The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พระมารดาแห่งการคุ้มครองความหลายหลายทางชีวิภาพ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jiraporn.van, 2022-07-20 01:17:15

90 พรรษา บรมราชินีนาถ

พระมารดาแห่งการคุ้มครองความหลายหลายทางชีวิภาพ

Keywords: พระมารดาแห่งการคุ้มครองความหลายหลายทางชีวิภาพ

เสดจ็ ฯ โครงการบา้ นเล็กในปา่ ใหญ่ตามพระราชด�ำรดิ อยด�ำ จังหวดั เชยี งใหม่ วันท่ี ๑๗ มีนาคม ๒๕๔๖

โครงการบา้ นเลก็ ในปา่ ใหญ่

โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริอีกโครงการหนึ่ง ท่ีแสดงให้เห็นถึงความใส่พระทัยด้านการ
อนรุ กั ษป์ า่ ไม้ และทรงหว่ งใยชวี ติ ความเปน็ อยขู่ องคนในพน้ื ทเ่ี ปน็ อยา่ งมากกค็ อื โครงการบา้ นเลก็ ในปา่ ใหญ่
ซึง่ พระองค์ไดพ้ ระราชทานพระราชด�ำริในจดั ต้ังคร้งั แรกทบี่ า้ นหว้ ยไม้หก อำ� เภออมก๋อย จงั หวัดเชียงใหม่
เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๔ “โครงการบ้านเล็กในปา่ ใหญ่บา้ นห้วยไมห้ ก”

แนวพระราชด�ำริหลักในการเป็นโครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่ เพ่ือรักษาสภาพป่าท่ีสมบูรณ์ไม่ให้
ถูกท�ำลาย ฟื้นฟูสภาพป่าท่ีถูกท�ำลายให้คืนสู่สภาพธรรมชาติ โดยให้มีท้ังป่าธรรมชาติและป่าไม้ใช้สอย
และการพัฒนาคุณภาพชีวิตราษฎรให้ดีข้ึน ให้มีอาชีพและที่ท�ำกินเป็นหลักแหล่ง โดยไม่ให้ได้รับความ
เดือดร้อน เพ่ือให้ “คน” กับ “ป่า” อยู่ร่วมกันอย่างกลมกลืนในลักษณะ “บ้านเล็กในป่าใหญ่” โดยให้
ราษฎรเป็นผู้รักษาป่า” ซึ่งกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ได้ร่วมสนองพระราชด�ำริ จ�ำนวน
๖ โครงการ ได้แก่ โครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่ตามพระราชด�ำริ ดอยฟ้าห่มปก จังหวัดเชียงใหม่
โครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่ตามพระราชด�ำริดอยด�ำ จังหวัดเชียงใหม่ โครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่ตาม
พระราชด�ำริจังหวัดนครพนม โครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่ตามพระราชด�ำริบ้านหนองห้า จังหวัดพะเยา
โครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่บ้านห้วยหญ้าไซ จังหวัดเชียงราย และโครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่ตาม
พระราชด�ำรจิ ังหวดั ก�ำแพงเพชร

พระมารดาแหง่ การคมุ้ ครองความหลากหลายทางชวี ภาพ 149

เสดจ็ ฯ โครงการบา้ นเลก็ ในป่าใหญ่ตามพระราชดำ� รดิ อยด�ำ จังหวดั เชยี งใหม่ วันที่ ๒๑ มกราคม ๒๕๔๕

โครงการบา้ นเลก็ ในปา่ ใหญต่ ามพระราชดำ� ริดอยด�ำ จังหวดั เชยี งใหม่
สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ทรงมีพระราชด�ำริ

เมื่อวนั ท่ี ๒๑ มกราคม ๒๕๔๕ ให้จัดต้งั โครงการ “บ้านเล็กในป่าใหญ่” ขึน้ ในบรเิ วณพน้ื ทด่ี อยดำ� ตำ� บล
เมอื งแหง อ�ำเภอเวียงแหง จังหวัดเชยี งใหม่ โดยคดั เลอื กราษฎรยากจน ไมม่ ที ี่ทำ� กนิ ไมม่ ที ีอ่ ยู่อาศัย ขยัน
และไม่ยุ่งเก่ียวกับยาเสพติด เข้ามาอยู่อาศัยในพื้นที่ โดยสร้างบ้านพัก จัดท่ีดินท�ำกินให้ และมอบหน้าที่
ให้ราษฎรที่เข้ามาอยู่อาศัยในโครงการ ดูแล รักษา และปลูกป่าฟื้นฟูพ้ืนที่ต้นน�้ำล�ำธาร ในพ้ืนท่ีดอยด�ำ
และพ้ืนทใ่ี กล้เคยี ง พร้อมท้ังทำ� หนา้ ที่เสมือนยามเฝ้าระวังชายแดนดว้ ย นอกจากนี้ ยังทรงมพี ระราชดำ� ริ
เพ่มิ เตมิ เมอ่ื วนั ท่ี ๑๓ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๔๙ ใหข้ ยายการเล้ียงปลาเพมิ่ ใหด้ อยดำ� เป็นศูนยป์ ลาเทราส์ของ
โครงการพระราชด�ำริ และให้หาปลาที่เลี้ยงได้ดีในท่ีท่ีมีอากาศหนาว รับประทานอร่อย มาให้ชาวบ้าน
ท�ำให้โครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่ตามพระราชด�ำริดอยด�ำ เป็นศูนย์กลางการเล้ียงปลาเมืองหนาว ท่ี
สามารถน�ำออกมาเป็นสินค้าในรูปแบบต่าง ๆ ท่ีสร้างรายได้ท่ีสูง นับเป็นต้นแบบท่ีจะน�ำไปขยายผลเพ่ือ
ประโยชนต์ ่อประเทศชาตแิ ละประชาชน

150 ๙๐ พรรษา บรมราชนิ ีนาถ

เสด็จฯ โครงการบา้ นเล็กในป่าใหญ่ตามพระราชดำ� ริบ้านหนองหา้ จงั หวัดพะเยา วันที่ ๑๙ มนี าคม ๒๕๔๖

โครงการบา้ นเลก็ ในปา่ ใหญ่ตามพระราชดำ� ริบา้ นหนองหา้
จังหวดั พะเยา

เมือ่ วนั ท่ี ๒๘ มกราคม ๒๕๔๕ สมเดจ็ พระนางเจา้ สิริกติ ิ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี
พันปีหลวง พร้อมด้วยพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชด�ำเนินทอดพระเนตรพ้ืนที่
แนวชายแดนไทย–สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว บริเวณดอยยอดห้วยน้�ำลาว บ้านหนองห้า
ต�ำบลร่มเย็น อ�ำเภอเชียงค�ำ จังหวัดพะเยา พบว่าพ้ืนท่ีบริเวณดังกล่าวถูกบุกรุกแผ้วถางป่าเป็นพื้นที่
กว้าง บางส่วนของพ้ืนท่ีมีการปลูกพืชเสพติด ประกอบกับมีปัญหาด้านความม่ันคงตามแนวชายแดน
พระองค์จึงได้มีพระราชด�ำริให้ร่วมกันแก้ไขปัญหา ประกอบกับมีราษฎรชาวไทยภูเขาเผ่าต่าง ๆ ได้เคย
ถวายฎีการ้องทุกข์ ขอพระราชทานความช่วยเหลือเร่ืองท่ีท�ำกินเป็นจ�ำนวนมาก จึงมีพระราชด�ำริท่ีจะให้
ราษฎรเหล่าน้ันเข้ามาช่วยฟื้นฟูสภาพป่าบริเวณบ้านหนองห้า เพื่ออนุรักษ์แหล่งต้นน�้ำล�ำธาร โดย
ด�ำเนินการขอพื้นท่ีกรมป่าไม้ จัดท�ำเป็น “โครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่” เพื่อให้คนอยู่ร่วมกับป่าได้อย่าง
ผสมกลมกลนื โดยคนเป็นผูพ้ ิทักษ์รักษาป่า และป่าให้ความร่มเย็น เปน็ แหลง่ ผลิตอาหารของคน

พระมารดาแห่งการคุ้มครองความหลากหลายทางชวี ภาพ 151

เสด็จฯ โครงการบ้านเล็กในปา่ ใหญ่ตามพระราชด�ำริบ้านหนองหา้ จงั หวดั พะเยา วันที่ ๒๖ มกราคม ๒๕๔๙

ปัจจุบันโครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่ตามพระราชด�ำริบ้านหนองห้า จังหวัดพะเยา จากสภาพป่า
ที่ถูกบุกรุกท�ำลายได้กลับคืนสู่สภาพป่าอุดมสมบูรณ์ โดยการปลูกและบ�ำรุงป่า จ�ำนวนกว่า ๓,๘๕๐ ไร่
การเป็นแหล่งต้นน้�ำล�ำธาร มีปริมาณน้�ำเพียงพอต่อการอุปโภคบริโภค จากการจัดท�ำฝายชะลอความชุ่ม
ชื้น ราษฎรมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น จากการส่งเสริมเร่ืองการปลูกกาแฟ สตรอเบอร่ี การส่งเสริมงานด้าน
ศิลปาชพี เครื่องเงนิ และผ้าทอ ท�ำใหร้ าษฎรในพ้นื ท่ีโครงการมรี ายได้เพมิ่ ขน้ึ

152 ๙๐ พรรษา บรมราชินีนาถ

เสด็จฯ ฟารม์ ตัวอยา่ งตามพระราชด�ำริบา้ นขุนแตะ จังหวัดเชียงใหม่ วนั ท่ี ๒๗ มกราคม ๒๕๔๒

ฟาร์มตัวอยา่ ง

“…ท่ีฉันท�ำฟาร์มตัวอย่างนี้ เพื่อสอนชาวบ้านให้สะสมอาหารเพ่ิมข้ึน จะได้ไม่มีปัญหาเร่ือง
อาหารการกนิ และทำ� ฟารม์ ตวั อยา่ ง และอยา่ งท่ี ๒ คอื ตอ้ งการใหท้ กุ ๆ คน ทข่ี ้าพเจา้ พบปะ ได้มอี าชพี
มที างทำ� มาหากิน คอื รับเขาเขา้ มาแลว้ จ่ายเงินใหเ้ ขาเปน็ ลกู จ้างในฟาร์มฯ เวลาเดียวกัน เขาก็เหน็ วธิ ี
เล้ียงเป็ด เล้ียงแกะ เล้ียงอะไรทั้งหลายอย่าง ได้เงินและได้ค่าจ้างทุกวัน ข้าพเจ้าก็บอกว่าต้องการคน
งานมาก ๆ เพื่อใหช้ าวเขาเหลา่ น้ีไดม้ งี านท�ำ…”

พระราชด�ำรสั สมเด็จพระนางเจา้ สิริกติ ิ์ พระบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนพี นั ปหี ลวง
ณ ศาลาดสุ ดิ าลยั วนั ที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๔๖

พระมารดาแหง่ การคมุ้ ครองความหลากหลายทางชีวภาพ 153

เสดจ็ ฯ ฟารม์ ตัวอยา่ งตามพระราชด�ำรบิ า้ นขุนแตะ จงั หวัดเชยี งใหม่ วนั ท่ี ๒๘ มกราคม ๒๕๔๓

คร้ังหน่งึ สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ ิกิติ์ พระบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนีพันปหี ลวง เคยรับสงั่ ถึง
เร่อื งการว่าจ้างแรงงานกับผูถ้ วายงานทกุ คนวา่ “…อย่ามาพูดเรอ่ื งก�ำไรขาดทุนกับฉันนะ ฉันตอ้ งการให้
คนจนมงี านทำ� มาก ๆ ขาดทนุ ของฉันคอื กำ� ไรของแผ่นดนิ เพราะการท่ที ำ� ใหค้ นยากจนในชมุ ชนนน้ั ๆ
มีงานท�ำ พวกเขามีรายได้ มีเงินเล้ียงครอบครัว ไม่ต้องไปเป็นโจร ไม่ต้องไปเป็นขโมย ไม่ต้องไปยุ่ง
เกีย่ วกบั ยาเสพตดิ ไม่ตดั ไมท้ �ำลายป่า ไมไ่ ปเผาป่า ต�ำบลนั้น อ�ำเภอนน้ั จงั หวดั น้ัน สิ่งนัน้ กค็ ือก�ำไร
ของแผ่นดิน…” ราษฎรบ้านขุนแตะล้วนส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณท่ีสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ
พระบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนพี นั ปีหลวง ได้พระราชทานโครงการฟาร์มตวั อยา่ งตามพระราชด�ำริ
บ้านขุนแตะ ท�ำให้เกิดการพัฒนาคุณภาพชีวิตของราษฎรที่เคยมีฐานะยากจน เป็นพื้นท่ีการปลูกฝิ่น
ทุรกันดาร ขาดแคลนข้าวบริโภค บางครอบครัวไม่มีพื้นที่ท�ำนา เน่ืองจากพื้นท่ีเป็นภูเขาสูง แสงแดดไม่
ค่อยทั่วถึง ปัจจุบัน ชาวบ้านมีข้าวบริโภคเพียงพอ มีพ้ืนที่ส�ำหรับปลูกข้าว จากกิจกรรมนาแลกป่า ท่ี
หน่วยงานเข้าไปช่วยขุดนาข้ันบันไดในพ้ืนที่ท�ำกินเดิมของราษฎร เปลี่ยนรูปแบบการท�ำนาแบบข้าวไร่มา
เปน็ การปลกู นาด�ำ ทำ� ให้ผลผลติ เพ่ิมมากขน้ึ และได้พน้ื ที่กลับมาปลกู ปา่ เพ่มิ ขนึ้ ด้วย สภาพป่าบ้านขุนแตะ
มคี วามอดุ มสมบรู ณ์ เปน็ ตน้ นำ�้ ลำ� ธารทไ่ี หลลงไปหลอ่ เลยี้ งผคู้ นในพนื้ ทดี่ า้ นลา่ ง เปน็ ทอ่ี ยอู่ าศยั ของสตั วป์ า่
อนั เปน็ ผลมาจากการทีร่ าษฎรให้ความรว่ มมือ ช่วยกันดแู ลป่า ไม่บกุ รุกขยายพ้ืนท่ที ำ� กนิ

154 ๙๐ พรรษา บรมราชินีนาถ

พิธีพระราชทานธง ณ พระต�ำหนักทักษณิ ราชนิเวศน์ จังหวดั นราธิวาส วนั ท่ี ๒๙ กนั ยายน ๒๕๔๗

โครงการราษฎรอาสาสมคั รพทิ กั ษ์ปา่ (รสทป.)

พระราชปณธิ านของสมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ์ิ พระบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนพี นั ปหี ลวง ทที่ รง
มีพระราชประสงค์ให้ “คน” กบั “ปา่ ” อยู่ร่วมกันไดอ้ ยา่ งสนั ติสขุ โดยพ่งึ พาอาศัยซง่ึ กนั และกนั ทีจ่ ะท�ำให้เกดิ
การพิทักษ์ อนรุ กั ษ์ และฟ้นื ฟสู ภาพปา่ ใหค้ งประโยชน์ อยา่ งย่ังยนื ได้ พระราชด�ำรินี้ ทำ� ใหร้ าษฎรทุกคนต่าง
ส�ำนกึ ในพระมหากรณุ าธิคณุ ไดร้ ว่ มแรงร่วมใจกนั อนรุ ักษท์ รัพยากรปา่ ไม้ใกล้ชมุ ชน เป็นผลให้ป่าไม้ในภาค
ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื เรม่ิ รกั ษาไวไ้ ดม้ ากขน้ึ จงึ ไดพ้ ระราชทานแนวพระราชดำ� รใิ หร้ าษฎรอยรู่ ว่ มกบั ปา่ ไมอ้ ยา่ ง
สันติสุข พึ่งพาอาศัยซ่ึงกันและกัน โดยชุมชน/หมู่บ้าน ได้มีการจัดตั้งองค์การในการร่วมกันดูแลรักษาป่า
และสภาพแวดลอ้ ม แหล่งตน้ น้�ำล�ำธาร

เพอ่ื เปน็ การสนองพระราชปณธิ านดงั กลา่ ว จงึ ไดม้ โี ครงการฝกึ อบรมราษฎร เพอื่ จดั ตงั้ เปน็ มวลชน
ราษฎรอาสาสมคั รพทิ ักษป์ ่า ซง่ึ สมเดจ็ พระนางเจา้ สิรกิ ติ ์ิ พระบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนพี ันปหี ลวง ได้
ทรงทราบและใหค้ วามสนพระทยั เปน็ อยา่ งยงิ่ ไดม้ พี ระมหากรณุ าธคิ ณุ พระราชทานทรพั ยส์ ว่ นพระองคใ์ ห้
ดำ� เนนิ การฝกึ อบรม โดยปรบั ใชช้ อื่ โครงการใหมว่ า่ “โครงการฝกึ อบรมราษฎรอาสาสมคั รพทิ กั ษป์ า่ (รสทป.)”

พระมารดาแหง่ การค้มุ ครองความหลากหลายทางชีวภาพ 155

เสดจ็ ฯ หน่วยจดั การตน้ น้�ำแมส่ ะงะ จงั หวดั เชยี งใหม่ วันท่ี ๒–๓ มนี าคม ๒๕๔๓

ด้วยสายพระเนตรท่ีกว้างไกลของสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวง ทรงเล็งเห็นถึงคุณค่าของ
ธรรมชาตแิ ละความสำ� คญั ทมี่ ตี อ่ ชวี ติ มนษุ ย์ อกี ทง้ั ทรงตระหนกั ดวี า่ สภาพแวดลอ้ มและทรพั ยากรธรรมชาติ
ของประเทศกำ� ลงั ถกู ท�ำลายลงอยา่ งน่าเป็นห่วง จงึ ทรงพยายามท่ีจะใหร้ าษฎรมคี วามผกู พันกับธรรมชาติ
และทรัพยากรตา่ ง ๆ ทัง้ พนั ธุพ์ ืช ป่าไม้ และสัตวป์ า่ ดงั จะเหน็ ได้จากพระราชกรณียกจิ ทเ่ี สด็จพระราช
ดำ� เนนิ ไปทรงงานตามอทุ ยานแหง่ ชาตติ า่ ง ๆ เพราะทรงเหน็ ถงึ ความสำ� คญั ของอทุ ยานแหง่ ชาติ ซงึ่ อดุ มไป
ด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ ท้ังอ�ำนวยประโยชน์เป็นแหล่งอาหาร ยารักษาโรค ท่ีอยู่อาศัย และ
เครอื่ งนงุ่ หม่ โดยเฉพาะยงั เปน็ แหลง่ ตน้ นำ้� ทชี่ ว่ ยหลอ่ เลย้ี งทกุ ชวี ติ บนผนื ดนิ เปน็ แหลง่ ศกึ ษาวจิ ยั พชื พรรณ
เปน็ สถานทท่ี อ่ งเทยี่ วพกั ผอ่ นหยอ่ นใจ เปน็ แหลง่ เรยี นรทู้ างธรรมชาตใิ หแ้ กเ่ ยาวชนและประชาชนทวั่ ไป ทงั้
ยังเป็นแหลง่ สร้างรายไดใ้ ห้แก่ประชาชนในท้องถ่ินอกี ด้วย

เสดจ็ ฯ อทุ ยานแห่งชาติหว้ ยน�้ำดงั จังหวัดเชียงใหม่ วนั ที่ ๒๔–๒๕ มีนาคม ๒๕๔๐

156 ๙๐ พรรษา บรมราชินนี าถ

เสดจ็ ฯ อทุ ยานแหง่ ชาติภูกระดึง จังหวดั เลย วนั ที่ ๒๒ ธนั วาคม ๒๕๓๕

ในการเสด็จพระราชด�ำเนินไปทรงงานในพื้นท่ีอุทยานแห่งชาติต่าง ๆ ก็เพ่ือสร้างความสัมพันธ์
ระหว่างคนกบั ปา่ ใหร้ าษฎรไดม้ สี ว่ นรว่ มในการดูแลรกั ษาปา่ ให้มคี วามรกั ความผกู พันกับธรรมชาติ และ
ช่วยฟื้นฟูทรัพยากรดิน น้�ำ ป่าไม้ ให้คนอยู่ร่วมกับป่า และป่าอยู่ร่วมกับคนได้อย่างพึ่งพาอาศัยกันอย่าง
สมดุล ดังจะเห็นได้จากที่พระองค์ทรงเสด็จพระราชด�ำเนินไปปฏิบัติพระราชกรณียกิจ ท้ังท่ีโดยเสด็จ
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร หรือเสด็จด้วย
พระองคเ์ องในพน้ื ทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาตติ า่ ง ๆ ทวั่ ประเทศ ทรงพำ� นกั ในเรอื นทป่ี ระทบั ในอทุ ยานแหง่ ชาตหิ ลาย
แห่ง อาทิ อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ อุทยานแห่งชาติภูเรือ อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ทุกคร้ังท่ี
เสด็จฯ จะทรงเยี่ยมชาวบ้าน พระราชทานสิ่งของต่าง ๆ อาทิ ผ้าห่มกันหนาว เส้ือผ้า ขนม พันธุ์พืช
พันธ์ุสัตว์ ฯลฯ แลว้ ยงั ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ใหแ้ พทยห์ ลวงและพยาบาลซ่ึงตามเสด็จฯ ท�ำการตรวจ
รักษาและให้ยารักษาโรคแก่ชาวบ้าน พระราชทานค�ำแนะน�ำแก่ชาวบ้านและหน่วยงานท่ีเฝ้ารับเสด็จฯ
เกย่ี วกบั การรกั ษาพ้ืนดนิ และการใชป้ ุ๋ยในการปลูกผกั การให้หน่วยงานส่งเสรมิ การปลูกต้นไม้ ไมผ้ ลเมอื ง
หนาว อนั เปน็ การชว่ ยเหลอื ชาวบ้านในการปรับเปลี่ยนการทำ� ไร่เลอื่ นลอยมาเปน็ ไร่แบบถาวร เปน็ ต้น

พระมารดาแหง่ การคมุ้ ครองความหลากหลายทางชวี ภาพ 157

๙๐ พรรษา บรมราชินนี าถ กับงานปา่ ไม้

“...ทดลองให้คนอยู่กับป่าอย่างย่ังยืน โดยให้ราษฏรผู้เข้าร่วมโครงการฯ มีหน้าท่ีรักษาป่า
และปลูกปา่ เพอ่ื การใชส้ อยของชุมชน...”

พระราชด�ำรัส สมเดจ็ พระนางเจ้าสริ ิกิติ์ พระบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง
วันที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๔๔

158 ๙๐ พรรษา บรมราชนิ นี าถ

สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ทรงตระหนักถึง
ความส�ำคัญของทรัพยากรป่าไม้ และทรงมีพระราชปณิธานในการพัฒนาทรัพยากรป่าไม้ ดังพระราช
เสาวนีย์ท่ีพระราชทานไว้ว่า “…พระเจ้าอยู่หัวเป็นน�้ำ ฉันจะเป็นป่า ป่าที่ถวายความจงรักภักดีต่อน้�ำ
พระเจ้าอยู่หัวสร้างอ่างเก็บน�้ำ ฉันจะสร้างป่า…” ทรงมีพระราชด�ำริให้จัดต้ังโครงการอันเนื่องมาจาก
พระราชด�ำริหลายโครงการในหลายพ้ืนท่ี อาทิ โครงการพัฒนาพื้นท่ีบริเวณหนองอึ่งอันเน่ืองมาจาก
พระราชด�ำริ จังหวัดยโสธร โครงการศูนย์พัฒนาการเกษตรภูสิงห์ จังหวัดศรีสะเกษ โครงการธนาคาร
อาหารชุมชนอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ และโครงการธนาคารฟืนอันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริ จังหวัด
แม่ฮ่องสอน ซึ่งแนวทางในการด�ำเนินงานของแต่ละโครงการล้วนมุ่งให้ราษฎรมีชีวิตความเป็นอยู่ท่ีดีข้ึน
อยรู่ ว่ มกบั ธรรมชาตไิ ดอ้ ย่างเกือ้ กูลและย่ังยืน

พระมารดาแห่งการคุม้ ครองความหลากหลายทางชีวภาพ 159

โครงการพัฒนาพ้นื ทบ่ี ริเวณหนองอ่งึ อนั เนื่องมาจากพระราชดำ� ริ
จังหวดั ยโสธร

วันท่ี ๒๘ พฤศจกิ ายน ๒๕๔๓ สมเด็จพระนางเจา้ สิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชนิ ีนาถ พระบรมราชชนนี
พันปีหลวง เสด็จพระราชด�ำเนินพร้อมด้วยพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว เม่ือคร้ังด�ำรงพระราช
อิสริยยศ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงเยี่ยมราษฎรบ้านค�ำน้�ำสร้าง ต�ำบลค้อ
เหนอื อ�ำเภอเมือง จงั หวดั ยโสธร ซง่ึ ไดร้ บั ผลกระทบจากน้�ำท่วม

สมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวง ได้พระราชทานพระราชด�ำริให้หน่วยงานราชการต่าง ๆ
หาทางช่วยเหลือเรอ่ื งปากทอ้ งของราษฎรในพน้ื ทซ่ี ึง่ เป็นหมู่บ้านยากจน

ในวันเดียวกัน พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จพระราชด�ำเนินไปทอดพระเนตร
สภาพบริเวณหนองอ่ึง ในพ้ืนท่ีบ้านท่าเย่ียม ต�ำบลค้อเหนือ และมีพระราชด�ำริเกี่ยวกับการพัฒนาและ
ปรับปรุงพื้นที่เพื่อช่วยเหลือราษฎรหลายประการ โดยให้ปรับปรุงขุดลอกหนองอึ่ง เพ่ือเป็นแหล่งน้�ำ
สำ� หรับท�ำการเกษตรและแหล่งเพาะพันธปุ์ ลา ให้พัฒนาและปรับปรงุ พื้นทีแ่ ละสภาพดินโดยรอบหนององึ่
ปลกู หญา้ แฝก และต้นไม้ เพ่อื ปอ้ งกนั การชะลา้ งหนา้ ดนิ และให้ฟ้ืนฟูสภาพปา่ โดยรวม เพอื่ ให้คนกับปา่
ได้อยู่กนั อย่างเก้ือกลู

กรมปา่ ไม้ ไดร้ บั สนองพระราชด�ำริ ตัง้ แต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๔ โดยเร่ิมดำ� เนนิ การขอคืนพน้ื ที่ป่าดงมนั
ตำ� บลคอ้ เหนอื ซง่ึ เปน็ พนื้ ทส่ี าธารณประโยชนท์ ถี่ กู บกุ รกุ นำ� มาจดั ตง้ั เปน็ ปา่ ชมุ ชน สำ� เรจ็ ในปี พ.ศ. ๒๕๔๖
แล้วด�ำเนินการแบ่งป่าออกเป็น ๗ ผืน ให้ดูแลโดย ๗ หมู่บ้าน มีการจัดต้ังคณะกรรมการป่าชุมชน
วางระเบียบ กฎ กตกิ า การใช้ประโยชน์ปา่ ชมุ ชนดงมัน จนไดร้ บั รางวลั ชมุ ชนอนรุ ักษ์ทรพั ยากรปา่ ไมด้ เี ดน่
ตามโครงการธงพิทักษ์ปา่ เพอ่ื รักษาชวี ิต ประจำ� ปี พ.ศ. ๒๕๔๗

160 ๙๐ พรรษา บรมราชินีนาถ

เพ่ือสร้างให้ชุมชนในพ้ืนที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน โครงการฯ ได้ขอความร่วมมือจากคณะ
อุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ด�ำเนินการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารจากป่าชุมชน และ
แปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารท้องถิ่น ได้ผลติ ภณั ฑต์ วั อยา่ ง อาทิ เห็ดโคนในน�้ำเกลอื เห็ดเผาะในนำ้� เกลือ ไข่มด
แดงในน้�ำเกลือ แม่เป้งคั่วเกลือ แมลงจิ้งหรีด/กระชอน/จินายคั่วเกลือ โดยสามารถจ�ำหน่ายให้กับ
ร้านอาหารได้เงินจ�ำนวนประมาณ ๑๕๐,๐๐๐ บาทต่อปี และได้ด�ำเนินกิจการแปรรูปอาหารจากป่า
ชุมชน ภายใต้เคร่ืองหมายการค้า “วนาทิพย์” ได้รับอนุญาตสถานท่ีผลิตอาหารตามพระราชบัญญัติ
อาหาร พ.ศ. ๒๕๒๒ ครั้งท่ี ๑ ในปี พ.ศ. ๒๕๔๗ และข้ึนทะเบยี นต�ำหรบั อาหาร (อย.) ในปี พ.ศ. ๒๕๔๘

พระมารดาแห่งการคมุ้ ครองความหลากหลายทางชีวภาพ 161

ต่อมาได้พัฒนาวิสาหกิจชุมชนขึ้นเป็นสหกรณ์การเกษตร ในโครงการพัฒนาพ้ืนท่ีหนองอ่ึงอัน
เน่ืองมาจากพระราชด�ำริ และผลิตภัณฑ์วนาทิพย์ซึ่งเป็นผลผลิตโอท็อปชุมชน ได้พัฒนาคุณภาพเป็น
โอทอ็ ประดบั หา้ ดาวของจงั หวดั ยโสธร และไดป้ รบั ปรงุ มาตรฐานการผลติ จนไดร้ บั อนญุ าตเปน็ โรงงานผลติ
อาหารในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ และยังได้จดั ทำ� ข้อตกลงความร่วมมือกบั บริษทั สยามแม็คโคร จ�ำกัด (มหาชน)
เพื่อช่วยจ�ำหน่ายผลติ ภัณฑ์ของสหกรณฯ์

สำ� หรบั การฟื้นฟสู ภาพปา่ ดงมัน ท่แี ห้งแลง้ วิกฤติ ดินเปน็ ดินทรายจัด มีพรรณไม้เดิม ไดแ้ ก่ ยางนา
พะยอม แดง ฯลฯ และพบว่าในพ้ืนที่มี เห็ดเผาะ ระโงก ตะไคล เห็ดก่อ เกิดข้ึนตามโคนต้นไม้วงศ์ยาง
เพื่อการดำ� เนินงานฟ้ืนฟสู ภาพปา่ ควบคไู่ ปกับการพัฒนาความมั่นคงทางดา้ นอาหารให้กบั ชุมชน โครงการ
จงึ ได้ทำ� การทดลองวธิ ีการเพาะเชอ้ื เห็ดป่าในกล้าไมว้ งศย์ าง เพอ่ื เพิม่ ผลผลติ เห็ดในพ้ืนท่ีอีกดว้ ย

162 ๙๐ พรรษา บรมราชนิ ีนาถ

ในปัจจบุ นั การดำ� เนินงานของโครงการพฒั นาพื้นทบ่ี ริเวณหนองอ่งึ อนั เนื่องมาจากพระราชด�ำริ
จังหวัดยโสธร มีความสัมฤทธิผลเป็นอย่างดีย่ิง สามารถฟื้นฟูสภาพป่าให้ชาวบ้านได้อยู่กับป่าอย่าง
เก้ือกูลกัน มีการจัดตั้งเครือข่ายอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติฯ จังหวัดยโสธร ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ
ของวิสาหกิจชุมชน ได้ช่วยเพ่ิมรายได้ให้ชาวบ้าน ท�ำให้กินดีอยู่ดี มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น โดยมีสินค้า
จำ� หน่ายมูลค่าหลายลา้ นบาทตอ่ ปี

พระมารดาแหง่ การคุ้มครองความหลากหลายทางชีวภาพ 163

โครงการศูนยพ์ ัฒนาการเกษตรภูสงิ ห์ จังหวดั ศรีสะเกษ
เม่อื วันที่ ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๓๗ สมเดจ็ พระบรมราชชนนีพันปหี ลวง เสดจ็ พระราชด�ำเนินทรง

เยี่ยมราษฎร ณ กิ่งอ�ำเภอภูสิงห์ จังหวัดศรีสะเกษ ได้ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณ พระราชทานพระราช
เสาวนีย์ เพอื่ ช่วยเหลอื ราษฎรในพ้ืนที่ทป่ี ระกอบอาชีพท�ำนาไมไ่ ด้ผล

“…ใหส้ ว่ นราชการตา่ ง ๆ รว่ มกนั พจิ ารณาจดั ตง้ั ศนู ยพ์ ฒั นาการเกษตรเบด็ เสรจ็ เพอ่ื ชว่ ยเหลอื
ราษฎรในพื้นที่ซึ่งประกอบอาชีพท�ำนาไม่ได้ผล ในลักษณะเช่นเดียวกับศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเน่ือง
มาจากพระราชดำ� ริของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว...”

วันท่ี ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๔๓ สมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวง เสด็จพระราชด�ำเนินพร้อม
ดว้ ยพระบาทสมเดจ็ พระวชริ เกลา้ เจา้ อยู่หวั เมอ่ื คร้งั ดำ� รงพระราชอสิ รยิ ยศ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ
สยามมกุฎราชกุมาร ทรงเย่ียมราษฎรบ้านวนาสวรรค์ ตำ� บลไพรพัฒนา อ�ำเภอภูสิงห์ จังหวัดศรีสะเกษ
ได้พระราชทานพระราชด�ำรเิ พิ่มเตมิ

164 ๙๐ พรรษา บรมราชินีนาถ

“...ใหพ้ จิ ารณากอ่ สรา้ งระบบนำ�้ เพม่ิ เตมิ เพอื่ เพม่ิ พนื้ ทกี่ ารสง่ นำ�้ ไปยงั ทดี่ นิ ของราษฎรในหมบู่ า้ น
รอบศนู ยฯ์ ดว้ ย และใหห้ นว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ งพจิ ารณาชว่ ยเหลอื ราษฎรในการปรบั ปรงุ บำ� รงุ ดนิ และลด
พน้ื ท่กี ารปลูกมันส�ำปะหลัง ปอแก้ว ขา้ วโพด โดยเปล่ยี นมาปลกู ไมผ้ ลให้มากยิ่งข้นึ …”

วันท่ี ๒๖ ธันวาคม ๒๕๔๘ สมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวง เสด็จพระราชดำ� เนินไปเย่ียม
ราษฎรบ้านพนมชัย ต�ำบลห้วยตามอญ อ�ำเภอภูสิงห์ จังหวัดศรีสะเกษ ได้พระราชทานพระราชด�ำริให้
กรมชลประทาน พัฒนาแหล่งน�้ำเพื่อช่วยเหลือราษฎร ส�ำหรับเรื่องการท�ำกินในพื้นท่ีป่าไม้ของราษฎร
นน้ั ไดพ้ ระราชทานพระราชด�ำรวิ ่า

“...ให้กรมป่าไมพ้ ิจารณาจดั หาพืน้ ท่ี เพอื่ ลองท�ำโครงการโดยสง่ เสรมิ อาชีพ เพ่อื ให้คนอยู่รว่ ม
กบั ป่าไดโ้ ดยไมท่ ำ� ลายปา่ ...”

กรมป่าไม้ ได้รับสนองพระราชด�ำริ ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๓๗ โดยเร่ิมศึกษาชนิดพันธุ์ไม้ป่าในพื้นที่
ท�ำการรวบรวมและขยายพันธุ์ไม้วงศ์ยาง ไม้เศรษฐกิจ ไม้ป่าท่ัวไป และพืชสมุนไพร จากน้ันได้แจกจ่าย
กล้าไม้ให้แก่เกษตรกร หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนที่สนใจ เพื่อส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมใน
การอนุรักษแ์ ละฟ้ืนฟูทรัพยากรป่าไมข้ องพน้ื ทภ่ี ูสงิ ห์

พระมารดาแหง่ การคุ้มครองความหลากหลายทางชวี ภาพ 165

จากนั้นโครงการฯ ได้จัดท�ำแปลงตัวอย่างตามหลักการปลูกป่า ๓ อย่าง ได้ประโยชน์ ๔ อย่าง
และสง่ เสรมิ ใหเ้ กษตรกรปลูกไม้วงศ์ยาง ไมก้ นิ ได้ ไม้ใช้สอย และการเพาะเห็ดระโงกในพ้ืนทีป่ า่ เพื่อเป็น
แบบอย่างให้แก่เกษตรกรในชุมชนได้น�ำไปปรับใช้ในพื้นท่ีของตนเอง และได้จัดกิจกรรมครูป่าไม้สืบสาน
แนวพระราชดำ� ริ ใหค้ วามรู้แกน่ ักเรียนในพนื้ ทใี่ กลเ้ คยี ง โดยมกี ิจกรรมการเรียนการสอนเป็นบทเรยี น รวมถึง
การลงพ้นื ท่ีจริง เพอื่ เรียนรู้เก่ียวกบั การปลูกปา่ การดูแล บ�ำรุง และรกั ษาปา่ เพือ่ ใหน้ ักเรียนตระหนกั ใน
คณุ คา่ รู้จักรกั และหวงแหนทรพั ยากรป่าไม้

เพื่อการอนุรักษ์ป่าและให้คนอยู่กับป่าได้อย่างเกื้อกูล โครงการยังได้ท�ำการป้องกันไฟป่าในพื้นที่
ดว้ ยการจดั ทำ� แนวกนั ไฟ ใหช้ าวบ้านได้ใช้ประโยชนใ์ นการหาอาหารจากพนื้ ท่ีปา่

ปัจจุบัน โครงการศูนย์พัฒนาการเกษตรภูสิงห์ จังหวัดศรีสะเกษ ได้ขยายผลไปยังเกษตรกรใน
พื้นที่อ�ำเภอภูสิงห์และใกล้เคียง จ�ำนวน ๑๘ หมู่บ้าน มีการส่งเสริมอาชีพด้านป่าไม้ เห็ดป่า อาหารป่า
ใหแ้ กเ่ กษตรกรทส่ี นใจเขา้ รว่ มโครงการฯ และขยายผลองคค์ วามรจู้ ากโครงการไปสโู่ รงเรยี นในอำ� เภอภสู งิ ห์
ทำ� ให้ชุมชนในพื้นท่ีอยูร่ ่วมกับปา่ ทีอ่ ุดมสมบูรณ์ สรา้ งอาชพี สรา้ งรายได้ มแี หล่งอาหารเพมิ่ ข้นึ นอกจากนี้
ยังมผี ้มู าศกึ ษาดงู านในโครงการฯ ประมาณปลี ะไมต่ ำ�่ กว่า ๒,๐๐๐ คน

166 ๙๐ พรรษา บรมราชนิ นี าถ

โครงการธนาคารอาหารชมุ ชนอนั เนื่องมาจากพระราชดำ� ริ
จังหวดั แมฮ่ ่องสอน

สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ิติ์ พระบรมราชนิ ีนาถ พระบรมราชชนนีพันปหี ลวง ทรงมีพระราชเสาวนยี ์
“…ให้พัฒนาจังหวัดแม่ฮ่องสอนให้เป็นแหล่งผลิตอาหารเล้ียงตัวเองได้และเหลือจ�ำหน่ายใน
พนื้ ทใ่ี กลเ้ คยี ง โดยเรมิ่ ตง้ั แตส่ รา้ งแหลง่ อาหารเพม่ิ เตมิ เพอ่ื ใหค้ นและสตั วไ์ ดบ้ รโิ ภค หรอื เมอ่ื คนเดนิ เขา้
ปา่ แลว้ สามารถเกบ็ พชื ผกั ตามธรรมชาตทิ เี่ ปน็ แหลง่ อาหารจากปา่ ได้ ในสว่ นทเ่ี ปน็ ทอี่ ยอู่ าศยั หรอื แหลง่
ชุมชนนั้น ให้ส่งเสริมการเพ่ิมผลผลิตทางการเกษตร เล้ียงสัตว์ ประมง เพ่ือบริโภคและจ�ำหน่ายให้มี
รายได้ โดยกระบวนการทงั้ หมดนี้ มุ่งหวังใหค้ นรักปา่ และอยู่กบั ป่าไดอ้ ย่างมีความสุข…”
ในเดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๓ กรมป่าไม้ได้รับสนองพระราชเสาวนีย์ โดยด�ำเนินการจัดท�ำ
โครงการธนาคารอาหารชมุ ชนตามพระราชดำ� รแิ หง่ แรกขน้ึ ทบี่ า้ นนาปา่ แปก ตำ� บลหมอกจำ� แป่ อำ� เภอเมอื ง
จังหวดั แมฮ่ อ่ งสอน
เม่ือวันที่ ๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๔ สมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวง ได้เสด็จทอดพระเนตร
โครงการธนาคารอาหารชุมชนตามพระราชด�ำริ บ้านนาป่าแปก ซ่ึงผลการด�ำเนินการ เป็นท่ีพอพระราช
หฤทัยเป็นอย่างย่ิง และทรงถือเป็นต้นแบบในการพัฒนาและขยายผลต่อไป ซึ่งต่อมาได้มีการขยายผล
โครงการอาหารชุมชนไปยังพื้นที่อ�ำเภอตา่ ง ๆ ในจงั หวัดแม่ฮอ่ งสอน อีกหลายแหง่
โครงการฯ ได้ด�ำเนินการพัฒนา ฟื้นฟู และอนุรักษ์พ้ืนท่ีป่าไม้ในโครงการ ให้เป็นแหล่งธนาคาร
อาหารชุมชน แหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และเชิงวัฒนธรรม ตลอดจนเป็นแหล่งในการศึกษาและอนุรักษ์
ภูมิปัญญาท้องถิ่น ท�ำการเพิ่มแหล่งผลิตอาหารหลักและพืชสมุนไพรในพ้ืนท่ีให้เพียงพอกับความต้องการ
ของชุมชน และส่งเสรมิ ใหเ้ กษตรกรมีรายได้เพิม่ จากการแปรรูปผลผลิตจากพืชในโครงการ
นอกจากน้ี ยังด�ำเนินการให้เกษตรกรร่วมกันปลูกป่าเพิ่มเติมให้เป็นป่าต้นน�้ำล�ำธาร มีความรู้ใน
การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างถูกต้อง และประชาสัมพันธ์โครงการให้เป็นที่รู้จักกันอย่าง
แพร่หลาย เพ่อื สร้างความร่วมมอื ในการอนุรกั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติในระดับทอ้ งถ่นิ

พระมารดาแห่งการคมุ้ ครองความหลากหลายทางชวี ภาพ 167

โครงการธนาคารฟนื อนั เนื่องมาจากพระราชดำ� ริ จังหวดั แมฮ่ ่องสอน

ในวโรกาสท่ีสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ได้เสด็จ
พระราชด�ำเนินไปยังโครงการธนาคารอาหารชุมชนตามพระราชด�ำริ บ้านนาป่าแปก ต�ำบลหมอกจ�ำแป่
อ�ำเภอเมอื ง จงั หวดั แมฮ่ ่องสอน เมื่อวันท่ี ๒๔ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๔๗ ทรงมีพระราชเสาวนียก์ บั คณะท�ำงาน
โครงการธนาคารอาหารชมุ ชนตามพระราชด�ำริ ความว่า

“…พลังงานโดยธรรมชาติจะขาดแคลน ถ้าหากใช้ไม่จ�ำกัดแบบไม่มีทดแทน ถ้าชาวบ้านท�ำ
ธนาคารฟนื จะท�ำอยา่ งไร ใหป้ ่าไม้ลองไปคดิ ดู ปลูกปา่ เพอื่ ท�ำฟืน หรอื ปลกู ตน้ ไม้ท�ำฟืนโดยเฉพาะ ไม้
โตเรว็ การท�ำธนาคารฟืน ตน้ นำ้� ไม่หาย ต้นไมไ้ มห่ าย ปา่ ยงั เหมอื นเดิม…”

ธนาคารฟืน อาจจะเขา้ ใจว่าเหมือนกับการนำ� เงนิ ไปฝากธนาคาร ซึง่ เปน็ ความเข้าใจทถี่ กู ตอ้ ง แต่
ตา่ งกันตรงที่ธนาคารฟนื ของเราคือ ปา่ สง่ิ ทีน่ ำ� ไปฝากคอื ไมโ้ ตเร็ว ซ่งึ โครงการสนบั สนุนให้ชาวบา้ นปลูก
ไว้ในป่าหรือในที่ท�ำกินของชาวบ้านเอง แล้วใช้ดอกเบี้ย ซ่ึงก็คือปริมาณไม้ที่เพิ่มขึ้นจากการเติบโตของ
ต้นไม้ท่ีปลูกหรือมีในป่า จึงเป็นการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและยังลดการบุกรุกตัดไม้จากป่า
ธรรมชาตเิ พอ่ื ใช้เปน็ เชื้อเพลงิ อีกดว้ ย

168 ๙๐ พรรษา บรมราชินีนาถ

เพ่ือสนองพระราชเสาวนีย์ของสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวง ในการสนับสนุนและส่งเสริม
ใหร้ าษฎรในชนบทใชเ้ ชอื้ เพลงิ ฟนื อยา่ งประหยดั และมกี ารทดแทน โดยไมส่ ง่ ผลกระทบเสยี หายตอ่ ปา่ ไมใ้ น
ธรรมชาติ กรมป่าไม้ไดด้ ำ� เนินการคดั เลือกหม่บู า้ นเปา้ หมายเพอ่ื จดั ทำ� ธนาคารฟนื จ�ำนวน ๓ หมู่บ้าน เปน็
พนื้ ท่ปี ระมาณ ๖๐ ไร่ จัดเตรยี มพ้ืนที่เพ่อื ปลูกไม้โตเรว็ ส�ำหรับจัดท�ำเป็นธนาคารฟืนชุมชน โดยใช้กล้าไม้
โตเร็ว เชน่ กระถินยักษ์ กระถินเทพา กระถินณรงค์ ไผ่ ขเี้ หลก็ และนางพญาเสือโคร่ง เพอื่ ปลกู และแจก
จ่ายให้แกป่ ระชาชนทว่ั ไป

งานธนาคารฟืนอันเน่อื งมาจากพระราชด�ำริ มคี วามกา้ วหนา้ และสมั ฤทธิผลดว้ ยดี มกี ารเพาะชำ�
กล้าไมแ้ จกจา่ ยประชาชนไปแลว้ กว่า ๕๐,๐๐๐ กลา้ พน้ื ทป่ี า่ ใช้สอยและพน้ื ทปี่ า่ ใกล้เคียงได้รบั การบ�ำรงุ
ดูแลรักษา และปรับปรุงภูมิทัศน์กว่า ๓๒๐ ไร่ และยังเป็นฐานเรียนรู้ด้านการผลิตเชื้อเพลิงจากไม้และ
เชอื้ เพลงิ ชวี มวล สรา้ งจติ สำ� นกึ ใหช้ มุ ชนรจู้ กั คณุ คา่ ของทรพั ยากรปา่ ไมแ้ ละใชป้ ระโยชนจ์ ากปา่ อยา่ งยง่ั ยนื
ตามแนวพระราชดำ� รอิ กี ดว้ ย

พระมารดาแหง่ การคุ้มครองความหลากหลายทางชีวภาพ 169

170 ๙๐ พรรษา บรมราชินนี าถ

นำ้� พระทัยแม่แห่งแผน่ ดนิ สรา้ งงาน สรา้ งอาชีพ

ดอยอมพาย โครงการสถานีพฒั นาเกษตรทสี่ งู
“ปา่ ตน้ นำ�้ ” นบั วา่ มสี ว่ นสำ� คญั อยา่ งยง่ิ ในการรกั ษาความอดุ มสมบรู ณท์ เี่ คยมมี า เพราะวา่ จะชว่ ย

ท�ำให้มีน้�ำเก็บกักไว้ใช้ในยามจ�ำเป็น ท�ำให้ระบบนิเวศป่าและน�้ำเก้ือกูลกันอย่างเหมาะสม เกิดความอุดม
สมบูรณ์ท้ังปา่ ไมแ้ ละน�้ำ ดงั พระราชด�ำรัส สมเดจ็ พระนางเจา้ สิรกิ ติ ์ิ พระบรมราชนิ ีนาถ พระบรมราชชนนี
พันปีหลวง ท่พี ระราชทานเม่อื วนั ที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๓๗ ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจติ รลดา เนอื่ งในวนั เฉลมิ
พระชนมพรรษา ความตอนหนึง่ ว่า

“...การที่ข้าพเจ้าเตือนให้คนไทยรักษาป่า มิใช่จะเห็นป่าส�ำคัญกว่าคน แต่ให้รักษาป่าไว้
ส�ำหรบั เกบ็ นำ�้ จดื ไวเ้ พ่อื คน เพราะน้�ำมคี วามส�ำคัญยงิ่ ต่อชีวิตมนุษย์ เราตอ้ งดม่ื นำ�้ ตอ้ งใช้นำ้� ในชีวิต
ประจ�ำวัน ต้องใช้น�้ำในการเกษตรกรรรมและอุตสาหกรรม ข้าพเจ้าจึงขอวิงวอนให้คนไทย ช่วยกัน
รกั ษาปา่ ซ่ึงเปน็ แหลง่ นำ้� เพยี งแหลง่ เดียวของประเทศไทยไวใ้ หด้ ี...”

พระมารดาแหง่ การคมุ้ ครองความหลากหลายทางชีวภาพ 171

วนั ท่ี ๒๖ มนี าคม ๒๕๔๖ สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ์ิ พระบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนพี นั ปหี ลวง
เสด็จพระราชด�ำเนินพร้อมด้วยพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ไปยังพ้ืนท่ีสูงในเขตหมู่ท่ี ๙
ต�ำบลปางหินฝน อ�ำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ ซ่ึงเรียกกันว่า “ดอยอมพาย” ทรงพบว่าพ้ืนท่ีป่าดอย
อมพายถูกแผ้วถางจ�ำนวนมากเพ่ือท�ำไร่เล่ือนลอย และมีแนวโน้มว่าจะมีการขยายพ้ืนท่ีมากข้ึนจากชาว
ไทยภเู ขารวม ๔ กล่มุ คอื กลุ่มบ้านสาม กลมุ่ ผักไผ่ กลุม่ ละอางใต้ และกลุ่มบา้ นเซโดซา ซงึ่ ทำ� ให้พ้ืนทป่ี ่า
ต้นน�้ำบริเวณนั้นเกิดปัญหา มีผลกระทบต่อระบบนิเวศในหลายด้าน สมเด็จพระบรมราชชนนีพันปี
หลวง ทรงมีพระราชด�ำริให้จัดตั้ง “สถานีพัฒนาการเกษตรที่สูงดอยอมพายตามพระราชด�ำริ” เพ่ือลด
การบุกรุกพ้ืนที่ป่าจากชาวไทยภูเขาซึ่งเป็นแหล่งต้นน�้ำล�ำธารและเพื่อเป็นสถานีตัวอย่างด้าน
การเกษตรในพ้ืนทสี่ ูงแก่ราษฎรชาวไทยภูเขาบนดอยอมพาย

172 ๙๐ พรรษา บรมราชินีนาถ

สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ได้มีพระราชด�ำรัส
พระราชทานเมอ่ื วนั ท่ี ๑๑ สงิ หาคม ๒๕๕๔ ณ ศาลาดสุ ดิ าลยั สวนจติ รลดา เนอื่ งในวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา
เกี่ยวกับเรื่องการจัดตั้งสถานีการเกษตรที่สูงบนดอยอมพาย จากการท่ีป่าไม้ถูกตัดโค่นไปมากมาย ท�ำให้
เกิดปัญหาเรอ่ื งของปา่ ต้นน�้ำ ความตอนหน่งึ ว่า

“…ในเวลาต่อมา เม่ือข้าพเจา้ ได้มโี อกาสไปเย่ียมราษฎรพน้ื ทภี่ าคเหนือแทนพระองค์ ข้าพเจ้า
ได้ยดึ ถือแนวทางทีพ่ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัว ทรงจดั ต้งั โครงการช่วยเหลอื ชาวไทยภูเขามาเป็นต้น
แบบ โดยไดร้ บั ความรว่ มมอื จากกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม อนุญาตให้ใชพ้ ื้นท่ีท่ถี ูก
แผ้วถางจนโล่งเตยี นหมดแล้ว จดั ตัง้ เป็นสถานีเกษตรทส่ี ูง เพ่อื ชว่ ยเหลอื ชาวไทยภเู ขาให้หยุดการท�ำไร่
เลื่อนลอย และเปล่ียนแปลงพนื้ ท่ีท่เี คยใชป้ ลูกพชื เสพตดิ มาเป็นแปลงเกษตร ปลกู พืชเมอื งหนาว และ
จัดตงั้ ฟารม์ ตวั อยา่ งขึน้ ในพน้ื ทีจ่ ังหวดั เชยี งใหม่ เชียงราย แมฮ่ ่องสอน พะเยา น่าน เปน็ ตน้

บางพนื้ ทจ่ี ดั ทำ� เปน็ โครงการบา้ นเลก็ ในปา่ ใหญ่ เพอ่ื ชว่ ยอนรุ กั ษป์ า่ ไม้ มหี ลายพนื้ ทที่ ร่ี าษฎรได้
ตระหนกั ถึงภยั ธรรมชาติ ทเ่ี คยเกดิ ขึน้ จากการทป่ี า่ สว่ นมากถกู ท�ำลาย จนเปน็ สาเหตุให้เกิดน�้ำป่าไหล
หลาก และแผน่ ดนิ ถลม่ ลงมาทบั ถมบา้ นเรอื น ในยามทเ่ี กดิ พายแุ ละฝนตกหนกั ราษฎรจงึ ไดช้ ว่ ยกนั ปลกู
ปา่ และคนื ผนื ปา่ ใหแ้ กท่ างราชการ ดงั ตวั อยา่ งเชน่ ทด่ี อยอมพาย อำ� เภอแมแ่ จม่ จงั หวดั เชยี งใหม่ และ
ทบี่ า้ นกอก–บา้ นจนู อำ� เภอปัว จงั หวดั น่าน ราษฎรได้คืนผนื ป่าให้ทางราชการเป็นจำ� นวนหลายพนั ไร่

โครงการบา้ นเลก็ ในปา่ ใหญ่ บา้ นหว้ ยหญา้ ไทร อำ� เภอแมส่ รวย จงั หวดั เชยี งราย กส็ ามารถชว่ ย
ฟื้นฟูสภาพป่าไดน้ ับหมืน่ ไร่เช่นเดยี วกัน…”

พระมารดาแห่งการคุ้มครองความหลากหลายทางชวี ภาพ 173

กรมทรพั ยากรนำ้� กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม ซง่ึ เปน็ หนว่ ยงานทม่ี ภี ารกจิ สำ� คญั
ในการวางแผนและการบริหารจัดการทรัพยากรน�้ำของประเทศ ได้รับพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้น
พ้นจากสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวง ทรงมีพระราชเสาวนีย์ให้กรมทรัพยากรน�้ำด�ำเนินงาน
ช่วยเหลือราษฎรในเร่ืองน้�ำ โดยเฉพาะน�้ำเพื่อการอุปโภคและบริโภค กรมทรัพยากรน�้ำได้สนองพระราช
เสาวนยี ์ โดยได้ส�ำรวจจัดหาแหลง่ น้�ำเพอื่ ใช้ภายในโครงการฯ และด�ำเนินการกอ่ สร้างฝายทดน�้ำหว้ ยแม่ปุ๊
ทั้งฝั่งซ้ายและฝั่งขวา ฝายห้วยไม้หม่ืนทั้งฝั่งซ้ายและฝั่งขวา ระบบส่งน�้ำพร้อมสระเก็บน้�ำขนาดความจุ
๑,๐๐๐ ลูกบาศก์เมตร จ�ำนวน ๓ แหง่ สระเกบ็ น้�ำขนาดความจุ ๑๕๐ ลกู บาศก์เมตร จ�ำนวน ๘ แห่ง
ระบบกระจายน้�ำจากสระเก็บน�้ำ จำ� นวน ๑๑ แหง่ และระบบประปาหมูบ่ ้าน จำ� นวน ๑ แห่ง ท�ำใหช้ าว
ไทยภูเขาเผ่าลั๊วะหรือละว้า มีน้�ำสะอาดใช้ในการอุปโภค บริโภค พื้นที่การเพาะปลูกพืชผักภายใน
โครงการ ๓๐๐ ไร่ และพนื้ ท่ีแปลงเกษตรแบบผสมผสานของราษฎร ๓๘๐ ไร่ ไดร้ ับประโยชนโ์ ดยทวั่ กนั

174 ๙๐ พรรษา บรมราชนิ นี าถ

ฟาร์มตวั อยา่ งบ้านก�ำพี้ ฟ้ ืนฟูหนองโคกสะแบง พร้อมระบบกระจายน้�ำ
วันที่ ๑๕ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ สมเดจ็ พระนางเจ้าสิริกติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนี

พันปีหลวง เสด็จพระราชด�ำเนินไปทรงเยี่ยมกลุ่มทอผ้าไหม มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพบ้านก�ำพ้ี ต�ำบลก�ำพ้ี
อำ� เภอบรบอื จงั หวดั มหาสารคาม เพอ่ื ทอดพระเนตรความกา้ วหนา้ ของโครงการทกี่ อ่ ตงั้ เมอื่ ปี พ.ศ. ๒๕๑๖
และได้มีราษฎรถวายฎีกาขอความช่วยเหลือเร่ืองการประกอบอาชีพ สืบเน่ืองจากราษฎรในพื้นที่
ประสบปัญหาความยากจน ไม่มีอาชีพท่ีแน่นอน ราษฎรในวัยท�ำงานต้องไปหางานท�ำในเมืองใหญ่
ทอดทิ้งลูกไว้กับพ่อแม่ ซึ่งเป็นผู้สูงอายุให้เป็นผู้ดูแลครอบครัว ซึ่งในเขตต�ำบลก�ำพี้ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่
ปลูกข้าวและบริเวณใกล้เคียงเคยเป็นพื้นที่นาเกลือ โดยจะมีคลองส่งน�้ำจากล�ำเสียวใหญ่ซึ่งมีน้�ำตลอดปี
แต่ไม่สามารถน�ำน�้ำมาท�ำการเกษตรได้ เนื่องจากมีสภาพน้�ำเค็ม และอีกด้านหน่ึงของพื้นที่มีคลองส่งน�้ำ
จากห้วยเชียงค�ำ สามารถน�ำน้�ำมาใช้ในการเกษตรได้ แต่เม่ือถึงหน้าแล้งก็มักประสบกับปัญหาการขาด
แคลนน�้ำ พระองค์ท่านทรงเล็งเห็นปัญหาส�ำคัญเหล่านี้ จึงทรงมีพระราชด�ำริท่ีจะให้จัดตั้งฟาร์มตัวอย่าง
ตามพระราชด�ำริข้ึนในพื้นท่ีบ้านก�ำพี้และบริเวณใกล้เคียง โดยใช้พื้นที่ป่าโคกสะแบง ต�ำบลก�ำพี้
อ�ำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม จ�ำนวน ๑๕๗ ไร่ ๒ งาน เป็นพื้นท่ีจัดตั้งโครงการฟาร์มตัวอย่างตาม
พระราชดำ� ริ โดยเรม่ิ ด�ำเนนิ การเมอ่ื วันท่ี ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๔๙ เป็นต้นมา

พระมารดาแห่งการคุ้มครองความหลากหลายทางชีวภาพ 175

หลังจากได้มีการจัดต้ังโครงการฟาร์มตัวอย่างตามพระราชด�ำริในสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปี
หลวง บ้านกำ� พี้ ตำ� บลกำ� พ้ี อำ� เภอบรบอื จงั หวดั มหาสารคาม และการจัดหาแหล่งนำ�้ เพ่ือใช้ในโครงการ
และให้ราษฎรได้ใช้ประโยชน์ ท�ำให้สามารถท�ำการเกษตรแบบผสมผสานตามแนวทางของโครงการ
ฟาร์มตัวอย่างตามพระราชด�ำริ ในลักษณะเรียนรู้โดยการปฏิบัติจริง ท�ำให้ประชาชนมีความรู้มากข้ึน มี
สุขภาพอนามัยท่ีดี มีรายได้ท่ีม่ันคงมากขึ้น สภาพพื้นที่โดยรวมมีการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้และ
ทรพั ยากรปา่ ตน้ น�้ำลำ� ธาร

176 ๙๐ พรรษา บรมราชนิ ีนาถ

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม โดยกรมทรัพยากรน�้ำได้รับมอบหมายให้
ด�ำเนินการปรับปรุงพ้ืนฟูแหล่งน�้ำท่ีได้มีการพิจารณาถึงความเหมาะสมแล้ว น่ันคือ “หนองโคกสะแบง”
เพ่ือใช้เป็นแหล่งน้�ำหลักในโครงการฟาร์มตัวอย่างบ้านก�ำพี้ตามพระราชด�ำริ และได้เริ่มปรับปรุงและ
ฟนื้ ฟูหนองโคกสะแบง ตง้ั แต่วนั ที่ ๔ กรกฎาคม ๒๕๔๙ มีขนาดความกวา้ ง ๑๕๔ เมตร ยาว ๒๓๔ เมตร
และมคี วามลกึ ๔ เมตร สามารถเก็บกกั นำ้� ได้ กวา่ ๙๐,๐๐๐ ลกู บาศก์เมตร ซึ่งหนองโคกสะแบง ณ วันนี้
สามารถเกบ็ กกั นำ้� เพอื่ ใชป้ ระโยชนไ์ ดม้ ากมายทงั้ การใชน้ ำ้� เพอื่ การเกษตร ทงั้ พชื ไร่ พชื สวน พชื ผกั สวนครวั
การเลี้ยงหมู เป็ด ไก่ ปลา และสตั วน์ �้ำอน่ื ๆ ตลอดจนการใช้ในโรงเรือนเพาะช�ำ

พระมารดาแหง่ การคุ้มครองความหลากหลายทางชวี ภาพ 177

สมเด็จพระนางเจ้าสริ ิกติ ์ิ พระบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง
ทรงปล่อยปูทะเล จ�ำนวน ๒๐๐ ตวั ณ วนอทุ ยานปราณบุรี อ�ำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบครี ีขนั ธ์

วันที่ ๒๘ มิถนุ ายน ๒๕๔๑

ปรายจากฟ้าสปู่ ่าชายเลน

“...พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สอนข้าพเจ้าเสมอว่า ป่าชายเลนให้ช่วยกันระวังรักษา
เพราะว่าป่าชายเลน เหมือนสถานอนุบาลของสัตว์น้�ำเล็ก ๆ ตอนที่เขายังเล็ก ๆ เขายังไม่
สามารถเล้ียงตัวได้ การท่ีมีป่าชายเลน ก็ท�ำให้เขาเลี้ยงตัวได้ และรอดชีวิต เป็นปลาใหญ่ขึ้นมา
เป็นกุ้งใหญ่ ปูใหญ่ เจริญเติบโต เป็นอาหารของมนุษย์ต่อไป แต่ถ้าไม่มีป่าชายเลนแล้ว พันธุ์ปลา
พนั ธก์ุ งุ้ พนั ธป์ุ ู กค็ งจะคอ่ ย ๆ สญู ไป เพราะเทา่ กบั เปน็ สถานอนบุ าล นเ่ี ปน็ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั
ทรงสอนขา้ พเจ้าไว้ ก็เลยตง้ั หนา้ ตัง้ ตาสนับสนนุ ปา่ ชายเลน และปา่ ตา่ ง ๆ…”

พระราชด�ำรสั สมเดจ็ พระนางเจ้าสริ ิกติ ์ิ พระบรมราชนิ ีนาถ พระบรมราชชนนีพนั ปหี ลวง
เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ดิ าลยั สวนจิตรลดา
วนั ที่ ๑๒ สิงหาคม ๒๕๔๖

178 ๙๐ พรรษา บรมราชนิ ีนาถ

ปา่ ชายเลน (Mangrove Forest) ปา่ ที่มีความพเิ ศษ มีเอกลกั ษณเ์ ฉพาะตวั เป็นอขู่ ้าวอู่นำ้� และ
แหลง่ อนบุ าลของสตั วน์ ำ้� วยั ออ่ น กลา่ วไดว้ า่ ปา่ ชายเลนเปน็ บา้ นหลงั แรกของสตั วน์ ำ�้ นานาชนดิ ปา่ ชายเลน
เปน็ ป่าที่อยรู่ ะหวา่ งแผน่ ดินและทะเล ด้วยเหตทุ ปี่ ่าชายเลนขึน้ อยใู่ นบริเวณริมชายฝ่ังทะเล จึงท�ำใหไ้ ด้รบั
อิทธิพลจากกระแสน้�ำขึ้น–น้�ำลง เสมอ อีกทั้งยังได้รับอิทธิพลความเค็มของน�้ำทะเล ท�ำให้พันธุ์ไม้
จ�ำเป็นต้องมีการปรับตัวให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม เพ่ือความอยู่รอดและแพร่กระจายพันธุ์ได้อย่าง
ต่อเนื่อง มีการพัฒนาจนมีลักษณะพิเศษบางประการเพ่ือความอยู่รอด ได้แก่ การพัฒนาระบบรากท่ี
แตกต่างกันออกไป เช่น รากค�้ำยัน รากอากาศหรือรากหายใจ มีต่อมขับเกลือ ล�ำต้นมีช่องอากาศ ช่วย
ในการแลกเปลี่ยนก๊าซ บางชนิดผลจะงอกตั้งแต่อยู่บนต้นแม่ (Vivipary) ซ่ึงมักเรียกว่า “ฝัก” และจาก
การที่ป่าชายเลนเป็นพื้นที่รอยต่อของระบบนิเวศบกกับทะเล ท�ำให้มีสัตว์จากท้ังสองระบบนิเวศเข้ามา
อยู่อาศัย ซึ่งไม่พบในระบบนิเวศอ่ืน โดยปัจจัยส่ิงแวดล้อมท่ีมีผลต่อส่ิงมีชีวิตและพันธุ์ไม้ในป่าชายเลนมี
หลากหลายปัจจัย เช่น การข้ึนลงของน้�ำทะเล คลื่นและกระแสน้�ำ ความเค็มของน้�ำ ภูมิประเทศ แสง
อณุ หภมู ิ เป็นตน้ ซึง่ ทกุ ปจั จยั ที่กลา่ วมาขา้ งตน้ ลว้ นเป็นตัวแปรทสี่ �ำคัญในการก�ำหนดการแบ่งเขตพันธุ์ไม้
ปา่ ชายเลน (Zonation) ปา่ ชายเลนนบั วา่ เปน็ ระบบนเิ วศทมี่ คี วามสำ� คญั เปน็ อยา่ งยงิ่ เปน็ ปราการธรรมชาติ
ที่คอยปกป้องชายฝั่งทะเลไม่ให้ถูกกัดเซาะท�ำลาย เป็นแหล่งท่ีอยู่อาศัยและแหล่งอนุบาลสัตว์น�้ำ
วัยอ่อน เป็นแหล่งพลังงานและวัตถุดิบไม้ใช้สอย พืชผักสมุนไพร รักษาสมดุลของสิ่งแวดล้อมชายฝั่ง
ให้เอ้ืออ�ำนวยต่อการเป็นแหล่งก�ำเนิดห่วงโซ่อาหารของมนุษยชาติ ดังนั้น จึงกล่าวได้ว่าป่าชายเลนเป็น
ขมุ ทรพั ยร์ มิ ชายฝง่ั ทเี่ ออื้ ประโยชนเ์ กอื้ หนนุ สง่ิ มชี วี ติ ทงั้ ทางตรงและทางออ้ มมากมายมหาศาล ทงั้ ในดา้ น
เศรษฐกิจ สงั คม และสิ่งแวดลอ้ ม

พระมารดาแหง่ การคมุ้ ครองความหลากหลายทางชวี ภาพ 179

ประเทศไทยเป็นประเทศท่ีมีบทบาทส�ำคัญเกี่ยวกับป่าชายเลนเป็นอย่างมาก เพราะเป็นหนึ่งใน
ไม่กี่ประเทศท่ัวโลก ที่ป่าชายเลนค่อนข้างอุดมสมบูรณ์ และมีความหลากหลายของส่ิงมีชีวิตทั้งพันธุ์พืช
และสัตว์ อันเป็นผลมาจากการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และการบังคับใช้กฎหมายอย่างเข้มงวดของหน่วยงานท่ี
เกี่ยวข้อง ซ่ึงรับสนองพระราชด�ำรัสของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี
พนั ปหี ลวง พระผทู้ รงมสี ายพระเนตรอนั ยาวไกลถงึ ความสำ� คญั ของปา่ ชายเลนทม่ี คี ณุ คา่ มหาศาลตอ่ สรรพ
ชวี ติ พระองคท์ รงปฏบิ ตั พิ ระราชกรณยี กจิ นานปั การเพอ่ื สนองพระบรมราโชบายดา้ นการอนรุ กั ษท์ รพั ยากร
ในองคพ์ ระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ด้วยพระวริ ิย
อุตสาหะ และน�้ำพระราชหฤทัยท่ีเปี่ยมล้นด้วยพระเมตตา ทรงทุ่มเทพระวรกายอย่างไม่เห็นแก่ความ
เหน็ดเหน่ือย ทรงมีความห่วงใยต่อการดูแลรักษาทรัพยากรป่าชายเลน ดังพระราชด�ำรัสท่ีทรง
พระราชทานแก่พสกนิกรและข้าราชบริพารท่ีเข้าเฝ้าฯ ถวายพระพรชัยมงคล เนื่องในโอกาสวันเฉลิม
พระชนมพรรษา ๑๒ สิงหาคม ณ ศาลาดสุ ิดาลยั สวนจติ รลดา ในชว่ งระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๔๓–๒๕๕๑ ดงั นี้

“...พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทา่ นอธบิ ายใหข้ า้ พเจา้ ฟงั วา่ ปา่ ไมช้ ายเลนกค็ อื ทท่ี เ่ี พาะพนั ธป์ุ ลา
ปลาจะมาวางไข่ ปลาตัวเล็กตัวน้อยจะอาศัยป่าไม้ชายเลนเป็นที่อาศัย จนกว่าจะเติบโตแข็งแรง
ออกไป เรยี นทลี ะเลก็ ละนอ้ ยเวลาอยใู่ กลพ้ ระองค์ แลว้ กพ็ ยายามไปอธบิ ายใหช้ าวบา้ นเขา อยา่ งทกี่ ระบ่ี
ขา้ พเจา้ ก็ไปขอกบั ชาวกระบีว่ า่ ปา่ ไมช้ ายเลนอันนี้ อยา่ ทำ� ลายเลย ขอใหข้ า้ พเจ้าเถอะ ขอให้เปน็ ปา่ ไม้
ชายเลนอย่างเดมิ เพื่อความยงั่ ยืนของประเทศไทยเอง...”

พระราชด�ำรสั สมเดจ็ พระนางเจา้ สิริกติ ิ์ พระบรมราชนิ ีนาถ พระบรมราชชนนพี นั ปีหลวง
เนอ่ื งในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสดิ าลัย สวนจิตรลดา
วนั ท่ี ๑๒ สงิ หาคม ๒๕๔๓

ในปี พ.ศ. ๒๕๔๔ สมเด็จพระนางเจ้าสริ ิกติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนพี ันปหี ลวง ทรง
แสดงความหว่ งใยตอ่ สถานการณป์ ญั หาของปา่ ชายเลนทที่ วคี ณู ในขณะนน้ั จงึ ทรงมพี ระราชดำ� รสั เกยี่ วกบั
ปา่ ชายเลน ความตอนหนึง่ วา่

“...พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวสอนข้าพเจ้าว่า ป่าไม้ชายเลนนี่ส�ำคัญที่สุด เพราะเป็นท่ีที่
เพาะพันธุ์สัตว์น้�ำ เพราะพวกเราเอง ก็รับประทานปลา รับประทานปู กุ้ง กันเยอะแยะ เพราะฉะนั้น
ป่าชายเลนน่ีส�ำคัญ ในการที่จะรักษาเอาไว้ เพื่อรักษาพันธุ์ปลา พันธุ์กุ้ง ปู ปลา ให้มีมากเหมือนแต่
เกา่ กอ่ น…”

“...ขณะนี้ป่าชายเลนถูกท�ำลายมากมายก่ายกอง เราก็น่าจะสอนลูกหลานเรา ให้รู้ถึงคุณค่า
ของป่าชายเลนท่ีมีประโยชนต์ อ่ คนไทยทกุ คนในแผ่นดินนี้ด้วย ที่ช่วยเก็บรกั ษาอาหาร เช่น พชื พันธุ์
ปลาต่างๆ ที่ข้าพเจ้าคิดเอาเองว่า พวกเรานี่รู้สึกยังรักแผ่นดินน้ีน้อยไป ไม่สมกับที่เราได้ประโยชน์
มากมายจากผืนแผ่นดินน้ี พวกเรายังรู้จักคุณค่าของแผ่นดินนี้น้อยไป ไม่รู้จักถนอม ไม่รู้จักดูแล ให้
เป็นแผ่นดินท่ีเป็นดินทองตลอด มีทรัพยากร มีอาหาร ส�ำหรับเลี้ยงคนไทยตลอดไป โดยไม่กลายเป็น
บ้านเมือง ท่ีอดอยากแหง้ แล้ง...”

180 ๙๐ พรรษา บรมราชินีนาถ

สมเด็จพระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชนิ ีนาถ พระบรมราชชนนพี ันปหี ลวง
เสด็จพระราชด�ำเนนิ พร้อมดว้ ยพระบาทสมเด็จพระวชริ เกลา้ เจา้ อยู่หัว

ทรงเยย่ี มราษฎรบ้านหนองจิกและพ้ืนที่ทา่ ปอมคลองสองน�้ำ อำ� เภอเมอื ง จังหวัดกระบี่
วันท่ี ๑๓ เมษายน ๒๕๔๔

“...เพราะฉะน้นั ขา้ พเจ้ากข็ อท่านท้ังหลาย ชว่ ยขา้ พเจ้าช่วยดูแล อธบิ ายใหท้ ราบว่า ป่าก็คอื
น�้ำที่จะเพมิ่ ขน้ึ ปา่ ชายเลนกค็ อื ทเี่ ราจะมีปลา มีพนั ธ์ปุ ลา พันธ์กุ ุ้ง พันธป์ุ ู พนั ธุ์หอย มากอย่างเดิม เรา
กค็ วรทจี่ ะตงั้ จติ มน่ั รว่ มกนั วา่ พวกเราจะไมม่ วี นั ทำ� รา้ ย และทำ� ลายผนื แผน่ ดนิ น้ี เราจะรกั และทะนถุ นอม
เมอื งไทยของเราไว้ ก่อนท่ีจะสายเกนิ ไป กอ่ นท่อี ะไรต่ออะไรจะหมด ขนึ้ เกาะก็ทิ้งของ เตม็ ไปหมด จน
กระทง่ั คดิ วา่ พวกหอย พวกปู พวกอะไร กค็ งอยไู่ มไ่ ด้ เพราะพลาสตกิ เยอะแยะ ปดิ อะไรตอ่ อะไรหมด...”

พระราชด�ำรสั สมเด็จพระนางเจา้ สิริกติ ิ์ พระบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนีพนั ปหี ลวง
เนอ่ื งในโอกาสวันเฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ดิ าลัย สวนจิตรลดา
วันท่ี ๑๒ สงิ หาคม ๒๕๔๔

พระมารดาแห่งการคุ้มครองความหลากหลายทางชีวภาพ 181

สมเดจ็ พระนางเจ้าสิรกิ ติ ์ิ พระบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนพี นั ปหี ลวง
เสดจ็ พระราชด�ำเนนิ ไปทอดพระเนตรสภาพปา่ ชายเลน

ในพน้ื ท่ีโครงการศูนยศ์ ึกษาธรรมชาตปิ ่าชายเลนยะหริง่ ตามพระราชด�ำริ
หมทู่ ่ี ๒ ตำ� บลตะโละกาโปร์ อ�ำเภอยะหร่ิง จงั หวัดปตั ตานี
วนั ที่ ๑๔ กันยายน ๒๕๔๒

182 ๙๐ พรรษา บรมราชินนี าถ

ในปี พ.ศ. ๒๕๕๐ สมเดจ็ พระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนพี ันปหี ลวง ทรงมพี ระ
ราชด�ำรัสเกีย่ วกับปา่ ชายเลนอยา่ งตอ่ เน่ือง ความตอนหนึง่ วา่

“...พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ฯ ทรงออ่ นพระทยั รบั สง่ั ใหข้ า้ พเจา้ ฟงั วา่ เดย๋ี วนฉ้ี นั กพ็ ยายาม
ทส่ี ดุ ไมใ่ หค้ นมาทำ� ลายปา่ ชายเลน ขา้ พเจา้ กไ็ มเ่ ขา้ ใจวา่ ทำ� ไมถงึ ทรงหวงปา่ ชายเลนมาก รบั สง่ั วา่ รไู้ หม
ป่าชายเลนคอื อนุบาล เท่ากับวา่ ปู ปลา กุ้ง เขาใช้เปน็ ท่เี ขาเกดิ มาเล็ก ๆ ยงั ส้กู ับโลกน้ีไมไ่ หว เขาใช้
เปน็ ทพ่ี กั พงิ แลว้ กโ็ ตวนั โตคนื ขนึ้ มาเพอื่ ใหเ้ ราจบั กนิ เดย๋ี วนปี้ า่ ชายเลนจะโดนคนทไ่ี มม่ คี วามคดิ จอ้ งจบั
ทำ� ลาย แตเ่ ปน็ มานานแลว้ ตลอดเวลา ทรงเหน็ และทรงพยายามสู้ ทรงพยายามขอซอ้ื กบั ชาวบา้ นดว้ ย
ซอ้ื ป่าชายเลน และสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ ได้เห็น และได้ต่อสกู้ ับองคเ์ องเหมอื นกนั ...”

“...เมอื่ ขา้ พเจา้ แตง่ งาน กไ็ ดเ้ หน็ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงเอาพระทยั ใสใ่ นทกุ ขส์ ขุ ของ
ราษฎรทกุ ขณะ ทรงคิดถึงแตป่ ระโยชน์ของประชาชน ทรงสอนข้าพเจ้าและลูก ๆ ทกุ อย่าง เชน่ สอน
ถงึ ประโยชนข์ องป่าชายเลนวา่ ป่าชายเลนนตี่ ้องระวังใหด้ ี เปน็ แหลง่ วางไขข่ องสตั วน์ ้�ำ พวกกุง้ หอย ปู
ปลา ที่ยงั เป็นตวั เล็กตัวน้อย ไดอ้ าศยั อย่ทู ่ปี า่ ชายเลนน้ี จนกว่าจะเติบโตแขง็ แรง ฉะนน้ั คุณค่าของป่า
ชายเลนมมี าก ตอ้ งช่วยกันเกบ็ รกั ษาเอาไวใ้ ห้ดี ก็ขอใหท้ างรฐั บาลช่วยดว้ ย ขอใหท้ กุ ท่านช่วยด้วย ตอ่
มา ข้าพเจา้ กน็ �ำมาถา่ ยทอดส่ปู ระชาชน ให้ชว่ ยกนั รกั ษาปา่ รักษาแหลง่ นำ�้ รักษาความสะอาด รกั ษา
สิ่งแวดลอ้ ม ได้ผลม่ัง ไม่ไดผ้ ลม่ัง ตลอดเวลา น่ตี งั้ แตส่ าว ๆ จนเจด็ สบิ ห้านี่ทา่ น…”

พระราชด�ำรสั สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ์ิ พระบรมราชนิ ีนาถ พระบรมราชชนนีพนั ปีหลวง
เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ิดาลัย สวนจติ รลดา
วันที่ ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๐

พระราชด�ำรัสดังกล่าว แสดงให้เห็นถึงพระราชปณิธานอันแรงกล้าที่จะทรงงานด้านการอนุรักษ์
ทรัพยากรป่าชายเลน อันเป็นทรัพยากรที่มีความส�ำคัญและเป็นทรัพยากรพื้นฐานที่ก่อก�ำเนิดความอุดม
สมบูรณ์ของทรพั ยากรทางทะเลและชายฝั่ง

“...เมอื่ ตอนแตง่ งาน ขณะนนั้ อายุ ๑๗ ใกล้ ๑๘ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ไดย้ ำ้� ความสำ� คญั
ของปา่ ชายเลน ทรงรบั สง่ั วา่ ต้องคอยดูแล อยา่ ใหค้ นท�ำลาย เพราะเปน็ แหลง่ อนบุ าลก้งุ หอย เปน็ ที่
หลบภยั และเปน็ อาหารให้มนุษย์ แตข่ ณะน้มี ีการทำ� ลายทง้ั ปา่ ไม้ ปา่ ชายเลน ขอใหต้ ระหนกั ถงึ ความ
ส�ำคัญ อยา่ ไปทำ� ลาย...”

พระราชด�ำรัส สมเดจ็ พระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชนิ ีนาถ พระบรมราชชนนพี ันปหี ลวง
เน่อื งในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ดิ าลยั สวนจติ รลดา
วันที่ ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๑

พระมารดาแห่งการคุ้มครองความหลากหลายทางชีวภาพ 183

ปา่ ชายเลนบริเวณอ่าวเมอื งตราด จงั หวัดตราด

ปา่ ชายเลนบรเิ วณพื้นท่สี งวนชีวมณฑลระนอง จังหวัดระนอง

184 ๙๐ พรรษา บรมราชนิ นี าถ

กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ในฐานะหน่วยงานหลักท่ีมีพันธกิจในการด�ำเนินงานด้าน
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ได้สนองพระราชด�ำริ โดยได้มีการจัดท�ำ “โครงการปลูกป่าชายเลน
ถาวรเฉลมิ พระเกยี รติ สมเดจ็ พระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินนี าถ ในวโรกาสเฉลิมพระชนมายุ ๗๒
พรรษา” มีกิจกรรมหลักคือ การปลูกป่าชายเลนในพ้ืนท่ีส�ำคัญเร่งด่วน การปลูกป่าเสริมและปรับปรุง
สภาพป่าชายเลน การจัดท�ำเขตพิทักษ์ป่าชายเลนรักษ์สัตว์น้�ำ การอบรมส่งเสริมและพัฒนาป่าชายเลน
อย่างย่ังยืนโดยชุมชนมีส่วนร่วม การอบรมราษฎรอาสาสมัครพิทักษ์ทะเลและชายฝั่ง และการปล่อย
พันธส์ุ ัตว์นำ�้ รวมทัง้ กิจกรรมสง่ เสรมิ สนับสนุนในรปู แบบต่าง ๆ การเผยแพรป่ ระชาสัมพันธ์ การเพาะพันธุ์
กลา้ ไม้ เปน็ ต้น

ผลจากการด�ำเนินงานโครงการฯ ได้มีการปลูกป่าชายเลนทั้งส้ิน ๒๔,๓๔๖ ไร่ มีการปลูกเสริม
และการปลูกบ�ำรุงเนื้อท่ีรวม ๑๗๖,๕๔๒ ไร่ และมีการจัดตั้งเขตพิทักษ์ป่าชายเลนรักษ์สัตว์น�้ำเน้ือท่ี
๕๒๐,๓๐๓ ไร่ รวมเนอ้ื ทีท่ ั้งสิน้ ๗๒๑,๑๙๑ ไร่ อกี ท้งั สามารถดำ� เนินการจัดอบรมสง่ เสริมและพฒั นาป่า
ชายเลนอย่างยั่งยืนโดยชุมชนมีส่วนร่วม (สส.) และการอบรมราษฎรอาสาสมัครพิทักษ์ทะเลและชายฝั่ง
(รสทช.) จ�ำนวนรวมท้ังสิ้น ๖๕๙ รุ่น โดยมีผู้ผ่านการอบรมท้ังสิ้นจ�ำนวน ๓๒,๙๕๐ คน กระจายอยู่ใน
ชมุ ชนทใี่ ชป้ ระโยชนท์ รพั ยากรทางทะเลและชายฝง่ั ทว่ั ประเทศ นอกจากน้ี ยงั จดั กจิ กรรมการดำ� เนนิ งานท่ี
เกย่ี วข้องกบั ทรพั ยากรการประมงในรปู ของการปลอ่ ยพันธ์สุ ตั ว์นำ�้ จำ� นวนรวม ๓๔,๙๐๕,๘๒๗ ตวั รวมถึงให้
ความส�ำคัญกับการสร้างพื้นฐานที่แข็งแกร่งแก่ชุมชน การสร้างความยั่งยืนในความร่วมมือระหว่างภาคีท่ี
เกี่ยวข้อง ให้ความส�ำคัญกับการมีส่วนร่วมของประชาชนและกลุ่มเครือข่าย ซึ่งเป็นก�ำลังส�ำคัญในการ
ชว่ ยเพิ่มประสทิ ธภิ าพในการด�ำเนินงานของหนว่ ยงาน

กรมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝง่ั ยงั ใหค้ วามสำ� คญั กบั การสำ� รวจพนื้ ทปี่ า่ ชายเลนดว้ ยเทคโนโลยี
ท่ีมีความละเอียดสูง โดยร่วมกับส�ำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (GISTDA) จัดท�ำ
โครงการระบบฐานข้อมูลทรัพยากรป่าชายเลน ท�ำการจ�ำแนกเขตการใช้ประโยชน์ที่ดินป่าชายเลนด้วย
ภาพถา่ ยดาวเทียมรายละเอยี ดสูง ซึ่งจากข้อมูลการแปลภาพคร้ังล่าสุดเมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ พบว่า ปัจจบุ ัน
ประเทศไทยมีพ้ืนที่ป่าชายเลนคงสภาพท้ังหมดประมาณ ๑,๗๓๗,๐๒๐ ไร่ กระจายตามแนวชายฝั่ง
ภาคตะวันออก ภาคกลาง และภาคใต้ จ�ำนวน ๒๔ จังหวัด โดยจังหวัดที่มีป่าชายเลนมากที่สุดคือ
จังหวัดพังงา มีพื้นท่ีป่าชายเลนคงสภาพจ�ำนวน ๒๘๘,๔๔๓.๙๐ ไร่ คิดเป็นร้อยละ ๑๖.๖๑ ของพ้ืนที่
ป่าชายเลนทง้ั หมด

เพอื่ นอ้ มรำ� ลกึ ถงึ พระมหากรณุ าธคิ ณุ ของสถาบนั พระมหากษตั รยิ ไ์ ทยทมี่ ตี อ่ การอนรุ กั ษท์ รพั ยากร
ปา่ ชายเลน ทป่ี ระชมุ คณะรฐั มนตรี เมอื่ วนั ท่ี ๓ มนี าคม ๒๕๖๓ มมี ตเิ หน็ ชอบกำ� หนดใหว้ นั ท่ี ๑๐ พฤษภาคม
ของทกุ ปี เปน็ “วนั ปา่ ชายเลนแหง่ ชาต”ิ เพอ่ื แสดงออกเชงิ สญั ลกั ษณใ์ นการรณรงค์ เผยแพรป่ ระชาสมั พนั ธ์
ให้ทุกภาคส่วนมีสว่ นได้ร่วมกนั ปกป้อง ดแู ลรกั ษา ฟ้ืนฟูทรัพยากรปา่ ชายเลนใหค้ งความสมบรู ณต์ ลอดไป

พระมารดาแห่งการคุ้มครองความหลากหลายทางชีวภาพ 185

การจดั ทำ� และวางปะการังเทยี ม

สมเดจ็ พระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนพี นั ปหี ลวง ทรงหว่ งใยเหลา่ พสก
นิกรทกุ หมู่เล่า ในเรอ่ื งความเปน็ อยู่ของประชาชนทัง้ ท่อี ยบู่ นเขา บนดอย และชาวประมงพ้นื บา้ นท่ีได้รับ
ความเดอื ดรอ้ น พระองคพ์ ระราชทานพระราชด�ำรสั แก่คณะบุคคลทเ่ี ขา้ เฝา้ ฯ ถวายพระพรชยั มงคล เม่อื
วนั ท่ี ๑๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ ความตอนหนึง่ วา่

“…ต่อไปจะขอเล่าเรื่องแนวปะการังเทียมท่ี อ�ำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี ชาวประมงบ้าน
ละเวง อำ� เภอไมแ้ กน่ จงั หวดั ปตั ตานี มาหาขา้ พเจา้ แลว้ ขอรอ้ งใหช้ ว่ ยเหลอื เพราะเขามอี าชพี อยอู่ ยา่ ง
เดยี ว คือออกเรือไป เปน็ เรอื เล็ก ๆ เพราะเป็นคนจนมาก ออกเรือกไ็ ปตกปลา จับปลาไดก้ ม็ าขายไดเ้ งิน
เลย้ี งชพี และปลาทเ่ี หลอื กร็ บั ประทาน ทนี่ เี่ รอ่ื งปลาในเขตนำ�้ ตน้ื รอ่ ยหรอจนแทบไมม่ เี หลอื แลว้ ขา้ พเจา้
เองกจ็ นปญั ญา กป็ รกึ ษากนั กบั ผเู้ ชย่ี วชาญตา่ ง ๆ กไ็ ดร้ บั คำ� แนะนำ� วา่ ใหล้ องทดลองสรา้ งแนวปะการงั
เทยี มขนึ้ อนั นเ้ี ปน็ ความคดิ ทเ่ี รยี กวา่ ขา้ พเจา้ ไมเ่ คยรมู้ ากอ่ นเลย กไ็ ดอ้ าศยั ราษฎรเนย่ี ไดร้ บั ความรตู้ า่ ง ๆ
ขึน้ มา ให้สร้างปะการังเทียมขึน้ เปน็ ทอ่ี ยู่อาศัยของสัตว์นำ�้

186 ๙๐ พรรษา บรมราชินีนาถ

ข้าพเจา้ ก็ไดเ้ ปดิ โครงการฟื้นฟูทรพั ยากรชายฝงั่ ทะเลขนึ้ ในปี พ.ศ. ๒๕๔๔ ทจ่ี ังหวัดนราธิวาส
มีหน่วยงานหลายหน่วยงานเข้ามาช่วยเหลือสนับสนุนโครงการน้ี เป็นโครงการท่ีน่าชุ่มช่ืนใจ
เพราะว่าเป็นการยกระดับชีวิตของคนที่ยากจน แทบว่าจะไม่มีหวัง ยากจน ผู้ที่สนับสนุนโครงการนี้
เช่น กรมประมง กองทัพเรือ การรถไฟแห่งประเทศไทย กรมทางหลวง อยา่ งการรถไฟแหง่ ประเทศไทย
บริจาคตู้รถไฟที่ช�ำรุด ข้าพเจ้าเห็นก็งงว่า เอะไอ้ตู้รถไฟมันจะมาท�ำช่วยให้ปลาชื่นชมได้ยังไง ก็งง
ตอนนั้นไม่มีความรู้อะไรทั้งส้ิน การรถไฟบริจาคตู้รถไฟที่ช�ำรุด กรมทางหลวงก็บริจาคท่อคอนกรีต
เปน็ ต้น ต่อมา กรุงเทพมหานคร ก็ยังชว่ ยบรจิ าครถขนขยะท่ีช�ำรุดอกี ดว้ ย

น่ีข้าพเจ้าได้เรียน เป็นพระราชินีไม่รู้เร่ืองอะไรเลย ได้เรียนจากความต้องการของประชาชน
และได้เรียนท่ีท่านทั้งหลายช่วยกันแก้ไขปัญหาเหล่านี้ และก็ทิ้งลงไปในทะเล ท่ีเขากะแล้วว่าท่ีตรงนี้
ทิ้งได้ปะการังเทียม แล้วทางกองทัพเรือก็ไปถ่ายหนังมาให้ข้าพเจ้าดู โอ้โหตกใจ พอเราท้ิงอะไรต่อ
อะไรตา่ ง ๆ ลงไป ปลามนั ก็ขนโขยงมากันใหญ่ มนั นกึ ว่าแหมน่มี ีบา้ นทีด่ ขี องเราแลว้ มนั มากนั เปน็ แถว
เชยี ว ถ้าเขาไมไ่ ปถ่ายหนงั ใหด้ ูกไ็ มร่ ู้ แหมมามากมายกา่ ยกอง ซงึ่ ประชาชนมาบอกข้าพเจ้าว่าจับปลา
ไดส้ บาย จบั ปลาไดด้ เี ลยตอนนี้ มนั มากนั เปน็ แถว ปลาตา่ ง ๆ ทห่ี ายากกเ็ ขา้ มา ถา้ ทงิ้ ลกึ ลงไป ปลาใหญ่ ๆ
เม่ือไม่นานน้ี ข้าพเจ้าได้รับรายงานว่า เขาได้ถ่ายหนัง ภาพของฝูงปลานานาชนิดเข้ามาอาศัยอยู่ใน
แนวปะการังเทียม แม้แตป่ ลาท่ีหายากท่สี ดุ กรมประมงบอกวา่ หายาก แทบไม่ได้เหน็ เนีย่ คือปลาหมอ
ทะเลตวั ใหญเ่ บ้อเรอ้ เชยี ว ขนาด ๒–๓ เมตร กเ็ ขา้ มาหาทอ่ี ยู่ทน่ี ่ี ข้าพเจา้ ได้ยนิ ก็มหัศจรรยใ์ จ ไมเ่ คย
เป็นความรู้ใหม่ท้ังน้ันเลย ปลาจารเม็ดสีเทาซึ่งแต่ก่อนก็ไม่มีแล้ว ปลาช่อนทะเล ปลากุเลาก็เข้ามาได้
ชาวประมงพน้ื บ้านกเ็ ขา้ มาหา ข้าพเจา้ บอก แหมดีทา่ น เด๋ยี วนพ้ี วกเราไม่ตอ้ งออกไปไกลก็จับปลาได้
มากขน้ึ จากแทบวา่ ไมม่ รี ายได้ กลบั มามรี ายไดเ้ พม่ิ ขน้ึ ถงึ เดอื นละ ๑ หมนื่ กวา่ บาทแนะ่ ชาวบา้ นยากจน
เหลือเกิน แปลว่าคนที่มีความรู้ของเรา ของประเทศไทยเรามีมาก และก็พร้อมเสมอท่ีจะช่วยชาติ
บา้ นเมือง

ปีน้ี กลุ่มประมงพน้ื บ้าน ตงั้ แต่ปัตตานี ถึงนราธิวาส หลายร้อยคน เขยี นจดหมายถึงข้าพเจ้า
และกเ็ ซน็ ชอื่ เปน็ บญั ชหี างวา่ วเลย ขอใหข้ า้ พเจา้ ชว่ ยจดั ทำ� ปะการงั เทยี มเพม่ิ เตมิ ขน้ึ อกี และตอนนใี้ คร
จะช่วยข้าพเจ้าล่ะตอนน้ี จะเอาอะไรไปทิ้งให้ปลามันอยู่ ข้าพเจ้าจึงน�ำมาเล่าให้ท่านทั้งหลายฟังว่า
ปะการงั เทยี มนั้นน่ะ ใช้ได้ผลจรงิ ๆ นา่ ภมู ิใจแทนหน่วยงานท้งั หลาย ทชี่ ว่ ยเหลือประชาชนนน้ั ประสบ
ผลสำ� เรจ็ และขา้ พเจา้ กเ็ ลยขอถอื โอกาสน้ี สง่ ขา่ วถงึ กลมุ่ ประมงพนื้ บา้ น ทเ่ี ขาเขยี นจดหมายถงึ ขา้ พเจา้
ขอปะการงั เทียมเพมิ่ ด้วยว่า ข้าพเจา้ จะพยายามขอร้อง ขอใหท้ างกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และก็
ทุกแห่ง ช่วยกันประสานงาน เช่ือว่าอีกไม่นานเกินรอ ก็คงจะเร่ิมจัดสร้างพ้ืนที่บริเวณปะการังเทียม
ไดอ้ ีก เพ่ือประชาชนจะได้ไปตกปลา ไปทำ� มาหากินได้เพิ่มนะคะ ท่านนายกฯ…”

แนวปะการัง เป็นระบบนิเวศท่ีมีความหลากหลายทางชีวภาพและอุดมสมบูรณ์มากที่สุด
แห่งหน่ึงในทะเลและมีการเปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลา โดยปะการังส่วนหนึ่งเจริญเติบโต ขณะเดียวกัน
ปะการังอกี สว่ นหนึง่ กส็ ลายไปโดยกระบวนการทางธรรมชาตแิ ละจากการกระท�ำของมนุษย์ กระบวนการ
ทางธรรมชาติ อาทิ การเกิดปะการังฟอกขาว เน่ืองจากอุณหภูมิน�้ำทะเลสูงผิดปกติ การเกิดพายุท�ำให้
เกิดคล่ืนรุนแรงพัดท�ำลาย หรือการเกิดปลาดาวมงกุฎหนามท่ีกินปะการังระบาด และโดยเฉพาะภาวะ
ท่ีเกิดจากการรบกวนของมนุษย์ เช่น การพัฒนาพื้นท่ีชายฝั่ง การประมง การท่องเที่ยวดูปะการังใต้น�้ำ
อาจก่อให้เกิดความเส่ือมโทรมของแนวปะการงั มากข้ึนและเร็วข้นึ

พระมารดาแห่งการคุ้มครองความหลากหลายทางชีวภาพ 187

ปะการังในแต่ละพื้นที่จะมีความเสียหายแตกต่างกัน ท้ังน้ี ข้ึนอยู่กับประเภทและความรุนแรง
ของปัจจัยท่ีมากระทบ รวมท้ังขึ้นอยู่กับองค์ประกอบชนิดของปะการังในพื้นท่ีน้ัน ๆ ว่ามีความบอบบาง
หรือทนทานต่อผลกระทบมากน้อยเพียงใด แนวปะการังมีการเปล่ียนแปลงอยู่เสมอ บางแห่งอาจ
เปล่ียนแปลงเส่ือมโทรมลง ในขณะที่บางแห่งมีการฟื้นตัวเกิดขึ้นใหม่ การบริหารจัดการแนวปะการัง
ธรรมชาติให้คงความอุดมสมบูรณ์ จึงเป็นเร่ืองที่ท้าทายและยากล�ำบากส�ำหรับหน่วยงานท่ีมีหน้าที่
รับผิดชอบ การจัดสร้างปะการังเทียมเป็นกลยุทธ์หน่ึงท่ีช่วยฟื้นฟูระบบนิเวศทางทะเล ให้กลับคืนความ
สมบูรณแ์ ละเพมิ่ ความหลากหลายทางชีวภาพข้นึ ได้

กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งได้รับสนองพระราชด�ำริ โดยตระหนักถึงความส�ำคัญของ
การจดั วางปะการงั เทยี ม โดยไดด้ ำ� เนนิ การจดั วางปะการงั เทยี มอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ตง้ั แตป่ ี พ.ศ. ๒๕๔๗–๒๕๖๔
ในพนื้ ที่ ๑๘ จังหวัดชายฝงั่ ทะเล ไดแ้ ก่ จังหวดั ตราด จนั ทบุรี ระยอง ชลบุรี เพชรบรุ ี ประจวบคีรขี ันธ์
ชุมพร สุราษฎรธ์ านี นครศรีธรรมราช สงขลา ปตั ตานี นราธวิ าส ระนอง พังงา ภเู ก็ต กระบ่ี ตรงั และสตลู
โดยรปู ทรงของปะการังเทียมมี ๒ รูปทรง ได้แก่ รปู ทรงสเี่ หลย่ี มลกู บาศก์ (ปี พ.ศ. ๒๕๔๗–๒๕๖๓) จำ� นวน
๑๕๒,๓๕๑ แทง่ และรปู ทรงโดม (ปี พ.ศ. ๒๕๖๓–๒๕๖๔) จ�ำนวน ๗,๗๓๘ แทง่

ในปี พ.ศ. ๒๕๖๕ กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งได้มีแผนด�ำเนินการจัดวางปะการังเทียม
จ�ำนวน ๔,๖๖๓ แท่ง โดยมีวัตถุประสงค์ เพ่ือฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเล สร้างแนวปะการังเทียมให้เป็น
แหล่งที่อยู่อาศัย หลบภัย วางไข่ ของส่ิงมีชีวิตใต้น้�ำ และเพื่อเป็นแหล่งท�ำมาหากิน ให้กับชาวประมง
ผู้ประกอบการท่องเท่ียว หรือผู้ท่ีเข้ามาใช้ประโยชน์ในการศึกษาวิจัย เก่ียวกับการเจริญเติบโตของแนว
ปะการงั เทยี ม ฯลฯ
การคัดเลอื กพ้ืนทวี่ างปะการังเทยี ม มหี ลกั ในการพิจารณาคดั เลอื กพ้นื ท่ีดังนี้
๑. บริเวณทจ่ี ัดวางจะต้องเป็นไปตามวตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ
๒. ไมก่ ีดขวางการสญั จรทางน้�ำหรืออยใู่ กล้ปากแมน่ �้ำทีม่ ีการเปล่ียนแปลงความเค็มของนำ้� ทะเล
๓. ระดบั น�้ำเหนือกองวสั ดุต้องมีความลึกไม่น้อยกวา่ ๑๐ เมตร เม่ือนำ�้ ลงต่�ำสุด
๔. ไม่อยูใ่ นเขตพื้นท่คี ุม้ ครองตามกฎหมายตา่ ง ๆ เชน่ เขตอทุ ยานแห่งชาติ
๕. ไม่ส่งผลกระทบตอ่ แนวปะการงั ธรรมชาติ แหล่งหญ้าทะเล
๖. ควรมรี ะยะหา่ งจากสายเคเบลิ้ ใต้น�้ำ ท่อสง่ กา๊ ซ สายไฟฟา้ อยา่ งน้อย ๑ กิโลเมตร
๗. ไมเ่ ปน็ พื้นที่หวงห้าม เชน่ เขตพระราชฐาน เขตรอ่ งน�้ำ เขตจอดเรือ เขตสมั ปทาน เปน็ ตน้
๘. ไม่เป็นพนื้ ทท่ี สี่ ่งผลกระทบต่อความมัน่ คงของประเทศ เช่น เขตชายแดน เขตฝกึ ซ้อม เปน็ ตน้

รูปแบบปะการังเทยี ม
ปะการงั เทยี มสามารถจะใช้วัสดุต่าง ๆ เชน่ ท่อคอนกรีต โบกี้รถไฟชำ� รดุ รถท่ชี �ำรดุ มาจดั วางใต้

น้ำ� ได้ แตส่ �ำหรบั หนว่ ยงานที่มภี ารกิจตอ้ งปฏิบัติเป็นงานปกติ มีการศึกษาวจิ ัยและออกแบบปะการังเทยี ม
ไวบ้ างแบบด้วย

188 ๙๐ พรรษา บรมราชินนี าถ

ปะการังเทยี มคอนกรตี ทรงส่เี หลี่ยมลกู บาศก์
กรมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝง่ั ใชด้ ำ� เนนิ การจดั วางในปี พ.ศ. ๒๕๔๗–๒๕๖๓ เปน็ ปะการงั เทยี ม

ที่ท�ำจากคอนกรตี ขนาด ๑.๕ x ๑.๕ x ๑.๕ เมตร นำ้� หนกั ต่อแท่งประมาณ ๑,๐๖๐ กิโลกรัม รูปทรงสีเ่ หลยี่ ม
ลกู บาศกส์ ามารถใชป้ ระโยชนใ์ นการ เปน็ แหลง่ อาศยั สตั วท์ ะเล เปน็ ฐานเกาะของตวั ออ่ นปะการงั เปน็ แหลง่
ท่องเทีย่ วด�ำนำ�้ เป็นต้น ซึง่ รูปแบบส่เี หลย่ี มน้ี มรี าคาถกู กวา่ ปะการงั เทยี มแบบอื่น ๆ เนอ่ื งจากเป็นรปู ทรง
พน้ื ฐาน สะดวกตอ่ การจดั ทำ� ขนย้าย และการจัดวางในทะเล

ปะการงั เทยี มคอนกรีตรปู ทรงโดม
ปะการังเทียมรูปทรงโดม กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งใช้ด�ำเนินการจัดวางในปี พ.ศ.

๒๕๖๓–๒๕๖๔ ท�ำจากคอนกรีตรปู ทรงรูปโดมที่มีฐาน ๖ เหลี่ยม ขนาดฐานกวา้ ง ๑.๘๐ เมตร ความสงู
๑.๕๐ เมตร มีรูเปิดจ�ำนวน ๑๙ ช่อง น�้ำหนักประมาณ ๑,๒๐๐ กิโลกรัม เป็นรูปแบบท่ีกรมทรัพยากร
ทางทะเลและชายฝง่ั นำ� มาใชจ้ ดั วางแทนรปู ทรงสเี่ หลยี่ มลกู บาศก์ เนอ่ื งจากปะการงั เทยี มรปู ทรงโดมมพี น้ื ที่
ผวิ และปริมาตรภายในมากกว่า ชว่ ยเพิม่ โอกาสใหส้ ัตว์ทะเลประเภทเกาะติดเกาะยดึ ไดม้ ากข้ึน โดยเฉพาะ
กลุ่มปะการัง และการมีช่องเปิดขนาดเล็กในขณะที่มีปริมาตรภายในมาก ช่วยเพ่ิมแหล่งที่อยู่อาศัยและ
แหลง่ หลบภัยใหแ้ ก่สตั วน์ ้�ำได้ดี

พระมารดาแห่งการคุ้มครองความหลากหลายทางชวี ภาพ 189

ปะการังเทียมจากเรอื รบปลดประจ�ำการ กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ได้
ด�ำเนินการจัดวางปะการังเทียมจากเรือรบที่ปลด
ประจ�ำการและได้รับมอบจากกองทัพเรือในหลาย
พ้ืนท่ี โดยวัตถุประสงค์ของการจัดวาง เพ่ือฟื้นฟู
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง เสริมแนวปะการัง
ธรรมชาติ และส่งเสริมกิจกรรมการท่องเที่ยวทาง
ทะเล โดยเพมิ่ แหลง่ ดำ� น้ำ� ใหม่

ปะการังเทียมจากตู้รถไฟ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ กรมทรัพยากรทางทะเล
และชายฝั่งจัดวางปะการังเทียมเพ่ือลดผลกระทบ
จากการทอ่ งเทยี่ วดำ� น�ำ้ โดยการวางตู้รถไฟช�ำรดุ ที่
ได้รับมอบจากการรถไฟแห่งประเทศไทย จ�ำนวน
๒๐ ตู้ เพื่อเป็นแหล่งท่องเที่ยวด�ำน�้ำ บริเวณเกาะ
แหวน อำ� เภอกนั ตัง จังหวัดตรัง

ปะการงั เทยี มจากขาแทง่ หลมุ ผลิตปโิ ตรเลียม ป ะ ก า รั ง เ ที ย ม จ า ก ข า แ ท ่ น ห ลุ ม ผ ลิ ต
ปิโตรเลียมทหี่ มดอายุสมั ปทานแล้ว น�ำมาจัดวางใน
พนื้ ทเ่ี ปา้ หมาย สำ� หรบั การฟน้ื ฟทู รพั ยากรทางทะเล
และชายฝั่ง เป็นแหล่งท่องเที่ยวด�ำน�้ำ และแหล่ง
ทำ� การประมง โดยในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ กรมทรพั ยากร
ทางทะเลและชายฝง่ั จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั และ
บริษัทเซฟรอนประเทศไทยฯ ได้ร่วมกันด�ำเนิน
โครงการน�ำร่องการใช้ขาแท่นหลุมผลิตปิโตรเลียม
จ�ำนวน ๗ ขาแท่น ไปจัดวางเป็นปะการังเทียมใน
พน้ื ท่เี กาะพะงนั จังหวัดสุราษฎร์ธานี

190 ๙๐ พรรษา บรมราชินนี าถ

ประติมากรรมความหลากหลาย
ทางธรรมชาติภายในถ้ำ� แกว้ โกมล

“…ให้ประชาชนในพื้นท่ี ช่วยกันมีส่วนร่วมในการรักษา ดูแล อนุรักษ์ถ้�ำแห่งนี้ไว้ เพราะเป็น
ทรัพยากรท่ีมีค่าของชาติ พร้อมท้ังทรงเน้นว่า ในการจัดการท่องเท่ียวภายในถ้�ำน้ัน ต้องเป็นการท่อง
เที่ยวในเชิงอนรุ ักษ์ เพือ่ รักษาสภาพแวดล้อมของพื้นที่ ใหค้ งสภาพเดมิ ไวใ้ ห้สมบรู ณม์ ากที่สุด…”

พระราชด�ำรัส สมเดจ็ พระนางเจา้ สิริกติ ์ิ พระบรมราชนิ ีนาถ พระบรมราชชนนีพนั ปหี ลวง
พระราชทานแกค่ ณะบุคคลตา่ ง ๆ ท่ีเข้าเฝา้ ฯ เนอื่ งในการเสดจ็ พระราชด�ำเนินเย่ยี มชมถ�้ำแมล่ าน้อย

จังหวดั แม่ฮ่องสอน วนั ท่ี ๑๙ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๔๔

พระมารดาแหง่ การคมุ้ ครองความหลากหลายทางชวี ภาพ 191

สมเด็จพระบรมราชชนนีพนั ปหี ลวง เสดจ็ พระราชด�ำเนินพร้อมดว้ ยพระบาทสมเด็จพระวชริ เกลา้
เจา้ อยู่หวั ขณะทรงด�ำรงพระอิสริยยศ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกมุ าร จากศนู ยบ์ รกิ าร
และพัฒนาเกษตรที่สูงปางตองตามพระราชด�ำริ ต�ำบลหมอกจ�ำแป่ อ�ำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ไป
ทอดพระเนตรถ�้ำผลึกแคลไซต์แม่ลาน้อย วนอุทยานถ้�ำแม่ลาน้อย ต�ำบลแม่ลาน้อย อ�ำเภอแม่ลาน้อย
จังหวัดแม่ฮ่องสอน ทรงพระด�ำเนินไปทอดพระเนตรสภาพภายในถ้�ำ ซึ่งเต็มไปด้วยผลึกแร่แคลไซต์รอบ
ดา้ น ท้งั บรเิ วณผนงั ถ�้ำ พนื้ ถ�้ำ และเพดานถ้�ำ ทีม่ ีรูปร่างลกั ษณะตา่ ง ๆ จับตวั กนั เปน็ รูปคลา้ ยปะการงั ดอก
กะหลำ่� เกล็ดน�้ำแขง็ และมีสีสนั เช่น สขี าว สีเหลอื ง สีแดง และสนี ้�ำตาล

ภายในถ�้ำแหง่ น้ี แบง่ ออกเปน็ ๕ โถง แตล่ ะโถงไดต้ ั้งชอ่ื ใหส้ อดคลอ้ งกบั ความสวยงามของการจบั
ตัวของผลึกแคลไซต์ ไดแ้ ก่ พระทัยธาร เปน็ หอ้ งท่ธี ารนำ�้ แร่ไหลออกมาจากผนงั ถำ้� เมอ่ื นำ�้ ระเหยไป แรก่ ็
จะจับตัวกันเป็นคราบสีขาว ตัดกับผนังถ้�ำสีเทาด�ำ มองดูเหมือนธารน้�ำตก วิมานเมฆ มีลักษณะภายใน
เหมอื นอยใู่ นกลมุ่ เมฆรปู รา่ งตา่ ง ๆ เฉกหมิ พานต์ มลี กั ษณะเปน็ ปา่ หนิ มสี นี ำ�้ ตาล เหมอื นรปู วาดปา่ หมิ พานต์
ตามจนิ ตนาการในนิยายโบราณของไทย ม่านผาแกว้ มีลักษณะเป็นผาสขี าว ทเี่ ป็นแร่แคลไซตซ์ ่งึ ไหลย้อย
ลงมาจากเพดานถ�้ำ มองดูเหมือนหน้าผาใหญ่สูงชัน ส่วนห้องท่ี ๕ มีชื่อว่า เพริศแพร้วมณีบุปผา
เปน็ หอ้ งท่ีนับว่าสวยงามมากทีส่ ุด เพราะแรแ่ คลไซต์ได้จับตัวกันเปน็ รูปดอกไมใ้ ส เหมือนดอกไมแ้ ก้วสขี าว
หลากหลายชนิดได้มารวมกันอยู่ภายในห้องนี้ท้ังหมด ถ้�ำแห่งน้ีมีความยาวท้ังหมดประมาณ ๑๒๐ เมตร
มีความลกึ ๓๐ เมตร จากระดบั ผวิ ดนิ ตัง้ อยบู่ นไหล่เขาดอยถ้�ำ บา้ นหว้ ยมะไฟ ตำ� บลแมล่ านอ้ ย อำ� เภอ
แม่ลาน้อย อยู่สูงจากระดับน�้ำทะเลประมาณ ๕๐๐ เมตร ค้นพบโดยเจ้าหน้าที่ของกรมทรัพยากรธรณี
จังหวัดแม่ฮ่องสอน เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๖ ซึ่งต่อมา กรมป่าไม้ได้เข้าไปด�ำเนินการจัดเป็นวนอุทยานถ�้ำแม่
ลาน้อย ให้อยู่ในความดูแลรับผิดชอบของอุทยานแห่งชาติสาละวิน เพ่ือเป็นแหล่งศึกษาทางด้าน
ธรณวี ทิ ยาและแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วทถ่ี าวรของชาติ เนอื่ งจากเปน็ ถำ�้ ทถ่ี อื ไดว้ า่ มชี วี ติ เพราะมกี ารเกดิ และตกผลกึ
ของแร่แคลไซต์อยู่ตลอดเวลา สมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวง ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรด
กระหมอ่ ม พระราชทานชอ่ื ถ�้ำแห่งนว้ี า่ “แก้วโกมล”

ในปี พ.ศ. ๒๕๖๕ นายวราวธุ ศลิ ปอาชา รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงฯ ไดส้ งั่ การใหก้ รมทรพั ยากรธรณี
กรมอุทยานแห่งชาติ สตั ว์ปา่ และพนั ธพุ์ ชื และกรมปา่ ไม้ รว่ มมอื กนั สำ� รวจถ้�ำแก้วโกมล เพอ่ื ใหไ้ ด้ขอ้ มลู
ทางวิชาการ น�ำมาสู่การบริหารจัดการถ�้ำอย่างยั่งยืน ถ้�ำแห่งน้ีจัดว่าเป็นถ้�ำก่ึงเป็นกึ่งตาย เนื่องจาก
ประตมิ ากรรมในถำ้� สว่ นใหญไ่ มม่ กี ารสะสมตวั เพมิ่ และถงึ แมป้ ระตมิ ากรรมถำ้� สว่ นใหญเ่ ปน็ ผลกึ แรแ่ คลไซต์
(Calcite) และผลกึ แรอ่ ะราโกไนต์ (Aragonite) ทมี่ ปี ระกายระยบิ ระยบั อยบู่ า้ งกต็ าม แตผ่ วิ ของผลกึ แรน่ นั้
ถกู เคลอื บไปดว้ ยฝุ่นสนี �้ำตาล ท�ำใหผ้ ลึกแรม่ ปี ระกายไมม่ ากเทา่ ทคี่ วร หนิ ปนู ของถำ้� แก้วโกมล เกิดในยคุ
ออร์โดวิเชียน อายุประมาณ ๔๘๕ ลา้ นปี

192 ๙๐ พรรษา บรมราชนิ ีนาถ

กรมทรัพยากรธรณีได้ด�ำเนินการส�ำรวจจัดท�ำแผนผังถ�้ำ ๒ มิติ พบว่า ถ�้ำมีความยาวประมาณ
๑๑๑ เมตร ต�ำแหน่งปากถ�้ำสงู ๕๑๕ เมตร จากระดบั ทะเลปานกลาง ปากถำ้� กวา้ ง ๕ เมตร สูง ๖.๒๕ เมตร
โดยถำ้� มคี วามลกึ ในแนวดงิ่ ประมาณ ๓๐ เมตร จากการสำ� รวจพบวา่ บรเิ วณปากถำ้� เปน็ บรเิ วณโซนถำ�้ สวา่ ง
ผนังถ้�ำทั้งหมดถูกเคลือบด้วยปูนซีเมนต์ เพ่ือเป็นการเพ่ิมเสถียรภาพของโถงถ�้ำให้มีความแข็งแรง ระดับ
พ้ืนถ�ำ้ ชว่ งนี้ค่อนขา้ งราบ ลักษณะเป็นห้องโถง และมีชอื่ เรียกวา่ โถงท่ี ๑ พระทัยธาร จากโถงพระทยั ธาร
พื้นถ้�ำเอียงเทเล็กน้อยด้วยมุมประมาณ ๘ องศา ผนังถ้�ำและเพดานถ�้ำเต็มไปด้วยประติมากรรมผลึกแร่
แคลไซต์ ที่มลี กั ษณะคลา้ ยพวงองุน่ ส่วนผลึกแรท่ ี่มีลักษณะคล้ายแทง่ เข็มเป็นผลึกแรอ่ ะราโกไนต์ พบโถง
ถ�ำ้ มลี ักษณะเปน็ ห้องโถงอกี หนง่ึ จุด มีชอ่ื เรยี กว่า โถงท่ี ๒ วิมานเมฆ จากโถงวมิ านเมฆ เดนิ ต่อไปจะพบวา่
ถำ้� เอยี งเทคอ่ นข้างชันด้วยมุมประมาณ ๕๕ องศา ประติมากรรมถ้�ำทพี่ บเปน็ ผลกึ แร่แคลไซต์ และผลกึ แร่
อะราโกไนต์ พ้ืนถ�้ำกลับมาค่อนข้างราบอีกคร้ัง บริเวณนี้พบห้องโถงอีกหน่ึงจุด มีช่ือเรียกว่า โถงที่ ๓
เฉกหิมพานต์ ประติมากรรมถ�้ำที่พบได้แก่ ผลึกแร่แคลไซต์ และผลึกแร่อะราโกไนต์ เมื่อเดินต่อมาตาม
ทางราบพบพืน้ ถ้�ำเรม่ิ เอียงเทคอ่ นข้างมากอกี คร้ังดว้ ยมุมประมาณ ๓๒ องศา และพบโถงถำ้� ลกั ษณะเปน็
ห้องโถง มีชอ่ื เรยี กว่า โถงที่ ๔ ม่านผาแก้ว ประติมากรรมถ้�ำทง้ั หมดยังคงเป็นผลึกแรแ่ คลไซต์ และผลกึ แร่
อะราโกไนต์ และด้านในสุดของถ�้ำแก้วโกมล มชี ่อื เรยี กวา่ โถงท่ี ๕ เพรศิ แพรว้ มณีบุปผา ประติมากรรมถำ้�
ทีพ่ บไดแ้ ก่ ผลึกแรแ่ คลไซต์ ผลกึ แร่อะราโกไนต์ หินงอก (Stalagmite) และหินน้ำ� ไหล (Flowstone)

ประตมิ ากรรมถ้�ำ ประเภทผลึกแรแ่ คลไซต์ (Calcite) ลกั ษณะคล้ายพวงองนุ่
และผลกึ แรอ่ ะราโกไนต์ (Aragonite) ลกั ษณะคล้ายแท่งเขม็

พระมารดาแหง่ การคุม้ ครองความหลากหลายทางชวี ภาพ 193

ประติมากรรมถ�้ำประเภทหินงอก (Stalagmite)

ประติมากรรมถ�้ำประเภทหินน้�ำไหล (Flowstone)

194 ๙๐ พรรษา บรมราชนิ นี าถ

การอนรุ กั ษแ์ ละเพ่ิมประสทิ ธภิ าพระบบน�้ำบาดาล

“...การที่ทางการเขาสงวนปา่ เอาไว้ ก็เพอ่ื ความสมดลุ ของธรรมชาติ เพราะวา่ ทกุ ๆ ครงั้ ทีม่ ี
พายุ มฝี นอะไรมาเนี่ย ต้นไม้ต่าง ๆ กจ็ ะดดู นำ้� เขา้ ไวท้ ล่ี ำ� ต้น และกใ็ ต้ดนิ แลว้ ก็จะกลายเป็นนำ�้ บาดาล
เป็นประโยชนแ์ ก่พวกเราเอง...”

พระราชด�ำรสั สมเด็จพระนางเจ้าสิริกติ ิ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพนั ปหี ลวง
เน่อื งในวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย พระต�ำหนกั จิตรลดารโหฐาน พระราชวังดสุ ิต

วนั ที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๔๖

พระมารดาแห่งการคมุ้ ครองความหลากหลายทางชีวภาพ 195

กรมทรัพยากรน�้ำบาดาล กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ได้ด�ำเนินโครงการ
ศึกษาการอนุรักษ์และเพ่ิมประสิทธิภาพระบบน้�ำบาดาล เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์
พระบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง โดยมวี ัตถุประสงค์ เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระบรม
ราชชนนีพันปีหลวง เน่ืองในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๙๐ พรรษา ๑๒ สิงหาคม ๒๕๖๕
และเป็นการอนุรักษ์บ่อน�้ำบาดาลให้มีสภาพพร้อมใช้งาน สามารถแก้ปัญหาการขาดแคลนน้�ำส�ำหรับการ
อุปโภคบริโภคของประชาชน รวมถึงเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพระบบน้�ำบาดาลของทางราชการท่ีใช้เพ่ือ
ประโยชน์สาธารณะ

จากข้อมูลการส�ำรวจบ่อน�้ำบาดาลของกรมทรัพยากรน�้ำบาดาลท่ัวประเทศพบว่า บ่อน�้ำบาดาล
ของทางราชการที่มีอายกุ ารใชง้ านมากกว่า ๕ ปี ขนึ้ ไป จำ� นวนกว่า ๙๓,๐๐๐ บอ่ มคี วามจ�ำเปน็ เร่งด่วน
ในการฟื้นฟูประสิทธิภาพระบบน�้ำบาดาล จ�ำนวน ๑,๔๑๖ บ่อ เพื่อเตรียมความพร้อมในการรับมือต่อ
ภยั พิบตั ติ า่ ง ๆ และเพื่อเป็นแหล่งน้�ำสะอาดใหก้ ับประชาชนใช้อุปโภคบริโภค

ในการนี้ กรมทรพั ยากรนำ�้ บาดาลไดม้ อบหมายใหเ้ จา้ หนา้ ทสี่ ำ� นกั ทรพั ยากรนำ้� บาดาลเขต ๑–๑๒
เปา่ ล้างบ่อนำ�้ บาดาล วิเคราะห์คณุ ภาพน้�ำบาดาล เปลย่ี นทอ่ และซ่อมแซมระบบนำ�้ บาดาล

196 ๙๐ พรรษา บรมราชินีนาถ

โดยคาดว่าจะแล้วเสร็จทั้งหมด ๑,๔๑๖ แห่ง ภายในส้ินเดือนกันยายน ๒๕๖๕ ซ่ึงประโยชน์ที่
คาดว่าจะไดร้ บั หลังจากด�ำเนินการแลว้ เสร็จ ดงั นี้

– เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวง เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิม
พระชนมพรรษา ๙๐ พรรษา ๑๒ สิงหาคม ๒๕๖๕

– ไดแ้ นวทางการฟื้นฟูและอนุรักษบ์ ่อน�้ำบาดาล สำ� หรับตอ่ ยอดโครงการอื่น
– เพ่ิมประสิทธิภาพระบบน�้ำบาดาลเพ่ือแก้ปัญหาการขาดแคลนนำ�้ ในพื้นท่ีประสบภัยแล้ง ให้

มนี �้ำส�ำหรับการอุปโภคบริโภคอยา่ งเพยี งพอ จำ� นวน ๑๔๑,๖๐๐ ครัวเรือน
– ได้อนุรักษ์บ่อน้�ำบาดาลให้อยู่ในสภาพดีและใช้งานได้ตรงตามวัตถุประสงค์ เพ่ือการบริหาร

จัดการทรพั ยากรน้�ำบาดาลให้ใช้ประโยชนไ์ ด้อยา่ งยง่ั ยนื จ�ำนวน ๑,๔๑๖ แหง่ ทั่วประเทศ
– สามารถเผยแพร่แนวทางในการเพ่ิมประสิทธิภาพบ่อน�้ำบาดาลให้กับประชาชนทั่วไปทราบ

เพือ่ การอนุรกั ษ์บ่อนำ้� บาดาลทย่ี ัง่ ยนื
– เพ่ือเพิ่มความม่ันคงด้านน้�ำต้นทุนส�ำหรับการอุปโภคบริโภคให้กับประชาชนที่ประสบปัญหา

การขาดแคลนน�้ำด้านอปุ โภคบรโิ ภคในสถานการณภ์ ัยแลง้ น�ำ้ กิน น้�ำใช้ ตอ้ งไม่ขาดแคลน
ประมวลภาพกจิ กรรมในโครงการ

การถอนทอ่ บอ่ น้�ำบาดาล

ขณะเป่าล้างบอ่ นำ�้ บาดาล หลังการเปา่ ล้างบอ่ นำ้� บาดาลแล้ว

พระมารดาแห่งการค้มุ ครองความหลากหลายทางชวี ภาพ 197

พระมหากรุณาธิคุณทที่ รงมีต่อชา้ งไทย

“...เมอ่ื ขา้ พเจา้ เดนิ ทางไปตา่ งประเทศครง้ั ทแี่ ลว้ ขา้ พเจา้ มโี อกาสไดพ้ บกบั ผทู้ รงคณุ วฒุ ใิ นดา้ น
ธรรมชาตแิ ละการอนรุ กั ษ์ ผู้ทรงคณุ วฒุ เิ หล่าน้ันไดแ้ สดงความหว่ งใยเปน็ อย่างยิง่ ต่อการสูญเสียป่าไม้
และสัตว์ป่าของไทยเรา ข้าพเจ้าเพ่ิงตระหนักว่าหลายส่ิงหลายอย่าง ท่ีเราไม่ได้ให้ความส�ำคัญกับมัน
มากนกั กลบั กลายเป็นสง่ิ ท่มี คี วามสำ� คญั และล้�ำคา่ ในสายตาของคนทีส่ นใจอ่ืน ๆ ท่ัวโลก สัตวป์ ่า เชน่
นกหวา้ ไก่ฟ้าพญาลอ กระทงิ กปู รี แรด และกระซู่ เป็นเพยี งบางสว่ นของสัตว์ปา่ ของไทยท่ใี กลจ้ ะสญู
พันธ์ุ แมแ้ ตช่ า้ งซงึ่ เปน็ สตั ว์ทีห่ าไม่ยาก แต่ก็มคี วามสำ� คัญต่อวฒั นธรรมและประวัติศาสตร์ของชาติเรา
ก็ก�ำลังลดจ�ำนวนลงอยา่ งรวดเร็ว...”

พระราชด�ำรัส สมเด็จพระนางเจา้ สิริกติ ์ิ พระบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนีพันปหี ลวง
พทุ ธศักราช ๒๕๒๖

198 ๙๐ พรรษา บรมราชนิ ีนาถ


Click to View FlipBook Version