The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ชีวิตงามนามจุลสิงห์

เงิน คณะกไ็ ม่ไดม้ เี งนิ มำกมำย เงนิ ของกจิ กรรมนสิ ติ มแี คจ่ �ำนวนหนึ่ง ดงั นัน้ ระหวำ่ งเงนิ ที่ให้นสิ ิตใชเ้ พ่อื
กำรไปแข่งขันต่ำงประเทศ จำ� นวน ๔ - ๕ คน ในจ�ำนวน ๒ - ๓ แสนบำท กบั กลมุ่ นสิ ิตกลมุ่ ใหญ่ในกำรที่
ออกค่ำยแล้วใช้เงนิ จ�ำนวนเท่ำกนั ถำ้ หำกมีควำมจำ� เป็นตอ้ งแบง่ กนั แล้ว อย่ำงไรเสยี กำรออกคำ่ ยกต็ อ้ งได้
อยูแ่ ล้ว เพรำะอธิบำยได้ว่ำใหเ้ งนิ นิสิตไปใช้เพื่อประโยชน์อะไร ในขณะที่นกั ศกึ ษำ ๒ - ๓ คน ถึงแมจ้ ะไป
สรำ้ งชอ่ื เสยี งใหค้ ณะกต็ ำม แตต่ วั นสิ ติ กไ็ ดจ้ ำกชอื่ ตรงนน้ั ดว้ ย เพรำะฉะนน้ั พจี่ ลุ สงิ หก์ เ็ ลยบอกวำ่ ถำ้ เปน็ กำร
ยำกในกำรท่จี ะไปอธิบำยเหตุผล ทำ่ นกย็ นิ ดที ี่จะให้น�ำเงินตรงนมี้ ำใช้
เรียกว่ำพ่ีจุลสิงห์มีควำมสำมำรถบริหำรจัดกำร ผมยอมรับเลยว่ำสมำคมฯ ก็ดี ชมรมกอล์ฟก็ดี
พจ่ี ลุ สงิ หส์ ำมำรถบรหิ ำรจดั กำรจนไดเ้ งนิ ตวั นมี้ ำชว่ ย แตท่ ง้ั นท้ี ง้ั นน้ั กเ็ พอ่ื ประโยชนต์ อ่ คณะนติ ศิ ำสตร ์ แลว้ เวลำ
ตอ่ มำเรำถงึ ไดร้ วู้ ำ่ ทำ่ นไดว้ ำงรปู แบบไวช้ ดั เจนวำ่ กำรทำ� สมำคมฯ นนั้ เปน็ ไปเพอ่ื ประโยชนข์ องคณะจรงิ ๆ”

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปารีณา ศรีวนิชย์ คณบดีคณะนิติศาสตร์ จุฬาฯ เป็นอาจารย์ท่านหนึ่ง
ท่ีท�างานใกล้ชิดกับสมาคมนิสิตเก่านิติศาสตร์ฯ มาโดยตลอด ด้วยเหตุว่าได้ท�างานเป็นผู้ช่วยคณบดี ใน
ขณะทีร่ องศาสตราจารย์ธติ พิ ันธุ์ ดา� รงตา� แหน่งคณบดี จึงไดเ้ หน็ การทา� งานของคุณจุลสิงห์ในฐานะนายก
สมาคมฯ ที่ได้วางรากฐานเรอื่ งทนุ การศึกษาของนิสิตอยา่ งชัดเจน ท�าใหส้ มาคมฯ สามารถชว่ ยเหลอื นิสิต
ทขี่ าดแคลนทุนทรพั ยไ์ ด้อยา่ งเปน็ รปู ธรรมจนถึงทุกวันน้ี

“หลำย ๆ สง่ิ ที่ทำ่ นจุลสิงหว์ ำงรำกฐำนไว ้ ยงั คงอย่มู ำจนกระทัง่ ถงึ บัดน ้ี หลำย ๆ คนอำจลืมไป
แล้วด้วยซ�้ำว่ำนั่นคือสิ่งท่ีท่ำนจุลสิงห์วำงไว้ เร่ืองส�ำคัญที่สุดคือ เร่ืองทุนกำรศึกษำ ควำมจริงจุฬำฯ มี
นโยบำยในเรอื่ งกำรใหท้ นุ กำรศกึ ษำอยแู่ ลว้ ตำมคอนเซป็ ตท์ ว่ี ำ่ ตอ้ งไมม่ เี ดก็ คนไหนทเี่ ขำ้ มำเรยี นทจ่ี ฬุ ำฯ แลว้
ต้องออกไปด้วยเหตผุ ลท่ไี ม่มเี งนิ เรยี น ควำมจริงกำรให้ทุนกำรศึกษำมีมำนำนแล้ว แต่มนั เป็นระบบของกำร
ให้ทนุ กำรศกึ ษำแบบคดั ใหม่ทุกเทอม สมมตวิ ่ำ ๑๐ คนนี้เคยได้ ก็จะไปดูวำ่ เทอมตอ่ ไปใครควรจะได ้ ปีหนำ้
มำสมัครใหม่นะ ท�ำให้เด็กเกิดควำมไม่มั่นคงว่ำปีหน้ำจะได้เรียนอีกหรือไม่? ท่ำนจุลสิงห์จึงได้วำงระบบ
ใหมค่ อื สมำคมฯ จะใหท้ นุ ตอ่ เนอื่ ง คดั ตั้งแตป่ ี ๑ และให้ทุนยำวจนกระท่งั จบ เดก็ จะรู้เลยวำ่ เขำจะไดร้ ับ
ทุนกำรศึกษำเรยี นต่อตง้ั แต่ปี ๑ จนถงึ ป ี ๔ ถำ้ รกั ษำระดับกำรเรยี นไว้ในระดบั ที่นำ่ พอใจ ไมต่ ้องเรยี นดี
มำก เพรำะไมใ่ ชท่ ุนเรยี นดี แตเ่ ปน็ กำรให้ทุนเพ่อื ชว่ ยเหลอื ให้เดก็ ได้เรียนหนงั สอื ได ้ ทำ่ นจลุ สิงหก์ ็จะเอำ
คอนเซป็ ตน์ ้ีไปคุยกบั นิสติ เก่ำว่ำใครท่ีสนับสนุนทุน เรำจะชว่ ยนิสติ ในลักษณะน ้ี และตงั้ แต ่ ๑๐ ปที แี่ ลว้ จน
กระทั่งถึงบัดนี้ ท่ำนเหล่ำนั้นก็ยังให้ทนุ อยู่ นบั ยอ้ นกลบั ไปเป็นเงนิ จ�ำนวนมำก และยงั คงมีกำรใหต้ อ่ เน่ือง
มำจนบดั น้ ี สมำคมนสิ ติ เก่ำฯ ก็ยงั คงใชร้ ะบบนอี้ ยู่ หลำย ๆ คนอำจจะลืมไปแล้วดว้ ยซ�้ำวำ่ นี่คืองำนท่มี ำ
จำกท่ำนจุลสงิ ห์ แต่พอดดี ฉิ นั เคยอยูต่ อนทีเ่ รำทำ� งำนอยใู่ นสมำคมศิษยเ์ กำ่ ฯ ณ เวลำนัน้ ดว้ ย ทำ� ใหท้ รำบ
เร่อื งว่ำทำ่ นวำงรำกฐำนในเร่ืองนี้ไวด้ มี ำก”

195

คณุ จลุ สิงห์ด�ารงตา� แหน่งนายกสมาคม
นิสิตเก่านิติศาสตร ์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั
ใน พ.ศ. ๒๕๔๖ - ๒๕๔๙ เปน็ เวลา ๓ ปีเตม็
หลังจากนนั้ ในระหวา่ ง พ.ศ. ๒๕๕๔ - ๒๕๕๗
ท่านได้ด�ารงต�าแหน่งนายกสมาคมนิสิตเก่า
จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ในพระบรมราชปู ถมั ภฯ์
เปน็ การสานตอ่ ภารกจิ และความผกู พนั ทางใจ
ท่ีมีต่อสถาบันอันเป็นท่ีรักยิ่ง ดังท่ี ผู้ช่วย
ศาสตราจารย์ ดร.ปารณี า ไดก้ ลา่ วถงึ ความรกั
จุฬาฯ ของคุณจลุ สิงห์ท่ีแสดงออกอยู่เสมอทั้ง
คา� พูดและการกระทา�

“คำ� พดู ทท่ี ่ำนพดู ให้ได้ยินเสมอคือ ‘มี

อะไรให้ผมช่วย ให้บอกผมเลย ไม่ต้องห่วง’

รางวลั นิสิตเกา่ นติ ศิ าสตร์ดีเด่น ปี พ.ศ. ๒๕๕๑ พี่จุลสิงห์ท�ำให้เรำเห็นในเร่ืองของกำรทุ่มเท
กำรทำ� งำนใหแ้ กส่ ถำบนั ฯ เรำรเู้ ลยวำ่ พจ่ี ลุ สงิ ห์

รกั คณะนติ ศิ ำสตร ์ รกั จฬุ ำฯ หลงั จำกทำ่ นครบ

วำระทคี่ ณะแลว้ ท่ำนกไ็ ปเปน็ นำยกสมำคมนสิ ติ เกำ่ จฬุ ำฯ ด้วย สิ่งที่เหน็ ได้ชดั เลยกค็ อื ใจในกำรทำ� งำน

ของทำ่ น ท่ำนที่ทำ� ทุกอย่ำงใหก้ ับคณะ...ใหก้ ับจุฬำ ฯ”

“น�้าใจน้ งพ่ี ชี มพู” ท่ี มาคมนิ ิตเกา่ จุ าลงกรณม์ าวิทยาลยั

ในฐานะนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยท่ีประสบความส�าเร็จ และเป็นผู้ที่มีศักยภาพที่จะ
สานสัมพันธ์และรวมน้�าใจน้องพี่ชาวจุฬาฯให้เป็นหน่ึงเดียว คุณจุลสิงห์จึงได้รับความไว้วางใจจากนิสิต
เก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยให้ด�ารงต�าแหน่งนายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรม
ราชปู ถัมภฯ์ ต้งั แตว่ ันท่ี ๑ มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕๕๔ ถึงวันท ่ี ๓๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ และตงั้ แต่
วนั ท่ี ๑ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๕๖ ถึงวันท่ี ๓๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ รวม ๒ วาระ เป็นระยะเวลา ๔ ป ี
อีกทั้งตอ่ มายังได้ดา� รงตา� แหน่งประธานมูลนิธสิ มาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ในพระราชปู ถัมภ์
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี นอกจากน้ี คุณจุลสิงห์ยังเป็นผู้จัดท�าข้อบังคับของ
มลู นธิ ฯิ อยา่ งรดั กมุ และชดั เจน อนั เปน็ แนวทางสา� คญั ในการดา� เนนิ งานของมลู นธิ ฯิ มาจนกระทง่ั ถงึ ทกุ วนั น้ี
เมอื่ รบั ตา� แหน่งนายกสมาคมฯ แลว้ คุณจลุ สิงหไ์ ด้กลา่ วถึงภารกิจของสมาคมฯ ภายใต้การน�าของ
ท่านไวใ้ นสจู บิ ัตรงานคนื เหย้าชาวจฬุ าฯ พ.ศ. ๒๕๕๕ ตอนหนึง่ ว่า

196

สมเดจ็ พระกนิษฐาธริ าชเจา้ กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เสด็จฯ ในพิธี
เปิดอาคารสมาคมนิสติ เกา่ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั วันท่ี ๒๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

“ภำรกิจของสมำคมนิสิตเก่ำจุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย ในพระบรมรำชูปถัมภ์ฯ ตำมข้อบังคับ
สมำคมฯ ประกอบดว้ ยกำรสนบั สนนุ สง่ เสรมิ กำรพฒั นำจฬุ ำลงกรณม์ หำวทิ ยำลยั กำรสง่ เสรมิ ควำมสำมคั คี
ระหวำ่ งมวลสมำชกิ และสงั คมทเ่ี กย่ี วขอ้ ง กำรสง่ เสรมิ กำรกฬี ำ กำรบนั เทงิ กำรศกึ ษำและเผยแพรว่ ทิ ยำกำร
รวมทงั้ กำรสง่ เสรมิ เกยี รตแิ หง่ สถำบนั กำรศกึ ษำและสมำชกิ ผไู้ ดป้ ระกอบกจิ อนั เปน็ ประโยชนแ์ กจ่ ฬุ ำลงกรณ์
มหำวทิ ยำลยั และประเทศชำติ”

ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.คุณหญิงสุชาดา กีระนันทน์ ในฐานะประธานมูลนิธิสมาคมนิสิตเก่า
จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัยคนปจั จบุ ัน ไดเ้ ล่าถึงช่วงเวลาท่ีคุณจลุ สงิ หด์ า� รงต�าแหน่งนายกสมาคมนิสติ เกา่
จฬุ าฯ และการท�างานเชอื่ มโยงระหว่างสมาคมนิสิตเกา่ ฯ และมลู นธิ ิสมาคมนิสติ เก่าจุฬาฯ วา่ มคี วามเกย่ี ว
พันอย่างไร ดังน้ี

“พ.ศ. ๒๕๕๔ คุณจุลสิงห์เข้ำมำเป็นนำยกสมำคมฯ และพุ่งเป้ำไปที่กำรจะท�ำให้สมำคมฯ เป็น
ทร่ี จู้ กั และทำ� อยำ่ งไรใหส้ มำคมฯกอ่ ประโยชนใ์ หก้ บั มหำวทิ ยำลยั ไดม้ ำกทส่ี ดุ จงึ เกดิ โครงกำรตำ่ ง ๆ ท ่ี คณุ
จลุ สงิ หร์ ิเร่มิ ข้ึนมำ สิง่ ทตี่ อ้ งพูดถงึ ก็คอื กำรตง้ั มลู นิธิสมำคมนสิ ิตเกำ่ จฬุ ำลงกรณ์มหำวทิ ยำลัยขน้ึ มำ เพรำะ

197

เฝ้าทลู ละอองพระบาท ในฐานะนายกสมาคมนิสิตเก่าจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ในพระบรมราชูปถัมภ์
ในงานฉลอง ๙๗ ปีแหง่ การสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ๒๖ มนี าคม ๒๕๕๗

เวลำมคี นมำบริจำคใหส้ มำคมฯ จะไมส่ ำมำรถลดหยอ่ นภำษีได ้ ดังนั้น เวลำท่ีเรำขอรบั บรจิ ำคเปน็ เงนิ คน
จ�ำนวนหน่งึ อำจบริจำคให้กบั โรงพยำบำลหรอื วดั เพรำะเขำจะไดร้ บั กำรลดหยอ่ นภำษ ี เรำจึงคิดว่ำตอ้ งท�ำ
มูลนิธฯิ ข้ึนมำเพื่อเป็นสว่ นหนึง่ ของสมำคมฯ เพอ่ื ทีจ่ ะสำมำรถรบั บริจำคและน�ำไปท�ำสำธำรณกุศล จัดทนุ
กำรศกึ ษำใหแ้ กน่ สิ ติ (ทนุ จฬุ ำฯ สงเครำะห)์ จดั อำหำรกลำงวนั ฯลฯ คณุ จลุ สงิ หเ์ ปน็ มอื ทำ� สำธำรณกศุ ลของ
สมำคมฯ ทำ่ นชว่ ยวำงรำกฐำนทกุ อยำ่ งจนสำมำรถตง้ั สมำคมฯ ได ้ และใหค้ ำ� แนะนำ� ทกุ อยำ่ ง ทำ่ นเปน็ นำยก
สมำคมฯ ที่ได้ชื่อว่ำมีควำมขยันหม่ันเพียรเป็นท่ียิ่งในกำรหำเงินบริจำคมำสนับสนุนกิจกรรมของสมำคมฯ
ทำ� ให้สมำคมฯ มีเงนิ ทนุ เพม่ิ ขึน้ และเปน็ ผกู้ ่อต้ังมลู นิธสิ มำคมนสิ ติ เกำ่ จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย ในพระบรม
รำชปู ถัมภ์ฯ คุณจุลสงิ ห์ก็เป็นประธำนมูลนิธิฯ ระยะหน่งึ พอถงึ ตอนทเ่ี ปลย่ี นใหค้ ณุ เทวนิ ทร ์ วงศ์วำนชิ เป็น
นำยกสมำคมฯ ท่ำนกไ็ มส่ ะดวก เพรำะงำนทำ่ นที่ ปตท.เยอะมำก แคเ่ ป็นนำยกสมำคมฯ ก็เหนอ่ื ยแยแ่ ลว้
คุณจุลสงิ ห์จึงขอใหด้ ฉิ ันมำเป็นประธำนฯ ของมูลนิธฯิ ตอ่ มำ แตค่ ุณจุลสิงหก์ ็เป็นกรรมกำรอย่ตู ลอด”

ในยคุ ทคี่ ณุ จุลสงิ หด์ า� รงต�าแหน่งนายกสมาคมนสิ ิตเก่าจุฬาฯ ซ่ึงถอื เปน็ การทา� งานเพอ่ื การกุศลและ
สาธารณประโยชน ์ เปน็ ชว่ งเวลาทส่ี มาคมฯ มกี จิ กรรมแขง็ ขนั อยา่ งมาก โดยมคี ณะทา� งานทไ่ี ดเ้ ขา้ มาทา� งาน
สาธารณประโยชนน์ ีร้ ่วมกัน อาทิ คณุ อนุชา โมกขะเวส คณุ ตันติ ปริพนธ์พจนพสิ ทุ ธิ์ คุณวาสกุ รี กล้าไพรี
คุณพสิ ิษฐ์ จุฑาสมติ คุณชลิดา พนั ธก์ ระวี และ คุณไขศรี อุทยั วรรณ์ ฯลฯ

คณุ อนชุ า โมกขะเวส ทีป่ รกึ ษารัฐมนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทย เป็นเพ่ือนร่วมรุ่นกบั คุณจลุ สงิ ห์
และเรียนร่วมกันมาตั้งแต่ปี ๑ หลังเรียนจบก็ได้คบหากันยาวนานต่อมา และอีกหลายสิบปีต่อมาก็ได้มา
ท�างานรว่ มกันทสี่ มาคมนสิ ิตเก่าจฬุ าฯ แห่งนี้

198

สมเด็จพระกนิษฐาธริ าชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี
ไปทรงเปิดอาคารมูลนิธิสมาคมนิสิตเกา่ จฬุ าฯ ๒๖ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๕๘

“ตอนเรยี นปี ๑ มันเรียนรวม ยังไม่แยกกัน ผมก็เลือกรัฐศำสตร์ ปกครอง จลุ สงิ ห์เขำเลอื กเรยี น
นิติศำสตร์ ซึ่งเขำท�ำได้ดีในเส้นทำงของเขำ แล้วเรำก็ผูกพันกันมำตลอด จุลสิงห์เขำเป็นคนมีน้�ำใจ
เวลำเพือ่ นฝงู มอี ะไรเขำกเ็ ตม็ ท่ี ผมมำรบั รำชกำรใหม ่ ๆ เป็นอำจำรยม์ หำวทิ ยำลยั ผมก็มีควำมยุ่งยำกมำก
ช่วงหน่งึ ตอนน้นั จุลสิงห์เขำกอ็ ยกู่ บั ทำ่ นอัยกำรสงู สดุ เขำก็ชว่ ยผมอย่ำงยิง่
โดยส่วนตัวก็เห็นควำมเปลี่ยนแปลงในตลอด ๕๑ ปีที่ผ่ำนมำ สมัยปี ๑ ตันติ (คุณตันติ
ปริพนธพ์ จนพสิ ทุ ธ์ิ) ผม และจลุ สงิ ห ์ น้ำ� หนักเท่ำ ๆ กนั นะ ตอนเล่นรกั บเ้ี ขำว่งิ เร็วกเ็ ล่นเปน็ ปกี และเป็นนกั
ว่ิง ๑๐๐ เมตร พอมำเจอกันท่ีสมำคมฯ ทุกคร้ัง เขำก็ช้ีมำที่พุงผม แล้วมำเกทับกันว่ำใครใหญ่กว่ำกัน
คือสมัยเป็นนิสิตเป็นท่ีรู้กันว่ำจุลสิงห์ไม่กินผักเลย กินแต่เส้นกับลูกช้ินอย่ำงเดียว เพรำะฉะน้ันถ้ำวันไหน
มีประชมุ สนจ. แลว้ จลุ สงิ ห์มำ จะตอ้ งมีเป็ดพะโล”้

คุณตันติ ปริพนธ์พจนพิสุทธิ์ เป็นเพื่อนสนิทในวัยเด็กอีกท่านหนึ่งของคุณจุลสิงห์ตั้งแต่
โรงเรียนวชริ าวธุ ฯ จนกระทงั่ เขา้ ศกึ ษาตอ่ ทจ่ี ุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ในปเี ดียวกัน และต่อมาก็ได้มีโอกาส
มาท�างานร่วมกันในสมาคมนกั เรยี นเก่าวชิราวธุ ฯ และสมาคมนิสิตเก่าจุฬาฯ

“พอ พ.ศ. ๒๕๔๘ - ๒๕๔๙ จลุ สงิ ห์เขำไดเ้ ป็นรองอัยกำรสงู สุด ก็ได้มำเปน็ นำยกสมำคมนกั เรียน
เก่ำวชิรำวุธฯ เขำสนทิ กับผม เหน็ ผมงำนกำรไม่ท�ำ กใ็ หเ้ ปน็ อุปนำยก ให้ดแู ลนำงสำวไทย หำทนุ ตอนนน้ั
จุลสงิ หเ์ ป็นนำยกฯ กห็ ำทนุ มำจัดประกวดอะไรต่ออะไร แลว้ แกก็เป็นกรรมกำรหลำยท่ ี ทง้ั ออมสนิ ปตท.

199

รจู้ กั คนมำกมำย กห็ ำเงนิ มำชว่ ยสมำคมนกั เรยี นเกำ่ วชริ ำวธุ ฯ พอพน้ จำกตำ� แหนง่ แลว้ กม็ ำเปน็ นำยกสมำคม
นิสิตเกำ่ จุฬำฯ แล้วกม็ ำตัง้ มูลนิธสิ นับสนุนอะไรต่ำง ๆ มำอยู่ ๔ ปีนี่กท็ ำ� อะไรไดเ้ ยอะ หำเงนิ ให้จุฬำฯ ได้
เป็นจำ� นวนมำก”
ขณะที่ คุณไขศรี อุทัยวรรณ์ ผู้บริหารส�านักงานที่ปรึกษากฎหมายเดอะลีจิสท์ ประเทศไทย
ในฐานะรุ่นนอ้ งคณะนิตศิ าสตร์ และคณะทา� งาน สนจ.ได้เล่าถึงความประทบั ใจกับ “พ่อี ”ู ไวว้ ่า
“รจู้ กั พอี่ ตู ง้ั แตต่ อนเรยี นนติ ศิ ำสตร ์ จฬุ ำฯ คะ่ พอี่ เู ขำ้ ไปคลกุ คลที ค่ี ณะแลว้ กช็ ว่ ยเหลอื อะไรหลำย ๆ
อย่ำง มำคุ้นกันมำกข้ึนตอนช่วงท่ีจบท�ำงำนแล้ว เพรำะพี่อูอยู่กองที่ปรึกษำ ตอนน้ันดิฉันมีโปรเจ็คท์เป็น
ส่วนของภำครฐั เยอะ ก็เลยสนทิ สนมนับถือกัน พอ่ี มู นี ้�ำใจมำกแลว้ กม็ ีค�ำแนะน�ำทีด่ ีในกำรทำ� งำนมำกมำย
กต็ ิดตอ่ กนั เรอ่ื ยมำในเรือ่ งของกจิ กรรมคณะนิติศำสตร ์ จุฬำฯ สมำคมนิสติ เกำ่ นติ ิศำสตร ์ จุฬำฯ แลว้ กร็ วม
ท้ังเรือ่ งของ สนจ.
ประทับใจพอ่ี มู ำก เพรำะพ่อี ูดแู ลรุน่ นอ้ งดี มีนำ�้ ใจ มีสปิรติ ต่อน้อง แล้วก็เปน็ แบบอยำ่ งทดี่ ี ตอนทพี่ ่ี
อไู ด้ข้นึ เปน็ อัยกำรสูงสดุ น้อง ๆ หลำยคนรวมตัวกัน กช็ ว่ ยกันจดั งำนเปน็ กรณีพิเศษ ขอใชศ้ ำลำพระเกยี้ ว
ตอนนนั้ อำจำรยห์ มอภริ มยท์ ำ่ นเปน็ อธกิ ำรบดอี ย ู่ ทำ่ นก็เมตตำให้ใชศ้ ำลำพระเก้ียวได้ แลว้ ทำ่ นก็ให้เกยี รติ
มำแสดงควำมยินดีดว้ ย ส่งิ เหลำ่ นก้ี เ็ ปน็ ควำมประทบั ใจ เพรำะพีอ่ เู องกร็ สู้ ึกดีเปน็ พเิ ศษท่ีนอ้ ง ๆ มนี ้�ำใจ
มีควำมช่นื ชมพ่ีออู ยำ่ งแทจ้ รงิ ”

ถ่ายภาพรว่ มกบั กรรมการ สนจ. ในวันครบรอบ ๙๘ ปี จฬุ าฯ ๒๖ มนี าคม ๒๕๕๘

200

ใส่บาตรเนอื่ งในวนั ครบรอบ ๙๘ ปี จุฬาฯ ๒๖ มีนาคม ๒๕๕๘

คุณชลิดา พันธ์กระวี รองอธิบดีกรมศุลการกรรักษาการที่ปรึกษาการคลังกระทรวงการคลัง อดีต
เลขาฯ สมาคมนสิ ติ เกา่ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ฯ เปน็ อีกท่านหนงึ่ ทีไ่ ด้ทา� งานรว่ ม
กนั กบั คณุ จลุ สงิ หท์ ี่ สนจ. และไดส้ มั ผสั ถึง “บารม”ี ของคณุ จุลสิงห์มาตลอดระยะเวลาที่ไดร้ ่วมงานกัน

“ดฉิ ันเปน็ นิติศำสตร์ รุ่นที่ ๒๓ แต่ไมร่ ู้จกั ทำ่ นเลย พอดที ำ่ นวิสุทธ ์ิ ศรีสุพรรณ ทำ่ นเป็นรัฐมนตรชี ว่ ย
ว่ำกำรกระทรวงกำรคลัง ตอนนน้ั ท่ำนเปน็ นำยก สนจ. ทำ่ นก็เรยี กดิฉนั มำเปน็ ปฏคิ ม ก็เร่ิมรจู้ กั ท่ำนจลุ สงิ ห์
เพรำะท่ำนมำช่วยงำนท่ำนวิสุทธิ์ มำเป็นประธำนจัดงำนนิติศำสตร์ จุฬำฯ พอปี ๒๕๕๔ หลังจำกท่ำนพ้น
จำกต�ำแหนง่ นำยกสมำคมนักเรยี นเก่ำวชริ ำวธุ ฯ ทำ่ นก็มำเปน็ นำยกฯ สนจ. ตอ่ ทำ่ นก็บอกว่ำ ‘เจี๊ยบ มำ
ช่วยเปน็ เลขำนุกำรหนอ่ ย’
สิง่ ทไ่ี ด้เรียนรจู้ ำกท่ำนเลยคอื ท่ำนเป็นคนท�ำทนั ท ี ไม่วำ่ เรอ่ื งอะไรท�ำทันท ี ยกหู เสรจ็ เดยี๋ วนน้ั ไมว่ ำ่
จะเกิดปญั หำอะไรทำ� ทันที มีทำงแก้เสมอ เจีย๊ บประทับใจวำ่ คนคนนเี้ ปน็ คนที่เรำเคำรพดว้ ยใจ บำรมีทเ่ี กิด
จำกกำรทท่ี ำ่ นเป็นคนดี ท่ำนสร้ำงควำมดเี ปน็ ยังไง อย่ำงกำรขอเงินบริจำค ท่ำนขอไป คนกใ็ ห ้ ท้งั ๆ ที่เขำ
ไม่ได้อะไรตอบแทน ทุกคนยิ้มแย้มแจม่ ใสดว้ ยควำมยินดีตลอด เวลำทที่ ่ำนจะช่วยใคร ถ้ำมันใช ่ หลักกำร
มันถกู ท่ำนบอกให้ท�ำเลย”

201

ผลงานสา� คญั ของสมาคมฯ ในขณะนนั้ ไดแ้ ก ่ การจดั

ตั้งมูลนิธิสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม

บรมราชกุมารี เพ่ือให้การช่วยเหลือและสนับสนุน

สง่ เสรมิ นสิ ติ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ในดา้ นตา่ ง ๆ การ

จัดงานปิยมหาราชานุสรณ์ ซ่ึงได้มีการจัดงานปิยมหา

ราชานุสรณ ์ พ.ศ. ๒๕๕๔ งานปิยมหาราชานสุ รณ ์ พ.ศ.

๒๕๕๕ งานปิยมหาราชานุสรณ์ พ.ศ.๒๕๕๖ และงาน

ปิยมหาราชานุสรณ ์ พ.ศ. ๒๕๕๗ เพื่อเฉลมิ พระเกยี รติ

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เน่ืองในวัน

คลา้ ยวนั สวรรคต วนั ท ี่ ๒๓ ตลุ าคม และเพอ่ื หารายได้

สมทบทุนจุฬาสงเคราะห์และทุนอาหารกลางวัน ทั้งน้ี

งานปิยมหาราชานุสรณ์ พ.ศ. ๒๕๕๔ มีการหารายได้

คณุ จุลสิงห์ กบั คณุ ชลดิ า พนั ธ์กระวี ช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย และงานปิยมหาราชานุสรณ์
พ.ศ. ๒๕๕๗ มกี ารหารายไดส้ มทบโครงการรนิ นา�้ ใจสจู่ ฬุ าฯ

เพอ่ื ปรบั ปรงุ “หอประชมุ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ”

นอกจากนี้ ผลงานส�าคัญของท่าน มีอาทิ การสนับสนุนและส่งเสริมการพัฒนาจุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลยั โดยการรณรงคใ์ ห้นสิ ิตเกา่ บริจาคเงินสมทบโครงการ ๑,๐๐๐ บาท ตอ่ ๑ วันเกดิ เพ่ือนา� ไป

บรจิ าคใหแ้ กก่ องทนุ จฬุ าลงกรณบ์ รมราชสมภพ ในพระราชปู ถมั ภส์ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรม

ราชกมุ าร,ี การสง่ เสรมิ การศกึ ษาของนสิ ติ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั โดยใหท้ นุ จฬุ าสงเคราะหแ์ ละทนุ อาหาร

กลางวันแก่นสิ ิตจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย เป็นตน้

ผลสา� เรจ็ หนา้ ฉากของงานน้ันเปน็ เร่อื งหนึง่ แต่เบื้องหลังการท�างานของคณุ จลุ สงิ หท์ ่ี สนจ. นี้ นับ

ว่าเปน็ การทา� งานรว่ มกนั กบั พ่ี ๆ นอ้ ง ๆ ชาวจฬุ าฯ ด้วยความสขุ เสมอมา อกี ทัง้ พ ่ี ๆ น้อง ๆ ทุกคน

ก็ดูแลเอาใจใส่ท่านเปน็ อยา่ งดี โดยทุกครั้งทีค่ ณุ จุลสงิ หม์ าประชมุ สมาคมฯ จะมีการจดั กว๋ ยเต๋ียวเป็ดหรือ

ข้าวหน้าเป็ดซ่ึงเป็นของโปรดของท่านไว้ให้รับประทาน โดยมี คุณอุทัย หอมจันทร์ เจ้าหน้าที่ดูแลทั่วไป

ของสมาคมฯ เป็นผู้คอยดูแลเสิร์ฟอาหารให้ท่านด้วยความใส่ใจทุกครั้ง ด้วยเหตุผลท่ีเธอเล่าสู่กันฟังว่า

“ท่านเปน็ คนที่เจา้ หนา้ ท่ที นี่ ่ีทุกคนรักมาก”

“ทำ่ นก็จะบอกว่ำชอบอะไร ไม่ชอบอะไร ท่ำนจะบอกว่ำไม่กินอันนี้นะ ไม่ชอบอันนี้นะ อย่ำงโจ๊ก
ไม่เอำเครื่องใน ทำ่ นชอบขนมเบอ้ื งท่ไี ส้ครีมเยอะ ๆ ที่ MBK แล้วทำ่ นก็ชอบกนิ โคก้ แตห่ ลงั ๆ พ่ีแดงภรรยำ
ท่ำนปรำมเอำ เลยตอ้ งลดปรมิ ำณลง แลว้ ท่ำนกจ็ ะบอกวำ่ อำทติ ย์นผ้ี มขอกินแก้วหนง่ึ นะ พอหลงั ๆ ท่ำนก็
ขอบ่อย เรำกเ็ ตือนว่ำทำ่ นรบั เยอะแลว้ เพรำะพแี่ ดงสง่ั ไว้วำ่ ใหเ้ ตือนทำ่ น

202

สงกรำนต์กับปีใหม่ท่ำนจะแจกลอตเตอรี่กับคนงำน ท่ำนจะเมตตำบอกว่ำ เงินเดือนน้อยขนำดน้ี
หลำยคนท�ำมำต้ังนำนท�ำไมยังไม่อนุมัติข้ึนเงินเดือนเขำ เวลำท่ำนมำก็จะถำมคนงำนแต่ละคนว่ำเป็นยังไง
ลกู เป็นยงั ไง ท�ำงำนทไี่ หนแล้ว ท่ำนมเี มตตำมำก ท่ำนเป็นคนที่เจำ้ หนำ้ ทที่ ีน่ ี่ทุกคนรกั มำก ทำ่ นบอกดฉิ นั
ว่ำ อทุ ัย ขอบใจนะทดี่ แู ลเรำมำตลอด”

พระคุณแนบไวน้ ริ ันดร

เป็นเวลากวา่ ๕๑ ปมี าแล้ว นบั ต้งั แตว่ ันทค่ี ุณจลุ สิงหก์ ้าวเข้ามาเปน็ นสิ ิตใหมใ่ นรว้ั จามจรุ ีจนกระท่งั
จบการศึกษาเป็นบัณฑิตออกไปรับใช้สังคมและประเทศชาติจนก้าวขึ้นสู่ต�าแหน่งสูงสุดขององค์กรในฐานะ
อัยการสูงสุด แต่ในช่วงเวลาดังกล่าวน้ัน เส้นทางชีวิตของท่านกลับไม่เคยห่างหายไปจากจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย และยังคงเกยี่ วร้อยผูกพนั อยู่ในทุกช่วงเวลาของชีวติ ดงั ท่ปี รากฏในเรอ่ื งราวขา้ งตน้
ความรัก ความผูกพันและความส�านึกใน “พระคุณของแหล่งเรียนมา” จึงท�าให้คุณจุลสิงห ์
ทมุ่ เทชีวติ และจติ ใจท�างานเพ่อื จุฬาฯ ด้วยความเตม็ ใจในทุกโอกาสท่ีทา� ได ้ ดังทที่ า่ นได้กลา่ วไวว้ า่

“หากมโี อกาสทา� งานให้จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ก็ยนิ ดีและเตม็ ใจเสมอ...”

แมว้ า่ ในระยะหลงั ทมี่ ปี ญั หาดา้ นสขุ ภาพ คณุ จลุ สงิ หก์ ย็ งั คงปฏบิ ตั หิ นา้ ทตี่ ามปกตดิ ว้ ยการเขา้ ประชมุ
ทีส่ มาคมนิสิตเกา่ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั อยา่ งสม�่าเสมอ อกี ทัง้ ยงั คงสอนหนังสือที่คณะนิติศาสตร ์ จฬุ าฯ
อย่างตอ่ เนอ่ื งมาตลอด ดงั ที่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปารณี า ศรีวนชิ ย ์ คณบดีคณะนติ ศิ าสตร์ ไดเ้ ลา่ ถงึ
“ความรักจุฬาฯ” ท่ีเป็นรูปธรรมของคุณจุลสิงห์ ผ่านการสอนหนังสือที่คณะนิติศาสตร์ จุฬาฯ มาอย่าง
ยาวนาน และไมเ่ คยมเี งื่อนไขใด ๆ มีแต่ความเป็นผใู้ หเ้ สมอมา

“เม่ือไรก็ตำมท่ีคณะต้องกำรผู้ทรงคุณวุฒิทั้งทำงด้ำนวิชำกำรและด้ำนภำคปฏิบัติ พ่ีจุลสิงห์ไม่
เคยปฏิเสธและยินดีเสมอ เดิมทีวิชำกฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมทำงอำญำ ท่ำนไม่ได้สอน แต่ว่ำเมื่อ
ท่ำนอำจำรยผ์ สู้ อนท่ำนหนง่ึ ท่ำนมีปัญหำสขุ ภำพ ทำงคณะก็นกึ ถงึ พี่จุลสงิ หเ์ ป็นคนแรก และตดิ ต่อทำ่ นไป
เพอื่ ขอเชญิ ใหท้ ำ่ นมำสอน ปกตทิ ำ่ นไมช่ อบสอนวชิ ำอำญำเทำ่ กบั วชิ ำทำงแพง่ แตท่ ำ่ นกร็ บั และเตม็ ใจ แลว้
ก็เตรยี มตัวตง้ั ใจสอน จนกระทัง่ ท่ำนก็ได้มตี �ำรำออกมำ ในเรอื่ งของ ว ิ อำญำ
จนกระทั่งก่อนท่ีท่ำนจะเสียชีวิต ส่ิงท่ีท�ำให้เรำ appreciate มำกก็คือ วิชำสัญญำของรัฐ เม่ือ
ปีท่ีแล้ว ก�ำลังจะเปิดสอนอยู่แล้ว แต่เกิดปัญหำข้อขัดข้องท่ีท�ำให้เรำต้องหำคนสอนอีก แต่ก็หำไม่ได ้
ทำ่ นกบ็ อกวำ่

203

‘ไม่เปน็ ไรเตย เดี๋ยวผมสอนให้ เตยไม่ต้องหว่ ง
บอกมาเลยว่าตอ้ งการอะไร บอกมาเลย’

น่ันเป็นกำรบอกท่ีกระทันหันมำก แต่ท่ำนก็มำสอนให้ท้ังวิชำ ท�ำให้รู้สึกเป็นหนี้บุญคุณท่ำนและ
อยำกขอบคุณ และยังไม่ได้มีโอกำสได้ขอบคุณท่ำนจริง ๆ โดยปกติ ถ้ำเรำไปบอกแบบนี้ บำงท่ำนอำจ
จะโกรธหรือไม่ยอมทำ� ให้ แต่ถำ้ เปน็ พี่จุลสิงห์ ค�ำพดู ท่พี ูดเสมอคอื ‘ไม่ตอ้ งหว่ ง ผมดูแลให ้ ผมชว่ ย’ แลว้
ท่ำนก็มำสอนให้ คือเรียกว่ำช่วยแบบไม่มีเง่ือนไขเลย ท่ำนให้แบบไม่มีเงื่อนไขว่ำต้องอย่ำงน้ันต้องอย่ำงน ี้
ผมถึงจะทำ� พ่จี ุลสิงหเ์ ป็นคนไมม่ เี งอ่ื นไขใด ๆ เลยกบั คณะ กบั จฬุ ำฯ
...ก่อนท่ีท่ำนจะเสียชีวิต ท่ำนสอนอยู่ ๒ - ๓ วิชำค่ะ สิ่งที่ท่ำนห่วงท่ีสุดน่ำจะเป็นเร่ืองของ
กำรสอน ตอนนน้ั มคี นทส่ี นทิ กบั ทำ่ นถงึ กบั โทร.มำหำบอกวำ่ เตย บอกทำ่ นไดไ้ หมวำ่ ไมอ่ ยำกใหท้ ำ่ นสอนแลว้
เพรำะเป็นห่วงสุขภำพ แต่ท่ำนก็พยำยำมฝืนเพรำะท่ำนอยำกสอนหนังสือ ซ่ึงเรำก็บอกไปว่ำเกรงว่ำจะไม่
ไดเ้ พรำะเรำรู้วำ่ ถำ้ เรำบอกไปอย่ำงนน้ั เมอื่ ไร มันย่ิงจะท�ำให้ก�ำลังใจของทำ่ นแยล่ ง เพรำะเรำรู้วำ่ นั่นเปน็ สิ่ง
ท่ที ่ำนรัก แล้วถ้ำจะให้ไปบอกว่ำไมใ่ หท้ ำ� แล้ว คนเปน็ ครจู ะรับไมไ่ ด้ และเสยี ใจทส่ี ดุ เปน็ กำรบ่ันทอนท่ีสดุ
เมื่อวันหน่ึงท่ีเรำรู้สึกว่ำเรำไม่ได้สอน เรำอำจจะไม่มีคุณค่ำ ก็เลยบอกท่ำนว่ำ สอนเลยค่ะ แต่ถ้ำไม่ไหว
วนั ไหนกค็ อ่ ยหำคนมำสอนแทน แตจ่ รงิ ๆ แล้วตอนชว่ งที่ทำ่ นปว่ ยมำก ๆ กไ็ ม่มคี ลำส แตก่ อ่ นหนำ้ นัน้
ท่ำนกจ็ ะบริหำรจดั กำรได้ ทำ่ นบอกว่ำไม่เปน็ ไรนะ ผมดแู ลให้เอง”

ด้วยความส�านึกในพระคุณของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในฐานะสถาบันอันเป็นที่ประสิทธ์ิประสาท
วิชาความร ู้ และมอบโอกาสอันงดงามทั้งหลายในชวี ติ ในท้ายท่ีสุด การอทุ ศิ ตนเพื่อตอบแทนพระคณุ ของ

สถาบนั ของคณุ จลุ สงิ หไ์ ดก้ อ่ เกดิ หลายสงิ่ ทเ่ี ปน็
รูปธรรมให้แก่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แต่
เหนอื สงิ่ อนื่ ใดคอื การเปน็ ตน้ แบบของ “พใี่ หญ่
ของนอ้ ง ๆ ชาวจฬุ าฯ” ทจ่ี ะมนั่ คงและงอกงาม
ในหัวใจของผู้คนท่ีได้เคยท�างานใกล้ชิดกับ
ท่านสบื ตอ่ ไป เป็นบทพสิ จู น์ถงึ “พระคณุ แนบ
ไวน้ ริ นั ดร” ในหวั ใจของ คณุ จลุ สงิ ห์ วสนั ตสงิ ห์
อยา่ งไม่มีวันเส่ือมคลาย ดงั ที่ อาจารยศ์ ิรธชั
ศริ ชิ ุมแสง ไดก้ ล่าวสรุปไว้ในทา้ ยท่ีสุดว่า

“เวลำที่ท่ำนให้ผมช่วยงำนน้ัน
กน็ งั่ ทำ� งำนบนโตะ๊ แลว้ ทำ่ นกจ็ ะพดู ไปเรอื่ ย ๆ

คณุ จุลสิงห์ กบั อาจารยศ์ ริ ธชั ศริ ิชมุ แสง

204

เหมือนเป็นกำรสอนไปในตวั และสง่ิ ทท่ี ำ่ นพดู เปน็ ปรชั ญำและแนวคดิ สำ� คญั ทที่ ำ� ใหผ้ มมองวำ่ เปน็ สง่ิ ทที่ ำ� ให้
ท่ำนประสบควำมสำ� เร็จ เชน่ ทำ่ นเคยพดู กับผมตั้งแตแ่ รกเลยวำ่
‘คุณจำ� คำ� ผมไวน้ ะ เวลำถือเงนิ ให้มองวำ่ เป็นเศษกระดำษ ไมม่ ีค่ำอะไรเลย อยำ่ ไปอยำกได ้ อยำก
มเี ป็นของเรำ’ ทำ่ นพดู สัน้ ๆ ไมใ่ ชส่ อนปรชั ญำใด ๆ แตเ่ รำฟังแล้วกร็ ้วู ำ่ ส่ิงนี้คอื แนวควำมคดิ ของทำ่ น
เวลำท�ำงำนท่ำนไมถ่ ือตัว ล้อมวงกนั กนิ ข้ำวเป็นปกต ิ เรำจะสังเกตว่ำทำ่ นกินอะไรงำ่ ย ๆ สมถะมำก
ถ้ำจะสง่ั อำหำร ก็สง่ั ดิลเิ วอรมี ำกิน ไม่ไดห้ รหู รำอะไร เวลำสง่ั พิซซ่ำ ท่ำนกใ็ ห้คนอ่นื เลือก ผมจงึ ไมเ่ คยรวู้ ่ำ
ท่ำนชอบกินพิซซำ่ หน้ำอะไร แล้วกเ็ มือ่ จะท�ำบญุ งำนศพทำ่ น อยำกจะสง่ั พซิ ซำ่ เลีย้ งพระ คนที่จะส่ังมำถำม
ว่ำท่ำนชอบพิซซำ่ หน้ำอะไร ผมยังตอบไมไ่ ด้ เพรำะใหค้ นอน่ื เลือกตลอด สำ� หรบั ทำ่ นอะไรกไ็ ด ้
ทีน้ที ส่ี มำคมจะมเี จำ้ หน้ำทีห่ รอื เดก็ ท่ีเปน็ นิสิตจฬุ ำฯ ท่มี ำทำ� งำนใชท้ นุ ท่สี มำคมนสิ ิตเกำ่ ฯ เขำก็จะ
มำท�ำงำน ท�ำหนังสือของสมำคมฯกนั ทำ่ นมหี อ้ งทำ� งำนอยู่ทีน่ ัน่ เวลำท�ำงำนกนั น้นั ตอนกนิ ข้ำวทำ่ นกจ็ ะ
เรียกทุกคนทเี่ ก่ยี วข้องมำกินข้ำวจนหมด แลว้ ท่ำนก็ถำมพวกเด็ก ๆ ทีม่ ำว่ำนอ้ งชือ่ อะไร คณะอะไร เรียน
อย่ำงไร ท่ำนมีควำมใส่ใจคนรอบข้ำงหรือผู้ใต้บังคับบัญชำ แม้กระท่ังแม่บ้ำนก็ได้รับแจกจำกท่ำนตลอด
แมก้ ระทง่ั อำหำร นคี่ อื แบบอยำ่ งของกำรเปน็ ผบู้ งั คบั บญั ชำทที่ ำ่ นทำ� ใหเ้ รำเหน็ ไมไ่ ดส้ อนวำ่ ตอ้ งทำ� อยำ่ งไร ๆ
แต่ท่ำนท�ำใหเ้ รำเหน็ ว่ำผใู้ หญค่ วรวำงตัวเช่นไร มคี วำมสมถะ เรียบงำ่ ย ท่ำนเปน็ ‘ผใู้ หญ’่ ท่ไี ม่ไดใ้ หญด่ ว้ ย
อ�ำนำจ แต่ท่ำนใจใหญ่ และเมตตำ ชว่ ยเหลอื ผู้คนท่ัวไป ท่ำนเปน็ แบบอยำ่ งที่คู่ควรกับคำ� วำ่ เป็น ‘พใ่ี หญ’่
จริง ๆ เป็นพ่ีใหญ่ของน้อง ๆ โดยเฉพำะน้อง ๆ นิติศำสตร์ จุฬำฯ พวกเรำโดยมำกก็จะเรียกท่ำนว่ำ
พจี่ ุลสิงห์ท้ังนั้น ไม่ว่ำจะเป็นรุ่นไหนก็ตำม ด้วยควำมท่ีท่ำนเป็นพ่ีใหญ่ของเรำจริง ๆ ท่ำนช่วยเหลือน้อง ๆ
และเป็นแบบอยำ่ งท่ีดที ท่ี �ำใหเ้ รำเหน็ ว่ำผู้ใหญท่ ี่ดคี วรวำงตวั เช่นไร
สำ� หรบั ผมเองอำจจะไมไ่ ดท้ ำ� ไดด้ แี บบทำ่ น แตเ่ รยี กไดว้ ำ่ ผมไดร้ บั อทิ ธพิ ล วธิ กี ำรมำจำกทำ่ นเชน่ กนั
ในกำรท�ำงำน ในกำรอำรอี ำรอบต่อผอู้ ืน่ เป็นเรอื่ งทท่ี ำ่ นได้ท�ำให้เรำเห็นแม้ในชว่ งเวลำสดุ ท้ำยของชวี ติ ”

รอยยมิ้ พมิ พ์ใจ

205

บทที่ ๘

“Esprit de Corps” ของจลุ งิ ์ ว ันต ิง ์
นายก มาคมนกั เรียนเก่าวชิราวุธวทิ ยาลยั

“จุลสิงห์เป็นสุภาพบุรุษนักกีฬามาต้ังแต่เด็ก fair play ไม่เอาเปรียบคู่แข่งขันและรักพ่ีน้อง รักหมู่
รักคณะ เป็นคุณสมบัตขิ องเขาเลย ไม่มคี ดโกง เขาได้รบั การปลูกฝังมาต้งั แตเ่ ด็ก เราเชอื่ มั่นในความเปน็
สภุ าพบรุ ุษของเขา สงั คมวชิราวุธจึงเลือกเขาเปน็ นายกสมาคมนกั เรียนเก่าวชิราวธุ วิทยาลัยฯ”
คุณพลากร สุวรรณรัฐ องคมนตรี ในฐานะรุ่นพี่ของคุณจุลสิงห์ท่ีรู้จักสนิทสนมกันมาต้ังแต่วัยเด็ก
ได้กล่าวถึงคุณสมบัติและอุปนิสัยใจคอของน้องรักคนน้ีไว้อย่างชัดเจน และน่ีคือเหตุผลส�าคัญที่ท�าให้
คณุ จลุ สงิ หไ์ ดร้ บั ความไวว้ างใจของรนุ่ พร่ี นุ่ นอ้ งและมติ รสหายใหด้ า� รงตา� แหนง่ สา� คญั ในสมาคมนกั เรยี นเกา่
วชิราวธุ วทิ ยาลัยฯ ๒ สมยั อย่างไม่มีขอ้ กังขาใด ๆ ในชว่ ง พ.ศ. ๒๕๕๐ - ๒๕๕๔
“สิ่งที่ผมอยากจะเห็นมากท่ีสุด คือ ความสมานสามัคคี... โอวี ของเราเป็นองค์กรท่ีไม่ใหญ่มาก
ตอ้ งทา� ใหเ้ กดิ ความสมานสามคั คใี หไ้ ด ้ เราควรจะตอ้ งยดึ ถอื หลกั ของลน้ เกลา้ ฯ รชั กาลท ี่ ๖ ทวี่ า่ Esprit de Corps
หรอื ก็คือ การรักหมคู่ ณะ การรักผลประโยชนข์ องหมู่คณะเหนอื กวา่ ผลประโยชนส์ ่วนตวั ผลประโยชน์ของ
โรงเรียนต้องอยู่เหนอื กวา่ ผลประโยชน์ของคณะ เพราะฉะนน้ั แลว้ คณะหน่ึง คณะใดก็ต้องยอมหลบใหก้ บั
ผลประโยชนข์ องโรงเรียนกอ่ น

กับอดีตกรรมการสมาคมนกั เรียนเกา่ วชิราวุธวทิ ยาลยั ในพระบรมราชปู ถม้ ภ์

206

. ..ถ้าพวกเราชาววชิราวธุ ฯ รู้จัก
รกั หมคู่ ณะอยา่ งน ี้ เมอ่ื ออกไปในสงั คม
สังคมก็จะเกิดความปรองดองได้
เพราะเรารักผลประโยชน์ของประเทศ
ชาตเิ หนอื กวา่ สิ่งใด”

ค�ากล่าวนี้สะท้อนถึงวิสัยทัศน์

และจุดประสงค์ของคุณจุลสิงห์ใน

การเขา้ มาดา� รงตา� แหนง่ นายกสมาคมฯ

อย่างชัดเจน ตรงประเด็น ดังที่ท่าน

ได้เคยให้สัมภาษณ์ไว้ในคอลัมน์

“ใตห้ อประชมุ ” อนมุ านวสาร ฉบับท่ี

๑๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔ - มถิ ุนายน

พ.ศ. ๒๕๕๔ ซึ่งเป็นหนังสือข่าวของ

สมาคมนักเรียนเก่าวชิราวุธฯ ที่จัด

ท�าเพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารให้แก่

สมาชิก และหนงั สอื นเี้ กดิ ขนึ้ ในชว่ งท่ี

คณุ จลุ สงิ หเ์ ปน็ นายกสมาคมฯ อนมุ านวสารฉบบั สัมภาษณ์คุณจุลสงิ ห์
สมาคมนักเรียนเก่าวชิราวุธ

วิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์

(Old Vajiravudh Student Association) ก่อต้ังขึ้นเพ่ือส่งเสริมและเผยแพร่พระเกียรติคุณของ

พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ผพู้ ระราชทานกา� เนดิ โรงเรยี นวชริ าวธุ วทิ ยาลยั อกี ทงั้ เพอื่ ประสาน

ความสามัคคีในหมู่นักเรียนเก่าวชิราวุธ และร่วมกันสนับสนุนกิจการของโรงเรียนเพ่ือความเจริญ

ก้าวหน้าต่อไป ด้วยเหตุน้ี การท�างานของสมาคมฯ จึงต้องอาศัยความสามัคคี และความเสียสละของ

มวลหมู่สมาชิกเพ่ือท�างานสาธารณประโยชน์นี้ให้ส�าเร็จ โดยในยุคของคุณจุลสิงห์ การท�างานของ

สมาคมฯ มีความหลากหลาย แต่โดยหลัก ๆ แล้วมุ่งเน้นไปท่ีการท�ากิจกรรมต่าง ๆ เพ่ือหาเงินรายได้เพ่ือ

สนบั สนนุ ความเจรญิ กา้ วหนา้ ของโรงเรยี น อาทิ กจิ กรรมการจดั ประกวดนางสาวไทย การสรา้ งอาคาร ๑๐๐ ปี

วชิราวธุ วทิ ยาลัย และการฟื้นฟูพิธีไหวค้ รูท่เี กษยี ณอายุเพื่อแสดงถึงความกตญั ญกู ตเวที เปน็ ตน้

คณุ สุรเดช บุณยวฒั นะ ประธานกรรมการบรษิ ัทพรีเมยี ร์โปรดกั ซ์ (มหาชน) จา� กัด ซ่ึงดา� รงต�าแหนง่

อุปนายก รับผิดชอบดูแลด้านยุทธศาสตร์ของสมาคมฯ ในช่วงเวลานั้น ได้กล่าวถึงนิยามการท�างานของ

คุณจุลสิงห์ไวว้ า่ “จุลสิงห์เป็นนายกฯ ทม่ี องไปถึงความยั่งยนื ของสมาคมฯ...”

207

“ความจรงิ เนอ่ื งจากวา่ จลุ สงิ หเ์ ปน็ นกั กฬี า ผมกเ็ ปน็ นกั กฬี า กเ็ ลน่ กฬี ากนั มา แตอ่ ยเู่ ปน็ ฝา่ ยตรงขา้ ม
กนั ตลอด ตอนนน้ั ไมไ่ ดส้ นทิ มากเพราะไมไ่ ดอ้ ยรู่ นุ่ เดยี วกนั หรอื คณะเดยี วกัน แตจ่ ะมาสนทิ กันตอนเรียนจบ
และทา� งาน เพราะไดต้ ดิ ตอ่ กนั พอสมควร โดยเฉพาะตอนทไ่ี ดม้ าทา� งานสมาคมฯ ดว้ ยกนั แลว้ ทา� ใหส้ นทิ กนั
มากขนึ้ ตอนทคี่ ณุ จลุ สงิ หเ์ ปน็ นายกสมาคมฯ ผมกเ็ ปน็ อปุ นายกฯ ในชว่ งทคี่ ณุ จลุ สงิ หเ์ ขา้ มาเปน็ นายกฯ นน้ั
ถือว่าเข้ามาเปล่ียนแปลงแนวคิดของผู้บริหารสมาคมฯ ในอดีต ซ่ึงท�าตามแบบเดิมมาตลอด ผมว่า
คณุ จลุ สงิ หเ์ ปน็ นายกสมาคมฯ คนแรกเลยนะทม่ี องไปถงึ ความยงั่ ยนื ของสมาคมฯ การทา� ประโยชนเ์ พอื่ สงั คม
และเพื่อโรงเรียน เขาพยายามที่จะไปจัดการเรื่องการหักภาษี (ลดหย่อนภาษี)เพื่อจูงใจให้มีคนบริจาคเข้า
มาดว้ ย กจิ กรรมตา่ ง ๆ ก็มองความยัง่ ยืนเป็นหลัก มองกระทง่ั ว่างานจะตอ้ งส่งมอบตอ่ กันอยา่ งไร ผมก็ไม่
เคยเห็นรุ่นอื่นเชิญกรรมการทั้งหมดมาคุยกัน ท่ีออกไปข้างนอกนะครับ คุยกันว่าเราจะไปอย่างไร?
สมาคมฯ ต้องท�าอะไรบ้าง? ต้องไปถึงไหน? ปกติไม่ค่อยมี คือมีการเชิญกรรมการทุกคนออกไปประชุม
กันข้างนอก ครงั้ น้ันไปท�า workshop กันทีก่ าญจนบุรี วา่ เราจะตอ้ งปรบั ปรงุ อะไรบ้าง ผมคิดว่ากไ็ ดแ้ นวคิด
มาหลาย ๆ อยา่ ง ตง้ั แตแ่ นวคิดเร่ืองการปลดหนีใ้ นบางส่วน สมัยก่อนสมาคมฯ จะมเี งนิ เก็บมาก และเราก็
สร้างโน่นสร้างน่ีท�าโน่นนี่ พอระยะหลังเราหาเงินได้ไม่มากเท่าสมัยก่อน เราก็เลยเอาเงินเก็บมาใช้ก่อน
คือสมาคมฯ จะมีเงินเก็บไว้ส่วนหน่ึงท่ีกันไว้ส�าหรับเป็นเงินคงคลัง และไม่อนุญาตให้เบิกใช้ แต่ให้ใช้ได้แค่
ผลประโยชน ์ เสรจ็ แลว้ พอไมม่ เี งนิ กไ็ ปเบกิ เอาเงนิ จา� นวนนม้ี าใช ้ ในลกั ษณะขอยมื เงนิ พอยมื มาก ๆ กไ็ มไ่ ด้
เตมิ เงนิ มาหลายรนุ่ คณุ จลุ สงิ หจ์ ะเปน็ คนแรกทค่ี ดิ วา่ จา� เปน็ ตอ้ งเอาเงนิ ไปเตมิ ในกองคลงั แลว้ ไมเ่ ชน่ นน้ั เรา
จะอยกู่ ันไม่ย่ังยืน”

ในเรอื่ งน้ี คุณปฏภิ าณ สคุ นธมาน ผู้จัดการใหญ่ บริษัท พที ที ี โกลบอล เคมิคอล จา� กัด ซงึ่ ขณะนนั้
ดา� รงตา� แหนง่ เหรญั ญกิ ของสมาคมฯ ไดเ้ ลา่ ถงึ การบรหิ ารจดั การการเงนิ ในสมาคมฯ ตลอดจนการหารายได้
เพือ่ สนับสนุนการท�ากิจกรรมตา่ ง ๆ ของสมาคมฯ ไว้ว่า

“พี่จุลสิงห์ได้ให้ความส�าคัญกับวัตถุประสงค์ต่าง ๆ ในการก่อตั้งสมาคมฯ มาก ไม่ว่าจะส่งเสริม
ความสัมพันธ์ของโรงเรียนกับศิษย์เก่า พยายามให้นักเรียนเก่ามีกิจกรรมร่วมกัน พยายามจัดกิจกรรม
ใหน้ กั เรยี นเกา่ มาพบกนั เพราะพอเรยี นจบไปแลว้ ตา่ งคนกต็ า่ งแยกกนั ไป สงิ่ สา� คญั คอื ทกุ คนตา่ งม ี ความผกู พนั
แต่จะทา� ยังไงให้นักเรียนเก่ากลบั มาโรงเรียน กลบั มาระลึกถึงกัน ซงึ่ ทา่ นกพ็ ยายามหากจิ กรรมหลากหลาย
นอกจากหากิจกรรมแล้วท่ีส�าคัญคือต้องหารายได้ เพราะว่าสมาคมนักเรียนเก่าวชิราวุธฯ เราไม่มีการเก็บ
annual fee เราเกบ็ คา่ สมคั รสมาชกิ ครงั้ เดยี วเมอ่ื นกั เรยี นจบชนั้ ปสี ดุ ทา้ ย ๑,๐๐๐ บาท และเปน็ สมาชกิ ตลอดชพี
เพราะฉะน้ันเราจบกันมาปีละ ๕๐ - ๖๐ คน เก็บค่าสมาชิกกันได้ปีละประมาณ ๖๐,๐๐๐ - ๗๐,๐๐๐ บาท
ทไี่ มไ่ ดม้ ีความหมายอะไรในเรื่องการหารายได้ ดงั น้นั สมาคมนกั เรยี นเกา่ วชิราวุธฯ จา� เป็นตอ้ งมีการจัดหา
รายได้เขา้ มาเพือ่ ใช้ในกจิ กรรมในแต่ละปี นเ่ี ปน็ เรอ่ื งสา� คัญทเ่ี ราตอ้ งมารว่ มวางแผนกนั
...สมัยที่พี่จุลสิงห์เข้ามาใหม่ ๆ พี่ก็มาดูงบการเงิน คือหลังจากเกิดวิกฤติเศรษฐกิจ พ.ศ. ๒๕๔๐

208

ดอกเบี้ยหล่นเหลือนิดเดียว เงินทุนไม่พอที่จะเอาไปหาดอกหาผลเป็นรายได้ของสมาคมฯ ในช่วงก่อน
หน้าน้ัน สมาคมนักเรียนเก่าวชิราวุธฯ ก็จ�าเป็นต้องท�ากิจกรรมต่อเนื่องไป ก็จะมีเงินขาดมือบ้าง จะมี
การนา� เงนิ กองทนุ วชริ าวธุ านสุ รณ ์ ซง่ึ เปน็ เงนิ ทบี่ รรดาสมาชกิ ผกู้ อ่ ตงั้ หยอดเงนิ ไวใ้ หเ้ พอ่ื ใชอ้ อกดอกออกผล
พอเงนิ ไม่มใี นชว่ งเศรษฐกจิ ไม่ดีตอนนน้ั ไดม้ กี ารนา� เงนิ ในสว่ นของวชิราวุธานุสรณม์ าใช้ไปพลาง ๆ กอ่ น
ในความเป็นจริงของสมาคมนักเรียนเก่าวชิราวุธฯ ระบุไว้ว่าน�าเงินส่วนนี้ไปใช้ไม่ได้ พ่ีจุลสิงห์มาเห็นงบ
ตรงนนั้ แลว้ บอกวา่ งบขาดไป และตงั้ เปา้ หมายตงั้ แตว่ นั แรกเลยวา่ นอกจากการหาเงนิ หารายไดม้ าสนบั สนนุ
กจิ กรรมนกั เรยี นเก่าให้เหมือนเดิมแลว้ ก่อนที่แกจะพ้นวาระ เงนิ ในกองทุนก้อนน ้ี ตอ้ งกลับมาเต็มจา� นวน
หลงั จากทีพ่ จ่ี ลุ สงิ ห์พ้นจากต�าแหนง่ เราคืนเงินก้อนนี้ได้เต็มจา� นวน มาจากตัวกจิ กรรมท่ีพยายาม
หาเงนิ ต่าง ๆ อนั นค้ี อื สง่ิ ท่ีพจ่ี ุลสงิ หท์ �าใหแ้ กส่ มาคมนักเรียนเก่าวชริ าวธุ ฯ”

คุณปฏิภาณกล่าวต่ออีกว่า คุณจุลสิงห์ให้ความส�าคัญเป็นอย่างมากในเร่ืองวินัยและความโปร่งใส
ในการบรหิ ารจดั การการเงนิ ของสมาคม ซึง่ นบั ว่าเปน็ หลกั การทด่ี ที ที่ า่ นไดว้ างรากฐานไวอ้ ยา่ งมน่ั คง

“ในเรอ่ื งของวินยั การใชเ้ งนิ การโปรง่ ใส ตอ้ งดแี คลร์ค่าใช้จ่ายก็อาจจะท�าให้หลาย ๆ คนอาจจะไม่
ถูกใจนัก เพราะการน�าเร่ืองเข้ามาที่คณะกรรมการนักเรียนเก่าจะพิจารณากันค่อนข้างละเอียดมากย่ิงข้ึน
แต่จริง ๆ แล้วด้วยวัตถุประสงค์ท่ีแท้จริงว่าต้องการใช้เม็ดเงินทุกเม็ดเงินให้เกิดประโยชน์สูงสุดแล้วเน่ีย
เพราะเราตอ้ งกนั เงนิ ไว ้ ๒ สว่ น สว่ นแรกคอื งานวชริ าวธุ ๑๐๐ ป ี อกี สว่ นหนงึ่ คอื คนื เงนิ กองทนุ วชริ าวธุ านสุ รณ์
ใหเ้ ตม็ จ�านวน

จรงิ ๆ แลว้ ตอนทพ่ี จ่ี ลุ สงิ หเ์ ปน็ นายกสมาคมฯ หลาย ๆ คน กห็ งดุ หงดิ กบั พเี่ ขานะ บรรดาคนใชเ้ งนิ
ทั้งหลาย แต่ด้วยความที่ท่านเป็นข้าราชการ อยู่กับความโปร่งใสมาโดยตลอด พอดีพวกเรานักเรียนเป็น
พน่ี อ้ งกนั มอี ะไรกเ็ ขา้ ใจกนั แตท่ า่ นอยากจะใหท้ กุ อยา่ งเปน็ ระบบแลว้ กม็ วี นิ ยั มที มี่ าทไ่ี ป สามารถอธบิ ายได ้
ผมว่าเปน็ ส่งิ ท่ดี ี ทกุ วันนผ้ี มก็น�าหลกั การนีม้ าประยุกตใ์ ชก้ ับตวั ผมเอง”

นอกจากนี้แล้ว คุณจุลสิงห์ยังได้เป็นผู้ริเร่ิมแนวทางในการท�าให้สมาคมเป็นสมาคมในบัญชีของ
สรรพากรท่ีบริจาคแล้วสามารถหักภาษีได้ โดยเงินบริจาคนี้ต้องใช้ในส่วนของการกุศลเท่าน้ัน ส่งผลให้มี
ยอดบรจิ าคเพม่ิ มากขนึ้ และทา� ใหน้ กั เรยี นเกา่ วชริ าวธุ ฯ รวมตวั กนั ทา� กจิ กรรมเพอื่ สงั คมไดม้ ากขนึ้ กวา่ เดมิ
ในเรื่องนี้ คุณจุลสงิ ห์ได้กล่าวถงึ แนวทางเอาไว้อย่างชดั เจนในหนังสือ “อนมุ านวสาร” ว่า

“เงินส่วนน้ีจะต้องแยกเป็นกองทุนเพ่ือสาธารณกุศลอย่างชัดเจน ห้ามน�าไปใช้จัดรักบ้ี จัดกอล์ฟ
โดยเด็ดขาด เราเอาไปใช้ผิดจุดประสงค์ไม่ได้ สมาคมฯ มีทุนการศึกษาท่ีช่วยเหลือเด็กนักเรียนอยู่ทุกปี
กใ็ หน้ า� เงนิ บรจิ าคตรงน้ีไปใช้ หรืออย่างศนู ย์ภมู ิรักษก์ ็มคี ่าใชจ้ ่าย หรือกองทนุ ชว่ ยเหลือคร ู แมแ้ ต่จะตั้งไว้
เปน็ กองกลางเฉย ๆ เพ่อื ทจ่ี ะเตรียมไว้น�าไปท�าสาธารณกุศลต่าง ๆ”

209

อาคาร ๑๐๐ ปี วชริ าวุธวิทยาลัย - ประกวดนาง าวไทย - ระลึกคณุ ครู
บทพิ ูจน์ “Esprit de Corps” ของชาว โอวี

งานฉลองครบรอบ ๑๐๐ ปี วชิราวธุ วทิ ยาลัย

ในชว่ งทค่ี ณุ จลุ สงิ หด์ า� รงตา� แหนง่ นายกสมาคมนกั เรยี นเกา่ วชริ าวธุ ฯ เปน็ ชว่ งเวลาอนั เปน็ หมดุ หมาย
ส�าคญั ของโรงเรยี นวชิราวธุ วิทยาลยั นน่ั คืองานครบรอบ ๑๐๐ ปี โรงเรียนวชริ าวุธวทิ ยาลัย นบั เป็นภารกจิ ท่ี
ทา้ ทายอยา่ งยงิ่ ของนายกสมาคมฯ และคณะกรรมการ ทงั้ น้ี ผลงานสา� คญั ของคณุ จลุ สงิ หท์ อ่ี ยใู่ นความทรงจา�
ของนกั เรยี นเกา่ วชริ าวธุ ฯ กค็ อื การจดั งาน ๑๐๐ ปี วชริ าวธุ วทิ ยาลยั และการระดมทนุ เพอ่ื สรา้ งอาคาร ๑๐๐ ปี
วชิราวธุ วทิ ยาลยั จนประสบผลส�าเร็จอย่างงดงาม

คุณจุลสิงหไ์ ด้กลา่ วถงึ การท�างานในครงั้ น้ีไว้ในหนังสืออนมุ านวสารไว้ว่า
“ผมภมู ใิ จมาก ๆ กบั การจดั งาน ๑๐๐ ปขี องโรงเรยี น ทางสมาคมฯ และโรงเรยี นตง้ั ใจทา� กนั ทกุ กจิ กรรม
ผมเปน็ นายกสมาคมฯ ในปที ี่ ๔ ซงึ่ กเ็ ปน็ ปที โี่ รงเรยี นครบ ๑๐๐ ปพี อด ี ผมไดเ้ หน็ สารคดไี กลบา้ น และกป็ ระพาสตน้
ผมก็อยากท่ีจะท�าสารคดีเร่ืองของล้นเกล้าฯ รัชกาลที่ ๖ บ้าง ก็เลยเรียกทีมงานของรายการท้ังสองมา
นง่ั คยุ คดิ ไปคดิ มากต็ อ้ งใชต้ อนละกวา่ สแี่ สนบาทรวมทง้ั หมด ๔๐ ตอน กต็ อ้ งใชเ้ งนิ ประมาณสบิ หกลา้ นบาท
ผมเลยไปขอธนาคารไทยพาณิชย์แปดล้าน ขอธนาคารออมสินแปดล้าน ผมต้องไปคุยให้ท้ังสองธนาคารฟัง

210

อยา่ งในประวตั ศิ าสตรข์ องธนาคารไทยพาณชิ ย์เคยเกือบจะลม้ ละลาย ล้นเกล้าฯ ท่านกพ็ ระราชทานทรพั ย์
ส่วนพระคลงั ของท่านไปช่วยไว้ สว่ นธนาคารออมสิน รชั กาลท ่ี ๖ ท่านพระราชทานเงนิ ต้ังต้นให้ไว้แสนบาท
ตอนนกี้ ลายเปน็ แปดแสนลา้ นแลว้ กใ็ หม้ าชว่ ยเหลอื กนั กไ็ ดม้ าใชท้ า� สารคดจี นสา� เรจ็ แลว้ กย็ งั พอมเี งนิ เหลอื
ล้านกวา่ บาทส�าหรบั ใชจ้ ่ายอืน่ ๆ ของสมาคมฯ อีกดว้ ย

...นอกจากนท้ี างสมาคมฯ ยงั ไดร้ บั มอบหนา้ ทใ่ี หช้ ว่ ยจดั หาทนุ มาสรา้ งตกึ ๑๐๐ ป ี ทมี่ มี ลู คา่ กวา่ รอ้ ยลา้ นบาท
เปา้ ทเี่ ขาวางใหส้ มาคมฯ ตอ้ งหาทนุ ใหไ้ ดอ้ ยทู่ ปี่ ระมาณสามสบิ ลา้ น ผมกค็ ดิ วา่ จะไปหาไดอ้ ยา่ งไร แตไ่ ป ๆ มา ๆ
ตวั เลขทรี่ ะดมทนุ เพอื่ สรา้ งตกึ ๑๐๐ ป ี พงุ่ ขนึ้ ไปทกี่ วา่ หกสบิ ถงึ เจด็ สบิ ลา้ นบาท” เหตผุ ลทที่ า� ใหก้ ารระดมทนุ
ประสบความส�าเร็จ ส่ิงส�าคัญมาจากท่ีคุณจุลสิงห์ได้ประสานงานกับทางกรมสรรพากรเพ่ือให้การบริจาค
เงินสามารถหักภาษีได้สองเทา่ ท�าใหเ้ กดิ แรงจงู ใจแกผ่ บู้ รจิ าค จนในที่สุด เงินรายได้จากการระดมทุนของ
สมาคมนักเรยี นเกา่ วชิราวุธฯ กไ็ ด้กลายเป็นส่วนหนงึ่ ทท่ี า� ให้ การสรา้ งอาคาร ๑๐๐ ปี วชิราวธุ วทิ ยาลัยน้ี
ส�าเร็จเสรจ็ ส้ินลง และเป็นเสมือนอนสุ รณแ์ หง่ ความรว่ มมอื รว่ มใจของชาววชริ าวุธทงั้ มวล

ในเรื่องน้ี คุณปฏิภาณได้ให้รายละเอียดของการท�างานของสมาคมฯ จนสามารถผลักดันให้
การระดมทนุ ประสบความส�าเรจ็ ว่า

“เมื่อโรงเรียนครบ ๑๐๐ ปีแล้ว สมาคมนักเรียนเก่าวชิราวุธฯ ก็เป็นตัวตั้งตัวตีในการจัดหาเงินทุน
มาสรา้ งอนสุ รณเ์ พราะพจ่ี ลุ สงิ หบ์ อกวา่ ๑๐๐ ป ี เราตอ้ งมอี นสุ รณส์ ิ คดิ ไปคดิ มากอ็ อกมาเปน็ ตกึ น ้ี ในชว่ งนนั้
ทา่ นกร็ ะดมทนุ จากนกั เรยี นเกา่ ในหลาย ๆ รนุ่ ทมี่ ศี กั ยภาพ ตวั ตง้ั ตวั ตคี อื นายกสมาคมฯ ซง่ึ ไดร้ บั การสนบั สนนุ
อยา่ งเต็มใจจากนกั เรยี นเก่าเกือบทุกรุน่ ถอื วา่ เป็นงบประมาณส่วนหนึง่ อาจจะไม่ท้ังหมด แตเ่ ป็นสว่ นหน่ึง
ท่ีทา่ นไดท้ �าใหค้ วามตั้งใจนัน้ ส�าเรจ็ เป็นรปู ธรรม

สว่ นวธิ กี าร พจี่ ลุ สงิ หบ์ อกวา่ บรจิ าคอยา่ งเดยี วทอ่ื ๆ คงจะไมไ่ ด ้ อนั นถี้ อื วา่ เปน็ เงนิ บรจิ าคเพอ่ื การศกึ ษา
เพราะเราเป็นการสร้างตึกให้โรงเรียน เพราะฉะน้ันการบริจาคเพื่อการศึกษาจริง ๆ แล้วมันมีกฎหมาย
บอกไว้ว่าเงินบริจาคสามารถหักภาษีได้ ๒ เท่า พี่จุลสิงห์ก็เป็นคนประสานงานกับมูลนิธิ หน่วยงาน
ราชการต่าง ๆ ว่า กฎระเบียบนี้ยังใช้ได้อยู่หรือไม่ แล้วก็พยายามออกตัวเง่ือนไขต่าง ๆ ให้ตรงตาม
requirements จนกระทง่ั คนทบ่ี รจิ าคเขา้ มาสามารถหกั ภาษไี ด ้ ๒ เทา่ กท็ า� ใหเ้ งนิ ตรงนส้ี ามารถระดมทนุ เขา้
มาได้มากขน้ึ ”

อกี หนง่ึ ผลงานส�าคญั ของสมาคมนักเรยี นเก่าวชริ าวธุ ฯ ในเวลาน้นั คอื การจดั ประกวดนางสาวไทย
ซ่ึงแต่เดิม สมาคมนักเรียนเก่าวชิราวุธวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นผู้ถือลิขสิทธิ์มานับต้ังแต่
ครง้ั สมาคมไดท้ ดลองจดั การประกวด “นางงามวชริ าวธุ ” ขนึ้ ในงานวชริ าวธุ านสุ รณ์ ซงึ่ จดั ขน้ึ เพอื่ เทดิ พระเกยี รติ
พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอย่หู วั เมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๓ ต่อมาการประกวดน้ีพฒั นามาเป็นการประกวด
นางงามระดับชาติ เพ่ือให้สอดคล้องกับการเติบโตของอุตสาหกรรมการท่องเท่ียวและการประชาสัมพันธ์

211

ประเทศไทย โดยการใช้ต�าแหน่งนางสาวไทยเป็นส่ือเผยแพร่ชื่อเสียงให้แก่ประเทศไทย ใน พ.ศ. ๒๕๐๗
คณะกรรมการการจดั งานวชริ าวธุ านสุ รณ์ จงึ ไดม้ กี ารเปลยี่ นชอื่ การประกวดมาเปน็ การประกวดนางสาวไทย
และถือครองลิขสิทธ์ิการประกวดมาจนถึงปัจจุบัน ซึ่งการประกวดนางสาวไทยนี้มีจุดประสงค์เพ่ือเฟ้นหา
ผู้ดา� รงต�าแหนง่ นางสาวไทย ส�าหรบั จะท�าหนา้ ท่ที ูตวัฒนธรรมทูตการท่องเที่ยว และทูตพาณิชย์ ตลอดจน
กิจกรรมเพอื่ สังคมต่าง ๆ

ขณะที่คุณจุลสิงห์ด�ารงต�าแหน่งนายกสมาคมฯ ได้มีด�าริในการจัดการประกวดนางสาวไทยข้ึน
เนื่องจากตอนคุณจุลสิงห์เข้ามาเป็นนายกสมาคมฯ เป็นช่วงท่ีกระแสการประกวดนางสาวไทยไม่ได้
รับความสนใจมากเท่าที่ควร คุณจุลสิงห์จึงได้เข้ามาจัดระบบและปรับเปลี่ยนรูปแบบการประกวดใหม่
ให้มคี วามนา่ สนใจมากข้ึน ดงั ทีท่ ่านไดเ้ คยให้สมั ภาษณ์ในหนงั สอื อนมุ านวสารไว้ ดังน้ี

“เดมิ งานน้ีไมค่ อ่ ยเปน็ ระบบ ตอนทผ่ี มเขา้ มารบั ตา� แหนง่ เราหาชอ่ งโทรทศั นเ์ พอ่ื ถา่ ยทอดการประกวด
ไม่ได้ จนต้องไปเกล้ียกล่อมให้ อสมท. ช่วยดูแลให้ ตอนแรกเขาก็ไม่เอา จนเขาจัดปีแรกขึ้นมาได้ส�าเร็จ
เขาก็จัดปีท่ี ๒ และปีที่ ๓ ต่อมาได้ เดิมเขาคิดว่าจะขาดทุนแต่ท�าไปแล้วก็อยู่ได้ จนกระแสเริ่มกลับมาด ี
การประกวดนางสาวไทยจงึ ถกู ดงึ ขน้ึ มาอกี ครง้ั นอกจากนนั้ เรายงั ปรบั ใหเ้ ปน็ เวทที คี่ ลาสสกิ ดไู ดจ้ ากในชว่ ง
ที่ผ่านมา นางสาวไทยมาจากจุฬาฯ ๓ คน ธรรมศาสตร์ ๑ คน เพราะฉะนั้นคลาสสิกทุกคน ภาพลักษณ์
ของนางสาวไทยจึงคอ่ นขา้ งดเี ลย เปน็ ที่ยอมรบั ของสาธารณะ ไมม่ ชี ดุ วา่ ยนา�้ มแี ตแ่ ต่งตวั ให้ดดู ี นอกจากน ้ี
เรายังไปคุยกับการท่องเท่ียวแห่งประเทศไทยให้ช่วยเหลือค่าใช้จ่ายในการออกงานต่าง ๆ ให้กับคณะ
นางสาวไทยอีก ซ่งึ ก็เปน็ การลดรายจา่ ยลงไป”

ผู้ท่ีได้มีส่วนร่วมในการจัดการประกวดนางสาวไทยในครั้งน้ันท่านหน่ึงคือ ดร.คุรุจิต นาครทรรพ
อดีตปลัดกระทรวงพลังงาน ซึ่งขณะนั้นท่านได้ด�ารงต�าแหน่งอุปนายกฝ่ายการต่างประเทศของสมาคมฯ
ทา่ นได้ย้อนความหลงั ของการท�างานในเวลานน้ั ใหฟ้ ังว่า

“ย้อนไปก็คอื ในชว่ ง พ.ศ. ๒๕๕๐ ผมได้รจู้ กั พี่จุลสงิ ห ์ เนอื่ งจากท่านเป็นบอร์ด ปตท.สผ. พจ่ี ลุ สิงห์
เป็นคนมีจิตสาธารณะ ชอบอาสาไปช่วยงานงานที่เป็นประโยชน ์ และมีโปรไฟล์ท่ีด ี เป็นรองอัยการสูงสุด
ในขณะนั้น แกกไ็ ด้รบั การเสนอช่อื ใหเ้ ปน็ นายกสมาคมนกั เรียนเกา่ แล้วตามระเบยี บข้อบงั คบั ของสมาคม
นกั เรยี นเกา่ นายกสมาคมกม็ สี ทิ ธติ์ งั้ กรรมการหรอื รองนายกทแี่ ตง่ ตง้ั ได ้ ๖ คน แกกม็ าชวนผมไปเปน็ อปุ นายก
ด้านการตา่ งประเทศ เนอื่ งจากผมเปน็ ขา้ ราชการกจ็ ะมคี วามละเอียดเรอ่ื งเอกสาร
ทีนี้ในการทา� งานกม็ ีภารกิจที่จะตอ้ งไปหาทนุ จัดงานอะไรต่าง ๆ เชน่ การจดั แขง่ กฬี า การจดั การ
ประกวดนางสาวไทย ซึ่งพ่ีจุลสิงห์มีความมุ่งม่ันว่าอยากให้มีการประกวดนางสาวไทยซึ่งเป็นลิขสิทธ์ิของ
สมาคมนกั เรยี นเกา่ วชริ าวธุ ฯ พจ่ี ลุ สงิ ห์ไดเ้ คยชวนผมเขา้ ไปประชมุ สมาคมฯ เรอ่ื งการจดั ประกวดนางสาวไทย

212

กย็ งุ่ วุ่นวายเหมอื นกนั เพราะว่ามันมีคา่ ใชจ้ ่ายเยอะ ต้องม ี organizer แลว้ ต้องไปหาที่จัด ต้องมที ่เี ก็บตัว
ตอ้ งมกี ารคัดเลือก ทนี คี้ นท่เี คยจดั เกา่ ๆ ก็อยากจะทา� แบบเก่า ๆ พจี่ ลุ สงิ ห์ก็บอกวา่ ไม่ได ้ มนั ตอ้ งรักษา
ภาพพจนข์ องสมาคมนกั เรยี นเกา่ ฯ ตอ้ งทา� ใหน้ างสาวไทยของเรามคี วามแตกตา่ งจากเวทอี นื่ ๆ คอื ยกระดบั
ขึ้นเป็นกุลสตรีที่ไม่ใช่นุ่งน้อยห่มน้อย แต่ว่าเป็นผู้หญิงที่ฉลาด เป็นกุลสตรี ฉะน้ันจะไม่ได้เน้นแบบไป
นงุ่ ชุดบิกิน่ี แตใ่ หม้ บี คุ ลิกสงา่ งาม แล้วกส็ ามารถเป็นตวั แทนท่ีจะสรา้ งภาพพจนผ์ หู้ ญงิ ไทยไดด้ ี ผปู้ กครอง
ที่เขาสง่ คนมาประกวดเขาก็จะได้รู้สึกว่าไมใ่ ชม่ าเวทนี ้ีแล้วเปน็ นางงามตกรอบ
พี่จุลสิงห์ก็ได้พยายามท�างานน้ีให้ส�าเร็จ แต่เน่ืองจากก่อนท่ีพี่จุลสิงห์จะมาเป็นนายกสมาคมฯ
เรากไ็ มค่ อ่ ยมีรายได้จากนางสาวไทยเทา่ ไร พ่จี ลุ สงิ ห์กพ็ ยายามหารายได้ ดว้ ยความที่แกมีรู้จักคนเยอะนะ
แกกห็ าสปอนเซอร ์ ผมเองกด็ ว้ ยความเปน็ รนุ่ นอ้ ง แกชวนกไ็ ป ความรสู้ กึ ผมกค็ อื แกใหเ้ กยี รตเิ รา ไมค่ วรทา� ให้
แกผิดหวัง ไม่ใช่ไปแล้วเขียนนามบัตรว่าเราเป็นอุปนายกแต่ไม่ได้ท�างาน เราก็ต้องไปช่วยแกท�างาน
ซึ่งผมก็ทา� งานเหมอื นเป็นลูกทีมตอนประกวดนางสาวไทย”

การจัดประกวดนางสาวไทยโดยสมาคมนักเรียนเก่าวชิราวุธฯ ประสบความส�าเร็จด้วยดี และได้มี
การจัดประกวดในปีต่อ ๆ มาอีกหลายคร้ัง นับเป็นกิจกรรมท่ีสามารถสร้างรายได้แก่สมาคมเพ่ือน�าไป
ประกอบกิจกรรมอนั เป็นสาธารณประโยชนต์ ่อไป

นอกจากน้ี เม่อื กลา่ วถึงกิจกรรมทคี่ ุณจลุ สิงหไ์ ดร้ เิ ริม่ ไว้ใหแ้ ก่สมาคมในช่วงเวลาน้ัน มกี ิจกรรมหนึ่ง
ทีอ่ าจไมไ่ ด้เป็นทีร่ ับรู้ของคนท่ัวไป แต่มคี ณุ คา่ และมคี วามหมายทางใจสา� หรบั ชาววชริ าวุธวิทยาลัย นนั่ คอื
“โครงการระลึกคุณครู” ซึ่งจัดขึ้นเพ่ือแสดงมุทิตาจิตแก่ครูอาจารย์ที่เคยประสิทธิ์ประสาทวิชาความรู้
ใหแ้ ก่นกั เรียนวชริ าวุธในอดีต โดยให้ให้นกั เรยี นเกา่ ไดก้ ราบเพอ่ื ระลกึ บญุ คณุ ของครู ท้งั นี้คุณจลุ สงิ ห์ไดเ้ คย
ใหส้ ัมภาษณ์ไวถ้ งึ ความเปน็ มาในการริเร่ิมกิจกรรมนี้ว่า

“ครูน่ีถือว่าเป็นผู้ที่มีพระคุณต่อพวกเรา การที่พวกเราได้ดีทุกคนก็ต้องถือว่าครูมีส่วนท้ังสิ้น
แม้ว่าจะสอนเราเพียงแค่หนึ่งช่ัวโมงก็ตามเถอะ กิจกรรมไหว้ครูจึงเป็นกิจกรรมท่ีดี ควรจะต้องท�าต่อไป
ผมวา่ คนทก่ี ตัญญูรูค้ ณุ จะไดด้ ี”

ดร.ปกรณ์ อาภาพันธ์ กรรมการการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ซึ่งด�ารงต�าแหน่งเลขาธิการ
และกรรมการสมาคมนักเรียนเก่าวชิราวุธวิทยาลัยในขณะนั้นได้เล่าให้ฟังว่า พิธีนี้เกิดข้ึนโดยการริเร่ิมของ
คณุ จลุ สงิ ห์ และแสดงให้เหน็ ถึงคุณสมบตั สิ �าคัญของทา่ นในเรือ่ งความกตญั ญกู ตเวทตี ่อผ้มู พี ระคณุ

“โครงการนี้เป็นการท�าพิธีไหว้ครูที่เกษียณอายุไปแล้ว เราจัดพิธีกันที่หอประชุม เป็นการให้เกียรติ
กบั คร ู แสดงความกตญั ญกู บั คณุ คร ู มกี ารจดั กจิ กรรมหารายไดม้ าชว่ ยเหลอื คณุ ครหู รอื ครอบครวั ของคณุ ครู

213

บางคนที่ล�าบาก พวกศิษย์เก่า ศิษยป์ จั จุบัน ชว่ ยหมดเลย ผมวา่ ท่านเป็นคนที่กตญั ญ ู ความกตัญญูทา� ให้
ท่านประสบความสา� เร็จมาถงึ ทุกวนั นี้ได้”

คา� ตอบในเรอ่ื งนคี้ งตอ้ งยกมาจากทม่ี กี ารกลา่ วถงึ ไวใ้ นหนงั สอื อนมุ านวสารทว่ี า่
“เร่ืองความกตัญญูนี่พี่จุลสิงห์ยกเอาเร่ืองท่ีได้เคยคุยกับหมอดูว่า ‘คนท่ีกตัญญูคน ไม่ต้องดูดวง
ไดด้ ที กุ คน’...”

“Esprit de Corps”
การรักผลประโยชน์ของ ม่คู ณะเ นือกว่าผลประโยชน์ ว่ นตวั

คุณสมบัติอีกข้อหน่ึงของท่านที่ได้รับการยกย่องและช่ืนชมในหมู่ผู้ท่ีได้เคยท�างานร่วมกันใน
สมาคมนักเรียนเก่าวชิราวุธฯ น่ันคือการท�าเพื่อส่วนรวมอย่างแท้จริง โดยยึดหลัก “Esprit de Corps”
การรกั ผลประโยชนข์ องหมคู่ ณะเหนอื กวา่ ผลประโยชนส์ ว่ นตวั ดงั ทที่ า่ นเคยใหน้ โยบายแกส่ มาชกิ ของสมาคมฯ
ไว้นั่นเอง
คุณปฏิภาณ สุคนธมาน ได้นิยามถึงการใช้หลักการดังกล่าวในการท�างานเพ่ือสมาคมฯ ของ
คุณจลุ สงิ หว์ ่า “การใชเ้ ครดติ ส่วนตวั เพอ่ื ส่วนรวม”

“ทา่ นกใ็ ชเ้ ครดติ ทที่ า่ นมใี นการชว่ ยหารายไดเ้ ขา้ สมาคมฯ อนั นขี้ อชนื่ ชมและเทดิ ทนู มาก ทา่ นนงั่ หวั โตะ๊
ทา� งานอะไรกนั พอเวลาติดขดั อะไรทา่ นยกหโู ทร. ทันทเี ด๋ียวนั้น ทกุ เรอื่ ง นอ้ งคนไหนไมไ่ ด้อยใู่ นสมาคมฯ
แต่มาขอความช่วยเหลือกโ็ ทร. เดย๋ี วน้ันทันที ไมม่ กี ารปฏเิ สธ”

ในเรือ่ งน้ี คุณสคั คเดช ธนะรัชต์ รองผูอ้ า� นวยการฝา่ ยความปลอดภัย บรษิ ัท ทา่ อากาศยานไทย
ซึ่งด�ารงต�าแหน่งกรรมการฝ่ายกิจกรรมพิเศษของสมาคมฯ ในขณะน้ัน ได้ยกตัวอย่างถึงเหตุการณ์หนึ่ง
ให้ฟังว่า

“ผมเลา่ เรอื่ งจัดกฬี ากอล์ฟละกนั ในการประชมุ สมาคมฯ เรื่องการจดั กอล์ฟ พอดีผมกต็ อ้ งรายงาน
การจดั กิจกรรมกอล์ฟตอน ๑๐๐ ปี ตอนนน้ั เรากห็ าสนาม พ่ีจลุ สงิ หก์ อ็ ยากจะใหห้ าสนามที่ด ี ประหยดั ทส่ี ดุ
แลว้ กค็ นมาเยอะ ๆ ผมก็หาจนไดท้ ี่สนามกอล์ฟไทย คนั ทร ี คลับ ค่าปดิ สนามสา� หรับการจัดการแขง่ ขนั
คือ ๒๐๐,๐๐๐ บาท พี่จุลสิงห์ก็บอกว่า ๒๐๐,๐๐๐ บาทน่ีถูกแล้วหรือชายน้อย ผมก็บอกว่าดีที่สุดแล้วครับ
ที่ไหนนะ ไทย คันทรี คลับ เด๋ียวพี่โทร.ไปเอง แกก็โทร.ไปหาเพ่ือนแก น่าจะเป็นเจ้าของ แกบอก โอเค
เรยี บรอ้ ยชายนอ้ ย ค่าสนามท้งั หมดรวมจัดกิจกรรมทง้ั หมด ๙,๙๙๙ บาท ท้งั ทีเ่ ป็นสนามทป่ี ดิ ยากทส่ี ดุ ”

การมุ่งผลประโยชน์ส่วนรวมเหนือกว่าผลประโยชน์ส่วนตัวของคุณจุลสิงห์ตลอดระยะเวลาท่ีท�างาน
ร่วมกันในหมู่พี่ ๆ น้อง ๆ โอวี ประทับอยู่ในใจของทุกคนอย่างไม่มีวันลืมเลือน จึงไม่น่าแปลกใจที่เม่ือ

214

มีการจดั ท�าหนงั สืออนุสรณแ์ ด่คณุ จลุ สงิ ห์ ชาว โอวี จงึ เตม็ ใจให้ความรว่ มมืออยา่ งดยี ่ิง
ดร.ปกรณ์ อาภาพนั ธ์ กล่าวเสริมในเรอื่ งนวี้ ่า

“พจ่ี ลุ สงิ หใ์ หค้ วามสา� คญั เรอ่ื งของความสามคั ค ี ความเปน็ หมคู่ ณะมาก ไมว่ า่ เรอ่ื งอะไรทา่ นไมอ่ ยากให้
เกดิ การทะเลาะกนั บางคร้งั ทา่ นก็ใหม้ านั่งพูดคุยกัน ทา่ นเปน็ คนท่ีเจรจา ประนปี ระนอม ผมไดม้ โี อกาสได้
คุยกับพ่ีจุลสิงห์ถึงเรื่องความสามัคคีก่อนที่พ่ีจุลสิงห์จะเสีย ท่านเคยโทร.มาคุยเดี่ยว ๆ กับผม ตอนแรกก็
คยุ เร่ืองอืน่ พ่ีจลุ สงิ ห์เป็นหว่ งบางหนว่ ยงานของสมาคมฯ ของทีอ่ ืน่ ไม่ใช่ของวชริ าวุธนะ ท่านกบ็ อก ปกรณ์
รจู้ กั คนน้ีไหมคนนน้ั ไหม ผมไมอ่ ยากใหท้ ะเลาะกนั นดั มาคยุ กนั ตอนนนั้ ผมไมท่ ราบวา่ ตอนนน้ั พจี่ ลุ สงิ หป์ ว่ ย
ตอนนน้ั ทโ่ี ทร.มาคยุ ผมอยเู่ มอื งนอก ทา่ นบอกวา่ ผมไมอ่ ยากใหเ้ กดิ ความแตกหกั สามคั ค ี ไมอ่ ยากใหท้ ะเลาะกนั
มารู้ตอนหลังว่าตอนนั้นท่านป่วยหนักมาก น่ีขนาดป่วยหนัก ท่านก็ยังให้ความส�าคัญต่อความสามัคค ี
ใครทะเลาะกนั ทา่ นพยายามหาทางออกใหต้ ลอด คนอยภู่ ายนอกไมร่ หู้ รอก แตห่ ารไู้ หมวา่ ขา้ งหลงั พจี่ ลุ สงิ ห์
คดิ มาก คดิ เยอะ แกใหค้ วามสา� คญั มาก เรอ่ื งจะจบยงั ไงทกุ คนถงึ บาดเจบ็ นอ้ ยสดุ ทกุ คนถงึ เสยี หายนอ้ ยทสี่ ดุ
แล้วไม่ทะเลาะกัน คนนอกอาจจะไม่เข้าใจท่านแต่ผมอยู่ข้างหลังผมเห็นหมดเลยทุกเร่ือง แล้วผมก็ไม่รู้ว่า
พ่ีจุลสิงห์เอาเวลาท่ีไหนมาท�าเรื่องนี้ พ่ีจุลสิงห์นี่มีข้อเสียอย่างเดียวคือพ่ีจุลสิงห์รักตัวเองน้อยไปหน่อย
ให้เวลากับตัวเองน้อยไปนิดหนึ่งในการรักษาสุขภาพ ในการดูแลตัวเอง ผมว่าเป็นคนท่ีเกือบจะเพอร์เฟ็ค
ทุกอย่าง ถ้าใชเ้ วลาสว่ นหนึ่งมาดแู ลตวั เอง ท่านอาจจะมเี วลาท�างานชว่ ยประเทศชาตไิ ด้นานกว่าน้ี”

วิธีการท�างานของนายกสมาคมฯ ที่คณะท�างานคุ้นเคยอยู่เสมอก็คือ การยกหูโทรศัพท์ทันที
เพือ่ แก้ไขปัญหาทค่ี ้างคาอยู่ ดังทค่ี ุณไชยวฒุ ์ิ พง่ึ ทอง กรรมการผจู้ ัดการใหญ่ กลมุ่ บริษทั บญุ มา ในฐานะ
คณะกรรมการสมาคมฯ ไดส้ ะท้อนถึงการท�างานของคุณจลุ สิงหใ์ ห้ฟังว่า

“ทา่ นเปน็ คนทท่ี า� เอง ทา่ นไมผ่ า่ นใคร ทกุ กรณถี า้ เกดิ อะไรขนึ้ ทา่ นยกหโู ทรศพั ทท์ นั ทถี งึ คนทเ่ี กย่ี วขอ้ ง

หรอื มอี ะไรปบุ๊ ทา่ นยกดว้ ยตวั ของทา่ นเอง ในการประชมุ แตล่ ะครงั้ จบ ไดเ้ หน็ ผลเหน็ งาน ไมม่ กี ารบอกวา่ ให้

ไปหาดู ทา่ นยกหเู อง มีรายช่อื ๑๐ รายชื่อ ท่านยกหหู า ๑๐ รายช่ือ บอกว่า ผมนายกสมาคมฯ จลุ สิงหน์ ะ

ตอนนี้ทางโรงเรียนมอี ยา่ งนี้ ๆ ขอคุยเรือ่ งน้ีหนอ่ ยไดไ้ หม ทา่ นคยุ เอง อธิบายเองทุกเรื่อง นีค่ อื สิง่ ที่ผมเห็น

ท่านเปน็ คนลงมอื ทา� ผมถือว่าทา่ นมี Leadership สูงมากในเรอ่ื งน ้ี

และสงิ่ ทผ่ี มรสู้ กึ ชอบทา่ นมากในการประชมุ ทกุ ครง้ั กค็ อื ทา่ นใหท้ กุ คนออกความเหน็ ความเหน็ ของ

ทุกคนท่านเอาเป็นประเด็นทุกเร่ือง แต่ผมชอบการฟันธงของท่านมากเลย ท่านสรุปเป้าหมายที่ท่านมอง

พอสรปุ เปน็ อยา่ งน ี้ ทา่ นบอกไดเ้ ลย มที ม่ี าทไ่ี ปของตรงน ้ี เราควรจะไปอยา่ งน ี้ เหมอื นกบั ทา่ นเหน็ เลย ผมวา่

ทา่ นเหน็ คา� ตอบก่อน ทา่ นน�ามาวิเคราะหใ์ ห้ทุกคนได้ ผมถอื วา่ ทา่ นเกง่ มากนะ อันนีเ้ ปน็ อนั หน่ึงเลย ท่ีท่าน

จะฟังทุกคนแล้วน�ามาคิด คือท่านท�าให้เรามีความคิดด้วยนะ เม่ือทุกคนเสนอ ท่านก็รวบรวมแล้วสรุป

ทา่ นทา� ไกดไ์ ลนเ์ หมอื นเรามสี ว่ นรว่ มนะ แลว้ กก็ ลา้ หาญทจี่ ะตดั สนิ ใจ อนั นนั้ สา� คญั มาก ผมเชอ่ื วา่ การตดั สนิ ใจ

ของทา่ นทุกครั้งมีความหมาย มคี วามกวา้ ง ไม่แคบ แล้วก็ตอบคา� ถามได้”

215

หมอ่ มหลวงจริ เศรษฐ ์ ศุขสวัสดิ์ กรรมการผจู้ ัดการใหญบ่ ริษทั กรงุ เทพประกันชีวติ และประธาน
ฝ่ายประชาสัมพันธ์ สมาคมนักเรียนเก่าวชิราวุธฯ เป็นอีกท่านหนึ่งท่ีได้ท�างานใกล้ชิดกับคุณจุลสิงห์
ในเวลาน้ัน และยังเป็นผู้มีส่วนส�าคัญในการบันทึกเร่ืองราวของท่านไว้ในหนังสืออนุมานวสาร ได้กล่าวถึง
ความสามารถในการประสานสิบทศิ ของคณุ จุลสงิ หท์ ี่ส่งผลใหก้ จิ กรรมของสมาคมฯ ประสบความสา� เรจ็ ว่า

“ความทพี่ จ่ี ลุ สงิ หเ์ ปน็ อยั การสงู สดุ ดว้ ยภาระหนา้ ทขี่ องทา่ นกเ็ ยอะอยแู่ ลว้ สา� หรบั งานของสมาคมฯ
พเ่ี ขาไมเ่ คยขาด จะมาเอง ไมม่ ลี มื เรยี กวา่ ใหเ้ วลา และทมุ่ เทใหก้ บั สมาคมฯ อยา่ งสงู สดุ และเตม็ ท ่ี เรอื่ งตา่ ง ๆ
ส่ิงที่คิดต่าง ๆ โปรเจ็คท์ต่าง ๆ ที่คิดกันไว้จึงประสบความส�าเร็จได้ เรามีคณะกรรมการฯ อยู่ประมาณ
๒๐ กว่าคน แบ่งหน้าที่กัน ผมสามารถพูดได้ว่า จะหานายกสมาคมฯ ท่ีสามารถประสานสิบทิศ ท้ังรุ่นพ่ี
รุ่นน้องรุ่นท้ังหลายให้เข้ามาร่วมมือกันน้ัน หายากที่จะได้คนอย่างพ่ีจุลสิงห์ แล้วพี่จุลสิงห์เป็นคนติดดิน
คุยไดห้ มดทกุ ระดับ ขอความร่วมมอื ได้อยา่ งทว่ั ถงึ ผมคดิ วา่ ขึ้นอยู่กบั ศักยภาพของนายกสมาคมฯ ตรงน้ี
ดว้ ยว่าจะทา� ให้เกดิ การขบั เคล่ือนไดด้ แี ค่ไหนกต็ ้องมีนายกสมาคมฯ ท่ีเกง่
...สว่ นหนงั สอื อนมุ านวสารกเ็ ปน็ อกี ชอ่ งทางทจ่ี ะประชาสมั พนั ธท์ จี่ ะทา� ใหเ้ กดิ การ update ขอ้ มลู ตา่ ง ๆ
ใหเ้ ห็นกิจกรรมทีเ่ คลอ่ื นไหว ท�าให้หลายคนกลับมาโรงเรยี นเยอะมาก”

อาจกล่าวได้วา่ หนงั สอื อนุมานวสาร ฉบับที่ ๑๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔ - มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๔
ซ่ึงหน้าปกเป็นภาพคุณจุลสิงห์น้ัน เป็นหนังสือท่ีได้บันทึกความรู้สึกนึกคิดของท่านเกี่ยวกับการท�างาน
ในสมาคมนักเรียนเก่าวชิราวุธวิทยาลัยฯ ไว้อย่างสมบูรณ์ท่ีสุด อีกท้ังยังมีข้อคิดท่ีมีคุณค่ายิ่งเกี่ยวกับ
Think Positive ที่ท�าให้เห็นถึงแนวทางสู่ความส�าเร็จของ “จุลสิงห์ วสันตสิงห์” บันทึกไว้ให้รุ่นน้อง โอวี
ร่นุ หลังได้เรยี นรูต้ ่อไป ดังนี้

“ผมอยากจะสอนอะไรอยา่ งให้กับน้อง ๆ ทว่ั ไปทกุ คน การท�างานทจี่ ะประสบความสา� เรจ็ เราต้อง
Think Positive ถ้าเราคิดอย่างน้ันแล้วปัญหาก็จะเกิดน้อยที่สุด การมองโลกในแง่บวกจะท�าให้อะไร ๆ
ก็ดีไปหมด พอคุณมองในแง่ลบ อะไร ๆ ก็ไม่ถูก อะไร ๆ ก็เป็นเรื่องหนักใจไปทุกอย่าง ก็จะกลายเป็น
การแบกภาระไวเ้ อง ไอ้นีก่ ไ็ ม่ชอบ ไอน้ ่กี ็แตง่ ตัวไม่ดี ไอน้ ีก่ ็มาสาย แทนทีจ่ ะมัวแต่คดิ แบบนนั้ เราต้องคดิ วา่
มาสายดีกว่าไม่มา ในเม่ือมาประชุม ๓ - ๔ คน ก็เป็นปัญหาแน่ แต่เราก็ต้องคิดว่ายังดีกว่าไม่มีใครมา
บางคนมาก็จะประชุมอยู่เรื่องเดียว เร่ืองอ่ืนเขาไม่สน เราก็ต้องช่างประไร ขอให้เขาท�าหน้าที่ของเขา
ใหด้ ที ส่ี ุด ผมอยากใหน้ อ้ ง ๆ Think Positive เพราะเมอ่ื เราคดิ แบบน้ีแลว้ เราจะมพี ลงั และก�าลงั ใจ
...ถ้าถามว่าผมมีอะไรหนักใจไหม ผมก็จะพยายามคิดให้มีน้อยที่สุด ภายใต้งบประมาณท่ีจ�ากัด
ภายใตร้ ะยะเวลาที่เราทา� ได้ เราทา� ให้ดที ่สี ุดเท่านัน้ เอง เราจะมาแบกโลกไวไ้ ม่ได้”

216

ร่วมกิจกรรมต่างๆ กับชาว โอวี

กรรมการ า� นกั งานบริ ารจัดการทรัพย์ นิ วชิราวุธวทิ ยาลยั
นอกเหนือจากการท�างานในฐานะนายกสมาคมนักเรียนเก่าวชิราวุธวิทยาลัยฯ แล้ว คุณจุลสิงห์

ยังได้ใช้ความรู้ ความสามารถในทางกฎหมาย ประสบการณ์ในการทา� งาน และความเช่ียวชาญในด้าน
การบริหารทรัพย์สินมาท�างานอันส�าคัญยิ่งให้แก่โรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย นั่นคือการท�างานในฐานะ
กรรมการส�านักงานบรหิ ารจัดการทรัพยส์ ินวชิราวุธวิทยาลยั

สบื เนอ่ื งดว้ ยพระมหากรณุ าธคิ ณุ และสายพระเนตรอนั ยาวไกลของพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั
รชั กาลท่ี ๖ เมอ่ื ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ มใหส้ รา้ งโรงเรยี นมหาดเลก็ หลวง (ตอ่ มาพระบาทสมเดจ็
พระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี ๗ พระราชทานนามโรงเรยี นใหมว่ า่ “โรงเรยี นวชริ าวธุ วทิ ยาลยั ”) ไดพ้ ระราชทาน
ท่ีดินและพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ในการปลูกสร้างโรงเรียน และยังทรงพระกรุณาพระราชทานทรัพย์
ส่วนพระองค์เป็นท่ีดินและทุนรอนส่วนหนึ่งให้โรงเรียนได้จัดหาผลประโยชน์เพื่อน�ามาบ�ารุงการศึกษา
ด้วยเหตุผลในลักษณะเดียวกันกับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ด้วยมีพระบรมราโชบายที่จะให้โรงเรียน
มหาดเลก็ หลวงเปน็ สถานทอี่ บรมบม่ เพาะเยาวชนให้เปน็ พลเมอื งดขี องชาติสบื ไปในภายหนา้

217

ตอ่ มาในรชั สมยั ของพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร
รชั กาลท่ี ๙ ไดท้ รงรบั เปน็ องคบ์ รมราชปู ถมั ภก และพระราชทานพระบรมราชานมุ ตั งิ บประมาณการใชจ้ า่ ยเพอื่
พัฒนาการศึกษาของวชิราวุธวิทยาลัยสืบต่อมาจนกระท่ังเข้าสู่รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
มหาวชิราลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกรู รชั กาลท่ี ๑๐ เมอื่ วนั ที่ ๑๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๐ ทรงมพี ระราชกระแส
ใหว้ ชริ าวธุ วิทยาลัยเป็นผู้ด�าเนินการบริหารจัดการทรัพย์สินต่าง ๆ ด้วยตนเอง เพ่ือให้เกิดความสะดวก
รวดเร็วในการเบกิ จา่ ยและมคี วามคลอ่ งตวั ในการบรหิ ารทรพั ยส์ นิ สา� นกั พระราชวงั (สา� นกั งานพระคลงั ขา้ งท)ี่
จึงไดด้ �าเนนิ การสนองพระราชกระแส โดยมีพธิ กี ารรับมอบทรัพยส์ ินตา่ ง ๆ ได้แก่ ทีด่ นิ พร้อมสง่ิ ปลูกสรา้ ง,
สญั ญาเชา่ , เงนิ สด, เงนิ ฝากธนาคาร และตราสารทนุ ใหแ้ กว่ ชริ าวธุ วทิ ยาลยั เมอ่ื วนั ท่ี ๑ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๐
เพอื่ อา� นวยประโยชนส์ งู สดุ ตอ่ การจดั การศกึ ษาของวชริ าวธุ วทิ ยาลยั นบั เปน็ พระมหากรณุ าธคิ ณุ อยา่ งหาทส่ี ดุ
มไิ ด้แกโ่ รงเรยี นวชิราวธุ วิทยาลยั ศิษย์เกา่ และศษิ ย์ปัจจุบนั

ทั้งน้ีเพ่ือให้การบริหารจัดการทรัพย์สินท่ีได้รับพระราชทานให้เป็นไปตามพระราชประสงค์
คณะกรรมการอา� นวยการวชริ าวธุ วทิ ยาลยั จงึ ไดแ้ ตง่ ตง้ั คณะกรรมการบรหิ ารบรหิ ารจดั การทรพั ยส์ นิ วชริ าวธุ
วิทยาลัยข้ึน ต่อมาได้จัดท�าข้อบังคับ ระเบียบปฏิบัติ และวางระบบการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ
มีหลักธรรมาภิบาลที่ดี โปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ นอกจากนี้เพื่อให้เกิดความคล่องตัวในการท�างาน
คณะกรรมการบรหิ ารจดั การทรพั ยส์ นิ ฯ จงึ ไดจ้ ดั ตงั้ คณะอนกุ รรมการเพอ่ื พจิ ารณาเรอ่ื งตา่ ง ๆ ทมี่ คี วามสา� คญั
รวมทง้ั ยงั ไดจ้ ดั ตง้ั สา� นกั งานบรหิ ารจดั การทรพั ยส์ นิ เพอ่ื เปน็ หนว่ ยงานประจา� ในการปฏบิ ตั งิ านตามนโยบาย
และมติของคณะกรรมการบรหิ ารจดั การทรัพย์สินฯ วชิราวธุ วิทยาลัย
หม่อมราชวงศศ์ ภุ ดิศ ดศิ กุล ประธานกรรมการบรหิ ารกลมุ่ บรษิ ัทบริการเช้ือเพลงิ การบนิ กรุงเทพ
จ�ากัด (มหาชน) ในฐานะรองประธานคณะกรรมการส�านักงานบริหารจัดการทรัพย์สินวชิราวุธวิทยาลัย
ได้กรุณาบอกเล่าขยายความถึงความเป็นมาของส�านักงานฯ และการท�างานของคณะกรรมการฯ ไว้ว่า

“ผมกบั จลุ สงิ หไ์ ดม้ าทา� งานใหก้ บั โรงเรยี นในฐานะสมาคมศษิ ยเ์ กา่ วชริ าวธุ ฯ ทเี่ ขา้ มาเรม่ิ ทา� งานชว่ ยเหลอื
โรงเรยี นครงั้ แรกเลย ตอนนนั้ คณุ วโิ รจน ์ นวลแข เปน็ นายกฯ อปุ นายกคอื จลุ สงิ ห ์ และผม เรากม็ าชว่ ยโรงเรยี น
กันโดยตลอด ต้ังแต่เป็นกรรมการโรงเรียนวชิราวุธฯ จนกระท่ังปัจจุบันโรงเรียนได้รับพระมหากรุณาธิคุณ
ใหว้ ชริ าวธุ วิทยาลยั เป็นผดู้ า� เนินการบริหารจัดการทรพั ย์สินตา่ ง ๆ ดว้ ยตนเอง ทรพั ย์สนิ ตา่ ง ๆ นัน้ แต่เดิม
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานไว้เพื่อท่ีโรงเรียนจะได้เลี้ยงตัวเองได้”

ม.ร.ว.ศุภดิศ และคุณจุลสิงห์ เป็นทั้งญาติสนิทและเพ่ือนร่วมรุ่นท่ีคบหากันยาวนานมาแต่วัยเยาว์
จนกระท่ังถึงปัจจุบัน แต่บทบาทการท�างานของคุณจุลสิงห์ในฐานะคณะกรรมการบริหารจัดการทรัพย์สิน
วชิราวุธวิทยาลัยนี้ เป็นสิ่งที่ ม.ร.ว.ศุภดิศได้มองเห็นแง่มุมของความเป็นมืออาชีพและรู้สึกช่ืนชมใน
ความสามารถด้านการบริหารจัดการทรัพย์สินของคุณจุลสิงห์ว่า “จุลสิงห์เขาเป็นคนเก่งและช�านาญ
ด้านอสังหารมิ ทรัพยม์ าก”

218

“...จุลสิงห์เขาเป็นคนเก่งและช�านาญด้านอสังหาริมทรัพย์มาก ในเรื่องการบริหารทรัพย์สินของ
โรงเรยี นนนั้ สว่ นทเี่ ปน็ โฉนดทด่ี นิ ของโรงเรยี นมนั กม็ เี รอ่ื งทวี่ า่ จะตอ้ งเสยี ภาษหี รอื ไมอ่ ยา่ งไร เพราะทดี่ นิ บาง
ส่วนเปน็ ทีด่ นิ ทม่ี ีราคา เชน่ ทด่ี นิ ท่อี ยแู่ ถวราชด�าริ จา� นวน ๖๗ ไร ่ จลุ สงิ ห์เขาก็ไปคุยและจัดการจนกระทง่ั
เสียภาษีในจ�านวนท่ีเหมาะสม ก็ต้องนับถือว่าจุลสิงห์เขาเก่ง เขาทุ่มเทให้กับโรงเรียนในเรื่องทรัพย์สิน
บรหิ ารกจิ การตา่ ง ๆ และดแู ลดา้ นกฎหมาย คดคี วามตา่ ง ๆ ซงึ่ ตรงนผ้ี มตอ้ งยอมรบั วา่ จลุ สงิ หเ์ ขารทู้ งั้ ภาค
เอกชน ภาคราชการ ศาล ๓ อย่างด้วยกัน เขารอบรทู้ กุ ด้าน และทา� งานหนกั เขาศึกษาประวตั ทิ รัพยส์ นิ
ของโรงเรยี นโดยเฉพาะพระราชพนิ ยั กรรมของรชั กาลท ่ี ๖ วา่ คา� พดู เปน็ อยา่ งไร มกี ารแปลงทรพั ยส์ นิ ในอดตี
เปน็ อย่างไร เขาถือแฟ้มใหญ ่ ๆ เวลาไปกรมทดี่ นิ ด้วยกนั และได้เปน็ คนเจรจากับกรมทีด่ นิ เองถงึ ทีม่ าท่ไี ป
ของทรัพย์สินแต่ละตัวว่าโรงเรียนไม่ได้ท�าการค้า โรงเรียนก็คือโรงเรียน แต่ได้รับทรัพย์สินที่บังเอิญเป็น
ทด่ี ินทมี่ คี ณุ ค่าในเชิงพาณชิ ยซ์ ึ่งเป็นจ�านวนเยอะแลว้ ถ้าต้องเสยี ภาษาทด่ี นิ โรงเรียนรับไม่ได ้ เขากพ็ ยายาม
อธบิ ายใหเ้ จา้ หนา้ ทที่ ด่ี นิ ไดร้ บั ทราบ ผมกบั เจา้ หนา้ ทขี่ องโรงเรยี นทไี่ ปดว้ ยกนั กบั จลุ สงิ ห ์ ไดเ้ หน็ วธิ กี ารอธบิ าย
การช้ีแจง ยอดเยี่ยมมาก เขาศกึ ษาอย่างละเอียดวา่ เหตุใดเราควรได้รับการยกเว้นในเรอื่ งภาษที ี่ดนิ ตรงน ้ี
ซงึ่ สา� นกั งานทด่ี นิ เขายอมรบั ฟงั ผมยอมรบั วา่ ทง่ึ ทเี่ หน็ เขาทา� งานจรงิ จงั มากในเรอ่ื งของการบรหิ ารทรพั ยส์ นิ
ของโรงเรียน
เม่ือขาดเขาไป กร็ ้สู ึกเหมอื นขาดอะไรไปหลาย ๆ อย่าง โรงเรยี นขาดคนดที ม่ี คี วามรคู้ วามสามารถ
ไปอย่างมาก ส�าหรับผมเองเวลาเจอเขาในที่ประชุมปกติเราก็หยอกล้อเล่นกัน คือโต๊ะก็จะเป็นรูปตัวย ู
ผมเป็นรองประธานทรัพย์สินฯ แล้วก็มีประธานคณะกรรมการบริหารทรัพย์สิน จุลสิงห์เขาก็มาน่ังข้าง ๆ
ผมกบ็ อก ยกใหค้ นหนง่ึ นะเพราะเขาเกง่ ตอ้ งยอมรบั จรงิ ๆ ถงึ แมไ้ มไ่ ดเ้ ปน็ รองประธานฯ กย็ กใหเ้ ปน็ เสมอื น
รองประธานฯ เพราะเขามีความสามารถจริง ๆ”

เมอื่ ความรูค้ วามสามารถอันโดดเด่นประกอบกนั เขา้ กบั Esprit de Corps การรกั ผลประโยชน์ของ
หมู่คณะเหนือกว่าผลประโยชน์ส่วนตัว ท�าให้คุณจุลสิงห์สามารถอุทิศตนให้แก่โรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย
ดังปรากฏเป็นผลงานมากมายดังท่ีกล่าวไปแล้วข้างต้น ทั้งหมดทั้งส้ินน้ี...ด้วยความตระหนักในพระคุณ
ของโรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัยที่ได้ปลูกฝังและหล่อหลอมนักเรียนชายคนหน่ึงที่ช่ือ จุลสิงห์ วสันตสิงห์
ในวันนั้นให้เป็นสุภาพบุรุษท่ีมี Esprit de Corps อย่างสมบูรณ์เต็มเปี่ยม สอดคล้องกับบทพระราชนิพนธ์ใน
พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทไ่ี ดพ้ ระราชทานแกน่ กั เรยี นโรงเรยี นมหาดเลก็ หลวง ความตอนหนงึ่ วา่

“เรานกั เรียนมหาดเลก็ เด็กในหลวง ท่วั ท้ังปวงภกั ดจี ะมไี หน
กตัญญฝู งั จิตติดดวงใจ จนเตบิ ใหญไ่ มจ่ างไม่บางเบา”

219

บทท่ี ๙

‘จุล งิ ์’ นัน้ แปลว่า งิ ์เลก็
แต่ เป็คกลบั เ น็ เป็น งิ ์ใ ญ่

‘จลุ ิง ์’ น้ันแปลว่า งิ เ์ ล็ก แต่ เปค็ กลับเ น็ เป็น ิง ใ์ ญ่
เปน็ มอื นง่ึ แ ง่ อัยการไทย และเปน็ ความภมู ใิ จของพวกเรา

บทกวีบทนี้ คุณสุภาพ คลี่ขจาย สื่อมวลชนอาวุโสและเพ่ือนร่วมรุ่น ปปร.๘ เขียนมอบให้
แด่คุณจุลสิงห์ในวันคล้ายวันเกิด เมื่อวันท่ี ๑๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เป็นบทกวีที่นิยามความเป็น
“จุลสิงห์ วสนั ตสิงห์” ไว้อยา่ งครบถว้ นและหมดจดงดงาม
ไม่เพียงแต่ผู้คนในแวดวงกฎหมายเท่านั้น แต่ในแวดวงอ่ืน ๆ ที่ท่านได้เข้าไปเก่ียวข้องท้ังใน
ขณะด�ารงต�าแหน่งในส�านักงานอัยการสูงสุดและหลังจากเกษียณอายุราชการ ล้วนสัมผัสได้ถึงความเป็น
“สิงห์ใหญ่” ของคุณจลุ สิงห์ ดว้ ยความรคู้ วามสามารถอันโดดเดน่ หัวใจท่กี วา้ งขวาง และมิตรจิตมิตรใจ
ท่ีมีให้แก่ผู้คนในทุกวงการและทุกระดับ ไม่ว่าจะเป็นการท�างานเป็นกรรมการในรัฐวิสาหกิจและบริษัท
ในเครือของรัฐวิสาหกิจตา่ ง ๆ ทงั้ ในด้านการพลังงาน การทา่ อากาศยานและการบนิ ด้านการเงิน ฯลฯ
รวมถงึ การศกึ ษาอบรมเพ่ิมเตมิ ในสถาบันต่าง ๆ

เพือ่ น ปปร.๘ ท่ี “เคมีตรงกนั ”

คุณจลุ สิงหแ์ ละเพ่ือนรว่ มร่นุ ปปร.๘

220

จากที่คุณจุลสิงห์ได้เข้าอบรมในหลักสูตรประกาศนียบัตรช้ันสูงการเมืองการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตยส�าหรับนักบริหารระดับสูงของสถาบันพระปกเกล้า เมื่อ พ.ศ.๒๕๔๗ จึงมีโอกาส
พบปะเพื่อนร่วมรุ่นในหลากหลายสาขาอาชีพ หนึ่งในนั้นคือ คุณสุภาพ คลี่ขจาย ซึ่งเป็น
ประธานรุ่น ปปร.๘ และมีความใกล้ชิดกับคุณจุลสิงห์เน่ืองจากเคมีตรงกัน พูดคุยถูกคอกัน อีกทั้ง
คุณจุลสิงห์ยังช่ืนชอบบทกวีซึ่งคุณสุภาพได้เขียนให้ในหลาย ๆ โอกาส

“คณุ จลุ สงิ หบ์ อกวา่ เคมตี รงกนั คอื คนเราพอมเี คมตี รงกนั แลว้ ทกุ อยา่ งกล็ งตวั คณุ จลุ สงิ ห ์ ตอนนนั้ เปน็
รองอยั การสงู สดุ แลว้ กเ็ ลอ่ื นเปน็ อยั การสงู สดุ หลงั จากทจ่ี บออกมาแลว้ คณุ จลุ สงิ หจ์ ะมคี วามผกู พนั กบั เพอื่ น ๆ
ทเี่ รียนสถาบันพระปกเกลา้ ดว้ ยกันมาก จะมาทกุ คร้ังเวลามกี ารเลี้ยงร่นุ มาช้าหน่อยกม็ า โดยเฉพาะทส่ี นทิ
มากคอื ในกลมุ่ กอลฟ์ คณุ จลุ สงิ หก์ จ็ ะมาแบบมคี วามสขุ ไมว่ า่ งานจะมากแคไ่ หนกต็ ามแต ่ ถา้ มาเจอเพอ่ื น ๆ
ท่ีทานเลยี้ งกัน คุณจลุ สิงห์จะมคี วามสุข จะหยอกคนโนน้ นิด หยอกคนนีห้ น่อย ตามสไตลข์ องคุณจุลสิงห์
แลว้ ก็เป็นทีพ่ ่ึงของเพ่ือน ๆ ใน ปปร. ๘ เวลาใครมปี ญั หาเรอื่ งกฎหมาย คณุ จลุ สิงหเ์ ขาจะให้ค�าปรกึ ษา ก็
เปน็ ท่ีรักของเพอ่ื น ๆ ในกล่มุ มาก
บางทมี างานเลี้ยง เพือ่ นร่วมรุน่ คนนัน้ มปี ญั หา ก็จะลากกันไปนัง่ หวั มมุ ตรงไหนทเี่ งียบ ๆ แล้วกเ็ ล่า
เรอ่ื งให้ฟงั ว่าปัญหามียังไง ผมยังนกึ ว่า โธ่ มางานเลี้ยงแทนท่ีจะสบาย ๆ กต็ ้องมาน่ังรับฟงั ปญั หา แตเ่ ปน็
ความเตม็ ใจของคณุ จลุ สงิ ห ์ ผมวา่ เขาชว่ ยคนไวไ้ ดเ้ ยอะนะ คนทร่ี จู้ กั คณุ จลุ สงิ หท์ กุ คนกจ็ ะบอกวา่ คณุ จลุ สงิ ห์
เคยแนะนา� ผมเรอ่ื งน ี้ เคยช่วยเรื่องน ี้ เคยฝากเรอ่ื งน ี้ โดยเฉพาะเวลามีปญั หากับคดคี วามเนย่ี ก็เก่ียวขอ้ งกบั
อัยการก็จะฝากฝังให ้ ฝากฝังให้ไม่ได้หมายถึงใหเ้ ขา้ ข้างนะ แต่ว่าอา� นวยความสะดวกให ้ ให้ไปพบได ้ ให้
ไปใหข้ อ้ มลู เพมิ่ เตมิ ได ้ คนทเ่ี วลามคี ดคี วามเนยี่ มนั เปน็ ทกุ ขด์ ว้ ยกนั ทง้ั นนั้ ฉะนนั้ ใครมาชว่ ยใหห้ มดทกุ ข์ได้
เขาจะไม่ลมื ”

นอกจากน้ใี นมุมมองของสอื่ มวลชน คุณสุภาพมองวา่ คุณจุลสงิ หค์ อื เกียรติภมู ิของแวดวงอยั การใน
ชว่ งทก่ี ารเมอื งในประเทศไทยแบง่ เป็น ๒ ขว้ั

“เปน็ มอื กฎหมายทอ่ี ยใู่ นชว่ งทกี่ ารเมอื งขดั แยง้ กนั และการเมอื งเปลย่ี นผา่ น ซง่ึ แบง่ เปน็ การเมอื งสอง
ขวั้ ในชว่ ง ๑๐ กวา่ ปที ผ่ี า่ นมา คนทเี่ ปน็ อยั การสงู สดุ จะมสี ว่ นสา� คญั มากในการผดงุ ความยตุ ธิ รรมวา่ คดที าง
ฝา่ ยนฟี้ อ้ งหรอื ไมฟ่ อ้ ง คดที างฝา่ ยโนน้ ฟอ้ งหรอื ไมฟ่ อ้ ง เพราะการเมอื งมนั ตอ่ สกู้ นั อยา่ งรนุ แรง แตส่ งิ่ ทเี่ ราได้
เหน็ คอื คณุ จลุ สงิ หส์ ามารถถว่ งดลุ ความยตุ ธิ รรมในบทบาทของอยั การสงู สดุ ไวไ้ ดด้ ี คอื ถว่ งดลุ ความเปน็ ธรรม
ไวไ้ ดด้ ี ไมม่ ใี ครวา่ ไดเ้ ลยวา่ อยั การสงู สดุ ภายใตย้ คุ ของคณุ จลุ สงิ หเ์ อยี งเอนไปทางฝา่ ยโนน้ เอยี งเอนไปทางฝา่ ย
น ี้ ผมคดิ วา่ คณุ จลุ สงิ หร์ กั ษาบทบาทตรงนี้ไวไ้ ดด้ ี ผมเคยถามวา่ วางตวั ลา� บากไหม ทา่ นบอกวา่ ตอ้ งยอมรบั วา่
ตอ้ งเจอแรงปะทะเยอะ เพราะเปน็ คดกี ารเมอื ง มคี ดกี ารเมอื งเยอะมากในชว่ งทค่ี ณุ จลุ สงิ หเ์ ปน็ อยั การสงู สดุ
แลว้ ตอ้ งอยใู่ นสถานะทเี่ ปน็ ผตู้ ดั สนิ ใจคนสดุ ทา้ ยวา่ จะสง่ั ฟอ้ งหรอื สง่ั ไมฟ่ อ้ ง แตว่ า่ สงิ่ ทค่ี ณุ จลุ สงิ หแ์ สดงให้

221

เห็นก็คือเป็นเกียรติภูมิของแวดวงอัยการในช่วงน้ันท่ีไม่มีใครต�าหนิได้ว่าคุณจุลสิงห์เป็นฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง
เขาจะเปน็ พวกใครก็ตาม แต่วา่ ในบทบาทหน้าทขี่ องอยั การสูงสดุ เขาถว่ งดลุ ความยุตธิ รรมไดด้ ี ในฐานะ
สื่อนะผมก็มองเห็นเหมือนเขาอยู่ คุณจุลสิงห์จะเป็นคนที่เปิดกว้างมากส�าหรับการพบปะพูดคุยหรือคบค้า
กับนักการเมือง มีนักกฎหมายอัยการหลายคนท่ีไม่กล้าพบปะพูดคุยกับฝ่ายการเมือง เพราะกลัวว่ามันจะ
เป็นเร่ืองของความไม่เหมาะสม แต่คุณจุลสิงห์จะบอกผมว่า ถ้าเราบริสุทธ์ิใจเราคุยได้ทุกอย่าง เราคุยได้
กบั ฝา่ ยการเมอื งทกุ ฝ่าย แตข่ ึน้ อยู่กบั เราวา่ เราจะรกั ษาความยตุ ิธรรมไวอ้ ยา่ งไร”

และนีค่ อื เหตผุ ลของคา� นิยมค�าวา่ “สิงห์ใหญ่” ในมุมมองของ คณุ สภุ าพ คลขี่ จาย มอบแด่คนท่ีชอ่ื
จลุ สิงห ์ วสนั ตสงิ ห์
นอกจากคณุ สุภาพ ยังมีเพื่อน ปปร. ๘ อีกทา่ นหนงึ่ ซึ่งเป็นเพอ่ื นรว่ มร่นุ จุฬาฯ คือ คณุ สายณั ห ์
ถนิ่ สา� ราญ ได้เขียนบทกวถี งึ คณุ จุลสงิ หใ์ นวนั ท่ีตอ้ งจากกนั ดังนี้

อาลยั -จลุ สิงห์ ท่านจากไป ทีไ่ กลย่ิง
จุลสิงห์ ผู้เกรียงไกร ท่านละทงิ้ ทกุ สิ่งอัน
งนุ งง เปน็ เรือ่ งจรงิ แสนเศรา้ ใจ แสนโศกศัลย์
พวกเรา แสนอาลยั วันเหล่าน้ัน จ�าตดิ ตา
คดิ ถงึ เคยคยุ กัน ไม่ก้าวร้าว ไมถ่ ือสา
ท่านมี เสยี งทมุ้ หา้ ว ทา่ นกก็ ลา้ เลา่ ให้ฟงั
บางคร้ัง เรอื่ งโปกฮา ท่านเออ้ื เฟ้ือ จนสมหวงั
ใครขอ ใหช้ ่วยเหลือ เพอื่ เพือ่ นด่ัง เครอื ญาติกัน
เต็มใจ สดุ พลงั ท่านไม่โม ้ ไม่ข่มขวญั
ต�าแหนง่ ทใ่ี หญโ่ ต สดุ เสกสรร กลา่ ววาจา
สารพัด สารพัน ท่ตี ้องสญู เสียท่านหนา
ปปร.8 สดุ อาดูร ส่สู วรรค์ สุขาวดี
ขอให ้ บญุ น�าพา

Hole in One คร้งั น่ึงในชีวิต
Hole in One ครงั้ หนงึ่ ในชวี ติ ของคณุ จลุ สงิ หเ์ กดิ ขนึ้ ทสี่ นามสโมสรราชพฤกษ ์ โดย ดร.วรพฒั น์ อรรถยกุ ติ
ไดเ้ ปน็ ประจกั ษพ์ ยานสา� คญั ในฐานะเพอื่ นรว่ มกว๊ น และในฐานะเพอ่ื นรว่ มรนุ่ หลกั สตู รปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร
(วปรอ. รนุ่ ท ี่ ๓๘๘) วทิ ยาลัยป้องกนั ราชอาณาจกั ร
จากเพ่ือนร่วมรุ่น วปรอ. ความสัมพันธ์ระหว่างท้ังสองท่านพัฒนาอย่างต่อเนื่องโดยมีกีฬากอล์ฟ
เป็นสื่อกลาง โดยคณุ วรพฒั นไ์ ด้เลา่ ถึงที่มาท่ีไปของ Hole in One ในครั้งนัน้ วา่

222

ภูมิใจ

“ผมไมร่ จู้ กั คณุ จลุ สงิ หม์ ากอ่ น จนกระทง่ั เมอ่ื ตอนเขา้ ไปศกึ ษาดว้ ยกนั ในวทิ ยาลยั ปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร
(วปอ.) เม่ือต้นเดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๓๘ ตอนน้ันคุณจุลสิงห์มีต�าแหน่งเป็นหัวหน้าพนักงานอัยการ
กองสัญญาต่างประเทศ ส�านักงานอัยการสูงสุด ผมเป็นรองประธานด้านรัฐกิจและนิเทศสัมพันธ์ บริษัท
ยูโนแคลไทยแลนด ์ จา� กดั ทัง้ สองหลักสูตรเป็นหลักสตู ร ๑๑ เดือน
วันแรกท่ีเข้าศึกษาพวกเราท้ังรุ่นมี ๑๘๔ คน ต้องเข้าปฐมนิเทศ เจ้าหน้าท่ีได้จัดโต๊ะให้นักศึกษา
นง่ั โตะ๊ ละ ๓ คน และเผอญิ ผมกบั คณุ จลุ สงิ หน์ งั่ โตะ๊ เดยี วกนั และเราทง้ั สองมคี วามโดดเดน่ กวา่ เพอ่ื น ๆ ทา่ นอนื่
เพราะผมของเรา ๒ คนขาวกว่าใคร ๆ ทงั้ นัน้ ท้งั เขาและผมก็ไมส่ นใจจะยอ้ ม จากนนั้ เรากไ็ ดพ้ ูดคยุ กนั
จนสนิทสนมกนั มา
…คุณจุลสิงห์กับผมมีความสนิทสนมกันผ่านกีฬากอล์ฟ เม่ือรุ่นเราจัดการแข่งกอล์ฟบ่อย ๆ
คุณจุลสิงห์กับผมจะเล่นก๊วนเดียวกันเป็นประจ�าเพราะฝีมือพอไล่เลี่ยกัน อีกคนหนึ่งที่ผมร่วมตีกอล์ฟ
ดว้ ยได้ คือ คุณชยั เกษม นติ สิ ริ ิ แต่คณุ ชยั เกษมจะตีลูกกอล์ฟไกลกวา่ พวกเราทงั้ สอง แต่พอมาถงึ ลกู ชพิ
เราทง้ั สองจะไดเ้ ปรียบ และในวนั หน่ึงคือ วนั ที่ ๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๐ คุณจลุ สิงห์กบั ผมไปตีกอล์ฟ
ด้วยกัน คณุ จุลสิงห์ได้ Hole in One ดว้ ยความภาคภูมใิ จมากท่ีสนามราชพฤกษ ์ สา� หรบั นักกอลฟ์ การได ้
Hole in One ไม่ใชเ่ ร่อื งธรรมดา บางคนเล่นมาตลอดชวี ิตก็ไมเ่ คยได”้

ประสบการณ์ Hole in One ในสนามกอลฟ์ นน้ั เปน็ ความทรงจา� ทน่ี า่ ตน่ื เตน้ และงดงาม สว่ นในสนาม
ชวี ิตและการงานน้ัน ดร.วรพฒั น ์ กล่าววา่ คณุ จลุ สงิ หค์ ือผ้ใู ห ้ “ความคดิ เหน็ ที่เฉยี บขาด” ในหลายครงั้ ๆ
ท่ไี ด้ขอค�าแนะน�า

223

“ในทางกฎหมายนน้ั ผมมโี อกาสสมั ผสั กบั คณุ จลุ สงิ หบ์ า้ ง กพ็ บวา่ เขาเปน็ คนทไ่ี มล่ งั เลในการใหค้ วาม
เหน็ แบบเฉยี บขาด มเี หตุผล ซึ่งสรา้ งความประทบั ใจและความเชือ่ ถือแก่ผฟู้ งั ความเหน็ ผมมเี รื่องกฎหมาย
ท่ีเรียนถามคณุ จุลสิงหห์ ลังทีเ่ ราเรยี นจบแลว้ อยู่ ๒ เร่อื ง ทา� ให้เห็นว่าเขามคี วามเหน็ ทเ่ี ฉียบขาดมาก มรี าย
ละเอียดให้เราตัดสินใจได้ ผมเห็นวา่ น้อยคนที่ผมคยุ ด้วยแลว้ ใหค้ วามเห็นทีเ่ ฉียบขาด ชดั เจน ไดอ้ ยา่ งน ี้
กป็ ระทับใจในตัวทา่ นมาก
คณุ จลุ สงิ หย์ ดึ ถอื ความเปน็ นกั วชิ าการ ลกั ษณะไมใ่ ชผ่ ทู้ ใ่ี ฝฝ่ นั เปน็ คนมชี อื่ เสยี งโดยทางการเมอื ง ผม
เองเคยรบั ราชการเปน็ อาจารยอ์ ยคู่ ณะวศิ วกรรมศาสตร ์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั เปน็ อาจารยป์ ระจา� ๑๔ ปี
กอ่ นหน้านัน้ เปน็ อาจารย์พิเศษอย ู่ ๔ ปี จนอายุ ๔๕ ผมมีโอกาสจะไปทา� เอกชน จงึ ย้ายไปทา� งานบริษทั
เอกชนเป็นเวลา ๑๐ ปี จนเกษียณอายุ ซึ่งบรษิ ัทที่ผมไปอยู่ต้งั เกณฑอ์ ายเุ กษยี ณ ๕๕ ปี ตอนน้ัน ผมก็เรยี น
วปอ. แลว้ เม่อื จะเกษียณอายจุ ากบรษิ ทั คุณจุลสงิ หก์ แ็ นะนา� ใหผ้ มกลับไปเป็นอาจารยท์ ี่จุฬาฯ เพราะผมมี
ประสบการณน์ ่าจะเปน็ ประโยชนแ์ กว่ งการศกึ ษา และยกนว้ิ ใหผ้ มวา่ จะเป็นชีวติ เกษียณทย่ี อดเยย่ี มสา� หรบั
ผม แตผ่ มก็เลือกที่จะไมก่ ลบั ไปสอน และหางานอน่ื ท�าในยามเกษยี ณ
เม่ือนึกย้อนกลับไปเม่ือเปรียบเทียบกับสิ่งท่ีท�าต้ังแต่บัดน้ันเป็นต้นมา ก็อาจจะท�าให้ชีวิตไปอีกทาง
หนงึ่ แตผ่ มกต็ ัดสนิ ใจเลือกท่จี ะไม่เป็นนกั วชิ าการต่อ แตค่ �าแนะนา� ของคุณจลุ สิงห์ก็เปน็ คา� แนะนา� ที่ดมี าก
เพราะผมสามารถเอาประสบการณจ์ ากเอกชนมาประสานกบั งานวชิ าการ ถามวา่ ผมตดั สนิ ใจถกู ไหม ผมวา่
มนั ก็มีทีด่ ีท้งั สองทาง ถ้าผมกลับมาสอน ก็คงจะดอี กี แบบ อันน้เี ป็นความเห็นของทา่ น”

ก่อนหน้าน้ี ดร.วรพัฒน์ และคุณจุลสิงห์ได้มีโอกาสท�างานร่วมกัน แต่เป็นที่น่าเสียดายอย่างยิ่ง
วา่ งานนนั้ ยงั ไมส่ า� เรจ็ เสรจ็ สน้ิ ลง คณุ จลุ สงิ หก์ จ็ ากไปเสยี กอ่ น เหลอื ไวเ้ พยี งแตค่ วามทรงจา� ด ี ๆ ทเ่ี คยมรี ว่ ม
กัน และบางคา� พดู ของคุณจุลสิงห์ที่เคยกล่าวไว้

“คุณจุลสิงห์จะชอบศึกษาบุคลิกลักษณะของคน และจะชอบสังเกตว่าแต่ละคนท่ีมีชื่อมีเสียง
ได้ทา� ประโยชน์หรอื สร้างอะไรทท่ี า� ใหม้ ชี อื่ เสียง ซ่งึ แต่ละคนจะโดง่ ดงั โดยวธิ ที ีแ่ ตกต่างกัน และการทบ่ี คุ คล
ใดบุคคลหนึ่งจะท�าอะไรขึ้นมา ซึ่งท�าให้เขามีช่ือเสียง คุณจุลสิงห์จะชอบพูดว่าคนคนนั้น แจ้งเกิดโดย
วิธกี ารน ี้ วิธกี ารนน้ั หมายถงึ คนธรรมดาท่ีไม่โดง่ ดังแต่สามารถท�าอะไรที่ทา� ให้ตนเองมชี อื่ เสียงข้นึ มาได ้
ผมเขา้ ใจวา่ คุณจลุ สงิ ห์คงไมไ่ ด้มองตวั เองวา่ ‘แจ้งเกดิ ’ แลว้ เช่นกนั ทา่ นเปน็ คนธรรมดาทโี่ ดดเดน่
มากในทางวิชาการ มีความเป็นนักวิชาการมาก คือ วิชากฎหมาย จนได้รับเชิญเป็นกรรมการในองค์กร
ต่าง ๆ มากมาย ตามท่ีได้ทราบมาจากอดีตกรรมการผู้จัดการใหญ่ของ ปตท. คุณเทวินทร์ วงศ์วานิช
ซ่ึงเคยเปน็ ลูกศษิ ย์ผมทว่ี ศิ วะ จุฬาฯ เลา่ เสรมิ ว่า คุณจลุ สงิ ห์เคยเป็นกรรมการ ปตท.สผ. เป็นนกั กฎหมาย
ท่ีเก่งมาก เข้าใจเจตนาของกฎหมายเป็นอย่างดี และสามารถแนะน�าองค์กรถึงวิธีปฏิบัติอย่างไรบ้าง
ที่ไมข่ ดั แยง้ กบั กฎหมาย

224

…กอ่ นท่านเสยี ผมก็ไดท้ �างานรว่ มกบั ท่าน ผมมปี ัญหาเร่ืองกฎหมาย ก็ขอให้ทา่ นช่วย ทา่ นก็ช่วย
ได้ดีมาก ท่านให้ค�าแนะน�าดีมาก คดียังไม่จบ แต่ท่านก็เสียไปก่อน ผมเชื่อนะว่า ท่านเก่งด้านคดีแพ่ง
มาก ๆ และคุณจุลสงิ ห์ทุ่มเทในการท�างาน เปน็ ที่น่าเสยี ดายอยา่ งมากที่ท่านจากไป”

กบั เพอ่ื น วปรอ. ๓๘๘ ในโอกาสตา่ งๆ

นกั กฎ มายผู้โดดเด่นในแวดวงการพลังงาน
นอกจากเพอื่ น ๆ ในหลกั สตู รการศึกษาอบรมตา่ ง ๆ จะได้สมั ผสั ถึงความเปน็ “สิงห์ใหญ”่ ของ
คุณจุลสิงห์แล้ว ยังมีผู้คนในแวดวงอื่น ๆ ท่ีได้สัมผัสตัวตนและวิธีคิดของท่านจากการท�างานร่วมกัน
โดยเฉพาะอย่างยิ่งในแวดวงการพลังงาน ซึ่งในขณะที่ปฏิบัติงานท่ีส�านักงานอัยการสูงสุด คุณจุลสิงห์
ได้เป็นกรรมการในรัฐวิสาหกิจและบริษัทในเครือของรัฐวิสาหกิจมากมายหลายแห่ง ได้แก่ การไฟฟ้า
นครหลวง การไฟฟา้ ฝา่ ยผลติ แหง่ ประเทศไทย บรษิ ทั ผลติ ไฟฟา้ ราชบรุ โี ฮลดง้ิ จา� กดั (มหาชน) บรษิ ทั ปตท.
ส�ารวจและผลติ ปิโตรเลียม บรษิ ัท ปตท. จ�ากดั บริษทั บรหิ ารและจัดการน้า� ภาคตะวนั ออก จ�ากดั

ดร.คุรุจิต นาครทรรพ อดีตปลัดกระทรวงพลังงาน เป็นอีกท่านหน่ึงที่นอกจากจะเป็นรุ่นน้อง
วชิราวุธฯ และได้เคยท�างานร่วมกันในสมาคมนักเรียนเก่าวชิราวุธฯ แล้ว ก็ยังมีโอกาสได้ท�างานร่วมกัน
ในเร่อื งเกีย่ วกับพลังงานอีกด้วย เพยี งแตต่ า่ งบทบาทหน้าท่กี นั

225

กบั ดร.ครุ จุ ติ นาครทรรพ

ดร.คุรุจิตได้เล่าถึงการท�าหน้าที่ของคุณจุลสิงห์ในฐานะกรรมการรัฐวิสาหกิจและบริษัทในเครือรัฐ
วสิ าหกจิ ดา้ นการพลังงานว่า

“อยั การกเ็ หมอื นเปน็ นกั กฎหมายของรฐั เพราะฉะนน้ั คนทเ่ี ปน็ อยั การผใู้ หญส่ ามารถจะขอตวั มาเปน็
กรรมการรฐั วสิ าหกจิ ได ้ ถา้ คณะกรรมการอยั การ ก.อ. อนมุ ตั ิ จนมรี ฐั ธรรมนญู ฉบบั นท้ี เี่ ขาบอกวา่ ไมใ่ หอ้ ยั การ
มาเปน็ กรรมการรฐั วสิ าหกจิ เมอื่ กอ่ นไมม่ ขี อ้ หา้ ม เพราะฉะนนั้ กจ็ ะมอี ยั การผใู้ หญห่ ลายทา่ นมาเปน็ กรรมการ
รฐั วสิ าหกจิ เชน่ ปตท. กฟผ. ถอื เปน็ รฐั วสิ าหกจิ ใหญ ่ ทนี ผี้ มวา่ ความทพ่ี จ่ี ลุ สงิ หเ์ ปน็ นกั กฎหมายทก่ี วา้ งขวาง
แล้วก็มีความเป็นอินเตอร์ฯ เพราะจบปริญญาโททางกฎหมายจากเมืองนอก การพูดจาในที่ประชุมก็
เปน็ ทย่ี อมรบั อกี อยา่ งพจ่ี ลุ สงิ หก์ เ็ ปน็ อยั การในสายของทป่ี รกึ ษาการตา่ งประเทศ โตมาในทางน ี้ เพราะฉะนนั้
ในเรอ่ื งของรา่ งสญั ญา เรอ่ื งของการระงบั ขอ้ พพิ าท พจ่ี ลุ สงิ หก์ จ็ ะมคี วามถถี่ ว้ นในการดรู า่ งสญั ญาอยา่ งมาก
พ่ีจุลสิงห์มาเป็นกรรมการบริษัทมหาชน รัฐวิสาหกิจท่ีเกี่ยวกับพลังงานหลายแห่ง ตั้งแต่ท่าน
เป็นอธบิ ดอี ัยการ รองอธบิ ดอี ยั การ จนขึ้นมาเป็นรองอยั การสงู สดุ ถา้ ผมจะมาสมั ผสั กับพี่จุลสงิ หก์ ใ็ นชว่ ง
ทีม่ กี ระทรวงพลังงานแลว้ ใน พ.ศ. ๒๕๔๕ แตว่ า่ ถ้าพูดงา่ ย ๆ ว่าเร่ิมเห็นหน้าพี่จุลสิงห์เดนิ อยู่แถว ปตท.
ปตท.สผ. ก็ประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๘
มีอยู่ช่วงหน่ึงตอน พ.ศ. ๒๕๕๑ ผมเป็นประธานกรรมการ ปตท.สผ. ในฐานะที่ผมเป็น
รองปลัดกระทรวงพลังงาน เขาก็ส่งช่ือเข้าไปแล้วได้รับเลือกจากกรรมการให้เป็นประธาน ปตท.สผ.
พี่จุลสิงห์เป็นกรรมการ ปตท.สผ. ตอนนั้นเร่ิมได้ท�างานด้วยกัน พ่ีจุลสิงห์ก็ให้เกียรติถึงแม้ว่าเราจะเป็น
รนุ่ นอ้ งวชริ าวธุ ฯ แตเ่ ราเปน็ สายงานบงั คบั บญั ชาดา้ นพลงั งานโดยตรง พจ่ี ลุ สงิ หเ์ ปน็ กรรมการทช่ี ว่ ยแกป้ ญั หา

226

เวลามีมุมมองด้านกฎหมายเรอ่ื งจดั ซือ้ จดั จา้ งกพ็ ยายามที่จะหา solution ไมใ่ ช่พยายามทจ่ี ะไปหาความผดิ
พยายามหาทางแกไ้ ข ทา่ นไมใ่ ช่เปน็ อยั การท่ีจะตอ้ งการเอาใครเข้าคุก ถ้าไม่ผิดจรงิ ๆ แตจ่ ะเป็นคนที่จะ
ช่วยดู ปดิ ช่องโหว่ หาทางออกและให้ระมัดระวังเพื่อทจ่ี ะหลีกเลยี่ งไม่ให้เป็นปัญหาในภายหลัง”

“บอรด์ ” ทพ่ี ึง่ พาได้
คณุ ประณต ตริ าศยั รองกรรมการผจู้ ดั การใหญ ่ กลมุ่ งานกจิ การองคก์ รและกา� กบั การปฏบิ ตั ติ ามนโยบาย

และรกั ษาการผชู้ ว่ ยกรรมการผจู้ ดั การใหญ ่ สายงานเลขานกุ ารบรษิ ทั ปตท.สผ. ไดใ้ หค้ า� นยิ ามถงึ คณุ จลุ สงิ หไ์ ว้
วา่ “ทา่ นเปน็ บอรด์ ทพี่ ง่ึ พาได”้ เปน็ คา� กลา่ วทกี่ ลน่ั ออกมาจากใจและจากการทไ่ี ดท้ า� งานรว่ มกบั ทา่ นมาเปน็ เวลา
ยาวนานทบี่ รษิ ทั ปตท.สา� รวจและผลติ ปโิ ตรเลยี ม (จา� กดั ) มหาชน หรอื ปตท.สผ.
คณุ จลุ สงิ ห์ดา� รงต�าแหน่งกรรมการ ปตท.สผ. เปน็ เวลายาวนาน ๑๓ ปี นบั ตง้ั แต่ พ.ศ. ๒๕๔๑ -
๒๕๕๔ ซงึ่ คณุ ประณตไดท้ า� งานรว่ มกนั กบั ทา่ นมาโดย
ตลอด

“เมอ่ื กอ่ นดฉิ นั เปน็ ผจู้ ดั การฝา่ ยกฎหมาย กจ็ ะ สงั สรรค์ในกลมุ่ ปตท.
รบั ผดิ ชอบเรอื่ งทเี่ ปน็ ประเดน็ ขอ้ พพิ าท หรอื เรอื่ งเกย่ี ว
กบั สญั ญา ภายหลงั กไ็ ดร้ บั การแตง่ ตง้ั ใหเ้ ปน็ เลขานกุ าร
บรษิ ทั ทา� หนา้ ทเ่ี ลขาฯ บอรด์ ดงั นน้ั กจ็ ะไดพ้ บทา่ น
มากขนึ้ ทกุ ครงั้ ทเ่ี ขา้ ประชมุ บอรด์ โดยสว่ นตวั แลว้ ทา่ น
เปน็ คนทจี่ บั ประเดน็ เกง่ มาก ความจรงิ แลว้ ธรุ กจิ น ้ี เรา
กม็ องวา่ เปน็ เรอื่ งของ specialist และเปน็ เรอื่ งของการ
ผลติ กา๊ ซ การขดุ เจาะ การสา� รวจหาแหลง่ ผลติ ซงึ่ เปน็
เรอ่ื งท ี่ technical มาก ๆ แตท่ า่ นสามารถจบั ประเดน็
ไดเ้ รว็ และทา่ นเปน็ คนทรี่ บั ฟงั ความคดิ เหน็ ในทกุ ๆ
ดา้ น รวมถงึ รบั ฟงั ความคดิ เหน็ ทแ่ี ตกตา่ งดว้ ย และทา่ น
กจ็ ะประมวลเรอื่ งทงั้ หมด แลว้ ใหค้ วามเหน็ วา่ ถา้ เรอื่ ง
นบ้ี นหลกั การทถ่ี กู ตอ้ งแลว้ ควรเปน็ อยา่ งไร และทา่ นจะ
หาวธิ กี ารทยี่ ดื หยนุ่ ถา้ เรอ่ื งนม้ี นั เปน็ deadlock ทา่ นก็
จะชว่ ยคดิ วา่ เราจะทา� อะไรไดเ้ พอ่ื ทจ่ี ะชว่ ยใหธ้ รุ กจิ มนั
ด�าเนินการต่อไปได้ ก็เป็นส่ิงท่ีเราค่อนข้างประทับใจ
ทา่ นเคยพดู บอกวา่ เมอ่ื ไรทผ่ี มพดู วา่ เรอ่ื งน้ีไมไ่ ด ้ กไ็ ม่
ตอ้ งพยายามทจี่ ะมา convince แสดงวา่ มนั ไมไ่ ดจ้ รงิ ๆ
เพราะธรรมดาท่านจะเป็นคนที่พยายามยืดหยุ่น

227

รับฟังความเห็น พยายามหาช่องทางให้ธุรกิจมันด�าเนินต่อไปได้ แต่ถ้าเมื่อไรที่บอกว่าเร่ืองนี้ท�าไม่ได้แล้ว
เปน็ อนั สน้ิ สดุ ”

บทพสิ จู น์สา� คญั ของการเป็น “บอร์ดทพ่ี ่ึงพาได”้ ของคณุ จลุ สิงห์ก็คอื การแก้ไขปญั หาในโครงการ
อาทติ ย ์ ซงึ่ เปน็ การดา� เนนิ โครงการเพอ่ื สนองตอบความตอ้ งการใชก้ า๊ ซธรรมชาตใิ นประเทศทเ่ี พม่ิ สงู ขนึ้ แต่
ตอ่ มากลับประสบปญั หาในเรอื่ งความล่าชา้ ในการสง่ มอบงาน ซง่ึ ต่อมาคุณจลุ สิงห์เป็นผู้มสี ว่ นสา� คัญทีช่ ่วย
แก้ปัญหาให้ลุลว่ งไปได้

“ความจริงดฉิ นั ท�างานกบั ท่านหลายรปู แบบมาก ทั้งเรือ่ งของการทา� คด ี ท้งั เร่ืองของการทา� สัญญา
รวมทง้ั การเข้าไปรว่ มทนุ กบั partner ต่าง ๆ ช่วงท่ที ่านเป็นบอรด์ ปัญหาทห่ี นัก ๆ ก็คือช่วงทเี่ ราพัฒนา
โครงการอาทิตย ์ ชว่ งนั้นมี deadline ท่ีชัดเจนว่า เราต้องผลิตกา๊ ซใหไ้ ด้ภายในเวลาเท่าน ี้ ตอนน้ันมีปญั หา
เร่อื งการซอื้ อุปกรณ ์ จงึ ท�าให้เกิดความล่าช้าในการสง่ มอบ ซง่ึ เดิมกา� หนดว่าจะตอ้ งสง่ มอบ ปตท. ภายใน
๓๖ เดือน นับจากเราพัฒนาโครงการอาทติ ย์ แตค่ วามเปน็ จรงิ เราใชเ้ วลา ๔๘ เดือน ในช่วง ๔๘ เดอื น
เราก็ตอ้ งจ่ายค่าปรบั เพราะสง่ มอบก๊าซให ้ ปตท. ไมไ่ ด้ ซึ่งคา่ ปรบั เป็นหลกั พนั ล้าน ท่านก็จะเข้ามาหาวิธี
เรง่ process เพือ่ ให้ผูร้ บั เหมาสามารถสง่ มอบของใหก้ บั สผ.ให้ทันนะ เราจะปรับผู้รบั เหมาอยา่ งไร ทีท่ งั้
Protect ผลประโยชนด์ ว้ ยและชว่ ยใหผ้ รู้ บั เหมายอมสง่ ของแทนทจี่ ะยอมจา่ ยคา่ ปรบั ในอตั ราสงู สดุ แลว้ ไมส่ ง่
ของให ้ ซงึ่ มคี วามเสยี หายมากกวา่ กจ็ ะตอ้ งมวี ธิ กี ารเจรจากบั ผรู้ บั เหมาวา่ จะทา� อยา่ งไรเพอื่ ให ้ สผ. เขา้ ไปลด
ผลกระทบทม่ี ตี อ่ ปตท. นอ้ ยลง จรงิ ๆ แลว้ เปน็ ผลกระทบระดบั ประเทศ เพราะการสง่ กา๊ ซไมไ่ ดต้ ามกา� หนด
จะมผี ลกระทบหลายฝ่าย ถ้าทางเราสง่ ก๊าซให้ ปตท. ไมไ่ ด ้ ปตท. ก็สง่ ให ้ EGAT ไม่ได ้ EGAT กผ็ ลิตไฟฟา้
ไมไ่ ด้ ทา� ใหต้ อ้ งไปหากา๊ ซจากแหลง่ อนื่ มา
คณุ จลุ สงิ หท์ า่ นลงมาชว่ ยดเู รอื่ งนวี้ า่ ควรจะทา� สญั ญาอยา่ งไรใหร้ อบคอบ และถา้ มเี รอื่ งของการสง่ มอบ
ลา่ ชา้ โปรเจค็ ทด์ เี ลย์ไป เราจะไปเจรจากบั ผรู้ บั เหมาอยา่ งไร ทา่ นลงมาดใู หแ้ ทบจะทกุ สเตป็ ทา่ นกย็ อมรบั วา่
มนั กม็ คี วามสมุ่ เสยี่ งอยเู่ หมอื นกนั เพราะเวลาทเ่ี ราทา� อะไรสกั อยา่ งแลว้ คนทไี่ มไ่ ดอ้ ยใู่ นเหตกุ ารณต์ อนนนั้ อาจ
จะเขา้ ใจวา่ เราเออ้ื ประโยชนใ์ หใ้ คร ระหวา่ งทา� โครงการกม็ ี สตง. เขา้ มาตรวจสอบ หรอื มคี นไปรอ้ งเรยี น ปปช.
ในขณะทเี่ รากต็ อ้ งดา� เนนิ โครงการ แลว้ กต็ อ้ งไปชแี้ จง สตง. ปปช. ดว้ ย มนั คอื ความยากลา� บากของคนทา� งาน
แตท่ า่ นกไ็ มเ่ คยทจ่ี ะทา� ใหค้ นทที่ า� งานรสู้ กึ เสยี ขวญั แมจ้ ะถกู ตรวจสอบ ทา่ นกจ็ ะบอกใหเ้ ราชแี้ จงในประเดน็ น ี้
ลกั ษณะน ้ี หนง่ึ สอง สาม ทา่ นกจ็ ะคอยไกดใ์ หต้ ลอด ทา่ นกจ็ ะคอยเตอื นเราอยตู่ ลอดเวลาวา่ ใหร้ ะมดั ระวงั ใน
เรอื่ งเหลา่ น ี้ ทา� แลว้ จะตอ้ งไมโ่ ดนเขามาตรวจสอบ จะตอ้ งปอ้ งกนั ใหด้ ี เปน็ การทา� งานในลกั ษณะทเี่ ปน็ กนั เอง
คอ่ นขา้ งมาก เมอ่ื ไรทจี่ ะขอพบทา่ นกใ็ หเ้ วลาตลอด หรอื บางทถี า้ ทา่ นมาไมไ่ ด ้ กใ็ หไ้ ปหาทา่ นทสี่ า� นกั งานอยั การ
เปน็ อะไรทปี่ ระทบั ใจมาก คอื ทา่ นใหเ้ กยี รตพิ นกั งานทกุ ระดบั มคี วามเปน็ กนั เอง และมคี วามเตม็ ใจมากใน
การทจี่ ะชว่ ยใหก้ ารดา� เนนิ งานใหธ้ รุ กจิ ดา� เนนิ ไปไดต้ ามแผน และทา่ นกเ็ ปน็ กรรมการกฎหมายเพยี งทา่ นเดยี ว
ณ ตอนนน้ั เมอ่ื ไรทท่ี า่ นพดู ขนึ้ มาในหอ้ งประชมุ คอื ประเดน็ กฎหมายกจ็ ะเปน็ อนั ยตุ ”ิ

228

ดว้ ยความเชยี่ วชาญกฎหมายพลงั งานและกฎหมายธรุ กจิ ในเวลาตอ่ มา คณุ จลุ สงิ หไ์ ดร้ บั การแตง่ ตงั้
ให้เป็นกรรมการบรษิ ทั ปตท. จา� กัด (มหาชน) ซึง่ เป็นบริษทั แม่ของ ปตท.สผ. ในราว พ.ศ. ๒๕๕๐ และ
ทา่ นไดด้ า� รงต�าแหน่งกรรมการจนกระทั่งพ้นจากต�าแหนง่ อยั การสูงสุด

คณุ สพุ จน์ เหลา่ สอุ าภา อดตี รองกรรมการผจู้ ดั การใหญ ่ สา� นกั กฎหมาย บรษิ ทั ปตท.จา� กดั (มหาชน)
ซ่ึงได้ท�างานด้านกฎหมายเคียงบ่าเคียงไหล่กับคุณจุลสิงห์มาตลอด เป็นตัวแทนของชาว ปตท. ถ่ายทอด
ถ้อยคา� กินใจสัน้ ๆ วา่ “คน ปตท. รกั ท่านมาก” ด้วยเหตุผลดงั ตอ่ ไปนี้

“มมุ มองของท่าน คือทา่ น win - win ท่านไม่เอาเปรียบใคร ท่านจงึ มีเพ่ือนฝูงเยอะ และมีคนรัก
ท่านเยอะ แล้วถ้าใครมาขอความช่วยเหลือในวิสัยท่ีท่านให้ได้หรือช่วยได้ ท่านก็จะท�าให้ อย่างบางทีผม
ก็แค่ติดใจว่าท�าไมภาครัฐท�าแบบน้ีไม่ยุติธรรมกับคนท่ีมาสอบหรือเปล่า? ท่านก็ยกหูเลย สไตล์ของท่าน
เปน็ แบบน้ีจรงิ ๆ ครับ คน ปตท. จึงรักทา่ นมาก เวลาทา่ นมาก็ไมเ่ คยเรียกรอ้ งส่งิ ตอบแทนใด ๆ ทา่ น
ท�าให้ด้วยใจจริง ๆ ถ้าถามผมว่าท่านเสียไปน่ีผมเสียดายไหม? ผมเสียดายมาก ผมยังไม่เคยเจอผู้ใหญ ่
ท่ีน่าเคารพขนาดน้ี ผมมีอาจารย์ที่เป็นนักกฎหมายเยอะ แต่ก็ยังไม่มีใครเหมือนท่านอาจารย์จุลสิงห ์
ทา่ นใหอ้ ยา่ งจรงิ ใจและเตม็ ใจ ไมถ่ อื ตวั ดว้ ย”

นอกจากความรกั แล้ว คน ปตท. ยงั มคี วามนับถอื ศรัทธาคณุ จุลสงิ ห์อย่างเตม็ เปี่ยม ดว้ ยวา่ ความรู้
ความสามารถของท่านในเร่ืองกฎหมายพลังงานนั้นอยู่ในระดับที่เรียกว่าหาตัวจับยาก อีกทั้งมุมมอง
ทางกฎหมายของท่านได้ช่วยแกป้ ัญหาใหญ่ ๆ ใหล้ ุลว่ งไปไดด้ ้วยดตี ลอดมา

“กฎหมายพลังงานเป็นเร่ืองเฉพาะ ซึ่งคนท่ัวไปอาจเข้าใจยาก แต่พอดีอาจารย์จุลสิงห์ท่านมี
มมุ มองในเชิง commercial law ดว้ ยนะครบั การทท่ี ่านมมี มุ ทางดา้ นธุรกจิ มาประกอบ ก็ท�าใหท้ ่านตา่ ง
จากนักกฎหมายคนอื่น คือปกตินักกฎหมายเราจะค่อนข้างอยู่ในกรอบ ท�าอะไรต้องตรงตามตัวบทและ
ไม่มีมุมมองเปิดกว้างไปตามธุรกิจที่บางคร้ังมันอาจมีทางออกอย่างอื่น ถ้าเขาดูข้อกฎหมายแล้วไปไม่ได้
ก็คือไปไม่ได้ แต่ไม่ได้เสนอแนวทางแก้ให้กับผู้บังคับบัญชาหรือกับหน่วยเหนือว่ามันมีทางออกอย่างน้ี
ท่านจะตัดสนิ ใจไปทางอื่นไหม และมคี วามเสยี่ งอะไรบา้ ง เป็นการชแี้ จงใหค้ นมีอา� นาจตดั สินใจไดท้ ราบ
ส่วนใหญ่นักกฎหมายจะบอกว่ามันไปไม่ได้ก็ไม่ได้ แต่ท่านอาจารย์จุลสิงห์ไม่ใช่ ถ้าทางน้ีไปไม่ได ้
จะไปทางน้ีไหม แตถ่ า้ ไปทางนีม้ ันจะมคี วามเสย่ี งนะ มันมีประเดน็ ๑ ๒ ๓ ทา่ นลองพจิ ารณาดูว่าจะรับ
ไดไ้ หม? ทา่ นจะมมี มุ มองอยา่ งนตี้ ลอดและไมป่ ดิ กน้ั เมอ่ื เกดิ ปญั หาวา่ ตกลงกนั ในเงอื่ นไขบางอยา่ งไมไ่ ด ้ ทา่ น
ก็จะพยายามหาทางออกให้ ท่านสอนผมเสมอว่า ในการท�าสัญญาของ ปตท. (ในตอนน้ันท่านถือวา่ ปตท.
เป็นภาครฐั ) กบั เอกชนนั้น ต้องบอกตรง ๆ ว่า ปตท. เป็นฝา่ ยไดเ้ ปรยี บ ท่านสอนผมวา่ บางคร้ังเราไม่ต้อง
ไปโฟกัสทีค่ วามไดเ้ ปรียบของเราเสมอไป บางทีมนั ตอ้ ง win - win ทั้งสองฝ่าย มนั ตอ้ ง fair และอยา่ ไปเอา
เปรยี บเขา ถา้ เราไปเอาเปรียบเขาตงั้ แตต่ น้ แลว้ ทา้ ยทสี่ ดุ คุณจะเหนื่อยในฐานะผบู้ ริหารสัญญา เพราะว่า

229

เอกชนเขาก็จะจอ้ งหาเรอ่ื งคณุ ตลอด จะเอาคนื แกค้ นื กันตลอด การท�าสัญญาแบบ friendly และช่วยเหลอื
กัน ชว่ ยประคับประคองสัญญาให้มนั สิ้นสุดครบเทอมนา่ จะดที ส่ี ดุ นีค่ ือสิง่ ท่ีท่านสอนไวค้ รบั และ ปตท. จะ
สง่ เอกสารไปใหอ้ ยั การตรวจเยอะมาก เนอื่ งจากวา่ ปตท. เปน็ หนว่ ยงานแรกทม่ี กี ารรว่ มทนุ มากทสี่ ดุ ประมาณ
๔๐ - ๕๐ บรษิ ทั ปจั จบุ นั เปน็ รอ้ ยบรษิ ทั ผมเปน็ คนทจี่ ดทะเบยี นบรษิ ทั เหลา่ นน้ั มาตง้ั แตต่ น้ เพราะฉะนน้ั เวลา
ทท่ี า� สญั ญาเสนอสง่ อยั การ ผมกจ็ ะเปน็ คนประสานดา� เนนิ การไป เพราะฉะนนั้ กจ็ ะเหน็ มมุ มองนติ กิ ร โตะ๊ ตน้ ๆ
ท่ีเป็นอยั การชัน้ ต้น เขากจ็ ะมมี มุ มองวา่ อนั นี้ไมไ่ ด้ และไมแ่ นะนา� ว่าจะแกไ้ ขอยา่ งไร ซ่ึงบางทขี อ้ สญั ญา
ทอี่ ยั การบอกว่าไมไ่ ด ้ ไปเจรจากับเอกชนน่เี อกชนที่ไมใ่ หญม่ ากบางทกี ็เฉย ๆ กย็ อมแก ้ แต่ถ้าเป็นบรษิ ัท
ใหญ่ ๆ เช่น บริษทั เชลล์ หรอื คาลเทก็ ซ์เขาก็จะมองว่าทา� ไมเขาตอ้ งยอมรบั เง่อื นไขเหล่านก้ี บั ภาครฐั ทนี ้กี ็
จะเรือ่ งยาว ไม่จบ หรอื สัญญาซอ้ื ขายกา๊ ซธรรมชาติ เขากจ็ ะมองว่าทา� ไมเขาต้องยอมภาครัฐ ตอ้ งแฟร์ ๆ สิ
โดยเงือ่ นไขสากลเขาไมม่ แี บบนี้ ท�าไมประเทศไทยตอ้ งมี ก็จะมมี ุมมองแบบนีเ้ ยอะ
ผมก็กลับเรียนผู้ใหญ่ว่าข้อน้ีอาจไปไม่ได้แล้ว อาจจะต้องเชิญคู่สัญญาเข้ามาพูดคุยกันก่อนไหม?
หรอื บางครง้ั ผมกเ็ ชญิ อยั การเขา้ มารว่ มเจรจาดว้ ย กห็ ลายครง้ั ทที่ างอยั การเขา้ มาชว่ ยแกป้ ญั หาวา่ ทา� ไมไทย
เราถงึ ตอ้ งมีเง่ือนไขแบบนี้ ๆ แตฝ่ รงั่ เขากย็ ังไมเ่ ขา้ ใจวา่ เงื่อนไขโดยทัว่ ไปแล้วสากลเขาไม่มแี บบน ้ี แต่ทา� ไม
ไทยถึงมีอะไรพวกนี้ ยกตัวอย่างง่าย ๆ ในเรื่องกฎหมายน้ัน เราท�าสัญญากับต่างประเทศ เช่น บริษัท
คาลเทก็ ซ์ ซึง่ อยู่อเมริกา หรือบรษิ ัทเชลล์ จ�ากัด ซ่งึ อยูป่ ระเทศเนเธอรแ์ ลนด ์ เวลาท�าสัญญาร่วมทุนหรือ
สัญญาซือ้ ขายผลิตภัณฑ ์ ทางเรากบ็ อกว่าใหใ้ ช้กฎหมายไทย ถ้ามปี ญั หากข็ ึ้นศาลไทย เขาบอกว่ากฎหมาย
ไทยไม่มเี ร่ืองพลงั งานหรือปิโตเลียมสักเทา่ ไร ท�าไมไมใ่ ชก้ ฎหมายทีเ่ ขาใช้เป็นสากล เช่น กฎหมายเท็กซัส
กฎหมายของอังกฤษ หรอื GAS Laws ของฝร่ังเศส เราเองกไ็ ม่ค่อยทราบในกฎหมายพวกนน้ั ก็ต้องคยุ กัน
ท้ายทสี่ ดุ กต็ ้องหาทางออก เชน่ ใช้กฎหมายของประเทศเป็นกลางประเทศท่สี าม หรือมขี นั้ ตอนในเรอ่ื งขอ
อนญุ าตตลุ าการเข้ามาช่วยกอ่ นจะถงึ ข้ันตอนสดุ ท้ายในการบังคับคดกี ัน กจ็ ะเป็นเร่ืองเหลา่ นี้ท่ที ่านไดส้ อน
มา สมัยเราเรียนก็ไม่ได้เรยี นลึกซึง้ ขนาดน ้ี แล้วผมคดิ ว่าทา่ นนา่ จะผา่ นสญั ญาภาครฐั มามาก ไมว่ า่ จะเป็น
สญั ญาซ้อื ขายเครอื่ งบิน สญั ญาซื้อขายอาวุธยุทโธปกรณต์ ่าง ๆ ทา่ นจึงมมี ุมมองจากตา่ งประเทศมาสอน
ผม ผมได้รบั จากท่านเยอะ และรกั ท่านมาก ๆ หลงั จากทีท่ ่านเกษยี ณจากอัยการแล้วก็ยังเชญิ ท่านมาเป็น
วิทยากรสอนท ่ี ปตท.หลายหลักสตู ร”

นอกจากน้ีคุณสุพจน์ได้เล่าถึงเหตุการณ์หน่ึงซ่ึงพิสูจน์ถึงวิสัยทัศน์ของคุณจุลสิงห์ และช่วยปกป้อง
รกั ษาผลประโยชน์ให้แก ่ ปตท. ไวไ้ ด้

“มหี ลายเรอ่ื งทท่ี า่ นไดใ้ หค้ วามเหน็ และสามารถแกไ้ ขปญั หาได ้ บางทโี ครงการใหญ ่ ๆ บางโครงการ
เสนอเข้าไปในช่วงท่ีท่านเป็นบอร์ดอยู่ ต้องยอมรับว่าบางโครงการมันมีความเสี่ยงสูง ท่านก็จะพยายาม
พจิ ารณาวา่ ถา้ มนั มคี วามเสย่ี งสงู อยา่ งน ี้ คณุ ปดิ ชอ่ งโหวข่ องความเสย่ี งไดห้ รอื ยงั ซงึ่ ตอนนนั้ กจ็ ะมกี ลมุ่ คนใน
ผบู้ รหิ ารอกี กลมุ่ หนงึ่ ทต่ี อ้ งการผลกั ดนั โครงการใหผ้ า่ น เพอ่ื จะเอาเงนิ ตวั น้ีไปลงทนุ แตจ่ ากมมุ มองของทา่ น
จุลสิงห ์ ท่านจะดคู วามเส่ียงในทุกจุด ถา้ โครงการไปไมไ่ ด้ ท่านกจ็ ะหาเหตผุ ล บางทีมันอาจจะมขี นั้ ตอน

230

มากขนึ้ เชน่ อาจใหผ้ เู้ ชยี่ วชาญจากตา่ งประเทศมาใหค้ วามเหน็ ทา่ นกจ็ ะทา� เพอ่ื ใหอ้ กี ฝา่ ยหนง่ึ ยอมรบั วา่ มนั
ทา� ไมไ่ ด้จริง ๆ ไมใ่ ชแ่ ค่ค้านแบบไม่มเี หตผุ ล วิธกี ารจะเปน็ แบบน้ี ถา้ หากวา่ ตัวท่านเองผลกั ดนั ไม่ได้ ก็ตอ้ ง
อาศยั ผเู้ ชย่ี วชาญอน่ื ทา่ นจะไมผ่ ลกั ดนั ทรุ งั วา่ ผมไมเ่ หน็ ดว้ ยของทา่ นคนเดยี ว ทา่ นจะไมท่ า� แตท่ า่ นจะทา� ให้
อีกฝา่ ยหน่งึ ยอมรบั วา่ มนั ไปไม่ไดจ้ ริง ๆ เช่น น�าผู้เชยี่ วชาญขา้ งนอก หรอื หาหลักอะไรที่จะมาสนับสนนุ ได ้
อยา่ งกรณที ผี่ มจะยกตัวอยา่ งต่อไปนผ้ี มจะไมเ่ อ่ยช่อื โครงการนะครบั เพราะว่ากระทบกระเทือนกนั
หลายคน โครงการนท้ี า่ นบอกวา่ ความเสย่ี งมนั สงู ตงั้ แตต่ น้ ทางจนถงึ ปลายทางและไมม่ ที างปดิ กนั้ ความเสยี่ ง
ถ้าเสนอโครงการลักษณะอย่างน้ีให้กับ ปตท. ลงทุน อนาคต ปตท. อาจจะมีปัญหา อาจจะล้มท้ังยืน
ก็ได้นะ ก็คุยกัน ท่านก็ให้หาผู้เช่ียวชาญภายนอกเข้ามาให้ความเห็นว่าจะเป็นอย่างไร ซ่ึงผู้เชี่ยวชาญ
กเ็ หน็ ด้วยวา่ มนั มชี ่องโหว่ คอื จะไปลงทุนในตา่ งประเทศ คือท่อี เมริกา ลงทนุ สูงมาก และถ้าดจู ากธุรกจิ ใน
ยคุ ปจั จบุ นั จะเหน็ เลยวา่ ทา่ นคาดการณ์ไว้ถกู ต้อง ธุรกิจมันเปล่ยี นไปจรงิ ๆ หาก ปตท. ไปลงทุนตอนน้ัน
ปา่ นน ้ี ปตท. คงขาดทุนแล้ว ท่านคดิ ถูก สรปุ วา่ ทา่ นได้ย่นื ข้อเสนอความคิดเหน็ ของท่านและนา� ความเหน็
จากผเู้ ชย่ี วชาญมาใหค้ วามเหน็ ประกอบตอ่ บอรด์ ฝา่ ยทพ่ี ยายามจะผลกั ดนั โครงการกไ็ มร่ จู้ ะอา้ งเหตผุ ลอะไร
สุดทา้ ยบอรด์ กต็ ัดสนิ ใจไม่ผา่ นโครงการ”

นี่คือความเป็น “สิงห์ใหญ่” นักกฎหมายท่ีโดดเด่นในแวดวงการพลังงานของคุณจุลสิงห์ที่ปรากฏ
ชัดเจน และเหนือสิ่งอื่นใด ทุกวันน้ีแนวทางการท�างานของท่านได้กลายเป็นแนวทางให้แก่ฝ่ายกฎหมาย
ของ ปตท. เป็นการสบื ทอดเจตนารมณแ์ ละวธิ กี ารท�างานอนั เป็นประโยชนข์ องท่านไวท้ ี่ ปตท. ตลอดไป ดงั
ทคี่ ุณสุพจนไ์ ด้กล่าวสรุปในทา้ ยทสี่ ุดว่า

“ทุกวันน้ีผมสอนลูกน้องว่าเวลาคุณท�าสัญญา คุณอย่าไปเอาเปรียบเขา ถ้าคุณต้องการให้สัญญา
มัน smooth และจบลงด้วยดีทั้งสองฝ่าย ไปด้วยกันท้ังคู่ให้มันเสมอภาคกัน อย่าไปเอาเปรียบมาก
เกินไป ความจริงภาครัฐจะเป็นการปิโตเลียมหรือเป็น ปตท. ในปัจจุบัน เวลาจะเจรจาสัญญาส่วนใหญ่
จะเอาเปรียบคู่สัญญาอีกฝ่ายเพ่ือเราจะได้ประโยชน์สูงสุดของภาครัฐ แต่ปัจจุบัน สถานะของ ปตท.
ไมใ่ ชอ่ งค์การอีกแลว้ แตเ่ ป็นบริษทั มหาชน เอกชนเขาก็ไม่ไดค้ ดิ ว่าคุณเปน็ ราชการแลว้ คุณก็ตอ้ งถอยลง
มาในบางจดุ คุณจลุ สิงห์ท่านเปน็ ราชการนะ ในมุมมองของท่านนา่ จะยึดตามหลกั เหตุผล นา่ จะ strong
ยดึ แนวของราชการวา่ ตอ้ งไมย่ อม แตท่ า่ นกม็ องออกนะวา่ ถา้ คณุ ไปอยา่ งน ้ี เหมอื นคณุ ไปบงั คบั เขา ทา้ ยทส่ี ดุ
สญั ญามนั จบไมไ่ ดด้ ว้ ยด ี ทา่ นจะแนะนา� เสมอวา่ อะไรที่ยอมรับได้ และรฐั ไม่เสียหาย ก็ใหห้ าเหตุผลชีแ้ จง
ผู้ใหญ่ไปว่าตรงน้ีควรจะแก้ไขหรืออะไรท่ีมันเป็นสากล และประเทศไทยเราเป็นประเทศเดียวท่ียังยืนยันว่า
ไมเ่ อาสากลแต่จะเอาแบบนี้ มนั ตอ้ งมเี หตผุ ลว่าทา� ไม ไม่เชน่ น้นั ไปตอบเขาไม่ได ้ แลว้ คณุ จะบอกว่าจะไป
global แตว่ ่าคณุ ยังยดึ กติกาเกา่ ๆ อยู่ อย่างนม้ี ันไมไ่ ด้”

231

“ลกู ผชู้ าย ทกี่ ลา้ คดิ กลา้ ทา� กลา้ รบั ผดิ ชอบ”

คณุ ดสิ ทตั โหตระกติ ย ์ เลขาธกิ ารนายกรฐั มนตร ี กลา่ วถงึ “พจ่ี ลุ สงิ ห”์ ดว้ ยประโยคดงั กลา่ วขา้ งตน้
ในฐานะรนุ่ นอ้ งคณะนติ ศิ าสตร ์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั และในฐานะทค่ี รง้ั หนง่ึ ไดเ้ คยทา� งานรว่ มกนั ทค่ี ณะ
กรรมการกฤษฎกี า เม่ือครั้งที่คุณดสิ ทตั ด�ารงตา� แหน่งเลขาธกิ าร คณะกรรมการกฤษฎีกา
จากจุดเริ่มต้นท่ีได้พบกันเป็นคร้ังแรกที่ชมรมกอล์ฟ คณะนิติศาสตร์ จุฬาฯ ความประทับใจ
ในวนั นน้ั ยงั คงอยใู่ นความทรงจา� เพราะ “เสอ้ื ตวั หนง่ึ ” ทไี่ ดร้ บั มอบจากคณุ จลุ สงิ ห ์ ไดก้ ลายเปน็ ความรสู้ กึ
ด ี ๆ ทมี่ ตี อ่ รนุ่ พผ่ี มู้ หี วั ใจเปน็ “สงิ ห์ใหญ”่ ทา่ นนี้

“ผมเปน็ นติ ศิ าสตร ์ จฬุ าฯ รนุ่ ๑๙ หลงั จากนน้ั กไ็ ดท้ นุ รฐั บาลไปเรยี นตอ่ ทฝี่ รง่ั เศส พอกลบั มา ผมก็
สอบเข้ารับราชการที่กฤษฎีกา ตอนน้ันพี่จุลสิงห์ก็มีต�าแหน่งใหญ่โตแล้วในส�านักงานอัยการสูงสุด ผมได้
เจอท่านคร้ังแรกหลังจากเคยได้ยินช่ือเสียงท่านมานาน ท่ีชมรมกอล์ฟนิติศาสตร์ จุฬาฯ ซึ่งตอนน้ัน
ยงั เปน็ ชมรมเลก็ ๆ อยเู่ ลย วนั หนงึ่ ทไ่ี ปทส่ี นามกอลฟ์ พจี่ ลุ สงิ หก์ เ็ อาเสอ้ื ของชมรมกอลฟ์ มามอบใหผ้ มดว้ ย
ตัวเอง เส้ือตัวนั้นผมยังเก็บจนทุกวันน้ี เป็นเสื้อท่ีท�าให้เกิดความภาคภูมิใจและผูกพันว่า ท่านได้ต้อนรับ
เราอย่างให้เกียรติ ชมรมกอล์ฟสมัยนั้นที่ผมเข้ามาแล้วได้รับมอบเสื้อเนี่ยเป็นชมรมกอล์ฟเล็ก ๆ คือไม่
ได้มีการแจกรางวัลใหญ่โต สนามก็ไม่ได้ตีดี ๆ แต่ว่าพ่ีจุลสิงห์ก็หาของแจก ของรางวัลมาแจกน้อง ๆ
แลว้ นอ้ ง ๆ ทกุ คนกช็ ว่ ยกนั ตงั้ แตน่ บั score จดั เลย้ี งทกุ อยา่ งทา� กนั เองหมดเลย ทผ่ี มประทบั ใจพจ่ี ลุ สงิ หค์ อื
เมอ่ื ทา่ นมอบเสอื้ ชมรมกอลฟ์ ใหผ้ ม ตง้ั แตว่ นั นน้ั เปน็ ตน้ มา เมอ่ื ผมเตบิ โตขน้ึ มามศี กั ยภาพ ผมทา� แบบพจ่ี ลุ สงิ ห์
ในชมรมกอลฟ์ ผมไปจดั ทา� เสอ้ื มามอบนอ้ ง ๆ ทกุ คนในชมรมนะ มอบใหแ้ บบพจ่ี ลุ สงิ หท์ า� แลว้ ผมกพ็ ดู ในงาน
ดว้ ยนะวา่ ทผ่ี มทา� เพราะผมไดแ้ นวทางและความประทบั ใจจากพจี่ ลุ สงิ หท์ เี่ คยทา� ใหน้ อ้ ง ๆ ไมใ่ ชก่ บั ผมคนเดยี ว
ดว้ ยนะ แตผ่ มเปน็ หนง่ึ ในนนั้ ทไี่ ดร้ บั และผมไมล่ มื และผมกอ็ ยากใหน้ อ้ ง ๆ ทกุ คนทา� แบบน ้ี คอื รนุ่ พด่ี แู ลรนุ่
นอ้ งตามศกั ยภาพ แจกนา�้ มนั เครอ่ื งบา้ ง แจกรม่ บา้ ง แจกสารพดั ตามศกั ยภาพของตวั เองทไี่ มต่ อ้ งไปพงึ่ ใครให้
เดอื ดรอ้ น แกทา� ทกุ อยา่ ง แลว้ นอ้ ง ๆ กม็ าตกี อลฟ์ ดว้ ยความสนกุ เพราะวา่ ไดร้ บั ความเปน็ กนั เองจากรนุ่ พ ่ี มนั
เปน็ สง่ิ ทผี่ มไมเ่ คยลมื ”

หลงั จากนนั้ เปน็ ตน้ มา คณุ ดสิ ทตั ไดม้ โี อกาสพบเจอและทา� งานประสานกนั กบั คณุ จลุ สงิ หอ์ กี หลายครง้ั
และสงิ่ ทไี่ ดส้ มั ผสั กค็ อื “การทา� งานแบบลกู ผชู้ าย”

“ผมท�างานท่ีส�านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา แต่เนื่องจากมันเป็นแวดวงกฎหมายทั้งคู่ระหว่าง
สา� นกั งานอยั การสงู สดุ กบั กฤษฎกี านะครบั พอไดท้ า� งานดว้ ยกนั เวลามเี รอื่ งอะไร พจี่ ลุ สงิ หก์ จ็ ะโทรศพั ทม์ า
ถามความเหน็ ผม ทกุ ครง้ั ทที่ า่ นถามความเหน็ ผม ทา่ นจะถามตรง ๆ เลย ทา่ นจะบอกหมดเลยวา่ ทา่ นจะถาม
ความเหน็ ผมไปทา� ไม เพราะอะไร บางครง้ั ทา่ นจะถามความเหน็ ผมโดยเปดิ Speaker phone ใหล้ กู นอ้ งทนี่ งั่
ประชมุ ทา� งานอยกู่ บั ทา่ นไดย้ นิ กนั หมดทกุ คนเลย มนั แสดงถงึ ความจรงิ ใจสา� หรบั ผมนะครบั วา่ สง่ิ ทผี่ มพดู น ี้

232

ทกุ คนไดย้ นิ ตามทผี่ มพดู คอื ทา� งานกนั แบบลกู ผชู้ าย ทา่ นบอกวา่ เรอื่ งนท้ี า่ นไมม่ คี วามเชยี่ วชาญนะ อยากจะ
ฟงั ความเหน็ นอ้ งหนอ่ ย พอผมพดู ทา่ นใหเ้ กยี รตมิ ากวา่ เปน็ ความเหน็ จากคนทผ่ี มไวใ้ จ ทา่ นบอกวา่ ขอเปดิ
speaker ใหค้ นรว่ มประชมุ ผมฟงั ดว้ ย หรอื บางครง้ั ทคี่ วามเหน็ ไมต่ รงกนั ทา่ นกบ็ อกตรง ๆ วา่ พเ่ี หน็ อกี อยา่ ง
หนงึ่ นะ แตว่ า่ ทกุ อยา่ งเราสองคนทา� งานตามระบบ ในทส่ี ดุ แลว้ จะเปน็ อยา่ งไรเรากเ็ คารพเสยี งสว่ นใหญ ่ ไมว่ า่
จะเปน็ คณะกรรมการกฤษฎกี า หรอื คณะกรรมการคณะใด ๆ กต็ าม
เมอื่ ผมเปน็ เลขาฯ กฤษฎกี า ผมเหน็ ความรคู้ วามสามารถของพจ่ี ลุ สงิ หใ์ นทกุ ๆ เรอื่ ง ผมจงึ ขอใหท้ า่ น
มาเปน็ กรรมการกฤษฎกี า ทา่ นกร็ บั เปน็ ผมรสู้ กึ ดใี จมากทที่ า่ นมาเปน็ กรรมการกฤษฎกี า เพราะทา่ นเปน็ ผทู้ ม่ี ี
ประสบการณม์ าก และมคี วามเชยี่ วชาญในหลาย ๆ เรอื่ ง”

ด้วยเหตุนี้จึงเป็นท่ีมาของการด�ารงต�าแหน่งกรรมการกฤษฎีกาของคุณจุลสิงห์หลังจากลาออก
จากราชการ และเมอ่ื ไดท้ า� งานรว่ มกนั ตลอดจนไดแ้ ลกเปลยี่ นมมุ มอง ความคดิ เหน็ ตา่ ง ๆ ซง่ึ กนั และกนั คณุ
ดสิ ทตั สรปุ ถงึ ความเปน็ “พจ่ี ลุ สงิ ห”์ ไวด้ งั นี้

“ในความรสู้ กึ ของผม พจี่ ลุ สงิ หเ์ ปน็ คนทเ่ี ปน็ ลกู ผชู้ าย เปน็ คนทก่ี ลา้ คดิ กลา้ ทา� กลา้ รบั ผดิ ชอบ คอื
เมอ่ื คดิ ทา� สงิ่ ใดไมว่ า่ จะเปน็ ไปตามกระแสสงั คมหรอื กระแสขอ้ ขดั แยง้ ไปในทางใดทางหนงึ่ แตแ่ กไมเ่ คยปดิ บงั
หนทางหรอื ความคดิ ของแก เปน็ คนเปดิ เผย แลว้ กพ็ รอ้ มทจ่ี ะยนื ยดื อกรบั ผดิ ชอบวา่ ผมคดิ แบบน ้ี ผมทา� แบบน้ี
เพราะเหตอุ ยา่ งน ี้ ผมจงึ มภี าพพจนข์ องพจ่ี ลุ สงิ หใ์ นใจอยา่ งนม้ี าตลอดเลย ไมว่ า่ บางเรอื่ งผมจะเหน็ ดว้ ยหรอื
ไมเ่ หน็ ดว้ ยกบั ทา่ นกแ็ ลว้ แต ่ แตผ่ มเคารพคนแบบน ้ี คนทกี่ ลา้ ยดื อกขนึ้ มารบั ผดิ ชอบและประกาศตวั เองวา่ เปน็
คนคดิ และตดั สนิ ใจทา� อยา่ งนด้ี ว้ ยเหตผุ ลอยา่ งน ้ี ซง่ึ ทกุ คนตา่ งมเี หตผุ ล แตว่ า่ มนั อาจจะตา่ งกนั ในทางเลอื ก
แตพ่ จี่ ลุ สงิ หไ์ มเ่ คยปดิ บงั แลว้ ผมประจกั ษอ์ ยเู่ สมอวา่ ทกุ อยา่ งทท่ี า่ นคดิ และทา� นนั้ เปน็ ไปเพอื่ การใดการหนงึ่ ใน
สามอยา่ งน ี้ หนงึ่ เปน็ สงิ่ ทเี่ ปน็ ธรรม อาจไมถ่ กู ใจใคร แตว่ า่ ตอ้ งมคี วามเปน็ ธรรมนะครบั สอง เปน็ ประโยชนต์ อ่
สงั คม เชน่ สงั คมจฬุ าฯ ทพ่ี จ่ี ลุ สงิ หร์ กั และพยายามสรา้ งความแขง็ แกรง่ ใหน้ อ้ ง ๆ ในจฬุ าลงกรณใ์ หท้ า� งานเพอ่ื
ประโยชนข์ องสถาบนั เปน็ ตน้ และสาม เปน็ ประโยชนต์ อ่ สถาบนั ชาต ิ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ”์

และหนง่ึ ในสามสง่ิ น ้ี คอื สง่ิ ทค่ี ณุ จลุ สงิ หไ์ ดฝ้ ากฝงั ไวก้ บั คณุ ดสิ ทตั กอ่ นจะจากไป

“กอ่ นพจี่ ลุ สงิ หจ์ ะเสยี ชวี ติ ไดโ้ ทรศพั ทม์ าฝากฝงั ผมใหด้ แู ลสมาคมนสิ ติ เกา่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั หรอื ท่ี
เรยี กวา่ สนจ. เพราะวา่ ทา่ นรกั มาก ทา่ นเปน็ หว่ งเรอ่ื งความขดั แยง้ บางประการทเ่ี กดิ ขน้ึ ในสมาคมฯ ทา่ นโทร.มา
หาผม ๔ ครงั้ ในเวลาไมเ่ กนิ วนั สองวนั ฝากฝงั วา่ อยากใหผ้ มชว่ ยมาเปน็ ทป่ี รกึ ษาดว้ ย เพราะรวู้ า่ มาเปน็ กรรมการ
ประชมุ อาจจะไมส่ ะดวก งานเยอะ หลงั จากนนั้ ผมไมไ่ ดข้ า่ วจากทา่ น จนทา้ ยทสี่ ดุ ผมไดข้ า่ วจากภรรยาทา่ นวา่
พจี่ ลุ สงิ ห์ไมส่ บาย จนกระทง่ั ทา่ นเสยี ชวี ติ การจากไปของทา่ น ผมเสยี ใจทสี่ ดุ เสยี ใจทไ่ี ดส้ ญู เสยี รนุ่ พที่ ม่ี บี คุ ลกิ
สงา่ งาม และเปน็ ตน้ แบบของรนุ่ พจ่ี ฬุ าฯ ทผี่ มภาคภมู ใิ จมาก พดู ถงึ ผมยงั นา�้ ตาไหลนะ พจ่ี ลุ สงิ หเ์ ปน็ ชายชาติ
อาชาไนยคนหนง่ึ ทผี่ มเคารพ”

233

บทที่ ๑o

ผู้เปน็ ท่ีรกั

เมอ่ื พ้นจากตา� แหน่งอัยการสูงสุดและลว่ งเข้าสู่วัยเกษยี ณแลว้ คุณจลุ สงิ หไ์ ด้มโี อกาสทา� ในหลายสงิ่
ท่ีปรารถนาไว้แต่ไม่มีโอกาสได้ท�ามาก่อน ขณะเดียวกันก็ยังได้รับความสุขใจจากชีวิตครอบครัวท่ีสมบูรณ ์
น่ันคือ การเริ่มต้นสร้างครอบครัวของ ศิวัช วสันตสิงห์ บุตรชาย น�ามาซ่ึงสมาชิกใหม่ของครอบครัว

งานแต่งงานเอก๊ กับโน้ต

234

ใน พ.ศ. ๒๕๕๗ มงี านมงคลทคี่ ณุ จลุ สงิ ห์
มคี วามสขุ และปลาบปลมื้ อยา่ งยงิ่ คอื เมอื่ บตุ ร
ชายได้เขา้ พธิ มี งคลสมรสกับ ภัทรนิ ชุณหวงศ์
(โน้ต) บุตรีของ พล.ต.ต. ชาญ และคุณขนิษฐา
ชุณหวงศ์ ทั้งนี้คุณภัทรินมีศักด์ิเป็นหลานลุง
ของ พลอากาศเอก ชลติ พกุ ผาสกุ องคมนตรี

คุณภัทรา วสันตสิงห์ ได้เล่าถึงช่วง
เวลาน้ันว่า ส�าหรับคุณจุลสิงห์แล้ว น่ันคือช่วง
เวลาท่ี “ชีวิตครอบครัวสมบูรณ์ที่สุด”

“หลงั จากลกู ชายแตง่ งานแลว้ คณุ จลุ สงิ ห์
ก็ถามเสมอว่าเมื่อไรจะมีหลานให้พ่อ ในท่ีสุด
คุณจุลสิงห์ก็ได้หลานสมใจ เป็นหลานชาย
ชอ่ื เลน่ วา่ สงิ ห ์ เกดิ เมอื่ เดอื นพฤศจกิ ายน ๒๕๕๙
คุณจุลสิงห์รักหลานมาก และบอกเสมอว่า
ปู่จะอยู่จนสิงห์เข้ามหาวิทยาลัย ช่วงน้ันคุณ
จุลสิงห์มีความสุขมาก เพราะชีวิตครอบครัว
สมบูรณ์ที่สุด คือมีลูกซ่ึงประสบความส�าเร็จ
ในการท�างานทั้ง ๒ คน มีหลานชายมาเติม
เต็มความสุขให้ เมื่อใดก็ตามท่ีมีเวลาว่างคุณ
จุลสิงห์จะไปเย่ียมหลานชายอยเู่ สมอ เปน็ ชว่ ง
๒ ปคี รง่ึ ทค่ี ณุ จลุ สงิ หม์ คี วามสขุ มาก เปน็ คณุ ปู่
ท่ีตามใจหลานมาก ขณะเดียวกันก็อยากได้
หลานคนท ี่ ๒”

เมอ่ื ปลาย พ.ศ. ๒๕๖๑ ครอบครวั วสนั ตสงิ ห์
ได้รับพระกรุณาธิคุณจาก สมเด็จพระอริยวง
ศาคตญาณ (อัมพร อมฺพโร) ประทานชื่อจริง
แก่หลานชายของคุณจุลสิงห์ว่า “ปัญญ์”

ฉลองวนั คลา้ ยวนั เกิดของ ด.ช.ปญั ญ์ วสันตสิงห์ ครบ ๒ ขวบ

235

ภาพที่ระลกึ ของการเดินทางคร้งั สาำ คัญ

นอกจากความปรารถนาในเร่ืองชีวิตครอบครัวแล้ว ใน พ.ศ. ๒๕๕๘ คุณจุลสิงห์ได้ท�าในส่ิงท่ี
มุ่งหวังไว้มานานมากแล้ว นั่นคือ การได้ไปล่องเรือส�าราญท่ีทะเลเมดิเตอร์เรเนียนกับคุณภัทรา ภรรยา
การเดินทางในครั้งนั้นเป็นความสุขและความทรงจ�าท่ีงดงามเสมอทุกคร้ังที่ระลึกถึง ดังที่คุณภัทราได้เล่า
ถึงเหตุการณ์ในครั้งน้ันว่า

“ท่านอยากไปล่องเรือมาก ท่านไม่เคยไปเที่ยวเรือเลย ท่านไม่ได้ฟังใครเขามา แต่อยากลองดู
อยากลอ่ งเรือ เราก็เลยเลือกทริปไปเมดเิ ตอร์เรเนยี น ทา่ นมีความสุขมาก เพราะทา่ นไม่เคยมีชีวิตแบบนั้น
นอนที่เดียว ไม่ต้องย้ายท่ีนอนเลย เช้าก็ได้ไปเท่ียว เข้าไปดูแต่ละเมือง ๆ เป็นอะไรที่ท่านสนุกมาก
ชอบมาก และอยากท�าอีก พอมา พ.ศ. ๒๕๖๒ ดิฉันหาทริปให้ท่านไป เราจะไปล่องเรือแม่น้�า ซ่ึงจะม ี
ในเดือนตุลาคมน้ี ก็จองด้วยวาจาไปแล้ว เพราะว่านึกว่าตอนท่ีท่านผ่าตัดแล้วจะดีข้ึน ไม่มีอะไร นึกว่า
สิ้นปีจะไปได้ ในที่สุดเดือนพฤษภาคมเราก็รู้แล้วว่าไปไม่ได้แน่นอน...”

236

ภาพแห่งความสุข

237

หลังพน้ จากตา� แหน่งอยั การสงู สุดในวันท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๖ เป็นเวลาที่คณุ จลุ สิงห์ได้ใช้
ชีวิตเพ่ือท�าบางส่ิงบางอย่างท่ีเคยอยากท�ามาตลอด ควบคู่ไปกับการด�ารงต�าแหน่งกรรมการและท่ีปรึกษา
ในหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนมากมาย อาทิ กรรมการกฤษฎีกา กรรมการบริหารทรัพย์สิน
จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั อนญุ าโตตลุ าการ กรรมการอสิ ระและกรรมการตรวจสอบ บรษิ ทั ไทยออยล ์ จา� กดั
(มหาชน) ที่ปรึกษาบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ ฯลฯ ด้วยเหตุนี้ตารางเวลาในชีวิตของท่านจึงยังคงเต็ม
แน่นอยู่ไม่เปล่ียนแปลง

Visut House - Ari
“passion ของพ่อ ที่มาจาก passion ของลูก”

มีงานสองอย่างที่คุณจุลสิงห์ทุ่มเทท�าอย่างมีความสุขเป็นพิเศษ งานแรกคือ การท�า Hostel
ย่านหลานหลวงในชื่อ Visut House หรือบ้านวิสุทธ ดังที่คุณภัทราได้เล่าให้ฟังว่าท่านลงมือท�าทุกอย่าง
ด้วยตนเองเกือบทุกอย่าง

“ท่านอยากท�า Hostel เนื่องจากท่านมีตึกแถวอยู่ที่หลานหลวง แล้วออนก็เป็นต้นคิด บอกว่าออน
อยากมี Hostel หลังจากน้ัน ๓ - ๔ ปี พ่อก็เริ่มท�า Hostel เน่ืองจากท่านรู้ว่าตรงน้ันจะมีรถไฟฟ้ามาลง
ท่านก็เลยนึกถึงตึกแถวตรงหลานหลวงที่มีอยู่ ๔ ห้อง ท่านเร่ิมท�า Hostel พ.ศ. ๒๕๖๐ ช่ือ Visut House
บา้ นวสิ ทุ ธ เอามาจากชอื่ พระยาวสิ ทุ ธสรุ ยิ ศกั ด ิ์ บรรพบรุ ษุ ของทา่ น และบา้ นวสิ ทุ ธคาม เปน็ ชอ่ื บา้ นเดมิ ของ
ท่าน ท่านลงแรงเองทุกอย่าง ดูแลเอง คุมงานเอง มีความสุขมากในการท�า แล้วก็เสร็จในช่วงวันเกิดท่าน
ทา่ นไดไ้ ปทา� บญุ ทบ่ี า้ นวสิ ทุ ธและฉลองวนั เกดิ ดว้ ย แต ่ Visut House เปดิ จรงิ ๆ ในเดอื นกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
การบริหารงานท่านดูแลเองหมด บางอย่างก็จ้างคนมาท�า แต่ว่าท่านไปดูเองทุกอย่าง แม้แต่ผ้าเช็ดตัว
ก็เลือกเอง ลายปักก็เลือกเอง”

คุณศิวัช หรือคุณเอ๊ก บุตรชายเล่าเสริมถึงแรงบันดาลใจในการท�างานนี้ของคุณพ่อว่า
“ผมคิดว่าคุณพ่อน่าจะรู้สึกว่าท�าราชการมาตลอด พอเป็นบอร์ดรัฐวิสาหกิจ ของบริษัทต่าง ๆ
คุณพ่อก็เอ็นจอยกับภาคธุรกิจเหมือนกัน เขาก็อยากลองจะท�า คือเดิมเขาท�างานบริหารมาแต่ท�าด้าน
กฎหมาย เหมือนทุกอย่างพ่อจะได้ออกความเห็น ก็เลยรู้สึกว่าน่าจะลองเอาประสบการณ์นี้มาลองท�า
รู้สึกว่าเป็นส่ิงที่ตัวเองไม่เคยท�าก็เลยอยากจะท�า แต่ถ้าถามว่ามี passion อยากท�า hostel เลยไหม ก็ไม่เชิง
ผมคิดว่าเป็น passion ในการอยากท�าธุรกิจมากกว่า แต่มันไม่เวิร์ค เพราะคุณพ่อใจดี เช่น จริง ๆ แล้ว
hostel เล็ก ๆ จ้างแม่บ้านคนเดียวพอ แม่บ้านบอกมีลูกคนหน่ึงต้องเดินทาง พ่อก็เลยจ้าง ๒ คน
เช้า - เย็น กลางคืนมีท�าไมแม่บ้าน คือด้วยความใจดี ตอนหลังระหว่างที่คุณพ่อป่วย ผมกลับมาบริหาร
อยู่รอบหนึ่งแต่ว่ารู้สึกว่าคนอื่นท�าได้ดีกว่าเรา ก็ให้มืออาชีพเขามาท�า”

238

ปัจจุบัน Visut House ก็ยังคง ฉลองวนั เกิดที่ Visut House
ด�าเนินกิจการอยู่ โดยให้มืออาชีพมา
เปน็ ผบู้ รหิ าร นอกจาก Visut House แลว้
งานท่ีสองท่ีคุณจุลสิงห์ทุ่มเทท�าด้วย
ความสุข อย่างที่ภาษาอังกฤษเรียกว่า
มี Passion ก็คือ ร้าน Ari ซึ่งเป็นร้าน
ขายรองเท้าฟุตบอลของคุณศิวัช เรียก
ว่าเป็น “passion ของพ่อ ท่ีมาจาก
passion ของลูก” ดังท่ีคุณภัทราได้
กล่าวไว้

“ที่ท่านชอบท�าและท�าเยอะคือ Ari เป็นการริเร่ิมของเอ๊กเอง เอ๊กเป็นคนชอบฟุตบอล เลยมี
ด�าริที่อยากจะเปิดร้านฟุตบอล พ่อก็เห็นด้วย ร้าน Ari ร้านแรกเปิดเม่ือวันท่ี ๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๒
ท่ีทองหล่อ ร้านเล็ก ๆ คุณจุลสิงห์มี passion ตรงน้ีมากกับลูก ช่วยลูกทุกอย่างไม่ว่าจะเป็นอะไรก็ตาม
ก็ขยายมาเร่ือย ๆ เพราะฉะน้ันจนถึงปีท่ีแล้วท่ีเป็นปีครบรอบ ๙ ปี พ่อก็มีความสุขที่ว่าลูกก็ได้มีอะไรท่ี
ชอบและท�าได้ดี”

Ari Football Concept Store คือบทพิสูจน์ถึง passion และความตั้งใจของคุณศิวัชที่อาจกล่าว
ได้ว่าเหนือความคาดหมายของคุณจุลสิงห์

“Ari เริ่มต้นมาจากท่ีผมชอบฟุตบอล แล้วเราอยากเปิดร้านรองเท้าฟุตบอล แต่เพ่ือนคุณพ่อทุกคน
บอกว่าอย่าท�าเลย เสียเวลา ท�าไปก็เหน่ือย ขายรองเท้าท�าไม คุณพ่อเองก็อยากให้เราท�าราชการ แรก ๆ
ต้องยอมรับว่าคุณพ่อไม่ได้เห็นด้วย คุณพ่อค่อนข้างจะเสียดายโอกาสและเวลาที่เราไปเรียนหนังสือ
เหมือนเอ๊กจบปริญญา ๓ ใบ เขาก็เสียดายว่าท�าไมมาทิ้งกับธุรกิจ ถ้าเลือกได้เขาก็อยากให้เราไปท�า
ราชการแหละ แตส่ ดุ ทา้ ยเขากเ็ คารพการตดั สนิ ใจของเรา ซง่ึ พอ่ กอ็ ยากใหเ้ ราทา� ราชการใจจะขาด แตเ่ ขาก็
โอเค เงนิ ก้อนแรกที่มาท�า คุณพอ่ ให้มา ๑ ลา้ นบาท ซงึ่ ผมเชอ่ื ว่าคุณพ่อคดิ วา่ มนั จะเจ๊งภายในเวลาอันสน้ั
เขาบอกเลยนะว่า ถ้ามันเจ๊งก็กลับไปท�างานราชการไป เวลาเขาเจอคนอ่ืน เขาก็จะบอกว่า อุตส่าห์เรียน
จบมาแล้วมาขายรองเท้า เขาก็จะแอบเสียดาย เราก็รู้สึกได้ แต่เหมือนเขาเคารพความคิดเรา เขาอยากให้
เราท�าให้สุด เขาจะเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยก็อีกเร่ือง
ที่ผ่านมาผลประกอบการของเราก็ถือว่าอยู่ได้ จริง ๆ โดยส่วนตัวเห็นว่าอาจจะเป็นข้อเสียของ
การท�าธุรกิจเพราะว่าคุณพ่อหรือเราไม่เคยอยากรวย เราก็ท�าพอประมาณ ทุกคนอยู่ได้ จะว่าดีก็ดี จะว่า
ไม่ดีมันก็พูดยาก เพราะเราไม่ได้ค้าก�าไรเกินควรสักอย่าง ก็เลยพออยู่ได้แบบไม่ต้องคิดอะไรมาก

239

และคุณพ่อสอนว่า หนึ่ง ไม่โกงใคร สอง เราไม่เอาเปรียบคนอ่ืน จริง ๆ มันอาจจะผิดหลักการท�าธุรกิจ
แต่มันก็เป็นการใช้ชีวิตที่เราโอเค เรามีความสุข เราไม่ได้ท�าร้ายใคร คนรอบ ๆ ข้างท่ีท�างานมีความสุข
ถ้าคุยกับลูกน้องผม ทุกคนก็จะ happy กับพ่อ พ่อจะเป็นคนท่ีใจดีมาก ๆ”

เปิดรา้ น Ari ทีส่ ยามสแควร์ Ari สาขาอุดรธานี

Ari สาขาชลบรุ ี ดร.ครุ จุ ติ และคณุ จลุ สงิ ห์ เปน็ พรเี ซนเตอรก์ ติ ตมิ ศกั ด์ิ
ใสร่ องเทา้ จาก Ari Running
240

ปัจจุบัน Ari เป็นร้านขายอุปกรณ์ฟุตบอล ออนรบั ปรญิ ญาโททค่ี อรแ์ นล
แบบครบวงจรของไทยที่ประสบความส�าเร็จเป็น
อย่างมาก และได้ขยายกลุ่มธุรกิจไปเป็นร้านรองเท้า 241
วิ่ง รา้ นตัดผม ธุรกจิ เส้ือผ้า ฯลฯ นบั เป็นความภาค
ภมู ิใจอย่างยิ่งของคุณจุลสิงห์ ขณะที่บุตรสาวคือคุณ
ณฏั ฐา ปจั จบุ นั รบั ราชการทก่ี ระทรวงการตา่ งประเทศ
ในต�าแหน่งเลขาฯ เอก สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุง
กัวลาลัมเปอร์ ก็ได้เป็นข้าราชการดังท่ีคุณจุลสิงห์มุ่ง
หวังไว้

คุณภัทราเล่าถึงความรักและความภาคภูมิใจ
ของคุณจุลสิงห์ท่ีมีต่อลูกท้ัง ๒ คนว่า

“มาถงึ จดุ นอ้ี ยา่ งเอก๊ กท็ า� งานของเขา แลว้ ออน
ไดเ้ ปน็ ขา้ ราชการใหเ้ ขาคนหนงึ่ เขากแ็ ฮปปแ้ี ลว้ เขากม็ ี
ความสุข และภูมิใจในตัวลูกทั้งคู่ เพราะเขาถือว่าลูก
ประสบความส�าเร็จแล้ว”

ขณะทคี่ ณุ ณฏั ฐาเลา่ ถงึ เรอ่ื งราวระหวา่ งพอ่ - ลกู
ไวว้ า่ แมว้ า่ จะไมไ่ ดเ้ ดนิ บนเสน้ ทางชวี ติ ทพ่ี อ่ มงุ่ หวงั ไว้
ทุกอย่าง แต่เธอเปรียบเสมือนต้นไม้ท่ีพ่อปลูกไว้ให้
งอกงามได้ในวิถีทางของตนเอง

“ก็คิดว่าพ่อคงหายห่วงที่ออนเข้ากระทรวง
การต่างประเทศได้ เพราะว่าอายุแค่ ๒๓ อีกเร่ืองหนง่ึ
ที่คิดว่าพ่อภูมิใจคือออนสอบเนติบัณฑิตได้ในปีเดียว
คือพ่อบอกว่าไม่เคยคิดเลยว่าจะได้ แต่บอกเลยว่า
สอบเนติบัณฑิตเพื่อพ่อ เพราะไม่ได้คิดจะเป็นอัยการ
เลย แต่ขอเข้ากระทรวงการต่างประเทศแล้วหลังจาก
นั้นพ่อก็แพลนให้ไปเรียนโท ๒ ใบ ใบแรกของออน
คือการได้รับทุนพัชรกิติยาภาของเนติบัณฑิตยสภา
ไปเรยี นกฎหมายอเมรกิ นั (LLM) ทม่ี หาวทิ ยาลยั คอรแ์ นล
วันรับปริญญา พ่อ แม่ และพี่เอ๊ก ไปร่วมแสดงความ
ยินดีกับออนด้วย

ออนรบั ปรญิ ญาโทใบทส่ี องทนี่ ิวยอร์ก

ส�าหรับปริญญาโทใบที่ ๒ ออนได้รับทุนของกระทรวงพลังงานไปเรียนปริญญาโทด้านกฎหมาย

ระหว่างประเทศ ท่ีมหาวิทยาลัยนิวยอร์ก ซึ่งวันรับปริญญา พ่อกับแม่ก็ไปแสดงความยินดีกับออนอีก

ครั้งหนึ่ง

...พอ่ อยากใหอ้ อนเปน็ อยั การ แตอ่ อนคดิ วา่ ตวั เองไมเ่ หมาะ ออนกเ็ ลยบอกพอ่ วา่ ออนขอโทษพอ่ นะ

ขอไมส่ อบ แลว้ พอ่ กโ็ อเค พอเขา้ กระทรวงการตา่ งประเทศ พอ่ เปน็ คนบงั คบั ใหอ้ อกประจา� การ ตอนนน้ั ออน

บอกไมอ่ ยากออกประจา� การ อยากอยกู่ รงุ เทพฯ อยาก

ท�างานกระทรวงการต่างประเทศเฉย ๆ พ่อไปคุย

กับท่านทูต ท่านทูตเดินมาคุยกับออนว่าจะเป็นทูต

เป็นคนท่ีเจริญก้าวหน้าในกระทรวงการต่างประเทศ

จะต้องออกโพสต์ จริง ๆ เขาก็ภูมิใจแล้วแหละ

เขาก็ยอมรับกับอาชีพของเรา จนได้ออกโพสต์ท่ี

กัวลาลัมเปอร์ ซ่ึงพ่อก็น่าจะภูมิใจ เพราะพ่อมาเยี่ยม

หลายครั้ง เอาไม้กอล์ฟมาทิ้งไว้เพ่ือมาตีกอล์ฟ

...มเี รอื่ งทข่ี า� มาก ตอนนน้ั เขาเปน็ อยั การสงู สดุ

ออนเป็นแค่นักการทูต ๓ คือเด็กมาก อายุประมาณ กจิ กรรมวนั เฉลิมพระชนมพรรษา
๒๓ - ๒๔ พ่อต้องท�าหนังสือถึงปลัดกระทรวงการต่าง สมเดจ็ พระบรมราชชนนีพันปหี ลวง
ประเทศ แล้วเขาก็เขียนมาเป็นกระดาษเอสี่แผ่นหนึ่ง ทสี่ ถานเอกอัครราชทูต ณ กรงุ กวั ลาลัมเปอร์
แล้วก็เขียนว่า เรียนคุณณัฏฐา นักการทูตปฏิบัติการ

จาก จุลสิงห์ วสันตสิงห์ อัยการสูงสุด แปะมา ด้าน

หลังก็เป็นหนังสือถึงปลัดกระทรวงการต่างประเทศ

ลงช่ือ จุลสิงห์ เขาก็เป็นคนมีอารมณ์ขันนะคะ

ชว่ งแรก ๆ ทร่ี บั ราชการเรากจ็ ะสนทิ กนั หนอ่ ย

ชีวิตราชการออนมันไปได้แล้ว ด้านกฎหมายออนก็

จะเชย่ี วชาญกฎหมายระหวา่ งประเทศ กฎหมายตอ่ ตา้ น

การทรมาน คือ ก็จะไปเป็น expert ด้านน้ันแล้ว สง่ บตุ รสาวไปประจำาการที่กรุงกวั ลาลมั เปอร์

242

แตพ่ อ่ มาฟงั การบรรยายของออนทเ่ี นตบิ นั ฑติ ทกุ ครงั้ แลว้ กม็ าชว่ ยตอบคา� ถามทอี่ อนตอบไมไ่ ดด้ ว้ ย เชน่ คน
ถามเรอื่ งกฎหมายเงนิ ทนุ ซงึ่ เราบอกวา่ เราเชย่ี วชาญกฎหมายระหวา่ งประเทศ ไมไ่ ดแ้ ปลวา่ เราจะรกู้ ฎหมาย
ระหว่างประเทศทุกอย่าง พ่อก็ช่วยตอบ
อีกเร่ืองหนึ่ง ออนชอบประวัติศาสตร์ก็เพราะว่าพ่อชอบ ออนรู้ประวัติศาสตร์เก่ียวกับครอบครัว
พอคุยแบบว่ารู้เรื่องได้ก็เพราะพ่อเล่าให้ฟัง คือบอกเลยว่าพ่อให้มาทั้งหมด มันเหมือนเราเป็นต้นไม้ที่
พ่อปลูกไว้ เราเติบโตขึ้นตามแบบตัวเอง อาจจะไม่ใช่ตามที่เขาวางแผนไว้แบบเป๊ะ ๆ แต่มาทางน้ีแหละ”

ทริปครอบครัวท่ีดีที่ ุดและการเดินทางครั้ง ุดท้าย
เม่ือเดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๖๒ ที่ผ่านมา คุณจุลสิงห์และสมาชิกในครอบครัวทั้งหมดได้ใช้เวลา
เดินทางท่องเที่ยวร่วมกันที่เมืองเพิร์ธ ประเทศออสเตรเลีย ซึ่งขณะนั้นแพทย์ได้ตรวจพบแล้วว่าท่านม ี
อาการป่วยด้วยโรคมะเร็งปอด

คุณศิวชั เลา่ วา่ การตดั สนิ ใจเดนิ ทางร่วมกนั ในครัง้ น้นั ถอื ว่าเปน็ “การตัดสินใจท่ีถูกต้องท่ีสดุ ในชีวติ ”

“ต้องบอกตรง ๆ ว่าเราใช้ชีวิตมาไม่เคยเห็นคุณพ่อป่วยในชีวิต จริง ๆ มีเรื่องหน่ึงท่ีพ่อเคยผ่าตัด
อนั นเ้ี ปน็ เรอ่ื งทจ่ี า� ไดแ้ ตเ่ ดก็ คอื เปน็ วนั เกดิ เรา พอ่ ไปผา่ ตดั อะไรกไ็ มร่ ซู้ ง่ึ ปกตติ อ้ งอยโู่ รงพยาบาลอาทติ ยห์ นง่ึ
แตพ่ อ่ ออกจากโรงพยาบาลดว้ ยเวลา ๒ วนั เพราะว่าจะมาให้ทันวนั เกดิ อนั นน้ั จา� ได้ แตห่ ลังจากน้นั กไ็ ม่
เคยเห็นพ่อป่วย ไม่เคยจินตนาการว่าพ่อป่วย ซึ่งสิ่งที่พ่อแสดงออกมาเขาไม่ท�าตัวเหมือนคนป่วย

ทเ่ี พิร์ธ เมื่อเมษายน พ.ศ. ๒๕๖๒

243

พร้อมหนา้ ครอบครัวท่ีเพริ ์ธ

พอคุณพ่อป่วย เราก็ไม่เคยจินตนาการว่ามันจะเร็วขนาดน้ี หนักขนาดน้ี แต่รู้ว่าพ่อป่วย ก็ให้เวลา
พ่อเยอะข้ึน เมื่อก่อนเถียงกบั พ่อเยอะมาก ซึ่งเราจะมคี วามคิดของเรา กจ็ บกนั ไป แตไ่ มเ่ คยทะเลาะหนัก ๆ
พอรู้ว่าพ่อป่วยเราก็พยายามเลิก มีบ้างแต่น้อยลงเยอะ ให้เวลาเขามากขึ้น ก่อนคุณพ่อจะเสียเดือนเมษา
ได้พาพ่อไปเท่ียวเพิร์ธ เราคิดว่านั่นคือการตัดสินใจท่ีถูกต้องท่ีสุดในชีวิตเลย ตอนแรกเราก็ไม่รู้หรอกว่า
คุณพ่อจะไป ก็อยากพาพ่อไปเท่ียวกับหลาน ก็เซ็ตกันตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน ได้ไปเดือนเมษายนอีก
ปีหนง่ึ เกือบจะล่ม แต่สดุ ท้ายกไ็ ป และเปน็ ทริปทด่ี ที ีส่ ุด เพราะพอคณุ พอ่ กลบั มาก็ทรุดเลย ก็เป็นชว่ งเวลา
ที่น่าจะได้ใช้เวลากับหลานจริง ๆ จัง ๆ เรียกว่าเป็นการตัดสินใจที่ถูกต้องท่ีสุดในชีวิต”

ในจุดน้ีคุณณัฏฐาเล่าเสริมว่า
“อยา่ งทพ่ี เี่ อก๊ บอก เราไมเ่ คยเหน็ พอ่ ปว่ ย แลว้ เรากจ็ ะ underestimate แมค่ นเดยี วคอื คนทรี่ วู้ า่ พอ่ ปว่ ย
จรงิ ๆ แลว้ พยายามพดู กบั ทกุ คนแตไ่ มม่ ใี ครเชอ่ื เราพยายามคดิ วา่ เฮย้ ! เดยี๋ วกห็ าย คอื เอาจรงิ ๆ พอ่ กเ็ ปน็
คนท่แี บบไมย่ อมรบั วา่ ตัวเองป่วย คิดว่าจะหาย เขาทา� ใหเ้ ราเชอ่ื แบบน้ัน คอื คิดวา่ พอ่ เป็นแบบ super hero
ที่จะอยู่ได้ forever”

244


Click to View FlipBook Version