The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ชีวิตงามนามจุลสิงห์

คำ�ไ อ้ �ลยั
ของ � ตร�จ�รยพ์ เิ พรเพชร ิชติ ชลชัย

ประธ�น ุฒิ ภ�
แด่ � ตร�จ�รยพ์ เิ จุล ิง ์ นั ต ิง ์

ผมไม่เคยคิดมาก่อนเลยวา่ จะต้องมาเขียนค�าไวอ้ าลัยในงานพระราชทานเพลงิ ศพ “จุลสงิ ห์” เพอ่ื น
รกั กนั มาตงั้ แตส่ มยั เรยี นหนงั สอื ดว้ ยกนั ตงั้ แตเ่ ดก็ ชน้ั ประถมทว่ี ชริ าวธุ วทิ ยาลยั เหตทุ ค่ี ดิ เชน่ นน้ั กเ็ พราะเราทงั้
สองยงั ไมเ่ คยคดิ วา่ แกห่ รอื หมดกา� ลงั วงั ชา ผมอายมุ ากกวา่ จลุ สงิ ห ์ ๒ ป ี ดงั นน้ั จลุ สงิ หก์ ย็ งั ไมถ่ งึ ๗๐ ประกอบ
กบั ไมเ่ คยไดย้ นิ ขา่ วถงึ อาการเจบ็ ไขไ้ ดป้ ว่ ยดว้ ยโรครา้ ยแรงใดๆ ในทางตรงกนั ขา้ มเขากลบั มงุ่ มน่ั ทา� งานดว้ ย
ความวิรยิ ะอตุ สาหะ หลังจากจลุ สิงห์ลาออกจากราชการเมือ่ จบการด�ารงต�าแหน่งสงู สดุ คอื อัยการสงู สดุ
แลว้ จุลสิงหก์ ็ยังทา� งานสอนวิชากฎหมายอยู่ และได้รบั โปรดเกลา้ ฯ ให้เปน็ กรรมการร่างกฎหมายในคณะ
กรรมการกฤษฎีกา นอกจากนั้นเขายงั ท�าประโยชนใ์ ห้แก่สถาบันการศึกษาทเ่ี ขาเลา่ เรียนไดว้ ิชาความร ู้ โดย
ไปช่วยงานจัดการทรัพย์สินของวชิราวุธวิทยาลัยและจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จุลสิงห์เป็นเพื่อนรักท่ีผม
ภาคภมู ใิ จมากในการทเี่ ขาทา� งานเปน็ ประโยชนแ์ กป่ ระเทศชาต ิ จงึ รสู้ กึ ใจหายมากทเี่ พอ่ื นรกั มาดว่ นจากไป
จลุ สงิ หม์ ชี อ่ื เลน่ ทคี่ รอบครวั ตงั้ ใหว้ า่ “อ”ู สว่ นตอนเรยี นทวี่ ชริ าวธุ เพอื่ นมกั เรยี กชอื่ เลน่ ตามลกั ษณะ
หรือบุคลกิ ของแต่ละคน เพอื่ นๆ เรียกจุลสงิ หใ์ นสมยั เรียนหนงั สอื ว่า “ลงิ ” เหตุทเี่ รียกวา่ ลงิ กเ็ พราะเขาว่งิ
เรว็ มากๆ ดงั น้นั ถา้ วิ่งแข่ง ๑๐๐ เมตร เขามกั จะชนะเสมอด้วยสถติ ทิ ่ีน่าจะตา่� กวา่ ๑๒ วินาที ส่วนผมสมยั
แขง่ ขนั กรีฑาน้องใหม่ สถิติของผมสูงกวา่ ๑๒ วินาทีเล็กนอ้ ยในการแขง่ ขันกรีฑานอ้ งใหม่ของจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย ผมและจุลสงิ ห์วงิ่ ผลัดอยูใ่ นทีมเดียวกนั จุลสงิ หว์ ง่ิ ไม้แรกออกสตารท์ สว่ นผมวง่ิ ไม้สดุ ท้าย
แยง่ ซีนไปไดส้ า� เร็จ ทีมนอ้ งใหม่ “สิงห์ด�า” ไดเ้ หรยี ญทองไป ตอนน้นั ทง้ั จลุ สงิ ห์และผมเรยี นนิติศาสตร ์ แต่
ยังไม่เป็นคณะนิติศาสตร์เป็นแค่แผนกนิติศาสตร์ในคณะรัฐศาสตร์ ถือว่านิติศาสตร์เป็นประเทศราชของ
คณะรฐั ศาสตร ์ แต่จลุ สิงห์คงดีใจที่ได้มาเรยี นทค่ี ณะรฐั ศาสตร์เพราะสถานท่แี ห่งนีท้ �าให้จลุ สิงห์ไดพ้ บความ
รักกบั คุณภทั รา วรี เธยี ร และต่อมาได้รบั พระมหากรณุ าธิคณุ โปรดเกลา้ ฯ ประกอบพิธสี มรสพระราชทานให้
แกจ่ ลุ สงิ หแ์ ละคณุ ภัทราโดยลน้ เกลา้ ฯ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัวภูมิพลอดลุ ยเดช รชั กาลท ี่ ๙

49

จลุ สงิ หเ์ กดิ มาในตระกลู ทบี่ รรพบรุ ษุ เปน็ ขา้ ราชสา� นกั เขาเกดิ อยใู่ นวงศต์ ระกลู ทมี่ ชี อื่ เสยี ง คณุ พอ่ คอื
คณุ เมอื งเริง วสนั ตสงิ ห ์ ซ่งึ เปน็ คนรว่ มสมัยกบั คุณพอ่ ผม คณุ เมืองเรงิ เป็นขา้ ราชสา� นักและเป็นสภุ าพบุรุษ
ที่เปน็ รู้จักท่วั ไปของสังคม คณุ พอ่ ผมเคยพดู ถึงคณุ เมืองเรงิ เสมอ ๆ โดยใชค้ �าพูดทีเ่ ป็นเอกลกั ษณ์แต่ไมไ่ ด้
ใชค้ า� วา่ “ไฮโซ” แบบที่มีใช้กนั ในปัจจุบนั เปน็ ทีน่ ่าเสียดายที่คุณเมอื งเรงิ คุณพอ่ ของจุลสงิ หต์ ้องอายุส้นั กวา่
วัยอนั ควร จุลสงิ ห์ต้องอยู่กบั มารดาเปน็ หลักและพี่สาวอกี ๔ คน มารดาของจุลสงิ ห์คอื หม่อมหลวงปานตา
(สกุลเดิมคือมาลากลุ ) จลุ สงิ ห์จงึ มศี ักด์ิเป็นหลานของหมอ่ มหลวงป่ิน มาลากุล
จลุ สิงหเ์ รียนหนงั สอื ทว่ี ชริ าวธุ กบั ผมต้งั แต่เด็กแต่ผมอยสู่ ูงกว่าชน้ั หนึ่งคอื ผมอยู่รนุ่ ๓๙ สว่ นจลุ สงิ ห์
อยู่รุ่น ๔๐ ปีสุดทา้ ยของการเรียนผมได้รับทุนนักเรยี นแลกเปลี่ยน AFS เป็นเวลา ๑ ปี ท�าให้ผมตอ้ งกลบั
มาเรยี นชัน้ มศ.๕ ทว่ี ชริ าวธุ ช่วงเวลาปีสุดทา้ ยท่วี ชริ าวธุ ท�าใหผ้ มสนทิ สนมกับจลุ สงิ ห์มากยิง่ ข้ึน เราพูดจา
แลกเปล่ียนความคิดเห็นกันถึงเร่ืองการสอบ entrance การเรียนในมหาวิทยาลัย แล้วเราก็ต้องตัดสินใจ
วา่ เราควรเรยี นกฎหมาย ตอนนนั้ มหาวิทยาลยั ที่สอนกฎหมายมี ๒ แห่ง คอื มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์กบั
จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย และเร่ิมมีการเปดิ สอนวิชากฎหมายแบบตลาดวชิ าทีร่ ามคา� แหง ใครๆ ก็ทราบดี
วา่ ธรรมศาสตรเ์ ปน็ authority ทางกฎหมาย สอนวิชากฎหมายมานาน เรียกว่านติ ิศาสตรเ์ ป็นพ่ใี หญข่ อง
ธรรมศาสตร์ แต่จุลสิงห์กบั ผมกเ็ หน็ รว่ มกันวา่ เราควรเรียนกฎหมายท่จี ุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เราเห็นว่า
จุฬาฯ มีจดุ อ่อนเพียงข้อเดยี วคอื นติ ศิ าสตรเ์ ปน็ เพียงสาขาวชิ าในคณะรัฐศาสตร ์ แตด่ า้ นคณาจารยแ์ ล้วไม่
นอ้ ยหน้าธรรมศาสตร ์ ข้อส�าคัญคอื เราเคยชนิ กบั ห้องเรียนเลก็ ๆ การทา� กิจกรรมต่างๆ เชน่ กฬี าและดนตรี
และที่ส�าคญั ท่สี ุดคือ เราคดิ ว่าเราจะต้องเรียนวชิ ากฎหมายตอ่ ในต่างประเทศ ซึง่ เราเห็นวา่ เร่ืองน้ีจุฬาฯ จะ
เปน็ บวกมากกวา่ และเรากค็ ดิ ไมผ่ ดิ เพราะ ๔ ปใี นจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ใหส้ งิ่ ทปี่ ระเสรฐิ มากกวา่ ปรญิ ญา
บตั รและวิทยฐานะแก่จุลสงิ หม์ ากมาย
ดังท่ีผมได้เขียนไว้ตอนต้นแล้วว่าจุลสิงห์พบรักกับคุณภัทรา วีรเธียร ซึ่งเรียนที่คณะรัฐศาสตร ์
จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั จลุ สงิ หม์ งุ่ มน่ั แนน่ อนวา่ จะตอ้ งอยเู่ ปน็ คคู่ รองชวี ติ กบั คณุ ภทั ราใหไ้ ด ้ เมอื่ คณุ ภทั รา
จบก็ไปเรียนต่อวิชาการเงินการคลังที่สหรัฐอเมริกาเลย แต่จุลสิงห์ยังไปไม่ได้เพราะแม้จะได้ปริญญาทาง
กฎหมายแลว้ กค็ วรตอ้ งสอบเปน็ เนตบิ ณั ฑติ กอ่ น จลุ สงิ หก์ ม็ งุ่ มนั่ อยา่ งเตม็ ทแ่ี ลว้ กส็ อบเนตบิ ณั ฑติ ได ้ พรอ้ ม ๆ
ไปกบั ฝึกภาษาองั กฤษกับผมจนสอบ TOEFL และไดร้ บั การตอบรบั ใหเ้ รียนตอ่ ท่ ี University of Ilinois, Law
School เราไปสหรัฐอเมรกิ าดว้ ยเคร่อื งบนิ flight เดยี วกนั จุลสิงห์มุง่ มนั่ เรยี นและจบไดร้ ับปรญิ ญาโททาง
กฎหมายเปรียบเทียบแล้วรีบบินกลับเมอื งไทยมารับราชการอัยการจนไดร้ ับต�าแหนง่ สงู สุดเป็นอัยการสูงสุด

50

ชีวติ สมรสของจุลสิงหแ์ ละคณุ ภัทรา ดา� เนินไปอยา่ งสมบูรณ์แบบ มีบตุ ร ๒ คน เปน็ ชายและหญงิ อย่างละ
๑ คน บุตรทง้ั สองมคี วามร ู้ ความสามารถ ประกอบวิชาชีพท่ตี นรัก และผมเช่อื ม่ันว่าจะดูแลคุณภัทราแทน
จุลสงิ ห์และความรักท่ีจุลสิงห์มีต่อคุณภทั ราได้อยา่ งดตี ลอดไป
ผมคงไม่เขียนถึงชีวิตการท�างานของจุลสิงห์ท่ีท�าประโยชน์ให้แก่ประเทศชาตินานัปการสุดที่จะ
พรรณนาได้ จุลสิงห์มักพูดกับผมเสมอวา่ “ชวี ติ ของเราคงไม่หยุดการทา� งานเพียงเท่าน้ี” สว่ นผมกม็ กั บอก
จลุ สงิ หว์ า่ “ชวี ิตไม่มีคณุ คา่ ในตนเอง คุณคา่ ของชีวิตอยทู่ ก่ี ารใชช้ ีวติ นั้น”

“ ังข�รลับดับไปไ ้เพียงร่�ง
ใช่ทุกอย่�งจะดับเลือนลับ นี

จุล ิง ์เ ลือไ ้ซ่ึงค �มดี
เป็น จีเล่�ข�น ืบน�นไป”
ดว้ ยคุณความดขี องจุลสิงห์ท่สี ร้างสมมาตลอดชีวิต ให้แกค่ รอบครัว เพ่อื นฝูง และประเทศชาตจิ ะ
ส่งผลให้ ศาสตราจารยพ์ เิ ศษจุลสิงห์ วสันตสิงห ์ ประสบแต่ความสุขในสมั ปรายภพตลอดนจิ นิรนั ดร์
ดว้ ยความรักและอาลัยเพ่อื นรักย่ิง

(ศาสตราจารย์พิเศษพรเพชร วิชติ ชลชยั )
ประธานวฒุ สิ ภา

51

อ�ลยั พ่จี ลุ งิ ์

ผมไดร้ บั ทราบข่าวการจากไปของพีจ่ ุลสิงห์ ด้วยความตกใจและเสียใจอยา่ งมาก เพราะเหตกุ ารณน์ ้ี

เกดิ ขน้ึ อยา่ งกะทนั หนั โดยทไ่ี มม่ ใี ครคาดคดิ มากอ่ น ประกอบกบั พจี่ ลุ สงิ หม์ สี ขุ ภาพแขง็ แรง และเปน็ นกั กฬี า

ทอ่ี อกก�าลงั กายอยูเ่ ปน็ นิจ จึงยากท่จี ะท�าใจเชือ่ ว่าพีจ่ ากพวกเราไปแลว้ จริงๆ

ผมรู้จักกับพี่จุลสิงห์ต้ังแต่ผมเข้ามารับราชการที่กรมอัยการใหม่ๆตอนนั้นพ่ีจุลสิงห์ท�างานอยู่กองท่ี

ปรกึ ษา กรมอยั การ สว่ นผมรับการฝกึ อบรมเป็นอัยการผูช้ ว่ ย ความจริงผมไดย้ ินไดฟ้ งั ชอ่ื เสยี งและความ

สามารถของพ่ีจุลสงิ ห์มาต้ังแต่เปน็ อาจารยอ์ ยู่ทค่ี ณะนติ ิศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย วา่ มีรนุ่ พ่ีจุฬาฯท่ี

อยู่กรมอัยการ ตรวจร่างสัญญาและเป็นท่ีปรึกษากฎหมายแก่หน่วยงานของรัฐเก่งมาก ต่อมาไม่นานผมก็

โชคดไี ด้ย้ายมาทา� งานท่กี องที่ปรึกษา จงึ ไดร้ ้จู กั สนิทสนมกบั พจ่ี ลุ สิงหเ์ พ่ิมขนึ้ พีจ่ ุลสิงหไ์ ด้เมตตาให้ความ

เป็นกันเองและสอนงานผมหลายอย่างแต่ได้ร่วมงานกันไม่นาน พี่จุลสิงห์ต้องย้ายไปรับราชการที่กองคดี

แพ่งเพอ่ื เตรียมออกเปน็ อัยการจงั หวดั แต่ตอ่ มาพีจ่ ุลสงิ ห์กไ็ ดย้ ้ายกลับมาทก่ี องที่ปรึกษาอกี ครั้ง ความจรงิ

ในกองทปี่ รกึ ษามีศษิ ยเ์ ก่านิติศาสตรจ์ ฬุ าฯ ๓ คน คอื พชี่ ยั เกษม นติ สิ ิร ิ พีจ่ ุลสงิ ห์ และผม พีช่ ยั เกษมนน้ั

เปรียบเสมอื นพ่ีใหญ่ทีเ่ ราทั้งสองคนเคารพนับถอื พจ่ี ุลสิงห์เปน็ พก่ี ลาง ส่วนผมเป็นน้องเล็กจงึ เปน็ ธรรมดา

ทพี่ กี่ ลางจะสนิทสนมและเอาใจใส่น้องเล็กเป็นพเิ ศษ

พ่ีจุลสิงห์ได้ให้ความเมตตาถ่ายทอดวิชา ความรู้และประสบการณ์ในการท�างานที่กองท่ีปรึกษาให้

แก่ผมตลอดเวลาที่ร่วมงานกัน ผมสามารถกล่าวได้อย่างเต็มปากหากจะถือว่าผมประสบความส�าเร็จใน

ชวี ิตราชการ ความส�าเร็จนน้ั พ่จี ลุ สงิ ห์มสี ่วนช่วยเหลือเก้ือกูลอยูม่ ากกวา่ หา้ สิบเปอร์เซน็ ต ์ ผมไดม้ โี อกาส

ติดตามพี่จุลสิงห์ไปประชุมตามหน่วยงานราชการต่างๆ และประทับใจอย่างมากกับความรู้ความสามารถ

และปฏิภาณไหวพริบในการช่วยแก้ไขปัญหาให้แก่หน่วยราชการต่างๆ ไม่ว่าพ่ีจุลสิงห์จะไปร่วมกับหน่วย

งานใด หนว่ ยงานน้นั จะประทบั ใจในความสามารถและลลี าการแกไ้ ขปัญหาของพ่จี ลุ สิงห์ไม่รลู้ ืม

ในช่วงเวลาท่ที �างานในกองที่ปรึกษา พ่จี ลุ สิงห์และผมจะนงั่ ทา� งานใกลๆ้ กัน ทา� ใหเ้ รามีความสนทิ

สนมกันมาก พ่จี ุลสงิ ห์จะดูแลไตถ่ ามทกุ ข์สุขรวมทัง้ เรื่องครอบครัวของผมด้วย นอกเหนือจากเร่อื งงานใน

หนา้ ที่แล้วพจี่ ุลสิงหย์ งั สอนและให้ความรเู้ กี่ยวกบั การดา� เนินชวี ิตท่ดี ี ผมยังจ�าไดว้ า่ พจ่ี ลุ สิงหส์ อนวิธบี รหิ าร

จัดการเงนิ ที่เก็บออมให้ไดผ้ ลประโยชนโ์ ดยการน�าไปลงทนุ ซ้ือกองทุนตา่ งๆ ซึง่ ผมก็ไดน้ า� มาปฏิบัติในชีวิต

ประจา� วนั จนทุกวนั น้ี

ผมกับพี่จุลสิงห์ต้องห่างกันเมื่อพ่ีจุลสิงห์ได้รับแต่งต้ังเป็นรองอธิบดีอัยการ ส�านักงานต่างประเทศ

พจี่ ลุ สงิ หม์ บี ทบาทสา� คญั ในการพฒั นางานดา้ นตา่ งประเทศของสา� นกั งานอยั การสงู สดุ ทงั้ ในดา้ นคดสี ง่ ผรู้ า้ ย

ขา้ มแดน และความชว่ ยเหลอื ซงึ่ กนั และกนั ในคดอี าญา ( Mutual Legal Assistance in Criminal Matters )

ซ่งึ เป็นการยกระดับองค์กรอยั การของประเทศไทยสรู่ ะดบั สากล

52

ในเดือนตลุ าคม ๒๕๕๐ พี่ชัยเกษม นิตสิ ริ ิ ได้ข้นึ ดา� รงตา� แหน่งอยั การสงู สดุ สว่ นพ่ีจลุ สิงหไ์ ดด้ �ารง
ตา� แหนง่ รองอยั การสงู สดุ และอกี สองปตี อ่ มาพจ่ี ลุ สงิ หก์ ไ็ ดด้ า� รงตา� แหนง่ อยั การสงู สดุ สว่ นผมดา� รงตา� แหนง่
อธบิ ดอี ัยการ สา� นักงานคณะกรรมการอยั การ รับใช้พ่ีทั้งสองคนเป็นเวลาสปี่ ี ในช่วงเวลาทพ่ี ีจ่ ลุ สงิ หด์ า� รง
ตา� แหนง่ อยั การสงู สดุ ถอื ไดว้ า่ เปน็ ยคุ ทองขององคก์ รอยั การ ไดม้ กี ารจดั ทา� กฎหมายอยั การใหม ่ ๒ ฉบบั คอื
พระราชบัญญตั ิองคก์ รอยั การและพนกั งานอัยการ พ.ศ.๒๕๕๓ และพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการฝา่ ย
อยั การ พ.ศ. ๒๕๕๓ ซง่ึ พจ่ี ลุ สงิ หเ์ ปน็ กา� ลงั สา� คญั ในการจดั ทา� กฎหมายทงั้ สองฉบบั ในยคุ นอ้ี งคก์ รอยั การได้
รบั ความเชอ่ื ถอื และยอมรบั จากรฐั บาล และสังคมเปน็ อยา่ งมาก งานสา� คัญซง่ึ ถอื เปน็ ผลงานของพ่จี ุลสงิ ห์ท่ี
ทา� ใหอ้ งคก์ รอยั การไทยเปน็ ทร่ี จู้ กั ในวงการอยั การทวั่ โลกกค็ อื ประเทศไทยเปน็ เจา้ ภาพจดั งานประชมุ ประจา�
ปขี องสมาคมอยั การระหวา่ งประเทศ ซึ่งงานน้จี ดั ไดย้ ่งิ ใหญ่และเป็นทปี่ ระทับใจของบรรดาอัยการประเทศ
ต่างๆ ท่ไี ด้มาร่วมงาน
พ่ีจุลสิงห์เป็นบุคลากรอันทรงคุณค่าย่ิงขององค์กรอัยการผลงานของท่านได้สร้างคุณประโยชน์แก่
องค์กรอัยการและชาติบ้านเมืองเป็นอย่างมาก ขอคุณความดีท้ังปวงที่พ่ีได้สรรสร้างให้แก่ประเทศชาติมา
ตลอดชวี ติ จงชว่ ยดลบนั ดาลให้ดวงวญิ ญาณของพี่ไดป้ ระสบความสุขสงบในสคุ ติสัมปรายภพด้วยเถดิ
ศาสตราจารยพ์ ิเศษเข็มชยั ชุตวิ งศ์
อัยการสูงสุด
๓๐ กนั ยายน ๒๕๖๒

53

ร�ำ ลึกถงึ อู

อูนอ้ งรกั
ป ี ๒๔๙๕ พม่ี โี อกาสเขา้ มาเรยี นทกี่ รงุ เทพฯ เนอ่ื งจากทา่ นพอ่ (ม.จ.สรุ วฒุ ปิ ระวตั ิ เทวกลุ ) รบั ราชการ
ต้องยา้ ยไปตา่ งจงั หวดั บอ่ ยๆ พ่จี ึงมาอยู่ในความดูแลของคณุ ตา (พระยาเพ็ชรพสิ ัยศรสี วัสด)ิ์ ซึ่งเป็นคุณปู่
ของอูด้วย ปนี นั้ ออู ายุได้ ๒ ขวบ ก�าลงั น่ารัก ทสี่ า� คัญ เป็นทปี่ ลาบปลม้ื ของญาติพนี่ อ้ ง เนื่องจากอ ู เปน็
ทายาท “วสันตสิงห์” คนเดียว
บ้านวิสุทธคาม มหี ลายหลัง เรอื นของคุณตาอยู่ใกล้กับเรีอนของน้าออ๋ ย (คุณเมืองเริง วสันตสงิ ห)์
และนา้ ปานตา (ม.ล. ปานตา วสนั ตสงิ ห ์ ) พจ่ี งึ คนุ้ เคยกบั อตู งั้ แตเ่ ลก็ ๆ จนเปน็ ความผกู พนั ตอ่ เนอ่ื งแตน่ น้ั มา
วา่ เรอื นของคณุ ตาเปน็ ศนู ยร์ วมของพนี่ อ้ ง “วสนั ตสงิ ห”์ มาแตอ่ ดตี ทกุ วนั เสาร ์ พน่ี อ้ งลกู หลานจะมารวมกนั
ร่วมรบั ประทานอาหารดว้ ยกนั เป็นบรรยากาศท่ีมีความสขุ อบอนุ่ เป็นอย่างย่งิ
อู เป็นสมาชิกคนเล็กสุด และเปน็ ผู้ชายคนเดียว พี่ น้าโอ๋ (พลเรือโท สุเทพ วสันตสิงห์) นา้ เอียด
(พลตรีสุพรหม วสันตสงิ ห์) มกั จะเอ็นดอู เู ป็นพิเศษ บางครัง้ ก็อุ้มชสู องมอื ขึ้นสงู ซึ่งอหู วั เราะชอบใจ
อไู ดร้ บั การอบรมเปน็ อยา่ งด ี เตบิ โตมาอยา่ งนา่ รกั ทส่ี ดุ โดยเฉพาะอปุ นสิ ยั ทเี่ ปน็ สภุ าพบรุ ษุ ชอบชว่ ย
เหลือผอู้ นื่ จิตใจโอบออ้ มอารี มคี วามจริงจงั ตอ่ การเรียน มีความจรงิ ใจตอ่ ผูอ้ ื่น เปน็ นักกีฬาทีม่ คี วามรบั ผิด
ชอบ เป็นทรี่ กั ของญาตพิ ่ีน้องตลอดจนผู้ทร่ี ู้จกั รบั ราชการเจริญรงุ่ เรอื ง จนไดร้ บั ตา� แหน่งอยั การสงู สุดด้วย
ความซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ และไดร้ บั ตา� แหนง่ ทสี่ า� คญั ๆ ระดบั ชาตอิ กี หลายตา� แหนง่ อเู ปน็ “วสนั ตสงิ ห”์ ทไี่ ดพ้ สิ จู น์
ให้ญาตพิ ีน่ อ้ งไดภ้ าคภูมใิ จเปน็ อยา่ งยิ่ง
เ มอื่ วนั ทไ่ี ดร้ บั ขา่ วจากเหตกุ ารณท์ ไี่ มค่ าดคดิ และรวดเรว็ เชน่ น ้ี ยอ่ มนา� ความโศกเศรา้ ยง่ิ นกั พนี่ กึ ถงึ
วนั เกา่ ๆ ในอดตี เมอ่ื ระยะหลงั นเ้ี อง อไู ดม้ าหาพ ่ี รบั ประทานอาหารกนั สองคน แลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ รว่ ม
กัน เราตา่ งสนบั สนนุ เกอื้ กลู ซง่ึ กนั และกนั เป็นภาพที่จะคงอยู่ในความทรงจา� อยา่ งไมร่ ู้ลืมในชวี ติ พตี่ ลอดไป
ขอใหว้ ิญญาณของอไู ปสสู่ ขุ คติในสัมปรายภพ และชาตหิ น้ามจี รงิ ขอให้เราเป็นพน่ี ้องกนั อกี

ดว้ ยรัก
ม.ร.ว ก�าลนู เทพ เทวกุล

54

� ตร�จ�รย์พิเ จลุ ิง ์ ันต งิ ์ “เพชรชมพู ผู้ย่ิงใ ญ”่

กระผมนบั วา่ โชคด ี ทไ่ี ดม้ โี อกาสทา� งานรว่ มกบั “ทา่ นจลุ สงิ ห”์ ตลอดระยะเวลา ๘ ปที ดี่ า� รงตา� แหนง่
อธกิ ารบดี
กระผมตอ้ งขอยอมรบั วา่ “ทา่ นจลุ สงิ ห”์ นนั้ เปน็ ผทู้ ร่ี กั “จฬุ าฯ” สดุ หวั ใจ ทา่ นจงึ เสยี สละเวลา อทุ ศิ
ทง้ั กา� ลงั กายก�าลงั ใจ และกา� ลังความคิดใหก้ ับจฬุ าฯ ด้วยใจเกินรอ้ ย ตลอดระยะเวลาอันยาวนานถึง ๑๕ ปี
(นับต้ังแตป่ ี ๒๕๔๗) ท่ที า่ นมาชว่ ยเปน็ “กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการจดั การทรัพย์สนิ จุฬาฯ”
ดว้ ยศกั ยภาพ ความร ู้ ความสามารถ ความเชย่ี วชาญ และ ประสบการณอ์ นั สงู ยง่ิ ดา้ นกฎหมาย ดา้ นการเจรจา
ตอ่ รอง และ ดา้ นการรา่ งสญั ญา จึงกอ่ ใหเ้ กิดประโยชนอ์ ยา่ งยิ่งกับการบรหิ ารจัดการทรัพย์สินของจุฬาฯ
นอกจากน้ัน ท่านยังใช้หลักรัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การบริหารจัดการ และ หลักคุณธรรม
มาประกอบการตดั สนิ ใจ ภายใตห้ ลักเกณฑ์วา่ ส่งิ น้นั ตอ้ งเกิดประโยชนส์ ูงสุดแก่จุฬาฯ ซึง่ ไม่ใช่กา� ไรสงู สดุ
โดยรกั ษาชื่อเสยี ง ภาพลกั ษณ์ และเกียรติภมู จิ ฬุ าฯ ทั้งนีต้ อ้ งกอ่ ใหเ้ กดิ ความเปน็ ธรรมแกท่ ุกฝ่าย (เราอยู่ได้
เขากต็ อ้ งอยู่ไดด้ ้วย) และคา� นึงถึงผลประโยชนต์ ่อสังคมและประเทศชาติเป็นเป้าหมายสูงสดุ
ด้วยเหตุน้ี ท่านจึงช่วยท�าให้การบริหารจัดการทรัพย์สินของจุฬาฯ เป็นตัวอย่างและต้นแบบให้กับ
สว่ นงานอืน่ ๆ มาโดยตลอด
โดยเหตทุ ่ี “ทา่ นจลุ สงิ ห”์ ไดอ้ ทุ ศิ ตนในการปฏบิ ตั ริ าชการในวชิ าชพี นติ ศิ าสตร ์ และอทุ ศิ ตนเพอ่ื การ
เรียนการสอนของคณะนิติศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย และการจัดการทรพั ยส์ นิ เพ่ือประโยชนส์ งู สดุ
ของจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั รวมถงึ ไดบ้ �าเพ็ญกจิ การสาธารณะกศุ ลมาอย่างต่อเน่ืองและยาวนาน ทง้ั ยงั มี
บทบาทสา� คญั ในการถา่ ยทอดวชิ าความรแู้ ละจรยิ ธรรมของนกั กฎหมาย และปฏบิ ตั ใิ หน้ สิ ติ และนกั กฎหมาย
รุ่นหลังเห็นเป็นแบบอย่าง สภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจึงมีมติเป็นเอกฉันท์ให้ได้รับปริญญานิติศาสตร
ดุษฎีบัณฑติ กติ ติมศกั ด ์ิ เม่อื ปี พ.ศ ๒๕๕๒

“ทา่ นจลุ สิงห”์ น้ัน จงึ นบั ว่าเป็นผู้มคี ณุ ูปการอนั ยิง่ ใหญ่มหาศาลตอ่ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ท่าน
จงึ เป็นท้ัง “คนเก่ง และ คนดศี รจี ฬุ าฯ” สมเป็น “เพชรชมพู ผู้ยง่ิ ใหญ”่ ที่พวกเราแสนจะภาคภมู ิใจ
ขออา� นาจคณุ งามความดแี ละบุญกุศลทั้งปวงที่ “ท่านจลุ สงิ ห์” ไดส้ ร้างสมไวต้ ลอดชวี ิต รวมถึงบุญ
กุศล ท่มี ีผูอ้ ุทศิ ให ้ จงเป็นพลวปจั จัย เก้อื หนนุ ให้ดวงวญิ ญาณของ “ท่านจลุ สิงห์” ไปสู่สคุ ติในสัมปรายภพ
มีความสุขสงบช่ัวนจิ นิรนั ดร

ศาสตราจารย์กติ ตคิ ุณ นายแพทยภ์ ิรมย ์ กมลรตั นกุล
นายกสภาจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย

55

คำ�ไ อ้ �ลยั

ศาสตราจารยพ์ เิ ศษจลุ สงิ ห ์ วสนั ตสงิ ห ์ เปน็ นสิ ติ เกา่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ผซู้ ง่ึ ไดท้ า� คณุ ประโยชน์
อย่างมากต่อสถาบันที่เล่าเรียน และต่อสังคมภายนอก ดิฉันโชคดีที่ได้รู้จักท่านอาจารย์เม่ือเข้ารับหน้าท่ี
อธกิ ารบดจี ฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั เมอ่ื ป ี ๒๕๔๗ และไดร้ บั คา� แนะนา� จากคณบดคี ณะนติ ศิ าสตร ์ ณ เวลานนั้
คอื รองศาสตราจารย์ธิตพิ ันธ์ุ เชื้อบุญชยั ว่าทา่ นอาจารย์จุลสิงห์ วสนั ตสงิ ห ์ ซ่ึงขณะนั้นเป็นนายกสมาคม
นสิ ติ เกา่ นติ ศิ าสตรจ์ ฬุ าฯ เปน็ นสิ ติ เกา่ ทมี่ คี วามรคู้ วามเชยี่ วชาญดา้ นกฎหมายและรกั มหาวทิ ยาลยั อยา่ งมาก
จึงได้เรียนทาบทามท่านอาจารย์ให้รับเป็นกรรมการจัดการทรัพย์สินของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งท่าน
อาจารย์ได้ให้ความกรุณาอย่างดีย่ิง และสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้แต่งตั้งท่านเป็นกรรมการจัดการ
ทรพั ยส์ ินของจุฬาฯ สืบต่อเน่อื งมาจนวาระสุดท้าย
ในช่วงท่ีดิฉันปฏิบัติหน้าท่ีอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยน้ัน ท่านอาจารย์จุลสิงห์ได้ให้ความ
กรุณาแนะน�าและให้ข้อคิดข้อพิจารณาและร่วมในการตัดสินใจเรื่องต่างๆ ด้านการจัดการทรัพย์สินของ
มหาวิทยาลัย ซ่ึงในเวลาน้ัน เป็นช่วงของการปรับเปลี่ยนกระบวนการท�างานด้านการจัดการทรัพย์สิน
เพ่ือให้มหาวิทยาลัยมีรายได้ตามท่ีพึงเป็นภายใต้หลักความเป็นธรรมท้ังต่อมหาวิทยาลัยและต่อผู้เช่า
หรือผู้พัฒนาท่ีดินของมหาวิทยาลัย แน่นอนว่าเม่ือมีการเปลี่ยนแปลงในนโยบายและการด�าเนินงานของ
มหาวิทยาลัย ย่อมทา� ใหผ้ ู้เชา่ ส่วนหนึ่งไมพ่ อใจและตอ่ ต้านการด�าเนินงาน ซ่ึงเปน็ ปัญหาใหญ่ในการบริหาร
งานของมหาวทิ ยาลยั ทา่ นอาจารยจ์ ลุ สงิ หไ์ ดใ้ หข้ อ้ แนะนา� แกค่ ณะกรรมการจดั การทรพั ยส์ นิ ตามขอ้ กา� หนด
ของกฎหมายทเี่ กย่ี วขอ้ งและหลกั การทเ่ี หมาะสมในการดแู ลผเู้ ชา่ และผพู้ ฒั นาทดี่ นิ ของมหาวทิ ยาลยั เพอื่ ให้
มหาวิทยาลัยไดป้ ระโยชนต์ ามทพ่ี ึงเปน็ แต่ขณะเดียวกนั ก็ปฏิบตั ติ ่อผเู้ ชา่ ดว้ ยความมีน�้าใจ แมว้ า่ เปน็ ปฏบิ ตั ิ
การทยี่ ากและซบั ซอ้ น แตก่ ท็ า� ใหจ้ ฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั กา้ วเขา้ สยู่ คุ ใหมข่ องการจดั การทรพั ยส์ นิ ไมว่ า่ จะ
เปน็ การเรม่ิ ตน้ โครงการพฒั นาทด่ี นิ เองแทนการใหเ้ ชา่ ทด่ี นิ แกบ่ คุ คลภายนอกเพอ่ื ทา� โครงการพฒั นาเชน่ แต่
เดมิ มา หรอื การจดั ระบบการใหเ้ ชา่ ทรพั ยส์ นิ และการทา� สญั ญาทเ่ี ปน็ ระบบทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพสงู และเปน็ ธรรม
นบั เปน็ จดุ เปลยี่ นเชงิ นโยบายทส่ี า� คญั มาก ทา่ นอาจารยย์ งั ใหค้ า� แนะนา� ทดี่ แี กบ่ คุ ลากรของสา� นกั งานจดั การ
ทรพั ย์สินในการพัฒนาตน พัฒนางาน และอยใู่ นหลักการท�างานทดี่ ี เป็นท่รี กั และเคารพของบุคลากรของ
สา� นักงานอย่างมากอกี ด้วย
ทา่ นอาจารยจ์ ลุ สงิ หไ์ ดร้ บั การเลอื กตง้ั เปน็ นายกสมาคมนสิ ติ เกา่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ในพระบรม
ราชปู ถมั ภต์ ดิ ตอ่ กนั ๒ วาระ ตงั้ แต ่ พ.ศ. ๒๕๕๔ - ๒๕๕๘ ทา่ นไดป้ ฏบิ ตั หิ นา้ ทอี่ ยา่ งดยี ง่ิ ในการประสานความ
รว่ มมอื จากนสิ ติ เกา่ ทกุ คณะเขา้ มาทา� งานในสมาคมเพอื่ สรา้ งประโยชนแ์ กม่ หาวทิ ยาลยั และสงั คม ไดป้ รบั ปรงุ

56

ระบบการท�างานและวางแนวทางในการท�างานของสมาคม ทีค่ า� นึงถึงประโยชนข์ องมหาวทิ ยาลัยและนิสติ
เป็นหลักใหญ่ และปรบั ปรงุ ข้อบงั คบั ของสมาคมให้ทนั สมัย ทา่ นอาจารย์เปน็ ทร่ี ักและนับถือของกรรมการ
สมาคม ตลอดจนเจา้ หนา้ ทข่ี องสมาคมทกุ คนเปน็ อยา่ งยงิ่ เพราะทา่ นเปน็ ผมู้ เี มตตาธรรมตอ่ ทกุ คน ใหค้ วาม
เอาใจใสแ่ ละชว่ ยเหลอื สนบั สนนุ อยา่ งเตม็ ใจในทกุ ดา้ น ซง่ึ ทา� ใหท้ กุ คนทา� งานอยา่ งเตม็ ทด่ี ว้ ยความสบายใจ
กอ่ ให้เกดิ ผลงานที่ดีมากมายในชว่ งนัน้
เรอื่ งสา� คัญย่ิงอกี ประการหน่งึ ทที่ ่านอาจารยเ์ ป็นผูร้ ิเร่มิ และด�าเนินการจนสา� เร็จ คอื การก่อตงั้ มูลนิธิ
สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม
ราชกุมารี เพอื่ เป็นหน่วยงานของสมาคมฯ ท่ีทา� หน้าทีส่ นับสนุนกจิ การสาธารณกุศล สง่ เสรมิ จฬุ าลงกรณ์
มหาวทิ ยาลยั และ ใหค้ วามชว่ ยเหลอื นสิ ติ จฬุ าฯ โดยเฉพาะในการบรหิ ารทนุ จฬุ าสงเคราะหส์ า� หรบั นสิ ติ ระดบั
ปรญิ ญาตรที ่สี อบเข้ามาเรียนไดแ้ ต่มีความขาดแคลนทนุ ทรัพย์อย่างมาก ใหส้ ามารถเรยี นได้โดยไม่ตอ้ งยตุ ิ
การศกึ ษาเพราะเหตขุ าดแคลนทนุ ทรพั ย์ และยงั ไดด้ า� เนินการโครงการทุนอาหารกลางวันซง่ึ ศาสตราจารย์
ดร.บุญรอด บิณฑสนั ต์ ไดร้ ิเร่ิมตั้งแต ่ พ.ศ. ๒๕๑๕ ให้ต่อเนื่องสบื มาจนปัจจุบัน
นอกจากน้ี ท่านอาจารย์จุลสิงห์ยังด�ารงต�าแหน่งกรรมการสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๒ วาระ
การไดร้ ว่ มงานกบั ทา่ นอาจารยจ์ ลุ สงิ ห์ในสภาจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั รวมถงึ คณะกรรมการจัดการทรพั ย์
สนิ จุฬาฯ คณะกรรมการอา� นวยการสมาคมนิสิตเกา่ จุฬาฯ คณะกรรมการมูลนิธสิ มาคมนสิ ติ เก่าจุฬาฯ และ
ในหน้าท่ีอื่นๆ ท�าให้ดิฉันและเพ่ือนร่วมงานตระหนักถึงความทุ่มเทเอาใจใส่ในงานทุกงานที่ท่านอาจารย์
จลุ สงิ ห์รบั หน้าทดี่ ้วยความรบั ผิดชอบอย่างเตม็ ท่ี และดว้ ยจิตแน่วแนใ่ นการทา� ทุกอย่างใหถ้ กู ต้องเหมาะสม
มองประโยชน์ของสว่ นรวมและของหน่วยงานเปน็ ส�าคัญ ท่านเปน็ ผู้ทมี่ ีประสบการณ์สูงมาก มีความจา� เปน็
เลศิ สามารถพจิ ารณาวเิ คราะหแ์ ตล่ ะเรอื่ งแตล่ ะสถานการณไ์ ดอ้ ยา่ งชดั แจง้ ทา� ใหข้ อ้ แนะนา� ของทา่ นสามารถ
น�าไปแก้ไขปัญหา และหาทางออกในเร่ืองต่างๆ ได้อย่างราบร่ืน เป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อจุฬาลงกรณ์
มหาวทิ ยาลยั สมาคมฯ มลู นิธิสมาคมฯ และหน่วยงานอืน่ ท่ีเกย่ี วขอ้ ง
นอกจากการท�างานร่วมกันในบทบาทหน้าที่ต่างๆ แล้ว ท่านอาจารย์จุลสิงห์ยังเป็นเพื่อนรุ่นน้อง
ที่เป็นกัลยาณมิตรโดยแท้ ท�าให้เรามีท้ังความนับถือและความเกรงใจให้แก่กัน ท่านเป็นที่ปรึกษาที่ดีย่ิง
ด้านกฎหมาย ให้ข้อวิเคราะห์ท่ีครบด้าน ให้ความเห็นและให้โอกาสท่ีจะตัดสินใจเอง เป็นการให้ความ
อนุเคราะหอ์ ยา่ งมติ รแท้ และเปน็ ประโยชน์อยา่ งยง่ิ แกด่ ฉิ ันในการทา� งานในบทบาทหนา้ ที่ต่างๆ โดยเฉพาะ
ทจ่ี ุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย

57

ทา่ นอาจารยจ์ ลุ สงิ หต์ งั้ ใจมาประชมุ มลู นธิ สิ มาคมฯ ในวนั ท ่ี ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒ กอ่ นทจ่ี ะไปประชมุ
คณะกรรมการจดั การทรพั ยส์ นิ จฬุ าฯ แตไ่ ดโ้ ทรศพั ทม์ าแจง้ วา่ รถตดิ มาก จงึ ไมส่ ามารถมาประชมุ มลู นธิ กิ อ่ น
ได ้ เมอื่ ดฉิ นั ไดท้ ราบวา่ ทา่ นอาจารยจ์ ลุ สงิ หม์ อี าการไมส่ บายในการประชมุ เมอ่ื ปลายเดอื นพฤษภาคม ๒๕๖๒ ก็
ยังคิดว่าท่านคงท�างานหนักเกินไป หากได้พักผ่อนสักหน่อยก็คงสบายดีได้โดยเร็ว ไม่ได้คาดคิดมาก่อน
เลยว่าท่านอาจารย์ จะจากพวกเราไปเร็วเช่นน้ี หากท่านอาจารย์จะหยั่งทราบด้วยวิถีใดๆ ก็ตาม ขอได้
ทราบถงึ ความรกั ความอาลยั ทเี่ พอื่ นพนี่ อ้ งและลกู ศษิ ยข์ องทา่ นอาจารยท์ ไี่ ดร้ จู้ กั และทา� งานรว่ มกนั มาตลอด
ระยะเวลายาวนาน จะระลกึ ถึงความกรณุ าและความดีท้ังหลายที่ทา่ นอาจารย์กรุณามอบใหก้ บั เราตลอดไป
ขอกุศลผลบุญและกรรมดีที่ท่านอาจารย์ได้บ�าเพ็ญมาตลอดชีวิต น้อมน�าท่านอาจารย์ไปสู่สุคต ิ
ในสัมปรายภพเทอญ
ศาสตราจารยก์ ิตตคิ ณุ ดร.คุณหญงิ สชุ าดา กรี ะนันทน์
ประธานมูลนิธสิ มาคมนสิ ติ เกา่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย
ในพระราชปู ถมั ภส์ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี
อดตี นายกสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั
อดีตอธกิ ารบดจี ฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย

58

แดน่ อ้ งช�ยคนเดีย ของเร�

แ น ดุ เ รา้ ซ�้าโ ก ัลย์ พลันทราบข่า
คราถงึ ครา น้ งจากไป พาใจ าย
ผู้ ืบ กลุ “ ันต ิง ”์ จากต้นปลาย
ร้างลกู ลาน ต่ ท้าย บื เน่ื งมา

เรามีกัน ้าพี่น้ ง ข งพ่ แม่
ดุ ัง า
แน่ เู ป็น เ กบรุ ุ ชิรา
ในคร บครั
ดแี ละเก่ง มเปน็ เพชร

เปน็ แก้ ตา ด งใจ

รบั ผิดช บ ประก บงาน การ น้าท ี่
มี นิ ัย ใฝเ่ รยี นร ู้ ร บดา้ นทั่
ดนตรีดี กี าเดน่ เลน่ ไม่กลั
พฒั นาตั จากเยา ์ ยั ไปจบเรียน

รบั ราชการ งานกฎ มาย ลาก ลายเร่ื ง
จิตประเทื ง เรื งปญั ญา กล้าพูดเขยี น
ท้งั จัดการ งานกระทา� า� เร็จเพยี ร
ผลเ ถยี ร มั่นคง ย ู่ ู่ชาตไิ ทย

59

แม้งานมาก ไม่เคยพราก จากพพี่ ี่
เ ้ื าร ี พลใี จใ ่ ช่ ยเ ลื ใ ้
แก้ปญั า พาคลายทุกข์ ทกุ คนไป
เราซ้งึ ใจ จดจา� จิต ติดตรึงนาน

กตัญญ ู รู้คณุ เปน็ ทีย่ ง่ิ
เมตตาจริง ร้าง รรค์ ุข พน่ี ้ ง ลาน
ใจเลิ เล รกั เ ม มา าใดปาน
ทกุ เรื่ งผา่ น บรรลุล่ ง ลงด้ ยดี

มาบดั นี ้ เ า ลกั นั ต์ พลนั ล้มแล้
ข น้ งแก้ ไป งบ พบ ุข รี
พ กเรารัก รา� ลึกถึง คณุ ค ามด ี
ไป ยทู่ ี่ คุ ต ิ พิภพเท ญ

ด้วยอาลยั รกั ยิง่ จากพ่ีสาวทงั้ ส ี่
นาง กุณฑล สจุ ริตกลุ
ผศ. จันทรวรรณ เทวรักษ ์
น.ส. วชั รวี รรณ วสันตสิงห ์
นาง เรงิ ฤด ี วสันตสงิ ห ์

60

คดิ ถงึ เ ลอื เกิน...ฮีโร่ของเร�

“เรามันเกิดปีเสือเหมือนกัน” เป็นค�าพูดติดปากจากน้าอูตั้งแต่จ�าความได้และได้ยินค�านี้มาตลอด
เวลา พดู เกอื บทุกคร้งั ทีเ่ จอเต้ แม้กระทง่ั เม่ือตอนทเ่ี จอกันคร้ังสุดท้ายก็ตามท ี เสียงของนา้ อูยังคงก้องดงั อยู่
ในหูตลอดเวลา และมันคงถงึ เวลาแลว้ ที่เราต้องยอมรับความจรงิ ในสิง่ ทเี่ กดิ ขนึ้
ทกุ ครง้ั ทนี่ า้ อเู จอพวกเรา (เต ้ ออ๊ บ เอบ๊ิ ) มกั จะกอดกนั กลมเสมอ บางครงั้ กแ็ หยเ่ ลน่ แลว้ กจ็ ะหวั เราะ
ชอบใจอยา่ งอารมณด์ ี นา้ อชู อบทจี่ ะแกลง้ และแซวหลานๆในเรอื่ งสนกุ ๆของตวั เองทคี่ ดิ อยคู่ นเดยี ว บางครงั้
ก็เป็นเรื่องโบร่�าโบราณต้ังแตใ่ นอดตี ซ่งึ บางครั้งเราเองกจ็ �าไมไ่ ด้ อ๊อบและเอ๊บิ จะโดนแกลง้ อยูร่ า่� ไป
เราชอบเลน่ วง่ิ แขง่ กนั ทบี่ า้ นชะอา� นา้ อจู ะจดั กจิ กรรมใหห้ ลานๆไดม้ กี จิ กรรมรว่ มกนั ตลอดระยะเวลา
ท่ีไปพักผ่อนกันในช่วงปิดเทอม โดยจะมีเต้เป็นพ่ีชายคนโตท่ีดูแลน้องๆ ตั้งแต่เด็กจนโตเราไม่เคยเห็นน้า
อโู กรธพวกเราเลยสักครัง้ เดียว เวน้ แต่โกรธคนจงู ม้าท่ชี ะอา� ทีเ่ กอื บจะทา� ให้น้องเอ๊ก นอ้ งออน ลูกของนา้ อู
หล่นจากหลงั มา้ สรา้ งความโกลาหลใหก้ บั พี่ชายคนโตอยา่ งผมมากถึงมากทสี่ ดุ เพราะมหี น้าท่ดี แู ลน้องๆ
ทกุ คน ไม่วา่ จะขี่ม้า ข่จี ักรยาน เล่นเรอื พวกเราทกุ คนจึงได้สนิทกัน เพราะเราโตมาดว้ ยกัน
นา้ อเู ปน็ สดุ ยอดฮโี รใ่ นใจของบรรดาหลานๆของนา้ อทู กุ คนเพราะเปน็ คนทค่ี อยชว่ ยเหลอื เกอ้ื กลู ดแู ล
ในครอบครัว เป็นทพ่ี ึ่งของพ่สี าวของน้าอูทุกคน ใครมอี ะไรใหช้ ว่ ยกบ็ อก เดยี๋ วนา้ อูจดั การโดยเฉพาะการให้
ค�าปรกึ ษาเวลามคี วามทุกข์ใจหรอื ไมส่ บายใจ และยงั ใหค้ วามกรุณาดูแลมาถึงน้องพรีมอีกดว้ ย จงึ ไม่แปลก
ใจเลยท่มี ีแตค่ นรกั และศรทั ธาในความดงี ามของนา้ อู
ส่ิงหนึ่งที่บรรดาหลานๆสมั ผสั ไดจ้ ากนา้ อมู าโดยตลอดคอื นา้ อูรกั คุณแม่มาก (หมอ่ มหลวงปานตา
วสันตสิงห์) ช่วงวัยเด็กพวกเราจะต้องไปรับประทานอาหารเย็นกันที่บ้านคุณยาย(บ้านวิสุทธคาม)ทุกๆวัน
เสาร์ พวกเราหลานๆกจ็ ะต้องเหน็ นา้ อเู ขา้ ไปนอนที่เตยี งนอนคณุ ยาย ไปนอนกอดและเบียดคณุ ยายตลอด
ทกุ ครงั้ ไป นา้ อดู แู ลคณุ ยายอยา่ งดที สี่ ดุ จนกระทง่ั วาระสดุ ทา้ ยของคณุ ยาย ซงึ่ นน่ั กค็ อื ยอดของความกตญั ญู
ต่อผู้มพี ระคณุ อนั สูงสุด
นา้ อสู อนหลานๆเสมอท�าอะไรต้องมี Vision ไว้กอ่ น ท�าตามเป้าหมายที่วางไว ้ ทงั้ เร่อื งงาน เรอื่ ง
ชีวติ ส่วนตวั ซ่ึงนา้ อูจะทุ่มเทอยา่ งถงึ ที่สุดคอื ครอบครวั หนา้ ทกี่ ารงาน โรงเรยี นวชริ าวุธ และจฬุ าฯ ช่วง
ท่นี า้ อเู ป็นนายกสมาคมศษิ ย์เกา่ วชิราวุธ ผมเคยได้มีโอกาสติดตามไปเข้าประชมุ ไปเดินตาม และน้าอูก็ยงั
แนะนา� ผมใหก้ ับผ้หู ลักผ้ใู หญห่ ลายทา่ นอีกด้วย จงึ ท�าใหผ้ มรจู้ ัก OV รุ่นใหญๆ่ มากมาย และช่วงทนี่ ้าอูเป็น
อัยการสงู สดุ น้าอจู ะยุ่งมาก เวลาโทรไปหาก็รบั สายทกุ ครง้ั แต่ให้เวลาพูดแค ่ 1 นาท ี ซ่ึงเราเองก็ชนิ ชา ปน
กับความหงดุ หงิดใจทกุ ครงั้ แต่นน่ั กค็ ือความน่ารักของน้าอ ู ที่ยังให้ความเมตตากรุณาและใส่ใจอย่เู สมอ

61

พวกเราหลานๆทกุ คนไมเ่ คยเหน็ นา้ อปู ว่ ยมากอ่ นในชวี ติ คา� แรกทพ่ี ดู กบั นา้ ตอนไปเยย่ี มคอื “นา้ อ ู เต้
มาหามาใหก้ า� ลงั ใจนา้ นะครบั ” ไดย้ นิ หรอื ไมก่ ไ็ มร่ ู้ แตว่ า่ มนั พดู ยากมาก เพราะไมค่ าดคดิ วา่ มนั จะมากมาย
ขนาดน ้ี และตอนน้ันเปน็ สถานการณท์ ี่สร้างความสับสนในใจอย่างมาก เพราะน้าอเู พ่งิ จะเดินกอดคอไปกัน
สองคนเพอื่ พาไปดโู ฮสเทลของนา้ อ ู และพดู กบั ผมวา่ “เตร้ มู้ ย้ั นา้ ยงั จะตายไมไ่ ด”้ และไมร่ เู้ ลยวา่ มนั จะเปน็
คา� พดู จากน้าอ ู ราวกับว่าเปน็ ลางบอกเหตุทจี่ ะท�าใหน้ า้ จะจากไปอย่างไม่มวี ันกลบั
ทุกวันนี้ เราขาดเสาหลักไป ซ่ึงหาใครเหมือนคงไม่มีอีกแล้ว พวกเราในนามของหลานๆของ
น้าทุกๆคน ต๊อม เต ้ อ๊อบ เอิ๊บ จะตง้ั ใจด�าเนนิ ชีวิตตามค�าสอนของน้า ขอกราบขอบพระคณุ นา้ อูท่เี คยให้
ความกรณุ า เมตตา และคอยดแู ลพวกเรามาตง้ั แตเ่ ดก็ จนโต หากพวกเราเคยทา� สง่ิ ไมด่ ที ง้ั ตอ่ หนา้ และลบั หลงั
ขอไดโ้ ปรดอโหสกิ รรม ขอให้นา้ อไู ด้อยู่ในสัมปรายภพทีด่ ี ด้วยผลบุญกุศลของน้าที่มีความเป็นยอดกตัญญู
รคู้ ณุ ของบรรพบรุ ษุ อกี ทง้ั ไดป้ ระกอบคณุ งามความดมี าตลอดทง้ั ชวี ติ พวกเราจะเกบ็ ความภาคภมู ใิ จทเี่ กดิ มา
เปน็ หลานนา้ และเราจะมนี า้ ออู ยกู่ บั ตวั และหวั ใจของพวกเราตลอดไป หลบั ใหส้ บายซปุ เปอรฮ์ โี รข่ องพวกเรา

ดว้ ยรกั และเคารพอย่างสงู
มนทริ า สจุ ริตกลุ (ตอ๊ ม)
ตนัย สจุ ริตกลุ (เต)้
ศริ ะ เกียรตนิ ยิ ม (ออ๊ บ)
วสนั ต์ เกยี รตนิ ยิ ม (เอิ๊บ)

62

พอ่ ...ผเู้ ปน็ ที่ ดุ

พ่อมกั จะบอกกบั พวกเราวา่ พ่อทกุ คนเปน็ “Father” คือพ่อผใู้ ห้ก�าเนดิ ได ้ แต่ไม่ใชพ่ อ่ ทกุ คนจะเปน็
“Dad” ได้ ซ่งึ “Dad” ในความหมายของพอ่ คือพอ่ ที่รัก เล้ยี งดูฟมู ฟกั และดูแลครอบครัว ซ่งึ พอ่ จุลสิงห์
น้นั เปน็ ทีส่ ุดของ “Dad” ใหก้ ับครอบครวั ของเราตลอดมา
ความเป็นท่ีสุดของพอ่ ล�าดบั ท ี่ ๑ คอื ความรกั พอ่ มอบความรกั ให้พวกเราอย่างเต็มอิม่ ไม่มีวันไหนท่ี
คิดวา่ พอ่ ไม่รกั พอ่ แสดงออกทง้ั ทางวาจาและการกระทา� พ่อมคี �าวา่ รกั ใหใ้ นทุก ๆ วนั พ่อดูแลพวกเราดีทีส่ ดุ
ในทุกด้าน แม้จะงานยุ่งแค่ไหน แตพ่ ่อบอกกบั พวกเราเสมอว่า “You’re the first, as always” คอื ครอบครัว
มากอ่ น และพอ่ กจ็ ะจดั การธรุ ะของเราใหก้ อ่ นสงิ่ อนื่ ๆ ในชวี ติ ของพอ่ ไมว่ า่ จะเปน็ การลงมอื ทา� เอง อยา่ งเรอื่ ง
เลก็ ๆ เชน่ การตอ่ โต๊ะ ต่อต ู้ จนไปถงึ เรือ่ งใหญ่ ๆ ที่มผี ลต่อชีวติ พวกเรานานปั การ โดยส่งิ ทา้ ย ๆ ท่ีพอ่
จะให้ความส�าคัญก็คือตนเอง พอ่ บอกเสมอว่า ความสุขของครอบครวั คอื ความสขุ ของพอ่
ความเป็นที่สุดของพ่อ ล�าดับที่ ๒ คือ ความภาคภูมิใจ ครอบครัวของเราภาคภูมิใจในตัวพ่อที่สุด
พ่อเป็นบุคคลต้นแบบของครอบครัวและคนมากมายอีกหลายคน เป็นคนเก่งเป็นคนดี และเป็นคนท่ีประสบ
ความส�าเร็จดว้ ยความซ่อื สัตย์สจุ ริต พ่อมีความรกั ในอาชพี และองค์กร พอ่ ใหค้ วามส�าคญั ยิง่ กับความยุติธรรม
และประโยชน์ของชาติบา้ นเมอื ง ก่อนสง่ิ อน่ื ในการทา� งานของพอ่ พอ่ จะตอ้ งตัดสนิ ใจทุกวนั และพอ่ ก็เป็นคน
ที่ตัดสินใจได้ดี ถูกต้องและเหมาะสมที่สุดเสมอ แม้ในครอบครัว ไม่ว่าเราจ ะมีปัญห า อ ะ ไ ร ต ัด ส ิน ใ จ ไ ม ่ไ ด ้
พ่อจะช่วยเราคิดวิเคราะห์ ขอ้ ดี-ข้อเสยี จดั ล�าดับมันลงมา และช่วยคิดจนเราต ดั สนิ ใจไ ด้
ความเปน็ ที่สุดของพ่อล�าดับท ี่ ๓ ทจี่ ะกลา่ วถงึ ท้ิงท้ายไว ้ คอื ความม ีเมตตา พ ่อเปน็ ผไู้ ม ่เคยปฏิเ สธ
มีเมตตากับครอบครวั อยา่ งทีส่ ดุ พ่อมีแตใ่ ห ้ ไมว่ ่าจะเอ่ยปากขอหรอื ไม ่ หากท า� ผิด พ่อ ก็ไมเ่ คยโ กรธ ในบ าง
เวลา อาจจะรู้สกึ ขดั ใจกนั บา้ ง แต่พ่อจะให้อภัยเราอย่างรวดเรว็ เสมอ นอกจาก นน้ั เราย ังไดเ้ ห็นค วามเมต ตา
กรุณาของพ่อที่มอบให้กับบุคคลทุกผู้ทุกเหล่า ไม่ว่าในใจเขาจะคิดดีหรือคิดร้ายหรือไม่ ครอบครัวของเรา
ได้เห็นพ่อเป็นที่พ่ึงของคนอ่ืนๆ ตลอดชีวิตของพ่อ พ่อจึงเป็นตัวอย่างให้พวกเราท�าแบบเดียวกันตลอดมา
แมข้ ณะนี้ จะยังทา� ไม่ไดเ้ ทา่ พ่อกต็ าม
แท้จริงแล้ว ความท่สี ดุ ของพ่อไมม่ ที ส่ี น้ิ สุด ครอบครัว “วสนั ตสิงห์” จะรกั ระลกึ ถึงพอ่ และพระคณุ ของ
พอ่ “ผู้เป็นที่สดุ ” ตลอดไป

“Dad, you’re the first on our mind, as always”

รกั พ่อสุดหัวใจและอาลัยย่งิ
ภัทรา วสนั ตสงิ ห์
ศิวัช - ภทั ริน - ปญั ญ์ วสันตสงิ ห์
ณฏั ฐา วสันตสงิ ห์

63

ค�ำนำ�

การทผี่ มเปน็ นสิ ิตเก่าของคณะนติ ิศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย เป็นรุน่ นอ้ งของ
พจี่ ลุ สงิ ห ์ วสนั ตสงิ ห ์ นกั กฎหมายช้ันแนวหน้าคนหนงึ่ ของเมืองไทย และผมมีโอกาสได้รูจ้ ัก
คนุ้ เคยกบั พจี่ ลุ สงิ ห ์ รวมตลอดทงั้ ไดท้ า� งานดว้ ยกนั ในหลายบทบาทหนา้ ท ี่ ไมใ่ ชเ่ รอื่ งแปลก เรอ่ื งที่
แปลกคือ ปู่ของพี่จุลสิงห์และปู่ของผมเป็นเพื่อนร่วมราชการในกระทรวงมหาดไทยด้วยกัน
เมอ่ื ประมาณเกอื บ ๑๐๐ ปีมาแลว้ สมบัตสิ ะสมทผี่ มไดร้ ับมรดกตกทอดมาจากคุณปชู่ ิ้นหนง่ึ
คือภาพถ่ายครอบครัวของพระยาเพ็ชรพิไสยศรีสวัสด์ิ (แม้น วสันตสิงห์) พร้อมลายมือของ
ท่านเจ้าคุณ เขียนมอบให้ปู่ของผม
ภาพนถี้ า่ ยทหี่ นา้ จวนผวู้ า่ ราชการจงั หวดั เพชรบรุ ี ขณะเมอ่ื ทา่ นจะยา้ ยไปรบั ราชการใน
ตา� แหนง่ อนื่ และผทู้ ไี่ ปทา� หนา้ ทส่ี บื ตอ่ จากทา่ นทเ่ี พชรบรุ คี อื ปขู่ องผม พระยาสนุ ทรเทพกจิ จารกั ษ์
(ทอง จนั ทรางศ)ุ อาศยั ภาพถา่ ยภาพนเี้ ปน็ สะพานเชอื่ ม พจ่ี ลุ สงิ หจ์ งึ มคี วามเมตตาผมเปน็ พเิ ศษ
อาจอธิบายได้ว่า เพราะเรามีดีเอน็ เอทรี่ จู้ ักกันมาร่วม ๑๐๐ ปีแลว้ กระมัง

การจากไปของพจ่ี ลุ สงิ หใ์ นเวลารวดเรว็ เกนิ กวา่ ทผี่ มจะทา� ใจใหน้ ง่ิ ได ้ ทา� ใหผ้ มอดใจหาย
และอาลัยไม่ได้จริง ๆ ท่ีต้องสูญเสียพ่ีชายคนหนึ่งไปเช่นนี้ ผมจึงได้ปวารณากับครอบครัว
ของพ่ีว่า ถ้ามีโอกาสได้สนองพระคุณและความเมตตาของพี่ในทางหนึ่งทางใดได้แล้ว

64

ผมจะถอื วา่ เปน็ เกยี รตแิ ละเปน็ ความเตม็ ใจยง่ิ
ทจี่ ะไดท้ า� การเชน่ วา่ นนั้ ปรารภปรารถนานเ้ี อง
ทา� ใหผ้ มมสี ว่ นไดเ้ ขา้ มาเกยี่ วขอ้ งกบั การจดั ทา�
หนงั สอื “ชวี ติ งามนามจลุ สงิ ห”์ เลม่ น ี้ ในฐานะ
ผหู้ นง่ึ ของคณะทา� งาน

ลีลาของหนังสือเล่มน้ีไม่ใช่การเขียน
ประวตั ขิ องใครคนใดคนหนง่ึ โดยผเู้ ขยี นคนเดยี ว
หากแตเ่ ปน็ การประมวลความทรงจา� และเรอ่ื งเลา่
จากบุคคลที่อยู่ในฐานะรู้จักผู้วายชนม์ในช่วง
เวลาต่าง ๆ กัน ต้ังแต่สมาชิกในครอบครัว
เพอ่ื นทีว่ ชริ าวธุ วิทยาลัย เพือ่ นในจฬุ าลงกรณ์
มหาวิทยาลัย แวดวงข้าราชการอัยการ ผู้เคย
ร่วมงานในรัฐวิสาหกิจ สมาคมนักเรียนเก่า
วชริ าวธุ วทิ ยาลยั สมาคมนสิ ติ เกา่ ของจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ทงั้ ในระดบั คณะและมหาวทิ ยาลยั
แลว้ นา� มารอ้ ยเรยี งกนั เขา้ เพอื่ ใหผ้ อู้ า่ นไดม้ โี อกาสรจู้ กั ตวั ตนและความเปน็ “จลุ สงิ ห์ วสนั ตสงิ ห”์
ทแ่ี ทจ้ ริง ผมขอขอบคุณทุกทา่ นทใี่ หค้ วามร่วมมอื อย่างเตม็ ใจและจรงิ ใจ กบั ทุกถอ้ ยคา� และ
ทุกตวั หนงั สือทที่ า่ นจะไดอ้ ่านตอ่ ไปนี้

นอกจากเรอื่ งเลา่ ทเ่ี ปย่ี มดว้ ยความทรงจา� อนั แสนงดงามแลว้ ผมเชอ่ื มนั่ วา่ ภาพประกอบ
ทสี่ อดคลอ้ งกบั เนอ้ื เรอ่ื งแตล่ ะบทแตล่ ะตอน จะทา� ใหท้ า่ นผอู้ า่ นมคี วามสขุ กบั การอา่ นหนงั สอื
เลม่ น ้ี และเปน็ ความสขุ ท่เี ราไดร้ จู้ กั คุ้นเคยกบั พจี่ ลุ สงิ ห์ ไม่วา่ จะในบทบาทฐานะอะไรกต็ าม

เป็นความสขุ ท่ลี ืมไม่ไดอ้ ีกนานแสนนาน

ธงทอง จันทรำงศุ

65

ทา่ มกลางบรรยากาศอนั สงบเงยี บของสปั ดาหแ์ รกเดอื นกรกฎาคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒
ตงั้ แตช่ ว่ งเชา้ วนั เสารท์ ี่ ๖ ของเดอื นนนั้ ขา่ วการจากไปของบคุ คลคนหนงึ่ เปน็ เรอื่ งราวทไี่ ดร้ บั
การกลา่ วขวญั ถงึ ดว้ ยความโศกเศรา้ อาลยั และเสยี ดาย หลายคนเมอื่ ไดร้ บั ขา่ วกน็ งิ่ อน้ั ไปด้วย
ความรู้สึกที่ประดังประเดเข้ามาในหัวใจ หลายคนออกปากว่า ความสูญเสียคร้ังนี้เป็น
ความสญู เสยี ทย่ี งิ่ ใหญข่ องสงั คมไทยในหลายแวดวง และเปน็ ความสญู เสยี ทม่ี าถงึ เรว็ เกนิ คาด
รุ่งข้ึนเป็นวันอาทิตย์ที่ ๗ กรกฎาคม ผู้ใหญ่ท่านหน่ึงเล่าประสบการณ์วันนั้นว่า
ปกติแล้วท่านไม่ได้ไปร่วมงานรดน้�าศพของใครบ่อยนัก เพราะตามประเพณีไทยแล้ว
การรดน้�าศพ ซง่ึ เปน็ การแสดงคารวะสา� หรบั ผวู้ ายชนมก์ อ่ นทจ่ี ะเรมิ่ พธิ กี ารอน่ื ตอ่ ไป เปน็ เรอ่ื ง
ท่ปี ฏิบัติกนั ในครอบครัวและวงญาตมิ ติ รใกลช้ ดิ แต่สา� หรบั งานของ “ทา่ นจุลสิงห์ พี่จุลสงิ ห์
หรอื คณุ จลุ สงิ ห์ วสนั ตสงิ ห”์ แลว้ แมท้ า่ นดงั กลา่ วจะไมใ่ ชเ่ ครอื ญาต ิ แตค่ วามผกู พนั ใกลช้ ดิ กนั
มานานป ี และดว้ ยความเคารพนบั ถอื ทม่ี อี ยใู่ นหวั ใจอยา่ งเตม็ เปย่ี ม ยอ่ มเปน็ เหตผุ ลเพยี งพอ
แล้วท่ีท่านจะเดินทางไปที่วัดเทพศิรินทราวาส มุ่งหน้าตรงไปท่ีศาลากวีนิรมิต ท่ีหลายคน
เรียกอย่างลา� ลองว่าศาลากลางน�้า
บา่ ย ๒ โมง ทศี่ าลากลางนา�้ วนั นนั้ คลาคลา�่ ไปดว้ ยผคู้ นมากหนา้ สะพานยาวทท่ี อดเชอื่ ม
ระหว่างศาลามายงั พน้ื ทีด่ ้านหลงั เมรหุ ลวงหน้าพลบั พลาอิสริยาภรณ์ มคี นเขา้ แถวยาวเกอื บ
ตลอดแนว แมท้ างเจา้ ภาพจะจัดหาเตน็ ทส์ ีขาวขนาดเล็กมาเรยี งแถวไว้บนสะพานตั้งแตต่ น้
จนปลายสะพาน ดินฟ้าอากาศร้อนระอุเวลาบ่ายของเดือนกรกฎาคมก็ไม่น่าอภิรมย์นัก
แตค่ วามรอ้ นดงั กลา่ วกไ็ มไ่ ดเ้ ปน็ อปุ สรรคทผี่ คู้ นทง้ั หลายจะยนิ ยอมพรอ้ มใจกนั ตอ่ แถวยดื ยาว
เพอื่ รอเข้าเคารพศพ และกล่าวค�าอา� ลาครง้ั สดุ ท้ายกบั ผู้เป็นทรี่ กั และเคารพทเ่ี พงิ่ จากไปเมอ่ื
วนั วาน คร่ึงช่วั โมงผ่านไปแล้ว หน่ึงช่วั โมงผ่านไปแลว้ แถวยาวของผ้คู นมากหนา้ ทแี่ ตง่ กาย
ด้วยเครื่องแต่งกายไว้ทุกข์ตามประเพณี ไม่มีท่าทีว่าจะหดส้ันลง ยิ่งใกล้เวลาพระราชทาน
น�้าอาบศพ คือเวลา ๑๗.๐๐ น. ผู้คนก็ย่ิงเพิ่มมากขึ้น จากเดิมที่เป็นการเข้าแถวเรียงหนึ่ง
เจ้าหน้าที่ต้องขอความกรุณาให้จัดแถวใหม่เป็นแถวเรียงสอง เพ่ือทุกท่านจะได้ท�าส่ิงที่
ตัวเองต้งั ใจไว้มาจากบา้ นได้ทันเวลา

66







ทานผูหญงิ เสงย่ี ม พระเสด็จสเุ รนทราธบิ ดี เจาพระยาพระเสด็จสเุ รนทราธบิ ดี
(วสันตสงิ ห) มาลากุล ณ อยุธยา ม.ร.ว.เปย มาลากุล
ม.ล.ปก มาลากุล
ม.ล.ปอง มาลากุล พ.ต.อ. ม.จ.สรุ ะวุฒิประวัติ เทวกุล
ม.ล.ปอง มาลากลุ ม.ร.ว.สอางคศรี (สขุ สวัสดิ)์ เทวกลุ
รศ. พ.ญ. ม.ร.ว.กนั ยกิ า เทวกุล นางอมั ภา (ยิ่งวริ ยิ ะ) เทวกลุ
ม.ร.ว.เอกสุรวุฒิ เทวกุล
ม.ร.ว.พฒุ ิเทพ เทวกุล ทานผหู ญงิ ดษุ ฎีมาลา (ไกรฤกษ) มาลากลุ
ม.ล.ปน มาลากุล
ม.ล.เปนศรี มาลากลุ (ถงึ แกกรรมแตยงั เยาว) นายเมืองเรงิ วสันตสงิ ห
ม.ล.เปยมสนิ มาลากลุ (ถึงแกกรรมแตยงั เยาว)
ม.ล.ปนศักด์ิ มาลากุล (ถงึ แกกรรมแตยงั เยาว)
ม.ล.ปานตา (มาลากลุ ) วสนั ตสิงห

หลวงอนรุ ักษภเู บศร (สงิ หโต)

หมอมลำดวน (วสันตสิงห) ดศิ กลุ สมเดจ็ พระเจาบรมวงศเธอ
กรมพระยาดำรงราชานภุ าพ
ม.จ.หญิง พฒั นายุ ดิศกุล
ม.จ.หญงิ สิวลวี ลิ าศ ดศิ กลุ หมอมสวาสด์ิ (เกตทุ ัต) ดิศกลุ
ม.จ.หญงิ ทกั ษณิ าธร ดิศกลุ นางอษุ ณีย (ทองเนื้อด)ี ดศิ กุล
พล.ท.ม.จ. พสิ ษิ ฐดศิ พงษ ดิศกลุ นางสนั ทดั (จันทรวัตร) ดศิ กุล

พล.ท. ม.ร.ว.พงษดศิ ดศิ กุล ทานหญิงเฟองฉัตร (ฉัตรชยั ) ดิศกุล
พ.ต.อ. ม.ร.ว.พิสิฐพงศ ดศิ กลุ พล.ร.ต. อดุ ม คชาชีวะ
พ.อ. ม.ร.ว.พิพฒั นดศิ ดศิ กุล พล.ต.ธวชั ชยั นาควานชิ
ม.ร.ว.หญงิ พัฒนาดิศ (ดศิ กลุ ) คชาชีวะ
ม.ร.ว.หญิง พิศวาส (ดิศกลุ ) นาควานิช นายพรี พล กุญชร ณ อยุธยา
ม.ร.ว.หญงิ ประศาสนศรี ดศิ กลุ พ.อ. สุวฒั น วนิ จิ ฉยั กลุ
ทานหญิงสมุ ณนี งเยาว (ดศิ กลุ ) วนิ จิ ฉัยกุล

นางกณุ ฑล (วสนั ตสิงห) สจุ ริตกุล นายเตียบ สุจริตกุล
ผศ. จันทรวรรณ (วสนั ตสงิ ห) เทวรกั ษ รศ.ไพบูลย เทวรกั ษ

นางสาววชั รวี รรณ วสันตสิงห นางภทั รา (วรี เธียร) วสันตสิงห
นางเริงฤดี วสนั ตสิงห นางภัทริน (ชุณหวงศ) วสันตสิงห

ศ.พิเศษจลุ สงิ ห วสนั ตสงิ ห
นายศวิ ชั วสันตสิงห
ด.ช. ปญญ วสนั ตสงิ ห

นางสาวณัฏฐา วสนั ตสิงห

นางเยน็ (วสนั ตสงิ ห) ยงใจยทุ ธ นายกองนา ทองดำ ยงใจยทุ ธ
นางสุรียศรี (ละมุน) ยงใจยทุ ธ
ร.อ. ชน้ั ยงใจยทุ ธ
พล.อ ชวลิต ยงใจยุทธ หลวงอปุ กรณรัฐวถิ ี (ษระ แสงชโู ต)

น.ต. วิเชยี ร ยงใจยุทธ
น.พ. ประพาฬ ยงใจยุทธ
น.พ. สารตั ถ ยงใจยทุ ธ
นาง (ลูกสาวไมทราบชือ่ )

หมอมอภินพร เพชรราช รัตนวงศา (เชอ้ื ยงใจยุทธ)
นางวัชรี (แสงชโู ต) พงศะบตุ ร
นายเผดมิ รัตน แสงชโู ต
นาย ฃ. อสิ ระ แสงชโู ต

พระสุนทรเทพกจิ จารกั ษ (เข็ม วสนั ตสงิ ห) นางซุยอน่ิ
(ธดิ าพระยารชั ฎานุประดษิ ฐ เจาเมอื งระนอง)
นายชาย วสนั ตสิงห
นางเผอิญพบ (วสนั ตสงิ ห) ม.ร.ว.ทวีศิริ (ศรธี วชั ) วสนั ตสงิ ห
นายเข็มทอง วสันตสงิ ห

พระยาเพช็ รพิไสยศรีสวสั ดิ์ คุณหญิงเรยี บ เพช็ รพิไสยศรีสวัสดิ์
(แมน วสันตสงิ ห) (สุวรรณสุภา) วสนั ตสงิ ห

หมอมศริ เิ ลิศ (วสนั ตสงิ ห) เทวกุล พ.ต.อ. ม.จ.สุระวุฒปิ ระวตั ิ เทวกลุ

พล.ต.ต. ม.ร.ว.พงศสุระ เทวกลุ นางจิตอารี (บณุ ยะภกั ด)ิ์ เทวกุล

ม.ร.ว.อิสสระเลศิ เทวกลุ (ถงึ แกแกกรรมแตยังเยาว)

ม.ร.ว.กำลนู เทพ เทวกลุ นางอนงค (สุทธิเดช) เทวกุล

รศ. ม.ร.ว. วฒุ เิ ลิศ เทวกลุ นางพรรณงาม (โรจนแพทย) เทวกุล

ม.ร.ว. อนุเทพ เทวกุล นางกมลปรีดิ์ (วรชาติ) เทวกลุ

ม.ร.ว. ศริ กิ ญั ญา (เทวกุล) ศรีวณกิ นายแพทยอนันต ศรีวณิก

นางสาวแมนวาด วสันตสิงห

นางสาวกองกาญจน วสันตสิงห

นายเมอื งเริง วสันตสงิ ห ม.ล.ปานตา (มาลากลุ ) วสันตสงิ ห

นายลาภ วสันตสงิ ห นางพรรณพศิ (เกตุทตั ) วสนั ตสงิ ห

นางพรรรณลภา (วสันตสิงห) ฐติ ิรตั นสกุล นายสมศกั ด์ิ ฐิตริ ัตนสกลุ

เด็กชายแอน วสันตสิงห (ถึงแกกรรมแตยงั เยาว)

นางพวงเพช็ ร วสันตสิงห

ทานผหู ญงิ อรอวล (วสนั ตสงิ ห) อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา นายจรญู พันธุ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา

นายจริ ายุ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ทานผหู ญิงอรนชุ (ทองเนือ้ ดี) อศิ รางกูร ณ อยุธยา

นางสวุ มิ ล (อิศรางกูร ณ อยุธยา) โปษยานนท นายชัยยนั ต โปษยานนท

พล.ร.ท. สุเทพ วสนั ตสงิ ห ร.น. นางสเุ พญ็ (วายภุ าพ) วสนั ตสงิ ห

นางสาวสุนทรี วสันตสงิ ห

พล.ท. สพุ รหม วสันตสงิ ห นางเพญ็ โฉม (โชตกิ เสถยี ร) วสันตสงิ ห

นางใจใส (วสนั ตสิงห) บนุ นาค นายประธาน บนุ นาค

คุณหญงิ เยาวนาถ (บุนนาค) ไทยวฒั น นายเศกศักดิ์ ไทยวัฒน



พระแก้ว (ทับ) มีธิดาสืบเชื้อสายต่อมา คือท่านหนูใหญ่ (ยายของพระยาเพ็ชรพิไสยฯ) สมรสกับ
ขุนพรหมรักษา (กลัน่ ) ทงั้ ๒ ท่านนมี้ ีบตุ รี คือทา่ นทว้ ม ทา่ นท้วมไดส้ มรสกับหลวงอนรุ ักษภ์ ูเบศร์ (สงิ โต)
บุตรของพระภิรมย์ราชา (แย้ม) ท่านตั้งบ้านเรือนอยู่ที่ถนนอัษฎางค์ ตรงมุมถนนแพร่งนราด้านใต้ มีบุตร
ธดิ า ตามล�าดบั ดังนี้

๑. ทา่ นผหู้ ญงิ เสงยี่ ม สมรสกบั เจา้ พระยาพระเสดจ็ สเุ รนทราธบิ ดี (หมอ่ มราชวงศเ์ ปยี มาลากลุ )
๒. หม่อมล�าดวน ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาด�ารงราชานภุ าพ
๓. นางเย็น ยงใจยุทธ
๔. พระยาเพ็ชรพิไสยศรีสวสั ด์ิ (แมน้ วสนั ตสงิ ห)์
๕. พระสนุ ทรเทพกจิ จารักษ์ (เขม็ วสนั ตสงิ ห์)

พระยาเพช็ รพิไสยฯ ทา่ นผู้หญงิ เสงีย่ มฯ หม่อมลาำ ดวน พระสุนทรเทพกจิ จารักษ์ พระยาเพ็ชรพไิ สยศรีสวสั ด์ิ

พระยาเพช็ รพไิ สยศรีสวสั ด์ิ เกดิ เม่อื วนั ที่ ๑๒ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๔๒๖ ตลอดชวี ิตราชการของท่าน
ไดร้ บั ราชการสนองเบอื้ งพระยคุ ลบาทและเปน็ คณุ ประโยชนแ์ กช่ าตบิ า้ นเมอื งอยา่ งยงิ่ โดยเรมิ่ รบั ราชการใน
กระทรวงมหาดไทยในรชั สมัยพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยหู่ วั รัชกาลที่ ๕ ต่อมาไดเ้ ริม่ ออกรับ
ราชการหัวเมืองตามแบบของข้าราชการกระทรวงมหาดไทยในยุคนั้น โดยท่านได้ด�ารงต�าแหน่งส�าคัญใน
การปกครองหัวเมือง อาทิ ผู้ว่าราชการจังหวัดอุทัยธานี ผู้ว่าราชการจังหวัดเพชรบุรี ปลัดมณฑลประจ�า
จงั หวัดเชียงใหม่ ผวู้ ่าราชการจงั หวดั แพร่

71

ดว้ ยเหตนุ ี้ พระยาเพช็ รพไิ สยศรสี วสั ดิ์ จงึ ไดม้ โี อกาสรบั เสดจ็ พระบรมวงศานวุ งศห์ ลายพระองคเ์ มอื่ ครง้ั

เสดจ็ ประพาสหวั เมอื ง โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ สมเดจ็ พระศรพี ชั รนิ ทราบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนพี นั ปหี ลวง

เมื่อคร้ังเสด็จประพาสนครสวรรค์ ได้พระราชทานดุมทองลงยา ส.ผ. และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ

พระราชทานช่ือแด่บุตรธิดา ๔ คนแรกของพระยาเพ็ชรพิไสยศรีสวัสดิ์ว่า ศิริเลิศ แม้นวาด กองกาญจน์

และเมอื งเรงิ และเมอื่ ทา่ นไดย้ ้ายไปดา� รงตา� แหนง่ ปลดั มณฑลประจา� จงั หวดั เชยี งใหม่ ท�าใหไ้ ดถ้ วายการรบั

ใช้พระราชชายาเจ้าดารารัศมี ในรัชกาลที่ ๕ และได้ทรงพระกรุณาประทานช่ือแก่บุตรสาวคนหน่ึงของ

พระยาเพช็ รพไิ สยศรสี วัสด์ิวา่ อรอวล

เกยี รตปิ ระวตั อิ นั สา� คญั ยงิ่ ของพระยาเพช็ รพไิ สยศรสี วสั ดิ์ คอื ไดถ้ วายการรบั ใชใ้ ตเ้ บอ้ื งพระยคุ ลบาท

ในการคล้องช้าง ซึ่งเป็นศาสตร์ส�าคัญของไทยนับแต่โบราณ โดยในสมัยรัชกาลที่ ๖ ใน พ.ศ. ๒๔๕๔

พระยาเพช็ รพไิ สยศรสี วสั ด์ิ ไดป้ ฏบิ ตั หิ นา้ ทคี่ รงั้ สา� คญั ในระหวา่ งทเี่ ปน็ ปลดั มณฑลนครสวรรค์ และไดค้ ลอ้ ง

ช้างเชือกส�าคัญซึ่งต่อมาได้ยืนโรงเป็นช้างคู่พระบารมีในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวมาตลอด

รัชกาล คือ พระเศวตวชิรพาหฯ ครั้นล่วงเข้ารัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๗

ใน พ.ศ. ๒๔๖๙ ท่านได้ช่วยพระยาราชนกูล (อวบ เปาโรหิตย์) สมุหเทศาภิบาลจัดการรับเสด็จพระบาท

สมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เสดจ็ พระราชดา� เนนิ เลยี บมณฑลพายพั พระราชทานพระแสงราชศาสตราวธุ

สา� หรบั เมือง และได้ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ พระราชทานชือ่ บตุ รของท่านอีก ๔ คน วา่ พวงเพ็ชร สุเทพ

สุพรหม และใจใส

ในคราวนน้ั เองไดม้ ชี า้ งเผอื กเกดิ ทเี่ ชยี งใหม่ จงึ ไดม้ พี ธิ สี มโภชขน้ึ ทนี่ นั่ แลว้ ตอ่ มา ทา่ นไดค้ วบคมุ ชา้ ง

เผือกเชือกส�าคัญดงั กล่าวมาท่ีกรุงเทพฯ โดยทางรถไฟ สมโภชขึน้ ระวางทพ่ี ระทน่ี ัง่ ดุสติ ไดร้ ับพระราชทาน

นามว่า พระเศวตคชเดชดิลกฯ และยืนโรงอยู่คู่กับพระเศวตวชิรพาหฯ ณ โรงช้างต้น พระราชวังดุสิต

จนล้มเม่อื พ.ศ. ๒๔๘๖

หลงั จากกลบั เขา้ มารบั ราชการ

ยังพระนครแล้ว ทา่ นได้ด�ารงต�าแหน่ง

ปลัดบัญชาการนครบาล และผู้รักษา

ราชการจงั หวดั พระนครและธนบรุ ี ตาม

ล�าดับ และได้เป็นผู้เริ่มจัดการศึกษา

ประชาบาลข้ึนในจังหวัดพระนครและ

ธนบุรีตามพระราชบัญญัติประถม

ศึกษาเป็นคร้ังแรก โดยตั้งโรงเรียน

ประชาบาลข้ึนทั่วไป ทั้งอ�าเภอช้ันใน

ช้ันนอก นับว่าท่านเป็นผู้วางรากฐาน พระยาเพช็ รพิไสยศรสี วสั ด์ิ คณุ หญิงเรยี บฯ และบตุ รธดิ า
การศึกษาประชาบาลในเขตจังหวัด

พระนครและธนบุรี

72

ภายหลงั การเปลย่ี นแปลงการปกครองจากระบอบสมบรู ณาญาสทิ ธริ าชย์ เปน็ ระบอบประชาธปิ ไตย

อนั มพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ พ.ศ. ๒๔๗๕ พระยาเพช็ รพไิ สยฯ ไดท้ า� การในตา� แหนง่ สมหุ พระนครบาล

ต่อมาได้เป็นหัวหน้าก�ากับตรวจตราการเลือกตั้งผู้แทนต�าบล และเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

จังหวัดพระนครและธนบุรีตามรัฐธรรมนูญ เมื่อหลังจากออกจากราชการแล้ว ท่านได้รับการแต่งตั้งจาก

กระทรวงการคลงั ใหเ้ ปน็ กรรมการและเลขาธิการจดั การสลากกนิ แบ่งของรฐั บาล

ในดา้ นชวี ติ ครอบครวั พระยาเพช็ รพไิ สยศรสี วสั ดิ์ สมรสกบั คณุ หญงิ เรยี บ เพช็ รพไิ สยศรสี วสั ด์ิ บตุ รี

พระยาบริหารหิรญั ราช (สาย สวุ รรณสภุ า) มีบตุ รธิดาดว้ ยกนั ๑๑ คน คอื

๑. หมอ่ มศิรเิ ลิศ ในหม่อมเจ้าสรุ วฒุ ปิ ระวัติ เทวกุล

๒. นางสาวแมน้ วาด วสนั ตสิงห์

๓. นางสาวกองกาญจน์ วสนั ตสงิ ห์

๔. นายเมอื งเริง วสนั ตสงิ ห์ สมรสกับหม่อมหลวงปานตา มาลากุล

๕. นายลาภ วสันตสิงห์ สมรสกบั พรรณพศิ เกตุทัต

๖. เด็กชายแอน๋ วสนั ตสิงห์ (ถงึ แก่กรรมแต่ยังเยาว์)

๗. นางพวงเพช็ ร วสันตสงิ ห์

๘. ทา่ นผูห้ ญงิ อรอวล สมรสกบั นายจรญู พันธ์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา

๙. พลเรือโท สุเทพ วสันตสงิ ห์

๑๐. พลตรี สุพรหม วสนั ตสงิ ห์ สมรสกับเพญ็ โฉม โชตกิ เสถยี ร

๑๑. นางใจใส สมรสกบั ประธาน บุนนาค

ดงั ทก่ี ลา่ วแตต่ น้ วา่ พระยาเพช็ รพไิ สยศรสี วสั ด์ิ

เป็นน้องชายร่วมบิดามารดากับ ท่านผู้หญิงเสงี่ยม

(วสันตสิงห์) พระเสด็จสุเรนทราธิบดี และหม่อม

ล�าดวนในสมเด็จฯ กรมพระยาด�ารงราชานุภาพ

หลงั จากท่พี ระยาเพช็ รพิไสยฯ กลับจากรบั ราชการท่ี

หัวเมอื งแลว้ ท่านผู้หญงิ เสง่ียมไดช้ วนใหท้ า่ นมาปลูก

เรือนอยู่ในบริเวณรั้วบ้านวิสุทธคามของเจ้าพระยา

พระเสด็จสเุ รนทราธบิ ดี ย่านหลานหลวง ซง่ึ หม่อม

ลา� ดวนกไ็ ดพ้ า� นกั อยใู่ นวงั วรดศิ ซง่ึ มอี าณาเขตตดิ กบั

บ้านวิสุทธคามเช่นเดียวกัน นั่นคือจุดเริ่มต้นส�าคัญ

ของสายสัมพันธ์ในครอบครัวใหญ่ ที่ต่อมาได้ก่อให้

เกิดครอบครัวเล็กๆ ที่เชื่อมโยงสายสัมพันธ์ระหว่าง เจ้าพระยาพระเสดจ็ ฯ ท่านผ้หู ญิง และบตุ รธิดา
“วสันตสิงห์-มาลากุล” ให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้นภายใต้ร่ม ณ บ้านวิสุทธคาม
เงาบา้ นวิสุทธคาม...

73

สายราชสกุล มาลากุล
สายราชสกุลของหม่อมหลวงปานตา ผู้เป็นมารดาของคุณจุลสิงห์ คือ มาลากุล (Malakul)

มี สมเด็จพระเจา้ บรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ามหามาลา กรมพระยาบำาราบปรปักษ์ ทรงเปน็ ตน้ ราชสกุล
บดิ ามารดาของหมอ่ มหลวงปานตา คอื เจา้ พระยาพระเสดจ็ สเุ รนทราธบิ ดี(หมอ่ มราชวงศเ์ ปยี มาลากลุ )

และท่านผู้หญงิ เสงี่ยม (วสันตสงิ ห)์ พระเสด็จสเุ รนทราธบิ ดี ทั้ง ๒ ทา่ น เป็นเครอื ญาติกันนับเนอื่ งข้นึ ไปถงึ
เจา้ กรมขนุ ทอง ตาของพระวรวงศ์เธอ กรมหมืน่ ปราบปรปกั ษ์ กบั พระแกว้ (ทับ) ตาของทา่ นทว้ ม (มารดา
ของท่านผหู้ ญงิ เสง่ียม) เปน็ พีน่ อ้ งร่วมบดิ ามารดาเดยี วกนั ดงั แผนภูมิลา� ดับวงศญ์ าติ ดังน้ี

เจ้ากรมขุนทอง พระแสง พระกลิ่น พระกล่ัน ทา่ นกลำ่า พระแก้ว (ทับ)

สมเดจ็ เจา้ ฟา้ ฯ หมอ่ มกลบี ขุนพรหมรกั ษา (กลัน่ ) ทา่ นหนใู หญ่
กรมพระยาบาำ ราบปรปกั ษ์

พระวรวงศเ์ ธอ หมอ่ มเปยี่ ม หลวงอนรุ ักษภ์ เู บศร์ ทา่ นทว้ ม
กรมหมื่นปราบปรปกั ษ์ (สิงโต)

เจา้ พระยาพระเสด็จฯ ท่านผ้หู ญิงเสงีย่ ม

สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ เจา้ ฟา้ มหามาลา กรมพระยาบา� ราบปรปกั ษ์ เปน็ พระราชโอรสองคท์ ่ี ๖๕
ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ประสูติแต่สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดี
พระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟา้ มหามาลา กรมพระยาบำาราบปรปักษ์ ทรงเป็นผสู้ �าเรจ็ ราชการ
พระราชส�านกั ในตน้ รัชกาลท่ี ๕ พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจา้ อยหู่ ัว รชั กาลที่ ๕ และสมเด็จพระศรี
พัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ทรงนับถือเป็นอย่างยิ่ง ทรงเรียกว่า เสด็จอา หรือ
กรมสมเด็จ มีเรื่องเล่ากันว่า เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชด�าเนินออกจาก
พระบรมมหาราชวัง เพื่อประกอบพระราชกรณียกิจ ก่อนเสด็จพระราชด�าเนินกลับ หากมีโอกาสก็จะทรง
แวะดูงานกรมชา่ งสบิ หมู่และทรงเย่ยี มสมเดจ็ เจา้ ฟ้ามหามาลาฯและพระวรวงศเ์ ธอกรมหมนื่ ปราบปรปักษ์
พระโอรส ท่วี ังกลางริมประตูวิเศษไชยศรี ตรงบริเวณทต่ี ั้งของกรมศิลปากรทุกวันน้ี

74

สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศ์เธอ เจ้าฟา้ มหามาลา พระวรวงศเ์ ธอ กรมหมน่ื ปราบปรปกั ษ์
กรมพระยาบาำ ราบปรปักษ์ พระราชโอรสในรัชกาลที่ ๒ (พระนามเดิม พระวงศ์เธอ
พระองค์เจ้าขจรจรสั วงษ)์
ตน้ ราชสกลุ มาลากลุ
สมเดจ็ ปู่ของเจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี บดิ าของเจ้าพระยาพระเสด็จสเุ รนทราธบิ ดี

ในกาลต่อมา พระโอรสพระองค์หนึง่ ของ สมเดจ็ ฯ กรมพระยาบำาราบปรปักษ์ ทีป่ ระสูติแตห่ ม่อม
กลีบ มาลากุล ณ อยุธยา คือ พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นปราบปรปักษ์ ได้เป็นผู้ก�ากับกรมช่างสิบหมู่ และ
ต่อมาได้ทรงด�ารงต�าแหน่งผู้บัญชาการกรมทหารเรือในสงครามระหว่างไทยกับฝร่ังเศสในกรณีพิพาท
ร.ศ. ๑๑๒ (พ.ศ. ๒๔๓๖)

พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นปราบปรปักษ์ มีโอรสธิดา จ�านวน ๑๑ คน ซ่ึงมีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร
“ป” ตามพระนามกรมของพระองค์ และเปน็ อกั ษรพยางค์เดยี วท้ังหมด คอื

๑. หม่อมราชวงศ์เปีย มาลากลุ เจ้าพระยาพระเสดจ็ สเุ รนทราธิบดี เกดิ จากหม่อมเปี่ยม
๒. หมอ่ มราชวงศ์หญิงแป้น มาลากลุ เจา้ จอมในรัชกาลที่ ๕ เกิดจากหมอ่ มจบั
๓. หม่อมราชวงศ์หญิงปมั้ มาลากุล (ทา้ ววรคณานนั ท์) เจ้าจอมในรัชกาลท่ี ๕ เกิดจากหมอ่ มทับ
๔. หม่อมราชวงศห์ ญงิ แป้ม มาลากลุ (ทา้ ววรคณานนั ท์) เกิดจากหม่อมจบั
๕. หมอ่ มราชวงศป์ ุ้ม มาลากลุ เจา้ พระยาธรรมาธกิ รณาธิบดี เกิดจากหม่อมทบั
๖. หม่อมราชวงศ์หญงิ แป้ว มาลากุล เกิดจากหมอ่ มทบั
๗. หมอ่ มราชวงศห์ ญงิ ปยุ มาลากลุ (ท้าวสมศักด์ิ) เกดิ จากหม่อมเพิ่ม
๘. หมอ่ มราชวงศ์โปย้ มาลากลุ พระยาเทวาธิราช เกดิ จากหม่อมสนุ่
๙. หมอ่ มราชวงศ์โป๊ะ มาลากุล พระยาชาติเดชอุดม เกดิ จากหมอ่ มกลน่ิ
๑๐. หมอ่ มราชวงศ์เปี๊ยะ มาลากุล เกิดจากหมอ่ มกลัน่
๑๑. หมอ่ มราชวงศป์ ึก มาลากลุ เกดิ จากหมอ่ มอิน

75

พระโอรสของ พระวรวงศเ์ ธอ กรมหมน่ื ปราบปรปกั ษ์ มที า่ นผหู้ นง่ึ ทใ่ี นเวลาตอ่ มาไดม้ คี ณุ ปู การอยา่ ง
ยิ่งต่อวงการการศึกษาไทย ท่านผู้นี้คือ เจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี (หม่อมราชวงศ์เปีย มาลากุล)
อดีตอธิบดีกรมการศึกษา ปลัดทูลฉลองกระทรวงธรรมการและเสนาบดีกระทรวงธรรมการ นอกจากนี้
ท่านได้เป็นพระอภิบาลจัดการศึกษาพระราชโอรสในรัชกาลที่ ๕ หลายพระองค์และได้รับความไว้วาง
พระราชหฤทยั ใหเ้ ปน็ พระอภบิ าลพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ขณะดา� รงพระอสิ รยิ ยศเปน็ สมเดจ็
พระบรมโอรสาธริ าชฯ สยามมกุฎราชกมุ าร เสดจ็ ฯ ไปทรงศกึ ษาตอ่ ณ ประเทศอังกฤษ นอกจากนท้ี า่ น
ยงั ไดเ้ คยด�ารงตา� แหน่งเอกอัครราชทตู พเิ ศษไทยประจ�าอังกฤษและยุโรปอกี ดว้ ย

ผลงานสา� คญั ของทา่ นทม่ี คี วามสา� คญั อยา่ งยง่ิ คอื การวางรากฐานดา้ นการศกึ ษาของชาติ นบั ตง้ั แต่
พ.ศ. ๒๔๔๒ เมือ่ ครั้งท่ีพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยูห่ ัว ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ให้ทา่ นเดิน
ทางกลบั เขา้ มารับราชการในประเทศสยาม โปรดฯ ใหเ้ ปน็ ผู้อ�านวยการโรงเรียนมหาดเล็กในรัชกาลท่ี ๕
จัดการตามรปู “โครงแผนการศกึ ษาในกรงุ สยาม” ซ่งึ ท่านได้มีความเหน็ ทลู เกล้าฯ ถวายเขา้ มา เมือ่ ครั้งทา่ น
เปน็ อัครราชทตู อยูป่ ระเทศอังกฤษ จนกระทัง่ ด�ารงต�าแหนง่ อธบิ ดกี รมศึกษาธิการ ปลดั ทลู ฉลองกระทรวง
ธรรมการและเสนาบดีกระทรวงธรรมการ ตามล�าดับ อกี ทง้ั ทา่ นยงั เปน็ ผู้แตง่ ตา� ราเรยี นไวม้ ากมาย อาทิ

พลเมืองดี, แบบเรียนจรรยาสมบัติของผู้ดี,
จรรยาแพทย,์ อกั ขรวธิ ,ี พงศาวดารยอ่ , คา� เทยี บ
ร.ล., แบบเรียนราชการกรมมหาดเลก็ เป็นต้น
ด้วยคุณูปการอันใหญ่หลวงต่อการศึกษาไทย
นเ้ี อง ท่านจงึ ไดร้ บั การประกาศเกยี รติคณุ จาก
องค์การศกึ ษาวทิ ยาศาสตร์และวฒั นธรรมแหง่
สหประชาชาติ ให้เป็นบุคคลส�าคัญของโลก
ดา้ นการศกึ ษาสงั คมศาสตร์ และมนษุ ยศาสตร์
ในวาระ ๑๕๐ ปีชาตกาล วันท่ี ๑๖ เมษายน
พ.ศ. ๒๕๖๐ และ ๑๐๐ ปี นับแตอ่ สญั กรรม วันที่
๑๔ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ.๒๕๕๙ นอกจากนท้ี ายาท
ยังได้สืบสานเจตนารมณ์ในด้านการศึกษา
ของท่านต่อมา โดยได้ตั้งกองทุนเจ้าพระยา
พระเสดจ็ ฯ ไวท้ โ่ี รงพยาบาลศิรริ าช เพอ่ื มอบ
แก่อาจารย์แพทย์ดีเด่นของโรงพยาบาลเป็น
ประจา� ทกุ ปี

เจา้ พระยาพระเสดจ็ สเุ รนทราธบิ ดี (หมอ่ มราชวงศเ์ ปยี มาลากลุ )

76

สมเดจ็ พระกนษิ ฐาธริ าชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เสดจ็ ฯ ไปในงานเฉลมิ ฉลอง
วาระ ๑๕๐ ปชี าตกาล เจา้ พระยาพระเสดจ็ สเุ รนทราธบิ ดี วนั ท่ี ๑๖ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๐ และ ๑๐๐ ปี นบั แตอ่ สญั กรรม

วนั ท่ี ๑๔ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๕๙ ณ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั

คุณจุลสงิ ห์ วสนั ตสงิ ห์ และภรรยา ไปร่วมพธิ ีมอบทุนเจา้ พระยาพระเสด็จฯ
แก่อาจารยแ์ พทย์ดเี ด่นของโรงพยาบาลศริ ริ าชเปน็ ประจาำ ทกุ ปี

77

เจา้ พระยาพระเสดจ็ สเุ รนทราธบิ ดี เปน็ บดิ าของหมอ่ มหลวงปน่ิ มาลากลุ อดตี รฐั มนตรวี า่ การกระทรวง
ศึกษาธิการ และนักการศึกษาคนส�าคัญของประเทศไทย อีกทั้งยังเป็นคุณตาของคุณจุลสิงห์ วสันตสิงห์
ทั้ง ๒ ท่าน เป็นทายาทชายที่สืบราชสกุล “มาลากุล” ในสายของ เจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี
ที่ “บ�ารุงตระกูลวงศ์ให้เจริญ” ในกาลสมัยของตน สมเกียรติ และศักดิ์ศรีของนามสกุลพระราชทานจาก
พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้าเจา้ อยหู่ ัว ดงั ทีป่ รากฏในหนังสืออนสุ รณ์งานพระราชทานเพลิงศพของท่าน
เจา้ พระยาพระเสดจ็ ฯ เมอ่ื พ.ศ. ๒๔๕๙ เรยี บเรยี งโดย เจา้ พระยาธรรมศกั ดม์ิ นตรี (สนน่ั เทพหสั ดนิ ณ อยธุ ยา)
ผู้ซงึ่ เคยรว่ มราชการในกระทรวงธรรมการกับเจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี ความตอนหน่ึงวา่

“ตอ่ มาในรชั กาลปตั ยบุ นั พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั (รชั กาลท ่ี ๖) กไ็ ดท้ รงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ
พระราชทานเกยี รติยศเนอ่ื งดว้ ยสกุลเพ่มิ เติมอกี หลายประการ เชน่ โปรดเกลา้ ฯ ใหห้ าบสามหาบหลวงใน
งานพระบรมศพพระบาทสมเดจ็ พระรามาธบิ ดีท่ ี ๕, โปรดเกล้าฯ พระราชทานตราสำาหรับตวั ซ่ึงทรงสมมตุ ิ
เปนรปู เทพบตุ รยนื เชญิ พระมาลา พระราชทานเปนตราธงเสอื ปา่ ประจาำ ตวั , แลว้ ตอ่ มาภายหลงั เมอ่ื มปี ระกาศ
พระราชบัญญัติให้ใช้นามสกลุ ก็โปรดเกล้าฯ พระราชทานพระราชหตั ถเลขาขนานนามสกุลว่า ‘มาลากลุ ’
แก่ท่าน ผู้เป็นหัวหน้าสกุลในขณะนั้น สืบจากสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ามหามาลา สมเด็จกรม
พระยาบาำ ราบปรปกั ษ,์ และหม่อมหลวงปิน่ มาลากลุ ณ กรงุ เทพ บตุ รชายของท่านก็ได้ทรงพระมหากรุณา
ชุบเลีย้ ง เปนมหาดเลก็ รับใชอ้ ยใู่ นทใี่ กลช้ ดิ พระองคใ์ นพระบรมมหาราชวงั เปนนิตย”์

เจา้ พระยาพระเสดจ็ สเุ รนทราธบิ ดี สมรสกบั ทา่ นผหู้ ญงิ เสงย่ี ม (วสนั ตสงิ ห)์ พระเสดจ็ สเุ รนทราธบิ ดี ผมู้ ี
ศกั ดเ์ิ ปน็ ทง้ั คณุ ยา่ และคณุ ยาย ของคณุ จลุ สงิ ห์ ทา่ นเปน็ บตุ รคี นโตของหลวงอนรุ กั ษภ์ เู บศร์ (สงิ โต วสนั ตสงิ ห)์
กับท่านท้วม และเป็นพี่สาวคนโตของพระยาเพ็ชรพิไสยศรีสวัสดิ์ (คุณปู่ของคุณจุลสิงห์) ดังกล่าวมาแล้ว
ขา้ งต้น

หลวงอนรุ กั ษภ์ เู บศรถ์ งึ แกก่ รรมเมอ่ื ทา่ นผหู้ ญงิ เสงย่ี ม
มอี ายเุ พียง ๑๒ ปี ท่านจึงอยกู่ ับมารดาและได้มโี อกาสเรยี น
หนังสือและขนบธรรมเนียมประเพณีที่ส�านักเจ้าจอมเปี่ยม
ในกรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ ซึ่งเป็นน้าของท่าน อีกทั้ง
ได้ฝกึ หัดจดั การบา้ นเรือนกับมารดา ทา่ นจึงเป็นผู้ทม่ี ีจรรยา
มารยาทเรียบร้อย สามารถดูแลบา้ นเรอื นและการครัว มฝี ีมอื
ในการปรุงน้า� อบไทย การเยบ็ ปักถักร้อย เชน่ การถกั ตาชนุ
ไหมทอง และตอ่ มาเมอ่ื มคี รอบครัวแลว้ ทา่ นมกั จะชอบสรา้ ง
เครือ่ งแตง่ ตวั ละครร�าส�าหรับลกู หลาน

เจา้ พระยาพระเสดจ็ สเุ รนทราธบิ ดี
และทา่ นผหู้ ญงิ เสงย่ี มฯ

78

เม่ือท่านผหู้ ญิงเสง่ยี มอายไุ ด้ ๑๗ ปี พระวรวงศ์เธอ

กรมหมื่นปราบปรปักษ์ ไดท้ รงส่ขู อท่านใหแ้ กห่ ม่อมราชวงศ์

เปยี มาลากลุ โอรสคนใหญ่ ซ่งึ เวลาน้นั มีอายไุ ด้ ๒๑ ปี เมอื่

สมรสแล้วได้ปลูกเรือนหออยู่ในบ้านถนนอัษฎางค์ ขณะนั้น

หมอ่ มราชวงศ์เปยี เปน็ เสมียนกรมศกึ ษาธิการ (ก่อนตง้ั เป็น

กระทรวง)

ในช่วง ๑๕ ปีแรกของการเริ่มต้นชีวิตครอบครัว

เจ้าพระยาพระเสด็จฯ ต้องจากครอบครัวไปราชการต่าง

ประเทศถึง ๔ ครัง้ ดงั น้นั ท่านผ้หู ญงิ เสง่ียมจึงตอ้ งเลีย้ งดบู ุตร

ธดิ าเพยี งลา� พงั และหารายไดเ้ พม่ิ เตมิ จากเงนิ ทองทเ่ี จา้ พระยา

ท่านผู้หญิงเสงีย่ ม พระเสด็จสเุ รนทราธบิ ดี

พระเสด็จฯ สง่ มาใหจ้ ากต่างประเทศ

ครน้ั ถงึ พ.ศ. ๒๔๔๖ เจา้ พระยาพระเสดจ็ ฯ ไดก้ ลบั มาพา� นกั ในประเทศไทย จงึ ไดส้ รา้ งบา้ นใหมเ่ ปน็

เรอื นไมส้ กั หลงั ใหญ่ บนทดี่ นิ พระราชทานทถี่ นนดา� รงรกั ษ์ ตดิ กบั วงั วรดศิ บา้ นหลงั นไี้ ดร้ บั พระราชทานชอ่ื วา่

วสิ ทุ ธคาม เปน็ บา้ นทท่ี า่ นผหู้ ญงิ เสงย่ี มไดอ้ ยอู่ าศยั ตลอดอายขุ ยั ของทา่ น ในระยะนน้ั เจา้ พระยาพระเสดจ็ ฯ

ได้รับแต่งตั้งให้เป็นอธิบดีกรมศึกษาธิการ และปลัดทูลฉลองกระทรวงธรรมการ ท่านต้องหมกมุ่นกับ

การบรหิ ารการศกึ ษา ไมต่ อ้ งไปราชการตา่ งประเทศอกี ยง่ิ กวา่ นน้ั ทา่ นผหู้ ญงิ ไดม้ บี ตุ รธดิ าเพมิ่ ขน้ึ อกี หลายคน

ชวี ิตในครอบครัวในชว่ งนีจ้ งึ เปน็ ชว่ งที่มีความสุข แตค่ วามสขุ นดี้ �ารงอยเู่ พยี งประมาณ ๑๐ ปเี ท่านั้น

เมื่อผลัดแผ่นดินใหม่ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดกล้าฯ ให้

เจ้าพระยาพระเสดจ็ สเุ รนทราธิบดี เลอื่ นขน้ึ เป็นรองเสนาบดีกระทรวงธรรมการ ใน พ.ศ. ๒๔๕๔ และเปน็

ผู้ร้ังต�าแหน่งเสนาบดีในปีเดียวกันนั้นเอง ในปีต่อมาก็โปรดเกล้าฯให้เป็นเสนาบดี ภาระความรับผิดชอบ

เกย่ี วกับการบริหารการศกึ ษาจึงมากขน้ึ ท่านหมกมุน่ ในการทา� งานหามร่งุ หามค�า่ เพยี ง ๒ ปีตอ่ มา ท่านก็

ล้มเจ็บลง หลังจากได้พักรกั ษาตวั อยู่ระยะหน่งึ แตอ่ าการป่วยไม่ทุเลาลง เจ้าพระยาพระเสดจ็ ฯ จงึ ได้กราบ

ถวายบังคมลาออกจากต�าแหน่งหน้าท่ี เม่ือ พ.ศ. ๒๔๕๘ และถงึ แกอ่ สัญกรรมในปีตอ่ มา เมอื่ อายไุ ด้ ๔๙ ปี

ขณะทีท่ ่านผู้หญงิ เสงย่ี ม มีอายุเพียง ๔๕ ปเี ทา่ นั้น

เจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี และท่านผู้หญิง

เสง่ยี ม มีบุตรธดิ าทั้งหมด ๑๓ คน คือ

๑. หมอ่ มหลวงปก (หญิง) ถงึ แก่กรรมเม่อื อายุ ๒๘ ปี

๒. หมอ่ มหลวงปอ้ ง (หญิง)

๓. หม่อมหลวงปอง (หญิง)

๔. หมอ่ มหลวงชาย ถึงแก่กรรมก่อนมีชื่อ

๕. หม่อมหลวงชาย ถงึ แก่กรรมกอ่ นมีชือ่ หมอ่ มหลวงปก หมอ่ มหลวงปอ้ ง
๖. หมอ่ มหลวงปิน่ (ชาย) หมอ่ มหลวงปอง และหมอ่ มหลวงปน่ิ มาลากลุ

79

๗. หม่อมหลวงหญิง ถึงแก่กรรมกอ่ นมีช่อื
๘. หม่อมหลวงเป็นศรี (หญิง) ถึงแก่กรรมเมื่ออายุ ๒๒ ปี
๙. หมอ่ มหลวงเป่ยี มสนิ (หญิง) ถึงแก่กรรมเมอ่ื อายุ ๓ ปี
๑๐. หม่อมหลวงชาย ถงึ แกก่ รรมก่อนมีช่ือ
๑๑. หม่อมหลวงชาย ถงึ แก่กรรมกอ่ นมีชือ่
๑๒. หม่อมหลวงปนศักด์ิ (ชาย) ถงึ แกก่ รรมเมอ่ื อายุ ๙ เดอื น
๑๓. หมอ่ มหลวงปานตา (หญิง) วสันตสงิ ห์ คุณแมข่ องคุณจุลสิงห์
สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ได้มีพระมหากรุณาธิคุณแก่
ท่านผู้หญงิ เสงย่ี มเปน็ อเนกประการ นอกจากชอ่ื ทไ่ี ดพ้ ระราชทานแกบ่ ตุ รธิดาทัง้ ๘ คนแลว้ ยังโปรดฯ ให้
เดก็ ๆ ไดเ้ ขา้ เฝา้ แหนตง้ั แตย่ งั จา� ความไมไ่ ด้ บางชว่ งทเ่ี จา้ พระยาพระเสดจ็ ฯ มภี ารกจิ ทจ่ี ะตอ้ งจบั จา่ ยใชส้ อย
เงินทองเพ่มิ ขึน้ ในระหว่างรบั ราชการในตา่ งประเทศ ไมม่ ีเงินเหลือพอจะสง่ มาใหค้ รอบครวั ที่กรงุ เทพฯ ท่าน
ก็ได้มีหนังสือมากราบบังคมทูลขอมอบบุตรภรรยาอยู่ในพระบรมราชูปถัมภ์สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรม
ราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ก็โปรดเกล้าฯ พระราชทานเงินทองแก่ท่านผู้หญิงเสงี่ยมให้เพียง
พอสา� หรับการครองชีพ นบั เปน็ พระมหากรณุ าธิคณุ ยิ่ง
ต่อมา ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจา้ อยู่หัว มพี ระมหากรุณาธคิ ณุ โปรดเกล้าฯ แตง่ ตง้ั
หม่อมหลวงป่นิ มาลากุล ผเู้ ป็นบตุ รชายเพียงคนเดยี วท่ไี มถ่ งึ แกก่ รรมไปเสียแตย่ ังเยาวเ์ หมอื นพี่นอ้ งผูช้ าย
คนอืน่ ให้เปน็ นักเรียนมหาดเล็กรบั ใช้ประดับพระบรมราชอสิ รยิ ยศ ท�านองเดยี วกบั State Page ของราช
สา� นกั อังกฤษ รบั ราชการสนองพระเดชพระคุณใกลช้ ดิ พระยุคลบาท เป็นเวลา ๖ ปีเศษ แล้วจึงไดส้ ง่ ไป
ศกึ ษาทปี่ ระเทศอังกฤษอกี ๙ ปเี ศษ และเมอ่ื เจ้าพระยาพระเสดจ็ ฯ ถงึ แก่อสญั กรรม หมอ่ มหลวงปนิ่ มีอายุ
ไดเ้ พยี ง ๑๓ ปี และท่านผู้หญิงเสงย่ี มก็ได้รับพระราชทานเงินเลี้ยงชพี เดอื นละ ๖๐๐ บาท นอกเหนือจาก
เบย้ี หวดั ปลี ะ ๔ ชง่ั ซงึ่ ไดร้ บั พระราชทานอย่แู ลว้ เงนิ เลีย้ งชีพน้ีไดพ้ ระราชทานเป็นประจา� ตลอดรัชกาล
ครั้นเจ้าพระยาพระเสด็จฯ ถึงแก่อสัญกรรมแล้ว ๑ ปี พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งต้ังข้ึนเป็นท่านผู้หญิง และพระราชทานเครื่องอิสริยยศส�าหรับท่านผู้หญิง
ประกอบดว้ ยสไบกรองทอง หบี หมากทอง กานา้� ทอง และกระโถนทอง ทง้ั นคี้ งเพราะทรงพระราชดา� รวิ า่ ทา่ น
เปน็ ผู้ทีว่ างตนอยู่ในท�านองคลองธรรม และสามารถ “บาำ รุงตระกูลวงศ์ใหเ้ จรญิ ” ได้ จึงทรงพระกรณุ าธคิ ุณ
ลน้ เกล้าฯ เปน็ กรณพี ิเศษ
หลังจากน้ันอีก ๑ ปี ท่านผู้หญิงเสงี่ยมได้ประสบกับความทุกข์ใจใหญ่หลวงอีกคร้ังเมื่อหม่อม
หลวงปก บุตรคี นโตได้ถึงแก่กรรมลง หลงั จากน้นั ท่านได้ชักชวนนอ้ งชาย คอื พระยาเพ็ชรพิไสยศรสี วัสดิ์
มาปลกู เรอื นอยใู่ นบรเิ วณรว้ั บา้ นวสิ ทุ ธคาม อกี ทง้ั หมอ่ มลาำ ดวนในสมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดา� รง
ราชานุภาพ นอ้ งสาวของท่าน ก็พ�านักอยู่ในวงั วรดศิ ซ่งึ มอี าณาเขตติดกบั บา้ นวสิ ุทธคาม
เมอ่ื มีญาติสนทิ และครอบครวั อยแู่ วดล้อม ท�าใหท้ า่ นผหู้ ญงิ คลายความเศร้าลงไปได้มาก และบ้าน
วิสุทธคามแห่งน้ี ได้กลายเป็นบ้านที่หลอมรวมสายสัมพันธ์ของเครือญาติและลูกหลานในสกุลวสันตสิงห์-
มาลากลุ และเปน็ จดุ กา� เนดิ ของครอบครัวใหม่ครอบครัวหนง่ึ ในเวลาตอ่ มา

80

คณุ เมืองเรงิ วสนั ตสิงห์ บิดาของคุณจลุ สิงห์

เป็นบุตรคนที่ ๔ ของพระยาเพ็ชรพิไสยศรีสวัสดิ์

และคุณหญิงเรียบ และนับเป็นบุตรชายคนโตของ

ครอบครัว ท่านเกิดที่ต�าบลในเมือง อ�าเภอเมือง

จงั หวดั นครสวรรค์ เม่อื วนั ที่ ๑๑ เมษายน พ.ศ. ๒๔๕๓

“เมืองเรงิ ” เป็นนามท่ไี ด้รับพระราชทานจาก

สมเด็จพระศรีพัชรนิ ทราบรมราชินนี าถ พระบรมราช

ชนนีพันปีหลวง เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๔ ในโอกาสท่พี ระองค์

เสดจ็ ประพาสจงั หวดั นครสวรรค์ เนื่องในงานสมโภช

พระเศวตวชิรพาหฯ ช้างเผือกคู่พระบารมีพระบาท

สมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ซง่ึ พระยาเพช็ รพไิ สยฯ

คล้องได้ในขณะที่ด�ารงต�าแหน่งเป็นปลัดมณฑล

นครสวรรค์

คณุ เมอื งเรงิ สา� เรจ็ ชน้ั มธั ยมจากโรงเรยี นมธั ยม

วัดเทพศิรินทร์ แล้วเข้าศึกษาต่อวิชากฎหมาย หลัง คุณเมอื งเริง วสนั ตสิงห์

จากสา� เรจ็ การศกึ ษาแลว้ ได้เขา้ รบั ราชการทหารตาม

กฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหาร โดยสมัครเป็นต�ารวจ จนถึงเดือนเมษายน พ.ศ. ๒๔๗๕ จึงเข้า

รับราชการในกรมนคราธร กระทรวงมหาดไทย เทยี บเท่ากับกรมโยธาเทศบาล ตอ่ มา ใน พ.ศ. ๒๔๘๑ ได้

ย้ายไปรบั ราชการในสา� นกั ราชเลขานกุ ารในพระองค์ ในตา� แหน่งเลขานกุ ารของพระเจ้าวรวงศเ์ ธอ พระองค์

เจา้ อาทติ ยท์ ิพอาภา ประธานคณะผสู้ �าเรจ็ ราชการแทนพระองค์ จนถงึ พ.ศ. ๒๕๐๑ ไดเ้ ลอื่ นช้ันขึ้นเปน็ ช้ัน

พิเศษ และได้รบั แตง่ ตั้งให้ดา� รงตา� แหนง่ เลขาธกิ ารองคมนตรี จนกระทั่งถงึ แกก่ รรม

คณุ เมอื งเรงิ เปน็ นกั กฬี าทม่ี ชี อ่ื เสยี งตง้ั แตค่ รง้ั ศกึ ษาอยทู่ โ่ี รงเรยี นมธั ยมวดั เทพศริ นิ ทร์ โดยเฉพาะกฬี า

ฟตุ บอลกบั เทนนสิ กฬี าฟตุ บอลนน้ั ไดร้ บั การคดั เลอื กเขา้ รว่ มทมี ของโรงเรยี น และตอ่ มายงั เปน็ นกั ฟตุ บอลทมี

ชาตอิ ีกด้วย ส่วนเทนนิส คณุ เมอื งเรงิ ไดเ้ ริม่ เลน่ มาตงั้ แตอ่ ายุยงั น้อย โดยมีบดิ าเปน็ ผูฝ้ กึ หดั ให้ และมหี ม่อม

เจ้าไขแสงระพี ระพพี ัฒน์ ทรงเป็นผ้สู นบั สนุน จนกระทัง่ ต่อมาได้ครองตา� แหนง่ ผชู้ นะเลิศแห่งประเทศไทย

ทง้ั ชายเดีย่ วและชายคู่ ติดตอ่ กันมาเปน็ เวลาหลายปี และยงั ไดเ้ ดินทางไปแขง่ ขนั ในต่างประเทศหลายครัง้

ในท่สี ุด ท่านไดร้ ับเลือกให้ดา� รงต�าแหน่งนายกลอนเทนนิสสมาคมแหง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถมั ภ์

และด�ารงตา� แหน่งนน้ั จนถึงแก่กรรม นอกจากนีท้ า่ นยงั ไดร้ บั เลือกเปน็ นายกฯ และกรรมการของสมาคมอกี

หลายแห่ง เช่น นายกสมาคมเทเบิลเทนนสิ แหง่ ประเทศไทย นายกสมาคมนักเรียนเก่าเทพศิรนิ ทร์ เป็นตน้

ในความทรงจา� ของทา่ นองคมนตรี จริ ายุ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ผเู้ ป็นหลานลุงของคุณเมืองเรงิ น้ัน

ทา่ นยงั จดจา� ภาพของ “ลุงออ๋ ย” ซง่ึ เปน็ เหมือนฮีโร่ของตระกูลไดด้ ี

81

“สาำ หรับมุมมองของผม ลุงออ๋ ย (เมืองเรงิ ) เป็นบุคคลท่พี วกเราในตระกูลยกย่องที่สุดในกลุ่มลกู ๆ
ทง้ั ๑๑ คน ของคุณตา เราถอื ว่าทา่ นเปน็ คนท่ีสมควรยกย่อง เพราะค่อนขา้ งเป็นพใี่ หญ่ ถงึ แมท้ า่ นจะไมใ่ ช ่
ลูกคนโต แตเ่ ป็นลูกชายคนแรก เพราะคนแรกคอื ปา้ อ๊อด (หมอ่ มศริ เิ ลศิ ) ทา่ นเป็นผูห้ ญงิ ซึ่งสงั คมตอนน้นั
ยกยอ่ งผู้ชาย คนท ่ี ๒ คือ ป้าแมน้ วาด ทา่ นเสียไปก่อน คนท่ ี ๓ คอื ปา้ กาญจน์ (กองกาญจน์) เปน็ คนที่รัก
นอ้ ง ๆ และรักหลาน เลีย้ งหลาน คอื พวกเรามา แต่ลุงอ๋อยเปน็ ทายาทของคุณตาคนแรกท่เี ป็นผู้ชาย และ
ทาำ งานในวังด้วย ท่สี าำ คญั กว่านนั้ คอื ลงุ อ๋อยเปน็ แชมปเ์ ทนนสิ เสมอื นเป็นฮโี รข่ องพวกเราท้งั ตระกลู เลย...”

ด้านชวี ิตครอบครวั คุณเมืองเริง วสนั ตสิงห์ สมรสกบั หม่อมหลวงปานตา มาลากลุ เมื่อวันที่ ๒๒
มกราคม พ.ศ. ๒๔๘๖ ณ พระทน่ี ง่ั อมั พรสถาน โดยพระเจา้ วรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ อาทติ ยท์ พิ อาภา ประธาน
ผู้ส�าเร็จราชการแทนพระองค์ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร
รัชกาลท่ี ๘ ทรงเป็นเจา้ ภาพ

งานมงคลสมรส คณุ เมอื งเรงิ วสนั ตสงิ ห์ และ หมอ่ มหลวงปานตา มาลากลุ

หม่อมหลวงปานตา มาลากุล คุณแม่ของคุณจุลสิงห์ เกิดเมื่อวันที่ ๗ มกราคม พ.ศ. ๒๔๕๕
ณ บ้านเลขท่ี ๒๓ ถนนด�ารงรักษ์ กรุงเทพฯ เป็นธิดาคนสุดท้องของเจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี
(หม่อมราชวงศ์เปีย มาลากุล) และท่านผู้หญิงเสง่ียม พระเสด็จสุเรนทราธิบดี ท่านได้ถือก�าเนิดขึ้นใน
ช่วงท่ีบิดาได้รับพระราชทานบรรดาศักด์ิเจ้าพระยา พร้อมท้ังยังได้รับของดีเป็นสิริมงคลหลายประการ
พร้อมกัน

ชอ่ื ของทา่ นไดร้ บั พระราชทานจากสมเดจ็ พระศรพี ชั รนิ ทราบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนพี นั ปหี ลวง
ช่ือ ปานตา มีความหมายเป็นท่ีรักมากดังดวงตา ความที่เป็นลูกสาวคนสุดท้อง บิดาของท่านจึงรัก

82

และเอน็ ดูมาก ถงึ กบั อัดรปู ท่านในวัยเพียง ๕ เดอื น ซ่งึ กา� ลังเป็นวยั น่ารักเหมือนต๊กุ ตา แจกญาติ และคน
ทร่ี จู้ ักคุ้นเคย

ลกู ๆ ของทา่ นไดบ้ นั ทกึ ถงึ เกรด็ เรอ่ื งเลา่ ในชว่ งวยั เยาวข์ องทา่ นไวใ้ นหนงั สอื อนสุ รณง์ านพระราชทาน
เพลงิ ศพเปน็ กรณพี เิ ศษ หมอ่ มหลวงปานตา วสนั ตสงิ ห์ ณ เมรวุ ดั มกฏุ กษตั รยิ าราม ๑๔ ธนั วาคม ๒๕๔๑ วา่

“ในชว่ งวยั กอ่ นเขา้ เรยี น แมไ่ ดม้ โี อกาสเขา้ เฝา้ ฯ สมเดจ็ พระพนั ปหี ลวง คณุ ปา้ ปอ้ ง (หมอ่ มหลวงปอ้ ง
มาลากุล) เล่าว่า สมเดจ็ ฯ ทรงเอน็ ดูแม ่ และรับส่งั เรียกแม่ใหเ้ ขา้ มาใกล ้ เพื่อจะทรงอุ้มข้นึ น่งั บนพระเพลา
(ตกั ) และรบั สงั่ วา่ จะพระราชทานเขม็ กลดั ‘ส.ผ.’ ฝงั เพชร ซง่ึ เปน็ พระนามยอ่ ของพระองคว์ า่ ‘เสาวภาผอ่ งศร’ี
แต่ด้วยเหตทุ ่ีวยั ของแมข่ ณะน้ันยังไมก่ ล้าเข้าใกล้ผู้แปลกหน้า จึงยังไมก่ ลา้ คลานเขา้ ไปใกล ้ ๆ เป็นเหตุให้
แม่ไมไ่ ดร้ ับพระราชทานเข็ม ‘ส.ผ.’ ฝงั เพชร แตอ่ ย่างไรก็ตาม คุณตาก็ไดท้ าำ เขม็ กลัด ‘ป.ม.’ ฝังเพชร ซ่ึง
เปน็ ช่ือแมใ่ ห้แมไ่ ว้แทน
แม่มักชอบติดตามคุณตาไปนอกบ้านเสมอ มีอยู่ครั้งหน่ึงคุณป้าเล่าว่า คุณตาซ่ึงเป็นเสนาบดี
กระทรวงธรรมการ จะออกไปตรวจงานราชการ แม่พูดว่า ‘พระเด็จจะ๊ ฉันจะไปดว้ ย’ คณุ ตาบอกวา่ จะไป
ตรวจวดั แมบ่ อกวา่ ‘วดั น่ันละจะ้ ฉนั จะไป’ แมไ่ ด้ใช้ชวี ติ อยกู่ บั คณุ ตาเพียงอาย ุ ๔ ขวบเทา่ น้ัน คณุ ตาหรือ
ทา่ นเจา้ พระยาพระเสดจ็ ฯ กถ็ งึ แก่อสัญกรรม
เน่ืองจากวัยของแม่ห่างจากคณุ ปา้ ปอ้ งมาก เกือบจะเปน็ ลกู กว็ ่าได ้ แมจ่ ึงไดร้ ับการเลยี้ งดูเอาใจใส ่
ด้วยความรักจากคุณป้ามาก ดังจะเห็นได้จากจดหมายท่ีคุณป้าเขียนถึงแม่ตอนโตเป็นสาวก็ยังมีคำาลงท้าย
วา่ ‘รกั ปานตามากเท่าลูก’
ในวัยเด็กเล็กนี้ แม่จะทำาหน้าท่ีสำาคัญอย่างหน่ึง คือ เป็นเสมือนสตรีไปรษณีย์ คือ คุณป้าซ่ึงรัก
สนิทสนมกับหม่อมเจ้าหญิงพูนพิศมัย ดิศกุล จะให้แม่นำาจดหมายไปถวายโดยวิธีที่คุณป้าจะเอาเข็มกลัด
ตดิ จดหมายกบั เสอ้ื แมไ่ ปเฝา้ ทา่ นหญงิ พนู ฯ แลว้ ทา่ นกท็ รงเขยี นจดหมายตอบกลบั โดยผา่ นแมด่ ว้ ยวธิ เี ดยี วกนั
ท่านหญิงพูนฯ ประทับตำาหนักเดยี วกบั หม่อมเจ้าหญิงพฒั นายุ ดิศกลุ พระญาติ ซง่ึ เป็นพระธิดาในสายของ
หมอ่ มลำาดวน ดิศกุล ณ อยธุ ยา ท่านหญงิ ท้งั สองทรงรกั เอ็นดแู ม่มาก และทรงเรียกช่ือแมว่ ่า ‘ตกุ๊ ตา’ ดว้ ย
เวลาแม่พาลูก ๆ ไปเฝ้าฯ เราก็ได้ยินท่านรับสั่งเช่นน้ีเสมอ และท่านก็ทรงรักเอ็นดูลูก ๆ ของแม่ด้วยเช่น
กนั ”

หมอ่ มหลวงปานตาเรมิ่ เขา้ เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ ทโ่ี รงเรยี นราชนิ ี ทา่ นมคี วามสามารถทางดา้ น
วิชาศิลปะ งานฝีมือ เยบ็ ปกั ถกั ร้อย งานประดษิ ฐ์ และวาดเขียน ส่วนงานช่างฝีมอื นท้ี ่านได้รบั การถ่ายทอด
จากท่านผู้หญิงเสง่ียมโดยตรง เช่น ปักสะดึงปลอกหมอนเป็นลวดลายไทย ปักเส้ือละคร ท�าชฎาใบลาน
เข็มขัดละคร สนับเพลา ฯลฯ นอกจากน้ียังได้รับการถ่ายทอดเรื่องงานฝีมือต่าง ๆ จากหม่อมหลวงป้อง
ซึ่งเคยเข้ารับการศึกษาในส�านักสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง แล้ว
ออกมาสอนการท�าดอกไม้สดและประดิษฐ์ดอกไม้แห้ง และจากหม่อมหลวงปอง ซึ่งสอนอาหารคาวหวาน
ต่อมาทา่ นทงั้ สองมาเปดิ สอนใน “โรงเรียนการเรือนวสิ ุทธคาม” ท่ีบ้านของท่านเอง โดยชอ่ื โรงเรียนมาจาก
บรรดาศกั ด์ขิ องเจ้าพระยาพระเสด็จฯ เมอ่ื ครง้ั เปน็ พระยาวสิ ุทธสรุ ยิ ศักดิ์

83

เมื่อหม่อมหลวงปานตาเรียนจบมัธยมบริบูรณ์จากโรงเรียนราชินี ท่านผู้หญิงเสงี่ยมเห็นสมควรให้
ทา่ นมาท�างานเปน็ ครูสอนหนังสือในโรงเรียนวสิ ทุ ธคาม และเปน็ ผชู้ ว่ ยหมอ่ มหลวงปองซ่งึ ขณะน้นั ทา� หนา้ ที่
ครูใหญ่ด้วย ระหว่างนน้ั ท่านได้จัดกิจกรรมการละครอยเู่ ป็นประจา� เชน่ ละครร�า ละครรอ้ ง และละครพดู
โดยทา่ นเปน็ ผู้คัดเลอื กผแู้ สดงและฝกึ นกั เรียนเป็นรนุ่ ๆ รวมท้ังให้ญาติๆ และเด็ก ๆ ในบา้ นมาร่วมแสดง
ด้วย

หมอ่ มหลวงปานตาและคณุ เมืองเริง นับวา่ เป็นญาติสนทิ ท่ีค้นุ เคยกันมาแตย่ งั เล็ก ดังทล่ี ูก ๆ ของ
ทา่ นได้บนั ทึกไว้ในหนังสืออนสุ รณฯ์ วา่

“แมก่ บั พอ่ เปน็ ญาตกิ นั จงึ ไดร้ จู้ กั เหน็ หนา้ กนั มาตง้ั แตเ่ ลก็ แมเ่ คยเลา่ ใหฟ้ งั วา่ เมอื่ สมยั แมเ่ ดก็ ๆ เคย
เล่นเอาใบไม้ใหญม่ าชอ้ นตกั นา้ำ ในโอ่งอาบน้ำาเลน่ เพลนิ ๆ บงั เอิญพอ่ เดินผ่านมาพอดี กด็ ขู ันตักนา้ำ ธรรมชาติ
นอี้ ยา่ งเพลนิ ไปดว้ ย พอ่ เรยี กแมว่ า่ คณุ นอ้ งเสมอมา เมอ่ื แมโ่ ตเปน็ สาว พอ่ ซง่ึ เคยมคี วามคนุ้ เคยกบั แมฉ่ นั นอ้ ง
ก็กลายมาเปน็ ความรู้สึกรกั แม่ฉันหน่มุ สาว
พ่อเป็นลูกชายคนโตของคุณปู่ (พระยาเพ็ชรพิไสยศรีสวัสด์ิ) และคุณหญิงเรียบ เน่ืองจากคุณปู ่
รับราชการกระทรวงมหาดไทย และต้องย้ายไปทำางานเป็นเจ้าเมอื งอยู่หลายจงั หวัด พอ่ ซงึ่ กำาลงั เรยี นหนังสอื
อยู่กรุงเทพฯ จงึ ตอ้ งพกั อาศยั อยู่บ้านคุณย่าเจยี มจิต (นอ้ งสาวคุณยา่ แท้ ๆ) ทีถ่ นนรองเมือง และอยู่จนถึง
วยั ทาำ งาน แมเ่ ลา่ วา่ พอ่ จะขจี่ กั รยานมาหาแมเ่ ปน็ ประจาำ ทบี่ า้ นถนนดาำ รงรกั ษ ์ ซงึ่ อยไู่ มไ่ กลกนั นกั มอี ยคู่ รงั้ หนงึ่
เกิดมีชายหนุ่มมาเยี่ยมแม่ในเวลาใกล้เคียง คนหน่ึงนำาช็อกโกเลตลูกนัทมาให้ ต่อมาอีกคนนำาไอศกรีม
มาให้ แม่เลยได้กินผสมกันอย่างอร่อย แต่แล้วเกิดรู้สึกหิวน้ำามาก ก็เป็นเวลาช่วงที่พ่อนำานำ้ามะเน็ทมาให้
แม่พอดี แมจ่ งึ ไดด้ ืม่ นา้ำ มะเน็ทแกก้ ระหายเยน็ ช่นื ใจ (น้ำามะเน็ททวี่ ่า ก็คือ เคร่ืองดม่ื ชนดิ หน่งึ ในสมยั ก่อน
สงครามโลกครั้งท่ี ๒ ซึ่งมีลักษณะคล้ายกับเซเวน่ อพั หรอื สไปรท)์
แม่เคยเล่าว่า คุณยายไม่เห็นความจำาเป็นท่ีลูกสาวจะต้องแต่งงาน คุณยายอยากให้ลูกผู้หญิง
สามารถทำางานใช้ชีวิตยืนหยัดพ่ึงตนเองได้ พ่อจึงรอแม่อยู่นานถึง ๗ ปีขณะน้ันพ่อทำางานอยู่สำานักราช
เลขาธกิ าร ในพระองค ์ในทีส่ ุดพอ่ และแม่จึงได้
แต่งงานกันเมื่อเดอื นมกราคม พ.ศ. ๒๔๘๖...”

เมอ่ื คณุ เมอื งเรงิ และหมอ่ มหลวงปานตา หมอ่ มหลวงปานตา และคณุ เมอื งเรงิ วสนั ตสงิ ห์
แตง่ งานกนั แล้ว ก็ย้ายมาอย่ทู ช่ี ้ันบนของเรือน
ไม้สักหลังใหญ่ของท่านผู้หญิงเสง่ียม มีบุตร
ธิดา ๕ คน ภายหลังทั้งสองได้ร่วมกันสร้าง
บ้านหลังใหม่ที่ถนนหลานหลวง และย้าย
ครอบครวั ออกไปอยทู่ บ่ี า้ นหลงั นนั้ หมอ่ มหลวง
ปานตาไดใ้ ชเ้ วลาทง้ั หมดทมุ่ เทใหแ้ กค่ รอบครวั
ดูแลความเป็นอยู่ในบ้านให้เรียบร้อย ท่าน

84

ด�าเนนิ ชวี ิตอย่างเรยี บงา่ ย มธั ยสั ถ์ รสนิยมดี มฝี ีมอื ปรุงอาหารได้เลิศรส มคี วามสามารถตัดเยบ็ เสอ้ื ผา้ ให้
ลูก ๆ ได้แต่งตัวสวยงามกันทุกคน นับว่าท่านได้ครองตนอย่างงดงามสมกับเป็นผู้ผ่านการอบรมอย่างมี
“สมบตั ผิ ู้ด”ี ดงั ที่เจา้ พระยาพระเสดจ็ ฯ ผ้เู ป็นบดิ าได้ประพนั ธ์หนังสอื เลม่ นไ้ี วท้ ุกประการ

ครอบครวั วสันตสงิ ห์ ถา่ ยเมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๖

หลงั จากชวี ติ ครอบครวั ดา� เนนิ มาครบ ๒๐ ปเี ตม็ เวลาแหง่ การจากลากม็ าถงึ ในเชา้ วนั ที่ ๒๘ มกราคม
พ.ศ. ๒๕๐๖ เมอ่ื คณุ เมอื งเรงิ ถงึ แกก่ รรมอยา่ งสงบดว้ ยโรคหวั ใจในวยั เพยี ง ๕๒ ปี ทโ่ี รงพยาบาลจฬุ าลงกรณ์
ขณะนั้นคุณจลุ สงิ หม์ อี ายเุ พยี ง ๑๓ ปี และก�าลงั ศกึ ษาอยทู่ โ่ี รงเรียนวชริ าวธุ วทิ ยาลยั

คุณจนั ทรวรรณ เทวรกั ษ์ บตุ รสาว ไดเ้ ล่าถงึ สญั ญาณของปญั หาสขุ ภาพในช่วงเวลากอ่ นท่ีคณุ พ่อจะ
เสียชีวติ ไวว้ า่

“คณุ พอ่ ใจด ี โอบออ้ มอาร ี ยตุ ธิ รรม และออ่ นโยน เปน็ สภุ าพบรุ ษุ นกั กฬี า ทา่ นมนี า้ำ ใจนกั กฬี า แพเ้ ปน็ แพ้

ไม่ใช่ข้ีแพ้ชวนตี คนไหนเล่นดี ท่านก็ยอมรับในฝีมือ แม้กระท่ังตอนท่านอายุ ๕๐ ปีแล้วลงแข่งกับเด็ก

อาย ุ ๑๙ ปี อนั นี้ไม่เหมาะ เพราะท่านยังทะนงตัววา่ สามารถจะทาำ ได้ ซึ่งท่านไม่รู้มาก่อนวา่ เรมิ่ มีอาการโรค

หวั ใจ เพราะดิฉันเปน็ คนยกกาแฟใหท้ ่าน แลว้ ทา่ นทาำ ตก มอื รับไมไ่ ด ้ ถว้ ยตกลงมาแตกเลย ดฉิ นั ยังบอกพอ่

วา่ ตอ้ งไปหาหมอแล้วนะ ท่านบอกว่าไม่เป็นไร สมัยก่อนการเผยแพร่ความรู้เรือ่ งสุขภาพไม่มากเท่าสมัยน้ี

บอกไปหาหมอก็ไม่ไป ไมน่ านท่านก็ล้มป่วยลงจรงิ ๆ ...”

85

หลงั จากสญู เสยี เสาหลกั ของครอบครวั หมอ่ มหลวงปอ้ งเหน็ วา่ ครอบครวั ของหมอ่ มหลวงปานตาอยู่
กนั ลา� พงั ทบ่ี า้ นหลานหลวง จงึ ชวนใหย้ า้ ยกลบั มาปลกู บา้ นอยใู่ กลก้ นั ในบรเิ วณบา้ นถนนดา� รงรกั ษ์ สว่ นบา้ น
หลานหลวงไดเ้ ปิดเปน็ บา้ นเชา่ ซงึ่ ลูก ๆ ของท่านไดบ้ ันทกึ ถงึ เหตุการณต์ อนนี้วา่

“...พ่อจากไปในขณะทีล่ กู ทกุ คนกาำ ลังอยใู่ นวยั เรียน ลกู ๆ ไดร้ บั ความเมตตากรุณาจากคณุ ปา้ และ
คุณลงุ (หมอ่ มหลวงปิ่น) ซง่ึ ก็มคี วามรักและหว่ งใยในน้องของท่าน หลาน ๆ กพ็ ลอยไดร้ ับความอบอนุ่ ใจ
แทนพอ่ ทจี่ ากไปด้วย ถึงแมพ้ อ่ จะจากไปกอ่ นนบั จนตลอดชวี ิตแม่เกือบ ๓๖ ปีเศษ แมก่ ็สามารถเลี้ยงดูลกู
๕ คนไดด้ ี โดยแมท่ าำ หนา้ ทแ่ี ทนพอ่ ทเี่ ปน็ หวั หนา้ ครอบครวั ทจ่ี ะตอ้ งตดั สนิ ใจและแกไ้ ขปญั หาทส่ี าำ คญั ตา่ ง ๆ
เปน็ ผรู้ บั ผดิ ชอบในการจดั หารายไดใ้ หเ้ พยี งพอกบั ความตอ้ งการของครอบครวั แมแ้ มจ่ ะเปน็ ครแู ละไมเ่ คยมี
ประสบการณใ์ นการบรหิ ารทรพั ยส์ นิ มากอ่ น แตแ่ มก่ บ็ รหิ ารตกึ แถวและบา้ นเชา่ ของเราไดเ้ ปน็ อยา่ งด ี ลกู ๆ
เห็นแม่แตเ่ พียงผเู้ ดียว เปน็ ผู้เจรจากบั คู่สัญญาตา่ ง ๆ เพอ่ื ผลประโยชน์อยา่ งดที ีส่ ุด...”

หมอ่ มหลวงปานตาไดเ้ ลีย้ งดบู ตุ รธดิ าจนเติบโตเปน็ หนุ่มสาว จบการศกึ ษา มีการงานทีม่ น่ั คง และ
มคี รอบครัวของตัวเอง แตท่ กุ คนกย็ ังไปมาหาสู่ โดยก�าหนดวา่ ทกุ เยน็ วันเสาร์ ครอบครัวของลกู ๆ จะพา
หลาน ๆ มารบั ประทานอาหารทบี่ า้ นของทา่ นเปน็ ประจา� ซงึ่ ทา� ใหท้ า่ นรสู้ กึ อบอนุ่ ทไ่ี ดอ้ ยทู่ า่ มกลางลกู หลาน

ส�าหรบั คุณจลุ สงิ ห์ ซง่ึ เปน็ ลูกชายคนเดียวของหมอ่ มหลวงปานตานั้น สายสมั พนั ธค์ วามเปน็ แมล่ ูก
ระหวา่ งท้งั ๒ ทา่ น มีความแนบแน่นผูกพนั อยา่ งมาก จะเหน็ ได้จากภาพถา่ ยของคณุ จลุ สิงหท์ ี่ถ่ายไวใ้ นช่วง
ทขี่ บั รถรบั -สง่ คณุ แมจ่ บั จา่ ยซอ้ื ของเปน็ เวลานาน ๆ หลายชวั่ โมงโดยไมป่ รปิ ากบน่ และไดใ้ ชเ้ วลาในระหวา่ ง
รอน้ันถ่ายภาพน้ีไว้ รวมทงั้ ภาพท่คี ุณจุลสิงหไ์ ดร้ บั เคร่อื งราชอิสรยิ าภรณ์ชน้ั สายสะพาย และได้นา� มาให้คณุ
แม่เป็นผสู้ วมใหท้ ีบ่ า้ นวสิ ุทธคาม โดยมญี าตมิ ติ รรว่ มแสดงความยนิ ดีดว้ ย

อิริยาบทสบายๆ ระหว่างรอคุณแมซ่ ื้อของ

86

พร้อมหน้าครอบครัวในวนั มหามงคล

ความรักและความผูกพันในครอบครัววสันตสิงห์นั้นแนบแน่นและมั่นคงจวบจนในบั้นปลายชีวิต
ของหมอ่ มหลวงปานตา คุณจุลสงิ ห์และพี่นอ้ งไดต้ อบแทนพระคณุ ของท่านด้วยการดแู ลเป็นอย่างดที ้ังทาง
รา่ งกายและจติ ใจ จนกระท่งั ทา่ นได้ถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ ๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๑ รวมอายไุ ด้ ๘๖ ปเี ศษ
ขณะนน้ั คณุ จุลสิงหอ์ ายไุ ด้ ๔๘ ปี และกา� ลังเจรญิ กา้ วหนา้ ในหนา้ ทร่ี าชการสมดงั ทคี่ ณุ แมไ่ ด้มุ่งหวงั ไวท้ ุก
ประการ

87

บทท่ี ๒

ณ บา้ นวิ ทุ ธคาม

วสนั ตสิงห์ ๓ รุน่

คุณจุลสิงห ์ เปน็ บตุ รคนท่ี ๕ และเปน็
บุตรชายคนเดียวของครอบครัวคุณเมืองเริง
และหม่อมหลวงปานตา วสันตสงิ ห ์ มีชื่อเลน่
เรียกขานกันในครอบครวั ว่า อ ู ซง่ึ ใชต้ วั อักษร
อ อา่ ง เช่นเดียวกบั คุณเมืองเรงิ ท่ีมีชือ่ เล่นวา่
ออ๋ ย และไดต้ ั้งชอ่ื เล่นให้กับลูกสาวทง้ั ๔ คน
มตี วั อกั ษร อ อา่ ง เช่นกนั คือ อยุ๋ (กุณฑล)
เอ๋ย (จนั ทรวรรณ) ออ๋ (วัชรีวรรณ) และเออ๋
(เริงฤดี)

ครอบครวั วสันตสงิ ห์ เม่อื พ.ศ. ๒๔๙๖

88

วนั เวลาทค่ี ุณจลุ สิงห์เกิด คือ วันท่ี ๑๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๙๓ นัน้ ถือเป็นช่วงเวลามหามงคลย่ิง
เน่ืองจากพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงพระ
กรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหต้ ง้ั การพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษกในรชั กาลของพระองค ์ เมอื่ วนั ท ่ี ๕ พฤษภาคม พ.ศ.
๒๔๙๓ ในพระราชพธิ ีสา� คัญครงั้ นนั้ คณุ เมอื งเริงไดม้ สี ่วนร่วมในพระราชพธิ ีสา� คัญครั้งประวตั ศิ าสตร์ ดัง
ท่ ี คุณจันทรวรรณ เทวรักษ ์ พี่สาวคนท่ี ๒ ของคุณจลุ สิงห์เล่าวา่

“ตอนน้ันคุณพ่อท�ำงำนในส�ำนักรำชเลขำธิกำรในพระองค์ ได้รับโปรดเกล้ำฯ มอบหมำยให้ปฏิบัติ
หน้ำท่ีเปน็ ผู้อัญเชิญเครือ่ งรำชกกุธภัณฑ ์ ถือว่ำเป็นมงคลยิง่ โดยท่ำนเปน็ ผอู้ ญั เชิญพัดวำลวชิ น ี และพระแส้
หำงจำมรี ถอื วำ่ เป็นจงั หวะชวี ติ ท่ีดีของอดู ว้ ย เหมือนอรู ู้กำลเทศะ คอื รอใหพ้ อ่ ท�ำงำนภำรกจิ สำ� คญั ถวำยให้
เสร็จเรยี บรอ้ ย อถู ึงจะคลอดหลังจำกนน้ั ๑๔ วัน คือวันท ี่ ๑๙ พฤษภำคม ถ้ำคลอดกอ่ นหนำ้ นั้นพ่อคงจะ
วนุ่ น่ำดู อูเป็นควำมหวงั ของพ่อแม่ เพรำะท่ำนทั้งสองมีลกู สำวคนโต คนท ี่ ๒ และ ๓ เปน็ ผหู้ ญงิ พอแม่ต้งั
ครรภค์ นที่ ๔ ท่ำนคิดว่ำจะต้องเป็นผู้ชำย เพรำะวำ่ ครอบครวั ทำงคณุ ป่ ู (พระยำเพช็ รพไิ สยฯ) กับทำงคุณ
ยำย (ทำ่ นผูห้ ญิงเสง่ียม) มลี ูก ๓ คนแรกเปน็ ผหู้ ญิง แลว้ ๓ คนหลังเปน็ ผู้ชำย เป็นเร่อื งนำ่ แปลกเหมือนกนั
แตพ่ อคลอดคนที่ ๔ กค็ ำดวำ่ นำ่ จะเปน็ ผู้ชำยกลับเปน็ ผหู้ ญิง คือ เออ๋ (เรงิ ฤด)ี เมอ่ื พลำดหวงั จำกคนท ่ี ๔
พอคนท ี่ ๕ ก็มคี วำมหวังว่ำ เป็นผู้ชำยแน่นอน ก็เกิดเปน็ ผู้ชำยจริง ๆ คือ อ ู
หมอท�ำคลอด คือ หลวงไวทเยศรางกูร (หม่อมหลวงเชื้อ อิศรำงกูร) ท่ำนเป็นผู้เชี่ยวชำญด้ำน
ผดุงครรภ์ และเป็นผู้ช่วยในกำรถวำยพระประสูติกำลสมเด็จพระเจ้ำภคินีเธอ เจ้ำฟ้ำเพชรรัตนรำชสุดำ
สิรโิ สภำพณั ณวด ี และเปดิ สถำนผดงุ ครรภ์บำงขุนพรหม แถววัดสำมง่ำม ยำ่ นบำงล�ำพู พวกเรำพนี่ ้องเกดิ
ทส่ี ถำนผดงุ ครรภ์ของท่ำนกันทุกคน โดยพ่เี อ ท่ำนจริ ำยุ อศิ รำงกรู ณ อยุธยำ ลกู ของคณุ อำ (ท่ำนผู้หญิง
อรอวล กับท่ำนจรญู พันธ ์ อิศรำงกรู ฯ) เป็นคนแรกของครอบครวั ในรุน่ พวกเรำทคี่ ุณหลวงไวทเยศฯ เปน็ ผู้
ทำ� คลอด (ปัจจบุ นั สถำนผดงุ ครรภแ์ หง่ นี้ยังอยู่ แต่ปรบั เปลี่ยนเป็นบทู ีคโฮเต็ล) พออเู กดิ จงึ เป็นทปี่ รดี ำของ
ญำติ ๆ ทกุ คนมำรว่ มแสดงควำมยนิ ดกี บั พอ่ แม่ พ่อยงั หนำ้ แดงหอมแกม้ แม่ดว้ ยควำมดใี จ ตอนพธิ ที �ำขวัญ
เดอื น พ่อผกู เปลใหญโ่ ตกว่ำตอนพส่ี ำวคนโตคลอดเสียอกี ”

หลงั จากวนั เกิดผ่านไปไมถ่ งึ สองสปั ดาห์ พระมหากรุณาธคิ ณุ
ครง้ั แรกกห็ ลงั่ มาเหนอื เศยี รเกลา้ ของเดก็ ชายอ ู กลา่ วคอื ในวนั ท ่ี ๓๐
พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๙๓ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ไดท้ รงพระกรณุ าโปรด
เกลา้ ฯ พระราชทานนาม “จลุ สงิ ห”์ อันเปน็ มงคลนามใหแ้ กส่ มาชกิ
ใหมข่ องครอบครวั ขา้ ราชบริพารครอบครัวนี้

คณุ จุลสิงห์ในวยั เยาว์

89

“วิ ทุ ธคามยามทีม่ ีทกุ ขร์ ้อน มีผผู้ อ่ นโศกคลาย ายทกุ ขไ์ ด”้
คุณจุลสิงห์ในวัยเด็กเติบโตขึ้นมาท่ามกลางความรัก ความอบอุ่น จากครอบครัวและญาติพี่น้อง
ในเรอื นไม้สกั หลังใหญ ่ ๒ ชั้น ๒ หลัง ซึง่ เปน็ อาคารประธานของบ้านวสิ ุทธคาม หลงั หนง่ึ สา� หรับเป็นท่ี
อยขู่ องลูก ๆ มที างเช่ือมชั้นบนตอ่ ไปอีกหลงั เรยี กวา่ อาศรม เรือนหลังนีเ้ คยเปน็ ที่ทา� งานของเจ้าพระยา
พระเสด็จสเุ รนทราธิบด ี และเป็นท่พี �านักของท่านในบน้ั ปลายชีวติ เรอื นหลังท ี่ ๒ เปน็ บา้ นวสันตสงิ ห ์ ของ
ครอบครวั พระยาเพช็ รพิไสยฯ อยดู่ ้านหน้าของเรอื นใหญ ่ ใกลก้ ับประตหู น้าบ้านออกทางถนนดา� รงรักษ์ ซึง่
แตเ่ ดิมเรียกกันว่า ตรอกข้ีเถ้า เรอื นหลังท ่ี ๓ เปน็ ของครอบครัวหม่อมหลวงปอง อย่ดู ้านขวาของเรอื นใหญ ่
นอกนั้นยงั แวดล้อมด้วยเรอื นบริวารอกี หลายหลงั

หมอ่ มหลวงปานตา และเด็กชายจุลสงิ ห์ในวยั เยาว์

ในทด่ี นิ แปลงน ้ี ในเวลาตอ่ มา หมอ่ มหลวงปอ้ งไดท้ า� กจิ การโรงเรยี นการชา่ ง ซง่ึ มชี อื่ เสยี งโดง่ ดงั มากใน
ยุคนน้ั ช่อื โรงเรียนสตรีวิสทุ ธคาม มีรปู สะดึงและอักษรย่อวา่ ว.ค. เป็นเครื่องหมายของโรงเรยี น รับเฉพาะ
นกั เรยี นหญงิ ตวั โรงเรยี นอยหู่ ลงั เรอื นไมส้ กั ยาวไปทางดา้ นหลงั ชน้ั บนทา� เปน็ หอพกั ชน้ั ลา่ งเปน็ อาคารเรยี น
และห้องน�้า มีหลักสูตรสอนงานช่าง ท�าดอกไม้แห้ง ดอกไม้สด โดยหม่อมหลวงปองสอนวิชาท�าอาหาร
การเรยี นในโรงเรยี นน ้ี นอกจากวชิ าชา่ งสตรแี ละการทา� อาหารแลว้ ยงั มกี ารอบรมฝกึ หดั มารยาทแกน่ กั เรยี นไป
พร้อมกันดว้ ย โรงเรียนสตรวี ิสทุ ธคามเปิดกจิ การอยู่หลายป ี จึงปิดตวั ลงในทส่ี ุด
คุณจันทรวรรณเล่าเพ่ิมเติมว่า ในสมัยท่ีคุณยายยังมีชีวิตอยู่ พอถึงวันเกิดของคุณยายหรือผู้ใหญ่
ทา่ นอนื่ ๆ หรอื วันปใี หม ่ ลกู ๆ หลาน ๆ กจ็ ะแตง่ ตัวเล่นละครกนั โดยคุณยายซ่ึงมฝี ีมือในการปักชดุ ละคร
จะเป็นผ้ปู กั ด้วยตวั ท่านเอง

90

ภาพถา่ ยของสมาชกิ วยั เยาวใ์ น
รวั้ บา้ นวสิ ทุ ธคาม แตง่ ตวั เลน่ ละครกนั
นัน้ ทา่ นองคมนตรี จิรายุ อิศรางกูร
ณ อยุธยา ซ่ึงเป็นพี่ใหญ่ของเด็ก ๆ
ท้ังหมดในเวลาน้ัน เล่าเสริมถึงความ
ทรงจ�าในภาพนน้ั วา่

“ภำพถ่ำยใบน้ีน่ำจะถ่ำยตอน

พ.ศ. ๒๔๙๘ เป็นภำพตอนท่ีพวก
เรำสมัยเด็ก ๆ รวมตัวกันเล่น คณุ จลุ สงิ หร์ ว่ มเลน่ ละคร ในโอกาสทท่ี า่ นผหู้ ญงิ เสงย่ี มฯ มอี ายคุ รบ ๗ รอบ

ละครเร่ืองสังข์ทอง ตอนนั้นผมอำยุ

ประมำณ ๑๒ - ๑๓ ปี จ�ำไดว้ ำ่ พอ่

ผมไปเป็นเลขำนุกำรตรีทีส่ วิส ผมอำย ุ

๔ ขวบ ก็ตำมไปดว้ ย จนอำยุ ๗ ขวบ

ก็กลับมำอยู่ที่บ้ำนวสันตสิงห์ของคุณ

ตำ ในรว้ั บำ้ นวสิ ทุ ธคำม สว่ นครอบครวั

ของออู ยทู่ ช่ี น้ั บนของเรอื นหลงั ใหญข่ อง

คุณยำย - ทำ่ นผูห้ ญิงเสงี่ยม ซึ่งท่ำน

อยู่กบั หมอ่ มหลวงปอ้ งท่ชี ้นั ล่ำง ผมอยู่

และเตบิ โตทบี่ ำ้ นคณุ ตำมำตลอดจนถงึ

ตอนที่เล่นละครเรื่องน้ี ก่อนที่ผมจะ วันซ้อม
ตำมพ่อ ซึ่งย้ำยไปเป็นเลขำนุกำรเอก

ท่ีอังกฤษ ตอนนัน้ ผู้ใหญ่ของบ้ำน คือ

ทำ่ นผหู้ ญงิ เสงย่ี มเปน็ ทเ่ี คำรพนบั ถอื ของทกุ คนในครอบครวั เพรำะทำ่ นเปน็ พใี่ หญข่ องบำ้ น มอี ำยคุ รบ ๘๔ ปี

ก็ได้จดั ละครที่มีหลำน ๆ ร่วมแสดง โดยคุณปำ้ กองกำญจน์ เปน็ คนจดั ละครเรื่องนี้ ทำ่ นเป็นโสดและเปน็

อำจำรย์อย่โู รงเรยี นเตรียมอุดมศกึ ษำ ท่ำนจะช่วยเลีย้ งหลำน ๆ ทุกคน คณุ ป้ำใหค้ รมู ำสอนกำรแสดง ผม

เลน่ เปน็ เสนำ เอย๋ เป็นรจนำ อยุ๋ เป็นเจ้ำเงำะ ส่วนอยู งั เดก็ มำก เล่นเป็นเดก็ เล้ยี งควำย เป็นคนพำเจำ้ เงำะ

ออกโรงมำ เลน่ สนุก ๆ กนั เอง

อูเติบโตมำท่ำมกลำงพี่น้องมำกมำย นอกจำกญำติทำงฝ่ำยวสันตสิงห์แล้ว ยังมีญำติทำงฝ่ำย

มำลำกลุ คอื ลกู ๆ ของหมอ่ มหลวงปอง ๓ คน แตอ่ ำยโุ ตกวำ่ พวกเรำเยอะ แลว้ พ ี่ ๆ เหลำ่ นนั้ กแ็ ตง่ งำนมลี กู

ซง่ึ เปน็ หลำนยำ่ ของหมอ่ มหลวงปอง แต่มีอำยเุ ท่ำ ๆ กบั อ ู จงึ กลำยมำเป็นเพ่อื นเล่นกบั อ ู ถ้ำดจู ำกสำแหรก

ตระกูลแลว้ จะเห็นไดว้ ่ำ อเู ป็นเดก็ ชำยคนเดยี วท่สี ืบสกุลวสันตสิงห ์ เพรำะคณุ ตำมีลกู ทง้ั หมด ๑๑ คน เป็น

91

ผ้ชู ำยเพยี ง ๔ คน มีคณุ ลงุ เมืองเริงคนเดียวที่มีลกู ชำย ส่วนคุณนำ้ ผูช้ ำยอกี ๓ คน คอื คณุ ลำภ คุณสเุ ทพ
คณุ สพุ รหม แตง่ งำนแลว้ มีแต่ลกู ผู้หญงิ
ธรรมเนียมหนงึ่ ของบ้ำนวสันตสิงหค์ ือ ทกุ วนั เสำร์ สมำชกิ ทกุ คนจะตอ้ งมำพบและรบั ประทำนขำ้ ว
กนั ตง้ั แตส่ มยั คณุ ตำยงั มชี วี ติ อย ู่ ไมว่ ำ่ ใครทแี่ ตง่ งำนออกไปแลว้ กจ็ ะพำครอบครวั กลบั มำกนิ ขำ้ วกนั แมภ้ ำย
หลงั คุณตำจะสน้ิ ไปแลว้ หลำยสบิ ปี แต่ลกู ๆ หลำน ๆ ก็ยงั ยดึ ธรรมเนียมน้อี ยู่ จงึ ทำ� ใหพ้ วกเรำได้พบปะ
สนิทสนม ผูกพันกนั เป็นห่วง รับร ู้ ช่วยเหลอื กนั และกนั มำโดยตลอด”
ในวยั เดก็ ขณะเมอ่ื คณุ จลุ สงิ หแ์ ละพ ่ี ๆ กา� ลงั เตบิ โตนนั้ มชี ว่ งหนงึ่ ทคี่ รอบครวั ไดย้ า้ ยออกไปอยบู่ า้ น
หลานหลวง ท่คี ุณเมืองเรงิ และหม่อมหลวงปานตาไดร้ ่วมกันสร้างข้นึ อย่ไู ม่ไกลนกั จากบา้ นวิสทุ ธคาม บน
ทดี่ นิ แปลงทท่ี า่ นผหู้ ญงิ เสงย่ี มแบง่ ใหบ้ ตุ รสาวคนเลก็ อยตู่ รงขา้ มวดั สนุ ทรธรรมทาน เปน็ บา้ นเดยี่ ว ๒ ชนั้ สไตล์
บา้ นสมยั ใหม ่ และพน้ื ทดี่ า้ นหนา้ รมิ ถนนปลกู ตกึ แถวหลายหอ้ งทเ่ี ปดิ ใหเ้ ชา่ เกบ็ ผลประโยชน ์ คณุ จนั ทรวรรณ
เล่าถงึ ชวี ิตวัยเด็กท่บี า้ นหลังนัน้ ว่า

“พอยำ้ ยไปอยบู่ ำ้ นหลำนหลวง บ้ำนนพี้ ่อจะวำงวินัยกบั ลกู ๆ เช่น ถ้ำมแี ขกมำ น้องสองคนเลก็
คอื เออ๋ กบั อจู ะถกู กกั บรเิ วณไวช้ นั้ บนใหอ้ ยกู่ บั พเี่ ลยี้ ง เพรำะทำ่ นกลวั จะเลน่ ซนสรำ้ งควำมรำ� คำญใหก้ บั แขก
บำงครั้งก็เป็นแขกต่ำงชำติ แต่ถ้ำไปเท่ียวพ่อจะพำไปหมด เช่น ตอนปิดเทอมท่ำนก็ขับรถพำไปอยู่บ้ำน
ตำกอำกำศท่ีชะอ�ำ พ่อปลกู ขนึ้ มำ อยูใ่ กลก้ บั บ้ำนของคณุ ยำย ต้ังชื่อวำ่ บ้านเริงฤด ี ชอ่ื เดยี วกบั เออ๋ ไปกนั ที
นำนเป็นเดอื น พ่อกลบั มำทำ� งำนในวนั จันทร์ - ศกุ ร์ พอเสำร-์ อำทติ ยท์ ่ำนก็ขับรถมำอย่ดู ว้ ย...”

คณุ เริงฤด ี พี่สาวคนท่ี ๔ ได้เล่าเสริมชวี ติ ในวยั เด็กว่า

“อเู ป็นน้องชำยคนเดยี ว เรำห่ำงกันแค ่ ๑ ปี ผดิ กบั พ่ี ๆ ทหี่ ำ่ งกันคนละ ๒ ป ี ตั้งแต่จ�ำควำมได ้
เรำมกั จะเป็นเพื่อนเลน่ ท่ถี ูกคอกันท่สี ุด บำงครั้งเห็นพ ่ี ๆ เลน่ เรำ ๒ คน จะไปขอเล่นด้วย และเรำก็เปน็ ผู้
ตำมทีด่ ี แตใ่ นท่สี ุดเรำจะโดนพ่ี ๆ แกล้งบอ่ ย ๆ
พ่อและแมช่ อบเรียกเรำวำ่ ‘คู่เล็ก’ สิ่งที่เรำชอบเหมือนกนั คือ ชอบขับรถ พอ่ ซ้ือรถยนต ์ ๒ ทนี่ ่ังคัน
เล็กส�ำหรับเดก็ เรำจะผลดั กันถบี เลน่ เป็นชั่วโมง ๆ ไม่เบอ่ื เลย เมอ่ื เปน็ ผ้ใู หญเ่ รำเลยไดส้ ลบั กนั ขับรถบริกำร
แม่เป็นประจ�ำ
‘ไมค่ วรซ้ือกอ็ ยำ่ ไปพไิ รซือ้ ’ เปน็ กลอนที่อเู ตือนพีด่ ้วยควำมหว่ งใยเสมอมำท่พี ่ไี ม่เคยลมื เลย...
ท่ีบ้ำนหลำนหลวง อูต้องใช้ชีวิตกับพี่สำวทั้ง ๔ คนตำมล�ำพัง ตอนนั้นเขำอำยุรำว ๔ ขวบ
แต่เขำก็ไม่ได้นึกอยำกจะเล่นต่อยมวย กระบ่ีกระบอง ฯลฯ กลับชอบเล่นบทบำทสมมติเหมือนเดิม ทั้ง
บำ้ นมีแต่เด็กผู้หญิงท้งั น้นั แตเ่ ขำสำมำรถเล่นบทบำทสมมตไิ ด้ ดฉิ ันเร่มิ วำงแผนให้จบั ฉลำกวำ่ ใครจะเล่น
เป็นตัวอะไร เปน็ พระเอก นำงเอก เปน็ เจำ้ ชำย เจำ้ หญงิ พระรำชำ พระรำชินี เสนำ หรือตวั ผรู้ ำ้ ย ทุก
บทจะจับฉลำกเล่นกนั บำงทมี ำนั่งล้อมวงกันฟงั วิทยุ อูก็มำนง่ั ฟังวิทยุกับพวกพี่ ๆ ฟงั นทิ ำน เขำจะเก็บ

92

เร่ืองนิทำนนั้นมำขยำยเล่นต่อเอง เวลำฟังนิทำนในวิทยุแล้ว เจา้ บทบบาท
ก็จะตดิ วันน้ีฟังจบ พรุ่งนีก้ ต็ ้องมำรอฟงั ใหม่ อจู ึงมีพื้นฐำน
ทำงภำษำด้ำนทักษะกำรฟัง จำกกำรเล่นแบบนี้ แม่ก็ชอบ
เพรำะไมซ่ น สว่ นกำรเลน่ ซนแบบเดก็ ผชู้ ำย เขำจะไดเ้ ลน่ เวลำ
มำทบี่ ้ำนวสิ ุทธคำม มีว่งิ แข่ง ว่งิ เปยี้ ว โพงพำง ลิงชงิ หลัก ซึ่ง
มศี ำลำหกเหลย่ี มของคณุ ตำอยใู่ นสนำม เขำกเ็ ลน่ กนั กบั หลำน
ของหม่อมหลวงปอง เลน่ กันทั้งกลำงแจง้ และในรม่
ควำมซนของอ ู ไมอ่ ยำกเรยี กวำ่ ซนหรอก แตเ่ ปน็ ควำม
อยำกร้อู ยำกเห็นของเขำ เช่น ตอนอยู่ท่ีบ้ำนหลำนหลวง เขำ
อยำกรู้ว่ำเบำะของโซฟำนี่ติดไฟได้ไหม? โซฟำน้ีเป็นโซฟำ
รับแขกที่พอ่ เพิ่งซ้ือมำใหมจ่ ำกรำ้ นไทยนคร บำงลำ� พู จงึ ลอง
จุดไมข้ ีดเผำ ปรำกฏว่ำไฟลุก ก็ตกใจรีบดบั ไฟกนั ใหญ ่ โชคดี
ไมไ่ ดไ้ หมม้ ำก แตม่ รี อยไหม ้ ซง่ึ พอ่ แมก่ เ็ ขำ้ ใจ ไมไ่ ดด้ ุ แลว้ วนั
น้นั เปน็ วนั แรกทีอ่ ูจะไปโรงเรียนด้วย ท่ำนกก็ ลัววำ่ ถ้ำดแุ ล้วอู
จะไมย่ อมไปโรงเรียน
ควำมทเี่ ปน็ ลกู ชำย พอ่ จะควบคมุ ระเบยี บวนิ ยั กบั อมู ำก
หนอ่ ย ทำ่ นรกั ลกู เทำ่ กนั เวลำมขี องอะไรจะใหก้ ใ็ หเ้ ทำ่ กนั พอ่
จะไม่ตำมใจอูมำกเกนิ ไป เป็นเชิงควบคมุ แตไ่ ม่ตี พอ่ แม่ไม่
ค่อยตีลูก จะอบรมให้เขำ้ ใจเหตุผล และท่ำนก็สอนอวู ำ่ เปน็
เดก็ ผชู้ ำยต้องมีควำมเขม้ แขง็ อดทน เชน่ มอี ยคู่ ร้ังหนงึ่ ดิฉนั
เลน่ กระโดดเชอื ก เลน่ กบั พอี่ ยุ๋ ออู ยำกจะมำเลน่ ดว้ ย แลว้ เกดิ
อบุ ตั เิ หต ุ ในจงั หวะกระโดดลง แลว้ อกู ระโดดขนึ้ ฟนั ของดฉิ นั
จึงเจำะเข้ำที่หวั อพู อดี อูหวั เฉำะเลือดออก เขำไมร่ ้องไห ้ แต่
ดิฉันเจำ้ ของฟนั น่ีระบม รอ้ งไห้ใหญ่ เพรำะเจ็บทโ่ี ดนของแข็ง
ส่วนอโู ดนเยบ็ แผล แตก่ ลับอดึ ไมร่ ้องเลย

เนอ่ื งจำกคณุ พอ่ เปน็ นกั กฬี ำแชมเปย้ี นเทนนสิ ทำ่ นจงึ
สนบั สนุนให้ลูก ๆ เลน่ กฬี ำ เพื่อสขุ ภำพเสมอ กีฬำท่ีลูก ๆ
สำมำรถเล่นด้วยกันท่บี ้ำนได้ คือ ปิงปอง หรือเทเบลิ เทนนสิ
อูสำมำรถตีปิงปองได้เก่งเชี่ยวชำญอย่ำงคล่องแคล่ว และมี
เทคนิคทำ� ลำยคตู่ ่อสไู้ ด้ด ี จนพ ี่ ๆ ไมส่ ำมำรถตีเอำชนะเขำ
ไดเ้ ลย”

93

พ่ีนอ้ งวสนั ตสิงห์ ณ บ้านหลานหลวง

เมื่อคณุ จลุ สงิ หเ์ ติบโตมาจนพอรคู้ วามทจี่ ะเรียนรู้ในสง่ิ ต่าง ๆ มากขนึ้ ผู้เป็นพ่อจงึ ได้อบรมสัง่ สอน
บตุ รชายคนเดยี วอย่างใกลช้ ิด ดงั ท ี่ คุณกณุ ฑล สุจริตกลุ พส่ี าวคนโตเล่าเสริมว่า

“อูได้รับกำรอบรมจำกคุณพอ่ ท่ำนเป็นตัวอย่ำงด้ำนบุคลกิ ภำพในกำรใหเ้ กยี รตผิ ู้หญงิ ซง่ึ ก็คอื พวก
เรำท่เี ป็นพ ี่ ๆ เชน่ เปน็ สุภำพบุรษุ ตอ้ งร้จู กั กำรรอก่อนกไ็ ด้ ท�ำนองให้เกียรติผู้หญิงกอ่ น ซ่งึ อูกท็ ำ� ได ้ เขำ
รู้จักเร่ืองกำรเสียสละ เขำปฏบิ ตั กิ บั พ่ี ๆ ด้วยควำมเป็นสภุ ำพบุรุษ ไม่มกี ำรแย่งก่อนเลย และพอ่ ยงั สอนโดย
ปลกู ฝังวิชำกำรควบคู่ไปด้วย เช่น เวลำกนิ อำหำรก็สอนให้เรยี กท้ังภำษำไทยและองั กฤษ อเู ริม่ เรยี นอนุบำล
โดยคุณพ่อไปฝำกท่ีโรงเรียนวัดปรินำยก พ่ีเอ จิรำยุ อิศรำงกูรฯ ก็เรียนท่ีโรงเรียนนี้ด้วยเช่นกัน เอ๋อก็ไป
เรยี นดว้ ย เพรำะอำยมุ ำกกว่ำแค่ปีกว่ำ จะได้ดูแลกนั โรงเรยี นน้สี อนหลกั พฒั นำกำรของเดก็ อยใู่ กล้บำ้ น
จะไดไ้ มเ่ หน่ือยกับกำรเดินทำง และมคี วำมสุขในกำรไปโรงเรียน
เม่ืออูอำยุได้ ๘ ขวบ ถือว่ำยังเด็ก แต่พ่อตัดสินใจส่งอูไปเข้ำเรียนที่โรงเรียนวชิรำวุธวิทยำลัย
เพรำะตอ้ งกำรอบรมลักษณะนสิ ัยทด่ี ี จำกนิสยั ส่วนตัวดงั้ เดิมของเขำที่เป็นคนขยนั ซ่อื สัตย ์ มรี ะเบยี บวนิ ัย
แล้ว อยู งั ไดร้ ับกำรอบรมเพมิ่ จำกโรงเรียนวชิรำวุธฯ อกี เชน่ ในเรือ่ งของควำมสำมัคคี รูจ้ ักเปน็ ทั้งผ้นู ำ� และ
ผตู้ ำม และเห็นแก่ประโยชนส์ ว่ นรวม ฯลฯ จนเขำเตบิ โตขึ้นมำเปน็ สภุ ำพบรุ ุษทีส่ มบูรณ์แบบคนหนงึ่ ...”

ความเปลยี่ นแปลงครงั้ ใ ญใ่ นชีวิต
คุณจลุ สิงห์ไปเรียนทโี่ รงเรยี นวชิราวธุ ฯ ได้ประมาณ ๕ ป ี จนมีอายุได้ราว ๑๓ ปี คณุ เมืองเริง ผู้เปน็
บดิ า กถ็ งึ แกก่ รรมอยา่ งไมค่ าดคดิ สง่ ผลใหค้ รอบครวั ตอ้ งประสบความเปลย่ี นแปลงครง้ั ใหญ ่ คณุ จนั ทรวรรณ
ไดเ้ ลา่ ย้อนถงึ เหตกุ ารณ์นนั้ และผลทเ่ี กดิ ขนึ้ ตามมาว่า

94


Click to View FlipBook Version