง
คนไหนหรอกทจ่ี ะหนั หลงั ใหก้ บั ความเหน็ รอ้ ยละ 97 ของแพทย์ 100 คน มันต่�ำผิดปกติ การเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ส่งผลกระทบกว้างไกลมาก
เพียงเพราะไมใ่ ช่ร้อยทั้งรอ้ ยที่มน่ั ใจร้อยเปอรเ์ ซ็นต์ เชอื่ วา่ มนั มอี ทิ ธพิ ลตอ่ สภาพภมู อิ ากาศโลกดว้ ยการควบคมุ พลงั งานท่ี
วิทยาศาสตร์เรื่องน้ีแข็งแค่ไหนครับ แข็งเป็นหินเลย ข้อเท็จจริงที่ว่า โลกสูญเสยี ข้นึ สู่อวกาศ เมอ่ื เกือบ 1 ศตวรรษกอ่ น นักวิทยาศาสตร์
คารบ์ อนไดออกไซดใ์ นชนั้ บรรยากาศกกั เกบ็ ความรอ้ นจากดวงอาทติ ย์ ชาวองั กฤษ จอหน์ ทนิ ดอลล์ เสนอวา่ การลดลงของคารบ์ อนไดออกไซด์
นน้ั เปน็ สง่ิ ทคี่ น้ พบตงั้ แตส่ มยั สงครามกลางเมอื งอเมรกิ นั มนั ไมใ่ ชเ่ รอ่ื ง ในชน้ั บรรยากาศอาจทำ� ใหโ้ ลกเยน็ ลง และการเพม่ิ ขนึ้ ของมนั อาจทำ� ให้
ใหม่ ใน พ.ศ. 2406 นกั วทิ ยาศาสตรช์ าวไอรชิ จอหน์ ทนิ ดอลล์ (John โลกร้อนข้ึน ชั้นบรรยากาศซึ่งมีคาร์บอนไดออกไซด์ท�ำตัวเหมือนกับ
Tyndall) คน้ พบวา่ ย่ิงคารบ์ อนไดออกไซดแ์ ละไอนำ้� ในชนั้ บรรยากาศ เรือนกระจกที่กกั เกบ็ ความรอ้ นของดวงอาทติ ย์
26 สฤณีอาชวานนั ทกุล 27
การแผ่รังสีจากดวงอาทิตย์ในรูปแสงแดดสามารถทะลุทะลวงมาถึง เรารู้อะไรอีกครับ เรารู้ว่านับตั้งแต่การปฏิวัติอุตสาหกรรมเป็นต้นมา
ผวิ โลก ซง่ึ ดดู ซบั ไวใ้ หโ้ ลกไดร้ บั ความอบอนุ่ แตโ่ ลกเองกแ็ ผร่ งั สพี ลงั งาน มนษุ ยชาตไิ ดเ้ ผาผลาญเชอื้ เพลงิ คารบ์ อนเขม้ ขน้ ในปรมิ าณทวี่ ดั ได้ และ
กลับออกไปในรูปของคล่ืนความร้อน ถ้าหากคลื่นเหล่าน้ีทะลุช้ัน ในปริมาณทเ่ี พ่ิมข้ึนเรอื่ ยๆ เรารู้วา่ เราปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ 7-8
บรรยากาศกลบั ออกไปเชน่ เดียวกบั แสงแดดได้ มนั กน็ ำ� เอาความร้อน กิกะตันตอ่ ปี หนึ่งกกิ ะตนั เท่ากับ 1 พนั ลา้ นตนั ดงั นน้ั ถ้าคุณจะปล่อย
ที่มาจากดวงอาทิตย์ส่วนหนึ่งกลับออกไปได้ คาร์บอนไดออกไซด์ คารบ์ อน 7-8 กกิ ะตนั ตอ่ ปี แนน่ อนวา่ ปรมิ าณคารบ์ อนในชน้ั บรรยากาศ
ในอากาศหยุดการหลบหนีของคล่ืนความร้อน ทำ� ตวั เหมือนผา้ หม่ ให้ ตอ้ งเพม่ิ ขน้ึ
โลกรอ้ นตอ่ ไป ยงิ่ อากาศมคี ารบ์ อนไดออกไซดม์ ากเทา่ ไร มนั ยงิ่ ปดิ กนั้ “ปลอ่ ยตรงนม้ี ากขน้ึ แลว้ เจอตรงโนน้ มากขน้ึ ” ไมใ่ ชท่ ฤษฎวี ทิ ยาศาสตร์
การหลบหนีของความร้อนโลกอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นเท่าน้ัน ทซ่ี บั ซอ้ นนะครบั ไมใ่ ชเ่ รอื่ งยากทจ่ี ะเขา้ ใจ และตวั เลข 7-8 พนั ลา้ นตนั
ความผันผวนของคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศช่วยหนุนให้เกิดภาวะ ต่อปีสชู่ ัน้ บรรยากาศก็เป็นเร่ืองใหญม่ ากถ้าเราดูประวัติศาสตรโ์ ลก
สภาพภูมอิ ากาศเปลยี่ นแปลงหลายครั้งในอดตี ” โอเค ตอนน้ีเราวัดปริมาณคาร์บอนท่ีเพิ่มสูงขึ้นในชั้นบรรยากาศโลก
นคี่ ือ พ.ศ. 2498 ครบั จาก “ช้ันบรรยากาศอนั น่าทงึ่ ของเรา” ในซรี ีส์ ผมยำ�้ อกี ครงั้ วา่ นค่ี อื การวดั จรงิ ไมใ่ ชท่ ฤษฎใี ดๆ ปจั จบุ นั คารบ์ อนอยทู่ ี่
“วิทยาศาสตร์ส�ำหรับคนทวั่ ไป” ไม่ใช่อะไรที่เพิง่ คิดค้นมาไม่นาน ระดบั 390 ส่วนในล้านส่วน
ลองดขู อ้ เทจ็ จรงิ ทเ่ี ราสงั เกตไดจ้ รงิ ในโลกทก่ี ำ� ลงั เปลยี่ นแปลงของเราใบนี้ 800,000 ปีทคี่ าร์บอนอยู่ระหวา่ ง 170-300 สว่ นในล้านส่วน ตอนน้ี
ตลอดระยะเวลา 800,000 ปีที่ผ่านมา 8,000 ศตวรรษ จนถึงเม่ือ เราเกิน 390 แล้ว
ไม่นานมาน้ี ชั้นบรรยากาศมีคาร์บอนไดออกไซด์ระหว่าง 170-300 การเพิ่มข้ึนน้ีมีทิศทาง การประเมินวิถีก็ไม่ใช่เรื่องใหม่ เป็นสิ่งที่
สว่ นในลา้ นสว่ น นไี่ มใ่ ชท่ ฤษฎี เปน็ การวดั จรงิ ครบั นกั วทิ ยาศาสตรว์ ดั นกั วทิ ยาศาสตร์ นกั ธรุ กจิ และทหารของเราทำ� อยทู่ กุ วนั ถา้ เราลากเสน้
ปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ในอดีตได้ ยกตัวอย่างเช่น ด้วยการมอง มลพษิ คารบ์ อนตอ่ ไปจากวนั น้ี โลกจะมคี ารบ์ อน 688 สว่ นในลา้ นสว่ น
หาฟองอากาศท่ีติดอยู่ในธารน้�ำแข็งโบราณ ท�ำให้เรารู้ว่าตลอดระยะ เมอ่ื ถงึ พ.ศ. 2638 และ 1,097 สว่ นในลา้ นสว่ น ใน พ.ศ. 2738 ตวั เลข
เวลาที่นานมากๆ คาร์บอนไดออกไซดอ์ ยูท่ ่เี ทา่ ไร 2 ตัวน้ีไม่เพียงแต่หลุดกรอบของ 800,000 ปี แต่หลุดกรอบล้าน
ลา้ นปี ทนิ ดอลลค์ น้ พบตง้ั แตส่ มยั สงครามกลางเมอื งแลว้ วา่ การเพมิ่ ขนึ้
28 ของปริมาณคาร์บอนจะกักเก็บความร้อนจากดวงอาทิตย์มากข้ึนและ
เพ่ิมอณุ หภมู โิ ลก
สฤณีอาชวานันทกุล 29
ผมขอจบด้วยการทบทวนขนาดของอันตรายที่เราจะเผชิญถ้าหากเรา การสญู พนั ธ์ุ 2 ครงั้ ใหญใ่ นมหาสมทุ รเกดิ ขน้ึ เมอื่ 55 และ 251 ลา้ นปี
ไมล่ งมอื ทำ� ผมพดู ไปแลว้ วา่ ตลอด 800,000 ปที ผี่ า่ นมา คารบ์ อนได- ที่แล้ว ประเมินว่าอัตราท่ีคาร์บอนลอยสู่ช้ันบรรยากาศก่อนท่ีจะเกิด
ออกไซดอ์ ยทู่ รี่ ะดบั 170-300 สว่ นในลา้ นสว่ น ตงั้ แตป่ ฏวิ ตั อิ ตุ สาหกรรม เหตุการณ์ท้ังสองน้ีอยู่ที่ประมาณ 2.2 และ 1-2 กิกะตันต่อปี ตาม
เป็นตน้ มา ตัวเลขตอนน้ีอยู่ที่ 390 ส่วนในล้านส่วน ถ้าหากเรายงั อยู่ ล�ำดับ ตลอดระยะเวลาหลายพันปี นักวิทยาศาสตร์จากออกซ์ฟอร์ด
ในวิถีเดิมต่อไป รุ่นหลานของเราจะพบกับโลกที่คาร์บอนไดออกไซด์ ตง้ั ขอ้ สังเกตว่า
ทะลุ 700 ส่วนในล้านส่วนก่อนส้ินศตวรรษน้ี 2 เท่าของขีดบนสุด ตวั เลขประเมนิ ทง้ั สองกรณนี เ้ี ลก็ นอ้ ยมาก เมอ่ื เทยี บกบั อตั ราการปลอ่ ย
ในขอบเขตทเี่ ราใช้ชีวติ มา 8,000 ศตวรรษ คาร์บอนในปัจจบุ ัน
ลองมองในบริบทดูนะครับ มนุษยชาติท�ำการเกษตรมาประมาณ ผมพูดไปแล้วนะครับว่าตัวเลขตอนน้ีคือ 7-8 กิกะตันต่อปี ผู้เข้าร่วม
10,000 ปี ไม่ชัดเจนว่า 800,000 ปีท่ีแล้วเราจัดการกับไฟได้ไหม งานสัมมนาเชิงปฏิบัตกิ ารสรปุ ดงั ต่อไปน้คี รบั
อารยธรรมมนษุ ยท์ ง้ั หมดทเ่ี คยมมี าเกดิ ขนึ้ ในชว่ ง 800,000 ปที วี่ า่ น้ี และ ถา้ หากเราไมล่ งมอื ทนั ที ผลพวงของกจิ กรรมมนษุ ยก์ ส็ มุ่ เสย่ี งทจ่ี ะกอ่ ให้
ภายในขอบเขตคารบ์ อน 170-300 สว่ นในลา้ นสว่ น ถา้ หากเราถอยไป เกิดการสูญพันธุ์ขนานใหญ่ระดับโลกคร้ังใหม่ในทะเล จากส่วนผสม
ไกลกวา่ นัน้ เรากจ็ ะถอยไปไกลถงึ ธรณีกาลเลยเดียว ของภาวะสภาพภมู อิ ากาศเปลย่ี นแปลง การตกั ตวงทรพั ยากรธรรมชาติ
ในเดอื นเมษายนปนี ้ี ผเู้ ชยี่ วชาญวทิ ยาศาสตรก์ ลมุ่ หนง่ึ มารวมตวั กนั ท่ี เกินขนาด มลพิษและการสูญเสียถิ่นท่ีอยู่ของสัตว์และพืช กฎฟิสิกส์
มหาวทิ ยาลยั ออกซฟ์ อรด์ อภปิ รายกนั เรอ่ื งสภาวะปจั จบุ นั ของมหาสมทุ ร กฎเคมแี ละกฎวทิ ยาศาสตร์ เหลา่ นล้ี ว้ นเปน็ กฎธรรมชาตคิ รบั เปน็ กฎ
รายงานของการประชมุ เชงิ ปฏิบัตกิ ารครง้ั นรี้ ะบวุ า่ กิจกรรมของมนุษย์ แหง่ โลกของพระผสู้ รา้ ง เรายกเลกิ กฎหมายบางอยา่ งได้ แตเ่ รายกเลกิ
ไดท้ ำ� ใหม้ หาสมทุ รรอ้ นขนึ้ เปน็ กรดมากกวา่ เดมิ และตอนนกี้ ก็ ำ� ลงั ทำ� ให้ กฎเหล่านี้ไม่ได้ พวกเราบรรดาวุฒิสมาชิกคุ้นเคยกับการท่ีความเห็น
มหาสมทุ รเกดิ ภาวะพรอ่ งออกซเิ จน (Hypoxia) มากขนึ้ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ของเรามีน�้ำหนักมากในเมืองน้ี แต่ความเห็นของเราไม่ส่งผลต่อกฎ
ผลการศกึ ษาโลกในอดีตชี้ชดั วา่ อาการทง้ั สามอย่างน้ี ...เชื่อมโยงกับ เหลา่ นค้ี รบั มนั ไมส่ นใจหรอกวา่ ใครมอี ทิ ธพิ ล คณุ มนี กั ลอ็ บบกี คี่ น หรอื
การสูญพันธุ์ขนานใหญ่ 5 ครง้ั บนโลกทผ่ี ่านมา บริษัทคุณมีเงินมากแค่ไหน ข้อพิจารณาเหล่านี้ซึ่งส�ำคัญเหลือเกิน
ในเมอื งนไ้ี มส่ �ำคญั เลยส�ำหรบั กฎธรรมชาติ
30
สฤณีอาชวานันทกุล 31
ในเมื่อเราไม่อาจยกเลิกหรือมีอิทธิพลเหนือกฎธรรมชาติได้ เราจึงมี สฤณีอาชวานนั ทกลุ 33
หน้าท่ีท่ีจะปกป้องดูแล มองดูและตอบสนองต่อข้อเท็จจริงตามกฎ
ธรรมชาติที่อยู่ตรงหนา้ เรา เรามหี นา้ ทีท่ จ่ี ะไมส่ นใจเสยี งขู่ของผ้ปู ลอ่ ย
มลพษิ กระเปา๋ หนกั เรามหี นา้ ทที่ จี่ ะท�ำในสง่ิ ทถี่ กู ตอ้ งส�ำหรบั ลกู หลาน
ของเรา และสำ� หรับโลกทพ่ี ระเจา้ มอบแด่เรา
ตอนน้ีผมต้องมาอยู่ต่อหน้าสภาแห่งนี้ เพื่อเตือนทุกท่านว่าเราก�ำลัง
ล้มเหลวในหน้าท่ีน้ัน ทั้งผู้ชายและผู้หญิงในสภาแห่งน้ีก�ำลังล้มเหลว
อยา่ งรา้ ยกาจครบั เรากำ� ลงั ถกู ประวตั ศิ าสตรป์ ระณามและเหยยี ดหยาม
อาจไมใ่ ชส่ ปั ดาหน์ ห้ี รอื สปั ดาหห์ นา้ ครบั บรรดานกั บดิ เบอื นขอ้ มลู ทำ� งาน
ของพวกเขาได้ แตท่ ้ายท่สี ุดแล้ว ค�ำพพิ ากษารนุ แรงซึ่งเปน็ อ�ำนาจของ
ประวัติศาสตร์ต่อสิ่งท่ีไม่ถูกต้องก็จะตกลงบนบ่าเราอย่างแน่นอน
พระผู้สร้างท่ีมอบโลกอันอุดมให้กับเราน้ัน ทรงสร้างโลกท่ีไม่ได้มีแต่
ความอดุ มสมบรู ณ์ แตเ่ ปน็ โลกแหง่ ผลพวงเชน่ กนั ทา่ นมอบความมเี หตุ
มีผลให้เราใช้วางแผนและคาดการณ์ผลพวงต่างๆ ของกฎธรรมชาติ
เหล่านนั้
เราไม่มีหมวกหรือไม้กายสิทธิ์ของพ่อมดท่ีจะเสกให้ทั้งหมดน้ีหายไป
นะครบั เรารกู้ ฎธรรมชาตดิ แี ลว้ สารทโ่ี ลกสง่ ถงึ เรากช็ ดั เจนแลว้ ความ
ล้มเหลวของเราคู่ควรกับการถูกประณาม ผลพวงของมันกว้างขวาง
ลกึ ซึง้ และต้นทนุ ก็จะมหมึ ามหาศาล
32
03 ปัจจุบันภาวะโลกร้อนและภาวะสภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate
Change) เป็นปัญหาเร่งด่วนที่รัฐบาลทุกประเทศท่ัวโลกให้ความสำ� คัญ
เศรษฐศาสตร์ของภาวะโลกร้อน เป็นอนั ดบั ต้นๆ ในการดำ� เนินนโยบาย ยกเวน้ ประเทศสว่ นน้อยอยา่ งไทย
และภาษีคาร์บอน ท่ีรัฐบาล สื่อ และประชาชนท่ัวไปยังคิดว่าเป็นเร่ือง “ไกลตัว” ท้ังที่ความ
ปรวนแปรของภาวะสภาพภมู อิ ากาศสง่ ผลกระทบตอ่ คนไทยมากขน้ึ เรอื่ ยๆ
ยังไม่นับผลพวงจากการใช้ฉลากคาร์บอนของตลาดส่งออกส�ำคัญอย่าง
สหรัฐอเมริกาและยุโรป ที่มีแนวโน้มว่าจะเริ่มใช้จริงในอนาคตอันใกล้น้ี
การใช้ฉลากคาร์บอนจะส่งผลกระทบโดยตรงกับภาคเกษตรของไทยท่ี
ส่วนใหญ่ยงั ท�ำนาแบบน้ำ� ท่วมขงั ซึง่ ใช้นำ้� ปรมิ าณมหาศาลและปล่อยกา๊ ซ
มีเทนสงู
มีคนไทยกี่คนที่รู้ว่าประเทศไทยมีรายได้ต่อหัว ...
ประชากรเปน็ อันดบั ที่ 81 ของโลก แตป่ ล่อยกา๊ ซ คนกรุงเทพฯ ปล่อย
คาร์บอนไดออกไซด์สูงเป็นอันดับที่ 21 ของโลก คารบ์ อนเฉลย่ี ตอ่ คน
และปล่อยก๊าซน้ีเพิ่มขึ้นร้อยละ 12 ต่อปี สูงเป็น สงู ถงึ คนละ 7.3 ตนั
อันดับ 2 ของโลก คนกรุงเทพฯ ปล่อยคาร์บอน ต่อปี สูงกว่าคนใน
เฉลยี่ ตอ่ คนสงู ถงึ คนละ 7.3 ตนั ตอ่ ปี สงู กวา่ คนใน ประเทศรำ่� รวยหลาย
ประเทศรำ�่ รวยหลายแหง่ รวมทงั้ นวิ ยอรก์ ลอนดอน แหง่ รวมทง้ั นวิ ยอรก์
และโตเกียว ลอนดอนและโตเกยี ว
...
สฤณีอาชวานันทกลุ 35
ตราบใดท่ียังไม่มีการศึกษาวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ และคนไทยยังใช้ ในประเด็นนี้ ศาสตราจารย์วิลเลียม นอร์ดเฮาส์ (William Nordhaus
พลงั งานสน้ิ เปลอื งอยา่ งไมร่ รู้ อ้ นรหู้ นาว โดยเฉพาะคนกรงุ เทพฯ เรากไ็ มอ่ าจ โฮมเพจ http://nordhaus.econ.yale.edu/) นกั เศรษฐศาสตรผ์ เู้ ชย่ี วชาญ
ยกระดับเร่อื งนี้ใหเ้ ป็นวาระแห่งชาติได้ ดา้ นเศรษฐศาสตรข์ องภาวะโลกรอ้ นจากมหาวทิ ยาลยั เยล ผคู้ ดิ คน้ แบบจำ� ลอง
ววิ าทะเรอื่ งนใี้ นวงการเศรษฐศาสตรเ์ ปลยี่ นแปลงไปเรอื่ ยๆ ตามความคบื หนา้ ผลกระทบจากโลกร้อนที่ใช้อ้างอิงอย่างแพร่หลาย ได้สรุปประเด็นทาง
ของการศึกษาในวงการวิทยาศาสตร์ สมัยท่ีนักวิทยาศาสตร์ยังถกเถียง เศรษฐศาสตร์ โดยเฉพาะอนั ตรายของการใชต้ ลาดคารบ์ อนเปน็ กลไกหลกั
ประเด็นพื้นฐานกนั อยวู่ า่ ภาวะโลกรอ้ นมจี ริงหรอื ไม่ จะกอ่ ให้เกดิ อนั ตราย ในการแกป้ ัญหา และเหตุผลท่ีควรใช้ภาษคี าร์บอน ไวใ้ นการบรรยายเรอื่ ง
ขนาดไหน ฯลฯ นกั เศรษฐศาสตรจ์ ำ� นวนมากกม็ องวา่ เราไมค่ วรเสยี่ งลงทนุ “ประเด็นเศรษฐศาสตร์ในการออกแบบข้อตกลงโลกเร่ืองภาวะโลกร้อน”
ท�ำอะไรเพ่ือแกไ้ ขปญั หาน้ี เพราะขอ้ มลู หลักฐานยังไม่ “นงิ่ ” ซ่งึ การลงทุน ท่เี มอื งโคเปนเฮเกน เดนมารก์ เดอื นมีนาคม พ.ศ. 2552 ก่อนการประชมุ
ในเรื่องนี้จะต้องใช้ทรัพยากรมหาศาล และใช้เวลานานกว่าจะเกิดผล ถ้า หารอื เร่อื งกตกิ าโลกรอบใหมจ่ ะเรม่ิ ตน้ ผู้เขียนจะสรปุ ความมาเล่าส่กู นั ฟัง
ลงทนุ ไปแลว้ สมมตวิ า่ นกั วทิ ยาศาสตรพ์ บขอ้ มลู ใหมท่ พ่ี สิ จู นว์ า่ โลกรอ้ นไม่ ในบทความนี้ (อ่านบทบรรยายฉบับเต็มได้ที่ http://nordhaus.econ.
รนุ แรงเท่ากบั ทเี่ คยเช่ือ การลงทุนที่ท�ำไปแลว้ กอ็ าจไม่ค้มุ ค่าหรือสูญเปล่า yale.edu/documents/Copenhagen_052909.pdf)
ไปทั้งหมดเลยกไ็ ด้ นอร์ดเฮาส์ย�้ำว่า การรับมือกับภาวะสภาพภูมิอากาศเปล่ียนแปลงจะต้อง
นกั เศรษฐศาสตร์กงั วลกับเร่ืองน้ี เพราะโจทยพ์ นื้ ฐานของเศรษฐศาสตร์คือ อาศัยความรู้ความเข้าใจในวิทยาศาสตร์ของเร่ืองน้ีอย่างถ่องแท้ แต่ปัจจัย
จะจดั สรรทรัพยากรท่มี ีจ�ำกดั อยา่ งไรใหเ้ กดิ ประโยชนส์ ูงสุด สำ� คญั อกี ปจั จยั หนงึ่ ทขี่ าดไมไ่ ดเ้ ลยคอื การออกแบบเครอื่ งมอื ทางเศรษฐศาสตร์
เนอื่ งจากตอนนเี้ รามขี อ้ มลู หลกั ฐานเรอื่ งภาวะโลกรอ้ นชดั เจน และมองเหน็ ท่ีมีประสิทธิผล นั่นคือสามารถสร้างแรงจูงใจให้ประเทศต่างๆ และผู้เล่น
อนั ตรายมากขน้ึ เรื่อยๆ นักเศรษฐศาสตร์จงึ เลกิ ถกประเดน็ ทีว่ ่าเราควรท�ำ ในตลาดทกุ ฝา่ ยตกลงจบั มอื กนั แกป้ ญั หา ทผี่ า่ นมาเศรษฐศาสตรข์ องนโยบาย
อะไร “หรือไม่” ไปแล้ว (ยกเว้นนักเศรษฐศาสตร์ฝ่ายขวาจัดบางคนที่รับ ภาวะสภาพภมู อิ ากาศเปลยี่ นแปลงใหบ้ ทเรยี นกบั เรา 3 ประการ ประการแรก
เงินจากบริษัทยักษ์ใหญ่ปล่อยคาร์บอนสูงท่ีไม่ยอมเปลี่ยน หรือไม่ก็ถูก การเพมิ่ “ราคา” ของคารบ์ อนเป็นเง่อื นไขพื้นฐานท่จี �ำเป็นต่อการลงมอื ใช้
ล้างสมอง) เปล่ียนเป็นคุยกันวา่ เราควรท�ำ “อะไร” และ “อย่างไร” ให้ลด นโยบายตา่ งๆ ในทางทจี่ ะทำ� ใหเ้ รามที างเลอื ก และเขา้ ถงึ ผมู้ อี ำ� นาจตดั สนิ ใจ
การปล่อยคาร์บอนไดจ้ รงิ จ�ำนวนมากในทุกพ้ืนท่ีและทุกภาคส่วน ประการท่ี 2 ทุกประเทศจะต้อง
มีส่วนร่วมในมาตรการที่เป็นมาตรฐานสากล สอดคล้องและบังคับใช้ได้
36 ทว่ั โลก
สฤณีอาชวานันทกลุ 37
... บทเรยี นประการสุดทา้ ยคอื ระบบก�ำหนดเพดาน ชนดิ ใดบา้ งใชค้ ารบ์ อนมากกวา่ (เชน่ การผลติ ไฟฟา้ จากถา่ นหนิ ) และปจั จยั
ระบบกำ� หนดเพดาน และใหค้ ้าคารบ์ อน (Cap and Trade) ทอ่ี ยู่ใน ชนดิ ใดใชน้ อ้ ยกวา่ หรอื ไมใ่ ชเ้ ลย (เชน่ การผลติ ไฟฟา้ จากพลงั งานลม) ผผู้ ลติ
และให้ค้าคาร์บอน พธิ สี ารเกยี วโตนนั้ ไดพ้ สิ จู นใ์ หเ้ หน็ แลว้ วา่ เปน็ กลไก จะมแี รงจงู ใจทจ่ี ะยา้ ยไปใชเ้ ทคโนโลยคี ารบ์ อนตำ่� เพราะมนั ถกู กวา่ ชอ่ งท่ี 3
(Cap and Trade) ท่ี ทไ่ี มเ่ หมาะสม กลไกนท้ี ำ� ใหร้ ฐั สญู เสยี รายไดอ้ นั มคี า่ ราคาคาร์บอนที่ค่อนข้างสูงจะส่งสัญญาณตลาด และสร้างแรงจูงใจทาง
อยใู่ นพธิ สี ารเกยี วโต จำ� นวนประเทศทเ่ี ขา้ รว่ มอยใู่ นระดบั ตำ่� ทำ� ใหร้ าคา การเงินให้นักประดิษฐ์และนักนวัตกรรมพัฒนาและวางตลาดสินค้า และ
น้ันได้พิสูจน์ให้เห็น ผันผวน และเปิดโอกาสใหน้ กั เกง็ กำ� ไรเขา้ มาฉวย กระบวนการคาร์บอนต�่ำ ซ่ึงในที่สุดจะสามารถทดแทนเทคโนโลยีที่ใช้
แล้วว่าเป็นกลไกท่ี โอกาสทำ� กำ� ไร (รวมทง้ั นายทนุ ทกี่ วา้ นซอ้ื ทด่ี นิ ไป คารบ์ อนสงู ในปจั จบุ นั ได้ ชอ่ งที่ 4 ซง่ึ เปน็ ชอ่ งทแี่ ยบยลทสี่ ดุ คอื การตง้ั ราคา
ไมเ่ หมาะสม ไม่นบั ปลกู ปา่ พชื เชงิ เดย่ี วเพอื่ ขายคารบ์ อนเครดติ ทำ� ให้ คารบ์ อนจะชว่ ยประหยดั ขอ้ มลู ทผ่ี เู้ ลน่ ในตลาดจำ� เปน็ ตอ้ งใชใ้ นการทำ� 3 เรอ่ื ง
ปัญหา “จริยวิบัติ ชาวบ้านผู้ไร้ที่ดินท�ำกินประสบความเดือดร้อน ทกี่ ลา่ วไปขา้ งตน้ แนน่ อนวา่ การตง้ั ราคานไี้ มใ่ ชแ่ กว้ สารพดั นกึ ทจ่ี ะแกป้ ญั หา
(Moral Hazard)” มากกว่าเก่า) ยังไม่นบั ปญั หา “จรยิ วิบตั ิ (Moral ไดท้ ง้ั หมด ผลกระทบภายนอก (Externalities) และความบกพรอ่ งของตลาด
คอื คนปลอ่ ยคารบ์ อน Hazard)” คือคนปล่อยคาร์บอนไม่มุ่งลดการ (Imperfections) ในตลาดพลังงานและตลาดอ่ืนๆ จะยังคงมีอยู่ แต่ถ้า
ไม่มุ่งลดการปล่อย ปลอ่ ยคารบ์ อนของตวั เองลงอยา่ งจรงิ จงั เพราะคดิ เราไม่มีสัญญาณจากราคาที่ชัดเจน การตัดสินใจจ�ำนวนมากท่ีจ�ำเป็นก็
คาร์บอนของตัวเอง วา่ เดย๋ี วกไ็ ปหาซอ้ื เอาในตลาดคารบ์ อนเครดิตได้ ไม่อาจเกดิ ได้อย่างทันท่วงที
ลงอยา่ งจรงิ จงั เพราะ นอรด์ เฮาสม์ องวา่ เปน็ ไปไมไ่ ดท้ โ่ี มเดลของพธิ สี าร นอรด์ เฮาสย์ อมรบั วา่ จดุ ออ่ นของภาษคี ารบ์ อนคอื มนั ไมไ่ ดน้ �ำเศรษฐกจิ โลก
คิดว่าเด๋ียวก็ไปหา เกียวโตจะช่วยให้เราสามารถบรรลุเป้าการลด ไปสเู่ ปา้ หมายอะไรทชี่ ดั เจน เชน่ “ความเขม้ ขน้ ของคารบ์ อนในชนั้ บรรยากาศ
ซอื้ ในตลาดคารบ์ อน คาร์บอนได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตอ้ งไมเ่ กนิ 350 สว่ นตอ่ ลา้ นสว่ น ภายใน พ.ศ. 2563” หรอื “อณุ หภมู เิ ฉลย่ี
เครดติ ได้ เขาเสนอว่าภาษีคาร์บอนที่จัดเก็บเป็นมาตรฐาน ต้องเพิ่มไมเ่ กนิ 2 องศา ภายใน พ.ศ. 2563” และดังนัน้ บางคนจงึ มองว่า
เดยี วกนั ท่ัวโลกนา่ จะเป็นกลไกที่ดกี ว่ากันมาก ภาษคี ารบ์ อนจะตอ้ ง “ผกู ” เขา้ กบั เปา้ หมายเชงิ ปรมิ าณถา้ จะใหม้ นั ไดผ้ ล แต่
... การเพ่ิมราคาตลาดของคารบ์ อนจะสร้างแรงจงู ใจ นอรด์ เฮาสเ์ ตอื นวา่ ตวั เลขเหลา่ นย้ี งั มคี วามไมแ่ นน่ อนสงู ปจั จบุ นั เรายงั ไมร่ ู้
อย่างมหาศาลให้ทุกฝ่ายลดการปล่อยคาร์บอน ว่าการปล่อยก๊าซระดับใดแน่ที่จะน�ำไปสู่จุดท่ีจะเกิดหายนะอย่างไม่มีวัน
โดย 4 ช่องทางด้วยกัน ช่องแรก ราคาคาร์บอน หวนคนื ถ้าใช้ตัวเลข เราอาจจะต้ังเปา้ ไวส้ งู เกนิ ไปหรอื ต�่ำเกนิ ไป ท�ำใหต้ งั้
สง่ สญั ญาณใหผ้ บู้ รโิ ภครบั รวู้ า่ สนิ คา้ และบรกิ ารใด ขดี จำ� กดั ไวเ้ ขม้ งวด (และแพง) เกนิ ไปหรอื หละหลวมเกนิ ไป นอกจากนกี้ าร
ปล่อยคาร์บอนสูง และเม่ือของเหล่าน้ันมีราคา ตงั้ เพดานบงั คบั กจ็ ะยง่ิ ทำ� ใหป้ ระเทศตา่ งๆ ขาดแรงจงู ใจทจ่ี ะรว่ มลงนามใน
แพงขน้ึ ผู้บรโิ ภคก็จะใช้มนั น้อยลง ช่องที่ 2 ราคา กตกิ าโลก เพราะไมอ่ ยากผกู มดั ตวั เองหรอื กลวั วา่ จะเสยี เปรยี บประเทศอนื่
คาร์บอนส่งสัญญาณให้ผู้ผลิตรู้ว่าปัจจัยการผลิต และตราบใดทปี่ ระเทศสว่ นใหญไ่ มเ่ หน็ ดว้ ย ไมว่ า่ วธิ แี กป้ ญั หาจะดบี นกระดาษ
เพยี งใดกน็ ำ� ไปใชจ้ รงิ ไมไ่ ด้ เพราะเรอ่ื งนเี้ ปน็ ปญั หาใหญท่ ตี่ อ้ งใหท้ กุ ประเทศ
38 จบั มอื กัน
สฤณีอาชวานันทกุล 39
นอร์ดเฮาส์บอกว่า การเก็บภาษีคาร์บอน (ที่ไม่ก�ำหนดเพดานการปล่อย สฤณีอาชวานันทกลุ 41
คารบ์ อน) เปน็ วธิ ี “ฉนั มติ ร” ทจ่ี ะชกั จงู ใหป้ ระเทศตา่ งๆ เขา้ รว่ มมากกวา่ ระบบ
ของพธิ สี ารเกยี วโต ปจั จยั สำ� คญั แหง่ ความสำ� เรจ็ ของภาษนี คี้ อื “ราคา” ของมนั
ตอ้ งถกู กำ� หนดเปน็ มาตรฐานเดยี วกนั ทวั่ โลก ไมม่ ธี รุ กจิ หรอื ภาคสว่ นทไ่ี ดร้ บั
การยกเวน้ และตอ้ งกำ� หนดระยะเวลาการบังคบั ใช้ทชี่ ัดเจน
ระบบทน่ี อรด์ เฮาสเ์ สนอคอื ระบบทผี่ สมระหวา่ งการใชป้ รมิ าณและราคาเปน็
ตวั ต้ัง เขาเรียกระบบน้ีว่า “ระบบกำ� หนดเพดานและเกบ็ ภาษี (Cap and
Tax)” ยกตวั อยา่ งเช่น รฐั อาจใช้ระบบ Cap and Trade แบบเดิม ควบคู่
ไปกบั การเกบ็ ภาษคี ารบ์ อนขน้ั ตำ�่ และ “วาลว์ ปลอดภยั (Safety Valve)”
ทใี่ ห้บริษทั ซื้อไดใ้ นราคาแพงข้ึน เช่น รฐั อาจก�ำหนดภาษไี วท้ ี่ 30 เหรยี ญ
สหรฐั ฯ ตอ่ ตนั คารบ์ อน และใหบ้ รษิ ทั ซอ้ื “ใบอนญุ าต” สว่ นเกนิ ไดใ้ นราคา
ที่แพงข้ึนร้อยละ 50 วิธีน้ีจะสร้างแรงจูงใจให้ทุกฝ่ายเปล่ียนพฤติกรรมให้
สอดคลอ้ งกบั “ตน้ ทนุ ” ทเ่ี พมิ่ ขนึ้ และถา้ ทกุ ฝา่ ยมแี รงจงู ใจไปในทางเดยี วกนั
เรากจ็ ะเปลี่ยนผ่านไปสูร่ ะบอบเศรษฐกิจคารบ์ อนต่ำ� ได้
ก่อนทีจ่ ะสายเกินแก้
40
04 ประเดน็ ใหญป่ ระเดน็ หนง่ึ ในประเทศไทยทคี่ นในสงั คมยงั ถกเถยี งกนั อยา่ ง
คลุมเครือ และไม่เคยคลี่คลายด้วยองค์ความรู้ท่ีชัดเจน คือนโยบายสร้าง
ความ (ไม่) ยตุ ธิ รรมของ เขื่อนขนาดใหญ่ที่นักการเมอื งชอบหยิบมาปดั ฝ่นุ อยูเ่ นอื งๆ
เขื่อนขนาดใหญ่ ตวั อยา่ งลา่ สดุ ใน พ.ศ. 2553 คอื นโยบายสรา้ งเขอื่ นแกง่ เสอื เตน้ ทหี่ ลายคน
คิดว่า “จบ” ไปแลว้ กวา่ 1 ทศวรรษก่อน แตร่ ฐั บาลและกรมชลประทาน
ยงั อ้างวา่ จะสามารถแกไ้ ขปญั หาภยั แลง้ และน้ำ� ทว่ มได้ ทง้ั ทผ่ี ลการศึกษา
มากมายจากหลายภาคส่วนได้ข้อสรุปไปในทางเดียวกันวา่ โครงการน้แี ก้
ปญั หานำ�้ ทว่ มไดเ้ พยี งรอ้ ยละ 8 (รายงานขององคก์ ารอาหารและการเกษตร
แหง่ สหประชาชาต)ิ ทงั้ ยงั ไมค่ มุ้ ทนุ ทางเศรษฐศาสตร์ (รายงานของสถาบนั
วจิ ยั เพอ่ื การพฒั นาประเทศไทย) และจะสง่ ผลกระทบตอ่ ระบบนเิ วศในอทุ ยาน
แห่งชาติแม่ยมมหาศาลในระดับท่ีฟื้นฟูขึ้นมาใหม่ไม่ได้อีก (รายงานของ
สำ� นกั งานกองทุนสนับสนุนการวิจัย จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย และมลู นธิ ิ
คุ้มครองสัตว์ป่าและพรรณพืชแห่งประเทศไทย) ยังไม่นับการศึกษาของ
กรมทรพั ยากรธรณที ช่ี ช้ี ดั วา่ บรเิ วณทมี่ แี ผนจะสรา้ งเขอื่ นตง้ั อยบู่ นรอยเลอื่ น
ของเปลอื กโลกท่ยี ังเคลือ่ นตวั ไมห่ ยุดน่งิ
สฤณีอาชวานนั ทกุล 43
ลำ� พงั เหตุผลท้ังหมดท่ีกลา่ วไปข้างต้นนา่ จะเพยี งพอให้แผนการสร้างเข่อื น ข้อเสนอหลักของคณะกรรมการเขื่อนโลกคือ ...
แก่งเสือเต้นเข้าขา่ ย “แคค่ ิดก็ผดิ แล้ว” ได้อยา่ งไม่ยากเยน็ อย่างไรก็ตาม การสร้างเขื่อนใหม่ๆ ควรจะท�ำก็ต่อเม่ือรัฐบาล การศกึ ษาผลกระทบ
ในโลกแหง่ ความจรงิ เหตผุ ลเหลา่ นไ้ี มอ่ าจรบั ประกนั วา่ นกั การเมอื งทชี่ อบ ได้ค�ำนึงถึงทางเลือกอื่นๆ ในการตอบสนองต่อ ด้านเศรษฐกิจ ส่ิง
อภมิ หาโปรเจก็ ตจ์ ะไมฝ่ นั อยากจะสรา้ งเขอื่ นทำ� นองนท้ี อี่ นื่ ในอนาคต และ ความต้องการน้�ำและพลังงานอย่างรอบคอบและ แวดลอ้ ม และวถิ ชี วี ติ
นโยบายสรา้ งเขอ่ื นแกง่ เสอื เตน้ จะไมห่ วนกลบั มารบกวนจติ สำ� นกึ ของเราอกี รอบด้านแล้ว ได้ลงมือแก้ไขปัญหาท่ีเกิดจาก ของเขื่อนขนาดใหญ่
สาเหตหุ นงึ่ ทนี่ กั การเมอื งและกรมชลประทานยงั ประกาศตอ่ สาธารณะอยา่ ง เขื่อนท่ีมีอยู่เดิมแล้ว ได้รับความเห็นชอบจาก 7 แหง่ ในโลก รวมทงั้
ภาคภมู ใิ จอยเู่ นอื งๆ วา่ จะสรา้ งเขอื่ นขนาดใหญ่ คอื ขอ้ เทจ็ จรงิ ทว่ี า่ สงั คมไทย สาธารณะแล้ว และรับรองว่าจะแบ่งผลประโยชน์ เขื่อนปากมูลในไทย
ยังไม่มีการถอดบทเรียนจากประสบการณ์ของตัวเอง และของประเทศอ่ืน จากเขอื่ นให้กบั ประชาชนทีไ่ ดร้ บั ผลกระทบ (ซึ่งคณะกรรมการ
อยา่ งเปน็ ระบบ คนในสงั คมยงั ขาดการรบั รรู้ ว่ มกนั วา่ เรามที างเลอื กอะไรบา้ ง ปัจจุบันรัฐบาลหลายแห่งทั้งในโลกพัฒนาแล้ว เ ข่ื อ นโ ล ก ส รุ ป ว ่ า
ในการบริหารจัดการน้�ำ สภาพแวดล้อมแบบไหนที่เขื่อนขนาดใหญ่เป็น และกำ� ลงั พฒั นา อาทิ เยอรมนี เนปาล แอฟรกิ าใต้ “ประสบความล้ม
ค�ำตอบทดี่ ีกวา่ ทางเลือกอ่ืน การก่อสร้างเขอื่ นขนาดใหญ่ทีถ่ กู ตอ้ งควรท�ำ สวีเดน และเวียดนาม ได้ผนวกรวมข้อเสนอของ เหลวในทกุ ดา้ น”) ถงึ
อย่างไร มีขอ้ ดขี อ้ เสยี อะไรบ้าง รัฐบาลมมี าตรการอะไรในการบรรเทาและ คณะกรรมการเข่ือนโลกเข้าไปในกระบวนการ แมว้ า่ คณะกรรมการ
ชดเชยความเสียหายท่ีหลีกเลี่ยงไม่ได้ โดยเฉพาะชาวบ้านที่ต้องอพยพ กำ� หนดนโยบายภาครฐั ส่วนสหภาพยโุ รปก็มีมติ ชุดน้ีเป็นผู้เช่ียวชาญ
ออกจากพื้นท่ี ว่าจะอนุญาตให้เขื่อนขนาดใหญ่ขายคาร์บอน ลว้ นๆ จะสลายตวั ไป
ชดุ “ขอ้ ควรพจิ ารณาในการสรา้ งเขอ่ื น” ทไ่ี ดร้ บั ความเชอ่ื ถอื ทสี่ ดุ คอื ขอ้ เสนอ เครดติ ไดก้ ต็ อ่ เมอ่ื เขอื่ นนนั้ พสิ จู นใ์ หเ้ หน็ วา่ ท�ำตาม หลังจากที่เผยแพร่
ในรายงาน พ.ศ. 2543 ของคณะกรรมการเข่อื นโลก (ดาวน์โหลดได้จาก ขอ้ เสนอชดุ นแ้ี ลว้ ยอ่ ลงมาในระดบั ธรุ กจิ ธนาคาร รายงานไม่นาน ชุด
http://www.dams.org/report/) ซ่ึงประมวลจากการศึกษาผลกระทบ ยักษ์ใหญ่ระดับโลกหลายแห่ง น�ำโดยเอชเอสบีซี ขอ้ เสนอของพวกเขา
ดา้ นเศรษฐกิจ สงิ่ แวดลอ้ ม และวถิ ีชวี ติ ของเข่อื นขนาดใหญ่ 7 แห่งในโลก (HSBC) จากอังกฤษ และเดเซีย (Dexia) จาก กไ็ ดร้ บั การยอมรบั สบื
รวมท้ังเข่ือนปากมูลในไทย (ซึ่งคณะกรรมการเข่ือนโลกสรุปว่า “ประสบ ฝร่ังเศส ก็ได้ผนวกข้อเสนอของคณะกรรมการ มาวา่ เปน็ “มาตรฐาน
ความลม้ เหลวในทุกดา้ น”) ถึงแม้ว่าคณะกรรมการชุดนซ้ี ่ึงเป็นผู้เช่ียวชาญ เขื่อนโลกเป็นเง่ือนไขท่ีลูกหน้ีต้องสัญญาว่า สากล” ท่ีเหมาะสม
ล้วนๆ จะสลายตัวไปหลังจากท่ีเผยแพร่รายงานไม่นาน ชุดข้อเสนอของ จะปฏิบัติตาม ก่อนที่ธนาคารจะปล่อยกู้ให้กับ และรอบดา้ นทส่ี ดุ ใน
พวกเขากไ็ ดร้ บั การยอมรบั สบื มาวา่ เปน็ “มาตรฐานสากล” ทเี่ หมาะสมและ โครงการสร้างเขอ่ื น การสร้างเข่ือน โดย
รอบดา้ นท่สี ดุ ในการสรา้ งเข่ือน โดยเฉพาะเขอื่ นขนาดใหญ่ท่ีส่งผลกระทบ เฉพาะเข่ือนขนาด
ในวงกว้างทัง้ กอ่ นและหลังการกอ่ สร้าง ใหญ่ท่ีส่งผลกระทบ
ในวงกว้างท้ังก่อน
44 และหลงั การกอ่ สรา้ ง
...
สฤณีอาชวานันทกลุ 45
ในโอกาสท่ีรายงานของคณะกรรมการเข่ือนโลก เอสเทอร์ ดูฟโล (Esther Duflo) และโรฮินี ปันเด ...
มีอายุครบ 10 ปี ใน พ.ศ. 2553 International (Rohini Pande) นักเศรษฐศาสตร์พัฒนา ใ น ง า น วิ จั ย ชื่ อ
Rivers องค์กรพัฒนาเอกชนท่ีมุ่งปกป้องแม่น�้ำ ชนั้ แนวหนา้ ของโลกจากมหาวทิ ยาลยั เอม็ ไอที ใช้ “Dams” พ.ศ. 2548
และสิทธิของประชาชนท่ีพ่ึงพาแม่น�้ำในการด�ำรง ขอ้ มลู เชงิ ประจกั ษป์ ระกอบกบั เทคนคิ ทางเศรษฐมติ ิ (ดาวน์โหลดได้จาก
ชีวิต น�ำบทเรียนจากนานาประเทศ ทั้งที่ท�ำตาม เพื่อศึกษาผลกระทบของเข่ือนขนาดใหญ่ 4,000 http://econ-www.
และไมท่ ำ� ตามขอ้ เสนอของคณะกรรมการเขอ่ื นโลก แห่งทั่วประเทศอินเดีย ประเทศที่มีเขื่อนมาก mit.edu/files/796)
มาสังเคราะห์และสรุปเรียบเรียงเป็นเอกสารฉบับ เปน็ อนั ดบั 3ของโลก(ตามหลงั จนี และสหรฐั อเมรกิ า) โ ด ย ไ ด ้ ข ้ อ ส รุ ป ที่
กะทัดรัดชื่อ “Protecting Rivers and Rights ระหวา่ ง พ.ศ. 2513-2542 ในงานวจิ ยั ชอ่ื “Dams” สอดคลอ้ งกบั สามญั
(พทิ กั ษแ์ มน่ ำ�้ และสทิ ธ)ิ ” ดาวนโ์ หลดไดจ้ ากเวบ็ ไซต์ ใน พ.ศ. 2548 (ดาวนโ์ หลดไดจ้ าก http://econ- ส�ำนึกของคนท่ัวไป
ขององคก์ รที่ http://www.internationalrivers. www.mit.edu/files/796) โดยได้ข้อสรุปที่ ว่า เขื่อนขนาดใหญ่
org/node/5593 สอดคล้องกับสามัญส�ำนึกของคนทั่วไปว่า เขื่อน ท�ำใ ห้ช า ว บ้า นท่ี
นกั เศรษฐศาสตรก์ ระแสหลกั มกั จะคำ� นงึ ถงึ มลู คา่ ขนาดใหญ่ท�ำให้ชาวบ้านที่อาศัยอยู่เหนือเขื่อน อาศัยอยู่เหนือเข่ือน
ทางเศรษฐกิจท่ีเข่ือนสร้างหรือท�ำลายเป็นหลัก เดอื ดรอ้ น (อาจไดป้ ระโยชนแ์ ตเ่ พยี งระยะสัน้ จาก เดือดร้อน (อาจได้
เวลาประเมินว่าเข่ือนแต่ละแห่งควรสร้างหรือไม่ การรบั จา้ งกอ่ สรา้ งเขอ่ื น) แตข่ ณะเดยี วกนั กท็ �ำให้ ประโยชน์แต่เพียง
แต่นักเศรษฐศาสตร์พัฒนามักจะสนใจประเด็น ชาวบ้านที่อยู่ใต้เข่ือนได้ประโยชน์จากการมีน้�ำใช้ ร ะ ย ะ สั้ น จ า ก ก า ร
ผลกระทบตอ่ ชวี ติ ความเปน็ อยขู่ องผคู้ น โดยเฉพาะ ในการเพาะปลูกมากกว่าเดิม ทำ� ให้ผลผลิตทาง รบั จา้ งกอ่ สรา้ งเขอ่ื น)
ประเดน็ ทวี่ า่ รฐั บาลหรอื เจา้ ของโครงการไดเ้ ยยี วยา การเกษตรและรายไดส้ ูงข้นึ แต่ขณะเดียวกันก็
ผไู้ ดร้ บั ผลกระทบอยา่ งยตุ ธิ รรมแลว้ หรอื ไม่ เรอ่ื งนี้ ดูฟโลและปันเดสรุปผลลัพธ์โดยรวมของเขื่อน ท�ำให้ชาวบ้านที่อยู่
สำ� คญั เพราะการสรา้ งเขอ่ื นทกุ แหง่ ยอ่ มมที งั้ คนได้ ขนาดใหญใ่ นอนิ เดยี วา่ มนั เปน็ การลงทนุ ทค่ี มุ้ คา่ ใตเ้ ขอื่ นไดป้ ระโยชน์
และคนเสยี และในเมอ่ื คนที่เสยี ประโยชน์ (ที่ดิน เพียงเล็กน้อยเท่านั้น กล่าวคือเข่ือนมีส่วนเพียง จากการมีน้�ำใช้ใน
และวิถีชีวิต) มักจะเป็นชาวบ้านผู้เสียเปรียบทาง ร้อยละ 9 ในอัตราการเติบโตของผลผลิตทาง การเพาะปลูกมาก
การเมืองและเศรษฐกิจ รัฐบาลก็ย่ิงควรให้ความ การเกษตรระหวา่ งพ.ศ.2514-2530ในขณะทเ่ี พม่ิ กวา่ เดมิ ทำ� ใหผ้ ลผลติ
ส�ำคัญกับมาตรการเยียวยาพวกเขาและแบ่งผล ความเหลื่อมล�้ำและอัตราความยากจนโดยรวม ทางการเกษตรและ
ประโยชน์ท่ีเกิดจากเข่ือน มิฉะน้ันปัญหาความ ของทั้งประเทศ ซึ่งก็หมายความว่ารัฐบาลอินเดีย รายได้สูงข้ึน
เหลื่อมล้�ำทางรายได้และโอกาสก็มีแนวโน้มว่า ล้มเหลวในการชดเชยผู้ท่ีเสียประโยชน์จากการ
จะรนุ แรงข้นึ หลังจากท่ีเข่ือนสรา้ งเสรจ็ สร้างเข่ือน เพราะเข่ือนเป็นกิจกรรมที่สร้างความ ...
46 สฤณีอาชวานันทกุล 47
เหล่ือมล้�ำโดยธรรมชาติ (มีทั้งคนได้และคนเสีย) ประสบการณ์ของไทยเองบอกเราว่าการชดเชยนั้นไม่ง่ายอย่างที่คิด และ
นักเศรษฐศาสตร์ท้ังสองตั้งข้อสังเกตต่อไปว่า หลายกรณกี แ็ ทบไมม่ เี ลย เพราะชาวบา้ นผเู้ สยี ประโยชนม์ กั จะเปน็ ผมู้ รี ายได้
ความลม้ เหลวในการชดเชยผเู้ สยี หายนนั้ เกยี่ วโยง นอ้ ยท่ีไมม่ ีสว่ นรู้เห็นใดๆ กบั การตัดสนิ ใจของรัฐท่จี ะสร้างเขื่อน อยา่ ว่าแต่
กับกรอบเชิงสถาบันท่ีรัฐใช้ในการตัดสินใจเชิง จะมีส่วนร่วมในกระบวนการ ซ่ึงเป็นข้อเสนอข้อสำ� คัญของคณะกรรมการ
นโยบาย ในแคว้นท่ีโครงสร้างเชิงสถาบันเอื้อ เขอ่ื นโลกเลย
ประโยชนต์ อ่ กลมุ่ คนทไี่ ดเ้ ปรยี บทางการเมอื งและ ความยตุ ธิ รรมในการสรา้ งเขอ่ื นคงจะเปน็ ประเดน็ ทน่ี กั การเมอื งไทยไมใ่ สใ่ จ
ทางเศรษฐกิจ เข่ือนขนาดใหญ่ก็ย่ิงท�ำให้ความ ไปอีกนาน ตราบใดท่ีชาวบ้านยังไร้ซ่ึงสิทธิและอ�ำนาจในการต่อรอง แต่
ยากจนเพิ่มสงู ข้นึ และตอกล่ิมความเหล่ือมลำ้� ปัญหาภัยแล้งและน�้ำท่วมที่มีแนวโน้มว่าจะรุนแรงขึ้นเร่ือยๆ ตามระดับ
ในเมื่อการเยียวยาและชดเชยผู้เสียหายจากการ ความร้ายแรงของภาวะสภาพภูมิอากาศเปล่ียนแปลง ก็น่าจะผลักดันให้
สร้างเขื่อนเกิดขึ้นเองไม่ได้โดยอัตโนมัติ การ สังคมไทยร่วมกันค้นหาคำ� ตอบอย่างจริงจังว่า เขื่อนขนาดใหญ่สอดคล้อง
ตดั สนิ ใจสรา้ งเขอ่ื นจงึ ตอ้ งคำ� นงึ ถงึ ผลกระทบดา้ น กบั วธิ บี รหิ ารจัดการน้ำ� ที่ยัง่ ยืนจริงหรือ
ความเหล่อื มล�ำ้ ที่จะเกิดขนึ้ เป็นสำ� คัญ ดฟู โลและ
ปันเดเสนอว่า นักวิจัยหรือใครกต็ ามทจ่ี ะประเมนิ สฤณีอาชวานนั ทกลุ 49
ผลกระทบจากการสร้างเข่ือนในอนาคต ควรทำ�
ความเข้าใจกับสถาบันและโครงสร้างอ�ำนาจท่ี
ผลักดันให้เกิดโครงการแบบนี้ โครงการทเ่ี ลยจดุ
คุ้มทุนเพียงเล็กน้อย แต่ท�ำให้ความเหล่ือมล้�ำ
ในประเทศสงู ขน้ึ และมีผยู้ ากไร้มากกว่าเดิม
การสรา้ งเขอ่ื นขนาดใหญย่ อ่ มมคี นไดแ้ ละคนเสยี
แตอ่ งคก์ รทสี่ นบั สนนุ อยา่ งเชน่ ธนาคารโลก มกั จะ
มองว่ามันเป็นการพัฒนาสาธารณูปโภคพื้นฐาน
ทจี่ �ำเปน็ ปลอ่ ยกถู้ ึงแม้วา่ มนั จะสร้างผลตอบแทน
ทางเศรษฐกิจไม่สูงมาก เพราะเชื่อว่าผู้เสียหาย
จะได้รับการชดเชย ทว่าหลักฐานเชิงประจักษ์
จากอินเดียในงานของดูฟโลและปันเด รวมทั้ง
48
05
เศรษฐศาสตร์การรื้อเขอ่ื น
ผู้เขียนสังเกตว่ารัฐบาลไทยไม่ว่ายุคไหนมักเก่งแต่การ (หาหรือกุเร่ือง)
“สรา้ ง” โครงการเมกะโปรเจก็ ต์ แตไ่ มเ่ คยเกง่ เรอ่ื งการรอื้ หรอื ลม้ เมอ่ื เวลา
ผา่ นไปแล้วพบว่ามันไม่จ�ำเปน็ อกี ต่อไป หรอื กลายเปน็ ภาระหนักองึ้ ทต่ี อ้ ง
ดแู ล ตน้ ทนุ บวกความเสยี หายพอกพนู สงู กวา่ รายไดบ้ วกประโยชนท์ ม่ี นั สรา้ ง
ในบรรดานโยบายสาธารณะท้งั หมด มนี อ้ ยเรื่องทจี่ ดุ ประกายความขัดแย้ง
ความเดือดร้อน และเป็นที่ถกเถียงกันนานข้ามทศวรรษเท่ากับการสร้าง
เข่ือนขนาดใหญ่
ผู้เขียนมีเรื่องเศรษฐศาสตร์การรื้อเขื่อน (Dam Decommissioning)
ในสหรัฐอเมริกามาเลา่ สูก่ ันฟงั
เศรษฐศาสตรก์ ารรอ้ื เขอื่ นนนั้ เปน็ ของคกู่ นั กบั เศรษฐศาสตรก์ ารสรา้ งเขอ่ื น
กลา่ วในภาษาวชิ าการอนั นา่ หมน่ั ไสเ้ ลก็ นอ้ ย อรรถประโยชน์ (Utility) ของ
เขื่อนขนาดใหญอ่ าจไมค่ งทีน่ ริ นั ดร แตล่ ดลงเรอื่ ยๆ (Diminishing Utility)
เม่ือเวลาผ่านไป เน่ืองจากผลเสียต่อระบบนิเวศจุดประกาย (Trigger)
ให้เกิดวงจรยอ้ นกลับ (Feedback Loop) ก่อผลเสียอ่นื ๆ ทบทวีเปน็ ลูกโซ่
สฤณีอาชวานนั ทกุล 51
ในประเทศที่ด�ำเนินนโยบายสาธารณะอย่างรัดกุม ค�ำนึงถึงประโยชน์ของ พนั ธป์ุ ลาและวถิ ชี วี ติ ของชาวอนิ เดยี นแดงในพน้ื ที่ คณุ เพชร มโนปวติ ร สรปุ
ประชาชนและสิ่งแวดล้อมจริงๆ ท้ังระยะส้ันและระยะยาว เศรษฐศาสตร์ เหตุการณ์ส�ำคัญๆ ในรอบ 30 ปีที่ผ่านมา ก่อนจะน�ำมาซ่ึงมหกรรมการ
การรอื้ เขอื่ นจะเขา้ มามบี ทบาทในกรณที คี่ วามเสยี หายทเ่ี กดิ จากเขอื่ นขนาด ร้ือเข่ือน ไว้ในบทความ “จุดจบของเข่ือนเอลวาห์กับขบวนการฟื้นชีวิตให้
ใหญ่ (แนน่ อนวา่ ต้องนบั รวมความเสยี หายตอ่ ระบบนิเวศด้วย) น้ัน พุง่ สูง สายน�ำ้ และพงไพร” (http://onopen.com/pmanopawitr/10-11-03/
กวา่ ประโยชน์สะสมทเี่ ขอ่ื นสรา้ ง 5616) ตอนหน่งึ ว่า
สหรฐั อเมรกิ าเปน็ ประเทศทม่ี เี ขอ่ื นขนาดใหญม่ ากเปน็ อนั ดบั ตน้ ๆ ของโลก
บรซู แบบบติ ต์ (Bruce Babbitt) อดตี ปลดั กระทรวงมหาดไทย เคยปรารภวา่ “เมอื่ กระแสการอนรุ กั ษส์ กุ งอม ชว่ ง พ.ศ. 2529-2531 กลมุ่ องคก์ รอนรุ กั ษ์
ตง้ั แตส่ หรฐั อเมรกิ าประกาศเอกราชจากองั กฤษ “เรากก็ อ่ สรา้ งเขอ่ื น 1 แหง่ ธรรมชาติเชน่ กลมุ่ เพอื่ นอทุ ยานโอลมิ ปกิ ‘SeattleAudubonSociety’
ทุกวันโดยเฉลีย่ ปัจจุบนั มเี ขอ่ื นมากกว่า 76,000 เข่อื นท่ัวทั้งสหรัฐอเมริกา ‘Friend of the Earth’ และ ‘The Sierra Club’ รว่ มกบั กลมุ่ ชนพนื้ เมอื ง
ที่สันเข่ือนสูงกว่า 2 เมตร เขื่อนทั้งหมดรวมกันเก็บกักน�้ำได้เกือบทั้งปี ได้ร่วมกันเคลื่อนไหวต่อต้านการยื่นขอต่ออายุการด�ำเนินกิจการ
ในจ�ำนวนน้ีส่วนใหญ่เร่ิมเสื่อมสภาพ มูลค่าทางเศรษฐกิจถดถอย และมี ของเขื่อนทั้งสองในเขตอุทยานแห่งชาติ การรณรงคด์ ังกลา่ วได้รับการ
ข้อกังขาด้านความปลอดภยั ” สนับสนุนจากสาธารณะอย่างกว้างขวาง จนน�ำไปสู่การยื่นญัตติต่อ
เอน็ จโี อดา้ นสงิ่ แวดลอ้ มในสหรฐั อเมรกิ าพรอ้ มใจกนั ขนานนาม พ.ศ. 2554 รัฐบาลกลางให้มีการฟื้นฟูระบบนิเวศของแม่น�้ำเอลวาห์อย่างจริงจัง
ว่าเป็น “ปีแห่งแม่น้�ำ” เน่ืองจากเป็นปีท่ีมีการร้ือเข่ือนครั้งใหญ่ที่สุดใน พร้อมกบั เสนอให้ท�ำการรอื้ เข่ือนทัง้ สองทิง้
ประวัติการณ์ ใช้เงนิ ในการร้อื ถอนและฟ้นื ฟกู ว่า 180 ล้านเหรียญสหรฐั ฯ การต่อสู้ด�ำเนินไปอย่างยืดเยื้อและน�ำไปสู่การฟ้องร้องทางกฎหมาย
หรอื กว่า 5,400 ล้านบาท จนท้ายที่สุดรัฐบาลกลางต้องลงมาไกล่เกล่ีย และเสนอทางออกด้วย
เข่ือนทว่ี า่ คือเข่ือนอายรุ ว่ มร้อยปี 2 แห่งท่ีอยใู่ กล้กนั คอื เขื่อนเอลวาห์กับ การผา่ นพระราชบญั ญตั ฟิ น้ื ฟรู ะบบนเิ วศแมน่ ำ้� เอลวาหแ์ ละการประมง
เขื่อนหุบเขาไกลน์ส ในลุ่มนำ้� เอลวาห์ มลรัฐวอชิงตัน ใน พ.ศ. 2535 พระราชบญั ญตั ดิ งั กลา่ วมอบอำ� นาจใหก้ บั คณะกรรมการ
(ชมสารคดีการรื้อเข่ือนทั้งสองได้จากยูทูบ อาทิ http://www.youtube. ศึกษาสามารถส่ังรื้อเขื่อนได้หากมีความจ�ำเป็น 2 ปีต่อมารายงาน
com/watch?v=BGXSV4JvZ3w) ชน้ิ สำ� คญั จากคณะกรรมการอสิ ระทรี่ จู้ กั กนั วา่ Elwah Report กส็ รปุ ผล
เขื่อนทั้งสองผลิตกระแสไฟฟ้าป้อนการพัฒนาทางเศรษฐกิจในละแวกน้ัน ชดั เจนวา่ การรอื้ เขอื่ นทง้ิ เปน็ หนทางเดยี วทจ่ี ะสามารถฟน้ื ฟรู ะบบนเิ วศ
ตามจดุ มงุ่ หมายเดมิ ตลอดมา แตผ่ ลลบคอื มนั สง่ ผลกระทบอยา่ งรนุ แรงตอ่ ของแม่น�้ำเอลวาห์ได้อย่างสมบรู ณ์ โดยเฉพาะการฟืน้ ฟปู ระชากรปลา
แซลมอน ซง่ึ เปน็ หวั ใจสำ� คญั ของวถิ ชี วี ติ ชาวประมงทอ้ งถน่ิ โดยคาดวา่
52 ประชากรปลาแซลมอนท่ีเหลืออยู่เพียง 3,000 ตัว จะสามารถเพ่ิม
จ�ำนวนข้ึนถงึ 300,000 ตวั ได้อีกคร้งั เมื่อแม่น้�ำเอลวาหป์ ลอดเขอ่ื น
สฤณีอาชวานนั ทกุล 53
นกั นเิ วศวทิ ยาเชอ่ื วา่ การกลบั คนื มาของปลาแซลมอนเปน็ กญุ แจสำ� คญั มลู คา่ ของประโยชนจ์ ากการรอื้ เขอื่ นมอี ะไรบา้ ง กอ่ นอนื่ การรอ้ื เขอ่ื นจะชว่ ย
ในการฟน้ื ฟคู วามอดุ มสมบรู ณข์ องปา่ แหง่ นี้ เพราะจากการศกึ ษาพบวา่ ใหต้ ะกอนไหลโดยอสิ ระไปยงั คงุ้ นำ�้ อดี ซิ ไดอ้ กี ครงั้ หลงั จากทม่ี นั เสอื่ มโทรม
วงจรชวี ติ ของปลาแซลมอนชว่ ยคำ้� จนุ สตั วป์ า่ อน่ื ๆ อยา่ งนอ้ ยถงึ 137 ชนดิ ลงมาก เพราะไม่มีตะกอนไปรกั ษาสภาพดนิ ต้ังแตม่ ีเข่อื น ประโยชนข์ นั้ ต�่ำ
...ไม่เพียงระบบนิเวศเท่าน้ันท่ีจะได้รับการฟื้นฟู หากแต่มรดกทาง ของการทต่ี ะกอนไหลลงคงุ้ นำ�้ ไดอ้ กี ครงั้ กค็ อื เงนิ คา่ ฟน้ื ฟคู งุ้ นำ้� ทร่ี ฐั ประหยดั ได้
วัฒนธรรมของชนพ้ืนเมืองเผ่าเอลวาห์คลาลลัมสองฟากฝั่งแม่น้�ำก็จะ ซึง่ ท่ีผ่านมาเท่ากับ 1 ล้านเหรียญสหรฐั ฯ ตลอดอายโุ ครงการ แน่นอนว่า
ได้รับการท�ำนุบ�ำรุงขึ้นอีกคร้ัง เช่น การฟื้นฟูป่าศักด์ิสิทธ์ิหลายแห่งท่ี ตัวเลขนีเ้ ป็น “ประโยชนข์ ั้นต่ำ� ” เนือ่ งจากยงั ไม่ได้นบั มูลคา่ ของ “สุขภาพ”
ปจั จบุ นั จมอยใู่ ต้อา่ งเกบ็ น้ำ� และการรอื้ ฟืน้ ขนบธรรมเนยี มทผ่ี ูกพันกับ ระบบนิเวศทจี่ ะดขี ึ้นมหาศาล
ฤดวู างไข่ของปลาแซลมอน” ประโยชนป์ ระการที่ 2 จากการรอ้ื เข่ือนคอื การทอ่ งเท่ียวและสันทนาการ
ของผคู้ นทจี่ ะไดม้ คี วามสขุ กบั การอยใู่ กลช้ ดิ กบั ธรรมชาตอิ นั สวยงามอกี ครง้ั
ในเม่อื การร้อื เข่ือนทั้งสองตอ้ งเสียค่าใช้จ่ายหลายพันล้านบาท รฐั ประเมิน ผลการประเมนิ บางสว่ นใชข้ อ้ มลู จากงานวจิ ยั ชนิ้ หนงึ่ ใน พ.ศ. 2539 ซงึ่ ถาม
มลู คา่ ของประโยชน์จากการรื้อเขอื่ นอยา่ งไร ประชาชนในละแวก 1,500 ครัวเรอื น และอีก 1,000 ครวั เรือนนอกรัฐว่า
หนว่ ยงานทรี่ บั ผดิ ชอบการรอ้ื เขอื่ นตระหนกั ตง้ั แตเ่ นน่ิ ๆ (หลงั จากทย่ี อมรบั จะยนิ ดจี า่ ยเงนิ เทา่ ไรใหร้ ฐั รอ้ื เขอื่ นและฟน้ื ฟปู ระชากรปลาแถบลมุ่ นำ้� เอลวาห์
รายงาน Elwah Report) ว่า ประโยชนแ์ ละโทษในกรณนี ้ีหลายประเด็นที่ สรปุ ผลการประเมนิ วา่ สนั ทนาการและการทอ่ งเทย่ี วหลงั รอื้ เขอ่ื นมปี ระโยชน์
ไม่มี “ราคาตลาด” เพราะอยู่นอกตลาด เชน่ การได้เขา้ ถงึ พื้นทศ่ี กั ดส์ิ ทิ ธ์ิ กว่า 317.6 ลา้ นเหรียญสหรัฐฯ (ค�ำนวณประโยชน์ไปข้างหนา้ 100 ปี ใช้
ซงึ่ มคี วามสำ� คญั สำ� หรบั ชนเผา่ เอลวาหค์ ลาลลมั อกี ครงั้ หลงั รอ้ื เขอื่ น (พวกเขา อัตราคิดลด (Discount Rate) ที่ร้อยละ 3 ประเมินกลับมาเป็นมูลค่า
บอกว่ามูลคา่ ทางจติ ใจนม้ี สี ูงมากจนประเมนิ ค่าไมไ่ ด้) และมูลคา่ ของการ ปัจจุบัน)
รกั ษาความหลากหลายทางชวี ภาพภายในประชากรปลาแซลมอน ซง่ึ ประเมนิ ประโยชน์ประการสุดท้ายจากการรื้อเขื่อนมาจากการท่ีปลากลับมาชุกชุม
ออกมาเปน็ ตวั เลขตรงๆ ไมไ่ ด้ ทำ� ไดแ้ ตเ่ พยี งประเมนิ มลู คา่ ทางออ้ มเทา่ นน้ั อีกครั้ง น่ันคือการได้แหล่งประมงกลับคืนมาส�ำหรับชนเผ่าอินเดียนแดง
เช่น การท่ีความหลากหลายทางชีวภาพของสายพันธุ์ปลาแซลมอนท�ำให้ ในบริเวณและชาวประมงต่างถิ่น มีมูลค่า 36.7 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และ
พวกมันต่อกรกับโรค และปรบั ตัวตามสภาพแวดล้อมได้ดีกว่าเดมิ รายไดจ้ ากกฬี าตกปลาสำ� หรบั นกั ทอ่ งเทยี่ วตา่ งถน่ิ มมี ลู คา่ 10.3ลา้ นเหรยี ญ
ในสว่ นของคา่ ใชจ้ า่ ยในการรอ้ื เขอ่ื นครงั้ น้ี นอกจากจะมคี า่ รอื้ เขอื่ นทางตรง สหรฐั ฯ
96.5 ลา้ นเหรยี ญสหรัฐฯ แล้ว ยังต้องนบั รวมการลงทุนปรับปรุงมาตรการ สรปุ ผลการประเมนิ ไดว้ า่ การรอ้ื เขอ่ื นจะสรา้ งประโยชนท์ ง้ั หมดกวา่ 365.6
ปอ้ งกนั นำ�้ ทว่ มรอบบรเิ วณทอี่ ยอู่ าศยั ของชนเผา่ 17 ลา้ นเหรยี ญสหรฐั ฯ ลงทนุ ล้านเหรียญสหรัฐฯ หรือ 2 เท่าของค่าใช้จ่ายท้ังหมดในการร้ือเข่ือน คือ
ปรบั ปรงุ ระบบบำ� บดั นำ้� เสยี และปรบั ปรงุ คณุ ภาพนำ�้ ทมี่ าจากแหลง่ บาดาล 182.5 ล้านเหรยี ญสหรฐั ฯ
อกี 69 ลา้ นเหรยี ญสหรฐั ฯ สริ ริ วมเปน็ เงนิ ทง้ั หมด 182.5 ลา้ นเหรยี ญสหรฐั ฯ
สฤณีอาชวานนั ทกลุ 55
54
การร้อื เขอ่ื นเอลวาหส รา งประโยชนม ากกวาโทษถงึ 2 เทา ในภาพใหญ่ เศรษฐศาสตร์โดยเฉพาะที่เกี่ยวพัน
กับนโยบายสาธารณะเป็นเร่ืองของการ “แลกได้
ประโยชน กีฬาตกปลา & คา ใชจาย แลกเสีย (Tradeoffs)” และการวิเคราะห์
เปรียบเทียบโทษและประโยชน์ (Cost-benefit)
11.3ประหยดั คาฟนตะกอน มาตรการ ของทางเลือกต่างๆ เพ่ือให้สามารถเลือกทางที่
36.7 ปอ งกันน้ำทวม สร้างประโยชน์สทุ ธสิ งู สุด
นน่ั แปลวา่ เศรษฐศาสตรจ์ ะทำ� งานไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง
ประมง 17 96.5 เทย่ี งธรรม กต็ อ่ เมอื่ รฐั และสงั คมโดยรวมสามารถ
69 1) มองเหน็ วา่ ทางเลอื กตา่ งๆ มอี ะไรบา้ ง 2) มอง
317.6 การร้ือเข่ือน เห็นและประเมินมูลค่าของประโยชน์และโทษ
ปรบั ปรงุ คุณภาพน้ำ ในทุกมิติ ไม่เฉพาะแต่เพียงประโยชน์และโทษ
สนั ทนาการ/การทองเทยี่ ว แหลงนำ้ ใช ทางเศรษฐกจิ และ 3) ประเมนิ มลู คา่ ของประโยชน์
และโทษอยา่ งตอ่ เนอ่ื งสมำ่� เสมอ ไมใ่ ชท่ ำ� แตเ่ ฉพาะ
รวมคาใชจา ยในการรอื้ เขือ่ นเอลวาห ตอนตัดสนิ ใจวา่ จะท�ำหรอื ไม่ท�ำโครงการเท่าน้ัน ...
182.5 ลา นเหรยี ญสหรัฐฯ เมื่อค�ำนึงถึงสถานการณ์คอร์รัปชันซ่ึงปิดกั้น เศรษฐศาสตร์จะ
“วิสัยทัศน์” อันขาดไม่ได้ในการแก้ปัญหาระยะ ทำ� งานไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง
รวมประโยชนจากการรอ้ื เข่ือนเอลวาห ยาวอย่างสง่ิ แวดลอ้ ม ประกอบกบั ความเขา้ ใจผิด เที่ยงธรรม ก็ต่อเมอื่
365.6 ลานเหรยี ญสหรัฐฯ ของคนทว่ั ไปวา่ เศรษฐศาสตรห์ มายถงึ “เศรษฐกจิ ” รฐั และสงั คมโดยรวม
และ “ระบบตลาด” เพียงอยา่ งเดียว รวมถึงความ สามารถ 1) มองเหน็
ทม่ี า : เวบ็ ไซต์ขอ้ มูลลมุ่ น้�ำเอลวาห์ ใจแคบของหน่วยงานรัฐหลายหน่วยและนัก วา่ ทางเลือกตา่ งๆ มี
http://www.elwhainfo.org/elwha-river-watershed/dam-removal/ เศรษฐศาสตร์ผู้ทรงอิทธิพลบางคน ผู้เขียนคิดว่า อะไรบา้ ง 2) มองเหน็
คงอกี นานกวา่ จะไดเ้ หน็ เศรษฐศาสตรท์ ำ� งานอยา่ ง และประเมินมูลค่า
decisions-remove-dams/economics-dam-removal ถกู ต้องในไทย เฉกเช่นทมี่ ันรบั ใชร้ ะบบนเิ วศแถบ ของประโยชนแ์ ละโทษ
ลุ่มนำ้� เอลวาห์ ในทกุ มติ ิ3)ประเมนิ
นา่ เศรา้ ทเ่ี ศรษฐศาสตรก์ ารรอื้ เขอ่ื นยงั ไมเ่ คยไดใ้ ชใ้ นเมอื งไทย และเศรษฐ- มูลค่าของประโยชน์
ศาสตรก์ ารสรา้ งเขอ่ื นทผ่ี า่ นมากด็ จู ะไมเ่ คยคำ� นงึ ถงึ “มลู คา่ นอกตลาด” ของ และโทษอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
โทษและประโยชน์ โดยเฉพาะโทษของการสร้างเข่ือน ซ้�ำร้ายผลกระทบ สมำ�่ เสมอ
ทางลบต่อสิ่งแวดล้อมก็มักจะถูกอธิบายเพียงคร่าวๆ โดยปราศจากการ
คำ� นวณ “มลู คา่ ” ของผลกระทบ และคา่ ใชจ้ า่ ยทรี่ ฐั ตอ้ งเสยี ไปในการจดั การ ...
กับปัญหา
สฤณีอาชวานันทกุล 57
56
06
มายาคติเกี่ยวกบั พลังงานนิวเคลียร์
ถงึ แมว้ า่ มนั จะทำ� ใหโ้ ลกทง้ั ใบใจหายใจควำ�่ และชาวญปี่ นุ่ นบั ลา้ นคนเดอื ดรอ้ น
“ขอ้ ด”ี สว่ นนอ้ ยของวกิ ฤตโิ รงไฟฟา้ นวิ เคลยี รฟ์ กุ ชุ มิ ะ หลงั จากทเ่ี กดิ แผน่ ดนิ ไหว
และสนึ ามริ นุ แรงในเดอื นมนี าคม พ.ศ. 2554 กค็ อื มนั ไดช้ ว่ ยทลายมายาคติ
หลายข้อท่ีคนปักใจเช่ือ (และบางข้ออุตสาหกรรมนิวเคลียร์พยายามพยุง)
มานานหลายปี ตง้ั แตม่ าตรฐานความปลอดภยั และธรรมาภบิ าลของธรุ กจิ
ญป่ี นุ่ (โรงไฟฟา้ เทปโกห้ ละหลวม ปลอมแปลงหลกั ฐานการตรวจสอบความ
ปลอดภัย และเม่ือเกิดเรื่องก็ไม่เปิดเผยข้อมูลท้ังหมดท่ีจำ� เป็น) ไปจนถึง
ความ “สะอาด” ของพลงั งานนวิ เคลยี ร์ (เชน่ ถา้ สารกมั มนั ตรงั สรี ว่ั ไหลลงนำ้�
กแ็ ทบไมม่ ที างก�ำจัดได้อย่างหมดจด)
2 เดือนหลังเกิดแผ่นดินไหว แท่งเชื้อเพลิงของเตาปฏิกรณ์หมายเลข 1
เรมิ่ หลอมละลาย นายกรฐั มนตรญี ป่ี นุ่ ประกาศวา่ จะไมร่ บั เงนิ เดอื นจนกวา่
วกิ ฤตจิ ะคล่ีคลาย ซ่งึ ท�ำท่าวา่ จะต้องใช้เวลาอกี นานหลายเดือนหรอื ข้ามปี
เลยทีเดยี ว
เหตกุ ารณท์ ฟี่ กุ ชุ มิ ะสรา้ งความอกสนั่ ขวญั แขวนในเมอื งไทยไมน่ อ้ ย คนไทย
จ�ำนวนมากตื่นตระหนกย่ิงกว่าคนญ่ีปุ่นในพื้นท่ี ยอดขายของร้านอาหาร
ญี่ปุ่นตกฮวบลงทันทีท่ีคนไม่กล้าบริโภคปลาญ่ีปุ่น บางเจ้าที่เคยโฆษณา
“ปลาสดสง่ั ตรงจากญปี่ นุ่ ” กก็ ลบั ล�ำบอกวา่ ของญป่ี นุ่ ทน่ี �ำเขา้ มาใชใ้ นรา้ น
เราน่ะมแี ตอ่ าหารแหง้ เทา่ น้ัน ลูกค้าไมต่ ้องหว่ ง
สฤณีอาชวานนั ทกุล 59
ความตื่นตระหนกของคนไทยสร่างซาภายในเวลาไม่ก่ีเดือนเหมือนกับ การบอกว่าพลังงานนิวเคลียร์คือพลังงานสะอาด ...
ดราม่าเรื่องอื่นๆ ท่ีอยู่ในกระแสข่าวเพียงไม่นาน ท�ำให้มายาคติเกี่ยวกับ เพราะไม่ปล่อยก๊าซเรือนกระจกน้ัน เป็นการพูด การบอกว่าพลังงาน
นวิ เคลยี รย์ งั ไมท่ นั ไดเ้ ปน็ ประเดน็ สาธารณะ และรฐั บาลกแ็ กป้ ญั หาแบบไทยๆ ความจรงิ เพยี งเสย้ี วเดยี ว เพราะไมพ่ ดู ถงึ อนั ตราย นิวเคลียร์คือพลังงาน
คอื สงั่ ชะลอการศกึ ษาการใชพ้ ลงั งานนวิ เคลยี รอ์ อกไปกอ่ น รอใหร้ ฐั บาลหนา้ ของกากนวิ เคลยี ร์ ลองมาฟงั ความเหน็ จากกระทรวง สะอาด เพราะไมป่ ลอ่ ย
มาคิดใหม่ สง่ิ แวดลอ้ มของเยอรมนี ประเทศทวี่ ศิ วกรรมศาสตร์ ก๊าซเรือนกระจกน้ัน
ถา้ ถามวา่ เมอื งไทยมี “ทางเลือก” อะไรบา้ งในการสรา้ งความม่ันคงทาง กา้ วหนา้ เปน็ อนั ดบั ตน้ ๆ ในโลก เอกสาร “พลงั งาน เป็นการพูดความจริง
พลังงาน แต่ละทางมีข้อดีข้อเสียอย่างไร สังคมไทยยังไร้คำ� ตอบที่ชัดเจน นิวเคลียร์ : ทางเลือกผิดท่ีแสนแพง - ตำ� นานของ เพยี งเสีย้ วเดียว
สว่ นหนง่ึ เพราะฝา่ ยทเี่ ชยี รน์ วิ เคลยี รก์ ม็ กั จะเชยี รช์ นดิ สดุ ลม่ิ ทมิ่ ประตู ไมย่ อม ยุคอุตสาหกรรมนิวเคลียร์” (ดาวน์โหลดได้จาก
พดู ถงึ ความเสยี่ งและอนั ตรายของพลงั งานชนดิ นี้ สว่ นฝา่ ยทคี่ า้ นนวิ เคลยี ร์ http://www.greenworld.or.th/library/ ...
ก็มักจะค้านชนิดสุดล่ิมท่ิมประตูเหมือนกัน ไม่ยอมพูดถึงข้อดีข้อเสียของ environment-article)
ทางเลอื กอน่ื ทต่ี อ้ งใชถ้ า้ เราไมเ่ อานวิ เคลยี ร์ เชน่ พลงั งานหมนุ เวยี นทม่ี ผี ผู้ ลติ
ต่อคิวเสนอขายรวมกันหลายพันเมกะวัตต์ท่ัวประเทศนั้น ผลิตพลังงาน การจดั เกบ็ กากนวิ เคลยี รใ์ นปจั จบุ นั เปน็ ไปใน
ไดจ้ รงิ และทันทเี ลยหรือไม่ ตกลงเข่ือนขนาดใหญ่แบบไหนบ้างทค่ี วรสร้าง ลักษณะเก็บชั่วคราวเท่านั้น ...เพราะฉะนั้น
รฐั ควรลงทนุ ในสมารท์ กริด (Smart Grid) ตลอดจนจะมีวธิ กี ารบงั คับหรอื หากจะมีการใช้พลังงานนิวเคลียร์ ก็ควรจะ
รณรงคเ์ ร่อื งการใชพ้ ลังงานอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพอย่างไร ฯลฯ จัดสรรหาแหล่งเก็บกากนิวเคลียร์อย่างถาวร
มายาคติเก่ียวกับพลังงานนิวเคลียร์ท้ังหมดสามารถสรุปได้สั้นๆ 3 ข้อ ใหไ้ ด้เสยี ก่อน ถ้ายังไมส่ ามารถหาแหลง่ เก็บ
ดังตอ่ ไปน้ี กากนิวเคลียร์แบบถาวรท่ีปลอดภัยได้ ก็
มายาคติ #1 ไม่ควรทีจ่ ะใช้พลังงานนิวเคลียร์
พลงั งานนวิ เคลยี รค์ อื “พลงั งานสะอาด” และมมี าตรฐานความปลอดภยั สงู
สำ� หรบั ประเดน็ เรอื่ งความปลอดภยั ของแหลง่
60 เก็บกากนิวเคลียร์แบบถาวรนั้น เป็นเร่ืองที่
ซบั ซอ้ นมาก ตวั อยา่ งแหลง่ เกบ็ กากนวิ เคลยี ร์
อัสเซ (Asse) ท่ีเมืองโวลเฟนบึทเทล
(Wolfenbüttel) เป็นตัวอย่างท่ีดีของความ
ซับซ้อนที่ว่าน้ี คือแรกเร่ิมเดิมทีนั้นแหล่ง
เก็บกากนิวเคลียร์นี้ได้รับการออกแบบให้
เป็นแหล่งเก็บกากนิวเคลียร์ถาวรต้นแบบ
สฤณีอาชวานนั ทกลุ 61
แตป่ จั จบุ นั นพี้ บวา่ ทกุ ๆ วนั จะมนี ำ�้ ใตด้ นิ ประมาณ 12,000 ลติ ร ไหลซมึ ในเมอื่ อบุ ตั ภิ ยั นวิ เคลยี รก์ อ่ ความเสยี หายมหาศาล ...
เขา้ ไปในชนั้ เกบ็ กากนวิ เคลยี รจ์ ากทกุ ดา้ น ทำ� ใหเ้ กลอื ทมี่ รี พู รนุ อยแู่ ลว้ ถึงแม้ว่ามันมีโอกาสเกิดไม่มาก ตัวแปรหลักใน ตวั แปรหลกั ในตน้ ทนุ
แตกมากขนึ้ ตน้ ทนุ ของพลงั งานนวิ เคลยี รก์ ค็ อื คา่ เบยี้ ประกนั ภยั ของพลงั งานนวิ เคลยี ร์
โครงการนี้ให้ข้อสรุปที่ไม่อาจโต้เถียงได้ว่า พลังงานไฟฟ้านิวเคลียร์ ทีร่ ัฐกำ� หนดใหโ้ รงไฟฟา้ ตอ้ งจา่ ย ถ้าหากรัฐบังคับ ก็คือค่าเบ้ียประกัน
ไม่ใช่พลังงานสีเขียวที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมอย่างแน่นอน พลังงาน ให้โรงไฟฟ้าจ่ายประกันเต็มจ�ำนวนค่าเสียหายท่ี ภัยที่รัฐก�ำหนดให้
นิวเคลียร์ดูเหมือนว่าจะสะอาด เพียงเพราะว่าขยะหรือกากนิวเคลียร์ คิดว่าจะเกิดในกรณีอุบัติภัยนิวเคลียร์ขั้นรุนแรง โรงไฟฟ้าต้องจ่าย
ที่เกิดขึ้นจะถูกฝังลงไปในช้ันใต้ดิน และจะไปท�ำให้น้�ำใต้ดินปนเปื้อน ทส่ี ุด คา่ ประกันนัน้ ก็จะสงู มากจนทำ� ใหโ้ รงไฟฟา้ ถ้าหากรัฐบังคับให้
ซ่ึงจะเกิดปญั หาสง่ิ แวดลอ้ มในร่นุ ลูกรนุ่ หลานตามมา นวิ เคลยี รท์ กุ แหง่ ในโลก “ไมค่ มุ้ คา่ ทางเศรษฐกจิ ” โรงไฟฟา้ จา่ ยประกนั
...ใน พ.ศ. 2543 หลังจากที่ได้มีการศึกษาและประเมินความเส่ียง ที่จะสร้าง เพราะจะท�ำให้มันแพงกว่าพลังงาน เต็มจ�ำนวนค่าเสีย
ของโรงไฟฟา้ พลงั งานนวิ เคลยี ร์ สภาบนุ เดสทาก (รฐั สภาเยอรมน)ี จงึ ได้ ชนิดอื่นรวมทั้งเชื้อเพลิงฟอสซิล ยกตัวอย่างเช่น หายที่คิดว่าจะเกิด
ออกกฎหมายมาจ�ำกัดอายุการใชง้ านไวท้ ี่ 32 ปี เหตุผลสำ� คัญทีต่ ้อง คณะทป่ี รกึ ษาดา้ นสงิ่ แวดลอ้ มของรฐั บาลเยอรมนี ใ น ก ร ณี อุ บั ติ ภั ย
จำ� กดั อายกุ ารใชง้ านโรงไฟฟา้ พลงั งานนวิ เคลยี รค์ อื ความเสยี่ งทจี่ ะเกดิ ประมาณการวา่ อุบัตภิ ัยนวิ เคลียร์ขั้นรุนแรงทส่ี ดุ นิวเคลียร์ขั้นรุนแรง
อุบัติเหตุ และการขาดมาตรการก�ำจัดกากนิวเคลียร์ท่ีชัดเจน ...ทั้งนี้ ในเยอรมนจี ะกอ่ ความเสยี หายกวา่ 7.6 ลา้ นลา้ น ท่ีสุด ค่าประกันนั้น
เพื่อลดความเส่ยี งให้อยู่ในระดับทร่ี ฐั สภาสามารถรบั ผิดชอบได้ ยโู รขณะทป่ี จั จบุ นั กฎหมายเยอรมนรี ะบใุ หโ้ รงไฟฟา้ ก็จะสูงมากจนท�ำให้
มายาคติ # 2 ซ้อื ประกันเพียง 2,500 ลา้ นยโู รเท่าน้นั โรงไฟฟ้านิวเคลียร์
พลังงานนิวเคลยี รค์ ุม้ ค่าและมีราคาถกู กว่าพลังงานชนดิ อืน่ สถาบันวิจัยเยอรมนีแห่งหน่ึงค�ำนวณว่า การซ้ือ ทุกแห่งในโลก “ไม่
ตัวเลข “ต้นทุน” ของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ที่ภาครัฐชอบนำ� มาป่าวประกาศ ประกนั ใหค้ รอบคลมุ คา่ เสยี หายทกุ 1 ลา้ นลา้ นยโู ร คมุ้ คา่ ทางเศรษฐกจิ ”
เพอ่ื ยนื ยนั วา่ นวิ เคลยี ร์ “ถกู กวา่ ” พลงั งานชนดิ อน่ื สว่ นใหญน่ นั้ มกั จะรวมแต่ จะต้องเสียค่าเบ้ียประกัน 47,000 ล้านยูโรต่อปี ทจ่ี ะสร้าง
คา่ ใชจ้ า่ ยในการกอ่ สรา้ ง ไมร่ วมคา่ ความเสยี่ งทจ่ี ะเกดิ หายนภยั และคา่ ใชจ้ า่ ย แตป่ จั จบุ นั สถานการณใ์ นประเทศอน่ื ทใ่ี ชพ้ ลงั งาน
ในการกักเกบ็ กากเชื้อเพลงิ นวิ เคลียร์ อาทิ สหรัฐอเมรกิ า ญีป่ ่นุ (ซึง่ หลายคน ...
เพงิ่ ทราบหลงั เกดิ วกิ ฤตวิ า่ เทปโกไ้ มเ่ คยซอื้ ประกนั
62 อุบัติภัยและกฎหมายญ่ีปุ่นก็ไม่บังคับ) จีน และ
ฝร่ังเศส ก็ไม่แตกต่างกันมาก วงเงินประกันของ
โรงไฟฟา้ นวิ เคลยี รใ์ นจนี ทกุ แหง่ รวมกนั ครอบคลมุ
ความเสียหายเพียง 300 ล้านหยวน (ประมาณ
1,400 ลา้ นบาท) ซ่ึงเมื่อบวกกบั 800 ลา้ นหยวน
สฤณีอาชวานนั ทกลุ 63
ทร่ี ฐั บาลจนี กนั ไวส้ ำ� หรบั เยยี วยาผเู้ สยี หายกย็ งั นอ้ ยมากเมอ่ื เทยี บกบั ความ กลา่ วโดยสรปุ คือ ตน้ ทุนมหาศาลและความเส่ยี ง
เส่ียง ในสหรัฐอเมริกากฎหมายก�ำหนดให้ผู้ด�ำเนินโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ซ้ือ ตา่ งๆ นานาเหลา่ น้ี ทำ� ใหโ้ รงไฟฟา้ นวิ เคลยี รท์ กุ แหง่
ประกันสูงสุดเพยี ง 375 ลา้ นเหรียญสหรฐั ฯ ต่อโรง ส่วนกฎหมายฝร่งั เศส ไมน่ า่ ดงึ ดดู ทางการเงนิ ไมม่ ภี าคเอกชนประเทศใด
ก็กำ� หนดวงเงินประกนั เพียง 91 ลา้ นยโู รตอ่ โรงเท่านัน้ ยอมสร้างโดยล�ำพัง ต้องอาศัยเงินอุดหนุนและ
ตัวเลขเหล่านแ้ี ปลวา่ ถ้ารฐั บังคบั ใหผ้ ดู้ �ำเนนิ โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ซอื้ ประกัน ความช่วยเหลือนานาชนิดจากรัฐบาลทั้งส้ิน
เต็มค่าความเส่ียงที่จะเกิดอุบัติภัยร้ายแรง หรือแม้แต่ร้อยละ 10 ก็ตาม (รอมม์ค�ำนวณว่าในสหรัฐอเมริกาประเทศเดียว
ตน้ ทนุ เพม่ิ ทตี่ อ้ งแบกรบั นกี้ จ็ ะทำ� ใหโ้ รงไฟฟา้ นวิ เคลยี รไ์ มค่ มุ้ คา่ ทางเศรษฐกจิ อตุ สาหกรรมนวิ เคลยี รไ์ ดร้ บั เงนิ อดุ หนนุ ทงั้ ทางตรง
(Economically Viable) ทจี่ ะสรา้ ง ยงั ไมน่ บั วา่ ตอ้ งใชเ้ วลากอ่ สรา้ งโรงไฟฟา้ และทางอ้อมกว่า 100,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ
หลายปี และค่าก่อสร้างมหาศาลนั้นก็มีโอกาสที่จะบานปลายสูงมาก ต้ังแต่ พ.ศ. 2491)
(อ่านรายละเอียดได้ในรายงาน พ.ศ. 2551 เร่ือง “The Self-Limiting มายาคติ # 3
Future of Nuclear Power” โดยโจเซฟ รอมม์ (Joseph Romm) เรา “ไม่มีทางเลือกอนื่ ” นอกจากนวิ เคลยี ร์
นกั ฟสิ กิ สแ์ ละผเู้ ชยี่ วชาญภาวะสภาพภมู อิ ากาศเปลย่ี นแปลงชนั้ นำ� ของโลก คำ� กล่าวนอี้ าจจะจรงิ เมื่อ 20 ปที ่แี ล้ว แตป่ จั จบุ นั
ดาวนโ์ หลดไดจ้ าก http://www.americanprogressaction.org/issues/ ไม่เป็นความจริงอีกต่อไป เมื่อเทคโนโลยีในการ
2008/nuclear_power_report.html) ผลิตพลังงานหมุนเวียนก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว
ท้ังหมดน้ียังไม่นับว่าระบบรักษาความปลอดภัยท่ีอุตสาหกรรมนิวเคลียร์ โดยเฉพาะพลังงานลมและแสงอาทิตย์ บริษัท
อา้ งวา่ “ดเี ลศิ ” นนั้ เอาเขา้ จรงิ หลายสว่ นกไ็ มไ่ ดด้ อี ยา่ งทค่ี ดิ ถา้ ตอ้ งปรบั ปรงุ ผ้ผู ลิตพลังงานเหลา่ นด้ี ึงดดู เม็ดเงนิ จากนักลงทุน
ระบบเหล่าน้ีให้รัดกุมมากขึ้น ต้นทุนก็จะย่ิงบานปลายและท�ำให้ค่าไฟฟ้า ท่ัวโลกอย่างต่อเนื่อง ย่ิงขยายขนาดการผลิต
ยงิ่ แพงมากกวา่ เดมิ (อา่ นตวั อยา่ งความลม้ เหลวของระบบระบายความรอ้ น และย่ิงได้รับความนิยมจากผู้บริโภคมากเพียงใด
ในโรงไฟฟา้ เทปโกไ้ ดท้ ่ี http://www.nytimes.com/2011/05/18/world/ ต้นทุนต่อหน่วยของพลังงานหมุนเวียนก็ยิ่งถูกลง
asia/18japan.html) ตามหลักเศรษฐศาสตร์ ตรงกันข้ามกับนิวเคลียร์
ซึ่งมีแต่จะแพงขึ้นเรื่อยๆ ท�ำให้ต้องอาศัยเงิน
64 อุดหนุนและการสนับสนุนจากรัฐอย่างเข้มข้น
มากข้ึน
สฤณีอาชวานันทกลุ 65
... โจเซฟ รอมม์สรุปรายงานของเขาว่า เทคโนโลยี ไม่ไกลเกินเอื้อม (พูดง่ายๆ คือ รัฐน่าจะเอาเงินที่อุดหนุนนิวเคลียร์มา
เทคโนโลยีพลังงาน พลงั งานปลอดคารบ์ อนทที่ กุ ประเทศควรใหค้ วาม อุดหนุนพลงั งานหมนุ เวยี นแทน)
ป ล อ ด ค า ร ์ บ อ น ที่ ส�ำคัญในขณะน้ี ได้แก่ ประสิทธิภาพในการใช้ เมอ่ื ขอ้ เทจ็ จรงิ เปน็ เชน่ นี้ การพดู แตด่ า้ นดี (ทด่ี ดู นี อ้ ยลงเรอื่ ยๆ) ของพลงั งาน
ทุกประเทศควรให้ พลงั งาน พลงั งานลม พลงั งานความรอ้ นใตผ้ วิ โลก นิวเคลียร์ โดยหน่วยงานภาครัฐและบริษัทพลังงานขนาดใหญ่บางแห่ง
ความสำ� คญั ในขณะน้ี และพลังงานแสงอาทิตย์ เนือ่ งจากเป็นวิธที สี่ ่งผล กด็ ูจะเป็นเพยี งการมองมุมแคบ ใช้ขอ้ มลู เกา่ และไปไม่พน้ จากวฒั นธรรม
ได้แก่ ประสิทธิภาพ กระทบตอ่ สงั คมนอ้ ยมากและไมม่ คี อขวดในภาค “อ�ำนาจรวมศูนย์” ท่ีอยู่ตรงกันข้ามกับแนวคิดการกระจายศูนย์ให้ปัจเจก
ในการใช้พลังงาน การผลิต เทคโนโลยีปัจจุบันสามารถตอบสนอง และชุมชนผลิตและจัดการพลังงาน ซึ่งเป็นจุดเด่นของพลังงานหมุนเวียน
พลงั งานลม พลงั งาน ความตอ้ งการพลงั งานของสหรฐั อเมรกิ าทง้ั ประเทศ พลังงานสีเขียวที่ก�ำลังสร้างโลกใหม่อย่างน่าต่ืนเต้น แต่ในประเทศไทย
ความร้อนใต้ผิวโลก ได้ภายใน 25 ปี เขามองว่าเทคโนโลยอี ่นื อย่าง ยังถูกถ่วงความเจริญโดยรัฐบาลและอุตสาหกรรมพลงั งานท่ลี ้าหลัง
แ ล ะ พ ลั ง ง า น แ ส ง เช่น โรงไฟฟ้าถ่านหนิ ท่ีดักจับคาร์บอน (Carbon
อาทิตย์ เน่ืองจาก Capture) อาจทวีความส�ำคัญได้ แต่ก็จะต้อง สฤณีอาชวานนั ทกุล 67
เปน็ วธิ ที ส่ี ง่ ผลกระทบ อาศยั เงนิ ลงทุนอีกมหาศาลในทศวรรษนี้
ต่อสังคมน้อยมาก ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2554 คณะกรรมการ
และไม่มีคอขวดใน ระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภาคการผลติ ภูมิอากาศ (IPCC) ออกรายงานพิเศษว่าด้วย
พลังงานหมุนเวียน (ดาวน์โหลดได้จาก http://
... srren.ipcc-wg3.de/report) รายงานฉบับนี้
สรปุ อยา่ งชดั เจนวา่ พลงั งานหมนุ เวยี นมศี กั ยภาพที่
จะผลติ พลงั งานไดถ้ งึ รอ้ ยละ 80 ของความตอ้ งการ
พลังงานทัว่ โลกภายใน พ.ศ. 2593 และมบี ทบาท
ทขี่ าดไมไ่ ดใ้ นการรบั มอื กบั ภาวะสภาพภมู อิ ากาศ
เปลี่ยนแปลง ปัจจัยเดียวท่ีจะส่งผลต่อการขยาย
หรือจ�ำกัดพลังงานหมุนเวียนไม่ใช่ทรัพยากร
หรือเทคโนโลยี หากเป็นการด�ำเนินนโยบาย
สาธารณะของรัฐบาลทั่วโลก ถ้าหากรัฐสนับสนุน
พลังงานหมุนเวียนอย่างจริงจัง เป้าหมายนี้ก็อยู่
66
07 ภาวะสภาพภมู อิ ากาศเปลยี่ นแปลง เปน็ ปญั หาเรง่ ดว่ นทสี่ รา้ งความเสยี หาย
และความเดือดร้อนชัดเจนข้ึนเร่ือยๆ จนการถกเถียงเรื่องน้ีข้ามพ้นจาก
ภาพลวงตาและอันตรายของ ประเดน็ “จริงหรอื เทจ็ ” เป็น “เราควรรับมอื กบั มนั อยา่ งไร” มานานแล้ว
แนวคดิ “อภินิหารพลังงาน” เนอื่ งจากภาวะสภาพภมู อิ ากาศเปลย่ี นแปลงเปน็ ปญั หาระดบั โลกทเี่ กดิ จาก
เทคโนโลยยี คุ อตุ สาหกรรม จงึ ไมน่ า่ แปลกใจทนี่ กั นวตั กรรม นกั ธรุ กจิ และ
นักวิทยาศาสตร์จ�ำนวนไม่น้อย รณรงค์ให้เราใช้เทคโนโลยีสีเขียวรุ่นใหม่
ล่าสุดในการรับมือกับเร่ืองน้ี พวกเขาเชื่อว่าในเม่ือเทคโนโลยีเป็นต้นเหตุ
ของปญั หา เรากค็ วรใชม้ นั แกป้ ัญหา
บลิ เกตส์ มหาเศรษฐผี ูก้ ่อต้งั บริษัทไมโครซอฟท์ เสนอในงาน TED (www.
ted.com) ในเดอื นกมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2553 วา่ ทวั่ โลกจะตอ้ งลดการปลอ่ ย
ก๊าซเรือนกระจกลงให้เหลือศูนย์ภายใน พ.ศ. 2593 และนักวิจัยควรใช้
เวลา 20 ปีนับจากน้ีพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่จะท�ำสิ่งนี้ได้ และใช้เวลา
อกี 20 ปีต่อจากนัน้ ในการลงมอื น�ำเทคโนโลยเี หลา่ นั้นไปใชจ้ รงิ
สนุ ทรพจนข์ องเกตส์เรยี กเสียงช่ืนชมมากมาย แต่ไม่ใช่ส�ำหรับ ดร.โจเซฟ
รอมม์ (Joseph Romm) นกั วทิ ยาศาสตรแ์ ละบลอ็ กเกอรน์ �ำประจำ� เวบ็ ไซต์
www.climateprogress.org ซง่ึ วารสาร TIME ขนานนามวา่ เปน็ บลอ็ กเกอร์
ดา้ นภาวะสภาพภมู อิ ากาศเปลย่ี นแปลงผทู้ รงอทิ ธพิ ลทส่ี ดุ ในสหรฐั อเมรกิ า
รอมมเ์ คยเปน็ รองปลดั กระทรวงพลงั งาน ผรู้ บั ผดิ ชอบนโยบายดา้ นประสทิ ธภิ าพ
สฤณีอาชวานันทกุล 69
ในการใชพ้ ลงั งานและพลงั งานทดแทนสมยั ประธานาธบิ ดคี ลนิ ตนั ปจั จบุ นั มากๆ เพื่อให้ผลลัพธเ์ กดิ ขึ้นจรงิ เกตส์บอกว่าเขา ...
รอมม์เขียนบล็อกอย่างสม�่ำเสมอ นอกเหนือจากงานประจ�ำที่สถาบันวิจัย มองเห็น 4 กลยุทธ์ที่เราควรขยายขนาด ได้แก่ ไม่ต้องรอให้ใครคิด
ชือ่ American Progress เทคโนโลยีกักเก็บคาร์บอน พลังงานนิวเคลียร์ ค้นนวัตกรรมก่อน
บทวพิ ากษส์ นุ ทรพจนเ์ กตสข์ องรอมมม์ แี งม่ มุ ทนี่ า่ สนใจมากมาย โดยเฉพาะ พลังงานลม และพลังงานแสงอาทิตย์ (รวมพลัง
วธิ ีทเ่ี ขาชี้ใหเ้ หน็ วา่ การทุ่มเทพลงั งานใหก้ ับการคิดคน้ นวตั กรรมใหมๆ่ ท่ี ความร้อนใต้พิภพ) แต่เขาใช้เวลาพูดถึงพลังงาน ...
สามารถสร้าง “อภินหิ ารพลงั งาน (Energy Miracles)” ให้เราหลดุ ออก นิวเคลียร์น้อยท่ีสุด ชี้ให้เห็นข้อกังขาเก่ียวกับ
จากภาวะสภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงได้อย่างรวดเร็ว แทนท่ีจะทุ่มเท พลังงานทดแทน (ประเด็นการส่งและกักเก็บ
ทรัพยากรให้กับการใช้เทคโนโลยีปัจจุบันไปด้วย เป็นกลยุทธ์ท่ีบิล เกตส์ พลงั งาน)
และอกี หลายคน “ใหค้ า่ ” มากเกนิ ไป และจะนำ� เราไปสหู่ ายนะถา้ ไมเ่ ปลยี่ น ส่ิงท่ีเกตส์เน้นมากที่สุดคือ ความคิดท่ีว่า “เรา
ความคิดใหม่ จ�ำเป็นจะต้องมี ‘อภินิหารพลังงาน (Energy
วนั นผ้ี เู้ ขยี นจะสรปุ ความคดิ ของรอมมม์ าเลา่ สกู่ นั ฟงั ทา่ นใดทสี่ นใจสามารถ Miracles)’” ซง่ึ เขาไมไ่ ดห้ มายถงึ สง่ิ มหศั จรรยท์ ดี่ ู
อ่านบทวิพากษ์ฉบับเต็มของรอมม์ได้ที่ http://climateprogress.org/ เป็นไปไมไ่ ด้ แตห่ มายถึงเทคโนโลยนี วัตกรรมสงู
2010/02/14/bill-gates-ted-speech-innovation-energy-miracles/ และตน้ ทนุ ตำ่� ทส่ี รา้ งการเปลยี่ นแปลงไดม้ หาศาล
ก่อนอื่นรอมม์บอกว่าเขาดีใจท่ีบิล เกตส์ยอมรับว่าภาวะสภาพภูมิอากาศ ไมต่ า่ งจากทคี่ อมพวิ เตอรส์ ว่ นบคุ คลปฏวิ ตั วิ ถิ ชี วี ติ
เปลี่ยนแปลงน้ันเปน็ อันตราย และเหน็ ตรงกนั กบั เขาวา่ ตัวเลข “กรณที ่แี ย่ มนษุ ยม์ าแล้วในศตวรรษท่ี 20
ทส่ี ุด” ของ IPCC น้ันอาจยังไม่แยท่ สี่ ุด และเกตส์กไ็ มโ่ จมตวี ิธแี ก้ไขอ่นื ๆ รอมม์บอกว่าเกตส์ไม่ได้ดูแคลนการลงมือแก้ไข
ทห่ี ลายคนรณรงค์ เชน่ การเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพในการใชพ้ ลงั งาน และพลงั งาน ปญั หาวนั น้ี แตพ่ ดู วา่ การทำ� อยา่ งนน้ั อาจ “ไมส่ ำ� คญั
ทดแทน แบบทเี่ ขาเคยโจมตใี นอดตี เกตสต์ ง้ั ขอ้ สงั เกตวา่ “เราตอ้ งใชแ้ รงจงู ใจ เท่ากับ” การเรง่ คดิ ค้นนวัตกรรมใหม่ๆ ซ่งึ รอมม์
ทางตลาด” นนั่ คอื ตอ้ งกำ� หนดราคาคารบ์ อน ไมว่ า่ จะในรปู ของ Cap and ไมเ่ หน็ ดว้ ยอยา่ งยงิ่ เขาบอกวา่ วธิ ที ดี่ ที สี่ ดุ ทจี่ ะทำ� ให้
Trade หรอื ภาษพี ลงั งาน พลงั งานปลอดคารบ์ อนมรี าคาถกู ลง คอื การลงมอื
ในมุมมองของรอมม์ ส่วนที่เหลือของสุนทรพจน์บิล เกตส์น้ันมีส่วนแย่ ใช้เทคโนโลยีท่ีเรามีอยู่แล้วในวันนี้ ไม่ต้องรอให้
มากกวา่ ดี เกตสย์ อมรบั วา่ เราเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพในการใชพ้ ลงั งานได้ 3-6 เทา่ ใครคดิ ค้นนวัตกรรมก่อน
แตไ่ มย่ อมรบั วา่ จะตอ้ งลงมอื ใชเ้ ทคโนโลยเี หลา่ นน้ั อยา่ งรวดเรว็ และเชงิ รกุ
สฤณีอาชวานันทกุล 71
70
คำ� ถามคอื มโี อกาสแคไ่ หนทใ่ี นอกี 20 ปี เราจะมเี ทคโนโลยปี ลอดคารบ์ อน พดู งา่ ยๆ คอื เทคโนโลยอี ะไรกแ็ ลว้ แต่ ถา้ จะใหไ้ ด้
หลายตวั (4-8) ทวี่ นั นเ้ี ราไมม่ ี เทคโนโลยที จี่ ะสามารถสง่ พลงั งานเทยี บเทา่ ผลจรงิ กต็ อ้ งมคี นนยิ มใชม้ าก คอื ไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ
350 กิกะวัตต์ (ประมาณ 2,800 ล้านเมกะวัตต์ชั่วโมงต่อปี) และ/หรือ 5-10 ของตลาดพลงั งานทวั่ โลก แตก่ อ่ นทคี่ นจะนยิ ม
เทียบเท่าน้�ำมันเช้ือเพลิง 160,000 ล้านแกลลอน ภายใน พ.ศ. 2593 ใชม้ าก ผู้ผลติ ก็ตอ้ งใชเ้ วลา “แปลง” เทคโนโลยี
รอมมบ์ อกวา่ คำ� ตอบคอื นอ้ ยมากหรอื ศนู ย์ ชว่ งเวลา 30 ปที ผ่ี า่ นมาปรากฏ ใหเ้ ป็นผลิตภัณฑท์ ีข่ ายไดใ้ นเชิงพาณิชย์ เอาชนะ
แล้วว่าไม่มีเทคโนโลยีใดที่สามารถท�ำได้ขนาดนี้ แม้ว่ารัฐบาลทั่วโลกจะ เทคโนโลยอี นื่ ใชท้ กั ษะดา้ นการตลาด ฯลฯ ซงึ่ รอมม์
ทุ่มทุนวิจัยและพัฒนามหาศาล แม้แต่ไฮโดรเจน ซึ่งท้ังรัฐและเอกชนทุ่ม บอกวา่ เราไมม่ เี วลานานขนาดนนั้ ถา้ จะรอเทคโนโลยี
เงินวิจัยไปหลายพันล้านเหรียญสหรัฐฯ ในช่วง 15 ปีท่ีผ่านมา ก็ยังไม่มี ใหม่เอ่ยี ม
แนวโนม้ วา่ จะเปน็ ทางออกของปญั หาภาวะสภาพภมู อิ ากาศเปลย่ี นแปลงได้ รอมมย์ กตวั อยา่ งวา่ ไมม่ เี ทคโนโลยใี ด ไมว่ า่ ทเ่ี กดิ
รอมมอ์ ธบิ ายวา่ การทำ� ใหก้ า๊ ซเรอื นกระจกในชน้ั บรรยากาศเขา้ สเู่ สถยี รภาพ แลว้ หรอื ยงั ไมเ่ กดิ ทจี่ ะสรู้ าคาพลงั งานจากโรงไฟฟา้
ท่ี 450 ppm นั้น แปลว่าเราจะต้องลงมือใช้กลยุทธ์สร้างเสถียรภาพ พลงั ถา่ นหนิ (ตวั การสำ� คญั ในการปลอ่ ยคารบ์ อน)
(Stabilization Wedge) จำ� นวน 12-14 กลยทุ ธ์ แตล่ ะกลยทุ ธล์ ดคารบ์ อน ทตี่ ง้ั มานานแลว้ ได้ วธิ เี ดยี วทจ่ี ะจดั การกบั โรงไฟฟา้
ได้ 1 พนั ลา้ นตนั ทง้ั กลยทุ ธป์ ระเภทปรบั ปรงุ ประสทิ ธภิ าพในการใชพ้ ลงั งาน เหลา่ นี้ไดค้ อื ต้ังราคาคาร์บอนให้สูง หรอื ไมก่ ็ให้
และน�ำส่งพลังงานปลอดคาร์บอน รอมม์ยืนยันว่าเทคโนโลยีที่เรามีอยู่ รฐั บงั คบั ปดิ กจิ การ และดว้ ยเหตนุ ้ี รอมมจ์ งึ บอกวา่
ในปัจจุบัน เช่น ไฟฟ้าจากความร้อนพลังแสงอาทิตย์ และรถยนต์ไฮบริด กลยุทธ์ที่ส�ำคัญอย่างย่ิงคือ พยายามไม่ให้สร้าง
น้ันเพียงพอแล้วที่จะน�ำส่งพลังงานปลอดคาร์บอน ส่วนการปรับปรุง โรงไฟฟา้ พลังถ่านหินข้นึ มาอกี
ประสทิ ธภิ าพในการใชพ้ ลงั งานนนั้ กม็ เี ทคโนโลยมี ากมายทค่ี มุ้ คา่ และราคา การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานลมเป็นตัวอย่างหน่ึง
ไมแ่ พง ของเทคโนโลยีท่ีตั้งอยู่บนองค์ความรู้ท่ีสะสมมา
ปัญหาใหญ่ของกลยุทธ์ “รออภินิหารพลังงาน” ในมุมมองของรอมม์คือ นานในหลายสาขา เทคโนโลยีสร้างกังหันลมนั้น
คนทร่ี ณรงค์แนวคิดนีอ้ ยา่ งเกตสม์ ักจะลมื คิดวา่ เทคโนโลยีใหมๆ่ น้นั ต้อง คิดค้นไม่ยาก แต่ส่งิ ท่ียากและจำ� เปน็ ต้องใชเ้ วลา
ใชเ้ วลานานมากกวา่ จะประสบความส�ำเรจ็ เชงิ พาณชิ ยใ์ นวงกวา้ ง ไมม่ ที าง มากคอื กระบวนการเรยี นรผู้ า่ น “เสน้ ประสบการณ์
ท่ีเทคโนโลยี “อภินิหารพลังงาน” จะอุบัติขึ้นได้ด้วยต้นทุนท่ีต่�ำตั้งแต่ต้น (Experience Curve)” ทสี่ งู ชนั เชน่ วธิ เี ลอื กพน้ื ที่
เพราะต้องใช้เวลาในการขยายขนาดจนถึงจุดท่ีลดต้นทุนได้ ตามความ ติดต้ัง วิธีประยุกต์กังหันให้เข้ากับพ้ืนท่ี วิธีบำ� รุง
ต้องการเทคโนโลยีทจี่ ะค่อยๆ เพิม่ สูงขึ้นตามเวลา รักษา และการบรหิ ารจัดการพลังงาน
72 สฤณีอาชวานนั ทกุล 73
... เสน้ ประสบการณท์ ผ่ี า่ นมาบอกเราไดว้ า่ จะตอ้ งใช้
เพอ่ื ปดิ ชอ่ งวา่ งระหวา่ ง เงินลงทุนเท่าไรในการสร้างเทคโนโลยีให้แข่งขัน
ราคาปจั จบุ นั กบั ราคา ได้ แตค่ าดการณไ์ มไ่ ด้วา่ การใชเ้ ทคโนโลยนี ัน้ จะ
คุ้มทนุ ด้วยการแปลง ได้รับความนิยมจนคืนทุนได้เมื่อใด รอมม์ย�้ำว่า
เทคโนโลยีเป็นผลิต- ระยะเวลาคืนทุนน้ันจะช้าหรือเร็วข้ึนอยู่กับความ
ภัณฑ์และวางขายใน เร็วในการลงมือใช้เทคโนโลยี ซึ่งนโยบายภาครัฐ
ตลาด มบี ทบาทสำ� คญั รอมมน์ ยิ าม “การลงทนุ เพอ่ื เรยี นรู้
(Learning Investment)” วา่ หมายถงึ การลงทนุ
... ทจ่ี ำ� เปน็ ตอ้ งเรียนรวู้ ิธลี ดต้นทนุ ของเทคโนโลยีให้
ถงึ จุดคุ้มทนุ เพ่ือปิดช่องว่างระหว่างราคาปจั จุบนั
กับราคาคุ้มทุน ด้วยการแปลงเทคโนโลยีเป็น
ผลิตภัณฑแ์ ละวางขายในตลาด
รอมมบ์ อกวา่ เราไมม่ เี วลาแลว้ ทจ่ี ะทมุ่ เงนิ ใหก้ บั การ
คดิ คน้ เทคโนโลยใี หมแ่ ละรอ “อภนิ หิ ารพลงั งาน”
ที่เกตส์เรียกร้อง เขาบอกว่าการลงทุนเพื่อเรียนรู้
นั้นจ�ำเป็นอย่างย่ิงต่อการท�ำให้เทคโนโลยีท่ีมีอยู่
ในปจั จบุ นั สามารถวางตลาด และไดร้ บั ความนยิ ม
สูงจนแก้ปัญหาสภาพภูมิอากาศเปล่ียนแปลงได้
จรงิ ถ้ารัฐบาลทว่ั โลกกระตุ้นและสนับสนนุ ดา้ นน้ี
อยา่ งจริงจัง เรากม็ ีแนวโน้มวา่ จะแกป้ ญั หาไดท้ นั
พ.ศ. 2593
74 สฤณีอาชวานนั ทกุล 75
08 เศรษฐศาสตร์อาจไมใ่ ชว่ ชิ าทสี่ อน “สัจธรรม” อะไรได้มากนัก แต่สัจธรรม
ขอ้ หนงึ่ ทน่ี กั เศรษฐศาสตรพ์ ยายามชใ้ี หเ้ หน็ มานมนานกาเลแลว้ คอื สจั ธรรม
วทิ ยาศาสตร์และการเมืองของ ทว่ี า่ สง่ิ ใดกต็ ามทเี่ ราจำ� เปน็ ตอ้ งใช้ หายาก และมวี นั หมด ยอ่ มมมี ลู คา่ มาก
จุดผลติ น้ำ� มันสงู สดุ (Peak Oil) กวา่ สิ่งอนื่ ทเี่ ราไม่จ�ำเป็นต้องใช้ หาง่าย และไม่มวี นั หมด
ปัจจุบันสัจธรรมข้อน้ีปรากฏให้เราเห็นอย่างชัดเจนในรูปของราคาน�้ำมันท่ี
ทะยานขน้ึ ชนดิ ฉดุ ไมอ่ ยู่ทบุ สถติ แิ ทบทกุ เดอื น บางคนมองวา่ นเี่ ปน็ เหตกุ ารณ์
ชั่วคราวเพราะความปั่นป่วนในโลกอาหรับ ผู้ผลิตน้�ำมันรายใหญ่ของโลก
แตค่ ดิ แบบนเี้ ปน็ การปลอบใจตวั เองเทา่ นน้ั เพราะขอ้ เทจ็ จรงิ คอื ราคานำ�้ มนั
ไมม่ วี นั ถกู ลงอกี ตอ่ ไปแลว้ สมยั กอ่ นมนั ถกู มากเพยี งเพราะวา่ อปุ ทานในโลก
ยังมอี ยเู่ หลอื เฟือเทา่ น้ัน
สถานการณ์น้�ำมันมีความส�ำคัญอย่างยิ่งต่อมนุษย์ เนื่องจากเศรษฐกิจ
ตลอดระยะเวลา 200 ปที ผี่ า่ นมา เตบิ โตดว้ ยนำ�้ มนั ดบิ ราคาถกู สารทกี่ ลนั่
จากซากฟอสซิลล้านปชี นิดน้ีไมไ่ ดเ้ ปน็ แค่เช้ือเพลงิ หลักที่เราใช้ แต่ยงั เปน็
วัตถุดิบในพลาสติก สารหล่อล่ืนทุกชนิด ร้อยละ 95 ของปุ๋ยทั้งหมด ยา
ฆา่ แมลง และผลติ ภณั ฑอ์ น่ื ๆ อกี หลายพนั รายการทเี่ ราใชใ้ นชวี ติ ประจ�ำวนั
สฤณีอาชวานันทกุล 77
นอกจากนำ้� มนั จะขาดไมไ่ ดใ้ นเศรษฐกจิ สมยั ใหมแ่ ลว้ มนั กไ็ มไ่ ดก้ ระจายตวั (Post Carbon Institute ทำ� หนงั สน้ั 5 นาทที ส่ี รปุ ววิ ฒั นาการของเชอ้ื เพลงิ
อยตู่ ามประเทศตา่ งๆ อยา่ งเทา่ เทยี มกนั ประเทศทม่ี แี หลง่ นำ้� มนั มหาศาลนน้ั ฟอสซลิ ไดด้ เี ยย่ี ม ดอู อนไลนไ์ ดท้ ี่ http://www.greenworld.or.th/relax/
เปน็ สว่ นนอ้ ยนำ้� มนั สว่ นใหญก่ ระจกุ ตวั อยใู่ ตผ้ นื ดนิ อาหรบั ทมี่ คี วามเหลอ่ื มลำ�้ green-tv/1155)
ทางเศรษฐกจิ และสงั คมสงู มาก ประเทศสว่ นใหญใ่ นโลกเปน็ ผนู้ ำ� เขา้ นำ�้ มนั ศพั ท์เรียกจดุ ทีก่ ารผลติ นำ้� มนั ถึงจดุ สูงสดุ คอื “Peak Oil” หรอื “จดุ สงู สุด
สทุ ธิ (คอื ผลิตได้ไมเ่ พยี งพอต่อความต้องการในประเทศ) ของฮบั เบริ ต์ (Hubbert’s Peak)” ตามชอื่ ของ ดร.เอม็ . คงิ ฮบั เบริ ต์ (Dr. M.
แต่ก็ใช่ว่าประเทศผู้ส่งออกน�้ำมันรายใหญ่จะเจริญรุ่งเรืองกว่าประเทศอื่น King Hubbert) นกั วเิ คราะหอ์ ตุ สาหกรรมนำ�้ มนั ใน พ.ศ. 2499 ดร.ฮบั เบริ ต์
ข้อเท็จจริงกลับตรงกันข้าม ประเทศเหล่านี้มักจะมีอัตราการเติบโตทาง คิดค้นแบบจ�ำลองรูประฆังคว�่ำ (Bell Curve) ขึ้นมาพยากรณ์จุดที่การ
เศรษฐกิจ และระดับการพัฒนาต่�ำกว่าประเทศท่ีขาดแคลนทรัพยากร ผลติ นำ้� มนั จะถงึ จดุ สงู สดุ ในสหรฐั อเมรกิ า จดุ ทถ่ี า้ เลยจากนน้ั ปรมิ าณนำ้� มนั
นกั เศรษฐศาสตรอ์ ธบิ ายปรากฏการณน์ ว้ี า่ เปน็ ผลมาจาก “คำ� สาปทรพั ยากร” ที่ผลติ ไดจ้ ะลดลงเรื่อยๆ
(Resource Curse, http://en.wikipedia.org/wiki/Resource_curse) ดร.ฮับเบิร์ตไม่ต่างจากนักวิทยาศาสตร์และนักคิดคนอ่ืนๆ ท่ีมีวิสัยทัศน์
คอื ยง่ิ ประเทศไดเ้ งนิ “งา่ ย” เพยี งใด รฐั บาลของประเทศนนั้ ๆ กย็ งิ่ มแี นวโนม้ ก้าวไกลเกินยุคสมัยของตัวเอง คือเขาถูกหัวเราะเยาะและปฏิเสธจาก
ที่จะ “เคยตัว” ไม่บริหารจัดการทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ รอบคอบ คนร่วมสมัยจ�ำนวนมาก แต่เมื่อจุดผลิตน้�ำมันของสหรัฐอเมริกาข้ึนถึงจุด
และโปร่งใส นอกจากน้ียังขาดความสนใจท่ีจะลงทุนเพื่อพัฒนาประเทศ สูงสุดจริงๆ ในต้นทศวรรษ 1970 คลาดเคล่ือนเพียงไม่กี่เดือนจากจุดท่ี
อย่างย่งั ยืน โดยเฉพาะดา้ นการศึกษา เขาพยากรณเ์ มอื่ 15 ปกี อ่ นหนา้ คนทเ่ี คยหวั เราะเยาะเขากเ็ งยี บเสยี ง และ
ในเมื่อน้�ำมันเป็นทรัพยากรธรรมชาติท่ีมีวันหมด ยิ่งการตักตวงเข้าใกล้ อุตสาหกรรมน้�ำมันก็เร่ิมน�ำแบบจ�ำลองของ ดร.ฮับเบิร์ต มาใช้ในการ
จดุ ทนี่ ำ�้ มนั จะหมดโลกเทา่ ไร (หรอื อยแู่ ตใ่ นทยี่ ากๆ จนไมค่ มุ้ ทจ่ี ะขดุ ขน้ึ มา) พยากรณจ์ ดุ ผลติ นำ�้ มนั สงู สดุ ของโลกทง้ั ใบ ไมใ่ ชแ่ คป่ ระเทศใดประเทศหนงึ่
ราคานำ�้ มันกย็ อ่ มสงู ข้นึ เปน็ เงาตามตวั กว่าจะถึง พ.ศ. 2553 นักวิเคราะห์คนแล้วคนเล่าต่างออกมาเตือนว่า
การผลิตน�้ำมันโลกได้เลยจุดสูงสุดไปแล้ว นักวิเคราะห์ท่ีมองโลกในแง่ดี
78 ที่สุดมองว่ายังไม่ถึง แต่ก็จะถึงจุดน้ันอย่างแน่นอนภายใน พ.ศ. 2563
อยา่ งไรกต็ าม จุด Peak Oil อาจเกดิ ข้ึนเร็วกว่าน้ัน ถ้าหากปริมาณการ
ใช้น้�ำมันของประชากรโลกเพ่ิมขึ้นเร็วกว่าท่ีคาดการณ์ไว้ โดยเฉพาะจาก
ประเทศโตเร็วที่มขี นาดใหญ่ น�ำโดยจีนและอินเดีย
สฤณีอาชวานันทกุล 79
ปจั จบุ ันจีนและอินเดยี บรโิ ภคนำ้� มนั เพ่ิมขึน้ ปีละประมาณร้อยละ 3 สูงกวา่ (บรษิ ทั นำ�้ มนั ยอมปรบั ตวั หลงั จากทค่ี ดั คา้ นหลกั ฐานทางวทิ ยาศาสตรเ์ รอ่ื ง
คา่ เฉลย่ี โลกกวา่ 2 เทา่ ถา้ อตั รานย้ี งั ดำ� เนนิ ตอ่ ไปในอนาคต ปรมิ าณนำ้� มนั ภาวะโลกร้อนมานานหลายปี และบางบริษัทก็ถึงขั้นบิดเบือนข้อมูลและ
ทโ่ี ลกทงั้ ใบตอ้ งการกจ็ ะเพมิ่ ขน้ึ กวา่ รอ้ ยละ 50 เปน็ 125 ลา้ นบารเ์ รลตอ่ วนั โกหกผ่านส่ืออย่างร้ายกาจ (อ่านวิธีการของ ExxonMobil บริษัทน้�ำมัน
เม่ือถงึ พ.ศ. 2568 สวนทางกบั อปุ ทานท่ีนอ้ ยลงเรื่อยๆ กวา่ จะถงึ ตอนนน้ั ทีแ่ ย่ที่สดุ ในแง่น้ี ได้ในรายงาน พ.ศ. 2550 เรอ่ื ง “Smokes Mirrors &
เราจะประสบภาวะขาดแคลนอย่างรุนแรง ราคาน�้ำมันดิบก็จะพุ่งทะลุฟ้า Hot Air” โดย Union of Concerned Scientists - http://www.ucsusa.
กอ่ ความเดอื ดรอ้ นไปทวั่ แนน่ อนวา่ ประเทศทจ่ี ะเดอื ดรอ้ นมากทสี่ ดุ คอื ประเทศ org/global_warming/science_and_impacts/global_warming_
ก�ำลังพัฒนา ที่ยังพ่ึงพาน้�ำมันและก๊าซธรรมชาติเป็นแหล่งพลังงานหลัก contrarians/exxonmobil-report-smoke.html) สาเหตุหน่ึงคือ
ในการไลก่ วดประเทศพฒั นาแลว้ ถูกกดดันโดยภาครัฐและผู้บริโภค แต่สาเหตุอีกข้อหนึ่งที่สำ� คัญไม่แพ้กัน
ทั้งหมดที่กล่าวไปน้ันยังไม่นับความเชื่อมโยงอย่างแนบแน่นระหว่าง คือข้อเท็จจริงที่ว่าสภาพภูมิอากาศเปล่ียนแปลงก�ำลังท�ำให้ธุรกิจน้�ำมัน
อุตสาหกรรมน้�ำมันกับปัญหาภาวะสภาพภูมิอากาศเปล่ียนแปลง ซ่ึงเป็น ทำ� ยากกว่าเดิม ยกตวั อยา่ งเชน่ ในสหรฐั อเมรกิ า รัฐบาลอนุญาตให้บริษัท
อตุ สาหกรรมทก่ี ระบวนการผลติ และขนสง่ ปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกมาชา้ นาน น้�ำมันขนอุปกรณ์หนักในมลรัฐอะแลสกา (รัฐหนาวเย็นซึ่งระบบนิเวศ
แตข่ า่ วดกี ค็ อื ในทสี่ ดุ บรษิ ทั นำ้� มนั ยกั ษใ์ หญห่ ลายบรษิ ทั ในปจั จบุ นั กย็ อมรบั เปราะบางและกำ� ลงั เสอ่ื มลงจากภาวะโลกรอ้ น) เฉพาะในชว่ งเวลาทพี่ น้ื ดนิ
แลว้ วา่ ตวั เองมสี ว่ นสรา้ งปญั หา พยายามเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพในการใชพ้ ลงั งาน ซ่งึ เปน็ นำ้� แข็งจะแข็งลกึ มาก ใน พ.ศ. 2513 มี 200 วันท่ีเข้าเงือ่ นไขนี้ ใน
และคดิ คน้ เทคโนโลยใี หมๆ่ เชน่ การกกั เกบ็ คารบ์ อน เพอื่ ลดการปลอ่ ยกา๊ ซ พ.ศ. 2552 มีเพียง 103 วนั )
เรือนกระจก ส่วนบริษัทท่ีมองการณ์ไกลกว่านั้นก็เปลี่ยนกลยุทธ์ ไปเน้น นอกจากโลกจะก�ำลังเข้าสยู่ คุ “ขา้ วยากหมากแพง” จนกว่าจะเปลี่ยนผ่าน
การท�ำธรุ กจิ พลงั งานทดแทนอยา่ งจริงจงั ไปสู่ “ระบบเศรษฐกิจคาร์บอนตำ่� ” ไดส้ �ำเรจ็ ปีท่ีโลกจะเข้าส่จู ดุ Peak Oil
อยา่ งแทจ้ รงิ กอ็ าจมาถงึ เรว็ กวา่ ทคี่ าด เนอ่ื งจากผเู้ ชย่ี วชาญหลายคนสงสยั วา่
กลุ่มโอเปก (OPEC หมายถึงกลุ่มประเทศผู้ส่งออกน�้ำมัน 13 ประเทศ)
ชอบแจง้ ตวั เลขปรมิ าณนำ�้ มนั สำ� รองสงู เกนิ กวา่ ทต่ี วั เองมจี รงิ ๆ และไมย่ อม
ใหใ้ ครตรวจสอบ
80 สฤณีอาชวานนั ทกุล 81
แผนภมู ดิ า้ นลา่ งนแี้ สดงปรมิ าณนำ�้ มนั สำ� รองทโ่ี อเปกประกาศ ตง้ั แต่ พ.ศ. จากแผนภูมนิ ้จี ะสังเกตเหน็ วา่ ตวั เลขหลายประเทศ “กระโดด” เป็นระยะๆ
2523 จนถึงปจั จบุ ัน (สถิตริ วบรวมโดยบรษิ ทั นำ้� มนั BP ในรายงานรายปี แตป่ ีท่ีกระโดดนนั้ ไม่ตรงกบั ปที ่มี กี ารค้นพบแหลง่ ขุดเจาะน้�ำมันใหมๆ่ เลย
ช่อื Statistical Review of World Energy) (และก็ไม่น่าเชื่อว่าประเทศใดที่ค้นพบแหล่งน�้ำมันใหม่จะอุบเงียบไว้
ไม่โอ้อวดกับเพื่อนบ้าน) ผู้เชี่ยวชาญส่วนใหญ่ที่ศึกษาสถิติการประกาศ
History of Opec Proved Reserves ปริมาณน�้ำมันส�ำรองของกลุ่มโอเปกพูดเป็นเสียงเดียวกันมานานแล้วว่า
มันเปน็ สถิติที่ “เหลือเช่อื ” จนส่อเคา้ ว่าโอเปกอาจโกหก ใน พ.ศ. 2549
Iran วารสาร Petroleum Intelligence Weekly ไดเ้ อกสารลบั ของทางการ
Iraq คเู วตซ่ึงระบวุ ่า ปริมาณน้ำ� มนั ส�ำรองท่ีแทจ้ รงิ ของคูเวตน้นั มีเพียง 48,000
Kuwait ลา้ นบารเ์ รล ตำ่� กวา่ ตวั เลขทป่ี ระกาศตอ่ สาธารณะกวา่ ครงึ่ หนงึ่ และตวั เลข
300 Saudi Arabia ทแ่ี ทจ้ รงิ นกี้ ร็ วมทงั้ ปรมิ าณ “นำ้� มนั สำ� รองทย่ี นื ยนั แลว้ (Proven Reserves)”
และ “น้ำ� มนั ส�ำรองทีย่ งั ไมย่ นื ยัน” (Unproven Reserves คอื ยงั ไมผ่ า่ น
UAE Saudi Arabia การพิสูจน์จากบุคคลท่ีสามว่ามีแน่นอนและขุดข้ึนมาใช้ได้จริง) มีน�้ำมัน
250 Venezuela ส�ำรองท่ียืนยันแล้วเพียงประมาณ 24,000 ล้านบาร์เรลเท่านั้น (อ่าน
Qutar Venezuela รายละเอียดได้ท่ี http://www.energyintel.com/DocumentDetail.
Iran asp?document_id=167229 และผู้เขียนขอแนะนำ� ภาพยนตร์สารคดี
200 IKUrauAwqEait เร่อื ง The Crude Awakening, http://www.oilcrashmovie.com/)
โครงสร้างการก�ำกับดูแลกันเองของกลุ่มโอเปกสร้างแรงจูงใจให้ประเทศ
100 สมาชกิ แจง้ ตวั เลขทส่ี งู เกนิ จรงิ เนอื่ งจากผกู โควตาการผลติ นำ้� มนั สว่ นหนง่ึ
เขา้ กบั ปรมิ าณนำ้� มนั สำ� รองทมี่ ี ดงั นน้ั ยงิ่ แจง้ ตวั เลขไดส้ งู กจ็ ะยงิ่ ผลติ นำ�้ มนั
100 ได้มาก ท�ำก�ำไรมหาศาลได้มากขึ้น ประเด็นส�ำคัญคือ ปัจจุบันประเทศ
สมาชิกโอเปกรวมกันมีน้�ำมันส�ำรองกว่าร้อยละ 70 ของทั้งโลก และการ
50 2531 2535 2539 2543 Qutar คาดการณ์ใดๆ ว่า Peak Oil จะเกิดหลัง พ.ศ. 2563 ล้วนต้ังอยู่บน
0 2547 2552 สมมติฐานวา่ โอเปกจะผลิตน้ำ� มนั ได้มากกว่าปัจจบุ ันอีกมาก
2523 2527
82 สฤณีอาชวานนั ทกุล 83
สญั ญาณอีก 2 ตวั ทีบ่ ง่ ชว้ี ่า Peak Oil กำ� ลงั คืบ วทิ ยาศาสตรแ์ ละการเมอื งของจดุ ผลติ นำ�้ มนั สงู สดุ ...
คลานเข้ามาคอื 1) ตวั เลขการผลติ น้ำ� มันทว่ั โลก (Peak Oil) ทผี่ เู้ ขยี นสรปุ มาครา่ วๆ ขา้ งตน้ บอกเรา วิทยาศาสตร์และ
ไมเ่ พ่ิมข้นึ อีกเลยนับตง้ั แต่ พ.ศ. 2547 เปน็ ต้นมา วา่ หมดยคุ ของนำ้� มนั ราคาถกู แลว้ และเรากไ็ มน่ า่ จะ ก า ร เ มื อ ง ข อ ง จุ ด
และ 2) การคน้ พบแหลง่ นำ้� มนั ใหมๆ่ ในรอบ 10 ปี หลกี เลย่ี งวกิ ฤตพิ ลงั งานไดใ้ นอนาคตอนั ใกล้ อยทู่ ี่ ผลิตน้�ำมันสูงสุด
ที่ผ่านมามีแต่ที่ยากๆ ท่ีไม่เคยขุดเจาะมาก่อน เราจะหาทางบรรเทาความรนุ แรงของมนั ไดห้ รอื ไม่ (Peak Oil) ยัง
เช่น หินน�้ำมนั (Oil Shale) และทรายน้ำ� มัน (Tar เพยี งใด นอกจากนี้ Peak Oil ยงั บอกเราวา่ การทำ� บอกเราว่า การท�ำ
Sands) แหลง่ เหลา่ นต้ี อ้ งใชเ้ ทคโนโลยแี ละเงนิ ทนุ ธรุ กิจท่ีเปน็ มิตรกับส่งิ แวดลอ้ มน้ัน ไมใ่ ช่เร่อื งของ ธุ ร กิ จ ที่ เ ป ็ น มิ ต ร
สงู มากในการขดุ เชน่ การผลติ นำ�้ มนั จากหนิ นำ้� มนั การเกาะกระแสหรอื “รวยเม่ือไรคอ่ ยทำ� ” อกี แลว้ กับส่ิงแวดล้อมน้ัน
ตอ้ งใชเ้ งินถงึ 18 เหรียญสหรฐั ฯ ต่อหนึง่ บารเ์ รล หากเป็นความแตกต่างระหว่างบริษัทท่ีจะอยู่รอด ไม่ใช่เร่ืองของการ
เทียบกับ 1 เหรียญสหรัฐฯ ในกรณีน้�ำมันปกติ กับบรษิ ัทท่จี ะเดือดรอ้ นในศตวรรษที่ 21 เ ก า ะ ก ร ะ แ ส ห รื อ
ความยากทางธรณีวิทยาท�ำให้อัตราการขุดเจาะ ยงิ่ เราคบื คลานเขา้ ใกล้ Peak Oil ระดบั โลกเพยี งใด “ ร ว ย เ ม่ื อ ไ ร ค ่ อ ย
ชา้ เกนิ กวา่ ทจ่ี ะตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการ ซอี โี อ เรากจ็ ะแยกแยะไดม้ ากขน้ึ เพยี งนนั้ วา่ บรษิ ทั นำ�้ มนั ท�ำ” อีกแล้ว หาก
ของเชลล์ บริษัทน้�ำมันที่ลงทุนในทรายน�้ำมันสูง บริษทั ไหนกา้ วหน้า บรษิ ทั ไหนลา้ หลัง เป็นความแตกต่าง
เปน็ อนั ดบั ตน้ ๆ ของโลก เคยกลา่ ววา่ เชลลว์ างแผน ระหว่างบริษัทท่ีจะ
ที่จะผลิตน้�ำมันเพียง 5 ล้านบาร์เรลจากทราย อยู่รอด กับบริษัท
น้�ำมัน ภายใน พ.ศ. 2573 ที่จะเดือดร้อนใน
นอกจากน้ีการขุดเจาะน้�ำมันจากหินและทรายยัง ศตวรรษท่ี 21
ปลอ่ ยมลภาวะสงู สง่ ผลกระทบอยา่ งมากตอ่ ระบบ
นิเวศ และต้องใช้พลังงานสูงมาก เช่น การผลิต ...
น้�ำมันจากทรายน�้ำมันต้องเผาผลาญเชื้อเพลิง
เทียบเท่า 1 บาร์เรล ในการขุดและสกัดน้�ำมัน สฤณีอาชวานนั ทกลุ 85
4 บารเ์ รลออกมาจากทราย (5 เท่าของการผลติ
นำ้� มันปกติ) ทงั้ หมดนี้หมายความวา่ การทบ่ี ริษทั
นำ้� มนั หลายบรษิ ทั แหก่ นั หาทางขดุ เจาะนำ้� มนั จาก
หนิ และทราย ทง้ั ทม่ี นั แพงมากและนกั สง่ิ แวดลอ้ ม
ตอ่ ตา้ นอยา่ งรนุ แรง กน็ า่ จะเปน็ เพราะแหลง่ นำ้� มนั
ธรรมดาไมม่ ีใหม้ นษุ ยค์ น้ พบอีกต่อไปแลว้
84
09 ปจั จบุ นั ไมน่ า่ จะมใี ครกงั ขาแลว้ วา่ เศรษฐกจิ สงั คมทงั้ โลกจะตอ้ งเปลย่ี นผา่ น
จากทนุ นยิ มอตุ สาหกรรมทล่ี า้ หลงั และทำ� รา้ ยธรรมชาตจิ นมนษุ ยต์ กอยใู่ น
มหันตภยั ทรายนำ้� มัน อนั ตราย ไปสู่ “สงั คมคารบ์ อนตำ่� ” “เศรษฐกจิ สเี ขยี ว” “ทุนนยิ มมีหัวใจ”
(Tar Sands) ท่ีเศรษฐกิจอยรู่ ว่ มกบั ธรรมชาตไิ ดอ้ ย่างสมานฉันท์
ตน้ ศตวรรษท่ี 21 การเปลยี่ นผา่ นทวี่ า่ นยี้ งั อยใู่ นระยะเรม่ิ ตน้ เทา่ นน้ั ตอ้ งใช้
เวลาหลายปหี รอื อาจจะหลายสบิ ปกี วา่ จะเรยี กไดว้ า่ เราเขา้ สู่ “ยคุ ใหม”่ อยา่ ง
เตม็ ภาคภมู ิ ระหวา่ งน้ีแรงตงึ เครียดระหว่าง “ก�ำไรสูงระยะสั้น” กับ “ก�ำไร
ทย่ี ่งั ยนื ระยะยาว” จะยงั คงมใี ห้เหน็ อยทู่ วั่ ไป
ธุรกิจทรายน�้ำมัน (Tar Sands) เป็นตัวอย่างท่ีดีมากของแรงตึงเครียด
ท่วี า่ น้ี
ก่อนหน้าน้ีผู้เขียนเคยสรุปในตอน “วิทยาศาสตร์และการเมืองของจุด
ผลิตน้�ำมันสูงสุด (Peak Oil)” ว่า โลกทุกวันน้ีแทบไม่เหลือแหล่งผลิต
น�ำ้ มนั ธรรมดา (Conventional Oil) อกี แลว้ เหลอื แต่แหลง่ ท่เี ข้าถงึ ยาก
ต้องใช้พลังงานมหาศาลในการขุด และส่งผลเสียต่อส่ิงแวดล้อมมหาศาล
เท่านั้น
สฤณีอาชวานันทกลุ 87
ทรายน�ำ้ มันเปน็ หน่งึ ในนำ�้ มนั ประเภทหลงั ปจั จบุ ันเปน็ แหลง่ ทส่ี �ำคัญมาก สรุปผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมคือ กระบวนการท�ำ “เหมือง” ทรายน้�ำมัน
ในโลก เนอื่ งจากนำ้� มนั ในทรายนำ�้ มนั ทงั้ หมดรวมกนั มปี รมิ าณมากถงึ 3 ลา้ น สกดั มนั ออกมาและกลนั่ เปน็ นำ้� มนั เชอื้ เพลงิ นน้ั เปน็ กระบวนการทใ่ี ชท้ นุ สงู
ล้านบาร์เรล คิดเป็น 2 ใน 3 ของแหล่งน้�ำมันท้ังโลกที่ส�ำรวจพบ โดยมี และสนิ้ เปลอื งอย่างมหาศาล ตอ้ งใช้ทรายน�้ำมนั 2-4 ตัน และน้�ำอีก 2-4
แคนาดาเปน็ ผผู้ ลติ รายสำ� คญั นอกจากนยี้ งั พบในสหรฐั อเมรกิ า เวเนซเุ อลา บาร์เรล ต่อการผลิตน้�ำมันดิบ 1 บาร์เรล นอกจากนี้ยังปล่อยคาร์บอน
ทวีปตะวนั ออกกลาง และอกี หลายประเทศ (เกร็ดเลก็ ๆ ที่หลายคนอาจยงั ไดออกไซด์สูงถึง 2-4 เท่าของกระบวนการผลิตนำ้� มันปกติ
ไมท่ ราบคอื ปจั จบุ นั สหรฐั อเมรกิ านำ� เขา้ นำ้� มนั จากทรายนำ�้ มนั ในแคนาดา นอกจากน้ีแหล่งทรายน�้ำมันขนาดใหญ่มักจะอยู่ในบริเวณที่ธรรมชาติยัง
สูงเป็นอันดับ 1 คือน�ำเข้าถึง 2 ล้านบาร์เรลต่อวัน คิดเป็น 2 เท่าของ อุดมสมบูรณ์ ระบบนิเวศบริสุทธิ์ (เนื่องจากในอดีตไม่มีใครสนใจไปขุด
น�ำ้ มนั ทีน่ ำ� เข้าจากซาอดุ อี าระเบยี ) เพราะแหล่งน�้ำมันปกติยังหาง่ายอยู่) อาทิ ป่าโบเรียลในรัฐแอลเบอร์ตา
นกั สงิ่ แวดลอ้ มรงั เกยี จธรุ กจิ กลน่ั นำ�้ มนั จากทรายตลอดมา เนอื่ งจากทราย ในแคนาดา ซึง่ โดง่ ดงั ในฐานะปา่ แหล่งทา้ ยๆ ในโลกท่มี คี วามหลากหลาย
นำ�้ มนั มี “นำ้� มนั ดนิ (Bitumen)” ทห่ี นดื เหนยี วและหนกั กวา่ นำ้� มนั ดบิ ทว่ั ไป ทางชีวภาพสงู มาก หลังจากทร่ี ัฐแอลเบอร์ตากลายเป็นแหล่งสง่ ออกทราย
จับตัวปนอยูก่ ับทราย ทรายนำ้� มันจึงนำ� ไปกลน่ั ไดเ้ พยี งร้อยละ 10 ทีเ่ หลือ น�้ำมันอันดับต้นๆ ของโลก นักส่ิงแวดล้อมในแคนาดาก็ปวดหัวตลอดมา
อีกรอ้ ยละ 90 เป็นส่วนผสมระหวา่ งทราย ดนิ และนำ้� กบั การหาวธิ ี “ตามเชด็ ตามลา้ ง” ผลกระทบตอ่ ระบบนเิ วศ ซง่ึ บรษิ ทั นำ้� มนั
“หนา้ ตา” ของกระบวนการผลติ ทรายนำ้� มนั คลา้ ยกบั การทำ� เหมอื งเปดิ หรอื หลายแห่งยังไม่ยอมควักกระเป๋าเยียวยาหรือป้องกัน ส่วนใหญ่เนื่องจาก
เหมืองเจาะ (กจิ กรรมที่สร้างความเสียหายตอ่ สิ่งแวดล้อมเป็นอนั ดบั ต้นๆ) ไมย่ อมรบั วา่ ปญั หาสง่ิ แวดลอ้ มเกดิ จากตวั เอง จนกวา่ จะมใี ครลากเสน้ พสิ จู น์
มากกว่าการขุดเจาะน�้ำมันที่เราคุ้นเคย ลองนึกภาพรถตักขนาดยักษ์ขุด ใหเ้ หน็ โตง้ ๆ จนดน้ิ ไมห่ ลดุ (ทจ่ี รงิ คดิ แคน่ ก้ี ข็ ดั แยง้ กบั “หลกั ความรอบคอบ”
ทรายน�้ำมันด�ำมะเม่ือมออกมาจากผืนดิน ขนไปที่โรงแยก วิธีแยกทราย ในกระบวนทศั น์ “การพฒั นาทยี่ งั่ ยนื ” แลว้ ) ยกตวั อยา่ งเชน่ ปจั จบุ นั สถาบนั
นำ�้ มนั คอื เตมิ นำ�้ ลงไปเพอ่ื บงั คบั ใหท้ รายจมลงไปขา้ งลา่ ง นำ�้ มนั ดนิ ลอยขนึ้ Alberta Water Research Institute ใชเ้ งนิ กวา่ 15 ลา้ นเหรยี ญสหรฐั ฯ
มาขา้ งบน กอ่ นทจี่ ะขนสง่ เขา้ สปู่ ม๊ั นำ้� มนั ได้ นำ�้ มนั ดนิ ตอ้ งถกู สง่ เขา้ สโู่ รงกลน่ั ในการปอ้ งกนั ไมใ่ หส้ ารพษิ จากบอ่ นำ�้ ทง้ิ ไหลซมึ เขา้ สแู่ หลง่ นำ�้ จดื ในบรเิ วณ
เพอ่ื กลน่ั ออกมาเปน็ เชอ้ื เพลิง การผลติ น้ำ� มนั จากทรายน้ำ� มันไดร้ ับความสนใจมากขึ้นเรอ่ื ยๆ จากบริษทั
ในเมอ่ื นำ�้ มนั จากทรายนำ้� มนั เปน็ “นำ้� มนั หนกั (Heavy Oil)” การกลน่ั จงึ นำ�้ มนั ทว่ั โลก เนอื่ งจากราคานำ�้ มนั ทพี่ งุ่ สงู ขนึ้ อยา่ งไมห่ ยดุ ยงั้ (จากอปุ ทาน
ตอ้ งใชต้ น้ ทนุ และพลงั งานมากกวา่ การกลน่ั นำ�้ มนั ปกตมิ าก และ “ของเสยี ” นำ้� มนั ปกตทิ เี่ หลอื นอ้ ยลงเรอ่ื ยๆ) ประกอบกบั ความกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยี
จากกระบวนการ สว่ นผสมแหยะๆ ระหวา่ งทราย นำ�้ และสารพษิ ทปี่ นเปอ้ื น การสกดั ทรายน้ำ� มัน (ซ่ึงส่วนส�ำคญั คือเทคโนโลยีการท�ำเหมอื ง) สง่ ผลให้
ในนำ�้ มนั ดนิ กจ็ ะถกู สง่ ไปตามทอ่ ออกสบู่ อ่ นำ้� ทง้ิ ซมึ ลงไปในดนิ บอ่ นทำ� ลาย การผลิตน้ำ� มันรูปแบบน้ี “คุม้ คา่ การลงทนุ ” กวา่ ในอดีตมาก ยกตวั อย่าง
ระบบนิเวศนำ้� จดื ใกล้เคียงต่อไป เชน่ ใน พ.ศ. 2549 บรษิ ทั เชลลแ์ คนาดาไดก้ ำ� ไรสทุ ธจิ ากแหลง่ ทรายนำ้� มนั
ในรฐั แอลเบอร์ตาถึง 21.75 เหรยี ญสหรัฐฯ ตอ่ บาร์เรล สูงกวา่ ก�ำไรทไี่ ด้
88
สฤณีอาชวานนั ทกุล 89
... จากท่อี ื่นเกือบ 2 เท่า ตัวเลขขนาดนที้ ำ� ให้บริษัท ยกตวั อยา่ งเชน่ ใน พ.ศ. 2553 การชมุ นมุ ประทว้ งคดั คา้ นโครงการกอ่ สรา้ ง
เราก็เห็นสัญญาณ น�้ำมันทั่วโลกแห่กันเข้าไปในแอลเบอร์ตาอย่าง ทอ่ สง่ น้�ำมัน Keystone XL จากแหล่งทรายนำ�้ มันในแคนาดามายงั สหรฐั
เชิงบวกมากมายที่ ไมข่ าดสาย จนปจั จบุ นั มรี อ้ ยกวา่ บรษิ ทั ลงเงนิ ลงทนุ อเมริกา เป็นการคัดค้านด้านส่ิงแวดล้อมท่ีมีผู้เข้าร่วมมากที่สุดในรอบ
บง่ ชวี้ า่ การผลติ นำ�้ มนั รวมกันเกินแสนล้านเหรียญสหรัฐฯ หลายปี การประท้วงคร้งั น้ปี ระสานงานผ่านเว็บไซต์ Tar Sands Action
จ า ก ท ร า ย น้�ำ มั น ชัดเจนว่าในธุรกิจทรายน้�ำมัน แรงจูงใจทาง (http://www.tarsandsaction.org/) นักกิจกรรมด้านส่ิงแวดล้อมและ
อาจเข้าสู่ยุคอัสดง เศรษฐศาสตร์ยังเดินสวนทางกับแรงจูงใจทาง นักวิทยาศาสตร์หลายคนถูกต�ำรวจจับ รวมถึงเจมส์ แฮนเซน (James
ในอนาคตอันใกล้ ส่ิงแวดล้อม ส่วนหน่ึงเน่ืองจากต้นทุนด้านสิ่ง Hansen) นักวทิ ยาศาสตรน์ าซาผู้โดง่ ดัง ผ้ปู ระกาศว่า “ยงั เปน็ ไปได้ท่เี รา
ไม่ใช่เพราะบริษัท แวดล้อมของทรายน้�ำมันยังไม่ถูก “แปลง” ด้วย จะท�ำให้สภาพภูมิอากาศกลับเข้าสู่เสถียรภาพ แต่เราจะท�ำอย่างน้ันได้
น�้ำมันตระหนักใน กลไกทางกฎหมาย หรือโดยสมัครใจให้ผู้ผลิต ก็ต่อเมื่อเราเลิกขุดทรายน้�ำมัน ...ถ้าเรายังขุดและใช้มันต่อไป ลูกหลาน
ความรับผิดชอบต่อ รับรเู้ ปน็ ตน้ ทุนทางธรุ กิจ (ยกตัวอยา่ งเชน่ ถ้าหาก ของเรากไ็ มม่ ที างมอี นาคตทย่ี งั่ ยนื ไดเ้ ลย” ในจดหมายทเี่ ขาเขยี นถงึ นายก
สิ่งแวดล้อม (ถึงแม้ รัฐบาลท่ัวโลกประกาศเก็บภาษีคาร์บอน ต้นทุน รฐั มนตรนี อรเ์ วย์ เรยี กรอ้ งใหบ้ รษิ ทั สแตตออยล์ (Statoil) รฐั วสิ าหกจิ นำ�้ มนั
บางแห่งจะตระหนัก ในการกลน่ั ทรายน้ำ� มันก็จะสงู ลว่ิ จน “ไมค่ ุ้ม” ท่ี ยกั ษใ์ หญข่ องนอร์เวย์ ถอนตัวออกจากธุรกิจทรายนำ้� มันในแคนาดา
แล้ว) แต่เป็นเพราะ จะทำ� และกจ็ ะสง่ ผลทางออ้ มใหก้ ารผลติ พลงั งาน บรรดาผสู้ นบั สนนุ โครงการ Keystone XL มองว่าการน�ำเข้าทรายน้�ำมนั
นั ก วิ ท ย า ศ า ส ต ร ์ สะอาด อย่างเชน่ ลม และแสงอาทติ ย์ “คมุ้ คา่ ” จากแคนาดาจะชว่ ยใหส้ หรฐั อเมรกิ ามี “อสิ รภาพดา้ นพลงั งาน” มากกวา่ เดมิ
นกั ส่ิงแวดลอ้ ม และ กวา่ น้�ำมันโดยเปรียบเทยี บ เอ้ือให้ตลาดพลังงาน เนื่องจากแคนาดาเป็นพันธมิตรทางการเมืองท่ีไว้ใจได้ของสหรัฐอเมริกา
ประชาชน กำ� ลงั รวม สะอาดเติบโตเร็วกวา่ เดิม) ในขณะทฝ่ี า่ ยผตู้ อ่ ตา้ นโตว้ า่ การลดการพ่งึ พิงเชื้อเพลงิ ฟอสซิลอยา่ งทราย
พลงั กนั คดั คา้ นอยา่ ง อย่างไรกด็ ี ตงั้ แตศ่ ตวรรษท่ี 21 เปดิ ฉากเป็นต้น น�้ำมันต่างหาก ท่ีเป็นเส้นทางเพียงหนึ่งเดียวสู่ “อิสรภาพด้านพลังงาน”
เขม้ แขง็ มากขนึ้ อยา่ ง มา เราก็เห็นสัญญาณเชิงบวกมากมายที่บ่งช้ีว่า ในระยะยาว
ต่อเนื่อง และข้อมูล การผลติ นำ�้ มนั จากทรายนำ้� มนั อาจเขา้ สยู่ คุ อสั ดง หลงั เผชญิ กบั การประทว้ งตอ่ ตา้ นอยา่ งเขม้ ขน้ จากประชาชน นกั สง่ิ แวดลอ้ ม
หลักฐานมากมาย ในอนาคตอนั ใกล้ ไมใ่ ชเ่ พราะบรษิ ทั นำ้� มนั ตระหนกั นักวิทยาศาสตร์ และเอ็นจีโอ ประธานาธิบดีโอบามาของสหรัฐอเมริกา
ก็ พิ สู จ น ์ แ ล ้ ว ว ่ า ในความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงิ่ แวดลอ้ ม (ถงึ แมบ้ างแหง่ ก็ตดั สนิ ใจ “แขวน” โครงการ Keystone XL ช่ัวคราว
ทรายนำ�้ มนั กอ่ ความ จะตระหนักแล้ว) แต่เป็นเพราะนักวิทยาศาสตร์ ในแคนาดา ประเทศผ้ผู ลติ ทรายนำ้� มนั รายใหญ่ ใน พ.ศ. 2553 รายงาน
เสยี หายมากเพยี งใด นักส่ิงแวดล้อม และประชาชน ก�ำลังรวมพลังกัน ท่ีจัดท�ำอย่างเป็นเอกเทศโดยส�ำนักงานอัยการสูงสุด Royal Society
คัดค้านอย่างเข้มแข็งมากข้ึนอย่างต่อเนื่อง และ (สมาคมนักวิทยาศาสตร์ท่ีได้รับการยอมรับที่สุด) และคณะกรรมการ
... ข้อมูลหลักฐานมากมายก็พิสูจน์แล้วว่าทราย
น�ำ้ มันกอ่ ความเสยี หายมากเพียงใด สฤณีอาชวานันทกุล 91
90
... ผู้เชี่ยวชาญซึ่งแต่งตั้งโดยจิม เพรนทิซ (Jim จากมหาวทิ ยาลัยเพนนส์ เตต อ้างวา่ ไดค้ ิดคน้ วธิ ีทางเคมีใหมเ่ อ่ยี มในการ
สารคดยี าว 2 ชวั่ โมง Prentice) อดีตรัฐมนตรีสิ่งแวดล้อมแคนาดา สกัดน�้ำมันจากทราย ซึ่งใช้พลังงานและน้�ำน้อยมาก) ก็ยังมอบเหตุผลให้
เรื่อง “Tipping ก็ได้บทสรุปตรงกันว่า ธุรกิจทรายน�้ำมันในรัฐ บรษิ ทั แหเ่ ข้าไปฉวยโอกาสจากทรายน้ำ� มนั
Point : The Age แอลเบอรต์ านนั้ ตลอดทศวรรษทผ่ี า่ นมาถกู ก�ำกบั อยา่ งไรกด็ ี ขอ้ ดสี ว่ นนอ้ ยของธรุ กจิ นคี้ อื ในเม่ือมนั เป็นธุรกจิ ที่ “ก�ำไรสงู ลวิ่
of the Oil Sands” ดูแลอย่างหละหลวมและไร้ประสิทธิภาพ โดยที่ ระยะสั้น” เดินสวนทางกับ “ความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม” อย่างชัดเจน
ฉายท่ัวประเทศทาง บริษัทน้�ำมันเป็นผู้ “จ่าย” หนุนความหละหลวม ธุรกิจทรายน้�ำมันจึงช่วยให้เราสามารถแยกแยะบริษัทที่มีวิสัยทัศน์สีเขียว
โทรทัศน์ช่อง CBC และไรป้ ระสทิ ธิภาพดงั กล่าว จริงๆ ออกจากบริษัทท่ีไร้วิสัยทัศน์แต่ชอบ “ฟอกเขียว” ได้อย่างง่ายดาย
ของแคนาดาใน พ.ศ. สารคดยี าว 2 ช่ัวโมง เรื่อง “Tipping Point : The กวา่ เดิมมาก
2554 ปิดฉากด้วย Age of the Oil Sands” ฉายทั่วประเทศทาง
ภาพการ “กลับหลงั โทรทัศนช์ อ่ ง CBC ของแคนาดา ใน พ.ศ. 2554 สฤณีอาชวานนั ทกลุ 93
หนั ” 180 องศาของ ปิดฉากด้วยภาพการ “กลบั หลังหัน” 180 องศา
รัฐบาลแอลเบอร์ตา ของรฐั บาลแอลเบอรต์ าและรฐั บาลกลางแคนาดา
แ ล ะ รั ฐ บ า ล ก ล า ง จากที่เคยยืนกระต่ายขาเดียวตามอุตสาหกรรม
แคนาดา เทา่ กับปิด ยนื กรานวา่ มาตรฐานการกำ� กบั ดแู ลดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม
ฉาก “ยุคแห่งความ เพยี งพอแลว้ เปลย่ี นเปน็ ยอมรบั วา่ มนั ไมเ่ คยเพยี งพอ
ไร้เดียงสา” ว่าด้วย และประกาศว่าจะปรับปรุงการตรวจสอบควบคุม
ทรายน�้ำมันลงอย่าง มลพษิ เท่ากับปิดฉาก “ยคุ แห่งความไรเ้ ดียงสา”
บริบรู ณ์ในแคนาดา ว่าดว้ ยทรายนำ้� มันลงอยา่ งบริบูรณใ์ นแคนาดา
ในโลกทยี่ งั ไมห่ ลดุ พน้ จากอาการ “เสพตดิ ” นำ้� มนั
... ทางออกจากทรายน้�ำมันดูจะยังอยู่อีกยาวไกล
ประเด็นที่ต้องติดตามต่อไปคอื เสียงประทว้ งท่ีดัง
ขึ้นเรื่อยๆ จะสร้างการเปล่ียนแปลงได้มากน้อย
เพียงใด ในเมื่ออตุ สาหกรรมน้ำ� มนั โดยรวมยงั ถกู
จูงใจด้วยผลก�ำไรระยะสั้น และการค้นพบใหม่ๆ
ทางเทคโนโลยี (เชน่ ใน พ.ศ. 2554 ทมี นักวจิ ัย
92
10 ในวิถีการพัฒนาแบบทนุ นยิ มอุตสาหกรรมท่ผี า่ นมากวา่ 200 ปี คงไมเ่ กิน
จริงนกั หากจะกล่าววา่ วิชาเศรษฐศาสตรม์ สี ่วน “ท�ำบาป” ทางทฤษฎีและ
วิทยาศาสตรแ์ ละเศรษฐศาสตร์ของ วถิ ปี ฏบิ ตั ไิ มน่ อ้ ยเลย แตบ่ าปหลายประการซงึ่ นกั เศรษฐศาสตรก์ ระแสหลกั
จดุ น้�ำจดื สงู สุด (Peak Water) ควรจะยอมรับและไถ่บาปอย่างเร่งด่วน เพราะมันสร้างความเสียหายและ
ทำ� ใหร้ ัฐทวั่ โลกด�ำเนนิ นโยบายผิดพลาดอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง มรี ากมาจากความ
เขา้ ใจผดิ 2 ข้อเกี่ยวกบั ทรพั ยากรธรรมชาติ
ความเขา้ ใจผดิ ขอ้ แรกคอื การมองไมเ่ หน็ วา่ “ทนุ ทางสงั คม” และกลไกการ
บริหารจัดการทรัพยากรของชุมชนสามารถมีประสิทธิภาพดีได้ และใน
หลายกรณมี ปี ระสทิ ธภิ าพดกี วา่ การตดั แบง่ ทรพั ยากรใหเ้ ปน็ กรรมสทิ ธส์ิ ว่ น
บคุ คล หรือให้รฐั จัดการควบคุมด้วยซำ้� ไป (ประเดน็ น้ี เอลนิ อร์ ออสตรอม
(Elinor Ostrom) นกั เศรษฐศาสตรส์ ำ� นกั สถาบนั ใหม่ (New Institutional
Economics) เจ้าของรางวัลโนเบล พ.ศ. 2552 อธิบายอย่างแจ่มชัดใน
งานของเธอ ผู้เขยี นจะหยบิ มาเล่าสู่กันฟงั ตอ่ ไป)
ความเขา้ ใจผดิ ขอ้ 2 คอื การมองไมเ่ หน็ “ขดี จ�ำกดั ” ของทรพั ยากรธรรมชาติ
ทงั้ ทรพั ยากรทมี่ วี นั หมด (ธรรมชาตไิ มส่ รา้ งใหมแ่ ลว้ ) อาทิ เชอ้ื เพลงิ ฟอสซลิ
และทรัพยากรท่ีธรรมชาติสร้างใหม่อย่างต่อเน่ือง แต่มนุษย์กำ� ลังตักตวง
หรือผลาญอย่างรวดเร็วเกินอัตราการฟื้นฟูของธรรมชาติ อาทิ อากาศ
บริสทุ ธ์ิ แหล่งประมงในทะเลหลายแหง่ และแหลง่ น้ำ� จืด
สฤณีอาชวานนั ทกุล 95
เม่ือพูดถึงน้�ำจืด ค�ำว่า “จุดน้�ำจืดสูงสุด (Peak Water)” เพ่ิงได้รับการ คำ� วา่ “จดุ นำ�้ จดื สงู สดุ ” อาจทำ� ใหห้ ลายคนประหลาดใจ เปน็ ไปไดอ้ ยา่ งไรที่
ประดิษฐ์เม่ือไม่นานมานี้เอง ค�ำอธิบายท่ีชัดท่ีสุดคือค�ำอธิบายของปีเตอร์ นำ�้ จดื จะหมด ในเมอ่ื ธรรมชาตมิ ี “วฏั จกั รของอทุ กวทิ ยา” หรอื เรยี กสนั้ ๆ วา่
กลกี (Peter Gleick) และมนี า พาลาเนียบพัน (Meena Palaniappan) วฏั จกั รนำ�้ ซง่ึ ทกุ คนตอ้ งเรยี นตงั้ แตเ่ ดก็ แตก่ ลกี และพาลาเนยี บพนั ยนื ยนั วา่
ในบทความซงึ่ ไดร้ บั การตพี ิมพ์ใน พ.ศ. 2553 ในวารสาร Proceedings เราอาจเข้าสู่ “จดุ น้ำ� จดื สงู สุด” ได้จริง เพราะในหลายพืน้ ท่ี เราก�ำลังใชน้ ำ้�
of the National Academy of Sciences เรื่อง “Peak water limits ในปริมาณและอัตราท่เี ร็วกวา่ การฟนื้ ฟขู องวัฏจักรนำ้� ในธรรมชาติ
to freshwater withdrawal and use” (“จดุ นำ้� จดื สูงสดุ ของการตักตวง
และใชน้ ำ้� จดื ” ดาวนโ์ หลดไดจ้ าก http://www.pnas.org/content/107/ ก่อนอ่ืนพวกเขาเท้าความว่า ภาวะขาดแคลนน�้ำ ...
25/11155.full.pdf) กำ� ลงั เปน็ ปญั หาใหญท่ ขี่ ยายวงกวา้ งขน้ึ เรอื่ ยๆ ใน เราอาจเข้าสู่ “จุด
หลายภูมิภาคทั่วโลก (อ่านมุมมองและข้อเสนอ น้ำ� จดื สงู สุด” ได้จรงิ
วัฏจกั รของอทุ กวิทยา ของนักส่ิงแวดล้อมบางส่วนได้ใน “วิกฤติน้�ำและ เพราะในหลายพ้ืนที่
ทางออก : ข้อคิดจาก เลสเตอร์ บราวน์” ใน เราก�ำลังใช้น้�ำใน
นำ้ กักเกบ็ ในรปู น้ำกักเกบ็ เว็บไซต์ http://www.greenworld.or.th/ ปริมาณและอัตรา
น้ำแข็งและหมิ ะ ในบรรยากาศ columnist/ecosaveworld/887) เสร็จแล้ว ที่เร็วกว่าการฟื้นฟู
กลกี และพาลาเนยี บพนั กส็ รปุ เรอ่ื ง “จดุ ผลติ นำ�้ มนั ข อ ง วั ฏ จั ก ร น�้ ำ ใ น
การตกลงมา สงู สดุ (Peak Oil)” และเปรียบเทยี บกับจดุ น้ำ� จดื ธรรมชาติ
สูงสุดเพื่อให้เราเห็นภาพชัดข้ึน ความแตกต่างที่
หมิ ะละลาย ระเหดิ ควบแนน สำ� คญั ระหวา่ งนำ�้ กบั นำ้� มนั (นอกจากวา่ มนั เขา้ กนั ...
เปน นำ้ ทา น้ำทาบน การคายน้ำ ไม่ได้) คือ น้�ำมันมีจ�ำกัด หมดแล้วหมดเลย
การซึม ลงสูกระแสน้ำ พน้ื ผวิ ของพชื สว่ นนำ้� อาจมจี ำ� กดั เฉพาะในระดบั ทอ้ งถนิ่ ในระดบั
โลกอาจมไี มจ่ ำ� กดั ถา้ หากเราลงทนุ พฒั นาแหลง่
ระเหย ระเหย น้�ำจืดใหม่ๆ แต่ในทางกลับกัน น้�ำมันในฐานะ
เปน ไอ แหล่งพลังงานมีส่ิงท่ีใช้ทดแทนได้มากมาย อาทิ
แหลงกกั เก็บน้ำน้ำใตดินไ พลงั งานแสงอาทติ ย์ พลงั งานลม ฯลฯ แตไ่ มม่ อี ะไร
หลกลับสูพ้ืนผิว น้ำกักเกบ็ ทสี่ ามารถทดแทนนำ้� ได้ กลีกและพาลาเนยี บพัน
น้ำกกั เกบ็ ใตด นิ ในมหาสมุทร สรปุ ความแตกตา่ งระหวา่ งนำ้� กบั นำ้� มนั เปน็ ตาราง
ต่อไปนี้
96 สฤณีอาชวานันทกลุ 97
ลักษณะ น�้ำมนั น้�ำ จุดน้�ำจืดสูงสุดนั้นคล้ายกันกับจุดผลิตน�้ำมันสูงสุดในแง่ท่ีว่า ขณะที่เรา
เขา้ ใกลม้ นั เราตอ้ งเลอื กวา่ จะตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการนำ�้ ทเ่ี พม่ิ ขน้ึ เรอ่ื ยๆ
ปรมิ าณทรัพยากร จ�ำกดั ที่จริงมีจ�ำกัด ในทางปฏิบัติ อยา่ งไร ทางแรกคอื หาทางลดความตอ้ งการใชน้ ำ้� ลง (เชน่ รณรงคห์ รอื บงั คบั
ไม่จ�ำกัดก็ได้ แต่มีต้นทุน ใหค้ นประหยดั นำ�้ ) ทางที่ 2 คอื เปลย่ี นวธิ ใี ชน้ ำ้� เปลย่ี นจากการใชม้ ลู คา่ ตำ�่
การพฒั นา ไปสกู่ ารใชท้ ม่ี มี ลู คา่ ทางสงั คมหรอื เศรษฐกจิ สงู กวา่ ทางท่ี 3 คอื ยา้ ยความ
ตอ้ งการไปสบู่ รเิ วณที่มนี ้ำ� เหลือเฟอื ทางที่ 4 คือ ลงทุนเพิ่ม เช่น ขนสง่ น้ำ�
ทดแทนได้ ทดแทนไม่ได้ ทดแทนไดใ้ นภาพรวม แตใ่ น มาจากทอ่ี น่ื หรอื ลงทนุ ในนำ�้ ทะเลซง่ึ มไี มจ่ ำ� กดั เชน่ แยกเกลอื ออกจากนำ�้
หรอื ไม่ได้ ระดับทอ้ งถ่ินทดแทนไม่ได้ ทะเล (Desalination) ใหค้ นบริโภคได้ กระบวนการนมี้ คี วามคมุ้ ค่าทาง
เศรษฐกิจแลว้ ในหลายพ้ืนที่ อาทิ ซาอุดอี าระเบยี อสิ ราเอล สิงคโปร์ และ
การไหลเวยี น ตักตวงจากกรุที่มีจ�ำกัดได้ วฏั จกั รของอทุ กวทิ ยา(วฏั จกั ร บางประเทศในทะเลคารบิ เบยี น
เท่าน้นั นำ้� ) ชดเชยการไหลเวยี นโดย พดู งา่ ยๆ คอื มนษุ ยย์ อ่ มตกั ตวงแหลง่ นำ�้ ซงึ่ มตี น้ ทนุ ถกู กอ่ น พอถงึ จดุ คมุ้ ทนุ
ธรรมชาติ สงู สดุ ก็ต้องเปล่ยี นไปใช้แหล่งน้�ำท่แี พงกว่าเดิม เช่น แยกเกลอื ออกจากน�ำ้
เพอ่ื ตอบสนองความตอ้ งการทส่ี งู ขน้ึ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง มฉิ ะนน้ั นำ้� กจ็ ะขาดแคลน
การขนส่ง ขนส่งทางไกลคุ้มค่าทาง ขนส่งทางไกลไม่คุ้มค่าทาง ปริมาณน้�ำทผี่ ลิตได้จงึ มีลักษณะเป็น “ขน้ั บันได” ดงั รปู ดา้ นล่างนี้
เศรษฐกิจ เศรษฐกิจ
การใชเ้ พอื่ บริโภค ป ิ โ ต ร เ ลี ย ม แ ท บ ท้ั ง ห ม ด การใช้น�้ำบางรูปแบบเป็น ปริมาณการผลติ นำ้
และการใช้ ใช้เพ่ือการบริโภค แปลง การบรโิ ภคบางรปู แบบกไ็ มใ่ ช่ จากหลายแหลง
นอกเหนอื จาก เช้ือเพลิงคุณภาพสูงเป็น โดยรวมคนไม่ได้บริโภคน�้ำ
การบริโภค ความรอ้ นคณุ ภาพตำ่� จากวัฏจกั รนำ้�
ทรัพยากรทดแทน พลังงานทางเลือกหลาย ไมม่ ที รพั ยากรทดแทน วิธีตักตวงนำ้ ผวิ ดิน
ประเภทใช้แทนน�้ำมนั ได้ และนำ้ บาดาล
ถึงจดุ คุม ทนุ สูงสุด
แนวโน้ม มีน้อยลงเร่ือยๆ ถึงจุดหน่ึง มีจ�ำกัดในระดับท้องถิ่น แต่ เปลี่ยนไปใชแหลงนำ้
ในอนาคต ก็หนีไม่พ้นที่จะถูกพลังงาน ไมจ่ ำ� กดั ในระดบั โลก เมอื่ ใด ท่ีแพงกวา เดมิ (เชน
หมนุ เวียนเข้ามาแทนท่ี ทที่ างเลอื ก(เชน่ กระบวนการ ใชก ระบวนการแยกเกลอื
แยกเกลือออกจากน�้ำเค็ม) ออกจากน้ำเคม็ ) เพ่อื
ได้รับการพัฒนาอย่างเป็น อปุ ทานคอ ยๆ เพ่ิมข้นึ ตอบสนองความตองการ
มิ ต ร ต ่ อ ส่ิ ง แ ว ด ล ้ อ ม แ ล ะ จากแหลงตา งๆ ที่สงู ข้นึ
คุ้มคา่ ทางเศรษฐกจิ แลว้
เวลา
98
สฤณีอาชวานันทกลุ 99