The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พระมารดาแห่งการคุ้มครองความหลายหลายทางชีวิภาพ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jiraporn.van, 2022-07-20 01:17:15

90 พรรษา บรมราชินีนาถ

พระมารดาแห่งการคุ้มครองความหลายหลายทางชีวิภาพ

Keywords: พระมารดาแห่งการคุ้มครองความหลายหลายทางชีวิภาพ

วันอังคารท่ี ๑๔ มกราคม ๒๕๔๐ สมเด็จพระนางเจา้ สิริกติ ์ิ พระบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนี
พนั ปหี ลวง ไดเ้ สดจ็ พระราชดำ� เนนิ ไปทรงปลอ่ ยชา้ งคนื สปู่ า่ ธรรมชาติ ณ เขตรกั ษาพนั ธส์ุ ตั วป์ า่ ดอยผาเมอื ง
อ�ำเภอห้างฉัตร จังหวดั ล�ำปาง เปน็ การ “ปลอ่ ยชา้ ง” คร้ังแรกในประเทศไทย และเปน็ คร้ังแรกของโลก
อกี ด้วย

การปล่อยช้างเป็นพระราชด�ำริของสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวง ที่มีพระมหากรุณาธิคุณ
ต่อปวงสรรพสัตว์ และยังโปรดให้ช้างเผือกที่ข้ึนระวางแล้วและได้รับพระราชทาน บรรดาศักดิ์เป็น “คุณ
พระ” ท่ียืนโรงอยู่ ณ โรงช้างต้น พระต�ำหนักจิตรลดารโหฐาน ได้ไปพักผ่อนชั่วคราว ณ พระต�ำหนัก
ต่างจงั หวดั

ระหว่างเสดจ็ แปรพระราชฐานเพอ่ื ทรงเยย่ี มเยียนราษฎรในพืน้ ทภ่ี าคตะวันออกเฉียงเหนือ ทรงมี
พระราชประสงค์ให้ช้างต้นในวังหลวง ได้เปลี่ยนบรรยากาศ ออกก�ำลังเดินเล่นในป่าและพ้ืนที่ที่มีบริเวณ
กว้างขวาง มีอากาศบริสุทธ์ิ เมื่อได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาตจากพระบาทสมเด็จพระบรมชน
กาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร จงึ มพี ระราชเสาวนยี ใ์ หผ้ เู้ กยี่ วขอ้ งไดไ้ ปดำ� เนนิ การ

พระวมิ ลรัตนกิริณี พระศรนี ารารตั นราชกริ ณิ ี และพระเทพวัชรกิริณี
ขณะถกู น�ำไปเล้ียงในป่ารอบ ๆ พระต�ำหนักภพู านราชนิเวศน์

พระมารดาแห่งการคุ้มครองความหลากหลายทางชีวภาพ 199

หม่อมหลวงพิพัฒนฉัตร ดิศกุล หมอช้างหลวง ผู้รับหน้าท่ีดูแลช้างส�ำคัญ ณ โรงช้างต้น สวน
จิตรดา ได้รับสนองพระราชเสาวนีย์ วางแผนด�ำเนินการในทันที โดยได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่
เก่ยี วขอ้ ง เร่มิ จากการก่อสร้างโรงชา้ งตน้ ๒ แห่ง คอื ภาคเหนือทศี่ ูนยอ์ นรุ ักษ์ช้างไทย จังหวัดล�ำปาง ใน
ความดูแลขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ (อ.อ.ป.) และภาคตะวันออกเฉียงเหนือท่ีพระต�ำหนักภูพาน
ราชนิเวศน์ จงั หวัดสกลนคร

ในวันท่ี ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๓๘ ระหว่างแปรพระราชฐานประทับ ณ พระต�ำหนักภูพาน
ราชนิเวศน์ สมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวง ได้เสด็จทรงเยี่ยมคุณพระวิมลรัตนกิริณี และคุณพระ
ศรนี ารารตั นราชกริ ณิ ี ทมี่ าพกั ผอ่ นชวั่ คราว ณ โรงชา้ งตน้ ปา่ หว้ ยเดยี ก ซง่ึ เปน็ พน้ื ทเี่ ชอ่ื มตอ่ กบั พระตำ� หนกั
และดา้ นหลงั ตดิ แนวเขตอทุ ยานแหง่ ชาตภิ พู าน ทรงพอพระราชหฤทยั มากทท่ี ราบวา่ คณุ พระทง้ั สองมคี วาม
สุขได้เดนิ เล่นในป่า มีสขุ ภาพแข็งแรง และลงเล่นน้�ำในล�ำหว้ ยกันอยา่ งสนุกสนาน

หลงั จากน้นั ขณะประทับ ณ ลานดสุ ติ า พระต�ำหนักภูพานราชนิเวศน์ ได้มพี ระราชปรารภว่า ทรง
เคยปลอ่ ยสัตว์ตา่ ง ๆ มาหลายชนิดแลว้ แต่สตั ว์ใหญ่ เชน่ ช้าง ยงั ไมเ่ คยทรงปลอ่ ย นายสหสั บุญญาวิวฒั น์
ผู้ช่วยเลขาธิการพระราชวัง จึงปรึกษากับหม่อมหลวงพิพัฒนฉัตร หมอช้างหลวง นายสัตวแพทย์ปรีชา
พวงค�ำ และนายสัตวแพทย์สิทธิเดช มหาสาวังกุล หมอช้างขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ ร่วมกัน
วางแผนดำ� เนนิ การ

200 ๙๐ พรรษา บรมราชินีนาถ

โดยในข้นั แรก ไดท้ ดลองน�ำช้างของกลางทร่ี าชการได้ยดึ มาจากการทำ� ไม้เถอ่ื น จำ� นวน ๗ เชอื ก
มาปล่อยที่ป่าด้านหลังศูนย์ฝึกลูกช้าง ขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ จังหวัดล�ำปาง เป็นท่ีด�ำเนินการ
โดยไดเ้ ชญิ ดร.มทั นา ศรกี ระจา่ ง นกั วชิ าการผเู้ ชย่ี วชาญเรอ่ื งชา้ ง จากกรมปา่ ไม้ มาเปน็ หวั หนา้ คณะตดิ ตาม
ผลการทดลอง โดยใชเ้ วลาทดลอง ๘ เดอื น พบวา่ ไดผ้ ลเป็นทนี่ ่าพอใจ ชา้ งท้งั ๗ เชือก สามารถด�ำเนินชีวิต
ตามปกติ หากินกันเองในป่า ไม่ได้เข้าไปท�ำลายพืชสวนของชาวบ้านแถวนั้นแต่อย่างใด และพบว่าช้าง
มีสุขภาพสมบูรณ์ดขี นึ้ ด้วย

การหาพ้ืนท่ีเหมาะสมในการปล่อยช้างคืนป่า กรมป่าไม้ได้ช่วยสรรหาป่าท่ีเหมาะสมในการ
ด�ำรงชวี ติ ของช้าง พบว่าบริเวณเขตรกั ษาพนั ธ์สุ ตั วป์ า่ ดอยผาเมอื ง อ�ำเภอห้างฉตั ร จงั หวดั ลำ� ปาง มพี ืน้ ท่ี
เหมาะสม กวา้ งขวาง ประมาณ ๘๐,๐๐๐ ไร่

การเลือกช้างมาปล่อยน้ัน จังหวัดล�ำปางมีโครงการให้ช้างบ้านที่เลิกท�ำไม้เถ่ือน ได้มีอาชีพอ่ืนท่ี
ไม่ผิดกฎหมาย โดยในขณะน้ันการท�ำไม้ในจังหวัดล�ำปางมีน้อยลงมาก จึงมีช้างของชาวบ้านว่างงานอยู่
หลายเชือก โดยเฉพาะช้างท่ีสูงอายุ ประจวบกับการไฟฟ้าแม่เมาะ จังหวัดล�ำปาง ได้ติดต่อมาเพื่อถวาย
เงิน จำ� นวน ๖๐๐,๐๐๐ บาท ทไี่ ดจ้ ากการจัดงานเดินวิ่งการกศุ ลเฉลมิ พระเกยี รติ เม่ือวนั ท่ี ๑๒ สิงหาคม
๒๕๓๙ ให้เป็นเงินซ้ือช้างถวาย หมอช้างหลวง และหมอช้างของ อ.อ.ป. จึงได้ช่วยกันคัดเลือกช้างที่
ชาวบ้านเสนอขาย ในระยะแรกได้เลือกช้างท่ีมีลักษณะดี และมีความสามารถพิเศษ เช่น สามารถน�ำ
โขลงได้ มีสขุ ภาพแขง็ แรง ตาไมบ่ อด ฯลฯ โดยมชี า้ งจ�ำนวน ๓ เชอื ก ทผ่ี า่ นการคัดเลอื กคือ พงั บวั ลอย
อายุ ๔๐ ปี และพังบุญมี อายุ ๓๐ ปี ช้างรบั จ้างบรรทุกนักท่องเที่ยวชมป่า จากอำ� เภอแม่แตง จังหวดั
เชียงใหม่ และพงั มาลัย อายุ ๓๐ ปี ช้างชักลากไม้ จากอำ� เภอหา้ งฉตั ร จงั หวดั ลำ� ปาง

วันองั คารที่ ๑๔ มกราคม ๒๕๔๐ เวลา ๑๖.๐๐ น. สมเดจ็ พระบรมราชชนนีพันปหี ลวง ได้เสดจ็ ฯ
มาถึงเขตรกั ษาพนั ธสุ์ ตั วป์ ่าดอยผาเมือง อ�ำเภอห้างฉัตร จงั หวดั ล�ำปาง เพือ่ ทรงปลอ่ ยชา้ งท้งั ๓ เชอื ก คนื สู่
ป่าธรรมชาติเป็นครั้งแรก และได้เสด็จไปยังศูนย์อนุรักษ์ช้างไทยของ อ.อ.ป. เพื่อทรงเย่ียมคุณพระ
เศวตภาสรุ คเชนทร์ และคณุ พระเศวตรสทุ ธวลิ าศ ซึง่ ไดม้ าพกั ผอ่ นช่วั คราว ณ โรงชา้ งต้น ศนู ย์อนุรกั ษ์ช้าง
ไทย อ�ำเภอห้างฉัตร จังหวัดล�ำปาง ได้ทรงประทับทอดพระเนตรการแสดงของช้าง เมื่อจบการ
แสดง สมเดจ็ พระบรมราชชนนพี นั ปหี ลวงไดพ้ ระราชทานพระราชทรพั ยส์ ว่ นพระองคจ์ ำ� นวนหนง่ึ เพอื่ บำ� รงุ
กจิ กรรมของศูนยอ์ นรุ กั ษ์ช้างไทยด้วย

โครงการคืนช้างสู่ธรรมชาติในพระราชด�ำริของสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวง เป็นโครงการ
ท่ีมีความส�ำคัญต่อการอนุรักษ์สัตว์ป่าหายากและเป็นมาตรการส�ำคัญที่จะช่วยฟื้นฟูประชากรช้างไทย
และดูแลไมใ่ หช้ ้างไทยถกู ทารุณยกรรมตา่ ง ๆ โดยมจี ำ� นวนช้างท่ปี ล่อยคนื สู่ป่าเพิม่ ขึน้ ตามล�ำดบั โดยไดม้ ี
การศึกษาชา้ งเลี้ยง จ�ำนวน ๒๔ เชอื ก ที่ไดร้ บั พระมหากรุณาธคิ ุณปลอ่ ยคนื สู่ธรรมชาติ ในพน้ื ท่ี ๓ แห่ง
คือท่ีเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าดอยผาเมือง จังหวัดล�ำปางและจังหวัดล�ำพูน อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
จังหวัดเพชรบุรีและจงั หวดั ประจวบครี ีขันธ์ และอุทยานแห่งชาตแิ ม่วะ-แมว่ อก จงั หวดั ลำ� ปางและจงั หวดั
ตาก พบวา่ ช้างสามารถปรบั ตวั ให้เขา้ กบั ธรรมชาตไิ ดเ้ ป็นอย่างดี

พระมารดาแห่งการค้มุ ครองความหลากหลายทางชวี ภาพ 201

สมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวงทรงรับฟังผลการศึกษาและการด�ำเนินงานโครงการฯ ด้วยความสนพระทัย

“…ข้าพเจ้าอยากจะเล่าโครงการปล่อยช้างคืนสู่ธรรมชาติ ข้าพเจ้าพูดเล่นเท่าน้ันเอง พูดเล่น
กับพวกท่ีอยู่ข้างเคียง บอกว่าไปไหนพระเจ้าอยู่หัวทรงล้อว่า มีแต่ทรงปล่อยไก่เท่าน้ันเอง เดี๋ยวพระ
ราชินปี ลอ่ ยไกท่ โี่ นน่ ปล่อยไกท่ น่ี ่ี เลยบอกแหม...ถา้ ไดป้ ล่อยช้างคืนสู่ธรรมชาตบิ ้างก็ดี แลว้ ทุกคนก็
ชว่ ยกันจัดใหข้ า้ พเจ้าปลอ่ ยช้าง ได้ทราบวา่ เปน็ ที่สนใจของชาวต่างประเทศมาก ในการปล่อยชา้ งเป็น
อิสระแลว้ ดไู ด้ผลดี ร้สู ึกเค้าสดชนื่ ดปู รบั ตวั เขา้ กับป่าได้เปน็ อย่างด…ี ”

พระราชด�ำรสั พระราชทานแก่พสกนิกรและข้าราชบรพิ ารทเ่ี ขา้ เฝา้ ฯ ถวายพระพรชยั มงคล
เนอื่ งในโอกาสวันเฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสดิ าลัย สวนจติ รลดา
วนั ท่ี ๑๒ สงิ หาคม ๒๕๔๒

ในระดับนานาชาติ การด�ำเนินโครงการคืนช้างสู่ธรรมชาติได้รับการสนับสนุนเป็นอย่างดีจาก
กองทุนสัตว์ปา่ โลกสากล (WWF International) ซ่ึงมี เจา้ ชายฟลิ ิป ดยคุ แห่งเอดนิ เบอระ พระราชสวามี
ในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธท่ีสอง แห่งสหราชอาณาจักร เป็นองค์ประธาน เนื่องจากโครงการน้ี
สามารถช่วยอนุรักษ์ช้างไทย มีความสัมฤทธิผลอย่างชัดเจน อีกทั้งมีข้อมูลการศึกษาติดตามทาง
วชิ าการ และการตดิ ตามดแู ลสขุ ภาพชา้ งโดยสัตวแพทย์ อย่างใกลช้ ดิ

202 ๙๐ พรรษา บรมราชนิ นี าถ

วันท่ี ๑๘ มีนาคม ๒๕๔๒ เจ้าชายเฮนริกแห่งเดนมาร์ก พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถ
มารเ์ กรเธอทส่ี อง แหง่ ราชอาณาจกั รเดนมารก์ ทรงเสดจ็ เยอื นประเทศไทยเปน็ การสว่ นพระองค์ และทรงถวาย
อุปกรณ์เพื่อใช้ด�ำเนินงานโครงการ เช่น อุปกรณ์ยิงยาสลบ ยาสลบ และอุปกรณ์ส�ำหรับติดตามช้างในป่า แด่
สมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวง ณ พระท่ีน่ังอุทยานภูมิเสถียร พระราชวังบางปะอิน จังหวัด
พระนครศรอี ยธุ ยา ซง่ึ ตอ่ มาไดพ้ ระราชทานอปุ กรณแ์ ละยาดงั กลา่ วให้ สตั วแพทยโ์ รงชา้ งตน้ จงั หวดั ลำ� ปาง
ได้ใช้ประโยชน์ น�ำไปจัดการกับช้างตกมันอาละวาด ช่วยป้องกันการสูญเสียชีวิตและทรัพย์สินของ
ชาวบา้ นผู้เล้ยี งชา้ งได้อยา่ งมากมาย

วันท่ี ๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๔ เพ่ือกระชับสัมพันธไมตรีระหว่างราชอาณาจักรไทยและ
ราชอาณาจักรเดนมาร์ก พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถ
บพติ ร และสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวง ไดท้ รงโปรดเกล้าฯ ให้ สมเดจ็ พระกนิษฐาธริ าชเจ้า กรม
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชด�ำเนินแทนพระองค์ น�ำพระราช
อาคนั ตกุ ะ สมเดจ็ พระราชนิ ีนาถมาร์เกรเธอที่สอง แห่งราชอาณาจกั รเดนมาร์ก และเจ้าชายเฮนริก พระ
ราชสวามี เสด็จฯ ปล่อยช้างเพศเมีย ช่ือ พังบุญรอด คืนสู่ธรรมชาติ ณ พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติแม่ยาว
จงั หวดั ลำ� ปาง

พระมารดาแห่งการค้มุ ครองความหลากหลายทางชีวภาพ 203

เจ้าชายเฮนริกแห่งเดนมารก์ พระราชสวามใี นสมเด็จพระราชินนี าถมาร์เกรเธอทีส่ อง แหง่ ราชอาณาจักรเดนมารก์ ถวายพระ
ราชทรพั ย์ จ�ำนวน ๑,๐๖๕,๐๐๐ บาท แด่ สมเด็จพระกนิษฐาธริ าชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

204 ๙๐ พรรษา บรมราชินนี าถ

สมเดจ็ พระนางเจ้าสริ กิ ติ ์ิ พระบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนพี นั ปีหลวง ทรงให้ความสนพระทัยเป็นอยา่ งยง่ิ
ระหวา่ งปี พ.ศ. ๒๕๔๐–๒๕๔๓ ทรงเสด็จฯ ปลอ่ ยช้างคนื สู่ธรรมชาตดิ ว้ ยพระองค์เองถึง ๔ ครง้ั

ปัจจบุ นั ช้างเลยี้ งที่สมเด็จพระบรมราชชนนีพันปหี ลวง ทรงปลอ่ ยคืนสธู่ รรมชาติ สว่ นใหญ่ได้กลบั
เขา้ ไปอาศยั อยู่ในป่าธรรมชาตเิ ปน็ การถาวรแลว้ เชน่ พังมาลยั พังบวั ลอย พังบญุ มี พังสงั วาล พลายสอง
พังทุเรียน พังทองมี พังกองมา ฯลฯ ในขณะท่ีช้างบางกลุ่มยังอยู่ในระหว่างการบ�ำรุงสุขภาพ และเล้ียง
แบบก่ึงเลี้ยงกึ่งปล่อยในพื้นท่ีป่าสงวนแห่งชาติแม่ยาว จังหวัดล�ำปาง เพ่ือปรับพฤติกรรมส�ำหรับน�ำ
กลบั ไปปล่อยคนื สปู่ า่ ธรรมชาติต่อไป

โครงการคืนช้างสู่ธรรมชาติ เป็นโครงการอนุรักษ์ช้างไทยที่มีความสัมฤทธิผลเป็นอย่างสูง
ความก้าวหน้าของโครงการนี้ได้ประกาศให้ชาวโลกได้ทราบท่ัวกันว่า ช้างไทยจะไม่สูญพันธุ์ไปจากป่า
ธรรมชาติอยา่ งแนน่ อน ทั้งน้ดี ว้ ยพระราชปณิธานทแี่ น่วแนข่ องสมเด็จพระบรมราชชนนพี ันปีหลวง ในการ
มุ่งม่ันแก้ไขปัญหาให้กับช้างไทยภายใต้พระบรมโพธิสมภาร ให้คงอยู่และมีชีวิตความเป็นอยู่ท่ีดีขึ้นอย่าง
ผาสกุ

พระมารดาแห่งการคมุ้ ครองความหลากหลายทางชวี ภาพ 205

คชอาณาจักร จงั หวดั สุรนิ ทร์

“...ช้างป่าควรอยู่ในป่า เพียงแต่ต้องท�ำให้ป่าน้ันมีอาหารช้างเพียงพอ การปฏิบัติ คือ
ให้ไปสร้างอาหารช้างในป่าเป็นแปลงเล็ก ๆ และกระจาย กรณีช้างป่าออกมาท่ีชายป่า ต้องให้
ความปลอดภัยกบั ช้างปา่ ...”

พระราชด�ำรัส พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู ิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร
วันท่ี ๕ กรกฎาคม ๒๕๔๒

206 ๙๐ พรรษา บรมราชนิ นี าถ

เมอ่ื ความได้ทราบถึง สมเด็จพระนางเจ้าสริ ิกิต์ิ พระบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนพี นั ปีหลวง
ในกรณีความขัดแย้งของคนกับช้างป่า ท่ีเกิดข้ึนในพื้นที่แนวเขตอุทยานแห่งชาติกุยบุรี จังหวัด
ประจวบคีรขี นั ธ์ ไดท้ รงมีพระราชเสาวนีย์ ความว่า

“...ช้างป่าเป็นสัตว์ท่ีพระเจ้าอยู่หัวทรงรัก ทรงห่วงใย โดยเฉพาะช้างทางกุยบุรีและแก่ง
กระจาน ทรงห่วงใยมาตลอด ทรงช่วยหาที่อยู่ที่กินให้ ช้างจะได้ไม่รบกวนคน คนกับช้างจะได้
มีปัญหากันน้อยที่สุด เช่น ที่กุยบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ช้างมีความส�ำคัญมาแต่คร้ังประวัติศาสตร์
เคยช่วยรักษาบ้านเมือง กู้บ้านกู้เมือง ดังน้ัน ขอให้ช่วยกันดูแล มิให้ช้างถูกฆ่าอย่างทารุณเยี่ยง
น้ี เพ่ือจะได้ไม่ผิดพระราชประสงค์ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงต้ังพระทัยท่ีจะให้มีการ
อนรุ กั ษช์ า้ งใหเ้ ป็นสตั วค์ ่แู ผ่นดินสืบไป...”

พระราชเสาวนยี ์ สมเด็จพระนางเจ้าสริ กิ ิติ์ พระบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนีพันปหี ลวง
วันท่ี ๕ มกราคม ๒๕๕๕

โครงการนําช้างคืนถิ่นตามพระราชเสาวนีย์ของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ
พระบรมราชชนนีพันปีหลวง เพ่ือช่วยเหลือช้างเร่ร่อนที่เป็นปัญหาในเมืองหลวง โดยจัดทําเป็นสถานท่ี
ท่องเที่ยวรูปแบบเชิงอนุรักษ์ธรรมชาติและวัฒนธรรมท้องถ่ิน เน้นความเป็นอยู่บนพ้ืนฐานหมู่บ้านช้าง
เศรษฐกิจพอเพียง เพิ่มความสมบูรณ์ของพื้นที่ ความมั่งคั่งของอาหารช้าง เพ่ือการพ่ึงพาตนเองอย่าง
ยัง่ ยนื โดยใช้พื้นทป่ี ่าสงวนดงภดู ิน ตาํ บลกระโพ อําเภอทา่ ตมู จังหวัดสุรนิ ทร์ จาํ นวน ๓,๐๐๐ ไร่ เปน็
พื้นทีด่ ําเนนิ การ

พระมารดาแหง่ การคมุ้ ครองความหลากหลายทางชวี ภาพ 207

ช้างไทย เป็นสัตว์ใหญ่คู่เมืองท่ีมีความสง่างาม ได้รับการยกย่องให้มีความส�ำคัญเหนือสัตว์อ่ืนใด
แต่ในปัจจุบัน เมืองไทยประสบวิกฤตเศรษฐกิจ ปัญหาช้างเล้ียงและควาญที่ตกงาน ไม่มีรายได้ จน
เจ้าของช้างต้องน�ำพาช้างออกตระเวนเร่ร่อนขออาหารผู้คนตามท้องถนน จนกลายเป็นภาพลบต่อ
ประเทศ ท�ำใหช้ า้ งเล้ียงตอ้ งเผชญิ คุณภาพชวี ิตทย่ี �ำ่ แย่ และสุ่มเสย่ี งตอ่ การบาดเจ็บลม้ ตาย

จากสถานการณ์ดังกล่าว สมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวง ทรงมีพระราชเสาวนีย์แสดงความ
หว่ งใยตอ่ สวสั ดภิ าพของชา้ งไทย ทรงโปรดใหห้ นว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ งชว่ ยกนั คมุ้ ครองดแู ล และนำ� พาชา้ งกลบั
คืนถ่ินอาศัยอันเป็นธรรมชาติ เพ่ือยกระดับคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น องค์การสวนสัตว์แห่งประเทศไทย
ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้น้อมน�ำพระราชเสาวนีย์ เดินหน้าแก้ไขปัญหาช้างเร่ร่อน อย่าง
เปน็ รปู ธรรมโดยจดั ตงั้ “โครงการนำ� ชา้ งคนื ถน่ิ ” ขนึ้ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๒ และตอ่ มา ไดข้ อเชา่ พนื้ ทป่ี า่ เสอื่ มโทรม
จากกรมป่าไม้ และองค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ ที่ป่าสงวนแห่งชาติป่าดงภูดิน ในเขตบ้านตากลาง
ต�ำบลกระโพ อ�ำเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ ซ่ึงเป็นถ่ินของช้างเล้ียงท่ีใหญ่ท่ีสุดในประเทศ บนเนื้อท่ี
มากกวา่ ๓,๐๐๐ ไร่ จัดท�ำโครงการ “โครงการคชอาณาจักร จงั หวดั สุรินทร”์ เพอื่ รวบรวมและจัดระเบียบ
ช้างเร่ร่อนในเมือง ได้กลับมาอาศัยอยู่รวมกันในถ่ินฐานบ้านเกิดของตัวเอง ให้มีหลักประกันใน
ด้านที่อยู่อาศัย ควาญช้างมีพื้นท่ีท�ำการเพาะปลูก ท�ำกิน และมีรายได้เหมาะสมพอเลี้ยงตัวเอง ช้างของ
ตน และครอบครัวไดอ้ ย่างมัน่ คง

ในปี พ.ศ. ๒๕๕๓ คชอาณาจักรได้เปิดรับช้างเล้ียงกลับคืนถิ่นเป็นกลุ่มแรก จ�ำนวน ๖๐ เชือก
จงึ มีปญั หาเกยี่ วกับค่าใชจ้ า่ ยสำ� หรับอาหารชา้ งและระบบสาธารณปู โภคต่าง ๆ ตอ่ มาในปี พ.ศ. ๒๕๕๔
รัฐบาลได้อนุมัติงบประมาณเพื่อใช้ก่อสร้างโครงสร้างพ้ืนฐานและพัฒนาระบบสาธารณูปโภคต่าง ๆ
ภายในพื้นที่โครงการอย่างครบวงจร ทั้งโรงผูกช้าง โรงเรือนอนุบาล บ่อพักน�้ำด่ืมส�ำหรับช้าง ที่พัก
ชั่วคราวของควาญและครอบครัว ถนนสายหลักภายในโครงการ รวมถึง อาคารส�ำนักงาน บ้านพัก
เจ้าหน้าที่ อาคารโรงพยาบาลช้างและอาหารช้าง

ปี พ.ศ. ๒๕๕๖ มีช้างเล้ียงคืนถนิ่ เขา้ มาอยู่ในโครงการถึง ๑๖๐ เชือก
ปี พ.ศ. ๒๕๕๗ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพนั ธ์พุ ืช ไดจ้ ดั สรรพนื้ ที่จ�ำนวน ๓,๐๐๐ ไร่ อนั
เป็นอาณาบริเวณส่วนหน่ึงของป่าสงวนแห่งชาติดงภูดิน ต�ำบลกระโพ อ�ำเภอท่าตูม ให้คชอาณาจักรเข้า
ด�ำเนินงานอย่างเป็นทางการ และในปีน้ันเอง โครงการได้เปิดรับช้างคืนถ่ินอีกชุดหนึ่ง รวมเป็นจ�ำนวน
ชา้ ง ๑๗๐ เชือก โดยมีลูกช้างเกิดใหม่นับต้ังแต่ก่อตง้ั โครงการ จำ� นวน ๒๒ เชอื ก
ปี พ.ศ. ๒๕๖๐ คชอาณาจกั ร มีช้างเลีย้ งคืนถนิ่ จำ� นวน ๑๖๘ เชอื ก จากเป้าหมายท่ีคาดว่าจะมี
ประมาณ จ�ำนวน ๒๐๐ เชือก
คชอาณาจักร เป็นโครงการที่ก่อตั้งขึ้นโดยปราศจากเง่ือนไขใด ๆ ท่ีผูกมัดต่อควาญช้าง ควาญ
ทุกคนท่ีน�ำช้างเข้าร่วมโครงการจะมีรายได้ต่อเดือนหรือค่าสนับสนุนอาหารช้างเป็นจ�ำนวน ๑๐,๘๐๐
บาท ตอ่ ช้าง ๑ เชอื กทนี่ �ำเขา้ ร่วม และเม่ือช้างพงั ในโครงการตกลูกออกมา เจา้ ของยงั สามารถน�ำลกู ช้าง
สมคั รเขา้ ร่วมเพ่ือรบั เงินเดอื นเพม่ิ ขน้ึ อกี ๑ เชอื กได้ หรือหากเจา้ ของมคี วามจำ� เปน็ ตอ้ งขายช้างทเี่ ขา้ ร่วม
โครงการออกไป กส็ ามารถทำ� ไดต้ ามกรรมสิทธิ์โดยไรข้ ้อผกู มดั

208 ๙๐ พรรษา บรมราชินนี าถ

ดว้ ยงบสนบั สนนุ เพมิ่ เตมิ จากรฐั บาลอกี สว่ นหนงึ่ ปลี ะ ๕ ลา้ นบาท โครงการจงึ จดั หาพนั ธห์ุ ญา้ เนเปยี ร์
อาหารช้างคุณภาพดี แจกจ่ายให้ช้างได้บริโภคเฉลี่ยวันละ ๑๐๐ กิโลกรัมต่อเชือกอย่างสม่�ำเสมอ
โดยโครงการได้เห็นถึงความส�ำคัญของความมั่นคงทางอาหารในระยะยาว จึงได้เร่ิมทดลองโครงการ
แปลงปลูกหญ้าอาหารช้าง บนพื้นท่ี ๑๐๐ ไร่ และแบง่ สรรพันธุห์ ญา้ ให้แก่ควาญทุกคนไดน้ �ำไปปลูกภายใน
พนื้ ทข่ี องตนเองจำ� นวน ๔ ไร่ ต่อชา้ ง ๑ เชอื ก จึงท�ำใหท้ กุ ครอบครวั ไดม้ หี ลกั ประกนั ความอดุ มสมบรู ณ์
ของอาหารช้างและสามารถพงึ่ พาตนเองได้

ในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ โครงการไดจ้ ัดสรรพนื้ ทอ่ี ีกสว่ นหนงึ่ ใหเ้ ปน็ แปลงปลูกป่า ภายใต้โครงการปลูก
ป่าเพื่อช้างและส่ิงแวดล้อม โดยมีหน่วยงานและองค์กรต่าง ๆ อาสาเข้ามาฟื้นฟูป่าร่วมกับคชอาณาจักร
ท�ำให้ผืนดินท่ีเคยเส่ือมโทรม ได้รับการพลิกฟื้นให้กลายเป็นแหล่งอาหารและมีสภาพแวดล้อมเหมาะสม
ตอ่ การดำ� รงอยขู่ องช้างได้ในอนาคต

ส�ำหรับเงื่อนไขการเข้ามาอยู่อาศัยนั้น ควาญช้างซึ่งมีท่ีพ�ำนักไกลออกไปเกินกว่า ๑๐ กิโลเมตร
คชอาณาจักรเปิดโอกาสให้เข้ามาเป็นสมาชิกของหมู่บ้านรูปทรงพ้ืนเมืองชาวกวยท่ีสร้างไว้ ๒๐ หลัง
ภายในพื้นที่โครงการพร้อมกับช้างเลี้ยง โดยควาญกลุ่มน้ีจะมีสถานะเสมือนเป็นพนักงานขององค์การ
สวนสัตว์ ได้รับสวัสดิการต่าง ๆ เทียบเท่าเจ้าหน้าท่ีท่ัวไป โดยมีเงื่อนไขให้ควาญต้องด�ำเนินชีวิต
ประกอบกจิ กรรมตา่ ง ๆ ตามวถิ ดี ั้งเดิมของนักเลยี้ งชา้ งชาวกวย เพื่อสืบสานขนบธรรมเนียมต่าง ๆ ใหค้ น
รนุ่ หลงั ไดศ้ กึ ษาเรยี นรู้ และลดรายจา่ ยเพมิ่ รายไดด้ ว้ ยการปลกู พชื ผกั สวนครวั อนิ ทรยี ท์ ปี่ ลอดสารปนเปอ้ื น
รวมถึงการน�ำมลู ช้างมาแปรรปู เป็นปยุ๋ น�ำรายได้มาจนุ เจอื ครอบครัวได้อีกทางหน่งึ

สว่ นควาญชา้ งอีกกลมุ่ ท่มี ีบา้ นพำ� นักในเขตหมู่บา้ นทอ่ี ยู่รายรอบ โครงการจะอนญุ าตให้พกั อาศัย
อยใู่ นบา้ นของตวั เอง โดยควาญจะน�ำชา้ งเข้ามาทำ� กจิ วัตรและหากนิ ในพนื้ ที่แปลงปลูกหญ้าของโครงการ
โดยมีเจ้าหน้าท่ีเดินทางไปตรวจสอบดูแลความเป็นอยู่ของช้างกลุ่มนี้อย่างสม�่ำเสมอ นอกจากน้ี คช
อาณาจกั รยงั ใหส้ ทิ ธพิ เิ ศษแกค่ วาญชา้ ง สามารถนำ� ชา้ งของตนออกไปทำ� กจิ กรรมหารายไดน้ อกพนื้ ทไี่ ด้ ทงั้
กจิ กรรมการทอ่ งเทย่ี ว และงานบญุ ประเพณี เพอ่ื นำ� รายไดม้ าจนุ เจอื ครอบครวั ปอ้ งกนั ไมใ่ หค้ วาญชา้ งนำ� ชา้ ง
กลบั ออกไปเรร่ ่อนอกี

นอกจากหลกั ประกนั ด้านรายได้ ทท่ี �ำกนิ และอาหารช้างอนั ม่ันคง ท่คี รอบครวั ชาวชา้ งไดร้ บั จาก
โครงการแล้ว องค์การสวนสัตว์แห่งประเทศไทย ยังมีแนวคิดที่จะเปิดร้ัวคชอาณาจักร เพ่ือต้อนรับ
นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ ให้เข้ามาสัมผัสวิถีของชาวช้างในรูปแบบ Home Stay ให้
นักท่องเท่ียวได้ท�ำกิจกรรมร่วมกับช้างและควาญ เป็นการเปิดประสบการณ์แปลกใหม่เพื่อสร้างรายได้
เพ่มิ ให้กับชุมชน

เม่ือโครงการคชอาณาจักรได้พัฒนาข้ึนจนเปี่ยมไปด้วยศักยภาพทุกด้านแล้ว สถานที่แห่งน้ีจะ
ได้รับการยกระดับขึ้นเป็นศูนย์กลางแหล่งเรียนรู้และอนุรักษ์พันธุ์ช้างไทย และพิพิธภัณฑ์ช้างไทยท่ี
รวบรวมทุกเรื่องราวเก่ียวกับช้างและวัฒนธรรมของชาวกวยที่เต็มไปด้วยคุณค่า โดยมุ่งให้คชอาณาจักร
ได้รับการกล่าวขานเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และวัฒนธรรมท้องถิ่นท่ีใหญ่ท่ีสุดในภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ ซึ่งจะก่อให้เกิดการสร้างงานและกระจายรายได้เข้ามาสู่ท้องถ่ินอย่าง
ตอ่ เนอื่ งและยงั่ ยนื

พระมารดาแห่งการคมุ้ ครองความหลากหลายทางชีวภาพ 209

การเพาะขยายพนั ธุช์ ะมดเช็ด

สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ทรงมีความห่วงใย
ในปัญหาการลดลงของชะมดเช็ด (Viverricular indica) ในธรรมชาติ ซึ่งส่งผลถึงภูมิปัญญาการ
เพาะเลี้ยงชะมดเช็ดเพื่อเก็บไขของชาวบ้านที่อาจสูญหายไปจากการขาดสายพันธุ์ชะมดเช็ด จึง
พระราชทานพระราชด�ำริให้ด�ำเนินการเลี้ยงชะมดเช็ดในโครงการฟาร์มตัวอย่างตามพระราชดำ� ริบ้านดง
เย็น อำ� เภอจอมทอง จงั หวัดเชยี งใหม่ เพื่อการอนุรกั ษแ์ ละใชป้ ระโยชนจ์ ากน้�ำมันชะมดเช็ด

ในปี พ.ศ. ๒๕๕๑ องค์การสวนสัตว์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้รับสนอง
พระราชด�ำริ ท�ำการศึกษาวิจัยเรื่อง “การศึกษาเพาะขยายพันธุ์ชะมดเช็ดในกรงเลี้ยงของสวนสัตว์
เชียงใหม่เพื่อพัฒนาศักยภาพในการท�ำผลิตภัณฑ์เคร่ืองหอม” ซึ่งผลการศึกษาท�ำให้ได้ทราบถึงวงจร
ชวี ติ และข้อมลู ทางชีววทิ ยาทคี่ รบวงจรของชะมดเช็ด

องค์การสวนสัตว์ได้ด�ำเนินการศึกษาวิจัยเก่ียวกับชะมดเช็ด มาอย่างต่อเนื่องจนปัจจุบัน โดยได้
ท�ำการศึกษาการเพาะเล้ียงขยายพันธุ์ชะมดเช็ดจนประสบผลส�ำเร็จ ได้ลูกชะมดเช็ดจ�ำนวนมาก มีองค์
ความรู้ที่สามารถเผยแพร่ให้แก่เกษตรกรและผู้สนใจได้ นอกจากน้ี องค์การสวนสัตว์ยังได้ท�ำการศึกษา
วิจัยเพิ่มเติมเก่ียวกับสัตว์ในวงศ์ชะมดชนิดอื่น ๆ ได้แก่ ชะมดหางปล้อง และอีเห็นธรรมดา ประสบ
ผลส�ำเร็จเปน็ อยา่ งดีย่งิ

นอกจากน้ีองค์การสวนสัตว์ ยังให้การฝึกอบรมด้านการเพาะขยายพันธุ์ชะมดเช็ดแก่เกษตรกร
และผู้สนใจเพ่ือเผยแพร่องค์ความรู้ และสนับสนุนการพัฒนาอาชีพเฉพาะแก่เกษตรกร สังคม ชุมชน
และเปน็ ประโยชน์ด้านเศรษฐกจิ ควบคู่กับการอนรุ กั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ มอยา่ งยัง่ ยืน

เพ่ือให้แน่ใจว่าองค์ความรู้และชะมดจะไม่สูญหายไป องค์การสวนสัตว์จึงประสานความร่วมมือ
กับกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช และส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพ่ือประสานงาน
โครงการอันเนื่องมาจากพระราขด�ำริ จัดตั้งศูนย์สาธิตการเพาะขยายพันธุ์ชะมดเช็ดและอีเห็น ที่ศูนย์
ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริ สวนสัตว์เชียงใหม่ และท่ีฟาร์มตัวอย่าง
ตามพระราชด�ำริ บา้ นดงเยน็ จงั หวดั เชยี งใหม่

ชะมดเชด็ ต้ังท้อง ชะมดเชด็ แรกเกดิ

210 ๙๐ พรรษา บรมราชนิ นี าถ

แมช่ ะมดเชด็ เลี้ยงลกู ในโพรงจนอายไุ ด้ ๒ เดือน ลกู ชะมดเช็ดอายุ ๒ เดือนครงึ่

ลกู ชะมดเช็ดอายุ ๓ เดือน ลูกชะมดเช็ดอายุ ๔ เดือน

ลูกชะมดเชด็ อายุ ๖ เดือน ลูกชะมดเชด็ อายุ ๘ เดอื น

พระมารดาแหง่ การค้มุ ครองความหลากหลายทางชวี ภาพ 211

212 ๙๐ พรรษา บรมราชินนี าถ

สวนพฤกษศาสตรส์ มเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ์ิ
สวนความรู้ คแู่ ผ่นดิน

พุทธศักราช ๒๕๓๕ เป็นปีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์
พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ครบ ๕ รอบ รัฐบาลไทยในสมัยน้ัน ซ่ึงมี ฯพณฯ
อานันท์ ปันยารชุน เป็นนายกรัฐมนตรี ได้เห็นพ้องให้มีการจัดตั้ง องค์การสวนพฤกษศาสตร์ ข้ึน เพ่ือ
สนองพระราชด�ำริสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวง ในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และส่งเสริม
ความรู้ด้านพืชของไทยให้อยู่คู่แผ่นดิน องค์การสวนพฤกษศาสตร์จึงได้รับการจัดต้ังข้ึนตามพระราช
กฤษฎีกา พ.ศ. ๒๕๓๕ และเป็นหน่ึงในโครงการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวง ใน
มหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ครบ ๕ รอบ ๑๒ สงิ หาคม ๒๕๓๕ โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์ ใหป้ ระเทศไทยมี
สวนพฤกษศาสตร์ทไ่ี ดร้ ะดับมาตรฐานสากล โดยมีภาระหนา้ ท่ี ความรับผดิ ชอบ ดังนี้

ศูนย์รวมพรรณไม้ต่าง ๆ ที่มีอยู่ในประเทศไทย โดยเฉพาะพรรณไม้ไทย มีการตรวจสอบช่ือท่ี
ถูกต้อง จัดท�ำป้ายส่ือความหมาย และน�ำมาจัดปลูกตามหลักวิชาการอย่างเป็นระบบ ให้ผสมผสานกับ
ธรรมชาติ มคี วามสวยงาม รม่ รืน่

ศนู ย์อนุรักษ์และขยายพนั ธ์ุพืช โดยเฉพาะไมป้ ระจำ� ถนิ่ ไม้หายาก และไมใ้ กลส้ ูญพนั ธ์ุ ใหค้ งอยู่
เป็นสมบัติของชาตติ อ่ ไป

ศูนย์ข้อมูลด้านพืชที่ส�ำคัญแห่งหนึ่งของประเทศและภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ประกอบด้วย หอพรรณไม้ ฐานข้อมูลพืชระบบคอมพิวเตอร์ ท้ังข้อมูลพันธุ์ไม้ และข้อมูลภาพ ห้องสมุด
ทางพฤกษศาสตร์ ทรี่ วมหนังสือ เอกสาร และส่ิงพิมพด์ ้านพชื ไว้อย่างสมบรู ณ์

สถาบันทางการศึกษาและวิจัยทางพฤกษศาสตร์ ด�ำเนินการผลิตนักพฤกษศาสตร์ระดับสูง
ใหแ้ ก่ประเทศ ตลอดจนการพัฒนาบุคลาการด้านพชื โดยด�ำเนนิ การร่วมกบั มหาวิทยาลยั สถาบันวิชาการ
ทั้งในประเทศและนานาชาติ

สถานที่ท่องเท่ียวพักผ่อนหย่อนใจทางธรรมชาติ เป็นสถานท่ีสันทนาการ ให้ความเพลิดเพลิน
และความสุนทรีย์แก่เยาวชนและผู้เข้าเย่ียมชม ด้วยชนิดพันธุ์ไม้ที่หลากหลายและภูมิทัศน์ที่สวยงาม
ตลอดจนเป็นศนู ยก์ ารทอ่ งเทยี่ วเชิงอนุรักษ์ของภูมิภาคและประเทศ

แหล่งปลูกฝังเยาวชนให้มใี จรกั ธรรมชาติ โนม้ น้าว กลอ่ มเกลาจติ ใจ ให้เกดิ ความรกั ความหวง
แหน และตระหนกั ถงึ คณุ คา่ ของทรพั ยากรพรรณพชื ไทย ซง่ึ เปน็ พน้ื ฐานทางวฒั นธรรมทส่ี ำ� คญั ของประเทศ

พระมารดาแห่งการค้มุ ครองความหลากหลายทางชีวภาพ 213

ในปี พ.ศ. ๒๕๓๗ องค์การสวนพฤกษศาสตร์ได้รับพระมหากรุณาธิคุณอันหาท่ีสุดมิได้จาก
สมเด็จพระนางเจา้ สริ กิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง พระราชทานพระราชานุญาต
ใหใ้ ช้ชอ่ื สวนพฤกษศาสตร์แห่งแรกที่อ�ำเภอแมร่ มิ จังหวดั เชียงใหม่ ว่า

“สวนพฤกษศาสตรส์ มเดจ็ พระนางเจ้าสิรกิ ิติ์ Queen Sirikit Botanic Garden”

214 ๙๐ พรรษา บรมราชนิ นี าถ

พระราชเสาวนียท์ เี่ กีย่ วกบั สวนพฤกษศาสตร์
นบั แตเ่ รมิ่ จดั ตง้ั สวนพฤกษศาสตรจ์ นปจั จบุ นั สมเดจ็ พระบรมราชชนนพี นั ปหี ลวง ไดเ้ สดจ็ พระราช

ดำ� เนนิ ทอดพระเนตรความกา้ วหนา้ ในการดำ� เนนิ งานขององคก์ ารสวนพฤกษศาสตรอ์ ยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ทรงพระ
กรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระราชเสาวนีย์แก่ ดร.วีระชัย ณ นคร (ผู้อ�ำนวยการองค์การสวน
พฤกษศาสตร์) และคณะผู้บรหิ ารองคก์ ารสวนพฤกษศาสตร์ ในหลายโอกาส ความสรุปได้ ดงั นี้

๑. พัฒนาพ้นื ท่ใี หม้ ีความสวยงาม เป็นสถานท่ีศกึ ษาและใหค้ วามรูแ้ ก่นักเรียนและเยาวชน
๒. ให้เป็นศูนย์รวมพรรณไม้ไทยจากท้องถ่ินทุกภาคของประเทศ เพ่ือจะได้เป็นท่ีรู้จัก เพราะคน
ไทยได้มองข้ามความส�ำคัญของทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ ไม่รู้จักพืช ท�ำให้ไม่สามารถน�ำศักยภาพของ
พชื ชนดิ ตา่ ง ๆ มาใช้ประโยชนไ์ ดอ้ ยา่ งเตม็ ที่
๓. ชว่ ยสรา้ งความเจรญิ ใหแ้ กช่ มุ ชนและทอ้ งถนิ่ ใหม้ รี ายได้ มคี ณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ขี นึ้ โดยสนบั สนนุ การ
ใช้ประโยชนจ์ ากพืชเศรษฐกิจ พชื อาหาร พชื สมุนไพร และไม้ดอกไม้ประดบั ฯลฯ รวมถงึ การเพาะเลยี้ ง
ขยายพนั ธ์กุ ลว้ ยไม้ไทยหายาก แลว้ ปลอ่ ยคนื สู่ปา่ ให้อย่ใู นสภาพธรรมชาตติ ามเดิม
๔. ศึกษาภูมิปัญญาท้องถ่ินและพืชพื้นบ้านท่ีชาวบ้านน�ำมาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ�ำวัน ให้ได้
ข้อมลู ทถ่ี กู ตอ้ งชดั เจน แล้วเผยแพรค่ วามร้แู ก่ราษฎรในชนบท ใหส้ ามารถน�ำไปใชป้ ระโยชน์ได้ และสอน
ให้มคี วามเขา้ ใจในความส�ำคัญของป่าวา่ เปน็ ทงั้ แหลง่ ตน้ น�ำ้ ลำ� ธาร ชว่ ยรักษาสมดลุ ของธรรมชาติ และยงั
เปน็ ธนาคารอาหารของมนุษย์ทีไ่ ม่รู้จกั หมดส้ินอกี ดว้ ย
๕. ให้สวนพฤกษศาสตร์เป็นแหล่งอนุรักษ์ธรรมชาติที่ส�ำคัญ เป็นตัวอย่างให้เยาวชนได้ตระหนัก
ถงึ ความสำ� คัญของทรพั ยากรพรรณพืชไทย

พระมารดาแหง่ การคมุ้ ครองความหลากหลายทางชวี ภาพ 215

วันท่ี ๘ เมษายน ๒๕๓๙

สมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวง เสด็จพระราชด�ำเนินทรงเปิดสวนพฤกษศาสตร์สมเด็จ
พระนางเจา้ สริ กิ ติ ิ์ อำ� เภอแมร่ มิ จงั หวดั เชยี งใหม่ ทรงพระดำ� เนนิ ทอดพระเนตรพรรณไมต้ ามเสน้ ทางศกึ ษา
ธรรมชาติบริเวณน�้ำตกแม่สาน้อย ในสวนพฤกษศาสตร์สมเดจ็ พระนางเจ้าสริ กิ ติ ิ์ และทรงปลกู ตน้ ไทรย้อย
ใบแหลม (Ficus benjamina L.) เป็นท่รี ะลกึ

216 ๙๐ พรรษา บรมราชินนี าถ

วันที่ ๑๑ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๔๐

สมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวง เสด็จพระราชด�ำเนินไปทอดพระเนตรการด�ำเนินงานสวน
พฤกษศาสตรส์ มเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ์ิ อ�ำเภอแมร่ ิม จงั หวัดเชยี งใหม่ และทรงพระดำ� เนินทอดพระเนตร
พรรณไม้ตามเสน้ ทางศกึ ษาธรรมชาติบรเิ วณแปลงรวบรวมพรรณไม้วงศ์กล้วย วงศห์ มาก วงศ์บอน วงศข์ งิ
และพชื กลุ่มเฟิน

พระมารดาแห่งการคมุ้ ครองความหลากหลายทางชีวภาพ 217

วันท่ี ๒๙ มกราคม ๒๕๔๑

สมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวง เสด็จพระราชด�ำเนินไปทอดพระเนตรการด�ำเนินงานสวน
พฤกษศาสตรส์ มเดจ็ พระนางเจา้ สิริกติ ์ิ อ�ำเภอแม่รมิ จงั หวัดเชยี งใหม่ ทรงทอดพระเนตรกล้วยไมใ้ นเรอื น
รวมพรรณกลว้ ยไมไ้ ทย และพรรณไม้ตามเส้นทางศกึ ษาธรรมชาติบรเิ วณสวนหนิ และน้�ำตกแมส่ านอ้ ย

218 ๙๐ พรรษา บรมราชินนี าถ

“...ให้สวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิได้รวบรวมพันธุ์กล้วยไม้ เพื่อ
การศึกษา ค้นคว้า วิจัย และเพ่ือการอนุรักษ์และพัฒนาอย่างยั่งยืน ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อ
ประเทศ ในดา้ นต่าง ๆ ตอ่ ไป...”

พระราชเสาวนยี ์ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง
ณ สวนพฤกษศาสตรส์ มเด็จพระนางเจา้ สิริกติ ิ์ จงั หวัดเชียงใหม่
วันที่ ๒๙ มกราคม ๒๕๔๑

พระมารดาแหง่ การค้มุ ครองความหลากหลายทางชวี ภาพ 219

วันท่ี ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒

สมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวง เสด็จพระราชด�ำเนินไปทอดพระเนตรการด�ำเนินงานสวน
พฤกษศาสตร์สมเดจ็ พระนางเจา้ สิริกติ ิ์ อ�ำเภอแมร่ มิ จังหวดั เชยี งใหม่ และทรงพระดำ� เนินทอดพระเนตร
พรรณไม้ตามเส้นทางศึกษาธรรมชาติบริเวณสวนวลั ยชาติ

220 ๙๐ พรรษา บรมราชนิ นี าถ

วันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๔๓

สมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวง เสด็จพระราชด�ำเนินไปทอดพระเนตรการด�ำเนินงานสวน
พฤกษศาสตร์สมเดจ็ พระนางเจา้ สิรกิ ติ ์ิ อ�ำเภอแมร่ มิ จงั หวดั เชียงใหม่ และทรงพระดำ� เนินทอดพระเนตร
พรรณไม้และพชื สมนุ ไพรไทยตามเส้นทางศึกษาธรรมชาติบรเิ วณสวนวัลยชาติ

พระมารดาแหง่ การค้มุ ครองความหลากหลายทางชีวภาพ 221

วนั ที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๔๔

สมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวง และพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงตรวจเย่ียม
ความก้าวหน้า ในการด�ำเนินงานของสวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ เกี่ยวกับการอนุรักษ์
และขยายพันธ์ุพืชสมุนไพร และพรรณไม้ไทยหายาก

222 ๙๐ พรรษา บรมราชนิ ีนาถ

สมเดจ็ พระบรมราชชนนพี นั ปหี ลวง และพระบาทสมเดจ็ พระวชริ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั เสดจ็ ฯ ตรวจเยย่ี ม
ความก้าวหน้าในการด�ำเนินงานของสวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ และปล่อยคืน
กล้วยไมไ้ ทยหายากสู่ถนิ่ โดยเฉพาะปลกู ต้นเอื้องแซะไว้เปน็ ที่ระลกึ ณ พน้ื ทบี่ รเิ วณแปลงสน

พระมารดาแหง่ การคมุ้ ครองความหลากหลายทางชีวภาพ 223

วันท่ี ๓๑ มกราคม ๒๕๔๕

สมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวง และพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงตรวจเย่ียม
ความกา้ วหนา้ ในการดำ� เนนิ งานของสวนพฤกษศาสตรส์ มเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ิ์ ทรงทอดพระเนตรพรรณไม้
ภายในกลุ่มอาคารเรือนกระจกเฉลิมพระเกียรติ และทรงปลูกต้นต๋าว (Arenga westerhoutii Griff.)
ไว้เป็นทร่ี ะลึก

224 ๙๐ พรรษา บรมราชนิ ีนาถ

พระบาทสมเดจ็ พระวชิรเกล้าเจา้ อยูห่ ัวทรงเปิดกลมุ่ อาคารเรอื นกระจกเฉลิมพระเกียรติ

พระมารดาแหง่ การคมุ้ ครองความหลากหลายทางชีวภาพ 225

วนั ท่ี ๑ มีนาคม ๒๕๔๗

สมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวง เสด็จพระราชด�ำเนินไปทอดพระเนตรการด�ำเนินงานสวน
พฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ิติ์ อ�ำเภอแม่รมิ จังหวัดเชยี งใหม่ และทรงพระดำ� เนนิ ทอดพระเนตร
กลว้ ยไมไ้ ทยและพืชกนิ แมลงภายในกลมุ่ อาคารเรือนกระจกเฉลมิ พระเกยี รติ

226 ๙๐ พรรษา บรมราชินนี าถ

“...ให้สวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ และทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้ร่วมกัน
ดำ� เนินการอนุรกั ษแ์ ละขยายพนั ธก์ุ ล้วยไมไ้ ทยทห่ี ายากอย่างตอ่ เนือ่ ง และให้ได้ครบวงจร เพราะหาก
ไม่ได้รับการดแู ลเอาใจใส่อย่างจริงจัง และถกู มองข้ามความสำ� คัญไปแลว้ มิชา้ มินาน กลว้ ยไม้ป่าท่ีมี
คณุ ค่าของไทย กจ็ ะลดจำ� นวนลงสูญหายไปโดยรวดเร็ว และอาจจะเหลอื เพยี งภาพและช่อื ไว้ในความ
ทรงจำ� ของคนไทยแต่เพียงน้ี...”

พระราชเสาวนีย์ สมเดจ็ พระนางเจ้าสริ กิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนีพันปหี ลวง
ณ สวนพฤกษศาสตรส์ มเดจ็ พระนางเจา้ สิริกติ ์ิ จังหวดั เชียงใหม่
วนั ที่ ๑ มีนาคม ๒๕๔๗

พระมารดาแหง่ การคมุ้ ครองความหลากหลายทางชีวภาพ 227

วันท่ี ๒๗ มกราคม ๒๕๔๙

สมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวง เสด็จพระราชด�ำเนินไปทอดพระเนตรการด�ำเนินงานสวน
พฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ อ�ำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ และทอดพระเนตรการอนุรักษ์
กลว้ ยไมไ้ ทย ณ เรือนกล้วยไม้และเฟิน กลมุ่ อาคารเรือนกระจกเฉลมิ พระเกยี รติ

228 ๙๐ พรรษา บรมราชนิ นี าถ

“...หงิ่ ห้อยเป็นแมลงชนิดหนง่ึ ที่เก่ียวขอ้ งกบั ความอุดมสมบูรณ์ของป่าและธรรมชาติ ใหส้ วน
พฤกษศาสตรท์ �ำการศกึ ษาความสัมพนั ธข์ องพรรณไม้ป่ากับหงิ่ หอ้ ยให้ไดท้ ราบครบวงจรชวี ิต...”

พระราชเสาวนีย์ สมเดจ็ พระนางเจ้าสิรกิ ิต์ิ พระบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนพี ันปีหลวง
ณ สวนพฤกษศาสตรส์ มเด็จพระนางเจา้ สริ กิ ติ ์ิ จังหวัดเชยี งใหม่
วนั ท่ี ๘ เมษายน ๒๕๓๙

องค์การสวนพฤกษศาสตร์น้อมเกล้าฯ รับสนองพระราชเสาวนีย์ และประสานความร่วมมือกับ
คณะผู้ทรงคุณวุฒิด้านกีฏวิทยาจากสถาบันต่าง ๆ ของประเทศ ร่วมกันด�ำเนินการศึกษาหิ่งห้อยภายใต้
“โครงการศกึ ษาความหลากหลายและนเิ วศวทิ ยาของหิ่งห้อยในประเทศไทยในพระราชด�ำร”ิ ตง้ั แตป่ ี
พ.ศ. ๒๕๔๐ เป็นตน้ มา

พระมารดาแหง่ การค้มุ ครองความหลากหลายทางชีวภาพ 229

“...ให้องค์การสวนพฤกษศาสตร์ ท�ำการศึกษาค้นคว้าและหาศักยภาพในการพัฒนากัญชง
ใหเ้ ปน็ พืชเศรษฐกิจและเพ่ือเป็นขอ้ มลู ของประเทศ ต่อไปในภายหนา้ ...”

พระราชเสาวนยี ์ สมเดจ็ พระนางเจ้าสิรกิ ิต์ิ พระบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนีพันปหี ลวง
ณ พระตำ� หนกั ภูพิงคราชนิเวศน์ จงั หวดั เชียงใหม่
กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๔๔

องค์การสวนพฤกษศาสตร์น้อมเกล้าฯ รับสนองพระราชเสาวนีย์ และประสานความร่วมมือกับ
คณะผู้ทรงคุณวุฒิจากสถาบันต่าง ๆ ของประเทศ ร่วมกันด�ำเนินการศึกษากัญชงภายใต้ “โครงการ
ศึกษากัญชงในพระราชด�ำริ” ต้งั แต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๔ เป็นต้นมา

230 ๙๐ พรรษา บรมราชนิ ีนาถ

ศูนยร์ วมพรรณไมบ้ า้ นร่มเกลา้ ในพระราชดำ� ริ จังหวดั พิษณุโลก
สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ทรงมีพระราช

เสาวนีย์ เม่ือปี พ.ศ. ๒๕๔๒ ให้องค์การสวนพฤกษศาสตร์ด�ำเนินการจัดต้ังศูนย์รวมพรรณไม้ขึ้น
ณ บริเวณป่าบ้านร่มเกล้า ตำ� บลบ่อภาค อำ� เภอชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก เพ่ือให้เป็นศูนย์รวมและ
อนุรักษ์พรรณไม้ภาคเหนือตอนล่างซึ่งเป็นพืชเขตภูมิภาคอินโดจีน โดยมีพระราชประสงค์เพ่ือส่งเสริม
ความมั่นคงภายในประเทศ บริเวณพ้ืนท่ีภูขัด ภูเม่ียง ภูสอยดาว ซ่ึงเป็นพ้ืนที่รอยต่อ ๓ จังหวัด คือ
จังหวัดพิษณุโลก จังหวัดอุตรดิตถ์ และจังหวัดเลย และเป็นพื้นท่ียุทธศาสตร์ มีอาณาเขตติดต่อกับ
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เพื่อฟื้นฟูป่าเสื่อมโทรมและอนุรักษ์ป่าท่ีสมบูรณ์ไว้เพ่ือเป็นป่า
ต้นน้�ำล�ำธาร สนับสนุนราษฎรในพ้ืนที่ให้มีคุณภาพชีวิตท่ีดีและมีรายได้เพ่ิมข้ึน พร้อมทั้งพัฒนาพ้ืนท่ีให้
เปน็ ศนู ยอ์ นรุ กั ษพ์ รรณพฤกษชาตบิ รเิ วณพรมแดนไทย–ลาว และเปน็ แหลง่ ทอ่ งเทย่ี วของจงั หวดั พษิ ณโุ ลก
และของประเทศตอ่ ไป

องค์การสวนพฤกษศาสตร์ ได้จัดต้ังศูนย์รวมพรรณไม้บ้านร่มเกล้าขึ้นในปี พ.ศ. ๒๕๔๔ มีการ
ด�ำเนินงานก้าวหน้าขึ้นตามล�ำดับ ปัจจุบันได้รับการจัดตั้งเป็นสวนพฤกษศาสตร์บ้านร่มเกล้า ตาม
พระราชด�ำริ มีพื้นท่ีประมาณ ๑,๓๘๕ ไร่ เป็นสถานที่รวบรวมพืชวงศ์กล้วยไม้และพืชวงศ์จ�ำปี–จ�ำปา
ของภาคเหนอื ตอนลา่ ง และพรรณไม้ป่าตามพน้ื ทีบ่ รเิ วณพรมแดนไทย–ลาว

พระมารดาแห่งการค้มุ ครองความหลากหลายทางชวี ภาพ 231

สสี นั สู่แพรพรรณ ที่เป็นมติ รกบั ส่ิงแวดลอ้ ม

“...ส่วนใหญ่เป็นส่ิงที่เขาใช้สอยอยู่ในชีวิตประจ�ำวัน... จึงเป็นแรงบันดาลใจให้ข้าพเจ้า
เริ่มงานส่งเสริมการทอผ้าไหมขึ้น เพ่ือให้ชาวนาชาวไร่น�ำความสามารถของพวกเขาเอง
มายกระดับความเป็นอยู่ รวมทั้งเพิ่มพูนศักด์ิศรีและความภาคภูมิใจในงานของเขา จนในท่ีสุด
จึงเกิดเป็นมลู นิธิส่งเสรมิ ศิลปาชีพฯ…”

พระราชด�ำรสั สมเด็จพระนางเจา้ สิริกติ ิ์ พระบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนีพนั ปหี ลวง
ในพธิ ีเปดิ การประชุมและนิทรรศการเรือ่ ง “มรดกสง่ิ ทอของเอเชีย : หัตถกรรมและอุตสาหกรรม”

ณ ศาลาธรรม มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ วนั ท่ี ๓๐ มกราคม ๒๕๓๕

232 ๙๐ พรรษา บรมราชินีนาถ

สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง มีพระราชประสงค์
ส่งเสริมอาชีพให้แก่ราษฎรให้ท�ำอาชีพเสริมหลังจากการท�ำนาท�ำไร่ ทรงก่อตั้งโครงการศิลปาชีพ ให้
ราษฎรมีความรู้ ความสามารถในงานหัตถรรม เชน่ เครอ่ื งถม ทอผา้ จกั สาน ฯลฯ มาแสดงฝีมอื จนเปน็
ท่ียอมรับท้ังในประเทศและระดับสากล ทรงมีพระราชปณิธานที่จะช่วยเหลือให้ราษฎรมีอาชีพเสริมและ
สามารถพึ่งพาตนเองได้ ทรงตระหนักถึงคุณค่าของศิลปะประจ�ำชาติ จึงส่งเสริมให้ศิลปวัฒนธรรมของ
ชาตไิ ดค้ งอยู่ โดยทรงเป็นผ้นู �ำในการใชผ้ ลิตภณั ฑ์ของไทย เช่น ผา้ ไหม กระเปา๋ เคร่อื งจักสาน ฯลฯ ให้
เปน็ ท่ีรู้จกั อยา่ งกวา้ งขวาง โดยเฉพาะจากชดุ ฉลองพระองค์ทท่ี รงสวมใสใ่ นโอกาสตา่ ง ๆ

กรมส่งเสริมคุณภาพส่ิงแวดล้อม ได้น้อมน�ำพระราชประสงค์ของสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปี
หลวง มาต่อยอดเสริมกับโครงการส่งเสริมการผลิตที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๘ –
ปัจจบุ ัน ซึ่งเป็นโครงการสง่ เสรมิ กลุ่มอาชีพของชมุ ชน เช่น สง่ิ ทอ ไม้ จกั สาน เคร่ืองปั้นดนิ เผา เซรามิค
เป็นต้น โดยมุ่งเน้นกระบวนการผลิตท่ีลดผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม ให้มีการใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด
มีแนวทางควบคุมคุณภาพสินค้าที่ปลอดภัยท้ังผู้ผลิตและผู้ใช้ เกิดการกระจายรายได้ในท้องถิ่น การ
อนุรักษ์ภูมิปัญญา และสร้างความเข้มแข็งอย่างย่ังยืนให้กับชุมชนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
กิจกรรม อาทิ การเวียนน�้ำกลบั มาใช้ชำ้� และใชน้ ำ้� ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ ูงสุดในบางอุตสาหกรรม การใช้เศษข้ี
เลื่อยสร้างเป็นงานปั้น การจัดการน้�ำเสียด้วยระบบบ�ำบัดท่ีเหมาะสม การเลือกใช้วัสดุจากสีธรรมชาติ
และการออกแบบลวดลายผ้า และการรวมกล่มุ ของชมุ ชนเพอื่ สร้างอาชพี เสรมิ

พระมารดาแห่งการคุ้มครองความหลากหลายทางชีวภาพ 233

กรมสง่ เสรมิ คุณภาพสงิ่ แวดล้อม ได้ด�ำเนนิ การสนองพระราชด�ำริมาตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๔๘ – ปจั จุบนั
โดยเฉพาะการลดผลกระทบสง่ิ แวดลอ้ ม ในสว่ นทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั โครงการศลิ ปาชพี ไดแ้ ก่ สง่ิ ทอ ไมแ้ ละจกั สาน
เครอ่ื งปน้ั ดนิ เผา เซรามคิ และสบู่ และมกี ารประเมนิ สถานประกอบการตามขอ้ กำ� หนดมาตรฐานของกรมฯ โดย
ในปี พ.ศ. ๒๕๖๔ มีสถานประกอบการผ่านการประเมินจากทัว่ ประเทศ จำ� นวน ๕๒๔ แหง่ ซ่งึ ทกุ แหง่ ทีผ่ า่ น
การประเมนิ จะไดร้ บั มอบตราสญั ลักษณเ์ ชดิ ชูเกียรติไว้เป็นหลกั ฐานด้วย

234 ๙๐ พรรษา บรมราชินนี าถ

ชนิดสธี รรมชาติทมี่ าจากพันธุ์ไม้
สีที่เราใช้กันในชีวิตประจ�ำวันทั้งสีท่ีผสมอาหารและสีย้อมผ้าได้มาจากการสังเคราะห์สารเคมี

และสีจากธรรมชาติ แต่สีสังเคราะห์หลายชนิด หากน�ำมาผสมอาหารจะเป็นอันตรายต่อร่างกาย
แตกต่างจากสีที่ได้จากธรรมชาติ ซ่ึงใช้ผสมอาหารได้ โดยไม่มีอันตราย และใช้เป็นสีย้อมผ้าท่ีให้สีสัน
สวยงาม สธี รรมชาตไิ ด้จากตน้ ไม้ในปา่ โดยไดจ้ ากบางสว่ นของตน้ ไม้ เชน่ ราก แก่น เปลือก ต้น ผล ดอก
เมล็ด ใบ เป็นต้น วัสดุเหล่าน้ีเป็นวัสดุจากธรรมชาติที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม โดยมีที่มาของสีจาก
ธรรมชาติ ดงั น้ี

สแี ดง ไดจ้ ากแก่นฝาง สเี หลอื ง ได้จาก แกน่ แขหรือ สีมว่ งออ่ น ได้จาก ลกู หวา้ สนี ำ้� ตาล ได้จาก เปลือกไม้
ลูกคำ� แสด เปลือกสมอ ครั่ง แกน่ แกแล แกน่ ขนนุ ต้นหมอ่ น ขมน้ิ โกงกาง เปลือกผลมังคุด
เปลอื กไมน้ มแมว แก่นสพุ รรณกิ าร์

ดอกกรรณิการ์ ดอกดาวเรอื ง

สคี ราม ได้จากรากและ ใบของ สีชมพู ไดจ้ าก ตน้ มหากาฬ สีด�ำ ไดจ้ าก ผลมะเกลอื สีเหลอื งอมสม้
ต้นคราม หรอื ต้นหอม ต้นฝาง ผลกระจาก ผลและเปลือกสมอ ไดจ้ ากดอกค�ำฝอย

สีตองอ่อน ไดจ้ าก เปลือกตน้ สสี ม้ ได้จาก เปลือกและรากยอ ดอก กากีแกมเหลอื ง ได้จาก หมากสง สีเขยี ว ไดจ้ าก เปลอื กต้นมะรดิ ไม้
มะพดู เปลือกผลทับทิม แก่น กรรณกิ าร์ (ส่วนทีเ่ ปน็ หลอดสสี ้ม) กบั แก่นแกแล ใบหกู วาง เปลอื กสมอ
แกแลและตน้ คราม ใบหกู วาง เมลด็ คำ� แสด ครามย้อมทับดว้ ยแถลง

เปลอื กและผลสมอพิเภก
ใบส้มป่อย และผงขม้ิน ใบแค

ใบสบั ปะรดออ่ น

พระมารดาแหง่ การค้มุ ครองความหลากหลายทางชีวภาพ 235

การถวายพระราชสมญั ญา

“พระมารดาแห่งการคุ้มครองความหลากหลายทางชีวภาพ”

“…เมอ่ื กอ่ นขา้ พเจา้ ยงั ไมป่ ระจกั ษอ์ ยา่ งถอ่ งแทถ้ งึ ความสญู เสยี ของทรพั ยากรปา่ ไมแ้ ละสตั วป์ า่
ของเรา แต่มาบัดนี้ ข้าพเจ้ารู้สึกยินดีอย่างยิ่งท่ีได้เห็นว่า เราหันมาต่ืนตัวในการอนุรักษ์มากขึ้น
จนถงึ กบั บรรจุลงในแผนพฒั นาแหง่ ชาติ แม้ว่ากว่าทเ่ี ราจะเร่มิ ตระหนักน้ันจะกนิ เวลาหลายสบิ ปี และ
สตั วป์ า่ รวมทง้ั พนั ธไ์ุ มซ้ ง่ึ เคยมอี ยใู่ นประเทศไทยเพยี งแหง่ เดยี วในโลกอยา่ งเชน่ เนอื้ สมนั ไดส้ ญู พนั ธไ์ุ ป
แล้วหลายชนิดก็ตาม แต่ความผิดพลาดเหล่านี้คงจะเป็นบทเรียนให้เราอนุรักษ์ต่อไปด้วยความ
รอบคอบและถกู หลักวธิ ยี ิง่ ขึ้น…”

พระราชด�ำรัส สมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ิติ์ พระบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนพี นั ปีหลวง
วันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๒๘

236 ๙๐ พรรษา บรมราชนิ ีนาถ

ในปี พ.ศ. ๒๕๕๓ สหประชาชาตไิ ดป้ ระกาศใหเ้ ปน็ ปสี ากลแหง่ ความหลากหลายทางชีวภาพภายใต้
ค�ำขวญั ท่วี า่ “Biodiversity is Life, Biodiversity is Our Life ความหลากหลายทางชวี ภาพคือชวี ติ และ
คอื ชีวิตของเรา” ในการนคี้ ณะรฐั มนตรีได้มมี ติ เมอ่ื วนั ที่ ๒๒ ธนั วาคม ๒๕๕๒ เห็นชอบให้ ปี พ.ศ. ๒๕๕๓
เป็นปีสากลแห่งความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย เพ่ือเป็นการร่วมเฉลิมฉลองและกระตุ้นให้
ประชาชนทกุ กลมุ่ และทกุ สาขาอาชพี ตระหนกั ในคณุ คา่ และความสำ� คญั ของความหลากหลายทางชวี ภาพ

สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง เม่ือทรงงานอยู่ใน
พ้ืนท่ีห่างไกลตัวเมือง ตามป่าเขา หรือบนดอยสูง ท่ัวประเทศ ทรงให้ความสนพระทัยกับธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมทุกอย่างท่ีได้ทอดพระเนตร ท้ังสภาพป่า ต้นไม้ ดอกไม้ สัตว์ป่า น�้ำตก ทิวทัศน์ที่สวยงาม
และชีวิตความเป็นอยู่ของชนพ้ืนบ้าน เพื่อที่จะหาทางอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติเหล่านี้ให้คงอยู่ เป็น
สมบัติของลูกหลานไทย โดยเฉพาะการอนุรักษ์ผืนป่าธรรมชาติให้คงอยู่ เพ่ือเป็นแหล่งต้นน�้ำล�ำธาร
ส�ำหรับการอุปโภค บริโภค และการเกษตร เกิดประโยชน์ทั้งชาวไทยภูเขา และชาวบ้านในพื้นล่าง ท่ัว
ประเทศอยา่ งย่ังยนื

สำ� นกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม โดยคณะกรรมการอนรุ กั ษแ์ ละใช้
ประโยชนค์ วามหลากหลายทางชวี ภาพแหง่ ชาติ จงึ ไดน้ ำ� เสนอตอ่ คณะรฐั มนตรขี อความเหน็ ชอบถวายพระ
ราชสมัญญา “พระมารดาแหง่ การคมุ้ ครองความหลากหลายทางชีวภาพ” เพ่ือเฉลมิ พระเกียรตเิ นอ่ื งใน
ปีสากลแห่งความหลากหลายทางชวี ภาพ

คณะรัฐมนตรี ในการประชมุ เมื่อวันท่ี ๙ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๓ ได้มมี ติ เห็นชอบการถวายพระราช
สมัญญา

“พระมารดาแหง่ การคมุ้ ครองความหลากหลายทางชวี ภาพ”
แดส่ มเดจ็ พระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนพี นั ปหี ลวง โดยไดป้ ระกาศพระ
ราชสมญั ญานามในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศและงานทวั่ ไป เลม่ ท่ี ๑๒๗ ตอนพิเศษ ๑๓๖ ง ลงวนั ที่
๒๖ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๓
ในการน้ี สำ� นกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มไดด้ ำ� เนนิ กจิ กรรมมาอยา่ ง
ต่อเนื่องเพื่อเทิดพระเกียรติพระมารดาแห่งการคุ้มครองความหลากหลายทางชีวภาพ ร่วมเฉลิมฉลอง
เผยแพร่ สรา้ งความตระหนกั และความเขา้ ใจ ในพระมหากรุณาธิคุณและพระราชกรณียกิจนานาประการ
ท่ที รงชว่ ยคมุ้ ครองความหลากหลายทางชวี ภาพ ทั้งพชื สตั ว์ และส่ิงแวดลอ้ มของประเทศไว้

พระมารดาแห่งการคุม้ ครองความหลากหลายทางชีวภาพ 237

กจิ กรรมนิทรรศการ เทดิ พระเกยี รตพิ ระมารดาแหง่ การคมุ้ ครองความหลากหลายทางชวี ภาพ

ส�ำนักงานนโยบายฯ ได้จัดนิทรรศการเทิดพระเกียรติ “พระมารดาแห่งการคุ้มครองความ
หลากหลายทางชีวภาพ” มาอย่างต่อเน่ือง เพ่ือน�ำเสนอพระราชกรณียกิจ และโครงการพระราชด�ำริที่
ช่วยคุ้มครองความหลากหลายทางชีวภาพ ตลอดจนให้ความรู้เก่ียวกับอนุสัญญาที่ว่าด้วยความ
หลากหลายทางชวี ภาพ ให้เปน็ ท่เี ข้าใจกันโดยท่ัวไป โดยจดั นทิ รรศการทัง้ ในและนอกประเทศ

กิจกรรม จัดทำ� หนังสอื เฉลมิ พระเกยี รติ

ส�ำนักงานนโยบายฯ ได้จัดท�ำหนังสือ “พระมารดาแห่งการคุ้มครองความหลากหลายทาง
ชีวภาพ” ในปี พ.ศ. ๒๕๕๕ เพื่อเผยแพร่พระเกียรติคุณและพระมหากรุณาธิคุณท่ีทรงมีต่อการคุ้มครอง
ความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศ

กจิ กรรม ประสานงานและดำ� เนินการตามพันธกรณีของอนุสญั ญาวา่ ดว้ ยความหลากหลายทาง
ชวี ภาพ

ส�ำนักงานนโยบายฯ ได้ท�ำหน้าท่ีเป็นหน่วยงานกลางของประเทศไทย รับหน้าที่ประสานการ
ด�ำเนินงานตามพันธกรณีของอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ เพื่อให้กิจกรรมที่เกี่ยวกับ
การคุ้มครอง อนุรักษ์ และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน ได้ขับเคลื่อนไปอย่าง
ตอ่ เนอื่ ง และเปน็ ไปในระดับนานาชาติ

กิจกรรม จัดทำ� แนวทางการขบั เคลอื่ นการจัดการพื้นทสี่ เี ขียวอยา่ งย่งั ยนื

พ้ืนที่สีเขียวน�ำมาซึ่งความหลากหลายทางชีวภาพและความหลากหลายของระบบนิเวศ แต่พ้ืนที่
สีเขียวมิได้มีเพียงผืนป่าเท่าน้ัน แต่ยังรวมถึงพ้ืนท่ีสีเขียวในเมืองด้วย ดังน้ัน การพัฒนาและฟื้นฟูความ
หลากหลายทางชีวภาพของประเทศ จ�ำเป็นท่ีจะต้องด�ำเนินการในพื้นที่สีเขียว ทั้งในป่าและในเมืองด้วย
เช่นกนั

ส�ำนักงานนโยบายฯ ได้จัดท�ำ “แนวทางการขับเคล่ือนและจัดการพื้นท่ีสีเขียวอย่างย่ังยืน”
เพื่อให้ภาคสว่ นตา่ ง ๆ ใช้เปน็ กรอบการด�ำเนนิ งานในระยะยาว ๒๐ ปี โดยได้กำ� หนดนิยาม และประเภท
ของพ้นื ท่สี ีเขียว รวมท้งั กำ� หนดให้ “ป่าไม”้ เป็น “พื้นทสี่ ีเขยี ว ประเภทพ้นื ทส่ี เี ขียวธรรมชาติ ซึ่งหมาย
รวมถงึ แหล่งน�้ำและพ้ืนท่ีชุม่ น�้ำ ด้วย” นอกจากนี้ ยงั ได้จดั ท�ำแผนปฏบิ ตั เิ พือ่ ขับเคลอื่ นการจัดการพน้ื ที่
สีเขียวอย่างยั่งยืน ในระยะ ๕ ปี และได้ก�ำหนดให้มีแผน “การบูรณาการความหลากหลายทางชีวภาพ

238 ๙๐ พรรษา บรมราชินีนาถ

กับพื้นที่สีเขียว” และ “การรักษาชนิดพันธุ์พืชและสัตว์ และความหลากหลายทางชีวภาพของท้องถ่ิน
ตามโครงการอนุรักษพ์ ันธกุ รรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม
ราชกมุ ารี” เปน็ หนง่ึ ในแนวทางปฏิบัติ

นอกจากนี้ ได้มีแผนพัฒนาพ้ืนที่ขนาดเล็กให้เป็นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจและสันทนาการ สร้าง
ความร่มร่ืน สดช่ืน แจ่มใส ลดมลพิษ ส่งเสริมให้คุณภาพส่ิงแวดล้อมดีขึ้น น�ำมาสู่สุขภาพอนามัยที่
แข็งแรงของประชาชนโดยรวม

ส�ำนักงานนโยบายฯ ได้ด�ำเนินการออกแบบตัวชี้วัดความหลากหลายทางชีวภาพในเมือง และ
ตัวชี้วัดอาเซียนด้านส่ิงแวดล้อม เพ่ือเป็นแนวทางการปฏิบัติให้คุณภาพชีวิตของชุมชนเมืองดีข้ึน โดยปี
พ.ศ. ๒๕๕๑ กรุงเทพมหานคร ได้รบั รางวลั อาเซยี นด้านสิ่งแวดลอ้ มเมืองทยี่ ั่งยนื นอกจากนี้ ในปีตอ่ ๆ มา
ยงั มจี งั หวดั ตา่ ง ๆ ไดร้ บั รางวลั ประเภทสงิ่ แวดลอ้ มดเี ดน่ อกี หลายจงั หวดั อาทิ เทศบาลนครภเู กต็ เทศบาล
นครพิษณุโลก เทศบาลนครเชียงราย เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด เทศบาลเมืองน่าน เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์
เทศบาลนครยะลา และเทศบาลเมอื งกระบ่ี

กิจกรรม อนุรักษ์พนั ธุกรรมพชื ในพืน้ ทปี่ า่ สาธารณประโยชน์บ้านทำ� นบ ใหเ้ กิดความย่งั ยนื
โดยการมสี ว่ นร่วมของประชาชน ตำ� บลกันตวจระมวล จังหวดั สรุ ินทร์

สำ� นกั งานนโยบายฯ ได้ด�ำเนินการรว่ มกบั เทศบาลตำ� บลกันตวจระมวล จงั หวดั สุรินทร์ ท่ีเข้าร่วม
โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริ (อพ.สธ.) เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการมี
สว่ นรว่ มของประชาชนในพน้ื ทป่ี า่ สาธารณประโยชน์ บา้ นทำ� นบ ตำ� บลกนั ตวจระมวล พน้ื ท่ีรวม ๕ ไร่ ๒
งาน เพอ่ื การอนรุ กั ษ์ ฟน้ื ฟู และปกปกั รกั ษาไวซ้ งึ่ ฐานทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละความหลากหลายทางชวี ภาพ
อันประกอบไปด้วย ป่าไม้ พันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์ ภูมิปัญญาท้องถ่ิน และสิ่งแวดล้อม น�ำไปสู่การจัดการ
ทรัพยากรอย่างยง่ั ยนื

พื้นที่ป่าบ้านท�ำนบแห่งนี้ ได้รับการออกแบบให้ด�ำเนินการอนุรักษ์ คุ้มครอง และฟื้นฟูด้วยการ
ปลูกป่า เพ่ือเพิ่มเติมแหล่งอาหาร และพืชสมุนไพรให้แก่ชุมชนท้องถ่ิน ส่งผลให้เกิดความมั่นคงด้าน
อาหารและพืชสมุนไพร อันเป็นส่วนหน่ึงของความม่ันคงด้านเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ สามารถใช้
ประโยชน์เพื่อตอบสนองความต้องการของชุมชนได้อย่างยั่งยืน และเกิดหย่อมป่าที่มีความอุดมสมบูรณ์ที่
เป็นแหลง่ อาศยั ของสตั ว์ปา่ นานาชนดิ

การมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ป่าของชุมชน ท�ำให้เกิดการเช่ือมโยงองค์ความรู้และภูมิปัญญา
ทอ้ งถนิ่ อย่างเป็นระบบ เกิดแหลง่ รวบรวมข้อมูลทรพั ยากร สามารถพัฒนาพ้นื ท่ใี ห้เปน็ แหล่งศกึ ษาเรียนรู้
ถงึ ความหลากหลายทางชวี ภาพตา่ ง ๆ ไมใ่ ห้สญู หาย นอกจากน้ี ความรว่ มมือของชาวบา้ นท่ีเข้ามามีส่วน
ร่วมในการดูแลรักษาทรัพยากรท้องถิ่น จะส่งผลให้ทรัพยากรท้องถิ่นได้รับการปกป้อง คุ้มครอง และ
ฟื้นฟูจนเกิดความอุดมสมบูรณ์ สามารถสร้างความม่ันคงด้านอาหารและด้านเศรษฐกิจของชุมชนได้
อยา่ งยั่งยืนต่อไป

พระมารดาแหง่ การคุ้มครองความหลากหลายทางชวี ภาพ 239

240 ๙๐ พรรษา บรมราชินนี าถ

“…เม่ือป่าหมดไป คนเราก็อยู่ไม่ได้ คนกับป่าจึงต้องอยู่ด้วยกัน คือ คนคอยดูแลรักษาป่า
และปา่ กจ็ ะอำ� นวยประโยชน์แก่คน เป็นการพึ่งพาอาศยั ซง่ึ กันและกนั …”

พระราชด�ำรัส สมเดจ็ พระนางเจ้าสิรกิ ิต์ิ พระบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนพี นั ปหี ลวง
วนั ท่ี ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๔๓

พระมารดาแห่งการค้มุ ครองความหลากหลายทางชวี ภาพ 241

242 ๙๐ พรรษา บรมราชินนี าถ

การบริหารจัดการพืน้ ทส่ี งิ่ แวดลอ้ มธรรมชาติ และการจัดทำ� ขอ้ มลู ทรัพยากรทอ้ งถิน่ ในพ้นื ท่ี
สง่ิ แวดลอ้ มธรรมชาติ น้�ำตกธารารักษ์ จังหวดั ตาก

แหล่งธรรมชาติประเภทน้�ำตก เป็นแหล่งธรรมชาติท่ีมีความส�ำคัญและมีความเชื่อมโยงกับระบบ
นิเวศภูเขาหลายระบบที่เป็นองค์ประกอบโดยรอบ อาทิ ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะโครงสร้างทาง
ธรณีวิทยา ระดบั ความสงู ประเภทของดนิ รวมถงึ ความอดุ มสมบูรณข์ องพชื พรรณต่าง ๆ ในแตล่ ะพืน้ ที่
และมีความแตกต่างกันออกไปตามภูมภิ าค โดยทรี่ ะบบนเิ วศนำ้� ตก เป็นระบบนเิ วศท่ีเปราะบางมาก จงึ มี
ความจ�ำเป็นอย่างยิ่งท่ีจะต้องวางแผนจัดการพื้นที่แหล่งธรรมชาติน�้ำตกนี้ไว้ เพ่ือดูแลรักษา ฟื้นฟู
สภาพแวดลอ้ ม และใช้ประโยชน์อย่างยงั่ ยนื

นำ�้ ตกธารารกั ษ์ ตงั้ อยใู่ นพนื้ ทบ่ี า้ นเจดยี โ์ คะ หมทู่ ี่ ๖ ตำ� บลมหาวนั อำ� เภอแมส่ อด จงั หวดั ตาก เปน็
พ้ืนทท่ี ม่ี ีทรพั ยากรชวี ภาพทหี่ ลากหลายและอดุ มสมบรู ณ์ รวมถึงทรพั ยากรทางวฒั นธรรม ภูมปิ ญั ญา และ
ปราชญ์ชาวบ้าน ของหมบู่ ้านใกลเ้ คยี ง ดังนั้น จงึ ตอ้ งมีการร่วมจัดท�ำแผนบริหารจัดการสงิ่ แวดล้อมน้�ำตก
ธารารักษ์ระหว่างส�ำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม กับชุมชนในท้องถ่ิน
เพ่ือร่วมกันด�ำเนินการอนุรักษ์และฟื้นฟูส่ิงแวดล้อมน�้ำตก และการใช้ประโยชน์อย่างย่ังยืน เน่ืองจาก
ในแตล่ ะปี มผี ู้มาเย่ียมชมนำ�้ ตกธารารักษ์เปน็ จ�ำนวนมาก การจดั การคุณภาพสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ จึงต้อง
รวมถึงการจดั การขยะและมลพษิ ในพื้นทบ่ี ริเวณน้�ำตกด้วย

แผนการบริหารจัดการส่ิงแวดล้อมน้�ำตกธารารักษ์ จะส่งผลให้ชุมชนได้ทราบถึงแนวทางในการ
อนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรน�้ำตกอย่างย่ังยืน และการจัดท�ำฐานข้อมูลทรัพยากรท้องถิ่น ยัง
เสริมสร้างศักยภาพชุมชนให้มีความรู้ในคุณค่าของทรัพยากร เกิดความหวงแหนในการรักษาทรัพยากร
ท้องถนิ่ สามารถน�ำข้อมลู ไปตอ่ ยอดเป็นต้นทนุ ทางเศรษฐกิจฐานรากของชมุ ชนไดอ้ ย่างย่ังยนื ต่อไป

พระมารดาแหง่ การคุ้มครองความหลากหลายทางชีวภาพ 243

244 ๙๐ พรรษา บรมราชินนี าถ

อุน่ บญุ ญาพระบารมี

ชาวไทย รวมใจมัน่ ทกุ วนั น้ี
ก็เพราะมี ส่งิ ทูนเทิด เลิศสูงส่ง
คอื พระแม่ มิง่ โมลี จกั รีวงศ์
ธ ผู้ทรง การณุ ยธรรม์ อนั รม่ เย็น

ทรงห่วงใย อาณา ประชาราษฎร์
ชนในชาติ ว่ามสี ขุ หรือทุกขเ์ ขญ็
ทกุ ถนิ่ กนั ดารแดน แสนล�ำเค็ญ
ทรงเล็งเหน็ ความเดอื ดร้อน ชว่ ยผ่อนปรน

น�ำ้ พระทัย พระเมตตา มหาศาล
ดุจสายธาร ใสสะอาด เฉกหยาดฝน
โปรยความช่นื ฉ�่ำทรวง แกป่ วงชน
ทกุ แห่งหน อุ่นบญุ ญา… พระบารมี

นายวรี ะชัย ณ นคร ประพนั ธ์
ในนามกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม

พระมารดาแหง่ การคุม้ ครองความหลากหลายทางชีวภาพ 245

บรรณานุกรม

คณิตา เลขะกุล, คุณหญิง (บรรณาธกิ าร). ๒๕๔๘. สมเด็จพระบรมราชนิ ีนาถกบั การอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ.
บริษทั ด่านสุทธาการพิมพ์ จ�ำกดั , กรงุ เทพฯ. ๒๐๐ หน้า.
ฐติ พิ ร ปงิ ยศ อญั ชลี นว่ มมี ศภุ ลกั ษณ์ ภมู คิ ง และสรุ างคร์ ชั ต์ อนิ ทะมสุ กิ . ๒๕๖๔. กลว้ ยไมไ้ ทย เทดิ ไทพ้ ระบรมราช
ชนนพี นั ปหี ลวง. เทดิ พระเกยี รติ ๘๙ พรรษา สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ์ิ พระบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนี
พนั ปหี ลวง ๑๒ สงิ หาคม ๒๕๖๔. องคก์ ารสวนพฤกษศาสตร์ กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม.
บรษิ ทั เชยี งใหม่ ดอคคิวเมนทารี ดไี ซน์ จำ� กดั , เชียงใหม่. ๓๒๐ หนา้ .
นพิ นธ์ พวงวรนิ ทร,์ ศาสตราจารย์ นายแพทย์ (บรรณาธกิ าร). ๒๕๔๗. วารสารราชบณั ฑติ ยสถาน ฉบบั เฉลมิ พระ
เกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ในโอกาสทรงเจริญพระชนมพรรษา ๗๒ พรรษา
๑๒ สิงหาคม ๒๕๔๗. ราชบณั ฑติ ยสถาน. บรษิ ัท อมรนิ ทรพ์ ร้ินต้ิงแอนด์ พับลิชช่ิง จำ� กัด (มหาชน),
กรงุ เทพฯ. ๕๐๐ หนา้ .
พงษ์ศักด์ิ ด้วงโยธา และคณะ. ๒๕๕๙. รักแม่ รักป่า ๘๔ พรรษา มหาราชินี. ส�ำนักสนองงานพระราชด�ำริ
กรมอทุ ยานแหง่ ชาติ สตั วป์ า่ และพนั ธพ์ุ ชื กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม. บรษิ ทั แพนดา้
พริ้นตง้ิ จ�ำกดั , กรุงเทพฯ. ๒๐๓ หนา้ .
รัชนี เอมะรุจิ (บรรณาธิการ). ๒๕๔๗. สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ กับการอนุรักษ์ทรัพยากร
ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. กรมส่งเสริมคุณภาพส่ิงแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่ิงแวดลอ้ ม. บริษัท อมรินทรพ์ ริน้ ติง้ แอนด์พบั ลชิ ช่งิ จ�ำกัด (มหาชน), กรงุ เทพฯ. ๖๐๐ หน้า.
วฒั น์ ทาบึงกาฬ และคณะ (บรรณาธิการ). ๒๕๕๕. พระมารดาแห่งการคุ้มครองความหลากหลายทางชีวภาพ.
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. โรงพิมพ์ สันติภาพ
แพ็คพรนิ๊ ท์ จ�ำกดั , กรุงเทพฯ. ๔๑๖ หน้า.
วีระชัย ณ นคร (บรรณาธิการ). ๒๕๔๔. รายงานการประชุมวิชาการเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้า
สิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ กับการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย. ๙–๑๐
สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๔๔. สวนพฤกษศาสตรส์ มเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ์ิ สำ� นกั นายกรฐั มนตร.ี หจก. นนั ทกานต์
กราฟฟคิ -การพมิ พ์, เชียงใหม่. ๑๕๐ หนา้ .
วรี ะชยั ณ นคร (บรรณาธิการ). ๒๕๔๖. รายงานการประชมุ วิชาการเฉลิมพระเกยี รติ สมเดจ็ พระนางเจ้าสิริกติ ์ิ
พระบรมราชนิ ีนาถ กับการอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาต.ิ ๘–๙ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๕. สวนพฤกษศาสตร์
สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ์ิ กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม. หจก. นนั ทกานต์ กราฟฟคิ -การพมิ พ,์
เชียงใหม,่ ๑๓๒ หนา้ .
วรี ะชยั ณ นคร (บรรณาธกิ าร). ๒๕๔๗. รายงานการประชมุ วชิ าการเฉลมิ พระเกยี รติ สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ์ิ
พระบรมราชินีนาถ กบั การอนรุ กั ษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม. ๓–๔ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๔๖
สวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.
วนดิ า เพรส, เชียงใหม.่ ๑๙๘ หน้า.

246 ๙๐ พรรษา บรมราชนิ ีนาถ

วรี ะชยั ณ นคร (บรรณาธกิ าร). ๒๕๔๘. รายงานการประชมุ วชิ าการเฉลมิ พระเกยี รติ สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ิ์
พระบรมราชนิ ีนาถ กับการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม. ๕–๖ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๔๗.
สวนพฤกษศาสตรส์ มเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ิ์ กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม. หจก. วนดิ า
การพิมพ,์ เชียงใหม.่ ๑๕๔ หนา้ .
วีระชัย ณ นคร. ๒๕๕๐. สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ กับการอนุรักษ์กล้วยไม้ไทยและทุ่ง
ดอกไมป้ า่ . ใน ๘๐ พรรษามหาราชนั ย.์ หนา้ ๑๒๓–๑๒๗. มลู นธิ สิ วนหลวง ร.๙. บรษิ ทั ดา่ นสทุ ธาการพมิ พ์
จำ� กดั , กรงุ เทพฯ.
วีระชัย ณ นคร. ๒๕๖๔. กัญชง (กัญชา) ความรู้เบื้องต้น : ชีววิทยาและเทคนิคการปลูก. สมาคม
พฤกษศาสตรใ์ นพระบรมราชินูปถมั ภ.์ บรษิ ทั ธรรมสาร จ�ำกดั , นนทบรุ ี, ๑๙๘ หนา้ .
วีระชัย ณ นคร และปราณี เอ้ือชูเกียรติ, คุณหญิง (บรรณาธิการ). ๒๕๔๗. สวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิฯ.
มูลนธิ สิ วนสมเดจ็ พระนางเจ้าสิรกิ ิตฯ์ิ , กรุงเทพฯ. ๒๕๓ หนา้ .
สมศักด์ิ ศุภรรัตน์ ธนากร พละชัย และนฤมล ร่ืนไวย์ (บรรณาธิการ). ๒๕๓๕. ป่ารักน�้ำ – ทางเลือกสู่การ
พัฒนาแบบย่งั ยนื . สมาคมไทยอเมรกิ ัน, ๒๒๗ หนา้ .
สทุ ธพิ งษ์ จลุ เจรญิ และวนั ดี กญุ ชรยาคง จลุ เจรญิ (บรรณาธกิ าร). ๒๕๖๔. ๘๘ พรรษา สมเดจ็ พระบรมราชนิ นี าถ
พระบรมราชชนนพี นั ปหี ลวง เรยี งรอ้ ยรกั จากใจไทยทง้ั ชาต.ิ กรมการพฒั นาชมุ ชน และสภาสมาคมสตรี
แห่งชาติในพระบรมราชินูปถัมภ์. บริษัทอมรินทร์พริ้นต้ิงแอนด์พับลิชช่ิง จ�ำกัด (มหาชน), กรุงเทพฯ.
๒๘๘ หนา้ .
สุวิทย์ ยอดมณี (บรรณาธิการ). ๒๕๓๕. สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถกับสิ่งแวดล้อม.
สำ� นกั งานเสรมิ สรา้ งเอกลกั ษณข์ องชาติ สำ� นกั เลขาธกิ ารนายกรฐั มนตร.ี บรษิ ทั ศริ วิ ฒั นาอนิ เตอรพ์ รนิ้ ท์
จ�ำกดั , กรงุ เทพฯ. ๒๐๐ หน้า.
สำ� นกั งานคณะกรรมการพเิ ศษเพอื่ ประสานงานโครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำ� ริ (สำ� นกั งาน กปร.). ๒๕๕๕.
๘๐ พรรษา ปวงประชา รม่ เยน็ เปน็ สขุ . บรษิ ทั สขุ มุ วทิ มเี ดยี มารเ์ กต็ ตง้ิ จำ� กดั , กรงุ เทพฯ. ๒๔๐ หนา้ .
องค์การสวนพฤกษศาสตร์. ๒๕๕๔. การบรรยายทางวิชาการเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ
พระบรมราชินีนาถ พระมารดาแห่งการคุ้มครองความหลากหลายทางชีวภาพ. ๙ สิงหาคม พ.ศ.
๒๕๕๔. กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม, เชียงใหม.่ ๓๗ หน้า.
Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning. 2012. Her Majesty
Queen Sirikit Mother of Thailand Biodiversity Protection. Ministry of Natural Resources and

Environment, Bangkok. 60 pp.
The National Identity Office, Office of the Prime Minister. 2008. QUEEN SIRIKIT: Glory of the
Nation. Amarin Printing and Publishing Company Limited, Bangkok. 468 pp.

พระมารดาแหง่ การค้มุ ครองความหลากหลายทางชีวภาพ 247

๙๐ พรรษา บรมราชนิ นี าถ พระมารดาแหง่ การคุ้มครองความหลากหลายทางชวี ภาพ

จดั พมิ พเ์ ฉลิมพระเกยี รติสมเดจ็ พระนางเจ้าสริ กิ ิต์ิ พระบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนีพนั ปีหลวง
เน่อื งในโอกาสมหามงคลเฉลมิ พระชนมพรรษา ๙๐ พรรษา ๑๒ สงิ หาคม ๒๕๖๕

ที่ปรกึ ษา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม
นายวราวธุ ศิลปอาชา ปลัดกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม
นายจตพุ ร บรุ ษุ พฒั น์ รองปลัดกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
นายจงคลา้ ย วรพงศธร

คณะอ�ำนวยการ
นายรัชฎา สุรยิ กุล ณ อยุธยา อธิบดกี รมอทุ ยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพนั ธ์พุ ชื
นายสรุ ชยั อจลบญุ อธบิ ดีกรมป่าไม้
นายโสภณ ทองด ี อธบิ ดกี รมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง่ั
นายพงศบ์ ุณย์ ปองทอง อธิบดกี รมทรพั ยากรธรณี
นายภาดล ถาวรกฤชรตั น์ อธบิ ดีกรมทรพั ยากรนำ้�
นายศกั ด์ิดา วเิ ชยี รศิลป ์ อธิบดกี รมทรพั ยากรน้�ำบาดาล
นายอรรถพล เจรญิ ชนั ษา อธบิ ดีกรมควบคมุ มลพษิ
นายเฉลิมชัย ปาปะทา อธบิ ดีกรมส่งเสริมคณุ ภาพสง่ิ แวดล้อม
นายพริ ณุ สัยยะสิทธิ์พานิช เลขาธกิ ารส�ำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ
และส่งิ แวดล้อม
นายสุกจิ จันทรท์ อง ผอู้ ำ� นวยการองคก์ ารอตุ สาหกรรมป่าไม้
นายอรรถพร ศรีเหรญั ผ้อู �ำนวยการองค์การสวนสัตว์แหง่ ประเทศไทย
นายพรชยั หาญยืนยงสกลุ รักษาการผ้อู �ำนวยการองค์การสวนพฤกษศาสตร์
นายเกียรตชิ าย ไมตรีวงษ์ ผอู้ ำ� นวยการองค์การบรหิ ารจัดการก๊าซเรอื นกระจก
นางสุวรรณา เตียรถส์ วุ รรณ ผ้อู ำ� นวยการส�ำนกั งานพัฒนาเศรษฐกจิ จากฐานชีวภาพ
นายอำ� นาจ ทองเบญ็ ญ ์ ผู้เชีย่ วชาญพเิ ศษดา้ นทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม

248 ๙๐ พรรษา บรมราชินนี าถ


Click to View FlipBook Version